IS AM ARE OCT61

Page 1

IS AM ARE

อาวุ ธที่ดีคือความจริงใจ ไม่ใช่ ไม้เรียว

์ อม ครู จริยา สวัสดิพร้

ลูกวนศาสตร์ ปลูกความยั่งยืนสู่ ม.เกษตรฯ

ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์

รักษาการแทนอธิการบดี ม.เกษตรศาสตร์

ฉบับที่ 129 ตุลาคม 2561 www.fosef.org


2 IS AM ARE www.fosef.org


“ต่ า งคนต่ า งมี ห น้ า ที่ แต่ ก็ ไ ม่ ไ ด้ ห มายความว่ า ท� ำ เฉพาะหน้ า ที่ นั้ น เพราะว่ า ถ้ า คนใดท� ำ หน้ า ที่ เ ฉพาะของตั ว โดยไม่ ม องไม่ แ ลคนอื่ น งานก็ ด� ำ เนิ น ไปไม่ ไ ด้ เพราะเหตุ ว ่ า งานทุ ก งานจะต้ อ งพาดพิ ง กั น จะต้ อ งเกี่ ย วโยงกั น ฉะนั้ น แต่ ล ะคนจะต้ อ งมี ค วามรู ้ ถึ ง งานของผู ้ อื่ น แล้ ว ช่ ว ยกั น ท� ำ ”

พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทานแก่ คณะบุ ค คลต่ า งๆ ที่ เ ข้ า เฝ้ า ฯ เนื่ อ งในโอกาสวั น เฉลิ ม พระชนพรรษา ๔ ธั น วาคม ๒๕๓๓

3 issue 129 OCTOBER 2018


Editorial

ถวายความอาลัย ( พ่อหลวงของแผ่นดิน )

วันสิบสามตุลามาบรรจบ ดั่งฟ้าฟาดลงมาดังคร�่ำครวญ พระบิดรสยามจากไปแล้ว น�้ำตาท่วมทั่วราษสุดอาลัย เจ็ดสิบปีครองราชย์ทรงงานหนัก ต่อให้เหนื่อยทุกข์ยากตรากตร�ำตน ทรงก่อตั้งโครงการทุกทั่วทิศ ประชาชนชาวไทยได้อยู่กิน ทรงมิเคยทอดทิ้งประชาราษฎร์ ทรงให้การศึกษาประชาชัย ทรงแนะน�ำแนวทางเศรษฐกิจ สร้างฐานะเป็นอยู่ได้ด้วยตน ทรงประกาศรวมใจคนในชาติ ทรงเป็นจอมทัพไทยเจ้าพระยา ทรงเป็นศูนย์รวมใจไทยทั้งชาติ แลก้มกราบพระบาทด้วยฤทัย แม้พระองค์ทรงจากลูกไปแล้ว ลูกขอกราบพระบาทด้วยจิตตน ด้วยกุศลสร้างมาของข้าจิต ขอเป็นรองพระบาททุกชาติไป

ทั้งพิภพ พสุธา แสนก�ำสรวล ช่างแสนหวนโศกาสุดฤทัย ดั่งดวงแก้วแสงเทียนดับแขไข ภูวนัยพ่อหลวงภูมิพล มิหยุดพักทรงเสด็จทุกแห่งหน มิทรงบ่นพระเสโทหลั่งลงดิน ทุกชีวิตผาสุขแสนถวิล ดั่งฝนรินจากฟ้าชโลมใจ ภูวนาททรงเมตตาช่างผ่องใส สร้างวินัยความรู้มุ่งสู่ตน ใช้ชีวิตพอเพียงแลเห็นผล ให้เป็นคนเข้มแข็งสู้ชีวา ทรงประกาศอุปถัมภ์ศาสนา สร้างแสนยานุภาพกองทัพไทย ทุกทั่วราษฎร์น้อมจิตพิศมัย นับถือนัยพระบิดรของปวงชน ดั่งดวงแก้วสลายกลางสายฝน ขอกุศลต่อองค์ภูวนัย มอบอุทิศพระองค์ด้วยผ่องใส เสด็จในสรวงสวรรค์นิจนิรันดร์.

แม้วันเวลาจะผันผ่าน ก็ไม่อาจจะลืมเลือน เตือนตนอยู่เสมอว่า “พ่อ” ยังอยู่ในใจเสมอ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง บรรณาธิการบริหาร

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์

ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ

Let’s

Start and Enjoy!

5 issue 129 OCTOBER 2018


Hot Topic

8

เกร็ดการทรงงาน

60

12

มาร์ชชิ่ งไผ่ตัน

ลูกวนศาสตร์ ปลูกความยั่งยืนสู่ ม.เกษตรฯ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดี ม.เกษตรศาสตร์

Don’t miss

32

26 56

70

74 6 IS AM ARE www.fosef.org


Table Of Contents

ดร.จงรั ก วั ช ริ น ทร์ ร ั ต น์ รักษาการแทนอธิการบดี ม.เกษตรศาสตร์

7 issue 129 OCTOBER 2018

เกร็ดการทรงงาน คนในแบงค์ Cover Story ลูกวนศาสตร์ ปลูกความยั่งยืนสู่ ม.เกษตรฯ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดี ม.เกษตรศาสตร์ Cartoon บนเส้นทางธรรมพุทธฉือจี้ จากหนึ่งเป็นอเนกอนันต์รวมตัวให้เป็นหนึ่ง ความเป็นคนความเป็นครู อาวุธที่ดีคือความจริงใจ ไม่ใช่ไม้เรียว ครูจริยา สวัสดิ์พร้อม สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ อาชีพทางเลือก การเลี้ยงไก่ไข่ผสมผสานกับการเลี้ยงปลา ชัยพัฒนา ถนนมอเตอร์ไซค์ ถนนพระราชทาน Let’s Talk มาร์ชชิ่งไผ่ตัน เยาวชนของแผ่นดิน การปลูกต้นไม้ต้องใช้ความรัก สันติสุข มหัธธัญญวาณิชย์ ความจริงของชีวิต อ่อนนอกแต่แข็งใน บทเรียนชีวิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย โอกาสของผู้น�ำครอบครัวพอเพียง 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดฉะเชิงเทรา Round About

8

12 22 26 30 38 44 48 60 66 70 74

78


คนในแบงค์

เกิดอ่างเก็บน�้ำเขาเต่า 8 IS AM ARE www.fosef.org


เกร็ ด การทรงงาน ในฤดูร้อนของทุกๆ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะเสด็จฯ ประทับแรม ณ วังไกลกังวล จากนั้นก็จะเสด็จฯ เยี่ยมราษฎรในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ โดย จะขับรถยนต์พระที่นั่ง (รถจี๊ป) ด้วยพระองค์เอง เส้นทางเสด็จ พระราชด�ำเนินส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรังหมู่บ้านเขาเต่า ต�ำบล หนองแก อ� ำ เภอหั ว หิ น เป็ น หมู ่ บ ้ า นริ ม ทะเล ราษฎรส่ ว น ใหญ่ยากจน ขาดแคลนน�้ำจืดส�ำหรับอุปโภคบริโภค และท�ำ กสิกรรม และช่วงน�้ำทะเลขึ้นน�้ำก็จะไหลเข้าท่วมพื้นที่เกษตร ครูแล สังข์สุข อดีตครูใหญ่โรงเรียนเทศบาลบ้านเขาเต่า เล่าให้ ฟังว่า บ้านเขาเต่า สมัยก่อนถนนยังเป็นทางคนเดิน ทางวัวเดิน ถนนลูกรังยังไม่มี แต่รถยนต์และรถจี๊ปพอไปได้ครับ ส่วนแหล่ง น�้ำจืดในหมู่บ้านไม่มี เพราะพื้นดินเป็นดินเค็ม อาศัยแหล่งน�้ำ จากบ่อน�้ำ 2 แห่ง แห่งที่หนึ่งอยู่ทางด้านทิศใต้ของหมู่บ้าน จาก หมู่บ้านไปไม่ถึงครึ่งกิโลที่ชาวบ้านใช้ส�ำหรับดื่ม น�้ำใช้ โดยการ ไปหาบมา เวลาเขาหาบก็เดินตามทางที่พระเจ้าอยู่หัวขับรถผ่าน พระองค์คงจะได้พบเห็นและคงจะได้ซักถามอยู่บ้าง เสด็จฯ ไปทรงเจิมและทรงพระสุหร่ายเข็มพืดเอก ใต้ฐานเขื่อนดิน เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2506

สิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเห็นไม่ไกลจากจุด ที่รถพระที่นั่งติดหล่ม คือ ภาพชาวบ้านหาบน�้ำด้วยความเหนื่อย ยาก และนั่ น คื อ จุ ด เริ่ ม ต้ น ของโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด�ำริอ่างเก็บน�้ำเขาเต่าในครั้งนั้น มีพระราชด�ำริว่า หมู่บ้าน เขาเต่า เป็นหมู่บ้านริมทะเล ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดแคลน น�้ำจืดส�ำหรับอุปโภคบริโภค และท�ำกสิกรรม และช่วงน�้ำทะเล ขึ้นน�้ำก็ไหลเข้าท่วมพื้นที่เกษตรทุ่งกาดท�ำให้ผลผลิตเสียหาย อีก ทั้งพระภิกษุที่วัดเขาเต่าก็ได้รับความเดือดร้อนเกี่ยวกับน�้ำจึงมี พระราชประสงค์ “...จะช่วยเหลือโดยให้มีแหล่งน�้ำขึ้น ด้วยการ ก่อสร้างเขื่อนดินปิดกั้นน�้ำทะเล ไม่ให้ไหลเข้าตามคลองที่บริเวณ โรงเจข้ า งเขาเต่ า และเพื่ อ เก็ บ กั ก น�้ ำ ฝนมิ ใ ห้ ไ หลลงสู ่ ท ะเล” ท�ำให้เกิดอ่างเก็บน�้ำส�ำหรับราษฎร นับเป็นโครงการตามพระ ราชด�ำริแห่งแรกในเรื่องแหล่งน�้ำพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานเล่าว่า “...เขาเต่าก็ท�ำมาตั้งแต่ปี 96 เขาเต่านั้นนะ เราเข้าไปปี 96 เข้าไปกับรถจี๊ปโปโล ไปจมเลนในตะกาดเป็นที่ ที่น�้ำทะเลขึ้นมาแล้ว ถึงเวลาน�้ำลง มันก็เป็นเลนอะไรก็ขึ้นไม่ได้ มีแต่ปูเปี้ยวท�ำอะไรไม่ได้...” “...ก็ เริ่ ม โครงการเขาเต่ า ถ�้ ำ เราปิ ด ตรงเขาเต่ า น�้ ำ ฝน ตกลงมาก็ จ ะเป็ น บึ ง เป็ น อ่ า งเก็ บ น�้ ำ ให้ ไ ด้ นานไปก็ จ างท� ำ ประโยชน์ได้...” “ . . . ก็ เ อ า ป ล า น ว ล จั น ท ร ์ ท ะ เ ล จ า ก ค ล อ ง ว า น ประจวบคี รี ขั น ธ์ ไ ปปล่ อ ย ให้ ช าวบ้ า นตั้ ง เป็ น กลุ ่ ม ที่ จ ะเลี้ ย ง ปลานวลจันทร์ทะเล...” ในปี เ ดี ย วกั น นั้ น เอง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ พ ระราชทานพระราชด� ำริ ใ ห้ ส ร้ า งอ่ า งเก็ บ น�้ ำ เขาเต่ า เพื่ อ บรรเทาความแห้ ง แล้ ง และความเดื อ ดร้ อ นของราษฎรใน

อ่างเก็บน�้ำเขาเต่าระยะต้นใน การก่อสร้างปี 2506 ในปี 2496 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ เ สด็ จ พระราชด� ำ เนิ น เยี่ ย มราษฎรหมู ่ บ ้ า นเขาเต่ า ต� ำ บลหนอง แก อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ์ ตลอดสองข้ า ง ทางเข้ า หมู ่ บ ้ า นส่ ว นใหญ่ จะเป็ น ไร่ สั บ ปะรดเพราะเป็ น พื ช ทนแล้งได้ จากนั้นไม่นานนัก ก็เกิดเหตุการณ์รถยนต์พระที่นั่ง ติดหล่มบริเวณชายเขาเต่า ท�ำให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทอดพระเนตรเห็นความยากล�ำบากอันใหญ่หลวงของคนเล็กๆ ที่นี่ 9

issue 129 OCTOBER 2018


เมื่ อ โครงการอ่ า งเก็ บ น�้ ำ เขาเต่ า ก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ ส่ ง ผลให้ ช าวบ้ า นในพื้ น ที่ มี น�้ ำ ส� ำ หรั บ อุ ป โภคบริ โ ภค ท� ำ การเกษตร ท� ำ กสิ ก รรมและสามารถประกอบ อาชี พ ได้ อ ย่ า งหลากหลาย สร้ า งความอุ ด มสมบู ร ณ์ ให้ กั บ พื้ น ที่ นั บ เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการพั ฒ นาหมู ่ บ ้ า น แห่ ง นี้ ก่ อ นที่ อี ก หลายๆ สิ่ ง จะตามมา น� ำ ความ เปลี่ ย นแปลงมาสู ่ ชี วิ ต ของชาวบ้ า นเขาเต่ า ทั้ ง การ พั ฒ นาโรงเรี ย น การสร้ า งสถานี อ นามั ย การสร้ า ง ถนนสายต่ า ง ๆ รวมถึ ง การสร้ า งอาชี พ ให้ กั บ กลุ ่ ม แม่ บ ้ า น

นายจริย์ ตุลยานนท์อดีตอธิบดีกรมชลประทาน เล่าว่า “เขาเต่าคล้ายๆ ว่าเป็นบทเรียนแรก แหล่งไหนที่ไม่มี เป็นแหล่งเก็บกักน�้ำก็จะรับสั่งให้ไปท�ำพัฒนาเรื่อย ขั้นแรกก็จะ เป็นไปเก็บน�้ำจืดไว้ แล้วก็อาจจะเสริมคันขึ้นมาเก็บให้ได้มาก ขึ้น แล้วพอเก็บได้น�้ำจืดแล้วก็ขยายพัฒนาลงไปว่า ถ้าน�้ำมัน มากพอก็จะท�ำคลองแจกน�้ำไปด้วยตามบริเวณที่มันไปได้ ตอน หลังที่ว่าอ่างเก็บน�้ำทั้งหลายที่เคยรับสั่งว่านอกจากจะช่วยน�้ำ จืดให้กับการเพาะปลูก แล้วก็อุปโภคบริโภคแล้ว ยังช่วยน�้ำ ท่วมนะ ใช้เป็นแก้มลิงได้ด้วยนะ เพราะฉะนั้นเรื่องมันขยาย ผลมาเยอะ” ไม่เพียงแต่การก่อสร้างอ่างเก็บน�้ำเขาเต่าเหตุการณ์ปี 2496 ที่รถจี๊ปโปโลไปจมเลนในตะกาด ยังท�ำให้เป็นจุดเริ่มต้น ของ “การพัฒนาปรับปรุงดิน” ที่เสื่อมคุณภาพของบ้านเขาเต่า ที่ไม่สามารถเพาะปลูกได้ โดยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ผู้เชี่ยวชาญด้านดินชาวต่างประเทศมาศึกษาวิเคราะห์ สภาพดิน เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2544 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ มายังเขาเต่าอีกครั้งในฐานะของ “ครู” ผู้เมตตา ไม่เพียง แต่ทรงเป็นครูด้านแหล่งน�้ำในการสร้างอ่างเก็บน�้ำเขาเต่า หาก

การขาดแคลนน�้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค และทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จ�ำนวน 60,000 บาท ให้แก่กรมชลประทาน สมทบกับเงินงบประมาณ ปกติ กรมชลประทานได้พิจารณาวางโครงการและเริ่มก่อสร้าง อ่างเก็บน�้ำนี้ เมื่อต้นปี 2506 ก่อสร้างแล้วเสร็จในปีเดียวกัน มี ลักษณะเป็นเขื่อนดินสูง 5 เมตร ยาว 600 เมตร ความจุอ่าง ประมาณ 600,000 ลูกบาศก์เมตร นับเป็นโครงการแหล่งน�้ำ แห่งแรก 10

IS AM ARE www.fosef.org


ทรงเป็นครูสอนในเรื่องดิน น�้ำและ ธรณีวิทยาแก่คณะนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนวังไกลกังวล นับเป็นช่วงเวลาอัน ประเสริฐที่สุดของนักเรียนที่มีครู เป็น “ในหลวง” ครั้งนี้พระองค์ มีพระราชกระแสเกี่ยวกับเรื่องดิน สรุปความว่า “…ถ�้ำดินอยู่เฉยๆ ไม่ได้ปลูกอะไร มันไม่ท�ำงาน นี่มัน ท�ำงาน จะเห็นเป็นปมๆ ถ้าอยากให้ดีใส่ถั่ว (ปลูกถั่วปรับปรุง ดิน)...” การสอนในครั้งนี้เป็น พระราชประสงค์ ใ ห้ นั ก เรี ย นได้ เรียนรู้สภาพจริงเป็นการเรียนรู้จากห้องเรียนธรรมชาติ สะท้อน วิธีการแก้ไขปัญหาดินจาก “ดินที่เลวที่สุดในโลก”กลายเป็นดิน ที่ปลูกข้าวปลูกผักได้ “หนูเคยเห็นคนในนี้ที่ไหน” ลุงพนมตอบไปว่า “เคยเห็นแต่ในแบงค์ ไม่เคยเห็นตัวจริง” ลุงพนม ช่อจันทร์ชาวบ้านเขาเต่าได้เล่าเรื่องราวที่แสน ประทับใจในเหตุการณ์ครั้งรถพระที่นั่งติดหล่มว่า บ่ายแก่ๆ วัน หนึ่ง ที่บริเวณชายเขา ลุงพนมกับเพื่อนก�ำลังต้อนวัวไปกินน�้ำ แถบนั้นบังเอิญเหลือบไปเห็นรถจี๊ปคันหนึ่งติดหล่มอยู่บริเวณ ใกล้ๆ จึงเข้าไปช่วยเข็นรถ เข็นยังไงก็ไม่ขึ้น ชายที่ขับรถจึง เขียนหนังสือฝากให้มาส่งครูแลให้พาคนมาช่วยอีก ลุงพนมจึง ถือหนังสือมาหาครูแล พอครูแลรู้จึงรีบเกณฑ์นักเรียนและชาว บ้านไปกัน 20 คน ช่วยกันเข็นขึ้นจนส�ำเร็จ ต่อมาจึงรู้ว่าเป็นรถ ในหลวง...แต่ขณะที่เข็นรถ ชาวบ้านไม่ได้สนใจว่าผู้ที่ขับรถคือ ใคร จนชายคนนั้นยื่นแบงค์ใบละ 1 บาท ให้แล้วถามว่า “หนู

สิ่ ง ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู ่ หั ว ท ร ง เ ห็ น ไ ม ่ ไ ก ล จ า ก จุ ด ที่ ร ถ พ ร ะ ที่ นั่ ง ติ ด ห ล ่ ม คื อ ภ า พ ชาว บ้ า นห าบน�้ ำ ด้ ว ยคว ามเ ห นื่ อ ยยาก แล ะนั่ น คื อ จุ ด เ ริ่ ม ต ้ น ข อ ง โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พระราชด� ำ ริ อ ่ า งเก็ บ น�้ ำ เขาเต่ า ในครั้ ง นั้ น เคยเห็นคนในนี้ที่ไหน” ลุงพนมตอบไปว่า “เคยเห็นแต่ในแบงค์ ไม่เคยเห็นตัวจริง” ชายคนนั้นถามต่อว่า “เหมือนเราไหม” ทันทีที่สังเกต ลุงพนมจึงรู้ว่าเป็นพระองค์ท่าน... เมื่อโครงการอ่างเก็บน�้ำเขาเต่าก่อสร้างแล้วเสร็จ ส่งผล ให้ชาวบ้านในพื้นที่มีน�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภค ท�ำการเกษตร ท� ำ กสิ ก รรมและสามารถประกอบอาชี พ ได้ อ ย่ า งหลากหลาย สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับพื้นที่ นับเป็นจุดเริ่มต้นของการ พัฒนาหมู่บ้านแห่งนี้ ก่อนที่อีกหลายๆ สิ่งจะตามมา น�ำความ เปลี่ยนแปลงมาสู่ชีวิตของชาวบ้านเขาเต่า ทั้งการพัฒนาโรงเรียน การสร้างสถานีอนามัย การสร้างถนนสายต่างๆ รวมถึงการสร้าง อาชีพให้กับกลุ่มแม่บ้าน แม้แต่หน้ามรสุมที่ชาวบ้านไม่สามารถ ท�ำประมงได้ ในหลวงก็ทรงเล็งเห็นถึงปัญหา จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งศูนย์ฝึกทอผ้าบ้านเขาเต่าขึ้น อ่ า งเก็ บ น�้ ำ เขาเต่ า เป็ น เสมื อ นการให้ ก� ำ เนิ ด ชี วิ ต แก่ ผู ้ ค นที่ นี่ อี ก ครั้ ง และเป็ น เรื่ อ งเล่ า ที่ ช าวบ้ า นไม่ เ คยลื ม เลื อ น ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานแค่ไหน สะท้อนถึงความผูกพันระหว่าง คนเล็กๆ ในชุมชน กับพระมหากษัตริย์ผู้เป็นที่เคารพรักยิ่งของ พสกนิกร

11 issue 129 OCTOBER 2018


cover story

ลูกวนศาสตร์ ปลูกความยั่งยืนสู่ ม.เกษตรฯ

ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์

รักษาการแทนอธิการบดี ม.เกษตรศาสตร์ จากอดี ต เจ้ า หน้ า ที่ ป ่ า ไม้ ซึ่ ง ถื อ ปื น คอยจั บ ไม้ เ ถื่ อ น ท� ำ ให้ เ ริ่ ม คิ ด ว่ า คณะวนศาสตร์ ไ ม่ เ คยสอนให้ ถื อ ปื น ไม่ ไ ด้ ส อนให้ ไ ปจั บ ใคร หากสอนเรื่ อ งการบู ร ณาการ เรื่ อ งป่ า ไม้ แ ละวงจรการเจริ ญ เติ บ โตของมั น ตลอด จนการตั ด เพื่ อ น� ำ มาใช้ ป ระโยชน์ เ มื่ อ ถึ ง เวลา เพื่ อ ให้ ลู ก ไม้ ไ ด้ สื บ พั น ธุ ์ ต ่ อ ไป ดร.จงรั ก วั ช ริ น ทร์ รั ต น์ จึ ง หั น เหตั ว เองมาศึ ก ษาต่ อ และผั น ตั ว เองมาเป็ น นั ก วิ ช าการตามสายการเรี ย นวนศาสตร์ ที่ ไ ด้ ร�่ ำ เรี ย นมา

12 IS AM ARE www.fosef.org


13 issue 129 OCTOBER 2018


ดินไทย ไม่ได้เน้นว่าต้องเป็นเกษตรอย่างเดียว วัฒนธรรมก็ใช่ การท่องเที่ยวก็ใช่ เช่น การท่องเที่ยววิถีไทย ส่งเสริมอัตลักษณ์ แต่เราเติมนวัตกรรมเพิ่มมูลค่าเข้าไป ไม่ใช่การท่องเที่ยวแบบ มวยวัด” ดร.จงรัก กล่าวว่า เนื้อหาของวิชาศาสตร์ของแผ่นดินมุ่ง เน้นให้ผู้เรียนรู้จักการท�ำงานเป็นทีม เป็นวิชาบังคับ 3 หน่วยกิต ส�ำหรับนิสิตปี 1 ทุกคน “เราไม่ได้สอนเนื้อหาของวิชา แต่เรา สอนให้ภูมิใจในความเป็นไทย รู้คุณค่าความเป็นคนด้วย สอน เรื่องศาสตร์พระราชา สอนเรื่องการท�ำงานเป็นทีม สอนการช่วย เหลือสังคม สอนให้เขาคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม” ในหนึ่งปีมีเด็กเข้าใหม่ประมาณ 17,000 คน ดร.จงรัก มองว่า ในการสอนแบบใหม่ คลาสหนึ่งจะมีผู้เรียนไม่เกิน 40 คนต่ออาจารย์ 1 ท่าน เพื่อให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่าง ทั่วถึง หากมีผู้เรียน 17,000 คนต่อปี วิชาศาสตร์ของแผ่นดินก็ จะมีอาจารย์เฉลี่ย 500 คน เพราะต้องการให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดในการเรียนการสอน อั ต ลั ก ษ ณ ์ ข อ ง เ ด็ ก เ ก ษ ต ร ไ ม ่ เ ห มื อ น ที่ อื่ น เ ห็ น แล้ ว จะรู ้ เ ลย ถ้ า อยากเห็ น ประเทศไทยให้ ม าดู ที่ ม.เกษตรศาสตร์ เพราะจะได้ เ จอตั้ ง แต่ ลู ก ชาวนา ลู ก ชาวไร่ ลู ก ครู เรามี วั ฒ นธรรมไทยอย่ า งงานเกษตร แฟร์ ซึ่ ง ไม่ เ ห็ น มี ใ ครท� ำ ได้ แ บบนี้

จากเด็ ก บ้ า นนอกที่ มี ชี วิ ต แนบแน่ น กั บ ท้ อ งถิ่ น ชนบท สร้างเสริมให้ได้เรียนรู้จากต�ำราชีวิตจริง หล่อหลอมให้ตนเอง แข็งแกร่งไปด้วยทักษะต่างๆ ของชีวิต จนติดตัวมาถึงปัจจุบัน ทั้งชีวิตวัยเด็กและวนศาสตร์ สองสิ่งนี้จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญที่โดด เด่นของรักษาการแทนอธิการบดีคนนี้ ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ ผู้ที่ได้ชื่อว่า “เป็นลูกเกษตรศาสตร์อย่างแท้จริง” โดยมีคณะ วนศาสตร์ เ ป็ น เสมื อ นบ้ า นตลอดการศึ ก ษาตั้ ง แต่ ป ริ ญ ญาตรี จนถึงปริญญาเอก

“แรกๆ อาจารย์ไม่เข้าใจ เพราะติดการสอนแบบตรงๆ แต่พอสิ้นเทอมเด็กมาบอกว่าเรียนแล้วสร้างนวัตกรรมได้ เขา รวมตัวท�ำงานเป็นทีมแล้วสร้างสรรค์ เขาไปช่วยเหลือสังคม เด็ก ปีหนึ่งเขาเป็นอย่างนั้น อาจารย์ก็เห็นว่าดี ตอนนี้เรามีอยู่แล้ว วิชาศาสตร์แห่งแผ่นดิน เป็นวิชาเดียวที่ต้องเรียนทุกหลักสูตร เพื่อส่งเสริมให้เขาสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ทุกคนรู้จักศาสตร์แห่ง แผ่นดินหมด เราปลูกฝังไว้ ให้ภูมิใจในความเป็นเกษตร ภูมิใจ ในความเป็นไทย ภายใต้ศาสตร์ของแผ่นดิน ศาสตร์ของพระ ราชา” ดร.จงรัก กล่าวว่า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไม่ได้ จ�ำกัดค�ำว่าศาสตร์ของแผ่นดินไว้เพียงในประเทศไทยเท่านั้น หากน�ำเอาวิชาต่างๆ ในระดับโลกมาผสมผสานในเนื้อวิชา เพื่อ ให้ผู้เรียนได้คิดค้นนวัตกรรมมาแก้ปัญหาตั้งแต่เรื่องเล็กไปจนถึง เรื่องใหญ่ เช่น โครงการก�ำจัดขยะในมหาวิทยาลัย ผู้เรียนจะได้ คิดค้นตั้งแต่เริ่มจนจบกระบวนการ หรือแม้แต่วิธีเก็บผ้าอนามัย ในห้องน�้ำ หรือการแก้ไขปัญหาห้องน�้ำสกปรก เป็นต้น

ศาสตร์ แ ห่ ง แผ่ น ดิ น ศาสตร์ ที่ นิ สิ ต เกษตรต้ อ งเรี ย น “มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ มุ ่ ง สร้ า งสรรค์ ศ าสตร์ แห่ ง แผ่ น ดิ น เพื่ อ ความอยู ่ ดี กิ น ดี ข องชาติ ” คื อ หมุ ด หมาย ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ยื น หยั ด มาตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น ซึ่ ง ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ยังคงยึดถือและตั้งมั่นที่จะเสริมสร้าง มก.ให้ เป็นแหล่งหล่อหลอมเยาวชนคนรุ่นใหม่ให้รู้จักคุณค่าของความ เป็นไทย มีความภูมิใจในชาติตัวเอง ผ่านรายวิชา “ศาสตร์ของ แผ่นดิน” ที่ป้อนอยู่ในหลักสูตรให้นิสิตทุกคนได้เรียน “มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มุ่งสร้างสรรค์ศาสตร์แห่ง แผ่นดินเพื่อความอยู่ดีกินดีของชาติ คือสร้างสรรค์องค์ความ รู้ สร้างสรรค์คน สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อท�ำให้ประเทศชาติ อยู่ดีกินดี ศาสตร์แห่งแผ่นดินคือศาสตร์มากมายที่มีอยู่ในแผ่น 14

IS AM ARE www.fosef.org


“อัตลักษณ์ของเด็กเกษตรไม่เหมือนที่อื่น เห็นแล้วจะรู้ เลย ถ้าอยากเห็นประเทศไทยให้มาดูที่ ม.เกษตรศาสตร์ เพราะ จะได้เจอตั้งแต่ลูกชาวนา ลูกชาวไร่ ลูกครู เรามีวัฒนธรรมไทย อย่างงานเกษตรแฟร์ ซึ่งไม่เห็นมีใครท�ำได้แบบนี้ คนเป็นล้าน ชาวบ้านมาขายของ มีกิจกรรมต่างๆ ผมเล่าให้ชาวต่างชาติฟัง ว่าถ้าอยากมาดูประเทศไทยให้มาดูที่ ม.เกษตรศาสตร์ คนจนก็ เยอะ คนรวยก็พอมีแต่น้อยเหมือนประเทศไทยนั่นแหละ เรามี วัฒนธรรม มีพี่มีน้อง มีครูอาจารย์ที่ใกล้ชิดกันมากสามารถเถียง กันได้ มันคือคนไทย, ในศาสตร์แห่งดินหัวใจหลักก็คือศาสตร์ แห่งพระราชา เน้นการท�ำงานเป็นทีม เน้นความพอประมาณ เน้นการท�ำเพื่อชุมชน เข้าถึงชุมชนให้เกิดการบูรณาการ เราเอา มาประยุกต์ใช้ในหลักการ เน้นความพอประมาณ เน้นความรู้คู่ คุณธรรม อันนั้นคือหัวใจ”

เบื้องลึกส่วนบุคคล ดร.จงรักยอมรับว่าไม่รู้จักคณะวนศาสตร์ มาก่อน แต่สนใจเรียนและเต็มที่กับมันเสมอตลอดจนการท�ำงาน เป็นเจ้าหน้าที่ป่าไม้ “ช่ ว งเรี ย นอยู ่ ว นศาสตร์ ต ้ อ งลุ ย เยอะ เพราะว่ า เรามี ฝึกงาน 4 เดือนครึ่งทุกปี เราถนัดอยู่แล้วเรื่องลงพื้นที่ ณ เวลา นั้นตั้งใจเรียนแบบสนุกสนาน เพราะว่าตัวเองท�ำกิจกรรมพอ สมควร เล่นดนตรีวงของคณะด้วย (กีต้าร์-ร้องเพลง) ชื่อวง the forester ไม่ได้ไปเล่นที่มหาวิทยาลัย เพราะพวกวนศาสตร์ ค่อนข้างโดดเดี่ยว อยู่แต่ในคณะ คณะวนศาสตร์ใหญ่แต่ว่าดื้อ เป็นพวกหัวแข็งมารวมกันเป็นกลุ่มก้อน แต่สมัยนี้ไม่ดื้อแล้ว” ดร.จงรัก มองว่า ตนเองในฐานะคนต่างจังหวัดที่เข้ามา เรียนในกรุงเทพฯ ย่อมมีโอกาสเข้าถึงความรู้หรือโอกาสด้าน ต่างๆ ได้น้อยกว่าคนที่อาศัยอยู่กรุงเทพฯ แต่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่เปิดโอกาสให้เด็กต่างจังหวัด ได้ เ ลื อ กเรี ย นคณะที่ เ หมาะสมกั บ ภู มิ สั ง คมของตนเอง เป็ น สาขาวิ ช าที่ ค นต่ า งจั ง หวั ด นิ ย มมาเรี ย น เช่ น คณะเกษตร คณะวนศาสตร์ คณะประมง คณะอุตสาหกรรมเกษตร เป็นต้น “ผมมองว่า ม.เกษตรศาสตร์ ให้โอกาสคน คือคนต่าง จังหวัดเสียเปรียบคนกรุงเทพฯ อยู่แล้ว เวลาสอบต่างๆ สู้เขา ไม่ได้ เก่งขนาดไหนก็สู้ล�ำบาก เขาขาดโอกาสที่จะเข้าถึงระบบ

วนศาสตร์ คื อ ชี วิ ต “ผมจบตรี โท เอก คณะวนศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์” ดร.จงรัก กล่าวขึ้นอย่างภาคภูมิ เขาถือเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ ทั้งการเรียนและการท�ำงานด้านป่าไม้มาอย่างโชกโชน “สมัย นั้นคณะนี้ไม่มีใครรู้จัก เรียนจบไปท�ำงานอะไรก็ไม่รู้ รู้แต่ว่าเป็น ป่าไม้” การเลือกเรียนคณะใดคณะหนึ่งเกิดขึ้นจากความสนใจ

15 issue 129 OCTOBER 2018


ข้อสอบในสมัยนั้น เพราะฉะนั้นเวลาสอบแข่งกันก็สู้ไม่ได้ แต่ ม.เกษตรศาสตร์เขาให้โอกาสเพราะมีสาขาที่คนกรุงเทพฯ เขา ไม่ค่อยอยากเรียน คนกรุงเทพฯ เขาไปเรียนกันที่มหิดล จุฬาฯ ธรรมศาสตร์ แต่ ถ ้ า อยากจะมาเรี ย นกรุ ง เทพฯ โดยคนต่ า ง จังหวัดอย่างผมก็ต้องมาเรียนที่เกษตรศาสตร์ เพราะว่าเขามี คณะเกษตร คณะวนศาสตร์ คณะประมง อุตสาหกรรมเกษตร ซึ่งมันเหมาะกับคนต่างจังหวัด” เมื่อเรียนจบปริญญาตรี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ดร.จงรัก เริ่มบรรจุเป็นเจ้าหน้าที่กรมป่าไม้แถบ ชายแดนสุรินทร์ โดยถือเรื่องการจับผู้ลักลอบตัดไม้เป็นเรื่องใหญ่ ไม่สนใจว่าคนพวกนั้นจะเป็นเพียงชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในถิ่นพื้นที่ แต่ดั้งเดิม โดยหลงคิดไปว่าการจับคือวิธีการพัฒนาและป้องกัน ที่ดีที่สุด และเป็นหน้าที่ของนักวนศาสตร์ “ณ เวลานั้นที่ไปท�ำคือต�ำแหน่งพิเศษ มีหน้าที่ไปจับไม้ ไปป้องกัน, จริงๆ เรียนวนศาสตร์โดยหน้าที่มันต้องไปเป็นนัก วิชาการป่าไม้ ต้องไปวางแผนการจัดการอุทยาน ต้องไปวางแผน การปลูกป่า วางแผนการท�ำให้ป่าฟื้นฟู ไม่ใช่ไปนั่งจับไม้ เรื่องการจับไม้เป็นเรื่องของพนักงานเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า เพราะเราเรียนมาไม่เคยไปยิงปืน แต่ต้องไปถือปืน เราเรียนวิธี การเพาะเมล็ด วิธีการท�ำให้เมล็ดพันธุ์งอก วิธีการปรับปรุงพันธุ์ ไม้ เป็นต้น พ่อเห็นว่าเราไปอยู่ชายแดนท่านก็เป็นห่วงถึงขนาด ซื้อปืนให้ แต่ก็ไม่เคยได้ใช้ สุดท้ายพ่อให้ไปเรียนต่อ พอกลับไป เรียนโทแล้วเราก็ต่อเอกเลย เพราะว่าเริ่มชอบเป็นนักวิชาการ วนศาสตร์แล้ว พอเรียนโทจึงรู้ว่ามันมีกระบวนการความคิดอีก อย่างหนึ่ง เราจึงเรียนปริญญาเอกต่อเลย” เมื่อกลับมาเรียนต่อด้านวนศาสตร์ ดร.จงรัก ก็เลือก เรียนที่ ม.เกษตรศาสตร์ จนถึงปริญญาเอกโดยไม่คิดไปเรียน ต่ า งประเทศ ด้ ว ยเหตุ ผ ลว่ า “เราเชื่ อ มั่ น ว่ า ป่ า ประเทศไทย คนที่ไหนจะมารู้มากกว่าคนไทย”

“ลู ก ศิ ษ ย์ บ างคนจะมองผมเป็ น พ่ อ เพราะว่ า เขา รู ้ ว ่ า ผมสอนยั ง ไง คื อ เราติ ด มาตั้ ง แต่ ส มั ย เป็ น เด็ ก เราเข้ า ใจเพราะบางคนมาเรี ย นไม่ มี เ งิ น เราก็ ต ้ อ งหา ทางท� ำ ยั ง ไงจะให้ เ ขามี ง านท� ำ ด้ ว ย เรี ย นด้ ว ย เราจะ ถ่ า ยทอดยั ง ไง ผมเป็ น อาจารย์ ป ระมาณ 10 ปี มี ลู ก ศิ ษ ย์ ป ริ ญ ญาโท ปริ ญ ญาเอกเยอะ เพราะว่ า ด้ ว ย ความที่ ใ กล้ ชิ ด แล้ ว ก็ ทุ ่ ม เทให้ เ ขาเต็ ม ที่ ” ราชการครูเป็นส่วนใหญ่ ไม่มีใครท�ำนา เป็นความสนุกสนาน แบบเด็กๆ ที่แฝงไปด้วยทักษะชีวิตอันล้นเหลือ ชนิดที่ว่า เด็กๆ ในกรุงเทพฯ อาจนึกภาพไม่ออก “เราได้คิดเยอะ คิดเพื่อหาหนทางเอาชนะสิ่งที่ตัวเองท�ำ เช่น เกี่ยวข้าวท�ำยังไง ตัวเองได้ท�ำจริงทุกอย่าง ก็เลยเหมือน ตัวเองได้เรียนรู้เยอะ นี่คือข้อได้เปรียบของคนที่อยู่ต่างจังหวัด สมัยนั้นผมไม่รู้หรอกว่าแม่สอนยังไง แต่มาเห็นตอนแม่เลี้ยง น้อง แม่ก�ำลังเย็บผ้าแล้วน้องก็อยู่ในกะละมังน�้ำใกล้ๆ เห็นน้อง อึแล้วแม่ก็หยิบอึ เราก็คิดว่าเราคงเป็นแบบนั้นมาก่อน เราเห็น แม่เคี้ยวข้าวแล้วเอาข้าวป้อนใส่ปากน้อง เราก็คิดเหมือนกันว่า คงป้อนเราแบบนั้นด้วย อันนั้นคือชีวิตที่ท�ำให้เราแกร่ง ตั้งแต่ ก่อนเข้าเรียนแล้ว”

พื้ น ฐานชี วิ ต จริ ง จากวั ย เด็ ก ในวัยเด็ก ดร.จงรัก ใช้ชีวิตสอดคล้องไปกับสิ่งแวดล้อม ทางแถบถิ่นชนบทอ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ในจ�ำนวน ลูกทั้ง 7 คน เขาเป็นคนที่ 5 มารดาประกอบอาชีพค้าขาย บิดา ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านด่านทองหลาง และตัว เขาเรียนจบระดับประถมศึกษาที่นั่นด้วยเช่นกัน ดร.จงรัก กล่าว ว่า วัยเด็กได้เรียนรู้เยอะ เพราะตนเป็นคนสนใจสิ่งต่างๆ รอบตัว ตามประสาเด็ก ได้ช่วยครอบครัวท�ำงานเพื่อช่วยเหลือจุนเจือพี่ น้องทุกคนให้ได้เรียนหนังสือ ได้ยิงนกตกปลา ได้ช่วยเพื่อนท�ำ นา-เกี่ยวข้าว เพียงเพราะอยากรู้ ทั้งที่ครอบครัวส่วนมากรับ 16

IS AM ARE www.fosef.org


17 issue 129 OCTOBER 2018


บทสรุ ป ชี วิ ต จากพื้ น ฐานความพอเพี ย ง ในฐานะรั ก ษาการแทนอธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ต้องดูแลนิสิตกว่า 67,000 คน ดร.จงรัก กล่าว ว่า จุดเริ่มต้นจากการถูกอาจารย์ชักชวนมาเป็นอาจารย์สอน ที่คณะวนศาสตร์ ขณะที่ตนก�ำลังจะเรียนจบปริญญาเอกในปี 2540 ท�ำให้เกิดการซึมซับและความผูกพันในฐานะอาจารย์ซึ่ง ต้องดูแลลูกศิษย์ “ลูกศิษย์บางคนจะมองผมเป็นพ่อ เพราะว่า เขารู้ว่าผม สอนยังไง คือเราติดมาตั้งแต่สมัยเป็นเด็ก เราเข้าใจเพราะบางคน มาเรียนไม่มีเงิน เราก็ต้องหาทางท�ำยังไงจะให้เขามีงานท�ำด้วย เรียนด้วย เราจะถ่ายทอดยังไง ผมเป็นอาจารย์ประมาณ 10 ปี มีลูกศิษย์ปริญญาโท ปริญญาเอกเยอะ เพราะว่าด้วยความที่ ใกล้ชิด แล้วก็ทุ่มเทให้เขาเต็มที่” จากนั้น ดร.จงรัก ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะวนศาสตร์ เป็นเวลา 5 ปี ก่อนจะก้าวขึ้นเป็นรักษาการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ด้วยพื้นฐาน “คุณธรรม” ซึ่งติดตัว มาตั้งแต่วัยเด็ก ท�ำให้เขาเป็นคนที่เรียบง่าย อยู่ง่าย ตามวิถีชีวิต เดิมที่เคยประสบมาด้วยตนเอง “ความที่ผมเป็นคนบ้านนอก สิ่งที่ติดตัวมาแน่ๆ เลย คือคุณธรรม เนื่องจากว่าผมรักคนอื่น ผมให้เกียรติคนอื่น และ

ดร.จงรั ก มาเรี ย นต่ อ ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาที่ โรงเรี ย น ราชสีมาวิทยาลัย ในตัวเมืองนครราชสีมา โดยอาศัยอยู่กับพี่ ชายในบ้านพัก และมันก็เป็นช่วงชีวิตที่เขาได้เรียนรู้การดูแลตัว เอง ช่วยเหลือตัวเอง หากินเอง เสริมให้เขาแกร่งก่อนจะเข้าวัย หนุ่มอย่างเต็มตัว ขณะเดียวกัน ก็ได้เรียนรู้การรับผิดชอบด้าน การเรียนไม่ให้ออกนอกลู่นอกทาง นั่นอาจเป็นแนวทางการเลี้ยง ลูกของครอบครัวอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นกลวิธีสร้างภูมิคุ้มกันให้ ลูกโดยไม่รู้ตัว “ได้ต่อสู้ชีวิตอีกแบบหนึ่ง ต้องหากินเองหมดเลย พี่ชาย เขาเป็นหนุ่มแล้ว เขาไม่ค่อยสนใจเราหรอก เราก็หากินเองทุก อย่าง เราเป็นเด็กเราก็ท�ำได้หมด มาเรียนมัธยมฯ ชีวิตตอนเรียน ก็ต้องดิ้นรนอย่างเดียวเลย ดื้อบ้าง พ่อแม่ส่งเงินมาไม่มาก เสาร์ อาทิตย์เราก็ต้องกลับบ้านประมาณสามสิบกิโล สรุปแล้วตั้งแต่ ประถมฯ เราดิ้นรนด้วยตัวเองจนกระทั่งถึงมัธยมฯ ชีวิตเหมือน เด็กฝรั่ง คือใช้ชีวิตต่อสู้ด้วยตัวเองตลอด ถามว่าเรียนเก่งไหมก็ ไม่ค่อยเก่ง เราไม่ค่อยตั้งใจ แต่หัวสมองก็ใช้ได้ เพราะตอนนั้น เราใช้ชีวิตคนเดียวก็สนุกสนานตามประสาเด็กหนุ่ม ได้เรียนจน จบ ม.6 เพราะเราก็ไม่ได้เลวร้ายขนาดนั้น ยังอยู่ในระดับดีของ โรงเรียน” 18

IS AM ARE www.fosef.org


สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ ดร.จงรั ก ยั ง คงส� ำ นึ ก รู ้ อยู ่ เ สมอว่ า ตนเองมาจากไหน มี พื้ น ฐานมาจาก อะไร ประสบการณ์ แ ละการท� ำ งานต่ า งๆ ดร.จงรั ก พิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า สามารถสร้ า งภู มิ คุ ้ ม กั น ให้ ค นเรา ได้ จ ริ ง ๆ เช่ น เดี ย วกั บ ทั ก ษะชี วิ ต ต่ า งๆ ซึ่ ง ถู ก บรรจุ ล งไปในการเรี ย นการสอนของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์

ในการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มุ่งหวังให้ นิสิตรอบรู้ รอบคอบ มีความระมัดระวัง มีความพอประมาณ มี เหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ศาสตร์พระราชาและศาสตร์แผ่นดิน “ผมโชคดี อ ยู ่ ส องอย่ า ง หนึ่ ง คื อ ผมได้ ใช้ ชี วิ ต อยู ่ บ ้ า น ได้ เรี ย นรู ้ จ ากของจริ ง สมั ย ประถมฯ อั น ที่ ส องคื อ ผมได้ ม า เรี ย นวิ ช าการซึ่ ง เน้ น ธรรมชาติ ( วนศาสตร์ ) วนศาสตร์ ส อน เรื่องบูรณาการ เรื่องเกิดแก่เจ็บตาย สอนเรื่องการเป็นไปตาม ธรรมชาติ เราศึกษาว่าจะท�ำยังไงเมื่อต้นไม้จะตายแล้วเราเอา มาใช้ประโยชน์ นั่นคือความยั่งยืนที่วนศาสตร์สอนมาเป็นร้อย ปีแล้ว สาเหตุที่เน้นความยั่งยืนเพราะสมัยก่อนตัดไม้กันไม่มี เหตุผล เขาก็เลยสอนว่าให้ตัดส่วนที่เป็นดอกเบี้ยเอามาใช้ คือตัด ไม้ใหญ่ซึ่งแก่แล้วให้ไม้เล็กสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ ไม่ต้องไปปลูก ใหม่เลย นั่นคือหลักของป่าไม้ เพียงแต่เราพลาด พอเราตัดเพื่อ ท�ำเกษตร มันเปลี่ยนจากป่าไปเป็นมันส�ำปะหลัง ไม่ใช่วิชาการ ป่าไม้ ถ้าวิชาการป่าไม้ยังอยู่ ก็ใช้วิธีตัดไม้สักออกลูกไม้สักก็ขึ้น เพราะมันต้องการแสง ถ้ายังมีไม้ใหญ่บังร่มอยู่มันก็ไม่เกิดนะ พวกต้นแดง ต้นประดู่ พอแก่แล้วก็ตัดออกไปใช้ ให้ลูกไม้ชั้น ต่างๆ ได้ขึ้นใหม่”

ให้เกียรติทุกระดับ แม้แต่ตอนนี้ก็เป็นแบบนั้น แม่บ้าน เจ้า หน้าที่ หรือว่าท่านอธิการบดีจากที่ไหนมา หรือท่านรัฐมนตรี ผมให้เกียรติทั้งนั้น มาหาผมได้หมด ผมยินดีต้อนรับ เราไม่ได้ ใช้ชีวิตฟุ้งเฟ้ออยู่แล้ว แต่ไม่ถึงขนาดว่าสมถะจนกระทั่งชีวิตสูญ เสียอะไรไป ยิ่งปัจจุบันยิ่งไม่ฟุ้งเฟ้อ ถ้าเทียบกับสิ่งที่ควรจะเป็น ผมทานข้าวปกติ ออกก�ำลังกาย ไม่ได้มีอะไรหรูหราเป็นพิเศษ ตัวเองก็ใช้ชีวิตแบบปกติ” สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ ดร.จงรัก ยังคงส�ำนึกรู้อยู่เสมอว่า ตนเองมาจากไหน มีพื้นฐานมาจากอะไร ประสบการณ์และการ ท�ำงานต่างๆ ดร.จงรัก พิสูจน์แล้วว่า สามารถสร้างภูมิคุ้มกันให้ คนเราได้จริงๆ เช่นเดียวกับทักษะชีวิตต่างๆ ซึ่งถูกบรรจุลงไป 19

issue 129 OCTOBER 2018


ดร.จงรัก กล่าวว่า มหาวิทยาลัยเกษตรวันนี้เน้นความยั่งยืน เน้นสิ่งที่ประเทศไทยถนัดจริงๆ โดยเฉพาะเรื่องการท่องเที่ยว เชิงคุณภาพที่สร้างนวัตกรรมใหม่ขึ้นมามากมาย และเรื่องการเกษตร ทั้งสองอย่างนี้เป็นรายได้หลักของประเทศซึ่งควรพัฒนาเติม ความรู้ความสามารถสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ มากกว่าจะคอยวิ่งตามเรื่องเทคโนโลยี “ผมประกาศว่า ต้องท�ำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้เป็นเหมือนบ้านหลังใหญ่ ได้เจอพี่ได้เจอน้อง ได้เจอพ่อและแม่ที่ เรานับถือเหมือนอยู่ที่บ้าน เพราะนิสิตใช้ชีวิตที่นี่มากกว่าที่บ้าน ท�ำที่นี่ให้เป็นบ้าน เราต้องเห็นลูกศิษย์เปรียบเสมือนลูก ให้เขา ได้เรียนวิชาที่คนไทยถนัด วิชาที่เขาจะกลับไปพัฒนาบ้านของเขาได้ หรือเอาความรู้ที่เหมาะสมกับประเทศไทยไปต่อยอด ฉะนั้น นิสิตทุกคนถึงต้องเรียนวิชาศาสตร์ของแผ่นดิน ตามจุดยืนของเราคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มุ่งสร้างสรรค์ศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพื่อความอยู่ดีกินดีของชาติ” 20 IS AM ARE www.fosef.org


ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน

ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด

21 issue 129 OCTOBER 2018


22 IS AM ARE www.fosef.org


23 issue 129 OCTOBER 2018


24 IS AM ARE www.fosef.org


25 issue 129 OCTOBER 2018


“จากหนึ่งเป็นอเนกอนันต์รวมตัวให้เป็นหนึ่ง”

ป้ า ยภาษาจี น ในศาลาจิ้ ง ซื อ (ปั ญ ญาที่ เ กิ ด จากความสงบ)หรื อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ฉื อ จี้ ในเมื อ งฮวาเหลี ย น แหล่ ง รวบรวมเกร็ ด ประวั ติ ต ่ า งๆ ของมู ล นิ ธิ พุ ท ธฉื อ จี้ ที่ ด� ำ เนิ น มาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ.2509 จนถึ ง ปั จ จุ บั น ผู ้ เ ขี ย น ถามเอาจาก “คุ ณ ดี ” เจ้ า หน้ า ที่ ใ นมู ล นิ ธิ พุ ท ธฉื อ จี้ ซึ่ ง พู ด ภาษาไทยได้ เขาแปลป้ า ยดั ง กล่ า วให้ ฟ ั ง ความว่ า “จากหนึ่ ง เป็ น อเนกอนั น ต์ รวมตั ว ให้ เ ป็ น หนึ่ ง ” 26 IS AM ARE www.fosef.org


บนเส้ น ทางธรรมพุ ท ธฉื อ จี้ เมื่อมาไล่เรียงดูจากความหมายดังกล่าว สิ่งก่อสร้าง เช่น โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย หรือโรงเรียนต่างๆ ฯลฯ มูลค่ารวม กว่าแสนล้านกลับมีจุดก�ำเนิดที่เรียบง่ายจากคนคนเดียว กล่าว คือ เมื่อ 51 ปีที่แล้ว ภิกษุณีนาม เจิ้งเอี๋ยนได้มาเห็นความทุกข์ ยากของชาวเมืองฮวาเหลียนแห่งนี้ และได้เห็น “กองเลือด” ขณะไปเยี่ยมลูกศิษย์ที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เมื่อถามถึงสาเหตุ ก็ ไ ด้ ค วามว่ า กองเลื อ ดนี้ ม าจากสุ ภ าพสตรี ช าวเขาท่ า นหนึ่ ง เดินทางมาแปดชั่วโมงเพื่อรักษาอาการแท้งลูกที่โรงพยาบาล แห่ ง นี้ แต่ ท างโรงพยาบาลกลั บ เรี ย กรั บ ค่ า มั ด จ� ำ ถึ ง 8,000 เหรียญไต้หวัน (4,000 บาทสมัยนั้น) เนื่องจากครอบครัวสุภาพ สตรีผู้นั้นยากจน ทางโรงพยาบาลจึงไม่อยากเสี่ยงรักษาฟรี ท�ำให้ ต้องหามเธอกลับขึ้นเขาไปรักษาตัวเอง ท่ า นธรรมาจารย์ ข อร้ อ งลู ก ศิ ษ ย์ 30 คนซึ่ ง ส่ ว น ใหญ่ เ ป็ น แม่ บ ้ า น ให้ ช ่ ว ยเก็ บ เงิ น วั น ละ 50 เซนต์ (25 สตางค์ ส มั ย นั้ น ) จากเงิ น จ่ า ยกั บ ข้ า ว บรรจุ ไว้ ใ นออมสิ น ที่ ท� ำ จากกระบอกไม้ ไ ผ่ โดยให้ ค� ำ ขวั ญ แก่ ศิ ษ ย์ ว ่ า “50 เซนต์ ก็ ช ่ ว ยคนได้ ” จากเหตุการณ์ดังกล่าวจึงเป็นที่มาให้ท่านธรรมาจารย์ ขอร้องลูกศิษย์ 30 คนซึ่งส่วนใหญ่เป็นแม่บ้าน ให้ช่วยเก็บเงิน วันละ 50 เซนต์ (25 สตางค์สมัยนั้น) จากเงินจ่ายกับข้าว บรรจุ ไว้ในออมสินที่ท�ำจากกระบอกไม้ไผ่ โดยให้ค�ำขวัญแก่ศิษย์ว่า “50 เซนต์ก็ช่วยคนได้” เมื่อเวลาผ่านไป 51 ปี ใครจะเชื่อว่า เงินเหล่านั้นจะกลายเป็นโรงเรียน โรงพยาบาล สถานีโทรทัศน์ และมหาวิทยาลัย รวมถึงทุนสมทบช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ทั่วโลกนับแสนราย จากแม่บ้านเพียง 30 คนได้ขยายเป็นคนทุก เพศทุกวัยทุกอาชีพนับ 10 ล้านคนทั่วทุกทวีป ทั้งหมดนี้เป็นไป ได้เพราะอานุภาพของความรักหรือเมตตา ซึ่งท่านธรรมาจารย์ เจิ้งเอี๋ยนเชื่อว่ามีในจิตใจของทุกคน และหากน�ำมารวมกันได้จะ ผนึกเป็นก�ำลังที่มีอานุภาพยิ่งใหญ่

“การงานทุกอย่างเริ่มต้นจาก ความตั้งใจอันแน่วแน่ เริ่มจากเมล็ดพันธุ์เมล็ดเดียว” ธรรมาจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย น 27 issue 129 OCTOBER 2018


คุณธรรมน�ำความรู้

โรงเรียนที่สวนกระแสระบบแต่เป็นไปเพื่อโลก

หลายปี ที่ ผ ่ า นมาฉื อ จี้ หั น มาจั บ งานด้ า นการศึ ก ษา โดยเน้ น การผสานความรู ้ กั บ คุ ณ ธรรมอย่ า งกลมกลื น กล่ า วคื อ สถานศึ ก ษาทุ ก แห่ ง ต่ า งโหมกระพื อ ความรู ้ เ พื่ อ สร้ า งคนเก่ ง ป้ อ นเข้ า สู ่ สั ง คมและองค์ ก รต่ า งๆ หากแต่ ฉื อ จี้ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ต ่ า งไป คื อ ต้ อ งการให้ เ ด็ ก เป็ น คนดี ด ้ ว ย มิ ใ ช่ เ พี ย งแค่ ไ ม่ เ บี ย ดเบี ย นใคร หากต้ อ ง มี คุ ณ ภาพความดี พ ร้ อ มที่ จ ะช่ ว ยผู ้ อื่ น และมี ค วามสุ ข กั บ การกระท� ำ นั้ น ๆ โรงเรี ย นฉื อ จี้ หากสั ง เกตจะพบว่ า ไม่ มี ร ้ า นขายของ เด็กๆ ไม่ได้รับอนุญาตให้น�ำอาหารเข้ามากินในโรงเรียน ที่นี่ ไม่มีพนักงานท�ำความสะอาด หรือภารโรงทุกคนจะรับประทาน อาหารพร้อมกันและทานอย่างเดียวกันรวมถึงครูผู้สอนด้วย ไม่มี ห้องพักแยกส�ำหรับครู หรืออาหารพิเศษส�ำหรับใคร วิชาจริยศิลป์ ได้แก่ วิชาจัดดอกไม้ ชงชา และเขียน พู่กันจีนที่เด็กๆ จะได้เรียนตั้งแต่ชั้น ป.1 ติดตัวไปจนถึงระดับ มหาวิทยาลัยทุกคณะสาขา ในหลายประเทศอาจมองว่าเป็นวิชา

เลือก แต่ส�ำหรับฉือจี้วิชาเหล่านี้คือความส�ำคัญในการขัดเกลา จิตวิญญาณผู้คน มุ่งเน้นให้เด็กได้กล่อมเกลาจิตใจและพัฒนา พฤติกรรมในที่สุดให้เป็นไปในทางที่ส่งเสริมคุณธรรม กล่าวคือ เป็นการฝึกจิตให้ละเมียดละไม สามารถเข้าถึงสุนทรียรส จิต เช่นนี้จะเป็นจิตที่ไม่แข็งกระด้าง และสามารถเข้าถึงความสุข ประณีตได้ง่าย โดยไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งพาความสุขแบบหยาบๆ จากวัตถุ ขณะเดียวกันครูบาอาจารย์ก็อาศัยวิชานี้เป็นสื่อในการ ปลูกฝังคุณธรรม เช่น แนะให้เด็กเรียนคติธรรมจากดอกไม้แต่ละ

28 IS AM ARE www.fosef.org


ชนิด หรือเรียนจริยธรรมจากการจัดดอกไม้ อาทิ จะจัดดอกไม้ ให้สวย ก็ต้องมีการริดกิ่งริดใบที่ไม่จ�ำเป็นออกไปบ้าง ฉันใดก็ฉัน นั้น ชีวิตที่งดงามได้ก็ต้องรู้จักเสียสละ ทว่ า ก่ อ นจะก้ า วถึ ง จุ ด นั้ น ได้ ต ้ อ งเรี ย นรู ้ ค วามเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ย เช่ น การเรี ย งรองเท้ า ก่ อ นเข้ า ห้ อ งเรี ย น (ชงชา) เมื่ออยู่ในห้องเรียนต้องรู้จักท�ำกาย วาจา ใจ ให้สงบ วิชาชงชาจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อปลูกฝังจิตใจที่ใฝ่ช่วยเหลือผู้อื่น อย่างแยบคาย เพราะเมื่อชงชาแล้วก็ต้องบริการผู้อื่นด้วยความ อ่อนน้อมถ่อมตน จะท�ำอย่างหุนหันพลันแล่นไม่ได้ โรงเรียนของฉือจี้ไม่มีนักการภารโรง การท�ำความสะอาด ห้องเรียนและโรงเรียนเป็นหน้าที่ที่ครูและนักเรียนจะต้องช่วย กัน ถือเป็นหนึ่งในหลักสูตรซึ่งจะปฏิบัติกันในเวลา 10 โมง เช้า ที่ส�ำคัญเฉพาะนักเรียนที่เรียนเก่งเท่านั้นจึงจะได้รับหน้าที่ ท�ำความสะอาดห้องน�้ำซึ่งผู้เขียนมองว่า เป็นกุศโลบายการยก ระดับงานท�ำความสะอาดห้องน�้ำ (หลายคนมองว่าต�่ำ)ให้เป็น งานที่มีเกียรติก็ได้ หรือมองอีกแง่หนึ่ง เป็นวิธีการลดตัวตนของ เด็กเรียนเก่งที่มักจะถือตัวว่าเหนือกว่าผู้อื่น และหากจะมองใน แง่ไหนก็ล้วนหาประโยชน์ได้ทั้งสิ้น

ย้อนกลับมามองที่เมืองไทย ผู้ปกครองอาจไม่ชอบให้ บุตรหลานมาท�ำงานแบบนี้ โดยเฉพาะโรงเรียนที่มีชื่อเสียง ค่า เทอมสู ง ลิ่ ว แทบเป็ น ไปไม่ ไ ด้ เ ลยที่ นั ก เรี ย นจะมี โ อกาสไปขั ด ห้องน�้ำของส่วนรวม เพราะถูกมองว่าเป็นงานของคนใช้ เหมือน ในสื่อละครทีวีทั่วไป จะมีก็แต่เด็กนักเรียนที่ถูกท�ำโทษเท่านั้นซึ่ง จะท�ำก็ด้วยความไม่เต็มใจหารู้ไม่ว่านี่เป็นวิธีการเสี้ยมสอนให้ เด็กเป็นคนหยิบโหย่ง รังเกียจงาน และไม่รู้จักนึกถึงส่วนรวม เด็กเหล่านี้โตขึ้นย่อมเป็นผู้ใหญ่ที่ไม่น่ารัก และเมื่อมีลูก ลูกก็ไม่ น่ารักตามไปด้วย แถมท�ำอะไรไม่เป็นเช่นเดียวกับพ่อแม่ นอกจากนี้ ยังมีวิทยาลัยเทคโนโลยีของฉือจี้ ซึ่งอยู่ใกล้ๆ กั น วิ ท ยาลั ย นี้ เ ดิ มเป็ น วิ ท ยาลั ย พยาบาล มี จุ ด มุ ่ งหมายเพื่อ ผลิตพยาบาลให้แก่โรงพยาบาลของฉือจี้ (เพราะตอนแรกๆ มี พยาบาลน้อยคนที่จะมาท�ำงานในโรงพยาบาลของฉือจี้เนื่องจาก เป็นโรงพยาบาล “บ้านนอก”) แต่ตอนหลังขยายเป็นวิทยาลัย เทคโนโลยี นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นชนกลุ่มน้อยที่ขาดโอกาส ในการศึกษา คนเหล่านี้หากสอบเข้ามหาวิทยาลัย ก็คงสู้เขา ไม่ได้ วิทยาลัยดังกล่าวจึงเป็นช่องทางให้ลูกหลานชนกลุ่มน้อย (ซึ่งจ�ำนวนไม่น้อยเป็นชาวเขา) มีโอกาสทางการศึกษามากขึ้น หลายคนจบแล้วก็กลับไปช่วยเหลือชุมชนของตน

ส� ำ ห รั บ ฉื อ จี้ วิ ช า เ ห ล ่ า นี้ คื อ ค ว า ม ส� ำ คั ญ ใ น ก า ร ขั ด เกลาจิ ต วิ ญ ญาณผู ้ ค น มุ ่ ง เน้ น ให้ เ ด็ ก ได้ ก ล่ อ ม เกลาจิ ต ใจและพั ฒ นาพฤติ ก รรมในที่ สุ ด ให้ เ ป็ น ไป ในทางที่ ส ่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรม กล่ า วคื อ เป็ น การฝึ ก จิ ต ให้ ล ะเมี ย ดละไม สามารถเข้ า ถึ ง สุ น ทรี ย รส จิ ต เช่ น นี้ จะเป็ น จิ ต ที่ ไ ม่ แ ข็ ง กระด้ า ง และสามารถเข้ า ถึ ง ความ สุ ข ประณี ต ได้ ง ่ า ย โดยไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งพึ่ ง พาความสุ ข แบบหยาบๆ จากวั ต ถุ

“เมื่ อ เรามี เ มล็ ด พั น ธุ ์ ที่ ดี ควรรี บ ฉวยโอกาสที่ เ หมาะ สมรี บ หว่ า นเมล็ ด พั น ธุ ์ ดี ล งดิ น โดยเร็ ว เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ แสงแดดเพี ย งพอน�้ ำ ที่ ชุ ่ ม ชื้ น ดิ น ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ และ สภาพอากาศที่ ดี เ มล็ ด พั น ธุ ์ พื ช นั้ น ก็ จ ะเจริ ญ เติ บ โต อย่ า งรวดเร็ ว ” ธรรมาจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย น 29 issue 129 OCTOBER 2018


ความเป็ น คนความเป็ น ครู

อาวุ ธที่ดีคือความจริงใจ ไม่ใช่ ไม้เรียว

ครู จริยา สวัสดิ์พร้อม

ครู จ ริ ย า ครู ช� ำ นาญการ กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภ าษาไทย เป็ น คนกรุ ง เทพฯ โดยก� ำ เนิ ด ในครอบครั ว มุ ส ลิ ม สอนวิ ช าภาษาไทยที่ อิ ส ลามวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทย ด้ า นหนึ่ ง เด็ ก นั ก เรี ย นทั้ ง ชาวพุ ท ธและมุ ส ลิ ม รู ้ จั ก ครู จ ริ ย า ตามภาพลั ก ษณ์ ค รู ที่ ถื อ ไม้ เ รี ย ว (หวาย) ยึ ด ระเบี ย บ ค� ำ ไหนค� ำ นั้ น ตรงไปตรงมา แต่ อี ก ด้ า นหนึ่ ง เด็ ก ๆ ต่ า งรั บ รู ้ ไ ด้ ถึ ง ความจริ ง ใจที่ ค รู มี ใ ห้ จนเด็ ก ๆ ในโรงเรี ย นต่ า งเรี ย กขานกั น ว่ า “แม่ ” หรื อ “มะ” ด้ ว ยความนั บ ถื อ เลยขี ด ค� ำ ว่ า ครู

30 IS AM ARE www.fosef.org


31 issue 129 OCTOBER 2018


ตาก แล้วก็ได้ไปอยู่บนภูเขาจริง ๆ ได้บรรจุเป็นครูคนแรกของ คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูธนบุรี ได้เป็นครูบนดอยสมดังใจ ตั้งแต่จบมา โรงเรี ย นบนดอยที่ ว ่ า บรรยากาศการสอนเป็ น ยั ง ไง? เริ่มบรรจุเมื่อวันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม 2537 ที่โรงเรียน ผดุงปัญญานาโบสถ์ กิ่งอ�ำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก ไปสอนวันแรก อยากกลับกรุงเทพฯ เลย ออกจากบ้านมาประมาณ 22 กิโลเมตร แล้วเข้าไปในหมู่บ้านอีก 10 กิโลเมตร ถนนเป็นดินแดงตลอด เส้นทาง พอไปถึงโรงเรียนเขามีกีฬาสี ดูเด็กๆ ก็หน้าตามอมแมม พอเปิดเรียนวันจันทร์ก็ไปโรงเรียน ค�ำแรกที่ได้ยินจากเด็กคือ “ไม่เอาครูคนใหม่” จะให้ครูมาสอนภาษาไทย เราก็คิดว่าเด็ก ไม่รักเราหรอก เราเป็นคนกรุงเทพฯคนเดียวที่ไปสอน เราเข้าไป ก็แนะน�ำตัวว่ามาจากกรุงเทพฯ เพิ่งมาบรรจุครั้งแรกเพื่อมาหา ประสบการณ์ ครูดีใจที่ได้มา สมัยนั้นวิชาภาษาไทย จะสอน 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ภาพของไม้เรียว กฎระเบียบ และการลงโทษด้วยไม้เรียว จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ สอนอยู่ 3 ห้อง ระดับชั้น อาจดูไม่คุ้นนักในสมัยนี้ แต่ครูจริยายืนยันว่า ไม้เรียว นี่แหละที่ ม.3 วันแรกครูเห็นเด็กๆ ต่างจังหวัดแล้ว เค้าเหมือนนักเลงหัวไม้ จะเป็นเครื่องขัดเกลาลูกศิษย์ให้เข้าที่เข้าทาง ส�ำหรับผู้ปกครอง ชอบเล่นเตะ ต่อย พูดจาเอะอะ โวยวาย นึกอยู่ในใจว่า “อย่าได้ ที่ยินยอมตามข้อตกลง แต่ถ้าผู้ปกครองท่านใดไม่ต้องการให้ตี มาเกี่ยวข้องกันเลย” แต่แล้วเหมือนพรหมลิขิตโชคชะตาก�ำหนด ครูจริยาก็ยินดีตามข้อตกลงเช่นกัน โดยยึดความสมัครใจของผู้ ให้ต้องมาดูแลกัน เราได้เป็นที่ปรึกษา ม.3/1 ก็ห้องนักเลงหัวไม้ ปกครองเป็นหลัก ที่มาที่ไปของคุณครูเวอร์ชั่นไม้เรียวแห่ง พ.ศ.นี้ นั่นแหละ เจอกันวันแรกก็ต้อนรับอย่างอบอุ่นเลยเชียว โดนแกล้ง ทั้งจิ้งจก ตุ๊กแก ถุงตด เอามาแกล้ง เป็นกระแสต่อต้าน พอสอน เป็นอย่างไร ไปท�ำความรู้จักกันเลยค่ะ ไปได้อาทิตย์เดียว เราบอกเด็กๆ ว่าครูจะไปแล้วนะจะไม่อยู่แล้ว ถ้ า ให้ เ ดา เป็ น ครู ภ าษาไทย น่ า จะชอบอ่ า นหนั ง สื อ เด็ก ๆ ถามว่าอาจารย์จะไปไหน เธอจ�ำวันแรกที่พูดได้ไหมว่า ไม่ ต้องการครูคนนี้ เด็กๆ ตอบอันนั้นมันอดีตอย่าไปนึกถึงมันเลย มาตั้ ง แต่ เ ด็ ก ? ชอบอ่านวรรณคดี ชอบเล่าเรื่อง พออ่านวรรณคดีก็จะ ครูหนูอยากให้ครูสอนต่อ ครูสอนสนุก มีอะไรให้แปลกใจตลอด จินตนาการเหมือนเราหลุดเข้าไปอยู่ในวรรณคดีเรื่องนั้นด้วย นั่งข�ำกันทั้งชั่วโมง พวกหนูไม่หลับเลย ก็เลยตั้งใจว่าจบ ม.6 จะสอบเข้าวิทยาลัยครู แล้วพระเจ้าท่าน ประทานให้ดังที่ตั้งใจ (อัลฮัมดุลิ้ลลาห์) เริ่มเรียนที่วิทยาลัยครู ธนบุรี สายครู เอกภาษาไทยโดยตรง มีคุณครูที่เป็นแบบอย่างที่ ดีคือ อาจารย์นิทรา วรรณะ ท่านเป็นคุณครูที่ใจดี มีความตั้งใจ ในการถ่ายทอดวิชาความรู้ให้กับศิษย์ทุกคน แล้วก็ดูแลเด็กมี อะไรก็จะให้การช่วยเหลือ ท�ำให้เราประทับใจในการประพฤติ ปฏิบัติตน เห็นความอดทนของอาจารย์ ก็ตั้งใจไว้ว่า ถ้าจบ ปริญญาตรีจะไปเป็นครู บนดอย ตามความตั้งใจแต่แรก โดย ความอนุเคราะห์จากน้าชาย ปฏิบัติหน้าที่เป็นรองฯ ผอ.สศจ. จั ง หวั ด ตาก ท่ า นขั บ รถไปซื้ อ ใบสมั ค รสอบครู ครั้ ง ที่ 1 ให้ หลาน ด้วยการก�ำหนดของพระเจ้าเราสอบบรรจุได้ที่จังหวัด 32 IS AM ARE www.fosef.org


จากที่ เ คยแกล้ ง เราจนความอดทนเราถึ ง ที่ สุ ด เลยนะ ถึงขนาดบอกเด็กว่าจะเอายังไงกับครูบอกมา เย็นนี้เจอกันหลัง โรงเรียน ใครไม่ไป “เป็นหมา” ผลปรากฏว่าพวกเด็กๆ เขาไม่ มา พอเช้ามาเจอกันเราบอกใครปากดีกับฉัน ฉันท้าแล้วไม่ไป แสดงว่าเป็นหมานะ หลังจากนั้นมาเด็กที่เคยแกล้งเราบอกว่า อาจารย์โดนทดสอบหนักกว่าใครเลย แต่อาจารย์ก็มาท้าพวก ผมด้วยใครไม่ไปเป็นหมาผมขอเป็นหมาแต่ถ้าอาจารย์จะมีเรื่อง กับใครมาบอกผมนะ หลังจากนั้นพวกเขาก็เรียกแม่ ห้ามใครมา ยุ่งกับแม่กูนะ เป็นการทดสอบเราที่หนักมาก ตอนนั้นไม่รู้ว่า ทดสอบ คิดว่าเด็กไม่อยากได้ครูคนใหม่เท่านั้นเอง เราสอนอยู่ ที่นั่น 9 ปี อย่างมีความสุข เพราะเด็กรัก ชาวบ้าน ผู้ปกครองก็ รักและให้เกียรติเรา เพราะเราเข้าถึงผู้ปกครองเด็กให้ความดูแล เอาใจใส่ทุกคน เพื่อช่วยกัน ปรับปรุง แก้ไขเด็ก ให้มีพฤติกรรมที่ ดีขึ้น ชาวบ้านก็รักเรา ที่ต่างจังหวัด จะมีตลาดนัด วันพฤหัสบดี จะมีตลาดนัดที่หน้าสถานีต�ำรวจ ครูก็ไปตลาด ไปดูว่าจะมีอะไร ที่พอจะมาท�ำอาหารกินได้บ้าง ส่วนใหญ่เป็นหมู หมูป่า ไก่บ้าน ผักพื้นบ้านมากมาย ของโปรดเลย เดินดูของไปเรื่อย ๆ มาพบ ผู้ปกครองขายผักที่ตลาดถามว่าครูสอนที่โรงเรียนผดุงปัญญา นาโบสถ์ใช่ไหม เขาก็เลยถามครูสอนลูกฉันหรือเปล่า ครูก็ถาม ว่าลูกชื่ออะไรค่ะ เขาบอกว่า ชื่อต้อม คราวนี้หล่ะ เล่าพฤติกรรม ของลูกให้ฟังยาวเลย ว่าไม่ช่วยท�ำงานบ้าน กลับบ้านมาเสื้อผ้าก็

ถอดเหวี่ยงเลย รองเท้าก็ไปคนละทางเลยอาจารย์ อาจารย์ช่วย ฉันหน่อยนะ ช่วยอบรมสั่งสอนลูกฉันทีให้ช่วยท�ำงานงานบ้าน ด้วยนะอาจารย์ ฉันถามลูกว่าในโรงเรียนเอ็งกลัวใครมากที่สุด ‘โธ่! แม่ ไม่น่าถาม ว่าทั้งโรงเรียนหนูกลัวใคร ก็มีอยู่คนเดียว แหละ แม่ก็ถามว่าก็ใครหล่ะก็อาจารย์แป้นไงแม่ ทั้งโรงเรียน หนูกลัวอาจารย์แป้นคนเดียว เวลาอาจารย์แป้นมองมา สายตา ที่อาจารย์เขามองมาเหมือนหัวใจหนูจะหลุด อาจารย์แป้นพูดค�ำ ไหนค�ำนั้น’ สั่งท�ำโทษลุก-นั่ง ถ้าใครหือ! เพิ่มการลุกนั่งอีก หนู ไม่กล้าท�ำผิดเลยนะแม่ หลังจากที่คุยกับแม่เด็กที่ตลาด วันรุ่งขึ้น ครูเข้าสอนห้องต้อม พอใกล้หมดเวลาเรียนก็พูดคุยไปหลายเรื่อง จนมาจบลงที่ว่าเด็กๆ กลับบ้านท�ำอะไรบ้าง ครูถามต้อม ต้อม บอกไม่ได้ท�ำอะไรครับ กลับบ้านผมไปเตะบอลกับเพื่อน ครูให้ ค�ำแนะน�ำไปว่าต้องท�ำอะไรบ้าง แล้วบอกว่าครูจะไปเยี่ยมบ้าน นะ เชื่อไหมว่าทุกอย่างเป็นไปตามที่ครูแนะน�ำไป บ้านสะอาด ข้าวหุงเรียบร้อย เสื้อผ้าชุดนักเรียน รองเท้าวางเป็นระเบียบ เรียบร้อย ถึงวันตลาดนัดเราไปตลาดตามปกติ พบผู้ปกครอง ขายของอยู่ ผู้ปกครองเห็นครูเดินมาหา แล้วยกมือไหว้ “อาจารย์ แป้น ฉันขอบคุณอาจารย์แป้นมากๆ นะคะ ฉันกลับมาบ้าน บ้าน สะอาดขึ้นมาก เสื้อนักเรียนแขวนเรียบร้อย ขอบคุณที่อาจารย์ ดูแลลูกฉันนะคะ” ครูก็ได้แต่ยิ้ม

33 issue 129 OCTOBER 2018


วันที่ย้ายออกมาครูเสียใจนะ ร้องไห้ คิดถึง ไม่อยากย้าย มาเลย เราอยู่กับธรรมชาติ ครูไม่มีอาการว่าจะป่วยเลย เวลาที่ เรามีความสุข สนุกกับมัน มักผ่านไปเร็วเสียจริงๆ เก้าปีมันไม่ มากเลย เหมือนว่าเราเพิ่งเดินเข้าโรงเรียนมาเมื่อวานนี้เอง พอ เด็กๆ รู้ข่าว เด็กๆ ไม่ให้ครูย้าย ผู้ปกครองก็ไม่ให้มา ‘ครูจะไป ท�ำไมอยู่บ้านเราเหอะครูเป็นคนที่นี่แล้วนะ’ ผู้ปกครอง เด็กๆ ชาวบ้านนาโบสถ์ ไม่อยากให้ครูย้าย แต่ครูก็ให้เหตุผลที่ย้ายนะ ต้องกลับมาดูแลแม่กับพี่ชายที่พิการทางการได้ยิน เด็กๆ ยอมรับ เราแล้วนะซิ พอย้ า ยมาสอนที่ อิ ส ลามวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทย บรรยากาศแตกต่ า งจากที่ เ ดิ ม มากไหม? มาสอนที่ อิ ส ลามวิ ท ยาลั ย ฯ 14 ปี เ ต็ ม เป็ น ครู ม า 24 ปีเต็มความยากง่ายก็คือเด็กที่น่ีจะมีสื่อการสอนมีเทคโนโลยี มากกว่าสามารถเปิดอินเทอร์เน็ตดูได้แต่ส่วนตัวครูจะเน้นสอน ในต�ำราเผอิญมีวิชาวรรณคดีของโปรดด้วย ก็จะขึ้นกระดาน ไว้ ว ่ า จะสอนอะไร และได้ รั บ มอบหมายให้ เ ป็ น ครู ที่ ป รึ ก ษา ม.6/2 พอวันแรกที่เจอช่วงนั้นเป็นกีฬาสี (เหตุการณ์เหมือน ตอนบรรจุครั้งแรกไหม? ช่วงกีฬาสี ฮ่า ฮ่า ฮ่า) เราก็แนะน�ำตัว ว่าเป็นคนกรุงเทพฯ แต่ครูไปบรรจุอยู่ต่างจังหวัด ครูเป็นคนที่ไม่ ดุนะแต่เดี๋ยวเธอจะรู้เอง อย่ามามีเรื่องกับครูเพราะครู ไม่หาเรื่อง กับใคร อย่ามาหาเรื่องกับครูเพราะไม่ปล่อยทิ้งไว้แน่ สะสางให้ เสร็จจบคือจบเลย ตอนหลังเด็กๆ ก็พูดว่า “อาจารย์ รู้ไหมตอน แรกพวกหนูไม่ยอมรับครูที่ปรึกษาที่เป็นผู้หญิง เพราะจู่จี้ ขี้บ่น จุกจิก เรื่องมาก แต่อาจารย์ไม่ใช่ อาจารย์โคตรนักเลงเลย ลุย ไหนลุยกัน เด็กลุยครูก็ลุยกีฬาสีด้วย” เราอยู่ด้วยกันถึงเช้า นั่ง ท�ำอุปกรณ์เชียร์กันจนได้ถ้วยรางวัลมา 7 ใบ (สีฟ้า ณ เวลานั้น เราไม่แบ่งถ้วยรางวัลให้สีอื่นเลย ฮ่า ฮ่า ฮ่า) ถ้วยรางวัลมี 8 ใบ นะ เราเห็นการท�ำงานของเด็กๆ จริงจังมาก อย่างนักเรียนชาวพุทธก็จะเรียก “แม่” นักเรียนมุสลิม ก็จะเรียก “มะ” มีอยู่ครั้งหนึ่งงานแต่งลูกสาวอาจารย์ ท่าน อยู่จังหวัดนครศรีธรรมราช เราไปพักที่คุ้มสวัสดิ์ หลังจากงาน แต่งเสร็จ มีนักเรียนโทรมา “มะอยู่ไหนครับ” “มะอยู่คุ้มสวัสดิ์ จ๊ะ” “เดี๋ยวผมจะไปรับนะ” “จะมากี่โมง” “มะนอนก่อนเลยไม่ ต้องรอเดี๋ยวไปถึงแล้วโทรหามะนะครับ” จากกระบี่อ่าวลึกขับ มาที่นครศรีธรรมราช หลายร้อยกิโลฯ มาถึงคุ้มสวัสดิ์ตี 2 เรา คิดว่ามาคนเดียว ที่ไหนได้มากันเก้าคน เพื่อ....มารับเราไปงาน แต่งลูกชาย (ลูกศิษย์) นี่คือเด็กที่นี่ (อ.ว.ท.ที่เราเป็นที่ปรึกษา

พวกเขา แค่สามเดือน แต่ความรู้สึกเหมือนเป็นครูที่ปรึกษา สามปี) ขับรถจากอ่าวลึกเก้าคนเพื่อมารับมะคนเดียวนะ เด็ก บอกถ้าเป็นคนอื่นให้ไปเองไม่มารับหรอก เราประทับใจพวก เด็กๆ ซึ่งเป็นเด็กภาคใต้ทั้งหมดเลยนะ แค่ 3 เดือนนี่เราได้ใจ เด็กขนาดนี้เลยหรือ... ด้ า นวิ ช าภาษาไทย ครู เ ห็ น อะไรที่ ต ้ อ งเพิ่ ม เติ ม ให้ นั ก เรี ย นบ้ า ง ? เยอะค่ะ อ่านไม่ออก ไม่คล่อง เขียนไม่ถูก ใช้ภาษา ทางออนไลน์มาก เมื่อก่อนจะมี sms ใช่ไหม เช่น หวัดดี คิคิ คุคุ เพราะว่าเด็กจะมีโซเซียลฯ จะใช้ภาษาผิดไม่ถูกหลัก ไม่ถูก อักขระ พูดไม่ถูก ออกเสียงไม่ถูก ตัว ร,ล ตัวควบกล�้ำไม่ค่อยได้ แต่จะได้ภาษาแบบวัยรุ่น ลายมือไม่สวย ครูต้องให้คัดลายมือ ถ้า ใครคัดไม่สวยครูให้คัดใหม่ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ จนกระทั่งขึ้น ชั้นมัธยมฯ ไม่เข้าใจว่าขึ้นมาได้ยังไง นักเรียนชั้นมัธยมฯ อ่านไม่ ออกเขียนไม่ได้ก็ยังมีให้เห็น ครู เ น้ น อะไรมาเป็ น แนวทางในการสอนหรื อ ใช้ ดู แ ล เด็ ก ? ครูวางเงื่อนไขตั้งแต่วันแรกที่เจอ เน้นระเบียบวินัยก่อน เริ่มตั้งแต่หน้าห้องเรียนเลย รองเท้ามันเยอะ นักเรียนมี 43 คน เราจะวางรองเท้าระเกะระกะไม่ได้ ให้วางแยกชาย-หญิง ชาย อยู่ฝั่งหนึ่ง หญิงฝั่งหนึ่ง เรียงให้เรียบร้อยห้ามเกินเส้นที่ก�ำหนด ไว้ ใครเหยียบส้นรองเท้า ครั้งแรกจะตักเตือนเขาก่อน ครั้งที่สอง 34

IS AM ARE www.fosef.org


35 issue 129 OCTOBER 2018


หน้ากระดาน ครูก็ต้องใช้กระดานบางทีโทรศัพท์ใครเข้ามาครูก็ จะแซวว่าใครช๊อตฉัน เพราะมันจะสั่น ครูก็จะหยิบมารับสายเอง ครูก็จะแจ้งว่าครูเป็นคนรับสาย ก�ำลังสอนอยู่ มีธุระอะไรด่วน ไหม ส่วนใหญ่ก็จะเป็นผู้ปกครองโทรมาจะคุยกับลูก เขาก็จะ ออกไปคุยข้างนอก ครูก็ให้เขาเปิดล�ำโพง อยากรู้ด้วย มีมะโทร มาถามเรื่องงานวันแม่ต้องมาไหมครูก็ให้ค�ำตอบไปด้วย มีบางทีไม่ใช่ผู้ปกครองโทรมาเป็นแฟนโทรมา ครูก็จะ ปลอมเสียงเป็นผู้ชายก็ถามว่าจะคุยกับใครครับ เราเรียนอยู่ หรือ เปล่า เขาก็ตอบกลับมาว่าไม่ได้เรียน มีแฟน ครูก็บอกไปเรียน ก่อนดีไหม รอให้มีหน้าที่การงานที่มั่นคงก่อนนะเพราะเด็กเรา เขามาเรียนเพื่อหาความรู้ เพื่อกลับไปพัฒนางานที่บ้าน (ภาค ใต้) ครูก็จะถามเขาว่ามีอะไรหรือเปล่าคะ ครูก�ำลังสอนอยู่เลย (ขณะที่คุยเจ้าของโทรศัพท์ก็อยู่ด้วย) ครูก็จะแจ้งเขาว่าตอนนี้ ยังไม่หมดเวลาเรียน ให้โทรมาตอนเที่ยง หรือว่าตอนเย็นก็ได้ นะลูก ถ้ามีธุระอะไรด่วนก็รอเวลาละกัน เขาก็ไม่โทรมาเลย เลิก คุยเลิกกันเลย (หัวเราะ)

ลงบันทึก แต่ถ้ามีครั้งที่สามโดนหวายนะ การเข้าห้องเรียน ถ้า ประตูปิดอยู่หรือครูนั่งอยู่ในห้อง ต้องเคาะประตูก่อนสามครั้ง เปิดประตูเข้าห้องมาต้องพูดว่า “ขออนุญาตเข้าห้องครับ/ค่ะ” แล้วเดินเข่าเข้ามา แล้วค่อยเดินไปถึงโต๊ะที่ตัวเองนั่ง ไม่ใช่ว่าจะ ท�ำกับครูแค่คนเดียวนะ แต่ให้ท�ำแบบนี้กับครูทุกๆ ท่าน เพราะ ครูจะคอยถามครูที่สอนในระดับชั้นเดียวกัน บนโต๊ะในห้องเรียนมีป้ายชื่อ ใครนั่งตรงไหนให้น่ังตรง นั้นประจ�ำ เคยมีโดนลอกชื่อออกจากโต๊ะ นักเรียนห้องอื่นมา ใช้ แ ล้ ว ดึ ง ชื่ อออก สมุด หนังสือก็จะไม่ให้ใส่ใต้โต๊ะ จะให้ น� ำ กลับบ้าน เพื่อกลับไปทบทวนที่บ้านด้วย ถ้าเจอว่าอยู่ใต้โต๊ะ หนังสือมีราคาโดนเล่มละ 2 ที ครูตีและเก็บค่าปรับด้วย ครูจะ วางเงื่อนไขกับห้องที่ครูดูแลก่อน ถ้าครูไปสอนห้องไหนก็จะวาง เงื่อนไขเหมือนกันหมด

แสดงว่ า โทรศั พ ท์ หรื อ โซเชี ย ลมี เ ดี ย มี อิ ท ธิ พ ลกั บ เด็ ก และรบกวนเวลาเรี ย น? ใช่ค่ะ ครูถึงตัดปัญหาว่าเวลาเรียนให้ปิดเครื่อง เด็กๆ ก็ยอมรับนะ ทุกวันนี้ก็ยังใช้อยู่ ก่อนที่ครูจะเข้ามาสอนเขาก็ปิด โทรศัพท์แล้วก็เอามาวางไว้ที่กระดานเรียบร้อย เพราะเราเห็น เขาหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาสไลด์เราก็นึกว่าเขาดูอะไร ดูฟุตบอล บางคนใส่หูฟัง ฟังเพลง คุยโทรศัพท์ ครูก็เดินไปยึด ถ้าจะมา ขอคืนต้องให้ผู้ปกครองมารับอย่างเดียว เวลาประชุมผู้ปกครอง ครูก็จะพูดเลย ใช้วิธีการสื่อสารตรงๆ ครูก็จะแจ้งเลยว่าครูไม่ ให้ใช้โทรศัพท์ในเวลาเรียนนะ ครูจะให้ปิดเครื่องแล้ววางไว้ที่ หน้ากระดาน ถ้าเด็กท�ำผิดจะตักเตือน หักคะแนน ไม่มีครั้งที่ สามส�ำหรับครู เราก็จะตี (ให้นักเรียนท�ำโทษตัวเอง) แต่ก็แจ้งผู้ ปกครองถ้าผู้ปกครองคนไหนไม่ให้ท�ำโทษให้บอกครู

พอเราตั้งเงื่อนไขวางระเบียบลงตัวแล้ว ครูก็จะถามก่อน ว่าในห้องเรียนนี้ใครที่มีแฟนแล้ว แสดงตัวตนออกมาว่าใครมี แฟนแล้ว ครูก็จะถามว่าเขาเป็นใคร ชื่ออะไร อยู่ชั้นไหน ม.อะไร โรงเรียนไหน พามาให้ครูดู ครูจะได้รู้และถ้านั่งคุยกันอย่าไปนั่ง คุยกันในที่ลับๆ ให้นั่งคุยในที่โล่งแจ้ง หรือที่สนามหรือม้าหิน อ่อนอะไรก็ได้ แต่ให้มีคนเห็นว่าเราไม่ได้นอกลู่นอกทาง แต่ถ้า ไปคุยที่อื่นแล้วมีคนมาฟ้อง ครูไม่เลี้ยงและจะท�ำบันทึกไว้แจ้งผู้ ปกครองว่ารู้ไหมว่าบุตรหลานมีแฟน คนที่แสดงออกเปิดเผยเรา ยังแนะน�ำ ตักเตือนให้เขาเอาตัวรอดได้ ไม่พลั้งพลาดครูจะเป็น ห่วงพวกเงียบๆ แบบนี้เราจะไม่รู้

ใ น ฐ า น ะ ที่ เ ป ็ น ค รู ม า 2 4 ป ี ป ั จ จุ บั น มี ค รู ใหม่ ๆ ก้ า วขึ้ น มาหลายท่ า น ครู จ ะแนะน� ำ เขายั ง ไง ? ครูใหม่ๆ จะเน้นในเรื่องของเทคโนโลยี ประชุมกันทาง ไลน์ พิมพ์ข้อความส่งมาในไลน์ให้อ่าน การที่จะมานั่งประชุม ในกลุ่มสาระฯ มีเวลาน้อยหรือคาบว่างไม่ตรงกัน ส่วนหนึ่ง เพราะว่างานเยอะด้วย อิสลามวิทยาลัยฯ เป็นโรงเรียนหนึ่งที่มี หลากหลายวัฒนธรรม หลายศาสนา มีงานโน้นเข้างานนี้เข้ามา ตลอด แล้วทุกคนก็จะรับงานไป มันก็ไม่มีเวลาจะมาประชุม ก็ จะเป็นแบบขออนุญาตประชุมกันในไลน์

ส� ำ หรั บ ครู โซเชี ย ลฯ เข้ า มามี บ ทบาทในการเรี ย น การสอนมากไหม? ส่วนใหญ่จะเป็นโทรศัพท์ ครูจะถามว่าใครใช้โทรศัพท์ เด็กก็จะยกมือ ครูก็ขอเขาว่าถ้าเรียนกับครู ถ้าต้องพกเอาไว้ใช้ ติดต่อกับใครหรือมีธุระ ก็ขอให้เปิดแบบสั่นไว้ แล้วน�ำวางไว้ที่ 36

IS AM ARE www.fosef.org


แต่ เรื่ อ งเทคโนโลยี กั บ ครู ส มั ย ใหม่ เราต้ อ งยอมรั บ ว่ า เขาเก่ง พวกเอกสารที่ต้องใช้โปรแกรม งานต่างๆ เขาก็ท�ำได้ ดีในด้านนี้ แต่สิ่งที่ครูอยากจะเสริมและแนะน�ำกับน้องๆ คือ ความมีสัมมาคารวะ เจอครูผู้ใหญ่ไม่ทักทาย ไม่ยกมือไหว้ ไม่ใช่ เดินแข็งผ่านไป ต้องให้เกียรติเพราะเขาเป็นครูบาอาจารย์ของ เราด้วย เป็นรุ่นพี่ ก็แค่ยิ้มทักทาย สวัสดีค่ะ เป็นกัลยาณมิตร ที่ดีต่อกัน แต่ที่เห็นบางคนไม่เคยทักทาย ไม่เคยยิ้ม แต่เราก็จะ บอกกับเขานะ ถ้าอยากได้รับสิ่งไหนก็ให้ท�ำสิ่งนั้น ก็จะได้รับ กลับมา บางคนก็ไหว้แบบไม่รู้ระดับของการไหว้ ทั้งที่มันก็มีแค่ สามระดับ ครูว่ามันอยู่ที่การเลี้ยงดูของพ่อแม่ เป็นส่วนส�ำคัญ จะปลูกฝังลูกยังไง เพราะเขาก็ต้องมาเป็นต้นแบบให้กับเด็ก เป็นแม่พิมพ์ เพราะเด็กก็จะดูตัวอย่าง บางที บางค�ำที่เราพูด ไปท�ำไมเด็กไม่โกรธ แต่กับครูอีกท่านหนึ่งพูดค�ำเดียวกัน แต่พอ เด็กได้ยินกลับโกรธ ไปฟ้องผู้ปกครอง มาเอาเรื่องที่โรงเรียน ครู ก็ถามเด็กว่าครูก็พูดค�ำนี้ท�ำไม่หนูไม่โกรธ เด็กบอกมันไม่เหมือน กันครู อย่างครูพูด ครูไม่ได้พูดด้วยความโมโห ความโกรธ ครู ยึดถือความจริงใจหนูรู้ ในความเป็ น ครู ครู อ ยากเห็ น อะไรในนั ก เรี ย นมาก ที่ สุ ด ? ครูต้องการให้เขาเป็นคนดีของสังคม มีความซื่อสัตย์ มี น�้ ำ ใจ ช่ ว ยเหลื อ คนอื่ น โดยไม่ ห วั ง สิ่ ง ใดตอบแทน บางวั น นักเรียนไม่มีเงินกินข้าวมาขอยืมครู เดี๋ยวผมเอามาคืนครูนะครับ วันรุ่งขึ้นนักเรียนน�ำเงินมาคืนครูบอกว่าหนูเก็บเอาไว้ลูกไม่ต้อง คืนครู เราอยากให้เขาเป็นผู้ให้ เพราะถ้าเราให้อะไรเขาไป เรา ก็จะได้สิ่งนั้นกลับมาทุกอย่างเลย มีความจริงใจ มีความตรงต่อ เวลา การมีมารยาท ค�ำพูด พูดมีหางเสียง เด็กบางคนพูดไม่มี

หางเสียงครูก็จะถามย�้ำ อะไรนะคะ อะไรนะ เขาได้ยินจากที่ ครูพูด แล้วก็จะพูดใหม่ให้มีหางเสียง ครูจะเน้นให้เขาพูดให้ชัด อย่ามาใช้ภาษาต่างประเทศปนภาษาไทย ค�ำว่า “โอเคค่ะ โอ เคครับ” นักเรียนชอบใช้กับครู ซึ่งมันไม่ถูกต้อง ไม่สมควรใช้ ค�ำนี้กับบุคคลที่อาวุโสกว่า ครูจะให้ผู้ที่ใช้ค�ำนี้ไปหาที่มาของค�ำ ว่าโอเคมาให้ครูด้วย ควรพูดภาษาไทยให้ชัดถ้อยชัดค�ำ เขียน เลขไทย แต่ถ้าเป็นภาษาอังกฤษหนูก็พูดไปเลยตามที่คุณครู เขาสอน แต่ขอเพียงภาษาไทยเขียนเลขไทยขออย่างเดียว เรื่อง มารยาทก็เช่นกัน สุ ด ท้ า ยอยากให้ ค รู ฝ ากถึ ง เด็ ก ๆ อยากฝากเรื่องการมีสัมมาคารวะ เรื่องมารยาท เรื่อง แบบนี้ต้องการให้ประพฤติ ปฏิบัติบ่อยๆ ให้เกิดเป็นความเคยชิน จนเป็นนิสัยเลย เวลาครูเข้าห้องครูถามเรื่องงาน หรือไลน์ถาม อะไรไปต้องตอบ เรื่องการตรงต่อเวลา เพราะถ้าเราเกิดช้า หรือ ไม่ตรงเวลา มันเกิดข้อผิดพลาดได้ง่ายจะส่งผลถึงการท�ำงาน การด�ำเนินชีวิตต่อไปในอนาคต

37 issue 129 OCTOBER 2018


38 IS AM ARE www.fosef.org


สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ การทรงงานอย่ า งบู ร ณาการในพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เพื่ อ แก้ ไ ขความเดื อ ดร้ อ นในเรื่ อ งต่ า งๆ ให้ แ ก่ พสกนิ ก รนั้ น ทรงมี วิ ธี คิ ด อย่ า ง “องค์ ร วม” หรื อ มองอย่ า งครบวงจรในการที่ จ ะพระราชทานพระราชด� ำ ริ เกี่ ย วกั บ โครงการหนึ่ ง นั้ น จะทรงมองเหตุ ก ารณ์ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และแนวทางแก้ ไ ขอย่ า งเชื่ อ มโยงกั น จากนั้ น พระองค์ จ ะทรง “ท� ำ ตามล� ำ ดั บ ขั้ น ” โดยเริ่ ม ต้ น จากสิ่ ง ที่ จ� ำ เป็ น ของประชาชนที่ สุ ด ก่ อ นแล้ ว จึ ง แก้ ไ ขปั ญ หา ในเรื่ อ งต่ อ ๆ ไป หรื อ ทรงท� ำ ในสิ่ ง ที่ ง ่ า ยไปหาสิ่ ง ที่ ย าก ท� ำ สิ่ ง เล็ ก ไปหาสิ่ ง ใหญ่ อ ย่ า งเป็ น ล� ำ ดั บ ขั้ น โดยไม่ ก้ า วกระโดด นอกจากนี้ ท รงเน้ น การ “บริ ก ารรวมที่ จุ ด เดี ย ว” ในลั ก ษณะบริ ก ารแบบเบ็ ด เสร็ จ เพื่ อ ความ สะดวกและประโยชน์ แ ก่ ป ระชาชนดั ง แนวพระราชด� ำ ริ แ ละพระราชกรณี ย กิ จ รวมทั้ ง โครงการต่ า งๆ ดั ง นี้

แนวพระราชด�ำริ

องค์ ร วมและบริ ก ารรวมที่ จุ ด เดี ย ว การเข้าไปช่วยแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ ให้แก่ราษฎรนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมี วิธีการคิด และทรงมอง ปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึงภาพเล็กในทุกๆ มิติ โดยทรงมอง ทุกอย่างเชื่อมโยงกัน จากนั้นทรงแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ครบวงจรในทุกขั้นตอน ดังแนวพระราชด�ำริ ดังนี้ • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีวิธีคิดอย่างองค์ รวม (Holistic) ทรงมองสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้น อย่างเป็นระบบครบ วงจร ทั้งในขั้นตอนการวางแผนและการปฏิบัติโดยการวางแผน จะต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน เตรียมการแก้ไขปัญหาทั้งระยะสั้น และระยะยาวสอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ และวิเคราะห์ ปัญหาที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอย่างเป็นองค์รวม เพื่อมิให้เกิด ปั ญ หาขึ้ น ในอนาคต ดั ง พระราชด� ำ รั ส จากหนั ง สื อ แนวพระ ราชด�ำริด้านการบริหารจัดการกรุงเทพมหานครของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวความตอนหนึ่งว่า

“...การจัดระบบควบคุมน�้ำในคลองต่างๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการจัดระบบระบายน�้ำในกรุงเทพมหานครนั้นสมควร วางระบบให้ถูกต้องตามสภาพการณ์และลักษณะภูมิประเทศ ซึ่งควรแบ่งออกเป็น ๒ แผนด้วยกันคือแผนส�ำหรับใช้ กับในฤดู ฝนหรือในฤดูน�้ำมากนี้ก็เพื่อประโยชน์ในการป้องกันน�้ำท่วม และเพื่อบรรเทาอุทกภัยเป็นส�ำคัญแต่แผนการระบายน�้ำในฤดู แล้งนั้นก็ต้องจัดอีกแบบหนึ่งต่างกันไป เพื่อการก�ำจัดหรือไล่น�้ำ เน่าเสียออกจากคลองดังกล่าวเป็นหลัก ซึ่งทั้งสองระบบนี้ควร จะพิจารณาถึงวิธีการระบายน�้ำโดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก ให้มากที่สุด ทั้งนี้เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในการควบคุมระดับน�้ำ ตามล�ำคลองเหล่านี้...” และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานสัมภาษณ์ในหนังสือ “พระมหากษัตริย์นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” ความตอนหนึ่งว่า “...ที่แก่งกระจานมีชาวกะหร่างอาศัยอยู่มากพระองค์ เสด็จฯ เข้าไปเพื่อทรงดูแลชาวบ้านกลุ่มนี้ ว่าควรจะเพาะปลูก อะไรท�ำอย่างไรจะมีอยู่มีกิน และสามารถที่จะน�ำของไปขายหรือ ประกอบอาชีพอื่นๆ จึงทรงให้ความรู้รวมถึงส่งเด็กๆ แถวนั้น 39

issue 129 OCTOBER 2018


สรุ ป แนวพระราชด� ำ ริ และพระราชด�ำรัสพระราชทานในโอกาสที่คณะบุคคล ต่างๆ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายพระพรชัยมงคล เนื่องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2526 ความตอนหนึ่ง ว่า “...ความจริงต้นเหตุของการท่วมนั้น ข้อใหญ่ก็คือไป สร้างบ้านในบึงไปสร้างบ้านในที่ลุ่มนั่นเอง แต่ทั้งหมดนี้ก็ที่จะ พูดว่าเพราะว่ามนุษย์เราไปแก้ไข ได้ไปเปลี่ยนแปลงดัดแปลง ธรรมชาติ จนท� ำ ให้ ธ รรมชาติ นั่ น เปลี่ ย นออกมาเป็ น คนละ อย่ า ง อาจจะเรี ย กได้ ว ่ า เป็ น ธรรมชาติ เ หมื อ นกั น เพราะว่ า เป็นธรรมชาติของคนคนที่จะต้องขวนขวายหาที่อยู่ขวนขวาย หาความสบายขวนขวายที่ จ ะสร้ า งอะไรที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ ตนแต่ ว ่ า การสร้ า งสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ แ ก่ ต นนั้ น หรื อ ท� ำ อะไรที่ ดั ด แปลงธรรมชาติ ก็ ย ่ อ มอาจจะท� ำ ให้ ธ รรมชาติ นั้นเปลี่ยนแปลงไปจริงๆ โดยที่ไม่อยู่ในความควบคุมของผู้ที่ ดัดแปลงนั่นเอง...” • ทรงมองปัญหาตั้งแต่ภาพใหญ่จนถึงภาพเล็กในทุกๆ มิ ติ ดั ง เช่ น การแก้ ไขปั ญ หาการจราจรนั้ น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวทรงมองภาพรวมในการแก้ปัญหาจราจรทั้งระบบ และมีพระราชด�ำริให้แก้ปัญหาในภาพย่อยทีละจุด โดยจัดล�ำดับ การด�ำเนินโครงการที่ได้ผลเร็วก่อน จากนั้นจึงมีโครงการอื่นที่ ต่อเนื่องอีก เนื่องจากการแก้ปัญหาจราจรทั้งระบบเป็นเรื่องใหญ่ เรียนหนังสือส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ที่จะช่วยให้เขามีชีวิตความ และต้องใช้เวลานาน จึงต้องแก้ไขปัญหาในจุดย่อยทีละจุดก่อน เป็นอยู่ดีขึ้น เจ็บไข้ได้ป่วยก็ทรงรักษาโดยท�ำแบบครบวงจรใน หรือแก้ปัญหาในส่วนที่ท�ำได้ก่อน เพื่อช่วยให้ปัญหาผ่อนคลาย ทุกๆ อย่างพระองค์ทรงพัฒนาอย่างครบวงจรอะไรที่จะเสริม ลง และเมื่อปัญหาในจุดย่อยแต่ละจุดได้รับการแก้ไข ปัญหาภาพ รวมทั้งระบบก็จะค่อยๆ หมดไป อย่างไรก็ตาม หากปัญหาที่เกิด ให้ดีขึ้นได้ทรงท�ำทุกอย่าง...” • ทรงมองทุกสิ่งเป็นพลวัตที่ทุกมิติ เชื่อมต่อกันในการ ที่จะพระราชทานพระราชด�ำริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้น ทรง มองเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น และแนวทางแก้ไขอย่างเชื่อมโยงกัน ดังเช่นเรื่อง “น�้ำ” ที่ทรงให้ความส�ำคัญอย่างยิ่ง ทรงพระราชด�ำริ ตั้งแต่จากฟากฟ้าสู่ทะเล จะเห็นได้ว่าทรงพระราชด�ำริฝนหลวง เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาความแห้ ง แล้ ง เมื่ อ ฝนตกลงมาแล้ ว มี พ ระ ราชด�ำริให้หาทางเก็บกักน�้ำไว้ใช้โดยการอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่ ป่าไม้ สร้างฝายต้นน�้ำ ปลูกหญ้าแฝก สร้างอ่างเก็บน�้ำบริเวณ เชิงเขา และสร้างเขื่อน เมื่อลงมาพื้นที่ราบมีพระราชด�ำริ ทฤษฎี ใหม่ ให้ประชาชนกันพื้นที่ส่วนหนึ่งเพื่อกักเก็บน�้ำไว้ใช้ รวมทั้ง การสร้างแก้มลิง คันกั้นน�้ำ สร้างทางให้น�้ำผ่าน การบ�ำบัดน�้ำ เสียด้วยกังหันน�้ำชัยพัฒนา สร้างทางระบายน�้ำลงทะเล และ การอนุรักษ์ป่าชายเลน 40 IS AM ARE www.fosef.org


41 issue 129 OCTOBER 2018


ให้แก่ประชาชน เป็นการพัฒนาแบบผสมผสานที่ให้ผลเป็นการ “บริการรวมที่จุดเดียว” รูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Service ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในระบบบริหาร ราชการแผ่นดินของประเทศไทย พระองค์ทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด� ำ ริ เ ป็ น ต้ น แบบในการบริ ก ารรวมที่ จุ ด เดี ย วเพื่ อ ประโยชน์ต่อประชาชนที่มาขอใช้บริการ จะประหยัดเวลาและ ค่าใช้จ่าย โดยมีหน่วยงานราชการต่างๆ มาร่วมด�ำเนินการ และให้บริการประชาชน ณ ที่แห่งเดียว ดังพระราชด�ำรัส ณ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เมื่ อ วั น ที่ 11 สิ ง หาคม 2526 เกี่ ย วกั บ การท� ำ งานแบบ บูรณาการว่า “...กรมกองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประชาชนทุกด้าน ได้สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นปรองดองกัน ประสานกัน ตามธรรมดาแต่ละฝ่ายต้องมีศูนย์ของตนแต่ว่าอาจจะมีงาน ถือว่าเป็นศูนย์ของตัวเองคนอื่นไม่เกี่ยวข้องและศูนย์ศึกษาการ พัฒนาเป็นศูนย์ที่รวบรวมก�ำลังทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรม กองทั้งในด้านเกษตรหรือในด้านสังคมทั้งในด้านหางาน การ ส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกันก็หมายความว่าประชาชน ซึ่ง จะต้องใช้วิชาการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู ส่วนเจ้าหน้าที่จะ ให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมกันในที่เดียวกัน เหมือนกันซึ่งเป็นสองด้านก็หมายถึงว่าที่ส�ำคัญปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์และต้นทางของผู้เป็นเจ้าหน้าที่ จะให้ประโยชน์...”

ขึ้นเป็นปัญหาเฉพาะหน้าเร่งด่วน หรือเมื่อปัญหาถึงจุดวิกฤต ก็ จ�ำเป็นต้องแก้ปัญหาวิกฤตนั้นก่อน ดังพระราชด�ำรัสจากหนังสือ แนวพระราชด�ำริด้านการบริหารจัดการกรุงเทพมหานครของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความตอนหนึ่งว่า “...โครงการที่ ไ ด้ ผ ลคงเป็ น ที่ ทั น ใจของท่ า นทั้ ง หลาย ล�ำดับแรกที่จะใหญ่โตพอสมควรคือการท�ำทางแยกที่เชิงสะพาน พระปิ่นเกล้าซึ่งจะใช้เวลาเพียงสามสี่เดือนก็ท�ำส�ำเร็จและเข้าใจ ว่าจะช่วยได้มาก ต่อจากนั้นก็ได้ขยายสะพานผ่านฟ้าซึ่งก็ท�ำได้ ดีพอสมควรเหมือนกัน เดี๋ยวนี้ก�ำลังท�ำการขยายสะพานมัฆวาน ต่อไปก็ยังมีโครงการที่ต่อเนื่องไปท่านจะเห็นได้ว่าที่ท�ำนี้เป็น ส่วนเดียวของการจราจรแต่ว่าไม่สามารถที่จะแก้ไขจราจรได้ เบ็ดเสร็จทั้งหมด ซึ่งจะกินเวลาเป็นปี และงานเหล่านี้ก็เป็นส่วน เดียวของการแก้ปัญหา ต่อจากสะพานมัฆวานนั้นก็มีโครงการ ต่อไปให้มาทางถนนศรีอยุธยา...” จากพระราชด�ำริองค์รวม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระราชด�ำริให้จัดการบริการรวมที่จุดเดียวแก่ประชาชนเพื่อ อ�ำนวยความสะดวก ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย โดยมีแนว พระราชด�ำริ ดังนี้ • พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นในเรื่องการ สร้างความรู้ รัก สามัคคี และการร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกัน ด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มัก จะต่างคนต่างท�ำ และยึดติดกับการเป็นเจ้าของเป็นส�ำคัญ ให้ แปรเปลี่ยนเป็นการร่วมมือกัน โดยไม่มีเจ้าของ ท�ำงานร่วมกัน เป็นกลุ่มอย่างมีเอกภาพ เพื่อสามารถอ�ำนวยประโยชน์สูงสุด 42

IS AM ARE www.fosef.org


• การแก้ไขปัญหาของประเทศชาติที่มีอยู่มากมายนั้น จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องด�ำเนินการอย่างเร่งด่วนและเบ็ดเสร็จ ในขั้นตอนเดียว การแก้ไขปัญหาโดยใช้วิธีการบูรณาการ จึง เป็นแนวทางที่มีประสิทธิภาพ โดยอาศัยความร่วมแรงร่วมใจ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย เพื่อประสานความร่วมมือนับ ตั้งแต่การร่วมค้นหาสาเหตุของปัญหา ร่วมกันก�ำหนดแผนงาน ร่วมกันปฏิบัติ และร่วมกันประเมินผลการท�ำงานซึ่งพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเน้นย�้ำให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันท�ำอย่าง จริงจัง เพื่อให้ผลของการด�ำเนินงานไปถึงประชาชนที่ยากไร้ อย่างแท้จริง • อาศัยหลักวิชาการที่หลากหลายมาแก้ไขปัญหาร่วม กันแบบสหวิทยาการ ดังที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี พระราชทานสัมภาษณ์ในหนังสือ “พระมหา กษัตริย์นักพัฒนา เพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา” ความตอน หนึ่งว่า “...นับเป็นการศึกษารูปแบบหนึ่ง คือเป็นการศึกษาของ คนที่อยู่ต่างหน่วยงานราชการต่างความรู้ต่างความคิดมาท�ำงาน ร่วมกันในพื้นที่เดียวกันจะน�ำความรู้ของตนเองมาท�ำอย่างไรให้ พื้นที่ตรงนี้เจริญสามารถใช้ได้แล้วคนรอบข้างมีความสุข อย่าง

เช่น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองฯจังหวัดนราธิวาสจะแก้ ปัญหาในท้องถิ่นเรื่องดินเปรี้ยว จะท�ำอย่างไรจึงจะแก้ไขปัญหา นี้ได้ไม่ใช่ว่ากรมชลประทานอยู่ส่วนชลประทานกรมพัฒนาที่ดิน อยู่ส่วนพัฒนาที่ดินกรมป่าไม้อยู่ส่วนป่าไม้กรมปศุสัตว์อยู่ส่วน ของปศุ สั ต ว์ แ ต่ จ ะมารวมกั น ทุ ก หน่ ว ยทุ ก คนน� ำ ความรู ้ แ ละ เทคนิคของตัวเองมาลงในโครงการเดียวกันเป็นการศึกษาร่วม กันในรูปแบบใหม่เสร็จแล้วราษฎรก็มาดู นักพัฒนาก็มาศึกษา เพื่อน�ำความรู้ตรงนี้ไปปรับใช้ในที่ของตัวเองหมู่บ้านบริวารเขา ก็จะน�ำไปท�ำเมื่อท�ำได้ผลสามารถล้างหนี้สินได้คนๆนั้นก็จะเป็น วิทยากรสอนคนอื่นมีน�้ำใจที่จะให้ความรู้ในการช่วยคนอื่นต่อไป บางคนเมื่อเขาปลูกได้แล้วเหลือกินใครมาขอเขาก็ให้...” • การติดตามดูแล คอยแก้ไข ตรวจสอบ และปรับปรุง วิธีการอย่างสม�่ำเสมอ ทั้งในส่วนของการบริหาร การจัดการ และการปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดความผสมกลมกลืน และจะท�ำให้ การด�ำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นสู่เป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งสิ่ง ต่างๆ ที่หลากหลายหน่วยงานได้มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานนั้น จะส่งผลให้ราษฎรผู้รับผลของการพัฒนาเกิดการเรียนรู้และน�ำ ไปสู่การด�ำเนินการด้วยตนเอง เกิดการพึ่งพาตนเองและเป็นการ พัฒนาที่ยั่งยืนในที่สุด

43 issue 129 OCTOBER 2018


การเลี้ยงไก่ไข่

ผสมผสานกับการเลี้ยงปลา

44 IS AM ARE www.fosef.org


อาชี พ ทางเลื อ ก

1.เหตุผลความเหมาะสม

การประกอบอาชี พ การเกษตรในลั ก ษณะการเกษตร ผสมผสาน เช่ น การเลี้ ย งไก่ ไข่ ผ สมผสานกั บ การเลี้ ย งปลา จะเป็ น แนวทางการประกอบอาชี พ ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ กษตรกรลด ความเสี่ ย งต่อการขาดทุน จากอาชีพใดอาชีพหนึ่ ง เนื่ อ งจาก แต่ละกิจกรรมพึ่งพาซึ่งกันและกัน สามารถท�ำให้เกิดรายได้ หมุนเวียนต่อเนื่องตลอดปี และท�ำให้ใช้ดินให้เกิดประโยชน์ได้ อย่างเต็มที่ในด้านการผลิต

2.เงื่อนไขความส�ำเร็จ

เกษตรกรจะต้องมีแหล่งน�้ำส�ำหรับการเลี้ยงปลา มีแหล่ง วัตถุดิบที่จะใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่อย่างเพียงพอและมี ราคาถูก มีแรงงานและเงินทุนหมุนเวียนส�ำหรับใช้ในการเลี้ยง อย่ า งเพี ย งพอรวมทั้ ง ต้ อ งมี ต ลาดรองรั บ ผลผลิ ต ของทั้ ง สอง กิจกรรมอย่างชัดเจน

3.เทคโนโลยี และกระบวนการผลิต

3.1 พันธุ์สัตว์ พันธุ์ไข่ไก่ เกษตรกรสามารถเลี้ยงไก่ไข่พันธุ์แท้ อาทิ พันธุ์โร๊คไอแลนด์ บาร์พลีมัทร็อค โดยต้องหาซื้อจากแหล่งที่ เชื่อถือได้เป็นพันธุ์ดีให้ไข่ฟองโต ไข่ตก สีเปลือกตรงตามความ ต้องการของตลาดหรือจะใช้พันธุ์ไก่ไข่ที่ผลิตจากทางร้านค้า และ มีจ�ำหน่ายทั่วไป ส�ำหรับพันธุ์ปลาที่ใช้ควรเป็นปลากินพืช ได้แก่ ปลานิล หรือปลานิลร่วมกับปลาสวาย

การเลี้ ย งไก่ ไ ข่ ผ สมผสานกั บ การเลี้ ย งปลาจะเป็ น แนวทางการประกอบอาชี พ ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ กษตรกรลด ความเสี่ ย ง ต่ อ การขาดทุ น จากอาชี พ ใดอาชี พ หนึ่ ง เนื่ อ งจากแต่ ล ะกิ จ กรรมพึ่ ง พาซึ่ ง กั น และกั น สามารถ ท� ำ ให้ เ กิ ด รายได้ ห มุ น เวี ย นต่ อ เนื่ อ งตลอดปี

3.2 โรงเรือนและอุปกรณ์ โรงเรือนส�ำหรับเลี้ยงไก่ไข่ ขนาด 20-100 ตารางเมตร จะเลี้ยงไก่ไข่ได้ประมาณ 200-300 ตัว บนบ่อปลาขนาดพื้นที่ 1 ไร่ ซึ่งจะเลี้ยงปลานิลได้ประมาณ 3,000-4,000 ตัว โรงเรือน ไก่ไข่ต้องสามารถป้องกันแดด ฝน และลมโกรก พื้นเล้าควร สูงจากระดับน�้ำ 1-1.5 เมตร และมีช่องให้มูลไก่หล่นลงในบ่อ ได้ ภายในโรงเรือนต้องมีอุปกรณ์ให้น�้ำและอาหารอย่างเพียง พอ โดยใช้สัดส่วน 4-5 ถังต่อไก่ 100 ตัว และต้องมีรังไข่ 1 รัง ต่อไก่ไข่ 4 ตัว ในกรณีที่เลี้ยงไก่ไข่แบบกรงตับจะต้องมีกรงตับ ส�ำหรับเลี้ยงไก่ไข่ 45 issue 129 OCTOBER 2018


เช่น แพลงก์ตอน ตะไคร่น�้ำ และแมลงต่างๆ ในระยะที่ปลายัง เล็กอยู่อาจต้องมีการเสริมอาหารขันบ้าง เพื่อช่วยให้ลูกปลา แข็งแรง ไก่ไข่จะเริ่มให้ไข่เมื่ออายุประมาณ 22 สัปดาห์ ใน 1 ปี แม่ไก่สามารถให้ไข่ไก่ได้ ประมาณ 250-280 ฟอง ต่อตัวต่อปี และจะปลดระวางไก่ไข่หลังจากเริ่มไข่ประมาณ 1 ปี หรือเมื่อให้ ผลผลิตต�่ำกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ของฝูง ส่วนการจับปลาจ�ำหน่าย จะเริ่มคัดปลาที่มีขนาดใหญ่ออกจ�ำหน่าย เมื่อมีอายุได้ประมาณ 4-5 เดือนเป็นต้นไป

3.3 การจัดการเลี้ยงดู ควรเริ่มด้วยการน�ำไก่สาว ขนาดอายุ 18-20 สัปดาห์ มา เลี้ยงในคอกบนบ่อปลาซึ่งปล่อยปลากินพืช อาทิ ปลานิลขนาด 3-5 ซม. โดยการน�ำไก่มาเลี้ยงหลังการเตรียมบ่อและน�้ำมีสีเขียว แล้ว การให้อาหารไก่จะใช้อาหารส�ำเร็จรูปที่มีจ�ำหน่ายทั่วไป หรืออาจลดต้นทุนด้วยการผสมอาหารใช้เองจากวัตถุดิบที่มีใน ท้องถิ่นแต่ต้องโภชนะตามที่ไก่ต้องการในระยะต่างๆ ต้องให้ อาหารอย่างเพียงพอและสม�่ำเสมอ ไก่ไข่จะกินอาหารประมาณ 120 กรัมต่อตัวต่อวัน และต้องมีน�้ำสะอาดให้กินตลอดเวลา ส่วน อาหารปลานั้น โดยหลักการผสมผสานปลาจะอาศัยมูลไก่ และ เศษอาหารที่ตกหล่นลงในบ่อรวมทั้งอาหารตามธรรมชาติในบ่อ

3.4 การควบคุมและป้องกันโรค ส�ำหรับไก่ไข่ต้องได้รับวัคซีนป้องกันโรคระบาดที่ส�ำคัญ ตามโปรแกรมที่ก�ำหนด ได้แก่ วัคซีนป้องกันโรคนิวคาสเซิล โรคหลอดลมอักเสบ โรคอหิวาต์และโรคผีดาษ

4.ต้นทุน และผลตอบแทน

ส�ำหรับการเลี้ยงไก่ไข่สาว จ�ำนวน 300 ตัว ในโรงเรือน ขนาด 100 ตารางเมตร บนบ่อเลี้ยงปลานิลที่มีพื้นที่ 1 ไร่ และ ปล่อยปลานิล จ�ำนวน 4,000 ตัว 46

IS AM ARE www.fosef.org


4.1 ต้นทุน จะเกิ ด จากค่ า โรงเรื อ น อุ ป กรณ์ ค่ า พั น ธุ ์ ไ ก่ ไข่ แ ละ ปลานิลค่าอาหาร ค่าวัคซีนและเวชภัณฑ์ รวมมีต้นทุนประมาณ 180,000-190,000 บาท ต้นทุนนี้จะลดในการเลี้ยงปีต่อๆ ไป เนื่องจากไม่ต้องลงทุนในเรื่องโรงเรือน และอุปกรณ์อีก 4.2 ผลตอบแทน จะได้จาก 1) การจ�ำหน่ายไข่ไก่ จ�ำนวน 250-300 ฟองต่อตัวต่อ ปี จ�ำหน่ายในราคาฟองละ 1.80 บาท คิดเป็นเงินประมาณ 135,000 – 151,000 บาท

2) การจ�ำหน่ายไก่ปลดระวาง จ�ำนวนประมาณ 250300 ตัว ในราคาตัวละ 50 บาท คิดเป็นเงินประมาณ 12,50015,000 บาท 3) การจ�ำหน่ายปลา จ�ำนวนประมาณ 1,00 กก. ในราคา กิโลกรัมละ 30 บาท คิดเป็นเงิน 36,000 บาท อย่ า งไรก็ ต ามต้ น ทุ น และผลตอบแทนดั ง กล่ า ว จะ เปลี่ยนแปลงไปตามแหล่งที่เลี้ยงสภาวะการตลาด และขนาด ของการผลิตโดยเฉพาะราคาพันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์ และราคา รั บ ซื้ อ ผลผลิ ต ที่ แ ตกต่ า งกั น ดั ง นั้ น ก่ อ นการตั ด สิ น ใจเลื อ ก เลี้ยงเกษตรกรจะต้องศึกษาข้อมูล และรายละเอียดให้ชัดเจน เสียก่อน

47 issue 129 OCTOBER 2018


48 IS AM ARE www.fosef.org


49 issue 129 OCTOBER 2018


50 IS AM ARE www.fosef.org


51 issue 129 OCTOBER 2018


52 IS AM ARE www.fosef.org


53 issue 129 OCTOBER 2018


ทางเลือก ทางรอด โรงไฟฟ้าขยะ

วั น ที่ 2 ต.ค. 2561 สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริ ห ารศาสตร์ (นิ ด ้ า ) จั ด เสวนาเรื่ อ ง “ทางเลื อ ก ทางรอด โรง ไฟฟ้ า ขยะ” โดยมี ผู ้ ร ่ ว มเสวนา 4 คน ได้ แ ก่ น.ส. เสวิ ต า ถิ่ น สั น ติ สุ ข กรรมการประสานงานต่ า งประเทศ กลุ ่ ม พลั ง งานหมุ น เวี ย น สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) นายสหรั ฐ บุ ญ โพธิ ภั ก ดี ที่ ป รึ ก ษาคณะ อนุ ก รรมาธิ ก ารด้ า นกิ จ การพิ เ ศษ และอดี ต รองผู ้ ว ่ า การพลั ง งานหมุ น เวี ย นและพลั ง งานใหม่ การไฟฟ้ า ฝ่ า ย ผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) นายวรวิ ท ย์ เลิ ศ บุ ษ ศราคาม รองผู ้ จั ด การใหญ่ ฝ่ า ยโรงงาน บริ ษั ท ที พี ไ อ โพลี น เพาเวอร์ จ� ำ กั ด (มหาชน) หรื อ TPIPP และ นายเชาวน์ นกอยู ่ กรรมการวิ ช าการสาขาวิ ศ วกรรม สิ่ ง แวดล้ อ ม วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ น.ส. เสวิตา ถิ่นสันติสุข กรรมการประสานงานต่าง ประเทศ กลุ่มพลังงานหมุนเวียน ส.อ.ท. กล่าวว่า อุปสรรค ส�ำคัญของการสร้างโรงไฟฟ้าขยะปัจจุบัน เกิดจากมีหน่วยงาน รัฐที่เกี่ยวข้องมากถึง 10 หน่วยงาน 15 ใบอนุญาต ส่งผลให้มี ขั้นตอนและกฎระเบียบมากเกินไป อีกทั้งการใช้ พ.ร.บ. รักษา ความสะอาดปี พ.ศ. 2560 ขาดความคล่องตัว ดังนั้น เอกชน ต้องการให้ภาครัฐลดจ�ำนวนหน่วยงานรัฐ รวมถึงลดขั้นตอน การขออนุญาตจัดการขยะและสร้างโรงไฟฟ้าลง พร้อมทั้งให้ใช้ พ.ร.บ.การอ�ำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการพ.ศ. 2558 แทน อย่างไรก็ตาม ในขณะที่ยังจ�ำเป็นต้องใช้ พ.ร.บ. รักษา ความสะอาดปี 2560 อยู่ แนวทางที่ด�ำเนินการได้เหมาะสมที่สุด คือต้องเปิดรับฟังความเห็นประชาชนตามรายการตรวจสอบ

ด้านสิ่งแวดล้อมตามประมวลหลักการปฏิบัติ (Code of Practice หรือ COP) โดยให้คณะกรรมการจังหวัดที่มีผู้ว่าราชการ จังหวัดเป็นประธาน รวมทั้งให้กระทรวงมหาดไทย มอบอ�ำนาจ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้อนุมัติโครงการ นอกจากนี้ ให้ กกพ. รับซื้อไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะ ใน ลักษณะที่โครงการใดมีความพร้อมให้เสนอโครงการได้ โดยไม่ ต้องรอให้ กกพ. เปิดรับซื้อไฟฟ้าตามรอบ เหมือนโรงไฟฟ้าแสง อาทิตย์และลม และต้องจัดสายส่งให้กับโรงไฟฟ้าขยะเป็นอันดับ แรก ส่วนโครงการโรงไฟฟ้าขยะจะต้องเป็นโรงไฟฟ้าใหม่เท่านั้น และต้องสามารถใช้ได้ทั้งขยะชุมชนและขยะอุตสาหกรรมไม่ อันตราย พร้ อ มกั น นี้ ค วรจั ด สรรให้ ชุ ม ชนมี ส ่ ว นได้ เ สี ย กั บ โรง ไฟฟ้าแทนการมีเพียงส่วนร่วมอย่างเดียว และในการท�ำประชา 54

IS AM ARE www.fosef.org


พิจารณ์จะต้องก�ำหนดไว้ส�ำหรับคนในพื้นที่จริงๆ ที่จะต้องอยู่ ในพื้นที่ไม่น้อยกว่า 6 เดือน หรือ 1 ปี เพื่อจะได้ความเห็นจาก คนในชุมชนอย่างแท้จริง น.ส. เสวิตา กล่าวเพิ่มเติมว่า ปัจจุบันไทยก�ำลังเข้าสู่ยุค เศรษฐกิจหมุนเวียน ดังนั้นไทยต้องปรับตัวที่จะน�ำไปสู่การผลิต ไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนเช่นกัน โดยโรงไฟฟ้าที่เดินเครื่องแล้วจะ ต้องบ�ำรุงรักษาตามรอบเพื่อยืดอายุโรงไฟฟ้าและเป็นการช่วย รักษาสิ่งแวดล้อมด้วย ขณะที่กลุ่ม NGO ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลชาว บ้าน ควรให้ข้อมูลที่ทันต่อยุคสมัย เนื่องจากหลายครั้งพบว่ามี การน�ำข้อมูลโรงไฟฟ้าเก่าที่สร้างมลพิษมาแสดงต่อชาวบ้าน ทั้ง ที่ปัจจุบันโรงไฟฟ้าขยะมีเทคโนโลยีที่ทันสมัยและป้องกันปัญหา สิ่งแวดล้อมได้สูง นายสหรัฐ บุญโพธิภักดี ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ ด้านกิจการพิเศษ กล่าวว่า ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือกปี 2558-2579 (AEDP) ก�ำหนดเป้าหมาย รับซื้อไฟฟ้าจากขยะ รวมอยู่ที่ 550 เมกะวัตต์ในปี 2579 แต่ ปัจจุบัน มีโรงไฟฟ้าขยะที่มีข้อผูกพันกับรัฐแล้ว 55 โครงการ ก�ำลังผลิตราว 447 เมกะวัตต์ ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีศักยภาพที่จะผลิต ไฟฟ้าจากขยะ เพราะมีปริมาณขยะอีกราว 23 ล้านตันต่อปี

ที่ยังไม่ได้น�ำไป ก�ำจัด อย่างไรก็ตาม ยอมรับว่าการพัฒนาโรง ไฟฟ้าขยะในประเทศไทยยังมีอุปสรรค ดังนั้น ภาครัฐจะต้อง เร่งแก้ไขปัญหา ดังนี้ 1.เตรียมความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ให้มีความเข้าใจที่ถูกต้องเรื่องการก�ำจัดขยะ 2. ตั้งเป้าหมายให้ชัดเจน โดยไม่ควรมองว่าเป็นการเอา ขยะไปเผาเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าเพื่อสร้างรายได้ แต่ควรเน้น ไปที่การก�ำจัดขยะที่จะช่วยลดปัญหาด้าน สิ่งแวดล้อมและมี ปริมาณไฟฟ้าเป็นผลพลอยได้ 3. ผู้ประกอบการจะต้องเข้มงวดในเรื่องของเทคโนโลยี เตาเผาขยะ ที่ไม่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม ขณะที่หน่วยงานก�ำกับ เช่น กกพ. และกรมโรงงานอุตสาหกรรม จะต้องติดตามประเมิน ผลโรงไฟฟ้าและเตาเผาขยะที่ต้องเป็นไปตามมาตรฐานด้านสิ่ง แวดล้อมที่ตั้งไว้ นอกจากนี้ ยังเสนอให้ภาครัฐศึกษาน�ำต้นแบบ “โตเกียว โมเดล” ที่ ใช้ พั ฒ นาโรงไฟฟ้ า ขยะในประเทศญี่ ปุ ่ น มาใช้ เนื่องจากวางแนวทางปฏิบัติไว้ชัดเจน โดยเริ่มจากก�ำหนดให้ มีกระบวนการคัดแยกขยะ การรวบรวมขนย้ายขยะ การแยก ขยะอีกครั้งที่หน้าโรงงานก่อนน�ำไปเผาด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ตามความเหมาะสม และสุดท้ายต้องมีกระบวนการก�ำจัดขี้เถ้า เช่น ฝั่งกลบ หรือ น�ำไปเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมก่อสร้าง ซึ่ ง ประเทศไทยยั ง ไม่ ไ ด้ ก� ำ หนดแนวทางที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง หมด นี้ นายวรวิทย์ เลิศบุษศราคาม รองผู้จัดการใหญ่ ฝ่าย โรงงาน TPIPP กล่าวว่า ขณะนี้ ประเทศไทยถือว่ามีความชัดเจน ในนโยบายก�ำจัดขยะ โดยน�ำไปผลิตไฟฟ้า ซึ่งจากการประเมิน

คาดว่ า ในแผนพั ฒ นาก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศ (PDP) ฉบั บ ใหม่ มี โ อกาสจะเพิ่ ม สั ด ส่ ว นการผลิ ต ไฟฟ้ า จากเชื้ อ เพลิ ง ขยะได้ เ ป็ น 800-1,000 เมกะ วั ต ต์ ใ นปี 2580 ส่ ว นอั ต รารั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากขยะ ที่ ป ั จ จุ บั น ก� ำ หนดรั บ ซื้ อ จากผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า เอกชนราย เล็ ก มาก(VSPP) อยู ่ ที่ 5.08 บาทต่ อ หน่ ว ย และ ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า เอกชนรายเล็ ก (SPP) อยู ่ ที่ 3.66 บาทต่ อ หน่ ว ย

55 issue 129 OCTOBER 2018


“อย่างไรก็ตาม มองว่า อีกแนวทางที่จะช่วยก�ำจัดขยะ คือไม่จ�ำเป็นต้องสร้างโรงไฟฟ้าขยะในทุกพื้นที่ หรือทุกจังหวัด แต่อาจเป็นการตั้งโรงงานแปรรูปขยะเป็นเชื้อเพลิงขยะ (Refused Derived Fuel – RDF) ในพื้นที่ แล้วค่อยส่งไปป้อนเป็น เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้าในจังหวัดอื่น ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนด�ำเนินการ ได้” นายวรวิทย์กล่าว นายเชาวน์ นกอยู่ กรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรมสิ่ง แวดล้อม วิศวกรรมสถานฯ กล่าวว่า ปัจจุบันเกิดขยะมูลฝอยต่อ คนเพิ่มขึ้นจาก 1.13 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน เป็น 1.14 กิโลกรัม ต่อคนต่อวัน ดังนั้น การก�ำจัดขยะด้วยการน�ำมาผลิตเป็นไฟฟ้า เป็นแนวทางที่เหมาะสม เพราะนอกจากจะช่วยด้านสิ่งแวดล้อม แล้วยังได้ประโยชน์จากไฟฟ้าด้วย ส�ำหรับปัจจุบัน 5 ประเทศที่เผาขยะเพื่อเปลี่ยนเป็น พลังงานได้มากที่สุดได้แก่ เดนมาร์ค สวิสเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส สหรัฐฯ และสเปน โดยมีโรงงานที่เปลี่ยนของเสียเป็นพลังงาน มากกว่า 600 แห่งใน 35 ประเทศ ซึ่งในเอเชียและยุโรปมี การเติบโตของโรงงานดังกล่าวสูงขึ้น เพราะส่วนหนึ่งเกิดจาก การมีพื้นที่เหลือน้อย รวมทั้งการมีแหล่งทรัพยากรพลังงานไม่ มาก

ศักยภาพของปริมาณขยะที่มีอยู่ สามารถน�ำไปผลิตเป็นไฟฟ้าได้ ราว 2,000 เมกะวัตต์ แต่คงเกิดขึ้นได้ไม่ทุกพื้นที่ ดังนั้น คาดว่าในแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศ (PDP) ฉบับใหม่ มีโอกาสจะเพิ่มสัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อ เพลิงขยะได้เป็น 800-1,000 เมกะวัตต์ในปี 2580 ส่วนอัตรารับ ซื้อไฟฟ้าจากขยะ ที่ปัจจุบันก�ำหนดรับซื้อจากผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน รายเล็กมาก(VSPP) อยู่ที่ 5.08 บาทต่อหน่วย และผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายเล็ก (SPP) อยู่ที่ 3.66 บาทต่อหน่วย ถือว่าเหมาะสม แล้ว แต่ยังจ�ำเป็นต้องมีค่าก�ำจัดขยะเข้ามาร่วมด้วย โดยมองว่า ในแต่ละพื้นที่ควรก�ำหนดค่าก�ำจัดไม่ต�่ำกว่า 400-800 บาทต่อ ตัน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุนเพื่อบริหารจัดการตาม เป้าหมายของภาครัฐ ทั้งนี้ นายวรวิทย์ กล่าวว่า โครงการ Quick Win จ�ำนวน 8 พื้นที่ 12 โครงการ ก�ำลังผลิต 77.9 เมกะวัตต์ ที่กระทรวง มหาดไทยก�ำหนดพื้นที่ไว้ และ กกพ.ก�ำหนด COD ในปี 2562 ขณะนี้หยุดด�ำเนินการหมดแล้ว เพราะไม่สามารถท�ำตามหลัก เกณฑ์ที่ก�ำหนดระบบแก๊สซิฟิเคชันที่สูงเกินไป (ระบบการเผา ขยะให้เป็นแก๊สเพื่อเป็นเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า) ไม่คุ้มค่าต่อการ ลงทุน 56

IS AM ARE www.fosef.org


เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 57 issue 129 OCTOBER 2018


58 IS AM ARE www.fosef.org


การละเล่ น ของเด็ ก ไทย

่ อง) ขี่มาส่งเมือง (เทวดานังเมื เล่นอย่างน้อย ๗ คนขึ้นไป ถ้ามากกว่า เช่น ๙-๑๓ คน จะสนุกมากเพราะจะทายได้ยากขึ้น วิ ธี เ ล่ น เป็นเจ้าเมือง ๑ คน อาจจะใช้วิธีคัดเลือก หรือจับไม้ สั้นไม้ยาวก็ได้แบ่งผู้เล่นที่เหลือออกเป็นสองฝ่ายเท่าๆกัน ตั้ง หัวหน้า ฝ่ายละ ๑ คน ให้เจ้าเมืองนั่งอยู่ตรงกลาง แต่ละฝ่าย จะอยู่ห่างจากเจ้าเมืองอย่างน้อย ๓ เมตร เป่ายิงฉุบหาฝ่ายกระซิบก่อน ฝ่ายที่ได้กระซิบก่อนจะ ส่งคนออกไปหาเจ้าเมือง แล้วกระซิบบอกชื่อของฝ่ายตรงข้าม เสร็จแล้วให้กลับฝ่ายตนเอง

ความสนุ ก อยู ่ ที่ ก ารได้ ลุ ้ น ให้ ผู ้ ที่ ชื่ อ ถู ก กระซิ บ ไว้ ถู ก ส่ ง ออกมาจากอี ก ฝ่ า ยหนึ่ ง และรอเสี ย งโป้ ง เพื่ อ ชั ย ชนะที่ ไ ด้ ขึ้ น ขี่ ห ลั ง เพื่ อ นไปยั ง แดนตรงข้ า ม ผู ้ ถู ก ส่ ง ออกมาจะรู ้ สึ ก หวาดเสี ย วว่ า จะกลายเป็ น ชื่ อ ตน อีกฝ่ายจะส่งคนออกมาหาเจ้าเมืองบ้าง ถ้าคนที่ถูกส่ง ออกมาเป็นชื่อที่ถูกกระซิบไว้เจ้าเมืองจะร้อง “โป้ง” ก็ต้องตาย ให้ฝ่ายกระซิบขี่หลังจากแดนหนึ่งไปยังอีกแดนหนึ่ง แต่ถ้าไม่ถูก โป้ง ก็เป็นผู้กระซิบบอกชื่ออีกฝ่าย เคล็ ด ลั บ ความสนุ ก ความสนุกอยู่ที่การได้ลุ้น ให้ผู้ที่ชื่อถูกกระซิบไว้ ถูกส่ง ออกมาจากอีกฝ่ายหนึ่ง และรอเสียงโป้ง เพื่อชัยชนะที่ได้ขึ้นขี่ หลังเพื่อนไปยังแดนตรงข้าม ผู้ถูกส่งออกมาจะรู้สึกหวาดเสียว ว่าจะกลายเป็นชื่อตน 59 issue 129 OCTOBER 2018


มาร์ชชิ่ งไผ่ตัน

รางวัลชนะเลิศ ถ้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี หากกล่ า วถึ ง โรงเรี ย นวั ด ไผ่ ตั น กรุ ง เทพมหานคร หลายคนอาจไม่ รู ้ จั ก แต่ วั น นี้ เ ด็ ก นั ก เรี ย นรวมทั้ ง ผู ้ อ� ำ นวยการ ครู อ าจารย์ สถานศึ ก ษาและชุ ม ชน ได้ ร ่ ว มมื อ กั น อย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ สร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ โรงเรี ย นด้ ว ยการคว้ า รางวั ล ชนะเลิ ศ การประกวดมาร์ ช ชิ่ ง ความดี ระดั บ ประเทศ ประเภท ประถม ศึ ก ษา มาครองได้ ส� ำ เร็ จ

60 IS AM ARE www.fosef.org


Let’s Talk สร้ า งโมเดลก่ อ นสร้ า งมาร์ ช ชิ ง ดร.นพดล ฤทธิ โ สม ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นวั ด ไผ่ ตั น กล่ า วว่ า โรงเรี ย นวั ด ไผ่ ตั น มี ค วามเชื่ อ ตามปรั ช ญาและวิ สั ย ทัศน์ของโรงเรียนที่ว่า ต้องสร้างระเบียบวินัยในตัวนักเรียน ให้ได้ก่อน อย่างอื่นจะตามมา จึงคิดค้นนวัตกรรมเพื่อจะมา ขับเคลื่อนภายใต้แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อส่ง เสริมคุณธรรม “เราเริ่ ม ต้ น จากมองหาว่ า นวั ต กรรมที่ ส อดรั บ กั บ โรงเรียนเรามีที่ไหน อย่างไร ผมไปเจอกับเลขาธิการมูลนิธิครู เพื่อแผ่นดิน(ท่านอ�ำนาจ) ท่านเชิญผมไปที่โรงเรียนวัดดอกไม้ แล้วผมก็ไปได้รูปแบบโมเดลมา เป็นนวัตกรรมที่ผมจะน�ำมาท�ำ เป็นโมเดลของโรงเรียนวัดไผ่ตัน เพื่อจะขับเคลื่อนให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์ของโรงเรียน จึงเกิดเป็น “โมเดลไผ่ตัน 4.0” ซึ่งจะมี วงกลม 2 วง ก็คือ วงมาร์ชชิ่งความดี วงแรกหมายถึงสร้างคนดี วงที่สองหมายถึงสร้างเด็กเก่ง เราเชื่อว่าสร้างเด็กดีมีความรับผิด ชอบก่อนแล้วเด็กเก่งจึงจะตามมา ฉะนั้น เราจึงใช้สองตัวนี้เป็น ตัวขับเคลื่อน วงหนึ่งขับเคลื่อนด้านวิชาการ อีกวงหนึ่งขับเคลื่อน คุณธรรมจริยธรรมสร้างระเบียบวินัย ภายใต้เงื่อนไขของมาร์ชชิ่ง ความดี ก็คือ สะอาด ระเบียบ สุภาพ ตรงเวลา สมาธิ”

จากโมเดลสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ทั้ ง โรงเรี ย น ตั ว มาร์ ช ชิ่ ง ความดี ส ามารถสร้ า งระเบี ย บวิ นั ย ได้ นางสาวนิตรยา ลาดจ�ำปา ต�ำแหน่งครูวิทยฐานะ ครู ทั้ ง โรงเรี ย น เด็ ก ที่ ก� ำ ลั ง อารมณ์ แ ปรปรวน ก� ำ ลั ง ช�ำนาญการพิเศษ(โค้ช) กล่าวว่า ในปีแรกโรงเรียนท�ำได้เพียงที่ 3 วุ ่ น วายทั้ ง โรงเรี ย นเอาไม่ อ ยู ่ แต่ ถ ้ า ใช้ โ ค้ ช ของมาร์ ช ในระดับภูมิภาค แต่ไม่ท้อ ยังคงท�ำอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบัน ชิ่ ง ความดี เ ด็ ก เงี ย บได้ ทั้ ง โรงเรี ย น เด็ ก เป็ น พั น คน ได้รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ และปัจจัยความส�ำเร็จนั้นขึ้นอยู่ สามารถท� ำ ให้ เ ขาหั น มาสนใจในจุ ด เดี ย วกั น ได้ แล้ ว ที่ว่า ผู้บริหาร คณะครู ตลอดจนกรรมการสถานศึกษา ได้จัดวาง เขาก็ มี ร ะเบี ย บวิ นั ย ตามมา ระเบียบระบบการพัฒนา เน้นภาวะวินัยเชิงบวกให้กับผู้เรียนทั้ง ระบบ เน้นความส�ำคัญคือเรื่องของสิ่งแวดล้อม ถ้าโรงเรียนน่าอยู่ ใครก็อยากเรียน ถ้าโรงเรียนสะอาดใครก็อยากมา เหล่านี้อยู่ภาย ใต้การสร้างระเบียบวินัย ดร.นพดล ฤทธิโสม มองว่า หากมีระเบียบได้เมื่อไหร่ “ตั ว มาร์ ช ชิ่ ง ความดี ส ามารถสร้ า งระเบี ย บวิ นั ย ได้ อย่างอื่นจะตามมา จึงขับเคลื่อนด้วยมาร์ชชิ่งความดีควบคู่ไป ทั้ ง โรงเรี ย น เด็ ก ที่ ก� ำ ลั ง อารมณ์ แ ปรปรวน ก� ำ ลั ง วุ ่ น วายทั้ ง กับ CCE (แนวคิดการจัดการการศึกษาแบบเน้นผู้เรียนเป็น โรงเรียนเอาไม่อยู่ แต่ถ้าใช้โค้ชของมาร์ชชิ่งความดีเด็กเงียบได้ ศูนย์กลาง ย่อมาจาก Cild Centred Education ซึ่งมีต้นแบบมา ทั้งโรงเรียน เด็กเป็นพันคนสามารถท�ำให้เขาหันมาสนใจในจุด จากประเทศอังกฤษ) ของมูลนิธิชินโสภณพานิชย์ เพราะว่าภาย เดียวกันได้ แล้วเขาก็มีระเบียบวินัยตามมา แล้วก็เรื่องความ ใต้เงื่อนไขโรงเรียนสู่ความเป็นเลิศของ CCE อยู่ภายใต้เงื่อนไข สุภาพเรียบร้อยเป็นเรื่องที่ส�ำคัญมาก เด็กนักเรียนที่เราคาดหวัง ของสิ่งแวดล้อมซึ่งสอดรับกันระหว่าง สิ่งแวดล้อม หลักสูตร และมันจ�ำเป็นมากๆ คือเรื่องการตรงต่อเวลา ซึ่งทั้งหมดนี้ตัว นักเรียนและครู 4 ข้อนี้ต้องขับเคลื่อนไปด้วยกัน สู่นักเรียนยุค มาร์ชชิ่งความดีสร้างได้” 4.0 ภายใต้เงื่อนไขของรัฐบาล คือ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน 61 issue 129 OCTOBER 2018


ส�ำหรับการสร้างมาร์ชชิ่งแปรแถว ดร.นพดล ฤทธิโสม อธิบายว่า เริ่มจากการสร้างแกนน�ำ 57 คน แล้วแตกสาขาออก ไป กล่าวคือ ใน 50 คนต้องแบ่งกันไปคุมโซนของแต่ละคน เพื่อ น�ำพาทั้ง 800 กว่าคนไปพร้อมๆ ตรงนี้คุณครูมีส่วนส�ำคัญ ครู จะต้องน�ำลงสู่แผนการสอนเพื่อให้เด็กติดเป็นนิสัย คือปลูกฝัง ไปทุกๆ ชั่วโมงในการสอน ก่อนที่ครูจะเริ่มสอน ครูต้องปลูกฝัง นักเรียนก่อน พอเด็กซึมซับติดตัวเข้าไปแล้วจึงไม่มีการบังคับเกิด ขึ้น เมื่อครูให้สัญลักษณ์เด็กก็รู้แล้วว่าต้องการอะไร นั่นคือที่มา ว่ามาร์ชชิ่งความดีมีประโยชน์อย่างไร “เด็ก 57 คนจะต้องไปสร้างอีกคนละ 10-20 คน ถ้าจะ ต้องถามเด็กด้วยว่าอยากเรียนอะไร ไม่ใช่อยากสอนอะไรก็สอน ให้คุมโซนได้ขอคนละ 20 คน ใน 57 คนนี้ก็คุมโซนได้ทั้งโรงเรียน สิ่งเหล่านี้ส่งผลดีท�ำให้โรงเรียนมีชื่อเสียงมากมายจนกระทั่งเด็ก แล้วรุ่นต่อไปก็สร้างใหม่ขึ้นมาต่อๆ กันไป เด็กที่เข้ามาแปรแถว บางคน อย่างเช่น เด็กหญิงภัทธิดา บุญมั่น ผ่านการคัดเลือกให้ มีตั้งแต่เด็ก ป.3-ป.4 เพราะเด็ก ป.6 ส่วนใหญ่เขาจะมุ่งไปทาง เป็นเด็กดีเด่นแห่งชาติ จากสภาสังคมสงเคราะห์ ในพระบรมรา ชูปถัมป์แห่งประเทศไทย ของกระทรวงศึกษาธิการ และได้เข้า ด้านวิชาการเพื่อจะเรียนต่อ” เยี่ยมคารวะนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2560 ขณะเดียวกันเด็กหญิงฐิตินันท์ บุญแจ่ม นักเรียนชั้น ป.6 ความเปลี่ ย นแปลงจากโครงการ ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโรงเรียน ผู้อ�ำนวยการ ซึ่งเป็นหัวหน้าทีมมาร์ชชิ่ง ผ่านการคัดเลือกให้เป็นยุวทูตแลก กล่าวว่า โรงเรียนมีสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ ครูสอนอย่างมีความสุข เปลี่ยนวัฒนธรรมไทย ณ กรุงมอสโคว สหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งแต่ เรียนอยู่ชั้น ป.5 ได้รับทุนการศึกษาในฐานะเด็กที่มีความกตัญญู เพราะเด็กเรียนอย่างมีความสุข “บรรยากาศการเรียนปัจจุบัน คนรุ่นใหม่เขาไม่ใช่อย่าง จากทุน ดร.อุเทน เตชะไพบูรณ์ และผ่านการคัดเลือกเป็นเด็กดี เราแล้วครับ คนยุคเบบี้บูมมาสอนคนเจนเอ็กส์เจนวายเจนแซท เด่นแห่งชาติ จากกระทรวงศึกษาธิการ และได้เข้าเยี่ยมคารวะ ไม่ใช่แล้วครับ ไม่ใช่ว่าอยู่แบบเดิมเด็กไม่อยากเรียนด้วยแล้วนะ นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2561” 62 IS AM ARE www.fosef.org


63 issue 129 OCTOBER 2018


บทสรุ ป ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดไผ่ตัน กล่าวสรุปว่า จุดมุ่งหมาย ของมาร์ชชิ่งคือ “สร้างระเบียบวินัย” เป็นอันดับแรก ซึ่งจะส่ง ผลต่อสิ่งอื่นๆ ตามมา ความรักความสามัคคี ทั้งเชื่อมโยงกับสิ่ง แวดล้อมในบริเวณนั้น ทุกคนช่วยกันรักษาให้สะอาดสวยงาม รวมถึงปลูกฝังการแต่งกายที่สะอาดเรียบร้อยเหมาะสมแก่การ ซ้อมลงแข่ง ส่งผลถึงชุมชนมีส่วนร่วมสนับสนุนพื้นที่ให้เด็กๆ ซ้อม เพราะโรงเรียนเล็กเกินไป “มาร์ชชิ่งแค่ 30% ขององคาพยพทั้งหมดเท่านั้น อีก 70% ครูจะต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชั่วโมง หลักสูตรกับนักเรียน ต้องไปด้วยกันทั้งโรงเรียนไม่เว้นกระทั่งภารโรงที่ต้องดูแลสถาน ที่ให้พร้อมอยู่เสมอ กล่าวคือ ห้าค�ำห้าข้อที่พ่อสอนถูกบรรจุอยู่ ในขบวนการมาร์ชชิ่งเรียบร้อยแล้ว โดยมีการแข่งขันเป็นตัว เสริมสร้างคุณธรรม มีวินัยและสร้างบุคลิกที่ดีให้กับเยาวชน เป็นภูมิคุ้มกัน” สิ่ ง ส� ำ คั ญ คื อ บรรยากาศในโรงเรี ย นที่ เ ปลี่ ย นไป เด็ ก มี ส ติ ป ั ญ ญามี ค วามอดทนในการเรี ย นมากขึ้ น การ ประเมิ น ไม่ ใ ช่ แ ค่ ม าร์ ช ชิ่ ง ดี หากเด็ ก คะแนนเรี ย นตก ก็ ไ ม่ อ าจผ่ า นเกณฑ์ ตั ด สิ น ได้ ที่ เ ห็ น ชั ด คื อ มาร์ ช ชิ่ ง สร้ า งสั ม พั น ธ์ แ น่ น แฟ้ น ระหว่ า งศิ ษ ย์ กั บ ครู พี่ ส อน ทั ก ษะต่ อ ให้ น ้ อ งเพื่ อ เป็ น ตั ว แทนโรงเรี ย นต่ อ ไปเป็ น ทอดๆ

เราเป็นโรงเรียนเล็กๆ ครับ แต่เราสามารถไปชนะเลิศ กองเชี ย ร์ ร ะดั บ กรุ ง เทพมหานคร และล่ า สุ ด เราจึ ง ได้ ร างวั ล ชนะเลิศการประกวดมาร์ชชิ่งความดี ระดับประเทศ ประเภท ประถมศึกษา ซึ่งในกรุงเทพมหานครมี 1 โรงเรียนเท่านั้น จาก 437 โรงเรียน คือความส�ำเร็จที่เราได้เริ่มต้นเมื่อ 2 ปีที่แล้ว” สิ่ ง ส� ำ คั ญ แห่ ง ชั ย ชนะ ดร.นพดล ฤทธิโสม กล่าวว่า สิ่งส�ำคัญคือหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ซึ่งปลูกฝังในเด็กอย่าง จริงจัง จึงท�ำให้เกิดการยอมรับยอมรับ ส่งผลดีต่อตัวคน ต่อ โรงเรียน ต่อกรุงเทพมหานครและต่อประเทศชาติ โดยเฉพาะ วิสัยทัศน์ของผู้นำ� สถานศึกษาที่พร้อมจะสนับสนุนเด็กๆ ทุกด้าน “วิสัยทัศน์ผู้น�ำส�ำคัญครับ ต้องมองขาด แล้วให้การ สนับสนุน ภาคีเครือข่ายไม่ต้องห่วง ถ้าเราท�ำดีเขามาเอง ท�ำให้ เขาเห็น ผู้ปกครองก็ให้ความร่วมมือ ชุมชนก็ให้ความร่วมมือ ผม ไม่มีสนามซ้อมเพราะสนามที่โรงเรียนมันเล็กมาก แต่เราแปล แถวได้ยังไงถึง 800 กว่าคน ผมอาศัยคริสตจักรในชุมชน ไม่มี ค่าใช้จ่าย เพราะเขาเห็นเราท�ำจริงท�ำให้เขาเห็นเขาก็เอื้อเฟื้อ ให้เราซ้อม เพราะเยาวชนในชุมชนแห่งนี้เขาได้รับประโยชน์จาก โครงการนี้ นั่นคือความส�ำเร็จที่เราได้รับ” 64

IS AM ARE www.fosef.org


สิ่งส�ำคัญในการตัดสินแพ้ชนะคือ 70% ที่ว่า องคาพยพอันประกอบด้วย ผอ. ครู นักเรียน ชุมชน สิ่งแวดล้อม ชาวบ้าน มี ความเสียสละเกิดขึ้น อย่างที่บอกว่าโรงเรียนวัดไผ่ตันเล็กมาก ไม่มีที่พอให้ซ้อม โบสถ์คริสต์ในชุมชนจึงอนุญาตให้นักเรียนไปซ้อม ฟรี มาร์ชชิ่งคือตัวกระตุ้นพันธกิจด้านต่างๆ ที่ป้อนให้เด็กๆ สนใจท�ำ สร้างความรับผิดชอบ กล่าวคือ แม้มาร์ชชิ่งได้ดีสวยงามเพียง ใด หากโรงเรียนไม่สะอาด ครูไม่ปลูกฝังหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่นักเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ก็ไม่สามารถผ่านเกณฑ์ ได้ หมายถึงต้องไปด้วยกันทั้งโรงเรียนรวมถึงกองเชียร์ที่ไม่ได้ลงแข่งขันด้วย “เป็นการสร้างความเสียสละให้เยาวชนโดยไม่ต้องบังคับ พวกเด็กๆ บอกว่าเหนื่อยแต่สนุก ซ้อมจริงๆ แค่ 1-2 เดือนสุดท้าย ก่อนแข่ง ก่อนหน้านั้นก็เอาเท่าที่พร้อมโดยไม่เบียดเบียนการเรียน เพราะสิ่งส�ำคัญคือบรรยากาศในโรงเรียนที่เปลี่ยนไป เด็กมีสติ ปัญญามีความอดทนในการเรียนมากขึ้น การประเมินไม่ใช่แค่มาร์ชชิ่งดี หากเด็กคะแนนเรียนตกก็ไม่อาจผ่านเกณฑ์ตัดสินได้ ที่เห็น ชัดคือมาร์ชชิ่งสร้างสัมพันธ์แน่นแฟ้นระหว่างศิษย์กับครู พี่สอนทักษะต่อให้น้องเพื่อเป็นตัวแทนโรงเรียนต่อไปเป็นทอดๆ สร้าง ความผูกพันไม่รู้จบ” ดร.นพดล ฤทธิโสม ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวัดไผ่ตันกล่าวทิ้งท้าย

65 issue 129 OCTOBER 2018


การปลูกต้นไม้ต้องใช้ความรัก สันติสุข มหัธธัญญวาณิชย์

การเกษตร สาขาพั ฒ นาการเกษตร สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แต่มันไม่ท�ำให้เขาหวั่นไหว มอสอธิบายว่า เขาเริ่มค้นหา ตัวเองตั้งแต่ ม.5 ตามค่านิยมทั่วไปซึ่งมองว่าคนเรียนเก่งต้อง เป็นหมอ แต่เมื่อลองค้นคว้าข้อมูลในการท�ำงานของหมอและ แนวทางการเรียนเบื้องต้น มอสพบว่าเป็นแนวทางที่ไม่ตรงกับ ลักษณะนิสัยของตัวเอง และนั่นคือที่มาของเกียรตินิยมอันดับ 1 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สาขาพัฒนาการเกษตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

“เรียนเกษตรไปท�ำไม ที่บ้านไม่ได้ท�ำเกษตร” “เรียนหนังสือเก่ง ท�ำไมไม่เรียนหมอ” “ก็เห็นอยู่ว่าวงการเกษตรมีแต่ปัญหาราคาผลผลิตต�่ำ ยัง จะเลือกเรียนอีกหรือ” “เรียนเกษตรไม่กลัวล�ำบากหรือ จับจอบจับเสียม ตาก แดด ท�ำอาชีพอื่นดีกว่า” ค� ำ ถามมากมายที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ “มอส” สั น ติ สุ ข มหั ธ ธัญญวาณิชย์ ครั้งเมื่อเขาตัดสินใจเลือกเรียนคณะเทคโนโลยี 66

IS AM ARE www.fosef.org


เยาวชนของแผ่ น ดิ น ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กเรี ย นด้ า นเกษตรโดยตรง ? ตอนเรียนอยู่ชั้น ม.5 ผมพยายามส�ำรวจความชอบของ ตัวเอง ซึ่งเราชอบปลูกต้นไม้มาตั้งแต่เด็กๆ ตัดต้นไม้ รดน�้ำต้นไม้ ทุกวัน เหมือนกับเราชอบอยู่กับธรรมชาติ เราเคยมีความฝันว่า อยากมีฟาร์มเป็นของตัวเอง ตื่นเช้ามาได้สูดอากาศสดชื่น เรา อยากท�ำ มันเลยเป็นความฝันอยากมีธุรกิจอยากท�ำฟาร์ม หลังจากที่เราได้ทบทวนและเปลี่ยนความคิดจากการ เรี ย นแพทย์ ทั้ ง ที่ โรงเรี ย นเราไม่ มี ใ ครสนใจเรี ย นเกษตรเลย ส่วนใหญ่เขาสนใจเรียนคณะวิทยาศาสตร์และวิศวะ อาจารย์ ยังสงสัยเลยว่าท�ำไมผมถึงสนใจเรียนเกษตร แต่คนส่วนใหญ่ก็ จะไม่เข้าใจครับ ว่าเรียนเกษตรไปท�ำไม มองภาพไม่ออก เขาก็ จะนึกว่าไปท�ำนา ปลูกนั่นปลูกนี่มันจะรอดหรือ มันเป็นอาชีพ ที่ไม่สามารถท�ำให้เราเติบโตได้เลย แต่ผมกลับมองเห็นว่ามัน เป็นอาชีพได้ เป็นเจ้าของฟาร์มได้ จากการที่เราศึกษา ไปดู ฟาร์มมาเยอะ เรียนรู้เทคนิค เราเลยอยากเข้าไปเรียน และจบ มาท�ำงานด้านนี้โดยตรง ไม่ได้สนใจทางอื่น จะต้องท�ำฟาร์ม ของเราเองให้ได้ มี ใ ครเป็ น ตั ว อย่ า งหรื อ แรงบั น ดาลในการเลื อ กเรี ย น เกษตรหรื อ ไม่ ? บันดาลใจของผมมาจากในหลวงรัชกาลที่ 9 ผมดูทีวีแล้ว เจอโครงการพระราชด�ำริที่เกี่ยวกับด้านเกษตร อย่างพระราชวัง สวนจิตรลดา ผมก็คิดว่าท�ำไมในหลวงถึงสนใจด้านเกษตร เรา เลยมาเจาะลึกดู ที่บ้านผมไม่ได้ท�ำเกษตร หรือมีใครเรียนเกษตร บ้านผมมีแต่คนเรียนด้านวิศวกรรม ด้านสถาปัตยกรรม ผมก็ เลยคิดว่าจริงๆ แล้วเกษตรมันน่าเรียนมาก ขนาดในหลวงท่าน ยังสนใจ ใส่ใจด้านนี้ ผมเลยคิดว่าเราต้องเรียน ต้องเข้าคณะ นี้ให้ได้ ทั้งที่ไม่เคยลอง และไม่มีพ้ืนฐานมาก่อน ไม่รู้อะไรเลย

เพียงแค่เรามีความฝันอยากจะท�ำฟาร์ม อยู่กับธรรมชาติ อยู่ กับต้นไม้ เหมือนในหลวงท่านทรงปลูกข้าว เลี้ยงปลานิล อะไร หลายอย่ า งที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การเกษตร ท่ า นยั ง ท� ำ อย่ า งสน พระทัย แล้วตอนนั้นเราก็คิดว่าถ้าเราลองท�ำแล้วมันดี มันก็ดี ต่อการเกษตรด้วย ช่ ว ยแนะน� ำ เกี่ ย วกั บ คณะเทคโนโลยี ก ารเกษตร เพื่ อ ให้ น ้ อ งๆ ได้ รู ้ จั ก มากขึ้ น ? การเรียนในคณะเทคโนโลยีการเกษตร ที่จริงแล้วเรียน เกี่ยวกับด้านวิทยาศาสตร์และสังคมครับ แต่จะเน้นทางด้าน สังคมศาสตร์ คือ การได้ลงพื้นที่จริงกับชาวบ้าน เกษตรกร เพื่อถามถึงปัญหา แนะน�ำความรู้ให้กับเกษตรกรได้ทราบ ส่วน ด้านวิทยาศาสตร์จะเกี่ยวกับด้านพืช เช่น พื้นฐานของการปลูก การดูแล เป็นหลัก น้องที่ใจเรียนคณะนี้ควรจบแผนการเรียน วิทย์-คณิตครับ เพราะเรามีเรียนด้านวิทยาศาสตร์อย่างฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา 67

issue 129 OCTOBER 2018


เรียนไม่จบ ผมท�ำจนเริ่มมีรายได้เล็กๆ น้อยๆ ที่บ้านก็เริ่มมอง เห็นว่ามันดีขึ้นจริงๆ ผมเพิ่งเรียนจบมา 3 เดือน เพิ่งเริ่มได้ท�ำ จริงจัง มีโรงเรือน มีโรงปุ๋ย มีโรงเพาะพันธุ์ แต่เราก็ใช้พวกวัสดุ เหลือใช้เพื่อประหยัดเงินเรา เราท�ำเล้าเป็ดด้วย ที่บ้านก็เห็น คุณค่าและเริ่มสนับสนุนเรา ผมเริ่มจากการปลูกกล้วยน�ำล่องให้พื้นที่มันโล่งขึ้น จน ตอนนี้พื้นที่ก็เริ่มสวยขึ้นครับ ผมเน้นท�ำทีละอย่าง ตอนนี้เน้น เลี้ยงเป็ดไข่ อีกประมาณเดือนกว่าก็จะออกไข่แล้วครับ เพราะ ผมตั้งใจและดูแลอย่างดี เป็ดชอบน�้ำ เราก็ท�ำแอ่งน�้ำ ให้มัน เล่น อีกอย่างคือผักสลัดที่เราปลูกลงดิน ปลูกผักแบบออแก นิกส์ คือมันปลูกยากกว่าผักไฮโดโปนิกส์ คือผักไฮโดรโปนิกส์ เราสามารถควบคุมเรื่องปุ๋ยได้ ในแง่ของปริมาณที่ใช้ เป็นปุ๋ย เคมีที่ใส่ยังไงต้นไม้ก็โต แต่ผักออแกนิกส์ที่ปลูกลงดินมันค่อนข้างยาก เพราะใน ส่วนของปุ๋ยเราก็ท�ำเอง พวกน�้ำหมักไล่แมลง ซึ่งถ้าเราจะซื้อก็จะ มีเรื่องต้นทุน และไม่สอดคล้องกับค�ำว่าเศรษฐกิจพอเพียง เรา ต้องท�ำเองทุกอย่าง ซึ่งผมก็ท�ำเองทั้งหมด ปุ๋ย น�้ำยาไล่แมลง เลี้ยงไส้เดือนไว้พรวนดิน แต่การปลูกผักออแกนิกส์ข้อเสียของ มันคือเรื่องเวลา มันต้องดูแลใส่ใจตั้งแต่เริ่มต้น เรื่องดิน เรื่องปุ๋ย

พอเราขึ้นปี 2 จะได้เรียนภาควิชาเกี่ยวกับด้านเกษตร บางสาขาเรียนด้านพืชก็จะเน้นด้านพืช สาขาประมงก็จะเน้น ด้านประมง สาขาสัตวศาสตร์ก็จะเน้นเป็นวิชาของแต่ละสาขา อย่างของผมจะเรียนด้านการส่งเสริมการเกษตร ก็จะได้เรียน พื้นฐานของด้านเกษตรทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น พืช ประมง สัตว ศาสตร์ ป่าไม้ เป็นพื้นฐาน แต่เน้นไปทางด้านส่งเสริมการเกษตร มากกว่า เพื่อจะไปแนะน�ำ ไปพูดคุยกับเกษตรกรต่อไป

การปลู ก ต้ น ไม้ ต ้ อ งใช้ ค วามรั ก ความเอาใจใส่ เวลา เราเจอปั ญ หาเราก็ จ ะเอามาคิ ด ทบทวน ว่ า มั น เกิ ด จากอะไร แล้ ว ก็ ท ดลองใหม่ อย่ า งการปลู ก ผั ก มั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ส� ำ เร็ จ ภายในครั้ ง เดี ย ว มั น มี ป ั จ จั ย และปั ญ หา อะไรหลายอย่ า ง เราต้ อ งมาดู ว ่ า มั น เกิ ด จากอะไร เพื่ อ จะปรั บ ให้ มั น ตรงจุ ด

เมื่ อ เรี ย นด้ า นนี้ แ ล้ ว มี ห น่ ว ยงานรองรั บ เรื่ อ งการ ท� ำ งานหรื อ ไม่ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ไ ม่ คิ ด จะประกอบธุ ร กิ จ ส่ ว นตั ว ? พอเราเรียนไปแล้วจะรู้ว่ามีบริษัท มีหน่วยงานต่างๆ มากมาย ทั้งเอกชนและรัฐบาล อย่างตอนที่ผมไปฝึกงาน ทั้งกรม ส่งเสริมการเกษตร หน่วยงานรัฐบาล มูลนิธิต่างๆ หรือเอกชน ก็ จะมีสายงานต่างๆ ภายในของเขา เป็นได้ทั้งนักวิชาการ นักส่ง เสริมการเกษตร พอเราลองมองจริงๆ อาชีพมันเยอะมากครับ แต่ส่วนตัวผมมีความฝันว่าอยากมีฟาร์มเป็นของตัวเอง

แต่พอทุกอย่างเข้าที่ เราจะปลูกอะไรก็ได้ ปลูกได้เรื่อยๆ ยิ่งถ้า เรามีระบบนิเวศที่ดี มีแมลง มันก็เป็นระบบหมุนเวียนที่เอื้อต่อ กัน แต่ผมโชคดี- ที่ดินบริเวณนั้นเคยเป็นป่ากระถิ่นมาก่อนจึง ไม่เคยได้รับสารเคมี ดินเราเลยเป็นดินออแกนิกส์แท้ๆ เพราะ ผมไม่เน้นสารเคมีอยู่แล้ว สรุปแล้วผมเริ่มตั้งแต่ถางที่เองเลย ปัจจุบันก็เริ่มมีเพื่อน มาเป็นหุ้นส่วนด้วย แล้วก็มีแม่ผมที่คอยช่วยดูแลให้ ในเนื้อที่ ประมาณ 1 ไร่กับอีก 2 งาน จากตอนแรกที่ใครๆ ก็คิดว่าเรา บ้า เพราะผมเริ่มปรับพื้นที่ตั้งแต่โค้นต้นไม้ มีชาวบ้านมาถาม ว่าเรียนมาจะมาท�ำด้านนี้ท�ำไม ท�ำไปก็เหนื่อยเปล่า ทุกวันนี้ผม ก็ยังคงท�ำอยู่ ปลูกต้นไม้ท�ำแปลงดอกไม้ ชีวิตผมก็อยู่แต่กับการ จับจอบ จับเสียมครับ

หลั ง จากเรี ย นจบเกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ 1 มาแล้ ว เรา เริ่ ม ต้ น กั บ ฟาร์ ม ของตั ว เองยั ง ไง ? เราโชคดี ที่ มี ที่ ดิ น ข้ า งๆ บ้ า นซึ่ ง เราพอจะขอยื ม เขา ทดลองท�ำได้ แต่ก็ไม่ได้เยอะมาก ผมเริ่มตั้งแต่สมัยเรียนอยู่ปี 2 ครับ ทดลองปลูกกล้วย จัดการพื้นที่เองตั้งแต่ถางป่า จนที่ บ้านผมสงสัยว่าท�ำไปท�ำไม มันมีประโยชน์อะไร แม่ผมเป็นคน เดียวที่สนับสนุนผมในตอนนั้น จนทุกวันนี้ผมก็ยังท�ำ ยังปรับปรุง เปลี่ยนแปลงพื้นที่ของเราอยู่เรื่อยๆ จากเงินที่สะสมไว้ตั้งแต่ยัง 68

IS AM ARE www.fosef.org


ยิ่งคนมองเราว่าท�ำท�ำไม ไม่เข้าใจ ผมก็ยิ่งอยากจะท�ำ แล้วพี่ชายผมจบสถาปัตยกรรม ตอนนี้เขาเริ่มสนใจกลับมาท�ำ ฟาร์มด้วยกันกับผมแล้ว ตามมุมมองผมก็เข้าใจว่าท�ำงานบริษัท เงินเดือนดี แต่พี่ชายผมมองว่าไม่มีเวลาให้ครอบครัว เขาเห็นผม ท�ำได้ เขาก็อยากกลับมาท�ำบ้าง เขาจะได้มีเวลาให้ครอบครัว อยากจะพักงานด้านสถาปัตยกรรม มาท�ำด้านเกษตรให้เป็น อาชีพหลัก เพราะทุกวันนี้พี่ชายผมขายต้นกระบองเพชรก็ได้ ก�ำไร อาจจะท�ำให้เขาคิดว่าด้านเกษตรนี้อาจจะตอบโจทย์ กล่ า วได้ ไ หมว่ า การท� ำ งานด้ า นการเกษตรคื อ การ รวมศาสตร์ ต ่ า งๆ มาปรั บ ใช้ ? เราเอาความรู้ทุกอย่างมารวมกันได้จะดีมากครับ เช่น ถ้าผมปลูกแต่ต้นไม้เป็น แต่ไม่รู้วิธีท�ำการตลาดก็ไม่ได้ การดู พื้นที่ท�ำพื้นที่ต้องอาศัยความรู้ด้านภูมิทัศน์สถาปัตย์ เพราะการ ปลูกผักเราต้องดูพื้นที่ ดูเรื่องแสง เป็นองค์ประกอบด้วย การ จัดสวนยังไงให้สวย เชิญชวนให้คนภายนอกมาดูฟาร์มเรา ด้าน วิทยาศาสตร์ก็เรื่องปุ๋ย เรื่องธาตุอาหารต้นไม้ ทุกอย่างก็เป็นส่วน ประกอบที่เอื้อกันทั้งนั้น เ ร า ท� ำ ก า ร ต ล า ด ยั ง ไ ง ใ น ฐ า น ะ ผู ้ เ ริ่ ม ท� ำ อ ย ่ า ง จริ ง จั ง ? ตอนนี้เราเริ่มมีผลผลิตแล้วครับ ผักที่ผมปลูกไว้ตอนแรก ก็ยังไม่ได้จ�ำหน่าย ป้าก็มาที่บ้านมาขอกล้วยไปฝาก ผมเลยไป ตัดมาให้เขา เราก็แจ้งว่าผมปลูกเอง ไม่ใช้สารเคมี ปลูกแบบ ธรรมชาติ คนที่ได้รับไปก็เห็นว่ามันธรรมชาติ เขาถามกลับว่า ใครเป็นคนปลูก ก็เหมือนเป็นการท�ำการตลาดไปในตัว ใช้วิธี แจกก่อน ขาดทุนคือก�ำไร แต่เราไม่ได้ขาดทุนมาก เพราะที่ผม ลงทุนซื้อหน่อกล้วยมา เราก็น�ำไปขายต่อด้วย เพราะในพัทยา ราคามันค่อนข้างสูง ที่เหลือผมก็น�ำมาปลูกต่อ เพราะกล้วยเหมาะมากกับผู้ที่เริ่มต้น มันช่วยบ�ำรุงดิน ดูแลง่าย แต่อาจใช้เวลาปลูกนานหน่อยประมาณ 8-9 เดือน อัน นี้คือระยะเวลาตั้งแต่เราเริ่มลงหน่อ ผมเริ่มด้วยกล้วยหอมสีทอง ครับ เกือบทั้งหมดแต่ก็จะมีกล้วยน�้ำหว้า กล้วยหอม เสริมบ้าง

ตอนแรกเราก็ล�ำบาก แต่พอเราเห็นสิ่งที่เราท�ำออกมาแล้ว ท�ำไป เรื่อยๆ เราไม่ได้รู้สึกล�ำบาก แต่เกิดเป็นความเชี่ยวชาญเพราะ เราชอบ มันเลยท�ำให้เราอดทน เพราะเราต้องเจอทั้งความร้อน ความเหนื่อย และสิ่งที่เหนือการควบคุมอย่างธรรมชาติ เช่น หน้าฝนเราเจอพายุ แต่สิ่งหนึ่งคือผมจะพยายามไม่เครียด เพราะ การปลูกต้นไม้ต้องใช้ความรัก ความเอาใจใส่ เวลาเราเจอปัญหา เราก็จะเอามาคิดทบทวน ว่ามันเกิดจากอะไร แล้วก็ทดลองใหม่ อย่างการปลูกผัก มันก็ไม่ได้ส�ำเร็จภายในครั้งเดียว มันมีปัจจัย และปัญหาอะไรหลายอย่าง เราต้องมาดูว่ามันเกิดจากอะไร เพื่อ จะปรับให้มันตรงจุด ทุกอย่างมันต้องอาศัยเวลา ท�ำทีละส่วนไป เรื่อยๆ จนประสบความส�ำเร็จ ผมอาศัยว่าเรา “เดินทีละก้าว กิน ข้าวทีละค�ำ” อดทนและสังเกต อย่าท�ำอะไรแบบเดิมๆ

สุ ด ท้ า ย หลายคนมองว่ า เรี ย นจบเกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ หนึ่ ง มา จะเลื อ กท� ำ การเกษตรท� ำ ไม เหนื่ อ ยเปล่ า เรา มองเรื่ อ งนี้ ยั ง ไง ? คือผมได้ยินใครหลายคนพูดว่ามันเหนื่อย มันล�ำบาก แต่ ผมรู้สึกว่ามันคือจุดเริ่มต้นของความส�ำเร็จที่เราผ่านความล�ำบาก มาได้ ถ้าเราท�ำงานสบายๆ ก็ไม่มีโอกาสได้เติบโต เราก็อยู่ที่เดิม

ติ ด ต่ อ แลกเปลี่ ย นความรู ้ ไ ด้ ท่ี เ พจ Kaset Lover FARMที่ อ ยู ่ 110/7 ม.6 ต.นาเกลื อ อ.บางละมุ ง จ.ชลบุ รี เมื อ งพั ท ยา 69

issue 129 OCTOBER 2018


อ่อนนอกแต่แข็งใน

เรื่อง : ศ.ระพี สาคริก

70 IS AM ARE www.fosef.org


ควมจริ ง ของชี วิ ต คนยุคก่อนเคยพูดฝากไว้กับลูกหลานเพื่อให้คิดได้เองว่า จงเป็นคนอ่อนนอกแต่แข็งใน ค�ำพูดดังกล่าว ย่อมสะท้อนให้เห็น คุณสมบัติความเป็นผู้ใหญ่ ที่มุ่งมั่นให้ความจริงจากใจตนเองแก่ ทุกคนซึ่งอยู่ในสังคม คุณสมบัติความเป็นคน ย่อมมีจิตใจพึ่งพาตนเองเป็นสิ่ง บ่งชี้อย่างส�ำคัญ ดังนั้น ความจริงซึ่งอยู่ในรากฐานจิตใจแต่ละ คนนับแต่เริ่มต้นเกิดมา หลังจากมีโอกาสสัมผัสสรรพสิ่งต่างๆ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่รอบข้างหลากหลายถ้าสามารถรักษา ความจริงซึ่งอยู่ในใจตนเองเอาไว้ได้อย่างชัดเจน โดยไม่ปล่อย ใจให้ตกเป็นเหยื่อสิ่งเหล่านั้น ย่อมมีผลช่วยให้รากฐานจิตใจ เข้มแข็งยิ่งขึ้น บุคคลผู้ซึ่งรากฐานจิตใจมีความเข้มแข็ง ย่อมสามารถ หยั่งรู้ความจริงจากใจตนเองได้อย่างลึกซึ้ง ดังนั้น สิ่งที่แสดงออก จากใจ ย่อมมีผลยกคุณค่าความส�ำคัญของผู้อื่นเอาไว้เหนือตน อย่างเป็นธรรมชาติ ดังนั้น ผู้ที่พึ่งตนเองได้ จึงหาใช่ผู้มีนิสัยอวดดีไม่ หาก ควรเข้ า ใจว่ า เป็ น ผู ้ ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ แก่ ผู ้ อื่ น เหนื อ ตนเองอยู ่ แล้ว ความจริงได้ชี้ไว้อย่างชัดเจนแล้วว่า เพราะมีส่ิงนั้นจึง มีสิ่งนี้ ดังนั้นหากรากฐานจิตใจมีความเข้มแข็ง การแสดงออก ต่อเพื่อนมนุษย์ย่อมมี ความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นธรรมชาติ จึง มีผลท�ำให้ใช้ชีวิตสัมผัสกับชนรุ่นหลัง และคนระดับล่างอย่าง มีความสุข

สิ่ ง ซึ่ ง ชนยุ ค ก่ อ นเคยพู ด ฝากไว้ ว ่ า จงเป็ น คนอ่ อ น นอกแต่ แ ข็ ง ในมาถึ ง ยุ ค ปั จ จุ บั น กลั บ พบความจริ ง ว่ า คนจ� ำ นวนไม่ น ้ อ ยที่ มี โ อกาสเติ บ โตสู ง ขึ้ น การ แสดงออกมั ก มี แ นวโน้ ม ใช้ อ� ำ นาจท� ำ ร้ า ยผู ้ อื่ น โดยที่ คิ ด ว่ า ตนเป็ น คนเข้ ม แข็ ง แต่ พ ยายามซ่ อ นเอา รากฐานซึ่ ง อยู ่ ด ้ า นใน ที่ ข าดความเข้ ม แข็ ง แม้ ก าร ใช้ เ งิ น ซื้ อ สิ่ ง ซึ่ ง อยู ่ ใ นจิ ต ใจส่ ว นใหญ่ ย่ อ มท� ำ ได้ ไ ม่ ยาก อนึ่ง การเปลี่ยนแปลงสภาพทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งอยู่ในวิถี ชีวิตประจ�ำวันของแต่ละคน ควรมีเหตุผลสอดคล้องต้องกัน กล่าวคือ เมื่อชีวิตเติบโตเป็นผู้ใหญ่ควรให้ความรักความสนใจ แก่ ช นรุ ่ น หลั ง รวมทั้ ง เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ซึ่ ง ใช้ ชี วิ ต อยู ่ ใ นระดับ ล่า ง ชัดเจนยิ่งขึ้น แต่ความจริงเท่าที่พบได้ในปัจจุบัน มักสะท้อนออกมา ปรากฏให้เห็นว่าผู้ซึ่งชีวิตเติบโตสูงขึ้น กลับแสดงความรู้สึกแข็ง กระด้าง รวมทัง้ ปฏิเสธความส�ำคัญของชนรุน่ หลัง และขาดความ จริงใจต่อคนระดับล่าง ให้รู้สึกชัดเจนยิ่งขึ้น สภาพดังกล่าว ย่อมขัดกับความจริงของวิถีชีวิต อันควร เป็นไปอย่างมีเหตุผลสอดคล้องต้องกันกับทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งเป็น องค์ประกอบอยู่ในชีวิตตนเอง สิ่งที่สะท้อนออกมาปรากฏจากสภาพสังคมปัจจุบัน ซึ่ง ท�ำให้พบปัญหาความขัดแย้งแฝงอยู่ในกลุ่มคนทุกรูปแบบ และ ทุกสภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใหญ่ซึ่งเป็นผู้น�ำในแต่ละกลุ่มไม่ ว่าระดับไหน และไม่ว่ากลุ่มเล็ก กลุ่มใหญ่ แม้กระทั่งในสถาบัน ซึ่งท�ำหน้าที่จัดการศึกษา มักสะท้อนให้เห็นแนวโน้มสร้างฐาน อ�ำนาจไว้เพื่อประโยชน์ส่วนตน 71

issue 129 OCTOBER 2018


ความจริ ง ได้ ชี้ ไ ว้ อ ย่ า งชั ด เจนแล้ ว ว่ า เพราะมี สิ่ ง นั้ น จึ ง มี สิ่ ง นี้ ดั ง นั้ น หากรากฐานจิ ต ใจมี ค วามเข้ ม แข็ ง การแสดงออกต่ อ เพื่ อ นมนุ ษ ย์ ย ่ อ มมี ความ อ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตนเป็ น ธรรมชาติ จึ ง มี ผ ลท� ำ ให้ ใ ช้ ชี วิ ต สั ม ผั ส กั บ ชนรุ ่ น หลั ง และคนระดั บ ล่ า งอย่ า งมี ความสุ ข

หากมองสู่ด้านล่างมักพบความจริงว่า ผู้ที่มีจิตส�ำนึก รับผิดชอบซึ่งยังคงหลงเหลืออยู่ มักถูกแรงกดดันจากด้านบน ท�ำให้รากฐานจิตใจถูกบีบคั้นเพิ่มมากยิ่งขึ้น หรืออีกนัยหนึ่งอาจ กล่าวได้ว่า ผู้มีโอกาสขึ้นไปอยู่ระดับบน มักขาดความจริงใจต่อ คนระดับล่าง หากมองรูปลักษณ์ของกลุ่มบุคคลอย่างปราศจากการ ยึดติดอยู่กับรูปแบบ สภาพที่เกิดขึ้นในช่วงนี้ จึงหาใช่เป็นเฉพาะ กลุ่มที่มีการรวมตัวกันท�ำงานอย่างเป็นระบบเท่านั้น แม้การรวม กลุ่มบนพื้นฐานครอบครัวก็มักจะพบสภาพเช่นเดียวกัน หากพบว่ารวมตัวกันได้ ย่อมท�ำให้รู้ได้ว่า น่าจะเป็น เพราะแนวร่ ว มบนพื้ น ฐานพรรคพวก เพื่ อ แสวงประโยชน์ ส่วนตนจากสังคมภายนอก ซึ่งสภาพดังกล่าว ย่อมขาดความ มั่นคง บรรยากาศของสภาพแวดล้ อ มดั ง กล่ า ว ซึ่ ง ขณะนี้ มี อิทธิพลกระจายอย่างกว้างขวาง จึงท�ำให้คนที่ยังซื่อสัตย์ต่อ ตนเองซึ่งด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมจ�ำต้องประสบความทุกข์หนัก มากยิ่งขึ้น

แม้ผลการประชุมภายในกลุ่มบุคคลซึ่งถูกเรียกว่า เป็น นักวิชาการระดับสูง เกี่ยวกับงายวิจัยสังคม ซึ่งพึ่งผ่านพ้นมาไม่ นานนี้ ก็ยังปรากฏออกมาเป็นหลักฐานให้เห็นได้ชัดเจน โดยที่ สรุปไว้ว่า นักวิจัยไทยยังมีจ�ำนวนน้อยไม่เพียงพอที่จะสร้างความ เข้มแข็งให้ทัดเทียมชาวต่างชาติ สรุปความเห็นดังกล่าว น่าจะสะท้อนความจริงให้อ่าน ได้ว่า สิ่งที่ฝังอยู่ในส่วนลึกของจิตใจคนไทย แม้ผู้ซึ่งได้ชื่อว่ามี การศึกษาระดับสูง ดูจะยิ่งมีทิศทางความคิดตกเป็นทาสชนชาติ อื่นอย่างเห็นได้ชัด 72

IS AM ARE www.fosef.org


หากปล่อยให้กระแสการเปลี่ยนแปลงมีทิศทางก้าวต่อไป ความหวังซึ่งคิดว่าจะท�ำให้รากฐานตนเองเข้มแข็งยิ่งขึ้น ย่อมยิ่ง อ่อนแอมากขึ้นเป็นล�ำดับ หากเข้าใจความจริงดังกล่าวได้อย่างลึกซึ้ง ควรจะลง ความเห็นว่า นักวิจัยไทยน่าจะมีรากฐานจิตใจพึ่งตนเองลึกซึ้ง ยิ่งขึ้น แทนที่จะมุ่งไปคิดเปรียบเทียบกับชนชาติอื่น หากหวนกลับไปนึกถึงอดีตเท่าที่ผ่านมาแล้ว มิใช่เพราะ เหตุว่าผู้ได้รับการศึกษาระดับสูงมาจากกระบวนการจัดการ ที่มุ่ง ไปตามก้นคนชาติอื่นเพื่อให้ทันเขาหรอกหรือ ในที่สุดรากฐาน จิ ต ใจคนในสั ง คมไทยก็ ต ้ อ งตกเป็ น ทาสเศรษฐกิ จ ชนชาติ อื่ น หนักมากยิ่งขึ้น สิ่งซึ่งชนยุคก่อนเคยพูดฝากไว้ว่า จงเป็นคนอ่อนนอกแต่ แข็งในมาถึงยุคปัจจุบันกลับพบความจริงว่า คนจ�ำนวนไม่น้อย ที่มีโอกาสเติบโตสูงขึ้นการแสดงออกมักมีแนวโน้มใช้อ�ำนาจ ท�ำร้ายผู้อื่น โดยที่คิดว่าตนเป็นคนเข้มแข็ง แต่พยายามซ่อนเอา รากฐานซึ่งอยู่ด้านใน ที่ขาดความเข้มแข็งแม้การใช้เงินซื้อสิ่งซึ่ง อยู่ในจิตใจส่วนใหญ่ ย่อมท�ำได้ไม่ยาก

กว่ า ทิ ศ ทางการเปลี่ ย นแปลงเท่ า ที่ เ ป็ น มาแล้ ว จนถึ ง ปัจจุบัน จะหวนกลับมาสู่อีกทางหนึ่งได้ คนในสังคมไทยคงต้อง ได้รับความเจ็บช�้ำน�้ำใจรุนแรงยิ่งกว่านี้ อนึ่ง ผู้ที่มีรากฐานพึ่งตนเองได้อย่างลึกซึ้ง ย่อมมีความ อดทนและเป็นผู้ที่มีใจเย็นให้มั่นคงอยู่ได้ เพื่อจะได้เป็นร่วมเงา ท�ำให้ชนรุ่นหลัง ซึ่งยังคงส�ำนึกถึงความดีงามและมุ่งมั่นปฏิบัติ ในสิ่งซึ่งคนเชื่อว่ามีเหตุผลสอดคล้องกันกับความจริง ให้เป็น ที่พักพิงในด้านจิตใจสืบต่อไปได้ แม้ขณะนี้ผู้ใหญ่ที่มีคุณสมบัติ ดังกล่าว จะมีจ�ำนวนลดน้อยลงไปมาก อีกทั้งยังมีแนวโน้มลด ลงไปมากแค่ไหนก็สุดแล้วแต่ ผู้ซึ่งยังคงด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคง ย่อมไม่น�ำตัวเองไป เปรียบเทียบกับคนอื่น 73 issue 129 OCTOBER 2018


บทเรียนชี วิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย ตอนที่ 18 : โอกาสของผู้น�ำครอบครัวพอเพียง โอกาส ทลายก�ำแพงใจ เริ่มต้นได้ที่ตัวเอง ผู้น�ำ ได้รับ โอกาสนั้น โอกาสที่ได้เปลี่ยนแปลง ท� ำ ในสิ่ ง ที่ ต นยิ้ ม ท� ำ ในสิ่ ง ที่ ต นหวั ง โอกาส ท� ำ ให้ ครอบครัวพอเพียง มีร้อยยิ้มไปพร้อมกัน น�้ ำ คื อ รางวั ล ของผู ้ น� ำ ครอบครั ว พอเพี ย ง ยุ ค 4.0 : มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ให้น�้ำเป็นรางวัล ใช้คู่กับ คาถา 4H : Head Hand Heart Health แนะให้แกนน�ำจิต อาสาครอบครัวพอเพียง กระตุ้นให้คิด ฝึกฝนให้ปฏิบัติ เป็น วิทยากรผู้เต็มไปด้วยพลังอาสา น้อมน�ำศาสตร์พระราชา คาถา 4H น�ำไปใช้บริการสังคม ค่าย leader นี้ได้ให้ “น�้ำ” เป็นรางวัล #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน

มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ให้โอกาส ท�ำให้ น้องๆ “แกน น�ำจิตอาสาครอบครัวพอเพียง” พัฒนาศักยภาพตนเองกลาย เป็นผู้น�ำ ร่วมรังสรรค์กิจกรรมเสริมสร้างความสุขให้ทุกคน มี ความพอเพียง

ผู ้ น� ำ – ผู ้ ต าม ได้ “น�้ ำ ” น�้ ำ ค� ำ : ค�ำชม ท�ำดี ท�ำได้ ท�ำต่อ รางวัลที่ยิ่งใหญ่ รังสรรค์ จาก “น�้ำใจ” ของผู้ให้ ท�ำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย ท�ำแล้ว ได้

ราตรีนี้หนูไม่เคย : ค้นหาตัวตน รวมกันเป็นทีม สู่การ เป็น ผู้น�ำ – ผู้ตาม ที่ดี ราตรีนี้มีโอกาส 74

IS AM ARE www.fosef.org


ภาพเล่ า เรื่ อ ง เป็นจริง ทีมผู้น�ำครอบครัวพอเพียง รวมตัวทั้งแผ่นดิน รวมพลัง มาสร้างความหวัง หวังร่วมกัน ท�ำเพื่อพ่อ พ่อผู้เป็นพระราชา ผู้ทรงธรรมของทุกคน เรามีพ่อคนเดียวกัน Do for D. กัน

“น�้ำ” เป็นรางวัล หากได้ “น�้ำ” สักนิด ชีวิตมีสุขไปหลายวัน ขอ ขอบคุณ ทุกคนที่มี “น�้ำ”ให้แก่กัน ครอบครัวพอเพียงรักกัน เรา มีน�้ำ เป็นรางวัล สื่อกันด้วยใจ

“น�้ำ” รางวัล “น�้ำ” ท�ำให้ ผู้ให้ ผู้รับ มีความสุข สุขที่ให้ สุขที่รับ ขอขอบคุณครอบครัวพอเพียงที่ท�ำให้มีโอกาสได้เป็นผู้ ให้ ให้ “น�้ำ” เป็นรางวัล สุขจังที่ให้ ที่รับ... ได้ “น�้ำ” ได้มิตร สูตรส�ำเร็จของความหวัง รวมกันเป็น พลัง หวังเดียวกัน

Do for D. สิ่ ง นี้ ที่ ค วามหวั ง ความหวั ง ที่ เ ยาวชน ครอบครัวพอเพียง หวังร่วมกัน สามารถกระท�ำได้และเป็นรูป ธรรม ป้ามุกของเด็กๆ ได้ให้สูตรส�ำเร็จสู่ความหวัง หวังอะไรแน่ ถามใจตัวเองก่อน ท�ำอย่างไร จะได้ดังที่หวัง หวังนั้นเป็นไปได้ มากน้อยแค่ไหน “คิด ท�ำ น้อมน�ำศาสตร์พระราชา” เด็กๆ รู้ เด็กๆ ท�ำ เด็กน้อมน�ำฯ เด็กๆ ท�ำได้ ได้ดี ดีจนปลื้มใจ หวังเล็กๆ

ร่วมกัน

ขอบคุณ “โอกาส” ได้ท�ำ ได้รับ ได้ให้ ได้มีความสุข

75 issue 129 OCTOBER 2018


กิจกรรมการอบรมเชิ งปฏิบัติการเรื่อง

“การสังเกตอาการผิดปกติและช่ วยเหลือเบื้องต้นแก่จิตอาสา”

ในวั น จั น ทร์ ที่ 29 ตุ ล าคม 2561ณ ห้ อ งประชุ ม ทวี ตุ ม ราศวิ น ตึ ก อปร. ชั้ น M โรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ นั ก เรี ย นแกนน� ำ ที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ แ ก่ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสตรี วั ด ใหาพฤฒาราม ในพระบรม ราชิ นู ป ถั ม ภ์ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นราชวิ นิ ต บางแคปานข� ำ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย น มั ธ ยมประชานิ เ วศน์ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นรั ต นธิ เ บศร์ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย น บดิ น ทรเดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) 2 ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสตรี ส มุ ท รปราการ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งอิ ส ลามวิ ท ยาลั ย แห่ ง ประเทศไทย ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นสายน�้ ำ ผึ้ ง ในพระอุ ป ถั ม ภ์ และ ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนสุ นั น ทา

1.นาย ดนัยเดช ระรื่นสุข

2.นายนิธิพจน์ ชั ยอาจ

โรงเรี ย นมั ธ ยมประชานิ เ วศน์ วั น นี้ ผ มได้ ม าเข้ า ร่ ว มการ อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง การ สั ง เกตอาการผิ ด ปกติ แ ละช่ ว ย เหลือเบื้องต้นแก่จิตอาสา ท�ำให้ผม ได้ทราบในหลายๆเรื่อง เช่น การช่วยเหลือ การสังเกตอาการคน เป็นโรคลมชัก การดูแลตัวเองไม่ให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคStorke และได้มีโอกาสได้ฝึกการช่วยเหลือเบื้องต้นแบะได้ฝึกการวัดไข้ การจับชีพจร การเข็นรถ-นั่ง อย่างถูกวิธี สุดท้ายนี้ขอขอบคุณ

โรงเรี ย นสตรี ส มุ ท รปราการ ใ น ก า ร เข ้ า อ บ ร ม ก า ร สั ง เกตอาการผิ ด ปกติ แ ละช่ ว ย เหลื อ เบื้ อ งต้ น ในวั น นี้ ผมได้ รั บ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก ภาวะ หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน(stroke)ซึ่งเป็นโรคอันตรายร้ายแรง อันดับ1ของประเทศเป็นประสบการณ์ที่ดีและจะน�ำไปปรับใช้ ในชีวิตประจ�ำวันครับ 76

IS AM ARE www.fosef.org


4.นายขวัญชั ย ภักดีบวร

โรงเรี ย นบดิ น ทรเดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) 2 ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ ต ่ อ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติจิตอาสา ณ รพ.จุฬาฯ สภากาชาดไทย ผมรู้สึกภูมิใจที่ได้มาร่วมกิจกรรมนี้ ท�ำให้ผมได้ความรู้ เกี่ยวกับอาการชัก,หลอดเลือดสมองตีบ,การวัดความดัน และ อื่นๆ เพื่อให้สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันคับ

5.นางสาวอังคณา อัครขจรฤทธิ์

โรงเรี ย นบดิ น ทรเดชา (สิ ง ห์ สิ ง หเสนี ) 2 ความรู้สึกหลังอบรม หนู รู้สึกตื่นเต้นมาก ๆ เลยค่ะที่ได้เข้า ร่วมอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในครั้งนี้ ท�ำให้หนูได้รับ ความรู้ใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการสังเกตอาการคนไข้เบื้องต้นหรือ วิธีการดูแลคนไข้ และยังท�ำให้หนูเปิดประสบการณ์ต่าง ๆ ให้ กับตัวเองอีกมากมาย ต้องขอขอบคุณโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยที่มอบความรู้ให้ในวันนี้ค่ะ ทางศู น ย์ ฯ มิ ต รภาพบ� ำ บั ด โรงพยาบาลจุ ฬ าลงกรณ์ ได้ จั ด โครงการดีๆขึ้นมา

3.นางสาว ชุ ติมณฑน์ พิมพ์สวัสดิ์

โรงเรี ย นสายน�้ ำ ผึ้ ง วั น นี้ ห นู ไ ด้ เรี ย นรู ้ วิ ธี ก าร ช่วยเหลือผู้ป่วยที่ มีอาการชักควร ท�ำอย่างไรและการน�ำปากกาเข้า ปากหรือสิ่งของต่างๆเข้าปาก เพราะอาจจะติดคอได้ ดังนั้นเรา แค่ช่วยเหลือผู้มีอาการเบื้องต้นด้วยการ เคลียร์สิ่งของต่างๆรอบตัวผู้มีอาการ เช่น กระจก กระ ถ่างต้นไม้ เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยเอง และต้องหาหมอน มารองศีรษะเพื่อกันกระแทกที่บริเวณนั้นเพื่อความปลอดภัย และพี่พยาบาลยังสอนเรื่องการใช้เครื่องชั่งน�้ำหนัก ส่วนสูงและ เครื่องวัดความดัน ได้ท�ำความรู้จักกับโรคต่างๆเพิ่มมากขึ้น 77 issue 129 OCTOBER 2018


ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ภาคกลาง จ.ฉะเชิ งเทรา

ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนฯ ปัจจุบันเป็น สถานที่พักผ่อนใน วันหยุดที่ประชาชนให้ความสนใจ เข้าเยี่ยมชม และศึกษาเรียน รู้ทั้งแบบครบครัวและหมู่คณะ “แหล่งฝึกอบรม และศึกษาเชิงวิชาการ เพื่อพัฒนาการ เกษตรและอาชีพให้กับเกษตรกรในภาคตะวันออก “

จากการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ทั้ง ดิน น�้ำ และป่า ไม้ภายใต้การดูแลของกรมพัฒนาที่ดิน กรมชลประทาน กรม ป่าไม้ และกรมปศุสัตว์ 4 หน่วยราชการที่มีส่วนร่วมกัน พัฒนา พื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่อง มาจากพระ ราชด�ำริ จนกลายมาเป็นศูนย์ศึกษาและพัฒนาด้านเกษตรกรรม และงานศิลปาชีพแก่เกษตรกรและผู้สนใจทั้งยังเป็นสถานที่ท่อง เที่ยวเชิงเกษตรที่สามารถแวะมาสัมผัสวิถีชีวิตเรียบง่ายพอเพียง ตามแนวคิดของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2522 ราษฎรในหมู่ที่ 2 ต�ำบลเขาหินซ้อน น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน จ�ำนวน 264 ไร่ ต�ำบลเขาหินซ้อน อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา และได้ถวายที่ดินเพิ่มอีก 497 ไร่ รวมกับที่ดินบริเวณ สวนรุกขชาติและ สวนพฤกษ์ศาสตร์ และที่ดินพระราชทานจาก ในหลวง ในพื้นที่ติดกับศูนย์ฯ รวมเป็น 1,895 ไร่ ได้รับพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชื่อว่า ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ ในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2523 ศูนย์ 78

IS AM ARE www.fosef.org


70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท.

ทริปตัวอย่าง

2 วั น 1 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย ว จ.ชลบุ รี - ฉะเชิ ง เทรา วั น แรก : ชลบุ รี ช่วงเช้า • เดินทางไปวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร เยี่ยมชม ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านโรงสี ช่วงบ่าย • เที่ยวชมป่าสิริเจริญวรรษ และเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเขา ชีโอน • พักค้างคืนที่บางเสร่

ห้ามพลาด ที่เที่ยวห้ามพลาด

วั น ที่ ส อง : ชลบุ รี - ฉะเชิ ง เทรา ช่วงเช้า • เยี่ยมชมวิหารเซียน ชมแหล่งผลิต เครื่องจักสาน ณ ชุมชนพนัสนิคม ช่วงบ่าย • เยี่ยมชมศูนย์การพัฒนาเขาหินซ้อน จ.ฉะเชิงเทรา

• พระต�ำหนักสามจั่ว หรือบ้านสามจั่ว บ้านพักรับรอง เป็นบ้านไม้สองชั้นยกพื้นสูง ซึ่งพระบาทสมเด็จ-พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ในการก่อสร้าง ทั้งยังทรง ออกแบบด้วยพระองค์เอง • ห้องอบและห้องนวดสมุนไพร เปิดบริการทุกวันเสาร์อาทิตย์ เวลา 08.00-16.00 น. • โรงสีข้าวพระราชทาน ชมกระบวนการสีข้าว ก่อน บรรจุ ใส่กระสอบในชื่อศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน

กิจกรรมห้ามพลาด

• ชมการสาธิตวิธีการเตรียมดินให้เหมาะสมกับการปลูก พืช แต่ละชนิด • ชิมผลไม้สดๆ จากต้น พร้อมเจ้าหน้าที่คอยอ�ำนวย ความสะดวกตลอดการเดินทาง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระ ราชด�ำริ 7 ม.2 ต.เขาหินซ้อน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา โทร. 0-3855-4982 เปิดบริการ : วันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี

การเดินทาง

จากอ�ำเภอพนมสารคาม ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 304 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ตั้งอยู่ช่วงกิโลเมตรที่ 51-52

79 issue 129 OCTOBER 2018


โครงการ Do for D. เพราะเรามีพ่อคนเดียวกัน โครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนร่วม กับ ซ.โซ่ อาสา เยาวชนชุมชนหัวรถจักรตึกแดงบางซื่อ ร่วมกัน เก็บขยะบริเวณโดยรอบชุมชน หัวรถจักรตึกแดงบางชื่อ หลัง จากกิจกรรมสอนหนังสือเสร็จ นักเรียน นิสิต/นักศึกษา แกนน�ำ ครอบครัวพอเพียง พร้อมด้วยคุณครูอาสา กลุ่มซ.โว่อาสา จับมือ น้องๆในชุมชน ร่วมกันเก็บขยะ ภายในชุมชนหัวรถจักรตึกแดง บางซื่อ วันที่ 6 ตุลาคม 2561 ณ ชุมชนหัวรถจักรตึกแดง บางซื่อ ในกิจกรรมครั้งนี้มีแกนน�ำเยาวชนครอบครัวพอเพียง จ�ำนวน 8 โรงเรียน ประกอบไปด้วย 1.โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2.โรงเรียนทวีธาภิเศก 3.โรงเรียนสตรีนนทบุรี 4.โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์

5.โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี)นนทบุรี 6.โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) 2 7.โรงเรียนพระหฤทัยนนทบุรี 8.โรงเรียนสายน�้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ แกนน�ำชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงระดับอุดมศึกษา จ�ำนวน 5 มหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วย 1.สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง 2.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 3.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 4.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 5.มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

80 IS AM ARE www.fosef.org


Round About

กิจกรรมท�ำความสะอาดบ้านเด็กอ่อนปากเกร็ด

กิ จ กรรมท� ำ ความสะอาดบ้ า นเด็ ก อ่ อ นปากเกร็ ด วั น ที่ 28 กันยายน 2561เนื่องจากในช่วงฤดูท�ำให้เกิดโรคระบาด ที่ติดต่อกันภายในเด็กได้ง่ายนั้นคือโรคมือเท้าปาก โครงการ ครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน จึงได้จัดกิจกรรม ท�ำความสะอาดห้องพร้อมทั้งเครื่องเล่นและเครื่องใช้ภายในบ้าน เด็กอ่อนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยมีจ�ำนวนนักเรียน นิสิต/ นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 16 คน เข้าร่วมกิจกรรม จาก ศูนย์ครอบครัวพอเพียง 4 โรงเรียน ประกอบไปด้วย 1.ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นเบญจมราชา ลัย

2.ศู น ย์ ค รอบครั ว พอเพี ย งโรงเรี ย นพระหฤทั ย นนทบุรี 3.ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี นนทบุรี 4.ศูนย์ครอบครัวพอเพียงโรงเรียนรัตนาธิเบศร์ และมีนิสิต/นักศึกษาชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียง เข้า ร่วมกิจกรรมจ�ำนวน 3 มหาวิทยาลัย ประกอบไปด้วย 1.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2.มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 3.มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด 81

issue 129 OCTOBER 2018


82 IS AM ARE www.fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดีๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org 83

issue 129 OCTOBER 2018


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.