Isamare sep2

Page 1

IS AM ARE

12 ข้ อ ควรรู ้ ก ่ อ นเรี ย นแพทย์

รศ.นพ.พงศ์ ศั ก ดิ์ ยุ ก ตะนั น ทน์ สารจาก

ดนุชา สินธวานนท์ เลขาธิการ กปร. ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งทางสายกลาง สู ่ ค วามสมดุ ล ทุ ก มิ ติ

ฉบับที่ 116 กันยายน 2560 www.fosef.org


2 IS AM ARE www.fosef.org


“การด� ำ รงชี วิ ต ที่ ดี จ ะต้ อ งปรั บ ปรุ ง ตั ว ตลอดเวลา การปรั บ ปรุ ง ตั ว จะต้ อ งมี ค วามเพี ย รและความอดทน เป็ น ที่ ตั้ ง ถ้ า คนเราไม่ ห มั่ น เพี ย ร ไม่ มี ค วามอดทน ก็ อ าจจะท้ อ ใจไปโดยง่ า ย เมื่ อ ท้ อ ใจไปแล้ ว ไม่ มี ท างที่ จ ะมี ชี วิ ต เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งแน่ ๆ ”

พระราชด� ำ รั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 พระราชทานแก่ ค รู แ ละนั ก เรี ย น โรงเรี ย นจิ ต รลดา 27 มี น าคม 2523

3 issue 116 september 2017


Editorial

..ศูนย์ครอบครัวพอเพียง หมายถึง ศูนย์รวมคนดี คนที่มีศรัทธาความดีในตนเอง เชื่อมั่นในค�ำสอนของพ่อ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอน และมีปรารถนาที่จะท�ำประโยชน์ เพื่อความสุขของผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน.. ฉบับเดือนกันยายน ปิดไตรมาสที่ 3 ของปี เป็นช่วงเวลาสอบของนักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมจนถึงชั้นมัธยมศึกษา หลังสอบเสร็จก็จะได้หยุดพักการเรียนกันหรือที่เรียกว่าปิดเทอมกลางปี บางโรงเรียนก็ปิดเทอมกันตั้งแต่วันที่ ๒๐ กันยายน และจะเปิดเรียนอีกครั้งประมาณวันที่ ๓๐ ตุลาคม ช่วงเวลาปิดเทอมกลางปี ปีนี้ ๒๕๖๐ เป็นช่วงเวลาที่ส�ำคัญยิ่งของ “ครอบครัวพอเพียง” เป็นช่วงมหาบุญใหญ่ที่ สมาชิกครอบครัวพอเพียงจะได้ท�ำบุญร่วมกัน นั่นคือ พิธีบรรพชาสามเณรจ�ำนวน ๘๙ รูป เป็นการบรรพชาสามเณรซึ่งเป็น ตัวแทนเยาวชนจากโรงเรียนในโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนทุกจังหวัดทั่วประเทศ ทั้ง ๗๖ จังหวัด จังหวัดละ ๑ คน รวม ๗๖ คนและอีก ๑๓ โรงเรียน ๑๓ คนในเขตกรุงเทพมหานคร พิธีบรรพชาสามเณร ๘๙ รูป เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใน ปี ๒๕๖๐ นี้ มูลนิธิครอบครัวพอเพียงถือเป็นปีเริ่มต้น นั่นหมายถึงในทุก ๆ การปิดภาคเรียนกลางปีแบบนี้จะมีพิธีบรรพชา สามเณร จ�ำนวน ๘๙ รูป เป็นประจ�ำทุกปีจากนี้ไป ส่วนจะเป็นวัดใด จังหวัดใดนั้นคงขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความตั้งใจ รวมใจ ให้เป็นหนึ่งเหมือนกับที่ครอบครัวพอเพียงรับรู้ รับทราบคือ ครอบครัวพอเพียงไม่มีวันตาย ตราบใดที่ผืนแผ่นดินนี้ยังคงมีคนไทยอาศัยอยู่ “คนไทย” ที่ มี “พ่ อ ” คนเดี ย วกั น

4 IS AM ARE www.fosef.org


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง

พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน

คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นางวาสนา สุทธิเดชานัย นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นายเอกรัตน์ คงรอด นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางอรปภา ชาติน�้ำเพ็ชร นางรจนา สินที นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ดร.เชิดศักดิ์ นายสมศักดิ์ ดร.ชลพร ดร.ปิยฉัตร

ศุภโสภณ ชาติน�้ำเพ็ชร กองค�ำ กลิ่นสุวรรณ

บรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :

ศิลปกรรม : ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.กาญจนา ดร.อ�ำนาจ

บริบูรณ์ พระใหญ่ สุทธิเนียม วัดจินดา

กรวิก อุนะพ�ำนัก ชวลิต ใจภักดี หนึ่งฤทัย คมข�ำ ภูวรุต บุนนาค พิชัยยุทธ ชัยไธสง ภิญโญ ทองไชย นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org

Let’s

Start and Enjoy!


Hot Topic

8

ตามรอยยุ วกษัตริย์

24

12 ข้อควรรู ้ก่อนเรียนแพทย์ รศ.นพ.พงศ์ศักดิ์ ยุ กตะนันทน์

12

สารจาก ดนุชา สินธวานนท์ เลขาธิการ กปร. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทางสาย กลางสู่ความสมดุลทุกมิติ

Don’t miss

44

32 68

70 6 IS AM ARE www.fosef.org

52


Table Of Contents

ดนุ ช า สิ น ธวานนท์ เลขาธิ ก าร กปร.

7 issue 116 september 2017

ตามรอยยุวกษัตริย์ Cover Story สารจาก ดนุชา สินธวานนท์ เลขาธิการ กปร. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทางสายกลางสู่ ความสมดุลทุกมิติ Cartoon Let’s Talk 12 ข้อควรรู้ก่อนเรียนแพทย์ รศ.นพ.พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันทน์ เข้าใจวัยรุ่น ภาพเล่าเรื่อง กระจกส่องใจ ท�ำไมวัยรุ่นถึงฆ่าตัวตาย เยาวชนของแผ่นดิน ญาธิดา ปานเกตุ เปลี่ยนจุดด้อยให้เป็นพลัง ความในใจของสาวประเภทสอง Is Am Are ต�ำบลล�ำนางแก้ว จังหวัดนครราชสีมา ปฎิบัติและเรียนรู้ เป็นครูสอนปัญญา หลักธรรมแห่งความพอเพียง ใช้อสุภะให้มีสันโดษ พอใจแต่คู่ชีวิตของตน 2 มูลนิธิชัยพัฒนา น�้ำพระทัยสู่ชาวโนนทัย นครราชสีมา Round About

8

12 20 24 32 38 44

52 58 68 70 80


โรงเรียนเอกอล นูแวล และมหาวิทยาลัยโลซานน์

นอกจากการอภิ บ าลเลี้ ย งดู จ ากสมเด็ จ พระบรมราชชนนี แ ล้ ว สถานที่ ศึ ก ษาและสิ่ ง แวดล้ อ มทางสั ง คม ในสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ข ณะทรงพระเยาว์ น่ า จะมี บ ทบาทต่ อ พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยทั้ ง สองพระองค์ ไ ม่ ม ากก็ น้ อ ย คณะพวกเราจึงลงความเห็นกันว่า ควรจะไปชมสถาน ภาษาเยอรมัน และภาษาอิตาเลี่ยน เอกอล นูแวล เป็นโรงเรียน ศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ไทย ราษฎร์นานาชาติตั้งอยู่ทางเหนือของเมือง ในสมัยนั้นโรงเรียน ทั้งสองพระองค์ โรงเรียนส�ำหรับวัยเด็กเล็ก เช่น สถานรับเลี้ยง นี้มีชั้นเรียนเป็นชั้นอนุบาลหนึ่งชั้น ชั้นธรรมดาเก้าชั้น เรียกว่า เด็กที่ชองโซเลย์ และโรงเรียนประถมเมียร์มองต์ในปัจจุบันนี้ ชั้นหนึ่งถึงชั้นสิบไม่แบ่งเป็นประถมหรือมัธยม พระบาทสมเด็จ ไม่มีอยู่แล้ว เราจึงเริ่มต้นจาดโรงเรียนเอกอล นูแวล (Ecole พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 8 ทรงเข้าเรียนชั้นสอง ส่วนพระบาท Nouvell de la Suisse Romande) ชื่อโรงเรียน แปลว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงเรียนชั้นอนุบาล และทั้ง โรงเรียนใหม่แห่งภาคสวิตเซอร์แลนด์ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส สองพระองค์ทรงเรียนอยู่ที่โรงเรียนนี้หลายปี ก่อนศึกษาต่อ เหตุที่ต้องมีชื่อยาวๆ อย่างนี้ เพราะสวิตฯ แบ่งพื้นที่เป็น ในระดับมหาวิทยาลัย สามภาค ตามภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น คือภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส 8 IS AM ARE www.fosef.org


ตามรอยยุ ว กษั ต ริ ย ์ ที่ โรงเรี ย นเอกอล นู แวล ทั้ ง สองพระองค์ ท รงเลื อ ก เรียนสายศิลป์ภาษาละตินและอังกฤษ ส่วนภาษาเยอรมันเป็น ภาษาบังคับ มีวิชาพิเศษของโรงเรียนในสมัยนั้น คือ วิชาการท�ำ สวนและวิชาช่างไม้ รับนักเรียนไปมาทั้งนักเรียนชายและหญิง ส่วนนักเรียนประจ�ำรับแต่นักเรียนชายในหนึ่งถึงสองปีสุดท้าย ของแต่ละพระองค์ สมเด็จพระบรมราชชนนีได้ส่งเข้าไปเป็น นักเรียนประจ�ำ เพื่อจะได้ทรงทราบชีวิตของนักเรียนประจ�ำ ที่ต้องช่วยพระองค์เอง โรงเรียนนี้มีที่พักบนภูเขาชื่อ ชองเป้ (Champex) ซึ่งทั้งสองพระองค์ได้เสด็จฯ ไปประทับในฤดู ร้อนหลายครั้ง เนื่องจากเป็นวันเสาร์อาทิตย์โรงเรียนปิด คณะของเรา ต้องจอดรถในที่จอดรถแล้วเดินเข้าไป ช่างเป็นโรงเรียนเหมือน กับในรูปที่เห็นจากหนังสือ แทบไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงเลย ตรง หน้าอาคารระบุปีที่สร้าง ปี 1906 (พ.ศ.2449) จนถึงบัดนี้ นับ เนื่องได้ 100 ปี พอดิบพอดี อาคารด้านหน้าเป็นอาคารหอพัก ซึ่งเคยเป็นที่ประทับ เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งสองพระองค์เป็น นักเรียนประจ�ำ ทางซ้ายมือเป็นอาคารเรียน ด้านขวามือมีบันได

ในสมั ย นั้ น โรงเรี ย นนี้ มี ชั้ น เรี ย นเป็ น ชั้ น อนุ บ าลหนึ่ ง ชั้ น ชั้ น ธรรมดาเก้ า ชั้ น เรี ย กว่ า ชั้ น หนึ่ ง ถึ ง ชั้ น สิ บ ไม่ แ บ่ ง เป็ น ประถมหรื อ มั ธ ยม พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 8 ทรงเข้ า เรี ย นชั้ น สอง ส่ ว นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 ทรง เรี ย นชั้ น อนุ บ าล ลงไปเป็นสนามบาสเก็ตบอลและสวน สนามด้านขวามือมีรถตู้ จอดอยู่หลายคัน ข้างรถมีสภาพและข้อความเชิดชูคุณงามความ ดีและความสามารถของศิษย์เก่า แต่ก็คงเป็นที่ที่ไม่บังควรหาก จะเชิดชูศิษย์เก่าที่เป็นพระมหากษัตริย์อย่างพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวของไทยทั้งสองพระองค์ หากท่านผู้อ่านไปเยือนโลซานน์ในวันที่เปิดเรียน ก็ สามารถขออนุ ญ าตเยี่ ย มชมโรงเรี ย นได้ เคยมี ค นไทยไปขอ เยี่ยมชมมาแล้ว ได้รับการต้อนรับอย่างดีจากโรงเรียน หาก โอกาสดียังสามารถได้รับฟังค�ำบอกเล่าจากอาจารย์บางท่าน ที่เคยมีประสบการณ์ได้เข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้งสองพระองค์มาแล้ว ออกจากโรงเรียนเอกอล นูแวล แล้ว คณะของเราเดิน ทางต่อไปมหาวิทยาลัยโลซานน์ (Lausanne University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของทุกพระองค์ สมเด็จพระเจ้าพี่นาง เธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ ทรงศึกษาทางด้านเคมี พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 8 ทรงศึกษาวิชานิติศาสตร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงเลือกเรียนแขนง วิทยาศาสตร์ ต่อมาเมื่อทรงครองราชย์สมบัติแล้ว ได้เปลี่ยน 9

issue 116 september 2017


เป็นสาขาวิชากฎหมาย รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ แทนวิชา วิทยาศาสตร์ เพื่อความเหมาะสมกับพระราชภารกิจแห่งพระ มหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชชนนีทรงศึกษาเพิ่มเติม ด้าน วิชาภาษาละติน ปรัชญา วรรณคดี และสันสกฤตด้วย โ ล ซ า น น ์ เ ป ็ น เ มื อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า มหาวิ ท ยาลั ย โลซานน์ เ ป็ น มหาวิ ท ยาลั ย เก่ า แก่ มี ชื่ อ เสี ย งในหลายสาขาวิ ช า สมเด็ จ พระเจ้ า พี่ น างเธอ เจ้ า ฟ้ า กัลป์ยาณิวัฒนาฯ ทรงเล่าถึงระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ว่า มีการเรียน 2 แบบ คือแบบเก็บ หน่วยกิต ผู้สนใจสมัครเป็นนักศึกษาต้องเสียค่าลงทะเบียน ค่าบ�ำรุงห้องสมุด ค่าบ�ำรุงสโมสรนักศึกษา ส่วนอีกประเภท เป็นการเรียนแบบไม่เอาหน่วยกิต (audit) ผู้สนใจหาความ รู้เฉพาะวิชา อาจะเลือกวิชาใดก็ได้ โดยที่ไม่ต้องลงทะเบียน เป็นนักศึกษา แต่ต้องเสียค่าลงทะเบียนชุดวิชานั้นๆ แพงกว่า นักศึกษาทั่วไปเกือบเท่าตัว การเรียนในมหาวิทยาลัยที่สวิตเซอร์แลนด์ ตอนต้นภาค การศึกษานักศึกษาต้องน�ำสมุดไปให้อาจารย์ผู้สอนลงนามว่า

เข้าเรียน ถึงปลายภาคก็น�ำไปให้ลงนามว่าได้ฟังบรรยายครบ หลักสูตร ไม่มีการบังคับว่านักศึกษาต้องสอบไล่เมื่อสิ้นภาค การศึกษา ขึ้นอยู่กับว่านักศึกษาพร้อมจะสอบไล่เมื่อไหร่ ก็ไป แจ้งส�ำนักเลขานุการเพื่อขอสอบ เมื่อสอบไล่จนครบหลักสูตร แล้วจึงจะได้ปริญญา ในช่วงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลฯ ทรงส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมปลาย ในปี 2486 (ค.ศ.1943) เมื่อพระชนมายุ 16 พรรษา สงครามโลกครั้งที่ 2 ยังคงด�ำเนิน อยู่ จึงทรงศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยโลซานน์ ต่อมาพระอนุชาและทุกพระองค์จึงเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย นี้พร้อมกันทั้งครอบครัว ที่ ตั้ ง ของมหาวิ ท ยาลั ย นี้ เราต้ อ งเดิ น ขึ้ น เนิ น และขึ้ น บันไดไปสูงพอควร หน้าอาคารเป็นลานกว้าง มีอนุสาวรีย์ของ วีรชนที่สู้รบเพื่อแคว้นหรือพันธรัฐโวด์ อาคารเรียนได้ถูกเปลี่ยน เป็นที่ท�ำการของหน่วยงานรัฐ ส่วนมหาวิทยาลัยในปัจจุบัน ได้ย้ายไปอยู่นอกเมือง เราสามารถมองลงมาเห็นทิวทัศน์อัน สวยงามของเมืองและทะเลสาบด้านล่างซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก 10

IS AM ARE www.fosef.org


เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 11 issue 116 september 2017


สารจาก ดนุชา สินธวานนท์ เลขาธิการ กปร.

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทางสายกลางสู่ความสมดุลทุกมิติ เป็ น ที่ ย อมรั บ และประจั ก ษ์ ใ นสั ง คมไทยทั่ ว ไปแล้ ว ว่ า ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป็ น หลั ก การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ น� ำ พาให้ ชี วิ ต มี ค วามสมดุ ล ด้ ว ย 2 ฐาน และ 3 หลั ก หากจะกล่ า วต่ อ ไปว่ า ความสมดุ ล หมายถึ ง ความเป็ น ปกติ ซึ่ ง เชื่ อ มโยงไปถึ ง ความสุ ข นั่ น เอง ดั ง นั้ น ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จึ ง เป็ น หลั ก คิ ด และ ปฏิ บั ติ ที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ทรงมุ ่ ง หวั ง ให้ ค นไทยด� ำ เนิ น ชี วิ ต อย่ า งมี ค วามสุ ข นั่ น เอง

12 IS AM ARE www.fosef.org


Cover story

13 issue 116 september 2017


ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และอย่างพอประมาณ รู้เหตุ รู้ปัจจัย และรู้ผล กระท�ำเช่นนี้บ่อยๆ กระบวนการนี้จะหล่อหลอมให้ เรามีวิถีชีวิตที่พอเพียง ส�ำหรับบทบาทของส�ำนักงาน กปร. ได้ให้ความส�ำคัญ กับการเผยแพร่แก่ข้าราชการและประชาชน อีกทั้ง ส�ำนักงาน กปร. และภาคี ได้จัดการประกวดฯ 2 ครั้ง ในปี 2550 และ 2552 เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้การประยุกต์ใช้ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งในด้านผู้ปฏิบัติและหน่วย งานที่ร่วมเป็นกรรมการตัดสิน มีผู้สนใจเข้าร่วมประกวดทั้ง 2 ครั้ง ใน 10 ประเภท จ�ำนวน 2,800 ราย และมีผู้ได้รับรางวัล หากคนไทยมี ค วามเข้ า ใจในหลั ก การและประยุ ก ต์ จ�ำนวน 622 ราย ซึ่งเป็นตัวอย่างความส�ำเร็จให้หน่วยงานและ น้ อ มน� ำ ใช้ ป รั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในชี วิ ต ผู้สนใจ ได้ศึกษาเรียนรู้ร่วมขับเคลื่อนอยู่ในแวดวงเศรษฐกิจ ในชุ ม ชน ในองค์ ก รและในการพั ฒ นาประเทศ อั น พอเพียงทุกวันนี้ โดยได้รับความร่วมมือจากผู้ได้รับรางวัลการ จ ะ เ ป ็ น ก า ร ป ฏิ บั ติ บู ช า สู ง สุ ด ถ ว า ย แ ด ่ พ ร ะ บ า ท ประกวดฯ อาสาเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของส�ำนักงาน สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช บรมนาถ กปร. ซึ่งปัจจุบันมี 47 แห่ง แบ่งเป็น 10 ประเภท ท�ำหน้าที่เป็น บพิ ต ร เพราะเป็ น ทางสายกลางในการพั ฒ นาตนเอง แหล่งถ่ายทอดองค์ความรู้การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจ ครอบครั ว ชุ ม ชน องค์ ก ร และประเทศให้ เ จริ ญ ขึ้ น พอเพียงในบริบทต่างๆ เช่น ประชาชนทั่วไป เกษตรกรหน่วย งานภาครัฐ และธุรกิจ มีศูนย์เรียนรู้ฯ ที่เป็นหน่วยงานภาครัฐ และเกิ ด ประโยชน์ สุ ข ต่ อ ประเทศของเรานั่ น เอง หลายแห่ง ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในการบริหารจัดการองค์กรตาม ทว่า ยังมีความเข้าใจไม่ครบชัดในปรัชญาของเศรษฐกิจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โรงพยาบาลหนองม่วงไข่ พอเพียง ซึ่งผู้ทรงวุฒิ ภาควิชาการ ควรเร่งสร้างความเข้าใจว่า จ. แพร่ และเทศบาลต�ำบลปลายพระยา จ.กระบี่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใช้ได้ทุกคน ทุกบริบท มิใช่เรื่อง ของคนจน เกษตรกรเท่านั้น แม้ว่า เราจะเห็นตัวอย่างการ ประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตร เป็ น ส่ ว นใหญ่ เนื่ อ งจากเป็ น ภาคการผลิ ต ในพื้ น ที่ ข นาดเล็ ก สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง อีกทั้งมีแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรม นาถบพิตร เป็นแนวทางการบริหารจัดการที่ดินและน�้ำให้เกิด ประโยชน์สูงสุด อย่างไรก็ตาม มิได้หมายความว่า คนที่ท�ำเกษตรคือคน ที่น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้ผลเท่านั้น หรือคนที่ปลูกผัก ปลูกพืชทานเองเป็นเศรษฐกิจพอเพียง หากต้องพิจารณาที่วิธีคิด และวิธีการปฏิบัติของแต่ละบุคคลประกอบ ซึ่งไม่ว่าเราจะปลูก ผักทานเองหรือเราจะซื้อผักทาน ก็สามารถใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได้ตามสภาพการณ์ที่เหมาะสม ในมุมของคนท�ำงานลูกจ้างบริษัทหรือข้าราชการ มนุษย์ เงินเดือน ขอให้พิจารณาเริ่มต้นสร้างภูมิคุ้มกัน ตัวอย่างที่เด่นชัด คือ การท�ำแผนการใช้จ่ายทางการเงิน การบริหารค่าใช้จ่ายใน แต่ละเดือน และการประหยัดทรัพยากรต่างๆ เช่น น�้ำ ไฟฟ้า กระดาษ พลาสติก เป็นต้น โดยท�ำด้วยฐานความรู้ ข้อมูล และ 14 IS AM ARE www.fosef.org


อีกบทบาทส�ำคัญ ที่ส�ำนักงาน กปร. ได้ร่วมขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงตามแผนยุทธศาสตร์การบูรณา การการขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง (พ.ศ.2557-2560) ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี ได้มอบ หมายให้ส�ำนักงาน กปร.เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการขับ เคลื่อนฯ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ในภาคการเกษตรและชนบท ซึ่งมี หัวหน้าส่วนราชการและผู้ทรงคุณวุฒิทุกภาคส่วนร่วมท�ำงาน ในรูปแบบของคณะอนุกรรมการฯ โดยได้ร่วมกันจัดท�ำแนวคิด โครงสร้างกลไกการท�ำงาน และวิธีการท�ำงานขับเคลื่อนฯ ใน พื้นที่หมู่บ้านเป้าหมาย 24,086 หมู่บ้าน

โดยการท�ำเวทีประชาคม ให้ประชาชนรู้จักใช้ข้อมูล ต่างๆ เช่น บัญชีครัวเรือน บัญชีน�้ำ แผนชุมชน และคิดวิเคราะห์ ปัญหาของตนเอง ครอบครัว และชุมชน และร่วมกันก�ำหนด วิธีการแก้ไข เสนอโครงการฯ ใน 2 ประเด็น คือ พัฒนาแหล่ง น�้ำ และลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ โดยใช้บัญชีครัวเรือน ผ่านคณะ ท�ำงานระดับหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ และจังหวัด มายังคณะ อนุกรรมการยุทธศาสตร์ที่ 1 เพื่อกลั่นกรองตามเกณฑ์ และเสนอ ให้คณะอนุกรรมการอนุมัติโครงการและงบประมาณฯ (ปลัด ส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน) พิจารณาอนุมติโครงการ และงบประมาณ 15

issue 116 september 2017


ในการสร้างธรรมาภิบาล เกิดความโปร่งใสในการท�ำงาน ช่วยใน การสนับสนุนแนวทางของรัฐบาลในการต่อต้านการทุจริตได้อีก ด้วย โดยมีการด�ำเนินการ ดังนี้ 1. ในปี 2559 ส�ำนักงาน กปร. ได้ร่วมมือจากศูนย์ พัฒนานวัตกรรมต่อต้านการคอร์รัปชัน พัฒนาให้ส�ำนักงาน กปร. เป็นองค์กรต้นแบบองค์กรคุณธรรมฯ โดยมีการด�ำเนิน งาน ประกอบด้วย •พั ฒ นาตนเองเพื่ อ ให้ ส� ำ นั ก งาน กปร. เป็ น องค์ ก ร คุณธรรมและพอเพียง โดยมีการให้ค�ำปรึกษาและประเมินโดย ศูนย์พัฒนานวัตกรรมฯ

ทั้งนี้ ในฐานะที่เป็นหน่วยประสานงานหลัก เป็นความ ท้าทายที่ต้องสร้างความเข้าใจของหน่วยงานต่างๆ ให้เข้าใจ ไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งประสานแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง ต่างๆ ทั้งในระดับส่วนกลางและจังหวัดลงไปถึงชุมชน และ ปัจจัยส�ำคัญคือข้าราชการ ก็ต้องปรับวิธีคิดและวิธีท�ำงานร่วม กับประชาชนเช่นกัน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ประชาชน และ สร้ างกระบวนการเรียนรู้ด ้านปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพี ย ง นั่นคือ กระตุ้นให้ประชาชนรู้จักใช้ความรู้ ข้อมูล และมีความ ซื่อสัตย์สุจริตเป็นฐานในการท�ำโครงการเสนอขอสนับสนุนจาก สปน. และจากโครงการจากจังหวัดที่เสนอมายังอนุกรรมการ ยุทธศาสตร์ที่ 1 จ�ำนวน 15,000 กว่าโครงการ พบว่า เราต้อง กระตุ้นให้มีการใช้ข้อมูลมาประกอบการคิดวิเคราะห์ให้มากขึ้น รู้จักเหตุ รู้จักผล และรู้ปัจจัย รู้จักตน รู้ประมาณ และมีแผนการ ท� ำ งาน จะน� ำ ไปสู ่ ค วามยั่ ง ยื น ในการพั ฒ นาชุ ม ชนได้ ใ นที่ สุ ด และนี่คือหัวใจหลักของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในการ พัฒนาชุมชนที่เป็นรูปธรรม ด้านภายในองค์กร ส�ำนักงาน กปร. ได้น้อมน�ำปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาองค์กร โดยมองว่าสามารถช่วย

ในมุ ม ของคนท� ำ งานลู ก จ้ า งบริ ษั ท หรื อ ข้ า ราชการ ม นุ ษ ย ์ เ งิ น เ ดื อ น ข อ ใ ห ้ พิ จ า ร ณ า เ ริ่ ม ต ้ น ส ร ้ า ง ภู มิ คุ ้ ม กั น ตั ว อย่ า งที่ เ ด่ น ชั ด คื อ การท� ำ แผนการใช้ จ่ า ยทางการเงิ น การบริ ห ารค่ า ใช้ จ ่ า ยในแต่ ล ะเดื อ น และการประหยั ด ทรั พ ยากรต่ า งๆ เช่ น น�้ ำ ไฟฟ้ า กระดาษ พลาสติ ก เป็ น ต้ น

16 IS AM ARE www.fosef.org


17 issue 116 september 2017


•ให้ความรู้เพื่อสร้างผู้ที่ร่วมงานกับส�ำนักงาน กปร. โดย เฉพาะ คู่ค้า โดยกับ ส�ำนักงาน กปร. ให้ความรู้ในการประเมิน ตนเองเพื่อเป็นคู่ค้าที่ผ่านเกณฑ์คุณธรรม โดยมีเครื่องมือการ ประเมินตามที่ศูนย์นวัตกรรมฯ พัฒนาขึ้น •ขยายผลให้ มี ห น่ ว ยงานท� ำ เรื่ อ งนี้ เ พิ่ ม และขยายลง ระดับพื้นที่ ระดับชุมชนด้วย 2. ในปี 2560 ส�ำนักงาน กปร. ได้เชิญชวนเครือข่ายที่ สนใจเพื่อขยายผลและผลักดันการน้อมน�ำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปใช้ให้มีมากขึ้น โดยมีการลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือโครงการพัฒนาองค์กรคุณธรรมตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงขึ้น เมื่อวันพุธที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ระหว่าง ส�ำนักงาน กปร. ส�ำนักงาน ป.ป.ท. ธกส. บริษัท อสมท จ�ำกัด (มหาชน) และศูนย์พัฒนานวัตกรรมต่อต้านคอร์รัปชัน โดยหน่วยงานที่ร่วมลงนามจะพัฒนาตนเองเป็นต้นแบบตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาไปสู่ประชาคม เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ที่ จ ะเป็ น การเชื่ อ มโยงเรื่ อ งนี้ ล งสู ่ ร ะดั บ พื้นที่ ชุมชน กลุ่มเกษตรกร ที่เป็นต้นแบบองค์กรคุณธรรมและ พอเพียงต่อต้านคอร์รัปชั่น มีแผนจะเริ่มด�ำเนินการในพื้นที่ศูนย์ ศึกษาฯ ทั้ง 6 แห่ง ร่วมกับ ธกส. อสมท. และ ส�ำนักงาน ปปท.

นอกจากนั้น ได้จัดท�ำหลักสูตรฝึกอบรม นบร. พพร. แก่ ข้าราชการในสังกัดและหน่วยงานร่วมเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ปัจจุบันอบรมไปแล้ว 6 รุ่น ทั้งนี้ หากคนไทยมีความเข้าใจในหลักการและประยุกต์ น้อมน�ำใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิต ในชุมชน ใน องค์กรและในการพัฒนาประเทศ อันจะเป็นการปฏิบัติบูชา สูงสุดถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพราะเป็นทางสายกลางในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน องค์กร และประเทศให้เจริญขึ้น และเกิด ประโยชน์สุขต่อประเทศของเรานั่นเอง ดนุชา สินธวานนท์ เลขาธิการ กปร. 18

IS AM ARE www.fosef.org


19 issue 116 september 2017


20 IS AM ARE www.fosef.org


Cartoon

21 issue 116 september 2017


22 IS AM ARE www.fosef.org


23 issue 116 september 2017


Let’s Talks

12 ข้อควรรู้ก่อนเรียนแพทย์ รศ.นพ.พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันทน์

เยาวชนหลายคนมี ค วามใฝ่ ฝ ั น อยากจะเรี ย นแพทย์ แต่ ห ลายคนยั ง ไม่ ท ราบว่ า เมื่ อ สอบติ ด แพทย์ แ ล้ ว ขั้ น ตอนต่ อ ไปที่ ต ้ อ งผ่ า นไปให้ ไ ด้ ก ่ อ นจะได้ ชื่ อ ว่ า นิ สิ ต หรื อ นั ก ศึ ก ษาแพทย์ มี อ ะไรบ้ า ง ฉบั บ นี้ รศ.นพ. พงศ์ ศั ก ดิ์ ยุ ก ตะนั น ทน์ รองคณบดี ฝ่ า ยกิ จ การนิ สิ ต คณะแพทย์ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ให้ ค� ำ แนะน� ำ เอาไว้ อ ย่ า งน่ า สนใจ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ คิ ด จะเรี ย นแพทย์ ต ้ อ ง “มี ค วามพร้ อ ม” อะไรบ้ า ง ไปดู กั น เลย

24 IS AM ARE www.fosef.org


25 issue 116 september 2017


หมายถึงว่า เวลาสัมภาษณ์แล้วบอกว่าผมรวยแล้ว อยากจะ เรียนแพทย์ ผมจะมาหากิน ผมไม่ได้สนใจจะมาช่วยเหลือเพื่อน มนุษย์ อย่างนี้ ก็อย่ามาเป็นแพทย์เลยครับ ก็ขอร้อง ฉะนั้น ต้อง มีจิตใจที่อยากช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ จิตใจที่มีความโอบอ้อม อารี จิตใจที่มองมนุษยษ์เป็นเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน อย่างนี้ถึงจะ มาเป็นแพทย์ได้ครับ 3.รู ้ จั ก กตั ญ ญู การเรียนแพทย์เป็นการถ่ายทอดความรู้ระหว่างครูกับ ลูกศิษย์ ฉะนั้นลูกศิษย์ต้องเคารพครู เมื่อเคารพครูแล้ว เรียนรู้ จากครูแล้ว พอถึงเวลาก็ต้องกตเวทิตาต่อครู ฉะนั้น เครื่องหมาย ของคนดีคือกตัญญู การจะเรียนแพทย์ได้ต้องเป็นผู้ประกอบ โรคศิ ล ปะ ไม่ ใช่ ผู ้ ป ระกอบโรควิ ท ยาศาสตร์ ศิ ล ปะคื อ การ ถ่ายทอดจากครูสู่ลูกศิษย์ แต่การถ่ายทอดต้องถ่ายทอดด้วย ความรู้และจิตวิญญาณ ฉะนั้นก็ต้องเป็นคนดี 1.ต้ อ งเรี ย นดี คนที่ จ ะมาเรี ย นแพทย์ ต ้ อ งเป็ น คนที่ เรี ย นดี ก ่ อ นครั บ หมายถึ ง คนที่ เรี ย นไม่ ดี แ ล้ ว อยากจะมาเรี ย นแพทย์ ก็ อ าจจะ มี ค วามล� ำ บากหน่ อ ย เพราะวิ ช าที่ เรี ย นค่ อ นข้ า งหนั ก ต้ อ ง อาศัยทั้งความจ�ำความเข้าใจ นอกจากนั้นต้องมีทักษะในการ ใช้ภาษาอังกฤษสูง เพราะต�ำราส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ นั่น หมายความว่าคนที่เรียนไม่ดีแต่อยากจะเป็นแพทย์ อาจจะต้อง ทางเลือกอย่างอื่น เช่น 1.พยาบาล 2.เทคนิคการแพทย์ 3.นักกายภายบ�ำบัด 4.วิทยาศาสตร์การแพทย์ 5.นักรังษีวิทยา 6.ทันตแพทย์ 7.สัตวแพทย์ เหล่านี้ไม่ได้หมายความว่าด้อยกว่านะครับ แต่วิชาที่ เรียนใช้ภาษาอังกฤษน้อยกว่าแพทย์เท่านั้นเอง 2. ต้ อ งมี จิ ต ใจที่ ดี คนที่มีจิตใจไม่ดีแล้วอยากจะเรียนแพทย์ ก็เป็นอันตราย นะครับ เช่น อยากจะรวย อยากจะพาณิชย์ อยากจะเสริม ความงาม ถ้าแสดงออกว่าผมอยากรวยเวลาสัมภาษณ์เขาก็ไม่ ให้เข้าครับ เวลาสัมภาษณ์จะไปบอกตรงใจตัวเองมากก็ไม่ได้ 26 IS AM ARE www.fosef.org


4.สุ ข ภาพกายดี คนที่จะมาเป็นแพทย์ได้ ถ้าเป็นคนที่มีสุขภาพอ่อนแอ มันจะไปไม่รอดครับ หรือตัวเองมีโรครุมเร้าอยู่มากเลย 3 วันดี 4 วันไข้ เป็นโรคเรื้อรังซึ่งไม่สามารถทุ่มเทก�ำลังกายในการเรียน แพทย์ได้มันก็เหนื่อย ต้องเป็นคนที่มีสุขภาพดี เวลาที่ต้องไปดู คนไข้ บางครั้งเป็นหมอผ่าตัดจะต้องนอนดึก นอนน้อย ฉะนั้น ถ้าไม่มีพื้นฐานสุขภาพที่ดีก่อน มันก็จะล�ำบากครับ

ซัพพอร์ททุกทางนะครับ แต่ว่าอย่างไรก็ตามเถอะ ถ้าเป็นคนที่ มีเศรษฐานะที่ล�ำบากจริงๆ ก็ต้องมีความเก่ง ต้องมีคนอุปถัมภ์ ไม่ว่าพ่อแม่อุปถัมภ์หรือใครก็ตาม ฉะนั้น การที่จะมีคนอุปถัมภ์ ได้ก็ต้องเป็นคนดี คงไม่มีใครอยากจะอุปถัมภ์คนที่ไม่ดีจริงไหม ครับ ต้องมีสิ่งเหล่านี้ก่อน ถ้าไม่มีสิ่งเหล่านี้การที่จะมาเรียน แพทย์จะล�ำบากครับ

7.ตั ด สิ น ใจเรี ย นให้ แ น่ น อน 5.สุ ข ภาพใจดี ส่วนใหญ่แล้วเด็กที่มาเรียนแพทย์ มักจะเก่ง ครอบครัว มีจิตใจที่เข้มแข็งและแข็งแรง หมายถึงว่า เมื่อมีสุขภาพ มีฐานะ ปัญหาหลักก็คือว่า เครียด เพราะจริงๆ แล้วไม่อยาก ใจที่แข็งแรง ก็จะมีความมุมานะบากบั่นทะยานไปได้ต่อไป เป็น มาเรียนหมอ แต่พ่อแม่ครอบครัวอยากให้มาเรียนหมอ ก็ท�ำให้ เรื่องส�ำคัญนะครับ ถ้าเราเป็นคนที่มีสุขภาพกายดี แต่สุขภาพใจ เกิดปัญหา ไม่ดี มาเรียนแพทย์ก็จะเครียด มีนิสิตที่มาเรียนแล้วเครียดมาก มี ดั ง นั้ น ก่ อ นที่ จ ะมาเรี ย นแพทย์ อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ก็ คื อ ต้ อ ง ภาวะความเครียดสูงเยอะแยะเลยครับ ก็อาจจะไปไม่รอด ฉะนั้น ตัดสินใจว่าจะเรียนแพทย์ให้แน่นอน ถ้าคิดว่าตัวเองไม่อยาก สุขภาพกายก็ดี สุขภาพใจก็ดี ต้องถือว่ามีสุขภาพดีไว้ก่อนครับ เป็นแพทย์ในชีวิตนี้ การที่จะมานั่งดูคนไข้เป็นคนๆ ไป หรือว่า รู้สึกไม่อยากจะคุยกับมนุษย์ แล้วก็ต้องมาคุยกับมนุษย์ ต้องมา 6.ความพร้ อ มทางเศรษฐานะ ดูแลมนุษย์ด้วย ถ้าไม่มีจิตใจที่โอบอ้อมอารีอยากจะดูแลมนุษย์ ปั จ จุ บั น นี้ เราพยายามให้ ทุ น คนที่ ม าเรี ย น พยายาม อย่ามาเป็นแพทย์เลยครับ เพราะว่าจะเครียดมากเลย เรามีเด็ก 27 issue 116 september 2017


28 IS AM ARE www.fosef.org


ที่เครียดแล้วหยุดการศึกษาไปหลายคน เนื่องจากว่าตัวเองไม่ ต้องการเป็นแพทย์เลย แต่พ่อแม่บังคับ หรือ เรียนตามความ อยากของผู้ปกครอง ต้องคุยกับคุณพ่อคุณแม่ให้ดีว่าตัวเองมี ความประสงค์จะเรียนแพทย์จริงๆ รึเปล่า อันนี้คือปัจจัยส�ำคัญ มากๆ ก่อนจะคิดมาเรียนแพทย์ครับ 8.ผ่ า นการทดสอบทางจิ ต วิ ท ยา เมื่อสอบข้อเขียนแล้ว คะแนนถึง ก็จะเชิญมาท�ำแบบ ทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อดูว่า 1.สติไม่สมประกอบหรือไม่ 2.มี ความคิดแปลกๆ หรือไม่ ถ้าเราพบว่าในข้อสอบจิตวิทยาเด็ก คนนี้คิดแปลก หรือมีปัญหาทางจิตรึเปล่า ในการทดสอบทาง จิตวิทยาก็จะสามารถคัดกรองได้ ว่าเด็กคนนี้มีความผิดปกติทาง จิตรึเปล่า ถ้ามีเราอาจจะพิจารณาไม่รับครับ นอกจากท�ำแบบทดสอบแล้ว เรายังตรวจอื่นๆ อีก เช่น สายตา สุขภาพทั่วไป มีโรคติดต่อร้ายแรงอะไรไหม ก็อาจจะ เอ็กซเรย์ปอดดูวัณโรค ตรวจร่างกายทั่วไป

9.การสั ม ภาษณ์ เพื่อดูว่าเด็กคนนี้มีความคิดแปลกๆ อะไรรึเปล่า ต้อง ผ่านหลายขั้นตอนนะครับ ไม่ว่าจะเป็นการสัมภาษณ์ การตรวจ ร่างกาย การท�ำจิตวิทยาท�ำแบบสอบถามต่างๆ ว่าเด็กคนนี้มี ปัญหาไหม ถ้าไม่มีปัญหาก็ผ่านครับ ความคิดแปลกๆ หมายความว่า ผมเคยสัมภาษณ์เด็ก เขาบอกว่า อาจารย์ผมไม่สนใจครับ ผมอยากรวยอย่างเดียว ผมไม่สนใจอยากดูแลใคร เพราะผมตั้งใจว่าผมจะรวย ผมจะ มีเงินหลายสิบล้าน แล้วผมจะไปเที่ยวต่างประเทศให้ฉ�่ำใจผม เลย มีคนพูดกับผมอย่างนี้ ผมให้ตกนะ ผมบอกคุณยืนยันนะสิ่ง ที่พูด เขาบอกครับ ผมไม่ได้คิดอยากจะมาดูแลใครผมอยากรวย แสดงว่าเขาไม่อยากเรียนแพทย์อยู่แล้ว เขาตั้งใจสัมภาษณ์ให้ตก คะแนนเขาเรียนดี แต่พ่อแม่บังคับ บางทีในดรออิ้งแบบสัมภาษณ์ มีความคิดแปลก หมาย ถึงวาดภาพผู้หญิงเป็นสัญลักษณ์ที่ทะลึ่ง มีแนวโน้มทางจิตที่ผิด ปกติ แต่เรายังไม่ตัดสินใจให้ตกนะ เราต้องส่งไปตรวจสอบทาง จิตแพทย์อีกครั้งหนึ่งว่าเขามีความคิดอะไรผิดปกติรึเปล่า เพราะ สังคมคงไม่มีใครอยากให้คนมีความคิดผิดปกติเข้ามาเป็นหมอใช่ ไหม ฉะนั้นถึงแม้คะแนนสอบผ่านเราก็ต้องคัดกรองครับ 29 issue 116 september 2017


ศ.กิตติคุณ ดร.นพ.มีชัย ศรีใส 6 แสนบาท คุณก็ต้องเอาคนมาค�้ำประกัน ถ้าคุณไม่มี คุณก็ต้อง ไปหาญาติ หาครูใหญ่ หาก�ำนัน หาใครที่มีเศรษฐานะ มีหลัก ทรัพย์ค�้ำประกัน เขาเรียกค�้ำประกันสัญญา แต่ว่าถ้าไม่มีจริงๆ เป็นเด็กก�ำพร้าอยู่วัดอยู่กับหลวง พ่อ ทางคณะก็ต้องหาคนที่มีพระคุณกับเขา ที่จะรับรองได้ว่า เมื่อจบแล้วเขาจะไม่หนีไปไหน ถ้าไม่มีการชดใช้ทุนตามสัญญา ก็ต้องมีคนชดใช้แทน

10.ต้ อ งมี ค นค�้ ำ ประกั น เนื่องจากการเรียนแพทย์ปัจจุบันยังมีการใช้ทุนอยู่ เช่น สมัยผมเรียน 4 แสนบาท เดี๋ยวนี้อาจจะ 6-7 แสนบาท ต้องมี คนค�้ำประกันครับ เพราะปัจจุบันนี้การเรียนแพทย์ รัฐต้องจ่าย เงินไปจ้างอาจารย์ทั้งสิ้น รวมทั้งจ่ายค่าอุปกรณ์การเรียนต่างๆ สมมุติว่าเรียนแพทย์เราใช้เงินของรัฐปีละ 1 ล้านบาท วิศวะใช้ เงินปีละประมาณ 8 แสนบาท ทันตแพทย์ใช้เงินปีละ 9 แสนบาท ซึ่งรัฐยังมีความต้องการแพทย์อยู่ แต่วิศวะรัฐไม่มีความ ต้องการที่จะให้ไปท�ำงานราชการแล้ว จบแล้วเป็นอิสระ เพราะ วิศวะก็ใช้เงินเยอะเหมือนกัน แต่แพทย์ใช้เงินมากกว่านิดหน่อย แต่ว่าคุณจบแล้วคุณต้องเป็นหนี้นะ คุณต้องเป็นหนี้รัฐอย่างน้อย

11.อย่ า กั ง วลเรื่ อ งค่ า เทอมมากนั ก ตามประกาศ เทอมหนึ่งประมาณ 3 หมื่นบาทครับ ปีละ 2 เทอม ปัจจุบันทางจุฬาฯ มีทุนส�ำหรับคนที่ไม่มีค่าเทอม อย่าง 30

IS AM ARE www.fosef.org


น้อยที่สุดให้ทุนประมาณ 10% ในเด็ก 300 คน จุฬาฯ เตรียม ทุนไว้ให้แล้ว 30 ทุน ขอให้มาสมัครเถอะ ขอให้มาสัมภาษณ์ เถอะ เพราะยังมีคนที่อยากจะอุปการะนิสิตแพทย์อีกเยอะเลย ครับ ขอให้ขอทุนเถอะ โดยเฉพาะเด็กนักเรียนแพทย์จุฬาฯ จะไม่ค่อยขอทุนครับ เพราะฐานะดีอยู่แล้ว ฉะนั้นไม่ต้องกังวลใจ ว่าค่าทุนจะแพง เพราะว่าค่าเล่าเรียนมันเท่ากัน คุณเรียนบัญชีก็ 3 หมื่นบาท แพทย์ วิศวะ ก็ 3 หมื่น เหมือนกันครับ 12.จรรยาบรรณของแพทย์ ที่ ค วรทราบ จริงๆ มีหลายข้อเลยครับ แต่ข้อที่ส�ำคัญเลยคือ ตามที่ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรงมีพระราชปณิธานไว้ว่า ข้อให้ถือประโยชน์ของมนุษย์เป็นกิจ ที่ 1 แล้วประโยชน์และทรัพย์ต่างๆ จะตกแก่ท่านเองในภายหลัง นี่คือสิ่งที่สรุปจรรยาบรรณของแพทย์ไว้ทั้งหมดครับ อย่าลืมนะครับ คิดและตัดสินใจให้ดี ส�ำรวจความพร้อม ของตัวเองก่อนจะมาเรียนแพทย์ เพราะการเป็นแพทย์ต้องเป็น ไปตลอดชีวิตนะครับ ขอให้ทุกคนโชคดีกับสิ่งที่ตนตั้งใจจะเรียน จริงๆ รศ.นพ.พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันทน์ รองคณบดี ฝ่ายกิจการนิสิต คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 31 issue 116 september 2017


ให้ลูกเล่นคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่เล็ก...ดีไหม

เดิ ม คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ส ่ ว นใหญ่ มั ก มั่ น ใจว่ า การให้ ลู ก เล่ น คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง แต่ เ ล็ ก นั้ น เป็ น ผลดี ยิ่ ง อายุ น ้ อ ยมาก เท่ า ไรก็ จ ะยิ่ ง เพิ่ ม ศั ก ยภาพมากขึ้ น เท่ า นั้ น คอมพิ ว เตอร์ ส ามารถที่ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาลู ก ในเรื่ อ งของการใช้ มื อ และ ตา ควบคู ่ ไ ปกั บ ทั ก ษะด้ า นอื่ น ๆ ปั จ จุ บั น จึ ง มี คุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ที่ เ ริ่ ม ให้ ลู ก หั ด ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ตั้ ง แต่ เ ล็ ก จาก การส� ำ รวจของ ไคเซอร์ แฟมิ ลี่ ฟาวเดชั่ น (Kaiser Family Foundation) ในปี 2003 ไม่ น ่ า เชื่ อ นะ ครั บ ว่ า ร้ อ ยละ 31 ของเด็ ก อายุ 3 ขวบและต�่ ำ กว่ า นั้ น สามารถใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ไ ด้ แ ล้ ว ร้ อ ยละ 16 ใช้ คอมพิ ว เตอร์ อ าทิ ต ย์ ล ะหลายชั่ ว โมง ร้ อ ยละ 21 สามารถชี้ แ ละคลิ๊ ก เมาส์ ไ ด้ ด ้ ว ยตั ว เอง

32 IS AM ARE www.fosef.org


เข้ า ใจ...วั ย รุ ่ น และร้อยละ 11 สามารถเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เองได้ โดยไม่ต้องมีใครช่วย นอกจากนี้ยังมีบริษัทผลิตเมาส์ตัวเล็กๆ ที่เหมาะกับมือ เด็ก เป็นรูปร่างและลวดลายการ์ตูน ยิ่งท�ำให้เด็กเล็กอายุ 2-3 ขวบใช้เมาส์ได้ง่ายขึ้น คุณพ่อคุณแม่หลายคนรู้สึกภาคภูมิใจนะ ครับ ที่เห็นลูกสามารถใช้เมาส์ได้ตั้งแต่ยังเล็ก แต่ พ ่ อ แม่ ส ่ ว นหนึ่ ง อาจสั ง เกตเห็ น ว่ า ลู ก ไม่ ไ ด้ เรี ย นรู ้ อะไรมากมายนัก ก็แค่คลิ๊กๆ ลากๆ เมาส์ แล้วก็เล่นเกมซ�้ำๆ และปั จจุ บั น เริ่ม มีผู้เชี่ยวชาญออกมาเตือนว่า การให้ เ ด็ ก เล่ น คอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ยังเล็กอาจจะไม่ดีเสมอไปนะครับ เริ่มมีการ โต้เถียงกันมากว่า เด็กสมควรจะเรียนรู้เทคโนโลยีกันแต่ตั้งเล็กๆ หรือไม่ พ่อแม่และโรงเรียนบางแห่งเริ่มมองว่าไม่มีประโยชน์ และยังเตือนอีกว่า การเร่งรัดนั้นยังไปขัดขวางพัฒนาการตาม ธรรมชาติของเด็กครับ

ที่จะได้รับการพัฒนาควรมาจากโลกสามมิติ หรือโลกแห่งความ เป็นจริง ไม่ควรจะถูกแทนที่ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ และ คอมพิวเตอร์ได้พรากเด็กๆ ไปจากกิจกรรมที่เหมาะสมส�ำหรับ การพัฒนาสมอง การสื่ อ สารทางเดี ย ว คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น การสื่ อ สารทางเดี ย ว (One way communication) ประเภทหนึ่ง ถึงจะดีกว่าโทรทัศน์บ้างตรง ที่เวลาคลิกเม้าส์ จะมีการตอบสนองภาพและเสียงกลับมา แม้ จะมีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะจากลูกน้อยเวลาเล่นคอมพิวเตอร์ แต่ เด็กก็ไม่ได้รับการตอบสนองอย่างมีปฏิสัมพันธ์ตามธรรมชาติ อยู่ดี คอมพิวเตอร์ไม่สามารถพูดคุย แสดงอารมณ์โต้ตอบกับ ลูกโดยตรง ไม่สามารถเล่นกับลูกแบบมีปฏิสัมพันธ์ เช่น เล่น จ๊ะเอ๋ ซ่อนหา วิ่งไล่จับ เหมือนคุณพ่อคุณแม่ท�ำ เด็กที่ใช้เวลา กับคอมพิวเตอร์มากเกินไปจะไม่ได้เรียนรู้การมีปฏิสัมพันธ์กับ คนอื่น คอมพิวเตอร์จึงอาจมีผลเสียต่อพัฒนาการทางภาษาของ เด็กเล็ก นอกจากนี้เด็กที่ใช้คอมพิวเตอร์มากเกินไปตั้งแต่ยังอายุ น้อยอาจแสดงอาการบางอย่างคล้ายเด็กออทิสติก

Failure to Connect มีหนังสือขายดีและน่าสนใจชื่อ Failure to Connect : How computer effect our children mind โดย Jane M.Healy เธอพบว่าคนอเมริกัน ส่ว นใหญ่ตัด สิ น ใจซื้ อ เครื่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ เข้ า บ้ า น ด้ ว ยเหตุ ผ ลหลั ก คื อ เรื่ อ งการศึ ก ษา ของลูก คนอเมริกันเชื่อว่าทักษะด้านคอมพิวเตอร์เป็นหนึ่งใน ทักษะที่ส�ำคัญมากส�ำหรับเด็ก นอกจากนี้หลายๆ โรงเรียนใน สหรั ฐอเมริ กามีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ อุป กรณ์คอมพิ ว เตอร์ ค ่ อ น ข้างสูง และมันได้ดึงงบประมาณของโรงเรียนในการที่จะน�ำ ไปใช้กับกิจกรรมที่เสริมทักษะด้านอื่น เช่น ดนตรี กีฬา และ ศิลปะ นอกจากนั้นบางโรงเรียนอาจขาดโปรแกรมการศึกษาที่ เหมาะสม หรือครูไม่ได้เตรียมการสอน เด็กจึงมักใช้คอมพิวเตอร์ ไม่คุ้มค่า หรือใช้ผิดหลักการ เช่น ใช้เล่นเกมส์

ควรให้ ลู ก เล่ น คอมพิ ว เตอร์ ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ไร Healy เสนอแนวคิดว่า เด็กควรจะได้ใช้คอมพิวเตอร์ เมื่ออายุประมาณ 7 ปีไปแล้วและควรใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเสริม การเรียนรู้เท่านั้นไม่ ใช่ให้เด็กใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักในระบบ การศึกษา ผมขอเรียนท่านผู้อ่านว่าเรื่องนี้ยังคงต้องมีข้อถกเถียง ตามมาและต้องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมอีก ส่วนหลักการที่น่าจะ ยึดถือได้ในปัจจุบัน น่าจะเป็นของสมาคมกุมารแพทย์ประเทศ สหรัฐอเมริกา (American Academy of Pediatrics) ที่แนะน�ำ ว่า ไม่ควรให้เด็กนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะอายุได้ 2 ขวบ เพราะมันจะท�ำให้เด็กไม่ได้รับการกระตุ้นในเรื่องต่างๆ คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตนั้น มีประโยชน์ในการ เรียนรู้และการค้นหาข้อมูลของเด็กโตและผู้ใหญ่อย่างแน่นอน แต่ ส� ำ หรั บ เด็ ก เล็ ก แล้ ว คงต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย เพิ่ ม เติ ม อี ก อย่างไรก็ตาม การได้เล่น ได้มีกิจกรรมร่วมกับพ่อแม่ ยังจ�ำเป็น มากส�ำหรับพัฒนาการสมองของลูกน้อยครับ นพ.กมล แสงทองศรีกมล

สิ่ ง ที่ ข าดหายไป เธอบอกว่าสิ่งที่คอมพิวเตอร์ขาดไป คือ เรื่องของช่อง ว่ า ง ระยะห่ า ง (Space) ของสิ่ ง ต่ า งๆ รวมถึ ง การรั บ รู ้ โ ลก แห่งความเป็นจริงซึ่งเป็นสามมิติ นอกจากนี้ คอมพิวเตอร์ยัง ไม่สามารถทดแทนการเล่นของเด็กแบบเดิมๆ ได้ เช่น การใช้ มือปั้นดินน�้ำมัน การระบายและแต่งแต้มสีด้วยนิ้วมือ ซึ่งต้อง ใช้การ เคลื่อนไหวและการประสานงานกันของกล้ามเนื้อมัด เล็ก คือ มือ การมีปฏิกิริยาตอบโต้กับสิ่งที่ท�ำ รวมถึงการใช้ จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ความฉลาดในทางอารมณ์ 33

issue 116 september 2017


“คอร์รัปชันท�ำร้ายฉัน ท�ำลายชาติ” เราลองมาฟั ง เสี ย งสะท้ อ นจากเยาวชนไทย ในการประกวดการพู ด ประจ� ำ ปี 2559 หั ว ข้ อ “คอร์ รั ป ชั น ท� ำ ร้ า ยฉั น ท� ำ ลายชาติ ” รางวั ล ที่ 1 จากส� ำ นั ก งาน ป.ป.ช. โดย นายวั ช ริ น ทร์ ทวี โ ชติ โรงเรี ย นศรี ห นอง กาววิ ท ยา จั ง หวั ด ขอนแก่ น เจ้ า ตั ว ได้ ส ะท้ อ นถึ ง ปั ญ หาการคอร์ รั ป ชั่ น อย่ า งตรงไปตรงมา ถึ ง พริ ก ถึ ง ขิ ง ชนิ ด ที่ ผู ้ ใ หญ่ ห ลายท่ า นนั่ ง อึ้ ง เลยที เ ดี ย ว และสามารถคว้ า รางวั ล ที่ 1 มาครองได้ ส� ำ เร็ จ “คอร์รัปชันท�ำร้ายฉัน ท�ำลายชาติ” โดย นายวัชรินทร์ ทวีโชติ จากโรงเรียนศรีหนองกาว วิทยา จังหวัดขอนแก่น เรี ย นท่ า นคณะกรรมการและแขกผู ้ มี เ กี ย รติ ทุ ก ท่ า น กระผมนายวัชรินทร์ ทวีโชติ โรงเรียนศรีหนองกาววิทยา จังหวัด ขอนแก่น ทุกสรรพชีวิตเกิดมาล้วนไม่ต้องการการเบียดเบียน ทุก คนย่อมประสงค์จะด�ำเนินชีวิตตามปกติสุข แต่ในความเป็นจริง แล้วสยามประเทศในวันนี้ทั่วปฐพีเกลื่อนกล่นไปด้วยการเอารัด เอาเปรียบ ผืนดินทาบทาด้วยกลิ่นอายคอร์รัปชัน เริ่มจากการคอร์รัปชันในเรื่องเล็กๆ ของเด็กที่ไม่รู้ภาษา ที่เดินตามหาอากาศ คอร์รัปชันมโนภาพอ้างว่าก�ำลังตามจับตัว อะไรสักอย่าง การคอร์รัปชันของสิบแปดมงกุฏที่แอบอ้างศาสนา พุทธหลอกบริจาคผ่านเครือข่ายใยพิภพ และการคอร์รัปชัน

ผลาญงบที่มีอานุภาพท�ำร้ายรุนแรงที่สุดคือการคอร์รัปชันของ เหล่าข้าราชการและนักการเมืองผู้รุ่งเรืองจากสิทธิ์และเสียงของ ประชาชน แต่ไยเขาเหล่านั้นถึงตอบแทนหนึ่งเสียงที่ภักดีด้วย การย�่ำยีความหวัง ดับความฝัน ตั้งหน้าตั้งตามุ่งจะโกงกินอย่าง อึกทึก โดยไร้ยางอายส�ำนึกว่า จะท�ำร้ายฉัน และท�ำลายชาติ ประการแรก ท�ำร้ายฉัน โครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก แต่ ผู ้ น� ำ ท้ อ งถิ่ น ผู ก ขาดบริ ษั ท ปุ ๋ ย เคมี ไร้ คุ ณ ภาพ ครอบครั ว ของ กระผมท�ำนาจนเหงื่ออาบ แต่ก็ยังไม่สามารถสลัดคราบความ จนออกไปได้ สาธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐานที่ ช นชั้ น รากหญ้ า ในชนบท อย่างกระผมพึงจะได้รับ งบประมาณมากเกินคณานับ แต่โดน เปลี่ยน โดนปรับตามอ�ำนาจการตรวจจ้าง ถนนเสริมใยเหล็ก 34

IS AM ARE www.fosef.org


เข้ากระเป๋าด้วยการเบียดเบียนเงินค่าท�ำเนียม การคอร์รัปชัน แยบยลร้ อ ยเหลี่ ยม คื อ การคอร์ รัปชั น ทั้ ง ระบบเกี่ยวข้องกับ บุคคลทุกระดับ เหล่านี้คือภาพคอร์รัปชันที่ถ่ายท�ำจริง และ เป็นบุคคลจริงๆ เมื่ อ หน่ ว ยงานชาติ ต ่ า งอมเงิ น ทุ ก บาทที่ ม าจากภาษี ประชาชน แล้วจะเหลือทรัพยากรใดเล่าไว้ให้บริหารประเทศ อย่าว่าแต่หยุดการพัฒนาเลยครับ แม้แต่ในโรงพยาบาลที่มีการ คอร์รัปชันเครื่องมือแพทย์ แค่เพียงจะต่อลมหายใจให้กับคนใน ชาติก็ยังยากเต็มกลืน คอร์รัปชันจึงท�ำลายสิทธิพื้นฐานที่คนใน ชาติพึงจะมี พึงจะได้ และเมื่อทรัพยากรคนอ่อนแอลง แล้วใคร เล่าจะเป็นก�ำลังน�ำชาติสู่ความเจริญ ถึงวันนั้นชาติไทยคงถูกตรา หน้าว่า ศึกในท�ำลายชาติ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ได้กล่าว ย�้ำอยู่เสมอว่า อย่าให้คนไม่ดีท�ำลายชาติ ทุ ก ท่ า นครั บ สมาร์ ท โฟนที่ เราจั บ ต้ อ งอยู ่ ทุ ก วั น คื อ นวัตกรรมสร้างสรรค์ที่อยู่กับเราทุกที่ทุกเวลา คงเป็นเรื่องน่า ยินดีถ้าเราน�ำคุณค่านั้นมาก�ำจัดคนไม่ดี และป้องกันการถูก ท�ำร้ายจากการคอร์รัปชัน ด้วยการเลือกโหลดแอปพลิเคชั่นที่ สร้างสรรค์ เพื่อรับข่าวสารที่ทันสมัย เร่งเรียนรู้ภัยและรูปแบบ การคอร์รัปชัน ร่วมด้วยช่วยกันแชร์ข่าวทุจริต ร่วมโพสต์ปลูกจิต ส�ำนึกละอายโกง เชื่อมโยงปุ่มทวิตเตอร์เปิดโปงข้อมูลของคน ไม่ซื่อสัตย์

ตารางเมตรละหกร้อย พอก่อสร้างไปสักเล็กน้อยกลับลดระดับ ความลึก ประดับไปด้วยความสึกกร่อน กระผมต้องค่อยๆ หย่อน ล้อรถจักรยานยนต์ลงหลายร้อยหลุม ก่อเกิดเป็นความกลัดกลุ้ม ในสวัสดิภาพของตนเอง การคอร์รัปชันเวลาสอนบั่นทอนสติปัญญาผู้เรียน การ โกงอย่างแนบเนียนในคดีสนามฟุตซอล อ้างว่าเพื่อสร้างโอกาส ทางการศึกษา การกีฬา แต่คุณภาพนั้นด้อยค่ากว่าราคาก่อสร้าง เหล่านี้คือการคอร์รัปชันที่ท�ำร้ายร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา ฉันอย่างน่าอาดูร แต่ ก ารท� ำ ร้ า ยที่ อ มหิ ต และโหดเหี้ ย มที่ สุ ด คื อ การ ท�ำร้ายจิตส�ำนึก ฉันคือเยาวชนผู้ด้อยเดียงสา ท่านผู้เป็นข้าแห่ง แผ่นดินมีวิถีไม่ซื่อสัตย์เช่นไร เยาวชนไทยย่อมคุ้นชินและซึมซับ วิถีอุบาทว์นี้ เมื่อฉันมีส�ำนึกโกงเป็นวิถีแล้ว เป็นไปได้ว่า ฉันอาจ เผลอไผลท�ำร้ายผู้อื่นโดยไร้ส�ำนึกก็เป็นได้ ประการที่สอง ท�ำลายชาติ เป็นที่น่าเศร้าที่ทุกกระทรวง ทบวง กรม ล้วนหมองตรมด้วยการคอร์รัปชัน เจ้าหน้าที่ที่ดิน ออกโฉนดรุกพื้นที่อุทยาน สถานพยาบาลมีการปลอมใบสั่งซื้อ ยา เจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ยักยอกเงินจ�ำหน่ายสินค้าและธนาณัติ การเลือกปฏิบัติสมยอมการประกวดราคาจ้างเหมา การโกงเงิน 35

issue 116 september 2017


36 IS AM ARE www.fosef.org


ทั้งนี้ เราต้องปฏิบัติให้พร้อมสรรพ เป็นวิถี เพื่อที่จะเปิด โอกาสให้คนดีเข้าไปบริหารชาติบ้านเมือง ภายใต้ร่มพระบารมี แห่งองค์ราชันผู้ยิ่งใหญ่ มีทหารพระราชาผู้เกริกไกรตรากตร�ำ ในหน้ า ที่ ไม่ เ สี ย ดายแม้ ชี วี จ ะดั บ สลาย แต่ ผู ้ มุ ่ ง คอร์ รั ป ชั น ท�ำร้ายฉัน ท�ำลายชาติก็มีจ�ำนวนมากมาย เกินกว่าที่กฎหมาย อย่างรัฐธรรมนูญฉบับใดใดจะก�ำจัดได้ ก่อนที่จะมีคดีจารึกเพิ่มในพิพิธภัณฑ์กลโกงชาติ เรามา ร่วมกันประกาศ หยุดคอร์รัปชันไม่ให้ท�ำร้ายฉัน ไม่ให้ท�ำลาย ชาติกันเถอะครับ เพราะพวกเราคือสมาร์ทโฟนที่ไม่ได้อยู่ใน โหมดการบิน ที่นิ่งดูดายเพื่อรอดูความฉิบหายของชาติ แต่เรา เปรื่องปราดด้วยโหมดเซลลูล่าร์ ที่พร้อมจะก้าวหาปัญญาและ ไล่ล่าปราบคอร์รัปชันให้สิ้นแผ่นดินไทย หยุดคอร์รัปชัน ท�ำร้ายฉัน ท�ำลายชาติ ไทยพินาศ เพราะกลโกง เกลื่อนกล่นทั่ว เร่งรู้ภัย แชร์ข่าวโกง โดยไม่กลัว ปกป้องตัว ปกป้องชาติ ให้คลาดโกง ขอบคุณและสวัสดีครับ.

37 issue 116 september 2017


บทเรียนชีวิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย ตอนที่ 10 ตามพ่อ พอเพียง

พ่อคนแรก “พ่อเลิศ” นายศิวกร ดีชู

ภาพเล่าเรื่อง 9 ตอนที่ผ่านมามักมีเรื่องราววิถีชนคน พอเพี ย งสั ม พั น ธ์ เชื่ อ มโยงเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ครอบครั ว พอเพี ย ง “นครศรีธรรมราช” เป็นประจ�ำ ในตอนนี้ขอน�ำภาพวิถีชีวิตพ่อ เลิศ พ่อที่อาสาเป็นแกนน�ำครอบครัวพอเพียง อยู่ด้วยความรัก ครอบครัวแรก ที่ขอ ก้าวเพื่อ “9” ตอบแทนแผ่นดินโดยการท�ำ เริ่มปีแรกที่ก้าวมาพร้อมกัน กัลยาณีศรีธรรมราชตามพันธกิจ ของมูลนิธิครอบครัวพอเพียง พ่อแม่ คือ ครูคนแรกของลูก พ่อเลิศ แม่แอน มีลูกสาว คนโต “ช่อเอี้ยง” (ด.ญ.อุศิมา ดีชู) “น้องอินทร์”และลูกชายคน เล็ก “น้องอิศร์” ครอบครัว 5 คน สืบสานศาสตร์พระราชา 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน ตามพ่อ พอเพียง ท�ำเรื่องยาก ให้เป็นเรื่องง่าย สอนลูก ให้ก้าวสู่ความเป็นคน “คนพอเพียง” คนที่จะเอื้ออารี มีน�้ำใจ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ อาสา ด�ำรงตนเรียบง่าย ให้เด็กมีวิถีเป็นเด็ก พ่อท�ำอะไร ลูกท�ำไปพร้อมพ่อ ท�ำเป็นแบบ ลูกเรียนรู้จากแบบ เหมือนที่พ่อเลิศ เรียนรู้จากแบบ “พ่อหลวง” พอเพียง เพียงพอ พออยู่ พอกิน มีพอ มีใช้ มีสุข เท่านี้ พอ “น�้ำ” ใจจากครอบครัวพอเพียงของ พ่อเลิศ พัฒนา “ลัง” เป็นบรรจุภัณฑ์ “หนานตาทองฟาร์ม” ผลิตภัณฑ์จาก รากเง้า สร้าง “ตังค์” ได้ “ร้อย” ร้อยรักสามัคคี ทั้งครอบครัว ชุมชนและสังคม บทเรียนชีวิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย เพราะพ่อเลิศ เป็น พ่อ “พอเพียง” ท�ำให้ แม่แอน “เป็นสุข” พี่ช่อเอื้อง “อยู่เย็น” น้องอินทร์ “อยู่ดี” และ น้องอิศร์ น้องเล็ก จึง “มีสุข” ครอบครัว พอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน แผ่นดินที่มีพ่อ พ่อที่สอนให้ พอเพียง สร้างบทเรียนชีวิตจริง ตามพ่อ พอเพียงอย่างพ่อ มี น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย เราจะมีสุข ทั้งแผ่นดิน “น้องช่อเอี้ยง” ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ อาสา น�ำความรู้สู่ สังคม เพื่อตน เพื่อน้อง เพื่อโรงเรียน เพื่อชุมชน และสังคม..ท�ำดี ไม่มีพอ ท�ำต่อ ท�ำประจ�ำ ขยันต่อเนื่อง เรียนรู้ควบคู่กิจกรรม เริ่ม ก้าวมาเป็นแกนน�ำครอบครัวพอเพียง แค่หนึ่งปี ร่วมท�ำกิจกรรม ดีๆ มาด้วยกัน กิจกรรมดี หล่อหลอมเด็กดี จนพ่อแม่เพื่อนพ้อง 38 IS AM ARE www.fosef.org


ภาพเล่าเรื่อง น้องพี่ คุณครู “บายใจ” โรงเรียน “ภูมิใจ” ผลงานล่าสุด วันที่ 4 กันยายน 2560 การประกวดผลงาน IS เรื่อง จรวดขวดน�้ำสู่ สังคม เหรียญทอง ระดับภาคใต้ ระดับทอง โรงเรียนเดียวใน นครศรีธรรมราช จากเด็กหลังห้อง ไม่เก่งพูด ไม่กล้าสื่อสาร แต่ วันนั้น วันที่ กลุ่ม 5 น้องเกิดวันที่ 5 พ่อก็เกิดวันที่ 5 น้องเล่า เรื่อง น�ำ 5 ค�ำ 5 ข้อ ที่พ่อสอน น้องพูดได้ พูดเก่ง พูดในสิ่งที่ ท�ำ อาสาท�ำ ท�ำดี ท�ำดีไม่หวังผล สิ่งดีในสากลโลกจึงส่งเสริม ให้เด็กดี เจอแต่สิ่งดีๆ มันคือบทเรียนชีวิตจริง กลับมาตอบแทน ช่อเอื้อง น้องที่สืบสานงานพ่อ สานต่องานแม่ ท�ำดี ท�ำง่าย เริ่ม จากพัฒนาตน ช่วยเหลือครอบครัว ชุมชนและสังคม ท�ำแล้ว “มีสุข” ทันทีที่ท�ำ

พ่อคนที่สอง … “ครู ” ของแผ่นดิน : สอนให้ อาสา “น�้ำ” เชื่ อมใจให้ “รักษ์ถ่ิน”

ถึงจะเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 แล้วก็ตาม ครูก็ยังเป็น พ่อ แม่ คนที่สอง ลูกศิษย์ เรียกขาน “ครู” เป็นพ่อ เป็นแม่ ภาพ เล่าเรื่องครั้งนี้ ได้โอกาสดี ที่เด็กๆ กลุ่มนี้ มีครูอย่างครูโสภณ ภักดี สอนให้เด็กเรียนรู้ สู่การรักษ์ถิ่น ถิ่นที่สมบูรณ์ ด้วย “น�้ำ” ทุกพื้นที่ ท�ำฝายไปแล้ว แต่สายน�้ำ แรงนัก ฝายด้วยแรงคน ยัง ไม่มีเทคโนโลยี ท�ำแล้วไม่ยั่งยืน ในความไม่ยั่งยืนก็มีข้อดี น้อง ม. 6/8 จ�ำนวน 30 คน กัลยาณีศรีธรรมราช กลุ่มนี้

39 issue 116 september 2017


คิดดี อาสา ซ่อมฝาย หมู่ 3 ต.ก�ำแพงเซา อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช ให้ฝายมีชีวิต น�้ำ ท�ำให้ มีสุข กันอีกแล้ว...

พ่อคนเดียวกัน... “พ่อหลวง รัชกาลที่ 9”

เด็กๆ บอกพ่อนะ วันนี้เรามากราบ “พ่อ” มาท�ำงาน ให้ “พ่อ” ไม่ว่าภาคไหน ส่วนไหน เรามี “พ่อคนเดียวกัน” พ่อ สอนให้ ท�ำตามพ่อ น�ำศาสตร์ของพ่อ “ศาสตร์ของพระราชา” ให้เราพอเพียง พออยู่ พอกิน กินง่าย เราเลย “ท�ำง่าย” ท�ำต�ำ “ต�ำคิดถึงบ้าน” คิดถึงพ่อ “พ่อ” กินง่าย กินเท่าที่มี ไม่ต้องมี อะไรเพิ่ม แค่เติมใจ เติมสุข ต�ำเต็ม “ร้อย” ร้อยรัก รักพ่อ รักษ์ บ้าน น�ำผลไม้ในบ้าน บ้านเรา ใส่เต็มที่ “ใส่ใจ” บทเรียนชีวิต จริง บทใหม่ เรียนรู้ “น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย” ที่เกิดจากต�ำ 40 IS AM ARE www.fosef.org


“แม่ครู” สอนให้ต�ำ ต�ำให้ “พ่อคนแรก” พ่อที่บ้าน พ่อทุกคน พ่อที่ก�ำลังสอนให้เรา “พอเพียง” รักษ์บ้าน รักพ่อ พ่อ คนแรก พ่อคนที่สอง เพื่อ พ่อคนเดียวกัน มาสร้างบทเรียนอาสา หา “ลัง” ใส่ “เตียน” ไปพร้อมกัน “กัลยาณีศรีธรรมราช” กับ น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย Do for D. “ต�ำคิดถึงบ้าน”

เรามาสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี Do for D. ท�ำสิ่งดีๆ ง่ายๆ ซื่ อสัตย์ รับผิดชอบและอาสา

มาเป็นแกนน�ำจิตอาสาครอบครัวพอเพียง ... New gen so good >> New gen Thailand เพราะเรา “คิดถึงกัน”... ครอบครัวพอเพียง ครอบครัวสื่อรักให้ผูกพัน รักกัน เราเป็นครอบครัวเดียวกัน มีพ่อคนเดียวกัน.. ดีใจได้เจอกัน ท�ำสิ่งดีด้วยกัน น�ำภาพมาสื่อรัก น�ำศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน พัฒนาครอบครัวให้ พอเพียง อยู่ด้วยความ รัก น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย ...ขอร้อยเรียงความรัก จากภาพให้ทุกคนได้รัก “รัก” กันคะ

41 issue 116 september 2017


42 IS AM ARE www.fosef.org


ประโยชน์ จ ากน�้ ำ มั น เมล็ ด ชา • มีกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูง และมีกรดไขมันอิ่มตัวต�่ำ • ช่วยลดระดับ LDL (คอเรสเตอรอลชนิดไม่ดี) และเพิ่ม ระดับ HDL (คอเรสเตอรอลชนิดดี) • ลดความเสี่ยงในการเกิดหลอดเลือดตีบตัน ความดัน เบาหวาน และโรคหัวใจ • ดีต่อผู้รักสุขภาพ ผู้สูงอายุ และผู้มีภาวะน�้ำหนักเกิน

ร่ า งกายของเราจ� ำ เป็ น ต้ อ งใช้ ไขมั น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง พลังงานของร่ายกาย ดังนั้นการเลือกบริโภคไขมันจึงเป็นการ เลือกแหล่งพลังงานของร่างกาย ไขมันมีทั้งไขมันชนิดดี และ ไขมันชนิดร้าย น�้ำมันพืชที่มีไขมันไม่อิ่มตัวแบบเดี่ยวสูง จัดเป็นน�้ำมัน ชนิด “ดีพิเศษ” น�้ำมันเหล่านี้ช่วยลดคอเลสเตอรอลชนิดร้าย (LDL) และเพิ่มคอเลสเตอรอลชนิดดี (HDL) ซึ่งช่วยท�ำความ สะอาด หรือเก็บขยะ (คราบไขมัน) จากผนังเส้นเลือด

43 issue 116 september 2017


44 IS AM ARE www.fosef.org


กระจกส่องใจ

ท�ำไมวัยรุ่นต้อง(คิด)ฆ่าตัวตาย? วั น นั้ น .....เพื่ อ น ๆ ร่ ว มชั้ น เรี ย นหลายคนได้ รั บ “ไลน์ ” จากเด็ ก หนุ ่ ม วั ย 17 ปี ก� ำ ลั ง เรี ย นมั ธ ยมที่ 5 ของ โรงเรี ย นแห่ ง หนึ่ ง ในจั ง หวั ด ระยอง ความว่ า “....เรารั ก เพื่ อ น ๆ ทุ ก คนนะ!” และนั่ น ดู จ ะเป็ น การบอกเล่ า ถึ ง ความรู ้ สึ ก ครั้ ง สุ ด ท้ า ยของเด็ ก หนุ ่ ม ว่ า “เขายั ง ไม่ อ ยากตาย.. และเขารู ้ สึ ก อาลั ย อาวรณ์ เ พื่ อ น ๆ ทุ ก คนใน ห้ อ งเรี ย น...”อี ก ความหมายหนึ่ ง ก็ คื อ ...เขายั ง ไม่ อ ยากจากโลกนี้ ไ ป....แต่ ส ถานการณ์ บี บ คั้ น มากจนเขารู ้ สึ ก เหมื อ นไม่ มี ที่ ยื น ไม่ มี อ ากาศหายใจ เขาสั ม ผั ส ถึ ง ความว่ า งเปล่ า ความไม่ มี ตั ว ตนจนอยากจะปล่ อ ยร่ า ง ให้ ล อยคว้ า งไปกั บ สายลม......”

45 issue 116 september 2017


แล้วตอนบ่ายวันนั้น ข่าวการกระโดดตึกสี่ชั้น ของเด็ก หนุ่มมัธยมห้าก็ช๊อคคนทั้งโรงเรียน! รถพยาบาลได้พาร่างกาย ที่บอบช�้ำบาดเจ็บของเขาไปส่งโรงพยาบาล แต่ก็ไม่สามารถจะ ช่วยชีวิตของเขาไว้ได้ ท่ามกลางความโศกเศร้าของเพื่อนๆ และ ครูอาจารย์ พ่อแม่ของเด็กหนุ่มได้รับโทรศัพท์จากครูที่โรงเรียน ว่า “ลูกชายของคุณประสบอุบัติเหตุตกตึกสี่ชั้น!” คุณแม่ของ เด็กหนุ่มรีบรุดไปโรงพยาบาล แต่ไม่ทันได้ดูใจลูกชาย เขาเสีย ชีวิตไปก่อน แม่ถามว่า “เกิดอะไรขึ้น?” ด้วยถ้อยค�ำที่กลั่นกรองเรียงร้อยของครูอาจารย์สรุปได้ ว่า “เมื่อวันก่อน นักเรียนสองคน ถูกขโมยเงินไปรวมแล้วสอง พันบาท อาจารย์ได้เปิดกล้องที่ติดไว้ดู พบว่าเด็กหนุ่ม นักเรียน มัธยมห้าผู้นี้เป็นผู้ขโมยเงินของเพื่อนไป ขั้นแรกได้ประกาศ “เสียงตามสาย” ให้ผู้ที่ขโมยไปน�ำมาคืน แล้วจึงได้เรียกเด็ก หนุ่มมาตักเตือนตามล�ำพังเพื่อไม่เป็นการประจานผู้กระท�ำผิด แต่ยังไม่ได้แจ้งให้พ่อแม่ทราบ ประเด็นนี้จึงเป็นเหตุให้พ่อแม่ สงสัยว่า “ครูอาจารย์ได้กระท�ำการอันเกินกว่าเหตุ เช่น กล่าว โทษระบุ พ ฤติ ก รรมขโมยหน้ า เสาธง หรื อ เป็ น การท� ำ ให้ เ ด็ ก หนุ่มเกิดความรู้สึกอับอายจนเป็นเหตุน�ำไปสู่การฆ่าตัวตายด้วย แม้ ค ณะครู อ าจารย์ จ ะปฏิ เ สธการกระท� ำ หรื อ ค� ำ พู ด การกระโดดตึกหรือไม่!” ใด ๆ ที่ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ ความรู ้ สึ ก ของเด็ ก หนุ ่ ม แต่ เรา ปฏิเสธไม่ได้ว่า ในความบอบบางของจิตใจวัยรุ่นที่แม้จะแสดง ความห้าวหาญฮึกเหิมขนาดไหน แต่เนื้อในคือความเปราะบาง ยิ่งกว่าปุยนุ่น โดยเฉพาะการถูกท�ำให้อับอาย เสียหน้า สูญเสีย ความมั่นใจในตนเอง อาจน�ำพาความแหลกสลายมาสู่หัวใจน้อย ๆ ดวงนี้ก็ได้ ผู ้ ค น(ผู ้ ใ หญ่ ) มากมายในสั ง คมไทยทุ ก วั น นี้ แม้ จ ะ ท�ำความผิดชั่วร้ายมากมายขนาดไหน ถูกจับได้ตรง ๆ ก็ยังตีหน้า ซื่อปฏิเสธไม่รู้เรื่องได้โดยไม่อับอายผีสาง เทวดาและฟ้าดิน แต่ พอมีกรณีความผิดพลาดของเด็ก ๆ เกิดขึ้น ผู้ใหญ่ก็พร้อมจะชี้นิ้ว กล่าวประณามหยามเหยียดจับผิดเด็กได้โดยลืมมองไปว่า เด็ก ๆ เรียนรู้และลอกเรียนพฤติกรรมมาจากผู้ใหญ่ หรือด้วยเหตุผล บางอย่างที่เขาต้องการอธิบาย การเปิดพื้นที่และโอกาสให้เขา ได้บอกถึงเหตุผลแม้จะฟังดูไม่มีเหตุผลเลยก็ตาม แต่เราทุกคน ล้วนมีสิทธิ์ที่จะได้รับโอกาสพูดถึงเหตุผลของตนเอง เมื่อไม่นานเกินจดจ�ำมานี้ ที่พ่อแม่ชาวนาของวัยรุ่นคน หนึง่ ณ โรงเรียนมัธยมจังหวัดนครราชสีมา ถูกครูสาวใหญ่ลงโทษ ด้วยการ “ดีดหู” ในห้องเรียนต่อหน้าเพื่อนหญิงชายวัยเดียวกัน เด็กหนุ่มรู้สึกอับอายกับวิธีการลงโทษนี้มาก โดยเฉพาะเมื่อเขา รู้สึกว่า เหตุผลที่ครูลงโทษเขาล�ำพังทั้งที่เพื่อนทั้งห้องส่งเสียงดัง พอ ๆกัน แต่ครูเดินผ่านมาเห็นแต่เขาคนเดียวจึงเรียกไปท�ำโทษ 46 IS AM ARE www.fosef.org


ฮอร์โมนที่พยายามเข้าครอบครองร่างกายและจิตใจของเจ้าของ อิทธิพลของฮอร์โมนส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทั้งทางบวกและ ทางลบของแต่ละคน โดยเฉพาะช่วงวัยรุ่นและวัยหมดประจ�ำ เดือน การติดต่อสื่อสารจึงต้องมีความระมัดระวังอย่างสูงเพื่อ ป้องกันความเข้าใจผิด เคยถามหลายคนที่เอาชีวิตรอดจากการพยายามฆ่าตัว ตายว่า “ท�ำไมต้องฆ่าตัวตาย?” แน่นอน...หลายคนบอกเป็น เพียงอารมณ์ชั่ววูบ ของความรู้สึกผิดหวังในตัวเอง โกรธเสียใจใน ตัวเอง แม้ส่วนใหญ่จะคิดว่าท�ำไปเพื่อท�ำร้ายคู่กรณี ต้องการให้ อีกฝ่ายตระหนักถึงความสูญเสียและเจ็บปวดเช่นเดียวกัน ซึ่งใน ช่วงนั้นไม่ทันคิดหรอกว่าคู่กรณีอาจไม่ได้รู้สึกอย่างที่เราต้องการ ให้เขาคิดเลยก็ได้ เพราะฉะนั้นความคิดที่ท�ำไปเพื่อประชดหรือ ลงโทษผู้ที่ท�ำให้เราเสียใจ ผิดหวังหรือเป็นคู่กรณีโดยเอาชีวิต เป็นเดิมพัน จึงเป็นความเสี่ยงที่สูญเปล่าเสมอ เช่นเดียวกับอีก มากมายที่กระท�ำไปเพื่อเป็นการลงโทษตนเอง ค่าที่ไม่มีค่าเพียง พอจะท�ำให้ได้รับการยอมรับและความส�ำคัญ อาจไม่ต่างจากกรณีเด็กหนุ่มคนนี้มากนัก ทันใดที่เขารู้ ว่ามีคนรู้หรือถูกจับความผิดได้ เขาจะต้องคิดถึงพ่อแม่ว่าจะต้อง

เป็นการกระท�ำที่ไม่ยุติธรรม ที่ส�ำคัญโดนท�ำโทษวันแรกเขาพอ จะทนแม้จะต้องพกพาเอาความอับอายกลับบ้านและหลบซ่อน ตัวตามล�ำพัง พ่อแม่เห็นลูกนอนซมก็ไม่กล้ารบกวน จนรุ่งเช้า เขาไปโรงเรียนตามปกติ แต่ก็ถูกครูคนเดิมเรียกไป “ดีดหู” อีก ครั้งอย่างไม่มีเหตุผล เหมือนครูต้องการแสดงอ�ำนาจและย�้ำ เตือนให้เขาต้องได้รับความอับอายเพิ่มมากขึ้น ความโศกเศร้า เสียใจ โกรธแค้นที่ตนเองอ่อนแอเกินกว่าจะปกป้องตนเองจา การถูกท�ำร้ายโดยครู เจ็บใจที่โต้ตอบครูไม่ได้ ทั้ง ๆ ที่ถูกท�ำให้ ต้องอับอายเสียหน้ากับเพื่อน ๆ หญิงชายวัยรุ่น ครั้นจะหันหน้า ไปปรึกษาพึ่งพาพ่อแม่ แต่ท่านเป็นเพียงชาวนาชาวไร่ที่เจียม ตัว ไม่กล้าโต้แย้ง ครูอาจารย์พูดอย่างไรก็อย่างนั้น จึงเหมือน โลกจะมืดมน และว่างเปล่าเกินกว่าจะแบกรับได้ต่อไป ความ ทุกข์ ความเสียใจและพ่ายแพ้จึงต้องยุติลงในวันนี้กลายเป็น แรงจูงใจให้เขาตัดสินใจกินยาฆ่าหญ้าฆ่าตัวตาย แม้พ่อแม่มา พบก็สายเกินไป ด้วยเหตุนี้ ช่วงวันเวลาของวัยรุ่นบนพื้นฐานของความ เปลี่ ย นแปลงฮอร์ โ มนที่ ดึ ง ดู ด พละก� ำ ลั ง ความสงบสั น ติ อ อก จากจิตใจให้แปรเปลี่ยนเป็นความก้าวร้าวรุนแรง เพื่อต่อสู้กับ

47 issue 116 september 2017


48 IS AM ARE www.fosef.org


ท�ำความชั่วหรือท�ำผิด ทุกคนต้องการความเข้าใจ ต้องการโอกาส และต้องการความช่วยเหลือ หน้าที่ของพ่อแม่ครูอาจารย์ ผู้ใหญ่ ทุกคนที่เกี่ยวข้องรับรู้คือ ให้ความช่วยเหลือเท่าที่จะท�ำได้ เพื่อ ให้พฤติกรรมเด็กกลับมาดีเหมือนเดิม เมื่อครูอาจารย์รับรู้ว่า นักเรียนเข้าไปหยิบเงินของเพื่อน จริง ๆ ดังปรากฏในกล้อง ก็เรียกเขาให้มาคุยกับครูอาจารย์ที่รับ ผิดชอบเรื่องนี้โดยตรง เพื่อฟังค�ำอธิบาย ไม่จ�ำเป็นต้องประกาศ ตามสาย แม้จะไม่เอ่ยชื่อ แต่การประกาศให้รับรู้ว่ามีเรื่องนี้เกิด ขึ้น เท่ากับเป็นการกระตุ้นความอยากรู้ของเด็ก ๆ ซึ่งในโรงเรียน เล็กขนาดนี้ ไม่นานเรื่องก็จะกระจายไปทั่ว ซึ่งความอยากรู้ อยากเห็นเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ทั้งในกลุ่มนักเรียน และในกลุ่ม ครูอาจารย์ด้วยเช่นกัน เมื่อหลายปีก่อน ทีมนักจิตวิทยาของมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ ได้จัดโครงการ “ฮอทไลน์ เคลื่อนที่สู่โรงเรียน” คือทีมงานได้เดิน ทางไปให้ความรู้ในการปรับตัวของวัยรุ่น และให้บริการปรึกษา ปั ญ หาวั ย รุ ่ น กั บ นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นชนบทที่ ห ่ า งไกล เพราะ ตระหนักว่า ไม่ว่าจะเป็นวัยรุ่นในกรุงเทพฯหรือต่างจังหวัดย่อม จะมีปัญหาเหมือน ๆ กัน แต่คนกรุงเทพฯเข้าถึงความช่วยเหลือ ได้มากกว่า การออกไปให้บริการต่างจังหวัดก็เพื่อให้เด็ก ๆ ได้มี สิทธิ์ที่จะปรึกษาฮอทไลน์ได้เช่นกัน ที่โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดร้อยเอ็ดในปีนั้น มีนักเรียน ตั้งครรภ์กับเพื่อนชายคนหนึ่ง ซึ่งได้ไปขอความช่วยเหลือจาก ครู แ นะแนว ซึ่ ง ครู แ นะแนวพึ่ ง จะเรี ย นจบมาไม่ น าน ขาด ประสบการณ์ แ ละที่ ผ ่ า นมาก็ ยั ง ไม่ ค ่ อ ยมี นั ก เรี ย นมาปรึ ก ษา

อับอายเสียใจที่ลูกท�ำตัวไม่ดี โดยไม่ทันคิดว่า ไม่ว่าลูกจะท�ำผิด พลาดแค่ไหนและอย่างไร ไม่มีวันที่พ่อแม่จะหันหลังให้ ขอเพียง ให้บอกท่าน ทางออกของปัญหามีอยู่เสมอ ไม่ว่าพ่อแม่จะเคย พูดบอกหรือไม่เคยบอกก็ตาม ลูกจะต้องเชื่อมั่นและศรัทธาใน ความรักของท่าน หากที่ผ่านมาท่านดุด่าว่ากล่าวตักเตือน เคย พูดจาให้ลูกเสียน�้ำตา ก็จงรู้เถอะว่าเพราะท่านไม่ต้องการเห็น ลูกเสียใจและล�ำบากในอนาคต เพียงเพราะพูดถึงความในใจ เพราะ ๆ ไม่เป็น ไม่ได้หมายความว่าท่านประสงค์ร้ายต่อลูก แน่นอน...ลูกอาจรู้สึกผิดที่ท�ำให้พ่อแม่ผิดหวัง แต่ถึงท่านจะผิด หวัง ลูกก็ไม่มีสิทธิ์จะคิดท�ำร้ายท�ำลายชีวิตตนเอง เพื่อเป็นการ ลงโทษตนเอง การที่ลูกลงโทษตัวเองด้วยการฆ่าตัวตาย ก็เหมือน ลงโทษพ่อแม่ เพราะลูกคือหัวใจและลมหายใจของพ่อแม่เสมอ! ครูอาจารย์ก็เช่นกัน การได้รับรู้พฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสมของนักเรียนไม่ว่ากรณีใด จะต้องนึกไว้เสมอว่า “เด็ก นักเรียนไม่ใช่ผู้ร้ายหรือฆาตกร แต่เป็นเพียงการพยายามลองผิด ลองถูกของเด็ก ๆ เท่านั้น!” นั่นคือหลีกเลี่ยงการ “ตราบาป” ให้นักเรียน เพราะความจริงก็คือ ทุกอย่างเกิดขึ้นได้ เป็นไปได้ ในวัยนี้ แม้เราผู้ใหญ่ทั้งพ่อแม่ครูอาจารย์ไม่ต้องการให้มันเกิด ขึ้น แต่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ก็ต้องพยายามแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้มี การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้กลับมาดี ไม่มีเด็กคนไหนต้องการ 49

issue 116 september 2017


เส้นทางการเจริญเติบโต ก็เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ครูอาจารย์และ ผู้ใหญ่ทุกคนที่จะต้องให้ความช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุนให้เขา ได้มีโอกาส “แก้ตัว” หรือท�ำใหม่ ให้ถูกต้องถูกทาง จะโดยวิธี อบรมสั่งสอน ว่ากล่าวตักเตือน หรือ ลงโทษสถานหนักเบาตาม ควรแก่เหตุ ที่ส�ำคัญคือภายในระยะเวลาที่ยืดหยุ่นได้ อย่างไรก็ตาม ก็พอจะเข้าใจได้ว่า ทุกเรื่องราวที่เกิดขึ้น ในการด�ำเนินชีวิตของคนเราทุกวันนี้ เราต่างรับรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ที่สะท้อนความฉ้อฉลกลโกง ความรุนแรงของผู้ใหญ่ในทุกระดับ ทุกวงการ ท�ำให้คนดูอย่างเรา ๆ อยากมีส่วนร่วมอยากช่วยจน เหมือนจะกลายเป็นการท�ำงานแข่งกับสื่อต่าง ๆ ตลอดจนสื่อ ออนไลน์ ยิ่งหากเป็นเรื่องใกล้ตัวเช่น “กรณีของเด็กหนุ่มมัธยม ห้าคนนี้” ขณะที่ผู้ปกครองพ่อแม่ที่บ้านยังไม่รู้เรื่อง แต่โลก ภายนอกรับรู้กันหมดแล้ว เพราะเห็นจากกล้องวงจรปิดว่าใคร อยู่ในกล้อง ก็สรุปว่าคนนี้ผิดแน่ ครูอาจารย์ฝ่ายบริหารของ โรงเรียนอาจรู้สึกดีใจที่จับความผิดของนักเรียนได้เร็ว ท�ำให้เรื่อง จบลงไว จะได้ยุติเสียงวิพากวิจารย์ของทุกคนทุกฝ่าย ถามว่าผิด ไหมที่ครูอาจารย์คิดเช่นนั้น ก็ตอบได้ว่า “ไม่ผิด!” แต่ครูอาจารย์ อาจลืมไปว่า เขาเป็นแค่นักเรียนมัธยมห้าอายุ 17 ปี ไม่ใช่ฆาตกร หรือโจรที่ต้องรวบรัดจับเขาเข้าสู่กระบวนการพิพากษาตัดสิน ลงโทษให้ได้โดยเร็ว

หรือมาใช้บริการนัก เมื่อมีนักเรียนตั้งครรภ์ระหว่างเรียนจึง ดูเป็นเรื่องใหญ่มาก ครูแนะแนวจึงน�ำเรื่องนี้ไปปรึกษาครูอีก หลาย ๆ คนที่นั่งท�ำงานอยู่ในห้องพักครูด้วยกัน กลายเป็น เรื่องตื่นเต้น วิพากวิจารณ์กันด้วยความอยากช่วยอยากแสดง ความคิดเห็น ปรากฏว่าวันรุ่งขึ้นตอนเช้าที่แถวเรียนหน้าเสาธง อาจารย์ใหญ่ได้น�ำเรื่องนักเรียนตั้งครรภ์ขึ้นมาพูดอบรมตักเตือน โดยไม่ได้ค�ำนึงถึงความรู้สึกของเจ้าของเรื่อง ผลที่ตามมาคือ นักเรียนหญิงคนนั้นได้ฆ่าตัวตายหนีอายในคืนต่อมา ทั้ง ๆ ที่ครู อาจารย์ทุกคนท�ำไปด้วยความรักและห่วงใยในเรื่องที่เกิดขึ้นกับ นักเรียน แต่กลับกลายเป็นความสูญเสีย เพราะอะไร? ในการเลี้ยงดูเด็ก ๆ นั้นถูกเปรียบเทียบว่าเหมือน “จับ ปูใส่กระด้ง” คือปูวิ่งกันพล่านไม่ยอมให้จับใส่กระด้ง เด็ก ๆ ก็ เช่นกันไม่ยอมอยู่นิ่งเฉย ๆ ง่าย ๆ ความอยากรู้อยากเห็น ความ รู้สึกตื่นเต้นสนุกสนานในการเคลื่อนไหว แต่ขาดประสบการณ์ ในการควบคุมป้องกันตนเองอาจน�ำไปสู่ความประมาทพลาด พลั้งเสียหายและเสียชีวิตได้ ผู้ใหญ่จึงต้องมีความระแวดระวัง สูง เช่นกัน ความอ่อนไหว ซุกซน หรือพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง จนถึง “ไม่ปกติ” หรือ “ไม่เป็นที่ยอมรับของผู้ใหญ่หรือคนทั่วไป ไม่ได้เป็นเครื่องยืนยันว่า เด็กคนนั้นจะเติบโตขึ้นเป็นปัญหาหรือ เป็นภัยในสังคมต่อไป หากเด็กท�ำผิดพลาด สร้างปัญหาระหว่าง 50

IS AM ARE www.fosef.org


ล�ำพังถ้าเป็นเด็กเล็ก เพียงแค่ถูกครูจับได้ว่า หยิบของเล่น ขนม หรือเงินของเพื่อนไป เด็กก็จะรู้สึกผิด อับอายและกลาย เป็นปมด้อยอยู่ในใจ ท�ำให้เขารู้สึกไม่กล้าสบตาใครตรง ๆ รู้สึกว่าตัวเองด้อย หรือไม่เหมือนกับเพื่อน ๆ ทั่วไป แต่นี่เขาเป็นวัยรุ่น เด็กหนุ่มวัย 17 ที่แบกโลกแห่งความกลัวไว้ทั้งใบในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของชีวิต มันหนักหนามากกับการถูกปรานามว่าเป็น“ขโมย!” เด็กทุกคนที่อยู่ในสถานการณ์เช่นนั้น เขาตกใจ เขากลัว เขาอับอายเขาไม่รู้จะท�ำตัวอย่างไร เขาสับสนใจ ฯลฯ เขาอยากมีคนเข้าใจ อยากได้รับการอภัย เขาต้องการอ้อมกอดของพ่อแม่เพื่อปลอบใจให้ก�ำลังใจเขาก้าวต่อไป เขาไม่อยากมี “ตราบาป” อย่างที่ทุกคน ก�ำลังท�ำกับเขา ในความเป็นผู้ใหญ่ เป็นครูอาจารย์ เราทุกคนไม่มีใครไม่เคยผ่านเรื่องราวเช่นนี้ มันอาจเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นกับเรา เกิดขึ้นกับ เพื่อน กับคนที่เรารู้จัก หรือจากที่เคยอ่านผ่านสื่อต่าง ๆ นี่ไม่ใช่เรื่องราวใหม่ที่เพิ่งเกิด มันเกิดขึ้นมาโดยตลอด และเราเคยสัมผัสถึง อารมณ์ความเจ็บปวดเหล่านี้อย่างดี แต่เมื่อวันเวลาผ่านไปเราเป็นผู้ใหญ่ขึ้น มีสถานภาพทางสังคม มีต�ำแหน่งหน้าที่การงานส�ำคัญ ๆ เรากลับหลงลืมความรู้สึก ความต้องการของเด็ก ๆ เหล่านั้น เราอาจสนใจแต่ความต้องการของตัวเอง เราอาจสนใจแต่วัตถุหรือ สิ่งที่เราจะได้ จะเป็น และจะมี ด้วยเหตุนี้เมื่อมีปัญหาเดิมเกิดขึ้น เช่นกรณีนักเรียนมัธยมห้าคนนี้ ความสูญเสียจึงเกิดขึ้นเหมือน เดิม ค�ำถามจึงเกิดขึ้นว่า เมื่อไรเราจะเรียนรู้ในการจัดการกับเรื่องที่เกิดขึ้นเพื่อให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุดกันเสียที! อรอนงค์ อินทรจิตร www.hotline.or.th

51 issue 116 september 2017


เปลี่ยนจุ ดด้อยให้เป็ นพลัง ความในใจจากสาวประเภทสอง ญาธิดา ปานเกตุ 52 IS AM ARE www.fosef.org


เยาวชนของแผ่ น ดิ น ขึ้ น ชื่ อ ว่ า วงการนั ก แสดง วงการดารา ใครได้ ยิ น เข้ า ก็อยากจะลองสัมผัสดูบ้างสักครั้งในช่วงหนึ่งของชีวิต กล่าว ตรงๆ ก็คือ ค่าตอบแทนสูงกว่าอาชีพทั่วไป แถมยังน�ำชื่อเสียง มาประกอบธุรกิจส่วนตัวได้อีกด้วย เรียกว่าได้ทั้งขึ้นทั้งล่อง แม้ จ ะไม่ ใช่ เรื่ อ งง่ า ย แต่ ห ลายคนก็ พ ยายามผลั ก ดั น ตั ว เองเข้ า สู ่ ว งการตามความใฝ่ ฝ ั น โดยเฉพาะสาวประเภท สองอย่าง ญาธิดา ปานเกตุ หรือน้องน�้ำ นักศึกษาปี 4 คณะ นิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ ซึ่งเป็นอีกคนหนึ่งที่เลือกเรียนด้านนี้โดยเฉพาะ “หนูเป็นคนชอบท�ำกิจกรรมมาตั้งแต่เด็กแล้ว ที่โรงเรียน มีอะไรก็ช่วยหมด เพราะเวลาได้ท�ำกิจกรรมเราจะมีความสุข ชอบอยู่กับเพื่อนผู้หญิง เพราะเขาจะไม่รังเกียจเรา” ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน สาวประเภทสองหรือเพศที่สาม มักถูกมองในแง่ลบ ทั้งจากผู้หญิงและผู้ชาย โดยเฉพาะผู้ใหญ่ หากเลือกได้ก็อยากให้ลูกพอใจกับเพศของตัวเอง ไม่อยากให้ อยู่ในสังคมอย่างอยากล�ำบาก แม้ปัจจุบันเรื่องนี้จะเป็นที่ยอมรับ มากขึ้นจากคนทั่วโลก แต่ก็ยังเป็นเพียงกลุ่มเล็กๆ น�้ำอธิบายว่า เธอเองก็ประสบปัญหาความไม่เข้าใจกับพ่อแม่เหมือนกัน “ช่วงแรกๆ ที่น�้ำรู้ตัวว่าตัวเองไม่ได้เป็นผู้ชาย ก็จะปิด เป็นความลับก่อน แล้วเราก็จะมาคิดทบทวนในใจว่าเราจะเป็น ยอมรับเรารึเปล่า คิดทบทวนอยู่ทุกวัน ก่อนที่จะมาเป็นแบบนี้ ดีไหม ต้องเดินทางไหน ถ้าเราเป็นแล้วเราจะมีอนาคต สังคมจะ น�้ำเคยลองเป็นผู้ชายมาก่อนแล้ว ก็พบว่ามันไม่ใช่ตัวเราเลย เรา อยากเป็นผู้หญิงเราก็เริ่มออกจากความเป็นผู้ชาย ก็คือ เริ่มร่วม กิจกรรมกับทางโรงเรียน ทั้งเต้นลีด เดินพาเลส แล้วก็ลงแข่งทุก อย่างจนได้เกียรติบัตรถ้วยรางวัลมากมาย ท�ำให้เรามีจุดเด่นใน เรื่องของความขยัน ความอดทน และการเข้าสังคมมากขึ้น” น�้ำแปรเปลี่ยนจุดด้อยให้เป็นพลัง เธอใช้กิจกรรมต่างๆ สร้างตัวเอง และพิสูจน์ตัวเองตลอดมา หลายคนอาจจะมองเป็น เรื่องข�ำๆ แต่ส�ำหรับคนๆ หนึ่งซึ่งก�ำลังจะค้นหาทางฝ่าข้ามเพศ ที่ตัวเองเป็นนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะเป้าหมายของเธอคือ “การ เป็นผู้หญิง” ไม่ใช่ “กระเทย” หรือ “ตุ๊ด” สนุกสนานเท่านั้น น�้ำ รู้ดีว่าการทุ่มเทให้กิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ก็เพื่อหวังให้พ่อแม่ ยอมรับความเป็นไปของลูกชายคนโตคนนี้ “คุณแม่ไม่ยอมรับเลย ครอบครัวน�้ำส่วนมากเป็นทหาร เป็นต�ำรวจ เราก็เลยไปเปิดใจกับพ่อว่า พ่อ น�้ำอยากเป็นอย่างนี้ นะ พ่อก็บอกมาค�ำหนึ่งว่า ไม่ว่าลูกจะเป็นอะไรก็ขอให้เป็นคน ดี พ่อเชื่อว่าเราจะเข้าสังคมได้ เราจะไม่โดนรังแก ถ้าเกิดเราไป โหวกเหวกโวยวายหรือวางตัวไม่ดีสังคมก็จะไม่ยอมรับ เพราะ ว่าสมัยก่อนคนจะไม่ยอมรับเพศที่สาม” 53 issue 116 september 2017


54 IS AM ARE www.fosef.org


น�้ำมีน้องชายหนึ่งคน พื้นฐานครอบครัวเป็นคนอ�ำเภอ ไทรน้ อ ย จั ง หวั ด นนทบุ รี พ่ อ เป็ น พนั ก งานรั ฐ วิ ส าหกิ จ แม่ ประกอบอาชีพรับจ้างซัก-รีด พี่น้องทางแม่ส่วนใหญ่เป็นทหาร และแน่นอนว่าครอบครัวหวังให้เธอเป็นทหารอยู่เหมือนกัน เมื่อน�้ำเปิดใจกับพ่อแล้ว สิ่งที่อึดอัดมานานตั้งแต่วัยเด็กก็หาย ไป อย่างน้อยก็ยังมีน้องชายอีกหนึ่งคนไว้สืบสกุล น�้ำยอมรับว่า รู้ตัวเองตั้งแต่ตั้งแต่เรียนอนุบาล 2 เพราะมักจะเล่นกับเพื่อนผู้ หญิงมากกว่า และติดเพื่อนผู้หญิงมาก จนเรียนถึงชั้น ม.6 น�้ำ จึงตัดสินใจบอกพ่อ เพราะต้องการจะแต่งตัวเป็นผู้หญิงหลัง เรียนจบมัธยมปลาย ทุกอย่างก็เหมือนจะคลี่คลายไปด้วยดี แต่ แม่ของน�้ำไม่ยอม “พ่อกับแม่เกือบจะเลิกกันเลยค่ะ ช่วงนั้นใกล้จบ ม.6 แล้ว ครอบครัวมีปัญหาเรื่องเงินด้วย น�้ำต้องออกไปท�ำงานเป็น เด็กเสิร์ฟ ครอบครัวต่างต้องออกหาเงินกันทุกคน แล้วยังมาขัด แย้งเรื่องน�้ำอีก มันถึงจุดต�่ำสุดของน�้ำแล้ว พอแม่รู้เรื่องว่าน�้ำ อยากเป็นผู้หญิงแต่พ่อไม่ห้าม แม่เขาก็ไม่ไว้ใจในตัวน�้ำเลย คอย ตามคอยเช็คทุกอย่าง ไปดูถึงโรงเรียนว่าน�้ำท�ำอะไร ตอนหลังน�้ำ จึงพูดกับแม่ตรงๆ ก็เลยทราบว่าที่แม่ท�ำลงไปก็เพราะห่วง กลัว น�้ำจะถูกรังแกและอยู่ในสังคมล�ำบาก”

เมื่ อ น�้ ำ เป็ น ที่ ย อมรั บ จากครอบครั ว แล้ ว ก็ เ หมื อ น กั บเขื่ อ นแตก น�้ ำ ปล่ อ ยทุ ก อย่ า งที่ ต นเองเก็ บไว้ ม านาน เธอ แต่งตัวเป็นผู้หญิง ซ�้ำยังใส่ชุดนักเรียนหญิงไปสอบที่โรงเรียน วัดราชาธิวาสฯ ในเทอมสุดท้ายก่อนจบ ม.6 จนเป็นที่จดจ�ำของ ครูอาจารย์และเพื่อนๆ น�้ำกล่าวว่า ก็เหมือนกับได้รับอิสรภาพ คืนมา เธอได้เป็นในสิ่งที่อยากเป็นและพร้อมจะรับผลทุกอย่าง หากจะเกิดขึ้นในอนาคต จากพื้ น ฐานที่ เ ป็ น คนชอบท� ำ กิ จ กรรม เมื่ อ เข้ า มหาวิทยาลัย น�้ำก็ทุ่มสุดตัวฝึกฝนตัวเองตั้งแต่การเขียนบทไป จนถึงการแสดง จนเป็นที่ยอมรับของเพื่อนๆ ในคณะ น�้ำมักจะ ถูกวางตัวให้แสดงในบทต่างๆ ตลอดการเรียนมหาวิทยาลัย จน รุ่นพี่ศิษย์เก่าชักชวนเธอไปฝึกงานในวงการบันเทิง ตั้งแต่เป็น ตัวประกอบ เขียนบท ท�ำพิธีกรรายการต่างๆ รวมถึงละคร เรียก ว่าน�้ำได้ท�ำงานวงการบันเทิงตั้งแต่ยังเรียนไม่จบก็ว่าได้ ความหวังของน�้ำคือการสร้างตัวเองให้มั่นคง ได้กลับไป อยู่กับพ่อแม่พี่น้องพร้อมหน้าพร้อมตา เธอทราบดีว่าการเป็น สาวประเภทสองมีโอกาสพบคู่รักที่จริงใจด้วยล�ำบาก แต่หากมี จริงๆ ก็คงไม่ถึงกับต้องอยู่ด้วยกัน เพราะน�้ำรู้ดีอยู่แล้วไม่มีใคร รักเธอเท่าพ่อกับแม่

55 issue 116 september 2017


“ผ่านมาถึงจุดนี้ได้ต้องอดทนมากค่ะ การโดนดูถูกเป็น เรื่องธรรมดามาก น�้ำเจอมาเยอะแล้ว มันอยู่ที่การวางตัวจริงๆ ส�ำหรับการเป็นสาวประเภทสอง หากเราไปท�ำอย่างที่เขาว่าเรา ก็มีค่าเท่านั้น อย่าให้ค�ำพูดเล็กๆ มาท�ำลายชีวิตที่มีค่าส�ำหรับเรา น�้ำคิดอย่างนี้เสมอ” น�้ำเปรียบความเป็นสาวประเภทสองว่าเหมือนดอกไม้ พลาสติก สวยงามแล้วต้องแข็งแกร่งอดทน ไม้โรยง่ายๆ เช่น เดียวกับสาวประเภทสองหลายคนที่หยัดยืนอยู่ในวงการมาด้วย ความสง่าผ่าเผย เพราะความอดทน อดกลั้น ไม่ยอมให้ค�ำพูด ใครมาท�ำลายชีวิตตัวเอง ชีวิตในวงการบันเทิงเริ่มสอนให้เธอแกร่งขึ้นเรื่อยๆ น�้ำ ยอมรับว่ามันไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ หากมีการปัดแข้งปัดขา กั น เหมื อนวงการอื่ น ทั่ว ไป ดังนั้น การรัก ษามาตรฐานในการ ด�ำเนินชีวิตเป็นเรื่องส�ำคัญ เรื่องส่วนตัวอาจท�ำให้การท�ำงาน บันเทิงพังได้ง่ายๆ โดยเฉพาะเรื่องชู้สาวหรือการมีเพศสัมพันธ์ ซึ่งเป็นเรื่องที่สาวประเภทสองหรือคนทั่วไปควรพึงระวัง

“สาวประเภทสองรุ่นน้องหลายคนพลาดเพราะอายที่ จะซื้อถุงยางตามร้านค้า ความจริงน�้ำอยากบอกว่าไม่ต้องอาย ค่ะ แค่ความอายแต่มันอาจส่งผลต่อชีวิตคุณไปทั้งชีวิต การจะ คบใครไม่ใช่เรื่องผิด แต่มันผิดที่คุณไม่ป้องกัน ยิ่งน้องๆ หลาย คนเพิ่งเริ่มที่จะเป็นสาวประเภทสอง เร่งเทคตัวเองด้วยฮอร์โมน ต่างๆ บางคนกินยาลดน�้ำหนักจนเมาจนเบลอไม่รู้ตัว จนท�ำงาน ไม่ได้ เพราะเร่งอยากให้มีแบบผู้หญิงเร็วๆ” เมื่อถามว่าจากวันนั้นที่ตัดสินใจเป็นสาวประเภทสองถึง วันนี้เธอเสียใจไหม เธอตอบว่าไม่เสียใจที่เป็น แต่เสียใจที่สังคม ยังไม่เปิดรับอย่างแท้จริง เช่น การเข้าสมัครงาน การสอบเข้า รับราชการหรือหน่วยต่างๆ ยังไม่เปิดให้สาวประเภทสองแต่ง ตัวแบบผู้หญิงเข้าท�ำงาน ซึ่งน�้ำมองว่าอาชีพยังไม่เปิดกว้างมาก นัก ทั้งยังเตือนน้องๆ รุ่นใหม่ว่า “จ�ำเป็นต้องคิดให้ดี ไม่ควรคิดแต่ว่าฉันจะเป็นอะไร แต่ควรคิดด้วยว่าเป็นแล้วโอกาสทางสังคมเปิดกว้างมากแค่ ไหน รับมือกับความจ�ำกัดทางสังคมไหวไหม เพราะมันหมาย ถึงอนาคตของตัวเองทั้งชีวิต” น�้ำกล่าวทิ้งท้าย 56 IS AM ARE www.fosef.org


ผลงานในวงการบั น เทิ ง ที่ ผ ่ า นมา ชื่อ : น�้ำหวาน ญาธิดา ปานเกตุ อายุ : 22 ปี สูง 168 ซม. น�้ำหนัก 55 กก. สัดส่วน : 34/24/36 การศึกษา : มัธยมจากโรงเรียนวัดราชาธิวาส / ปริญญา ตรี คณะนิเทศศาสตร์ สาขาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ญี่ปุ่น

- พรีเซ็นเตอร์เครื่องส�ำอางค์ยูกานะ แบรนด์จากประเทศ

- งานอีเว้นท์และพิธีกร งาน Boy & Girl Ambassador 2016 ที่ ซีคอนสแควร์ศรีนครินทร์ - ซีรีย์เรื่องหล่อล่าผี ช่องไทยรัฐทีวี รวมถึง ละครซีรี่ย์รักใสๆ กับวัยวุ่นๆ 2 และ ละครธรรมะ ซึ่งก�ำลังอยู่ในขั้นการผลิต

57 issue 116 september 2017


58 IS AM ARE www.fosef.org


59 issue 116 september 2017


สภาพแวดล้อม

น�้ำเพื่อการเกษตร ได้แก่ คลองตามธรรมชาติทั้ง 3 แห่ง คือ ต�ำบลล�ำนางแก้วเป็นชุมชนที่พึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติ คลองซับยาง – ซับน้อย คลองล�ำประโคน และคลองล�ำนางแก้ว อาศัยความอุดมสมบูรณ์ของป่าในการด�ำรงชีวิตและสร้างรายได้ นอกจากนี้ยังมีแหล่งน�้ำที่สร้างขึ้น ได้แก่ อ่างเก็บน�้ำขนาดเล็กซับ แต่ความอุดมสมบูรณ์เหล่านี้ไม่ได้มีตลอดเวลาเมื่อป่าเกิดการ ยาง อ่างเก็บน�้ำขนาดเล็กซับน้อย อ่างเก็บน�้ำขนาดกลางหินตะ เปลี่ยนแปลงจากการพัฒนา ชุมชนจึงหันกลับมาดูแลรักษาป่า โง่ และมีบ่อน�้ำบาดาล พื้นที่ป่าไม้ของต�ำบลล�ำนางแก้วมีพื้นที่ อีกครั้งด้วยการสร้างให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของทั้งผืนป่าและ ครอบคลุมประมาณ 26,675 ไร่ บางส่วนเกิดจากโครงการปลูก ปลูกฝังการดูแลรักษาป่าไปพร้อมกัน เพื่อให้ชุมชนกลับมาพึ่งพิง ป่าเฉลิมพระเกียรติ เมื่อประมาณปี พ.ศ.2539 โดยชาวบ้านได้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่าได้อีกครั้ง มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่า ท�ำให้ผืนป่ามีสภาพสมบูรณ์เต็ม ต�ำบลล�ำนางแก้ว ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอ ไปด้วยพันธุ์พืชหลากหลายชนิด เกิดผลผลิตจากป่าที่สามารถน�ำ ปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมามีเนื้อที่ทั้งหมด 65 ตารางกิโลเมตร มาจ�ำหน่ายเป็นอีกอาชีพเสริมของชาวบ้าน ในต�ำบลล�ำนางแก้ว หรือประมาณ 40,625 ไร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธทั้งยังมีการจัดประเพณี สลับที่ราบเชิงเขา ประกอบด้วย 9 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากร และพิธีกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ประมาณ 4,500 คน ประชากรต�ำบลล�ำนางแก้วส่วนใหญ่มี อาชีพหลักคือ ท�ำไร่อ้อย ไร่มันส�ำปะหลัง ท�ำสวน เลี้ยงสัตว์ ท�ำ นา และอีกส่วนหนึ่งออกไปท�ำงานยังภาคอุตสาหกรรม มีแหล่ง ต� ำ บลล� ำ นางแก้ ว เป็ น ต� ำ บลที่ มี ป ระชากรจากพื้ น ที่ ต่างๆ เข้ามาอาศัยและจับจองที่ดินเพื่อประกอบอาชีพ เนื่องจาก เป็นเส้นทางที่มีการอพยพของกลุ่มคนที่เข้ามาอยู่ร่วมกันใน เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ.2539 โดยชาวบ้ า นได้ มี พื้ น ที่ จ� ำ นวนมาก ท� ำ ให้ พั ฒ นาการของชุ ม ชนแต่ ล ะชุ ม ชนมี ส่ ว นร่ ว มในการดู แ ลรั ก ษาป่ า ท� ำ ให้ ผื น ป่ า มี ส ภาพ ช่ ว งเวลาที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไป จนกระทั่ ง ปั จ จุ บั น ต� ำ บลล� ำ สมบู ร ณ์ เ ต็ ม ไปด้ ว ยพั น ธุ ์ พื ช หลากหลายชนิ ด เกิ ด นางแก้ ว ได้ รั บ การเปลี่ ย นแปลงฐานะจากสภาต� ำ บลล� ำ นาง ผลผลิ ต จากป่ า ที่ ส ามารถน� ำ มาจ� ำ หน่ า ยเป็ น อี ก อาชี พ แก้ว เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลล�ำนางแก้ว ตามพระราช เสริ ม ของชาวบ้ า น บัญญัติการเปลี่ยนแปลงฐานะสภาต�ำบลและองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 เมื่อมกราคม ปี พ.ศ.2539 และต่อมา

ความเป็นมา

60 IS AM ARE www.fosef.org


ต�ำบลล�ำนางแก้วได้ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลเป็น เทศบาลต�ำบลล�ำนางแก้ว ในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2550 ท�ำให้ ต�ำบลเกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาหลายประการสามารถ สรุปได้ดังนี้

พัฒนาการต�ำบล พ.ศ.2460-2520

ยุ ค ก่ อ ตั้ ง ชุ ม ชนสร้ า งบ้ า นแปลงเมื อ ง ก่อนปี พ.ศ.2460 เป็นยุคของการสร้างชุมชนโดยกลุ่ม คนที่เข้ามาอาศัยในพื้นที่แถบต�ำบลล�ำนางแก้วมีทั้งกลุ่มที่เข้า มาอาศัยตั้งแต่เริ่มจับจองพื้นที่ใหม่ จนกระทั่งมีการอพยพมา จากที่อื่นๆ ในเขตจังหวัดนครราชสีมา โดยชุมชนแรกที่มีการ รวมกลุ่มคนและตั้งเป็นชุมชนขึ้น คือ ชุมชนล�ำประโคน ซึ่งมี อาณาเขตการสร้างชุมชนถึงบ้านล�ำนางแก้วในปัจจุบัน ต่อมา จึงเกิดชุมชนอื่นๆ ขึ้นพร้อมทั้งการสร้างวัดและโรงเรียนพิ่มขึ้น อีกหลายแห่ง ได้แก่ วัดล�ำนางแก้ว โรงเรียนบ้า ล�ำนางแก้ว วัด บ้านซับน้อย และโรงเรียนพัดทะเล ป่าถูกปรับสภาพเพื่อปลูกมันส�ำปะหลังและอ้อย พร้อมกับเริ่ม ใช้ปุ๋ยเคมี ในปี พ.ศ.2528 รัฐบาลมีนโยบายการรักษาผืนป่าเพื่อ พ.ศ.2521-2538 เป็นเขตอนุรักษ์ ได้มีค�ำสั่งให้ย้ายคนออกจากป่า ท�ำให้หลาย ยุ ค ส่ ง เสริ ม การปลู ก พื ช เศรษฐกิ จ ครอบครัวขาดที่ดินท�ำกิน ต่อมาในปี พ.ศ.2530 เริ่มโครงการ เป็ น ช่ ว งเวลาที่ ก ลุ ่ ม คนจากที่ ต ่ า งๆ ได้ อ พยพเข้ า ปลูกป่ายูคาลิปตัสในเขตป่าภูหลวง 4 โดยกรมป่าไม้เป็นผู้ดำ� เนิน มาจั บ จองที่ ดิ น และมี ก ารซื้ อ ขายที่ ดิ น เพื่ อ อยู ่ อ าศั ย มากขึ้ น การจ้างคนในชุมชนที่ไม่มีที่ดิน ประกอบกับมีการบุกเบิกที่ท�ำกินเพื่อเป็นการปลูกพืชไร่ พื้นที่

61 issue 116 september 2017


62 IS AM ARE www.fosef.org


พ.ศ.2539-2550

ถื อ เป็ น โอกาสอั น ดี ที่ มี โ ครงการฯ เข้ า มาร่ ว มสนั บ สนุ น ส่ ง เสริมให้ชุมชนเกิดกลไกในการขับเคลื่อน โดยได้มีการจัดตั้ง คณะท�ำงานโครงการฯ เพื่อเป็นตัวหลักในการขับเคลื่อนตาม เป้าหมายโดยได้สร้างความเข้าใจโครงการฯ คัดเลือกคนร่วม งานวางระบบการท�ำงาน มีการใช้เครื่องมือ ข้อมูลเศรษฐกิจ พลังงานครัวเรือน บัญชีครัวเรือน เพื่อให้ครัวเรือนพอเพียง อาสาวิ เ คราะห์ ตั ว ตน ค้ น หาทางออกเพื่ อ แก้ ไขปั ญ หา และ พัฒนาทักษะความรู้ บุคลากรด้วยการคิดค้นวางแผนวิถีพอเพียง ร่วมกัน พร้อมทั้งติดตาม และสรุปผล พร้อมทั้งร่วมประสาน ภาคีสร้างเครือข่ายสนับสนุนการท�ำงานด้านต่างๆ ร่วมกัน เพื่อ น�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลงแนวคิด และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการพึ่งตนเอง ทั้งด้านวิถี ชีวิต ปัจจัยการผลิตพลังงานทางเลือก รวมไปถึงการดูแลป่า ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เกิดความ ยั่งยืน

ยุ ค ฟื ้ น ฟู ป ่ า และพั ฒ นาชุ ม ชน ในปี พ.ศ.2539 ต�ำบลล�ำนางแก้วได้เข้าร่วมโครงการ ปลูกป่าฯ กับบริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) โดยได้รับความ ร่วมมือของกรมป่าไม้ประสานงานผ่านผู้น�ำชุมชนคือ ก�ำนัน และผู้ใหญ่บ้าน ในระหว่างที่มีการส่งเสริมการปลูกป่า ยังได้ สนับสนุนทุนให้กับชุมชนเพื่อส่งเสริมอาชีพ เช่น การท�ำอิฐและ การเลี้ยงไก่ แต่ด้วยไม่มีวิธีการที่ให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน ท�ำให้ กลุ่มอาชีพต่างๆ ไม่มีการด�ำเนินการต่อในระยะต่อมา จนกระทั่ง ในปี พ.ศ.2543 กระทรวงสาธารณะสุขเริ่มมีการพัฒนาระบบ ประปาให้กับชุมชน ท�ำให้ชุมชนมีการพัฒนามากขึ้นในปี พ.ศ. 2545 กระทรวงมหาดไทยได้เข้ามาสนับสนุนโครงการพัฒนา หมู ่ บ ้ า นและชุ ม ชนให้ ด� ำ เนิ น ตามแนวทางปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงและการเข้ามาของโครงการ SML ในปี พ.ศ.2549 ซึ่ง เป็นโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้านและชุมชน จนกระทั่งปี พ.ศ.2551 ต�ำบลล�ำนางแก้วจึงเข้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง ของ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

ใ น อ ดี ต ต� ำ บ ล ล� ำ น า ง แ ก ้ ว มี ก า ร พึ่ ง พิ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ โดยเริ่ ม ต้ น จากการเป็ น พราน ป่ า ล่ า สั ต ว์ ร วมถึ ง การประกอบอาชี พ ในการท� ำ ไร่ ในอดีตต�ำบลล�ำนางแก้วมีการพึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติ ท� ำ นา ซึ่ ง ในการประกอบอาชี พ นี้ เ องที่ ท� ำ ให้ มี ก าร โดยเริ่มต้นจากการเป็นพรานป่าล่าสัตว์รวมถึงการประกอบ สร้ า งงานที่ เ กิ ด จากภู มิ ป ั ญ ญาที่ สื บ ทอดมาจนถึ ง อาชีพในการท�ำไร่ ท�ำนา ซึ่งในการประกอบอาชีพนี้เองที่ท�ำให้ ปั จ จุ บั น มีการสร้างงานที่เกิดจากภูมิปัญญาที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน พร้อมการปรับใช้ให้เหมาะสมกับการปรับวิถีการผลิตสู่ความ พอเพียงได้ผ่านกระบวนการ การพัฒนาจากหน่วยงานต่างๆ ในกลไกของการขับเคลื่อน เริ่มจากการคัดเลือกคณะ ที่สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาชุมชนทั้งทางด้านกายภาพ และ ทางด้านการรวมกลุ่มเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน กรรมการโครงการฯ ด้วยการเปิดเวทีชี้แจงและสร้างความเข้าใจ รวมทั้งการพัฒนาจากความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นนอกจากนี้ ของโครงการฯ ซึ่งมีผู้แทนจากทุกภาคส่วนที่เป็นหน่วยงานภาคี การเข้าร่วมโครงการปลูกป่าฯ จนเกิดเป็นรูปธรรมของความ ของท้องถิ่น ตัวแทนชาวบ้านซึ่งผู้ใหญ่บ้านเป็นคนคัดเลือกและ พยายามในการพึ่งตนเอง ทั้งยังมีผู้น�ำชุมชนที่เป็นปราชญ์ชุมชน เชิญเข้ารับฟังการชี้แจงโครงการฯ มีทั้งผู้ช่วยก�ำนัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่ ผู้รู้ในชุมชนด้านต่างๆ ในการเสริมสร้างให้เกิดแนวทางในการ บ้าน ครู และที่ส�ำคัญกลุ่ม อสม. ที่ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง โดยชาว บ้านมองว่ากลุ่ม อสม. มีจิตอาสาในการท�ำงานให้กับชุมชน รวม ด�ำรงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งมีเวลาให้กับโครงการฯ ด้วย ที่ส�ำคัญคณะกรรมการชุดนี้มี แกนหลักที่เป็นก�ำลังส�ำคัญในการขับเคลื่อนงานคือ กลุ่ม อสม. ต� ำ บลล� ำ นางแก้ ว เป็ น ต� ำ บลที่ เข้ า ร่ ว มกระบวนการ ที่เป็นผู้หญิง ท�ำให้มีการด�ำเนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่องจนถึง ท�ำงานกับโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบลวิถีพอเพียง เมื่อ ปัจจุบัน โดยสามารถแบ่งเป็นฝ่ายต่างๆ ได้ทั้งหมด ปลายปี พ.ศ.2551 ในระยะที่ 2 โดยได้รับคัดเลือกจากพื้นที่ ที่มีการด�ำเนินงานตามโครงการปลูกป่าฯ ของ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) หลังจากมีการแนะน�ำโครงการฯ กับหน่วยงาน เจ้ า หน้ า ที่ ป ระจ� ำ ต� ำ บล ในการคัดเลือกเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบล เป็นการคัดเลือก ในท้องถิ่นรวมถึงผู้น�ำชุมชนของต�ำบล ต่างตอบรับเนื่องจาก

ทุนต�ำบล

กลไกการขับเคลื่อน

ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

ทีมงานภาคสนาม ปตท.

63 issue 116 september 2017


โดยคณะกรรมการชุมชนร่วมกับโครงการฯ ซึ่งได้ก�ำหนดคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบล โดย เน้นบุคคลที่เป็นลูกหลานในต�ำบล เพื่อท�ำหน้าที่สนับสนุนด�ำเนินงานโครงการฯ ประสานงานระหว่าง โครงการฯ กับต�ำบล และสนับสนุนให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้ร่วมกันในช่วงเริ่มต้นการด�ำเนินงานของ โครงการ มีการปรับเปลี่ยนเครื่องมือและแนวทางการด�ำเนินงานบ่อยๆ ท�ำให้ในระยะเริ่มต้นของการ ท�ำงานค่อนข้างเกิดการเรียนรู้ได้น้อย แต่เมื่อได้รับแรงกระตุ้นจากกรรมการและเริ่มเข้าหาชุมชน รวม ถึงเวทีประชุมของเจ้าหน้าที่ที่มีการแลกเปลี่ยนกลยุทธ์ในการท�ำงานชุมชน ท�ำให้เจ้าหน้าที่ประจ�ำ ต�ำบลเกิดการเรียนรู้มีการปรับตัวที่ดีขึ้น เจ้ า หน้ า ที่ ป ระจ� ำ ภาค เป็นผู้คอยก�ำกับดูแลและให้การสนับสนุนให้กับเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบลเพื่อให้เกิดการหนุน เสริมในการขับเคลื่อนงานต�ำบล ซึ่งเจ้าหน้าที่ประจ�ำภาคเป็นผู้มีทักษะในด้านของการจัดท�ำระบบ เอกสารรายงานรวมถึงการรายงานทางบัญชีและการเงินตลอดจนมีประสบการณ์ในการท�ำงานพัฒนา ชุมชนจึงเป็นก�ำลังส�ำคัญในการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำให้กับเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบลได้ดี ที่ ป รึ ก ษาภาค มีบทบาทในการบริหารเชิงการจัดการระดับภาค ก�ำกับการด�ำเนินงานให้เป็นไปตามกรอบ และกฎเกณฑ์ของโครงการฯ ติดตามและประเมิณผลสัมฤทธิ์การด�ำเนินงานตามแผนต�ำบลฯ และ คอยให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำแก่เจ้าหน้าที่โครงการฯ ของภาคอีสาน 64 IS AM ARE www.fosef.org


ความส�ำเร็จในพื้นที่

พลั ง งานทางเลื อ ก จากการวางกระบวนการพัฒนาตามแนวทางวิถีพอเพียงที่มีการใช้ข้อมูล ECEN มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลศักยภาพของต�ำบล โดยเน้นกิจกรรมที่เป็นการ ลดค่าใช้จ่าย พบว่าต�ำบลล�ำนางแก้วมีการใช้แก๊สและไฟฟ้ามากกว่าที่จะมีการใช้ ฟืนและถ่าน จากการด�ำเนินงานของโครงการฯ จึงท�ำให้เกิดการทดลองปฏิบัติ การเพื่อปรับวิถีชีวิตสู่ความพอเพียงด้วยการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานและหา ทางเลือกในกลุ่มพลังงานทางเลือกใหม่โดยโครงการฯ ได้สนับสนุนครัวเรือน พอเพียงอาสาให้เกิดการเรียนรู้ ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน และเป็นพลังงานทางเลือก โดยจัดการอบรมการเผาถ่านประสิทธิภาพสูง และ ฝึกอบรมการปั้นเตาซุปเปอร์อั้งโล่ หลังจากผ่านการอบรมไปแล้วนั้น พบว่าครัว เรือนพอเพียงอาสาได้น�ำความรู้ไปปฏิบัติท�ำให้เกิดการเรียนรู้ในการพึ่งตนเอง ด้านพลังงาน โดยน�ำการเผาถ่านด้วยถัง 200 ลิตร ไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต ท�ำให้ เกิดการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในส่วนของการหุงต้ม นอกจากนั้น ยังมีบุคคล ที่สามารถปั้นเตาซุปเปอร์อั้งโล่หรือเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงได้จ�ำนวน 10 คน และมีวิทยากรชุมชนที่สามารถถ่ายทอดความรู้ในการปั้นเตาซุปเปอร์อั้งโล่ได้ ประจ�ำจุดเรียนรู้ 9 แห่ง 65 issue 116 september 2017


66 IS AM ARE www.fosef.org


อาชี พ เสริ ม เพิ่ ม รายได้ การประกอบอาชีพของชาวบ้านส่วนใหญ่จะเป็นอาชีพด้านการเกษตร การท�ำนาปลูกข้าว ปลูกพืชเศรษฐกิจ แรงงานรับจ้างทั้งในและนอกชุมชน แต่เนื่องจากกระแสความเปลี่ยนแปลงทาง ด้านต่างๆ ท�ำให้ส่งผลต่อสภาวะทางด้านเศรษฐกิจของครอบครัว ภาระหนี้สินที่มีมากขึ้น เนื่องจาก มีรายได้ต�่ำกว่าค่าใช้จ่ายที่ลดลง ซึ่งโครงการได้มีส่วนสนับสนุนให้กับกลุ่มเป้าหมาย โดยการจัด อบรมเพิ่มทักษะอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้สามารถน�ำไปใช้ในครัวเรือนและสร้างเป็นอาชีพ เสริมเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนพอเพียงอาสาในด้านต่างๆ ได้แก่ การท�ำปุ๋ยชีวภาพ การผลิตของใช้ ในครัวเรือน การท�ำสบู่ แชมพูและน�้ำยาล้างจาน นอกจากนั้น ยังมีการสานต่อภูมิปัญญาด้านการ จักสานโดยการให้ผู้รู้ในชุมชนเป็นผู้ถ่ายทอด เช่น การท�ำกระด้งและการท�ำไม้กวาด เป็นต้น ผลที่เกิดขึ้นในระดับครัวเรือน ท�ำให้ลดค่าใช้จ่ายจากการซื้อและหันมาผลิตท�ำใช้เองใน ครอบครัว เช่น น�้ำยาล้างจาน น�้ำยาซักผ้า สบู่ ยาสระผม ปุ๋ยชีวภาพและภาชนะจากเครื่องจักสาน รวมไปถึงการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานหันกลับมาใช้พลังงานเนื่องจากชาวบ้านทดแทนเพิ่มขึ้น ท�ำให้เกิดบุคคลที่สามารถถ่ายทอดเรื่องวการท�ำของใช้ในครัวเรือนจ�ำนวน 30 คน และการท�ำปุ๋ย ชีวภาพจ�ำนวน 10 คน และเกิดวิทยากรชุมชนที่สามารถเป็นจุดเรียนรู้ในการท�ำของใช้ในครัวเรือน จ�ำนวน 1 จุด และการท�ำปุ๋ยชีวภาพ จ�ำนวน 1 จุด

คนต้นแบบวิถีพอเพียง

จากการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ปลูกอยู่ปลูกกินและหลังจากที่ได้เข้าร่วมโครงการฯ ท�ำให้คณะ ท�ำงานได้มองเห็นความส�ำคัญของบุคคลที่ด�ำเนินชีวิตตามรอยพระบาทของพ่อหลวง มีแนวคิดใน การด�ำเนินชีวิตที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการฯ และเป็นการสร้างก�ำลังใจให้กับบุคคล ที่ท�ำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี มีทักษะในการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและนอก ต�ำบลได้เป็นอย่างดี จึงได้มีการคัดเลือกบุคคลต้นแบบและการจัดการประเมิณผล เพื่อยกระดับ จากครัวเรือนพอเพียงอาสามาเป็นครัวเรือนต้นแบบวิถีพอเพียงขึ้นในต�ำบล ผลที่เกิดคือ การสร้างแรงก�ำลังใจในการด�ำเนินชีวิตแบบพอเพียง และท�ำตัวให้เป็นแบบ อย่างให้แก่คนในชุมชน จึงได้เกิดเป็นจุดเรียนรู้ด้านคนต้นแบบวิถีพอเพียงขึ้นในต�ำบลจ�ำนวน 1 จุด

ลดรายจ่าย = เพิ่มรายได้

จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจและพลังงาน ในภาพรวมของต�ำบลระหว่างปี 25522553 พบว่า รายรับรวมปี 2553 เพิ่มขึ้น 1.17 ล้านบาท คิดเป็น 5% ของรายรับรวมปี 2552 รายรับที่เพิ่มขึ้นมากที่สุด มาจากสวัสดิการและรายรับอื่นๆ ภาคการผลิตและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพิ่มขึ้น 1.97 และ 0.91 ล้านบาท ตามล�ำดับ รายจ่ายรวมปี 2553 ลดลง 5.98 ล้านบาท คิดเป็น 2% ของรายจ่ายรวมปี 2552 รายจ่าย ที่ลดลงมากที่สุด มาจากช�ำระคืนหนี้สิน ลดลง 6.39 ล้านบาท ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีลดลงจากการท�ำกิจกรรมตลอดระยะเวลาที่เข้า ร่วมโครงการฯ ต�ำบลล�ำนางแก้วลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ 1,981,724 กิโลกรัม จากกิจกรรม การปลูกต้นไม้ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุธรรมชาติ การท�ำปุ๋ยอินทรีย์ และพลังงานทดแทน ที่ใช้แทนแก๊สหุงต้ม และกิจกรรมรณรงค์การประหยัดพลังงาน

67 issue 116 september 2017


68 IS AM ARE www.fosef.org


หลั ก ธรรมแห่ ง ความพอเพี ย ง

ใช้อสุภะช่วยให้มีสันโดษ พอใจแต่คู่ชีวิตของตน (2)

บริหารจิต ด้วยการเจริญอสุภะ วิธีบริหารจิตเช่นนี้ เรียกว่า การเจริญอสุภะ ใช้แก้ความหลงหรือโมหะที่น�ำให้เกิดความรัก ใคร่ปรารถนาได้อย่างดี ผู้เจริญอสุภะสม�่ำเสมอ จะไม่เป็นผู้ละเมิดบุตรภริยาเขา จะเป็นผู้ไม่มักมาก ในความรัก ความใคร่ จะเป็นผู้อาจมีสันโดษในหญิงเดียวชายเดียว ผู้เป็นภริยาหรือสามีตนเท่านั้น ซึ่งจะเป็นการไม่ก่อความเดือดร้อน ทั้งให้แก่ผู้อื่นและให้แก่ตนเอง ด้วยจิตที่มีความหลงเป็นเหตุ แทรกซึมอยู่ทั้งนั้น ด้วยเหตุนี้ ตราบใดที่ยังท�ำความหลงให้บรรเทาเบาบางไม่ได้ ตราบนั้น จิตยังจะต้องมืดมิดและ เร่าร้อน วุ่นวาย กระสับกระส่ายอยู่ด้วยอารมณ์รุนแรงร้อยแปด เช่นอารมณ์รัก อารมณ์ชัง อารมณ์ ยินดี อารมณ์ปรารถนา เหล่านี้เป็นต้น แต่ถ้า เมื่อใดที่ท�ำความหลงให้บรรเทาเบาบางลงได้ เมื่อนั้นจิตก็ผ่องใสและเยือกเย็นเป็นสุข ได้ ด้วยไม่มากด้วยอารมณ์รุนแรงร้อยแปดดังกล่าว ยินดีพอใจในคู่ครองของตน พระนิพนธ์อีกแห่งหนึ่งมีความว่า ในระหว่างสามีภรรยา ทาง พระพุทธศาสนาสอนให้สามีสันโดษ คือ ยินดีพอใจอยู่แต่ในภรรยาของตน

69 issue 116 september 2017


70 IS AM ARE www.fosef.org


71 issue 116 september 2017


72 IS AM ARE www.fosef.org


73 issue 116 september 2017


74 IS AM ARE www.fosef.org


75 issue 116 september 2017


76 IS AM ARE www.fosef.org


77 issue 116 september 2017


ชี วิตที่ขาดการส�ำรวจ คือชีวิตที่ไร้ค่า

บ่ อ เกิ ด ของนั ก ปรั ช ญาต่ า งมี พื้ น ฐานจากการตั้ ง ค� ำ ถามและแสวงหาความจริ ง สายธารอารยธรรมทาง ความคิ ด มนุ ษ ย์ ( ตะวั น ตก)มี พื้ น มาจากความไม่ เ ชื่ อ ไม่ ส นิ ท ใจกั บ อะไรสั ก อย่ า งโดยเฉพาะความคิ ด มนุ ษ ย์ ด ้ ว ย กั น จะต้ อ งมี เ สริ ม มี แ ย้ ง ในเวลาต่ อ มาตลอด และตั้ ง ส� ำ นั ก ของตนเองในที่ สุ ด มี ลู ก ศิ ษ ย์ สื บ ทอดความคิ ด รวมถึ ง ลู ก ศิ ษ ย์ ที่ ก ล้ า ตั้ ง ค� ำ ถามกั บ ค� ำ สอนอาจารย์ ต นเอง ก่อนที่โลกจะค้นพบวิทยาศาสตร์ มนุษย์ยังกลัวสิ่งมองไม่เห็น แนวคิดของธาเลสถือว่าปลุกความสงสัยไม่น้อย นั่นเหมือนเผยแพร่แนวความคิดกรายๆ ไม่มีใครรู้ว่า ความจริงคืออะไร แต่ก็เริ่มมีผู้ร่วมวงเสวนาแสวงหาความจริง เพิ่มขึ้น จนเกิดเป็นความเชื่อหลายๆ คนรวมกันเป็นส�ำนักขึ้น มา พวกเขาไม่ได้ตั้งใจ การเสวนาท�ำให้มันเป็นไปโดยธรรมชาติ ไม่มีใครสนใจว่านี่คือต้นตอแห่ง(วัฒนธรรม)การเรียนหนังสือ และต�ำราจวบจนปัจจุบัน

เป็นต้นว่า ธาเลส บุรุษแห่งกรีกโบราณยุคต้น ผู้ได้รับการ ยกย่องให้เป็นบิดาของปรัชญาตะวันตก เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม ก่อนคริสตศักราช 585 ในฐานะนักปรัชญาคนแรกผู้กล้าออกมา ประกาศความเชื่อว่า “สรรพสิ่งเกิดจากน�้ำ” หรือ “น�้ำเป็นปฐม ธาตุแห่งโลก” เขาอธิบายว่าน�้ำคืออนุภาคที่เล็กที่สุดจนไม่อาจ แบ่งแยกได้อีกแล้ว เมื่อสรรพสิ่งแตกสลายก็จะกลับคือสู่ธาตุ ดั้งเดิมหรือธาตุแท้ของโลก นั่นคือน�้ำ เป็นสันนิษฐานที่พยายาม หาเหตุผลมาบรรยาย เป็นบ่อเกิดแห่งการโต้เถียงทางปัญญา 78

IS AM ARE www.fosef.org


แต่โรงเรียนแห่งเดียวหรือแห่งแรกของกรีกจะไปพออะไร เอ็มพิโดรเครส หลังจากศึกษาปรัชญาของธาเลสถี่ถ้วนแล้ว จึง ออกมาประกาศปรัชญาของตนเองค้านกับแนวความคิดของ ธาเลส เขาประกาศว่า หาใช่น�้ำอย่างเดียวไม่ สรรพสิ่งเกิดจาก ดิน น�้ำ ลม ไฟ มารวมตัวกัน และดับสลายเมื่อดินน�้ำลมไฟ กระจายออก ผู ้ ที่ เชื่ อ ในแบบเดี ย วกั น ก็ ไ ปสมั ค รตั ว เป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ เ อ็ ม พิ โ ดรเครส เกิ ด โรงเรี ย นแหล่ ง ที่ ส องขึ้ น อี ก แล้ ว มั น ก็ อุ ด ม ปัญญาของมันเอง เมื่อมนุษย์ได้รับการจุดให้ตั้งค�ำถาม เสนอ แนะ หาเหตุผลโต้แย้ง ก่อเกิดส�ำนักมากมายแตกแขนงโด่งดัง หาเป็นการศิษย์ล้างครูไม่ เป็นการร่วมวงหาความจริงในสิ่งใด สิ่งหนึ่งที่โลกยังไม่เคยถามและผู้คนยังบอดใบ้มากกว่า เช่นเรื่อง ต้นแบบของสรรพสิ่ง สสารที่เป็นต้นขั้วซึ่งไม่ อาจแบ่งแยกได้อีกแล้ว นักปรัชญาบางคนเรียกอะตอม สะสาร จิต แบบ ฯลฯ พวกเขาแทบไม่ท�ำอย่างอื่นเลยนอกจากสนทนา กับผู้คนและคิดค้น ไม่มีความรุนแรงปรากฏในหมู่นักปรัชญา ด้วยกันแม้มีความคิดต่าง อริสโตเติ้ลที่โด่งดังหนักหนาเป็นที่พูดถึงเกือบทุกคณะ สาขาในปัจจุบัน เขาเป็นศิษย์ของเพลโต มีชีวิตอยู่ในรอยต่อ ยุคระหว่างนักปรัชญาโบราณกับนักปรัชญายุคใหม่ อริสโตเติ้ล จึงมีแนวคิดที่คมชัด เพราะมีอาจารย์ผู้คล�ำหาทางให้ก่อนหน้า นี้เยอะแล้ว แล้วเขาก็เอามาประกอบเป็นมุมมองใหม่ๆ ปรัชญา ใหม่ๆ กับยุคของเขา ไม่ช้า ส�ำนักของเขาก็โด่งดัง หากในมุมมองนักปรัชญาโบราณเขาอาจไม่ใช่นักปรัชญา ที่แท้ เพราะไม่ได้คิดค้นวัตถุดิบใหม่ให้เกิดแก่ผู้คน หากเป็น บาร์เทนเดอร์ที่ผสมความคิดของผู้อื่นเก่งคนหนึ่ง แต่หากมุม มองของนักปรัชญาสมัยใหม่ เขาคือผู้ต่อยอดความคิดบรรพบุรุษ นั ก ปรั ช ญาตะวั น ตกให้ มี ค วามยิ่ ง ใหญ่ เ กรี ย งไกร เป็ น ต้ น น�้ ำ ก่อก�ำเนิดวิชาสากลต่างๆ ในต�ำราเรียน ก็ย่อมปฏิเสธไม่ได้ว่า อริสโตเติ้ลคือไข่มุกแห่งวงการปรัชญาตะวันตกและโลก หรื อ แม้ แ ต่ เ พลโต เสาหลั ก แห่ ง นั ก ปรั ช ญาจิ ต นิ ย ม อาจารย์ ผู ้ ยิ่ ง ใหญ่ ข องอริ ส โตเติ้ ล ก็ ไ ม่ อ าจหนี เ งาของ โสเครติส บรมครูผู้ไม่ทิ้งต�ำราใดแก่โลกนอกจากค�ำพูดจา หรือ แท้จริงแล้ว การแสวงหาความจริงหรือสิ่งใหม่ทั้งหมด อาจจะ ไม่มีใครค้นพบอย่างแท้จริงเลยก็ได้ หากผ่านการผสมดัดแปลง กันมานานเท่านั้น แต่ค�ำพูดนี้อาจใช้ไม่ได้กับโสเครติส บุรุษผู้ชูมือซ้ายชี้นิ้ว ขึ้นฟ้าก่อนบรรจงดื่มยาพิษตายในคุกท่ามกลางสานุศิษย์

เนื่ อ งจากโสเครติ ส เป็ น ผู ้ เ ดี ย วที่ เริ่ ม เห็ น ว่ า ความรู ้ คื อ คุณธรรม มนุษย์ควรมีคุณธรรม เหตุผลไม่อาจแก้ปัญหาทุก อย่างได้ แต่ในสมัยนั้นเขาใช้ค�ำว่า “ต้องมีการส�ำรวจตัวเอง” ชีวิตของโสเครติสหมดไปกับการพเนจรเที่ยวสนทนากับผู้คน เพื่อถกเถียงเกี่ยวกับความดีงามด้านจิตใจ จริยศาสตร์ ขณะที่ นักปรัชญญาคนอื่นๆ มุ่งหาความจริงแห่งการก�ำเนิดโลก สิ่งมี ชีวิตและวัตถุเท่านั้น เพลโตเป็ น ศิ ษ ย์ ที่ จ ดบั น ทึ ก เรื่ อ งราวและค� ำ พู ด ของ โสเครติสไว้บางส่วน วิธีของโสเครติสคือพูดคุย เขาไม่ยุ่งยากว่า ต้องจดต้องท�ำต�ำรา หรือเรียกเก็บค่าเรียนจากศิษย์ แต่แนวคิด ของเขากลับเป็นศูนย์กลางของนักปรัชญาทั่วไปในเวลาต่อมา จนมีผู้กล่าวว่าเขาเป็นผู้วางรากฐานทางปรัชญาตะวันตก ใน ฐานะผู้ตอกเสาเข็มคุณธรรมลงบนแผ่นดินปรัชญา ไม่เช่นนั้น ความรู้และเหตุผลทั้งหลายอาจกลายเป็นเครื่องมือสร้างความ งมงายและความชั่วได้ แต่ความเป็น โสเครติ ส นั่ น แหละที่ ฆ ่ า ตั ว เขาเอง เนื่องจากเขาเที่ยวไป สนทนากั บ ผู ้ ค นถึ ง ชี วิ ต ที่ อ ยู ่ เพื่ อ แสวงหาคุ ณ ธรรมความ ดีงามเพื่อใช้เป็นเครื่องมือใน การค้ น หาสั จ จะ ไม่ ต กเป็ น เหยื่อของอวิชาในร่างนักพรต ปลุ ก ผู ้ ค นให้ ตื่ น จากศาสนา ความเชื่ออันงมงาย ท�ำให้เขาถูกตั้งข้อหาท�ำให้วงการศาสนา เสื่อมเสีย โทษถึงประหาร กระนั้นเขาก็ไม่ยอมเปลี่ยนความคิด หรือปฏิเสธข้อหาแต่อย่างใด กลับชี้นิ้วขึ้นฟ้า ย�้ำค�ำสอนต่อหน้า สานุศิษย์ ก่อนขอดื่มจอกยาพิษด้วยตัวเอง บนถนนสายปรัชญาที่มุ่งสู่การแสวงหาความจริงทางโลก ทางผู้คน จนบางครั้งดูเหมือนจ้องเอาชนะกัน เปรียบเหมือน กระแสทุนนิยมที่พัฒนาตัวเองจนแข็งแรงอย่างรวดเร็ว น�ำไป สู่วิทยาศาสตร์ที่มั่นคงแน่นอน มีน้อยคนที่จะชี้น�ำผู้คนให้รู้จัก อบรมจิตใจตนเองอย่างโสเครติส เหมือนค�ำที่ชอบติดตามผนัง โรงเรียนว่า “ความรู้คู่คุณธรรม” ในทัศนะของโสเครติส ไม่ว่า ปรัชญาความรู้แขนงไหนก็ต้องควบคู่ไปกับคุณธรรมความดีงาม หากขาดสิ่งใดแล้ว ไม่อาจเรียกว่าปัญญาได้ “ชีวิตที่ขาดการส�ำรวจ คือชีวิตที่ไร้ค่า” โสเครติส. 79

issue 116 september 2017


Round About ภาพบรรยากาศครู ทั้ ง 55 โรงเรี ย นทั่ ว ประเทศ จ� ำ นวน 170 ท่ า น เข้ า ร่ ว ม “การอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพและสมรรถภาพความเป็ น ครู ครั้ ง ที่ 2” โดยมู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง เมื่ อ วั น ที่ 25-27 กั น ยายน 2560

80 IS AM ARE www.fosef.org


81 issue 116 september 2017


ปลั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี แนะ งบกว่ า 3 พั น ล้ า น ใช้ บู ร ณาการปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เน้ น ประชาชนมี ส ่ ว นร่ ว มภายใต้ 7 ยุ ท ธศาสตร์

เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม เวลา 11.00 น. มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมงานแถลงผลการด�ำเนินงานการบูรณาการขับเคลื่อน การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ที่ได้ด�ำเนินโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การบูรณาการการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้ง 7 ยุทธศาสตร์ โดยมีนายจิรชัย มูลทองโร่ย ปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธี ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 1 อาคารหอประชุมกรมประชาสัมพันธ์ นายจิรชัย ให้สัมภาษณ์ก่อนเปิดงานว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการ พัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่ง 7 ยุทธศาสตร์การบูรณาการขับ เคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนภาคการเกษตรและชนบท ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ขับเคลื่อนภาคการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขับเคลื่อนภาคธุรกิจ การท่องเที่ยว อุตสาหกรรม และผู้ประกอบการรายย่อย ยุทธศาสตร์ที่ 4 ขับเคลื่อนภาคต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ขับเคลื่อนด้านการประชาสัมพันธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ขับเคลื่อนด้าน ความมั่นคง และ ยุทธศาสตร์ที่ 7 การติดตามและประเมินผล ทั้งนี้มีการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณให้หน่วยงานต่าง ๆ โดยปี 2557 ใช้งบฯ 200 กว่าล้านบาท ปี 2558 100 กว่าล้าน บาท ปี 2559 100 กว่าล้านบาท ส่วนปี 2560 มีงบประมาณทั้งหมด 650 ล้านบาท ซึ่งตนได้เร่งรัดให้มีการเบิกจ่ายในทุกมิติ ใช้ งบฯอย่างคุ้มค่า และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนมากที่สุด ซึ่งรู้สึกพอใจการด�ำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา หลังจากนั้นเป็นการแถลงผลงานของตัวแทน 7 ยุทธศาสตร์ อาทิ นายสมบูรณ วงค์กาด รองเลขาธิการส�ำนักงานคณะ กรรมการพิเศษ เพื่อประสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) กล่าวว่า ปัจจุบันมีการจัดท�ำคู่มือการขับเคลื่อนการ พัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและชนบท และด้านความมั่นคง เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ จัดประชุมชี้แจงมอบนโยบายระดับพื้นที่ในภูมิภาค ให้การศึกษาชมชน จัดท�ำและทบทวนแผนชุมชนเพื่อพัฒนาชุมชนให้มีความเข้ม แข็ง พร้อมเผชิญปัญหาและภัยคุกคามความมั่นคง ซึ่งจะส่งผลต่อเสถียรภาพความมั่นคงของประเทศโดยรวม นายวิทวัส ศรวิหค รองปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า ปัจจุบันมีการเผยแพร่หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยุกษ์ใช้ในต่างประเทศ อาทิ กัมพูชา สปป.ลาว ตองกา ติมอร์-เลสเต และ เลโซโท โดยมีการท�ำแปลงนาสาธิต จัดตั้งศูนย์เรียน รู้เพื่อการพัฒนาเกษตรแบบยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ขณะที่ พ.อ.พีรวัฒน์ ชุณหะนันท์ ผู้แทนกองบัญชาการกองทัพไทย กล่าวว่า การขับเคลื่อนงานด้านความมั่นคงมีเป้าหมาย หลักคือพื้นที่หมู่บ้านตามแนวชายแดน หมู่บ้านที่มีปัญหาด้านความมั่นคง หมู่บ้านในและรอบโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ของกองบัญชาการกองทัพไทยและกองบัญชาการต�ำรวจตระเวนชายแดน พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชายแดนไทย-มาเลเซีย เป็นต้น 82 IS AM ARE www.fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.