IS AM ARE
TCEB ยกระดับคุณภาพในไทย ก้าวไกลสู่อาเซี ยน
จิรุตถ์ อิศรางกูร ณ อยุ ธยา
ผู ้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุ ม และนิทรรศการ
‘อย่าให้อะไรมาจ�ำกัดชี วิตเรา’
ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2 IS AM ARE www.fosef.org
“ถ้ า ท� ำ งานด้ ว ยความตั้ ง ใจที่ จ ะให้ เ กิ ด ผลอั น ยิ่ ง ใหญ่ คื อ ความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของประเทศชาติ ด้ ว ยความสุ จ ริ ต และด้ ว ยความรู ้ ค วามสามารถด้ ว ยจริ ง ใจ ไม่ นึ ก ถึ ง เงิ น ทองหรื อ นึ ก ถึ ง ผลประโยชน์ ใ ดๆ ก็ เ ป็ น การท� ำ หน้ า ที่ โ ดยตรงและได้ ท� ำ หน้ า ที่ โ ดยเต็ ม ที่ ”
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 9 พระราชทานแก่ ศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ 13 ธั น วาคม 2511
3 issue 128 SEPTEMBER 2018
Editorial
ทักทายกันอีกครั้งในไตรมาสสุดท้ายของปี ต้องบอกว่าปีนี้เป็นปีที่ บก. มีเรื่องเล่ามากมาย มากเสียจนไม่รู้ว่าจะ เล่าเรื่องใดดี และที่ส�ำคัญทุกเรื่องอยากจะน�ำมาเขียนเป็นบทความให้ผู้อ่านได้รับรู้รับทราบ ฉบับนี้เขอเล่าเรื่องที่ได้ไปรับรู้ มาจากอาจารย์หมอนายแพทย์ พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันนท์ รองคณบดี คณะแพทย์ จุฬาฯ ท่านบอกว่า “ปีนี้มีนักศึกษาแพทย์ โดดตึกเรียนตายอีกรายหนึ่ง” บก.จึงถามว่า ท�ำไมนักศึกษาแพทย์จึงคิดสั้นแบบนั้น ท่านตอบกลับว่า เพราะใจที่ถูกกดดัน ความคับใจที่ถูกกดทับ กดทับเป็นเวลานานตั้งแต่เด็กเลย จากคนใกล้ชิด คือ พ่อและแม่ ความคาดหวัง ความอยากของ พ่อและแม่ ที่ใส่สมองลูก เคี่ยวเข็ญและบังคับ เด็กพวกนี้มักไม่รอด และที่ฆ่าตัวตายมักจะอยู่ชั้นปีที่ ๓ ขึ้นไป และเป็น ทุกคณะแพทย์ทุกมหาวิทยาลัย แต่มักไม่เป็นข่าว สิ่งที่เกิดขึ้นอยู่กับสังคมเรื่องแบบนี้ ไม่เป็นข่าวนาน และไม่มีการน�ำเสนอข่าวในเชิงปัจจัยถึงเหตุที่แท้จริง และ มักจะจบแค่การแสดงความเสียใจต่อครอบครัวผู้สูญเสีย แต่ไม่มีส�ำนักข่าวไหน กล้าน�ำเสนอว่า การเสียชีวิตนั้นเกิดจาก เหตุใดกันแน่ จากประสบการณ์ ที่ บก. ไปบรรยายกั บ นั ก เรี ย นระดั บ มั ธ ยมปลาย ทั่ ว ประเทศทั้ ง ๗๖ จั ง หวั ด และในเขต กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นโรงเรียนชั้นน�ำ โรงเรียนประจ�ำจังหวัด เวลาที่ถามว่า ใครอยากเป็นหมอ นักเรียนจะยกมือกัน จ�ำนวนหนึ่ง และที่สังเกตก็มีนักเรียนในสายวิทย์-คณิต บางคนพอได้ยินค�ำถามนี้ กลับก้มหน้านิ่ง พอถามว่า พ่อแม่ ใคร อยากให้เป็น หมอ ก็มียกมือบ้าง และเมื่อได้ถามต่อว่า แล้วเราอยากเป็นหมอไหม นักเรียนตอบว่า ไม่อยากเป็น บก.มีความคิดว่า ในวันหนึ่งเร็ว ๆ นี้ อยากจัดสื่อวิทยุ เพื่อพูดคุยกับบุคคลที่เคยสูญเสียลูก จากการฆ่าตัวตาย อยากจะน�ำเสนอให้ทุกครอบครัวได้รับทราบ และไม่อยากเห็นการฆ่าตัวตายของนักศึกษาอีก ถ้าครอบครัวได้มีโอกาสพูดคุยกันเป็นประจ�ำ มีส่วนร่วมในกิจกรรมกันบ้าง รับรู้เรื่องราวของทุกคนในครอบครัว และเน้น ที่เรื่องเศรษฐานะของครอบครัว และอยากเห็นการพูดคุยและการให้โอกาสทางการศึกษาในกรณีที่นักศึกษา มีความประสงค์จะเรียนในทุกสาขาวิชา แต่ขาดทุนทรัพย์ จากผู้ใหญ่ใจดี หรือหน่วยงานที่จะมอบทุนการศึกษาได้อย่าง จริงจัง และสิ่งที่อยากจะบอกถึงผู้บริหารประเทศให้ได้คิด คือ ประเทศจะพัฒนาได้อย่างที่ต้องการ เพื่อความเจริญและ เท่าทันโลกาภิวัตน์ ต้องเริ่มต้นจากเด็ก นักเรียน นิสิต นักศึกษา ความรู้ที่ให้นั้นส�ำคัญ แต่สิ่งที่ส�ำคัญยิ่งกว่า คือ การรับรู้ ว่าครอบครัวมีเศรษฐานะเพียงพอต่อการส่งเสริมให้เด็กได้รับการศึกษาแค่ไหน เด็กเรียนดีต้องได้เรียนฟรี จนจบการศึกษา ต้องดูแลทุกอย่างแม้กระทั่งการเดินทางและความเป็นอยู่ ชาติจะพัฒนาได้อย่างไร ถ้าขาด พลเมืองที่มีความรู้ การศึกษาไทยในปัจจุบัน สิ่งที่เป็นจริงที่ครอบครัวต้องรับ คือ ไม่มีเงินไม่มีสิทธิ์เรียน เพราะการเรียน ต้องมีค่าใช้ จ่ายอื่น ๆ รวมอยู่ด้วย เช่น ค่าหอพัก ค่าเดินทาง ค่าอาหาร ค่าเครื่องแบบ และอีกมากมายที่ต้องจ่าย และสุดท้ายนี้คงต้องด�ำเนินโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชนต่อไปอีกนานเท่านาน เพราะความ หวังของชีวิตคนไทยจะรอดได้ต้องเข้าใจ ๕ ค�ำ ๕ ข้อที่พ่อสอนอย่างจริงจังเท่านั้น
4 IS AM ARE www.fosef.org
Contributors
มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง
พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ประธานโครงการครอบครัวพอเพียงสู่สถานศึกษาและชุมชน คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายเอกรัตน์ คงรอด นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ดร.เชิดศักดิ์ ดร.กัมปนาท ดร.นฤมล ดร.อ�ำนาจ ดร.ชลพร ดร.กาญจนา ดร.ปิยฉัตร ดร.คุณานันท์
ศุภโสภณ บริบูรณ์ พระใหญ่ วัดจินดา กองค�ำ สุทธิเนียม กลิ่นสุวรรณ ทยายุทธ
Let’s
Start and Enjoy!
บรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ :
ศิลปกรรม :
ส�ำนักงาน :
โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ : 5 issue 128 SEPTEMBER 2018
กรวิก อุนะพ�ำนัก ภูวรุต บุนนาค ชนกเนตร แจ่มจ�ำรัส พุทธิพันธุ์ สหะชาติมานพ นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน 35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org
Hot Topic
8
เกร็ดการทรงงาน
60
TCEB ยกระดับ คุณภาพในไทย ก้าวไกลสู่อาเซี ยน
12
‘อย่าให้อะไรมาจ�ำกัดชี วิตเรา’ ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง
Don’t miss
26 56
32 70
74 6 IS AM ARE www.fosef.org
Table Of Contents
ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7 issue 128 SEPTEMBER 2018
เกร็ดการทรงงาน ถนนห้วยมงคลปฐมบทแห่งการพัฒนา Cover Story ‘อย่าให้อะไรมาจ�ำกัดชีวิตเรา’ ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง Cartoon บนเส้นทางธรรมพุทธฉือจี้ ความเป็นคนความเป็นครู พฤติกรรมส�ำคัญกว่าค�ำพูด มาริสา อินลี สัจธรรมแห่งแนวพระราชด�ำริ อาชีพทางเลือก การเลี้ยงไก่ชน เชิงกีฬา (ไก่เก่ง) ชัยพัฒนา การน�ำความรู้ไปใช้ของผู้เข้ารับการอบรม ความจริงของชีวิต Let’s Talk TCEB ยกระดับคุณภาพในไทย ก้าวไกลสู่อาเซียน บทเรียนชีวิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย ตอนที่ 17 : ร้อยยิ้ม สื่อสุข เยาวชนของแผ่นดิน ผลผลิตของเด็กกิจกรรม(อาสา) ชีพชนก เหลืองอ่อน 70 เส้นทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา Round About
8
12 22 26 32 38 44 48 56 60 68 70
74 78
ถนนห้วยมงคล ปฐมบทแห่งการพัฒนา
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงตั้ ง พระราชหฤทั ย หลั ง จากเสด็ จ ขึ้ น ครองสิ ริ ร าชสมบั ติ แ ล้ ว ว่ า จะทรงงานเพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของราษฎร และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนไทยทั้ ง ประเทศให้ ดี ขึ้ น ภาพ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ไปทรงเยี่ ย มเยี ย นราษฎรจึ ง เป็ น ภาพที่ คุ ้ น ตาพสกนิ ก ร ไทยตลอดมา พระองค์ เ สด็ จ ไปในทุ ก พื้ น ที่ แม้ จ ะอยู ่ ไ กล จะทุ ร กั น ดาร ล� ำ บาก ทรงไต่ เ ขาทรงบุ ก ป่ า ทรง ลุ ย น�้ ำ ลุ ย โคลนโดยมิ ค� ำ นึ ง ถึ ง ความยากล� ำ บากเพื่ อ ทรงสั ม ผั ส ข้ อ เท็ จ จริ ง จากปากชาวบ้ า น และทรงน� ำ กลั บ ไปหาทางช่ ว ยเหลื อ “ประมาณเดื อ นพฤษภาคม 2495 ตอนนั้ น ลุ ง อายุ ประมาณ 22 ปี จ�ำได้ว่าในหลวงทรงขับรถจี๊ป พระที่นั่งเข้ามา ในหมู่บ้าน แล้วรถมาติดหล่มอยู่ที่ถนนทางเข้าหมู่บ้าน ชาวบ้าน รวมทั้งลุง ก็ช่วยกันยกรถพระที่นั่งที่ตกหล่ม หลังจากนั้นชาว
บ้านก็ได้เข้าเฝ้ารับเสด็จ เมื่อชาวบ้านได้กราบทูลถึงปัญหาเรื่อง ไม่มีถนน ในเวลาไม่นาน ในหลวงก็ทรงพระราชทานการสร้าง ถนนให้หมู่บ้าน”ลุงซิ่ว เทียนอิ่ม ชาวบ้านบ้านห้วยมงคล ต�ำบล ทับใต้ อ�ำเภอหัวหิน เล่าย้อนความหลัง 8
IS AM ARE www.fosef.org
เกร็ ด การทรงงาน เรื่ อ งการเดิ น ทางจากตั ว อ� ำ เภอหั ว หิ น เข้ า ไปบ้ า น ห้ ว ยมงคลในขณะนั้ น ถนนห้ ว ยมงคล ต� ำ บลทั บ ใต้ อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ คือ ปฐมบทแห่งการพัฒนาโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริที่จะเกิดขึ้นอีกมากมายในเวลาต่อมา ในเดือนพฤษภาคม 2495 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ได้ เ สด็ จ พระราชด�ำเนินไปประทับแรม ณ วังไกลกังวล อ.หัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ และเสด็จฯ ผ่านหมู่บ้านห้วยมงคล ต�ำบลทับใต้ อ�ำเภอหัวหิน เนื่องจากเส้นทางกันดารไม่มีถนน รถยนต์พระที่นั่ง ติดหล่ม ชาวบ้านแถบนั้นได้ออกมาช่วยเจ้าหน้าที่ทหาร ต�ำรวจ ช่วยกันออกแรงดันรถพระที่นั่งให้หลุดจากหล่มและสามารถ แล่นต่อไปได้ในที่สุด ครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงถามชาวบ้าน ว่า... “หมู่บ้านนี้ มีปัญหาอะไรบ้าง...” ชาวบ้านก็กราบบังคมทูลว่า.. “ปัญหาใหญ่ที่สุด คือ ไม่ มี ถ นน”พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว จึ ง ได้ พ ระราชทา นรถบูลโดเซอร์ให้ต�ำรวจตระเวนชายแดนค่ายนเรศวร ไปใช้ใน การด�ำเนินการสร้างถนน ใช้เวลาเพียงหนึ่งเดือนเท่านั้นก็แล้ว เสร็จ ชาวบ้านห้วยมงคล จึงได้ใช้ “ถนนพระราชทาน”ประชาชน ชาวห้ ว ยมงคลจึ ง มี ถ นนใช้ เ พื่ อ การเดิ น ทางขนผลผลิ ต ออกสู ่ ตลาดหัวหินเพื่อจ�ำหน่าย โดยใช้เวลาเพียง 15 - 20 นาทีเท่านั้น
โครงการสร้างถนนสายห้วยมงคลนี้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัมภาษณ์ แก่ผู้บริหารส�ำนักงาน กปร. เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2529 มีความ ตอนหนึ่งว่า “ในระยะปี 95 เราก็ เริ่ ม ท� ำ ที่ ข ้ า งในถึ ง หนองพลั บ ที่ โครงการห้วยสัตว์ใหญ่อะไรนั้นแต่ก่อนนี้เข้าไม่ได้ เราเข้าไป ในนั้นปี 95 เมื่อได้รถบูลโดเซอร์แล้วเอาไปให้ค่ายนเรศวร ให้ สร้างถนนให้ไถถนนเข้าไปห้วยมงคล ซึ่งเดี๋ยวนี้ห้วยมงคลเรื่อง เล็ก 20 นาทีก็ถึงตอนนั้นเราเข้าไปตั้งแต่ 8 - 9 โมงเช้า เข้าไป ถึงร่วมบ่ายโมง ไปรถพวกรถจี๊ปเข้าไปเข็นไป ลากเข้าไปใน นั้น...” ถนนสายห้วยมงคล ระยะทาง 11.5 กิโลเมตร นับเป็น โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ด ้ า นการพั ฒ นาชนบท โครงการแรก เปรียบเสมือนปฐมบทแห่งการพัฒนา ที่ต่อมา ได้ รั บ การขยายผลการด� ำ เนิ น งานสู ่ ก ารพั ฒ นาชนบททั่ ว ราช อาณาจักร ถนนสายนี้ได้น�ำความสุขมาสู่ราษฎรในหมู่บ้าน เนื่อง ด้วยสามารถน�ำผลิตผลจากอาชีพเกษตรกรรมออกไปจ�ำหน่าย ได้เป็นผลดี “...บ้านห้วยมงคลนี้อยู่ทั้งใกล้และไกล ตลาดหัวหินใกล้เพราะระยะทาง ที่ห่างกันไม่กี่กิโลเมตร แต่ไกลเพราะไม่มีถนน...” การประกอบอาชีพและการด�ำรงชีวิตในด้านต่างๆ มี ความสะดวกเนื่องด้วยมีถนนเป็นทางสัญจรที่อ�ำนวยประโยชน์ นานัปการ ส่งผลให้เศรษฐกิจชุมชนดีขึ้น ท้องถิ่นได้รับการพัฒนา และมีความเจริญติดตามมาหลายด้าน 9
issue 128 SEPTEMBER 2018
พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ปกแผ่ คุ ้ ม เกล้ า ประชาชนชาวไทยทั้ ง ปวงทั่ ว ประเทศ น� ำ ความร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข มาสู ่ ร าษฎร โดยถ้ ว นหน้ า ทั้ ง ยั ง น� ำ ความร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข มาสู ่ อาณาประชาราษฎร์ ทั้ ง ในชนบทและชุ ม ชนเมื อ ง ของไทย
ลุงรวย งามข�ำซึ่งปัจจุบันเสียชีวิตแล้ว เคยเล่าไว้ว่าบ้าน ห้วยมงคลนี้อยู่ทั้งใกล้และไกลตลาดหัวหิน ใกล้เพราะระยะทาง ที่ห่างกันไม่กี่กิโลเมตร แต่ไกลเพราะไม่มีถนน หากชาวบ้านจะ ขนผักไปขายที่ตลาดหัวหินต้องใช้เวลาเป็นวัน ๆ ห่างไกลความ เจริญถึงเพียงนี้ แต่วันหนึ่งกลับมีรถยนต์คันหนึ่งมาตกหล่มอยู่ ที่หน้าบ้านลุงรวย “...บ้านห้วยมงคลนี้อยู่ทั้งใกล้และไกลตลาด หัวหินใกล้เพราะระยะทางที่ห่างกันไม่กี่กิโลเมตร แต่ไกลเพราะ ไม่มีถนน...”เมื่อเห็นทหารกว่าสิบนายระดมก�ำลังกันมาช่วยรถ คันนั้นขึ้นจากหล่ม ลุงรวยผู้รวยน�้ำใจสมชื่อก็กุลีกุจอออกไปช่วย ทั้งงัด ทั้งดัน ทั้งฉุด จนที่สุดรถก็หลุดจากหล่ม เมื่อรถขึ้นจากหล่มแล้ว ลุงรวยจึงได้รู้ว่ารถที่ตัวทั้งฉุดทั้ง ดึงนั้นเป็นรถยนต์พระที่นั่งและคนในรถนั้นคือ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ แม้จะตื่นเต้นตกใจ ที่ได้เฝ้าในหลวงอย่างไม่คาดฝัน แต่ลุงรวยก็ยังจ�ำได้ว่าวันนั้น ในหลวงมีรับสั่งถามลุงว่า หมู่บ้านนี้มีปัญหาอะไรบ้างลุงรวยได้ กราบบังคมทูลว่า ปัญหาใหญ่ที่สุดคือไม่มีถนน วันนั้นนอกจาก ลุงรวยจะโชคดีได้รับพระราชทานเงินก้นถุงจ�ำนวน 36 บาท ซึ่ง ลุงน�ำเก็บไปใส่หีบบูชาไว้เป็นสิริมงคลจนถึงทุกวันนี้แล้ว อีกไม่ นานหลังจากนั้นลุงรวยก็เห็นต�ำรวจพลร่มกลุ่มหนึ่งเข้ามาช่วย กันไถดินที่บ้านห้วยมงคล และเพียงหนึ่งเดือนเท่านั้น ลุงรวย และชาวบ้านห้วยมงคล ก็ได้ถนนพระราชทาน ถนนห้วยมงคล
ที่ท�ำให้ชาวไร่ห้วยมงคลสามารถขนพืชผักออกมาขายที่ตลาด หัวหินได้ภายในเวลาเพียง 20 นาที ส�ำหรับลุงซิ่ว เทียนอิ่มวัย 82 ปี เป็นหนึ่งในคนเก่า คนแก่ ที่ บ ้ า นห้ ว ยมงคล ต� ำ บลทั บ ใต้ อ� ำ เภอหั ว หิ น จั ง หวั ด ประจวบคีรีขันธ์ มีอาชีพท�ำสวนท�ำไร่ตั้งแต่พื้นที่น้ียังเป็นถิ่น ทุรกันดาร ไม่มีถนนหนทางที่ได้มาตรฐาน โดยลุงซิ่วเล่าย้อน ว่า แต่เดิมพื้นที่หมู่บ้านนี้ชื่อหมู่บ้านห้วยคต ต�ำบลหินเหล็กไฟ แต่ตอนหลังได้มีการเปลี่ยนเป็น หมู่บ้านห้วยมงคล ต�ำบลทับ ใต้ ในอดีตหมู่บ้านนี้เป็นพื้นที่ป่า มีสัตว์ป่าอยู่มากมาย ทั้ง เสือ ช้าง กระทิง ฯลฯ ซึ่งด้วยสภาพที่เป็นป่า ท�ำให้การเดิน ทางเข้าออกจากหมู่บ้านไปในตัวเมืองหัวหินนั้น ถือว่าเป็นเรื่อง ที่ล�ำบากยากเข็ญมาก แม้ว่าระยะทางจะไม่ได้ไกลมาก แต่การ 10
IS AM ARE www.fosef.org
เดินทางก็ทุลักทุเล เพราะเป็นเส้นทางป่า เป็นร่องเป็นหล่ม ไม่มี ถนนมาตรฐาน ชาวบ้านในหมู่บ้านนี้นั้น ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพ เกษตรปลู ก พื ช ผั ก เช่ น ข้ า วโพด ผั ก ผลไม้ ที่ จ ะต้ อ งอาศั ย ธรรมชาติเป็นหลัก เมื่อได้ผลผลิตต้องการจะขายนอกพื้นที่ถ้า ไม่ มี ค นซื้ อ หรื อ พ่ อ ค้ า มารั บ เองในพื้ น ที่ ก็ ต ้ อ งขนไปขายเองที่ ตลาดหัวหิน ชาวบ้านบางคนก็ใช้วิธีเดิน บางคนใช้รถเข็น บาง คนใช้ปั่นจักรยาน ไปตามเส้นทางเดินด้วยเท้าสมัยก่อนอาจเรียก ทางเกวียน ใช้เวลาเดินทางเป็นวัน เป็นคืน กลางวันเดิน กลาง คืนพักค้าง เสี่ยงอันตรายอีกชั้นหนึ่ง บางครั้งต้องใช้เวลาถึง 2 วัน 2 คืน เพื่อจะน�ำผลผลิตไปจ�ำหน่ายที่ตลาดหัวหิน ถ้าเป็น ผลผลิตเช่นผักผลไม้หลายคราวยังไม่ถึงตลาดก็เน่าเสียก่อนถ้า จะให้เร็วต้องเช่าเหมารถจี๊ป เวลานั้นมีอยู่ไม่กี่คันที่มีลักษณะ พิเศษสามารถบุกตะลุยได้ บดถนนที่ทั้งขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ มีน�้ำท่วมขังเป็นหย่อมๆ ได้ แต่ก็ต้องเสียค่าใช้จ่ายแบบเช่าเหมา ถึงเที่ยวละ 500 บาท ซึ่งไม่คุ้มกับราคาพืชผลที่ขายได้ ในแต่ละ เที่ยว ถ้ารถติดหล่มก็จบ ขายผลผลิตไม่ทันขาดทุน ลุงซิ่ว เทียนอิ่ม บอกว่า จ�ำได้ว่าตอนที่มีการน�ำรถมา เกลี่ยหน้าดินท�ำถนนในหมู่บ้าน ดีใจมาก นั่งดูการท�ำถนนทุก วันจนถนนเสร็จ หลังจากที่มีถนน การเดินทางเข้าออกหมู่บ้านก็ สะดวกขึ้น จากที่เคยใช้เวลาน�ำผลผลิตไปขายที่ตลาดหัวหิน 2-3 วันพอมีถนนแล้วใช้เวลาเพียง 20 นาที ก็ถึงตลาดหัวหินแล้วและ หลังจากมีถนนความเจริญต่าง ๆ ก็เริ่มเข้ามาถึงหมู่บ้าน วั น นี้ ถ นนสายห้ ว ยมงคลจึ ง นั บ เป็ น ต้ น แบบเส้ น ทาง บ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขแก่อาณาประชาราษฎร์เฉกเช่นถนนทุกสาย ที่เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนประชาชน เป็นถนนที่ น้อมน�ำหลักการด�ำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงสู่พสกนิกร อันนับว่าเป็นมงคลชีวิตที่ยอดเยี่ยมที่สุด มิใช่ เฉพาะแก่ชาวบ้านห้วยมงคล อ�ำเภอหัวหินเพียงเท่านั้น หาก แต่เป็นมงคลแก่พสกนิกรชาวไทยทั่วประเทศ ด้วยเป็นถนน มงคลสายเริ่มแรก ที่น�ำไปสู่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ มากกว่า 4,000 โครงการที่กระจายไปทั่วทุกภูมิภาค ก่อให้เกิด
การพัฒนาอย่างทรงคุณค่าทั้งในด้านการพัฒนาทรัพยากรน�้ำ ดิน ป่าไม้ อาชีพ การศึกษา สาธารณสุข การเกษตร การประมง เทคโนโลยีและการคมนาคมในทุกวันนี้ พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปกแผ่คุ้มเกล้าประชาชนชาวไทยทั้งปวงทั่วประเทศ น�ำความ ร่มเย็นเป็นสุขมาสู่ราษฎรโดยถ้วนหน้า ทั้งยังน�ำความร่มเย็น เป็นสุขมาสู่อาณาประชาราษฎร์ทั้งในชนบทและชุมชนเมือง ของไทย ตลอดจนของประเทศเพื่อนบ้าน ท�ำให้มีชีวิตความ เป็นอยู่ที่ สุขสบายตามอัตภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีรายได้ เลี้ยงชีพ สอดคล้องกับ พระราชด� ำ รั ส ที่ พ ระราชทานแก่ ค ณะผู ้ บ ริ ห าร ส�ำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2512 ความตอนหนึ่งว่า “...การน�ำความเจริญ การพัฒนาไปสู่ชนบทหมายถึงไป สู่ประชาชนในชนบทนั้น มีเหตุผลหลายประการ เหตุผลใหญ่ ที่สุดข้อแรกก็คือมนุษยธรรม ความเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์ที่อยู่ ร่ว มประเทศกั บเรา...เหตุผลที่ส องที่จะต้องพัฒนาชนบทนั้น คือ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยของบ้านเมือง เพื่อความก้าวหน้า นอกเหนือจากมนุษยธรรม” ถนนห้วยมงคลปฐมบทแห่งการพัฒนานี้ จึงเหมือนกับ ต้นน�้ำล�ำธารแห่งพระมหากรุณาธิคุณที่จะไหลเอิบอาบไม่ขาด สายไปในทุกพื้นที่ที่มีราษฎรหรือพสกนิกรของพระองค์อยู่ “...วันนี้ถนนสายห้วยมงคลจึงนับเป็นต้นแบบเส้นทาง บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่อาณาประชาราษฎร์เฉกเช่น ถนนทุกสาย ที่เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนประชาชน...” 11
issue 128 SEPTEMBER 2018
cover story
‘อย่าให้อะไรมาจ�ำกัดชี วิตเรา’
ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์
อธิ ก ารบดี ส ถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง “มนุ ษ ย์ เ ลื อ กเกิ ด ได้ ห รื อ ไม่ ไ ม่ ส� ำ คั ญ โดยเฉพาะกั บ ผู ้ ที่ ไ ม่ ย อมสยบแก่ โ ชคชะตาใดทั้ ง ปวง”ศ.ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ พิ สู จ น์ ค� ำ นี้ อ ย่ า งถึ ง แก่ น ของมั น แล้ ว ด้ ว ยตั ว เขาเอง ก่ อ นจะก้ า วขึ้ น เป็ น ศาสตราจารย์ ตั้ ง แต่ อ ายุ 37 ปี และเป็ น อธิ ก ารบดี ส ถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ตั้ ง แต่ วั น ที่ 2 ตุ ล าคม 2558 ด้ ว ยอายุ เ พี ย ง 43 ปี ซึ่ ง ถื อ เป็ น อธิ ก ารบดี อ ายุ น ้ อ ยที่ สุ ด เท่ า ที่ ป ระเทศไทยเคยมี ม า
12 IS AM ARE www.fosef.org
13 issue 128 SEPTEMBER 2018
เก่ ง มาจากไหนก็ ผิ ด หวั ง เป็ น ! “ผมเป็นลูกคนเดียว ครอบครัวจึงทุ่มเทกับเรื่องการเรียน มากครับ” ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ หรือ เอ้ ย้อนเรื่องราว ภาพบรรยากาศของตัวเองในวัยเด็กซึ่งเติบโตในจังหวัดระยอง เขาเริ่มเรียนที่โรงเรียนอนุบาลระยอง ก่อนจะเข้าเรียนต่อระดับ ชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนระยองวิทยาคม เอ้มีผลการเรียนเป็น อันดับ 1 ของโรงเรียนตลอดมา เขาอธิบายว่า พ่อแม่มีส่วนส�ำคัญ อย่างมาก ผลักดันให้เขารู้จักเสียสละ รู้จักรับหน้าที่และรับผิด ชอบเพื่อฝึกฝนความเป็นผู้น�ำตั้งแต่เด็ก “คุณพ่อคุณแม่ผมเน้นเรื่องความเสียสละครับ ตอนที่ผม เข้าเรียนที่โรงเรียนอนุบาลระยอง คุณแม่ย�้ำกับคุณครูว่า อยาก ให้ใช้เอ้ช่วยท�ำงานช่วยงานกิจกรรมของโรงเรียนเยอะ ๆ เพราะ ห่วงเหลือเกินที่คนชอบพูดว่าลูกคนเดียวมักจะเสียคน เพราะถูก ตามใจ คุณครูจึงจับให้ผมเป็นหัวหน้าชั้นเรียนตั้งแต่เด็ก ฉะนั้น ผมจึงมีประวัติเป็นหัวหน้าชั้นตั้งแต่อนุบาลจนจบ ม.6 เลย” ด้ ว ยผลการเรี ย นเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ชนิ ด ไร้ คู ่ แข่ ง ของ โรงเรี ย นระยองวิ ท ยาคมตลอดชั้ น มั ธ ยมต้ น ท� ำ ให้ เ อ้ ถู ก หากเรี ย กว่ า ศ.ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ หรื อ ท่ า น ห ม า ย มั่ น ใ ห ้ ส อ บ เข ้ า โร ง เรี ย น เ ต รี ย ม อุ ด ม ศึ ก ษ า ใ น อธิการบดี น้อง ๆ จากลาดกระบังอาจจะไม่คุ้น แต่ถ้าเรียก กรุงเทพมหานคร ในฐานะกระบี่มือหนึ่งแห่งโรงเรียนระยอง “พี่เอ้” หรือ “พี่เนียน” หลายคนจะรู้จักดีในฐานะอธิการบดี วิทยาคม เพื่อปูทางไปสู่อนาคตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เช่น ที่สร้าง “ปรากฏการณ์รับน้องที่ดังที่สุด” จากการปลอมตัว เดียวกับความหวังของผู้ปกครองทุกคนที่อยากเห็นบุตรหลาน เข้าไปเป็นรุ่นพี่ปี 2 เพื่อรับน้องปี 1 จนยอดเข้าชมคลิปวีดีโอ มีอนาคตที่ดี ในโลกออนไลน์สูงถึง 2 ล้านวิวภายในเวลา 2 วัน หรื อจะ เอ้ เ ดิ น ทางมาสอบเข้ า โรงเรี ย นเตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาที่ เป็นการน�ำคณบดีสาขาต่าง ๆ ขึ้นโชว์เพลงแร็ปรับนักศึกษา กรุ ง เทพมหานครพร้ อ มกั บเพื่ อ นอี ก หกคน แต่ ท ว่ า กลั บไม่มี ใหม่ในปีล่าสุดก็ดี เหตุผลคือ อธิการบดีรุ่นใหม่คนนี้ต้องการ ชื่อของผู้ที่สอบติด ขณะเพื่อนอีกหกคนต่างดีใจกันยกใหญ่ใน ทลายก�ำแพงระหว่างนักศึกษากับอธิการบดีให้เหลือเพียง “พี่ ฐานะว่าที่นักเรียนเตรียมอุดมศึกษารุ่นต่อไปนั่น ถือเป็นความ กับน้อง” เท่านั้น เพื่อจะได้ “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” ซึ่งกัน ผิดหวังครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิตของเอ้ นักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยสูงสุด และกันต่อไป จากโรงเรียนระยองวิทยาคม แต่กลับสอบไม่ติดในโรงเรียนที่ตน นี่เป็นเพียงส่วนเล็กๆ ส่วนหนึ่งเท่านั้น แต่ความจริงแล้ว และผู้ปกครองปรารถนาไว้ ชีวิต ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ กว่าจะผ่านมาถึงวันนี้ได้เต็ม ไปด้วยอุปสรรคและความผิดหวังนานัปการ ซึ่งสามารถท�ำให้ คน “ยอมแพ้” ได้ไม่ยาก แต่ไม่ใช่ส�ำหรับชายที่ชื่อ สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ผู้ท่องคาถาแห่งชัยชนะเพียงสองค�ำ“อดทน เพียร พยายาม” ความหมายแห่ ง คาถาชี วิ ต บทดั ง กล่ า วคื อ อะไร เชิญผู้อ่านค้นคว้าจากบทสัมภาษณ์นี้ค่ะ
14 IS AM ARE www.fosef.org
ชี วิ ต ศ.ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ กว่ า จะผ่ า นมา ถึ ง วั น นี้ ไ ด้ เ ต็ ม ไปด้ ว ยอุ ป สรรคและความผิ ด หวั ง นานั ป การ ซึ่ ง สามารถท� ำ ให้ ค น “ยอมแพ้ ” ได้ ไ ม่ ยาก แต่ ไ ม่ ใ ช่ ส� ำ หรั บ ชายที่ ชื่ อ สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ ผู ้ ท ่ อ งคาถาแห่ ง ชั ย ชนะเพี ย งสองค� ำ “อดทน เพี ย ร พยายาม
ภาพของผู ้ เ ป็ น พ่ อ ที่ เ ดิ น ทางรอนแรมมาจากจั ง หวั ด ระยองเมื่ อ ราว 30 ปี ที่ แ ล้ ว เพื่ อ มาเกาะรั้ ว โรงเรี ย นเตรี ย ม อุดมศึกษาตั้งแต่เช้ามืด เพราะหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเห็นชื่อ ลู ก ชายติ ด อยู ่ ที่ ก ระดานรายชื่ อ นั ก เรี ย นที่ มี สิ ท ธิ เข้ า เรี ย นใน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ทว่ากลับว่างเปล่า แม้จะตรวจดูเท่า ไหร่ก็ไม่มีชื่อลูกชาย แต่ทันใดนั้นก็ได้เห็นสัญญาณมือจากเจ้า หน้าที่ซึ่งพ่อขอความกรุณาให้ช่วยหารายชื่อลูกชาย เจ้าหน้าที่ ชูมือห้านิ้วขึ้นมา จิตใจของพ่อจึงฟื้นคืนความหวังอีกครั้ง ใช่ แน่แล้ว ลูกชายต้องสอบติดเป็นอันดับห้าของประเทศแน่นอน เมื่อมองสัญญาณมือจากเจ้าหน้าที่ไกล ๆ ให้ดีอีกครั้ง ก็พบว่ามือนั้นโบกส่ายไปมา หมายความว่าไม่มีรายชื่อลูกชาย นั่นเอง คุณพ่อจ�ำต้องยอมรับความจริง รอนแรมกลับจังหวัด ระยองด้วยความผิดหวังราวกับปราสาททรายที่บรรจงก่อขึ้นมา ถูกคลื่นทะเลซัดหายราบลงไปในพริบตา ความรู้สึกดังกล่าวฝังแน่นอยู่กับเอ้อย่างเงียบงัน เหนือ ความผิดหวังทั้งหมดในชีวิตช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ คือการท�ำให้ผู้ เป็นพ่อต้องผิดหวัง ชนิดที่ไม่สามารถตอบตัวเองได้ว่า ท�ำไม คนเรียนหนังสือเก่งที่สุดในโรงเรียนจึงสอบไม่ติดเฉกเช่นเพื่อน คนอื่นซึ่งเรียนสู้เขาไม่ได้แม้แต่น้อย
“คุณพ่อเสียใจมากครับ แต่ท่านไม่ได้เอ่ยต�ำหนิใดใด นั่งรถเมล์กลับ บขส.ขึ้นรถเที่ยวสุดท้าย กว่าจะถึงระยองเกือบ รุ่งสาง ท่านร้องไห้ เพราะว่ามันคือความหวังเดียวที่จะท�ำให้ เด็กต่างจังหวัดอย่างเรามีโอกาส ผมก็ร้องไห้ ผมเสียใจที่ท�ำให้ พ่อแม่ผิดหวัง สุดท้ายพ่อแม่ตัดสินใจว่าเอาผมกลับบ้านดีกว่า ผมก็กลับมาเรียนโรงเรียนระยองวิทยาคมอย่างเดิม เรียนอย่าง สบายไร้ความกดดัน เตะฟุตบอลทุกวัน แล้วก็สอบได้ที่หนึ่งของ โรงเรียนเหมือนเดิม” มาตรว่าความผิดหวังเป็นดาบสองคม คมหนึ่งฆ่าท�ำลาย ความหวังจนพังสิ้น อีกคมหนึ่งเหมือนท่อนฟืนที่พร้อมโหมกอง ไฟให้ลุกโชนขึ้นมาอีกครั้ง 15
issue 128 SEPTEMBER 2018
16 IS AM ARE www.fosef.org
ลาดกระบั ง เบ้ า หลอมชี วิ ต เลื อ กเอง แม้จะมีพรสวรรค์ด้านการเรียนติดตัวมาบ้าง แต่เมื่อ จากบ้านมาเรียนที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบั ง ตามโครงการโควตาช้ า งเผื อ กซึ่ ง ให้ สิ ท ธิ นั ก เรี ย น อั น ดั บ หนึ่ ง และอั น ดั บ สองของจั ง หวั ด ได้ มี สิ ท ธิ เข้ า สั ม ภาษณ์ เพื่อเข้าเรียนโดยไม่ต้องสอบแข่งขัน จากครอบครัวที่เคยให้ ความอบอุ่นดูแลใส่ใจในทุกด้าน เอ้มาอาศัยอยู่หอพักนักศึกษา เช่นเดียวกับเด็กต่างจังหวัดทั่วไปที่ต้องดูแลตัวเอง และท�ำความ รู้จักกับอิสระใหม่ซึ่งห่างไกลสายตาพ่อแม่ กระทั่งสามารถท�ำ อะไรก็ได้โดยไม่ต้องปรึกษาผู้ปกครอง
ขณะที่ นั ก ศึ กษาหลายคนมองว่า เป็ นรายวิชาเสริมซึ่ง ไม่ มีค วามส� ำ คั ญมากนั ก คนที่ ข ยั น เรี ย นก็ มัก จะเอาการบ้า น รายวิชาอื่นขึ้นมาท�ำในชั่วโมงรายวิชานี้ บางคนก็แปรสภาพเป็น ชั่วโมงพักผ่อนหลับนอนในที่สุด แต่ส�ำหรับเอ้ นักศึกษาที่อยู่ใน เกณฑ์ถูกรีไทร์เพราะเกรดเฉลี่ยในเทอมสองยังไม่ถึง 2.00 มัน ส�ำคัญมาก มีบางอย่างกระตุ้นให้เขาสนใจในความส�ำเร็จของ วิทยากรทุกคนที่มาแนะน�ำแนวทาง เอ้นั่งฟังอยู่แถวหน้าด้วย ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง เปรียบเสมือนเรือน้อยที่มองเห็นแสง ไฟเล็ก ๆ ลิบลับจากประภาคารส่องน�ำให้เขาเห็นทิศทางที่จะ กางใบต่อไป จากรายวิชาดังกล่าว ท�ำให้เขาเขียนบรรยายข้อสอบ ด้วยความสนุกสนาน เอ้จดจ�ำสิ่งที่วิทยากรพูดได้ทุกคน จน ท�ำให้ข้อสอบวิชานั้นกลายเป็นของง่ายส�ำหรับเขา ส่งผลให้เขา ได้เกรดเอ ต่อลมหายใจเกรดเฉลี่ยโดยรวมขยับขึ้นมาเป็น 2.07 รอดพ้นจากการถูกรีไทร์ ความหวังของเอ้อาจเพียงแค่รอดพ้นจากการถูกรีไทร์ แต่ความหวังของผู้เป็นพ่อคือการเห็นลูกเรียนได้เกียรตินิยม สภาวะสวนทางกันนี้ปรากฏขึ้นเมื่อเอ้เดินทางกลับบ้านที่ต่าง จังหวัด ค�ำแรกที่ได้ยินจากพ่อคือ “พ่อพาเด็กไปท�ำจิตอาสา ที่ วั ด เจ้ า อาวาสขอดู ด วง ท่ า นดู ด วงของลู ก ไว้ ว ่ า จะเรี ย นได้ เกียรตินิยม” ใบหน้าของพ่อเต็มไปด้วยความปีติที่เห็นลูกชาย กลับมาเยี่ยมบ้าน แม้จะไปรอรับลูกชายที่ท่ารถตั้งแต่ 9 โมงเช้า กว่าจะพบหน้าลูกชาย 5 โมงเย็นก็ตาม เป็นความเสมอต้นเสมอ ปลายที่เอ้ได้รับจากครอบครัวตลอดมา อีกฟากของปลายทางความรู้สึก เอ้กลับห่อเหี่ยวและ แอบผิดหวังที่ท�ำให้พ่อเสียใจ เพราะผลการเรียนที่แท้จริงของเขา อยู่ในระดับไม่ถูกรีไทร์เท่านั้น “พ่อรู้ไหมว่าเทอมนี้ได้เกรดเฉลี่ย เท่าไหร่ 2.07 จะได้เกียรตินิยมได้ยังไง” สิ้นเสียงของลูกชาย ใบหน้าปีติของพ่อพลันกลับซ่อนความผิดหวังร้าวลึก แม้เพียง แวบเดียวที่ตาเห็น แต่มันก็ท�ำให้เอ้สะเทือนและรู้สึกถึงความ ผิดหวังจากผู้เป็นพ่ออย่างเต็มเปี่ยม อย่างไรก็ตาม สิ่งที่พ่อยังไม่ทราบคือ เอ้มีบุคคลตัวอย่าง ที่เป็นแรงบันดาลใจของเขาแล้ว จากการเรียนวิชา Communication บุคคลนั้นคือ ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ผู้ได้ชื่อว่า “บิดาอีเลิร์นนิ่งไทย (Father of Thai E-learning)” ซึ่งท่าน ถูกขนานนามว่าเป็น “บิดาอินเทอร์เน็ตไทย” ผู้มีความรู้ความ ช� ำ นาญในด้ า นการศึ ก ษา ด้ า นธุ ร กิ จ ด้ า นราชการและด้ า น สมาคมวิชาการ “ผมประทับใจ ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ท่านเคยเป็น ผู้บริหารของเอแบค ท่านเป็นศาสตราจารย์ตั้งแต่อายุยังน้อย
ใบหน้ า ของพ่ อ เต็ ม ไปด้ ว ยความปี ติ ที่ เ ห็ น ลู ก ชาย กลั บ มาเยี่ ย มบ้ า น แม้ จ ะไปรอรั บ ลู ก ชายที่ ท ่ า รถ ตั้ ง แต่ 9 โมงเช้ า กว่ า จะพบหน้ า ลู ก ชาย 5 โมง เย็ น ก็ ต าม เป็ น ความเสมอต้ น เสมอปลายที่ เ อ้ ไ ด้ รั บ จากครอบครั ว ตลอดมา เอ้เลือกเรียนคณะวิศวโยธา เขาโดดเข้าร่วมกิจกรรม ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย กระทั่งเป็นประธานนักศึกษา เป็น นั ก กี ฬ าและนั ก กิ จ กรรมตั ว ยง ทว่ า กลั บ สวนทางกั บ ผลการ เรียนของเขาซึ่งตกต�่ำลงจนอยู่ในเกณฑ์ถูกรีไทร์หรือไล่ออกจาก มหาวิทยาลัย“เกรดเฉลี่ยออกมาเทอมแรกผมได้ 2.75 กลาย เป็นฮีโร่ในหมู่เพื่อน เพราะเพื่อนถูกรีไทร์กันหมดเลย แสดงว่า เราสมองดี เพราะไม่ได้เข้าเรียนเลย พอเทอมสองเราก็ท�ำนิสัย เหมือนเดิม ไม่เข้าเรียนเหมือนเดิม พอผลการเรียนออกมามีแต่ เกรด D, D+, C, C+ ดูแล้วถูกรีไทร์แน่นอน ผมมานั่งบนบันได ขึ้นตึก เพื่อนที่ทราบก็มาตบบ่าปลอบเราว่า ถึงเอ้ไม่ได้เรียนที่นี่ ยังไงเราก็เป็นเพื่อนกันนะ” ดูเหมือนชีวิตเอ้ก�ำลังประสบกับความผิดหวังซึ่งยืนแสยะ ยิ้มรออยู่ข้างหน้าอีกครั้ง เกิดอะไรขึ้นกับพรสวรรค์ด้านการเรียน ไร้เทียมทานของเขา เรือน้อยที่ก�ำลังมองหาประภาคารอยู่กลาง ทะเลก�ำลังจะจมเพราะขาดบางสิ่งบางอย่างมาคอยชี้น�ำทาง เอ้มองย้อนไปแล้วกล่าวว่า “ปาฏิหาริย์มีจริง” เพราะในความ เพียบพร้อมของเขา ขาดอยู่สิ่งเดียวคือ “แรงบันดาลใจ” และ มันเกิดขึ้นในวิชา Communication ซึ่งทางมหาวิทยาลัยใน ยุคนั้นต้องการสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักศึกษาเข้าใหม่ทุกคน ให้มีความฝันทะยานไปบนเส้นทางที่ตนเองวาดหวัง ด้วยการ เชิญผู้ประสบความส�ำเร็จในชีวิตด้านต่าง ๆ มาชี้น�ำแนวทาง แก่นักศึกษา 17
issue 128 SEPTEMBER 2018
จบวิศวะจุฬาฯ ท่านเรียนวิศวโยธาเหมือนผม จบที่ MIT และ เรียนปริญญาเอกที่จอร์เจีย จากนั้นท่านเป็นโปรเฟสเซอร์ที่ แคนาดาตั้งแต่อายุน้อย ผมชอบท่านเพราะผมอยากจะเป็น ดอกเตอร์ อยากจะเป็นศาสตราจารย์ แล้วท่านก็แต่งตัววัยรุ่น ชอบใส่รองเท้าสีขาว แต่งตัวทันสมัย ใจดี ผมอยากเป็นเหมือน ท่าน อยากเรียนในมหาวิทยาลัยดัง ๆ อย่างนั้น” หลังจากนั้นมาเอ้ก็กลับมามีเป้าหมายในตัวเองอีกครั้ง เขาใช้พรสวรรค์ของตัวเองอย่างถูกทาง ภาพสีหน้าอันผิดหวัง อย่างเงียบ ๆ แต่ไม่เคยกล่าวต�ำหนิลูกแม้แต่น้อยของพ่อยังคง ชัดเจนอยู่ในความทรงจ�ำของเขา ย�้ำเตือนให้เขามุ่งมั่นในการ เรียน รับผิดชอบโอกาสที่ครอบครัวได้ทุ่มเทให้พร้อมกับแรง บันดาลใจส่วนตัวที่เขาได้จากการเรียน ส่งผลให้เกรดเฉลี่ยใน
โนเบลถึง 81 คน เป็นมหาวิทยาลัยที่เข้ายากที่สุดแห่งหนึ่งใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนานทีจะมีคนไทยได้รับเลือกเข้าไป เรียนสักคนหนึ่ง และสิ่งที่เอ้บอกกับพ่อนั้นใครก็ต่างทราบดีว่า “มันไกลเกินเอื้อม” แต่แทนที่พ่อจะบอกว่ามันไกลเกินเอื้อม กลับบอกลูกชายว่า “ถ้าเอ้ตั้งใจเรียน มีความมุมานะ เอ้ต้องได้ ไปเรียนที่นี่แน่” นี่คือสิ่งที่เอ้สังเกตเห็นชัดเจนว่า พ่อแม่ของตนมีแต่สร้าง ก�ำลังใจให้ลูก เชื่อว่าทุกอย่างเป็นไปได้ มันท�ำให้เขามีพลังมานะ เขาเริ่มมองหาทางว่า ท�ำยังไงถึงจะได้เข้าที่เรียน MIT และพบว่า สิ่งแรกที่ต้องมีคือ “ผลงาน” แน่นอนว่าผลงานธรรมดาดาษดื่นเหมือนเช่นความคิด คนทั่วไปย่อมไม่ได้รับการยอมรับพิจารณาจากมหาวิทยาลัย ที่เข้ายากที่สุดในสหรัฐอเมริกา ในโปรเจกต์จบปี 4 วิศวโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เอ้ และทีมเพื่อนอีกสองคนจึงเลือกที่จะ “ออกแบบอุโมงค์รถไฟฟ้า ใต้ดินเส้นแรกของประเทศไทย” นั่นคือความคิดของคนอายุราว ยี่สิบปีซึ่งไม่มีใครในรุ่นเดียวกันเคยคิดหรือกล้าคิดมาก่อน เขา และทีมรวบรวมข้อมูลด้านวิศวกรรมทั้งหมดที่ประเทศไทยมี เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการออกแบบจนส�ำเร็จเป็นโปรเจกต์ส่ง อาจารย์ก่อนเรียนจบระดับปริญญาตรี จากโปรเจกต์นี้เองท�ำให้ เขาได้เกรดเออีกด้วย
ผมจ� ำ ค� ำ ของคุ ณ พ่ อ คุ ณ แม่ ไ ด้ เ สมอ ‘ท� ำ ได้ ลู ก ลู ก ท� ำ ได้ ’ มั น เป็ น แรงบั น ดาลใจให้ ผ มไม่ รู ้ จั ก ยอมแพ้ ฮึ ด สู ้ ผมต้ อ งสอบโทเฟล 14 ครั้ ง มั น ทรมารแค่ ไหน คนอื่ น เขาสอบกั น ครั้ ง สองครั้ ง เขาก็ ผ ่ า นหมด แล้ ว
เทอมต่อมาของเอ้ไม่เคยต�่ำกว่า 3.5 ท�ำให้เขาคว้าเกียรตินิยม วิ ศ วโยธา สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบังได้ส�ำเร็จ ลบล้างสีหน้าอันผิดหวังของพ่อในวันที่เขา เกเรจนหมดสิ้น อนึ่ง ใครจะทราบว่า หมอดูที่พ่อพูดถึงในวันนั้น อาจ เป็นจิตวิทยาอย่างหนึ่งที่ผู้เป็นพ่อใช้ในการกระตุ้นลูกชายหัว แก้วหัวแหวนก็เป็นได้ ท� ำ ยั ง ไงถึ ง จะได้ เ รี ย นมหาวิ ท ยาลั ย อั น ดั บ หนึ่ ง ของ โลก: MIT “วั น หนึ่ ง ผมจะไปเรี ย นที่ MIT เหมื อ นกั บ คุ ณ ลุ ง ท่านนี้ครับพ่อ” เอ้เปิดเอกสารที่พ่อได้รับแจกมาจากงานแห่ง หนึ่ง ภายในปรากฏรูปและประวัติย่อของ ดร.เชาวน์ ณศีลวันต์ องคมนตรีสมัยรัชกาลที่ 9 ท่านจบปริญญาเอกที่ Massachusetts Institute of Technology(MIT) และก้าวสู่ต�ำแหน่ง องคมนตรีตั้งแต่อายุ 47 ปีเท่านั้น Massachusetts Institute of Technology(MIT) เป็น มหาวิทยาลัยที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นเลิศที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง ในปี ค.ศ.2014 มีบุคคลเกี่ยวเนื่องกับมหาวิทยาลัยได้รับรางวัล
กำ�ลังใจสำ�คัญมาก จากคุณแม่
18 IS AM ARE www.fosef.org
“ท่านผู้ว่าครับ” เอ้เปิดประโยคเข้าเรื่องทันทีเพื่อไม่ให้ เสียโอกาส “ประเทศไทยจ�ำเป็นต้องมีระบบรถไฟฟ้าใต้ดินเพื่อ แก้ปัญหาจราจรครับ แต่ปัจจุบันไม่มีใครที่เรียนจบทางด้านนี้เลย การก่อสร้างอุโมงค์ในดินอ่อน ผมขออาสาเป็นคนไทยคนแรกที่ จะไปเรียนแล้วกลับมาท�ำรถไฟฟ้าใต้ดินครับ” “เหรอ เรียนที่ไหน” ท่านผู้ว่าฯสนใจ “ที่มหาวิทยาลัยเดียวกับท่านครับ”ค�ำตอบของเอ้ท�ำให้ การสนทนาด�ำเนินต่อไปด้วยความภาคภูมิใจของทั้งสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งเป็นศิษย์เก่า MIT อีกฝ่ายหนึ่งเป็นรุ่นน้องที่ก�ำลังจะ ก้าวเข้าไปเรียนตามรอยรุ่นพี่ และมันท�ำให้การเซ็นใบรับรอง ให้เอ้เป็นไปอย่างราบรื่น มาตรว่า ไหวพริบปฏิภาณสร้างโอกาสให้คนมากมาย ขณะเดียวกัน ค�ำพูดค�ำเดียวก็ท�ำลายทุกสิ่งทุกอย่างได้ ไม่ ไ ด้ ม าง่ า ยดายอย่ า งที่ คิ ด เอ้กอดเก็บใบรับรองจากผู้ว่าฯ ประหนึ่งของมีค่ากว่า อื่นใด แต่สิ่งส�ำคัญที่เขายังต้องมีอีกอย่างคือจดหมายแนะน�ำ ตัว 300 ค�ำ เป็นความเรียงภาษาอังกฤษ ซึ่งภาษาอังกฤษเป็น สิ่งเดียวที่เอ้ยอมรับกับตัวเองว่า “อ่อนมาก” เขาสมัครเรียน โรงเรียนกวดวิชาภาษาอังกฤษ เพื่อจะสอบโทเฟลให้ผ่าน สอบ ซ�้ำแล้วซ�้ำเล่าก็ไม่มีวี่แววว่าจะผ่านสักครั้ง หากเป็นคนอื่นอาจ ถอดใจกับทางเส้นนี้ไปนานแล้ว แต่ส�ำหรับเอ้ ถ้ามันจะต้อง สอบอีกยี่สิบครั้ง เขาก็พร้อมจะท�ำเพื่อเสริมจุดอ่อนของตัวเอง และมุ่งไปยังทางที่เลือก “ผมจ�ำค�ำของคุณพ่อคุณแม่ได้เสมอ ‘ท�ำได้ลูกลูกท�ำได้’ มันเป็นแรงบันดาลใจให้ผมไม่รู้จักยอมแพ้ ฮึดสู้ ผมต้องสอบ โทเฟล 14 ครั้ง มันทรมารแค่ไหน คนอื่นเขาสอบกันครั้งสอง ครั้งเขาก็ผ่านหมดแล้ว ผมต้องย้ายหอพักไปนอนอยู่ตรงข้าม โรงเรียนกวดวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนอาจารย์สงวนสมัยก่อน ความอดทนพยายามเหล่านี้มาจากพลังใจจากพ่อแม่ นึกขึ้นมา เมื่อไหร่ก็ท�ำให้เราฮึดสู้ทุกที”
“ยังไม่พอ เราต้องท�ำให้เกิดขึ้นจริง” เอ้บอกกับเพื่อน ที่ร่วมกันออกแบบ สิ่งที่เขาจะท�ำต่อไปคือเอางานออกแบบนี้ ไปเสนอให้ผู้ว่าฯ กทม.ศาสตราจารย์กิตติคุณ ร้อยเอก กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ผู้เป็นหนึ่งในคนที่เรียนจบจาก MIT เช่นกัน แต่สิ่งเดี่ยวที่เอ้ยังไม่ทราบในตอนนั้นคือ ไม่เคยมีเด็กจบใหม่ คนไหนกล้าลุกขึ้นมาน�ำเสนอแนวคิดตัวเองต่อผู้ว่าฯ กทม.เพื่อ แลกกับใบรับรองจากประเทศไทยเพื่อประกอบการสมัครเข้า เรียนมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งของโลก แต่สิ่งที่เอ้ท�ำการบ้านมา ก็คือ เขาทราบมาตลอดว่าผู้ว่าฯ ท่านนี้ก็จบมาจาก MIT เมื่อ ได้โอกาสเขาจึงเข้าพบพร้อมกับ รศ.ดร.ประกิจ ตังติสานนท์ ซึ่งขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะวิศวะ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ภายในห้องท�ำงานโอ่โถง รศ.ดร.ประกิจ ตังติสานนท์ เริ่มบทสนทนาเปิดทางให้ลูกศิษย์ของท่านว่า “ท่านผู้ว่าครับ นักศึกษาของเราออกแบบรถไฟฟ้าใต้ดินมามอบให้ครับ” “ดี ม ากครั บ เดี๋ ย วจะเอาไปมอบให้ กั บ รองผู ้ ว ่ า พิจารณาดู ขอบคุณนะครับ” ท่านผู้ว่ากล่าว พร้อมท�ำท่าจะ ลาไปท�ำธุระอย่างอื่น ขณะเดียวกันเอ้ทราบดีว่าการเข้าพบผู้ ว่าฯ ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะเขามารอเข้าพบที่หน้าห้องผู้ว่าฯ กว่า สองสัปดาห์แล้ว จนเจ้าหน้าที่หน้าห้องเห็นใจอนุญาตให้เข้าพบ 19
issue 128 SEPTEMBER 2018
หนึ่งในคนสร้างรถไฟฟ้าใต้ดินเส้นแรกได้ส�ำเร็จ และเส้นที่ลอด ใต้แม่น�้ำเจ้าพระยาผมก็เป็นคนออกแบบทั้งเส้น ระหว่างที่เรียน MIT ท่านอาจารย์ประกิจ ตังติสานนท์ ท่านเป็นอธิการบดีแล้ว ท่านบอกว่า เอ้กลับมาช่วยที่มหาวิทยาลัยเถอะ ผมก็กลับมา ช่วย กลับมาตอนอายุสามสิบ ท่านให้เป็นผู้ช่วยอธิการบดี ถือ เป็นผู้ช่วยอธิการบดีที่อายุน้อยที่สุดในประเทศไทย ผมเป็นคน ไทยคนเดียวที่จบทั้ง 2 สาขา จาก MIT ทั้งวิศวโยธาและสิ่ง แวดล้อม และ จบบริหารนโยบายและเทคโนโลยี คือผมต้อง เรียนเพิ่มครับ เพราะระหว่างที่มาขุดอุโมงค์ กลับไปก็พบว่า วิศวะอย่างเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาสังคมและประเทศได้ ต้อง มีความรู้ด้านสังคมด้วย”
มูฮัมหมัด ยูนูส นายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาว บังกลาเทศผู้ริเริ่มและพัฒนาแนวคิด “ไมโครเครดิต” เจ้าของ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ เคยกล่าวไว้ว่า “คนเราเหมือนเป็น ตะเกียงวิเศษ ข้างในมีตัวจินนี่ มียักษ์วิเศษออกมา เพียงแต่จะ ออกมายังไงเท่านั้นเอง” เป็นความจริงที่เอ้ได้ทดสอบด้วยตัวเขา เองแล้ว และเขาก็เชื่อว่าทุกคนมียักษ์วิเศษอยู่ในตัวเองจริง ๆ และสิ่งที่จะท�ำให้ยักษ์วิเศษของเราออกมาได้ก็คือ ความพยายาม อันไม่มีขีดจ�ำกัด จนท�ำให้เขาสอบผ่านโทเฟลได้ในที่สุด หลังจากนั้นเขาจึงเริ่มเขียนจดหมายแนะน�ำตัวเอง 300 ค�ำ โดยมีใจความประมาณนี้ “ผมโหนรถเมล์จากบ้าน ผมอยู่กับคุณลุงที่ย่านเกษตร มาที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังใช้ เวลาเดินทางสองชั่วโมงครึ่ง ขากลับอีกสองชั่วโมงครึ่ง ระหว่าง นั้นผมมองออกนอกหน้าต่างสมัยก่อนประเทศไทยเขาเรียกว่า สยามเมืองยิ้ม หรือแลนด์ออฟสมายด์ ผมมองออกไปแล้วไม่ เห็นมีรอยยิ้มเลย ผู้คนหน้าตาบูดบึ้ง หงุดหงิด เพราะรถมันติด นี่คือสิ่งที่ผมเห็นอยู่ทุกวัน ในฐานะประธานนักศึกษา ออกค่าย ช่วยคนมาตั้งเยอะ ในฐานะเด็กวิศวโยธาผมจึงพยายามหาทาง ช่วยแก้ไข ระดมความคิดกับเพื่อนอีกสองคน ท�ำโปรเจกต์อุโมงค์ รถไฟฟ้ าใต้ ดิ น เส้ น แรกของเมืองไทย เพื่อท�ำโครงการขนส่ ง มวลชนตั้งแต่ยังไม่มีรถไฟฟ้าบีทีเอส แล้วก็คิดว่าจะขอไปเรียนที่ MIT เพราะผู้ที่เรียนจบจากที่นี่เคยลงดวงจันทร์ก็มีมาแล้ว เป็น ผู้น�ำประเทศก็มีแล้ว มีคนประสบความส�ำเร็จเยอะแยะมากมาย แต่ผมไม่ขอเป็นขนาดนั้นผมขอไปเรียนเพื่อเอาความรู้มาท�ำ รถไฟฟ้าใต้ดินเส้นแรก และน�ำรอยยิ้มกลับสู่คนกรุงเทพฯให้ได้” ที่สุดชื่อของ สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ก็เป็นหนึ่งในคนไทย ที่จบจาก MIT และเป็นคนเดียวที่จบทั้งสองคณะสาขา ได้แก่ คณะวิศวโยธาและสิ่งแวดล้อม และ คณะบริหารนโยบายและ เทคโนโลยี และเขาก็กลับมาร่วมเป็นหนึ่งในทีมสร้างอุโมงค์ รถไฟฟ้าใต้ดินเส้นแรกตามที่ตั้งใจไว้ได้ส�ำเร็จ “ผมได้ไปเรียนที่ MIT แล้วก็กลับมาช่วยโครงการแรก ระหว่างที่เรียนอยู่ อาจารย์เขียนชื่อผมที่สถานีหัวล�ำโพง เป็น
ไม่ มี ค� ำ ว่ า ค่ อ ยเป็ น ค่ อ ยไปในพจนานุ ก รมชี วิ ต น้อง ๆ เยาวชนจะเห็นได้ว่า ที่จริงแล้วบุคคลระดับโลก หรือคนที่จะเปลี่ยนโลกไม่ใช่คนที่วิเศษมาจากไหน หากผ่าน ความผิดหวังความบอบช�้ำของชีวิตมามากมาย แต่สิ่งที่คนเหล่า นั้นไม่มีวันยอมทิ้งไปจากคุณสมบัติของตนเองคือ “ความเพียร ความอดทน” เช่นเดียวกับพี่เอ้ เขาสามารถเลือกอาชีพในชีวิต นี้ได้มากมาย ไม่จ�ำกัดว่าจะต้องเป็นอธิการบดี แต่สิ่งเดียวที่เขา หันมารับหน้าที่นี้ก็เพราะว่า ลาดกระบังเปรียบเสมือนบ้านและ ครอบครัวของเขา ครูอาจารย์ที่เคารพรักและหล่อหลอมเขามา ล้วนอยู่ในที่แห่งนี้ และจุดยืนส�ำคัญในบทบาทอธิการบดีของเขา 20
IS AM ARE www.fosef.org
ในวันนี้คือ “ไม่มีค�ำว่าค่อยเป็นค่อยไปในพจนานุกรมชีวิต”พี่เอ้ อธิบายว่า โลกวันนี้มัวรอไม่ได้ เพราะวันนี้ยุคเทคโนโลยี เราไม่ สามารถทราบได้ว่าคู่แข่งของเราคือใคร ดังนั้น ใครคิดก่อน ท�ำ ก่อน ส�ำเร็จก่อน “ลองคิดดูว่าโทรศัพท์แบล็คเบอร์รี่ กับ แอพพลิเคชั่น ไลน์เขาไม่ได้เป็นศัตรูกัน แต่พอไลน์ท�ำเสร็จมีสติ๊กเกอร์ส่งฟรี แบล็คเบอร์รี่เจ๊งเลย สตีฟจ๊อบส์ไม่ได้เป็นศัตรูกับโนเกีย แต่พอ คิดไอโฟนขึ้นมา โนเกียเจ๊งเลย เขาไม่ได้ไปท�ำร้ายอะไรกันนะ เห็นไหม บริษัทโกดักไม่ได้ทะเลาะกับกล้องดิจิทัลแต่พอ กล้อง ดิจิทัลออกมาโกดักเจ๊งเลย เดี๋ยวนี้ค�ำว่าศัตรูมันบอกไม่ได้แล้ว ครับ บางคนต้องขายบ้านขายช่อง ขายบริษัททิ้งเลย ฉะนั้นมัน ใจเย็นไม่ได้ครับ ต้องสู้ ต้องเร็ว” ท้ายนี้ จากประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์เรียนหนังสือ ประสบการณ์การท�ำงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่ง ผลให้พี่เอ้ก้าวขึ้นสู่ต�ำแหน่งอธิการบดีด้วยวัยเพียง 43 ปี เป็น คนแรกและคนเดียวที่ด�ำรงต�ำแหน่งด้วยอายุน้อยที่สุดเท่าที่ ประเทศไทยเคยมีมา และคุณสมบัติที่เขายอมรับว่ามีอยู่ในตัว เขาเองคือ “อดทน เพียรพยายาม” อันเปรียบเสมือนคาถา ความส�ำเร็จแห่งชีวิต ดังค�ำที่เขาเชื่ออยู่เสมอว่า “อย่าให้อะไร มาจ�ำกัดชีวิตเรา”
พี่ เ อ้ ฝ ากถึ ง น้ อ ง ๆ เยาวชน : ผมอยากให้ก�ำลังใจน้อง ๆ ทุกคน คนเราเลือกเกิดไม่ ได้ บางครั้งเราอาจจะมีครอบครัวที่ไม่สมบูรณ์ อาจจะมีฐานะ ที่ไม่ดี อาจจะอยู่โรงเรียนที่ไม่ได้มีโอกาสเหมือนโรงเรียนดัง ๆ แต่เรื่องพวกนี้อย่าให้มาจ�ำกัดชีวิตของเรา เพราะมีคนจ�ำนวน อีกไม่น้อยที่เริ่มต้นล�ำบากกว่าเราด้วยซ�้ำ สุดท้ายเขาก็สามารถ ประสบความส�ำเร็จในชีวิต เป็นบุคคลส�ำคัญที่ช่วยเหลือประเทศ ชาติได้มากมาย เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ได้มีคนเดียวหรอก ยังมี คนอีกมหาศาล : อยากให้น้อง ๆ เอาพลังที่เราไม่ค่อยมีโอกาส พลังที่เรา เสียโอกาส อย่าเอามาเป็นพลังลบ เอามาเป็นพลังบวก ผลักดัน ให้เราต่อสู้มากยิ่งขึ้น เหนื่อยมากยิ่งขึ้น พระเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นธรรมกับทุกคน ถ้าเกิดไม่ได้ให้สิ่งนี้เรา ก็ต้องให้สิ่งอื่นเรา มา เราอาจจะไม่ได้ร�่ำรวยแต่เราอาจจะแข็งแรง เพราะฉะนั้น เราอาจจะไม่มีทักษะบางอย่าง แต่เรากลับมีทักษะบางอย่างซึ่ง วิเศษมากก็ได้ มันเท่าเทียม ขอให้น้องๆ ค้นพบพลังวิเศษนี้ของ ตัวเอง และพี่เอ้เชื่อว่าทุกคนมีพลังวิเศษของตัวเอง มุ่งมั่นไปแล้ว อย่าท้อ แพ้แล้วก็สู้อย่างพี่เอ้สอบโทเฟลตั้งสิบสี่ครั้ง : อยากให้ทุกคนคิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างดีหมด ครูสอน ภาษาอังกฤษก็ยังเป็นคนที่รวยที่สุดได้ อย่างแจ๊ค หม่า ฉะนั้น ทุกอาชีพมีความวิเศษของมันในตัว ค้นหาให้เจอแล้วภูมิใจใน อาชีพนั้น ไม่มีวิชาชีพใดด้อยกว่ากัน ฟลอเรนซ์ ไนติงเกล เป็น พยาบาล แต่อาจจะดังกว่าหมอทุกคนบนโลกเลย อัลเบิร์ต ไอน์ส ไตน์ เป็นนักวิทยาศาสตร์แต่ก็ดังกว่าวิศวะทุกคนบนโลกนี้ ฉะนั้น จงภูมิในกับสิ่งที่ตัวเองวาดฝันไว้ จงภูมิใจในสาขาที่ตัวเองเป็น แล้วจะประสบความส�ำเร็จทุกอย่างครับ. ศาสตราจารย์ ดร.สุ ชั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ์ อธิ ก ารบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กล่าว ทิ้งท้ายด้วยรอยยิ้ม “ขอให้น้อง ๆ เลือกเรียนในสิ่งที่ตัวเองชอบ จริง ๆ” 21
issue 128 SEPTEMBER 2018
22 IS AM ARE www.fosef.org
Cartoon
23 issue 128 SEPTEMBER 2018
24 IS AM ARE www.fosef.org
25 issue 128 SEPTEMBER 2018
ความเฉยชาของคนเมือง
คือสิ่งที่ฉือจี้ต้องเยียวยาด้วยความรัก
ในปี พ.ศ.2509 สองเดือนหลังจากก่อตั้งมูลนิธิพุทธฉือจี้ ขึ้น ท่านธรรมาจารย์เจิ้งเอี๋ยนน�ำเหล่าลูกศิษย์ยื่นมือเข้าให้ความ ช่วยเหลือคุณยายหลินวัย 85 ปี ซึ่งก�ำลังล้มป่วยและอาศัยอยู่ เพียงล�ำพัง ท่านเป็นชาวฮกเกี้ยน ที่อพยพตามสามีมาไต้หวัน ตั้งแต่อายุยังน้อย หลั ง จากสามี เ สี ย ชี วิ ต ลง จึ ง อาศั ย อยู ่ ใ นไต้ ห วั น เพี ย ง ล�ำพัง เคยรับบุตรบุญธรรมมาเลี้ยงดู แต่เขาล่วงลับไปก่อน ต่อ มาจึงเลี้ยงดูหลานสาวหวังให้เป็นที่พึ่งพิง แต่หลานสาวกลับไม่ เคยมาเหลียวแล เมื่อแก่ชราลง ร่างกายจึงร่วงโรยไปตามกาล เวลา มีโรคภัยไข้เจ็บ ต้องอดมื้อกินมื้อโดยไร้คนช่วยเหลือ เป็น ภาพที่แสดงให้เห็นถึงความเฉยชาของคนเมือง ในตอนนั้น ฉือจี้ใช้เงินสงเคราะห์ 300 หยวน ว่าจ้างคน ให้มาช่วยหุงหาอาหาร ซักเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มและดูแลความเป็น อยู่ของคุณยาย เมื่อล้มป่วยก็พาไปหาหมอรักษาตัว จนกระทั่ง คุณยายเสียชีวิตในปี พ.ศ.2513 ถือเป็นเคสแรกที่ได้ช่วยเหลือ ชีวิตคน เป็นเชื้อไฟให้มุ่งมั่นมอบความรักแก่เพื่อนมนุษย์ตราบ จนปัจจุบัน
“ควรปฏิบัติต่อสรรพสัตว์ด้วยเมตตาจิตและส�ำนึกอยู่ ตลอดเวลาว่า ‘หากเราไม่ ช ่ ว ยพวกเขา แล้ ว ใครเล่ า จะช่ ว ย’ ถ้ า เรา ปฏิ บั ติ ไ ด้ เ ช่ น นี้ โ ลกที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยกิ เ ลสจะกลายเป็ น แดนสุ ข าวดี ทั น ที ” ธรรมาจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย น 26
IS AM ARE www.fosef.org
บนเส้ น ทางธรรมพุ ท ธฉื อ จี้ ตั ก บ า ต ร อ ย ่ า ถ า ม พ ร ะ ช ่ ว ย ค น อ ย ่ า ถ า ม ค ว า ม ต้ อ งการ จากกรณีคุณยายหลินซึ่งเป็นเคสแรก ฉือจี้จึงขยายผลมา ถึงปัจจุบัน ซึ่งมีสมาชิกทั่วโลกกว่า 10 ล้านคน และอาสาสมัคร ราว 1 ล้านคน ที่พร้อมจะยื่นมือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ มิได้ จ�ำกัดอยู่ในประเทศไต้หวันเท่านั้น หากพร้อมจะลงพื้นที่ทุกจุด บนโลก ทุกเชื้อชาติ ศาสนา ดังประสบการณ์ที่ผ่านมากว่า 60 ประเทศ รวมถึงประเทศไทยเมื่อครั้งเผชิญกับสึนามิ หรือแม้แต่ ประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งไม่เป็นที่ชื่นชอบของชาวไต้หวันมากนัก อาสาสมัครฉือจี้ก็ยังยื่นมือเข้าช่วยเมื่อคราวเกิดภัยจากพายุเฮอ ริเคนแคทริน่า ดังวาทะธรรม ธรรมจารย์เจิ้งเอี๋ยนที่ว่า “ใต้ ห ล้ า นี้ ไม่ มี ใ ครที่ ฉั น ไม่ รั ก ใต้ ห ล้ า นี้ ไม่ มี ใ ครที่ ฉั น ไม่ เ ชื่ อ ใจ ใต้ ห ล้ า นี้ ไม่ มี ใ ครที่ ฉั น ไม่ ใ ห้ อ ภั ย ใต้ ห ล้ า นี้ ไม่ มี ใ ครที่ ฉั น ให้ ทั้ ง สามสิ่ ง นี้ ไ ม่ ไ ด้ ” ปัจจุบันฉือจี้ขยายสาขาไปกว่า 40 ประเทศทั่วโลก
ใครก็ เ ป็ น พระโพธิ สั ต ว์ ไ ด้ “ฉือจี้ไม่ธรรมดาจริงๆ” อาจารย์อีกท่านหนึ่งในคณะ ทัวร์ศึกษาดูงานมูลนิธิพุทธฉือจี้หันมาพูดกับผู้เขียน หลังจาก ได้เห็นความยิ่งใหญ่ของสิ่งก่อสร้างและสถาปัตยกรรมต่างๆ เช่น โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย วัด โรงเรียน รวมถึงได้เห็นสิ่ง ต่างๆ ที่เจ้าหน้าที่ในมูลนิธิพุทธฉือจี้น�ำเสนอให้ดูเป็นแบบอย่าง ก็สัมผัสได้ว่า ฉือจี้ไม่ใช่องค์กรการกุศลธรรมดา หากก้าวไปถึง องค์กรระดับชาติ นอกจากนี้ คุณภาพของอาสาสมัครยังได้รับการยกย่อง ว่า อ่อนน้อมถ่อมตน มีน�้ำใจ และท�ำงานหนัก สังเกตจากการ ลงพื้นที่ พวกเขามักจะออกมาเป็นกลุ่มสุดท้ายเสมอ เพราะงาน ที่ท�ำต้องใช้เวลามาก เช่น ฟื้นฟูสภาพบ้านเรือนที่เสียหายจากภัย พิบัติ ก่อสร้างบ้านและโรงเรียน รวมถึงมัสยิด ทั้งยังอยู่ให้ก�ำลัง ใจผู้ตกทุกข์ได้ยากในพื้นที่ด้วยรอยยิ้มและมอบความรัก อาสา สมัครเหล่านี้ไม่มีเงินเดือน การเดินทางไปในที่ต่างๆ ต้องออก ค่าใช้จ่ายเอง ภายใต้ความเมตตาที่ชาวฉือจี้ให้ความหมายไว้ว่า “รักโดยไม่แบ่งแยก” และอุเบกขาที่พวกเขาให้ความหมายว่า “ให้โดยไม่หวังผล” 27 issue 128 SEPTEMBER 2018
28 IS AM ARE www.fosef.org
เราจะเห็นว่าอาสาสมัครนั้นไม่ใช่คนหนุ่มแต่อย่างใด กลับเป็นผู้มีอายุหลากหลายอาชีพ เช่น นักธุรกิจ แพทย์ ซีอีโอ กระทั่งบางคนเป็นเศรษฐีระดับร้อยล้านพันล้าน โดยอาสาสมัคร ทั้ ง หมดยึ ด แบบประพฤติ ดุ จ เดี ย วกั บ พระโพธิ สั ต ว์ ซึ่ ง เป็ น สัญลักษณ์ตัวแทนแห่งความเมตตากรุณาตามพระพุทธศาสนา สายมหายาน “ผู ้ ที่ ส ามารถช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น นั้ น เราเรี ย กว่ า พระโพธิ สั ต ว์ ถ้ า เราสามารถช่ ว ยเหลื อ ผู ้ อื่ น ได้ ห นึ่ ง วั น เราก็ จ ะเป็ น พระโพธิ สั ต ว์ ไ ด้ ห นึ่ ง วั น ” สถานี โ ทรทั ศ น์ ส ะอาด กั บ โรงงานแยกขยะสกปรก ต้าอ้าย มีความหมายว่า มหากรุณา ถูกน�ำมาเป็นชื่อ สถานีโทรทัศน์ของมูลนิธิพุทธฉือจี้ ช่องทีวีที่ชาวไต้หวันให้ความ ไว้วางใจ แน่นอนว่าการเปิดสถานีโทรทัศน์ย่อมต้องใช้ทุนสูง มาก ยิ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แนวคุณธรรม ไม่สนองกิเลสคนดูใน เรื่องเพศและความรุนแรงด้วยแล้ว แทบเป็นไปไม่ได้เลยที่จะ ยืนหยัดอยู่ได้ ค�ำถามก็คือ ต้าอ้ายอยู่ได้อย่างไร ? ค�ำตอบคือ โรงงานขยะรีไซเคิล ต้าอ้าย เป็นสถานีโทรทัศน์แนวคุณธรรม แม้จะมีการ รายงานข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ แต่จะเสนอและ วิเคราะห์ในแง่ของการส่งเสริมคุณธรรม ข่าวที่ส่งเสริมหรือสนอง กิเลสคนดูในเรื่องเพศและความรุนแรง ไม่ปรากฏในสถานีนี้เช่น เดียวกับโฆษณาที่ส่งเสริมบริโภคนิยม รายการที่ได้รับความนิยม มากคือละครที่ถอดมาจากชีวิตจริงของคนท�ำดี นอกจากนั้นยัง มีสารคดีชีวิตของ “โพธิสัตว์รากหญ้า” รายการเหล่านี้มีการ ถ่ายทอดผ่านดาวเทียมมายังเมืองไทยด้วย เพราะมีสมาชิกฉือ จี้อยู่ถึง 4,000 คน ต้าอ้าย ถือเป็นสถานี “ทางเลือก” โดยแท้ เพราะนายทุน เข้ามาควบคุมไม่ได้ รายได้ส่วนหนึ่งมาจากการรีไซเคิลขยะ ส่วน หนึ่งมาจากเงินบริจาคของสมาชิกฉือจี้ และอีกส่วนหนึ่งได้มา จากเงินบริจาคของบริษัทห้างร้านในรูปการอุปถัมภ์รายการ รายการของสถานีโทรทัศน์ต้าอ้ายแม้ไม่ได้มุ่งสนองความบันเทิง อย่างบ้านเรา แต่มีผู้ชมเยอะมาก เฉพาะสมาชิกของฉือจี้มีเกือบ 1 ใน 4 ของประเทศสมาชิกฉือจี้จ�ำนวนมากแทบไม่เปิดดูช่อง อื่นเลย เปรียบเทียบกันแล้ว เมืองไทยยังอยู่ห่างไกลนัก เรา เรียกตัวเองว่าเมืองพุทธ แต่รายการธรรมะมีคนดูน้อยมาก ไม่ ต้องพูดถึงช่องธรรมะ
ธรรมจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย น
29 issue 128 SEPTEMBER 2018
ต้ า อ้ า ย มี ค วามหมายว่ า มหากรุ ณ า ถู ก น� ำ มาเป็ น ชื่ อ สถานี โ ทรทั ศ น์ ข องมู ล นิ ธิ พุ ท ธฉื อ จี้ ช่ อ งที วี ที่ ชาวไต้ ห วั น ให้ ค วามไว้ ว างใจ แน่ น อนว่ า การเปิ ด สถานี โ ทรทั ศ น์ ย ่ อ มต้ อ งใช้ ทุ น สู ง มาก ยิ่ ง เป็ น สถานี โทรทั ศ น์ แ นวคุ ณ ธรรม ไม่ ส นองกิ เ ลสคนดู ใ นเรื่ อ ง เพศและความรุ น แรงด้ ว ยแล้ ว แทบเป็ น ไปไม่ ไ ด้ เ ลย ที่ จ ะยื น หยั ด อยู ่ ไ ด้
ฐานคือ แยกขยะกระดาษ แยกขยะพลาสติก แยกขยะที่เป็น ผ้า และแยกขยะที่เป็นโลหะ ขยะเหล่านี้เมื่อแยกแล้วก็น�ำไป รีไซเคิลหรือแปรรูปใหม่ ท�ำให้รู้ว่าขวดน�้ำเปล่า 20 ขวดสามารถ แปรเป็นเสื้อยืดได้ 1 ตัวหากเพิ่มเป็น 100 ขวดจะได้ผ้าห่มผืน ใหญ่ 1 ผืน โรงงานแยกขยะที่เห็นอาจไม่ใหญ่โต แต่มูลนิธิพุทธฉือจี้ มีโรงงานลักษณะนี้ถึง 5,000 แห่งทั่วประเทศ ท�ำงานกันตลอด ทั้งปี ไม่สามารถคาดได้ว่าช่วยพยุงสิ่งแวดล้อมได้มากเท่าใด แค่เฉพาะการรีไซเคิลกระดาษก็สามารถลดการตัดไม้ได้ถึงปี ละ 1 ล้านต้น ที่น่าชื่นชมคือ อาสาสมัครที่มาช่วยงานไม่มีค่า ที่ไทเป เมืองหลวงของไต้หวัน สถานที่ที่ซูเปอร์ครูทุก ตอบแทน แต่ละคนที่มามีฐานะดีอยู่แล้ว แม้ส่วนใหญ่จะเป็น ท่านไปศึกษาดูงานก็คือ “โรงงานแยกขยะ” หากพูดถึงโรงงาน ผู้สูงอายุ แต่พวกเขาไม่รังเกียจงานที่ถูกมองว่าต�่ำต้อย อีกทั้ง ภาพที่ เรานึ ก ถึ ง ก็ คื อ เครื่ อ งจั ก ร และก� ำ ลั ง การผลิ ต ที่ มั่ น คง พวกเขายังรู้สึกได้ท�ำประโยชน์ ดีกว่าอยู่บ้านเฉยๆ ไม่รู้สึกเป็น แน่นอน แต่โรงงานแยกขยะของมูลนิธิพุทธฉือจี้ที่เราเห็นกลับ ภาระลูกหลาน บางคนถึงกับแสดงความภูมิใจว่าตัวเองเป็นผู้สูง พบเพียงผู้สูงอายุนั่งท�ำงานกันอย่างเงียบๆ ประนีตบรรจงกับ อายุที่ยังมีคุณค่า การแยกชิ้นส่วนเล็กๆ ออกจากกันดุจการก�ำหนดอานาปานสติ ไกด์น�ำทางบอกกับเราว่า โรงงานแต่ละแห่งท�ำรายได้ บนเก้าอี้เก่าๆ ไม่มีการพูดคุยโหวกเหวกบ้างก�ำลังแยกกระดาษ หลายแสนบาทต่อปี บางแห่งรายได้สูงถึง 7 แสนบาท เมื่อรวม บ้างแยกขวดพลาสติก และบางส่วนช�ำแหละเครื่องใช้ไฟฟ้าออก กันจากทั่วประเทศ จะมีมูลค่าสูงถึง 3 พันล้านบาทต่อปี เงิน มาแยกขายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย เหล่านี้หล่อเลี้ยงสถานีโทรทัศน์ต้าอ้ายได้อย่างสบาย ประมาณ คณะซู เ ปอร์ ค รู ใ นมู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งได้ รั บ เชิ ญ การคือ 1 ใน 4 ของรายรับของสถานีโทรทัศน์ต้าอ้ายมาจาก ให้มีส่วนร่วมในการแยกขยะครั้งนี้ โดยจัดการกับวัสดุทั้ง 4 ขยะรีไซเคิล 30 IS AM ARE www.fosef.org
โรงงานแยกขยะเหล่านี้จึงไม่เพียงสร้างรายได้ฟื้นฟูคุณค่าของขยะ หรือช่วยโอบอุ้มสิ่งแวดล้อมเพื่อส่วนรวมอย่างเดียว หาก ยังช่วยฟื้นฟูคุณค่าให้กับผู้คนอีกด้วย บางรายอาจคิดว่าตนเองเป็นขยะสังคมจากชีวิตที่ล้มเหลวเพียงไหนก็ตาม แต่สมาชิกทุกคน ของมูลนิธิพุทธฉือจี้ต้องผ่านงานแยกขยะทั้งนั้น บางรายช่วยเก็บขยะตามละแวกบ้านมาส่งที่โรงงาน พวกเขาถือว่านี่คืองานที่มี เกียรติ เห็นได้จากภาพที่ติดไว้ตามทางเข้าของโรงงาน ภาพของคุณยายวัย 90 ปี ก็ยังมาช่วยงานร่วมกับอาสาสมัครต่าง ๆ โดยไม่ รังเกียจแต่อย่างใด “เมื่ อ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ความอุ ต สาหะและความกล้ า สามประการนี้ แ ล้ ว ไม่ มี ง านใดใดในโลกที่ เ ราท� ำ แล้ ว จะไม่ ประสบความส� ำ เร็ จ ” ธรรมาจารย์ เ จิ้ ง เอี๋ ย น
31 issue 128 SEPTEMBER 2018
32 IS AM ARE www.fosef.org
ความเป็ น คนความเป็ น ครู
พฤติกรรมส�ำคัญกว่าค�ำพูด
มาริสา อินลี
“ฉั น จะเป็ น ครู ที่ เ ดิ น ตามรอยพระราชา” เพราะ “ฉั น เป็ น ครู ข องพระราชา” นี่ คื อ ค� ำ ปฏิ ญ าณของครู ม าริ ส า อิ น ลี ที่ ลู ก ศิ ษ ย์ มั ก เรี ย กว่ า ครู แ อน ครู แ นะแนวโรงเรี ย นมุ ก ดาหาร ผู ้ ยึ ด หลั ก ค� ำ สอนของพระพุ ท ธเจ้ า และ ในหลวงรั ช กาลที่ 9 มาเป็ น แนวทางในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของตนเองและสั่ ง สอนศิ ษ ย์ ก่ อ เกิ ด หลั ก การสอน “พฤติ ก รรมส� ำ คั ญ กว่ า ค� ำ พู ด ” ท� ำ ไมถึ ง เลื อ กที่ จ ะเป็ น ครู ? ตอนแรกไม่ คิ ด จะเป็ น ครู อยากเป็ น แม่ ค ้ า อยากได้ เงิน อยากรวย แต่แม่อยากให้เป็นครู จึงเลือกเรียนคณะศึกษา ศาสตร์ วิชาเอกจิตวิทยาการศึกษาและแนะแนว อยากช่วย นักเรียนให้พ้นทุกข์ พบสุข เลือกเดินทางถูก ไม่เลือกทางผิดไม่ สร้างปัญหาเพิ่ม ปัญหาทุกปัญหาเกิดจากครอบครัวขาดความรัก ความอบอุ่น ท�ำอย่างไรจะช่วยเขาได้ เพราะตนเองก็เป็นเด็กที่ เกิดจากครอบครัวแตกแยก บาดแผลที่เกิดในใจ มันมากขนาด ที่ครูให้วาดภาพคน ทุกครั้งที่วาดจะวาดคนร้องไห้เสมอ แม้ไม่ เห็นว่าทุกข์ทางกาย แต่ทางใจมันเป็นบาดแผลลึก
ศีล 5 บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีเอกลักษณ์คุณธรรม - รักศักดิ์ศรี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ต้อง มีพฤติกรรม สะอาด ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ เสียสละ และกตัญญู มีอัตลักษณ์คุณธรรม - ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จิตอาสา รู้รักสามัคคี ท�ำความดีเพื่อแผ่นดิน ท�ำความดีโดยไม่หวังผล ตอบแทน ท�ำความดีด้วยหัวใจ “หนึ่ ง ความดี เพื่ อ พ่ อ ของแผ่ น ดิ น ” หมายถึ ง จะ บู ร ณ า ก า ร ก า ร ท� ำ ง า น ร ่ ว ม กั บ มู ล นิ ธิ ค ร อ บ ค รั ว พอเพี ย ง องค์ ก รบ้ า นเกื้ อ รั ก ปลู ก ฝั ง คุ ณ ธรรมความ ซื่ อ สั ต ย์ รั บ ผิ ด ชอบ จิ ต อาสา รู ้ รั ก สามั ค คี ท� ำ ความ ดี เ พื่ อ แผ่ น ดิ น ท� ำ ความดี โ ดยไม่ ห วั ง ผลตอบแทน
เริ่ ม เป็ น ครู ค รั้ ง แรกที่ ไ หนคะ ? ครั้งแรกสอบบรรจุได้เป็นครูประถม ที่โรงเรียนบ้านบาก อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี เลือกพื้นที่สีแดงอุดมการณ์ สูงมาก แต่อยู่ได้แค่ปีเดียว ตัดสินใจสอบบรรจุโอนย้ายเพราะคิด ว่าจะได้ใช้วิชาที่เรียนมาได้เต็มศักยภาพ ตามวิชาชีพที่ได้เรียนมา สอนแนะแนว ม. 1 – ม. 6 สอนมา 33 ปีแล้ว
ความเป็ น ครู ใ นมุ ม มองของครู แ อนเป็ น อย่ า งไร ? ครูคือคนต้นแบบต้องมีพฤติกรรม สะอาด ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ กตัญญู เป็นคนที่น�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่การปฏิบัติ สามารถแก้ปัญหาตนเอง ครอบครัว องค์กร ปั จ จุ บั น ท� ำ หน้ า ที่ อ ะไรบ้ า งคะ ? ชุมชน สังคม ประเทศชาติที่ตนรับผิดชอบได้ เป็นคนที่ครอบครัว ปั จ จุบัน เป็น หัว หน้างานแนะแนว หัว หน้ า งานระบบ องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ และโลกต้องการ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน หัวหน้างานพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม จะเป็นคนแบบนี้ได้ต้องน�ำคุณธรรม สาราณียธรรม 6 และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอนกิจกรรมแนะแนวระดับชั้น (รักเหนือรัก) มาปฏิบัติจนเป็นปกตินิสัยให้กระท�ำด้วยเมตตา ม. 1 และ ม. 4 โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง กายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม ทั้งต่อหน้าและ คนมีความสุข และมีคุณภาพ บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของ ลับหลัง คิด พูด ท�ำ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมก่อนประโยชน์ส่วน เศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการท�ำงานที่ตนรับผิดชอบร่วมกับ ตน จะเกิดพฤติกรรม สะอาด ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ เสียสละ องค์กรบ้านเกื้อรัก และมูลนิธิครอบครัวพอเพียง พัฒนาโรงเรียน กตัญญู ทั้ง กาย วาจา ใจ มีจิตอาสา และรู้รักสามัคคี ท�ำความ มุกดาหารให้เป็นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เกิดเป็นนวัตกรรม ดีเพื่อแผ่นดิน ท�ำความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน ท�ำความดี SAVE MUKDAHAN 4.0 ด้วยคุณธรรม “รักเหนือรัก” ในระดับ ด้วยหัวใจ 33 issue 128 SEPTEMBER 2018
สาราณียธรรม 6 “รักเหนือรัก” กระท�ำด้วยเมตตาทั้งต่อหน้า และลับหลัง คิด พูด ท�ำ ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น โดยไม่มี เงื่อนไข มีจิตอาสา รู้รักสามัคคี ร่วมด้วยช่วยกัน ปัญหาน้อยใหญ่ ก็แก้ไขได้ เพราะท�ำโดยไม่หวังผลตอบแทน ท�ำด้วยหัวใจ เห็น จริง เป็นจริงในชาตินี้ ยิ่งกว่าการยกตัวอย่างใดๆ สิ้นข้อสงสัย สิ่งที่ปรากฏให้เห็นคือ คนจากหลายประเทศมาช่วยเหลือทีม หมูป่าโดยไม่ต้องรอให้ใครเชิญ อาสามาเอง ท�ำอะไรไม่ได้เก็บ ขยะก็ยังดี เสิร์ฟน�้ำก็ได้ ท�ำให้เห็นความรักสามารถแก้ปัญหา ได้ทุกปัญหา พ่อหลวงท�ำเพื่อประชาชนคนไทยตลอด 70 ปีที่ ครองราชย์ มันฝังรากลึกลงไปในหัวใจลูกไทย หลานไทย และ คนทั่วโลก We Are The One ตอนแรกไม่ คิ ด จะเป็ น ครู อยากเป็ น แม่ ค ้ า อยาก ได้ เ งิ น อยากรวย แต่ แ ม่ อ ยากให้ เ ป็ น ครู จึ ง เลื อ ก เรี ย นคณะศึ ก ษาศาสตร์ วิ ช าเอกจิ ต วิ ท ยาการศึ ก ษา และแนะแนว อยากช่ ว ยนั ก เรี ย นให้ พ ้ น ทุ ก ข์ พบสุ ข เลื อ กเดิ น ทางถู ก ไม่ เ ลื อ กทางผิ ด ไม่ ส ร้ า งปั ญ หา เพิ่ ม ความพอเพี ย งในความคิ ด ครู แ อนคื อ อะไร ? ความพอเพียง ต้องไม่เบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่น ถ้า ล�้ำเส้นเมื่อไหร่ก็คือเบียดเบียน ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คิด พูด ท�ำ ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น จะมีพฤติกรรม สะอาด ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ เสียสละ และกตัญญู ด้วยกาย วาจา ใจ เดิน ตามมรรคมีองค์ 8 ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
พฤติ ก รรมที่ ว ่ า ใครเป็ น คนต้ น แบบให้ ค รู แ อน ? ในหลวงรัชกาลที่ 9 เป็นต้นแบบ ท่านท�ำเพื่อพวกเราทั้ง ต่อหน้าและลับหลัง ทั้งยามหลับ ยามตื่น ยามไม่สบาย แล้วเรา เป็นครูแค่ลูกศิษย์ไม่ได้ดั่งใจเราบอกช่างมันเถอะไม่ได้ เราพูด เมื่อไหร่เราก็เป็นข้าราชการที่ชั่ว เด็กไม่ได้ดั่งใจ มันสะท้อนว่าครู ไม่มีฝีมือ ไล่เด็กออกไป เพื่อตัดปัญหาแปลว่าคุณสอบตก เพราะ การไล่ออกมันง่ายกว่าการแก้ไข มันคือบทพิสูจน์ต้นทุนที่คุณ มี โรงเรียนของครูแอนใช้ความรักแก้ไข โอบอุ้มสร้างภูมิคุ้มกัน แก้ไขปัญหาและพัฒนาเขาต่อด้วยความรัก จึงใช้ค�ำว่า “รักเหนือ รัก” ความรักของครูต้องไม่มีเงื่อนไข จะดีจะชั่วคืออนุสาวรีย์แห่ง ความอัปยศหรือชัยชนะของเรา คนที่อยู่ต่อหน้าในเวลาปัจจุบัน คือ อนุสาวรีย์แห่งชัยชนะ หรือความอัปยศของครู เด็กไม่ดีก็ สะท้อนครูเหมือนกัน มันไม่ใช่หน้าที่จะเอาอนุสาวรีย์ไปถ่วงน�้ำ เพื่อไม่ให้คนอื่นเห็น หน้าที่เราต้องคืนคนดีให้สังคม สร้างสังคม ให้น่าอยู่ ด้วยมือของเราเอง
ช่ ว ยยกตั ว อย่ า งการใช้ ค วามรั ก ในการแก้ ป ั ญ หา หน่ อ ย ? ความรักช่วยแก้ปัญหาได้ทุกปัญหา ความรักคือความ เมตตาที่ คิด พูด ท�ำ เพื่อคนที่อยู่ตรงหน้าในเวลาปัจจุบัน โดย ไม่มีเงื่อนไข จะเกิดเป็นภูมิคุ้มกันตนเอง ไม่สามารถ คิดชั่ว พูดชั่ว ท�ำชั่ว เพราะกลัวคนที่อยู่ตรงหน้าในเวลาปัจจุบันเสียใจ โดยการ ท�ำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ยกตัวอย่างเช่น • เมื่ อ สามี ท� ำ หน้ า ที่ ต นเองให้ ดี ที่ สุ ด ทั้ ง ต่ อ หน้ า และ ลับหลัง ภรรยาจะไม่กล้าท�ำให้สามีเสียใจ • เมื่อภรรยาท�ำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ทั้งต่อหน้า และลับหลัง สามีจะไม่กล้าท�ำให้ภรรยาเสียใจ • เมื่อพ่อแม่ท�ำหน้าที่ของตนเองให้ดีที่สุด ทั้งต่อหน้าและ ลับหลัง ลูกจะไม่กล้าท�ำให้พ่อแม่เสียใจ
จากกรณี ที ม หมู ป ่ า ครู แ อนน� ำ มาปรั บ สอนนั ก เรี ย น อย่ า งไร ? มั น คื อ บทพิ สู จ น์ ค� ำ สอนของพระพุ ท ธเจ้ า หลั ก 34
IS AM ARE www.fosef.org
35 issue 128 SEPTEMBER 2018
ในหน้าที่ร่วมกันกับทุกภาคส่วน “...ลูกขอตั้งปณิธาน สานสิ่งที่ พ่อสร้างไว้ จะขอเดินตามรอยเท้าพ่อไป เหนื่อยยากเพียงไหน ไม่ท�ำให้พ่อผิดหวัง…” เด็ ก สมั ย นี้ ค รู แ อนห่ ว งอะไรมากที่ สุ ด ในเด็ ก และ เยาวชน ? ห่ ว งว่ า เด็ ก จะไม่ มี ภู มิ คุ ้ ม กั น ตนเอง จะเดิ น ทางผิ ด (มิจฉาทิฐิ) ไม่เดินทางถูก (สัมมาทิฐิ) เพราะถ้าเดินทางผิดจะ ทุกข์เพิ่ม สุขจะน้อยลง เดินทางถูกทุกข์จะน้อยลง ความสุข จะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เพราะเด็กไม่ชัดเจนในค�ำสอนขั้นพื้นฐานของ ศาสนาที่ตนนับถือ ศาสนาพุทธสอนให้หยุดชั่ว ท�ำแต่ความดี แล้วจิตใจจะผ่องแผ้วเองโดยอัตโนมัติ จะหยุดชั่วได้ต้องชัดเจน เรื่องกรรม กรรมเป็นค�ำกลางๆ มีทั้งกรรมดีและกรรมไม่ดี กรรม ไม่ดีเรียกว่ากรรมชั่ว ชั่วเมื่อไหร่ก็เป็นคนเลวทราม เศร้าหมอง น่าเกลียด ถ้าชัดเจนเรื่องกรรมชั่ว จะไม่กล้าท�ำชั่ว จะเพียรท�ำแต่ กรรมดี ท�ำความดีท�ำอย่างไร ก็ให้ท�ำตามคุณธรรมสาราณีย ธรรม 6 ด้วยเมตตากายกรรม เมตตาวจีกรรม เมตตามโนกรรม ทั้งต่อหน้าและลับหลัง คิด พูด ท�ำ ในสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ อื่น Action ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง แค่นี้ก็จะเกิดภูมิคุ้มกันที่ดี ให้ตนเอง ไม่กล้าคิดชั่ว พูดชั่ว ท�ำชั่ว ให้พ่อแม่เสียใจ ผลที่ได้
• เมื่อลูกท�ำหน้าที่ตนเองให้ดีที่สุด ทั้งต่อหน้าและลับหลัง พ่อแม่จะไม่กล้าท�ำให้ลูกเสียใจ • เมื่อครูท�ำหน้าที่ตนเองให้ดีที่สุด ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ลูกศิษย์จะไม่กล้าท�ำให้ครูเสียใจ • เมื่อลูกศิษย์ท�ำหน้าที่ตนเองให้ดีที่สุด ทั้งต่อหน้าและ ลับหลัง คุณครูจะไม่กล้าท�ำให้ลูกศิษย์เสียใจ เมื่อทุกคนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองด้วยเมตตาจะ เกิดปัญญา แก้ปัญหาทุกอย่างได้ ความรักเท่านั้นจะเหนี่ยวรั้ง คนไว้ ไม่ให้เดินทางผิด จะพยายามเดินทางถูก แต่เมื่อท�ำเต็มที่ ดีที่สุดแล้วไม่ต้องเสียใจ ให้วางใจ ถ้าเขาท�ำไม่ได้ตามมาตรฐาน ที่เราตั้งไว้ มันเป็นวิบากบาป วิบากกรรม ท�ำให้เขาเห็นผิดเป็น ชอบ ทุกอย่างให้แก้ที่ตนเอง ไม่ได้ให้ไปแก้คนอื่น
ความรั ก ช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาได้ ทุ ก ปั ญ หา ความรั ก คื อ ความเมตตาที่ คิ ด พู ด ท� ำ เพื่ อ คนที่ อ ยู ่ ต รงหน้ า ใน เวลาปั จ จุ บั น โดยไม่ มี เ งื่ อ นไข จะเกิ ด เป็ น ภู มิ คุ ้ ม กั น ตนเอง ไม่ ส ามารถ คิ ด ชั่ ว พู ด ชั่ ว ท� ำ ชั่ ว เพราะกลั ว คนที่ อ ยู ่ ต รงหน้ า ในเวลาปั จ จุ บั น เสี ย ใจ โดยการท� ำ หน้ า ที่ ข องตนเองให้ ดี ที่ สุ ด
ค ว า ม มุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใ จ ใ น ก า ร เ ป ็ น ค รู ข อ ง ค รู แ อ น คื อ อะไร ? คืนคนดีสู่สังคม สร้างสังคมให้น่าอยู่ ด้วยมือของเราเอง โดยการน�ำหลักสูตรคืนมนุษย์สู่เหย้า... เพื่อเฝ้าเมือง บนพื้นฐาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาคนให้รู้จักการ พัฒนางานและพัฒนาสุขภาพ ทั้งกายและใจ ถวายพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ในฐานะครูของพระราชา ใน ฐานะสาวกของพระพุทธเจ้า ในฐานะลูกศิษย์ที่ดีของ อาจารย์แม่ ทันตแพทย์ สีใบตอง บุญประดับ โดยการบูรณาการการท�ำงาน 36 IS AM ARE www.fosef.org
รับคือความสุข ป้องกันปัญหา แก้ไขปัญหา และหันมาพัฒนา ศักยภาพตนเอง สู่ความเป็นเลิศ เต็มตามศักยภาพ เห็ น ครู แ อนยึ ด ค� ำ สอนของในหลวงรั ช กาลที่ 9 เป็ น แนวทางปฏิ บั ติ อ ย่ า งจริ ง จั ง มาตลอด อยากทราบ ว่ า วั น ที่ พ ระองค์ ส วรรคตครู แ อนบอกกั บ ตั ว เองว่ า อย่ า งไร ? วันนั้นครูแอนนั่งฟังข่าวอยู่หน้าทีวี รอฟังข่าวอย่างเป็น ทางการ เมื่อประกาศเสร็จครูแอนก้มลงกราบหน้าทีวี บอก พระองค์ท่านว่า “ลูกโตช้าไป” แต่ไม่ต้องห่วง หนึ่งความดี เพื่อ พ่อของแผ่นดินครูแอนตั้งปณิธานไว้ว่าจะท�ำให้ลูกศิษย์เป็นคนดี สมกับที่พ่อได้สั่งเอาไว้ นอกจากนั้นก็ขออนุญาตผู้อ�ำนวยการ ขึ้นป้ายแสดงเจตนารมณ์แน่วแน่ ความว่า “หนึ่งความดี เพื่อ พ่อของแผ่นดิน” หมายถึง จะบูรณาการการท�ำงานร่วมกับ มูลนิธิครอบครัวพอเพียง องค์กรบ้านเกื้อรักปลูกฝังคุณธรรม ความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ จิตอาสา รู้รักสามัคคี ท�ำความดีเพื่อ แผ่นดิน ท�ำความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน ท�ำความดีด้วยหัวใจ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ตราบชีวิตจะ หาไม่
ในหลวงรั ช กาลที่ 9 เป็ น ต้ น แบบ ท่ า นท� ำ เพื่ อ พวกเรา ทั้ ง ต่ อ หน้ า และลั บ หลั ง ทั้ ง ยามหลั บ ยามตื่ น ยามไม่ สบาย แล้ ว เราเป็ น ครู แ ค่ ลู ก ศิ ษ ย์ ไ ม่ ไ ด้ ดั่ ง ใจเราบอก ช่ า งมั น เถอะไม่ ไ ด้ เราพู ด เมื่ อ ไหร่ เ ราก็ เ ป็ น ข้ า ราชการ ที่ ชั่ ว เด็ ก ไม่ ไ ด้ ดั่ ง ใจ มั น สะท้ อ นว่ า ครู ไ ม่ มี ฝ ี มื อ บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปยังหน่วย งานที่รักและศรัทธา เพราะเมื่อลูกหลานเรา ครอบครัวเรารอด ลูกหลานคนอื่นไม่รอด ครอบครัวอื่นไม่รอด อย่าหวังเลยว่าเรา จะรอด ชุมชนสังคมประเทศชาติ และโลกจะรอด พระพุทธเจ้า ท� ำ แล้ ว ในหลวงรั ช กาลที่ 9 บอกให้ ท� ำ ท� ำ ให้ ดู สู ้ ใ ห้ เ ห็ น ตลอด 70 ปี การครองราชย์ แล้วเราจะรออะไรอีก นี่คือหนึ่ง ความดีเพื่อพ่อของแผ่นดินของครูแอน คือ “...ลูกขอก้าวตาม ดั่งค�ำสอนพอเพียง เพียงพอ แต่ความรักที่มีให้พ่อจะไม่มีวัน พอเพียง...”
ปั จ จุ บั น ครู แ อนตั้ ง เป้ า หมายในชี วิ ต ไว้ อ ย่ า งไรบ้ า ง ? ตอนนี้อายุ 56 ปีเมื่อเกษียณแล้วถ้ามีโอกาสจะขยาย ผลโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ด้ ว ยคุ ณ ธรรม “รั ก เหนื อ รั ก ” ในระดั บ ศี ล 5
37 issue 128 SEPTEMBER 2018
38 IS AM ARE www.fosef.org
สั จ ธรรมแห่ ง แนวพระราชด� ำ ริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมี พระราชด�ำริให้ฟื้นฟู ป่าชายเลน เพื่อเป็นแนวป้องกันลมและป้องกันการกัดเซาะ ชายฝั่ง และเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์น�้ำ ซึ่งเป็นการสร้างความ สมดุลให้แก่ธรรมชาติให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์ ดังเดิม โดยมี พระราชด�ำริให้มี การศึกษาวิจัยพันธุ์ ไม้ ป่าชายเลน การ รักษาสภาพแวดล้อม การสนับสนุนจัดระเบียบที่อยู่อาศัยของ ชุมชน การเพิ่มผลผลิตสัตว์น�้ำด้วยวิธีการท�ำประมงที่ถูกต้อง การเสริมสร้างความเข้าใจภายในชุมชนเกี่ยวกับป่าชายเลนและ วิถีการด�ำรงชีวิตของชาวชุมชน ตลอดจน การสร้างทัศนคติให้ เกิดความหวงแหนป่าชายเลนให้คงอยู่กับชุมชนอย่างยั่งยืน โดย ตัวอย่างของ การอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าชายเลน ได้แก่ โครงการชุมชน พัฒนาป่าชายเลน ต�ำบลหัวเขา อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนยะหริ่ง อ�ำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการฟื้นฟูป่า ชายเลน อ�ำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี • โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ลุ ่ ม น�้ ำ แม่ อ าวอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ล� ำ พู น จากเดิ ม ที่ มี ก ารบุ ก รุ ก ท� ำ ลาย ป่ า หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ส ร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการลุ่มน�้ำของราษฎรในพื้นที่ ขึ้น โดยการน�ำแนวพระราชด�ำริเกี่ยวกับป่าไม้ด้านต่างๆ มา ผสมผสานเข้าด้วยกัน เพื่อให้การด�ำเนินงานเห็นผลเป็นรูปธรรม ช่วยให้ป่าไม้ฟื้นคืนสภาพ คืนความ สมบูรณ์อย่างเห็นได้ชัด ปัจจุบันการบุกรุกพื้นที่ป่าลดลง เนื่องจากมีการควบคุม ดูแล และป้องกัน อย่างจริงจัง การเกิดไฟป่ามีน้อยลง ท�ำให้สภาพ ป่าฟื้นตัวดีขึ้น มีป่าเพิ่มขึ้นกว่า 60,000 ไร่ และผืนป่า เพิ่ม ความอุดมสมบูรณ์ขึ้นมาก จนราษฎรสามารถใช้ประโยชน์จาก ป่าได้อย่างยั่งยืน • โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำห้วยบางทรายตอนบนอัน เนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัด มุกดาหาร ซึ่งแต่เดิมพื้นที่นี้ ราษฎรบุกรุกยึดถือครอบครองฟื้นที่ป่าต้นน�้ำ ป่าดงหมูแปลง ที่ 3 ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ดงด่านขี้” ซึ่งในอดีตบริเวณนี้มีป่า ไม้อุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่าชุกชุม จึงมีชาวบ้านเข้ามาบุกรุกถาง ป่าเพื่อน�ำไปเป็นพื้นที่เกษตรกรรม หรือล่าสัตว์ป่า และเลี้ยงวัว จนเป็นผลให้พื้นที่ป่า ซึ่งเป็นต้นน�้ำล�ำพะยังและห้วยบางทราย ถูกท�ำลายเกิดความเสียหายมากกว่า 4,000 ไร่ ต่ อ มาในปี 2538 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ได้ พระราชทานโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน�้ำ ห้วยบางทรายตอน บนอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ราษฎร พัฒนาแหล่งน�้ำ พัฒนาการเกษตรและอาชีพ รวมทั้ง 39 issue 128 SEPTEMBER 2018
ทรงใช้ วิ ธี ส ร้ า งความรู ้ สึ ก รั ก และหวงแหนต้ น ไม้ ของ ประชาชน ให้ ป ระชาชนรั ก ป่ า เหมื อ นเป็ น สมบั ติ ข อง ตั ว เอง เพื่ อ ให้ ป ่ า มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ประชาชน มี ไม้ ไว้ ใ ช้ ส อยและเพิ่ ม พู น รายได้ ตลอดจนราษฎร ที่ ย ากจนได้ มี ที่ ดิ น ท� ำ กิ น มี อาชี พ และรายได้ เ ลี้ ย ง ครอบครั ว
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้นั้น ได้ให้ราษฎรเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริ ราษฎรได้เข้ามาร่วมปลูกป่าต้นน�้ำ ดงด่านขี้ 2,000 ไร่ และจัด ตั้งกลุ่มเพื่อการอนุรักษ์ป่าไม้ ป้องกันไฟป่า ด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้ มีการรวมตัวช่วยกันดับไฟป่า ต่อต้านกลุ่ม ล่ า สั ต ว์ และผู ้ ลั ก ลอบตั ด ป่ า ไม้ จ นท� ำ ให้ ก ลุ ่ ม ดั ง กล่ า ว หยุ ด พฤติกรรมการล่าสัตว์ นับเป็นการใช้พลังประชาชน ที่มีจิตส�ำนึก ตอบแทนคุณแผ่นดิน โดยมี เจ้าหน้าที่ชี้น�ำ • โครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่ เป็นโครงการที่สมเด็จ พระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ พระราชทานตามแนวพระราชด�ำริปลูกป่าในใจคน เพื่อให้คนอยู่ร่วมกับป่าได้อย่างเกื้อกูล โดยให้ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิต ของราษฎรในพื้นที่ให้อยู่อย่างมีความสุข โดยยึดหลัก 3 ประการ คือ รักษาสภาพป่าไว้มิให้ถูกท�ำลาย พื้นฟูสภาพป่าให้คืนสู่สภาพ ธรรมชาติโดยให้มีทั้งป่าธรรมชาติและป่าไม้ ใช้สอย และพัฒนา คุณภาพชีวิตของราษฎรให้มีอาชีพและที่ท�ำกินถาวรให้คนอยู่กับ ป่าได้อย่างกลมกลืนและเกื้อกูลกัน และเป็นผู้ดูแลรักษาป่า โดย ทรงย�้ำอยู่เสมอว่า การด�ำเนินการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าจะต้อง ไม่สร้างความเดือดร้อนให้เกิดแก่ราษฎรที่อาศัยอยู่ใน พื้นที่นั้น ดังพระราชด�ำรัสคัดจากวารสารเศรษฐกิจและสังคม หน้า 96 ฉบับพิเศษประจ�ำปี 2545 ความตอนหนึ่งว่า
“...ความจริงชาวเขาเขาเดินอยู่ในป่าในเขาก่อนที่พวก เราจะเข้าไปเสียอีกเพราะฉะนั้นต้องเห็นใจเขาเราต้องช่วยเขาจะ ไปห้ามเขาไปกวาดต้อนเขาลงมาอยู่พื้นล่างนั้นเขาอาจล�ำบากท�ำ มาหากินยากดังนั้นจึงควรหาโครงการอะไรสักอย่างที่จะให้อยู่ กับที่ไม่ขยายตัว...ถ้าเราสามารถร่วมกันจัดระบบได้ดีคนกับป่า ก็คงจะอยู่ร่วมกันได้โดยไม่ต้องท�ำลายซึ่งกันและกันและแผ่น ดินที่เสื่อมโทรมผืนนี้ ก็จะกลับมาเป็นประโยชน์อย่างมหาศาล แก่พวกเรา...” • โครงการบ้ า นเล็ ก ในป่ า ใหญ่ แ ห่ ง แรกเริ่ ม ที่ อ� ำ เภอ อมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ต่อมาเมื่อผลการด�ำเนิน โครงการบ้าน เล็กในป่าใหญ่ประสบผลส�ำเร็จ สามารถสร้างความเข้าใจและ จิตส�ำนึกในการรักษาป่า ให้กับราษฎรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ อีก ทั้งสามารถโน้มน้าวราษฎรให้ยุติการล่าสัตว์และตัดไม้ท�ำลาย 40
IS AM ARE www.fosef.org
ป่า ท�ำให้สัตว์ป่าที่เคย หลบหนี ภัยเข้าไปอยู่ในป่าลึกก็ค่อยๆ เริ่มปรากฏออกมาสู่ป่าโปร่ง สภาพป่าจึงกลับคืน ความอุดม สมบูรณ์ และสามารถสกัดกั้นเส้นทางการลักลอบขนยาเสพติด ไม้แปรรูป และสัตว์ป่าด้วย พระองค์จึงพระราชทานโครงการ ดังกล่าวในพื้นที่ต่างๆ เกือบทั่วทุกภาคของประเทศ อาทิ บ้าน ดอยด�ำ จังหวัดเชียงใหม่ บ้านเย้าหนองห้า จังหวัดพะเยา บ้าน ทันสมัย จังหวัดนครพนม บ้านผานาง จังหวัดเลย และบ้าน น้อมเกล้า จังหวัดยโสธร เป็นต้น • โครงการป่ า รั ก น�้ ำ สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม ราชินีนาถได้ทอดพระเนตรเห็น ความเสื่อมโทรมของป่าไม้ ที่ น�ำไปสู่ความแห้งแล้งของแผ่นดินในภาคอีสาน เนื่องจากมีการ สูบน�้ำเกลือ จากใต้ดินขึ้นมาเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ และบริเวณ ผิวดินปรากฏเป็นส่าเกลือแผ่กระจายเป็นบริเวณกว้าง ท�ำให้ไม่ สามารถท�ำการเพาะปลูกพืชได้ พระองค์จึงมีพระราชด�ำริเพื่อฟื้นฟูสภาพดิน และป่า ที่เสื่อมโทรมให้กลายเป็นบริเวณต้นน�้ำ ล�ำธารกักเก็บน�้ำไว้ใช้ ประโยชน์ และอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้เดิมไว้ ขณะเดียวกันก็ ให้ปลูกป่าเสริม เพื่อควบคุมความแปรปรวนของดินฟ้าอากาศ ด้วย “โครงการป่ารักน�้ำ” จึงก�ำเนิดขึ้นในภาคอีสาน เป็นแห่ง แรก ณ บ้านถ�้ำติ้ว อ�ำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร โดยทรง
ใช้วิธีสร้างความรู้สึกรักและหวงแหนต้นไม้ ของประชาชน ให้ ประชาชนรักป่าเหมือนเป็นสมบัติของตัวเอง เพื่อให้ป่ามีความ อุดมสมบูรณ์ ประชาชนมีไม้ไว้ใช้สอยและเพิ่มพูนรายได้ ตลอด จนราษฎรที่ยากจนได้มี ที่ดินท�ำกิน มี อาชีพและรายได้เลี้ยง ครอบครัว ดังแนวพระราชด�ำริที่ทรงบันทึกไว้ด้วยพระองค์เอง เมื่อครั้งที่ทรงริเริ่มโครงการป่ารักน�้ำ เมื่อ 20 ปี ที่ผ่านมา ความ ตอนหนึ่งว่า “…จ�ำเป็นที่จะพยายามรักษาป่าไม้นั้นไว้ก็ถูกต้องกับใจ ที่จะพยายามให้คนที่ไม่มีที่ท�ำกินท�ำกินได้อย่างผาสุกถ้าเราท�ำ ส�ำเร็จสักราย ก็จะรักษาป่าไม้ทั่วประเทศได้…” เรี ย นรู ้ จ ากหลั ก ธรรมชาติ : วิ ถี ป ฏิ บั ติ สู ่ ก ารพั ฒ นา อย่ า งยั่ ง ยื น หลักการทรงงานพัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ด้วยการใช้ธรรมชาติมาช่วยในการแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งการใช้ ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ การใช้หลักอธรรมปราบอธรรม และ การใช้วิธีการปลูกป่าในใจคน เพื่อให้คนสามารถอยู่ร่วมกับป่า ได้อย่าง ยั่งยืน น�ำสู่ผลส�ำเร็จของโครงการตามแนวพระราชด�ำริ ต่างๆ ที่ช่วยแก้ปัญหาเรื่องดิน น�้ำ และสิ่งแวดล้อม ให้กลับมา 41
issue 128 SEPTEMBER 2018
ว่าก�ำลังท�ำแต่ว่าก็เกี่ยวข้องกับตัวเหมือนกันให้ปรึกษาหารือกัน รู้จักกันทุกคนในทางราบหมายความว่าในจ�ำพวกที่มีความรู้พอๆ กันและที่มีความคิดคล้ายๆกัน… ตลอดจนครูบาอาจารย์ที่ไปช่วยให้การศึกษาก็จะต้อง ให้สอดคล้องกันเหมือนกันไม่ใช่ว่าครูบาอาจารย์ที่มีวิชาเฉพาะ บริ ห ารแบบบู ร ณาการ เอกลักษณ์อย่างหนึ่งในการทรงงานของพระบาทสมเด็จ ไปแล้วก็จะบังคับให้มีการพัฒนาในด้านวิชาเฉพาะก็จะต้องให้ พระเจ้าอยู่หัวคือการที่ทรงประยุกต์น�ำความรู้แขนงต่างๆ มาใช้ บรรดาคณาจารย์ต่างๆที่ไปช่วยให้การปรึกษาให้ปรึกษาระหว่าง เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ ทรงศึกษาวิทยาการแต่ละ กันเองคือระหว่างวิชาการต่างๆเพื่อให้การปรึกษานั้นสอดคล้อง ประเภทอย่างลึกซึ้งจนสามารถเข้าใจในวิทยาการเหล่านั้น และ กันให้ดี...” พระบรมราโชวาทในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต ร สามารถน�ำจุดดี จุดเด่นของความรู้ต่างๆ มา “บูรณาการ” ใช้ให้ เหมาะสมกับสภาพของประเทศ และสภาพสังคมของแต่ละพื้นที่ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2522 ความ เพื่อให้การท�ำงานเกิดประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่อง และตอบ ตอนหนึ่งว่า สนองความต้องการของราษฎรได้ตรงจุด ดังพระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวัน หลั ก การทรงงานพั ฒ นาประเทศของพระบาทสมเด็ จ ที่ 26 สิงหาคม 2519 ความตอนหนึ่งว่า พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม “...ถ้าแต่ละคนได้เรียนรู้มาดีแล้ว ก็สามารถที่จะปฏิบัติ ราชิ นี น าถ ด้ ว ยการใช้ ธ รรมชาติ ม าช่ ว ยในการแก้ ตามที่มีความตั้งใจในใจ ตั้งแต่เดี๋ยวนี้เป็นต้นไป อยากจะท�ำงาน ปั ญ หาต่ า งๆ ทั้ ง การใช้ ธ รรมชาติ ช ่ ว ยธรรมชาติ เพื่อส่วนรวม...ขอให้มีความสอดคล้องมีความรู้จักและปรึกษา การใช้ ห ลั ก อธรรมปราบอธรรม และการใช้ วิ ธี ก าร หารือกับนักศึกษาเพื่อนนักศึกษาที่ศึกษาในแขนงวิชาการอื่นๆ ปลู ก ป่ า ในใจคน เพื่ อ ให้ ค นสามารถอยู ่ ร ่ ว มกั บ ป่ า ด้วยปรึกษาหารือกันในกิจการที่ก�ำลังท�ำและในกิจการอื่นที่ไม่ใช่ ได้ อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น มีสภาพอุดมสมบูรณ์ จึงเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าการด�ำเนินงาน ตามแนวพระราชด�ำริ จะน�ำพา ให้ประชาชนคนไทยทุกคนมี ชีวิตอย่างมีความสุขอย่างยั่งยืนตลอดไป
42 IS AM ARE www.fosef.org
อย่างหนึ่งอย่างใดแต่เพียงอย่างเดียวก็จ�ำเป็นต้องอาศัยหลักวิชา หลายๆสาขาน�ำมาเป็นเครื่องช่วยปฏิบัติจึงจะส�ำเร็จผลที่ดี ได้ผู้ ทรงคุณวุฒิหรือนักวิชาการทุกคนจึงไม่ควรลืมว่าวิชาการทั้งปวง นั้นมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องถึงกันและต่างส่งเสริมสนับสนุน ซึ่งกันและกันอยู่จะต้องน�ำมาใช้ประสมประสานกันให้ถูกต้อง พอเหมาะพอดีอยู่เสมอเพราะอาจพูดได้ว่าวิทยาการใดๆ ก็ตาม จะใช้ ให้เป็นประโยชน์ แต่ ล�ำพังอย่างเดียวมิได้ เป็นหน้าที่ของ นักวิชาการที่จะต้องท�ำความเข้าใจให้ชัดแจ้งแน่นอนว่านอกจาก แต่ ละคนจะต้องเชี่ยวชาญในวิชาเฉพาะของตนแล้ว ยังจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องเปิดตาเปิดใจให้กว้างขวางสว่างไสวเพื่อเรียนรู้ ให้ทั่วถึง และเพื่อประสานกับนักวิชาการอื่นๆ และคนอื่นๆ ให้ ได้โดยสอดคล้องกันด้วย ประการส�ำคัญที่สุดในเมื่อปฏิบัติ งาน อันใดกับผู้ใดแล้ว จะต้องพยายามร่วมกันพิจารณาปรึกษาให้ เข้าใจกันให้ได้ พร้อมกับระมัดระวัง ปฏิบัติการให้เกื้อกูลส่งเสริม กันโดยตลอด งานที่ท�ำจึงจะบรรลุผลเลิศ และเกิดประโยชน์ ที่ สมบูรณ์ตามความมุ่งประสงค์ได้...” นอกจากนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราช กุมารีพระราชทานสัมภาษณ์เกี่ยวกับหลักการทรงงานพัฒนา ประเทศของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ในหนั ง สื อ “พระ มหากษั ต ริ ย ์ นั ก พั ฒ นาเพื่ อ ประโยชน์ สุ ข สู ่ ป วงประชา”ความ ตอนหนึ่งว่า “...ทรงน�ำความรู้ และวิชาการต่างๆ มาใช้ร่วมกัน หรือที่ สมัยนี้ เรียกว่า “บูรณาการ” ไม่ทิ้งแง่ใดแง่หนึ่ง อย่างเช่น เรื่อง อย่างนี้ในแนววิศวกรรมศาสตร์ท�ำได้ แต่ว่าอาจจะไม่เหมาะ สมในเชิงเศรษฐศาสตร์ หรือเหมาะสมดีในเชิงเศรษฐศาสตร์และ วิศวกรรมศาสตร์ แต่ไม่เหมาะสมกับความสุขหรือความเจริญ ก้าวหน้าของประชาชน ก็ไม่ได้...”
“...วิชานั้นเมื่อมีความเปลี่ยนแปลงมาเป็นล�ำดับตาม ภาวะและความจ�ำเป็นของโลกก็ต้องแตกสาขากว้างขวางมาก หลายเป็นธรรมดาจนบางทีท�ำให้แลไม่เห็นว่าวิชาสาขาต่างๆ มาจากต้ น ตออั น เดี ย วกั น และลื ม ไปว่ า วิ ช าแต่ ล ะสาขานั้ น มี ความสัมพันธ์สอดคล้องกันอยู่เมื่อเป็นดังนี้ ที่สุดวิชาก็ขาดตอน จากกันคนที่เรียนและใช้วิชานั้นๆก็ไม่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกันไม่ ปรองดองกันยังผลให้การงานติดขัดบกพร่องและเสียประโยชน์ ที่พึงได้ไปด้วยประการต่างๆดังนั้นผู้ฉลาดจึงควรต้องศึกษาให้ เห็นจริงและให้เข้าใจแจ่มแจ้งว่าวิชาทั้งหลายเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นส่วนประกอบของกันและกันเป็นปัจจัยอุดหนุนกันและกัน อย่างแน่นแฟ้นแล้วพยายามดึงเอาวิชาการบุคคลกับทั้งกิจการ ที่เกี่ยวข้องมารวมกันส่งเสริมกันเพื่อผลและประโยชน์อันเลิศ ร่วมกันของเรา...” และพระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อปี 2542 ความ ตอนหนึ่งว่า “...การศึกษาวิทยาการทุกอย่างยิ่งศึกษาค้นคว้ามาก ขึ้นเท่าใดก็ยิ่งจ�ำเป็นต้องกระท�ำให้ ละเอียดเฉพาะลงไปเท่านั้น และผู้ที่ได้ผ่านการศึกษาระดับนี้ มาแล้วย่อมจะถือตัวว่าเป็นผู้ เชี่ยวชาญเฉพาะวิชาจะไม่ก้าวก่ายกับวิชาที่มิได้อยู่ในขอบข่าย ของตนแต่ในการใช้วิชาการปฏิบัติงานนั้นแม้เพียงงานเล็กน้อย 43
issue 128 SEPTEMBER 2018
การเลี้ยงไก่ชน เชิ งกีฬา (ไก่เก่ง)
44 IS AM ARE www.fosef.org
อาชี พ ทางเลื อ ก 1.เหตุ ผ ลความเหมาะ สม “ไก่ ช น” เป็ น ไก่ พื้ น เมื อ งชนิ ด หนึ่ ง ที่ มี ลั ก ษณะและ ความสามารถพิเศษในเรื่องการต่อสู้ ไก่ชนในบางท้องถิ่นจึง อาจเรียกว่า “ไก่ดี” หรือ “ไก่นักมวย” หรือ “ไก่เก่ง” เป็นต้น การเลี้ยงไก่ชนเรื่องการกีฬาเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่ อดีต การชนไก่เป็นการคัดเลือกสายพันธุ์เพื่อเป็นการหาตัวผู้ที่ เก่ง แข็งแกร่งและสุขภาพสมบูรณ์เมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วจะ ท�ำให้เกษตรกรขายได้ราคาเพิ่มขึ้น 10-100 เท่า ของราคาไก่ พื้นเมืองปกติ จึงนับว่าเป็นการเพิ่มมูลค่าได้อย่างดียิ่ง 2.เงื่ อ นไขความส� ำ เร็ จ 2.1 ต้องมีความรู้ และเข้าใจการคัดเลือกและปรับปรุง พันธุ์ไก่ชนเชิงกีฬา 2.2 ต้อ งมีก ารด�ำเนินการผลิต ในลักษณะกลุ ่ มหรื อ ชมรม และมีสมาชิกไม่น้อยกว่า 50 ราย โดยกลุ่มต้องได้รับ ความเห็นชอบจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. หรือ เทศบาล 2.3 ต้องมีสนามประลองเพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ก่อน จ�ำหน่ายโดยไม่มีการพนันโดยเด็ดขาด 2.4 ต้องประสานการตลาดกับกลุ่มผู้เลี้ยงไก่ชนในท้อง ถิ่นเพื่อจ�ำหน่ายไก่ที่ผลิตได้
ต้ น ทุ น และผลตอบแทนที่ ไ ด้ จ ะผั น แปรไปตามสภาวะ การตลาด แหล่ ง ที่ เ ลี้ ย ง ตลอดจนความสามารถ ในการคั ด เลื อ กพั น ธุ ์ ไ ก่ ดั ง นั้ น เกษตรกรควรมี ก าร ศึ ก ษาข้ อ มู ล และรายละเอี ย ดให้ ชั ด เจนก่ อ นตั ด สิ น ใจเลี้ ย ง 3. เทคโนโลยี และกระบวนการผลิ ต 3.1 พันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ สายพันธุ์ไก่เก่งที่นิยมเลี้ยงส่วนใหญ่เป็นไก่ชนไทย ได้แก่ เหลืองหางขาว ประดู่หางด�ำ เขียวหางด�ำ เทาหางขาว นกแดง นกกรดทองแดง และสายพันธุ์ลูกผสมไทย-พม่า ลูกผสมไทยเวียดนาม (ลูกผสมไซง่อน) เป็นต้น ลักษณะไก่ชนไทยพันธุ์ดีที่ควรไว้ท�ำพันธุ์ควรมีดังนี้ คือ เพศผู้น�้ำหนักไม่น้อยกว่า 3 กก. และเพศเมียไม่น้อยกว่า 2 กก. มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงขนเป็นมันเงางามสีชัดเจนและมี ลักษณะเด่นชัดตามแต่ละสายพันธุ์ 3.2 โรงเรือนและอุปกรณ์ สถานที่เลี้ยง ควรอยู่ไกลจากแหล่งชุมชนเพื่อป้องกัน โรคระบาดและไม่รบกวนเพื่อนบ้านบริเวณที่เลี้ยงควรมีร่มไม้ ชายคาคอกเลี้ยงไก่ควรท�ำด้วยแฝกหรือจาก ภายในโรงเรือน ควรมีคอกให้ไก่ได้เกาะหลับนอน ส�ำหรับอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นในโรง เรือน ต้องมีรางน�้ำ รางอาหารอย่างเพียงพอกับจ�ำนวนไก่ และ มีรังไก่ส�ำหรับแม่ไก่ฟักไข่ให้เพียงพอเช่นกัน 3.3 อาหารและการให้อาหาร การเลี้ ย งไก่ ช นที่ ดี ค วรเลี้ ย งแบบปล่ อ ยให้ ไ ก่ ไ ด้ อ อก ก�ำลังกายและหาอาหารกินเองตามธรรมชาติ ไก่ชนก็จะคุ้ยเขี่ย หาเศษข้าว ข้าวเปลือกที่ตกตามลานนา หาหนอน หาปลวก 45
issue 128 SEPTEMBER 2018
และแมลงกินเองแต่ในสภาพปัจจุบันควรเลี้ยงไก่ชนแบบกึ่งขัง กึ่งปล่อย และมีอาหารเสริมบ้าง เช่น หญ้า หยวกกล้วย หรือ ผลไม้สุกหรือหนอน หาแมลง ลูกกบ ลูกเขียด ลูกปลา กุ้งฝอย เนื้อปลาสับ หรืออาหารส�ำเร็จรูปมาเสริมบ้างจะท�ำให้ไก่ชน เติบโตได้อย่างรวดเร็ว แต่หลังอายุได้ 2 เดือนไปแล้วควรฝึกให้ ไก่ชนได้กินข้าวเปลือกทีละน้อยแล้วเพิ่มปริมาณขึ้นเมื่อไก่โตขึ้น ส่วนเรื่องน�้ำ ผู้เลี้ยงต้องมีน�้ำสะอาดตั้งให้กินตลอดเวลา อุปกรณ์ใส่น�้ำควรเป็นแบบแขวนจะดีที่สุด หรือดัดแปลงจากวัสดุ ในฟาร์ม เช่น อ่างน�้ำ หรือ กะละมัง 3.4 การจัดการเลี้ยงดู การเลี้ยงดูในระยะแรกเกิดจนถึงอายุ 8 เดือน ใช้วิธีเลี้ยง เช่นเดียวกับการเลี้ยงไก่ชนสวยงามและไก่พื้นเมืองทั่วไป แต่หลัง จากนั้นให้ท�ำการคัดเลือกพันธุ์โดยแยกเป็น 3 กลุ่ม คือไก่เก่ง(ไก่
กีฬา) ไก่แกง (ไก่เนื้อเพื่อการบริโภค) และไก่พันธุ์ทดแทน โดยไม่ เก่ง หรือไก่กีฬา ควรคัดไว้ประมาณ 10 % ของลูกเพศผู้ทั้งหมด ไก่พันธุ์ทดแทน ควรคัดไว้ประมาณ 30 % ของลูกไก่ทั้งหมด ส่วน ที่เหลือเลี้ยงเป็นไก่เก่งหรือไก่เนื้อเพื่อการบริโภค (ชั่งกิโลขาย) การเลี้ยงไก่เก่ง ผู้เลี้ยงต้องมีความรู้ความช�ำนาญใน การคัดเลือกสายพันธุ์ โดยใช้อัตราส่วนพ่อพันธุ์ต่อแม่พันธุ์ ไม่ เกิน 1: 5 และต้องรู้ขั้นตอนการฝึกซ้อมไก่ให้เก่ง ผู้เลี้ยงจ�ำเป็น ต้องมีการจัดท�ำพันธุ์ประวัติประจ�ำตัวไก่เก่งแต่ละตัวเอาไว้ เมื่อ ผสมพันธุ์ผลิตลูกออกจ�ำหน่าย จะได้ทราบชั้นเชิงของไก่ดังกล่าว และสามารถคัดเลือกลักษณะเพื่อขายได้ตรงตามความต้องการ ของผู้ซื้อ การให้ผลผลิตของแม่ไก่ แม่ไก่ 1 ตัว จะให้ลูกได้ปีละ 4 ครอก และแต่ละครอกจะเลี้ยงรอดประมาณ 8 ตัว 46
IS AM ARE www.fosef.org
3.5 การป้องกันโรคระบาด ควรมีการท�ำวัคซีนในโรคระบาดที่ส�ำคัญได้แก่ โรคนิว คาสเซิล (โรคกระแตเวียน) โรคอหิวาต์ (โรคหน้าด�ำหรือโรคตก คอนตาย) โรคฝีดาษ (เกิดจากยุงกัด) และโรคหลอดลมอักเสบ (ไอ จามน�้ำมูก น้าตาไหล หน้าบวม) โดยหาซื้อวัคซีน และขอค�ำ แนะน�ำได้จากส�ำนักงานปศุสัตว์จังหวัดทั่วประเทศ 4.ต้ น ทุ น และผลตอบแทน ส�ำหรับการเลี้ยงไก่ชน 1 ชุดซึ่งประกอบด้วย พ่อพันธุ์ 1 ตัว และแม่พันธุ์ 5 ตัว 4.1 ต้นทุน จะได้แก่ค่าใช้จ่ายในส่วนค่าพ่อแม่พันธุ์ ค่าอาหาร ค่า วัคซีน และเวชภัณฑ์ โดย จะมีต้นทุนประมาณ 25,000-26,000 บาท 4.2 ผลตอบแทน จะได้จากการจ�ำหน่ายไก่ชนเพศผู้ที่คัดเป็นไก่เก่ง ไก่ชน ที่คัดเป็นไก่ทดแทนและไก่ชนคัดทิ้งที่ขายเป็นไก่แกง โดยจะมี ผลตอบแทนประมาณ 45,000-50,000 บาท และในปีต่อไปจะ ได้รับผลตอบแทนเพิ่มขึ้น เนื่องจากไม่ต้องลงทุนค่าพ่อ-แม่พันธุ์ ทั้ ง นี้ ต้ น ทุ น และผลตอบแทนที่ ไ ด้ จ ะผั น แปรไปตาม สภาวะการตลาด แหล่งที่เลี้ยง ตลอดจนความสามารถในการ คัดเลือกพันธุ์ไก่ดังนั้นเกษตรกรควรมีการศึกษาข้อมูล และราย ละเอียดให้ชัดเจนก่อนตัดสินใจเลี้ยง
การเลี้ ย งไก่ เ ก่ ง ผู ้ เ ลี้ ย งต้ อ งมี ค วามรู ้ ค วามช� ำ นาญ ในการคั ด เลื อ กสายพั น ธุ ์ โดยใช้ อั ต ราส่ ว นพ่ อ พั น ธุ ์ ต่ อ แม่ พั น ธุ ์ ไม่ เ กิ น 1: 5 และต้ อ งรู ้ ขั้ น ตอนการฝึ ก ซ้ อ มไก่ ใ ห้ เ ก่ ง ผู ้ เ ลี้ ย งจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารจั ด ท� ำ พั น ธุ ์ ประวั ติ ป ระจ� ำ ตั ว ไก่ เ ก่ ง แต่ ล ะตั ว เอาไว้ เมื่ อ ผสมพั น ธุ ์ ผลิ ต ลู ก ออกจ� ำ หน่ า ย จะได้ ท ราบชั้ น เชิ ง ของไก่ ดั ง กล่ า ว และสามารถคั ด เลื อ กลั ก ษณะเพื่ อ ขายได้ ต รง ตามความต้ อ งการของผู ้ ซื้ อ
5.แหล่ ง ข้ อ มู ล และรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม 5.1 เอกสารค�ำแนะน�ำ “การเลี้ยงไก่พื้นเมือง” กรม ปศุสัตว์ โทร 0-2553-4444 ต่อ 2431 5.2 หนังสือและต�ำราการเลี้ยงไก่ชนเชิงกีฬา หรือการ เลี้ยงไก่ชนทั่วไป ที่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาด 5.3 กลุ่มวิจัยและพัฒนาสัตว์ปีก กองบ�ำรุงพันธุ์สัตว์ กรม ปศุสัตว์ โทร 0-2653-4454 5.4 ศู น ย์ วิ จั ย และบ� ำ รุ ง พั น ธุ ์ สั ต ว์ / สถานี วิ จั ย และ ทดสอบพันธุ์ในพื้นที่ใกล้เคียง 5.5 ส�ำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ กรุงเทพฯ โทร 0-2653-4471 5.6 ส�ำนักปศุสัตว์จังหวัดทุกจังหวัดทั่วประเทศ 5.7 ส�ำนักสุขศาสตร์และสุขอนามัย ที่ 1-9 47 issue 128 SEPTEMBER 2018
48 IS AM ARE www.fosef.org
49 issue 128 SEPTEMBER 2018
50 IS AM ARE www.fosef.org
51 issue 128 SEPTEMBER 2018
52 IS AM ARE www.fosef.org
53 issue 128 SEPTEMBER 2018
54 IS AM ARE www.fosef.org
55 issue 128 SEPTEMBER 2018
จริงหรือที่ว่าเด็กคืออนาคต?
เรื่อง : ศ.ระพี สาคริก
56 IS AM ARE www.fosef.org
ความจริ ง ของชี วิ ต ช่วงหลังๆ แทบทุกครั้งที่ฉันได้ยินคนพูดกันว่าเด็กคือ อนาคต มันท�ำให้รู้สึกสะดุดใจอย่างมาก ทั้งนี้และทั้งนั้น เนื่องจากฉันเป็นคนมีนิสัยที่ไม่ชอบเดิน ตามกระแสสังคมมาตลอด จึงท�ำให้ตัวเองไม่ค่อยจะรับอะไรจาก ภายนอกโดยไม่น�ำสิ่งนั้นมาทบทวนให้รู้แจ้งเห็นจริงเสียก่อน จึง อาจท�ำให้หลายคนมองว่าฉันเป็น คนคิดแบบอุตริ บ้างก็พูดว่า ฉันเป็นคนหัวดื้อ ถ้าจะพูดกันอย่างสุภาพซักหน่อย ก็คงบอกว่า คิดแบบทวนกระแสสังคม บนพื้นฐานสังคมแบบวัตถุนิยม ซึ่งนับวันยิ่งรุนแรงมาก ขึ้น ท�ำให้คนจ�ำนวนมากมองอะไรๆ มักมีแนวโน้มมุ่งออกจาก ตัวเองอย่างเห็นได้ชัด สภาพดังกล่าว ถ้าจะพูดกันชัดๆ ก็คือ มีคนเห็นแก่ตัว แพร่กระจายอยู่ในสังคมกว้างขวางมากขึ้น ซึ่งคนแบบนี้ หลัง จากรับกระแสภายนอก มักคิดแบบเอาตัวรอด จึงมีนิสัยชอบ อ้างเหตุโน้นเหตุนั้น ดังจะพบได้อย่างกว้างขวางว่า ท�ำอย่างนี้ได้ ยังไง ประเดี๋ยวก็ต้องอดตายกันหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่กล้า หาญจริง ย่อมไม่ยอมน�ำเงื่อนไขใดๆ มาอ้าง เพื่อตนเอง แต่จากสภาพที่เป็นจริงในขณะนี้บางคนก็อ้างว่า ผมมี ครอบครัว ขืนท�ำไป คนในครอบครัวผมก็จะต้องล�ำบาก บางที อาจได้ ยิ น ว่ า ตั ว เองยั ง ต้ อ งท� ำ อย่ า งนั้ น อย่ า งนี้ ต ่ อ ไป จึ ง ไม่ สามารถที่จะท�ำอะไรๆ ตามเหตุและผลซึ่งอยู่บนพื้นฐานตนเอง ได้
ถ้ า จะพู ด กั น ชั ด ๆ ก็ คื อ มี ค นเห็ น แก่ ตั ว แพร่ ก ระจาย อยู ่ ใ นสั ง คมกว้ า งขวางมากขึ้ น ซึ่ ง คนแบบนี้ หลั ง จากรั บ กระแสภายนอก มั ก คิ ด แบบเอาตั ว รอด จึ ง มี นิ สั ย ชอบ อ้ า งเหตุ โ น้ น เหตุ นั้ น ดั ง จะพบได้ อ ย่ า ง กว้ า งขวางว่ า ท� ำ อย่ า งนี้ ไ ด้ ยั ง ไง ประเดี๋ ย วก็ ต ้ อ ง อดตายกั น หมด โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ผู ้ ที่ ก ล้ า หาญ จริ ง ย่ อ มไม่ ย อมน� ำ เงื่ อ นไขใดๆ มาอ้ า ง เพื่ อ ตนเอง เหตุและผลดังกล่าว หมายถึงรากฐานจิตใจที่อิสระ ช่วย เปิดกว้างโดยไม่ยึดติดกับอิทธิพลจากรูปวัตถุเกินความพอดี ซึ่ง จ�ำเป็นต้องใช้ความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว แม้กระทั่งผู้ที่อยากเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ซึ่งคง หยุดได้ยากที่จะคิดตะเกียกตะกายให้ตัวเองขึ้นไปอยู่ระดับสูง ยิ่งขึ้น คนคิ ด แบบนี้ อย่ า งน้ อ ยก็ มั ก อ้ า งว่ า ต้ อ งการแผ่ น กระดาษไปสักแผ่นหนึ่งส�ำหรับสังคมยุคนี้ ไม่ยังงั้นตัวเองจะไป หางานท�ำได้ยาก คล้ายๆ กับว่า ท�ำไปยังงั้นเอง แต่ใจไม่ได้คิดอยากได้ ซึ่ง แท้จริงแล้ว ลึกๆ ภายในความรู้สึกที่ซ้อนเร้นความจริงเอาไว้ ก็ คือข้ออ้างซึ่งพูดแบบขอไปที ท�ำให้รู้สึกว่าทุกวันนี้คนส่วนใหญ่ ไม่อาจถือสัจจะที่อยู่ในรากฐานจิตใจตัวเองเอาไว้ได้อย่างมั่นคง ถ้ามองชนรุ่นหลังแล้วเห็นภาพดังกล่าว ก็คงต้องมอง ย้อนกลับไปยังผู้ใหญ่ซึ่งเป็นอดีตแล้วจะพบความจริงว่า แม้ ผู้ใหญ่ส่วนใหญ่ขณะนี้นิสัยท่าที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดได้รับการ ถ่ายทอดมาจากเหตุซึ่งอยู่ในจิตใจชนรุ่นก่อน แต่ ก็ ห าใช่ ว ่ า ผู ้ ใ หญ่ ช นรุ ่ น หลั ง ในปั จ จุ บั น จะตกอยู ่ ในสภาพดังกล่าวแล้วทั้งหมดไม่ ในเมื่อธรรมชาติของทุกสิ่ง 57
issue 128 SEPTEMBER 2018
ทุกอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งธรรมชาติของมวลมนุษย์ เช่นเราๆ ทุกคน ไม่มีอะไรจะเป็นไปร้อยทั้งร้อย ในเมื่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม มีวิถีทางที่หมุนวนเป็น วัฏจักร วันหนึ่งในอนาคต ไม่ว่าชีวิตจะเป็นผู้ใหญ่หรือเด็กที่คง แข็งแกร่งหลงเหลืออยู่ได้ ย่อมสามารถสืบสานกระแสให้หวน กลับมาสู่อีกด้านหนึ่งได้ หากฉันตั้งค�ำถามว่า จริงหรือที่เด็กคืออนาคต นอกจาก ฉุกคิดเรื่องนี้แล้ว ท�ำให้ฉันหวนกลับมาตั้งค�ำถามใหม่ว่า เด็กคือ อดีตไม่ได้หรืออย่างไร? การที่คนจ�ำนวนมากพูดกันด้านเดียวว่า เด็กคืออนาคต แทนที่จะหวนกลับมามองเห็นอีกด้านหนึ่ง ซึ่งแท้จริงแล้วมีความ จริงอยู่ในใจของผู้พูด ผู้มอง แสดงว่า ช่วงหลังๆ คนส่วนใหญ่มี นิสัยเห็นแก่ตัวเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพียงหวนกลับมามองความจริงซึ่งอยู่ในใจตัวเองให้พบ และเข้าใจได้เท่านั้น ย่อมมองเห็นได้ชัดเจนว่า เด็กคืออดีตของ ตนมาแต่ก�ำเนิด หากแต่ละคนมีนิสัย ให้ใจแก่ทุกคนที่อยู่ในสังคมได้แล้ว ยิ่งเติบโตเป็นผู้ใหญ่ยิ่งขึ้น ทุกครั้งที่มีโอกาสสัมผัสพฤติกรรมของ เด็ก จากช่วงแรกของความรู้สึกอาจคิดว่า เด็กท�ำอะไรๆ ไม่ถูกใจ ตน ย่อมเกิดความหยั่งคิดหวนกลับมาทบทวนตัวเอง ช่วยให้ค้น
พบความจริงจากใจได้ว่า แต่ก่อนเราก็เคยเป็นเด็กมาแล้ว มาถึง ช่วงนี้ควรเข้าใจได้ว่า สิ่งที่พบเห็นก็คือธรรมชาติของเด็กย่อม ท�ำให้เกิดความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้ง ผู้ใหญ่ที่มีธรรมชาติความรู้สึก มองเห็นเด็กคืออดีตของ ตัวเองย่อมมีคุณสมบัติช่วยให้เด็กมีโอกาสพัฒนาขึ้นมาจากความ จริง ซึ่งอยู่ในใจของแต่ละคนอย่างเป็นธรรมชาติ นอกจากนั้น ผู้ใหญ่ผู้มีคุณสมบัติดังกล่าว ย่อมหวนกลับมาพิจารณาตนเอง เพื่อน�ำปฏิบัติทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งตั้งมั่นอยู่บนพื้นฐานความรักและ ความจริงใจในสัจจะ ย่อมเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กรู้สึกรักและ ศรัทธาอย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่ ง นิ สั ย ที่ ก ล่ า วมาแล้ ว น่ า จะเกิ ด ผลดี แ ก่ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ทั้ ง ผู้ใหญ่และเด็กร่วมกันนอกจากนั้น หากมองความจริงที่รากฐาน ย่อมพบได้ว่า บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังกล่าว ย่อมมีวิญญาณที่ให้ ความรักความส�ำคัญและรู้คุณค่าของพื้นดินเป็นสัจธรรม บุคคล ลักษณะนี้ย่อมให้ความรักความจริงใจแก่ทุก ชีวิตที่อยู่ในระดับ พื้นดินอย่างมีความสุข จึงมีความจริงใจต่อทุกคน อีกทั้งเน้น ความส�ำคัญลงสู่คนระดับล่าง ซึ่งชีวิตแท้ของคนเหล่านี้มีความ สุขกับธรรมชาติของชีวิตตัวเองอยู่แล้ว จึงไม่คิดน�ำสิ่งซึ่งตกอยู่ ภายใต้อิทธิพลวัตถุ นิยมเข้าไปเผยแพร่ อันพึงส่งผลท�ำลายจิต วิญญาณที่แท้จริง ให้ท�ำต้องสูญเสียไปในที่สุด 58
IS AM ARE www.fosef.org
การละเล่ น ของเด็ ก ไทย
ขี่ม้าก้านกล้วย เล่ น ขี่ ม ้ า ก้ า นกล้ ว ยจะเล่ น กั น กี่ ค นก็ ไ ด้ ท�ำม้ากันคนละตัวขี่แข่งกัน ใครถึงเส้นชัยก่อนก็ชนะ ใครไม่ได้ ขั้นแรกท�ำม้าจากก้านกล้วย โดยเลือกก้านกล้วยก้าน ขี่ม้า อาจใช้ก้านกล้วยที่เหลือๆเป็นแส้คอยไล่ตีม้าก็ได้ สนุกดี ใหญ่ๆ ตัดที่โคน แล้วเจียนใบออกทั้งสองข้างให้เหลือที่ปลาย เหมือนกัน ใบไว้ประมาณหนึ่งคืบ เพื่อเป็นหางม้า ที่โคนใบจะท�ำเป็นหัว ม้า โดยกรีดด้านข้างทั้งสองด้านของก้านกล้วยย้อนไปทางโดน ก้านเพื่อให้เป็นหูม้า เมื่อหักส่วนหัวลง ใช้ไม้แหลมเสียบไว้เพื่อ ยึดหัวม้ากับตัว จากนั้นใช้เชือกผูกส่วนหัวกับส่วนหางไว้เป็น สายสะพาย วี ธี ก ารเล่ น เอาสะพายพาดไหล่ แล้วขึ้นคร่อมบนก้านกล้วย เป็นการ ขึ้นขี่ม้า อาจจะขี่เล่นคนเดียวก็สนุก ถ้ามีเพื่อนๆมาหลายคน ก็ 59 issue 128 SEPTEMBER 2018
TCEB ยกระดับคุณภาพในไทย
ก้าวไกลสู่อาเซี ยน
TCEB เป็ น หน่ ว ยงานในสั ง กั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี มี พั น ธกิ จ หลั ก ในการดู แ ลส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาอุ ต สาห กรรมไมซ์ ข องประเทศให้ เ ป็ น กลไกหลั ก อั น หนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ และช่ ว ยสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ประเทศ สอดคล้ อ งกั บ นโยบายของรั ฐ บาลที่ ต ้ อ งการให้ อุ ต สาหกรรมไมซ์ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ ภายใน ประเทศ และกระจายรายได้ สู ่ ภู มิ ภ าค
60 IS AM ARE www.fosef.org
Let’s Talk
61 issue 128 SEPTEMBER 2018
ไมซ์ ประเทศไทย หรือ Thailand MICE Venue Standards (TMVS) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 และได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี จากผู้ประกอบการสถานที่จัดงานไมซ์ที่เข้าร่วมโครงการอีกด้วย อยากทราบถึ ง ความคื บ หน้ า การด� ำ เนิ น โครงการ มาตรฐานสถานที่ จั ด งานไมซ์ ป ระเทศไทย หรื อ Thailand MICE Venue Standards (TMVS) และเป้ า หมายการด� ำ เนิ น งานปี 2561 ? : ช่วง 3 ปีแรกที่ผ่านมาของโครงการมาตรฐาน TMVS เป็นช่วงเริ่มต้นของการส่งเสริมเพื่อวางรากฐาน การพัฒนา ยกระดั บ คุ ณ ภาพสถานที่ จั ด งานไมซ์ ไ ทยให้ เ ป็ น มาตรฐาน
ของประเทศ และเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล การด� ำ เนิ น งานในภาพรวมที่ผ่านมานับว่ามีความก้าวหน้าไปตามล�ำดับ ปัจจุบันนี้มีผู้ประกอบการสถานที่จัดงานไมซ์ในไทยได้รับการ รับรองมาตรฐาน TMVS ประเภทห้องประชุม และ ประเภท สถานที่จัดงานแสดงสินค้า จ�ำนวนทั้งสิ้น 315 แห่ง รวม 791 ห้องจากทั่วประเทศ : นอกจากนี้ ปีนี้ยังเป็นปีแรกที่ TCEB ริเริ่มการตรวจ ประเมินมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทยประเภทสถาน ที่จัดกิจกรรมพิเศษ หรือ Special Event Venue เพิ่มขึ้นอีก หนึ่งประเภท เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจ ซึ่งปัจจุบัน ผู้จัดงานไมซ์ มีความต้องการที่หลากหลาย ชอบความแปลกใหม่ และความคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเนื่องในโอกาสพิเศษ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อความบันเทิง หรือเป็นงานที่เกี่ยวข้อง กับ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนวิถีชีวิตของ ผู้คน เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ และความประทับใจแก่ ผู้ที่เข้าร่วมงาน ซึ่งการจัดกิจกรรมพิเศษเหล่านี้ มักจะเกี่ยวพัน กับสถานที่และผู้คนในวิชาชีพต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดงาน ส่งผลให้เกิดการกระจายรายได้สู่ภาคส่วนต่างๆ ของสังคมทุก
จิรุตถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่ง เสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ TCEB กล่าวว่า ผลการด�ำเนินงานของ TCEB ในสามไตรมาส แรกของปีงบประมาณ 2561 มีจ�ำนวนนักเดินทางกลุ่มไมซ์ต่าง ชาติเข้าสู่ประเทศไทยแล้ว 910,912 คน คิดเป็นรายได้ 68,898 ล้านบาท ซึ่งประมาณการว่าสิ้นปีงบประมาณนี้ จะมีนักเดินทาง ไมซ์ต่างชาติเข้าสู่ประเทศไทย 1,327,000 คน และสร้างรายได้ 124,000 ล้านบาท ส่วนนักเดินทางกลุ่มไมซ์ในประเทศ ในสามไตรมาสแรก ของปีงบประมาณ 2561 มีจ�ำนวนนักเดินทางชาวไทย ที่เข้า ร่วมงานไมซ์ในประเทศกว่า 24 ล้านคน รวมมูลค่ากว่า 85,000 ล้านบาท ซึ่งประมาณการว่าทั้งปีงบประมาณนี้จะมีนักเดินทาง ชาวไทยเข้าร่วมงานไมซ์ในประเทศประมาณ 37,082,330 คน และสร้างรายได้ให้แก่เศรษฐกิจ 95,561 ล้านบาท นอกจากนี้ ผู ้ อ� ำ นวยการ TCEB ยั ง เล็ ง เห็ น ว่ า อุตสาหกรรมไมซ์ เป็นธุรกิจบริการที่การมีมาตรฐานรับรอง ถือ เป็นหัวใจส�ำคัญยิ่งทั้งในแง่ของการพัฒนาคุณภาพบริการ และ การส่งเสริมตลาด จึงได้ริเริ่มโครงการมาตรฐานสถานที่จัดงาน
62 IS AM ARE www.fosef.org
ระดับ สอดรับกับนโยบายของรัฐบาล และยังเป็นการส่งเสริม ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศให้เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน : ส�ำหรับปี 2561 TCEB ก�ำหนดเป้าหมายการด�ำเนิน งานว่ า จะมี ผู ้ ป ระกอบการสถานที่ จั ด งานที่ ผ ่ า นการรั บ รอง มาตรฐาน TMVS ทั้งสิ้น 175 แห่ง แบ่งออกเป็นแต่ละประเภท ได้แก่ ประเภทห้องประชุม 150 แห่ง ประเภทสถานที่จัดงาน แสดงสินค้า 5 แห่ง ประเภทสถานที่จัดกิจกรรมพิเศษ 20 แห่ง แคมเปญสื่ อ สารการตลาด Thailand MICE Venue Standards 2018 เป็ น อย่ า งไร ? : ปีนี้ TCEB มีนโยบายที่จะส่งเสริมภาพลักษณ์ของ ประเทศไทยในการเป็นจุดหมายปลายทางของการจัดประชุม สัมมนา และงานแสดงสินค้า ที่มีมาตรฐานระดับสากล สามารถ แข่งขันได้อย่างทัดเทียมกับนานาประเทศ โดยมุ่งเน้นขยายการ รับรู้และจดจ�ำตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ ประเทศไทย Thailand MICE Venue Standards หรือที่เรียก ว่ามาตรฐาน TMVS ไปยังกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ทั้งกลุ่ม ศูนย์ ประชุม กลุ่มโรงแรมและรีสอร์ท กลุ่มหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ตลอดจนสาธารณชนทั่วไปให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
: ทั้ ง นี้ TCEB มี เ ป้ า หมายหลั ก ในการรณรงค์ ใ ห้ เ กิ ด การพัฒนายกระดับคุณภาพบริการของสถานที่จัดงานไมซ์ทั่ว ประเทศ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ เพื่อช่วย เพิ่มความมั่นใจแก่ผู้จัดงาน ผู้เข้าร่วมงานทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ในการเลือกประเทศไทยให้เป็นสถานที่จัดงาน ไมซ์ : โดยจะด�ำเนินการผ่านแคมเปญสื่อสารการตลาด Thailand MICE Venue Standards 2018 ซึ่งปีนี้จะเน้น การน�ำ เสนอเรื่องราว มุมมองต่างๆ ที่เป็นจุดแข็งของการมีมาตรฐาน TMVS ผ่านเครือข่ายดิจิตอล ให้รับกับกระแสการสื่อสารใน
63 issue 128 SEPTEMBER 2018
64 IS AM ARE www.fosef.org
โลกยุคใหม่ และสอดคล้องกับนโยบายขับเคลื่อนประเทศภาย ใต้วิสัยทัศน์ Thailand 4.0 ของรัฐบาล ซึ่งมุ่งเน้นขับเคลื่อน ประเทศด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม : กลยุทธ์หลักที่จะใช้ในการสื่อสาร ประกอบด้วย 4 สร้าง 1 สานสัมพันธ์ ได้แก่ สร้างการรับรู้เกี่ยวกับโครงการสร้างภาพ ลักษณ์ที่ดีให้กับอุตสาหกรรมไมซ์ไทย สร้างความเชื่อมั่นให้กับ ผู้ใช้บริการ สร้างความ เข้าใจในภารกิจและวิสัยทัศน์ขององค์กร โดยการสานสัมพันธ์ที่ดีกับหน่วยงานพันธมิตรตลอดจนกลุ่มผู้ ประกอบการไมซ์ ภายใต้แนวคิดหลัก “มั่นใจในคุณภาพระดับ สากล ด้วยมาตรฐานสถานที่จัดงานประเทศไทย” เพื่อให้เกิด การจดจ�ำ และเชื่อมั่นในตราสัญลักษณ์รับรองมาตรฐาน TMVS เป็นการยืนยันความพร้อม สร้างความน่าเชื่อถือ และส่งเสริม ภาพลักษณ์ที่ดีของสถานที่จัดงานไมซ์ที่มีความหลากหลาย และ มีมาตรฐานสากล ทั้งยังเป็นเครื่องมืออันทรงประสิทธิภาพที่จะ ช่วยต่อยอด สร้างโอกาสทางธุรกิจให้กับผู้ประกอบการไมซ์ไทย ในการแข่งขันกับนานาชาติ ตลอดจนรักษาการเจริญเติบโตไว้ได้ ในระยะยาวเพื่อความส�ำเร็จที่ยั่งยืน เป็นเจ้าภาพการประชุมคณะท�ำงาน (ร่าง) มาตรฐานสถานที่จัด งานไมซ์ของอาเซียน หรือ ASEAN MICE Venue Standards (AMVS) ประเภทสถานที่จัดงานแสดงสินค้า ซึ่งเป็นการประชุม 6 คณะท�ำงาน AMVS ครั้งที่ 6 ก�ำหนดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 - 15 กันยายน 2561 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ โดยมีผู้แทนจากประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศเข้าร่วมงาน : การประชุมครั้งนี้ มีสาระส�ำคัญคือจะเป็นการหารือ ร่างมาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ของอาเซียน ประเภท สถานที่ จัดงานแสดงสินค้า ซึ่งจะเป็นการประชุมกันเป็นวาระแรกของ ร่างมาตรฐานฯประเภทสถานที่จัดงานแสดงสินค้าโดย TCEB มีความมุ่งหวังที่จะให้คณะท�ำงานเห็นด้วยกับร่างมาตรฐานดัง กล่าว และจะผลักดันการพัฒนามาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ ไทยสู่มาตรฐานของอาเซียนต่อไป เพื่อสร้างมาตรฐานสถานที่จัด งานให้อยู่ในระดับเดียวกัน เป็นโอกาสในการต่อยอดธุรกิจของ สถานประกอบการไมซ์ไทยให้แข่งขันได้ในตลาดโลก : ประเทศไทยเป็นผู้ริเริ่มการจัดท�ำมาตรฐานสถานที่จัด งานไมซ์ขึ้นเป็นประเทศแรกในอาเซียน และได้น�ำเสนอเข้าสู่ที่ ประชุมการท่องเที่ยวอาเซียนเมื่อปี พ.ศ. 2557 ต่อมาในปี พ.ศ. 2559 ที่ประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการท่องเที่ยวอาเซียน เห็ น ชอบให้ ม าตรฐานสถานที่ จั ด งานไมซ์ ที่ ม าจากมาตรฐาน ของไทย (Thailand MICE Venue Standards – TMVS) ถูก
: ภายใต้แคมเปญสื่อสารการตลาด Thailand MICE Venue Standards 2018 นี้ มุ่งหวังว่าจะสามารถเข้าถึงกลุ่ม เป้าหมายไม่ต�่ำกว่า 1,000,000 คน และมีการสื่อสารถึงกลุ่ม เป้าหมายด้วยปริมาณความถี่ไม่น้อยกว่า 7,000,000 ครั้ง ความคื บ หน้ า การด� ำ เนิ น โครงการมาตรฐานสถาน ที่ จั ด งานไมซ์ ข องอาเซี ย น หรื อ ASEAN MICE Venue Standards (AMVS) และเป้ า หมายการ ด� ำ เนิ น งานปี 2561 เป็ น อย่ า งไร ? : ส� ำ หรั บ โครงการมาตรฐานสถานที่ จั ด งานไมซ์ ข อง อาเซียน หรือ ASEAN MICE Venue Standards (AMVS) ใน ปีนี้นั้น ประเทศไทยโดยTCEB ยังคงได้รับบทบาทส�ำคัญต่อการ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไมซ์ในเวทีอาเซียน โดยได้รับเกียรติให้ 65
issue 128 SEPTEMBER 2018
บรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์ท่องเที่ยวอาเซียน พ.ศ. 2559-2568 (ASEAN Tourism Strategic Plan 2016-2025) และมอบหมาย ให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพคณะท�ำงาน (ร่าง) มาตรฐานสถาน ที่จัดงานไมซ์ของอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standards) ร่ ว มกั บ อี ก 9 ประเทศสมาชิก ภายใต้คณะท�ำงานหลั ก ของ อาเซียนมีชื่อว่า ASEAN Tourist Professional Monitoring Committee (ATPMC) : การได้รับเกียรติให้เป็นผู้รับผิดชอบเรื่องมาตรฐาน สถานที่จัดงานไมซ์ของอาเซียน ท�ำให้ประเทศไทยมีบทบาท ส�ำคัญในเวทีอาเซียนด้านอุตสาหกรรมไมซ์ ซึ่งประเทศไทยได้ วางแผนจัดอบรมองค์ความรู้ด้านมาตรฐาน สถานที่จัดงานให้ แก่ประเทศสมาชิกในอาเซียนด้วย เพื่อให้ไทยยังคงความเป็น ผู้น�ำองค์ความรู้ด้านมาตรฐาน สถานที่จัดงานไมซ์ในภูมิภาค และส่งเสริมภาพลักษณ์ของประเทศในฐานะจุดหมายปลายทาง ไมซ์ที่โดดเด่นในอาเซียน
: TCEB เล็ ง เห็ น ว่ า ประเทศไทยมี ส หกรณ์ อ ยู ่ ก ว่ า 8,000 แห่ง กระจายอยู่ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ มีสหกรณ์ที่มี ศักยภาพและความพร้อมที่จะส่งเสริมให้เป็นแหล่งศึกษาดูงาน แห่งใหม่ได้ จึงได้จัดท�ำโครงการ “ไมซ์เพื่อ ชุมชน” ร่วมกับ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ภายใต้การสนับสนุนจากมูลนิธิปิดทองหลัง พระสืบสานแนวพระราชด�ำริ เพื่อจัดท�ำแคมเปญประชาสัมพันธ์ ชุมชนสหกรณ์ในจังหวัดต่างๆ ให้เป็นแหล่งศึกษาดูงาน และ สถานที่จัดกิจกรรมเรียนรู้แห่งใหม่ พร้อมทั้งส่งเสริมให้เกิดการ สร้างเครือข่ายความร่วมมือต่อยอดการพัฒนา กับภาคเอกชน จากเครือข่ายอนาคตไทยและบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย อันเป็นบูรณาการความร่วมมือสามฝ่าย รัฐ ชุมชน เอกชน เพื่อช่วยกันกระตุ้นเศรษฐกิจ สอดรับกับนโยบายของ รัฐบาลที่ต้องการให้อุตสาหกรรมไมซ์เป็นกลไกหลักอันหนึ่งใน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในประเทศ : ปัจจุบันการจัดการประชุมสัมมนาไม่เพียงแต่จ�ำกัด อยู่แค่การประชุมในห้องประชุม หากยังมีการเดินทางไปศึกษา ดูงาน เรียนรู้ตามสถานที่ต่างๆ รวมไปถึงการจัดกิจกรรมส่ง เสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร (CSR – Corporate Social Responsibility) ซึ่งก่อให้เกิดการเดิน ทางไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และเป็นการกระจายรายได้ สู่ภูมิภาค ดังนั้น TCEB ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐ มีพันธกิจหลัก ใน การส่งเสริมการจัดประชุมสัมมนา การเดินทางเพื่อเป็น รางวัล และการแสดงสินค้าภายในประเทศไทยหรือเรียกว่า อุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) จึงมีความต้องการที่จะประชาสัมพันธ์ ให้มีแหล่งศึกษาดูงานภายในประเทศแห่งใหม่ ที่มีความพร้อม และท�ำการประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก ส่งเสริมและสนับสนุนให้
ในฐานะผู ้ บ ริ ห ารท่ า นมี ก ารน� ำ แนวคิ ด ปรั ช ญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาปรั บ ใช้ ใ นการบริ ห ารงาน หรื อ องค์ ก รอย่ า งไร ? : TCEB ได้ด�ำเนินโครงการ “ไมซ์เพื่อชุมชน มิติใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมไมซ์” โดยร่วมกับกรมส่งเสริมสหกรณ์ ด้วย ความมุ่งหวังให้อุตสาหกรรมไมซ์มีส่วนร่วมสนับสนุนให้ชุมชน ท้ อ งถิ่ น ที่ มี ค วามพร้ อ ม ได้ เ ปิ ด มุ ม มองในการด� ำ เนิ น งานให้ สามารถรองรับธุรกิจการจัดงานไมซ์ โดยเฉพาะในเรื่องของ การศึกษาดูงาน กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกับชุมชนหรือ จัดกิจกรรมพิเศษตามวาระโอกาสขององค์กรธุรกิจต่างๆ โดย อาศัยความคิด สร้างสรรค์ในการจัดงานบนพื้นฐานทรัพยากร และเสน่ห์อันเป็นอัตลักษณ์ของแต่ละชุมชน
66 IS AM ARE www.fosef.org
หน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชนเห็นถึงความส�ำคัญของ การจัดการประขุมสัมมนา การศึกษาดูงานและการเดินทางเพื่อ เป็นรางวัลภายในประเทศไทย อันจะเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ และกระจายรายได้สู่ภูมิภาคอีกทางหนึ่ง : ปัจจุบันประเทศไทยมีสหกรณ์อยู่กว่า 8,000 แห่ง ซึ่ง กระจายตัวอยู่ในชุมชนต่างๆ ทั่วประเทศ มีสหกรณ์ที่มี ศักยภาพ และมีความพร้อมที่สามารถประชาสัมพันธ์เป็นแหล่งศึกษาดู งานในชุมชนได้ TCEBจึงได้จัดท�ำโครงการไมซ์เพื่อชุมชนร่วมกั บกรมส่งเสริมสหกรณ์ และมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนว พระราชด�ำริ เพื่อจัดแคมเปญประชาสัมพันธ์ชุมชนสหกรณ์ใน จังหวัดต่าง ๆ ให้เป็นแหล่งศึกษาดูงานและสถานที่ท�ำกิจกรรม แห่งใหม่ การจัดท�ำแพคเกจส่งเสริมการขายกิจกรรม FAM Trip และกิจกรรม Table Top Sales ระหว่างชุมชนสหกรณ์ กับบริษัทเอกชนในตลาดหลักทรัพย์และเครือข่ายอนาคตไทย : กิจกรรม Table Top Sale ซึ่งเป็นการจับคู่เจรจาธุรกิจ ระหว่างชุมชนสหกรณ์และผู้แทนจากองค์กรธุรกิจชั้นน�ำมูลนิธิ ต่างๆ สถานศึกษา สถาบันการเงิน รวมกว่า 100 ราย มาพบปะ เจรจากับผู้แทนชุมชนสหกรณ์กว่า 16 แห่ง ที่มาร่วมออกบูธใน งาน “ไมซ์เพื่อชุมชน มิติใหม่อุตสาหกรรมไมซ์ไทย” อันจะน�ำ ไปสู่การแบ่งปัน องค์ความรู้ที่จะช่วยต่อยอดการพัฒนาสินค้า และบริการของชุมชน เปิดโอกาสในการเพิ่มรายได้จากการ เป็นแหล่งศึกษาดูงาน การจัดกิจกรรมร่วมรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมขององค์กรธุรกิจการจัดอาหารว่างในรูปแบบ
ที่สร้างสรรค์ การสาธิตกิจกรรมต่างๆ วิทยากรบรรยาย และ การต่อยอดขายสินค้าผลผลิตเกษตร ผลิตภัณฑ์แปรรูป สินค้า หัตถกรรม ทั้งการขายปลีกและขายส่งให้กับบริษัทหรือองค์กร ที่สนใจสนับสนุนชุมชน : การรวบรวมสหกรณ์ที่มีศักยภาพ 35 แห่ง ให้เป็น พื้นที่น�ำร่องส�ำหรับโครงการไมซ์เพื่อชุมชน โดยจะจัดท�ำเป็น คู่มือสถานที่จัดงานไมซ์เพื่อชุมชน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ไปยัง กลุ่มตลาดเป้าหมายผ่านสื่อต่างๆ ทั้ง ออฟไลน์และออนไลน์ เมื่อ เร็วๆ นี้ได้จัดกิจกรรมน�ำคณะผู้แทนองค์กรธุรกิจและสื่อมวลชน ไปเยี่ยมชมการ ด�ำเนินงาน พร้อมสัมผัสประสบการณ์สร้างสรรค์ การจัดงานโดยชุมชน ณ สหกรณ์การเกษตรบ้านลาด จ�ำกัด จ.เพชรบุรี และสหกรณ์โคนมมวกเหล็ก จ�ำกัด จ.สระบุรี ซึ่งได้ รับการตอบรับจากผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างดี ทั้งยังช่วยสร้างการ รับรู้เรื่องการจัดงานไมซ์ รวมถึงการสร้างความเข้าใจและความ ตื่นตัวให้กับชุมชนในการเป็นสถานที่จัดงานไมซ์ : ในเบื้องต้น TCEB ร่วมกับ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ได้ ท� ำ การคั ด เลื อ กชุ ม ชนสหกรณ์ ที่ มี ศั ก ยภาพและความพร้ อ ม จ�ำนวน 35 แห่ง จัดท�ำเป็นคู่มือสถานที่จัดงาน “ไมซ์เพื่อชุมชน” และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ สร้างการรับรู้ สู่สาธารณชน องค์กรภาครัฐและเอกชน ตลอดจนสถาบันการ เงิน และสถานศึกษาทั่วประเทศ เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งใน การศึกษาดูงาน
67 issue 128 SEPTEMBER 2018
ภาพเล่ า เรื่ อ ง
บทเรียนชี วิตจริง น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย ตอนที่ 17 : ร้อยยิ้ม สื่อสุข
ความสุข ความรู้ ควบคู่ คุณธรรม น้อมน�ำ ศาสตร์ พระราชา พันธกิจศูนย์ครอบครัวพอเพียงสานต่อที่พ่อท�ำ 5 ค�ำ 5 ข้อที่พ่อสอน แกนน�ำครอบครัวพอเพียง เริ่มท�ำด้วยใจ ท�ำวันละนิด จิตเปี่ยมสุข #นิทรรศการ “น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย” งานมัธยมฯ 5 - 7 กันยายน 2561 ณ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีฯ #พันธกิจด้านศาสนา วัฒนธรรมและสถาบันพระมหา กษัตริย์ #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน
ลัง : เปิดกล่องรับแนวคิด จิตอาสา พลเมืองใหม่ 1330 โครงการวิถีพอเพียงน�ำชุมชนเมืองเป็นสุข 3 – 4 สิงหาคม 2561 รับความรู้จากค่าย UHC Young Camp 2018 7 สิงหาคม 2561 น้องลีซอ ประธานภาค เขต 7 ขยายผล KN UHC project ในโรงเรียนพูดหน้าเสาธงเช้า คาบประชุมระดับ เตรียมขยับสู่ ชุมชน ชวนทุกคน ทุกโรงเรียน ด�ำเนินการปฏิบัติการ 1330 UHC project โครงการวิถีพอเพียงน�ำชุมชนเมืองเป็นสุข #กิ จ กรรม “UHC Young” #พั น ธกิ จ ด้ า นสั ง คม #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน
“น�้ำ” พึ่งเรือ เสือพึ่งป่า กัลยาณีฯ มาปลูกป่า ป่าชาย เลน มิตรภาพไทย – ญี่ปุ่น กิจกรรมดี สร้างสามัคคีสร้างความ ผูกพัน #กิจกรรม “รู้ป่า รักษ์ป่า ปลูกป่า เริ่มต้นที่ใจ” 9 สิงหาคม 2561 ศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน บ้านปากน�้ำปากพญา ต�ำบลท่าซัก อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช #พันธกิจด้าน สิ่งแวดล้อม #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน
68 IS AM ARE www.fosef.org
การละเล่ น ของเด็ ก ไทย ตังค์ คิดดี ได้ตังค์ มีแต่..ก�ำไร ไม่ขาดทุน “ได้งาน” งานที่ได้ “มีสุข” 26 สิงหาคม 2561 นวัตกรรมฟาร์มแห่ง อนาคต ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ขอบคุณเครือ ข่ายครอบครัวพอเพียง ร่วมกันสานเติมเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ใน ท้องถิ่น จุดประกายความคิด สร้างสรรค์สุขเพิ่ม เติมความฝัน เด็กน้อยคิดรังสรรค์นวัตกรรม 4.0 #ผลิตภัณฑ์ครอบครัวพอเพียง #พันธกิจด้านเศรษฐกิจ #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน ต้ น แบบลู ก สาวของพ่ อ ลู ก สาวของแผ่ น ดิ น มุ ่ ง มั่ น ก่อการดี บูรณาการกับ กิจกรรม “ศรัทธา ปัญญา อาสา” สร้าง องค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร์ ความส� ำ คั ญ ของสถาบั น พระมหากษัตริย์กับสังคมไทย ในนครศรีฯ #พั น ธกิ จ ด้ า นศาสนา วั ฒ นธรรมและสถาบั น พระมหากษัตริย์ #ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน
ร้อย : ร้อยใจก่อการดี ลูกสาวของแผ่นดิน 100 คน 10 โรงเรียนๆ ละ 10 คน แกน c รวมพลังสร้างสังคมไทยใสสะอาด แกนน�ำครอบครัวพอเพียง เปิดใจรับสิ่งใหม่ ร้อยใจ ร้อยคน ร่วม ก่อการดีกับมูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด ซึ่งได้รับแรงเสริมจาก กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว รวมพลังสาวใต้นครศรีฯ 10 โรงเรียน 100 คน ประพฤติตนตามรอย ลูกสาวแห่งแผ่นดิน 1 : 100 น�้ำ ลัง ตังค์ ร้อย เบื้องหลังภาพเล่าเรื่อง “ดี” : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คน “ดี” มาท�ำ “ดี” ร่วมกัน หากมีเวลา แวะมานครศรีฯ ปิดท้าย ที่นี่พรหมคีรี คนใน พื้นที่รวมใจ รังสรรค์กิจกรรมดี ร่วมสร้างเด็กดี #กิจกรรม “เราท�ำความดีด้วยหัวใจ”: จิตอาสา พัฒนา สังคม จากหน้าวัดพรหมโลก ตลอดเส้นทางไป น�้ำตกพรหมโลก อ.พรหมคีรี นครศรีฯ #พันธกิจด้าน สังคม#ครอบครัวพอเพียงคือรากแก้วของแผ่นดิน ขอขอบคุณ พี่นุช นายก อบต. ผู้ใหญ่เมตตา และแกนน�ำจิตอาสาครอบครัว พอเพียง ทุกภาคีเครือข่ายค่ะ 69 issue 128 SEPTEMBER 2018
เยาวชนของแผ่ น ดิ น
ผลผลิตของเด็กกิจกรรม(อาสา)
ชี พชนก เหลืองอ่อน
ด้ ว ยความที่ ช อบท� ำ กิ จ กรรมในช่ ว งวั น หยุ ด เสาร์ อ าทิ ต ย์ ม าตั้ ง แต่ ส มั ย เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย นดั ด ดรุ ณี จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ชี พ ชนก เหลื อ งอ่ อ น หรื อ “น้ อ งชี พ ” จึ ง ได้ รั บ โอกาสจากมหาวิ ท ยาลั ย ธุ ร กิ จ บั ณ ฑิ ต ย์ ในฐานะผู ้ ถู ก เลื อ กให้ รั บ ทุ น การศึ ก ษา 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ตลอดการเรี ย นในระดั บ ปริ ญ ญาตรี จากผลงาน กิ จ กรรมจิ ต อาสาต่ า งๆ ที่ เ ธอท� ำ มาตลอด 3 ปี ใ นขณะเรี ย นชั้ น มั ธ ยมปลาย
70 IS AM ARE www.fosef.org
71 issue 128 SEPTEMBER 2018
ชีพ เล่าว่า เวทีที่เปิดโอกาสให้เธอได้ท�ำกิจกรรมจิตอาสา ต่างๆ คือ “มูลนิธิครอบครัวพอเพียง” ที่สนับสนุนเยาวชนทั่ว ประเทศให้มีโอกาสได้ท�ำกิจกรรมจิตอาสา ทั้งในพื้นที่จังหวัด ของตั ว เองและในกรุ ง เทพมหานคร จากความชอบที่ จ ะท� ำ กิจกรรม ส่งผลให้เธอมีโอกาสสะสมผลงานในรูปแบบพอร์ต โฟลิโอ เมื่อถึงเวลาที่ต้องไปเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา “หนูท�ำพอร์ตโฟลิโอเกี่ยวกับตัวเองและผลงานแล้วส่งไป ที่ศูนย์ครอบครัวพอเพียงพิจารณา ก่อนจะยื่นมหาวิทยาลัยซึ่งรับ ตรงในรอบพอร์ตโฟลิโอ ต้องบอกก่อนว่าหนูเป็นเด็กกิจกรรม ของมูลนิธิครอบครัวพอเพียงตั้งแต่อยู่ ม.4 จนมาถึงตอนนี้ก็ เข้าปีที่ 4 แล้ว หนูยังท�ำกับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงมาตลอด แล้วมูลนิธิฯ เห็นศักยภาพในตัวหนูเพราะว่าเวลาหนูมาค่ายก็ จะให้หนูท�ำกิจกรรมเป็นผู้น�ำออกมาโชว์หน้าเวที หนูก็พยายาม แสดงออกเพราะว่าหนูเป็นเด็กกิจกกรม ถ้าวันไหมมีกิจกรรม หนูก็ชอบขึ้นไปพูดบนเวทีเพราะว่าเป็นคนชอบพูดชอบจับไมค์ ชีพยอมรับว่า จุดมุ่งหมายของการเข้าร่วมท�ำกิจกรรม จนได้รางวัลมาเยอะ” จิ ต อาสากั บ ครอบครั ว พอเพี ย ง ไม่ ไ ด้ ห วั ง เรื่ อ งพอร์ ต โฟลิ โ อ เพราะเมื่อ 3-4 ปีที่แล้ว การยื่นผลงานเพื่อเข้ามหาวิทยาลัยใน ชี พ ยอมรั บ ว่ า ตนเองชอบท� ำ กิ จ กรรมกั บ เพื่ อ นๆ รอบพอร์ตโฟลิโอยังไม่ประกาศชัดเจนเหมือนในปัจจุบัน ชีพ จิ ต อาสาก็ จ ริ ง แต่ ไ ม่ เ คยคิ ด ว่ า มั น จะส่ ง ผลให้ เ ธอ จึงได้เปรียบคู่แข่งที่ยื่นผลงานในรอบนี้ตรงที่ว่า “เธอมีผลงาน ได้ รั บ ทุ น เรี ย นฟรี นั บ เป็ น สิ่ ง ที่ มี ค ่ า กั บ ครอบครั ว จิตอาสาซึ่งท�ำมาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 3 ปี” ไม่ใช่เพิ่ง ของเธอเป็ น อย่ า งมาก เพราะชี พ ได้ ช ่ ว ยประหยั ด เริ่มท�ำหรือเร่งท�ำเพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยเท่านั้น ท�ำให้ผลงาน รายจ่ า ยของครอบครั ว จ� ำ นวนกว่ า 2-3 แสนบาท เธอเป็น “ผลงานที่มีความจริงใจ” ประกอบกับเกรดเฉลี่ยใน ส� ำ หรั บ รายจ่ า ยต่ า งๆ ในการเรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย จน ชั้นมัธยมปลาย 3.55 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การเรียนและกิจกรรม ส�ำหรับเธอนั้นสามารถไปด้วยกันได้ดี จบการศึ ก ษา เมื่อมูลนิธิครอบครัวพอเพียงพิจารณาผลงานของชีพ และนั ก เรี ย นคนอื่ น ๆ ที่ ส ่ ง มาแล้ ว ผลงานของผู ้ ที่ ผ ่ า นการ พิจารณาจะถูกส่งไปยังมหาวิทยาลัยที่นักเรียนได้เลือกไว้ ชีพ ก็ เ ป็ น อี ก คนหนึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ เลื อ กให้ ส ่ ง ผลงานไปและถู ก เรี ย ก สัมภาษณ์ในที่สุด “วันที่เข้าไปสัมภาษณ์ คณะกรรมการถามว่าท�ำกิจกรรม กับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงมานานหรือยัง หนูตอบไปว่าท�ำ มาตลอดระยะเวลา 3 ปี ปีน้ีขึ้นปีที่ 4 คณะกรรมการก็ถามว่า ทราบไหมว่าท�ำไมมูลนิธิฯ ถึงได้ส่งชื่อเรามา หนูตอบว่าทาง มูลนิธิฯ คงเห็นศักยภาพมากพอในการท�ำกิจกรรม สามารถ เป็นผู้น�ำได้ กล้าแสดงออก มีผลงานที่โดดเด่น ได้โล่รางวัลและ เกียรติบัตรผ่านการอบรมมาเยอะ หนูก็ตอบไปแบบนี้ แล้วคณะ กรรมการก็ถามว่า จะอยู่กับมูลนิธิครอบครัวพอเพียงไปตลอด หรือไม่ ไม่ใช่ว่าได้ทุนแล้วก็ชิ่งหนี หนูตอบว่าไม่มีทางค่ะ หนูมี โอกาสจากที่นี่หนูต้องตอบแทนและจะอยู่กับมูลนิธิครอบครัว พอเพียงตลอดไปค่ะ” 72 IS AM ARE www.fosef.org
“หนูมาอยู่จุดนี้ได้ถือว่าประสบผลส�ำเร็จในระดับหนึ่ง แล้วค่ะ ไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายในการเรียน จะว่าไปแล้วการ ท�ำเพื่อผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนที่ผ่านมาตลอด 3-4 ปี มันก็ ส่งผลให้หนูพบเจอแต่สิ่งดีๆ โดยไม่รู้ตัว หนูได้พบเพื่อนจิตอาสา จากโรงเรียนต่างๆ มากมาย ทุกคนมาเพื่ออยากท�ำเพื่อผู้อื่น เรา จึงวางใจได้ระดับหนึ่งว่า คนที่คิดช่วยผู้อื่นเขาต้องมีพื้นฐานจิตใจ ที่ดีก่อน ท�ำให้เราได้เพื่อนที่ดี ถึงแม้ไม่ได้เรียนด้วยกันก็คบกันได้ บางทีอาจจะดีกว่าเพื่อนทั่วไปเสียอีก” ปั จ จุ บั น ชี พ เป็ น นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 คณะนิ ติ ศ าสตร์ ปรีดีพนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เธอย�้ำว่า ส�ำหรับ น้องๆ เยาวชนที่คิดจะเก็บสะสมพอร์ตโฟลิโอเพื่อยื่นเรียนต่อ ในระดับมหาวิทยาลัย ต้องเริ่มท�ำตั้งแต่ตอนนี้ อย่าปล่อยเวลา ให้ผ่านไปโดยไร้ประโยชน์แล้วค่อยมาเร่งท�ำตอนใกล้จะจบชั้น มัธยมปลาย ถึงเวลานั้นก็สายไปเสียแล้ว เพราะผลงานขาด ความต่อเนื่อง และอาจถูกมองว่าไม่มีความจริงใจในการท�ำจิต อาสาอย่างแท้จริง
ค� ำ สั ม ภาษณ์ ข องชี พ ท� ำ ให้ เ ธอถู ก รั บ เลื อ กให้ ไ ด้ รั บ ทุน 100 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่คนอื่นๆ ที่ยื่นผลงานได้รับทุน 50 เปอร์เซ็นต์ก็มี ส�ำหรับทุน 100 เปอร์เซ็นต์จากมหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ มีเงื่อนไขว่า จะต้องมีผลการเรียนเฉลี่ย 2.50 ในทุกๆ เทอม และจะต้องท�ำกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย ปีละ 60 ชั่วโมง ความหมายก็คือ ใช้ความเป็นจิตอาสาช่วย เหลือมหาวิทยาลัยตามความสามารถที่ตนเองมี ทั้งนี้ ทุนที่ได้ รับมาไม่ต้องใช้คืนแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม ชีพยอมรับว่า ตนเองชอบท�ำกิจกรรมกับ เพื่อนๆ จิตอาสาก็จริง แต่ไม่เคยคิดว่ามันจะส่งผลให้เธอได้รับ ทุนเรียนฟรี นับเป็นสิ่งที่มีค่ากับครอบครัวของเธอเป็นอย่างมาก เพราะชีพได้ช่วยประหยัดรายจ่ายของครอบครัวจ�ำนวนกว่า 2-3 แสนบาท ส�ำหรับรายจ่ายต่างๆ ในการเรียนมหาวิทยาลัยจนจบ การศึกษา ท�ำให้เธอมีก�ำลังใจและมีจุดมุ่งหมายในการเรียนและ การด�ำเนินชีวิตซึ่งไม่เคยคิดจะทิ้งค�ำว่า “อาสา” 73
issue 128 SEPTEMBER 2018
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือค่ายสุรนารี
จังหวัดนครราชสีมา 74 IS AM ARE www.fosef.org
70 เส้ น ทางตามรอยพระบาท โดย ททท. ในกระแสโลกยุคปัจจุบันที่ทุกคนต่างหันมาสนใจ การ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม ส�ำหรับโคราชเมืองย่าโม แขกไปใคร มาต้องแวะเวียนมาที่ค่ายสุรนารี เพราะที่นี่ เป็นที่ตั้งของศูนย์ การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ซึ่ง เป็นศูนย์สาธิตการท�ำเกษตรกรรมรูปแบบใหม่ เป้าหมายหลัก คือการปลูกฝังอุดมการณ์ในเรื่องการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ณ สวนน�้ำบุ่งตาหลั่วที่กว้างใหญ่และงดงามแห่งนี้ แขก ที่มาเยี่ยมชม ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มข้าราชการ เกษตรกร ชาว บ้าน นักเรียนนักศึกษา ที่ต้องการดูงานด้านการเกษตร ที่นี่ จัดแสดงแปลงเพาะ และการอบรม ให้ความรู้มากมาย ทั้งการ ประมง การเลี้ยงไก่โคราช การปลูกมะนาว การท�ำปุ๋ย ไปจนถึง เรื่องที่ซับซ้อนมากขึ้นอย่างการท�ำบัญชีครัวเรือน และการจัด ท�ำโซล่าเซลล์ เพื่อประหยัดพลังงาน ก่อนกลับบ้านซื้อผักปลอด สารพิษซึ่งปลูกกันเองด้วยฝีมือกลุ่มแม่บ้านในศูนย์ ภายในหนึ่ง วันแห่งการท่องเที่ยวหากได้มาเยี่ยมเยือนที่นี่ รับรองว่า คุ้มค่า อย่างแน่นอน “เดินตามรอยเท้าพ่อ ด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของชาวโพน ให้คงอยู่คู่วัฒนธรรมไทย” ทริปตัวอย่าง 2 วั น 1 คื น เส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วจ.นครราชสี ม า
วันแรก
ช่วงเช้า • เยี่ยมชมหลวงพ่อโต ณ อุทยานลานบุญมหาวิหาร สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) • วัดบ้านไร่ พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อคูณ ช่วงบ่าย • เข้าชมอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย • เยี่ยมชมอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี (ย่าโม) วีรสตรีผู้กล้า
วันที่สอง
ช่วงเช้า • ศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค่ายสุรนารี เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและ งานศิลปาชีพ • ชมพิพิธภัณฑ์ไม้กลายเป็นหิน แห่งแรกของไทย หนึ่ง ในเจ็ดแห่งของโลก ช่วงบ่าย • ชมประติมากรรมหุ่นเหล็ก ดราก้อน คอฟฟี่ • ชมสวนซ่อนศิลป์และตลาดน�้ำศิลปะกลางดง 75 issue 128 SEPTEMBER 2018
76 IS AM ARE www.fosef.org
ศูนย์การเรียนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงค่ายสุรนารี
ห้ามพลาด
ที่ เ ที่ ย วห้ า มพลาด • อาคารนิทรรศการฯ จัดแสดงแนวคิด หลักการ และ วิถีชีวิตของเกษตรกรในด้านต่างๆอาคารศิลปาชีพจัดแสดงงาน หัตถกรรมทอผ้าที่งดงามฐานเพาะเห็ดนางฟ้าจ�ำหน่าย ก้อนเห็ด นางฟ้าสามารถทดลองปลูกและน�ำกลับบ้านได้
ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา โทร. 0-4427-5965 www.facebook.com/northeaststudy เปิดให้เข้าชม : ทุกวัน เวลา 08.30-16.300 น. ฤดูท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
กิ จ กรรมห้ า มพลาด • แต่ละปีที่นี่ จะจัดเทศกาลใหญ่ 2 ครั้ง คือ งานเทศกาล วันแม่ จัดช่วงวันที่ 10-11 ส.ค. งานนี้ จะมีการด�ำนาด้วยนักเรียน จาก โรงเรียนในเครือข่าย และในช่วง เทศกาลวันพ่อ หรือช่วง 3-4 ธ.ค. มีแสดงการเก็บเกี่ยวข้าวอีกครั้ง ใครมาเที่ยวโคราช ช่วงเวลานี้ ไม่ควรพลาด
การเดินทาง
จากตัวเมืองใช้เวลาเพียงประมาณ10 นาที ใช้ทางหลวง 224 ตรงเข้าทางหลวงหมายเลข 2 ถนนมิตรภาพจากนั้นเลี้ยว ซ้ายเข้าซอยกิ่งสวายเรียง เลี้ยวขวาเข้าถนนมุขมนตรี ทางเข้า ค่ายสุรนารีจะอยู่ซ้ายมือ 77
issue 128 SEPTEMBER 2018
Do for D. สร้างเเรงบันดาลใจจากพี่สู่น้อง
นักศึกษาจากชมรมศูนย์ครอบครัวพอเพียงจาก 19 มหาวิทยาลัย ได้จัดกิจกรรม “ Do for D. สร้างเเรงบันดาลใจจากพี่สู่ น้อง” เสริมสร้างแรงบัลดาลใจในการท�ำกิจกรรมจิตอาสาในนามของ “ศูนย์ครอบครัวพอเพียง” อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สอดรับกับ การเข้ามหาวิทยาลัย พร้อมทั้งสร้างทัศนคติเชิงบวกในเรื่องการเรียนควบคู่การท�ำกิจกรรมจิตอาสาเพื่อพัฒนาศักยภาพตนตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ณ ตลาดท่าน�้ำนนท์ วันที่ 1 กันยายน 2561 78 IS AM ARE www.fosef.org
Round About
กิจกรรมสร้างจิตอาสา ฉันคือฮีโร (I’m Hero)
มูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมกับ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย และ สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย จัดกิจกรรมสร้างจิตอาสา ฉันคือฮีโร่ (I’m Hero) เพื่อให้เยาวชนจาก 24 โรงเรียน จ�ำนวน 222 คน เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้เรื่องการเป็นจิตอาสาในโรงพยาบาลอย่างถูกต้องและเป็นระบบ เพื่อเป็นการสร้างเสริม ประสบการณ์ชีวิตและเกิดประโยชน์ต่อเยาวชนอย่างแท้จริง ณ หอประชุมโรงเรียนรัตนาธิเบศร์ ในวันที่ 1 กันยายน 2561 79 issue 128 SEPTEMBER 2018
อุ ดมการณ์และชี วิต : สืบ นาคะเสถียร
“ผมคิดว่าชีวิตผมท�ำดีที่สุดแล้ว เท่าที่ผมมีชีวิตอยู่” 80 IS AM ARE www.fosef.org
พ.ศ.2529 เป็นหัวหน้าโครงการอพยพสัตว์ป่าในเขื่อน เชี่ยวหลาน จ.สุราษฎร์ธานี และเปลี่ยนบทบาทจากนักวิชาการ ไปสู่นักอนุรักษ์ เข้าร่วมต่อสู้คัดค้านการสร้างเขื่อนน�้ำโจน ที่ จะสร้างในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร จ.กาญจนบุรี “ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนเป็นกระบวนการท�ำลายแหล่ง พันธุกรรม ตลอดจนแหล่งที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารที่ส�ำคัญ ของสัตว์ป่า ซึ่งถือได้ว่าเป็นหัวใจของผืนป่าทั้งหมดที่มนุษย์ ไม่อาจสร้างขึ้นมาได้” สืบได้รับทุนเรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ แต่ตัดสินใจเข้า รับต�ำแหน่งหัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จ.อุทัยธานี แม้จะพบปัญหาและอุปสรรคหนักหนาเพียงใด แต่สืบก็พยายาม อย่างสุดความสามารถเพื่อที่จะรักษาผืนป่าห้วยขาแข้งเอาไว้ให้ ได้ “ตอนนี้ผมสามารถให้ทุกสิ่งกับห้วยขาแข้งได้” สืบทุ่มเทเขียนรายงานน�ำเสนอยูเนสโก เพื่อพิจารณาให้ ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรและห้วยขาแข้งเป็นมรดกทางธรรมชาติของ โลก อันเป็นสิ่งค�้ำประกันให้พื้นที่แห่งนี้ได้รับการคุ้มครองเต็ม ที่ก่อนตัดสินใจท�ำอัตวินิบาตกรรมรุ่งสางวันที่ 1 กันยายน 2533 “ผมคิดว่า ชีวิตผมท�ำดีที่สุดแล้วเท่าที่ผมมีชีวิตอยู่ ผมคิดว่า ผมได้ช่วยเหลือสังคมดีแล้ว ผมคิดว่า ผมได้ท�ำตาม ก�ำลังของผมดีแล้ว และผมพอใจ ผมภูมิใจสิ่งที่ผมท�ำ”
สืบ นาคะเสถียร เป็นคนเมืองปราจีนบุรี มีนามเดิม ว่า สืบยศ นาคะเสถียร เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม 2482 เป็นลูกชายคนโตในจ�ำนวนพี่น้องสามคน “สมัยเด็กๆ แม่สอน ผมทุกอย่าง แม่ยังคิดว่าจะเป็นลูกผู้หญิง ผมเย็บจักรได้ ผม ท�ำกับข้าวเป็น ตื่นเช้าผมจะต้องถูบ้าน ต้องหุงข้าวใส่บาตร ก่อนไปโรงเรียน กลับมาบ้านผมจะต้องไปเก็บกวาด แม่สอน ผมทุกอย่าง” สอบติดคณะวนศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ รุ่นที่ 35 เลือก ท�ำงานที่กองอนุรักษ์สัตว์ป่า โดยไปประจ�ำที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าเขาเขียว-เขาชมพู่ จ.ชลบุรี “ผมเลือกที่นี่เพราะเกลียดพวก ป่าไม้ แม้มาเรียนป่าไม้ตอนอยู่ในมหาวิทยาลัยก็รู้สึกว่าไม่ ชอบป่าไม้ เรื่องที่ว่าป่าไม้มันโกง พวกป่าไม้มันร�่ำรวยมาจาก การโกงป่า” พ.ศ.2524 เป็นหัวหน้าเขตห้ามล่าสัตว์ป่าบางพระ เริ่ม งานวิจัยชิ้นแรก เรื่องการท�ำรังวางไข่ของนกบางชนิด ที่อ่างเก็บ น�้ำบางพระ จ.ชลบุรี เดินทางไปท�ำวิจัยเรื่องกวางผาที่ดอยม่อน จอง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอมก๋อย จ.เชียงใหม่ “ผมสนใจงาน วิจัยมากกว่าที่จะไปวิ่งจับคน เพราะว่าจับได้แค่ตัวเล็กๆ ตัว ใหญ่ๆ จับไม่ได้ ก็เลยอึดอัดว่ากฎหมายบ้านเมืองนี้มันใช้ไม่ได้ กับทุกคน มันเหมือนกับว่าเราไม่ยุติธรรม เรารังแกชาวบ้าน ในความรู้สึกของเขา” 81
issue 128 SEPTEMBER 2018
เผยผิ ว ใสไร้ ริ้ ว รอย ด้ ว ย สบู ่ ว ่ า นหางจระเข้ ภั ท รพั ฒ น์ คุ ณ ค่ า จากว่ า นหางจระเข้ ที่ ช ่ ว ยลดรอยแดงจากการอั ก เสบของผิ ว ที่ โ ดนแดด ลดเลื อ นริ้ ว รอย ฝ้ า กระ จุ ด ด่ า งด� ำ เพิ่ ม ความชุ ่ ม ชื่ น ให้ ผิ ว ไม่ แ ห้ ง กร้ า น เมื่ อ ใช้ เ ป็ น ประจ� ำ ผิ ว หน้ า กระจ่ า งใสขึ้ น อย่ า งเป็ น ธรรมชาติ สามารถหาซื้อได้ที่ร้านภัทรพัฒน์ทุกสาขาหรือสั่งซื้อออนไลน์ได้ทาง Facebook/Patpat9 ภัทรพัฒน์สินค้าจากมูลนิธิชัยพัฒนา และ www.patpat9.com 82 IS AM ARE www.fosef.org
เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี
www.fosef.org 83
issue 128 SEPTEMBER 2018
นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.fosef.org