Isamare sep 59 web

Page 1

IS AM ARE

สาระน่ า รู ้ : กระบวนการขั บ เคลื่ อ น โรงเรี ย นคุ ณ ธรรมในสั ง กั ด กรุ ง เทพมหานคร เกร็ ด ประวั ติ ศ าสตร์ และชี วิ ต ศิ ล ปิ น ทหาร

พลเอกบัญชร ชวาลศิลป์ “หากคนเราไม่ ถึ ง เวลาตาย อยู ่ ต รงไหนมั น ก็ ไ ม่ ต าย”

อรุณ เบญญคุปต์

ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นบ้ า นบู เ กะตา

1 issue 104 september 2016

ฉบับที่ 104 กันยายน 2559 www.fosef.org


เว็ปไซต์ของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ท่านสามารถเข้ามาอ่านบทความ นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง หรือข่าวสารดี ๆ ได้แล้ววันนี้ โดยไม่เสียค่าใช่ จ่าย และท่านยังสามารถสมัครเป็นสมาชิ กของมู ลนิธิครอบครัวพอเพียง เพื่อรับข่าวสารจากทางมู ลนิธิครอบครัวพอเพียงได้ก่อนใคร โดยท่านสามารถสมัครเพื่อเป็นสมาชิ กได้ท่ี

www.fosef.org

2 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“สามั ค คี คื อ การเห็ น แก่ บ ้ า นเมื อ ง และช่ ว ยกั น ทุ ก วิ ธี ท าง เพื่ อ ที่ จ ะสร้ า งบ้ า นเมื อ งให้ เ ข้ ม แข็ ง ด้ ว ยการเห็ น อกเห็ น ใจซึ่ ง กั น และกั น ท� ำ งานด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต ตรงไปตรง มา นึ ก ถึ ง ประโยชน์ ส ่ ว นรวมนั้ น คื อ ความมั่ น คงของบ้ า นเมื อ ง” พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีประดับยศนายต�ำรวจชั้นนายพล ๑๕ มกราคม ๒๕๑๙ 3 issue 104 september 2016


Editorial เมื่อไม่นานที่ผ่านมาในร้านอาหารญี่ปุ่นชื่อดัง ที่ห้างสรรพสินค้ากลางเมือง บก.ได้ไปนั่งรับประทานอาหารกับบุตรสาว เรา สั่งอาหารกันเรียบร้อยและก�ำลังเล่นทายค�ำกันอยู่ บก.เหลือบมองครอบครัวหนึ่งเดินเข้ามาในร้านอาหาร คุณพ่อ คุณแม่ในวัยใกล้ เคียงกัน ๔๐ ต้นๆ หรือน้อยกว่านั้น เดินน�ำบุตรสาวพร้อมนั่งลงที่โต๊ะที่พนักงานน�ำไป ซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามกับที่ บก.นั่งพอดี บก.ให้ค�ำถามลูกสาวและให้เขาตอบในเศษกระดาษ บก.มองไปยังครอบครัวนั้น ทั้งพ่อและแม่ ในมือมีโทรศัพท์มือถือ คนละ ๒ เครื่อง และต่างก้มหน้าให้ความสนใจกับมือถือนั้นมาก เมื่อพนักงานเสริฟมารับออร์เดอร์ พ่อก็ไม่วางมือจากมือถือหรือแม้แต่ที่ จะคิดเงยหน้าขึ้นมองพนักงาน ส่วนแม่ก็สั่งอาหารชุดแบบไม่เปิดเมนู และเมื่อมองที่ลูกสาว ซึ่งมีอายุประมาณ ๙ - ๑๐ ขวบ ที่อยู่ ในอาการบึ้งตึง เอาหน้าซบกับเก้าอี้นั่งบ้าง ยกขาขึ้นบนเก้าอี้บ้าง น�ำกระดาษทิชชู่มาฉีกกระจายเต็มพื้นบ้าง แกะตะเกียบแล้วน�ำ มากระแทกกับเก้าอี้บ้าง สักครู่ก็ก้มหน้าลงกับโต๊ะอาหารและเมื่อพนักงานน�ำอาหารมาเสริฟ พ่อก็ยังคงก้มหน้าอยู่กับโทรศัพท์มือ ถือ ซึ่งบางคราวก็ส่งมือถือให้แม่ดู พร้อมกับหัวเราะขบขัน อาหารอยู่ตรงหน้าลูกสาวน�ำตะเกียบคุ้ยข้าวหกออกจากถ้วย แม่ก็เพียง ช�ำเลืองมอง สักครู่แม่ก็ฟาดลงที่แขนของลูกสาว แล้วแม่ก็นั่งเล่นมือถือต่อโดยไม่มีการสั่งสอนใดๆ บก.นั่งทานอาหารแบบกลืนไม่ลง จนบุตรสาวถามว่า “แม่ร้องไห้ท�ำไม” บก.น�้ำตาไหลกับสิ่งที่เห็นอยู่ตรงหน้า บอกบุตร สาวว่า “แม่ ไม่เป็นอะไร” และบอกลูกสาวว่า “ทานเร็วๆ แม่อยากไปห้องน�้ำ” และบก.ก็ให้บุตรสาว ในวัย ๑๔ ปี นั่งทานอาหาร คนเดียวและ บก.ลุกออกไปห้องน�้ำ บก.กลับมาที่โต๊ะอาหาร พอดีกับที่ลูกสาวทานอาหารเสร็จจึงสั่งพนักงานเก็บเงิน และเมื่อมองไปยังโต๊ะของ พ่อ แม่ ลูก นั้น ก็ยังคงเห็นผู้เป็นพ่อ ที่ทานอาหารโดยมือหนึ่งถือตะเกียบคีบอาหารเข้าปากและอีกมือหนึ่งยังคงเล่นกับมือถืออยู่ ผู้เป็นแม่ก็ เช่นเดียวกัน ส่วนลูกสาวก็น�ำตะเกียบกระทุ้งอาหารในชาม หกเลอะเทอะไปทั่ว ใจของ บก.ขณะนั้นอยากที่จะไปกอดเด็กคนนั้น แล้วชวนเขาคุย อยากจะถามเด็กนั้นว่า มีอะไรให้ช่วยไหม หรือ ถามเธอ ว่า อาหารอร่อยหรือไม่ พร้อมๆ กับอยากจะบอก ผู้เป็นพ่อและแม่ของเธอเหลือเกินว่า คุณก�ำลังท�ำร้ายจิตใจของลูก คุณเป็นพ่อ แม่ที่เห็นแก่ตัว คุณเป็นพ่อแม่ที่ไม่รู้จักพอ พอกับเวลาที่จะให้ความสนใจกับลูกมากกว่าโทรศัพท์มือถือที่อยู่ในมือ คุณเป็นพ่อและ แม่ที่ขาดเหตุผลในการด�ำรงชีวิต การที่น�ำลูกออกมาจากบ้าน มารับประทานหรือมาเดินเที่ยว แต่คุณกลับไม่ใช้เวลาเพื่อลูกอย่าง แท้จริง หรือคุณจะบอกว่า อาการที่คุณก้มหน้าให้ความสนใจกับโทรศัพท์มือถือนั้นคือสิ่งที่ส�ำคัญกว่า จิตใจของลูกคุณ ภูมิคุ้มกัน และภูมิต้านทานในจิตใจของทั้งพ่อและแม่ไปไหนหมด เวลาของครอบครัวจริงๆ มันอยู่ตรงไหน ความรอบรู้ รอบคอบระมัดระวัง ในการด�ำเนินชีวิต มันถูกปิดถูกคุกคามจากเครื่องมือสื่อสารจนสิ้นแล้วรึ ความอยากที่จะรู้เรื่องของคนอื่นในโทรศัพท์มือถือมากกว่า ที่จะสนใจคนใกล้ตัวอย่างนั้นหรือ สุดท้ายครอบครัวแตกแยก ล่มสลายเพราะขาดวินัย ขาดความรับผิดชอบ พ่อและแม่จะสอนลูกเรื่องความรักความอบอุ่น ของครอบครัว มันต้องเริ่มต้นจากใคร สังคมภายภาคหน้าจะเป็นอย่างไร เมื่อผู้เป็นต้นแบบ คือ พ่อ แม่ ยังเป็นแบบอย่างที่ดีไม่ได้ ไร้คุณธรรมโดยสิ้นเชิง ตื่นเถิด ก่อนที่ครอบครัวจะไม่เหลืออีกต่อไป.

4 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Contributors

มู ลนิธิครอบครัวพอเพียง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล พลเอก ดร.ศรุต นาควัชระ ดร.เทอดศักดิ์ เจียมกิจวัฒนา นางสุชานี แสงสุวรรณ นายธนพร เทียนชัยกุล นายณัฐเสกข์ น้อยสมบูรณ์ นายภูวนาถ เผ่าจินดา ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง นางอริยสิริ พิพัฒน์นรา นายเอกรัตน์ คงรอด นางสาวเอื้อมพร นาวี ผศ.ดร.ปรีชาพร สุวัฒโนดม นายอภีม คู่พิทักษ์ นายกมลเศรษฐ์ เก่งการเรือ นางอรปภา ชาติน�้ำเพ็ชร นางรจนา สินที นายธงชัย วรไพจิตร นายภูริวิทย์ จงนิรักษ์ นางศิรินทร์ เผ่าจินดา

ประธานกิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขาธิการ กรรมการและเหรัญญิก กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผู้จัดการมูลนิธิ

ศิลปกรรม : ส�ำนักงาน :

โทรศัพท์ : โทรสาร : เว็ปไซต์ :

Let’s

Start

นิตยสารครอบครัวพอเพียง ประธานกิตติมศักดิ์ : คุณหญิงพวงรัตน วิเวกานนท์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : พล.อ.จรัล กุลละวณิชย์ ประธานด�ำเนินการ : ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล บรรณาธิการ : กรวิก อุนะพ�ำนัก กองบรรณาธิการ : อภีม คู่พิทักษ์ พิชัยยุทธ ชัยไธสง เอกรัตน์ คงรอด นิตยสารครอบครัวพอเพียง 663 ซอยพหลโยธิน35 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 0-2939-5995 0-2939-5996 www.fosef.org

and Enjoy!

5 issue 104 september 2016


Hot Topic

48

เกร็ดประวัติศาสตร์ และชี วิตศิลปิ นทหาร พลเอกบัญชร ชวาลศิลป์

74

สาระน่ารู ้ : กระบวนการขับเคลื่อน โรงเรียนคุณธรรมในสังกัด กรุ งเทพมหานคร

26

“หากคนเราไม่ถึงเวลาตายอยู ่ตรงไหน มันก็ไม่ตาย” อรุ ณ เบญญคุปต์ ผู ้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านบู เกะตา

Don’t miss

12

18 22 58 6 IS AM ARE www.ariyaplus.com

20


Table Of Contents

อรุณ เบญญคุปต์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านบูเกะตา

7 issue 104 september 2016

ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 5+1 เรื่องที่ต้องใส่ใจ ข่าวสารครอบครัวพอเพียง เด็กก่อนค่าย...เด็กหลังค่าย ตัวไกล...หัวใจอยู่ใกล้ ผลการวิจัยน่าสนใจจากมหาวิทยาลัยดัง กระจกส่องใจ คดี พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก 2546 Cover Story อรุณ เบญญคุปต์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านบูเกะตา Is Am Are ต�ำบลหนามแท่ง จังหวัดอุบลราชธานี Let’s Talk เกร็ดประวัติศาสตร์ และชีวิตศิลปินทหาร พลเอกบัญชร ชวาลศิลป์ มูลนิธิชัยพัฒนา โครงการสกัดน�้ำมันปาล์มและผลิตไบโอดีเซล เรียน(สนุก)รู้อย่างครบวงจร Wheel Of Life บทความพิเศษ สาระน่ารู้ กระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียน คุณธรรมในสังกั​ัดกรุงเทพมหานคร Round About

8 10 14 20 22 26 40

48 58 70 74 80


5+1 เรื่องที่ต้องใส่ใจ ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ทุ ก วั น นี้ คนไทยเรามี เ รื่ อ งราวต่ า งๆที่ จ ะต้ อ งข้ อ งแวะใส่ ใ จอยู ่ ม ากมาย มี ทั้ ง เรื่ อ งเล็ ก ๆใกล้ ตั ว เช่ น บ้ า นเรายุ ง ชุ ม , มี ข โมยขึ้ น ขโมยยกเค้ า ทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ นบ้ า น, ที่ ท� ำ งานมี ค นไม่ พ อ งานแยะท� ำ ไม่ ไ หว เรื่ อ งเหล่ า นี้ อ าจจะเรี ย กว่ า เป็ น เรื่ อ งราวระดั บ จุ ล ภาค (Micro) การวิจัยของสถาบันวิจัยการพัฒนาไทย (Thailand Development Research Institute หรือ TDRI) แถมด้วยอีก 1 เรื่องที่ เป็นกระแสผลพวงจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ 1. สั ง คมสู ง วั ย ประเทศไทยเข้ า สู ่ สั ง คมสู ง วั ย คื อ มีผู้สูงอายุเกิน 12% มาตั้งแต่ปี 2548 ขณะนี้ในปี 2559 เรามี ผู้สูงอายุอยู่ที่ 16% ของประชากร (10 ล้าน 4 แสนคน) ข้อมูล พบว่า 60% ของผู้สูงอายุเหล่านี้อาศัยอยู่ในชนบท และใน จ�ำนวนนี้มีถึง 1 ใน 5 ที่ต้องอยู่ติดบ้าน หรือติดเตียงไม่สามารถ พึ่งพาตนเองได้ คาดว่าในปี 2562 จะเป็นปีแรกที่เรามีจ�ำนวน ผู้สูงอายุมากกว่าเด็ก 0-15 ปี

ถัดสูงขึ้นไปกว่านั้น เป็นเรื่องระดับชุมชน อ�ำเภอ จังหวัด ที่กว้างออกไป ที่มีผลกระทบกับชีวิตเรามากบ้าง น้อยบ้าง เช่น จังหวัดเราลงมติรับร่างรัฐธรรมนูญน้อยกว่าไม่รับ, อ�ำเภอที่เรา อยู่ประชากรลดน้อยลงไปเรื่อยๆเพราะการเคลื่อนย้าย หรือ เด็ ก นั ก เรี ย นช่ า งกลตี กั น อยู ่ เ นื่ อ งๆ เรื่ อ งเหล่ า นี้ ถื อ เป็ น เรื่ อ ง ระดับกลางๆ (Meso) เรื่องที่ถัดสูงไปกว่านั้น ที่เรียกกันว่าระดับมหภาค (Macro) นั้น มักจะเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ และส่วน รวม ซึ่งฉบับนี้ผมขอหยิบยกเรื่อง 6 เรื่องที่เป็นเรื่องมหภาคที่ ก�ำลังมีผลกระทบกับคนไทยในขณะนี้ โดย 5 เรื่องแรกเป็นผล 8

IS AM ARE www.ariyaplus.com


นพ. วีระวัฒน์ พันธ์ครุฑ

www.nhso.go.th 5. การเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษกิ จ อาเซี ย น (Asean Economics Community) หรือ AEC ซึ่งท�ำให้มีการปรับปรุง ระบบภาษีศุลกากร การปรับแก้กฎหมายระหว่างประเทศ การ มีตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุ น เงิ น ทุ น และแรงงานมี ฝ ี มื อ อย่ า งเสรี ม ากขึ้ น โดย เป้าหมายส�ำคัญของ AEC มี 4 ด้าน คือ ก. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน ข. สร้างขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ ค. สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษกิจ ง. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก

ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ป ระเทศไทยเข้ า สู ่ สั ง คมผู ้ สู ง อายุ อย่างรวดเร็วเกิดจาก การมีลูกน้อยของคนไทย การไม่ใส่ใจกับ การมีครอบครัวแต่งงานและมีลูกของหนุ่มสาวรุ่นใหม่ แน่นอน ว่าปรากฎการณ์สังคมผู้สูงอายุนี้ ท�ำให้เกิดปัญหาสังคมตามมา อีกหลายเรื่อง นับตั้งแต่การขาดแคลนแรงงาน การมีภาระค่า ใช้จ่ายด้านสังคม สวัสดิการและการดูแลความเจ็บป่วยที่เพิ่มขึ้น อย่างชัดเจน (ขณะนี้เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุอยู่ที่ 61,000 ล้านบาท/ ปี) และค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงถึง 1.4 แสนล้านบาท/ปี) 2. ความเป็นเมือง เขตเมือง (Urban) มีการเติบโต อย่ า งรวดเร็ ว ทางวิ ช าการเราถื อ ว่ า พื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานคร ทั้งหมด เขตเทศบาลทุกระดับถือเป็นเขตเมืองทั้งหมด ขณะนี้ ประชากรไทยอาศัยอยู่ในเขตเมืองต่อชนบท อยู่ที่ 50:50 และ แนวโน้มเมืองจะโตขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งต่างกับเมื่อ 20-30 ปีก่อนที่ เขตเมืองมีประชากรแค่ 30% เท่านั้น ทุกวันนี้เราจะเห็นอาคาร ห้องชุด (Condominium) ผุดขึ้นในอ�ำเภอเมืองของจังหวัด ต่างๆมากขึ้นเรื่อยๆ เทศบาลหลายแห่งต้องท�ำเรื่องขอขยาย พื้นที่เขตเทศบาลให้กว้างขึ้น คนเมื อ งจะมี ลั ก ษณะที่ ใ ส่ ใจเรื่ อ งของตนเองมากกว่ า (ปัจเจกนิยม) เรื่องของคนอื่น มีชีวิตอยู่กับความเร็ว ความเร่งรีบ มากขึ้น รวมทั้งเกิดสภาวะสิ่งแวดล้อมเป็นพิษหลายๆอย่าง จาก ความเป็นเมือง (รถติด น�้ำเสีย อาชญากรรม) ติดตามมา 3. กระแสรั ก สุ ข ภาพ ทุก วัน นี้เราจะพบว่ า คนไทยมี ความตื่นตัวและมีจิตส�ำนึกที่ใส่ใจกับอาหารปลอดภัย, การล้าง พิษ, การออกก�ำลังกายในรูปแบบต่างๆ สูงขึ้น ข้อนี้ถือเป็นการ เปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมที่ ส ่ ง ผลด้ า นบวก ท� ำ ให้ มี ก ารลงทุ น กระตุ้นเศรษฐกิจในธุรกิจด้านสุขภาพเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ท�ำให้ คนไทยรุ่นใหม่มีความสูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น และท�ำให้คนไทยมีอายุ ขัยเฉลี่ยยืนยาวขึ้น 4. การปฏิ รู ป เปลี่ ย นแปลงประเทศ ในช่ ว ง 2 ปี เศษที่ รั ฐ บาลชุ ด ปั จ จุ บั น ภายใต้ ก ารน� ำ ของ พลเอกประยุ ท ธ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี ได้ เ กิ ด การปฏิ รู ป เปลี่ ย นแปลง ประเทศอย่างมากมาย นับตั้งแต่การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ต่างๆที่ไม่ทันสมัย การลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและ เศรษฐกิจจ�ำนวนมาก การปฏิรูปด้านการเมือง การแก้ปัญหา ทุจริตคอรัปชั่นในทุกแวดวง การปฏิรูปการศึกษาไปจนถึงการ ลงทุนทางสังคมอีกหลายประการ

คนเมื อ งจะมี ลั ก ษณะที่ ใ ส่ ใ จเรื่ อ งของตนเองมากกว่ า (ปั จ เจกนิ ย ม) เรื่ อ งของคนอื่ น มี ชี วิ ต อยู ่ กั บ ความเร็ ว ความเร่ ง รี บ มากขึ้ น รวมทั้ ง เกิ ด สภาวะสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็ น พิ ษ หลายๆอย่ า ง จากความเป็ น เมื อ ง (รถติ ด น�้ ำ เสี ย อาชญากรรม) ติ ด ตามมา 6. ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ช่วงหลายปีมานี้ เรา พบว่าโลกทั้งโลกได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น ซึ่ ง หลายคนเชื่ อ ว่ า เกิ ด จากผลของสภาวะโลกร้ อ น (Global Warning) ประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน ตัวอย่างง่ายๆในปี 2559 นี้ เรามีสภาวะแห้งแล้งในช่วงต้นปีที่ยาวนานและรุนแรงกว่า ปกติ สภาวะน�้ำท่วมเกิดขึ้นแทบทุกปีในทุกภาค อันเป็นผลมา จากการตัดไม้ท�ำลายป่า นอกจากนี้ ปัญหาแผ่นดินไหวถึงขั้น บ้านเรือนได้รับความเสียหายก็เริ่มปรากฏมากขึ้น ทั้ง 5+1 เรื่องนี้ เป็นประเด็นระดับมหภาค (Macro) ที่ เราท่านทั้งหลายควรใส่ใจและให้ความส�ำคัญติดตาม เพราะจะ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนไทยทุกคนทั้งในระยะสั้น และระยะยาว บางเรื่องอาจท�ำให้เมืองไทยเปลี่ยนแปลงอย่าง พลิกผันใหญ่หลวงในอนาคต ไม่ช้าไม่นานที่จะถึงนี้....

บริการข้อมูล ให้ค�ำปรึกษาการใช้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ ตรวจสอบสิทธิการรักษาพยาบาล รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ ประสานงานส่งต่อผู้ป่วยเพื่อเข้ารับการรักษา 9

issue 104 september 2016


MOU สถาบั น การศึ ก ษา ร่ ว มปลู ก ฝั ง เยาวชนสร้ า งทั ศ นคติ “ต้ า นโกง”

มูลนิธิต่อต้านการทุจริตจับมือสถาบันการศึกษาในสังกัดต่างๆ รวมถึงมูลนิธิครอบครัวพอเพียง ร่วมลงนามด้านการต่อต้าน การทุจริตพร้อมจัดเวทีเสวนาทางวิชาการ หัวข้อ “เยาวชนกับบทเรียนต้านโกง” ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เพื่อปลูก ฝังให้เยาวชนตระหนักถึงโทษของการทุจริต โดยนายวิชา มหาคุณ ประธานกรรมการมูลนิธิต่อต้านการทุจริตระบุ เพื่อสร้างความ ตระหนักให้เกิดแก่องค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม ตลอดจนส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ และประสานงานในการสร้างทัศนคติ ค่านิยมในความซื่อสัตย์สุจริตให้แก่คณาจารย์ บุคลากร นิสิต นักศึกษา และนักเรียนของสถานศึกษาในสังกัดต่างๆ เพื่อให้การ ศึกษาของมหาวิทยาลัยมีส่วนส�ำคัญในการสนับสนุนให้สังคมไทยมีทัศนคติ มีค่านิยมในการซื่อสัตย์สุจริต และเพื่อให้ข้อเสนอแนะ ต่อหน่วยงานของรัฐ เยาวชน และประชาชน จึงท�ำบันทึกข้อตกลงต่อต้านการทุจริตขึ้น “เพื่อให้มีความรู้สึกว่าการโกงนั้นไม่ดียังไง นอกจากไม่ดียังไงแล้ว เดี๋ยวนี้ถึงขั้นว่าไม่ยอมรับการโกง ผมก็ยังไม่ได้คาด หวังถึงขนาดนั้น แต่ว่าบางแห่งเขาปักธงเลยว่าเขาจะไม่โกงเลย แล้วก็จะปฏิเสธการโกงด้วย อันนี้ก็เป็นนิมิตหมายที่ดี เพราะ ว่าถ้าเราไม่ท�ำอย่างนี้ ต่อไปมันจะลงไปถึงเยาวชนแล้ว เพราะว่าเยาวชนได้พูดกับผมเลยบอกว่า ก็เขาท�ำกันท่านอาจารย์ โดย เฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของการโกงข้อสอบ” นอกจากนี้ นายวิชายังระบุระหว่างเสวนาทางวิชาการด้วยว่า การทุจริตถือเป็นความท้าทายที่ไม่เกรงกลัวต่อบาป ซึ่งหาก ทุกคนมีหิริโอตตัปปะหรือความละอายและเกรงกลัวต่อบาปประเทศชาติก็จะเจริญ ฉะนั้นเยาวชนต้องท�ำให้ดีที่สุดเพื่อให้หน่วย งานเป็นผู้ปราศจากการทุจริต มีจิตอาสา ทุ่มเทในการท�ำความดี รู้จักรักษาผลประโยชน์ของประเทศชาติ มีจิตสาธารณะที่สูงที่สุด เพื่อแสดงให้โลกเห็นว่าคนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลกทั้งชาตินี้และชาติหน้า โดยเป้าหมายอีก 3 ปีข้างหน้าจะต้องมีหมู่บ้านช่อสะอาด ครบทุกจังหวัด โดยมีเยาวชนเป็นแกนน�ำ “เราพยายามจะประสานกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งที่มีหลักสูตรหรือไม่มีก็ตาม แต่ว่าท่านต้องการได้ความคิดหรือ แนวทางที่จะดึงเยาวชนมาเกี่ยวข้อง เรามีบทเรียนเยอะเลยที่จะท�ำให้เป็นกิจกรรมที่ไม่เบื่อ ส่วนใหญ่แล้วจัดแบบเทศน์เอาแต่ พูดรู้สึกว่าประชาชนจะไม่ถูกใจโดยเฉพาะเยาวชน ฉะนั้นเราท�ำกิจกรรมมีการเล่นเกมในลักษณะชี้ให้เห็นว่าเขาต้องร่วมมือ ร่วมแรงกันยังไง ต้องประสานสัมพันธ์กันยังไง ต้องสามัคคีผนึกก�ำลังกันยังไงถึงจะแก้ไขปัญหาของบ้านเมืองได้ จริงๆ แล้ว ผมเห็นว่าครอบครัวเป็นเรื่องส�ำคัญมาก ที่เราดึงมูลนิธิครอบครัวพอเพียงมาร่วมเพื่อเอาเรื่องคุณธรรม จริยธรรม เข้าไปปลูก ฝังเยาวชน ถ้าเผื่อเขามีลูกก็จะมีแนวทางว่าจะสอนลูกยังไง มันต้องเข้าไปถึงระดับนั้นเลย เพราะว่าตั้งแต่มาเข้าโรงเรียนลูกก็ เคยชินกับการโกงข้อสอบแล้ว” นาย วิชา กล่าว ขณะที่นาย วสันต์ ภัยหลีกลี้ ระบุว่า เยาวชนถือว่ามีความส�ำคัญเป็นอย่างมากในการต่อต้านการทุจริต เนื่องจากอนาคต ของประเทศที่จะปราศจากทุจริตอยู่ในมือของเยาวชน อย่างไรก็ตาม นายวิชา กล่าวด้วยว่า เมื่อประเทศไม่มีการทุจริต เปรียบเสมือนนมโคออแกนิคที่ไร้สิ่งเจือปน 10 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ข่ า วสารครอบครั ว พอเพี ย ง กิ จ กรรมจิ ต อาสาสร้ า งฝายและกิ จ กรรมพี่ ส อนน้ อ ง ณ วั ด ลิ้ น ช้ า ง อ� ำ เภอหนองหญ้ า ปล้ อ ง จั ง หวั ด เพชรบุ รี

กิจกรรมจิตอาสาสร้างฝายและกิจกรรมพี่สอนน้อง ณ วัดลิ้นช้าง อ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี กิจกรรมนี้เป็น กิจกรรมที่รวมพล เยาวชนครอบครัวพอเพียง ไปท�ำความดี สร้างฝายชะลอน�้ำ และให้ความรู้เกี่ยวกับการแยกขยะในโรงเรียน รวมถึงสร้างสื่อการสอนแบบBBL บรรยากาศในกิจกรรมสนุกมากๆ และยังได้สร้างความดีรวมกันอีกด้วย

11 issue 104 september 2016


พิธีมอบเกียรติบัตรคัดลายมือ,ท�ำการ์ดวันแม่ โรงเรียนอุ ดรพิทยานุกูล

ศูนย์ครอบครัวพอเพียง_โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล ได้ด�ำเนินการท�ำพันธกิจในด้านต่างๆ ประกอบด้วย ด้านศาสนาวัฒนธรรม และสถาบันพระมหากษัตริย์, ด้านสิ่งแวดล้อม, ด้านประชาธิปไตย, ด้านสังคม, ด้านเศรษฐกิจ และน้องๆ เยาวชนครอบครัว พอเพียงได้ท�ำพันธกิจส่งเข้าประกวดเพื่อร่วมกันแข่งขันในทุกระดับชั้น และผู้ชนะการประกวดคัดลายมือได้แก่ รางวัลชนะเลิศ – เด็กหญิงมธุลดา ธิตะเชียง รางวัลรองชนะเลิศอันดับ1 เด็กหญิงรังสิธร สีลาโครต, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ2 เด็กหญิงวรรณรดา จันทะบูลย์, รางวัลชมเชย เด็กหญิงอภิชญา ดียา และผู้ชนะการประกวดท�ำการ์ดวันแม่ ได้แก่ รางวัลชนะเลิศ - เด็กหญิงพจนารถ อาจเทศ, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 เด็กหญิงกัลยดา กวีพงษ์ภักดี, รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 เด็กหญิงนันทกาญจน์ แมนเมือง, รางวัลชมเชย เด็กหญิงวรัญญา เรืองสวัสดิ์ 12 IS AM ARE www.ariyaplus.com


UHC Young พลเมืองใหม่หลักประกันสุขภาพร่วมกิจกรรมการประชุ มรับฟั งความคิดเห็นฯประจ�ำปี 2559

มูลนิธิครอบครัวพอเพียงร่วมกับส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) พาน้องๆ “UHC Young พลเมืองใหม่หลัก ประกันสุขภาพ” เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมรับฟังความคิดเห็นประจ�ำปี 2559 (ระดับประเทศ) จัดโดยส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ(สปสช.) ซึ่งได้รับเกียรติจาก ศ.นพ.ปิยะสกล สัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณะสุขเป็นประธานพิธีเปิดและเยี่ยม ชมนิทรรศการพร้อมทักทายแกนน�ำ UHC Young อย่างเป็นกันเองพร้อม นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒน์ รักษาการเลขาธิการ สปสช.และ นพ.รัฐพล เตรียมวิชานนท์ ผช.เลขาธิการ สปชส.และประธานกลุ่มภารกิจงานสาขาเขตและการมีส่วนร่วม ณ โรงแรมรามาการ์เด้น

HERO 3 สร้างกระบวนการจิตอาสาสู่การลงพื้นที่ปฏิบัติ

มูลนิธิครอบครัวพอเพียงจัดกิจกรรมการเสริมทักษะ “การสร้างกระบวนการจิตอาสา” (I’m HERO ครั้งที่ 3) มุ่งเน้นเสริมทักษะ ให้กับแกนน�ำเยาวชนครอบครัวพอเพียงจ�ำนวน 200 คนจาก 25 โรงเรียนในด้านการปฏิบัติงานจิตอาสาในโรงพยาบาล , การบริจาค โลหิต , การนันทนาการในเด็กเล็ก ซึ่งได้รับความร่วมมือด้านวิชาการและการปฏิบัติจากศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยและ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โดยกิจกรรมจัดขึ้น ณ อาคาร 100 ปี โรงเรียนวัดนวลนรดิศ 13 issue 104 september 2016


14 IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็ ก ..ก่ อ นค่ า ย เด็ ก ..หลั ง ค่ า ย

นที แต่แดงเพชร

คนรุ่นใหม่บนวิถีวิทยาศาสตร์เกษตร “เกษตรกร” กั บ “คนรุ ่ น ใหม่ ” ดู เ หมื อ นจะเป็ น อะไรที่ ส วนทางกั น โดยเฉพาะในยุ ค ที่ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า งรวมไว้ ใน “มื อ ถื อ ” เพี ย งเครื่ อ งเดี ย ว สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ค นรุ ่ น ใหม่ ไ ม่ ส นใจการเกษตรก็ คื อ “ผู ้ ใ หญ่ ” ที่ เ อาแต่ บ อก สอนลู ก หลานให้ “เป็ น เจ้ า คนนายคน” เป็ น คนชี้ นิ้ ว นั่ ง สบายในห้ อ งแอร์ เพราะไม่ อ ยากให้ ลู ก หลานล� ำ บาก กั บ การเป็ น เกษตรกรเหมื อ นตนเอง แต่ ไ ม่ เ คยหาเหตุ ผ ลในความล� ำ บากนั้ น ๆ อย่ า งไรก็ ต าม มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย งไม่ ไ ด้ มี แ ต่ เยาวชนที่เรียนแพทย์ วิศวะ ศิลปะ หรือครูเท่านั้น ยังมีอีก หลายสาขารวมถึ ง วิ ช าการเกษตรที่ จ ะมาน� ำ เสนอในฉบั บ นี้ เป็นแนวทางหนึ่งให้กับน้องๆ ที่อาจยังไม่แน่ใจในทิศทางของ การเรียนเกษตรบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ แต่มักได้รับรู้รับ ทราบตามความเชื่อของคนรุ่นก่อนๆ มากกว่า จึงท�ำให้ไม่กล้า ท�ำตามความฝันที่ตนเองชอบ แล้วทิศทางที่ว่านี้เป็นอย่างไร ไป ท�ำความรู้จักกับ น้องนที แต่แดงเพชร วัย 19 ปีคนนี้กันดีกว่า นิสิตคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร สาขา ทรัพยากรเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร. ชื่อนาย นที แต่แดงเพชร บ้านอยู่ปทุมธานี จบจาก โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ครับ พ่อแม่เปิดบริษัทท�ำ โรงงานขายน�้ำยาสารเคมี คือไม่ได้ท�ำอาชีพเกษตร แต่ว่าจะมี ทางปู่ย่าตายายที่ท�ำมา เห็นปู่ย่าตายายเหนื่อย เราเลยคิดว่า น่าจะไปปรับปรุงช่วยเขาเรื่องการเกษตร ก็เลยมาเรียนเกี่ยวกับ เกษตร หลักสูตร 4 ปี แต่ผมตั้งใจว่าจะจบภายใน 3 ปีครึ่ง เพราะ ตอนนี้ผมลงเรียนเต็มทุกหน่วยกิจเลย รีบจบครับ

การจัดการ คือจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ ปี 1-2 ยังเรียนพื้นฐาน อยู่ ยังไม่แยกไปตามความถนัด ส่วนปี 3 แยกเป็นเรือ่ งพืช เรือ่ งน�ำ้ เรื่องสัตว์ ส่วนผมตั้งใจว่าจะลงเรียนเกี่ยวกับพืช ตอนนี้ก็ลงพื้น ฐานเกี่ยวกับพืชไปเยอะ จบมาก็ท�ำงานป่าไม้ได้ครับเพราะอยู่ ในสาขาหมวดทรัพยากร ผมเล็งเป้าไว้ว่าจะต่อปริญญาโทเป็น นักปรับปรุงพันธุ์พืช มี ค นตั ว อย่ า งในดวงใจไหม ? ไม่มีครับ แต่ว่ามีคนมาจุดประกายให้ครับ คือทางมูลนิธิ ครอบครัวพอเพียงนั่นแหละครับที่จุดประกายให้ เพราะว่าตอน ที่ไปเรียนมัธยมปลายตอน ม.4 ยังไม่รู้เลยว่าจะเรียนต่อไหน จะเรียนอะไรดี แต่พอครอบครัวพอเพียงเข้าไปแนะน�ำก็ท�ำให้ เรารู้จักเรื่องการจัดการชีวิต และหลักเศรษฐกิจพอเพียง ก็รู้สึก ชอบแนวนี้ครับ แต่ส่วนมากเพื่อนๆ ไปเรียนด้านช่างมากกว่า เพราะว่า มันเงินดีกว่า ถ้ามาเรียนพืชอย่างผมมันเหนื่อยนะครับ ลงแปลง ท�ำงานทุกวัน ท� ำ ไมไม่ เ ลื อ กเรี ย นวิ ศ วะ หรื อ คณะที่ เ รี ย นแล้ ว ได้ เงิ น สู ง ๆ ? จริ ง ๆ แล้ ว เรี ย นพื ช ผมว่ า รวยนะ แต่ ที่ ผ ่ า นมาคนท� ำ เกษตรไม่รวยเพราะว่าไม่มีความรู้พื้นฐาน จัดการไม่เป็น เดี๋ยว นี้มีฟาร์มใหม่ๆ ผุดขึ้นมาแล้วดังหลายแห่งนะ เขารวยนะครับ จบเกษตรมาเกือบทุกคน ผมมีที่อยู่แล้วแต่ว่ายังไม่ดีเท่าไหร่ อยู่เขตกาญจนบุรี มันแล้งครับ ต้องไปปรับปรุงตรงนั้น ผมจึง เรียนทางนี้โดยตรง

มาเข้ า ม.เกษตรได้ ยั ง ไง ? รับตรงครับ เกรดเฉลี่ย 3.33 ทาง ม.เกษตรเขารับ 3.0 ก็เลยได้เรียน ผ่านสอบสัมภาษณ์ บ้านอยู่แถวโรงเรียนสุนทโร เมตตาประชาสรรค์ครับ มาเรียนมหาวิทยาลัยก็อยู่หอ คณะที่ เ รี ย นเกี่ ย วกั บ อะไรบ้ า ง ? แยกออกเป็นหลายสาขาครับ ผมเรียนสาขาทรัพยากร 15

issue 104 september 2016


มาท�ำก็หมดเวลาแล้วไม่มีเวลาไปขายหรอกครับ ก็จะถูกพ่อค้า คนกลางกดราคา อย่างที่บ้านผมท�ำเมล่อน ขึ้นตามห้างลูกละ 250 บาท ถ้าเปิดขายตามแผงตลาดก็ลูกละประมาณ 80-90 บาท แต่รับ จากไร่ลูกละ 7-8 บาท ส่วนต่างตรงนี้หายไปไหนผมไม่เข้าใจ เหมือนกัน ลองเดินไปดูครับ ผมไปดูที่เมเจอร์ ลูกละสี่ร้อยกว่า บาท ลูกไม่ถึงหนึ่งกิโลกรัม ออกจากสวนลูกละ 1-2 กิโลกรัม ลูกละ 7-8 บาท นี่คือพ่อค้าคนกลางเป็นคนก�ำหนดราคาไม่ใช่ เกษตรกร ถ้าเราไม่ขายให้เขา เราก็ไม่รู้จะไปขายที่ไหน จะวิ่งรถ มาส่งตลาดไทก็ได้ลูกละ 13-14 บาทเท่านั้น ค่าน�ำ้ มันก็หมดแล้ว การเรี ย นตอนนี้ เ ป็ น ยั ง ไง ? ตอนนี้ก�ำลังขึ้นปี 2 ครับ โอ้โห (เสียงสูง) ค่อนข้างยาก พอสมควรเลย แพทย์เรียนอนาโตมีคน ผมเรียนอนาโตมีพืช ทุก ส่วนของพืชตั้งแต่ใบ คลอโรฟิลล์ ทุกอย่าง ล�ำต้น ราก ใบ ตั้งแต่ ต้นเล็กๆ ระดับคนก็เป็นร่างกาย แต่ผมเรียนตั้งแต่ต้นเล็กใบเลี้ยง คู่ ใบเลี้ยงเดี่ยว จนโตครับ พอเลื อ กเรี ย นเกี่ ย วกั บ เกษตรแล้ ว เป็ น อย่ า งที่ ค าด หวั ง ไหม ? เป็นอย่างที่เราคาดครับ แต่ว่ายากกว่าที่เราคาดไว้เยอะ เลย (หัวเราะ) อย่างเกรดปีแรกชีวศึกษา ผมได้ B จากที่โรงเรียน เก่า เราว่าเราเก่งแล้วนะได้ 4 ทุกเทอม พอมานี่ได้บี (โอ้ว) เกรด

ปู ่ ย ่ า ตายายท� ำ เกษตรเกี่ ย วกั บ อะไร ? ท�ำไร่มัน ไร่อ้อย ปีหนึ่งได้ครั้งสองครั้ง ถ้าเศรษฐกิจไม่ ดีก็ล้ม ผมก็เลยอยากจะช่วยเขาปรับปรุง ท�ำเกษตรอย่างอื่น บ้าง อย่างอ้อยปีหนึ่งกว่าจะได้รอบหนึ่ง แล้วราคาอ้อยก็ตก เรื่อยๆ นะ คิ ด ยั ง ไงเกี่ ย วกั บ การเกษตรปั จ จุ บั น ? เกษตรตอนนี้มี 3 ปัจจัย มีพ่อค้าคนกลาง เกษตรกร แล้ว ก็ขายปลีก ตอนนี้พ่อค้าคนกลางจะได้เยอะเพราะเขารับซื้อจาก เกษตรกร เกษตรกรโดนกดราคาท�ำให้เป็นอย่างในปัจจุบันนี้ คือ พ่อค้าคนกลางก�ำหนดราคา ไม่ใช่ตัวเกษตรกรเอง เกษตรกรถึง ไม่รวยสักที จุดอ่อนของเกษตรกรปัจจุบันผมคาดว่า เขาไม่ค่อยมี ความรู้กันเท่าไหร่ ยกตัวอย่างเรื่องความรู้นะครับ ไปถึงร้านปุ๋ย บอกข้าวไม่โตเลยท�ำไงดี เขาไม่มีความรู้ว่าข้าวท�ำไมไม่โต เขาก็ ไปสั่งปุ๋ย ร้านก็ขายปุ๋ยมา เขาไม่ได้บอกว่าในปุ๋ยมีอะไรบ้าง มี NDK ไหม ชาวนาก็เอามาหว่านๆ ไป เอาเงินไปให้ร้านปุ๋ยหมด ไม่มีการมาวิเคราะห์ดิน หรือปรับเปลี่ยนตรงนั้นตรงนี้ แต่แก้ ปัญหาโดยการเอาปุ๋ยมาลง จุ ด อ่ อ นที่ ส องคื อ พ่ อ ค้ า คนกลาง เพราะว่ า เราเป็ น เกษตรกร เราปลูกผักบุ้งสัก 50 ไร่ แค่เวลาเก็บเราจ้างคนงาน 16

IS AM ARE www.ariyaplus.com


เฉลี่ยรวมขึ้นปีสองตอนนี้ประมาณ 2.50 ถ้าต�่ำกว่า 2.00 โดนรีไทร์ครับ เ ด็ ก รุ ่ น ใ ห ม ่ อ ย ่ า ง เ ร า กั บ การเกษตรดู เ หมื อ นจะเป็ น เรื่ อ ง ไกลกั น ? ผมว่าอยู่ที่ผู้ปกครองนะ เพราะ ว่าผู้ปกครองเขาท�ำนาท�ำไร่มันเหนื่อยไม่ อยากเห็นลูกท�ำ ก็เลยส่งลูกไปเรียนอย่าง อื่น เป็นความเชื่อ เพราะเขาก็ท�ำเกษตร ตามความเชื่อเหมือนกัน แต่ที่ผมเรียน อยู่ ใบปริญญาเป็นวิทยาศาสตร์บัณฑิต เหมือนเรียนวิทยาศาสตร์ด้านการเกษตร คนเรี ย นเยอะไหมคณะนี้ ? ตอนแรกเข้ามา 57 คน พอขึ้นปี สองเหลือ 37 คน เพราะยาก ใครไม่ไหว ก็ไทร์ออกไป ส่วนมากคนที่เรียนเป็นผู้ หญิงครับ ส่วนมากเรียนตามความชอบ ของแต่ละคนครับ ไม่เกี่ยวว่าที่บ้านจะ ต้องท�ำเกษตร

ส่ ว นตั ว แล้ ว เราเป็ น คนยั ง ไง ? ผมเป็ น คนที่ คิ ด แล้ ว ต้ อ งท� ำ นะ คิ ด แล้ ว ไม่ ท� ำ นี่ แ ย่ เป็ น คนที่ มี ค วามมุ ่ ง มั่ น อย่ า งที่ ม าเข้ า ครอบครั ว พอเพี ย ง เพราะว่าจะหาแนวทางว่าอนาคตเราจบ ไปต่อ ป.โท แล้ว เราจะรู้เรื่องนั้นเรื่อง เดีย วหรื อ เราก็ ต ้ อ งรู ้ ห ลายเรื่ อ ง ป.โท คิดว่าจะเรียนต่อเรื่องเกษตรครับ เกี่ยว กับเรื่องปรับปรุงพันธุ์พืช แต่อาจเรียนที่ ม.เกษตร วิทยาเขตก�ำแพงแสน เพราะ ที่ก� ำ แพงแสนอุ ปกรณ์ เขาจะพร้ อ มกว่ า เพราะว่าวิทยาเขตเขากว้าง จบแล้ ว ไม่ อ ยากสอบรั บ ราชการ บ้ า งหรื อ ? ราชการก็เงินดีนะครับ แต่ว่ามัน จะท� ำ อะไรได้ อยู ่ แ ค่ ใ นห้ อ งคอยตรวจ ตราว่าป่าไม้นั่นดีหรือไม่ แล้วชาวบ้าน ล่ะ ผมเรียนเพื่อต้องการไปพัฒนาชุมชน พัฒนาชาวบ้าน อยากลงมือท�ำมากกว่า เอกสารก็เป็นสิ่งที่วางอยู่บนโต๊ะเท่านั้น 17 issue 104 september 2016

แหละครับ ผมจะกลับไปพัฒนาถิ่นฐาน บ้านเกิดครับ ไม่ ก ลั ว ความเสี่ ย งในอนาคตหรื อ มาเรี ย นด้ า นนี้ ? เรี ย นเกษตรความเสี่ ย งมั น ก็ 50/50 ครั บ เพราะว่ า ชาวบ้ า นส่ ว น ใหญ่ไม่ค่อยเชื่อเรา เขาจะเชื่อแบบเดิมๆ เหมื อ นคนหั ว โบราณเราก็ ต ้ อ งค่ อ ยๆ เปลี่ยนเขา ความเป็นไปได้ก็ 50/50 ที่เขา จะเชื่อเรา หรือเชื่อตามแบบเดิมๆ เราผ่ า นมาถึ ง วั น นี้ รู ้ สึ ก อย่ า งไร บ้ า ง ? ต้ อ งบอกว่ า ภู มิ ใจมาก ทั้ ง ๆ ที่ ตอนแรกผมสอบติดคณะเกษตรนะ แม่ ไม่ ใ ห้ เรี ย นครั บ แม่ บ อกว่ า จะไปเรี ย น ท�ำไมเกษตร ท�ำไมไม่เรียนวิศวะ ผมติด สองที่ วิศวะอิเล็กทรอนิคพระจอมเกล้า ด้วย แม่จะให้ไปเรียนวิศวะ ผมก็รั้น อยาก เรียนเกษตรมากกว่า แล้วก็เถียงกับแม่ ไม่


ตอนนี้มีเมล่อน ปลูกมัน ปลูกอ้อย ปลูก ผักชีครับ เมล่อนเป็นพืชจากต่างประเทศ แต่เป็นพืชเขตร้อน เลยปลูกในไทยได้ ไม่ ต้องการน�้ำเยอะ ปลูกประมาณ 3 อาทิตย์ จะเริ่มออกดอกแล้วครับ พอผสมเกสรก็ 50 วัน จึงเก็บผลผลิต เฉลี่ยประมาณ 3 เดือนกว่าๆ ไม่นานมาก น�้ำไม่ต้องเยอะ คอยรดช่วงเป็นต้นกล้าแรกๆ เท่ า ที่ สั ม ผั ส มา คิ ด ว่ า ทั ศ นคติ ให้ ใ ช้ ชี วิ ต อย่ า งพอเพี ย งรู ้ จั ก พึ่ ง พาตนเอง อยู ่ ใ นเงื่ อ นไขความรู ้ แ ละ เ ก ษ ต ร ก ร ไ ท ย ป ั จ จุ บั น เ ป ็ น คุ ณ ธรรม หลั ก ของในหลวงผมว่ า สุ ด ยอดมาก ใช้ ไ ด้ จ ริ ง ทุ ก อาชี พ อย่ า งไร ? ผมว่ายังเป็นเกษตรแบบรุ่นเก่า ไม่ ใ ช่ เ ฉพาะเกษตร แต่ ที่ ย กตั ว อย่ า งเป็ น เกษตรเพราะคนจะได้ เ ห็ น เป็ น อยู่ ยังเชื่อคนที่ดูมีภูมิฐาน มีฐานะกว่า รู ป แบบ จริ ง ๆ เหมื อ นว่ า เกษตรกรคุ ย กั น เองไม่ ค ่ อ ยรู ้ คุยกันหลายวัน เขาบอกว่ามันล�ำบากนะ ไม่ค่อยดี ก็จบเลยครับ ท�ำงานอะไรไม่ได้ เรื่อง อย่างบอกปุ๋ยนั้นดี ก็ไปซื้อกันมา เพราะว่าน้อยนะ บริษัทที่จะรับพนักงาน ใช้ อย่างยาฆ่าแมลงออกมาใหม่ทุก 4-5 เกษตร เขาคงไม่อยากให้ลูกล�ำบาก เดือน ก็บอกเฮ้ย อันนี้ใช้ไม่ได้แล้ว อัน แต่พ่อผมบอกว่าจะเรียนอะไรก็ เกษตร ใหม่ดีกว่า ไม่รู้ว่ามีสารอะไรบ้าง รู้แต่ว่า เรียนแต่ต้องท�ำให้เต็มที่ เรียนให้รู้ พ่อ ชี วิ ต ส่ ว นตั ว และวั น ว่ า งท� ำ อะไร ? ฉีดแล้วแมลงตายแค่นั้น คนก็ตาย มัน เป็นคนสนับสนุน ปลู ก เมล่ อ นครั บ ตอนนี้ จ ริ ง ๆ ปรั บ ยากให้ ส ารเคมี กั บ เกษตรอิ น ทรี ย ์ อนาคตเรี ย นจบแล้ ว จะเข้ า องค์ ก ร เมล่อนราคาดีมาก แต่เกษตรกรย�ำ่ แย่มาก อยู่ร่วมกัน ก่ อ นไหม หรื อ ลุ ย ท� ำ เกษตรของ ผมหาเหตุผล อาจเป็นเพราะเมล่อนเราไม่ ได้คุณภาพก็ไม่ใช่นะ เพราะเมล่อนเรา สนใจเรื่ อ งเกษตรอิ น ทรี ย ์ ไ หม ? เราเลย ? สนใจนะ เพราะมันเป็นมิตรกับ ผมว่าจบแล้วลุยเลยดีกว่าครับ ไม่ ปลูกแข่งกับเจียไต๋ได้เลยนะ เรื่องรสชาติ อยากเข้ากับองค์กร เพราะว่าองค์กรพวก ความหวาน ความมัน แต่เราก็ไม่รู้ว่าท�ำไม ธรรมชาติ เป็ น มิ ต รกั บ ตั ว เราอี ก เป็ น นี้จะแสวงหาผลก�ำไรเข้าตัวเองมากกว่า ราคาอยู่แค่นั้นที่เกษตรกรได้ เขารับซื้อ มิตรกับดินด้วย จริงๆ แล้วถ้าท�ำเกษตร เยอะแต่ถูกครับ อินทรีย์ผลผลิตจะได้มากกว่าเกษตรสาร เคมี ยิ่งดินดี ผลผลิตยิ่งดี อย่างใส่สารเคมี โ ร ง เ รี ย น สุ น ท โ ร เ ม ต ต า ประชาสรรค์ ที่ เ ราจบมาเขาเน้ น ถ้ า มี โ อกาสเราจะแก้ เ รื่ อ งนี้ ยั ง ดินมันเสื่อมคุณภาพ ผลผลิตก็ไม่ดีหรอก ไง ? อะไรให้ เ รา ? อยากไปจดฟาร์ม GAP ครับ จะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ น ้ น เ ก ษ ต ร แ บ บ โร ง เรี ย น เข า เ น ้ น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพียงของในหลวง พึ่งพาตนเอง น่า ได้ส่งนอกได้ ถ้าส่งออกได้เราก็ลอยล�ำ ไหน ? สอนโดยรวมว่า สารตัวนี้ใช้เคมี จะมีผมคนเดียวที่มาเรียนต่อด้านนี้ อาชีพ แล้วครับ ราคาเขาน่าจะยุติธรรมกว่า แต่ เกษตรกรรายได้ไม่แน่นอน ฟ้าฝนก็แย่ ว่าจะมีเรื่องยุ่งยากอย่าง GAP เพราะว่า อะไรบ้ า ง อิ น ทรี ย ์ ก็ จ ะแยกไปอี ก ทาง แล้ว ยังมาโดนพ่อค้าคนกลางอีก แต่ถ้า ฟาร์มของผมมันไม่มีไฟฟ้าใช้ ระบบน�้ำไม่ หนึ่ง แต่ว่าต้องเรียนทั้งหมด สอนให้เรา ไปเรียนช่างจบมามีงานท�ำแน่นอน เพราะ ค่อยดี เพราะว่ามันแล้ง อยู่กาญจนบุรี ก็ รู ้ ทั้ ง เคมี ทั้ ง อิ น ทรี ย ์ อยู ่ ที่ เราจะเอาไป ตอนนี้ช่างขาดแคลน แต่เรียนเกษตร ถ้า นี่แหละครับมาเรียนก่อนค่อยไปปรับปรุง ใช้ การเรียนเกษตร เรียนยาก แต่จบมา เราไม่รับราชการ ยิ่งพื้นฐานครอบครัว ให้ ผ ่ า นการรั บ รองเพื่ อ จะส่ ง ออกครั บ เรามีความรู้พื้นฐานไปปรับปรุง กลับไป 18 IS AM ARE www.ariyaplus.com


โรงเรียนเดิมผมก็แนะน�ำน้องๆ ได้เป็นบางเรื่อง คือไม่บอกหมด แต่พยายามกระตุ้นจุดประกายให้เขา ตอนเรียนมัธยมผมชอบเรียนฟิสิกซ์ ผมว่ามันเป็นเรื่อง ใกล้ตัวนะ ถ้าเข้าใจมันจะเรียนสนุก รอบๆ ตัวเราเป็นฟิสิกซ์ หมดเลย เพื่อนรุ่นเดียวกันร้อยคนจะชอบฟิสิกซ์สักคน พอเรียน มหาวิทยาลัยก็ได้มาใช้เกี่ยวกับการสังเคราะห์แสงของพืช การ ถ่ายเทพลังงานของพืช ก็เหมือนว่าเรียนอนาโตมีพืช ใครคื อ ตั ว อย่ า งในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ? พ่อครับ เพราะพ่อท�ำงานหลายอย่างมาก สู้ชีวิต เขา สอนให้เรารู้ว่า เวลาล้มอย่าล้มไปเลย ล้มแล้วต้องลุก ท�ำหลาย อย่างมากพ่อ ท�ำแล้วก็ล้ม ล้มแล้วก็ลุกมาท�ำใหม่ ไม่เคยยอม แพ้ ตอนนี้อายุ 56 แล้ว พ่อก็ยังท�ำอยู่ ผมมีน้องผู้หญิง 1 คน ผู้ชาย 2 คน ผมเป็นคนโตครับ พ่อสอนว่าท�ำงานอย่าไปกลัวงาน ท�ำให้เต็มที่ ส่วนมากผมท�ำเต็มที่แล้วงานก็ออกมาดีทุกอย่างนะ ไม่เคยไม่ประสบความส�ำเร็จสักครั้งตั้งแต่ผมท�ำงานกับพ่อมา ยกเว้นเราท�ำไม่เต็มที่ ส่วนแม่จะเน้นเรื่องคุณธรรมมากกว่า ให้ เรารู้จักกตัญญูรู้คุณ ครอบครั ว พอเพี ย งเข้ า มาจุ ด ประกายเราตอนไหน ? ค่ายตอน ม.4 เลยครับ (ค่ายที่โรงเรียนสุนทโร) ตอนผม เรียนมัธยมใหม่ๆ เราพึ่งเข้า ม.4 มา ก็ยังไม่รู้จะเรียนอะไร อีก 2-3 ปีก็จบแล้ว ยังไม่รู้จะเรียนอะไร เพื่อนเขาเริ่มคิดได้กันหมด แล้ว แต่เรายังไม่รู้ชอบอะไรดี แล้วตอนนั้นที่โรงเรียนสุนทโรเพิ่ง เริ่มท�ำโครงการเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง พอครอบครัวพอ เพียงเข้าไปก็เข้ากันพอดีเลย แล้วเราก็ได้ท�ำ ได้รู้แนวทางปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงที่มากกว่าการเกษตรแต่สามารถเอามา ปรับใช้กับชีวิตเกษตรกรได้อย่างยั่งยืน นี่แหละจุดประกายเรา แล้ว ท�ำให้เราอยากเป็นเกษตรกรที่มีเหตุผลในการท�ำงานและ ด�ำเนินชีวิต จะได้มาพัฒนาปรับปรุงไปเรื่อยๆ ผมว่าในร้อยคน จุดประกายได้หนึ่งคน ผมว่าประสบความส�ำเร็จแล้วนะ เราได้ ออกค่ายหลายๆ ที่ ได้เห็น ได้ท�ำ ท�ำให้เราตั้งเป้าหมายกับตัว เองได้

ที่เราสร้างให้ ก็เหมือนแลกกัน

เศรษฐกิ จ พอเพี ย งในความคิ ด เราเป็ น ยั ง ไง ? ให้ใช้ชีวิตอย่างพอเพียงรู้จักพึ่งพาตนเอง อยู่ในเงื่อนไข ความรู้และคุณธรรม หลักของในหลวงผมว่าสุดยอดมาก ใช้ได้ จริงทุกอาชีพ ไม่ใช่เฉพาะเกษตร แต่ที่ยกตัวอย่างเป็นเกษตร เพราะคนจะได้เห็นเป็นรูปแบบ จริงๆ ผมไม่ต้องการรวย ผม ต้องการมีความสุขมากกว่า. นอกจากนี้ น ้ อ งนที ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาวิ จั ย โครงการเกี่ ย วกั บ “เมล่อนทนเค็ม” ซึ่งเป็นการต่อยอดจากปัญหาและอุปสรรค ในไร่เมล่อนของเขาเอง แม้จะเป็นขั้นแรกในการหาข้อมูลช่วงเริ่ม ต้นเพื่อรอคิวอนุมัติงบประมาณวิจัยจากมหาวิทยาลัยอยู่ แต่เขา ก็มีความมุ่งหวังไกลถึงขนาดจะขายลิขสิทธิ์ ขายเมล็ดพันธุ์ รวม เรามองยั ง ไงเกี่ ย วกั บ จิ ต อาสา ? จิตอาสาผมว่าส�ำคัญกับประเทศนะครับ ถามว่าระหว่าง ถึงแจกจ่ายให้ชาวบ้านทั่วไปได้ปลูกพืชที่ทนทานต่อโรคและให้ เงินกับจิตอาสาประเทศนี้ต้องการอะไรมากกว่ากัน ถ้าจิตอาสา ผลผลิตที่มีรสชาติดี เสริมสร้างอาชีพที่ยั่งยืนกันต่อไป ความคืบหน้าเกี่ยวกับงานวิจัย “เมล่อนทนเค็ม” จะ มาเงินก็มา ผมชอบนะลงพื้นที่จิตอาสา ผมว่าเราลงพื้นที่ไปเรา ได้รู้จักอะไรใหม่ๆ เยอะแยะ อย่างไปท�ำจิตอาสาสร้างบ้านสร้าง เป็นอย่างไรต่อไป ครอบครัวพอเพียงจะรีบอัพเดทท่านผู้อ่าน โรงเรียนให้เด็กบนดอย เราก็ได้รู้ความเป็นมาของเขา เขาก็ได้สิ่ง ทันที 19 issue 104 september 2016


20 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ตั ว ไกล..หั ว ใจอยู ่ ใ กล้

ผลการวิจัยน่าสนใจ จากมหาวิทยาลัยดัง

ฮาร์ ว าร์ ด กั บ เยลเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย เก่ า แก่ ข องอเมริ ก า ทั้ ง สองมี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดั ง มานานจากการมี ค รู บ า อาจารย์ ชั้ น น� ำ ผู ้ ท� ำ การวิ จั ย ในศาสตร์ ห ลากหลายสาขา เมื่ อ ไม่ น านมานี้ มี ผ ลการวิ จั ย อั น น่ า สนใจยิ่ ง พิ ม พ์ ออกมาอี ก แห่ ง ละหนึ่ ง ชิ้ น เป็ น ผลของโครงการวิ จั ย ที่ ใ ช้ เ วลานานซึ่ ง โครงการหนึ่ ง ใช้ เ วลาถึ ง 75 ปี โครงการที่ใช้เวลานาน 75 ปีเป็นของฮาร์วาร์ด เนื่องจาก โครงการใช้เวลานานถึงหนึ่งชั่วอายุคน คณะผู้วิจัยจึงต้องใช้ถึง 4 ชุดต่อเนื่องกัน แก่นของการวิจัยได้แก่การติดตามเรื่องราว ของบุคคลจ�ำนวน 724 คนอยู่เป็นเวลา 75 ปี ในกลุ่มนี้มีอดีต ประธานาธิบดีจอห์น เอฟ. เคนเนดีรวมอยู่ด้วย เป้าหมายของ การวิจัยได้แก่การค้นหาปัจจัยที่ท�ำให้คนเหล่านั้นมีความสุข หลังเวลาผ่านไป 75 ปีเพียงไม่กี่คนยังมีชีวิตอยู่ การวิจัยสรุป ว่า ปัจจัยที่ท�ำให้คนเหล่านั้นมีความสุขที่สุดได้แก่การมีความ สัมพันธ์อันดีกับคนที่อยู่รอบตัว ข้อสรุปนี้ยืนยันผลการวิจัยในอดีตซึ่งนิตยสารครอบครัว พอเพียงน�ำมาเสนอไว้ในฉบับประจ�ำเดือนธันวาคม 2551 ผล การวิจัยจากหลากหลายแหล่งสรุปว่า หลังจากมีสิ่งต่าง ๆ ที่ สนองความจ�ำเป็นส�ำหรับด�ำเนินชีวิตครบถ้วนแล้ว ปัจจัยที่ท�ำให้ มนุษย์เรามีความสุขประกอบด้วยการมีเพื่อนสนิท หรือการมี ความสัมพันธ์อันดีกับคนรอบข้าง การเคลื่อนไหวอยู่ไม่ขาดซึ่ง อาจเป็นการออกก�ำลังกายหรือการท�ำงานอดิเรกจ�ำพวกสวน ครัว การเรียนรู้อยู่เป็นนิจ การช่างสังเกตรวมทั้งการสังเกตความ รู้สึกของตนเองอันได้มาจากการฝึกสมาธิ การให้ซึ่งไม่หวังสิ่ง ตอบแทน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์พอประมาณและ อย่างสมดุล การท�ำงานที่พอใจ และการอยู่ใกล้ธรรมชาติ อนึ่ง การวิจัยทั้งหลายมักเน้นเรื่อง “ความจ�ำเป็น” ซึ่ง ต่างกับ “ความต้องการ” ความจ�ำเป็นส�ำหรับด�ำเนินชีวิตมีขีด จ�ำกัด หรือมีความเพียงพอ ส่วนความต้องการไม่มีความพอ จึง ไม่มีขีดจ�ำกัด การวิจัยหลายโครงการพบว่าโดยทั่วไปเมื่อคนเรา มีรายได้ต�่ำ การเพิ่มขึ้นของรายได้จะท�ำให้ความสุขเพิ่มขึ้นไป เป็นเงาตามตัว แต่หลังจากมีรายได้เพียงพอส�ำหรับใช้จ่ายเพื่อ

ซื้อหาสิ่งต่าง ๆ มาสนองความจ�ำเป็นส�ำหรับการด�ำเนินชีวิต ครบถ้วนแล้ว รายได้ที่เพิ่มขึ้นไปจะไม่ท�ำให้ความสุขเพิ่มขึ้นไป เป็นเงาตามตัวด้วย ตรงข้าม ในบางกรณีรายได้ที่เพิ่มขึ้นไปอาจ ท�ำให้ความสุขลดลง โครงการวิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย เยลครอบคลุ ม เวลา 12 ปีโดยติดตามความเป็นไปของคนอายุเกิน 50 ปีจ�ำนวน 3,635 คน เป้าหมายของการวิจัยได้แก่จะดูว่าคนอ่านหนังสือ กับคนไม่อ่านหนังสือมีชีวิตยืนยาวแตกต่างกันหรือไม่ การวิจัย แบ่งคนออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มผู้ไม่อ่านหนังสือ กลุ่มผู้อ่าน วันละไม่เกินครึ่งชั่วโมงโดยเฉลี่ย และกลุ่มที่อ่านวันละเกินครึ่ง ชั่วโมง หลังจากเก็บข้อมูลอยู่ 12 ปีและแยกปัจจัยอื่นรวมทั้ง ระดับการศึกษา รายได้และภาวะสุขภาพตอนเริ่มต้นออกไป การ วิจัยพบว่ากลุ่มที่อ่านหนังสือไม่เกินวันละครึ่งชั่วโมงมีโอกาสตาย ในช่วงเวลา 12 ปีน้อยว่ากลุ่มผู้ไม่อ่านหนังสือร้อยละ 17 ส่วน ผู้อ่านหนังสือมากกว่าวันละครึ่งชั่วโมงโดยเฉลี่ยมีโอกาสตายใน ช่วง 12 ปีน้อยกว่าผู้ไม่อ่านถึงร้อยละ 23% อย่างไรก็ดี ณ วันนี้ การวิจัยยังสรุปไม่ได้ว่าอะไรท�ำให้ผู้อ่านหนังสือมีอายุยืนยาว กว่าผู้ไม่อ่านหนังสือ เป็ น ไปได้ ไ หมว่ า การอ่ า นหนั ง สื อ เป็ น ส่ ว น หนึ่ ง ของการแสวงหาความรู ้ อ ยู ่ เ ป็ น นิ จ ซึ่ ง เป็ น ปั จ จั ย ที่ ท� ำ ให้ ค นเรามี ค วามสุ ข และการมี ค วามสุ ข ท� ำ ให้ อ ายุ ยื น ? จะเพราะอะไรก็ ต าม การอ่ า นหนั ง สื อ นั้ น ย่ อ มมี ผลดี แ น่ น อน

21 issue 104 september 2016


คดี พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก 2546

เนื่องจากคดีตามข้อมูลข้างต้น เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของ รัฐบาลและค�ำสั่งหัวหน้า คสช. ที่ 30/2559 สน.บึงกลุ่ม ได้ รับค�ำร้องทุกข์กล่าวโทษผู้ปกครองเด็กผู้ก่อเหตุทั้ง 2 คน ใน ความผิดฐาน “กระท�ำการบังคับ ขู่เข็ญ ยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุน ให้นักเรียนหรือนักศึกษาฝ่าฝืนตามบทบัญญัติ ตาม ม. 64 แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 อันเป็นเหตุ ให้นักเรียนหรือนักศึกษาไปก่อการทะเลาะวิวาทหรือท�ำร้าย ร่างกายผู้อื่น ทั้งนี้ผู้ปกครองมอบตัว รับสารภาพตลอดข้อกล่าว หา จึงน�ำเข้สู่กระบวนการตามขั้นตอนของกฎหมาย ซึ่ ง ในวั น ที่ 15 กรกฎาคม 2559 ศาลเยาวชนและ ครอบครัวกลางได้มีค�ำพิพากษา จ�ำคุกผู้ปกครองเด็กผู้ก่อเหตุ ทั้งสองคน คนละ 6 เดือน ปรับคนละ 60,000 บาท ผู้ต้องหา รับสารภาพลดโทษกึ่งหนึ่ง จึงให้จ�ำคุกคนละ 3 เดือน ปรับ

ปัญหาเด็กแว้น หรือพฤติกรรมวัยรุ่น ที่ปรากฏเป็นข่าว อยู่แทบทุกวันขณะนี้ ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นมา นานแล้วโดยเฉพาะเรื่องวัยรุ่นทะเลาะกันจนถึงขั้นลงไม้ลงมือ กันรุนแรง เพียงแต่จ�ำนวนนักเรียนที่มากขึ้น เข้าถึงอาวุธได้ง่าย ขึ้น สื่อน�ำเสนอเรื่องราวได้เร็วขึ้น จึงท�ำให้ประชาชนได้รับรู้ เรื่องราวต่าง ๆ มากยิ่งขึ้นกว่าที่ผ่านมา และข่าวล่าสุดเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559 เกิดเหตุคดีพยายามฆ่า จากกรณีนักศึกษา สองสถาบั น ใช้ อ าวุ ธ ปื น ยิ ง บริ เวณปากซอยเสรี ไ ทย 41 ใน พื้นที่ สน.บึงกลุ่ม ซึ่งต่อมาได้น�ำเข้าสู่ขั้นตอนของการสอบสวน รวบรวมพยานหลักฐานที่รัดกุม รอบคอบ น�ำไปสู่การสืบสวน ติดตามจับกุมตัว เด็กผู้ก่อเหตุได้ 2 คน ทั้งผู้ขับขี่จักรยานยนต์ และผู้ใช้อาวุธปืนยิง มีการประสานสหวิชาชีพร่วมสอบสวน และส่งสถานพินิจตามกรอบระยะเวลาของกฎหมาย ทั้งนี้สืบ

22 IS AM ARE www.ariyaplus.com


กระจกส่ อ งใจ 30,000 บาท โทษจ�ำคุกให้รอลงอาญา มีก�ำหนด 2 ปี ตามคดี หมายเลขด�ำที่ 30/2559 คดีหมายเลขแดงที่ 30/2559 ลง วัน ที่ 15 กรกฎาคม 2559 คดีนี้ ถือเป็นคดีแรกที่ด�ำเนินการตามค�ำสั่ง คสช. ภาย ใต้การอ�ำนวยการสั่งการ การติดตามผลอย่างต่อเนื่องและค�ำ แนะน�ำด้านเทคนิคการสืบสวน และสอบสวนทางคดี ของท่าน ผบก.น.4 และนครบาล 4-4 จนน�ำไปสู่การใช้ดุลยพินิจของ ศาลตั ด สิ น พิ พ ากษาลงโทษผู ้ ป กครองเด็ ก ผู ้ ก ่ อ เหตุ ในอั ต รา โทษที่ค่อนข้างสูง ซึ่งจะกลายเป็นบรรทัดฐานของคดีลักษณะ นี้ในพื้นที่อื่นต่อไป (จากการรวบรวมสรุปคดีโดยทีม สอบสวน สน. บึงกลุ่ม) ประเด็นที่น่าสนใจในคดีนี้คือ การน�ำเอาพระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก ปี พ.ศ. 2546 มาใช้ในการลงโทษผู้ปกครองเด็ก ผู้ก่อเหตุทั้งสองคนเป็นครั้งแรก ซึ่งจะกลายเป็นบรรทัดฐาน ส�ำหรับคดีอื่น ๆ ต่อไป และถึงแม้ผู้เขียนจะไม่ได้ฟังค�ำถามค�ำ ตอบระหว่างผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ผู้สอบสวน แต่ก็พอใจใน ค�ำตัดสินของศาล ซึ่งการยอมรับผิดของผู้ปกครอง อาจเป็นค�ำ แนะน�ำหรือความร่วมมือกับทนายความ หากรับสารภาพ โทษ ทุกอย่างก็จะเบาลง แต่ในความเป็นจริง ผู้ปกครองได้ตระหนัก หรือยอมรับว่าตน “กระท�ำการบังคับ ขู่เข็ญ ยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุน ให้นักเรียนหรือนักศึกษาฝ่าฝืนตาม บทบัญญัติ ตาม ม. 64 แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 อันเป็นเหตุให้นักเรียนหรือนักศึกษาไปก่อการทะเลาะวิวาท หรือท�ำร้ายร่างกายผู้อื่น....” หรือเพียงยอมรับไปเรื่องจะได้จบ ซึ่งการใช้กฎหมายดังในกรณีนี้ เป็นการแก้ไขที่ปลายเหตุ ส่วน การป้องกันเพื่อไม่ให้บุตรหลานก้าวไปสู่การกระท�ำความผิดนั้น เริ่มต้นที่พ่อแม่ในครอบครัวตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ความรับ ผิดชอบในการอบรมสั่งสอน สนับสนุนให้เยาวชนมีจิตใจใฝ่ดี มี ความตั้งใจในการศึกษาเล่าเรียน และที่ส�ำคัญคือ “ผู้ใหญ่ต้อง เป็นตัวอย่างที่ดี” ให้กับเด็ก ๆ ผู้ใหญ่ในที่นี้ ทุกคนรู้ดีว่าหมายถึงพ่อแม่ผู้ปกครองทุกผู้ ทุกคนทั้งในระบบราชการ เอกชน และนักการเมืองการปกครอง ทุกระดับ ที่ต้องเข้าใจพัฒนาการของเด็ก ของวัยรุ่น ตลอดจน รู้หลักในการเลี้ยงดูอบรมลูก มีความพร้อมในการเป็นพ่อแม่ แต่ในยุคนี้เมื่อเหลียวกลับไปมอง เราจะพบว่า พ่อแม่จ�ำนวน มากมาย ไม่มีความพร้อมในการเริ่มต้นชีวิตครอบครัว หลาย รัฐบาลเคยพูดหรือพยายามที่จะให้มี “โรงเรียนพ่อแม่” แต่ จนถึงวันนี้ ก็ยังไม่มีไม่ได้เห็นความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่หรือ

หน่วยงานของรัฐที่จริงจังในเรื่องนี้ พ่อแม่ทุกครอบครัวส่วนใหญ่ทุกวันนี้ ต้องออกจากบ้าน ไปท�ำงานหาเงินมาเลี้ยงดูครอบครัว เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ ด�ำเนินชีวิตและค่าการศึกษา เพราะฉะนั้นเวลาอยู่กับลูก ๆ มีไม่ มาก ไม่เหมือนสมัยที่ประเทศไทยยังไม่ได้พัฒนาไปสู่ระบบ “ใคร มือยาวสาวได้สาวเอา” เช่นที่เป็นอยู่ เมื่อพ่อแม่ไม่สามารถ อบรมสั่งสอนได้โดยตรง การส่งไปโรงเรียนดี ๆ หรือแพงๆ ก็ ด้วยหวังว่าครูอาจารย์จะเป็นที่พึ่งของเด็ก ๆ ได้ แต่ครูอาจารย์ ก็มีปัญหา มีความต้องการไม่ต่างจากพ่อแม่ เวลาที่มีอยู่จึงหมด ไปกับการท�ำให้การศึกษาเป็นธุรกิจเชิงพาณิชย์ ที่ส�ำคัญเด็กที่ เรียนเก่งหรือฐานะทางครอบครัวดี ก็จะได้เจอกับครูเก่ง ๆ ครู ที่ดีในสถาบันที่มีชื่อเสียง ในขณะที่นักเรียนที่เรียนอ่อน เพราะ สติปัญญาด้อยกว่าหรือไม่ใส่ใจเรียน ไม่ชอบเรียน เรียนไม่รู้ เรื่อง ครอบครัวมีปัญหาพ่อแม่ทะเลาะขัดแย้ง ไม่เข้าใจวัยรุ่น การเงินติดขัด ท�ำให้เด็ก ๆ รู้สึกเครียด กลัว ฯลฯ ขณะเดียวกัน ด้วยสถานภาพที่ด้อยกว่า ก็ต้องไปเรียนในโรงเรียน และในชั้น เรียนที่ “ครูผู้สอนเองก็อ่อนด้อย และมีปัญหา หรือสอนไม่ เก่งสอนไม่เป็น ไม่ภูมิใจในอาชีพของตน !” ยิ่งท�ำให้นักเรียน กลุ่มนี้ต้องมีปัญหาเพิ่มขึ้น และแทนที่การใส่ใจเรียนรู้ เด็กวัย รุ่นจ�ำนวนมากที่อยู่ในสภาพเหมือนถูกทอดทิ้งทั้งจากพ่อแม่ ครู อาจารย์หรือผู้ใหญ่ทั่วไป จึงต้องหันไปคบเพื่อน สร้างมิตรที่จะ ท�ำให้เขารู้สึกมั่นคง มีความกล้า กล้าที่จะปกป้องตนเองปกป้อง เพื่อน หรือคุกคามเอาเรื่องกับคนที่เขาขัดแย้งด้วย เพื่อท�ำให้ตัว เองรู้สึกเข้มแข็งปลอดภัย และอยู่ได้ในสังคมที่เขาไม่เป็นที่สนใจ ของผู้ใหญ่รอบ ๆ ตัว และที่ ม ากกว่ า นั้ น คื อ ในช่ ว งวั ย ที่ ก� ำ ลั ง เจริ ญ เติ บ โต ส�ำหรับวัยรุ่นฮอร์โมนมีปฏิกิริยาต่อร่างกายและจิตใจของวัย รุ่นมาก ท�ำให้วัยรุ่นส่วนใหญ่มีอารมณ์ขึ้นลงไม่แน่นอน เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้ายวู่วาม ควบคุมตัวเองไม่อยู่ หากพื้นฐานทางครอบครัว 23

issue 104 september 2016


ยอมรับของผู้คนในสังคม เป็นตัวอย่างที่ขาดคุณธรรมและศีล ธรรม ท�ำให้ค�ำสั่งสอนของพ่อแม่ครูอาจารย์ไม่มีความหมายใน เมื่อตัวอย่างที่เห็นผ่านสื่อต่าง ๆ ไม่ได้เป็นดังนั้น อย่างไรก็ตาม การออกกฎหมายมาใช้ช่วยดังในกรณี พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 เป็นเรื่องดีและทันสมัยมาก เพียงแต่การท�ำงานของหน่วยงานภาครัฐอาจมีความล่าช้า ขาด ความเข้าใจในเนื้อหาและหลักการที่แท้จริงของ พ.ร.บ.เหล่า นั้น การท�ำงานจึงเหมือน กล้า ๆ กลัว ๆ ขาดข้อมูลและบ่อย ครั้งกลายเป็นอุปสรรคของนักวิชาชีพอื่น ๆ ดังในกรณีของมูล นิธิศูนย์ฮอทไลน์ เด็ ก หญิ ง วรรณดี อ ายุ 16 ปี ศึ ก ษาอยู ่ มั ธ ยมปลาย โรงเรี ย นรั ฐ บาลมี ช่ื อ แถวลาดพร้ า ว บิ ด ารั บ ราชการประจ� ำ กรุงเทพมหานคร มารดาเป็นเจ้าหน้าที่ธุรการมหาวิทยาลัย ปิดมีชื่อ ทั้งสองมีความมุ่งมั่นและเชื่อว่าลูกสาวคนเดียวจะสอบ เข้ามหาวิทยาลัยปิดได้แน่นอน โดยเฉพาะมารดาที่จัดเตรียมทุก อย่างไว้ให้ลูกสาวคนเดียวได้เดินไปตามความฝันของเธอ แต่เธอ ไม่รู้ว่า ลูกสาววัย 16 ปีพร้อมเพื่อนชายวัยเดียวกันได้เข้ารับค�ำ ปรึกษาแนะน�ำที่มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ กรณีที่เธอก�ำลังตั้งครรภ์ ได้เกือบสามเดือน และเธอต้องการเก็บเด็กในท้องไว้ เด็กสาว มีความมุ่งมั่นที่จะแสดงความรับผิดชอบ ไม่ท�ำบาป เธอพร้อม จะเลื่อนการเรียนไปก่อน เธอและเพื่อนชายติดต่อสถานที่รับ เลี้ยงเด็กแรกเกิดเอาไว้ หลังจากนั้นครอบครัวของฝ่ายชายซึ่ง รับรู้เรื่องนี้จะเป็นผู้รับเลี้ยงเด็กจนกว่าทั้งสองคนจะเรียนจบ มหาวิทยาลัย เด็กสาวและเพื่อนชาย รวมทั้งครอบครัวของเด็กหนุ่ม ทั้งหมด ผ่านกระบวนการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำอย่างเป็นระบบ และชั ด เจนในการที่ จ ะเก็ บ เด็ ก ในครรภ์ ไว้ แต่ จ ะท� ำ อย่ า งไร จึงจะเก็บเรื่องนี้ไว้เป็นความลับ ไม่ให้พ่อแม่ของเด็กสาวรับ รู้ เพราะเด็กสาวบอกว่า “พ่อแม่ไม่มีวันจะปล่อยให้เธอเก็บ เด็กไว้ เพราะทั้งสองคนเป็นคนรักษาหน้ามาก พ่อแม่รับไม่ ได้หรอกที่จะให้ใครรู้ว่า ลูกสาวคนเดียวของเธอจะต้องหยุด เรียนเพื่อเลี้ยงลูก ทันทีที่พ่อแม่รู้ ทั้งสองคนจะต้องพาวรรณ ดีไปท�ำแท้งแน่นอน!” แต่การท�ำแท้งเป็นเรื่องผิดกฎหมาย โดยเฉพาะ พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 เราจะ ใช้กฎหมายฉบับนี้โต้แย้งพ่อแม่เธอ หากทั้งสองคนรับรู้เรื่องนี้ก็ คงไม่กล้าพาลูกไปท�ำแท้ง เพราะฉะนั้นเราตกลงจะโทรศัพท์เชิญ พ่อแม่ของเธอมาคุย ถึงแม้วรรณดีจะเชื่อว่าพ่อแม่ไม่ยอมแน่ เด็ก สาวต้องการขอหลบซ่อนตัวที่องค์กรเอกชนเช่นเรา แต่ พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กได้ระบุไว้ว่า หน่วยงานใดจะรับวัยรุ่นที่อายุต�่ำกว่า

อ่อนแอก็จะยิ่งท�ำให้แยกแยะถูกผิด ควรไม่ ควรไม่เป็น ท�ำให้ พร้อมจะตกเป็นเหยื่ออารมณ์ตนเอง ซึ่งจ�ำเป็นต้องได้รับความ ช่วยเหลือจากนักวิชาชีพทางสังคมจิตวิทยาและจากครูอาจารย์ แนะแนวที่ โรงเรี ย น แต่ ต ลอดระยะเวลาหลายสิ บ ปี ข องการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมสิ่งแวดล้อม ปัญหาเหล่านี้ ก็ยังวนเวียน ด้วยเรื่องเดิม ๆ เพียงแต่รุนแรงขึ้น พ่อแม่และวัยรุ่นเหล่านี้เข้า ไม่ถึง ความช่วยเหลือจากหน่วยงานของรัฐ หรืออีกนัยหนึ่งคือ รัฐไม่ได้เตรียมนักวิชาชีพที่มีคุณภาพไว้คอยให้ความช่วยเหลือ กับประชาชนจนถึงทุกวันนี้ ดังในกรณีข้างบนนี้ จะเห็นว่าพ่อแม่ต้องท�ำงานหนัก ต้ อ งออกไปท� ำ งานท� ำ มาหากิ น แก่ ง แย่ ง แข่ ง ขั น กั น เพื่ อ สร้ า ง ครอบครัว ผลจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ประชาชนขาดความมั่นคงในการด�ำเนินชีวิต เศรษฐกิจคลอนแคลน เมื่อมีปัญหาครอบครัว คู่สมรสหรือปัญหา ลูก ๆ ไม่สามารถไปขอรับค�ำปรึกษาแนะน�ำจากนักจิตวิทยา หรือนักสังคมสงเคราะห์ได้ หรือแม้กระทั่งจะปรึกษาเรื่องวัย รุ่นที่โรงเรียน ก็ไม่มีครูแนะแนวที่มีความพร้อมจะให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำ ขณะเดียวกันความเจริญด้านเทคโนโลยีและสื่อ (น�้ำเน่า) ต่าง ๆ กลายเป็นการชี้น�ำการด�ำเนินชีวิตที่ฟุ้งเฟ้อฟุ่มเฟือยให้กับ วัยรุ่น โดยเฉพาะภาพพจน์ของผู้ใหญ่ที่ก้าวร้าวบริหารอ�ำนาจ ฉ้อโกง คอรัปชั่น แต่ยังอยู่ได้ท่ามกลางคนให้เกียรตินอบน้อม 24

IS AM ARE www.ariyaplus.com


18 ปีไว้พักพิงจะต้องได้รับค�ำอนุญาตจากพ่อแม่ผู้ปกครองเด็ก ก่อน ซึ่งต่างจากก่อนหน้าที่ พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กปี 2546 จะ ออกมา นั่นคือวรรณดีไม่สามารถเข้าพักพิงในหน่วยงานเอนจี โอใด ๆ หากพ่อแม่ไม่อนุญาต เมื่อพ่อแม่ของวรรณดีมาพบพวกเราพร้อมหน้ากันหมด เมื่อรู้ว่าลูกสาวเป็นผู้มาขอค�ำปรึกษาแนะน�ำ และเธอได้ตัดสินใจ แล้วว่าจะเอาเด็กไว้ มารดาของวรรณดีแสดงความกราดเกรี้ยว และปฏิเสธจะรับรู้รับฟังความต้องการของวรรณดี เธอบอกว่า “ลูกไม่รู้หรอกว่าการเอาเด็กไว้จะท�ำลายโอกาสของตัวเอง และพ่อแม่มากแค่ไหน พ่อแม่จะตอบค�ำถามเพื่อน ๆ ร่วมงาน ได้อย่างไร ญาติผู้ใหญ่จะต้องอับอายกับการกระท�ำของเธอ!” ในขณะที่วรรณดีโต้แย้งมารดาของเธอว่า “หนูจะมองหน้าตัว เองได้ยังไง ปิดบังใครก็ปิดได้ แต่ตัวหนูเองจะท�ำใจยอมรับ ว่าตัวเองท�ำลายชีวิตเด็กคนหนึ่งได้อย่างไร?” การพูดคุยเจรจาใช้เวลาหลายชั่วโมง โดยพยายามจะ เสนอทางออกให้พ่อแม่ของวรรณดียอมรับ การตั ด สิ น ใจของ เด็กสาว เธอต้องการเรียนรู้ที่จะเติบโตด้วยการแสดงความรับ ผิดชอบในสิ่งที่ตนเองกระท�ำไป และไม่อยากจะหลบหนีความ จริงไปตลอดชีวิต สุดท้ายสองสามีภรรยาเสียงอ่อนลงและขอให้ วรรณดีกลับไปบ้านด้วยกันก่อน แล้วค่อยตัดสินใจอีกครั้ง ท�ำให้ วรรณดีจ�ำใจยอมกลับบ้านพร้อมพ่อแม่ของเธอ รุ่งขึ้นตอนสาย ๆ วรรณดีโทรศัพท์มาบอกว่าเธอเพิ่ง จะหลบหนีพ่อแม่ออกจากคลินิกท�ำแท้ง แถวเขตดินแดง จึง แนะน�ำให้เธอนั่งรถแท็กซี่มาที่มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ พร้อมกันเรา ได้โทรศัพท์แจ้งเจ้าหน้าที่ต�ำรวจ สน.ดินแดงให้ไปตรวจสอบที่

คลินิกท�ำแท้งว่าก�ำลังมีเด็กสาวจะถูกท�ำแท้งให้ไปช่วยระงับ ไม่ นานวรรณดีก็มาถึงมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ เธอเล่าว่า เธอรู้ว่าพ่อแม่ จะไม่มีวันยอมให้เธอเอาเด็กไว้ กลับไปเมื่อคืนพ่อแม่ท�ำเหมือน โอนอ่อนเพื่อให้เรื่องผ่านไปก่อน พอตอนเช้าก็ปลุกเธอขึ้นแต่ง ตัวพาไปที่คลินิกนั่น ระหว่างที่พ่อแม่ก�ำลังเจรจากับหมอ เธอ ก็หลบออกมาและเชื่อว่าไม่นานพ่อแม่จะตามเธอมาที่นี่ เราจึงต้องหาที่หลบซ่อนให้วรรณดี ตามกฎหมายเธอ จะปลอดภัยหากเราพาเธอไปหลบซ่อนตัวที่หน่วยงานรัฐ เราจึง พาเธอไปส่งเข้ารับการดูแลจากหน่วยงานกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ซึ่งมีบ้านพักส�ำหรับผู้หญิง และเด็ก เหยื่อความรุนแรงเช่นกัน ด้วยความเชื่อว่าวรรณดีจะ ปลอดภัย เพราะทั้งหมดที่เจ้าหน้าที่มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์จัดการ นั้น ด�ำเนินไปตามขั้นตอนที่ระบุไว้ใน พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กปี พ.ศ. 2546 ทุกประการ เมื่ อ พ่ อ แม่ ข องวรรณดี พ าต� ำ รวจมาตามหาลู ก สาวที่ ส�ำนักงานมูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ แต่ไม่พบ เราปฏิเสธไม่ได้รับ เธอไว้ และไม่ รู ้ ว ่ า วรรณดี อ ยู ่ ไ หน ทั้ ง สองจึ ง กลั บไป ทว่า ... หลังเหตุการณ์วันนั้นผ่านไปสามสี่วัน วรรณดีก็ได้โทรฯกลับมา เล่าด้วยเสียงปนสะอื้นว่า “เมื่อเธอเข้าไปอยู่ในการดูแลของ องค์กรแห่งนั้นแล้ว เป็นกฎระเบียบขององค์กรจะต้องแจ้งให้ พ่อแม่รับทราบ เมื่อพ่อแม่รู้ว่าเธอยู่ที่นี่ ก็ได้ไปยืนด่าเจ้าหน้าที่ ที่หน้าองค์กรและขู่ว่าจะร้องเรียนทางกฎหมายว่าองค์กรพราก ผู้เยาว์ มีเรื่องโต้เถียงกันสองวัน เจ้าหน้าที่จึงยอมปล่อยเธอให้ กลับบ้านกับพ่อแม่ ทันทีพ่อแม่ก็พาเธอไปท�ำแท้ง ตอนนี้เธอ ท�ำแท้งแล้ว! มูลนิธิศูนย์ฮอทไลน์ได้ติดตามเรื่องไปยังหน่วยงานดัง กล่าวในฐานะที่เป็นผู้ถือกฎหมายคุ้มครองเด็กปี 2546 ท�ำไม กลับคุ้มครองไม่ได้ ที่ส�ำคัญ พ่อแม่พาลูกสาวไปท�ำแท้ง นั่นเป็น ความผิด พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท�ำความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 เจ้าหน้าที่รัฐสามารถเอาความผิดกับพ่อแม่วรรณดี ได้ เพราะอะไรจึงปล่อยให้เหตุการณ์นี้เกิดขึ้น? ถึงค�ำตอบจะไม่ชัดเจน แต่ก็พอจะสรุปได้ว่า เจ้าหน้าที่ รัฐยังไม่เข้าใจและไม่ชัดเจนในเนื้อหาข้อมูลของ พ.ร.บ. คุ้มครอง เด็ก พ.ศ. 2546 ทั้งการขาดทักษะการให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำ ท�ำให้ ขาดความสามารถในการน�ำเนื้อหาด้านชีวิต สังคมและกฎหมาย มาใช้ร่วมกันได้อย่างกลมกลืน และเป็นประโยชน์สูงสุดส�ำหรับ ประชาชน อรอนงค์ อินทรจิตร ศูนย์ฮอทไลน์ www.hotline.or.th 25

issue 104 september 2016


26 IS AM ARE www.ariyaplus.com


cover story

“หากคนเราไม่ถึงเวลาตาย อยู ่ตรงไหนมันก็ไม่ตาย” อรุณ เบญญคุปต์

ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านบูเกะตา

ความรั ก ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ เป็ น หน้ า ที่ (วาญิ บ ) เหนื อ มุ ส ลิ ม ทุ ก ท่ า น (วาญิ บ หมาย ถึ ง สิ่ ง ที่ ผู ้ ศ รั ท ธาต้ อ งกระท� ำ ) โดยไม่ ล ะเว้ น ผู ้ ห นึ่ ง ผู ้ ใ ด หากผู ้ ใ ดไม่ ป ฏิ บั ติ ถื อ ว่ า ผิ ด หลั ก การศรั ท ธา โดยเฉพาะผู ้ น� ำ ที่ มี ค วามยุ ติ ธ รรม ดั ง เช่ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยเป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ที่ ม วลประชาราษฎร์ ทั้ ง ประเทศและบรรดาประเทศทั่ ว โลกเขายอมรั บ ว่ า เป็ น เอกกษั ต ริ ย ์ ซึ่ ง ด� ำ รงอยู ่ บ นหลั ก ธรรมแห่ ง ความยุ ติ ธ รรมอย่ า งเห็ น ได้ ชั ด ตาม ที่ ใ ห้ โ อกาสแก่ ป ระชาชนมี ค วามเสรี ภ าพที่ จ ะเลื อ กนั บ ถื อ ศาสนาใดก็ ไ ด้ และปฏิ บั ติ ศาสนกิ จ ที่ ต นเองนั บ ถื อ ตามความศรั ท ธา พละก� ำ ลั ง และความสามารถของแต่ ล ะคน น้ อ ยประเทศนั ก ในโลกใบนี้ จ ะอยู ่ ไ ด้ แ ละพึ ง ปฏิ บั ติ ศ าสนกิ จ ได้ เ หมื อ นอย่ า งประเทศไทย ซึ่ ง เป็ น สุ ด ที่ รั ก ของคนไทยทุ ก คน 27 issue 104 september 2016


ง่ายดายนัก เพราะมีความสูญเสียเกิดขึ้นกับชีวิตคน ดังนั้น ชื่อ โรงเรียนต่างๆ ตามความเป็นมาของนายอรุณ เบญญคุปต์ อาจ ไม่ได้รับการเอ่ยชื่อ เพื่อหลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนใจต่อผู้ สูญเสียในอดีต มหา’ลั ย - คอกวั ว ผม อรุณ เบญญคุปต์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านบูเกะตา พื้นเพเป็นคนบ้านสุไหงปาดี แล้วไปเติบโตที่สุไหงโก-ลก แล้วก็ ไปรับราชการในอ�ำเภอแว้ง ท�ำงานในอ�ำเภอแว้งเป็นส่วนมาก ชีวิตของตัวเองเป็นชีวิตในครอบครัวยากจน ค่อนข้างล�ำบาก ถึงขั้นถ้าพูดกันจริงๆ ก็คือ “ชีวิตบัดสบ” แต่เราดิ้นรนอยาก พัฒนาตนเอง เพื่อให้ชีวิตทางครอบครัวดีขึ้นนะครับ แม่รับจ้าง ตัดยาง รายได้ครอบครัวแย่ลง พี่น้องต้องช่วยต้องท�ำงาน พี่สาว อายุ 14 ปี รับจ้างเก็บยาง ราคายางตอนนั้นอยู่ที่ 3.50 บาท (เมื่อปี 2512) ปัจจัยสู่ความส�ำเร็จในการศึกษา ซึ่งเป็นคนที่ค่อนข้างจะ “เรียนเก่ง” แต่มีฐานะทางครอบครัวไม่ค่อยดี มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน ผมเป็นพี่คนที่สอง พี่คนที่หนึ่งต้องเสียสละตนเอง จบ ป. 4 ก็ไปประกอบอาชีพแล้ว เสียสละอยากให้น้องๆ ได้เรียน ช่วง แรกที่อยู่ในชั้นประถมและมัธยมต้น ชีวิตเราในส่วนมากจะอยู่ใน โรงเรียนบ้านบูเกะตา ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลโละจูด อ�ำเภอ แว้ง จังหวัดนราธิวาส อยู่ในพื้นที่ติดชายแดนไทย-มาเลเซีย ซึ่ง เป็นพื้นที่แถบธุรกิจการค้าชายแดน ขายคล่อง เศรษฐกิจดี จน ผู้คนไม่ให้ความส�ำคัญกับการศึกษา เรียกว่าขายของดีกว่า ได้ เงินง่าย แต่ปัจจุบันมีการพัฒนาด้านการศึกษามากขึ้น จากคน รุ่นใหม่ที่พร้อมเสียสละ ผู้อ�ำนวยการอรุณ เบญญคุปต์ ก็เป็น อีกท่านที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนบ้านบูเกะตาอย่าง ต่อเนื่อง จนเป็นที่ยอมรับของชุมชนโรงเรียนในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ และประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ประเทศมาเลเซีย ไม่น้อยกว่า 50 คณะ อินโดนีเซีย 8 คณะ และสิงคโปร์ 1 คณะ ที่ให้ความสนใจมาเยี่ยมเยียนและศึกษาดูงาน “คนเราหากไม่ถึงที่ตาย อยู่ตรงไหนมันก็ไม่ตาย” ไม่ใช่ ความหมายของการยอมจ�ำนน หากเป็นแรงผลักดันให้สู้ และหึก เหิมกับสถานการณ์ชีวิตที่ต้องเป็นไปของครูผู้มีอุดมการณ์เล็กๆ ในการพัฒนาการศึกษา ฉบับนี้เราจึงน�ำท่านผู้อ่านไปสู่ความเป็น ไปของคนและโรงเรียนในพื้นที่เสี่ยงภัยและห่างไกล ไกลจนเรา ไม่สามารถจินตนาการได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง ผ่านเรื่องราว ชีวิตแสนเข็ญของผู้อ�ำนวยการอรุณ เบญญคุปต์ อย่างไรก็ตาม การด�ำรงอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ไม่ใช่เรื่อง 28 IS AM ARE www.ariyaplus.com


“คอกวัว” รับจ้างเลี้ยงวัว ยึดสถานีรถไฟ สุ ไ หงโก-ลก เป็ น ที่ พั ก นอน เริ่ ม ตั้ ง แต่ 10 ขวบ ตอนกลางคืนจะไปกวาดขยะที่ วิกหนัง (โรงภาพยนตร์) และประมาณ เลยเที่ยงคืนกว่าๆ ถึงจะได้พักผ่อน แต่ ก็โชคดีที่อุดมการณ์ของเราที่จะเป็นเสา หลั ก ของครอบครั ว ด้ ว ยการต่ อ สู ้ ชี วิ ต หาเงินส่งเสียตนเองเรียนหนังสือจนจบ การศึกษา ในขณะที่เพื่อนร่วมห้องเรียนเขา เลือกไปเรียนในโรงเรียนดีที่มีชื่อเสียง เช่น มหาวชิ ร าวุ ธ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง บางคนจบสาขาการแพทย์ ในขณะนั้นเรา เองยังไม่ได้เลือกเส้นทางที่จะไปเรียนต่อ แต่คิดว่าเส้นทางลัด เพื่อให้จบเร็วมีงาน ท�ำและมีรายได้ จะได้ช่วยเหลือครอบครัว จึงเลือกที่จะศึกษาทางด้านครู วิทยาลัย ครู ย ะลาเป็ น สถานบั น หนึ่ ง ที่ เ หมาะสม ที่สุดในขณะนั้น เนื่องจากใช้เวลาศึกษา เพียงสองปีจบหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาการศึกษา (ปกศ.) และสามารถบรรจุ เข้ารับราชการครูได้ และแล้วก็ได้ประสบ ความส�ำเร็จตามที่คาดฝัน หลังจากที่จบเราก็สอบบรรจุ ก็ เริ่มเป็นครู ด้วย “เรามีอุดมการณ์ตั้งแต่ สมัยยังเรียนอยู่” เช่น ครั้นอยู่สถาบัน เป็นแกนน�ำในเรื่องจิตอาสา เป็นประธาน โครงการอาสาพั ฒ นา ส่ ว นนี้ มี โ อกาส พาคณะนั ก ศึ ก ษาที ม วิ ท ยาลั ย ไปร่ ว ม สร้างโรงเรียนที่บ้านเกิด (โรงเรียนบ้าน บาโงฮูมอ) และพัฒนาโรงเรียนในพื้นที่ ทุรกันดารอีกหลายแห่ง ครู กั น ดาร ตามจริงเราไม่ได้คิดอยากจะเป็น ครู แต่เนื่องจากถ้าเราไปเรียนสายสามัญ นั้ น 1.เราไม่ มี ทุ น การศึ ก ษาในระยะ ยาว 2.โอกาสที่จะมีงานท�ำนั้นยังต้องไป แข่งขันต่อไป ถ้าเป็นครูใช้ทุนการศึกษา น้อย เพียงสองปีก็ออกมาเป็นครูได้ ช่วง

ในหลั ก ของอิ ส ลามบอกว่ า แท้ จ ริ ง พระเจ้ า สร้ า งมนุ ษ ย์ ขึ้ น มาให้ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ผู ้ น� ำ ตรงนี้ คื อ ไม่ ใ ช่ ใ ห้ เ ป็ น ผอ.โรงเรี ย น ไม่ ใ ช่ ใ ห้ เ ป็ น นายกรั ฐ มนตรี แต่ ผู ้ น� ำ ตรงนี้ คื อ ผู ้ น� ำ ในการเปลี่ ย นแปลง ผู ้ น� ำ ในการท� ำ ดี แล้ ว ก็ จ ะมี ผู ้ ต าม นั่ น คื อ ประสบความส� ำ เร็ จ นั้นจบ ปกศ.ก็มาเป็นครู ได้มีโอกาสช่วย เหลือครอบครัว สิ่งที่เราตั้งใจจริงๆ สิ่ง ที่ชอบที่สุดก็คือ อยากจะเป็นนักพัฒนา สั ง คม เพื่ อ ที่ จ ะได้ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชน ที่ มีพื้นฐานทางสังคมเสมือนตัวเรา พัฒนา ท้ อ งถิ่ น ยกระดั บ คุ ณ ภาพสั ง คม สร้ า ง ความเจริญให้กับท้องถิ่น ยอมเสียสละ ตัวเองหรือมีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อพัฒนา ท้องถิ่นได้ หลั ก จากที่ ไ ด้ ง านท� ำ ประมาณ 4-5 ปี จึงให้แม่เกษียณหยุดท�ำงานเพราะ ท่า นอายุ มากแล้ ว จะได้ พั ก ผ่ อ น ปลู ก พืชผักสวนครัว ลดรายจ่ายในครอบครัว และได้ แ บ่ ง ปั น ส่ ว นเงิ น เดื อ นเราให้ กั บ แม่จนถึงปัจจุบันนี้ เริ่มรับราชการวันที่ 19 พฤษภาคม 2524 ช่วงนั้นเงินเดือน อยู่ที่ 1,350 บาท ตอนแรกก็ยังไม่ได้ส่ง เสียแม่เพราะเราต้องเตรียมอุปกรณ์ส่วน ตัว เสื้อผ้า เป็นต้น จบมาตอนนั้นอายุ 29 issue 104 september 2016

ประมาณ 20 ปี ดี ใจเพราะคิ ด ว่ า เป็ น คนเดี ย วของครอบครั ว ที่ ไ ด้ รั บ ราชการ และช่วยเหลือครอบครัวตามความคาด หวังของผู้ที่เป็นพ่อและแม่ และเป็นคน กลุ่มน้อยในพื้นที่ชนบทในสมัยนั้นได้รับ ราชการครู ซึ่งมีไม่เกิน 2-3 คน ในระดับ ต�ำบล เราก็เป็นหนึ่งในความภาคภูมิใจ ของครอบครัว หลังจากมาเป็นครูได้เจออุปสรรค ปัญหาส่วนตัวบ้าง เช่น ความรับผิดชอบ ต่อครอบครัว สภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ บรรจุที่ห่างไกลจากบ้านพัก เส้นทางการ เดินทางระหว่างบ้านพักกับโรงเรียนเป็น เส้นทางถนนดินแดงต้องใช้เวลาในการ เดิ น ทางเป็ น เวลาหลายชั่ ว โมง ในช่ ว ง หน้าฝนแค่ปากทางถึงโรงเรียนระยะทาง 12 กิโลเมตรต้องใช้เวลาในการเดินทาง มากกว่ า 2 ชั่ ว โมง ในขณะที่ เ ส้ น ทาง สายนั้ น ยั ง ไม่ มี ร ถโดยสาร มี เ ฉพาะแต่ รถจักรยานรับจ้าง จ�ำเป็นต้องไปพักใน


ห้องเรียน ชวนเด็กนักเรียนมาเป็นเพื่อนใน ที่พักโรงเรียน และในชุมชนนั้นยังไม่มีไฟฟ้า ใช้ ใช้ตะเกียงน�้ำมันก๊าด ไปอยู่ในโรงเรียน ท� ำ ให้ เราเรี ย นรู ้ ชี วิ ต ชาวบ้ า น เรี ย นรู ้ พื้ น ที่ ทุ ร กั น ดารมากกว่ า บ้ า นเรา มี ชี วิ ต ที่ ส นุ ก กั บ พื้ น ที่ ช นบทที่ มี ค วามขาดแคลน ด้ า น โครงสร้างพื้นฐานเป็นโรงเรียนขนาดเล็กมี นักเรียนประมาณ 110 คน สอนครบทุกวิชา พละ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ เป็นต้น การสอนในช่ ว งนั้ น ไม่ เ คยคิ ด ว่ า ครู น้อยครูมาก เราคิดอย่างเดียวว่าในโรงเรียน ไหนๆ ถ้ า ในพื้ น ที่ ช นบทก็ ค งมี ค รู จ� ำ นวน จ� ำ กั ด ต่ อ อั ต ราก� ำ ลั ง เราก็ ไ ม่ ต ้ อ งไปเรี ย ก ร้องอะไร ขอให้เราอยู่โรงเรียนกับเด็กให้มาก ที่สุด ไม่คิดว่าต้องสอนเท่านี้ แต่คิดปริมาณ งาน อย่างน้อยให้เด็กเราได้เรียนรู้ในแต่ละ วันให้มากที่สุด สภาพโรงเรี ย นในสมั ย นั้ น มี ค วาม ขาดแคลนทุกด้าน เช่น สมุด หนังสือ ดินสอ

อุปกรณ์การเรียน เสื้อผ้านักเรียนแต่ละปีได้รับแจกประมาณ 10-20 ชุด นักเรียน เป็นร้อย สมุดก็มีประมาณ 5 วิชา เป็นสมุดแจก อาหารกลางวัน วันละ 3 บาทต่อ คน และได้รับจัดสรรงบประมาณเพียง 20 – 30 % ของนักเรียนทั้งหมด เครื่องมือการเกษตรไม่เพียงพอต่อจ�ำนวนนักเรียน เราต้องสอนเกษตร ให้ นักเรียนปลูกหนึ่งคนต่อหนึ่งแปลง เพื่อให้มีผักกินตลอดทั้งปี การประกอบอาหาร ครูจ�ำเป็นต้องประกอบอาหารเอง ไม่มีค่าจ้างส�ำหรับแม่ครัว มีครูเกษตรท่านหนึ่ง ที่จบเกษตรโดยตรงได้ให้นักเรียนเรียนรู้เรื่องการเลี้ยงไก่บ้าน ก็ค่อนข้างจะได้ผล นักเรียนอุ้มไก่มาโรงเรียนเพื่อเรียนรู้ ชั่ง วัดขนาดไก่แต่ละสัปดาห์ว่ามีการพัฒนา ของไก่เป็นอย่างไรบ้าง เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่นักเรียนมีความสนุกสนานกับ การเรียนรู้อย่างดี จากนั้นได้ย้ายมาอยู่ที่โรงเรียนแห่งหนึ่งที่ใกล้ตัวอ�ำเภอนิดหนึ่ง ก็ยังอยู่ใน อ�ำเภอแว้ง อยู่ในโรงเรียนใหม่อีกประมาณ 3 ปี โรงเรียนนี้ก็มีปัญหาหลายๆ เรื่อง คนไม่ค่อยเรียนหนังสือ จบ ป.6 ช่วงนั้นก็ไม่เรียนต่อในระดับสูงขึ้น สภาพชุมชนเด็ก

30 IS AM ARE www.ariyaplus.com


และเยาวชนพึ่งพายาเสพติด ติดอันดับของอ�ำเภอและจังหวัด แต่พวกเราก็ใช้วิธีการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนดังกล่าวนั้นให้ เป็นนักกีฬาทั้งหมด เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล ตะกร้อ เป็นต้น และสามารถแก้ปัญหาสังคมได้ระดับหนึ่ง สู ่ ผู ้ บ ริ ห าร : ไปพั ฒ นา หรื อ ไปตาย ด้วยความเป็นคนที่มีอุดมการณ์ต้องการพัฒนาพื้นที่ บ้านเกิดให้เด็กและเยาวชนได้เรียนหนังสือให้มากขึ้นและสูง ขึ้น อีกปัญหาหนึ่งครูใหญ่โรงเรียนเดิมเป็นคนสูงอายุไม่ถนัด การบริหารงาน การพัฒนาเชิงรุก คุณภาพการศึกษาไม่ได้รับ การพัฒนาเท่าเทียมกับโรงเรียนอื่น จึงสมัครสอบเป็นผู้บริหาร สถานศึกษา ทั้งที่ไม่พร้อมด้านวัยวุฒิ แต่จ�ำเป็นต้องพัฒนาการ ศึกษาตามอุดมการณ์ของตนเอง เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้ดีขึ้น ทั้งที่เป็นผู้สอบเป็นผู้บริหารสถานศึกษาได้ในล�ำดับ ต้นๆ สามารถเลือกโรงเรียนที่จะไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารสถาน ศึกษาก่อนคนอื่น แต่ผู้บังคับบัญชาได้เห็นสภาพการด�ำรงชีพ ของเราที่ อ ยู ่ บ นพื้ น ฐานชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ใ นรู ป แบบชี วิ ต พอ เพียง ให้ไปด�ำรงต�ำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนในโรงเรียนพื้นที่ ทุรกันดารเสี่ยงภัย มีประวัติการประทุษร้ายชีวิตครู 3 ศพ และ วางเพลิงบ้านพักครู โรงเรียน ด้วยความเคารพในความคิดของผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับ บั ญ ชาเห็ น ความเหมาะสมอย่ า งแท้ จ ริ ง สามารถที่ จ ะปฏิ บั ติ หน้าที่ ณ โรงเรียนแห่งนั้นด้วยดี จึงขอเวลาพิจารณาและเตรียม ความพร้อมของตนเองเพื่อการตัดสินใจ 3 เดือน และสุดท้าย ตัดสินใจ “คนเราหากไม่ถึงที่ตาย อยู่ที่ไหนก็ไม่ตาย” ครั้งหนึ่งยังจ�ำได้วันที่จะไปดูโรงเรียนมีเหตุการณ์วาง ระเบิดเส้นทางรถไฟในระหว่างการเดินทางเริ่มคิดท้อ และ

กลัวต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นคิดสละสิทธิ์ไม่อยากไปรับต�ำแหน่ง ณ โรงเรียนแห่งนั้น แต่อุดมการณ์ที่เข้มแข็งยังนึกถึง “คนเรา หากไม่ถึงที่ตาย อยู่ที่ไหนก็ไม่ตาย” จึงตัดสินใจอย่างแน่วแน่ เดินทางไปรับต�ำแหน่งลงสู่ต�ำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียน บ้านปาหนัน ต�ำบลศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ณ วันที่ 3 เดือน กันยายน พ.ศ. 2533 การเดินทางไปโรงเรียนโดยเส้นทางที่เปลี่ยวและไม่มี รถโดยสารใดๆ และเราไม่มีรถยนต์ที่เป็นยานพาหนะของตัว เอง ภาระการเช่าที่พักในตัวเมืองสูง เงินเดือนที่ได้รับทุกเดือน ประมาณ 5 พันกว่าบาท ยังไม่หักค่าใช้จ่ายใดๆ อีกทั้งภาระ การใช้จ่ายในครอบครัวซึ่งเราต้องแยกที่อยู่จากครอบครัว ดัง นั้ น ยอมเอาชี วิ ต ของตั ว เองเดิ ม พั น กั บ ความเสี่ ย งในพื้ น ที่ ที่ ชุกชุมด้วยกลุ่มก่อการร้าย กลุ่มบีอาร์เอ็น กลุ่มพูโล กลุ่มบีเอ็ม พีพี จ�ำเป็นต้องไปฝังตัวร่วมอยู่ด้วยกับชุมชน โดยอาศัยกงสีเก่าๆ (ที่พักคนงานตัดยาง) ในชุมชน แต่สิ่งที่เราคิดเสมอมา การอยู่ใน พื้นที่ให้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ตามบริบทพื้นที่ บนเส้นทางเต็มไปด้วยกองก�ำลังทหารเจ้าหน้าที่ข้างถนนในป่า เต็มไปด้วยกองก�ำลังก่อการร้ายดังกล่าว ท่ า มกลางกองก� ำ ลั ง นั ก รบทหารเต็ ม พื้ น ที่ ก องก� ำ ลั ง นั ก รบก่ อ การร้ า ย เราต้ อ งส� ำ นึ ก ในภาระหน้ า ที่ ใ นกองก� ำ ลั ง 31

issue 104 september 2016


“นักรบการศึกษา” นักรบจ�ำเป็นจะต้อง มีอาวุธป้องกันตัว นักรบการศึกษา อาวุธ ป้องกันตัวที่สูงด้วยอนุภาพ คือ คุณธรรม จริ ย ธรรม การประพฤติ ต นบนพื้ น ฐาน ของคุณธรรม จริยธรรมที่ดี เป็นอาวุธที่ มี อ นุ ภ าพทะลุ ท ลวงเข้ า ไปในหั ว ใจของ ชุ ม ชนสร้ า งความรั ก ความเห็ น ใจจาก ชุมชน “สิ่งที่ชุมชนท�ำก็คือเรา สิ่งที่เรา ท�ำก็คือชุมชน” สิ่งที่ดีๆ เกิดขึ้นในชุมชน ต้องมีเราในส่วนร่วม ในสิ่งที่ไม่ดีที่เกิดขึ้น ต้องไม่มีเรา รักษาสถานภาพของตัวเราให้ เป็นกลางระหว่างกองก�ำลังทหารกับกอง ก�ำลังโจรก่อการร้าย ไม่สร้างความวาด ระแวงซึ่งกันและกัน บั ง เกอร์ ป ้ อ งกั น ตั ว เป็ น เครื่ อ ง มืออุปกรณ์ป้องกันตัวของนักรบ นักรบ การศึ ก ษาบั ง เกอร์ ที่ มี ค วามแข็ ง แกร่ ง สามารถป้ อ งกั น ชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของ ตนเองได้ นั่นคือ ชุมชน การสร้างความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งโรงเรี ย นกั บ ชุ ม ชนเป็ น หน้าทีโ่ ดยตรงดัง่ ค�ำสอนในศาสนาอิสลาม “แท้จริงพระเจ้าสร้างมนุษย์นั้น ต้อง สร้ า งสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต ่ อ กั น และสร้ า ง

สัมพันธ์กับพระผู้เป็นเจ้า” จากโรงเรี ย นขนาดเล็ ก ๆ มี นักเรียน 46 คน ได้รับความไว้วางใจจาก ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน ส่งลูกมา เรียนในโรงเรียนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ณ ปั จ จุ บั น นี้ โรงเรี ย นแห่ ง นี้ มี นั ก เรี ย นเพิ่ ม ขึ้นมากกว่า 800 คน อยู่ได้ 2 ปี ขอส่ง เรื่องย้ายโรงเรียนเพื่อกลับไปในโรงเรียน ที่อยู่ใกล้บ้าน ชาวบ้านที่นั่นทราบข่าวก็ มีการประท้วงไม่ให้ย้ายจากโรงเรียนแห่ง นี้ และปีต่อมาได้เป็นโรงเรียนในโครงการ พระราชด� ำ ริ ในสมเด็ จ พระเทพรั ต น์ ฯ เหตุ ก ารณ์ ที่ ช าวบ้ า นเคลื่ อ นไหวไม่ ใ ห้ ผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นย้ า ยโรงเรี ย นเกิ ด ขึ้ น 32 IS AM ARE www.ariyaplus.com

ไม่ต�่ำกว่า 2 – 3 ครั้ง ชาวบ้านให้การ ดู แ ลประหนึ่ ง ญาติ พี่ น ้ อ งลู ก หลานใน ครอบครั ว ของตั ว เอง ให้ ที่ อ ยู ่ ที่ ดี ขึ้ น หุ ง ข้ า วให้ กิ น ตลอดระยะเวลาที่ อ ยู ่ ใ น พื้นที่กว่า 7 ปี แล้วการก่อสร้างที่พัก ณ บ้านเกิด เสร็ จ สมบู ร ณ์ กอรปกั บ มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้องกลับไปดูแลบุพการี จึงขออนุญาต จากผู้ปกครองนักเรียนชุมชน สู่บ้านเกิด อ�ำเภอสุไหงปาดี ในปีการศึกษา 2540 อยู่ในพื้นที่อ�ำเภอสุไหงปาดี 2 ปี และได้ ขอย้ายไปอยู่ในพื้นที่อ�ำเภอสุไหงโก-ลก ได้ พั ฒ นาโรงเรี ย นเล็ ก ๆ เป็ น ที่ ย อมรั บ ของชุมชน ชุมชนให้ความร่วมมือในการ


พัฒนาโรงเรียนได้อย่างดี จนเป็นโรงเรียนของชุมชน ไม่สามารถแยกส่วนโรงเรียน กับชุมชน ทุกกิจกรรมโรงเรียนคือกิจกรรมของชุมชน 7 ปีที่สุไหงโก-ลก มีค่า มีพลัง อุดมการณ์ที่จะสร้างสรรค์โรงเรียนให้มีคุณภาพ เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้เรียน ในโรงเรียนที่มีคุณภาพเท่าเทียมโรงเรียนในพื้นที่ที่เจริญแล้ว สู ่ โ รงเรี ย นบู เ กะตา แนวคิดการพัฒนาตนเอง การพัฒนาโรงเรียน การพัฒนาเด็กและเยาวชน เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า การสร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์เป็นหน้าที่จึง คิดย้ายสถานที่ท�ำงานจากโรงเรียนเล็กสู่โรงเรียนขนาดกลาง สู่โรงเรียนขนาดใหญ่ ขยายสู่ชุมชนใหญ่ จึงท�ำค�ำขอย้ายเพื่อไปหาประสบการณ์ในการท�ำงานสู่โรงเรียน บ้านบูเกะตา ซึ่งในขณะนั้นโรงเรียนบ้านบูเกะตาอยู่ในสภาพโรงเรียนที่ไม่พร้อมด้าน บริบท ด้านกายภาพ และการสนับสนุนจากชุมชน มีจ�ำนวนนักเรียนลดลงตามล�ำดับ คุณภาพการศึกษานับว่าถอยลงอย่างต่อเนื่อง “วิญญาณนักรบการศึกษา” ถือว่าเป็นอาหารมื้อโปรดที่ต้องสละความสุข ส่วนตัว เพื่อสร้างสรรค์ผลงานด้านการศึกษาให้ประจักษ์แก่สายตา โดยเฉพาะโรงเรียน บ้านบูเกะตาเป็นโรงเรียนหน้าด่าน ประตูเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน มุ่งมั่นเพื่อยกระดับ คุณภาพโรงเรียน และยกระดับคุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนให้สามารถเทียบ เคียงเพื่อนบ้านได้ ชี วิ ต นั ก รบการศึ ก ษา นักรบการศึกษาไม่จ�ำเป็นต้องมีอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีอนุภาพการท�ำลายล้างสูง คุณธรรม จริยธรรม สามารถเข้าถึงหัวใจของชุมชน การตอบรับจากชุมชนสูง ดังนั้น ขอย้ายตัวเองไปสู่โรงเรียน ณ อ�ำเภอที่เคยใช้ชีวิตการเป็นครูและอาศัยมากกว่าครึ่ง ชีวิต คือ โรงเรียนบ้านบูเกะตาอ�ำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส วาด ฝันจะสร้างโรงเรียนขนาดกลาง ให้เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีความ สัมพันธ์แลกเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้กับประเทศเพื่อนบ้าน โดย บริบทโรงเรียนบ้านบูเกะตาเป็นโรงเรียนที่ตั้งริมฝั่งแม่น�้ำสุไหงโกลก การบริหารจัดการโรงเรียนยังยึดถือชุมชนเป็นเกราะป้องกันตัว เกิดโมเดลการศึกษาเฉพาะโรงเรียนบ้านบูเกะตา (Bukata School Community Model) มี 6 กิจกรรม ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน กับชุมชน ใช้ค�ำว่า Bukata เป็นตัวน�ำในการก�ำหนดกิจกรรมการมี ส่วนร่วมของชุมชน ดังนี้ 1.B (Belajar) การเรียนรู้สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน 2.U (Ugama) ศาสนา การเรี ย นรู ้ อั ล กุ ร อานใน โรงเรียน นักเรียนจบหลักสูตรอัลกุรอานแต่ละปี 30 คน 30 ยุซ (เล่ม) อัลกุรอานเป็นวัคซีนด้านจิตวิญญาณของเด็กและเยาวชน 3.K (Kehiduppan) วิถีชีวิตชุมชนตามบริบทของชุมชน เมืองหน้าด่านการค้าชายแดน เป็นอาชีพของชุมชน 33 issue 104 september 2016


โมเดลบู เ กะตา – สู ่ ส ายตานานาชาติ การขับเคลื่อน (Bukata School Community Model) เพื่อการขยายผลบนเวทีแลกเปลี่ยนวิชาการในระดับ 5 ประเทศ 13 โรงเรียน ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน สิงคโปร์ ได้รับการ ตอบรับจากโรงเรียนต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะส�ำนักงาน การศึกษาของมาเลเซีย เสนอแนะให้กับโรงเรียนในประเทศ มาเลเซีย ด�ำเนินการตามแนว (Bukata School Community Model) ทุกโรงเรียนในปีการศึกษา 2016 การขยายผลในหลัก การจัดการการศึกษา การมีส่วนร่วมขององค์กรชุมชน เพื่อสุข ภาวะคนไทย โดยมีภาคีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต และส�ำนักงาน ส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน 27 โรงเรียน ภายใต้รูปแบบ (Bukata School Community Model) เป็นที่ยอมรับจากส�ำนักงานส่งเสริมสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง การ ขยายผลเฉพาะทางด้านการจัดการการศึกษาส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ควบคู่กันไปและปีนี้ได้ขยายเครือข่ายโรงเรียนเพิ่มอีก ไม่น้อยกว่า 9 โรงเรียน ผลลั พ ธ์ ค วามส� ำ เร็ จ นอกจากโรงเรี ย น เป็ น แหล่ ง เรียนรู้ของโรงเรียนในเครือข่ายและโรงเรียนทั่วไป นักเรียนได้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีโครงงานหนึ่งความดีที่อยากท�ำ หนึ่ง ปัญหาที่อยากแก้ เป็นของตนเอง ตามหลักแนวคิดปัญหาของ 4.E (Economi) กิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจตามหลัก ครู ครูเป็นผู้แก้ ปัญหาของนักเรียน นักเรียนเป็นผู้แก้ เช่น การ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.T (Tangon jawab) ความรั บ ผิ ด ชอบ ทุ ก ภารกิ จ ของมนุษย์แท้จริงจะถูกตรวจสอบในโลกหน้า การปฏิบัติหน้าที่ รองรับการตรวจสอบจากพระผู้เป็นเจ้าต้องส�ำคัญยิ่ง 6.A (Akhirat) คุณธรรม จริยธรรม มีผลบุญมากมาย เพียงใดจะถูกลบสิ้นด้วยจริยธรรมที่ไม่ดี และหน้าที่สร้างคนดี ให้กับแผ่นดิน สภาพบริ บ ทชุ ม ชนโรงเรี ย นเกิ ด ปั ญ หาและผลกระทบ ด้านสาธารณภัย เช่น อุทกภัยเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นประจ�ำ ทุกปี วาตภัยเกิดประจ�ำ 2 – 3 เดือน ต่อครั้ง ผลกระทบจาก ปัจจุบันปัญหาของเยาวชนกลุ่มผู้พึ่งพายาเสพติด งัดแงะท�ำลาย ทรัพย์สินของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง กระบวนการบริหารจัดการ โรงเรียนโดยใช้ Buketa School Community Model โดยการ ร่วมมือของบ้าน โรงเรียน และมัสยิด สภาพทั่วไปของโรงเรียน ได้เปลี่ยนแปลงข้ามยุคสู่ยุคการพัฒนาด้านบริบทโรงเรียนเป็น ที่ ย อมรั บ ของโรงเรี ย นในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ภาคใต้ ด ้ า นคุ ณ ภาพผล สัมฤทธิ์ของนักเรียนอยู่ในล�ำดับต้นของเขตพื้นที่

34 IS AM ARE www.ariyaplus.com


อ่านหนังสือไม่ออก เป็นปัญหาของนักเรียน นักเรียนที่อ่านออก มีจิตอาสาที่จะช่วยเพื่อนนักเรียนที่อ่านไม่ออก ปัญหาสิ่งเสพติด การทะเลาะวิวาท ปัญหาขยะ โดยใช้โครงงาน School Check In กระบวนการสแกนกระเป๋านักเรียน เพื่อหาสิ่งที่พึ่งมีและพึ่ง ไม่มีในกระเป๋านักเรียน คือ 1.สิ่งเสพติดน�ำพาโดยนักเรียนหรือรับฝากจากบุคคล ภายนอก 2.อาวุธใช้ในการทะเลาะวิวาท 3.โทรศัพท์มือถือ อุปกรณ์บั่นทอนสมาธิในการเรียนรู้ 4.กระบอกน�้ำดื่ม การลดต้นทางที่มาของขยะ โรงเรี ย นบ้ า นบู เ กะตาเป็ น โรงเรี ย นดี ป ระจ� ำ ต� ำ บล โรงเรียนคู่พัฒนาชายแดนไทย-มาเลย์ ได้งบประมาณในการ สร้างห้องสมุดโรงเรียน ปรับปรุงอาคารและพัฒนาโรงเรียนใน ทุกด้าน เป็นโรงเรียนในกองทุนการศึกษาส�ำนักงานองคมนตรี หลั ก คิ ด : ในการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องผู ้ บ ริ ห าร ไม่ควรรับประทานอาหารที่ซื้อมาจากเงินเดือนที่ละทิ้ง หน้าที่และถือว่าเป็นอาหารที่ฮารอม (ไม่อนุญาตบริโภค) แท้จริงพระเจ้าสร้างมนุษย์ขึ้นมาให้เป็นผู้น�ำ (ผู้น�ำตรงนี้ คือไม่ใช่ให้เป็น ผอ.โรงเรียน ไม่ใช่ให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ผู้น�ำ ตรงนี้คือผู้น�ำในการเปลี่ยนแปลง ผู้น�ำในการท�ำดี)

เพราะฉะนั้น ในหลักการเหล่านี้ถือว่าเป็นสิ่งที่ปลูกฝัง จิตส�ำนึกรับผิดชอบในหน้าที่การงาน มีความซื่อสัตย์ มีจิตอาสา ท�ำงานด้วยความบริสุทธิ์ใจ

35 issue 104 september 2016


ปฏิบัติการชุมชนรักษ์น�้ำตามแนวพระราชด�ำริ ชุมชนบ้านหัวปลาหลด ต�ำบลด่านแม่ละเมา จังหวัดตาก

36 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Cartoon

37 issue 104 september 2016


38 IS AM ARE www.ariyaplus.com


39 issue 104 september 2016


40 IS AM ARE www.ariyaplus.com


41 issue 104 september 2016


สภาพแวดล้อม

ชื่อของต�ำบลหนามแท่ง ตั้งตามต้นไม้ที่ชื่อว่า ต้นหนามแท่ง ที่เกิด ในป่าโดยทั่วไป ลักษณะต้นมีหนามแหลมคมคล้ายเข็มเย็บผ้า มีลูกสีเหลือง ในสมัยก่อนใช้เป็นน�้ำยาซักผ้า ต�ำบลหนามแท่งประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งหมด ๑๒ หมู่บ้าน ซึ่งแต่ละหมู่บ้านมีกลุ่มคนที่เป็นสายเครือญาติเดียวกัน มีเนื้อที่ ต�ำบลทั้งหมด ๒๕๖,๒๕๐ ไร่ มีจ�ำนวนครัวเรือนประมาณ ๒,๐๐๐ ครัว เรือน ประชากรประมาณ ๘,๐๐๐ คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลักด้าน เกษตรกรรม เช่น ท�ำนา ปลูกมันส�ำปะหลัง ยางพาราและท�ำสวน ผสมผสาน มีอาชีพรองในการเก็บหาของป่าขายและท�ำงานรับจ้างในจังหวัดอื่น ด้วยสภาพพื้นที่ต�ำบลหนามแท่งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติผาแต้ม ซึ่งเป็นพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ท�ำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวที่หลาก หลาย สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงลูกฟูกหรือลูกคลื่น ทิศตะวันออก ติดกับแม่น�้ำโขงมีทิวเขาสลับซับซ้อนที่ต่อเนื่องจากภูเขาพนมดงรัก สภาพ ดินเป็นดินร่วมปนทราย ดินร่วนปนดินเหนียวและหิน ปรากฏทุ่งหญ้าสลับป่าโปร่งโดยทั่วไป

ความเป็นมา

ต�ำบลหนามแท่งเป็นชุมชนที่มีความสัมพันธ์กับการสร้างเมืองหรืออ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน อาจเรียกได้ว่ามีพัฒนาการในการก่อตั้งชุมชนจนเป็นเขตการปกครองแบบเมืองร่วมกัน โดยสามารถแบ่งเป็นยุคของการ พัฒนาได้ ดังนี้

พัฒนาการต�ำบล

ยุ ค การตั้ ง ถิ่ น ฐาน ในยุ ค นี้ แ ต่ ล ะหมู ่ บ ้ า นของต� ำ บลหนามแท่ ง ต่างมีเรื่องเล่าในการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนที่แตก ต่างกัน อย่างบ้านนาคอ มีกลุ่มบรรพบุรุษเดิมอพยพ มาจากมณฑลกวางตุ้ง กวางใสของจีนซึ่งใช้แพเป็น พาหนะในการเดินทางมาค้าขาย เมื่อแพแตกได้ขึ้นท่า ที่หอพระภา ที่บ้านทุ่งนาเมือง ต่อมาได้ย้ายจากบ้าน ท่าทุ่งนาเมืองมาตั้งอยู่ที่บ้านนาคอ ชุมชนดงบากมา จากบ้านกุง (บ้านเก่าบ้านนาคอ) โดยมาจับจองเพื่อท�ำ ไร่นาเพราะเห็นว่าเป็นพื้นที่ป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางพืชพันธุ์และพันธุ์สัตว์ มีความ เหมาะสมแก่การจับจองก่อตั้งเป็นชุมชน ชุมชนบ้าน ชาด ก่อตั้งขึ้นโดยมีพรานล่าสัตว์พร้อมผู้ติดตามจาก หมู่บ้านนาโพธิ์กลางเข้ามาล่าสัตว์ในบริเวณบ้านชาด ยุ ค การสร้ า งบ้ า นแปลงเมื อ ง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ เดิมชื่ออ�ำเภอโขงเจียม มีการปกครองตนเอง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2424 ต่อมาทาง 42 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ราชการได้ย้ายแขวงโขงเจียมจากปากแซง(อ�ำเภอเขมราฐในปัจจุบัน) ไปตั้งที่ท�ำการใหม่ที่บ้านนาคอ ต�ำบลหนาแท่ง อ.ศรีเมือง ใหม่ ส่วนต�ำบลหนามแท่งมีการพัฒนาการร่วมคือชุมชนบ้านไร่ศรีสุข หมู่ที่ 12 ซึ่งเดิมขึ้นตรงกับบ้านชาดหมู่ที่ 3 เริ่มมีการอพยพ เข้ามาตั้งถิ่นฐานพอประชากรมากขึ้นจึงได้ท�ำเรื่องขอแยกหมู่บ้านเพื่อปกครองตนเอง ยุ ค แห่ ง การพั ฒ นาพื้ น ที่ ด้วยในพื้นที่ต�ำบลหนามแท่งอยู่ติดกับตะเข็บชายแดนไทย-ลาว ท�ำให้หน่วย งานรักษาความมั่นคงของประเทศต้องเข้าประจ�ำการในพื้นที่พร้อมพัฒนาชุมชน ร่วมกับคนในชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยกองอ�ำนวยการรักษาความมั่นคงใน ราชอาณาจักร ที่เข้ามาในพื้นที่เพื่อส่งเสริมและฝึกอบรมให้ความรู้ในเรื่องเกษตร ทฤษฎีใหม่ให้กับชุมชน นอกจากนี้ยังร่วมกับเจ้าหน้าที่ป่าไม้ของกรมอุทยานแห่ง ชาติส่งเสริมการจัดการดูแลรักษาป่าโดยการสร้างอาชีพเสริมแทนการใช้ทรัพยากร ป่าไม้ขณะเดียวกันมูลนิธิพิทักษ์ธรรมชาติเพื่อชีวิต (Nature Care) ได้เข้ามาด�ำเนิน งานพัฒนาร่วมกับชุมชนในต�ำบลหนามแท่ง โดยเริ่มจากการส่งเสริมการจัดการป่า ของชุมชน มีเป้าหมายในการรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ PDI เข้ามาส่งเสริมในเรื่องของการรวมกลุ่มอาชีพองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนาม แท่งที่ให้การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการสร้างรายได้เสริมเป็นต้น การส่งเสริม อาชีพจากหลายหน่วยงานนั้นเป็นเพราะประชากรในเขตต�ำบลหนามแท่งยากจน และอยู่ในพื้นที่ตามแนวอุทยานแห่งชาติผาแต้มท�ำให้ทุกหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่ ร่วมมือกันในการส่งเสริมเรื่องอาชีพแก่ประชากรและสร้างรูปแบบการพึ่งตนเองให้ กับสมาชิก เช่น การรวมกลุ่มเพื่อจัดการป่าไม้ในรูปแบบของป่าครอบครัวการรวม กลุ่มอาชีพตัดเย็บกลุ่มทอผ้า การเพาะพันธุ์กล้วยไม่ป่า เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ ยังคงมีการส่งเสริมมาจนถึงปัจจุบัน

ทุนต�ำบล

ต�ำบลหนามแท่งมีทุนต�ำบลที่ส�ำคัญ โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลายด้านประกอบด้วย การรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาในเรื่องทักษะ อาชีพให้กับชุมชน เนื่องจากประชากรในต�ำบลหนามแท่งมีอาชีพหลักในด้านการเกษตร เช่นท�ำนา ปลูกมันส�ำปะหลัง ปลูกยางพารา และการท�ำสวนผสมผสาน และมีอาชีพรองในการเก็บหาของป่าขาย แนวทางการพัฒนาจึง เป็นการบททวนความสัมพันธ์ระหว่าง วิถีชุมชนในการพึ่งพาทรัพยากรป่าไม้ด้วยการ “การหาอยู่หากิน” ซึ่งมาพร้อมข้อจ�ำกัดด้านพื้นที่ในการใช้ประโยชน์ที่มาพร้อมกับ การปลูกพืชเชิงเดี่ยวของเกษตรกรในปัจจุบัน

43 issue 104 september 2016


การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็นพื้นฐานในเรื่องวิถีชีวิตของคนในต�ำบลที่มีการพึ่งพาทรัพยากรเป็นหลัก การพัฒนา จึงมุ่งเน้นให้เกิดการดูแลจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ เป็นกิจกรรมที่เกิดรูปธรรมในการจัดการตนเองตามแนววิถีพอเพียง คือ “ป่าครอบครัว” ซึ่งถือเป็นงานที่สร้างทางเลือกและเป็นแนวทางต่อเนื่องจากการจัดการป่าชุมชนของเครือข่ายป่าดงนาทาม เริ่มต้นด้วยการท�ำงานกับชุมชนรอบอุทยานแห่งชาติผาแต้ม ท�ำให้เห็นว่าวิถีชุมชนมีการพึ่งพาทรัพยากรป่าไม้ โดยการเก็บหาของ ป่าเพื่อหาอยู่หากิน และในส่วนที่ไม่มีพื้นที่การเกษตรยังคงต้องใช้ป่าในการเก็บหาของป่าเพื่อขายและแลกเปลี่ยน เช่น น�้ำผึ้งแลก ข้าว เป็นต้น หรือการมีพื้นที่ทางการเกษตรที่จ�ำกัดต่อการเพาะปลูกท�ำให้พื้นที่ส�ำหรับหากินส่วนใหญ่จึงเป็นพื้นที่ป่า แนวทางการ จัดการป่าจึงเกิดขึ้นด้วยกระบวนการท�ำงานร่วมกันของชาวบ้าน องค์กรเอกชนและรัฐ เพื่อให้เกิดการจัดการป่าชุมชนโดยมีหมู่บ้าน ในต�ำบลหนามแท่งที่เป็นสมาชิกเครือข่ายป่าดงนาทาม

ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

ต�ำบลหนามแท่ง เป็นพื้นที่หนึ่งที่ได้รับรางวัลโลกสีเขียวเข้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียง ในระยะที่ ๒ จากการที่ ศิรสิทธิ์ จรูญศรี ผู้ประสานงานโครงการป่าครอบครัวเป็นผู้น�ำเสนอพื้นที่ต่อโครงการฯ โดยเห็นว่าเป้าหมายโครงการฯ และความต้องการของพื้นที่มีความสอดคล้องกัน และการเรียนรู้ ร่วมสร้างระหว่างการเข้าร่วมโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�ำบล วิถีพอเพียงในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2552-2554 นับเป็นช่วงที่จังหวะ ก้าวย่างมีสิ่งที่สร้างให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน แม้ในช่วงระยะเวลา อันสั้นแต่สิ่งที่ชุมชนได้เก็บเกี่ยวระหว่างทางได้สร้างความเชื่อมั่น ให้ชุมชนและโครงการฯ ก้าวไปพร้อมๆกัน การขับเคลื่อนงานของต�ำบลหนามแท่งในระยะแรกมีการ เปลี่ยนแปลงและจัดปรับระบบกลไกลการขับเคลื่อนงานที่มาจาก หลายสาเหตุ เช่น จากความใหม่ของโครงการฯ ที่อยู่ในช่วงเริ่ม ต้น การปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ประจ�ำต�ำบล การปรับเปลี่ยนเจ้า หน้าที่ประจ�ำภาค การปรับเปลี่ยนประธานด�ำเนินโครงการฯ รวม ถึงสถานการณ์ทางการเมืองของท้องถิ่น ท�ำให้ทั้งชุมชนและโครง การฯ ต้องเรียนรู้ที่จะด�ำเนินการให้การท�ำงานสามารถผ่านไปได้ กับทุกสภาวะที่เกิดขึ้น เรียกได้ว่าเป็นการเรียนรู้ร่วมกันทั้งชุมชน และเจ้าหน้าที่โครงการฯ ตลอดจนหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง จนกระทั่งเกิดการปรับตัวที่สามารถท�ำให้กลไกลการขับเคลื่อนงาน สามารถด�ำเนินงานอย่างชัดเจนขึ้น การท�ำงานของคณะกรรมการโครงการฯ แบ่งผู้รับผิดชอบแผนงานตามความสมัครใจและความสนใจที่ตรงกันกับทักษะ และความต้องการของแต่ละคน รวมถึงการสร้างเวทีให้มีการรับรู้ร่วมกันในระบบบริหารจัดการทางการเงิน ตลอดจนการจัดเตรียม แผนงานก่อนการด�ำเนินงาน กิจกรรม การติดตามงาน การสรุปบทเรียน แต่ละกิจกรรมในวงเล็กๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น ทางการ ท�ำให้คณะกรรมการโครงการฯ เกิดการเรียนรู้และร่วมผลักดันโครงการฯ กันอย่างจริงจัง

รูปธรรมความส�ำเร็จในพื้นที่

ต�ำบลหนามแท่ง มีหมู่บ้านที่มีสภาพทางกายภาพแตกต่างจากหมู่บ้านอื่นๆ คือ บ้านโหง่นขาม ซึ่งเป็นชุมชนบนภูเขา ไม่ได้ ใช้ไฟฟ้าที่ผลิตจากหน่วยการผลิตของไฟฟ้าฯ เหมือนกับประชาชนทั่วไป แต่ใช้ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์โดยได้รับการสนับสนุน จากหน่วยงานทางทหาร ด้วยความซับซ้อนของเทคโนโลยีการดูแลรักษาจึงเกินก�ำลังความสามารถของชาวบ้านดังนั้นโครงการฯ จึงท�ำหน้าที่เชื่อมประสานความร่วมมือให้หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาให้การสนับสนุนและดูแล 44 IS AM ARE www.ariyaplus.com


45 issue 104 september 2016


“การด�ำรงชีวิตอยู่อย่างเหมาะสมกับฐานะก�ำลังของตน โดยเน้นกิจกรรมที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของครัวเรือน สนับสนุนให้มีการเปลี่ยนแปลงวิธีคิดในการจัดการ ทรัพยากรรอบตัวตามความถนัดและเหมาะสมกับพื้นที่”

46 IS AM ARE www.ariyaplus.com


โครงการได้เข้าไปสนับสนุนด้านการฝึกอบรมเผาถ่าน ด้วยถัง 200 ลิตร ท�ำให้ครัวเรือนพอเพียงอาสาจ�ำนวน 17 ครัวเรือนได้ผลิตถ่านใช้เอง และมีการพัฒนาเทคนิคการติด ตั้งเตาและการเผาให้สะดวกและเหมาะสมกับทักษะของตน นอกจากนี้ ครัวเรือนต้นแบบยังสามารถถ่ายทอดวิธีการผลิต ถ่านด้วยถัง 200 ลิตร ให้กับเพื่อนบ้านที่สนใจเข้ามาเยี่ยมชม ได้อีกด้วย โดยเฉพาะที่บ้านนาทอยหมู่ 7 นั้นตั้งเตาเผาถ่าน ด้วยถัง 200 ลิตร ไว้ที่วัดซึ่งมีการหมุนเวียนของครัวเรือนพอ เพียงอาสา ไปใช้เตาร่วมกัน ถือว่าเป็นการใช้เตาได้คุ้มค่าเลย ทีเดียวผลลัพธ์เชิงรูปธรรมที่เกิดขึ้นระดับต�ำบลจากการฝึกฝน ทักษะการเผาถ่านด้วยถัง 200 ลิตร และมีการถ่ายทอดให้กับ สมาชิกคนอื่นๆ ท�ำให้เกิดวิทยากรประจ�ำจุดเรียนรู้ นอกจาก นี้ ยั ง มี ก ารอบรมปั ้ น เตาหุ ง ต้ ม ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ที่ อ ยู ่ บ ริ เวณ เดียวกัน ท�ำให้เริ่มมีการรวมตัวของผู้สนใจปั้นเตาหุงต้มซึ่ง ผ่านการอบรมจนสามารถปั้นเตาได้จ�ำนวน 10 คน และจุด นี้เองจึงเป็นจุดเรียนรู้ด้านพลังงานของชุมชนอีก 1 จุดของ ต�ำบลหนามแท่ง ต�ำบลหนามแท่ง ยังคงมีการสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมการร่วมแรงร่วมใจท�ำบุญร่วมกันวัน ส�ำคัญๆ ยังคงมีเรื่อยมา การเข้าไปช่วยเสริมกิจกรรมในงาน บุญประเพณีของโครงการฯ เช่น งานเนาสรงน�้ำพระของต�ำบล รวมถึงการท�ำกิจกรรมรวมพลคนลดละเลิกอบายมุขต�ำบล หนามแท่ง โดยการประชาคมและเชิญชวนให้เกิดการรวมตัว ของผู้ที่สนใจในด้านนี้ ส่งผลให้มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมทั้ง 8 หมู่บ้านและเกิดผลในระดับต่างๆ โครงการฯ ยังได้เชื่อมประสานการท�ำงานกับโรงเรียน เพื่อให้เยาวชนมีโอกาสเรียนรู้แ นวทางวิถีพอเพียงโดยการ ชักชวนเข้ามาช่วยงานโครงการฯ ในเวทีต่างๆ เช่น เวทีประชุม ประจ�ำเดือนของคณะกรรมการเวทีอบรมนักจัดการความรู้ ชุมชนและการศึกษาดูงานวิถีพอเพียง รวมถึงมีการจัดค่าย เยาวชน ซึ่งเป็นค่ายที่มีกระบวนการให้เยาวชนได้สร้างความ สัมพันธ์ และได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รู้ตามจุดเรียนรู้วิถีพอ เพียงในต�ำบล จัดท�ำแผนงานพัฒนาชุมชนร่วมกับผู้ใหญ่และ เกิดเยาวชนอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาชุมชนใน ด้านต่างๆ ด้วย รู ป ธรรมความส� ำ เร็ จ ของขั บ เคลื่ อ นงานด้ า นพั ฒ นา จิ ต ใจ ท� ำ ให้ ค รั ว เรื อ นพอเพี ย งอาสามี ก ารปรั บ เปลี่ ย น พฤติกรรมในการลด ละ อบายมุข ร่วมกิจกรรมสาธารณะ ประโยชน์ของชุมชน เช่นท�ำความสะอาดพัฒนาบ้านเรือน ถนนสาธารณะ ร่ ว มงานบุ ญ ประเพณี ต ่ า งๆ และพั ฒ นา

ตนเองจนได้รับการยอมรับจากต�ำบลให้เป็นคนต้นแบบลดละ เลิกอบายมุข ส่วนในระดับต�ำบลเกิดการประชาคมงดเหล้าและ การพนันซึ่งได้ท�ำการประชาคมทั้ง 8 หมู่บ้านให้การยอมรับใน กิจกรรมนี้ มีผู้สมัครเข้าร่วมเครือข่ายคนลด ละเลิก อบายมุขต�ำบล หนามแท่ง จ�ำนวน 250 คน และเกิดแผนงานในการท�ำงานร่วม กันระหว่างเยาวชนและผู้ใหญ่ในต�ำบล จากวิถีการด�ำเนินชีวิตของคนในชุมชนที่มีการบริโภคที่ เปลี่ยนไปตามกระแสของสังคม สิ่งที่ถูกน�ำเข้ามาในชุมชนบาง อย่างเริ่มสร้างให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะชุมชน โดยเฉพาะเรื่อง ขยะชุมชน เพื่อให้เกิดการจัดการขยะของชุมชน จึงมีกิจกรรมที่ชุมชน ได้จัดไว้ในแผนของต�ำบลคือ กิจกรรมวิจัยไทบ้านการจัดการขยะ ครัวเรือนเพื่อพัฒนาไปสู่การจัดการขยะชุมชนซึ่งบ้านชาด หมู่ 3 เป็นหมู่บ้านที่รับผิดชอบด�ำเนินกิจกรรมนี้ซึ่งมีกระบวนการใน การศึกษาข้อมูลของขยะครัวเรือน การหาแนวทางการจัดการ การศึกษาดูงาน จากกระบวนการดังกล่าวมีคณะท�ำงานชุดเล็ก ซึ่งมาจากกลไกลคณะกรรมการร่วมด�ำเนินกิจกรรมด้วย จากการ ด�ำเนินงานท�ำให้เกิดอาสาสมัคร 20 คน ได้ศึกษาเรียนรู้การจัดการ ขยะครัวเรือนอย่างเป็นระบบ และสมาชิกครัวเรือนพอเพียงอาสา รวมถึงครัวเรือนอื่นๆ อีก 60 คนได้ร่วมเรียนรู้ในการจัดการขยะ ด้วย นอกจากนั้น ยังมีการคัดแยกอย่างเป็นรูปธรรมเด่นชัดใน 3 หมู่บ้านคือ บ้านนาคอ บ้านดงบากและบ้านชาด ทั้งนี้พบว่า ประเด็นการจัดการขยะรวมถึงการดูแลสิ่งแวดล้อมและสุขภาวะ ชุมชนเป็นประเด็นที่ผู้น�ำท้องถิ่นคือองค์การบริหารส่วนต�ำบล ผู้น�ำท้องถิ่นคือ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน รวมถึงโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลหนามแท่งตระหนักและเห็นความส�ำคัญ ซึ่งมีแนวโน้มที่ จะน�ำเข้าไปเป็นแผนในการพัฒนาท้องถิ่นของต�ำบลหนามแท่งต่อ ไปและเป็นแผนสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดอีกด้วย

47 issue 104 september 2016


let's talk

“...คนทีท่ ำ� หน้าทีพ ่ ลยิงเป็นจ่ามาจากนครศรีธรรมราชด้วยกันกับผม ล้มคว�่ำลง ผมก็บอกลูกน้องให้ทุกคนออกไปให้หมด แล้วผมก็วิ่ง ไปคว้าเครื่องดับเพลิง ลูกน้องคนนี้ตาย ผมก็ให้คนที่เหลือยกศพ เขาออกไป...”

เกร็ดประวัติศาสตร์ และชี วิตศิลปิ นทหาร

พลเอกบัญชร ชวาลศิลป์ ผมเป็ น เด็ ก เกิ ด ที่ ล พบุ รี ค รั บ พ่ อ แม่ พื้ น ฐานเป็ น คนลพบุ รี พ่ อ เป็ น ต� ำ รวจ ตระเวนชายแดนก็ โ ยกย้ า ยไปมาตลอด ผมเริ่ ม เรี ย นหนั ง สื อ ครั้ ง แรกที่ ล พบุ รี ก็ ย้ า ยตามพ่ อ มาโคราช มากรุ ง เทพฯ สุ ด ท้ า ยมากรุ ง เทพฯตอนที่ เ รี ย น ม.5-ม.6 โรงเรี ย นวุ ฒิ วิ ท ยา ตอนนี้ ป ิ ด ไปแล้ ว เป็ น ที่ ตั้ ง ของโรงพยาบาลพญาไทในปั จ จุ บั น เป็ น คนเรี ย นหนั ง สื อ ดี ส อบได้ ที่ ห นึ่ ง มาโดยตลอด มี พี่ น ้ อ งหลายคน ผู ้ ช าย 3 คน ผู ้ ห ญิ ง 3 คน

48 IS AM ARE www.ariyaplus.com


49 issue 104 september 2016


คุ ณ พ่ อ สอนด้ ว ยหนั ง สื อ : หนั ง สื อ สอนตั ว เอง ท่านไม่มีเวลาได้สอนเท่าไหร่ครับ เพราะคุณพ่อเป็นต�ำรวจชั้น ผู้น้อย แต่ว่าพ่อสอนเราผ่านหนังสือ ทั้งพ่อทั้งแม่มีเวลากับลูกๆ น้อย มาก แต่ท่านสนับสนุนให้เราอ่าน เหตุผลที่ท่านมีเวลาให้เราน้อยเพราะ ว่าพ่อไปราชการพิเศษบ่อยไม่ค่อยได้อยู่บ้าน ซึ่งด้านหนึ่งก็คือได้เบี้ย เลี้ยงเพิ่มขึ้นมาดูแลครอบครัว ส่วนแม่รับจ้างซักรีดเสื้อผ้าซึ่งเราก็ต้องช่วยกัน เวลาเลิกเรียนก็ ช่วยกันพับถุงกระดาษหนังสือพิมพ์ สมัยนั้นไม่มีถุงพลาสติก เขาเรียกถุง กล้วยแขก ช่วยกันหารายได้ทุกวิถีทาง แม่เปิดร้านข้าวแกง ตอนผมเรียนชั้น ม.3-ม.5 ช่วงนั้นมีพี่น้อง 3 คนผู้ชาย เมื่อปิด เทอมจะช่วยพ่อแม่ด้วยการไปรับไอติมแท่งจากตลาดเจริญผล แล้วก็ มาเดินขายอยู่ที่ซอยสายลม ช่วยกันหารายได้ ตอนนั้นได้มา 300 กว่า สุภาพบุรุษจราจร 2475 ที่ฉะเชิงเทรา บาท ซึ่งก็พอส�ำหรับเป็นค่าเทอม ก่อนหน้าที่จะขายไอศกรีมเวลาวัน ขอบคุณ เปี๊ยก เยาวราช ครับ ช่างสรรหาภาพที่มี หยุดพ่อแม่ก็จะส่งให้พวกเราพี่น้อง 3 คนไปอยู่ที่อ�ำเภอบ้านหมี่ จังหวัด คุณค่าแบบนี้ มาฝากกันบ่อยๆ ลพบุรี บ้านของลุงกับป้า เราก็อาสานะ ด้วยความที่เป็นเด็กใฝ่ดีหรือว่า เห็นความล�ำบากของพ่อแม่อะไรก็แล้วแต่ ผมเคยขอตังค์ป้าไปซื้อลูก ตาล แล้วก็ไปวิ่งขายอยู่ริมทางรถไฟสถานีบ้านหมี่ ถามว่าชีวิตในช่วง นั้นล�ำบากไหม มันก็ไม่ถึงล�ำบากนะ เพราะเราก็ไม่ได้ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ผมเคยขอตั ง ค์ ป ้ า ไปซื้ อ ลู ก ตาล แล้ ว ก็ ไ ปวิ่ ง ขายอยู ่ ริ ม ทางรถไฟสถานี บ ้ า นหมี่ ถามว่ า แม่ก็ขายข้าวแกง เราก็ช่วยกันเท่าที่จะท�ำได้ ชี วิ ต ในช่ ว งนั้ น ล� ำ บากไหม มั น ก็ ไ ม่ ถึ ง ล� ำ บาก นะ เพราะเราก็ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ จ ่ า ยฟุ ่ ม เฟื อ ย แม่ ก็ ข าย ข้ า วแกง เราก็ ช ่ ว ยกั น เท่ า ที่ จ ะท� ำ ได้ แต่ว่าสิ่งที่พ่อแม่ปลูกฝังพวกเราคือ พ่อกับแม่ เป็ น คนอ่ า นหนั ง สื อ พอท่ า นอ่ า นเสร็ จ พวกเราก็ อ ่ า น ต่ อ ฉะนั้ น บ้ า นผมก็ เ ป็ น นั ก อ่ า นกั น ทั้ ง บ้ า นเลย ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า หนั ง สื อ นั้ น สอนเรา หนั ง สื อ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลทาง ความคิดของผมตั้งแต่ ป.4 เป็นหนังสือของส�ำนักพิมพ์ เสรีภาพ ส�ำนักงานข่าวสารของอเมริกันเขาท�ำขึ้นมา มีพ็อกเก็ตบุ๊คชุดหนึ่งก็คือชีวประวัติบุคคลส�ำคัญ จะมี เรื่องของโทมัส อัลวา เอดิสัน ซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในใจมา ตลอด เพราะว่าเอดิสันเขาสู้ชีวิตมากจนกระทั่งประสบ ความส�ำเร็จ ผมว่ า อิ ท ธิ พ ลจากหนั ง สื อ เล่ ม นี้ จ ากที่ เราอ่ า น มันท�ำให้เราไม่ต้องรอให้พ่อแม่มาสอน เพราะพ่อแม่ ไม่มีเวลา แล้วหนังสือที่พ่อแม่อ่านก็ไม่ใช่หนังสือแนวนี้ ทั้งหมด มีนิยายเล็บครุฑ ฯลฯ ผมจะได้ประโยชน์มาก จากการอ่านรวมทั้งพี่น้องทั้งหมด

ทอมัส แอลวา เอดิสัน

50 IS AM ARE www.ariyaplus.com


จนกระทั่งวันที่ 23 ตุลาคม 2505 เป็นวันเปลี่ยนชีวิตของผมก็ คือ มาเที่ยวกับเพื่อนที่ลานพระรูปในวันปิยะมหาราช แล้วผมก็ไปเห็น นักเรียนเตรียมทหาร เขาแต่งชุดบลูส์ เอวจ�๊ำ ผมนึกนักเรียนอะไรแต่ง ตัวสวย เพื่อนบอกนี่คือเตรียมทหาร เขามาเรียนเตรียมอุดมเพื่อจะรอ สอบเตรียมทหาร เพราะอายุยังไม่ถึง เขาชวนไปสอบด้วยกัน แล้วก็ บังเอิญติดขึ้นมา ผมเลือกเหล่าทหารบก เรียนเตรียมอุดมได้ปีเดียวแล้วไปเรียน เตรียมทหารต่อ จนกระทั่งจบโรงเรียนนายร้อย

ห้องหนังสือของผม

สิ่ ง ที่ พ ่ อ แม่ ป ลู ก ฝั ง พวกเราคื อ พ่ อ กั บ แม่ เ ป็ น คนอ่ า น หนั ง สื อ พอท่ า นอ่ า นเสร็ จ พวกเราก็ อ ่ า นต่ อ ฉะนั้ น บ้ า นผม ก็ เ ป็ น นั ก อ่ า นกั น ทั้ ง บ้ า นเลย ซึ่ ง ผมคิ ด ว่ า หนั ง สื อ นั้ น สอน เรา หนั ง สื อ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลทางความคิ ด ของผมตั้ ง แต่ ป.4

ตอนนี้หลานสาวอายุ 15 แล้ว เขา ก็ติดนิสัยผม คือเขามาอยู่ที่บ้าน เราเอา มาช่วยเลี้ยงเพราะพ่อแม่เขาท�ำงานนอก บ้านกันหมด ก็มาอยู่กับเราจนติด เดี๋ยว นี้อยู่ ม.5 แล้ว เรียนอยู่ที่โรงเรียนพิชญ ศึกษา ซึ่งอยู่ใกล้บ้าน เขาอ่านหนังสือ เนชันแนล จีโอกราฟฟิกตั้งแต่ 8 ขวบ เพราะว่าผมชอบหนังสือเล่มนี้ เขาก็เป็น เด็ ก อ่ า นหนั ง สื อ มาตั้ ง แต่ บั ด นี้ ความรู ้ เขากว้างขวางมาก นี่คือประโยชน์ของ การอ่าน นั ก เรี ย นอะไรแต่ ง ตั ว สวย : จุ ด เริ่ ม ต้ น ของนายพล ผมจบ ม.6 แล้วผมไม่ได้คิดจะ สอบทหาร ช่วงนั้นเราไม่มีความรู้เรื่องจะ ไปเรียนอะไรต่อ ไม่มีครูแนะแนว จบ ม.6 พ.ศ.2505 พอดีมีรุ่นพี่คนหนึ่งผมศรัทธา เขาและสนิทกัน เขาเป็นคนเรียนหนังสือ เก่ ง เขาสอบเข้ า เตรี ย มอุ ด ม ผมก็ เ ลย รู้จักแต่เตรียมอุดม พอจบ ม.6 ผมก็สอบ เตรียมอุดม ก็สอบได้ทันทีเลย ผมเรียนอยู่ ห้องที่ 3 สอบเข้าได้ที่ 70 กว่า ระหว่าง เรียนไปก็ไปสนิทกับเพื่อนคนหนึ่งซึ่งเขา อายุไม่ถึงที่จะสอบเกณฑ์ทหาร เป็นลูก ทหารจากพิษณุโลก

ปี 2510 - ใต้อาคารพลศึกษา รร.จปร.

51 issue 104 september 2016


ตัวอย่าง ผลงานจากปลายปากกาของพลเอก บัญชร ชวาลศิลป์ 52 IS AM ARE www.ariyaplus.com


โรงเรี ย นนายร้ อ ยเคี่ ย วกร� ำ : เรื่ อ งตายเป็ น เรื่ อ งของคนแก่ ผมออกรบเหมือนทหารทั่วไปในเหล่าทหารปืน ใหญ่ ไปเวียดนามปีหนึ่ง ไปเรียนอเมริกาปีหนึ่ง ตอน กลับมาจากเวียดนามมาแล้วมีรุ่นพี่ชวนไปรบในประเทศ ลาวต่อ เป็นความสมัครใจ เพราะว่าคนแย่งกันไปเยอะ เหตุผลที่อยากไปก็เพราะว่าจะได้รับค่าตอบแทน ซึ่ง ทหารเราเงินเดือนน้อย ในความรู้สึกผมเรื่องเสี่ยงตอนเป็นทหารเด็กๆ นี่ นะ เป็นความรู้สึกซึ่งอาจจะไม่เคยได้ยินมาก่อน และผม ก็ไม่รู้ว่าคนอื่นเขาคิดอย่างผมรึเปล่า ตอนที่เราจบเป็น ร้อยตรีร้อยโทเรายังรู้สึกว่าเราเด็ก แล้วไอ้เรื่องตายมัน เป็นเรื่องของคนแก่ หรือมีความรู้สึกคึกคักในการลงพื้น ที่การรบตามที่เราถูกฝึกมา มันก็เลยกลบเรื่องความกลัว รึเปล่าเราก็ไม่รู้นะ ความผู ก พั น ของราษฎรของสยามกั บ สถาบั น กษั ต ริ ย ์ ห รื อ สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ ก็ ต าม มี มา 700 กว่ า ปี แ ล้ ว ฉะนั้ น ไม่ มี ใ ครที่ จ ะมาแยก หรื อ มาท� ำ ลายความรู ้ สึ ก นี้ ไ ด้ ผมเคยมีประสบการณ์ที่อธิบายเรื่องความกลัว ได้ ว ่ า เป็ น ผลมาจากการที่ เราถู ก “เคี่ ย วกร� ำ ” จาก โรงเรียนนายร้อย ฝึกไปเวียดนามเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม (วันคริสต์มาส) 2513 ฝึกอยู่ที่เมืองกาญจนบุรี ก�ำลัง จะจบการฝึก ต้นเดือนมกราคมก็จะทยอยไปเวียดนาม ปี 2514 วันที่ 28 ธันวาคม ผู้จัดการทหารบก พลเอก ประภาส จารุเสถียร จะมาเยี่ยมฐานปืนใหญ่ที่พวกผม ฝึกกันอยู่ เราก็จัดให้มีการสาธิตการยิงเล็งตรง ปืนใหญ่ ปกติจะยิงโค้ง แต่ภาระกิจที่เราจะโชว์เราต้องการเห็น เป้ามันล้ม เป้านี้เป็นต้นไม้ใหญ่อยู่ห่างไป 1.6 กิโลเมตร กองร้อยหนึ่งประมาณ 200 คน ก็จะไปท�ำพิธีที่กองพล ผมอยู่ในฐาน ที่ฝึกอยู่ห่างประมาณ 30 กิโลเมตร ผมเป็น คนที่ไม่ชอบพิธีการ ก็ขออนุญาตไม่ไป แล้วก�ำลังพลบาง ส่วนเราต้องทิ้งไว้เฝ้าฐาน ผมก็ขอเฝ้าฐานให้ บางทีผม ขี้เกียจไปยืน 3-4 ชั่วโมง เมื่อย! ระหว่างที่ก�ำลังพลไม่อยู่ ผมก็เลยชวนลูกน้อง เรามาซ้อมยิงวันที่ 28 นี้ ผบ.ทบ.จะมาดีกว่า ก็ไปยิงเป้า ต้นไม้ที่ว่า ระยะ 1.6 กิโลเมตร ใช้ปืนใหญ่ขนาด 105 มม. ยิงไปนัดที่ 16 ก่อนหน้านั้นผมท�ำหน้าที่พลเล็ง ก็คือตรวจ

ว่ากระสุนมันไปทางไหน จะได้ขยับแนวล�ำกล้องให้ถูก ต้อง ผมก็จะมายืนดูอยู่หลังปืนให้ตรงปากล�ำกล้อง พอ ยิงไปสักพักหนึ่ง ก่อนถึงนัดที่ 16 นัดเกิดเหตุนี้ ลมมันพัด ควันบังผมก็มองไม่เห็น ผมก็เลยขยับมายืนทางขวาเพื่อ จะได้มองเห็นกระสุน พอนัดที่ 16 ปรากฎว่ากระสุนเกิด ผิดพลาดอย่างไรไม่รู้ มันระเบิดในล�ำกล้อง แท่งปิดท้าย หรือส่วนท้ายของปืนใหญ่ท่ีสูงท่วมหัวมันก็หล่นตรงที่ผม ยืนอยู่ในช่วงแรก คือตายแน่นอนเลยไม่มีเหลือ คนที่ ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น พลยิ ง เป็ น จ่ า มาจาก นครศรีธรรมราชด้วยกันกับผม ล้มคว�่ำลง ผมก็บอกลูก น้องให้ทุกคนออกไปให้หมด แล้วผมก็วิ่งไปคว้าเครื่อง ดับเพลิง ลูกน้องคนนี้ตาย ผมก็ให้คนที่เหลือยกศพเขา ออกไป รอบๆ ปืนใหญ่ยังมีกระสุนอยู่อีกเป็นร้อยๆ นัด ที่พร้อมจะระเบิด ตัวบังเกอร์ที่ท�ำด้วยกระสอบทราย มันเป็นหน้าแล้ง เพราะฉะนั้นมันก็ติดไฟลุก ผมก็เอาไป ฉีดอยู่คนเดียว ตอนนั้นเป็นร้อยตรี แล้วก็ท�ำหน้าที่จน กระทั่งจบ จนไฟดับหมด แล้วผมก็มานั่งนึกตัวเองว่า เราไม่กลัวเหรอ วินาทีนั้นที่ผมบอกว่าผมนึกถึงบุญคุณโรงเรียน นายร้ อ ย มั น ไม่ คิ ด เรื่ อ งกลั ว นะ แต่ มั น คิ ด เรื่ อ งเป็ น

ถ่ายตอนเป็นนักเรียนนายร้อย ตอนนั้นตั้งใจจะเลือกไป เหล่าทหารม้า เพราะเห็นว่าห้าวดี แต่คิดถูกแล้วที่มา ทหารปืนใหญ่ งานเบา เหล่ารบ ถูกจริต 53

issue 104 september 2016


25 ธ.ค.2513 ความตายไม่ใช่เรื่องของเด็ก

เรื่ อ งความรู ้ สึ ก ต่ อ องค์ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ข อง เราผมเปรี ย บเที ย บได้ กั บ ความรู ้ สึ ก ที่ เ รารั ก พ่ อ รั ก แม่ เ รา ไม่ มี ใ ครมาสอนเรานะให้ รั ก พ่ อ รั ก แม่ แต่ มั น เกิ ด ขึ้ น มาเอง ผมเชื่ อ ว่ า ความรู ้ สึ ก นี้ แ บบ เดี ย วกั น ที่ มี ต ่ อ พระมหากษั ต ริ ย ์

กับทหารม้า ทหารมี ต� ำ แหน่ ง ประจ� ำ (หลั ก ) กั บ ไม่ ป ระจ� ำ (รอง) ต�ำแหน่งหลักมีลูกน้อง มีงานรับผิดชอบชัดเจน กั บต� ำ แหน่ ง ที่ ไ ม่ ประจ� ำ เช่ น เป็ น ที่ ปรึ ก ษา หรื อที่ผู้ บังคับบัญชาจะมอบหมาย ต�ำแหน่งหลักที่ผมรับราชการ อยู ่ สู ง สุ ด คื อ รองเจ้ า กรมกิ จ การพลเรื อ นทหาร กอง หน้าที่ของเรา เป็นนายเขาต้องแก้ปัญหา ไม่ได้คิดว่า บัญชาการทหารสูงสุด พลตรี ถ้ามันตูมขึ้นมาเราตายนะ ถ้าคิดอย่างนั้นเราคงไม่กล้า แล้วหลังจากนั้นผมก็ได้รับมอบหมายไปท�ำงาน เข้า แต่วินาทีนั้น 6 ปีในชีวิตทหารต้องสร้างด้วยการ พิเศษที่สนามบินหนองงูเห่ากับกระทรวงพัฒนาสังคมฯ ใช้เวลา ความคิดแบบนี้ใช้เวลาปีเดียวอาจจะยังไม่เกิด ไปท� ำ ที่ ธ นาคารกรุ ง ไทยกั บ กระทรวงการคลั ง แล้ ว ก็ นะ ความคิดเมื่อเกิดความรับผิดชอบขึ้นมาไม่ต้องคิดถึง ไปท�ำหน้าที่ฟื้นฟูกิจการของบริษัททีพีไอ ในนามของ สิ่งอื่นเลยนอกจากภารกิจของตัวเอง มันต้องผ่านการ กระทรวงการคลัง เคี่ยวกร�ำ การปลูกฝังมา นี่คือค�ำอธิบายของค�ำว่า ตอน เด็กๆ ทหารเด็กๆ เพื่อนๆ ผมที่ออกรบมันไม่กลัวตาย เพื่ อ ความเข้ า ใจความจริ ง : เปิ ด โอกาสให้ ค น มันถูกมองข้ามไปนะ ฉลาดขึ้ น มี ศึ ก ษามากขึ้ น ถามว่ า มี โ อกาสตายไหม มี ผมเป็ น ปื น ใหญ่ ผมอ่านหนังสือเยอะ ถ้าพูดให้เพราะๆ ก็เป็น โอกาสผมน้อยกว่า แต่ทหารราบ ทหารม้า โอกาสเขา คนใฝ่รู้ มันมีเรื่องที่อยากรู้อยู่ตลอดเวลา แล้วพออยาก ตายมาก เพื่อนผมที่เสียชีวิตส่วนใหญ่ก็เป็นทหารราบ รู ้ ขึ้ น มาก็ ต ้ อ งหาค� ำ ตอบให้ ไ ด้ ยิ่ ง เดี๋ ย วนี้ มี โ ทรศั พ ท์ 54 IS AM ARE www.ariyaplus.com


สมาร์ทโฟนอยากรู้เรื่องอะไรกดปั๊บเราได้ค�ำตอบแล้ว มัน ก็ยิ่งสนุกสนานกับความอยากรู้ ได้บริหารความรู้ พอมัน อ่านมากๆ มันจะเชื่อมโยงได้ เรื่องความรู้สึกต่อองค์พระมหากษัตริย์ของเรา ผมเปรี ย บเที ย บได้ กั บ ความรู ้ สึ ก ที่ เรารั ก พ่ อ รั ก แม่ เรา ไม่มีใครมาสอนเรานะให้รักพ่อรักแม่ แต่มันเกิดขึ้นมา เอง ผมเชื่อว่าความรู้สึกนี้แบบเดียวกันที่มีต่อพระมหา กษัตริย์ ท่ า นทู ต ยาสุ กิ จิ ยาตาเบ ชาวญี่ ปุ ่ น ผู ้ เ ป็ น อั ค รราชทู ตในประเทศไทยสมัยการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง 2475 เขียนไว้ประโยคหนึ่งว่า (หนังสือบันทึก ทูต) ความผูกพันของราษฎรของสยามกับสถาบันกษัตริย์ หรือสถาบันพระมหากษัตริย์ก็ตาม มีมา 700 กว่าปี แล้ ว ฉะนั้ น ไม่ มี ใ ครที่ จ ะมาแยกหรื อ มาท� ำ ลายความ รู้สึกนี้ได้ เพราะฉะนั้นถ้าเราดูบทบาทของคณะราษฎร ที่เปลี่ยนแปลงการปกครอง เขาไม่ได้รังเกียจพระมหา กษัตริย์เลย เขาเพียงแต่ต้องการให้พระมหากษัตริย์เป็น อย่างทุกวันนี้ คืออยู่ใต้รัฐธรรมนูญ เขาพยายามรักษาความสัมพันธ์อันดี แต่มันก็ ท�ำได้ระดับหนึ่งอย่างที่เราเห็น แล้วเรื่องมันก็คลี่คลาย แล้วก็พัฒนาไปที่สุด ผมอ่านเรื่องราวในยุคเปลี่ยนแปลง การปกครอง ทหารไม่มีความรู้สึกเป็นอย่างอื่นต่อพระ มหากษั ต ริ ย ์ จงรั ก ภั ก ดี เ หมื อ นเดิ ม เพี ย งแต่ มี ค วาม เห็นตรงกันในยุคนั้นว่าต้องอยู่ใต้รัฐธรรมนูญ พระมหา กษัตริย์คนเดียวดูแลประเทศไม่ได้แล้ว ไม่ไหวหรอก โลกมันพัฒนา ความรู้สึกนี้ผมว่าเป็นหนึ่งเดียวกับราษฎรไทยนะ ราษฎรสยามในยุคนั้น เขาไม่เปลี่ยน เพราะฉะนั้น ผมก็ คิดว่าแม้กระทั่งทุกวันนี้ ผมยอมรับว่ามันมีความจริงที่มี ความพยายามที่จะบ่อนท�ำลาย สร้างความเกลียดชัง แต่ คนเราถ้ามีสติปัญญาอ่านก็จะรู้ว่ามันเลว มันสกปรก มัน เป็นไปไม่ได้ที่จะเป็นอย่างนั้น ฉะนั้นถามว่าแล้วเราจะท�ำ ยังไงกับการใส่ร้ายอย่างนี้ ผมว่ามีทางเดียวคือต้องเปิด โอกาสให้ประชาชนฉลาดขึ้น มีการศึกษามากขึ้น การศึ ก ษาโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ความเข้าใจของผมก็คือว่า บางครั้งการหวาดกลัวของ คนมี อ� ำ นาจจะใครก็ ต าม ที่ จ ะพู ด ถึ ง ประวั ติ ศ าสตร์ อย่างถึงที่สุดเกรงว่าจะกระทบกระเทือนคนโน้นคนนี้ นี่คืออุปสรรค นี่แหละมันจะท�ำให้ พอบอกว่าในหลวง

พ.ศ. 2514 ที่เวียดนาม ในฐานยิงสนับสนุน พิรุณ

มกราคม 2515 วันแห่งความส�ำเร็จ กลับจากเวียดนาม เมื่อต้นเดือนมกราคม 2515 พอปลายเดือนก็ขึ้นไปร่วมพิธีรับ พระราชทานปริญญาของเธอที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

จปร. ปี 2524 55

issue 104 september 2016


ไม่ได้เป็นเจ้าของวังก็ไม่เชื่อ ฉะนั้น ต้องเปิดสังคมนี้ให้เขาศึกษาประวัติศาสตร์ เหมือนที่ผมอาจจะโชคดีที่อยู่ใน ความสนใจ อยู่ในฐานะที่จะหาหนังสืออ่าน หรือถามผู้รู้ได้ ผมไม่มีความรู้สึกเป็นอย่างอื่นต่อพระมหากษัตริย์ไทย นอกจากความจงรักภักดี ไม่ต้องพูดถึงความเป็นทหารที่ถูกปลูกฝังมา ส�ำหรับประสบการณ์ตัวเองที่ผมได้ก็คือว่า ให้ผมได้เข้าใจเรื่องจริงเถอะ แล้วผมจะมีค�ำตอบ เรื่องของกษัตริย์ ของเรามีแต่ความจริงทั้งนั้น นึกถึงภาพที่ท่านเสด็จไปหัวหินแล้วคนมาร้องไห้อยู่ข้างถนนด้วยความจงรักภักดี คน น�้ำตาซึม ที่ท่านออกมาจากพระที่นั่งอนันตสมาคม วันที่ 9 มิ.ย.2549 เห็นไหมคนไทยน�้ำตาทั้งแผ่นดิน จะเห็นว่า ไม่ใช่คนไทยส่วนใหญ่นะที่จะไม่จงรักภักดี มนุ ษ ย์ มี สั ญ ชาตญาณอยู ่ อ ย่ า งหนึ่ ง เชื่ อ ในข่ า วที่ เ ป็ น ลบ คนพู ด ถึ ง ความเลว ของคน ความไม่ ดี ข องคน เชื่ อ ไว้ ก ่ อ น เพราะมั น สนองอั ต ราของตนเองว่ า คุ ณ เลวฉั น ก็ จ ะดี ก ว่ า คุ ณ อย่ า ให้ ค วามรู ้ สึ ก อั น นี้ มั น เกิ ด ขึ้ น แล้ ว เราจะไม่ มี อ วิ ช ามา ปิ ด บั ง ปั ญ ญาของเรา เกร็ ด ประวั ติ ศ าสตร์ ก บฏบวรเดช การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 กบฏบวรเดชน�ำก�ำลังเข้ามาในวันที่ 11 ตุลาคม 2476 น�ำโดยพระองค์เจ้าบวรเดช เป็นเชื้อพระวงศ์ชั้นสูงท่านหนึ่ง เคยเป็นเสนาบดีกระทรวงกลาโหมสมัยรัชกาลที่ 7 แล้ว ต่อมาช่วงเศรษฐกิจตกต�่ำทั่วโลกท่านขอเพิ่มงบประมาณให้กับกองทัพ จะเป็นเงินเดือนหรืออะไรสักอย่าง แล้วไม่ ได้รับอนุมัติ ท่านก็แสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออก ต่อมาหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง อย่างที่ผมบอกว่าทหารยังมีความจงรักภักดีอยู่ ทหารส่วนหนึ่งโดย เฉพาะที่เป็นทหารหัวเมืองมีฐานที่มั่นหลักอยู่ที่โคราชก็มองเห็น 2-3 เรื่องหลักๆ (ความมุ่งหมายของกบฏทั้งหมด คือไม่ต้องการรื้อฟื้นระบบราชาธิปไตย ไม่ต้องการเอาพระมหากษัตริย์กลับสู่ระบบสมบูรณาญาสิทธิราช) ความ ต้องการของเขาก็คือ สมัยนั้นยังไม่เรียกประชาธิปไตย เขาเรียกระบบรัฐธรรมนูญ ซึ่งก็เป็นความมุ่งหมายเดียวกับ

พ.ศ. 2535 กราบอาจารย์หม่อม 56 IS AM ARE www.ariyaplus.com


คณะราษฎรที่เปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ว่าสาเหตุที่ทหารเหล่านี้ไม่พอใจก็มีอยู่ เรื่อง แรกคือ การที่รัชกาลที่ 7 ถูกดูหมิ่น นายถวัติ ฤทธิเดช เป็นกรรมกรรถราง ฟ้องในหลวงรัชกาลที่ 7 ด้วยข้อหา หมิ่นประมาท รัฐบาลในความเข้าใจของฝ่ายกบฏก็ไม่ ด�ำเนินการใดๆ ปล่อยให้ในหลวงถูกฟ้อง เรื่ อ งที่ ส องคื อ มี ค วามเข้ า ใจกั น ว่ า นายปรี ดี พนมยงค์ ซึ่งเป็นมันสมองของคณะผู้ก่อการฯ จะเอาลัทธิ คอมมิวนิสต์เข้ามา (ผมไม่เชื่อ) แต่ว่าเขาเชื่อกันอย่างนั้น เชื่อว่าอาจารย์ปรีดีเป็นคอมมิวนิสต์ สองเรื่องหลักๆ นี้น�ำไปสู่การคิดจะโค่นล้มรัฐบาล ของคณะราษฎร แต่ว่าโค่นล้มแล้วเป็นยังไง พระมหา กษัตริย์ก็ยังเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญไม่คิด จะเปลี่ยนแปลงกลับไปดังเดิม ผมเขียนนวนิยายไว้เล่มหนึ่งชื่อไฟรักไฟสงคราม ส�ำนักพิมพ์มติชน ก็จะมีเรื่องกบฏวรเดชเป็นเรื่องหลัก เป็นหนังสือที่ขายไม่ดี มันเล่มหนาไปแล้วคนไม่สนใจ ประวัติศาสตร์หรือยังไงไม่ทราบ แต่ว่าก็ไม่เสียอกเสียใจ อะไร เล่มอื่นที่เป็นประวัติศาสตร์ก�ำลังจะออกมาครับ ผมก�ำลังค้นคว้าเรื่องของเหตุการณ์หลังการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ผมเขียนเป็นตอนๆ ลงเดลินิวส์ และแฟน เพจ ‘บัญชร ชวาลศิลป์’ ฝากถึ ง เยาวชน : อย่ า เชื่ อ อะไรง่ า ย คื อ บ้ า นเมื อ งต้ อ งมี สิ่ ง ยึ ด เหนี่ ย ว แล้ ว สิ่ ง ที่ ยึ ด เหนี่ยวคนไทยมาไม่ต�่ำกว่า 800 ปี ตั้งแต่ยุคกรุงสุโขทัย ก็คือสถาบันพระมหากษัตริย์นั่นเอง เพราะว่านี่คือสูงสุด ของสังคมไทยแล้ว โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ เครื่ อ งมื อ ชนิ ด นี้ มี ทั้ ง ประโยชน์ แ ละโทษ ผมใช้ ป ระโยชน์ ม ากในเรื่ อ งการ ค้ น คว้ า อยากรู ้ อ ะไรผมคลิ ก เดี ย วได้ รู ้ ไ ด้ ไ ป ไม่ ต ้ อ ง ขับรถไปเอง ไม่ต้องนั่งเครื่องบินไป ขณะเดียวกันอีก ด้านหนึ่งข้อมูลที่ไม่สร้างสรรค์ดูไม่ยากหรอกถ้าเรามี ปัญญา ใช้ปัญญาถามตัวเองว่ามันเป็นไปได้ไง เริ่มต้น ด้วยค�ำถามนี้ มนุษย์มีสัญชาตญาณอยู่อย่างหนึ่ง เชื่อในข่าว ที่เป็นลบ คนพูดถึงความเลวของคน ความไม่ดีของคน เชื่อไว้ก่อน เพราะมันสนองอัตราของตนเองว่าคุณเลว ฉันก็จะดีกว่าคุณ อย่าให้ความรู้สึกอันนี้มันเกิดขึ้น แล้ว

ปี 2534 พันเอก ท�ำหน้าที่โฆษก รสช.

บ้ า นเมื อ งต้ อ งมี สิ่ ง ยึ ด เหนี่ ย ว แล้ ว สิ่ ง ที่ ยึ ด เหนี่ ย วคนไทย มาไม่ ต�่ ำ กว่ า 800 ปี ตั้ ง แต่ ยุ ค กรุ ง สุ โ ขทั ย ก็ คื อ สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย ์ นั่ น เอง เพราะว่ า นี่ คื อ สู ง สุ ด ของสั ง คม ไทยแล้ ว เราจะไม่มีอวิชามาปิดบังปัญญาของเรา เรื่องความจริง ความไม่จริงไม่ใช่เรื่องยากที่จะค้นหา แต่ว่าใช้สติปัญญา อย่าเชื่ออะไรง่ายๆ ติดตามงานเขียน ข่าวสารรายการวิทยุ และเรื่อง ราวสนุกๆ จากพลเอกบัญชร ชวาลศิลป์ ได้ที่เฟสบุ๊ค : Gen.Bunchon - บัญชร ชวาลศิลป์ 57

issue 104 september 2016


58 IS AM ARE www.ariyaplus.com


59 issue 104 september 2016


60 IS AM ARE www.ariyaplus.com


61 issue 104 september 2016


62 IS AM ARE www.ariyaplus.com


63 issue 104 september 2016


64 IS AM ARE www.ariyaplus.com


65 issue 104 september 2016


66 IS AM ARE www.ariyaplus.com


67 issue 104 september 2016


68 IS AM ARE www.ariyaplus.com


69 issue 104 september 2016


ปี ชวด

การงาน-งานเต็มมือ คุณจะพบว่าคุณมีงานท�ำล้นมืออยู่ตลอดเวลา แต่ก็เป็นงานยุ่งที่น่าพอใจ แม้ว่าจะมีอะไร มากมายให้คุณต้องท�ำ แต่คุณกลับรู้สึกสนุกกับงานอย่างแท้จริง ลองรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายเพิ่มขึ้น ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะแสดงให้ทุกคนเห็นถึงพรสวรรค์และความน่าเชื่อถือของคุณ ธุรกิจ-พักก่อนดีกว่า พยายามอยู่ให้ห่างจากแวดวงการสื่อสารในเดือนนี้ เพราะคุณมีแนวโน้มที่จะพบตัวเองติดอยู่ในวงสนทนา ที่คับขัน ซึ่งบีบให้คุณต้องเปิดเผยตัวเองมากเกินไปควรพูดให้น้อยแล้วฟังแทนจะดีกว่าที่จะรู้สึกว่าต้องคอยตอบโต้ทุกค�ำที่ผู้อื่น พูดหรือแสดงความคิดเห็นในทุกการสนทนา ความรักและความสัมพันธ์-รู้จักให้มาขึ้น ไม่ใช่ช่วงเวลาที่ดีในการมองหาความรัก หากคุณเพิ่งเริ่มต้นความสัมพันธ์ครั้งใหม่ ควรทะนุถนอมรักนั้นต่อไป แต่ต้องรอบคอบไว้ อย่าพูดโดยไม่คิด และต้องเข้าใจและคิดถึงความรู้สึกของคู่รักใหม่ของคุณด้วย ในเวลานี้คุณอาจถูกเข้าใจผิดได้ง่ายๆ การศึกษา-ยอมเชื่อฟัง แม้ว่าคุณจะมีความคิดที่เยี่ยมยอดแต่ อาจไม่เป็นไปในแบบที่ครูหรืออาจารย์ของคุณคิด การโต้เถียงมี แต่จะท�ำให้คะแนนของคุณแย่ลงไม่ควรเสียเวลาเถียงเข้าข้างตัวเองในเดือนนี้ ทางที่ดีควรหาทางปรับปรุงแก้ไข

ปี ฉลู

การงาน – ได้รับการชี้น�ำ คุณพยายามให้มากกว่าเดิมที่จะสานสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับเจ้านายและเพื่อนร่วมงาน คุณก็จะเก็บเกี่ยวดอกผลได้อย่างรวดเร็วหากมีใครสักคนที่คุณสามารถชี้แนะแนวทางได้ ก็ควรสละเวลาช่วย การให้ย่อมน�ำรางวัลสนองกลับผู้ที่ให้เสมอ ธุรกิจ – มองหาโอกาส บางครั้งข้อตกลงทางธุรกิจที่ดีก็เข้ามาอย่างไม่คาดคิด ใช้เวลาติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นที่อาจมีความสนใจ ตรงกับคุณ ลองเข้าไปพูดคุย แล้วโอกาสดีๆ ที่คุณมองหามาตลอดจะปรากฏขึ้น ความคิดเห็นของคุณมีความส�ำคัญกว่าที่คุณ คิด คุณควรใช้โชคด้านผู้น�ำของคุณให้เป็นประโยชน์ ความรักและความสัมพันธ์ – ราวกับสวรรค์ ความรักจะอบอวลทุกแห่ง คุณจะเพลิดเพลินได้เต็มที่ คุณอาจเป็นที่หมายปอง ของใครบางคน หากคุณสนใจ ก็เดินหน้าต่อไปได้เลย แต่หากไม่สน คุณไม่ควรให้ความหวัง มิฉะนั้นปัญหายุ่งยากอาจจะตาม มา คนที่แต่งงานแล้วก็สามารถจุดไฟรักในอดีตขึ้นมาใหม่ได้ง่ายๆ ไม่แพ้กัน การศึกษา – ตั้งเป้าให้สูง โชคด้านการเรียนยอดเยี่ยมมากส�ำหรับเด็กปีฉลู ยิ่งหากคุณมีอาจารย์ครูที่ดี ท�ำความรู้จักท่านให้ มากขึ้นและพยายามท�ำตัวให้โดดเด่นกว่าคนอื่น คุณมีโชคที่จะไปถึงต�ำแหน่งสูงสุด ในชั้นเรียนได้หากคุณต้องการ

ปี ขาล

การงาน – ความสัมพันธ์ส�ำคัญ คนปีขาลที่จะก้าวหน้าได้ในเดือนนี้จะต้องเป็นคนที่เข้ากับเจ้านายและเพื่อน ร่วมงานได้ดีเยี่ยม ความสัมพันธ์ที่ได้สานสร้างมาตลอดจะกลายเป็นข้อได้เปรียบที่ส�ำคัญที่สุดของคุณ พยายาม เข้าสังคมให้มากขึ้น ช่องทางดีๆ อาจมาจากแหล่งที่ไม่คาดคิด หากไม่แน่ใจเรื่องใดคุณควรขอค�ำแนะน�ำ ธุรกิจ – ผลดีแก่ทุกฝ่าย ส�ำหรับคนปีขาลในเดือนนี้คุณจะมีโชคดี อาจมีใครมาเสนอความคิดบางอย่างให้คุณ มองหาโอกาส ใหม่ๆ จงเชื่อในสัญชาตญาณและความรู้สึกของคุณในเดือนนี้ การร่วมเป็นหุ้นส่วนกับบุคคลที่เหมาะสมอาจงอกงามกลายเป็น ความส�ำเร็จที่งดงามแบบสุดๆ ความรักและความสัมพันธ์ – ยอดเยี่ยม จะพบบางสิ่งที่กระตุ้นความสนใจของคุณในเดือนนี้ จะมีคนเข้ามาชื่นชอบคุณไม่ ขาดสาย ในเรื่องของหัวใจไม่จ�ำเป็นต้องระวังให้มากเกินไป หากคุณยอมให้ใครบางคนเข้าถึงความคิดส่วนลึกของคุณ สิ่งที่ ยอดเยี่ยมอาจเกิดขึ้นได้ การศึกษา – ครูที่เป็นแรงบันดาลใจ เด็กปีขาลจะได้รับผลดีจากโชคด้านผู้ชี้น�ำ ไม่มีสิ่งใดจะเทียบเท่าครูคนพิเศษที่ท�ำให้วิชา ที่เรียนน่าสนใจขึ้นมาได้ เมื่อคุณมีโชคดีเช่นนี้ในเดือนนี้ ก็ควรมองหาครูแบบนี้ให้ได้สักคน 70 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี เถาะ

การงาน-ก้าวสูงขึ้น เดือนที่ดีส�ำหรับคนปีเถาะที่มุ่งมั่นกับความก้าวหน้าด้านอาชีพสิ่งต่างๆในด้านการงาน ไม่เพียงแต่จะน่ายินดี แต่ยังก้าวหน้าอย่างเห็นได้ชัดอีกด้วย คุณจะได้ก้าวสูงขึ้นและยังมีโชคด้านการเลื่อน ขั้น เมื่อได้รับเสนอโอกาส จงพร้อมรับ ธุรกิจ-ไม่มีเวลาให้เบื่อ คุณมีโชคแห่งความบริบูรณ์ซึ่งบ่งชี้ถึงการปิดโครงการที่คุณท�ำมาตลอดลงได้ส�ำเร็จ แต่นอกจากโชค ด้านนี้ คุณยังจะได้พบการเริ่มต้นใหม่ ดาวหมายเลข 1 น�ำโอกาสใหม่ และเมื่อรวมเข้ากับดาวหมายเลข 9 ก็ก่อให้เกิดโชค ความรักและความสัมพันธ์-เปลี่ยนแปลง ตอนนี้เป็นเวลาที่สถานการณ์รอบตัวเปลี่ยนไป คุณจะพบกับการเปลี่ยนแปลงชีวิต และส�ำหรับคนปีเถาะบางคน นี่อาจหมายความว่าคุณจะเริ่มมองดูคู่รักของคุณในมุมมองใหม่มิตรภาพความเป็นเพื่อนก็อาจ เปลี่ยนกลายเป็นความรัก

ปี มะโรง

การงาน - พร้อมปรับตัว ระดับพลังงานของคุณลดลงและปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นก็อาจท�ำให้คุณตั้งตัวไม่ติด โครงการที่คุณก�ำลังท�ำอยู่อาจต้องใช้เวลามากกว่าที่คุณได้วางแผนไว้ และเส้นตายก็อาจเร่งรัดเข้ามา แทนที่จะ ท�ำงานเองอย่างร้อนรน คุณอาจขอความช่วยเหลือหากท�ำได้ ธุรกิจ – เปิดกว้าง โชคด้านความมั่งคั่งอยู่ในระดับปานกลาง คุณไม่ได้อยู่ในช่วงที่ท�ำงานได้ดีที่สุด อย่าพยายามท�ำทุกอย่าง เอง อาจมีผู้คนมากมายที่พยายามให้ค�ำแนะน�ำคุณ หากสงสัย ควรเชื่อสัญชาตญาณของคุณเองดีกว่า แต่ก็ควรรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่นบ้าง ความรักความสัมพันธ์ - ฟังความรู้สึก คนปีมะโรงที่ให้ความส�ำคัญมากขึ้นกับความรักและชีวิตส่วนตัวจะได้พบกับช่วงเวลา ที่น่ายินดี ความสัมพันธ์ที่ดีจะช่วยปลอบโยนคุณได้มาก คู่ของคุณจะให้ทั้งความสบายใจและคอยสนับสนุนเมื่อคุณล้มป่วย การศึกษา – คอยกระตุ้นตัวเองไว้ แรงจูงใจคือกุญแจแห่งความส�ำเร็จในเดือนนี้ หากคุณสามารถกระตุ้นตัวเองได้ คุณก็ สามารถท�ำหลายสิ่งหลายอย่างให้ส�ำเร็จได้ ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจนให้ตัวเองเอื้อมถึง ตั้งให้สูงกว่าที่คุณคิดว่าคุณสามารถท�ำได้

ปี มะเส็ง

การงาน-รู้สึกมีพลัง ทุกย่างก้าวของคุณดูสดใส เพราะคุณท�ำทุกอย่างด้วยความมั่นใจ แม้แต่คนที่ท�ำงานซึ่ง เริ่มจ�ำเจเกินไปก็ยังสามารถพบสิ่งใหม่ที่ช่วยให้คุณกระตือรือร้นได้ คุณรู้สึกเปี่ยมด้วยพลังและยังสามารถ ท�ำให้คนรอบข้างคอยรู้สึกคึกคักไปด้วย คุณมีโชคด้านการเลื่อนขั้น ธุรกิจ-ต้องกล้า จะมีช่องทางใหม่ๆที่ยอดเยี่ยมส�ำหรับการเติบโตและขยับขยาย และตอนนี้ก็ได้เวลาที่ต้องตัดสินใจเลือกสัก ทางหนึ่ง ธุรกิจใหม่จะน�ำความส�ำเร็จมาให้จึงควรเดินหน้าท�ำด้วยความมุ่งมั่น จะมีความคิดบางอย่างปรากฏขึ้นซึ่งท�ำให้คุณ กระตือรือร้นได้ในที่ท�ำงาน ความรักและความสัมพันธ์-ราวกับสวรรค์ คุณจะได้เรียนรู้ที่จะชื่นชมคู่ของคุณในทางใหม่ ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะสนใจอนาคต และวางแผนร่วมกันอย่างจริงจัง คนที่ต้องการพัฒนาความสัมพันธ์ไปสู่ระดับใหม่จะท�ำได้ในตอนนี้ การศึกษา-โชคช่วยให้ชนะ โชคด้านการเรียนที่ดีเยี่ยมรอเด็กปีมะเส็งอยู่ คว้าทุกโอกาสที่จะได้เรียนรู้ให้มากเท่าที่คุณจะท�ำได้ ตั้งเป้าหมายให้สูงไว้เพราะคุณมีโชคแห่งชัยชนะ จงตักตวงจากดาวแห่งชัยชนะในทิศของคุณให้เต็มที่ด้วยการพยามยามไม่ใช่ แค่ท�ำให้ดีที่สุด แต่ต้องเป็นที่หนึ่งในห้องเรียน ไม่ควรปล่อยโชคสูญเปล่า 71 issue 104 september 2016


ปี มะเมีย

การงาน-แก่งแย่งชิงดี ระวังศัตรูที่รอท่าจะแทงคุณด้านหลังเพื่อประโยชน์ของพวกเขาพวกเขาอาจท�ำร้ายคุณ ได้อย่างแนบเนียนจนยากที่จะสังเกตนอกจากตัวคุณเอง เก็บความคิดและความรู้สึกไว้ในใจและระวังหลังไว้ ให้ดี แม้แต่มิตรก็ยังอาจหันหลังให้คุณได้ในเวลาเช่นนี้ และบางครั้งพวกเขาอาจไม่คิดว่าการกระท�ำของตนคือการทรยศด้วยซ�้ำ ความรักความสัมพันธ์-ไร้สีสัน ตอนนี้อาจเป็นช่วงที่ความรักไร้สีสัน แต่แทนที่จะหงุดหงิด คุณควรใช้เวลานี้เปลี่ยนโฉมตัวเองดี กว่า ลองเปลี่ยนสีผม หรือหาเสื้อผ้าใหม่ หรือแต่งตัวให้แตกต่างไปจากเดิม หางานอดิเรกใหม่ ท�ำความรู้จักกับเพื่อนใหม่ หาก คุณท�ำตัวไม่ให้เดือดร้อนเกินไปกับชีวิตรัก คุณจะได้เปรียบและท�ำให้คุณมีเสน่ห์ การศึกษา-เหนื่อยง่าย คุณอาจขาดพลังและรู้สึกว่าตัวเองเหนื่อยง่าย หากคุณเหนื่อยเกินกว่าจะท�ำงานก็ควรพัก อย่าฝืนตัว เองให้ต้องท�ำงานให้เสร็จตามก�ำหนดจนส่งผลต่อสุขภาพและคุณภาพงาน แบ่งเวลาของคุณให้ดี หากตารางเวลาของคุณแน่น เกินไป คุณอาจล้มป่วยได้และท�ำให้ท�ำงานช้ายิ่งขึ้นอีก

ปี มะแม

การงาน-มีชัยเหนือคู่ปรับ คุณจะมีคู่ปรับให้ต้องคอยรับมือ แม้ว่าคุณจะได้รับการสนับสนุนจากภาคฝ่ายที่เหมาะ สม แต่การต้องขับเคี่ยวกับใครบางคนที่พยายามจะหักหน้าคุณให้ได้ก็เป็นเรื่องที่น่าเหน็ดเหนื่อยแม้ว่าคุณจะไม่ ต้องการเสียพลังงานมากเกินไปให้กับการท�ำให้คนแบบนั้นพอใจ แต่คุณก็ต้องหาทางปกป้องตัวเองบ้าง ธุรกิจ-การตัดสินใจครั้งส�ำคัญ ตอนนี้อาจเป็นเดือนที่คุณต้องตัดสินใจเรื่องส�ำคัญ คุณอาจต้องเลือกหนทางที่จะเดินหน้าให้ เด็ดขาด และอาจรู้สึกเหมือนก�ำลังกระโจนไปสู่สิ่งที่ไม่คุ้นเคย เพราะคุณไม่มีข้อมูลทั้งหมด อย่างน้องก็ไม่มากเท่าที่คุณต้องการ แต่การหยุดไม่ท�ำอะไรเพื่อวิเคราะห์อาจเป็นอันตรายยิ่งกว่าการเลือกสักทางและเดินต่อไป ความรักและความสัมพันธ์-มีความสุข รักเล่นๆจะเบ่งบานอย่างรวดเร็วกลายเป็นรักแท้ สิ่งต่างๆจะพัฒนาไปเร็วกว่าปกติ ตอน นี้เป็นเวลาที่หอมหวานในเรื่องของหัวใจ คนที่ไม่แน่ใจว่าจะเลือกใครเป็นคู่อาจปักใจเลือกคนที่คุณยินดีจะผูกมัดด้วยได้เสียที การศึกษา-คึกคัก พลังงานเต็มพิกัดจะขับเคลื่อนเด็กปีมะแม ผู้ที่ก�ำลังรู้สึกว่ามีความสุขสุดยอดทั้งในด้านการเรียน ความสัมพันธ์ กับครูอาจารย์ และกับเพื่อนๆ คุณรู้สึกสบายใจมากขึ้น จึงสามารถท�ำอะไรมากมายให้เสร็จลงได้ ตอนนี้เป็นเวลาดีที่จะหางาน อดิเรกหรือกิจกรรมใหม่ๆท�ำ หรือเรียนรู้ทักษะใหม่

ปี วอก

การงาน – สุขและมั่นคง จะมีอะไรมากมายที่ท�ำให้คุณมีความสุขในด้านการงาน เจ้านายเห็นคุณค่าของคุณ เพื่อนร่วมงานเข้ากับคุณได้ดี หากคุณก�ำลังท�ำงานเพื่อที่จะเลื่อนขั้น คุณจะมั่นใจค่อนข้างแน่ว่าจะได้รับการ เลื่อนขั้น ตอนนี้จึงเป็นเดือนแห่งความสุขในที่ท�ำงาน ธุรกิจ – เทคโนโลยีใหม่ โอกาสที่จะขายธุรกิจของคุณไปสู่ทิศทางใหม่จะปรากฏขึ้น บางอย่างอาจเป็นเรื่องของเทคโนโลยี และเทคนิคที่คุณไม่คุ้นเคย จงใช้เวลาเพื่อศึกษาหาข้อมูลและอย่ากลัวหากต้องใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ จงเชื่อมั่นและจะสามารถ ประสบความส�ำเร็จได้มากที่สุด ความรักความสัมพันธ์ – มุ่งไปข้างหน้า ความรักจะน�ำช่วงเวลาแห่งความสุขมาให้ หากคุณมีความสัมพันธ์ที่มั่นคง คุณจะ เริ่มคิดถึงการแต่งงาน ทัศนคติของคุณอยู่ในช่วงที่เหมาะส�ำหรับการวางแผน ลองเล่าให้คู่ของคุณฟังหากคุณทั้งคู่คิดเหมือน กัน เดือนนี้จะน�ำพัฒนาการที่น่าตื่นเต้นอย่างแท้จริงมาให้ การศึกษา – พลังงานสูง ตอนนี้เป็นเวลาที่จะพิชิตความกลัวของคุณและก�ำหนดอนาคตของคุณเอง อย่าใช้เวลานานเกินไป เพื่อคิดถึงทางเลือกที่มี ลองออกเดินทางเพื่อค้นพบสิ่งใหม่ๆ คุณยังอยู่ในวัยที่สามารถตามใจตัวเองในเรื่องนี้ได้ 72 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Wheel Of Life

ปี ระกา

การงาน – สงบเสงี่ยมไว้ ในด้านอาชีพ ตอนนี้เป็นเวลาที่ต้องสงบเสงี่ยมไว้ก่อน คุณยังต้องเต็มที่กับงาน แต่ต้อง ไม่ใช่วิธีที่รุนแรงเกินไปเพื่อให้ได้สิ่งที่คุณต้องการ ตอนนี้ยังไม่ใช่เวลาดีท่ีจะเปลี่ยนงานหรือย้ายไปอยู่แผนกใหม่ การ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในเดือนนี้จะถูกรบกวน ด้วยพลังที่ไม่ดี ธุรกิจ – ต้องระวัง เดือนนี้อาจค่อนข้างเชื่องช้าในแง่ของโอกาสทางธุรกิจที่คุณจะกอบโกยได้ คุณเสี่ยงที่จะถูกหลอก คนปีระกาที่เล่น หุ้นควรระวังให้มากเป็นพิเศษ เพราะนี่คือเดือนแห่งการสูญเสีย พักแผนการใหญ่ไว้ก่อนในตอนนี้ ความรักและความสัมพันธ์ – เข้าใจผิด ไม่ใช่เดือนที่ราบรื่นส�ำหรับความรักและความสัมพันธ์ ความเข้าใจผิดเกิดขึ้นได้ระหว่างคู่ครองที่ คุ้นเคยใกล้ชิดกันเกินไป เรื่องบาดหมางเล็กๆ ก็อาจลุกลามกลายเป็นปัญหาใหญ่ หัดเป็นฝ่ายยอม แล้วคุณจะสุขใจกับความสงบสุขที่ได้มา การศึกษา – เรียนรู้จากประสบการณ์ คนปีระกาชอบแข่งขันมากโดยนิสัย และเห็นได้ชัดตั้งแต่เด็ก แต่ไม่นานคุณจะได้พบกับความ พ่ายแพ้และผิดหวัง จงเรียนรู้ที่จะเป็นผู้แพ้อย่างสง่างาม ไม่ว่าในกีฬาหรือการแข่งขันทุกประเภท จงใช้ทุกประสบการณ์เป็นโอกาสที่ จะเรียนรู้ เดือนนี้ไม่ได้แย่ไปเสียทีเดียว

ปี จอ

การงาน – ระวังปัญหารักในที่ท�ำงาน คุณมีโอกาสได้ร่วมงานโดยตรงกับเจ้านายและผู้ใหญ่ระดับสูงในบริษัท จง ใช้โอกาสนี้เพื่อใกล้ชิดผู้ที่มีความส�ำคัญ คุณไม่ได้เป็นที่ชื่นชอบแค่ในฐานะพนักงาน ระวังอันตรายจากความรักในที่ ท�ำงาน หากมีใครแสดงท่าทีเช่นนี้ คุณควรปฏิเสธอย่างนุ่มนวลแต่หนักแน่น ธุรกิจ – หว่านเมล็ด ตอนนี้เป็นเวลาดีส�ำหรับการเจรจาและปรึกษาหารือเรื่องต่างๆ หากคุณก�ำลังพยายามปิดข้อตกลงให้ได้ ลองเข้าไป มีส่วนร่วมด้วยตนเอง แล้วจะช่วยได้มาก คนปีจอที่เดินหน้าอย่างรอบคอบจะสามารถก้าวหน้าได้อย่างงดงาม หาพันธมิตรไว้และเดิน หน้าด้วยความมั่นใจ ความรักและความสัมพันธ์ – ทุ่มหมดใจ ส�ำหรับคนปีจอที่มองหารัก ขอแค่ส่งสัญญาณ ก็จะมีผู้คนมากมายมาแย่งชิงหัวใจคุณ ความ รักจะเข้ามาหาคนปีจออย่างง่ายดายในเดือนนี้ คนโสดปีจอที่มองหาความสัมพันธ์ที่มั่นคงจะได้พบอย่างแน่นอน แต่คนที่แต่งงานแล้ว ระวังเรื่องการนอกใจและความสัมพันธ์ที่ไม่ถูกต้องมาด้วย

ปี กุน

การงาน-ราบรื่นขึ้น การงานเดินหน้าไปพร้อมกับอุปสรรคที่น้อยลง สาเหตุหลักก็เพราะคุณอารมณ์ดีขึ้นและสามารถ เข้ากับคนอื่นได้ดีขึ้นด้วยความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานส�ำคัญเป็นพิเศษและจะส่งผลต่อโอกาสที่คุณจะก้าวหน้าใน อาชีพ โชคด้านความสัมพันธ์ดีมากส�ำหรับคนปีกุน ธุรกิจ-ความสัมพันธ์ราบรื่น ตอนนี้คือเวลาที่ดีส�ำหรับการเจรจาและปรึกษาหารือ หากคุณก�ำลังจะปิดสัญญาให้ได้ ลองเข้าไปมีส่วน ร่วมโดยตรงก็จะช่วยได้มาก จงใช้เสน่ห์ของคุณ แล้วสิ่งต่างๆจะเป็นในแบบที่คุณต้องการได้มากกว่าใช้การเตรียมการแบบอื่น ความรักความสัมพันธ์-ตั้งตัวไม่ติด เดือนที่เปี่ยมไปด้วยความสุขส�ำหรับหนุ่มสาวปีกุนที่ก�ำลังมองหาความรัก คุณจะมีเสน่ห์เป็นพิเศษ ในเดือนนี้ ทั้งยังมีคนมาหลงเสน่ห์คุณไม่ขาด ดาวรักดอกท้อก็ยังเป็นใจให้คุณ คนปีกุนบางคนจะพบรักชนิดที่ตั้งตัวไม่ติด ขอให้สนุก ไม่ จ�ำเป็นต้องรีบ การศึกษา-โชคในการสอบ เดือนนี้จะน�ำโชคด้านการเรียนและการสอบที่ดีมากมาให้เด็กปีกุนในโรงเรียนและมหาลัย จงตักตวงให้เต็ม ที่ ด้วยการทุ่มเทความพยายามมากขึ้นในห้องเรียนและในเวลาที่ทบทวนบทเรียน คนปีกุนบางคนอาจพบว่าชีวิตสังคมส�ำคัญยิ่งกว่าการ เรียน เพราะเพื่อนๆ จะชื่นชอบคุณมากขึ้น 73 issue 104 september 2016


เรียบเรียงโดย ดร.วรวุฒิ แสงเฟือง

รองประธานกรรมการมูลนิธิครอบครัวพอเพียง (ด้านวิชาการ) ที่ปรึกษาโครงการโรงเรียนคุณธรรมในสังกัดกรุงเทพมหานคร บริษัท เทเวศประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

สาระน่ารู้ : กระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม ในสังกัดกรุงเทพมหานคร นั บ ตั้ ง แต่ กรุ ง เทพมหานคร ประกาศขั บ เคลื่ อ นโรงเรี ย นในสั ง กั ด กรุ ง เทพมหานคร จ� ำ นวน 438 แห่ ง จาก 50 เขต ยกระดั บ เป็ น โรงเรี ย นคุ ณ ธรรมในสั ง กั ด กรุ ง เทพมหานคร นั้ น มี ผู ้ บ ริ ห าร คณะครู ผู ้ ป กครอง หลายๆท่ า น ให้ ค วามสนใจ ซึ่ ง ความสนใจนี้ ส ่ ง ผ่ า นมากั บ ค� ำ ถามมากมาย ผู ้ เ ขี ย นขอยกค� ำ ถาม และขอเสนอ ค� ำ ตอบอั น จะเป็ น แนวทางพอท� ำ ให้ ม องเห็ น ภาพกระบวนการขั บ เคลื่ อ นโรงเรี ย นคุ ณ ธรรมร่ ว มกั น ได้ ถาม : ตั ว ชี้ วั ด ด้ า นคุ ณ ธรรมที่ พ บ ส่ ง ผล ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งไร ตอบ : ในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมทั้ง 11 โรงเรียน ในเขตพระนคร นั้น ขับเคลื่อนภายใต้กรอบคุณธรรม “โตไปไม่โกง” 5 คุณธรรม ที่ประกอบด้วย 1) ความซื่อสัตย์ 2) ความรับผิดชอบ 3) ความเป็นธรรม 4) ความพอเพียง 5) จิต สาธารณะ ซึ่งเราเรียกว่า คุณธรรมต้นทุน ซึ่งแต่ละโรงเรียนได้ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมทุกระดับ เลือกมาเป็นคุณธรรมเป้า

หมายในระยะแรกเพียงหนึ่งคุณธรรมเท่านั้น ค�ำว่าทุกระดับ หมายถึง ผู้บริหาร คณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง และให้คณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง ค้นหาว่าคุณธรรมเป้าหมายตัวนี้มีพฤติกรรม บ่งชี้เชิงบวกอะไรบ้าง ซึ่งพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกกับตัวชี้วัด ด้านคุณธรรมที่ถามมานี้คือตัวเดียวกัน ยกตัวอย่าง เช่น ความ ซื่อสัตย์ คือ คุณธรรมเป้าหมายที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เช่น การพูดจริงท�ำจริง ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความมุ่งมั่นเต็มความสามารถ เข้าสอนตรงเวลาและไม่ทิ้ง 74

IS AM ARE www.ariyaplus.com


เด็ก น�ำเงินออมนักเรียนไปฝากธนาคารตามจ�ำนวนที่นักเรียน ออม การเก็บของคนอื่นได้คืนเจ้าของ มาโรงเรียนก่อนเวลา ส่ง งานก่อนถึงเวลาที่ก�ำหนด และบันทึกความดีที่ได้ท�ำลงในสมุด บันทึกความดี ความรับผิดชอบ คือ คุณธรรมเป้าหมายที่ส่ง ผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เช่น ปฏิบัติตาม ระเบียบ ตั้งใจสอน ตั้งใจเรียน เข้าท�ำงานตรงเวลาและออกงาน ตรงเวลา แต่งกายตามข้อตกลงของโรงเรียน ปฏิบัติงานอย่างเต็ม ความสามารถเพื่องานที่ส�ำเร็จ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน การอยู่เวรในวันหยุด ท�ำงานส่งตามที่ก�ำหนดและทันเวลา ส่ง งานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลา รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ มอบหมาย และการยอมรับข้อผิดพลาดของตัวเองและแก้ไข ปรับปรุง ความเป็นธรรม คือ คุณธรรมเป้าหมายที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เช่น การเสียสละเวลา ก�ำลัง กาย ก�ำลังใจในการท�ำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม บริหารงาน ด้วยความโปร่งใส ยุติธรรม ไม่ละเลยต่อการปฏิบัติหน้าที่ เป็น แบบอย่างที่ดีในการรักษาประโยชน์ของส่วนรวม ปฏิบัติตามกฎ ของทางโรงเรียนอย่างเสมอภาค เท่าเทียม ให้ความเคารพและมี สัมมาคารวะ ความพอเพียง คือ คุณธรรมเป้าหมายที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เช่น การพอประมาณ / การมีเหตุมีผลในการซื้อสิ่งของต่างๆ การท�ำบัญชีรายรับ – ราย จ่าย การเก็บออมและท�ำบัญชีเงินออม การใช้ทรัพยากรน�้ำ/ ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่า จิตสาธารณะ คือ คุณธรรมเป้าหมายที่ส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก เช่น ความมีน�้ำใจ ช่วยเหลือผู้อื่น เก็บขยะ/สิ่งที่วางไว้ไม่เป็นที่ การช่วยเหลือกัน ด้านการเรียน (นอกเวลา) เช่น การบริการ การให้ความรู้ หรือ การพัฒนาเรื่องความสะอาดของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน วัด ทั้งนี้ พบว่าตัวชี้วัดด้านคุณธรรมที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกของนักเรียน ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ เฉพาะของโรงเรียนแต่ละแห่งด้วย เพื่อให้เห็นภาพในแต่ละ โรงเรียน ผู้เขียนขอเสนอรายละเอียดเป็นรายโรงเรียนทั้ง 11 โรงเรียน ดังนี้

โรงเรียนราชบพิธ ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน คือ หนึ่งวัน ในราชบพิธกับวิถีชีวิตพอเพียง ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้าน ความพอเพียง โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) พอเพียง เรื่องอาหาร 2) พอเพียงเรื่องวินัย 3) พอเพียงเรื่องการเรียนการ สอน 4) พอเพียงเรื่องสะอาด 5) พอเพียงเรื่องการด�ำเนินชีวิต ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง ความเข้าใจในหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนวัดมหรรณพาราม ในพระราชูปถัมภ์ฯ ใช้รูป แบบการขับเคลื่อน คือ ครอบครัวอบอุ่น 18 ครอบครัว ภายใต้ คุณธรรมเป้าหมาย ด้านจิตอาสา โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) มีความเป็นผู้น�ำ 2) เป็นแบบอย่างที่ดี 3) มีความเสียสละ 4) มีน�้ำใจที่ก่อให้เกิดจิตอาสาขึ้นในโรงเรียนในเรื่องพี่น�ำน้อง พี่ สอนน้อง พี่ช่วยน้อง พี่ตามน้อง ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง ต้นแบบครอบครัวคุณธรรม โรงเรียนวัดมหาธาตุ ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน คือ อาสา สมัครนักออม (4อ) 1) ออมเพื่อตนเอง 2) ออมเพื่อครอบครัว 75

issue 104 september 2016


การดูแลทรัพย์สมบัติของส่วนรวม ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ใน เรื่อง การสะท้อนความคิด (Reflection) โรงเรียนวัดมกุฏกษัตริยาราม ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน การพัฒนาทักษะทางคิดแบบมีส่วนร่วม ภายใต้คุณธรรมเป้า หมาย ด้านความรับผิดชอบ โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) รับผิดชอบต่อตนเอง 2) รับผิดชอบต่อบุคคลอื่น 3) รับผิด ชอบต่อโรงเรียน 4) รับผิดชอบต่อชุมชน และสังคม ส่งผลให้ เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง ด้านมารยาท โรงเรียนวัดตรีทศเทพ ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน พี่น�ำ น้อง (พี่พาน้องท�ำ) ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้านความรับ ผิดชอบ โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) การท�ำงานด้วยจิต อาสา 2) ความมีน�้ำใจช่วยเหลือ 3) ตรงต่อเวลา 4) รู้บทบาท หน้าที่ ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง ด้านจิตอาสาพาธรรม โรงเรียนวัดใหม่อมตรส ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน คือ กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้านความรับผิดชอบ โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) รับ ผิดชอบในการอ่าน 2) รับผิดชอบในการออม 3) รับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อม 4) รับผิดชอบต่อวัฒนธรรมไทย ส่งผลให้เกิดองค์ ความรู้ในเรื่อง ด้านบทบาทหน้าที่ที่พึงกระท�ำ ผลที่ ไ ด้ จ ากการใช้ ส มุ ด บั น ทึ ก ความดี เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการติ ด ตามผลของโรงเรี ย นเป้ า หมาย 11 แห่ ง พบว่ า การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ของนั ก เรี ย นในสมุ ด บั น ทึ ก ความดี สามารถจ� ำ แนกพฤติ ก รรมบ่ ง ชี้ เ ชิ ง บวกที่ สอดคล้ อ งกั บ คุ ณ ธรรมอั ต ลั ก ษณ์ ข องทางโรงเรี ย น ที่ ส ่ ง เสริ ม ทั ก ษะชี วิ ต และยั ง สร้ า งสายสั ม พั น ธ์ อั น ดี แ ก่ นั ก เรี ย น ผู ้ ป กครอง ครู และผู ้ บ ริ ห ารสถาน ศึ ก ษา

3) ออมเพื่อสังคม 4) ออมเพื่อศาสนา ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้านความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิง บวก คือ 1) ซื่อตรงต่อตนเอง 2) รับผิดชอบต่อหน้าที่ 3) วินัยใน การออม ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง เป้าหมายชีวิต โรงเรียนวัดพระเชตุพน ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน คือ พี่สอนน้อง ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้านรับผิดชอบ โดยมี พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) การเป็นแบบอย่างที่ดี ดีทุกอย่าง ดีทุกที่ ดีทุกเวลา 2) มีวินัยต่อตนเอง ครอบครัว สังคม ส่งผลให้ เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง ภูมิปัญญาไทย โรงเรียนวัดสุทัศน์ ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน คือ บ้านสี คุณธรรม พี่น�ำน้องตาม ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้านรับผิด ชอบ โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ บนวิถีความเป็นไทยในด้าน 1) มีนิสัยรักการอ่าน 2) มีระเบียบ วินัยมีสัมมาคารวะ 3) มีศีล สติ สมาธิ 4) รักความสะอาด ลด การใช้พลังงาน ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง กระบวนการ พัฒนาสติ สมาธิ วิถีไทย วิถีพุทธ โรงเรียนวัดราชบูรณะ ใช้รูปแบบการขับเคลื่อน คือ กระบวนการกลุ่ม ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมไตร่ตรอง ภายใต้ คุณธรรมเป้าหมาย ด้านจิตสาธารณะ โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิง บวก คือ 1) ความเป็นระเบียบ 2) การรักษาความสะอาด 3)

โรงเรี ย นวั ด อิ น ทรวิ ห าร ใช้ รู ป แบบการขั บ เคลื่ อ น กระบวนการกลุ่ม/ทีม/ชั้น ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้าน ความพอเพียง โดยมีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) ตนเองพอ เพียง 2) โรงเรียนพอเพียง 3) ครอบครัวพอเพียง 4) ชุมชน/สังคม พอเพียง ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง การประหยัด อดออม โรงเรี ย นวั ดราชนั ดดา ใช้รูปแบบการขับเคลื่อนโดย ใช้ ระบบหน่วยสี ภายใต้คุณธรรมเป้าหมาย ด้านวินัย โดย มีพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คือ 1) วินัยต่อตนเอง 2) วินัยต่อ ครอบครัว 3) วินัยต่อโรงเรียน 4) วินัยต่อสังคม และชุมชน ส่งผลให้เกิดองค์ความรู้ในเรื่อง การประเมินคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ 76

IS AM ARE www.ariyaplus.com


หลั ง กิ จ กรรมซึ่ ง เป็ น ขั้ น ตอนหนึ่ ง ในการจั ด เก็ บ ความรู ้ ใ น กระบวนการของการด�ำเนินโครงการตามกิจกรรมหลัก เป็นการ ทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้น โดยใช้ค�ำถาม 5 ข้อ คือ ประทับใจอะไร รู้สึกอย่างไร เรียนรู้อะไร น�ำไปใช้อย่างไร ได้คุณธรรมอะไร ส่ง ผลให้กลุ่มเป้าหมายเปิดใจ ซื่อสัตย์ในการพูดคุย ทุกคนในทีมมี ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น มีการแสดงออกทางความคิด เห็นเพื่อใช้แก้ปัญหา เกิดการท�ำงานเป็นทีม มีกระบวนการหรือ วิธีในการน�ำความรู้ที่ได้จากกิจกรรมไปปรับใช้ในโรงเรียน เพื่อ ให้เกิดความต่อเนื่องของโครงการที่เน้นผลลัพธ์ของกิจกรรมซึ่ง เป็นกระบวนการที่ส�ำคัญในการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม เครื่ อ งมื อ ตั ว ที่ 2 ที่ น� ำ มาใช้ คื อ โครงงานคุ ณ ธรรม (Moral Project) เป็นกระบวนการทางปัญญาที่น�ำสภาพความ เป็นจริงในชีวิตประจ�ำวันมาเรียนรู้ผ่านการท�ำโครงงานหรือ เป็นการพัฒนาทักษะชีวิตด้วยวิธีคิดอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ โดย ใช้หลักปฏิบัติสองกระแส คือ เรื่องดีๆที่อยากท�ำ กับ ปัญหาซ�้ำๆ ที่อยากแก้ โดยทั้งสองหลักนี้เป็นการน�ำคุณธรรมเป้าหมายมาใช้ เป็นฐานในการเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางปัญญาเพื่อพัฒนา พฤติกรรมบ่งชี้ที่เป็นพฤติกรรมเชิงบวกเพิ่มขึ้น เป็นกระบวน การพัฒนาทักษะทางการคิดและทักษะชีวิตอย่างมีเป้าหมาย อีกทางหนึ่งด้วย เครื่องมือตัวที่ 3 ที่น�ำมาใช้คือ สมุดบันทึกความดีเป็น เครื่องมือในการก�ำกับติดตามกระบวนการพัฒนาพฤติกรรม บ่งชี้เชิงบวกของนักเรียน หรือการติดตามพัฒนาการของการ ท�ำความความดีของนักเรียน ในระยะยาว จากการสังเคราะห์

ถาม : ความยั่ ง ยื น ของโครงการโรงเรี ย น คุ ณ ธรรมในเขตกรุ ง เทพมหานคร อยู ่ ใ นระดั บ ไหน ตอบ : หัวใจของความยั่งยืนของโครงการโรงเรียน คุณธรรมในเขตพระนคร คือ ความสอดคล้อง ความสมดุล กับบริบท หรือ สภาพแวดล้อม โดยปัจจัยน�ำเข้าที่สนับสนุน ให้ โ ครงการบรรลุ เ ป้ า หมายของโครงการตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ตั้ ง ไว้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ที่ เ ป็ น ราย ละเอียดของผลผลิตที่ได้ในรายกิจกรรม การด�ำเนินการด้วย กระบวนการมีส่วนร่วมทุกระดับ เป็นตัวชี้วัดความก้าวหน้าและ ความต่อเนื่องของโครงการซึ่งเป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญที่ส่งเสริมให้ โครงการด�ำเนินงานส�ำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ นอกจากนี้ยังอาศัยการก�ำกับติดตามถึงผลลัพธ์ของโครงการที่ ได้ด�ำเนินการแล้ว คือ การใช้สมุดบันทึกความดีเป็นเครื่องมือ ในการก�ำกับติดตามผลโครงการในระยะยาวในการสร้างความ ยั่งยืนให้กับโครงการ ซึ่งเป้าหมายของการพัฒนาเป็นโรงเรียน คุณธรรม คือ การพัฒนาพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกของนักเรียน ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจ�ำวัน บริบทของการใช้ชีวิตที่ สมดุล ทั้งที่บ้าน และที่โรงเรียน ตลอดจนทุกๆที่ในสังคมของ นักเรียน ถาม : เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นกระบวนการขั บ เคลื่ อ นโครงการมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย งใด ตอบ : เครื่องมือตัวที่ 1 ที่น�ำมาใช้ในการจัดการ ความรู้ คือ AAR หรือ After Action Review คือ การทบทวน 77

issue 104 september 2016


ผลที่ได้จากการใช้สมุดบันทึกความดีเป็นเครื่องมือในการติดตาม ผลของโรงเรียนเป้าหมาย 11 แห่ง พบว่าการบันทึกข้อมูลของ นักเรียนในสมุดบันทึกความดี สามารถจ�ำแนกพฤติกรรมบ่งชี้ เชิงบวกที่สอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ของทางโรงเรียนที่ ส่งเสริมทักษะชีวิต และยังสร้างสายสัมพันธ์อันดีแก่นักเรียน ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารสถานศึกษา การอ่านสมุดบันทึก ความดี ข องครู เ ป็ น ขั้ น ตอนส� ำ คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นโรงเรี ย น คุณธรรมไปสู่ความส�ำเร็จ

ตามกระบวนการโรงเรียนคุณธรรม ประเด็นความแปลกใหม่ ของโครงการ แนวทางในการแก้ไข ใช้การจัดสัมมนาแบบมีส่วน ร่วมเพื่อชี้แจงข้อมูลให้ความรู้ และร่วมระดมความคิดเพื่อแลก เปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างคณะท�ำงานและผู้บริหาร ครู ของ โรงเรียนเป้าหมาย ประเด็นภาระงานของครู แนวทางในการ แก้ไข ใช้การจัดสัมมนาแบบมีส่วนร่วมเพื่อชี้แจงข้อมูลในการ ประยุกต์โครงการเข้าสู่การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ตามหลักการศึกษาของกรุงเทพมหานครเพื่อไม่เป็นการเพิ่ม ภาระงานให้กับครูแกนน�ำผู้รับผิดชอบ และยังเป็นการจัดการ เรียนการสอนที่สามารถใช้ในการตอบตัวชี้วัดของหน่วยงานต้น สังกัดได้

ถาม : จุ ด อ่ อ นและอุ ป สรรคของการด� ำ เนิ น มี อ ะไรบ้ า ง มี แ นวทางในการแก้ ไ ขอย่ า งไร ตอบ : จุดแข็ง Strengths (S) คือ ผู้บริหารโรงเรียน เห็นความส�ำคัญและให้ความร่วมมือ มีครูแกนน�ำ และนักเรียน แกนน� ำ ที่ เ ป็ น ต้ น แบบมี ค วามรู ้ ค วามสามารถในการด� ำ เนิ น โครงการ และถ่ายทอดความรู้ได้ และคณะท�ำงานในการขับ เคลื่อนที่เป็นวิทยากรเป็นคณะท�ำงานโครงการ มีกระบวนการ และขั้นตอนในการด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบ มุ่งผลส�ำเร็จของ โครงการ และมีระบบก�ำกับติดตามผลที่ต่อเนื่อง จุ ด อ่ อ น Weaknesses (W) คื อ ความใหม่ ข อง โครงการและภาระงานของครู ซึ่งต้องใช้กระบวนการเปิดใจ ที่จะเรียนรู้และสร้างความเข้าใจถึงตัวโครงการในการด�ำเนิน

การพั ฒ นาพฤติ ก รรมบ่ ง ชี้ เ ชิ ง บวกของนั ก เรี ย นให้ สอดคล้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ประจ� ำ วั น บริ บ ทของการใช้ ชี วิ ต ที่ ส มดุ ล ทั้ ง ที่ บ ้ า น และที่ โ รงเรี ย น ตลอดจน ทุ ก ๆที่ ใ นสั ง คมของนั ก เรี ย น โอกาส Opportunities (O) คือ เครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนที่มีความสัมพันธ์และร่วม มือกันเป็นอย่างดี หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับ โครงการที่เป็นส่วนสนับสนุนโครงการของโรงเรียน ความพร้อม ในการปรับเปลี่ยน การประยุกต์ใช้ความรู้ของโครงการสู่การ ปฏิบัติของผู้บริหารและครูแกนน�ำ และการส่งเสริมสนับสนุน โครงการของบริษัท เทเวศประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) ในการ ให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง อุ ป สรรคหรื อ ข้ อ จ� ำ กั ด Threats (T) คื อ สภาพ แวดล้ อ มของโรงเรี ย นที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตามสภาพทางสั ง คม และส่ ง ผลกระทบต่ อ การพั ฒ นาคุ ณ ธรรมของนั ก เรี ย น และ การก�ำกับติดตาม ตัวชี้วัดต่างๆ ของหน่วยงานต้นสังกัดที่ส่ง ผลให้มองว่าโครงการโรงเรียนคุณธรรมเป็นภาระงานเพิ่มของ ครู และผู้บริหาร ตลอดจนนโยบายเสริมที่เปลี่ยนแปลงเข้ามา ตลอดเวลา ถาม : ปั จ จั ย ที่ ส ่ ง ผลต่ อ ความส� ำ เร็ จ ของ โครงการมี อ ะไรบ้ า ง ตอบ : ปัจจัยส�ำคัญในการขับเคลื่อนโครงการสู่ความ ส�ำเร็จ 4 ปัจจัย ประกอบด้วย 1. การวางยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน ได้แก่ ยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาครู ยุทธศาสตร์ในการพัฒนานักเรียน ยุทธศาสตร์ ในการพั ฒ นาโรงเรี ย น ภายใต้ กิ จ กรรมหลั ก 11 กิ จ กรรม 78

IS AM ARE www.ariyaplus.com


ไปสู่การปฏิบัติควรมีความสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อจัดเก็บ ความรู้ที่ได้ในการสร้างวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศที่สามารถพัฒนาเป็น คู่มือในการด�ำเนินงานโรงเรียนคุณธรรมได้อย่างเป็นแบบแผน ในการใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานหรือการจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม หรือด้านอื่นๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ “ติดตาม” ก�ำกับติดตามอย่างมีแบบแผน เพื่อกระตุ้นการปฏิบัติในระยะยาว และจัดเก็บข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อสร้างฐานข้อมูลที่ใช้ในการด�ำเนินงาน หรือแก้ไขปัญหาที่ อาจจะเกิดขึ้นระหว่างกระบวนการก�ำกับติดตาม “ต่อยอด” ขยายผลความส�ำเร็จในการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมของเครือ ข่าย และเผยแพร่กระบวนการที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จสู่โรงเรียน อื่นที่มีบริบทใกล้เคียง หรือหน่วยงานที่สนใจการพัฒนาด้าน คุณธรรมจริยธรรมในหน่วยงาน “เติบโต” รักษาคุณภาพและ มาตรฐานของการปฏิบัติเพื่อสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมที่ กว้างขวางร่วมกันอย่างมีคุณภาพเพื่อพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สู่ความเป็นสากล ยังมีค�ำถามอีกมากมายที่รอค�ำตอบอยู่ แต่เท่าที่ผู้เขียน น�ำมาเสนอเพียงแค่ 5 ข้อนี้ อาจเป็นเพียงแค่การจุดประกาย ค�ำตอบที่อาจท�ำให้ท่านทั้งหลายพอจะมองเห็นภาพรวมของ กระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมของเขตพระนครทั้ง 11 แห่ง ในเบื้องต้นอยู่บ้าง ในที่นี้ถ้าท่านสนใจที่จะค้นหาค�ำอธิบาย เพิ่มเติม ท่านสามารถติดต่อไปยังส�ำนักงานเขตพระนคร หรือ ติดต่อไปที่โรงเรียนโดยตรง จะท�ำให้ท่านได้รับค�ำตอบและค�ำ อธิบายที่สามารถน�ำไปใช้ในกระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนของ ท่าน เพื่อยกระดับการเป็นโรงเรียนคุณธรรมได้จริง

กิ จ กรรมย่ อ ย 3 กิ จ กรรม เพื่ อ สร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจ กระบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรมร่วมกัน 2. การบริหารจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้ามามี ส่วนร่วมในกิจกรรม ด้วยกระบวนการทบทวนหลังกิจกรรม (After Action Review) ที่ใช้สะท้อนกิจกรรมหลักท�ำให้เกิด กระบวนการมี ส ่ ว นร่ ว มในการขั บ เคลื่ อ นโรงเรี ย นคุ ณ ธรรม และน�ำองค์ความรู้ที่ได้มาไปใช้ในการขับเคลื่อนคุณธรรมอัต ลักษณ์ของโรงเรียนร่วมกัน เช่น การก�ำหนดรูปแบบการขับ เคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม (Main Moral Model) ที่เหมาะสม กับบริบทของโรงเรียนโดยการประยุกต์ใช้แบบจ�ำลอง 9 ขั้น ตอน ประกอบด้วย 1) คุณธรรมต้นทุน 2) คุณธรรมเป้าหมาย 3) พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก 4) กิจกรรมส่งเสริมความดี 5) ทักษะ ชีวิตที่ได้จากกิจกรรมส่งเสริมความดี 6) เครื่องมือในการติดตาม (AAR/โครงงานคุณธรรม/สมุดบันทึกความดี) 7) การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่สังเกตได้ และผ่านการบันทึกในสมุดบันทึกความ ดี 8) องค์ความรู้ที่เกิดขึ้น 9) รูปแบบการขับเคลื่อนที่น�ำมาใช้ 3. เครื่ อ งมื อ ในการก� ำ กั บ ติ ด ตามพั ฒ นาการของการ ท�ำความดี (สมุดบันทึกความดี) ซึ่งนักเรียนส่วนมากบันทึกเรื่อง ราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเองภายในครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยมีพ่อ แม่ ญาติ พี่ น้อง เพื่อน คุณครู เป็น ภาพการสะท้อนความรู้สึกนึกคิดผ่านความดีท่ีได้ท�ำซึ่งสามารถ น�ำมาใช้ในการพัฒนาและส่งเสริมทักษะชีวิตได้ตรงกับบริบท ของนักเรียน 4. การก�ำกับติดตามในระยะยาว โดยใช้กระบวนการ (4ต) ที่ประกอบด้วย “ต่อเนื่อง” ผลลัพธ์ที่ได้ของโครงการน�ำ

79 issue 104 september 2016


Round About

ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปิ ดงานสัมมนา ประชารัฐร่วมใจชุ มชนไทยไร้ความรุ นแรง

ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เปิดงานสัมมนา ประชารัฐร่วมใจชุมชนไทยไร้ความรุนแรง เพื่อ เป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กสตรีและความรุนแรงในครอบครัว นายไมตรี อินทุสุต ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธาน เปิดการสัมมนา”ประชารัฐ ร่วมใจชุมชนไทยไร้ความรุนแรง” เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กสตรีและความรุนแรงในครอบครัว ซึ่งเป็น นโยบายเร่งด่วน ที่ต้องเร่งแก้ไข โดยภายในงานนิทรรศการความส�ำเร็จการพัฒนาศักยภาพสตรี การจ�ำลองบรรยากาศการเรียนรู้ ในศูนย์การเรียนรู้การพัฒนาสตรี และครอบครัวภาคกลางจังหวัดนนทบุรี นิทรรศการด�ำเนินงานของการรถไฟแห่งประเทศไทย ซึ่ง ทั้งหมดเป็นการน�ำเสนอผลงานเพื่อพัฒนาศักยภาพสตรีให้สตรีไทยสามารถดูแลตนเองและครอบครัวได้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ไม่ตกเป็นผู้ถูกกระท�ำ นอกจากนี้ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้ปล่อยขบวนรถไฟสายประชารัฐ ที่สถานีรถไฟ หัวล�ำโพง ซึ่งมีทั้งสื่อมวลชนและผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงฯร่วมเดินทาง ในกิจกรรมแรลลี่สื่อมวลชน ไปที่สถานีรถไฟอ�ำเภอ โพธาราม จังหวัดราชบุรี เพื่อร่วมเสวนา “ชุมชนร่วมใจขจัดภัยความรุนแรง” โดยขบวนรถไฟสายประชารัฐในวันนี้แสดงถึง สัญลักษณ์ของการแก้ปัญหาและการส่งต่อความร่วมมือการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ต่อเด็กสตรีและความรุนแรงในครอบครัวไป ยังภูมิภาคต่างๆทั่วประเทศ 80 IS AM ARE www.ariyaplus.com


TRS 99.5 มุ่งมั่นยกระดับวิชาชี พแท็กซี่ เพื่อสังคม จัดโครงการ “แท็กซี่ ไทยหัวใจอินเตอร์ ปี ที่ 6

สถานีวิทยุ TRS 99.5 สานต่อเจตนารมณ์คืนแท็กซี่คนดีสู่สังคม ผ่านโครงการ “แท็กซี่ไทยหัวใจอินเตอร์” เผยผลงาน 5 ปี สร้างเทรนด์ใหม่ของแท็กซี่ไทยหัวใจบริการ เปิดพื้นที่ส่งเสริม และสร้างความเข้มแข็งในการท�ำความดีของเครือข่ายแท็กซี่จิตอาสา เพื่อสังคมไทย ตั้งเป้าหมายสิ้นปี 2559 จะมีเครือข่ายแท็กซี่ และผู้ฟังรายการของทางสถานีฯ มีส่วนร่วมกันท�ำความดีมากกว่าหนึ่ง ล้านความช่วยเหลือ นายนันทพร สูยะศุนานนท์ ผู้จัดการสถานีวิทยุ TRS 99.5 เปิดเผยว่า “โครงการแท็กซี่ไทย หัวใจอินเตอร์” เกิดขึ้นภาย ใต้การสนับสนุนของสถานีวิทยุ TRS 99.5 ซึ่งในปีนี้ได้ก้าวสู่การด�ำเนินงานปีที่ 6 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อพัฒนาคุณภาพ และ มาตรฐานการบริการของผู้ขับขี่รถแท็กซี่ สู่การขยายผลสร้างกลุ่มเครือข่ายในการท�ำความดีเพื่อสังคมให้เข้มแข็ง และช่วยสร้าง ทัศนคติที่ดีให้กับผู้รับบริการรถแท็กซี่ โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยว ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจมอบความช่วยเหลือ และแบ่งปันน�้ำใจ สู่สังคม ภายใต้สโลแกน สังคมไทย “ด้วยใจ” แบ่งปัน “ด้วยความตระหนักดีว่าเราเป็นหน่วยงานหนึ่งของสังคมไทย ที่มีหน้าที่ต้องร่วมรับผิดชอบสร้างสรรค์สังคมนี้ให้น่า อยู่ในแนวทางที่เราสามารถจะท�ำได้เพื่อประโยชน์สุขของคนในสังคม TRS 99.5 มองเห็นถึงความส�ำคัญของกลุ่มคนขับขี่รถ แท็กซี่ ซึ่งเป็นวิชาชีพหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของผู้คนจ�ำนวนมากโดยเฉพาะสังคมเมือง รวมถึงปัญหาต่างๆ มากมายเกี่ยว กับการใช้บริการแท็กซี่ จึงได้ริเริ่มโครงการฝึกอบรมพัฒนาวิชาชีพขับขี่รถแท็กซี่ขึ้นมา เพื่อเปิดพื้นที่ และให้โอกาสกับกลุ่ม คนในอาชีพนี้ได้มีช่องทางพัฒนาตัวเอง และสะท้อนความตั้งใจดีของพวกเขา ทั้งในด้านการให้บริการและช่วยเหลือสังคม” ปัจจุบันมีสมาชิกขับขี่รถแท็กซี่ผ่านการอบรมแล้ว 5 รุ่น รวม 1,400 คน และยังเป็นจุดเล็กๆ ที่ก่อให้เกิดกระแส แท็กซี่จิตอาสา นอกจากนี้ยังมีผลงานของเครือข่ายแท็กซี่และผู้ฟังรายการของทางสถานีฯ ที่มีส่วนร่วมท�ำความดีให้สังคมมากกว่า 900,000 เรื่องในรอบ 6 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2554-พ.ศ. 2559) ทั้งเรื่องเก็บทรัพย์สินคืนเจ้าของ การช่วยเหลือการเดินทางแก่ผู้พิการ คนชรา หรือพระภิกษุโดยไม่คิดเงิน การช่วยเหลือยานพาหนะที่เสียหรือประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน เป็นต้น ทั้งนี้ทางสถานีฯ ตั้ง เป้าหมายว่าสิ้นปี 2559 จะมีเครือข่ายแท็กซี่และผู้ฟังรายการของทางสถานีฯ ที่มีส่วนร่วมท�ำความดีร่วมกันมากกว่า 1,000,000 ความช่วยเหลือ ส�ำหรับโครงการแท็กซี่ไทยหัวใจอินเตอร์ปีนี้ จะท�ำการฝึกอบรมสมาชิกแท็กซี่รุ่นใหม่จ�ำนวน 200 คน แบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 หัวข้อ ประกอบด้วย เรียนรู้งาน หัวใจของความส�ำเร็จ / บริการด้วยใจ น�ำมาซึ่งความสุข / “พูดได้ดี” ก่อเกิดมิตรภาพ / “มี รอยยิ้ม” ประทับใจไม่ลืม ในวันที่ 23 สิงหาคม 2559 ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพ โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรชั้นน�ำ ได้แก่ อาจารย์สุรวงศ์ วัฒนกูล, อาจารย์อภิชาติ ด�ำดี และกุลนัดดา ปัจฉิมสวัสดิ์ (นิน่า) 81 issue 104 september 2016


82 IS AM ARE www.ariyaplus.com


ขอขอบคุณผู้ใหญ่ใจดี บริษัท เซ็ปเป้ จ�ำกัด (มหาชน) มู ล นิ ธิ ค รอบครั ว พอเพี ย ง ขอขอบคุ ณ บริ ษั ท เซ็ ป เป้ จ� ำ กั ด (มหาชน) ที่ ไ ด้ ม อบเครื่ อ งดื่ ม เซ็ ป เป้ บิ ว ติ ดริ้ ง ค์ และ เซ็ ป เป้ ฟอร์ วั น เดย์ ที่ ใ ห้ น ้ อ งเยาวชนครอบครั ว พอเพี ย งได้ ด่ื ม ในกิ จ กรรมเดิ น เทิ ด พระเกี ย รติ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๑๒ สิ ง หาคม ๒๕๕๙ จากโรงเรี ย นทวี ธ าภิ เ ศก ถึ ง หอประชุ ม กองทั พ เรื อ และน้ อ งๆ ที่ ร ่ ว มกั น เดิ น เทิ ด พระเกี ย รติ ฯ ในครั้ ง นี้ พู ด เป็ น เสี ย งเดี ย วกั น ว่ า ชอบเครื่ อ งดื่ ม เซ็ ป เป้ ม าก 83 issue 104 september 2016


นิตยสาร IS AM ARE ครอบครัวพอเพียง พร้อมเสริพ์ให้ทุกท่านได้อ่านแล้ว!! เพี ย งแค่ ค ลิ ก เข้ า ไปที่ www.fosef.org ท่ า นก็ ส ามารถอ่ า นนิ ต ยสาร IS AM ARE ครอบครั ว พอเพี ย ง ได้ โ ดยไม่ มี ค ่ า ใช้ จ ่ า ย เรื่ อ งราว สาระดี ๆ มากมายรอท่ า นอยู ่ หากอ่ า นแล้ ว ถู ก ใจอย่ า ลื ม บอกต่ อ นะครั บ 84 IS AM ARE www.ariyaplus.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.