ผลงานวิจัยเรื่องเต็ม : FULL PAPER
The 14th National Plant Protection Conference วันที่ 12 -14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ณ โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ : 0 2561 5431 โทรสาร : 0 2561 5334 เบอร์มือถือ : 09 7234 1571 Website : www.ppc14th.com Line ID : tcpa2019 E–mail : plantprotection1462@gmail.com
การประชุมวิชาการ อารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 14 THE 14th NATIONAL PLANT PROTECTION CONFERENCE
“เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย” “Precision Agriculture Approaches to Thai Farming”
ผลงานวิจัยเรื่องเต็ม FULL PAPER จัดทาโดย สมาคมอารักขาพืชไทย สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย สมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย สมาคมคนไทยธุรกิจเกษตร
12 - 14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
สารบัญ CONTENTS ภาคบรรยาย ORAL PRESENTATION ลาดับ
เรื่อง
OEB-01
ความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสื้อหนอนกระทู้ สกุล Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae) ชนิดที่มีความสาคัญทาง เศรษฐกิจในประเทศไทย
หน้า 1
อาทิตย์ รักกสิกร สุนัดดา เชาวลิต ดนัย ชัยเรือนแก้ว อนุสรณ์ พงษ์มี กัลยา บุญสง่า และ จินตนา ไชยวงค์
The Morphological Differences Between Economically Important Species of Armyworm Moths, Genus Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae), in Thailand Artit Rukkasikorn Sunadda Chaovalit Danai Chaireunkaew Anusorn Pongmee Kunlayaa Boonsanga and Jintana Chaiwong
OEB-02
การจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ศัตรูพืชในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) ในประเทศไทยด้วยลักษณะทาง พันธุกรรม
16
ยุวรินทร์ บุญทบ ณัฏฐิมา โฆษิตเจริญกุล ชมัยพร บัวมาศ และ จารุวัตถ์ แต้กุล
Molecular Identification of Pest Species in Oriental Fruit Fly, Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) Species Complex in Thailand Yuvarin Boontop Nutthima Kositcharoenkul Chamaiporn Buamas and Charuwat taekul
OEB-03
การศึกษาความเป็นพืชอาศัย: การเข้าทาลายของแมลงวันทองในแก้วมังกรเนื้อ แดง
30
ปวีณา บูชาเทียน วลัยกร รัตนเดชากุล รัชฎา อินทรกาแหง ศิรพิ ร คงทวี อนัญญา นุชเขียว และ สลักจิต พานคา
Host Status: Infestability of Red Dragon Fruit by Oriental Fruit fly, Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) Paweena Buchatian Walaikorn Rattanadechakul Ratchada Intarakumheng Siriporn Khongthawie Ananya Nuchkeaw and Saluckjit phankum
OEB-04
ศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าตัวห้าสตีธอรัส Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae) อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล อิทธิพล บรรณาการ พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์
Study on Suitable Spider Mites for Mass Rearing of Acarophagous Lady Beetles, Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae)
41
Atcharabhorn Prasoetphon Ittipon Bannakan Pichate chaowattanawong Ploychompoo Konvipasruang Athitiya Kaewpradit and Naphacharakorn Ta-Phaisach
OEB-05
ชีววิทยาและศักยภาพของไรตัวห้า Amblyseius swirski (Athias-Henriot) ในการกาจัดเพลี้ยไฟในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนทดลอง
51
อทิติยา แก้วประดิษฐ์ พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล วิมลวรรณ โชติวงศ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์
Biological and Potential as a Bio-agent of Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) for Controlling Thrips spp. in Laboratory and Greenhouse Athitiya Kaewpradit Pichate Choawattanawong Ploychompoo Kornvipasruang Atcharabhorn Prasoetphon Wimolwan Chotwong and Naphacharakorn Ta-Phaisach
OEB-06
อนุกรมวิธานและเขตการแพร่กระจายแมงมุมแม่มา่ ยในประเทศไทย
63
วิมลวรรณ โชติวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์
Taxonomic and Distribution of Widow Spider Genus Latrodectus in Thailand Wimolwan Chotwong Ploychompoo Konvipasruang Atcharabhorn Prasoetphon Athitiya Kaewpradit and Naphacharakorn Taphaisach
OEB-07
ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ต่าง ๆ ในการป้องกันกาจัด เพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย
78
ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น
Efficacy of Various Insecticides from Different Mode of Action for Controlling Melon Thrips (Thrips palmi Karny) in Dendrobium Orchids Srijumnun Srijuntra Suprada Sukonthabhirom na Pattalung and Somsak Siriphontangmun
OEB-08
รูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์เพื่อป้องกัน กาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย
94
ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น
Rotation Spraying Pattern for Insecticides with Different Mode of Action for Controlling Melon Thrips (Thrips palmi Karny) in Dendrobium Srijumnun Srijuntra Suprada Sukonthabhirom na Pattalung and Somsak Siriphontangmun
OEB-09
การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟ เมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่ทาลายกล้วยไม้ในห้องปฏิบัติการ สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น
Efficacy Testing of Various Insecticides on Mortality of Melon
108
Thrips (Thrips palmi Karny) Damaging Orchids in Laboratory Suprada Sukonthabhirom na Pattalung Srijumnun Srijuntra and Somsak Siripontangmun
OEB-10
ความเป็นพิษของอีโคฟูมที่มีต่อด้วงถั่วเขียว Callosobruchus maculatus F. และด้วงถั่วเหลือง Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera)
123
สิรีธร โพธิกัน ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ รังสิมา เก่งการพานิช และ อธิราช หนูสีดา
Toxicity of ECO2FUME® against Callosobruchus maculatus F. and Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera) Siritorn Potikan Dungsamorn Suthisut Rungsima Kengkanpanich and Atirach Noosidum
OEB-11
การศึกษาศักยภาพการก่อโรคในหนูศัตรูพืชและการเพิม่ ปริมาณของค็อคซิเดีย โปรโตซัวในลาไส้ (Apicomplexa: Eimeriidae) จากหนูศัตรูพืชสกุล Rattus และ Mus ที่พบในประเทศไทย
132
วิชาญ วรรธนะไกวัล ปราสาททอง พรหมเกิด สมเกียรติ กล้าแข็ง และ ทรงทัพ แก้วตา
Pathology and Oocysts Propogation in Rats of Enteric Coccidia Protozoa (Apicomplexa: Eimeriidae) from Rattus spp. and Mus spp. in Thailand Vichan Watthanakaiwan Prasartong Promkerd Somkiat Klakaeng and Songtap Kaewta
OEA-01
การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก สาหรับการป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก
152
กรกต ดารักษ์ สัญญาณี ศรีคชา และ วิภาดา ปลอดครบุรี
The Study of Poison Protein Bait Trap Spacing for Controlling Fruit Fly (Bactrocera latifrons (Hendel)) in Chili Plantations Korrakot Damrak Sunyanee Srikachar and Wipada Plodkornburee
OEA-02
ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงวันผลไม้
162
ปิยธิดา สนิท และ จุรีมาศ วังคีรี
Efficiency of Entomopathogenic Fungi to Control Fruit Fly Piyatida Sanit and Jureemart Wangkeeree
OEA-03
ผลของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงต่ออัตราการตาย และการแพร่กระจายตัวใน ประชากรแมลงวันผลไม้
173
กมลรัตน์ สุวรรณไชศรี และ จุรีมาศ วังคีรี
Effect of Entomopathogenic Fungi on Surviving and its Transmission in Fruit Fly Kamonrat Suwanchaisri and Jureemart Wangkeeree
OEA-04
การเปลี่ยนแปลงการระบาดของแมลงดาหนามมะพร้าวในเกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี วลัยพร ศะศิประภา และ ยิ่งนิยม ริยาพันธ์
183
Coconut Hispine Beetle Infestation Change in Samui Island, Suratthani Province Walaiporn Sasiprapa and Yingniyom Riyaphan
OEA-05
การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้า ต้นเพื่อป้องกันกาจัดหนอนหัวดาในมะพร้าวน้าหอมและมะพร้าวน้าตาล
194
พิเชฐ เชาวน์วฒ ั นวงศ์ พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท นลินา ไชยสิงห์ สุชาดา สุพรศิลป์ วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร ลมัย ชูเกียรติวัฒนา วาเลนไทน์ เจือสกุล ชนิตา ทองแซม วีระสิงห์ แสงวรรณ วิชุตา ควรหัตร์ และ สุวัฒน์ พูลพาน
Efficacy and Residues of Insecticides Used in Truck Injection for Controlling Coconut Black-headed Caterpillar Opisina arenosella Walker in Aromatic Coconut and Sugar Coconut Pichate chaowattanawong Pruetthichat Punyawattoe Nalina Chaiyasing Suchada Supornsin Woravit Sutjaritthammajariyankun Lamai Chukiatwattana Valentine Juersakul Chanida Thongsam Verasing Sangwan Vichuta Kuanhat and Suwat Poonpan
OEA-06
ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลีย้ ไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ทาลายมะม่วงในแหล่งปลูกสาคัญ
211
สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น
Effect of Various Insecticides on Mortality of Chili Thrips (Scirtothrips dorsalis Hood) damaging Mangoes in Major Planting Areas Suprada Sukonthabhirom na Pattalung Srijumnun Srijuntra and Somsak Siripontangmun
OEA-07
การพ่นสารโดยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) ในการป้องกันกาจัดหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797))
224
พิเชฐ เชาวน์วัฒนาวงศ์ พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท นลินา ไชยสิงห์ สุชาดา สุพรศิลป์ และ วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร
Aerial Spray Technique by The Unmanned Aerial Vehicle (UAV) for Controlling Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) Pichate chaowattanawong Pruetthichat Punyawattoe Nalina Chaiyasing Suchada Supornsin and Woravit Sutjaritthammajariyankun
OEA-08
ออกแบบและพัฒนาคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย (air-assisted boom sprayer) ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าว; Stenchaetothrips biformis ในนาข้าว ยุทธนา เครือหาญชาญพงค์ พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท พักตร์วิภา สุทธิวารี พงษ์ศักดิ์ ต่ายก้อนทอง นิรุติ บุญญา วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร สุภางคนา ถิรวุธ สุชาดา สุพรศิลป์ นลินา ไชยสิงห์ อัคคพล เสนาณางค์
A Design and Development of an Air-Assisted Boom Sprayer for Controlling Rice Thrips; Stenchaetothrips biformis, in Paddy
237
Fields Yuttana Khaehanchanpong Pruetthichat Punyawattoe Phakwipa Suttiwaree Pongsak Taikonthong Nirut Boonya Woravit Sutjaritthammajaraiyangkun Supangkana Thirawut Suchada Supornsin Nalina Chaiyasing and Akkapol Senanarong
OPB-02
การศึกษาโปรติโอมิคส์ของมันสาปะหลังพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่าง มันสาปะหลัง
253
สุกัญญา ฤกษ์วรรณ สิทธิรักษ์ รอยตระกูล นวลนภา เหมเนียม กิ่งกาญจน์ เสาร์คา ศิริกาญจน์ หรรษาวัฒนกุล จุฑาทิพย์ ถวิลอาพันธ์ และ วันวิสา ศิริวรรณ์
Proteomic of Resistant and Susceptible Cassava Varieties to Cassava Mosaic Disease Sukanya Roekwan Sittiruk Roytrakul Nuannapa Hemniam Kingkan Saokham Sirikan Hunsawattanakul Jutathip Thawinampan and Wanwisa Siriwan
OPB-04
เชื้อ Phytophthora palmivora จากแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญในประเทศ ไทยมีความต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราในอัตราสูง
264
อุมาพร ศิริวัฒนกุล สุภาวดี เพชรขจร และ วิษุวัต สงนวล
High Rates of Fungicide Resistance Found in Phytophthora palmivora Isolated from Major Durian Cultivation Areas in Thailand Umaporn Siriwattanakul Supawadee Phetkhajone and Wisuwat Songnuan
OPB-05
ประสิทธิภาพของน้าหมักเปลือกมังคุดต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคใบติดในทุเรียน
277
สุกัญญา บุญยงค์ และ มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม
Efficacy of Mangosteen Pericarp Bio-Extract on Rhizoctonia solani Causing Leaf Blight Disease of Durian Sukanya Boonyong and Maneerat Koohapitagtam
OPB-06
ฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียของ Zinc Oxide Nanoparticles ในการยับยั้ง Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองของ คะน้า
286
ศุภิสรา ศรีโพธิ์งาม สุพจน์ กาเซ็ม และ ติยากร ฉัตรนภารัตน์
Antibacterial Effect of Zinc Oxide Nanoparticles on Xanthomonas campestris pv. campestris, Cause of Black Rot of Chinese Kale Supisara Sripo-ngam Supot Kasem and Tiyakhon Chatnaparat
OPA-01
ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และควบคุมโรคสาคัญของคะน้า พินิจ รื่นชาญ ปริยานุช จุลกะ อรอุมา เพียซ้าย และ สุพจน์ กาเซ็ม
Efficacy of Salt Tolerant Bacterial Strains for Plant Growth Promotion and Controlling Important Diseases of Chinese Kale Pinit Reunchan Pariyanuj Chulka Onuma Piasai and Supot Kasem
298
OPA-03
การควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการในพื้นที่ปลูกอ้อย บริษัท น้าตาลมิตรลาว จากัด (สปป.ลาว)
311
พีรญา กลมสอาด มานุวัตร ตินตะรสาละ ณ ราขสีมา เริ่มพงษ์ คลังภูเขียว วรินทร จารย์คูณ วิฑูรย์ บุญเกิด ยิ่งยศ ตันสมรส ประพัฒน์ พันปี ปรัขญา สว่างมณีเจริญ สิริวรรณ โคตรโสภา และ Laurent Soulard
Integration Control of White Leaf Disease in Sugarcane Area of Mitr Lao Co., Ltd. Peeraya Klomsa-ard Manuwat Tintarasara na ratchaseema Rermpong Clangpukeao Varinthon Jarnkoon Witoon Boonkerd Yingyos Tonsomros Prapat Punpee Pratchya Swangmaneecharern Siriwan Kodsopa and Laurent Soulard
OWB-01
ชีววิทยาของ Asystasia gangetica (L.) T. Anderson วัชพืชที่สาคัญของ ประเทศไทย
321
จรัญญา ปิ่นสุภา วิไล อินทรเจริญสุข อุษณีย์ จินดากุล เทอดพงษ์ มหาวงศ์ ธัญชนก จงรักไทย และ เอกรัตน์ ธนูทอง
Biology of Asystasia gangetica (L.) T. Anderson the Important Weed of Thailand Jarunya Pinsupa Vilai Intarajaroensuk Aussanee Chindakul Terdphong Mahawong Tanchanok Jongrukthai and Akekart Tanutong
OWB-02
ผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอนต่อข้าวโพดลูกผสมก่อนการค้าและสายพันธุ์แท้ สดใส ช่างสลัก สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์ สาราญ ศรีชมพร ประกายรัตน์ โภคคาเดช สรรเสริญ จาปาทอง และ รังสิต สุวรรณมรรคา Effect of Nicosulfuron to Pre-commercial Field Corn Hybrids and Inbred Lines
334
Sodsai Changsaluk Sarawut Rungmekharat Samran Srichompom Prakayrat Phocadate Sunsem Jampathong and Rungsit Suwanmonkha
OWA-01
การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานในไร่อ้อย
347
ปรัชญา เอกฐิน ยุรวรรณ อนันตนมณี และ จรรยา มณีโชติ
Integrated Weeds Management in Sugarcane Pruchya Ekkathin Yurawan Anantanamanee and Chanya Maneechote
OWA-02
การเปรียบเทียบผลกระทบของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีต่อการ เจริญเติบโตและความเสียหายของข้าวโพดหวาน
358
ไพรวรรณ กิตติสุขประเสริฐ กนต์ธร พรหมวงศนันท์ และ อภิรัฐ บัณฑิต
Comparison of PRE Herbicides Effect on the Growth and Crop Injury of Sweet Corn Praiwan Kittisukprasrert Konthorn Phromwongnan and Apirat Bundit
OWA-03
ประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารกาจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อน วัชพืชงอกเพื่อกาจัดวัชพืชในสวนมะม่วง ภัทร์พิชชา รุจิระพงศ์ชัย และ คมสัน นครศรี
Efficacy of Glyphosate and Pre-emergence Herbicides Tank
367
Mixed for Broad Spectrum Weed Control in Mangoes Plantation Phatphitcha Rujirapongchai and Komson Nakonsri
OWA-04
ผลของการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟในข้าวนาหว่านน้าตม ที่มีผลต่อหญ้าข้าวนก
379
ยุรวรรณ อนันตนมณี ธีรทัย บุญญะปะภา และ ปรัชญา เอกฐิน
Efficacy of Herbicide and Insecticide Mixture for Control Echinochloa crus-galli (L.) T. Beauv. Yurawan Anantanamanee Teerathai Boonyaphapa and Pruchya Ekkathin
OWA-05
เครื่องกาจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสาหรับมันสาปะหลัง วุฒิพล จันทร์สระคู วรรธนะ สมนึก ศักดิ์ชัย อาษาวัง มงคล ตุ่นเฮ้า อนุชิต ฉ่าสิงห์ โสภิตา สมคิด สุพัตรา ชาวกงจักร์
Mechanical Weeder and Fertilizer Attached Walking Tractor for Cassava Wuttiphol Chansrakoo Wantana Somnuk Sakchai Arsawang Mongkol Thunhaw Anuchit Chamsing Sopita Somkid and Supattra Chawkongjuk
391
ภาคแผ่นภาพ POSTER PRESENTATION ลาดับ
เรื่อง
หน้า
PEB-01
การศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (Diptera: Tephritidae) ร่วมกับการใช้เทคนิค Morphometrics ในตัวเต็มวัย
402
ยุวรินทร์ บุญทบ ชมัยพร บัวมาศ เกศสุดา สนสิริ จอมสุรางค์ ดวงธิสาร และ สิทธิสิโรดม แก้วสวัสดิ์
Taxonomy of Fruit Fly Larvae in Tribe Dacini (Diptera: Tephritidae) and Using Morphometrics Technique in Adults Yuvarin Boontop Chamaiporn Buamas Kessuda Sonsiri Jomsurang Duangthisan and Sitisarodom Kaewsawat
PEB-02
อนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง (Hemiptera: Cicadellidae) ในประเทศไทย
418
เกศสุดา สนศิริ จารุวัตถ์ แต้กุล ยุวรินทร์ บุญทบ สุนัดดา เชาวลิต ชมัยพร บัวมาศ และ อิทธิพล บรรณาการ
Taxonomy of Mango Leafhoppers (Hemiptera: Cicadellidae) in Thailand Kessuda Sonsiri Charuwat Taekul Yuwarin Boontop Sunadda Chaowalit Chamaiporn Buamas and Ittipon Bannakan
PEB-03
ความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูก กะหล่าปลีระหว่างการใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานและการใช้สารเคมี กาจัดแมลง
434
วรนาฏ โคกเย็น เบญจคุณ แสงทองพราว และ จารุวัฒน์ เถาธรรมพิทักษ์
Diversity of Insect Pests and Natural Enemy Insects in Cabbage Crops between Integrated Pest Management and Insecticide Uses Woranad Khokyen Banjakhun Sangtongproaw and Jaruwat Thowthampitak
PEB-04
ความหลากชนิดของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุตในพื้ นที่ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
446
สรายุทธ ปิตตาระเต รัตนาภรณ์ หมายหมั้น และ พัชรินทร์ ครุฑเมือง
Species Diversity of Fruit fly in Kiwifruit Orchard in The Royal Agricultural Station Inthanon, Chiang Mai Province Sarayut Pittarate Rattanaporn Maimun and Patcharin Krutmuang
PEB-05
การประยุกต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการจาแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium spp. ทีเ่ ป็นศัตรูพืชกักกันแบบรวดเร็ว นพรัตน์ บัวหอม ชลธิชา รักใคร่ ชนินทร ดวงสอาด ช่อทิพย์ ศัลยพงษ์ อิทธิพล บรรณการ และ มนตรี ธนรส
Rapid Identification of Quarantine Pest Species of Genus Tribolium spp. Based on DNA barcoding Nopparat Buahom Chonticha Rakkrai Chanintorn Doungsa – ard Chortip Salyapongse Ittipon Bannakan and Montri Tanaros
459
PEB-06
ชีววิทยาและผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ Chartocerus hyalipennis และ Prochiloneurus insolitus ต่อแตนเบียน Anagyrus lopezi
478
เสาวลักษณ์ แก้วเทวี เบญจคุณ แสงทองพราว และ อัญชนา ท่านเจริญ
Biology and Effect of Hyperparasitoids, Chartocerus hyalipennis and Prochiloneurus insolitus on Parasitoid, Anagyrus lopezi Saowaluck Kaewtawee Banjakhun Sangtongpraow and Anchana Thancharoen
PEB-07
การตรวจสอบเอกลักษณ์ของกลุ่มสารที่มีฤทธิ์ในการควบคุมแมลงในสารสกัด บัวตองด้วยเทคนิคทีแอลซีสมรรถนะสูง
491
พจนีย์ หน่อฝัน้ ณัฐพร ฉันทศักดา ธนิตา ค่าอานวย ศิริพร สอนท่าโก และ ธิติยาภรณ์ อุดมศิลป์
High-performance Thin-layer Chromatography (HPTLC) Screening for Insecticidal Compounds of Extracts from Tithonia diversifolia Poachanee Norfun Nattaporn Chanthasakda Thanita Kham-amnouy Siriporn Sornthako and Thitiyaporn Udomsilp
PEB-08
การประเมินความหลากหลายของสัตว์ขาข้อที่ลงใช้พืช 4 ชนิดในสกุล Passiflora
502
ชิษณุพงศ์ พานเทียน และ ชัชวาล ใจซื่อกุล
Utilization Assessment of Arthropod Diversity on 4 Plants in Genus Passiflora Chitsanuphong Phanthian and Chatchawan Chaisuekul
PEB-09
ฤทธิ์สัมผัสตายของสารสกัดยาสูบ (Nicotiana tabacum Linnaeus) ต่อไร แมงมุมสองจุด (Tetranychus urticae Koch)
518
พัชรินทร์ สารฤทธิ์ วสันต์ ตฤณธวัช และ วนิดา อ่วมเจริญ
Contact Toxicity Activity of Tobacco Extract (Nicotiana tobacum Linnaeus) on Two-Spotted Spider Mite (Tetranychus urticae Koch) Patcharin Sararit Wasan Trintawat and Wanida Auamcharoen
PEB-10
ประสิทธิภาพของ Steinernema carpocapsae (Weiser) ที่มีต่อหนอน กระทู้ข้าวโพดลายจุด, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) ลัทธพล เหมือนตา นิยาภรณ์ ขวัญเกตุ รัตนาวดี อ่อนวงษ์ พิสิฐ อานาจนิยมจันทร์ พลช หนูเส็ง และ อธิราช หนูสีดา
Efficacy of Steinernema carpocapsae (Weiser) against the fall armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) Ratapol Muanta Niyaporn Khwanket Rattanawadee Onwong Pisit Amnatniyomjan Phalot Nooseng and Atirach Noosidum
533
PEB-11
ประสิทธิภาพของสารรมอีโคฟูม (ECO2FUME) ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยแป้ง มังคุด (Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae))
542
ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ รังสิมา เก่งการพานิช ภาวินี หนูชนะภัย พณัญญา พบสุข และ ศรุตา สิทธิไชยกุล
Efficiency of ECO2FUME to Control Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae)) Duangsamorn Suthisut Rungsima Kengkanpanich Pavinee Noochanapai Pananya Pobsuk and Saruta Sittichaiyakul
PEB-12
การติดตามการระบาดของแมลงดาหนาม และแนวโน้มการทาความเสียหายต่อ ผลผลิตข้าวจังหวัดสุพรรณบุรี
551
จินตนา ไชยวงค์ พลอยไพลิน ธนิกกุล ปกรณ์ เผ่าธีระศานต์ และ ธนดล ไกรรักษ์
Outbreak Surveillance of Rice Hispa and a Tendency of Causing Rice Crop Losses Jintana Chaiwong Ploypirin Thanikkul Pakorn Paoteerasarn and Tanadol Kairak
PEB-13
นกศัตรูข้าวและการประเมินความเสียหายในนาข้าว จังหวัดเชียงราย
561
ทัสดาว เกตุเนตร อุรัสยาน์ ขวัญเรือน ฉัตรชัย บุญแน่น และ ชนาธิป สุธงษา
Bird Pest Species and Damage Assessment in Chiang Rai Province’s Rice Fields Thasdaw Katenate Urassaya Kuanruen Chatchai Boonnan and Chanathip Suthongsa
PEA-01
อิทธิพลของทิศทางลมต่อการแพร่ระบาดของโรคใบด่างมันสาปะหลังโดยแมลง หวี่ขาว
571
กิ่งกาญจน์ เสาร์คา ชัยโรจน์ ใหญ่ประเสริฐ นวลนภา เหมเนียม สุกัญญา ฤกษ์วรรณ ศิริกาญจน์ หรรษาวัฒนกุล จุฑาทิพย์ ถวิลอาพันธ์ และ วันวิสา ศิริวรรณ์
Influence of Wind Direction to Cassava Mosaic Disease Outbreak by Whitefly Kingkan Saokham Chairote Yaiprasert Nuannapa Hemniam Sukanya Roekwan Sirikan Hunsawattanakul Jutathip Thawinampan and Wanwisa Siriwan
PEA-02
แนวโน้มและความสัมพันธ์ของศัตรูข้าวและผลผลิตของแปลงนาข้าวพันธุ์ กข 61 ฤดูนาปีและนาปรังภายใต้สภาพนาชลประทาน ศุภลักษณา หล่าจันทึก สุกัญญา อรัญมิตร สุภาวดี ฤทธิสนธิ์ สุนิสา คงสมโอษฐ์ ปวีณา เข้มประเสริฐ ติณณภพ เชิงเทิน และ สิทธ์ ใจสงฆ์
Trend and Correlation of Rice Pests RD61 on Wet and Dry Season under Irrigated Lowland Rice Fields Suphalaksana lachanthuek Sukanya Arunmit Supawadee Rittison Sunisa Kongsom-od Parweena Khemparsert Tinnapop Churngturn and Sith Jaisong
581
PEA-03
ศึกษาชนิดและปริมาณของหนูในพื้นที่นาข้าวที่มีการล้อมรั้วร่วมกับการใช้ลอบ ดักหนูในจังหวัดสุพรรณบุรี
588
ทัสดาว เกตุเนตร ปรัชญา แตรสังข์ และ อุรัสยาน์ ขวัญเรือน
Type and Rat Population in Rice Fields Using Trap Barrier System (TBS) at Suphanburi Province. Thasdaw Katenate Prachya Traesang and Urassaya Kuanruen
PEA-05
ประสิทธิภาพเชื้อแบคทีเรียและสารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดหนอนกระทู้ผัก ในพริก
595
สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น และ สุภราดา สุคนธาภิรมณ์ ณ พัทลุง
Efficacy of Bacteria and Insecticides for Controlling Common Cutworm : Spodoptera litura (Fabricius) in Chili Somsak Siriphontangmun and Suprada Sukonthabhirom na Pattalung
PEA-07
การควบคุมหอยและทากศัตรูพืชในสวนลองกองเพื่อการส่งออก
610
ปราสาททอง พรหมเกิด ชูชาติ วัฒนวรรณ ทรงทัพ แก้วตา วรินทร ชูช่วย และ สุรพล วิเศษสรรค์
Snails and Slugs Pests Control in Exporting Long Kong Prasarttong Promkerd Chuchat Watthanavan Tongtup Kaewta Warinthon Chouchouy and Suraphon Visetson
PEA-08
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการศึกษาความหนาแน่นและช่วงการระบาด ของแมลงวันผลไม้ในพี้ช
621
เผ่าไท ถายะพิงค์ ศุภชัย นาคะพันธ์ และไพศาล จี้ฟู
Using GIS Study on Seasonality of the Fruit Fly (Diptera: Tephritidae) on Peach in Royal Project Areas Paothai Thayaping Supachai Nakapan and Phaisarn Jeefoo
PPB-02
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ Pichia sp. ในปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อ การส่งเสริมการเจริญและการยับยั้งโรคผักกวางตุ้ง
632
สิรีธร แสงเพ็ง ณัฐวดี ไกลศรี คนึงกานต์ กลั่นบุศย์ และ ตันติมา กาลัง
Comparative Efficacy of Pichia sp. in Organic Biofertilizer on Growth Stimulation and Disease Inhibition of Choy Sum (Brassica Rapa) Sireethon Sangpheng Nutthawadee Klaisree Khanungkan Klanbut and Tantima Kumlung
PPB-03
ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่แยกได้จากบริเวณรอบรากต้นกะเพรา (Ocimum sanctum Linn.) ในการยับยั้งเชื้อราและแบคทีเรียก่อโรคพืช วราภรณ์ สุทธิสา สุรศักดิ์ ขันคา ภาณินทร์ญดา ไชยคาม พุทธพร เลาหพิบูลรัตนา และ วราพร รวมสุข
Efficiency of Antagonistic Bacteria Isolated from Basil Rhizosphere (Ocimum sanctum Linn.) on Inhibiting of Fungus and Bacterium Plant Pathogens Waraporn Sutthisa Surasak Khankhum Phaninyada Chaiyacam
644
Phuttaporn Laohaphiboonrattana and Waraporn Ruamsuk
PPB-04
การจาแนกชนิดแบคทีเรียสาเหตุโรคใบแห้งของหอม
656
ทิพวรรณ กันหาญาติ ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล บูรณี พั่ววงษ์แพทย์ รุ่งนภา ทองเคร็ง และ กาญจนา ศรีไม้
Identification of Bacteria Causing Leaf Blight Disease on Allium Tippawan Kanhayart Nuttima Kositcharoenkul Buranee Puawongphat Rungnapha Thongkreng and Kanchana Srimai
PPB-05
การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกาจัดโรคราน้าค้างในชาโยเต้
669
ทิวา บุบผาประเสริฐ พจนา ตระกูลสุขรัตน์ ธัญพร งามงอน และ วิทยา ทองอินทร์
Study on Some Fungicides Efficacy to Control Downy Mildew Disease in Chayote Thiva Bubpaprasert Photchana Trakunsukharat Thunyaporn Ngamngon and Witthaya Thongin
PPB-06
ประสิทธิภาพของสารไบโอแอคทีฟอิลิซิเตอร์ต่อการแสดงออกของยีนที่สามารถ กระตุ้นความต้านทานโรคในถั่วเหลือง
681
ศุภลักษ์ สัตยสมิทสถิต พรนิภา ถาโน และ ฉันทนา คงนคร
Efficiency of Elicitor for Induced Resistance Gene Expression Against Disease in Soybean Supalak Sattayasamitsathit Pornipa Thano and Janana Kongnakorn
PPB-07
ผลของสารไดเมโทมอร์ฟ 50% W/V SC และเมทาแลกซิล 25% WP ในการ ควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของ ทุเรียนหมอนทองในห้องปฏิบัติการและเรือนทดลอง
689
เรวัฒ เพียซ้าย เนตรนภิส เขียวขา และ อรอุมา เพียซ้าย
Effect of Dimethomorph 50% W/V SC and Metalaxyl 25% WP for Controlling Phytophthora palmivora Causing Root and Stem Rot of Monthong Durian in Laboratory and Greenhouse Rawat Piasai Netnapis Khewkhom and Onuma Piasai
PPB-08
การแสดงออกของโปรตีนอ้อยที่ต้านทานต่อโรคใบขาว
699
ลาวัลย์ กลัดสุวรรณ จิรวัฒน์ ประสิทธิ์สม กนกวรรณ สว่าง สิริวรรณ์ โครตโสภา วรินทร จารย์คูณ และ พีรญา กลมสอาด
Gene Expression of Sugarcane for Resistant of White Leaf Disease Lawan Kladsuwan Chirawat Prasitsom Kanokwan Sawang Siriwan Kodsopa Varinthon Jarnkoon and Peeraya Klomsa-ard
PPB-09
การประเมินความต้านทานของพันธุ์อ้อยต่อโรคแส้ดาในการปรับปรุงพันธุ์ กนกวรรณ สว่าง ลาวัลย์ กลัดสุวรรณ สิริวรรณ์ โคตรโสภา มานุวัตร ตินตะรสาละ ณ ราชสีมา วรินทร จารย์คูณ และ พีรญา กลมสอาด
Smut Resistant Evaluation of Breeding Program Kanokwan Sawang Lawan Kladsuwan Siriwan Kodsopa Manuwat Tintarasaranaratchaseema Varinthon Jarnkoon and Peeraya Klomsa-ard
707
PPB-14
ประสิทธิภาพของสารกาจัดเชื้อราในการควบคุมเชื้อ Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะม่วง
716
วีระศักดิ์ ลิขิตมั่นชัย เทพชัย เทพช่วยสุข และ อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช
Efficacy of Fungicides to Control Colletotrichum gloeosporioides Causal Agent of Mango Anthracnose Disease Veerasak Likitmanchai Thepchai Thepchuasook and Udomsak Lertsuchatavanich
PPB-15
ประสิทธิภาพเชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ในการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum capsici สาเหตุโรคแอนแทรกโนสพริก
722
ยุวดี ชูประภาวรรณ สุภาวดี แก้วระหัน และนายสมชาย คาแน่น
The Effectiveness of Antagonistic Yeasts for Controlling Colletotrichum capsici Causing Chili Anthracnose Disease Yuwadee chupraphawan Supawadee kaewrahun and Somchai khamnan
PPB-17
การศึกษาผลของสารป้องกันกาจัดเชื้อราบางชนิดต่อการเจริญของเชื้อรา สาเหตุโรคใบจุดของพริกไทย
735
ทิวา บุบผาประเสริฐ ธารทิพย ภาสบุตร พจนา ตระกูลสุขรัตน์ และ ลัดดาวัลย์ อินทรสังข์
Study on Some Fungicides to Growth of Causing Fungus of Pepper Anthracnose Disease Thiva Bubpaprasert Tharntip Bhasabutra Photchana Trakunsukharat and Laddawan Insung
PPA-01
ประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัดเชื้อราในการควบคุมโรคราสนิมสาเหตุจากเชื้อ Puccinia allii Rud. ในกุยช่าย
747
นพพล สัทยาสัย วรางคนา โชติเศรษฐี และ หทัยภัทร เจษฎารมย์
Efficacy of Fungicides for Control Garlic Chives Rust Disease Caused of Puccinia allii Rud. Noppon Sathayasai Warangkana Chotsetthee and Hataipat Jessadarom
PPA-02
ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัดโรคพืชบางชนิดต่อการแพร่ระบาดของ โรคราสนิมขาวในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน
762
พจนา ตระกูลสุขรัตน์ ทนงศักดิ์ สุวรรณวงศ์ และ อรณิชชา สุวรรณโฉม
Efficiency Test of Some Fungicides to Control White Rust of Chinese Water Morning Glory in Seed Production Field Photchana Trakunsukharat Thanongsak Suwannawong and Onnitcha Suwanchom
PPA-03
ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัดโรคราสนิมของถั่วเหลืองสาเหตุจาก เชื้อรา Phakopsora pachyrhizi ชนินทร ดวงสะอาด สุทธิณี ลิขิตตระกูลรุ่ง มะโนรัตน์ สุดสงวน พิมพ์นภา ขุนพิลึก พรพิมล อธิปัญญาคม สุณรี ัตน์ สีมะเดื่อ และ อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว
Efficacy of Some Fungicides for Control Phakopsora pachyrhizi the Causal Agent of Soybean Rust
775
Chanintorn Doungsa-ard Suttinee Likhittragulrung Manorat Sudsanguan Pimnapa Khunpilueg Pornpimon Athipunyakom Suneerat Srimadua and Amonrat Kitjaideaw
PPA-04
ผลการใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงของเชื้อรา Trichoderma virens และ T. harzianum ในการป้องกันกาจัดโรคกาบใบแห้งและการให้ผลผลิตข้าว จินันทนา จอมดวง และ สุมาฬี พรหมรุกขชาติ Effectiveness of Wettable-Powder-Bioproducts of Trichoderma virens and T. harzianum in Controlling of Sheath Blight and Yielding of Rice
786
Jinantana Jomduang and Sumalee Phromrukachat
PPA-05
การแสดงอาการของโรคใบด่างมันสาปะหลังในมันสาปะหลังพันธุ์ต้านทาน และพันธุ์การค้าด้วยวิธีเสียบยอด
794
นวลนภา เหมเนียม กิ่งกาญจน์ เสาร์คา สุกัญญา ฤกษ์วรรณ ศิรกิ าญจน์ หรรษาวัฒนกุล จุฑาทิพย์ ถวิลอาพันธ์ และ วันวิสา ศิริวรรณ์
Severity of Cassava Mosaic Disease in Resistance and Commercial Varieties by Grafting Nuannapa Hemniam Kingkan Saokham Sukanya Roekwan Sirikan Hunsawattanakul Jutathip Thawinampan and Wanwisa Siriwan
PPA-06
การจัดการโรคแอนแทรคโนสมันสาปะหลังด้วยสารป้องกันกาจัดโรคพืช
800
อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว และ สายชล แสงแก้ว
Management of Anthracnose in Cassava Using Fungicides Amonrat Kitjaideaw and Saichon Sangkaew
PPA-07
ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัดโรคพืชบางชนิดในการป้องกันกาจัด โรคสแคปขององุ่นที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Sphaceloma ampelinum ใน สภาพแปลงทดลอง
812
พจนา ตระกูลสุขรัตน์ สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ และ พรพิมล อธิปัญญาคม
Efficacy Test of Some Fungicides to Control Grape Scab Causing by Sphaceloma ampelinum in Field Trial Photchana Trakunsukharat Suneerat Seemadua and Pornpimon Athipunyakom
PPA-08
การควบคุมเชื้อรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุโรคใบไหม้ของสตรอเบอรีที่ ต้านทานต่อสารป้องกันกาจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมโดยใช้เชื้อปฏิปักษ์ แอกติโนไมซีส
824
วรุตม์ ใจปิน ธีรนัย โพธิ และ สรัญยา วัลยะเสวี
Control of Carbendazim-resistant Pestalotiopsis sp. Causing of Strawberry Leaf Blight Using Antagonistic Actinomycetes Waroot Jaipin Teeranai Poti and Sarunya Valyasevi
PPA-09
ประสิทธิภาพของสารชีวภัณฑ์กาจัดศัตรูพืชในการควบคุมโรคเหี่ยวของมะเขือ เทศจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum นันทิชา มารักษา และ อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช
835
Efficacy of Biopesticides to Control Bacterial Wilt Disease of Tomato Caused by Ralstonia solanacearum Nanticha Maraksa and Udomsak Lertsuchatavanich
PPA-10
ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัดโรคใบจุดตาเสือของเผือกสาเหตุจาก เชื้อรา Phytophthora colocasiae Rac.
843
ชนินทร ดวงสอาด พรพิมล อธิปัญญาคม สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว พจนา ตระกูลสุขรัตน์ มะโนรัตน์ สุดสงวน และ สุทธิณี ลิขิตตระกูลรุ่ง
Efficacy of Some Fungicides for Control Taro Leaf Blight Disease Caused by Phytophthora colocasiae Rac. Chanintorn Doungsa-ard Pornpimon Athipunyakom Suneerat Srimadua Amonrat Kitjaideaw Potchana Trakulsukrat Manorat Sudsanguan and Suttinee Likhittragulrung
PWA-01
ผลของสาร paraquat ต่อการเจริญเติบโต และการรอดชีวิต ในคะน้าและ ผักบุ้งจีน
855
ธนากร โสโท พิษณุ เอ้กระโทก และ สันติไมตรี ก้อนคาดี
The Effect of Paraquat on Growth and Survival in Kale and Water Convolvulus Thanakorn Soto Phitsanu Aekrathok and Santimaitree Gonkhamdee
PWA-02
การประเมินความทนทานของสารกาจัดวัชพืชประเภทหลังงอกและการฟื้นตัว ของอ้อยพันธุ์ต่างๆ
861
นิดานุช ปรปักพ่าย และ สันติไมตรี ก้อนคาดี
Evaluated of Post-emergence of Herbicide Tolerance and Toxicity of Different Sugarcane Varieties Nidanuch Porapagpai and Santimaitree Gonkhamdee
PWA-03
ผลของการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานต่อประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชใน การผลิตพริก สิริชัย สาธุวิจารณ์ ทิพย์ดรุณี สิทธินาม และ ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ
Effect of Integrated Weed Management on Weed Control Efficiency in Chili Production Sirichai Sathuwijarn Tipdarunee Sittinam and Prachatipat Pongpinyo
869
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ภาคบรรยาย ORAL PRESENTATION
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
ความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสือ้ หนอนกระทู้ สกุล Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae) ชนิดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทย The Morphological Differences Between Economically Important Species of Armyworm Moths, Genus Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae), in Thailand อาทิตย์ รักกสิกร1 สุนัดดา เชาวลิต1 ดนัย ชัยเรือนแก้ว1 อนุสรณ์ พงษ์มี1 กัลยา บุญสง่า2 และ จินตนา ไชยวงค์2 Artit Rukkasikorn1 Sunadda Chaovalit1 Danai Chaireunkaew1 Anusorn Pongmee1 Kunlayaa Boonsanga2 and Jintana Chaiwong2 1
สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900 2 Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900
1
บทคัดย่อ ผีเสื้อหนอนกระทู้สกุล Spodoptera (Lepidoptera: Noctuidae) นั้นมีหลายชนิดที่จัดเป็นศัตรูพืช สาคัญต่อพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว และพืชผักต่างๆ เป็นต้น ตัวเต็มวัย และหนอนของผีเสื้อสกุลนี้มีความคล้ายคลึงกันมาก ทาให้การจาแนกชนิดทาได้ค่อนข้างยาก จึงมีความจาเป็น อย่างยิ่งในการศึกษาความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสื้อหนอนกระทู้ระยะต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อพืช เศรษฐกิจของไทย ในครั้งนี้ดาเนินการสารวจและเก็บตัวอย่างหนอนกระทู้และตัวเต็มวัยจากแหล่งปลูกพืชทั่ว ทุกภาคของไทย ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 ถึงเดือนมิถุนายน 2562 ทาการจาแนกชนิดโดยใช้ลักษณะทาง สัณฐานวิทยา ได้แก่ ลวดลายบนปีกและอวัยวะสืบพันธุ์ของตัวผีเสื้อ โครงสร้างส่วน cremaster ในระยะดักแด้ และตาแหน่งของจุดและลวดลายของตัวหนอน รวมทั้งเปรียบเทียบกับตัวอย่างผีเสือ้ ที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ แมลง กรมวิชาการเกษตร พบหนอนกระทู้ชนิดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทย จานวน 4 ชนิด ได้แก่ ผีเสื้ อหนอนกระทู้ ห อม Spodoptera exigua (Hübner, 1808) ผี เสื้อหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุ ด Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797) ผี เ สื้ อ ห นอนกระทู้ ผั ก Spodoptera litura (Fabricius, 1775) และผีเสื้อหนอนกระทู้กล้า Spodoptera mauritia (Boisduval, 1833) ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ทา ให้ทราบชนิดของผีเสื้อสกุลนี้อย่างถูกต้องมีความเป็นสากล เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานซึ่ง จะก่อให้เกิดประโยชน์ ในการป้องกันกาจัด และควบคุมการระบาดต่อไปในอนาคต คาสาคัญ : ผีเสื้อหนอนกระทู้ Spodoptera สัณฐานวิทยา การจาแนกชนิด หนอนศัตรูพืชที่สาคัญ ABSTRACT Larvae of several species of armyworm moths, genus Spodoptera (Lepidoptera: Noctuidae), have been reported as key pests of many economic plants, such as rice, maize, legumes and various vegetables. Adults and larvae of these species look similar which 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
1
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
causes difficulty in correct species identification. Study of the basic biology and morphological differences between all stages of economically important species of armyworm moths in Thailand should be indispensable. Specimens were collected from plantation areas in all parts of Thailand from December 2018 to June 2019. Morphological characters which can be used to identify these economically important armyworms to species are the ornate wing patterns and genitalia of the adult stage, structure of pupal cremaster, and position of spots and lines in larvae. After comparison with specimens in the Insect Museum, Department of Agriculture, the economically important species of armyworm moths in Thailand were found to be composed of 4 species: the beet armyworm, Spodoptera exigua (Hübner, 1808); the fall armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797); the common cutworm, Spodoptera litura (Fabricius, 1775); and the lawn armyworm, Spodoptera mauritia (Boisduval, 1833). The results of this study will provide correct species identification which is important for use in integrated pest management and future control of epidemics. Keywords: armyworm moths, Spodoptera, morphology, identification, key pest larvae คานา ผีเสื้อ หนอนกระทู้ ส กุ ล Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae) เป็นผีเสื้ อ กลางคื น ขนาดเล็ ก ถึ ง ขนาดกลาง พบทั่ ว โลกประมาณ 30 ชนิ ด (Gilligan, T.M. & S.C. Passoa, 2014; OEPP/EPPO, 2015) ผีเสื้อในสกุลนี้หลายชนิดจัดเป็นศัตรูพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากพบการ ระบาดทาความเสียหายอย่างรุนแรงในพืชเศรษฐกิจ เช่น ธัญพืช พืชวงศ์ถั่ว พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ และพืช เศรษฐกิจอื่นๆ (ส านักวิจัยพัฒ นาการอารักขาพืช , กรมวิชาการเกษตร, 2559; Hill, 2008) ตัวหนอนมักจะ ทาลายพืชด้วยการกัดกินใบหรือดอก ตัวหนอนวัยอ่อนมักจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มกัดกินใบพืช หากมีการระบาด รุนแรงในพื้นที่เกษตรกรรม จะทาให้พืชชะงักการเจริญเติบโตและตายในที่สดุ ส่งผลให้ผลผลิตลดลง นอกจากนี้ หนอนกระทู้บางชนิดยังพบเป็นปัญหาในการนาเข้าและส่งออกสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ โดยปะปนไปกับ สินค้าเกษตร เช่น กล้วยไม้สกุลหวายตัดดอก เป็นต้น (Gilligan, T.M. & S.C. Passoa, 2014) การศึก ษาความแตกต่างทางสัณฐานวิท ยาของผี เสื้อหนอนกระทู้ ส กุ ล Spodoptera ชนิดที่ มี ความสาคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทยนี้ เป็นงานวิจัยที่มีความสาคัญ เนื่องจากทาให้ทราบชนิดและข้อมูล พื้นฐาน เพื่อประโยชน์ในการป้องกันกาจัด การบริหารจัดการโดยวิธีผสมผสาน หรือ ควบคุมการระบาดของ ผีเสื้อหนอนกระทู้สกุลนี้ ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการศึกษาวิจัยและรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเรียบ เรียงให้เป็นฐานข้อมูล เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้นต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์ 1) ผีเสื้อและหนอนกระทู้สกุล Spodoptera ที่รวบรวมได้จากแปลงปลูกพืช ทั่วประเทศไทย
2
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
2) ชุดอุปกรณ์เก็บตัวอย่างแมลง อุปกรณ์เลี้ยงหนอน ได้แก่ กล่องพลาสติกสี่เหลี่ยม สารเคมีที่ ใช้ในการเก็บและรักษาสภาพตัวอย่าง รวมถึงสารเคมีที่ใช้สาหรับการเตรียมสไลด์ถาวร พืชอาหารเลี้ยงหนอน กระทู้และอาหารเลี้ยงผีเสื้อหนอนกระทู้ 3) กล้อ งจุลทรรศน์ชนิด stereo microscope, compound microscope เครื่องวัดค่าพิกั ด ภูมิศาสตร์ (GPS) และกล้องถ่ายภาพ 4) เอกสารประกอบการจ าแนกชนิด ของผีเสื้ อหนอนกระทู้ ส กุ ล Spodoptera ได้ แก่ FAO (2017), Gilligan, T.M. & S.C. Passoa (2014), Holloway (1989) และ OEPP/EPPO (2015) เป็นต้น วิธีการ 1) สารวจเก็บรวบรวมตัวอย่างผีเสื้อและหนอนกระทู้สกุล Spodoptera จากแปลงปลูกพืชทั่ว ประเทศไทย ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 ถึงเดือนมิถุนายน 2562 หนอนกระทู้ชนิดต่างๆ ที่สารวจพบ ส่วน หนึ่งนาไปดองรักษาสภาพ โดยแช่ในสารรักษาสภาพตัวหนอน แล้วจึงย้ายตัวอย่างดองในเอธิล แอลกอฮอล์ (Ethyl Alcohol) อี กส่วนหนึ่ง นาไปเพาะเลี้ยง เพื่อให้ได้ดักแด้ และตัวอย่างผีเสื้อที่ มีส ภาพสมบูรณ์ บันทึ ก ข้อมูล ขณะเก็บ ตัวอย่าง ได้แก่ ชื่อพื ชเศรษฐกิจ ในแปลงนั้น พันธุ์พืช อายุพืช ลักษณะการท าลายพืชที่ พบ สถานที่ พิกัดภูมิศาสตร์ สถานที่ วัน/เดือน/ปี ชื่อผู้เก็บ ตัวอย่าง ขนาดพื้นที่ และข้อมูลอื่นๆ เพื่อใช้จัดทาแผ่น ป้ายบันทึกรายละเอียดของแมลงเมื่อเสร็จสิ้นการตรวจจาแนกวิเคราะห์ชนิด และนาตัวอย่างแมลงนั้นเก็ บ รักษาในพิพิธภัณฑ์ต่อไป 2) ตัวอย่างผีเสื้อหนอนกระทู้ชนิดต่างๆ ที่พบในการสารวจ และที่เพาะเลี้ยงได้ในห้องปฏิบัติการ จับใส่ขวดฆ่า เมื่อตายแล้วนาตัวอย่างผีเสื้อไปจัดรูปร่าง นาไปอบให้แห้งในตู้อบ นาตัวอย่างผีเสื้อบางส่วนทั้ง เพศผู้และเพศเมีย แยกส่วนท้องออกแล้วนาไปผ่านกระบวนการแยกอวัยวะสืบพันธุ์และจัดทาสไลด์ถาวร 3) นาตัวอย่างทั้งผีเสื้อและหนอนที่ดองรักษาสภาพไว้ รวมทั้งสไลด์ถาวรของอวัยวะสืบพันธุ์ มา ตรวจดูลักษณะภายนอกภายใต้กล้องจุลทรรศน์ชนิด Stereo แล้วบันทึกรายละเอียดต่างๆ ตรวจสอบลักษณะ สัณฐานวิทยาที่สาคัญทางอนุกรมวิธานเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างชนิด ผีเสื้อหนอนกระทู้ โดยใช้ เอกสารแนวทางการวินิจฉัยที่เตรียมไว้ สรุปผลการศึกษาผีเสื้อหนอนกระทู้สกุล Spodoptera ในประเทศไทย ว่าชนิดใดที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ และความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาระหว่างชนิดนั้นๆ เป็นอย่างไร 4) จัดเก็บตัวอย่างผีเสื้อหนอนกระทู้ สกุล Spodoptera ทุก ชนิดที่ จาแนกเรียบร้อยแล้วไว้ใน พิพิธภัณฑ์ โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามระบบสากลของการเก็บรักษาตัวอย่างแมลง เพื่อการตรวจสอบ สืบค้น และอ้างอิงในภายหลัง ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการทดลอง ผีเสื้อหนอนกระทู้สกุล Spodoptera เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ลาตัวอ้วนป้อม มีขน ปกคลุม มาก ไม่มี ตาเดี่ยว ส่วนมากมั กมี หนวดแบบ filiform แต่บางชนิดอาจพบหนวดแบบ serrate หรือ bipectinate ได้ มี proboscis และ maxillary palps ขนาดเล็ก ผีเสื้อเพศผู้และเพศเมียมีลักษณะคล้ายกัน แต่ผีเสื้อเพศเมียมักมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย และลวดลายบนปีกมักไม่เด่นชัดเท่าเพศผู้ โดยทั่วไปปีกคู่ หน้ ามั ก มี สีน้ าตาลเข้ม และมี ล วดลายต่างๆ โดยลวดลายที่ มั ก พบปรากฏในปีก คู่ห น้า (ภาพที่ 1a) ได้แ ก่ antemedian line, orbicular spot, reniform spot, postmedian line, adterminal line แ ล ะ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
3
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
terminal line ปีกคู่หลังมักมีสีขาวไม่มีลวดลาย และมีเส้นสีน้าตาลเข้มตามแนวขอบด้านเส้นปีก costa ดักแด้ แบบ obtect ไม่มีรังดักแด้ห่อหุ้ม มีโครงสร้าง cremaster ที่ด้านท้ายของดักแด้ (ภาพที่ 1b) มักพบเข้าดักแด้ ในดิน หนอนของผีเสื้อ สกุล นี้มี ขนาดกลาง แบบ eruciform พื้นผิวล าตัวของหนอนมั ก มี ขนปกคลุม เพียง เล็กน้อย หนอนมักมีลวดลายตามความยาวของล าตัว ซึ่งลัก ษณะที่กล่าวถึงโดยรวมนี้มี ความแตกต่างกั นใน ผีเสื้อหนอนกระทู้แต่ละชนิด
cremaster
a
b
ภาพที่ 1 a. ลวดลายในปีกคู่หน้าของผีเสื้อหนอนกระทู้สกุล Spodoptera ได้แก่ antemedian line (AML), orbicular spot (O-sp), cubitus anterior vein (CuA), reniform spot (R-sp), postmedian line (PML), adterminal line (AdT) และ terminal line (T) b. โครงสร้าง cremaster ที่ด้านท้ายของดักแด้ จากการส ารวจเก็บ ตัวอย่าง พบว่า ผีเสื้อหนอนกระทู้ ส กุ ล Spodoptera ชนิดที่ มีความสาคัญ ทาง เศรษฐกิจในประเทศไทย มีจานวน 4 ชนิด ได้แก่ 1. Spodoptera exigua (Hübner, 1808) Noctua exigua Hübner, [1808]; Samml. eur. Schmett. [4]: pl. 78, f. 362. Noctua fulgens Geyer, [1832]; Samml. eur. Schmett. [4]: pl. 168, f. 796. Caradrina pygmaea Rambur, 1834; Ann. Soc. ent. Fr. 3: 384, pl. 8, f. 2. Caradrina junceti Zeller, 1847; Isis von Oken 1847 (6): 445. Laphygma cycloides Guenée, 1852; Hist. nat. Ins., Spec. gén. Lépid. 5 (Noct. 1): 157. Laphygma caradrinoides Walker, 1856; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 9: 190. Caradrina flavimaculata Harvey, 1876; Can. Ent. 8 (3): 54. Caradrina venosa Butler, 1880; Ent. mon. Mag. 17: 7. Caradrina sebghana Austaut, 1880; Le Naturaliste 2 (27): 212. Laphygma exigua antipodea Warren; 1914; 323. Laphigma exigua junceti Rothschild, 1915; Novit. Zool. 22 (2): 231. Laphygma exigua Hampson, 1909; Cat. Lepid. Phalaenae Br. Mus. 8: 265, f. 68. Spodoptera exigua; Becker & Miller, 2002, J. Lep. Soc. 56 (1): 21, f. 24-25.
ชื่อสามัญ ผีเสื้อหนอนกระทูห้ อม หนอนหนังเหนียว หนอนหลอดหอม Beet armyworm Onion cutworm Small mottled willow 4
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ตัวเต็มวัย (ภาพที่ 2a.) เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดค่อนข้างเล็ก ทั้งสองเพศมีขนาดต่างกันเล็กน้อย ความ กว้างช่วงปีกประมาณ 25 – 32 มิ ลลิเมตร หนวดแบบ filiform ปีกคู่หน้ามีสีน้าตาลอ่อนอมเทา orbicular spot ค่อนข้างกลมสีขาวอมเหลือง ส่วน reniform spot รูปไตสีน้าตาลอ่อนไม่เด่นชัด ปีกคู่หลังมีสีขาวที่ขอบ ปีกมีสีน้าตาลเข้ม โดยเฉพาะขอบปีกด้านบน ในเพศผู้ (ภาพที่ 3a.) ลวดลายบนปีกคู่หน้าเด่นชัดกว่าในเพศเมีย สามารถสังเกตเห็น postmedian line, adterminal line และ terminal line ได้ อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (ภาพ ที่ 4a.-b.) ส่วน valve กว้างรูป ไข่ ส่วนลวดลายบนปีก คู่ห น้าในเพศเมี ย (ภาพที่ 3b.) มั ก สังเกตเห็นเพี ยง orbicular spot และ reniform spot เท่ านั้น อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมี ย (ภาพที่ 4c.) ส่วน corpus bursae เรียวยาว โดยมีความยาวมากกว่า 2 เท่าของความกว้าง ductus bursae สั้น โครงสร้าง cremaster ที่ด้านท้ายของดักแด้ (ภาพที่ 5a.-b.) มีลักษณะสั้น จานวน 2 คู่ ตัวหนอน (ภาพที่ 6a., 6e., 7a.) แบบ eruciform พื้นผิวลาตัวค่อนข้างเรียบ มักพบแถบสีขาวพาด ตามความยาวด้ านข้า งของล าตั ว ตลอดแนวช่ อ งหายใจ (spiracles) สี ข องตั ว หนอนมี ค วามแปรผัน ต่ อ สิ่งแวดล้อมและต้นพืชอาศัย โดยหนอนปรับตัวให้มีสีลาตัวใกล้เคียงกับสิ่งแวดล้อมนั้นๆ จึง พบสีตัวหนอนได้ทั้ง สีขาวอมเหลือง สีเขียว จนถึงสีน้าตาลเข้ม แต่ลักษณะเด่นที่มักพบได้สม่าเสมอ คือ จุดสีดาด้านข้างของปล้อง อกที่ 2 เหนือช่องหายใจ การกระจายพันธุ์ทางภูมิศาสตร์ ผีเสื้อหนอนกระทู้หอมมีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชีย แต่ปัจจุบันพบการกระจายทั่วโลก โดยเฉพาะในเขต ร้อน ประเทศไทยพบได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ฤดูกาลที่พบในประเทศไทย พบได้ทุกฤดูกาล พืชอาศัย ผีเสื้อหนอนกระทู้หอมมีพืชอาศัยจานวนมาก โดยมักพบเข้าทาลายพืชผัก และไม้ดอกไม้ประดั บ ใน ประเทศไทยมี ร ายงานพื ชอาศั ยของผี เ สื้ อ หนอนกระทู้ ห อมที่ เ ป็ น พื ช เศรษฐกิ จ ได้ แก่ หอม กระเที ย ม หน่อไม้ ฝรั่ง พริก มะเขือ มะเขือเทศ แตงกวา ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา มันเทศ กระเจี๊ยบเขียว มะระ ข้าวโพด เบญจมาศ และกล้วยไม้ส กุลหวายตัดดอก เป็นต้น (ส านักวิจัยพัฒนาการอารัก ขาพืช, กรมวิชาการเกษตร, 2559) 2. Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797) Phalaena frugiperda Smith, 1797; in Smith & Abbot, Nat. Hist. Rarer Lepid. Ins. Georgia 2: 191, pl. 95. Laphygma macra Guenée, 1852; Hist. nat. Ins., Spec. gén. Lépid. 5 (Noct.1): 157, Atlas (Noctuelites) pl. 4, f. 6. Laphygma inepta Walker, 1856; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 9: 190. Prodenia signifera Walker, 1856; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 9: 193. Prodenia plagiata Walker, 1856; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 9: 194. Prodenia autumnalis Riley, 1871; 3rd Ann. Rep., Missouri: 109. Laphygma frugiperda var. fulvosa Riley, 1876; 8th Ann. Rep., Missouri: 49, f. 27b. Laphygma frugiperda var. obscura Riley, 1876; 8th Ann. Rep., Missouri: 49, f. 27c. Laphygma macra Godman & Salvin, 1889; Biol. centr.-amer., Lep. Heterocera 1: 267. Prodenia signifera Godman & Salvin, 1889; Biol. centr.-amer., Lep. Heterocera 1: 269. Laphygma frugiperda Hampson, 1909; Cat. Lepid. Phalaenae Br. Mus. 8: 262, pl. 128, f. 26. Spodoptera frugiperda; Becker & Miller, 2002, J. Lep. Soc. 56 (1): 21, f. 24-25.
ชื่อสามัญ ผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด Fall armyworm Corn leafworm Cogollero 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
5
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ตัวเต็มวัย (ภาพที่ 2b.) เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย ความ กว้างช่วงปีกประมาณ 21 – 36 มิลลิเมตร หนวดแบบ filiform ปีกคู่หน้ามีสีน้าตาล orbicular spot รูปร่าง ยาวรีสีเหลืองอมน้าตาล ส่วน reniform spot รูป ไตสีน้าตาลเข้มไม่ เด่นชัด ปีก คู่หลังมี สีขาวที่ ขอบปีก มี สี น้าตาลเข้ม ในเพศผู้ (ภาพที่ 3c.) ลวดลายบนปีกคู่หน้าเด่นชัดกว่าในเพศเมีย โดยพื้นที่ปีกระหว่าง orbicular spot และ reniform spot มีแถบสีขาวอมเหลืองพาดผ่าน ที่พื้นที่ขอบปีกสามารถสังเกตเห็น postmedian line, adterminal line และ terminal line ได้ ที่ปลายปีกมีแถบสีขาวพาดตามแนว adterminal line ยาว ประมาณหนึ่งในสองของความกว้างปีก อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (ภาพที่ 4d.-e.) ส่วน valve กว้างรูปร่างคล้าย สี่เหลี่ยม ส่วนลวดลายบนปีกคู่หน้าในเพศเมีย (ภาพที่ 3d.) มักสังเกตเห็นเพียง orbicular spot, reniform spot และแถบสีขาวจางบริเวณปลายปีกเท่านั้น อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย (ภาพที่ 4f.) ส่วน corpus bursae ลักษณะเป็นก้อนกลม ductus bursae สั้น โดยมีความยาวน้อยกว่า 2 เท่าของความกว้าง โครงสร้าง cremaster ที่ด้านท้ายของดักแด้ (ภาพที่ 5c.-d.) มีจานวน 1 คู่ ลักษณะสั้น ที่ฐานทามุม กว้างคล้ายอักษร “U” ตัวหนอน (ภาพที่ 6b., 6f., 7b.) แบบ eruciform พื้นผิวลาตัวมีขนสั้นปกคลุมเล็กน้อย ที่ฐานของเส้น ขนมีแผ่นรองเส้นขน ซึ่งมีสีเข้มกว่าพื้นผิวลาตัว ทาให้ดูเหมือนเป็นจุดกระจายทั่วลาตัว และมักพบแถบสีดา พาดตามความยาวด้านข้างของลาตัว ด้านบนแนวช่องหายใจ (spiracles) สีของตัวหนอนมักมีเหลืองอมน้าตาล ถึงสีน้าตาลเข้ม แต่ลักษณะเด่นที่มักพบได้สม่าเสมอ คือ จุดสีดาด้านบน (dorsal) ของปล้องท้องที่ 8 และ 9 ปล้องละ 2 จุด เรียงตัวแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส การกระจายพันธุ์ทางภูมิศาสตร์ ผีเ สื้ อ หนอนกระทู้ ข้ าวโพดลายจุ ด มี ถิ่ น ก าเนิ ด ในเขตร้อ นของทวีป อเมริก า แต่ ปั จ จุ บั น พบการ แพร่กระจายทั้งในทวีปแอฟริกา ยุโรป และเอเชีย โดยเฉพาะในเขตร้อน ในประเทศไทยพบการระบาดครั้งแรก ช่วงปลายปี พ.ศ. 2561 ปัจจุบันพบได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศในพื้นที่ปลูกข้าวโพด ฤดูกาลที่พบในประเทศไทย พบได้ทุกฤดูกาล พืชอาศัย ผีเสื้อหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดมี พืชอาศัยจานวนมาก โดย CABI (2019) ได้รายงานพืชอาศัยที่ พบว่าหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเข้าทาลายมีจานวนมากกว่า 80 ชนิด ในจานวนนี้ประกอบด้วยพืชอาศัยตาม ธรรมชาติของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ได้แก่ พืชหลายชนิดในวงศ์หญ้า (Poaceae) วงศ์กก (Cyperaceae) วงศ์มะเขือ (Solanaceae) วงศ์ชะคราม (Chenopodiaceae) วงศ์ผักเบี้ย (Portulacaceae) และวงศ์ผักบุ้ง (Convolvulaceae) รวมทั้ ง พื ชอื่ น ที่ ไม่ ใช่พื ชอาศัยตามธรรมชาติ แต่เป็ น พืช เศรษฐกิ จ ที่ ส าคัญ เช่น ข้ าว ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง อ้อ ย พื ชตระกู ลถั่ว พื ชตระกู ล กะหล่า พืชตระกูล แตง พริก ฝ้าย หอม กระเที ยม กล้วย ยาสูบ มันเทศ ขิง มะเขือ มันฝรั่ง และไม้ดอกไม้ประดับหลายชนิด ในประเทศไทยมีรายงานพืชอาศัยอย่างเป็นทางการของผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เฉพาะใน ข้าวโพด เท่านั้น 3. Spodoptera litura (Fabricius, 1775) Noctua litura Fabricius, 1775; Syst. Ent.: 601. Noctua histrionica Fabricius, 1775; Syst. Ent.: 612. Noctua elata Fabricius, 1781; Spec. Ins. 2: 220. Prodenia ciligera Guenée, 1852; Hist. nat. Ins., Spec. gén. Lépid. 5 (Noct. 1): 164. Prodenia tasmanica Guenée, 1852; Hist. nat. Ins., Spec. gén. Lépid. 5 (Noct. 1): 163. 6
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
Prodenia subterminalis Walker, 1856; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 9: 196. Prodenia glaucistriga Walker, 1856; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 9: 197. Prodenia declinata Walker, 1857; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 11: 723. Mamestra albisparsa Walker, 1862; J. Proc. Linn. Soc. (Zool.) 6: 186. Prodenia evanescens Butler, 1884; Mem. Nat. Acad. Sci. 2: 94. Prodenia litura Hampson, 1909; Cat. Lepid. Phalaenae Br. Mus. 8: 245. Spodoptera litura; Holloway, 1976, Moths of Borneo. 12: 136, pl. 4, 8.
ชื่อสามัญ ผีเ สื้อ หนอนกระทู้ ผัก หนอนกระทู้ ฝ้าย หนอนกระทู้ ยาสูบ หนอนรัง Common cutworm Rice cutworm Cotton leafworm ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ตัวเต็มวัย (ภาพที่ 2c.) เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย ความ กว้างช่วงปีกประมาณ 28 – 36 มิลลิเมตร หนวดแบบ filiform ปีกคู่หน้ามีสีน้าตาล orbicular spot รูปร่าง ยาวสีขาวอมเหลือง ส่วน reniform spot ลักษณะคล้าย “จุลภาค (,)” สีขาวอมเหลืองสังเกตได้ชัดเจน ปีกคู่ หลังมีสีขาวที่ขอบปีกมีสีน้าตาลเข้ม ในเพศผู้ (ภาพที่ 3e.) ลวดลายบนปีกคู่หน้าเด่นชัดกว่าในเพศเมีย โดยมี แถบสีขาวอมเหลืองพาดเฉียงจากขอบปีกด้านบนผ่าน orbicular spot มาถึง postmedian line และพบเส้น สีขาวลักษณะคล้ายอักษร “Y” ตามแนวเส้นปีก cubitus anterior vein ที่ terminal line มีลักษณะเป็นลาย สีน้าตาลสลับสีดา ที่ปลายปี กมีแถบสีขาวพาดตามแนว adterminal line ยาวมากกว่าหนึ่งในสองของความ กว้างปีก อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (ภาพที่ 4g.-h.) ส่วน valve กว้าง ส่วนลวดลายบนปีกคู่หน้าในเพศเมีย (ภาพที่ 3f.) มีลักษณะคล้ายในเพศผู้ แต่ orbicular spot มี สีเข้มกว่า และแถบสีขาวบริเวณปลายปีกพาดตามแนว adterminal line ยาวประมาณหนึ่งในสองของความกว้างปีกและสีจางกว่าในเพศผู้ อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย (ภาพที่ 4i.) ส่วน corpus bursae ลักษณะเป็นก้อนกลม ductus bursae ยาว โดยมีความยาวมากกว่า 3 เท่า ของความกว้าง โครงสร้าง cremaster ที่ด้านท้ายของดักแด้ (ภาพที่ 5e.-f.) มีจานวน 1 คู่ ลักษณะยาวส่วนปลาย โค้งลงด้านล่าง (ventral) เล็กน้อย ที่ฐานทามุมกว้างคล้ายอักษร “U” ตัวหนอน (ภาพที่ 6c., 6g., 7c.) แบบ eruciform พื้นผิวลาตัวค่อนข้างเรียบ มี แถบสีขาวพาดตาม ความยาวด้านข้างของลาตัว ใต้แนวช่องหายใจ (spiracles) และด้านหลัง (dorsal) นอกจากนี้ตามแนวยาว ด้านข้างค่อนทางด้านหลังของลาตัว (subdorsal) มีลายเส้นสีขาวและเส้นประสีดาพาดจากปล้องท้องที่ 2 ถึง 8 สีของตัวหนอนมีสีน้าตาลอ่อนถึงสีน้าตาลเข้ม แต่ลักษณะเด่นที่มักพบได้สม่าเสมอ คือ จุดสีเหลืองด้านข้าง ของปล้องอกที่ 2,3 และปื้นสีดาที่ท้องปล้องแรก เหนือช่องหายใจ การกระจายพันธุ์ทางภูมิศาสตร์ ผีเสื้อหนอนกระทู้ผักมีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชีย และออสเตรเลีย รวมทั้งหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะในเขตร้อน ประเทศไทยพบได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ฤดูกาลที่พบในประเทศไทย พบได้ทุกฤดูกาล พืชอาศัย ผีเสื้อหนอนกระทู้ผักมีพืชอาศัยจานวนมาก ทั้งพืชผัก ธัญพืช และไม้ดอกไม้ประดับ ในประเทศไทยมี รายงานพืชอาศัยของผีเสื้อหนอนกระทู้ผักที่ เป็นพืชเศรษฐกิ จ ได้แก่ พืชผักตระกูลกะหล่า พริก มะเขือเทศ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
7
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
ยาสูบ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา ฝ้าย ข้าวโพด ทานตะวัน และกล้วยไม้สกุลหวายตัดดอก เป็นต้น (สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร, 2559) 4. Spodoptera mauritia (Boisduval, 1833) Hadena mauritia Boisduval, 1833; Nouv. Ann. Mus. Hist. Nat. Paris 2 (2): 240. Laphygma gratiosa Walker, 1865; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 32: 651. Celaena bisignata Walker, 1865; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 32: 679. Agrotis aliena Walker, 1865; List Spec. Lepid. Insects Colln Br. Mus. 32: 694. Spodoptera mauritia; Hampson, 1909, Cat. Lepid. Phalaenae Br. Mus. 8: 256, f. 66. Brown & Dewhurst, 1975; Bul. Ent. Res. 65: 247. Holloway, 1976; Moths of Borneo. 12: 56.
ชื่อสามัญ ผีเสื้อ หนอนกระทู้ ก ล้า Lawn armyworm Rice cutworm Paddy armyworm Rice swarming caterpillar ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ตัวเต็มวัย (ภาพที่ 2d.) เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง เพศเมียมีขนาดใหญ่กว่าเพศผู้เล็กน้อย ความ กว้างช่วงปีกประมาณ 33 – 35 มิลลิเมตร หนวดแบบ filiform ปีกคู่หน้ามีสีน้าตาลเข้มในเพศผู้ และสีน้าตาล อ่อนในเพศเมีย orbicular spot รูปร่างค่อนข้างกลมสีขาวอมเหลือง ส่วน reniform spot ลักษณะเป็นจุดรูป ไตไม่เด่นชัดสีดา ปีกคู่หลังมีสีขาวที่ขอบปีกมีสีน้าตาลเข้ม ในเพศผู้ (ภาพที่ 3g.) ลวดลายบนปีกคู่หน้าเด่นชัด กว่ า ในเพศเมี ย โดยสามารถสั ง เกตเห็ น antemedian line, postmedian line, adterminal line และ terminal line ได้ ส่วนกลางของพื้นที่ระหว่าง postmedian line ถึง adterminal line มีปื้นสีดาขนาดใหญ่ ปรากฏชัดเจน ที่ terminal line มีลักษณะเป็นจุดสีดาเรียงตามแนวขอบปีกด้านนอก ที่ปลายปีกมีแถบสีขาว พาดตามแนว adterminal line ยาวประมาณหนึ่งในสี่ของความกว้างปีก อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (ภาพที่ 4j.-k.) ส่วน valve แคบและบาง ส่วนลวดลายบนปีกคู่ห น้าในเพศเมี ย (ภาพที่ 3h.) มีลัก ษณะคล้ายในเพศผู้ แต่ สั ง เกตเห็ น antemedian line, postmedian line และ adterminal line ได้ ไม่ ชั ด เจน และแถบสี ข าว บริเวณปลายปีกพาดตามแนว adterminal line สีจางกว่าในเพศผู้ อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย (ภาพที่ 4i.) ส่วน corpus bursae กลมแต่มีส่วนยื่นออกไปลักษณะคล้ายแจกัน ductus bursae สั้น โดยมีความยาวน้อยกว่า 2 เท่าของความกว้าง โครงสร้าง cremaster ที่ด้านท้ายของดักแด้ (ภาพที่ 5e.-f.) มีจานวน 1 คู่ ลักษณะยาว ที่ฐานท า มุมแคบคล้ายอักษร “V” ตัวหนอน (ภาพที่ 6c., 6h., 7c.) แบบ eruciform พื้นผิวลาตัวค่อนข้างเรียบ มีแถบสีขาวพาดตาม ความยาวทางด้านหลัง (dorsal) และด้านข้างค่อนทางด้านหลังของลาตัว (subdorsal) นอกจากนี้ สีของตัว หนอนมีสีน้าตาลอ่อน สีเหลืองอมน้าตาลถึงสีน้าตาลเข้ม แต่ลักษณะเด่นที่มักพบได้สม่าเสมอ คือ แนวเส้นประ สีดาพาดจากปล้องอกที่ 2 ถึงปล้องท้อง 9 ตามแนวยาวด้านข้างค่อนทางด้านหลังของลาตัว การกระจายพันธุ์ทางภูมิศาสตร์ ผีเสื้ อ หนอนกระทู้ ก ล้ า มี ถิ่ น ก าเนิด ในทวีป เอเชีย แอฟริก า และออสเตรเลีย รวมทั้ ง หมู่ เกาะใน มหาสมุทรแปซิฟิก โดยเฉพาะในเขตร้อน ในประเทศไทยพบมากในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น นครราชสีมา บุรีรัม ย์ สุรินทร์ ศรีษะเกษ อานาจเจริญ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด สกลนคร นอกจากนี้ยังพบใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และนครศรีธรรมราช ฤดูกาลที่พบในประเทศไทย พบการระบาดในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกรกฎาคม 8
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
พืชอาศัย ผีเสื้อหนอนกระทู้กล้ามีรายงานโดย Holloway (1989) ว่าพบในพืชอาศัยหลายชนิด ได้แก่ พืชในวงศ์ หญ้า (Poaceae) โดยเฉพาะ ข้าว เป็นพืชอาศัยหลัก วงศ์กก (Cyperaceae) วงศ์มะเขือ (Solanaceae) วงศ์ ทานตะวัน (Asteraceae) วงศ์ชบา (Malvaceae) วงศ์กะหล่า (Brasicaceae) และกลุ่มสนภูเขา (conifers) ในประเทศไทยมีรายงานพืชอาศัยของผีเสื้อหนอนกระทู้กล้า ได้แก่ ข้าว และข้าวโพด (สานักวิจัยพัฒ นาการ อารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร, 2559)
♀c
♂ ♀
♂
a
b ♂
♂
♀
♀
c
d
ภาพที่ 2 ตัวเต็มวัยของผีเสือ้ ในสกุล Spodoptera a. Spodoptera exigua b. Spodoptera frugiperda c. Spodoptera litura d. Spodoptera mauritia
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
9
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
a
b
c
d
e
f
g
h
ภาพที่ 3 ตัวเต็มวัยของผีเสือ้ ในสกุล Spodoptera Spodoptera exigua a. เพศผู้ b. เพศเมีย Spodoptera frugiperda c. เพศผู้ d. เพศเมีย Spodoptera litura e. เพศผู้ f. เพศเมีย Spodoptera mauritia g. เพศผู้ h. เพศเมีย
10
OEB-01
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
ภาพที่ 4 อวัยวะสืบพันธุ์ของผีเสื้อในสกุล Spodoptera แสดง vulve (v), corpus bursae (cb) และ ductus bursae (db) Spodoptera exigua a.-b. เพศผู้ c. เพศเมีย Spodoptera frugiperda d.-e. เพศผู้ f. เพศเมีย Spodoptera litura g.-h. เพศผู้ i. เพศเมีย Spodoptera mauritia j.-k. เพศผู้ l. เพศเมีย 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
11
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
a
1 mm
b
1 mm
c
1 mm
d
1 mm
e
1 mm
1 mm
g
1 mm
1 mm
ภาพที่ 5 โครงสร้างส่วน cremaster ในดักแด้ของผีเสื้อสกุล Spodoptera Spodoptera exigua a. ด้านบน b. ด้านข้าง Spodoptera frugiperda c. ด้านบน d. ด้านข้าง Spodoptera litura e. ด้านบน f. ด้านข้าง Spodoptera mauritia g. ด้านบน h. ด้านข้าง
12
OEB-01
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
f
h
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
ภาพที่ 6 หนอนของผีเสื้อในสกุล Spodoptera Spodoptera exigua a. ด้านบน e. ด้านข้าง Spodoptera frugiperda b. ด้านบน f. ด้านข้าง Spodoptera litura c. ด้านบน g. ด้านข้าง Spodoptera mauritia d. ด้านบน h. ด้านข้าง
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
13
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
a
b
c
d
ภาพที่ 7 หนอนของผีเสื้อในสกุล Spodoptera a. Spodoptera exigua b. Spodoptera frugiperda c. Spodoptera litura d. Spodoptera mauritia วิจารณ์ ในการศึกษาความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสื้อหนอนกระทู้ระยะต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อพืช เศรษฐกิจของไทย จานวน 4 ชนิด คือ ผีเสื้อหนอนกระทู้หอม S. exigua ผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด S. frugiperda ผีเสื้อหนอนกระทู้ผัก S. litura และผีเสื้อหนอนกระทู้กล้า S. mauritia พบว่า ผีเสื้อหนอนกระทู้ หอม มีความแตกต่างจากผีเสื้อหนอนกระทู้อีก 3 ชนิด มากที่สุด ทั้งขนาด ลวดลายบนปีกคู่ห น้าและอวัยวะ สืบพันธุ์ ในตัวเต็มวัย โครงสร้างส่วน cremaster ในดักแด้ ขนาดและลวดลาย ในตัวหนอน ส่วนผีเสื้อหนอน กระทู้ อีก 3 ชนิดนั้น แม้ ว่าจะมีความคล้า ยคลึงกั น จนอาจก่ อให้เกิดการวินิจฉัยชนิดผิดพลาดได้ แต่ห าก พิจารณาโครงสร้างทางสัณฐานวิท ยาที่ กล่าวมาแล้ว จะพบความแตกต่างที่ สามารถจาแนกชนิดของ ผีเสื้อ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ผีเสื้อหนอนกระทู้ผกั และผีเสื้อหนอนกระทู้กล้า ได้ สอดคล้องกับรายงานการวิจัย ของ OEPP/EPPO (2015) ที่ ใช้ ล วดลายบนปี ก คู่ ห น้ า และอวั ย วะสื บ พั น ธุ์ ในตั ว เต็ ม วั ย โครงสร้ า งส่ ว น cremaster ในดักแด้ ขนาดและลวดลายในตัวหนอน นามาใช้จาแนกชนิดผีเสื้อหนอนกระทู้ชนิด S. eridania, S. frugiperda, S. litura และ S. littoralis ได้ รวมถึงรายงานของ Gilligan, T.M. & S.C. Passoa (2014) ที่ ใช้ลักษณะลวดลายของตัวหนอน นามาใช้จาแนกชนิดผีเสื้อหนอนกระทู้ชนิด S. exigua, S. frugiperda, S. litura และ S. littoralis ได้
14
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-01
สรุปผลการทดลอง ผีเสื้อหนอนกระทู้สกุล Spodoptera จานวน 4 ชนิด สามารถจาแนกความแตกต่างทางสัณฐานวิทยา ในตัวเต็มวัย ดักแด้ และระยะหนอน ได้จากลวดลายบนปีกและอวัยวะสืบพันธุ์ของผีเสื้ อตัวเต็มวัย โครงสร้าง ส่วน cremaster บริเวณส่วนท้ายของดัก แด้ และตาแหน่งของจุดและลวดลายของตัวหนอน ตามลาดับ ซึ่ง ความแตกต่างดังกล่าว จะช่วยให้จาแนกชนิดของผีเสื้อสกุลนี้ได้อย่างถูกต้องมีความเป็นสากล สามารถสืบค้น ข้อมูลต่างๆ ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งสามารถใช้เป็นข้อมูลในการติดตามสถานการณ์การระบาดของผีเสื้อสกุลนี้ ในพื้นที่เพาะปลูกพืช เพื่อวางแผนการบริหารจัดการได้อย่างถูกวิธี มีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงในการสูญเสีย ผลผลิตและความเสียหายทางเศรษฐกิจ ที่เกิดจากการเข้าทาลายจากหนอนกระทู้ชนิดนั้นๆ ได้ คาขอบคุณ ขอขอบคุณผู้ร่วมงานวิจัยทุกท่าน ตลอดจนคุณอุทัยวรรณ สวนจันทร์ คุณวิภาวดี เครือวงศ์ คุณพัชริ นทร์ สารฤทธิ์ คุณวิภาดา ปลอดครบุรี คุณรัตติยาพร วานเก่าน้อย คุณวุฒิพล ปฐมวัฒนานุรักษ์ คุณสิทธิศิโร ดม แก้วสวัสดิ์ สาหรับความช่วยเหลือในการเตรียมตัวอย่างและการถ่ายภาพตัวอย่าง ที่ทาให้งานวิจัยสาเร็จ ลุล่วงด้วยดี และขอขอบคุณคุณยุวรินทร์ บุญทบ ที่ ช่วยตรวจทานและให้ข้อเสนอแนะสาหรับความสมบูรณ์ ยิ่งขึ้นของงานวิจัย เอกสารอ้างอิง สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร. 2559. บัญชีรายชื่อแมลง ไร และสัตว์ ศัตรูพืชของพืช เศรษฐกิจในประเทศไทย. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์, กรุงเทพฯ. 199 หน้า. CABI. 2019. Spodoptera frugiperda (fall armyworm). (Online). Available: https://www.cabi.org/isc/datasheet/29810 FAO. 2017. Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda): Identification, Biology and Ecology. FAO, Rome, Italy. Gilligan, T.M. & S.C. Passoa. 2014. LepIntercept - An identification resource for intercepted Lepidoptera larvae. (Online). Available: http://idtools.org/id/leps/lepintercept/spodoptera.html Hill, D.S. 2008. Pests of Crops in Warmer Climates and Their Control. Springer Science + Business Media, Berlin. 704 pp. Holloway, J.D. 1989. The Moths of Borneo Part 12. The Malayan Nature Journal 42: 132-138. OEPP/EPPO. 2015. PM 7/124 Spodoptera littoralis, Spodoptera litura, Spodoptera frugiperda, Spodoptera eridania. Bulletin OEPP/EPPO Bulletin. 45(3): 410 – 444.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
15
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
การจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ศตั รูพืชในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) ในประเทศไทยด้วยลักษณะทางพันธุกรรม Molecular Identification of Pest Species in Oriental Fruit Fly, Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) Species Complex in Thailand ยุวรินทร์ บุญทบ ณัฏฐิมา โฆษิตเจริญกุล ชมัยพร บัวมาศ และ จารุวัตถ์ แต้กุล Yuvarin Boontop Nutthima Kositcharoenkul Chamaiporn Buamas and Charuwat taekul สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok, 1900
บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้กลุ่ม Bactrocera dorsalis complex เป็นศัตรูพืชที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิต ทางการเกษตรอย่างสูง การจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้จากลักษณะภายนอกที่ ใกล้เคียงกันมาก ก่อให้เกิด ปัญหาในการตรวจวินิจฉัยชนิด ซึ่งส่งผลเสียต่องานทางด้านกักกันพืชและการค้าระหว่างประเทศ รวมทั้งยาก ต่อการตัดสินใจในการหาแนวทางในการป้องกันกาจัด ซึ่งปัจจุบันมีการนาเทคนิคชีวโมเลกุลมาใช้ในการตรวจ วินิจฉัยชนิดของแมลงศัตรูพืช ทาให้ได้ผลการตรวจสอบที่ถูกต้อง แม่นยา รวดเร็วมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้จึงใช้ ดีเอ็นเอบาร์โค้ดจากยีนตาแหน่ง cox1 และความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการมาจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex ในประเทศไทยให้ถูกต้องและทันสมัยเทียบเท่าสากล ผลการศึกษาด้านสัณฐานวิทยาพบ แมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex 3 ชนิด ได้แก่ B. caramboale, B. dorsalis และ B. papayae แต่เมื่อศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ดพบว่า B. dorsalis นั้นมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับ B. papayae และทั้ง สองชนิ ด มี ค วามแตกต่ า งอย่ างเห็ น ได้ ชั ด จาก B. carambolae และจากการศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ ท าง วิวัฒนาการของแมลงวันผลไม้จานวน 70 ตัวอย่าง (B. dorsalis complex 61 ตัวอย่าง และแมลงวันผลไม้ใน วงศ์ Tephritidae 9 ตัวอย่าง) วิเคราะห์ด้วย Maximum Likelihood และ Bayesian analysis พบว่าทั้งสอง วิธีการให้ผลที่สอดคล้องกัน โดยแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex เป็น sister group และมีลักษณะ ทางพันธุกรรมแตกต่างจากแมลงวันผลไม้ชนิดอื่น ๆ ในวงศ์ Tephritidae อย่างเห็นได้ชัด และความสัมพันธ์ ภายในกลุ่มทั้ ง B. dorsalis แล B. carambolae นั้นมีลัก ษณะเป็น polyphyletic ผลจากการศึก ษาครั้ง นี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนการยืนยันชนิดของแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex ในประเทศไทยให้ทันสมัย เทียบเท่าสากล และควรมีการศึกษาต่อไป โดยเพิ่มข้อมูลของยีนตาแหน่งอื่นมาร่วมวิเคราะห์ด้วย คาสาคัญ : แมลงวันผลไม้ ดีเอ็นเอบาร์โค้ด พันธุกรรม
16
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
ABSTRACT One of most serious groups of horticultural pests, the Bactrocera dorsalis complex, is of particular biosecurity⁄quarantine concern. Species of this complex are notoriously difficult to identify using morphology, which, in view of the economic importance of these taxa and the international trade consequences, has caused in ongoing difficulties for plant protection. Nowadays, molecular diagnostic tools provide valuable support for rapid and accurate identification. DNA barcoding of the mitochondrial Cytochrome Oxidase I (cox1) gene and phylogenetic could be employed to increase the accuracy of B. dorsalis complex identification in Thailand as international standard. Three species of the B. dorsalis complex (B. carambolae, B. dorsalis and B. papayae) were identified using morphological characteristics. By using cox1 (DNA barcode), the results showed that B. carambolae could be clearly separated from B. dorsalis and B. papaya. However, B. dorsalis remained indistinguishable from B. papayae. Moreover, phylogenetic analyses were used to investigate patterns of clustering of the 70 dorsalis complex samples (61 samples) with other pest species of fruit flies (9 samples). Maximum Likelihood and Bayesian analyses of the sequences gave consistent results. Based on phylogenetic analyses of cox1, it proved effective in resolving B. dorsalis and B. carambolae from other fruit fly species. Phylogenetic analyses found that B. dorsalis formed a reciprocally monophyletic sister group to a large clade consisting of other fruit flies sampled. Although the phylogenetic study showed B. dorsalis and B. carambolae to be polyphyletic. The results of this study are promising and providing a basic understanding on the number of species of B. dorsalis complex present in Thailand. However, a further study is needed to understand more on the classification within the B. dorsalis complex group and to add additional genes for better classification. Keywords: Fruit fly, DNA barcoding, genetics คานา ผักและผลไม้ของไทย ถือเป็นสินค้าอีกหนึ่งประเภทที่มีความสาคัญของประเทศ เป็นรายได้หลักของ เกษตรกรไทย ปัจจุบันการส่งออกผักและผลไม้ของประเทศในภูมิภาคอาเซียนนั้นมีสภาวะการแข่งขันที่สูงขึ้น เพราะฉะนั้นการส่งออกผักผลไม้ไปตลาดต่างประเทศจะต้องมีมาตรฐานรับรอง และมีการตรวจสอบคุณภาพที่ เข้มงวด การจัดจาแนกศัตรูพืชที่มีโอกาสติดไปกับสินค้าเกษตรในการส่งออกให้มีความถูกต้องนั้นมีความสาคัญ เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะแมลงวันผลไม้ซึ่งเป็นศัตรูสาคัญของผักผลไม้
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
17
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
ในทวี ป เอเชี ย พบว่า แมลงวั น ผลไม้ ส กุ ล Bactrocera ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ผลผลิ ต ทาง การเกษตรอย่างมาก และพบว่าแมลงวันผลไม้ในกลุ่มนี้มีรูปร่างทางสัณฐานวิทยาภายนอกที่ใกล้เคียงกันมาก (Vergilo et al., 2015) จึ ง มี ก ารจัด แมลงวัน ผลไม้ ห ลายชนิด ให้ อ ยู่ในกลุ่ม ที่ มี ความซั บ ซ้ อน (complex) เนื่องจากมีความยากเป็นอย่างยิ่งในการใช้เพียงลักษณะสัณฐานภายนอกมาเป็นตัวจัดจาแนกชนิด โดยเฉพาะ แมลงวัน ผลไม้ ก ลุ่ม dorsalis complex นั้ น ก่ อให้เ กิ ดความสับ สนแก่ นัก อนุก รมวิธานแมลงเป็น อย่ างยิ่ ง เนื่องจากแมลงวันผลไม้กลุม่ นี้มีความแปรผันทางรูปร่างลักษณะภายนอก ยากต่อการตัดสินใจว่าเป็นความแปร ผันทางสัณ ฐานภายในชนิดเดียวกั นหรือ เป็นความแตกต่างระหว่างชนิดนั้ น ๆ (Kitthawee and Rungsri, 2011; Hernández-Ortiz et al., 2012) ดังนั้นจึงมีการนาเทคโนโลยีต่าง ๆ เช่น การศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcoding) มาประยุกต์ใช้ในการจัดจาแนกแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex (Krosch et al., 2012, 2013; Schutze et al., 2012) การนาเทคโนโลยี ท างชีวโมเลกุ ลมาใช้จาแนกสิ่ง มี ชีวิต ท าให้สามารถจาแนกและยืนยันชนิดของ สิ่งมีชีวิตให้มีความถูกต้องมากยิ่งขึ้น ซึ่งจากข้อมูลพื้นฐานที่ได้จากดีเอ็นเอบาร์โค้ดของแมลงวันผลไม้แต่ละชนิด ในครั้ง นี้จ ะสามารถนามาใช้ในการจ าแนกและยืนยันชนิดของแมลงผลไม้ ก ลุ่ม B. dorsalis complex ใน ประเทศไทยได้และเป็นการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลของแมลงวันผลไม้กลุ่มนี้ให้มีความทั นสมัยตามหลักสากล ซึ่ง จะก่อให้เกิดผลดีทั้งด้านอนุกรมวิธานและการนาเข้าส่งออกพืชผักผลไม้ของไทยสู่ตลาดโลกอีกด้วย อุปกรณ์และวิธีการ 1. การเก็บตัวอย่างแมลงวันผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex 1.1 ติดตั้งกับ ดัก แมลงวันผลไม้แบบถังเปียก (wet bucket trap) ภายในใส่สารล่อซึ่งผสมยาฆ่า แมลง นอกจากนี้ภายในถ้วยบรรจุสารโพรไพลีนไกลคอลซึ่งเป็นสารเคมีที่ช่วยในการคงรักษาสภาพดีเอ็นเอ ไม่ให้เสื่อมสลายไปตามสภาวะแวดล้อม เก็บตัวอย่างแมลงวันผลไม้จากพื้นที่การเกษตร และพื้นที่ป่าธรรมชาติ จาก 7 ภูมิภาคของประเทศไทย (ภาคเหนือ ภาคตะวันตก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคใต้) แต่เนื่อ งจากแมลงวันผลไม้ ในกลุ่ม B. dorsalis complex มีก ารเข้าท าลายพืช อาหารแตกต่างกัน จึงต้องเก็บรวบรวมตัวอย่างตัวอ่อนจากพืช อาหารที่แมลงวันผลไม้เข้าทาลาย ให้มีความ หลากหลายมากที่สุด ทั้งพืชผักสวนครัว ผลไม้ต่าง ๆ โดยใช้กับดักฟีโรโมนได้แก่ methyl Eugenol ติดตั้งใน พื้นที่เก็บตัวอย่าง ๆ ละ 5 อันต่อจุด สารวจ บันทึกพิกัดทางภูมิศาสตร์ (Global Positioning System: GPS) 1.2 นาส่วนของพืชที่พบร่องรอยการเข้าทาลายของแมลงวันผลไม้ มายังห้องปฏิบัติการ นาตัวอ่อนที่ เหลือใส่กล่องพลาสติกที่มีตะแกรงรองก้นซึ่งด้านล่างใส่ขี้เลื่อย และนากล่องพลาสติกใส่ในกรงผ้าเพื่อ เลี้ยงตัว อ่อนให้เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยเจริญออกมาให้อาหาร คือ น้าตาลผสม บรีเวอร์ยีสต์ในอัตรา 1:4 เพื่อให้สีบน ลาตัวพัฒนาได้ดี
18
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
1.3 จาแนกชนิดแมลงวันผลไม้จากแนวทางวินิจฉัยด้วย The Bactrocera dorsalis complex of fruit flies (Diptera: Tephritidae: Dacinae) in Asia (Drew and Hancock, 1994) และ Keys to the Tropical Fruit Flies of South-East Asia (Tephritidae: Dacinae) (Drew and Romig, 2016) 1.4 นาตัวเต็มวัยบางส่วนดองไว้ในแอลกอฮอล์ 95% และเก็บรักษาตัวอย่างไว้ตู้เก็บรักษาอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เพื่อรักษาคุณภาพของดีเอ็นเอและนาไปใช้ในการศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ด 2. การศึกษาข้อมูลทางพันธุกรรม (DNA barcode) 2.1 นาตัวอย่างแมลงวันผลไม้ที่ทาการจาแนกด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา มาทาการสกัดดีเอ็นเอ (DNA Extraction) โดยใช้วิธีการตาม Boontop et al., 2016 ร่วมกับคาแนะนาของชุดสกัดดีเอ็นเอสาเร็จรูป (ISOLATE II Genomic DNA kit; Bioline, Australia) ที่แนบมากับผลิตภัณฑ์บริษทั ตรวจสอบคุณาพดีเอ็นเอ ด้วยวิธีการเจลอิเล็คโตรโฟรีซสี ทีร่ ะดับความความเข้มข้น 1.5% 2.2 เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิค Polymerase Chain Reaction (PCR) โดยใช้คู่ไพร เมอร์ LCO1490 (GGTCAACAAATCATAAAGATATTGG) และ HCO2198 (TAAACTTCAGGGTGACCAAAAAATCA) นาปฏิกิริยา PCR ใส่ในเครื่องเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ โดยใช้สภาวะปฏิกิริยา PCR ดังนี้ initialdenaturing ที่อุณหภูมิ 94 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 นาที ตามด้วย denaturing ที่อุณหภูมิ 94 องศา เซลเซียส นาน 30 วินาที annealing ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 30 วินาที และ extension 72 องศา เซลเซียส นาน 30 วินาที (ทาซ้า denaturing, annealing และ extension จานวน 35 รอบ) จากนั้น final extension ที่อุณหภูมิ 72 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 นาที 2.3 ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ PCR (PCR product) ด้วยวิธีการเจลอิเล็คโตรโฟรีซสี ที่ความความเข้มข้น 1.5% 2.4 ตรวจหาลาดับนิวคลีโอไทด์ โดยส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์พีซีอาร์ ของแมลงวันผลไม้ที่ได้ไปทาให้ บริสุทธิ์ และหาลาดับนิวคลีโอไทด์ โดยใช้บริการของบริษัท Macrogen ประเทศเกาหลี 2.5 นาข้อ มู ล ของล าดับ นิ วคลีโอไทด์ข องยีน cox1 ที่ ผ่านการหาล าดับ นิวคลีโ อไทด์ มาท าการ วิเคราะห์ โดยทาการเปรียบเทียบล าดับ นิวคลีโอไทด์ของแมลงวันผลไม้ ที่นามาศึกษาทั้ งหมด (sequence assembly) ด้วยโปรแกรม Bioedit Sequence Alignment Editor Version 7.2.5 (Hall, 1999) 2.6 บันทึกข้อมูลลาดับนิวคล๊โอไทด์ในรูปแบบของ FASTA ไฟล์ หรือที่เราเรียกว่าดีเอ็นเอบาร์โค้ด นา ผลที่ ได้มาตรวจสอบชนิด กับ ฐานข้อมูล GenBank ซึ่ งเป็นแหล่งเก็บ รวบรวมฐานข้อมูลทางพันธุกรรมของ สิ่งมี ชีวิตชนิดต่าง ๆ จากทั่ วโลกอีก ครั้ง เพื่ อยืนยันความถูก ต้องข้อมูล ดีเอ็นเอบาร์โค้ด และข้อมูล ดีเอ็นเอ บาร์โค้ดที่ได้จะถูกเก็บบันทึก และรายงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงสาหรับการจัดทาบัญชีรายชื่อแมลงศัตรูพืช
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
19
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
และดีเอ็นเอที่สกัดได้ จะจัดเก็บไว้เป็นดีเอ็นเออ้างอิงที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส ณ พิพิธภัณฑ์แมลง กลุ่ม งานอนุกรมวิธานแมลง สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 3. การศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ (Phylogenetic analysis) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการเพื่อยืนยันความถูกต้องในการจัดจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ใน กลุ่ม B. dorsalis complex โดยทาการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ของบริเวณยีน cox1 จาก 70 ตัวอย่าง ได้แก่ B. dorsalis complex จานวน 61 ตัวอย่าง และแมลงวันผลไม้ที่ มี ความสาคัญ ทางเศรษฐกิ จในวงศ์ (Family) Tephritidae จ าน วน 9ตั วอ ย่ า ง ได้ แ ก่ Anastrata ludens (outgroup), B. correcta, B. Cucumis, B. latifrons B. tryoni, B. umbrosa, B. zonata, Zeugodacus cucurbitae และ Z. tau การ ประมวลผลและวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล ใช้ เกณฑ์ ม าตรฐาน 2 ประเภท คื อ Maximum Likelihood (ML) และ Bayesian Inference (BI) เตรียมชุดข้อมูลที่จะใช้ในการวิเคราะห์ในแต่ละวิธี ดังนี้ Maximum Likelihood เตรียมไฟล์ .phy ใช้โปรแกรม RAxML v8.1.15 (Stamatakis, 2014) ในการวิเคราะห์ กาหนดค่า model of evolution แบบ GTRGAMMA วิ เ คราะห์ ด้ ว ย rapid bootstrap (command –f a) เริ่ ม วิ เ คราะห์ จ าก random starting tree และ ก าหนดค่ า 1000 ซ้ า ส าหรั บ maximum likelihood bootstrap และ Bayesian inference เตรียมไฟล์ .nexus ใช้โปรแกรม MrBayes (Ronquist and Huelsenbeck, 2003) ใช้ วิธี Markov Chain Monte Carlo (MCMC) ค่าตั้ง ต้นที่ ใช้ในการวิเคราะห์ดังนี้ Mcmc startingtree=user ngen=1 0 0 0 0 0 0 0 temp=0 .2 5 nruns=4 samplefreq=1 0 0 0 pintfreq=1 0 0 0 nchains=4 savebrlens=yes stoprules=yes stopval=0 .0 1 ; ป รั บ ค่ า generation temperature substitution model parameters จานวน generation และ burnin เพื่ อให้ได้ concensus topology ตรวจสอบความ เชื่อมั่นของผลวิเคราะห์ด้วย cumulative and compare functions โดย AWTY (Nylander et al., 2008) ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การเก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงวันผลไม้ B. dorsalis complex จากการใช้กับดักแมลงวันผลไม้ แบบถังเปียก (ภาพผนวกที่ 1) และการรวบรวมจากพืชอาหารต่าง ๆ สามารถรวบรวมแมลงวันผลไม้ ในกลุ่ม B. dorsalis complex (ภาพผนวกที่ 2) ได้ จานวน 397 ตัวอย่าง (ตารางผนวกที่ 1) ทาการตรวจวิเคราะห์ชนิดแมลงวันผลไม้จากลักษณะทางสัณฐานวิทยา ด้วยแนวทางวินิจฉัย Keys to the Tropical Fruit Flies of South-East Asia (Tephritidae: Dacinae) (Drew and Romig, 2016) พบแมลงวันผลไม้ B. dorsalis complex ที่สามารถจาแนกได้ 2 ชนิด ได้แก่ B. carambolae และ B. dorsalis (ภาพที่ 1) และยังมีอีกหลายตัวอย่างที่มีความแปรผันทางสัณฐานวิทยาทาให้ไม่สามารถจาแนก ได้ และเก็บรักษาตัวอย่างไว้ในแอลกอฮอล์ 95% ที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เพื่อนาไปสกัดดีเอ็นเอ และ ศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ดต่อไป
20
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
จากการสารวจพืชอาศัย และการแพร่กระจายของแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex พบว่า แมลงวันผลไม้ B. carambolae กระจายตัวเฉพาะเขตภาคใต้ของไทย ซึ่งแตกต่างจาก B. dorsalis ที่มีการ กระจายทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย (ตารางผนวกที่ 1)
ภาพที่ 1 ลักษณะสัณฐานวิทยาแมลงวันผลไม้กลุ่ม Bactrocera dorsalis complex (ก) Bactrocera carambolae Drew & Hancock (ข) Bactrocera dorsalis Hendel 2. การศึกษาข้อมูลทางพันธุกรรม การศึกษาครั้งนี้ทาการสกัดดีเอ็นเอของแมลงวันผลไม้ B. carambolae จานวน 20 ตัวอย่าง และ B. dorsalis จานวน 41 ตัวอย่าง เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอบริเวณยีน cox1 (ภาพที่ 2) ตรวจหาลาดับนิวคลีโอไทด์ ของดีเอ็นเอจากแมลงวันผลไม้ B. carambolae จานวน 20 ตัวอย่าง และ B. dorsalis จานวน 41 ตัวอย่าง บันทึ กผลนิวคลีโอไทด์ในรูปแบบของ FASTA ไฟล์ หรือที่เราเรียกว่า Barcode นาลาดับ นิวคลีโอไทด์ ของ ตัวอย่างแมลงวันผลไม้ที่ทาการศึกษามาเปรียบเทียบกับนิวคลีโอไทด์ของแมลงวันผลไม้ที่รายงานในฐานข้อมูล สากล คือ GenBank เพื่ อ เป็ นการยื นยัน ความถูก ต้องของดีเอ็นเอบาร์โค้ด พบว่าล าดับ นิ วคลีโอไทด์ ของ แมลงวันผลไม้ที่ทาการศึกษามีความคล้ายคลึงกับฐานข้อมูลสูงถึง 99 - 100%
ภาพที่ 2 ผลิตภัณฑ์พีซีอาร์ จากยีน cox1 (LCO1490/HCO2198) universal primer จากแมลงวันผลไม้ Bactrocera carambolae (ตัวอย่าง 1-5) และ B. dorsalis (ตัวอย่าง 8-12) ช่อง 1-5: B. carambolae ช่อง 8-12: B. dorsalis ช่อง 6 และ 13: negative control (ddH2O) ช่อง 7 และ 14: positive control (Z. cucurbitae) ช่อง M: Marker 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
21
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าลาดับนิวคลีโอไทด์ของแมลงวันผลไม้บางตัวอย่าง เมื่อนานิวคลีโอไทด์ที่ได้ จากการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอบริเวณยีน cox1 มาใช้ศึกษาความแตกต่างของแมลงวันผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex นั้น ยังมีความคลุมเครือ ไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง B. dorsalis กับ B. carambolae ได้อย่างชัดเจนในบางตัวอย่าง จึง ใช้ไพรเมอร์ที่ มีป ระสิท ธิภาพสูง ขึ้นในการแยกความแตกต่างระหว่าง B. dorsalis กับ B. carambolae คือ ITS1: ITS7F: GAA TTT CGC ATA CAT TGT AT และ ITS6R: AGC CGA GTG ATC CAC CGC T (Boykin et al., 2013) ซึ่งเมื่อนาผลิตภัณฑ์พีซีอาร์ จากการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอบริเวณยีน ITS1 (ภาพที่ 3) ตรวจวิเคราะห์ ล าดั บ นิวคลีโ อไทด์และนามาเปรียบเที ยบกั บ ฐานข้อมู ล ใน GenBank พบว่ามี ค วามถูก ต้ องในการตรวจ วิเคราะห์สูงถึง 99 - 100 % และสามารถใช้แยกความแตกต่างระหว่าง B. dorsalis และ B. carambolae ได้อย่างชัดเจน
ภาพที่ 3 ผลิตภัณฑ์ PCR จาก ยีน ITS (ITS7F/ITS6R) จากแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (ตัวอย่าง 15) และ Bactrocera carambolae (ตัวอย่าง 6-10) ช่อง 1-5: Bactrocera dorsalis ช่อง 6 -10: Bactrocera carambolae ช่อง M: Marker 3. การศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex จากการศึกษาความสัมพั นธ์ทางวิวัฒนาการของแมลงวันผลไม้ กลุ่ม B. dorsalis complex เพื่อใช้ ยืนยันข้อมูลการจัดจาแนกชนิด โดยทาการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ของบริเวณยีน cox1 จาก 70 ตัวอย่าง ได้แก่ B. dorsalis complex จานวน 61 ตัวอย่าง และแมลงวันผลไม้ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจจานวน 9 ตั ว อ ย่ า ง (Anastrata ludens, B. correcta, B. cucumis, B. latifrons B. tryoni, B. umbrosa, B. zonata, Z. cucurbitae และ Z. tau) วิเคราะห์ด้วย Maximum Likelihood และ Bayesian analysis พบว่าแผนภูมิความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการจากทั้งสองวิธีการมีผลที่สอดคล้องกัน โดยแมลงวันผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex เป็น sister group ของแมลงวันผลไม้ชนิดอื่น ๆ ใน Family Tephritidae อย่างชัดเจน แต่เมื่อพิจารณาดูความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของแมลงวันผลไม้ในแต่ละกลุ่ม พบว่าความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม ทั้ ง B. dorsalis และ B. carambolae นั้ น มี ลั ก ษณะเป็ น polyphyletic ดัง นั้ น ข้อ มู ล ที่ ได้จ ากการศึก ษา สามารถยืน ยั น เบื้ อ งต้น ได้ ว่า แมลงวัน ผลไม้ B. dorsalis แล B. carambolae สามารถจั ด จ าแนกความ แตกต่างระหว่างกลุ่มได้ แต่การจัดจาแนกชนิดภายในกลุ่มต้องเพิ่มข้อมูลของดีเอ็นเอของยีนตาแหน่งอื่นมาร่วม 22
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
วิเคราะห์ ซึ่งยีนตาแหน่ง cox1 สามารถจาแนกได้เพียงความแตกต่างในระดับกลุ่มของ B. dorsalis และ B. carambolae เท่านั้น อย่างไรก็ตามข้อมูลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถทราบข้อมูลเบื้องต้นของจานวนชนิด ของ B. dorsalis ในประเทศไทย แต่ ก ารยื น ยั น ชนิ ด หรือ จั ด จ าแนกชนิ ด ภายในกลุ่ ม ของ B. dorsalis complex นั้นต้องมีการศึกษาต่อไป
ภาพที่ 4 แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการด้วยเกณฑ์มาตราฐาน Bayesian analysis จากยีน cox1 ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera carambolae และ B. dorsalis ร่วมกับแมลงวันผลไม้ที่มีความสาคัญอีก 9 ชนิด ได้แก่ Anastrata ludens B. correcta, B. cucumis, B. latifrons B. tryoni, B. umbrosa, B. zonata, Z. cucurbitae และ Z. tau ด้วย ซึ่งมี A. ludens เป็น outgroup
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
23
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
ภาพที่ 5 แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการด้วยเกณฑ์มาตราฐาน Bayesian analysis จากยีน cox1 ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera carambolae และ B. dorsalis ร่วมกับแมลงวันผลไม้ทมี่ ีความสาคัญอีก 9 ชนิด ได้แก่ Anastrata ludens B. correcta, B. cucumis, B. latifrons B. tryoni, B. umbrosa, B. zonata, Z. cucurbitae และ Z. tau ด้วย ซึ่งมี A. ludens เป็น outgroup วิจารณ์ผลการทดลอง จากการศึก ษาครั้ง นี้ท าให้ท ราบข้อมู ล ทางชีวโมเลกุล ของแมลงวันผลไม้ที่ มี ความซับ ซ้อนหรือ ใกล้เคียงกัน ซึ่งเป็นการยากที่ จะใช้เพี ยงลักษณะสัณฐานภายนอกมาเป็นตัวจัดจาแนก และยืนยันว่า cox1 เป็นยีนที่สามารถใช้ในการศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ดในแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex ได้ เนื่องจากยีน cox1 มี ความแตกต่างมากพอที่จะทาให้แยกสิ่งมีชีวิตต่ างชนิดกั นออกจากกันได้ เป็นยีนที่ มีบริเวณอนุรัก ษ์ (conserve area) ขนาดนิวคลีโอไทด์มีความเหมาะสมคือประมาณ 500 - 800 คู่เบส ง่ายต่อการเพิ่มปริมาณดี เอ็นเอ ดังนั้นไพรเมอร์ที่เป็น universal primer จะสามารถเข้ามาจับและเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยปฏิกิริยาพีซี อาร์ ได้ง่ายและรวดเร็ว นอกจากนี้ลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน cox1 ยังสามารถแยกความแตกต่างในสิ่งมีชีวิตที่ มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากได้อีกด้วย การเลือกบริเวณยีนที่จะนามาใช้มีความสาคัญมาก เพราะหากเลือก
24
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
ขนาดและบริเวณที่ นามาใช้เป็นดีเอ็นเอบาร์โค้ดได้เหมาะสมกั บชนิดของสิ่งมี ชีวิตที่ ต้องการศึก ษาจะท าให้ สามารถนาไปใช้ได้ง่าย สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น การศึกษาครั้งนี้พ บว่าเมื่อใช้ข้อมูล ลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน cox1 มีบางตัวอย่างแสดงผลดีเอ็นเอ บาร์โค้ด ของแมลงวันในกลุ่ม B. dorsalis complex ไม่ ชัดเจน ดังนั้นจึงมี การศึกษาเพิ่ม เติม ด้วยไพรเมอร์ ITS1 ซึ่งพบว่าสามารถจ าแนกชนิดของ B. dorsalis และ B. carambolae ได้อย่างถูกต้องถึง 99 - 100% นอกจากนี้ ยั ง สามารถใช้ ITS1 ในการแยกความแตกต่ างระหว่ างแมลงวั น ผลไม้ B. carambolae และ B. dorsalis ด้วยวิธีการเจลอิเล็คโตรโฟรีซีสเพียงเท่านั้น เนื่องจากขนาดของลาดับนิวคลีโอไทด์มีความแตกต่าง กันประมาณ 44 คู่เบส สามารถแยกความแตกต่างได้ด้วยสายตาซึ่งเป็นการตรวจสอบในเบื้องต้นที่ มีความ น่าเชื่อถือ และช่วยลดค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ได้ และผลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถ นาไปใช้ได้ จ ริง ในการจ าแนกชนิดแมลงวันผลไม้ เพื่ อ การศึก ษาประสิท ธิภ าพในการก าจัดแมลงวันผลไม้ B. carambolae ในมังคุดก่อนการส่งออกไปประเทศไต้หวันอีกด้วย (ชัยณรัตน์ และคณะ, 2662) นอกจากนี้ ในการศึก ษาครั้ ง นี้ ได้ วิเ คราะห์ ค วามสั ม พั น ธ์ ท างวิวัฒ นาการโดยวิธีก าร Maximum Likelihood และ Bayesian analysis ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสมทีส่ ุดในการศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ และช่วยเป็นข้อมูลสนับสนุนยืนยันชนิดของแมลงวันผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex นั้น พบว่า แมลงวัน ผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex แยกออกมาจากแมลงวันผลไม้ชนิดอื่น ๆ ในวงศ์ Tephritidae อย่างเห็น ได้ชัด ซึ่งหากต้องการศึกษาการแบ่งกลุ่มที่ชัดเจนมากขึ้น จะต้องมีการใช้ยีนตาแหน่งอื่น ๆ ในการศึกษาให้มี จานวนมากขึ้น เช่นเดียวกับ Boykin et al., 2013 ที่ใช้ยีนถึง 6 ตาแหน่ง (cox1, nad4-3’, CAD, period, ITS1 และ ITS2) หรือทาการศึกษาอนุกรมวิธานแมลงวันผลไม้แบบผสมผสาน (Integrative Taxonomy) โดย การประยุ ก ต์ ใช้ เ ทคนิ ค มอร์ โ ฟเมตริ ก แบบจี โ อเมตริ ก (geometric morphometric) มาผสมผสานกั บ การศึกษาทางชีวโมเลกุลในแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex จะช่วยสนับสนุนและยืนยันการตรวจ จาแนกได้เป็นอย่างดี เช่นเดียวกับการศึกษาของ Krosch et al (2012, 2013) และ Schutze et al (2012, 2015) สรุปผลการทดลอง การเก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงวันผลไม้ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจากทั่วทุกภูมิภาคของไทย โดยการใช้ กับดักแมลงวันผลไม้ แบบถังเปียกร่วมกับสารล่อที่ใช้ Methyl eugenol และ CUE lure รวมทั้งการรวบรวม ตัวอย่างจากพืชอาหารต่าง ๆ พบแมลงวันผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex ทั้งหมดจานวน 397 ตัวอย่าง พบแมลงวันผลไม้ จานวน 3 ชนิด ได้แก่ B. dorsalis, B. carambolae และ Bactrocera spp. และได้ข้อมูล ดีเอ็น เอบาร์โ ค้ดของแมลงวัน ผลไม้ B. dorsalis จ านวน 41 ตั วอย่าง และ B. carambolae จ านวน 20 ตัวอย่าง การศึก ษาครั้งนี้ ยืน ยัน ได้ว่าไพรเมอร์ ITS1 สามารถแยกความแตกต่ างระหว่างแมลงวันผลไม้ B. carambolae และ B. dorsalis ด้วยวิธีก ารเจลอิ เล็ คโตรโฟรีซี ส เพี ยงเท่ านั้ น และสามารถแยกความ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
25
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
แตกต่างได้ด้วยสายตา ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการตรวจวิเคราะห์ และสามารถนาไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการส่งออก มังคุดของไทยไปยังประเทศไต้หวัน นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ช่วยยืนยันจานวนชนิดของ B. dorsalis ในประเทศไทย ให้ มีความสอดคล้องและทันสมัยเทียบเท่าระดับสากล ดังเช่น Schutze et al., 2015 ศึกษาแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex ด้วยการศึกษาอนุกรมวิธานแบบผสมผสาน และยืนยันได้ว่าแมลงวันผลไม้ที่ เคยเป็น B. papaya, B. philipinensis และ B. invadens จริง ๆ แล้วเป็นชนิดเดียวกับ B. dorsalis ซึ่งสอดคล้องกับ การศึ ก ษาครั้ง นี้ที่ พ บว่าเมื่ อ นาดีเอ็ นเอของแมลงวันผลไม้ B. papayae และ B. philipinensis มาศึก ษา ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการนั้น แมลงวันผลไม้ทั้งสองชนิดจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับ B. dorsalis และแยกออกมา จาก B. carambolae อย่างเห็นได้ชัด คาขอบคุณ ขอขอบคุณ ดร. ชนินทร ดวงสอาด ผู้ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ ทา ให้งานวิจัยชิ้นนี้สาเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี เอกสารอ้างอิง ชัยณรัตน์ สนศิริ สลักจิต พานคา ชลธิชา รักใคร่ มลนิภา ศรีมาตาภิรมย์ พุฒพิ งษ์ เพ็งฤกษ์ และ พงษ์ศักดิ์ จิณฤทธิ์. 2562. การศึกษายืนยันประสิทธิภาพในการกาจัดแมลงวันผลไม้ Bactrocera carambolae ในมังคุดก่อนการส่งออกไปประเทศไต้หวัน.หน้า 171-193 ใน เอกสารประกอบการ ประชุมวิชาการประจาปี 2562. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.กรมวิชาการเกษตร.กรุงเทพฯ Boontop, Y. 2016. Natural variation and biogeography of the melon fruit fly, Zeugodacus cucurbitae (Diptera: Tephritidae), in Southeast-Asia and the West-Pacific. Ph.D. Thesis. Queensland University of Technology, Australia. Boykin, L.M, M.K Schutze and M.N. Krosch. 2013. Multi-gene phylogenetic analysis of southeast Asian pest members of the Bactrocera dorsalis species complex (Diptera: Tephritidae) does not support current taxonomy. Journal of Applied Entomology 138(4). Drew, R.A.I. & Hancock, D.L. 1994. The Bactrocera dorsalis complex of fruit flies (Diptera: Tephritidae: Dacinae) in Asia. Bulletin of Entomological Research Supplement Series 2: 1-68. Drew, R.A.I. & Romig, M. 2016. Keys to the tropical fruit flies of South-East Asia. CABI, London, UK. 487 pp. Hall, T. A. 1999. BioEdit: a user-friendly biological sequence alignment editor and analysis program for Windows 95/98/NT. In Nucleic Acids Symposium Series, 41, 95-98. 26
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
Hernández-Ortiz, V., Bartolucci, A.F., Morales-Valles, P., Frias, D. & Selivon, D. 2012. Cryptic species of the Anastrepha fraterculus complex (Diptera: Tephritidae): a multivariate approach for the recognition of South American morphotypes. Annals of the Entomological Society of America 105: 305-318. Kitthawee, S. and Rungsri, N. 2011. Differentiation in wing shape in the Bactrocera tau (Walker) complex on a single fruit species in Thailand. Science Asia 37: 308-313. Krosch, M.N., Schutze, M., Armstrong, K.F., Graham, G.C., Yeates, D.K. & Clarke, A.R. 2012. A molecular phylogeny for the Tribe Dacini (Diptera: Tephritidae): Systematic and biogeographic implications. A molecular phylogeny for the Tribe Dacini (Diptera: Tephritidae): Systematic and biogeographic implications. Molecular Phylogenetics and Evolution. doi.org/10.1016/j.ympev.2012.05.006 Krosch, M.N., Schutze, M.K., Armstrong, K.F., Boontop, Y., Boykin, L.M., Chapman, T.A., Englezou, A., Cameron, S.L. & Clarke, A.R. 2013. Piecing together an integrative taxonomic puzzle: microsatellite, wing shape and aedeagus length analyses of Bactrocera dorsalis s.l. (Diptera: Tephritidae) find no evidence of multiple lineages in a proposed contact zone along the Thai/Malay Peninsula. Systematic Entomology 38: 2-13. Nylander, J. A., Wilgenbusch, J. C., Warren, D. L. and D. L., Swofford. 2008. AWTY (are we there yet?): a system for graphical exploration of MCMC convergence in Bayesian phylogenetics. Bioinformatics 24: 581-583. Ronquist, F. and J.P. Huelsenbeck. 2003. MrBayes 3: Bayesian phylogenetic inference under mixed models. Bioinformatics 19: 1572-1574. Schutze, M.K., Jessup, A. & Clarke, A.R. 2012. Wing shape as potential discriminator of morphologically similar pest taxa within the Bactrocera dorsalis species complex (Diptera: Tephritidae). Bulletin of Entomological Research 102: 103-111. Schutze, M. K., Aketarawong, N., Amornsak, W., Armstrong, K. F., Augustinos, A. A., Barr, N., Clarke, A. R. 2015. Synonymization of key pest species within the Bactrocera dorsalis species complex (Diptera: Tephritidae): taxonomic changes based on a review of 20 years of integrative morphological, molecular, cytogenetic, behavioural and chemoecological data. Systematic Entomology, 40(2), 456-471. Stamatakis, A. 2014. RAxML version 8: a tool for phylogenetic analysis and post-analysis of large phylogenies. Bioinformatics 30:1312-1313. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
27
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
Virgilio, M., Jordaens, K., Verwimp, C., White, I. M., & De Meyer, M. 2015. Higher phylogeny of frugivorous flies (Diptera, Tephritidae, Dacini): Localised partition conflicts and a novel generic classification. Molecular Phylogenetics and Evolution, 85, 171-179.
ภาพผนวกที่ 1 กับดักแมลงวันผลไม้แบบถังเปียก (wet bucket trap) สาหรับงานด้านชีวโมเลกุล
ภาพผนวกที่ 2 ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของมลงวันผลไม้ในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex (ก) ส่วนหัว ด้านหน้า (ข) ส่วนอก ด้านบนมี Lateral postsutural vittae (ค) ลักษณะปีก ใส (ง) ส่วนท้องมีลกั ษณะเป็นรูปตัวที “T”
28
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-02
ตารางผนวกที่ 1 ชื่อวิทยาศาสตร์ จานวนตัวอย่าง พืชอาศัย และการแพร่กระจายของแมลงวันผลไม้ในกลุม่ Bactrocera dorsalis ชื่อวิทยาศาสตร์
จานวน ตัวอย่าง 50
1
B. dorsalis
2
B. carambolae
22
3
Bactrocera spp.
325
พืชอาศัย
การแพร่กระจาย
ชมพู่ ฝรั่ง แตงกวา เมล่อน มะระขี้นก ฟักทอง กระท้อน มะม่วง ขนุน และแตงโม มะเฟือง ชมพู่ มะม่วง
เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน น่าน นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย มหาสารคาม กาญจนบุรี ตาก จันทบุรี ระยอง สุราษฎร์ ธานี ชุมพร ระนอง ตรัง พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต กรุงเทพมหานคร นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และ อุบลราชธานี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ตรัง สงขลา สุราษฎร์ธานี กระบี่ นครศรีธรรมราช พังงา และ ภูเก็ต
ชมพู่ ฝรั่ง แตงกวา เมล่อน มะระขี้นก ฟักทอง กระท้อน มะม่วง ขนุน และแตงโม
เชียงใหม่ เชียงราย ลาพูน น่าน นครราชสีมา ชัยภูมิ ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย มหาสารคาม กาญจนบุรี ตาก จันทบุรี ระยอง สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระยอง ตรัง เพชรบุรี พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต กรุงเทพมหานคร นครปฐม สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และ อุบลราชธานี
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
29
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
การศึกษาความเป็นพืชอาศัย: การเข้าทาลายของแมลงวันทองในแก้วมังกรเนื้อแดง Host Status: Infestability of Red Dragon Fruit by Oriental Fruit fly, Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) ปวีณา บูชาเทียน1 วลัยกร รัตนเดชากุล2 รัชฎา อินทรกาแหง1 ศิรพิ ร คงทวี1 อนัญญา นุชเขียว1 และ สลักจิต พานคา1 Paweena Buchatian1 Walaikorn Rattanadechakul2 Ratchada Intarakumheng1 Siriporn Khongthawie1 Ananya Nuchkeaw1 And Saluckjit phankum1 1
สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 สานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 2 Office of Agricultural Regulation, Department of Agriculture, Bangkok 10900
1
บทคัดย่อ แก้วมังกรเนื้อแดง (Hylocereus costaricensis) (Weber) Britton & Rose เป็นผลไม้ที่มีศักยภาพ เป็นพืชส่งออกได้ แต่ปัญหาแมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) ศัตรูพืช กักกันที่มีความสาคัญและเป็นอุปสรรคต่อผลไม้สดส่งออก ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการทดลองนี้ คือ ศึกษาความ เป็นพืชอาศัยของแมลงวันทองในผลแก้วมังกรเนื้อแดงก่อนการส่งออก หัวข้อศึกษามีดังนี้ 1) การศึกษาความ เป็นพืชอาศัยของแมลงวันทอง B. dorsalis ในแก้วมั งกรเนื้อแดงด้วยวิธีบังคับแมลงให้ไข่ในผลไม้ในสภาพ ห้องปฏิบัติการ โดยแบ่งแก้วมังกรเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกเจาะรู 10 รู กลุ่มสองไม่เจาะรู เปรียบเทียบการเข้า ทาลายของแมลงเมื่อวางผลไม้ภายในกรงเป็นเวลานาน 20, 30 และ 40 นาที หลังจากนั้นนาผลไม้ไปเก็บ ที่ ห้องควบคุมอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 60-70 เป็นเวลา 7 วัน ผลการศึกษา พบว่า หนอนแมลงวันทองในผลไม้ ที่เจาะรูมีการรอดชีวิตเฉลี่ย 21.33, 15.93 และ 28.8 ตามลาดับ ซึ่งมากกว่าผล แก้วมังกรไม่เจาะรูพบร้อยละ 0.46, 1.2 และ 3.8 ตามลาดับ 2) การศึกษาระยะการเจริญเติบโตของแมลงวัน ทอง B. dorsalis ในผลแก้วมังกรเปรียบเทียบกับการเลี้ยงด้วยอาหารเทียม พบว่าอัตราการเจริญเติบ โตของ หนอนวัย 2 ในผลแก้วมังกรเร็วกว่าเลี้ยงในอาหารเทียม 1 วัน ส่วนหนอนระยะอื่นๆไม่มีความแตกต่างกัน ผล การทดลองสรุปได้ว่าแก้ วมังกรเป็นพื ชอาศัยของ B. dorsalis และผลการศึกษาดังกล่าวท าให้ได้ข้อมูลเพื่อ นาไปใช้ศึกษาการกาจัดแมลงวันทองด้านกักกันพืชก่อนการส่งออกต่อไป คาสาคัญ : แก้วมัง กร แมลงวั นทอง (Bactrocera dorsalis) พืชอาศัย บังคับแมลงให้ไข่ในผลไม้ในสภาพ ห้องปฏิบัติการ
30
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
ABSTRACT Red dragon fruit (Hylocereus costaricensis) (Weber) Britton & Rose is the potential fruit be able to export. However the Oriental fruit fly, Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) is the important quarantine pests of fresh fruit for international trade. The objective of this study is to determine host status of red dragon fruit to the Oriental fruit fly. This studied was conducted as follows 1) we conducted laboratory force infestation in cage by divided fruits to two groups. First group were puncture 10 holes and second group were non-puncture. We compared number of larval survival in the fruits after infestation at different exposure time of 20, 30 and 40 minutes. After infestation, the fruit were kept in the room at 27 oC and humidity 60-70 % RH for 7 days. The result shown that average larva survival in 10 puncture holes dragon fruits were 21.33, 15.93 and 28.8, respectively higher than non-puncture fruit which found 0.46, 1.2 and 3.8, respectively. 2) The studied of development stage of B. dorsalis on dragon fruit compared with artificial diet shown that the 2nd instar larva perform development on fruits faster than artificial diet 1 day but other larval stages showed no difference. In conclusion, red dragon fruit was host of B. dorsalis. According to these data, we are further study for develop quarantine heat treatment to disinfest the Oriental fruit fly in red dragon fruit before export. Keywords: dragon fruit, Oriental Fruit fly (Bactrocera dorsalis), host status, force infestation คานา แก้วมังกร หรือ Dragon fruit เป็นพืชในวงศ์กระบองเพชร (Cactaceae) จัดอยู่ในสกุล Hylocereus เป็นพืชไม้เลื้อย มีถิ่นกาเนิดทางตอนใต้ของประเทศเม็กซิโกและประเทศใกล้เคียง สาหรับประเทศไทยมีการ ปลูกมาตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยนาเข้าต้นพันธุ์ดีจากเวียดนามมาปลูกเพื่อเป็นพืชเศรษฐกิจ พันธุ์ที่มีการนาเข้ามา ในช่วงแรกเป็นพันธุ์เนื้อในสีขาว ต่อมามีการนาเข้าแก้วมังกรพันธุ์เนื้อในสีแดงทีม่ ีชื่อว่า "แดงสยาม" จากไต้หวัน เข้ ามาปลู ก ในประเทศไทยที่ มี ชื่อ วิท ยาศาสตร์ H. costaricensis (Web.) Britton & Rose ลั ก ษณะทาง พฤกษศาสตร์ของแก้วมังกรเนื้อแดง คือมีลาต้นเป็นปล้องสามเหลี่ยมแยกเป็น 3 แฉก มีลักษณะอวบน้า สีเขียว เข้มปนเทา ซึ่งเป็นส่วนของใบที่เปลี่ยนรูปร่างไป ส่วนลาต้นที่แท้จริงอยู่ในตาแหน่งที่เป็นศูนย์กลางของแฉกทั้ง 3 ที่ลาต้นด้านนอกมีหนามเป็นกลุ่มๆ มีรากทั้งในดินและรากอากาศ ดอกของแก้วมัง กรเป็นดอกเดี่ยวขนาด ใหญ่ มี เกสรเพศผู้จานวนมาก มีก้านเกสรเพศเมี ย 1 อัน ส่วนของกลีบดอกอยู่ด้านบนของรังไข่ เมื่อบานมี ลักษณะคล้ายปากแตร โดยบานในช่วงหัวค่าจนถึงเช้า มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลแก้วมังกรเป็นทรงกลม มีเนื้อหลาย เมล็ด (berry) ที่ผลมีกลีบ ภายในผลเมื่อผ่าออกมีเนือ้ สีแดงอมม่วง เมล็ดมีขนาดเล็กสีดา ลักษณะคล้ายเมล็ดงา (จินตน์กานต์, มปป.; กฤติยา, 2559; Le Bellec et al., 2006) แก้วมังกรเป็นพืชวันยาวที่ออกดอกให้ผลผลิต 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
31
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
ตามธรรมชาติในช่วงเดือนมีนาคม-ตุลาคม (ภาสันต์และคณะ, 2559) มีป ระโยชน์ต่อร่างกายเหมาะกับคนที่ สนใจสุขภาพ เนือ่ งจากแก้วมังกรเป็นผลไม้ที่ให้พลังงานต่า (ประมาณ 50 - 60 กิโลแคลอรี/100 กรัม) น้าตาล ที่พบส่วนใหญ่เป็นน้าตาลกลูโคส ฟรุกโตส และซูโครส ในเนื้อ ผลพบวิตามินซี ใยอาหาร และโพแทสเซียมสูง นอกจากนี้ยังพบสารในกลุ่มโอลิโกแซคคาไรด์ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นพรีไบโอติก กระตุ้นการเจริญเติบโตของโปร ไบโอติก ในล าไส้ ช่วยในเรื่อ งการขับ ถ่าย และในเมล็ด ของแก้ วมั ง กรยัง อุดมไปด้วยกรดไขมั น จ าเป็ นซึ่ง มี ประโยชน์ต่อร่างกาย การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาในหลอดทดลองและสัตว์ทดลองพบว่าแก้วมังกรมีฤทธิ์ต้าน จุลชีพก่อโรคหลายชนิด มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ต้านเซลล์มะเร็ง ต้านการอักเสบ ลดไขมันในเลือด ต้านภาวะ เบาหวาน ลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน และช่วยปกป้องตับจากสารพิษ ซึ่งพบว่าการบริโภคแก้วมังกรจะทาให้ระดับ น้าตาลและไขมั นในเลือ ดลดลง ในส่วนของการศึก ษาความเป็ นพิ ษ พบว่าเนื้ อผลของแก้ วมั ง กร รวมทั้ ง สารสาคัญอย่าง betalains มีความปลอดภัยสูง โดยพบทั้งในส่วนเปลือกและในเนื้อผลที่มีสีแดงหรือแดง-ม่วง ในทางอุตสาหกรรมนิยมนาสารกลุ่มดังกล่าวมาทาเป็ นสีผสมอาหาร (กฤติยา, 2559; Ho Dinh Hai, 2014) นอกจากนี้ยังมีการใช้สารสกัดจากเปลือกเพื่อย้อมเนื้อเยื่อเพื่อใช้ศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ได้เป็นอย่ างดี (Wagiyanti and Noor, 2017) จากประโยชน์ของแก้วมังกรที่กล่าวมาข้างต้น จึงทาให้เห็นว่าแก้วมังกรเหมาะสาหรับเป็นผลไม้ที่มี ประโยชน์ต่อสุขภาพ ซึ่งในปัจจุบันคนส่วนใหญ่เริม่ ตระหนักและหันมาใส่ใจการรับสิ่งอาหารที่ดีต่อร่างกายมาก ขึ้น ทาให้เห็นว่าแก้วมังกรเนื้อแดงมีความสามารถเป็นผลไม้ที่มีศักยภาพส่งออกไปยังต่างประเทศได้ แต่ปัญหา การกักกันพืชระหว่างประเทศมีเงื่อนไข ข้อต่อรองเพิ่มขึ้น เนื่องจากการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศ อย่างรวดเร็ว การนาเข้าและส่งออกผักและผลไม้ทาให้มีความเสี่ยงสูงที่แมลงศัตรูพืชร้ายแรงด้านกักกั นพืชจะ แพร่ระบาดจากประเทศหนึ่งไปยังอีก ประเทศหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แมลงวันผลไม้ ในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex ซึ่งเป็นแมลงที่มี ความสาคัญ ต่อการส่งออกที่สาคัญ มีพืชอาศัยหลายชนิด การวิจัยและ พัฒ นาวิธีการกาจัดศัตรูพืชด้านกั กกันพืช เพื่อใช้สาหรับกาจัดแมลงในผัก และผลไม้ห ลังการเก็ บเกี่ยว จึง มี ความสาคัญอย่างยิ่งต่องานกักกันพืชระหว่างประเทศ ซึ่งช่วยให้สามารถส่งผักและผลไม้ออกจากแหล่งแพร่ ระบาดของแมลงวัน ผลไม้ ได้ โดยจัด การความเสี่ย งที่ แ มลงศั ตรูพื ช ร้ายแรงอาจเล็ ดลอดติด ไปกั บ สิน ค้ า วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือเพื่อศึกษาความเป็นพืชอาศัยของแมลงวันทอง B. dorsalis ในแก้วมังกรเนื้อ แดงด้วยวิธีบังคับแมลงให้ไข่ในผลไม้ในสภาพห้องปฏิบัติการและเพื่อศึกษาระยะการเจริญเติบโตของแมลงวัน ทองในผลแก้วมังกรเปรียบเทียบกับการเลี้ยงด้วยอาหารเทียม เพื่อเป็นข้อมูลในการหาวิธีกาจัดศัตรูพืชกักกัน ต่อไป
32
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
อุปกรณ์และวิธีการ 1. ศึกษาความพืช อาศัย ของแมลงวันทอง B. dorsalis ในแก้วมังกรเนื้อแดงด้วยวิธีบังคับแมลงให้ไข่ใน ผลไม้ในสภาพห้องปฏิบัติการ ทดสอบความเป็นพืชอาศัยของแมลงวันทอง B. dorsalis ในแก้วมังกรเนื้อแดง เปรียบเทียบกับมะม่วง น้าดอกไม้ สี ท อง (ซึ่ง เป็น พื ชอาศั ยที่ ดีข องแมลงวันทอง) โดยใช้วิธีก ารบัง คับ แมลงให้ไข่ในผลไม้ ในสภาพ ห้องปฏิบัติการ (forced infestation method) เตรียมกรงแมลงขนาดเล็ก (35.0 x 50.0 x 30 เซนติเมตร) โดยมีแมลงวันทองตัวเต็มวัยเพศเมียและเพศผู้ อายุประมาณ 2 สัปดาห์ขึ้นไป จานวนประมาณ 2,000 ตัว แบ่ง แก้วมังกรและมะม่วงเป็นอย่างละสองกลุ่ม กลุ่มแรกเจาะรู 10 รู กลุ่มสองไม่เจาะรู วางผลไม้ พร้อมกันภายใน กรงเลี้ยงแมลง เป็นเวลานาน 20 30 และ 40 นาที ทาทั้งหมด 3 ซ้าๆ ละ 5 ผล โดยมีกรรมวิธีทั้งหมด ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 แก้วมังกรไม่เจาะรู เวลา 20 นาที กรรมวิธีที่ 2 แก้วมังกรไม่เจาะรู เวลา 30 นาที กรรมวิธีที่ 3 แก้วมังกรไม่เจาะรู เวลา 40 นาที กรรมวิธีที่ 4 แก้วมังกรเจาะรู เวลา 20 นาที กรรมวิธีที่ 5 แก้วมังกรเจาะรู เวลา 30 นาที กรรมวิธีที่ 6 แก้วมังกรเจาะรู เวลา 40 นาที กรรมวิธีที่ 7 มะม่วงน้าดอกไม้สีทองไม่เจาะรู เวลา 20 นาที กรรมวิธีที่ 8 มะม่วงน้าดอกไม้สีทองไม่เจาะรู เวลา 30 นาที กรรมวิธีที่ 9 มะม่วงน้าดอกไม้สีทองไม่เจาะรู เวลา 40 นาที กรรมวิธีที่ 10 มะม่วงน้าดอกไม้สีทองเจาะรู เวลา 20 นาที กรรมวิธีที่ 11 มะม่วงน้าดอกไม้สีทองเจาะรู เวลา 30 นาที กรรมวิธีที่ 12 มะม่วงน้าดอกไม้สีทองเจาะรู เวลา 40 นาที หลังเสร็จสิ้นเวลาที่แมลงวันทองวางไข่ นาผลแก้วมังกรและมะม่วงแต่ละผลใส่ในกล่องพลาสติก 1 ผล ต่อ 1 กล่อง รองก้นกล่องด้วยกระดาษทิชชู่แผ่นใหญ่ 1 แผ่น จากนั้นนาผลไม้ไปเก็บที่ห้องควบคุมอุณหภูมิ 2527 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 60-70 เป็นเวลา 7 วัน แล้วนามานับจานวนแมลงที่รอดชีวิตภายใน ผลไม้ 2. ศึกษาระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันทอง B. dorsalis ในผลแก้วมังกรเปรียบเทียบกับการเลี้ยงด้วย อาหารเทียม ทดสอบเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของหนอนแมลงวันทอง B. dorsalis ในผลแก้วมังกรเนื้อแดงและ แมลงวันทองที่เลี้ยงในอาหารเทียม (artificial diet) สูตรข้าวโพด โดย 1) เตรียมแก้วมังกรที่มีแมลงวันผลทอง โดย ใช้มีดกรีดเปลือกผลเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 3 ด้าน จานวน 1 รอยแผล ใส่ไข่หนอนแมลงวันทองในผลแก้วมังกรผล ละ 100 ฟอง ใช้แก้วมังกรทั้งหมด 70 ผล หลังจากนั้นเก็บแก้วมังกรใส่กล่องพลาสติก รองด้วยกระดาษทิชชู่แผ่น 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
33
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
ใหญ่ด้านล่างของกล่อ ง (เพื่ อซับน้าแก้วมัง กรที่ไหลออกมาจากผล) 2) เตรียมแมลงวันผลไม้ ด้วยอาหารเที ยม (artificial diet) ใส่อ าหารในจานแก้ว (petri dish) 10 กรัม ต่อไข่แมลงวันทอง 100 ฟอง เตรียมอาหารเทียม ทั้งหมด 70 จานแก้ว เก็บทั้งหมดไว้ในห้องควบคุมอุณหภูมิ 25-27 องศาเซลเซียส จากนั้นศึกษาระยะเวลาการ เจริญเติบโตของแมลงวันทองจากระยะไข่ไปเป็นหนอนโดยตรวจนับจานวนหนอนและเช็คระยะการเจริญเติบโต ของหนอนในผลแก้วมังกร เริ่มเช็คผลทุกวันหลังจากเก็บไข่แมลงวันทองใส่ในผลแก้วมังกร ผ่าตรวจเช็คผลแก้ว มังกร วันละ 10 ผล และ อาหารเทียม 10 จานแก้ว ทุกวัน จนครบ 7 วัน การบันทึกข้อมูล 1. น้าหนักผลไม้ 2. ระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันทอง 3. จานวนรอดชีวิตของแมลงวันทอง สถานที่ทาการทดลอง 1. สวนแก้วมังกรในพื้นทีจ่ ังหวัดเลย สมุทรสาคร 2. ห้อ งปฏิ บั ติ ก ารกลุ่ม งานก าจั ดศั ต รูพื ชกั ก กั น กลุ่ม งานก าจั ดศั ต รูพื ชกั ก กั น กลุ่ม วิจั ยการกั ก กั นพื ช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ผลและวิจารณ์ 1. ศึกษาความพืช อาศัย ของแมลงวันทอง B. dorsalis ในแก้วมังกรเนื้อแดงด้วยวิธีบังคับแมลงให้ไข่ใน ผลไม้ในสภาพห้องปฏิบัติการ ผลการศึ ก ษาความเป็ น พื ช อาศั ยของแมลงวั นทองในแก้ วมั งกรเนื้ อ แดงเปรียบเที ย บกั บ มะม่ ว ง น้าดอกไม้สีทอง โดยวิธีไม่เจาะรู และเจาะรูผลไม้ แล้วให้แมลงวันทองตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ในระยะเวลา 20 30 และ 40 นาที พบการรอดชีวิตของหนอนในแก้วมังกรที่ไม่เจาะรูมีจานวนเฉลี่ย 4.50 9.70 และ 11.90 ตัว ตามลาดับ ผลที่ไม่เจาะรูพบหนอนมีจานวนมากกว่าผลที่เจาะรูเฉลี่ย 21.53 15.93 และ 28.80 ตัว ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบกับมะม่วงน้าดอกไม้สีทอง พบหนอนแมลงวันทองรอดชีวิตจานวนมากกว่า โดยพบในผลที่ไม่ เจาะรูเฉลี่ย 201.40 221.40 และ 248.20 ตัว ตามลาดับ และพบในมะม่วงที่เจาะรูเฉลี่ย 226.40 193.20 และ 346.07 ตัว ตามลาดับ (ตารางที่1) เห็นได้ว่าผลไม้ทั้ง 2 ชนิด ในกลุ่มที่มีการเจาะรูจะมีจานวนรอดชีวิต เฉลี่ยของแมลงสูงกว่ากลุ่มที่ไม่เจาะผล สอดคล้องกับรายงานของ Follett et al. (2019) ว่าจานวนรอดชีวิต ของดักแด้แมลงวันทองในผลกี วี่สีทอง สีเขียว และมะละกอ ผลที่ เจาะรูมากกว่าผลที่ ไม่ มีก ารเจาะรู และ การศึกษาของ Unahawutti et al.(1991) ด้วยวิธีบังคับแมลงให้ไข่ในผลมะม่วงในสภาพห้องปฏิบัติการ พบว่า เมื่ อเจาะรู 6 รู แล้วให้แมลงวันทองวางไข่ห ลัง จาก 6 วันพบแมลงวันทองรอดชีวิตในมะม่ วงหนังกลางวัน มะม่ วงน้าดอกไม้ แรด และพิ มเสนแดงเฉลี่ย 111.5 75.1 103.5 และ 136.0 ตามลาดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า แมลงวันทองมีชีวิตรอดจานวนมากในมะม่วงทุกสายพันธุ์ 34
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
ผลการทดลองแสดงให้ เห็ น ว่า มะม่ ว งเป็ น พื ชอาศั ย ของแมลงวั นทองที่ ดี ก ว่าแก้ วมั ง กรเนื้ อแดง สอดคล้องกับ Boinahadji et al. (2019) ได้เก็บรวบรวมพืชอาศัยของแมลงวันทองในสภาพธรรมชาติทั้งหมด 28 ชนิ ด ที่ เ มื อ ง Niayes ประเทศ Senegal พบดั ก แด้ ใ นมะม่ ว ง 13.46 ดั ก แด้ ต่ อ กิ โ ลกรั ม ในขณะที่ กระบองเพชร (Opuntia ficus-indica) ไม่พบแมลงชนิดนี้ เป็นที่สังเกตได้ว่าจากการศึกษาในห้องปฏิบัติการ แมลงสามารถลงทาลายและเจริญเติบโตในแก้วมังกรเนื้อแดงซึ่งเป็นพืชตระกูลกระบองเพชร จากรายงานของ รัชฎา และคณะ (2555) ให้แมลงวันทองวางไข่บ นแก้วมังกรเนื้อขาวเป็นเวลานานเท่ากับการศึกษานี้ พบว่า แมลงสามารถแมลงเจริญเติบโตได้ดีกว่าแก้วมังกรสีแดง โดยมีจานวนหนอนรอดชีวิตเฉลี่ยเท่ากับ 98.7 91.2 และ 116.9 ตัว ตามลาดับ สาหรับการทดลองด้านกาจัดแมลงวันทองที่จะทาต่อไปในอนาคต ต้องการให้มีจานวนแมลงรอดชีวิต เฉลี่ยในผลแก้วมังกรไม่ต่ากว่า 100 ตัวต่อผลโดยศึกษาระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น ดังนั้นการเตรียมผลแก้วมังกรที่ มีแมลงวันทองวางไข่ภายในผลเพื่อการศึกษาด้านการกาจัดแมลงทองในผลแก้วมังกรด้วยวิธีการบังคับแมลงให้ ไข่ในผลไม้ในสภาพห้องปฏิบัติการ ระยะเวลาที่เหมาะสมสาหรับให้แมลงวันทองวางไข่ในผลแก้วมังกร จาก การศึกษาพบว่าผลแก้วมังกรเริ่มเน่าเสีย และเกิดราหลังแมลงวางไข่ได้ 5 วัน (ภาพที่ 1) ที่เป็นสาเหตุให้แมลง ตาย ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยการรอดชีวิตของแมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) ด้วยวิธี บังคับแมลงให้ไข่ในผลไม้ในสภาพห้องปฏิบัติการ กรรมวิธี ไม่เจาะรู เจาะรู ไม่เจาะรู มะม่วงน้าดอกไม้สีทอง เจาะรู แก้วมังกรเนื้อแดง
1/
20 0.471/ 21.53 201.40 226.40
เวลา (นาที) 30 1.20 15.93 221.40 193.20
40 3.80 28.80 248.20 346.07
ค่าเฉลี่ยจากผลไม้ 15 ผล
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
35
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ก
OEB-03
ข
ภาพที่ 1 ลักษณะของแก้วมังกรเนื้อแดงหลังจากแมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) วางไข่ 7 วัน (ก ลักษณะปกติของแก้วมังกรเนื้อแดงที่มเี ชื้อรา ข ลักษณะของแก้ว มังกรที่มเี ชื้อราเจริญ) 2. ศึกษาระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันทอง B. dorsalis ในผลแก้วมังกรเปรียบเทียบกับการเลี้ยงด้วย อาหารเทียม ผลการศึกษาพบว่าการเจริญเติบโตของแมลงวันทองในผลแก้วมังกรและในอาหารเทียมสูตรข้าวโพด ต่างกันเฉพาะระยะหนอนวัย 2 ซึ่งหนอนในแก้วมังกรเจริญเติบโตเร็วกว่าในอาหารเทียม 1 วัน (ตารางที่2, 3 และภาพที่2, 3) ซึ่งต่างจากรายงานของ รัชฎา และคณะ (2555) หนอนแมลงวันทองเจริญเติบโตในแก้วมังกร เนื้อขาว เข้าสู่วัย3 ในวันที่ 4 ซึ่งเร็วกว่า 1 วัน เมื่อแมลงอาศัยในชมพู่จะเจริญเติบโตเข้าสู่วัยต่างๆได้ช้ากว่าคือ ระยะไข่มีอายุ 3 วัน ฟั กเป็นวัย 1 ในวันที่ 4 (สัญ ญาณีและคณะ, 2551 ) แมลงวันทองสามารถวางไข่และ เจริญเติบโตจนสามารถเข้าสู่ระยะดักแด้ได้ในผลแก้วมังกรแต่ อัตราการรอดชีวิตของหนอนมีจานวนน้อย ทั้งนี้ แก้วมังกรไม่ใช่พืชอาศัยที่ดีของแมลงวันทองและอาจเนื่องมาจากเมื่อเก็บแก้วมังกรในอุณหภูมิปกติทาให้ผล เน่าเสียง่ายหนอนจึงตายก่อนจะเจริญเติบโต (รัชฎา และคณะ, 2555) ตารางที่ 2 ระยะการเจริญเติบโตของ Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) ในแก้วมังกรเนื้อแดง หลังจากใส่ไข่แมลงลงในผล 7 วัน วันที่ 1 2 3 4 5 6 7 1/
น้าหนักผล (กรัม) 322.07 326.32 326.23 324.76 327.31 304.36 328.40
ไข่ 100 0 0 0 0 0 0
หนอนวัย1 0 100 12.99 1.20 0 0 0
%การรอดชีวิต1/ % การรอด หนอนวัย2 หนอนวัย3 ดักแด้ ชีวติ ทั้งหมด 0 0 0 100 0 0 0 100 87.01 0 0 100 98.80 0 0 100 65.08 34.92 0 100 3.39 96.61 0 100 12.25 87.75 0 100
ค่าเฉลี่ยจากผลไม้ 10 ผล
36
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
ตารางที่ 3 ระยะการเจริญเติบโตของ Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) ในอาหารเทียมสูตร ข้าวโพดหลังจากใส่ไข่แมลงลงในอาหารเทียม 7 วัน วันที่ 1 2 3 4 5 6 7 1/
น้าหนัก อาหารเทียม (กรัม) 10 10 10 10 10 10 10
%การรอดชีวติ 1/ ไข่ 100 0 0 0 0 0 0
หนอนวัย1 หนอนวัย2 0 100 100 5.61 0 0 0
0 0 0 94.39 7.94 1.65 1.17
หนอนวัย3
ดักแด้
% การรอด ชีวิตทั้งหมด
0 0 0 0 92.06 98.35 98.83
0 0 0 0 0 0 0
100 100 100 100 100 100 100
ค่าเฉลี่ยจากผลไม้ 10 ผล
ภาพที่ 2 ระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) ในแก้ว มังกรเนื้อแดง
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
37
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
ภาพที่ 3 ระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) ในอาหาร เทียมสูตรข้าวโพด สรุปผลการทดลอง แก้วมังกรเนื้อแดงไม่ใช่พืชอาศัยที่ดีของแมลงวันทองเมื่อเปรียบเทียบกับมะม่วงน้าดอกไม้สีทอง แต่ พบว่าแมลงวันทองสามารถเจริญเติบโตและรอดชีวิตอาศัยอยู่ภายในเนื้อของแก้วมังกรได้ สาหรับผลที่ไม่เจาะรู มีจานวนรอดชีวิตต่ากว่าผลที่เจาะรู และเมื่อใช้เวลาวางไข่นานขึ้น (20 30 และ 40 นาที)จานวนรอดชีวิตของ หนอนเพิ่มขึ้นเช่นกันโดยพบหนอนเฉลี่ย 4.50 9.70 และ 11.90 ตัว ตามลาดับ และ 21.53 15.93 และ 28.80 ตัว ตามลาดับ สาหรับพืชอาศัยที่ดีของแมลงวันทองอย่างมะม่วง พบหนอนแมลงวันทองรอดชีวิตสูงกว่าในแก้ว มังกรทั้ งที่ เจาะรูและจ านวนรอดชีวิตเฉลี่ยในผลไม่เจาะรู โดยพบเฉลี่ย 201.40 221.40 และ 248.20 ตัว ตามลาดับ และ 226.40 193.20 และ 346.07 ตัว ตามลาดับ ระยะการเจริญเติบโตของหนอนแมลงวันทองในผลแก้วมังกรเนื้อแดงเข้าสู่วัยที่ 2 เร็วกว่าเมื่อเลี้ยงใน อาหารเทียม สูตรข้าวโพด 1 วัน แมลงวันทองสามารถวางไข่และเจริญเติบจนสามารถเข้าสู่ระยะดักแด้ได้ในผล แก้วมังกรแต่อัตราการรอดชีวิตของหนอนมีจานวนน้อย ทั้งนี้แก้วมังกรไม่ใช่พืชอาศัยที่ดีของแมลงวันทองและ อาจเนื่องมาจากเมื่อเก็บแก้วมังกรในอุณหภูมิปกติทาให้ผลเน่าเสียง่ายหนอนจึงเน่าตายก่อนจะเจริญเติบโต สาหรับการทดลองด้านกาจัดแมลงวันทองทีจ่ ะทาต่อไปในอนาคต ต้องการให้มีแมลงรอดชีวิตเฉลี่ยใน ผลแก้วมังกรจานวนไม่ต่ากว่า 100 ตัวต่อผล จะต้องทาการทดลองเพิม่ เติมต่อไป เช่นวางไข่เวลาในเวลาที่นาน มากขึ้น และอีกสาเหตุหนึง่ ที่ทาให้แมลงไม่สามารถเจริญเติบโตในแก้วมังกรได้เนื่องจากหลังจากวางไข่ 5 วัน เริ่มมีเชื้อราเจริญฟูเต็มผล
38
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
คาขอบคุณ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญวลัยกร รัตนเดชากุล และคุณรัชฎา อินทรกาแหง ให้ความรู้ คาแนะนาและให้ คาปรึกษางานวิจัย ขอขอบคุณคุณสุภาวดี ภูมิโคกรักษ์ คุณปริยาภรณ์ สาลี และเพื่อนร่วมงาน กลุ่มงานกาจัด ศัตรูพืชกักกัน กลุ่มวิจัยการกักกันพืช ทุกท่านที่ช่วยในงานทดลองนี้ให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง กฤติยา ไชยนอก. 2559. บทความเผยแพร่ความรูส้ ู่ประชาชน แก้วมังกร. แหล่งที่มา URL http://www.ppc14th.com/pdf/abstact-ppc14th.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2562. ภาสันต์ ศารทูลทัต ธนากร บุญกล่า และ ธีร์ หะวานนท์. 2559. การชักนาดอกแก้วมังกรพันธุ์เนือ้ ขาวและแดง นอกฤดูด้วยสาร Forchlorfenuron. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ปที ี่3 ฉบับพิเศษ (I): M04/49-53, 2559 รัชฎา อินทรกาแหง สลักจิต พานคา ชัยณรัตน์ สนศิริ มลนิภา ศรีมาตรภิรมย์ ชุตมิ า อ้อมกิ่ง และ อุดร อุณ หวุฒิ. 2555. วิจัยและพัฒาวิธีกาจัดแมลงด้วยความร้อนสาหรับกาจัดแมลงวันทองในผลแก้วมังกรเพื่อ การส่งออก. ในรายงานผลงานวิจัยประจาปี 2555 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 1939-1951. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ. มปป. พันธุ์แก้วมังกร. แหล่งทีม่ า URL http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=38&chap=4&page=t38-4infodetail04.html สืบค้นเมือ่ วันที่ 5 สิงหาคม 2562. สัญญาณี ศรีคชา วิภาดา ปลอดครบุรี และเกรียงไกร จาเริญมา การศึกษาชนิดของแมลงวันผลไมศัตรู ธรรมชาติและฤดูการระบาดของแมลงวนผลไม้ที่สาคัญในแหลงปลูกชมพู่. 2551. รายงานความก้าวหน้า 349-362. แหล่งที่มา URL http://www.doa.go.th/research/attachment.php?aid=1837. สืบค้น เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2562. Boinahadji, A. K., E. V. Coly, E. O. Dieng, T. Diome and P. M. Sembene. 2019. Interactions between the oriental fruit fly Bactrocera dorsalis (Diptera, Tephritidae) and its host plants range in the Niayes area in Senegal. Journal of Entomology and Zoology Studies 7(4): 855-864. Follet, P. A., L. Jamieson, L. Hamilton and M. Wall. 2019. New associations and host status: Infestability of kiwifruit by the fruit fly species Bactrocera dorsalis, Zeugodacus cucurbitae, and Ceratitis capitata (Diptera: Tephritidae). Crop Protection Journal 115: 113-121. Ho Dinh Hai, 2014. The edible plants in Vietnam. 61: 237–250. Available at URL https://www.edibleplantsinvietnam.com/vietnamese-dragon-fruit-thanh-long.html Accessed on 9/09/2019 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
39
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-03
LE Bellec, F., F. Vaillant and E. Imbert. 2006. Pitahaya (Hylocereus spp.): a new fruit crop, a market with a future. Available at URL https://www.edpsciences.org/fruits. Accessed on 5/09/2019 Unahawutti, U., M. Poomthong., R. Intarakumheng, W. Worawisitthumrong, C. Lapasathukool, E. Smitasiri, P. Srisook and C. Ratanawaraha. 1991. Vapor heat as plant quarantine treatment of ‘Nang klarngwan’, ‘Nam dorkmai’, ‘Rad’ and ‘Pimsen daeng’ mangoes infested with fruit flies (Diptera: Tephritidae. A report submitted to the Japanese Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries for approval of quarantine treatment on Thai mangoes to be exported to Japan. Technical Plant Quarantine Sub-Division, Agricultural Regulatory Division, Department of Agriculture, Bangkok. 342 p. Wagiyanti, H. and R. Noor. 2017. Red dragon fruit (Hylocereus costaricensis britt. et r.) peel extract as a natural dye alternative in microscopic observation of plant tissues: The practical guide in senior high school. Pendidikan Biologi Indonesia Journal 3(3): 232-237. ภาคผนวก ตารางที่ 4 สูตรอาหารเทียมสาหรับเลี้ยงแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) อาหารเทียม สูตรข้าวโพด ส่วนประกอบ ข้าวโพดป่น น้าตาล Brewer’s yeast กระดาษทิชชู่ Butyl p- hhydroxybenzoate HCl (conc.) น้ากลั่น
40
ปริมาณ 200 กรัม 20 กรัม 20 กรัม 12 กรัม 0.6 กรัม 0.9 มิลลิลิตร 340 มิลลิลิตร
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าตัวห้้าสตีธอรัส Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae) Study on Suitable Spider Mites for Mass Rearing of Acarophagous Lady Beetles, Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae) อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล อิทธิพล บรรณาการ พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์ Atcharabhorn Prasoetphon Ittipon Bannakan Pichate chaowattanawong Ploychompoo Konvipasruang Athitiya Kaewpradit and Naphacharakorn Ta-Phaisach ส้านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ ด้วงเต่ า ตัวห้ าสตี ธอรั ส Stethorus pauperculus เป็ น ศัต รูธรรมชาติที่ ส าคั ญ มี ศั ก ยภาพในการ ควบคุมไรศัตรูพืช แต่ยังไม่มีข้อมูลการเพาะเลี้ยงให้ได้ปริมาณมาก การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิด ไรแมงมุ ม ที่ เ หมาะสมในการเพาะเลี้ ย งด้ ว งเต่ า สตี ธ อรั ส 3 ชนิ ด ได้ แ ก่ ไรแดงหม่ อ น (Tetranychus truncatus) ไรแม งมุ ม คั น ซาวา (Tetranychus kanzawai) และไรแดงแอฟ ริ กั น (Eutetranychus africanus) ดาเนินการ ระหว่างเดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนกันยายน 2561 ณ สานักวิจัยพัฒนาการอารักขา พืช กรมวิชาการเกษตร ในสภาพห้องปฏิบัติการ อุณหภูมิ 27.50 ± 1.05 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัท ธ์ 45.30 ± 7.27 % พบว่า ระยะเวลาการเจริญเติบโตจากไข่เป็นตัวเต็มวัยของด้วงเต่าตัวห้าสตีธอรัสเมื่อกินไร แดงหม่อน ไรแมงมุมคันซาวา และไรแดงแอฟริกัน เฉลี่ย 14.54 16.00 และ 16.67 วัน เพศเมี ยมีอายุเฉลี่ย 65.69 42.13 และ 14.00 วัน ระยะวางไข่เฉลี่ย 60.23 37.00 และ 4.00 วัน วางไข่ได้ทั้ งหมดเฉลี่ย 343.62 93.38 และ 7.67 ฟองต่อ ตัว เฉลี่ยวันละ 4.85 2.40 และ 0.61 ฟองต่อตัว อัตราการขยายพัน ธุ์สุท ธิในชั่ว อายุขัย (R0) มีค่า 178.68 37.35 และ 1.15 อัตราการเพิ่มประชากร (rc) มีค่า 0.10, 0.09 และ 0.01 ผลิตลูก ได้สุท ธิ (λ) 1.27 1.24 และ 1.01 ตัวต่อ วัน ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (Tc) 50.55 38.82 และ 26.39 วัน สัดส่วน ของลูก ที่ ฟัก เป็ นเพศเมี ยของรุ่นที่ 1 เท่ ากั บ 0.28 0.37 และ 0.14 ตามล าดับ จะเห็นได้ว่า ด้วงเต่า ตัวห้ า สตีธอรัส สามารถเพิ่ ม ประชากรได้ดีเมื่ อ กิ น ไรแดงหม่ อน จึง เหมาะสมที่ จ ะใช้ ไรชนิ ดนี้เป็ นอาหารในการ เพาะเลี้ยงด้วงเต่าให้ได้ปริมาณมาก เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการป้องกันกาจัดไรศัตรูพืชต่อไป ค้าส้าคัญ : ด้วงเต่าตัวห้าสตีธอรัส ไรแดงหม่อน ไรแมงมุมคันซาวา ไรแดงแอฟริกัน ตัวห้า
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
41
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ABSTRACT The acarophagous lady beetle, Stethorus pauperculus, has been one of the most effective predators using as biological control of spider mites. Despite its importance, there is no information about mass rearing technique. The objective of this research is to study the suitability of 3 spider mites: mulberry red mite (Tetranychus truncatus), kanzawa spider mite (Tetranychus kanzawai) and african red mite (Eutetranychus africanus) as prey for mass rearing S. pauperculus. This study was carried out from October 2017 – September 2018 at the Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture. Under laboratory conditions at 27.50 ± 1.05 C and 45.30 ± 7.27 %RH, the results revealed that when S. pauperculus fed on T. truncatus, T. kanzawai and E. africanus the development times from eggs to adult stages of the were 14.54, 16.00 and 16.67 days,. The female longevities were 65.69, 42.13 and 14.00 days. The oviposition periods were 60.23, 37.00 and 4.00 days. The totals of eggs per female were 343.62, 93.38 and 7.67 eggs; the number of eggs per day were 4.85, 2.40 and 0.61 eggs. The net reproductive rate (R0) were 178.68, 37.35 and 1.15. The intrinsic rate of increase (rc) were 0.10, 0.09 and 0.01 day-1.The finite rates of increase were 1.27, 1.24 and 1.01 day-1. The generation time (Tc) were 50.55, 38.82 and 26.39 days. The proportion of female of F1 were 0.28, 0.37 and 0.14, respectively. The results indicated that the population of S. pauperculus could rapidly increase when feeding on T. truncatus, thereby proving as suitable prey for mass rearing S. pauperculus to control spider mites in the future. Keyword: Stethorus pauperculus, Tetranychus truncatus, Tetranychus kanzawai, Eutetranychus africanus, acarophagous lady beetle, Predator ค้าน้า ไรศัตรูพืชที่มีความสาคัญมาก คือ ไรแมงมุม (spider mite) ซึ่งอยู่ในวงศ์ Tetranychidae มีรายงาน การระบาดทาความเสียหายพืชเศรษฐกิจหลายชนิด รวมทั้งไม้ดอกและไม้ประดับ มักจะทาลายพืชด้วยการดูด กินน้าเลี้ยง อยู่ที่ใบหรือผล โดยอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และสร้างเส้นใยขึ้ นปกคลุมกลุ่มไข่ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สาหรับ บริเวณที่ ถูก ไรดูดกิ นจะมี ลักษณะเป็นจุดประขาว ใบมี สีซีด เมื่ อระบาดรุนแรงจะท าให้ใบร่วง พื ช หยุ ด ชะงั ก การเจริ ญ เติ บ โต และมี ผ ลกระทบต่ อ ผลผลิ ต ไรแมงมุ ม ชนิ ด ที่ ส าคั ญ เช่ น ไรเหลื อ งส้ ม Eotetranychus cendanai ไรแดงแอฟริ กั น Eutetranychus africanus ไรแดงหม่ อ น Tetranychus truncatus ไรแมงมุ มคันซาวา T. kanzawai ไรแดงมันสาปะหลัง Oligonychus biharensis ไรสองจุด T. urticae เป็นต้น (วัฒนาและคณะ, 2544 และพลอยชมพู, 2562) 42
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ศัตรูธรรมชาติของไรศัตรูพืชมีหลาย ชนิด ความสามารถในการกินเหยื่อ และการปรับตัวให้เข้ากับ สิ่ง แวดล้อมแตกต่ างกั นไป ด้วงเต่าตัวห้ าในสกุ ล Stethorus (Coleoptera: Coccinellidae) เป็ นตั วห้ าที่ สาคัญของไรแมงมุมในระบบนิเวศเกษตร พบประมาณ 90 ชนิด กระจายอยู่ทั่วโลกทั้งในป่าดิบชื้น ทุ่งหญ้าสะ วันนา สวนผลไม้ และพืชไร่ต่างๆ ในสภาพภูมิอากาศและระบบนิเวศที่แตกต่างกัน ด้วงเต่า S. keralicus และ S. gilvifrons เป็ น ตัวห้ าของไร Raoiella macfarlanei และไรสองจุด T. urticae ตามล าดั บ มี เพี ยง S. puntillum ชนิดเดียวที่ถูก ผลิตเป็นการค้าและมีความสาคัญ ในการควบคุมไรสองจุด T. urticae โดยชีววิธี ด้วงเต่า S. pauperculus เป็นตัวห้าของไรแมงมุมศัตรูมะละกอ ละหุ่ง ส้ม มะลิ และพืชอื่นๆ อีกมากมายใน อินเดียและปากี สถาน (มานิตาและคณะ, 2562) ส่วนในประเทศไทย สมหมาย (2545) พบด้วงเต่าในสกุ ล Stethorus 6 ช นิ ด ได้ แ ก่ Stethorus indira Kapur, S. pauperculus, S. rani, S. siphonulus, S. tetranychi, S. vinsoni ซึ่งเป็นตัวห้าของไรศัตรูพืช ตัวอ่อนทุกวัยและตัวเต็มวัยของด้วงตัวห้าสามารถกินไรได้ ปริมาณมากและรวดเร็ว นอกจากนั้นยังกินแมลงตัวเล็กๆ ชนิดอื่นๆได้ด้วย เช่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus เป็นตัวห้ากินไรศัตรูพืชได้หลายชนิด พบอยู่ทั่วไปในทุกภาคของ ประเทศไทย ทั้ ง ในพื ช ไร่ ไม้ ผ ล มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการกิ น เหยื่ อ ได้ ดี (อั จ ฉราภรณ์ แ ละคณะ, 2558) Hiteshkumar and Shukla (2015) ได้ศึก ษาการเลี้ยงด้วงเต่ าสตีธอรัส S. pauperculus ด้ วยน้ า น้ าผสม น้าผึ้ง เกสรละหุ่งผสมน้าผึ้ง ตัวอ่อ นและตัวเต็ม วั ยของเพลี้ยอ่อน Aphis craccivora ไข่ของแมลงหวี่ขาว Bemisia tabaci ไร O. indicus ไรสองจุ ด T. urticae และไรขาวพริ ก Polyphagotarsonemus latus พบว่า ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ไม่สามารถขยายพันธุ์ได้เมื่อเลี้ยงด้วยอาหารชนิดอื่นยกเว้นไรศัตรูพชื สาหรับการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ยังไม่มีรายงานการผลิตเป็นการค้า และการศึกษา เกี่ยวกับด้วงชนิดนี้ยังมีน้อยมาก เพราะส่วนใหญ่วิธีการผลิตขยายศัตรูธรรมชาติเป็นปริมาณมาก มักถูกปิดเป็น ความลับ เนื่องจากถูกผลิตขายเป็นการค้า เช่น ด้วงเต่า S. punctillum ดังนั้น การศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าตัวห้าสตีธอรัส S. pauperculus (Weise) ให้ ได้ ป ริ ม าณมาก จึ ง มี ค วามส าคั ญ สามารถน าไปพั ฒ นาวิ ธีก ารผลิ ต ขยายด้ วงเต่ าสตี ธ อรัส S. pauperculus เพื่อประโยชน์ในการป้องกันกาจัดโดยชีววิธีและวิธีผสมผสานในสภาพไร่ต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ สิ่งที่ใช้ในการทดลอง 1. ไรแดงหม่อน T. truncatus ไรแมงมุมคันซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริกัน E. africanus 2. ใบพืชอาศัย ได้แก่ หม่อน ถั่ว และทองหลาง 3. ชั้นเลี้ยงไรติดตั้งไฟฟลูออเรสเซนต์ ความเข้มแสง 40 lux 4. อุปกรณ์ทาการทดลอง เช่น พู่กัน คีมคีบ (forceps) สาลี กระดาษทิชชู่ 5. กล้องจุลทรรศน์แบบสองตา 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
43
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
6. อุปกรณ์บันทึกข้อมูล กล้องถ่ายรูป วิธีปฏิบัติการทดลอง การศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus 3 ชนิด ได้แก่ ไรแดงหม่ อ น T. truncatus ไรแมงมุ ม คั น ซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริ กั น E. africanus ซึ่ง ใช้ คุ ณ ลั ก ษณะทางชี ววิ ท ยาต่ างๆ เป็ น ตั ว เปรีย บเที ย บ โดยน าตั วเต็ ม วั ย เพศเมี ย ของด้ ว งเต่ า สตี ธอรั ส S. pauperculus ที่เลี้ยงไว้จานวน 40-50 ตัว ใส่ลงบนใบพืชอาศัยของไรแดงหม่อน T. truncatus ไรแมงมุมคัน ซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริกัน E. africanus ซึ่งได้แก่ หม่อน ถั่ว และทองหลาง ตามลาดับ ทิ้งไว้ให้ วางไข่ 24 ชั่วโมง นาไข่จานวน 50 ฟอง มาแยกเลี้ยงเดี่ยวๆบนใบพืชอาศัยนั้นๆ ที่มีไรแต่ละชนิดอยู่ ทาการ ทดลองกั บ เหยื่ อ ทั้ ง 3 ชนิ ด วางใบพื ช อาศัย บนแผ่น ส าลี ชุ่ม น้ าในกล่อ งพลาสติ ก บั นทึ ก ระยะเวลาการ เจริญเติบโตทุกๆ 24 ชั่วโมง จากระยะไข่ ตัวอ่อนวัยต่างๆจนเป็นตัวเต็มวัย จากนั้นจึงเขี่ยด้วงเต่าตัวห้าเพศผู้ที่ เลี้ยงไว้ใส่ลงไปให้ผสมพันธุ์กับด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus เพศเมีย บันทึกจานวนไข่และการตายของ เพศเมียที่เกิดขึ้นทุกๆ 24 ชั่วโมง จนกระทั่งเพศเมียตาย เขี่ยไข่ที่เพศเมียแต่ละตัวผลิตได้ทั้งหมดแยกออกรวม ไว้ บันทึ กจานวนลูกที่ฟั กออกเป็นเพศเมี ย นาข้อมูล ที่ได้ม าสร้างตารางชีวิตแบบชีววิทยา และวิเคราะห์ค่า คุณลักษณะทางชีววิทยาต่างๆ เช่น อัตราส่วนทางเพศ (sex ratio) อัตราการขยายพันธุ์สูงสุด (intrinsic rate of increase, rc) อัตราการขยายพันธุ์สุทธิในชั่วอายุขัย (net reproductive rate, R0) ตามวิธีของ อินทวัฒน์ (2548) และ เรณู (2548) ผลและวิจารณ์ การศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus 3 ชนิด ได้แก่ ไรแดงหม่ อ น T. truncatus ไรแมงมุ ม คั น ซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริ กั น E. africanus ซึ่ง ใช้ คุณลักษณะทางชีววิทยาต่างๆ เป็นตัวเปรียบเทียบ ผลการทดลอง พบว่า ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus มี ระยะการเจริญเติบ โต 4 ระยะ คือ ระยะไข่ (ภาพที่ 1ก) ระยะหนอน (มี 4 วัย) (ภาพที่ 1ข-จ) ระยะดักแด้ (ภาพที่ 1ช) และระยะตัวเต็มวัย (ภาพที่ 1ซ) ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus เพศเมียที่กินไรแดงหม่อน T. truncatus ไรแมงมุมคันซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริกัน E. africanus ใช้เวลาในการเจริญเติบโต จากไข่จ นเป็นตัวเต็ม วัยเฉลี่ยนาน 14.54, 16.00 และ 16.67 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมี ยมี อายุยืนยาวเฉลี่ย นาน 65.69, 42.13 และ 14.00 วัน ตามลาดับ การเจริญเติบโตในระยะต่างๆแสดงตาม ตารางที่ 1
44
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
ซ
OEB-04
ภาพที่ 1 ระยะการเจริญเติบโตของด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus (ก) ระยะไข่ (ข) ระยะ หนอนวัย 1 (ค) ระยะหนอนวัย 2 (ง) ระยะหนอนวัย 3 (จ) ระยะหนอนวัย 4 (ฉ) ระยะหนอนก่อนเข้าดักแด้ (ช) ระยะดักแด้ (ซ)ระยะตัวเต็มวัย ตารางที่ 1 ระยะการเจริญเติบโตของด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus ในการกินไรศัตรูพืชชนิด ต่างๆในห้องปฏิบัตกิ ารทีอ่ ุณหภูมิเฉลี่ย 27.50 ± 1.05 ºc ความชื้นสัมพัทธ์ 45.30 ± 7.27 %RH. ระยะการเจริญเติบโต
ระยะเวลาในการเจริญเติบโต (Mean ± S.D.) (วัน) ไรแดงหม่อน ไรแมงมุมคันซาวา ไรแดงแอฟริกัน
ระยะไข่
3.00±0.00
3.88±0.35
4.00±1.00
ระยะหนอนวัย 1
1.31±0.48
2.13±0.35
2.00±1.00
ระยะหนอนวัย 2
2.15±0.38
2.13±0.35
2.33±0.58
ระยะหนอนวัย 3
1.85±0.55
2.00±0.00
1.67±0.58
ระยะหนอนวัย 4
2.00±0.58
1.50±0.53
2.33±0.58
ระยะดักแด้
4.23±0.73
4.38±0.52
4.33±0.58
ระยะก่อนวางไข่
4.00±1.68
2.50±0.76
4.33±0.58
60.23±28.35
37.00±23.38
4.00±3.00
ระยะหลังวางไข่
1.38±2.26
2.63±3.78
5.67±9.81
วงจรชีวิต (ไข่-ตัวเต็มวัย)
14.54±1.50
16.00±0.00
16.67±1.15
ระยะวางไข่
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
45
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ตารางที่ 1 (ต่อ)
ระยะการเจริญเติบโต
ระยะเวลาในการเจริญเติบโต (Mean ± S.D.) (วัน) ไรแดงหม่อน ไรแมงมุมคันซาวา ไรแดงแอฟริกัน
อายุขัยตัวเต็มวัยเพศเมีย
65.69±0.73
42.13±25.65
14.00±10.15
อายุขยั ตัวเต็มวัยเพศผู้
61.83±16.55
45.80±24.91
17.70±7.72
ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ตัวเต็มวัยเพศเมียเมื่อกินไรแดงหม่อน T. truncatus ไรแมงมุมคัน ซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริกัน E. africanus มีระยะก่อนวางไข่เฉลี่ยนาน 4.00, 2.50 และ 4.33 วัน ระยะวางไข่เฉลีย่ นาน 60.23, 37.00 และ 4.00 วัน ตามลาดับ และระยะหลังวางไข่เฉลีย่ นาน 1.38, 2.63 และ 5.67 วัน ตามลาดับ (ตารางที่ 1) วางไข่ได้ทั้งหมดประมาณ 343.62, 93.38 และ 7.67 ฟองต่อตัว เฉลี่ยวันละ 4.85, 2.40 และ 0.61 ฟองต่อตัว ตามลาดับ (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 อัตราการวางไข่ของด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus ตัวเต็มวัยเพศเมียเมื่อกินไร ศัตรูพืชชนิดต่างๆ ไรศัตรูพืช
จานวนไข่ต่อวัน
จานวนไข่ต่อตัว
การฟักไข่
(Mean ± S.D.) (ฟอง)
(Mean ± S.D.) (ฟอง)
(Mean ± S.D.) (%)
ไรแดงหม่อน
4.85±1.34
343.62±177.79
27.44±9.16
ไรแมงมุมคันซาวา
2.40±0.80
93.38±53.13
37.55±32.98
ไรแดงแอฟริกัน
0.61±0.70
7.67±8.33
13.73±23.77
ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ได้สูงสุดในวันที่ 17, 14 และ 8 (วันที่ 31 30 และ 26 ของอายุด้วงเต่าสตีธอรัส) เฉลี่ย 10.67, 5.43 และ 2.50 ฟองต่อตัว ตัวเต็มวัยเพศเมียมีอายุมาก ที่สุด 94, 73 และ 25 วัน ตามลาดับ (ภาพที่ 2 - 4) อัตราการรอดชีวิตของตัวเต็มวัยที่กินไรศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิด เท่ า กั บ 100% ส่ ว นอั ต ราการตายสู ง สุ ด ของด้ ว งเต่ า สตี ธ อรั ส S. pauperculus ที่ กิ น ไรแดงหม่ อ น T. truncatus อยู่ในหนอนวัย 3 เท่ากับ 4.76% รองลงมา คือ หนอนวัย 2 และ 4 เท่ากับ 1.19% และ 1.19% ตามลาดับ (ภาพที่ 2) อัตราการตายสูงสุดของด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่กินไรแมงมุมคันซาวา T. kanzawai อยู่ในหนอนวัย 4 และ ดักแด้ เท่ากับ 1.19% และ 1.19% ตามลาดับ (ภาพที่ 3) อัตราการตาย สูงสุดของด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่ กินไรแดงแอฟริกั น E. africanus อยู่ในหนอนวัย 4 เท่ ากั บ 4.76% รองลงมา คือ หนอนวัย 2 เท่ากับ 1.19% (ภาพที่ 4)
46
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ภาพที่ 2 อัตราการรอดชีวิตเฉพาะกลุม่ อายุ (lx) อัตราการวางไข่เฉพาะกลุม่ อายุ (mx) และ lxmx curves ของ ด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus ในการกินไรแดงหม่อน Tetranychus truncatus
ภาพที่ 3 อัตราการรอดชีวิตเฉพาะกลุม่ อายุ (lx) อัตราการวางไข่เฉพาะกลุม่ อายุ (mx) และ lxmx curves ของ ด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus ในการกินไรแมงมุมคันซาวา Tetranychus kanzawai
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
47
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ภาพที่ 4 อัตราการรอดชีวิตเฉพาะกลุม่ อายุ (lx) อัตราการวางไข่เฉพาะกลุม่ อายุ (mx) และ lxmx curves ของ ด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus ในการกินไรแดงแอฟริกัน Eutetranychus africanus อัตราการขยายพันธุ์สุทธิในชั่วอายุขัย (R0) มีค่า 178.68, 37.35 และ 1.15 อัตราการเพิ่มประชากร (rc) มีค่า 0.10, 0.09 และ 0.01 และผลิตลูกได้สุทธิ (λ) 1.27, 1.24 และ 1.01 ตัวต่อวัน ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (Tc) 50.55, 38.82 และ 26.39 วัน ไข่ที่ วางได้ทั้ งหมดของตัวเมียแต่ละตัวมีสัดส่วนของลูก ที่ฟักเป็นเพศเมี ย เท่ากับ 0.28, 0.37 และ 0.14 ตามลาดับ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ตารางชีวิตของด้วงเต่าสตีธอรัส Stethorus pauperculus ในการกินไรศัตรูพืชชนิดต่างๆ คุณลักษณะทางชีววิทยาต่างๆ
ไรศัตรูพืช ไรแดงหม่อน
อัตราการขยายพันธุส์ ุทธิในชั่วอายุขัยต่อรุ่น (R0)
ไรแมงมุมคันซาวา ไรแดงแอฟริกัน
178.68
37.35
1.15
อัตราการเพิ่มประชากรต่อวัน (rc)
0.10
0.09
0.01
ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (Tc)
50.55
38.82
26.39
ผลิตลูกได้สทุ ธิต่อวัน (λ)
1.27
1.24
1.01
1: 2.17
1: 0.80
1: 0.25
0.28
0.37
0.14
อัตราส่วนเพศ (เพศผู:้ เพศเมีย) สัดส่วนของลูกทีฟ่ ักเป็นเพศเมียของรุ่น F1 (♀/♀+♂)
จะเห็นได้ว่า อัตราการเพิ่มประชากร (rc) ของด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่กินไรแดงหม่อน T. truncatus และไรแมงมุมคันซาวา T. kanzawai ใกล้เคียงกัน แต่อัตราการขยายพันธุ์สุทธิในชั่วอายุขัย (R0) 48
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
ในด้วงเต่าสตีธอรัส ที่ กิ น ไรแดงหม่ อ นมากกว่าไรแมงมุ ม คั นซาวา T. kanzawai ถึ ง 141.33 (ตารางที่ 3) เนื่องจากตัวเต็มวัยเพศเมียที่กินไรแดงหม่อน T. truncatus มีช่วงเวลาการวางไข่ยาวนานกว่าในไรแมงมุมคัน ซาวา T. kanzawai 23.23 วัน (ตารางที่ 1) จานวนไข่ที่ ตัวเต็ม วัยเพศเมี ยวางได้เฉลี่ยต่อวันมากกว่า 2.45 ฟองต่อวัน และจานวนไข่ที่ตัวเต็มวัยเพศเมียวางได้เฉลี่ยต่อตัวมากกว่า 250.24 ฟองต่อตัว (ตารางที่ 2) ซึ่ง อัตราการเพิ่มประชากร (rc) มีปัจจัยสาคัญที่เกี่ยวข้อง 2 ปัจจัย คือ ระยะเวลาในการเจริญเติบโต และอัตรา การวางไข่ (Snell, 1978; Wrensch, 1985) สรุปผลการทดลอง ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus มีระยะการเจริญเติบโต 4 ระยะ คือ ระยะไข่ ระยะหนอน (มี 4 วัย ) ระยะดั ก แด้ และระยะตั ว เต็ ม วัย ด้ว งเต่ าสตี ธอรัส S. pauperculus เพศเมี ย ที่ กิ น ไรแดงหม่ อ น T. truncatus ใช้เวลาในการเจริญเติบโตจากไข่จนเป็นตัวเต็มวัยเฉลี่ยนาน 14.54 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียมีอายุยืน ยาวเฉลี่ย 65.69 วัน ระยะเวลาในการวางไข่เฉลี่ย 60.23 วัน สามารถวางไข่ได้ โดยเฉลี่ยตลอดชีวิต 343.62 ฟอง เฉลี่ยวันละ 4.85 ฟอง เนื่องจากด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่กินไรแดงหม่อน T. truncatus มี ระยะเวลาการเจริญ เติบ โตสั้น กว่า ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus เพศเมี ยที่ กิ นไรแมงมุ ม คั นซาวา T. kanzawai และไรแดงแอฟริกัน E. africanus 1.46 และ 2.13 วัน ตัวเต็ม วัยเพศเมียมีช่วงเวลาการวางไข่ ยาวนานกว่า 23.23 และ 56.23 วัน จ านวนไข่ที่ ตัวเต็ม วัยเพศเมี ยวางได้เฉลี่ยต่อตัวมากกว่า 250.24 และ 335.95 ฟอง และเฉลี่ยต่อวันมากกว่า 2.45 และ 4.24 ฟอง อัตราการขยายพันธุ์สุทธิในชั่วอายุขัย (R0) มีค่า มากกว่า 141.33 และ 177.53 ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (Tc) มีค่ามากกว่า 11.73 และ 24.16 ผลิตลูกได้สุทธิต่อวัน (λ) มีค่ามากกว่า 0.03 และ 0.26 และอัตราส่วนเพศมีค่ามากกว่า 1.37 และ 1.92 ตามลาดับ อัตราการเพิ่ม ประชากร (rc) ของด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่กินไรแดงหม่อน T. truncatus และไรแมงมุมคันซาวา T. kanzawai นั้นใกล้เคียงกัน 0.10 และ 0.09 ตามลาดับ เนื่องจากด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่กิน ไรแดงหม่อนมีระยะเวลาการเจริญเติบโตสั้นกว่าด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus ที่กินไรแมงมุมคันซาวา T. kanzawai 1.46 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียมีช่วงเวลาการวางไข่ยาวนานกว่า 23.23 วัน และจานวนไข่ที่ตัวเต็มวัย เพศเมียวางได้เฉลี่ยต่อตัวมากกว่า 250.24 ฟองต่อตัว ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ด้วงเต่าสตีธอรัส S. pauperculus สามารถเพิ่มประชากรได้ดีเมื่อ กินไรแดงหม่ อน T. truncatus เหมาะสมที่จ ะใช้ไรชนิดนี้ เป็ นอาหารในการ เพาะเลี้ยงด้วงเต่าให้ได้ปริมาณมาก เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการป้องกันกาจัดไรศัตรูพืชต่อไป เอกสารอ้างอิง พลอยชมพู กรวิภาสเรือง. 2562. ไรศัตรูพืชในวงศ์ Tetranychidae. หน้า 19-53. ใน เอกสารประกอบการ ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ไรศัตรูพืชและการป้องกันกาจัด ครั้งที่ 4, 8-10 มกราคม 2562. กลุ่ม งานวิจัยไรและแมงมุม. กลุ่มกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
49
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-04
มานิตา คงชื่นสิน, อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และอัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล. 2562. การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี. หน้า 241-247. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ไรศัตรูพืชและการป้องกันกาจัด ครั้ง ที่ 4, 8-10 มกราคม 2562. กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุ ม . กลุ่มกี ฏและสัตววิท ยา กรมวิชาการ เกษตร. เรณู สุวรรณพรสกุล. 2548. นิเวศวิทยาของแมลง Insect Ecology. ภาควิชาอารักขาพืช คณะผลิตกรรมการ เกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่. วัฒนา จารณศรี, มานิตา คงชื่นสิน, เทวินทร์ กุลปิยะวัฒน์ และพิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์. 2544. ไรศัตรูพืชและ การป้องกันกาจัด. เอกสารวิชาการ กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการ เกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรุงเทพ. 192 หน้า. สมหมาย ชื่นราม. 2545. ด้วงเต่าในประเทศไทย. กลุ่มงานอนุกรมวิธานแมลง. กองกีฏและสัตววิท ยา กรม วิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. 211 หน้า. อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล, อิทธิพล บรรณาการ, พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ และพลอยชมพู กรวิภาสเรือง. 2558. ประสิท ธิภาพการกินของด้วงเต่าตัวห้าสตี ธอรัส Stethorus pauperculus (Weise) ต่อไรแมงมุม . หน้า 22-33. ใน การประชุมสัมมนาวิชาการอารักขาพืชประจาปี 2558, 24-27 สิงหาคม 2558. ณ โรงแรมระยองรีสอร์ท ต.เพ อ.เมือง จ.ระยอง. อิ น ท วั ฒ น์ บุ รี ค า. 2548. นิ เ วศวิ ท ยาวิ เ คราะห์ ท างกี ฏ วิ ท ยา. ภาควิ ช ากี ฏ วิ ท ยา คณ ะเกษต ร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กาแพงแสน นครปฐม. Hiteshkumar, S. G. and A. Shukla. 2015. Effect of alternate food sourse on biological parameters of Stethorus pauperculus Weise (Coleoptera: Coccinellidae). Entomon. 40(2): 119-124. Snell, T. W. 1978. Fecundity, developmental time, and population growth rate. Oecologia. 32: 119-125. Wrensch, D. L. 1985. Reproductive parameters. In Spider Mites. Their Biology, Natural Enemies and Control, 1A (W. Helle and M. Sabelis eds.). Elsevier, Amsterdam. 165170.
50
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
ชีววิทยาและศักยภาพของไรตัวห้า Amblyseius swirski (Athias-Henriot) ในการก้าจัดเพลียไฟในห้องปฏิบตั ิการและโรงเรือนทดลอง Biological and Potential as a Bio-agent of Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) for Controlling Thrips spp. in Laboratory and Greenhouse อทิติยา แก้วประดิษฐ์ พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล วิมลวรรณ โชติวงศ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์ Athitiya Kaewpradit Pichate Choawattanawong Ploychompoo Kornvipasruang Atcharabhorn Prasoetphon Wimolwan Chotwong and Naphacharakorn Ta-Phaisach ส้านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพมหานคร Plant Protection Research and Development office, Department of Agriculture Chatuchak, Bangkok
บทคัดย่อ ในเดือนพฤษภาคม ปีพ.ศ. 2559 ได้นาเข้าไรตัวห้า Amblyseius swirskii เข้ามาในประเทศไทยเพื่อ ท าการทดลอง โดยท าการศึ ก ษาวงจรชีวิต คุณ ลั ก ษณะทางชีววิท ยา และประสิท ธิภาพการกิ นเพลี้ ยไฟ การศึก ษาลัก ษณะชี ววิท ยาของไรตัวห้ าที่ เ ลี้ยงด้วยเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis พบว่าระยะ ไข่ , ตัวอ่ อน, protonymph และ deutonymph มี ค่าเฉลี่ ย 1.50 ± 0.28, 0.67 ± 0.04, 0.88 ± 0.72 และ 1.00 ± 0.13 ตามล าดั บ และ ระยะตั ว เต็ ม วั ย มี ค่ า เฉลี่ ย 4.05 ± 1.17 วั น ตั ว เต็ ม วั ย เพศเมี ย วางไข่ 3.63 ± 0.65 ฟองต่อ วัน ตลอดชีวิต วางไข่ ได้ 52.25 ± 5.25 ฟอง มี ก ารวางไข่ 18.19 ± 3.34 วัน จาก การศึกษาอาหารที่เหมาะสมโดยใช้ตัวอ่อนเพลี้ยไฟพริก S. dorsalis ไข่ผีเสื้อข้าวสาร Corcyra cephalonica และเกสรต้นธูปฤาษี Typha angustifolia เป็นอาหาร พบว่า มี อัตราการเจริญ ขยายพันธุ์สุทธิ( Ro) เท่ากั บ 12.54, 20.02 และ 4.53 เท่า ชั่วอายุไขของกลุ่ม (Tc) เท่ากับ 14.83, 14.99 และ 14.22 วัน ความสามารถใน การขยายพัน ธุ์ท างกรรมพั นธุ์ (rc) เท่ ากั บ 0.17, 0.19 และ 0.10 เท่ า และมีอัตราการเพิ่มแท้ จริง (λ) เท่ ากั บ 1.18, 1.22 และ 1.11 ตามล าดับ การศึกษาประสิทธิภาพการกิ นเพลี้ยไฟระยะตัวอ่อนจ านวน 3 ชนิด ได้แก่ เพลี้ยไฟพริก S. dorsalis เพลี้ยไฟถั่ว Caliothrips phaseoli และ เพลี้ยไฟฝ้าย Thrips palmi พบว่า ตลอด ชีวิตไรตัวห้ากินเพลี้ยไฟฝ้ายได้มากที่สุดมี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 66.50 ± 5.54 ตัว แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P <0.05 ) กับเพลี้ยไฟอีกสองชนิด การทดสอบในโรงเรือน พบว่า การปล่อยไรตัวห้า 4 ตัว สามารถกินเพลี้ยไฟ ฝ้าย 20 ตัว บนต้นมะเขือเปราะได้หมดใน 3 วัน ค้าส้าคัญ : ไรตัวห้า Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) ชีววิทยา อาหาร ตารางชีวิต ประสิทธิภาพการ กินเพลี้ยไฟ Thrips spp.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
51
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
ABSTRACT Predaceous mite, Amblyseius swirskii was introduced to Thailand in May 2016. Laboratory studies were conducted on its life cycle using the chili thrips, Scirtothrips dorsalis, as food; its potential in terms of biological attributes obtained from the life table analysis using S. dorsalis larvae, eggs of Corcyra cephalonica, and pollens of Typha angustifolia, as food. The thrips consumption efficiency was determined using larvae of S. dorsalis, Caliothrips phaseoli, and Thrips palmi, as prey. The life cycle study revealed the durations of 1.50 ± 0.28, 0.67 ± 0.04, 0.88 ± 0.72, 1.00 ± 0.13 days for the egg, larval, protonymph and deutonymph stages, respectively, and 4.05 ± 1.17 days from egg to adult. Females laid 3.63 ± 0.65 eggs per day, totaling 52.25 ± 5.25 eggs during the oviposition period of 18.19 ± 3.34 days. Study on its potential using S. dorsalis larvae, eggs of C. cephalonica, and pollens of T. angustifolia in terms of its biological attributes obtained from the life table analysis yielded the parameters consisting of the net reproductive rate of increase (Ro) of 12.54, 20.02 and 4.53 times, the cohort generation time (Tc) of 14.83, 14.99 and 14.22 days, the capacity for increase (rc) of 0.17, 0.19 and 0.10 times, and the finite rate of increase (λ) of 1.18, 1.22 and 1.11 per day, respectively. Study on the thrips consumption efficiency using S. dorsalis, C. phaseoli and T. palmi larvae as prey showed that during its life span the highest consumption obtained were 66.50 ± 5.54 larvae of T. palmi per day which is statistically different (P<0.05) from 60.80 ± 4.16 and 58.40 ± 4.81 larvae of S. dorsalis and C. phaseoli per day, respectively. In greenhouse, it was found that releasing of 4 predatory mites can completely control 20 T. palmi on eggplant in 3 days. Keywords: predaceous mite, Amblyseius swirskii (Athias-Henriot), food sources, biological attributes, thrips consumption efficiency ค้าน้า เนื่องจากเพลี้ยไฟเป็นแมลงศัตรูพืชที่สาคัญของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด การปนเปื้อนของสารกาจัด ศัตรูพื ชที่ ใช้ในการควบคุม เป็นอุ ป สรรคหนึ่ง ที่ ท าให้ก ารผลิตพืชส่งออกมี ปัญ หาและการกี ดกั นทางการค้า นอกจากนั้นมีรายงานการวิวัฒนาการการดื้อยาของศัตรูพืชในบางพื้นที่ที่ใช้สารฆ่าแมลงติดต่อกันเป็นเวลานาน เช่น เพลี้ยไฟ และแมลงหวี่ขาว ซึ่งมักจะลงระบาดอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นทางเลือกของการแก้ไขปัญหาอีกทางหนึ่ง คือ การหาแนวทางลดการระบาดของเพลี้ยไฟโดยไม่ใช้สารเคมี เช่นการอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยไฟ ศัตรูพืช หรือการควบคุมโดยชีววิธี (biological control) โดยการเพาะเลี้ยงศัตรูธรรมชาติ ทั้งตัวห้าและตัวเบียนที่
52
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
มีอยู่แล้วในท้องถิ่น หรือที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ ให้มีปริมาณมาก แล้วนาไปปล่อยในภาคสนามเพื่อการ ควบคุมแมลงศัตรูพืชในเป้าหมาย ไรตัวห้าในสกุล Amblyseius ซึ่งเป็นที่รู้จักกันทั่วโลก มีทั้งหมดมากกว่า 280 ชนิด และมีการนามาใช้ เป็นตัวห้าควบคุมแมลงและไรศัตรูพื ชประมาณ 25 ชนิด (Sabelis and Van Rijn, 1997) ไรตัวห้าในสกุล นี้ เป็นที่รู้กันดีว่ามีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมทั้งไรศัตรูพืช เพลี้ยไฟ และแมลงหวี่ขาว คือ ไรตัวห้า Swirski mite, Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) (Acari: Phytoseiidae) ซึ่ ง ถู ก จั ด ให้ เ ป็ น ไรตั ว ห้ าแบบกิ น อาหารทั่วไป (diet generalist) หรือ กินทั่ วไปแบบที่ III (Type III generalist ) ไม่เป็นแบบกินเฉพาะ (diet specialist หรือ Type I & II specialists) (McMurtry and Croft, 1997; Croft et al., 2004) ชอบกินเหยื่อ ศัตรูพืชที่มีลาตัวอ่อนขนาดเล็ก รวมทั้งละอองเกสรพืช และเมือก (exudates) ที่ขับออกมาโดยต้นพืช มีการ นาไปใช้กันมากในการควบคุมไรศัตรูพืช เพลี้ยไฟ และแมลงหวี่ขาวในแปลงกล้าพืชและพืชที่ปลูกในโรงเรือน และมีการเพาะเลีย้ งเพื่อจาหน่ายเป็นการค้าในยุโรปและอเมริกาเหนือ (Doğramaci et al., 2016) ไรตัวห้า A. swirskii มีถิ่นเดิมอยู่ในประเทศแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออก ในอิสราเอล และอียิปต์ อิตาลี ไซปรัส กรีซ และตุรกี เป็นไรตัวห้าที่มีประสิทธิภาพสูง ถ้ามีการนาเข้ามาใช้ประโยชน์ในประเทศไทย สามารถนาไปใช้ ควบคุมเพลี้ยไฟและแมลงหวี่ขาวที่เป็นแมลงชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานได้อีกหลายชนิด (Anonymous, 2017, 2018) รวมทั้งการควบคุมเพลี้ยไฟที่มีการระบาดรุนแรงในประเทศไทยด้วย ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงได้นาไรตัวห้า A. swirskii เข้ามาจากประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 มาทาการศึกษาชีววิท ยาและทดสอบประสิท ธิภาพ เพื่อนาไปใช้เป็นตัวห้า (biological control agent – BCA) ของเพลี้ยไฟ และสามารถที่จะแนะนาให้เกษตรกรนาไปใช้ควบคุมเพลี้ยไฟที่เป็นศัตรูพืชที่ปลูก ในโรงเรือนเพาะปลูก หรือ ในการนาไปปล่อยในแปลงปลูกภาคสนามให้สามารถตั้งรกรากได้ในในระบบนิเวศ นอกเหนือไปจากศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยไฟที่พบในประเทศไทยหลายชนิด เช่น แตนเบียนไข่ แตนเบียนตัว หนอน Ceranisus menes (Hymenoptera: Eulophidae) และแมลงตัวห้าอีกหลายชนิด ตามรายงานของ Hirose et al. (1989, 1993) Hirose (1 9 9 0 ) แ ล ะ Okajima et al. (1992) ร วม ทั้ งเพ ลี้ ย ไฟ ตั วห้ า (predatory thrips) อี ก มากกว่ า 10 ชนิ ด ใน 5 สกุ ล ในวงศ์ Phalaeothripidae เช่ น Aleurodothrips fasciapennis, Androthrips flavipes, Karnyothrips flavipes, Leptothrips sp. และ Podothrips sp. ตามรายงานของ Saengyot (2016) เป็นต้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยคือ ศึกษาชีววิทยา วงจรชีวิต ความสามารถในการวางไข่ อาหารที่เหมาะสม ในการเลี้ยง โดยการวิเคราะห์ คุณลักษณะทางชีววิทยาเมื่อใช้เหยื่อหรืออาหารชนิดต่าง ๆ และประสิทธิภาพใน การกิ นเพลี้ยไฟชนิดต่าง ๆ ของไรตัวห้า A. swirskii ในห้องปฏิบัติก ารกั ก กั น (quarantine) และโรงเรือน ทดลอง ตามเงื่อ นไขของการอนุญ าตนาสิ่งต้องห้ามเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการทดลองหรือวิจัย ตาม พระราชบัญ ญัติกักพืช พ.ศ.2507 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ภายใต้กรมวิชาการเกษตร ก่อนที่จะนาไปใช้ควบคุม เพลี้ยไฟในโรงเรือนและแปลงปลูกพืชในภาคสนามต่อไป 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
53
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
อุปกรณ์และวิธีการ การเตรียมพ่อแม่พันธุ์ของไรตัวห้า A. swirskii นาไรตั วห้ าเข้ามาจากต่างประเทศ โดยการสั่งซื้อ จากบริษั ท Koppart B.V. Koppart Biological Systems ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมื่ อเดือ นพฤษภาคม พ.ศ. 2559 จานวนประมาณ 50,000 ตัว นามาเก็ บ รัก ษาและเพาะเลี้ย งให้ เป็ นแหล่ง ส ารอง (stock culture) ในจานเพาะเลี้ย งขนาดเส้ นผ่ าศูน ย์ก ลาง 9.0 เซนติเมตร สูง 1.5 เซนติเมตร รองพื้นด้วยขี้เลื่อยละเอียด ให้เป็นที่หลบซ่อนตัว รวม 5 จาน วางไว้ไม่ให้ถูกแสง โดยตรงบนชั้นวางของ ในห้องปฏิบัติ การกั กกัน ที่ อุณหภูมิ 25+2 องศาเซลเซียส ความชื้นสัม พัท ธ์ 80+10 เปอร์เซ็นต์ และ ช่วงแสง 14D:10L โดยให้ไข่ของผีเสื้อข้าวสาร Corcyra cephalonica เป็นอาหาร ในการ เก็บรักษาไรตัวห้าไว้เป็นแหล่งสารอง เพื่อนามาใช้ในการศึกษาทดลองต่าง ๆ ต่อไป 1. การศึกษาชีววิทยาของไรตัวห้า A. swirskii ทาการศึกษาชีววิทยาวงจรชีวิตของไรตัวห้า โดยเขี่ยไรตัวห้าตัวผู้และตัวเมียจานวน 20 คู่ ใส่ลงในจาน พลาสติกใส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.0 เซนติเมตร สูง 1.5 เซนติเมตร บนใบมะเขือเปราะขนาด 4.5x 4.5 เซนติเมตร ที่วางบนแผ่นสาลีชุบน้าอยูใ่ นจาน วางจานทิ้งไว้ให้ตัวเมียวางไข่ 1 วัน ต่อจากนั้น นาไข่ที่ได้จานวน 50 ฟอง มาแยกเลี้ยงเดี่ยว ๆ ในจานพลาสติกใส ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5.0 เซนติเมตร สูง 1.5 เซนติเมตร บนใบมะเขือเปราะ ที่ ตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 2.5x2.5 เซนติเมตร วางบนแผ่นสาลีชุบน้า เมื่ อไข่ฟัก ออกมา ใส่ตัวอ่อนเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis ให้เป็นอาหาร บันทึกระยะเวลาของการเจริญเติบโต ตั้ง แต่ ร ะยะไข่ ร ะยะตั วอ่ อ น จนกระทั่ ง เป็ น ตัว เต็ ม วั ย ทุ ก ๆ 6 ชั่ ว โมง เป็ น การศึก ษาช่ วงเวลาของการ เจริญเติบโตในระยะต่าง ๆ ในวงจรชีวิตของไรตัวห้าและบันทึกความสามารถในการวางไข่ของไรตัวห้าตัวเมียด้วย 2. การศึกษาชนิดของอาหารหรือเหยื่อที่เหมาะสมในการเพาะเลียงไรตัวห้า A. swirskii ในการศึก ษาชนิ ด ของอาหารหรื อเหยื่ อ ที่ เหมาะสม ใช้ คุ ณ ลั ก ษณะทางชีว วิท ยาต่ าง ๆ เป็ น ตั ว เปรีย บเที ย บ อาหารหรือ เหยื่ อ 3 ชนิ ดที่ ใช้ คื อ ตั วอ่ อ นเพลี้ ย ไฟพริก S. dorsalis ไข่ ของผี เสื้ อ ข้าวสาร C. cephalonica และละอองเกสรของต้ น ธู ป ฤาษี Typha angustifolia โดยรวบรวมไข่ ข องไรตั ว ห้ า ที่เลี้ยงจากห้องปฏิบัติการ จานวน 100 ฟองนาไข่ที่ได้มาแยกเลี้ยงเดี่ยว ๆ บนใบหม่อนที่ตัดเป็นแผ่นวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 1.7 เซนติเมตร วางบนแผ่นสาลีชุ่มน้าลงในจานแก้วขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5.0 เซนติเมตร สูง 1.5 เซนติเมตร จากนั้นเมื่อไข่ฟั กจึงให้อาหารที่เราต้องการทดสอบ โดยเขี่ยไรตัวห้าลงไปจานละ 1 ตัว จึงให้อาหารที่ต้องการศึกษาทุกวัน จนเป็นตัวเต็มวัย แล้วนาไรตัวห้าเพศผู้และเพศเมียมาผสมพันธุ์กัน บันทึกจานวนไข่ของไรตัวห้าทุก ๆ วัน จนกระทั่งไรตัวห้าตาย นาข้อมูลที่ได้ไปสร้างตารางชีวิตแบบ ชีววิทยา (biological life table) ตามวิธีของ Napompeth (1973) และอินทวัฒน์ (2548) และวิเคราะห์หา ค่าของคุณลักษณะทางชีววิทยาต่าง ๆ ได้แก่ การขยายพันธุ์สุทธิ (Ro) ชั่วอายุไขของกลุ่ม (Tc) ความสามารถใน 54
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
การขยายพันธุ์ทางกรรมพันธุ์ (rc) และอัตราการเพิ่มแท้จริง (λ)ของไรตัวห้า ที่ได้รับจากการเลี้ยงด้วยอาหาร หรือเหยื่อแต่ละชนิด 3. การศึกษาศักยภาพในการกินเพลียไฟของไรตัวห้า A. swirskii การทดลองนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เปรี ย บเที ย บความสามารถของไรตั ว ห้ าในการกิ น เพลี้ ย ไฟ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized design: CRD) ทั้งหมด 3 กรรมวิธี (เหยื่อ 3 ชนิด) ได้แก่ ตัวอ่อนของเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis เพลี้ยไฟถั่ว Caliothrips phaseoli และ เพลี้ย ไฟฝ้าย Thrips. palmi โดยแต่ละกรรมวิธีมี 20 ซ้า หน่วยการทดลองคือ จานทดลอง 1 จาน (ไรตัวห้า 1 ตัว ต่อ 1 จานที่ มีเหยื่อ 20 ตัว) ต่อกรรมวิธีต่อ ซ้า เป็นการทดลองแบบไม่มี ตัวเลือก (no-choice test) โดยให้ เหยื่อวันละ 20 ตัว ในเวลาเดียวกันทุกวัน บันทึกจานวนเหยื่อแต่ละชนิดที่ไรตัวห้ากินทั้งหมด และนาข้อมูลที่ ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติและเปรียบเทียบโดยวิธี Duncan multiple range test (DMRT) 4. การศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของไรตั ว ห้ า A. swirskii เพื่ อ ควบคุ ม เพลี ยไฟฝ้ า ย T. palmi บนต้ น มะเขือปราะในสภาพโรงเรือนทดลอง ออกแบบการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มีทั้งหมด 3 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 50 ซ้า ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 ปล่อยตัวอ่อนวัยที่ 2 (Protonymph) กรรมวิธีที่ 2 ปล่อยตัวอ่อนวัยที่ 3 (deutonymph) กรรมวิธีที่ 3 ตัวเต็มวัยเพศเมีย ปล่อ ยไรตัวห้าจ านวน 1 ตัวต่อ ต้นมะเขืออายุเปราะ 1 เดื อน 1 ต้น เป็น 1 หน่วยการทดลองต่ อ กรรมวิธีต่อซ้า ใส่เพลี้ยไฟระยะตัวอ่อน จานวน 20 ตัว/ต้นมะเขือ ทุกกรรมวิธี นาต้นมะเขือเปราะอายุ 1 เดือน จานวน 1 ต้น วางในถ้วยพลาสติกขนาด 12 ออนซ์ และปิดด้วยฝาโดมที่เจอะรูเพื่อระบายอากาศ โดยทุกต้นอยู่ ในกรงขนาด 50X50X70 เซนติเมตร คลุมด้วยผ้าขาวบาง เพื่อป้องกันไรตัวห้าหลบหนีออกไปยังต้นอื่น บันทึก จานวนเพลี้ยไฟ หลังจากทาการปล่อ ยไรตัวห้า ทุ ก 24 ชั่วโมง จนกระทั่ง เพลี้ยไฟตายหมด ความชื้น และ อุณหภูมิภายในโรงเรือนทุกวันตลอดระยะเวลาทดลอง นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติ 5. การศึกษาอัตราการปลดปล่อยไรตัวห้า A. swirskii เพื่อควบคุมเพลียไฟฝ้าย T. palmi บนต้นมะเขือ เปราะในสภาพโรงเรือนทดลอง ปล่อยไรตัวห้าตามกรรมวิธีดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 กรรมวิธีควบคุม กรรมวิธีที่ 2 ปล่อยไรตัวห้า 1 ตัว ต่อ เพลี้ยไฟ 20 ตัว กรรมวิธีที่ 3 ปล่อยไรตัวห้า 2 ตัว ต่อเพลี้ยไฟ 20 ตัว กรรมวิธีที่ 4 ปล่อยไรตัวห้า 3 ตัว ต่อ เพลี้ยไฟ 20 ตัว และกรรมวิธีที่ 5 ปล่อยไรตัวห้า 4 ตัว ต่อเพลี้ยไฟ 20 ตัว กรรมวิธีละ 10 ซ้า นาต้นมะเขือเปราะอายุ 1 เดือน จานวน 1 ต้น วางในถ้วยพลาสติกขนาด 12 ออนซ์ ใส่เพลี้ยไฟฝ้าย ระยะตัวอ่อน จ านวน 20 ตัว/ต้นมะเขือ เปราะ ทุ ก กรรมวิธี และปล่อยไรตัวห้าลงไปตามกรรมวิ ธีข้างต้น จากนั้น ปิดด้วยฝาโดมที่ เจอะรูเพื่ อ ระบายอากาศ บันทึ ก จ านวนเพลี้ยไฟฝ้ายที่ ไรตัวห้ากิน ทุ ก 24 ชั่วโมง จนกระทั่งเพลี้ยไฟฝ้ายตายหมด นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
55
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
ผลและวิจารณ์ 1. การศึกษาคุณลักษณะทางชีววิทยาของไรตัวห้า A. swirskii ชีววิทยาของไรตัวห้าเมื่อเลีย้ งด้วยเพลีย้ ไฟพริก S. dorsalis พบว่า ลาตัวมีสีขาวนวล เหลือง ขึ้นอยู่กับ อาหารที่ไรตัวห้ากิน ไข่มีรูปร่างยาวรีสีขาวใสขนาด กว้าง 0.17 มิลลิเมตร ยาว 0.22 มิลลิเมตร และเปลี่ยนเป็น สีขาวนวลเมื่อใกล้ฟัก มีระยะการเจริญเติบโต 5 ระยะ เหมือนไรตัวห้าในวงศ์ Phytoseiidae อื่น ๆ คือ ระยะ ไข่ ตัวอ่อนวัย 1 (larva) ตัวอ่ อ นวัย 2 (protonymph) ตัวอ่อนวัย 3 (deutonymph) และระยะตัวเต็ม วัย (ภาพที่ 1 ) (ตารางที่ 1) โดยมีช่วงเวลานาน 1.50±0.28, 0.67±0.04, 0.88±0.72, 1.00±0.13 วัน ตามลาดับ ช่ ว งระยะไข่ ถึ ง ตั ว เต็ ม วั ย นาน 4.05±1.17 วั น ตั ว เต็ ม วั ย ตั ว เมี ย และตั ว ผู้ มี อ ายุ ยื น ยาว (longevity) 18.19±3.34 และ 8.95±1.85 วัน ตามล าดับ ตัวเมี ยวางไข่ได้ 3.63±0.65 ฟอง/วัน และ 52.25±5.25 ฟอง ตลอดช่วงอายุขัย (ตารางที่ 2) Park et al. (2010) ราย งาน ว่ าเมื่ อ เลี้ ย งด้ วย ไรก าม ะ ห ยี่ tomato russet mite Aculops lycopersici (Acari: Eriophyidae) ไรตัวห้า A. swirskii จะเจริญเติบโตครบวงจรชีวิตภายใน 5 วันที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งใกล้เคียงกั บ การศึก ษาครั้ง นี้ที่ 4.05±1.17 วัน นอกจากนั้น Park et al. (2011) ยัง รายงานว่าไรตัวห้า A. swirskii เจริญเติบโตได้เร็วกว่าเมื่อเลี้ยงด้วยเหยื่อที่มีชีวิต และวางไข่ได้สูงกว่าเมื่อเลี้ยง ด้ วยละอองเกสรของต้ น ธู ป ฤาษี Typha latifolia แต่ ในขณะเดี ย วกั น Goleva and Zebitz (2013) ใน การศึกษาการใช้ละอองเกสรของพืชชนิดต่าง ๆ 21 ชนิด ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารแตกต่างกัน เป็นอาหารเสริมใน การเลี้ยงไรตัวห้า A. swirskii รายงานว่าละอองเกสรของพืชบางชนิดเป็นพิษสูง บางชนิดเป็นอาหารเสริมที่ดี โดยในภาพรวมพบว่าละอองเกสรของพืช 18 ชนิด เช่น ละหุ่ง และ ทานตะวัน มีคุณสมบัติใกล้เคียงหรือดีกว่า ละอองเกสรต้นธูปฤาษี ซึ่งไม่เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยนี้ แต่น่าที่จะมีการศึกษาเพิ่มเติมได้ในอนาคต
0.1 มม.
ก
0.1 มม.
ข
0.1 มม.
ค
0.1 มม.
ง
0.1 มม.
จ
0.1 มม.
ฉ
ภาพที่ 1 ระยะการเจริญเติบโตของไรตัวห้า Amblyseius swirskii เมื่อเลี้ยงด้วยเพลี้ยไฟ ก. ไข่ ข. ตัวอ่อนวัยที่ 1 ค. ตัวอ่อนวัยที่ 2 ง. ตัวอ่อนวัยที่ 3 จ. ตัวเต็มวัยเพศเมีย ฉ. ตัวเต็มวัยเพศผู้ 56
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
ตารางที่ 1 ขนาดล าตั วในแต่ล ะระยะการเจริญ เติ บ โตของไรตัว ห้า Amblyseius swirskii เมื่ อ เลี้ ยงด้ว ย ตั ว อ่ อ นของเพลี้ ย ไฟพริ ก Scirtothrips dorsalis ในสภาพห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย 27 + 2 องศาเซียลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 75 + 2 เปอร์เซ็นต์ ขนาดของไรตัวห้า A. swirskii ในแต่ละการเจริญเติบโต ค่าเฉลี่ย±ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (มม.) กว้าง ยาว 0.17±0.01 0.22±0.02 0.18±0.02 0.23±0.02 0.18±0.02 0.26±0.01 0.20±0.01 0.32±0.02 0.22±0.01 0.39±0.03
ระยะการเจริญเติบโต ระยะไข่ ตัวอ่อนวัยที่ 1 (larva) ตัวอ่อนวัยที่ 2 (protonymph) ตัวอ่อนวัยที่ 3 (deutonymph) ตัวเต็มวัย
ตารางที่ 2 ระยะเวลาการเจริญ เติบ โตแต่ล ะวัยของไรตัวห้า Amblyseius swirskii เมื่ อเลี้ยงด้ วยตัวอ่อ น ของเพลี้ ย ไฟพริ ก Scirtothrips dorsalis ในสภาพห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย 27 + 2 องศาเซียลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 75 + 2 เปอร์เซ็นต์ ระยะการเจริญเติบโต (วัน) ระยะไข่ ตัวอ่อนวัยที่ 1 (larva) ตัวอ่อนวัยที่ 2 (protonymph) ตัวอ่อนวัยที่ 3 (deutonymph) ระยะไข่ – ตัวเต็มวัย ตัวเต็มวัย : เพศเมีย เพศผู้ จ้านวนไข่/วัน (ฟอง) จ้านวนไข่/เพศเมียตลอดอายุขัย
ค่าเฉลี่ย±ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.50±0.28 0.67±0.04 0.88±0.72 1.00±0.13 4.05±1.17 18.19±3.34 8.95±1.85 3.63±0.65 52.25±5.25
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
57
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
2. การศึกษาชนิดของอาหารหรือเหยื่อที่เหมาะสมในการเพาะเลียงไรตัวห้า A. swirskii จากการศึกษาตารางชีวิตแบบชีววิทยา (biological life table) ของไรตัวห้า เมื่อเลี้ยงด้วยอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ ตัวอ่อนเพลี้ยไฟพริก S. dorsalis ไข่ผีเสื้อข้าวสาร C. cephalonica และละอองเกสรต้นธูปฤาษี T. angustifolia น าข้ อ มู ล มาค านวณค่ าคุ ณ ลั ก ษณะทางชี ววิ ท ยาของไรตั วห้ า พบว่า ไรตั วห้ า ให้ ค่ าของ คุณลักษณะทางชีววิทยา คือค่าอัตราการขยายพันธุ์สุท ธิ (net reproductive rate, Ro) ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (cohort generation time, Tc) ความสามารถในการขยายพั นธุ์ ท างกรรมพั น ธุ์ (capacity for increase, rc) และ อัตราการเพิ่ ม แท้ จ ริง (finite rate of increase, λ) ของไรตัวห้าที่ เลี้ ยงด้ วยตั วอ่ อนเพลี้ยไฟพริก S. dorsalis มีค่าเท่ากับ 12.54, 14.83, 0.17 และ 1.18 ตามลาดับ เมื่อเลี้ยงด้วยไข่ผีเสื้อข้าวสาร C. cephalonica มี ค่ า เท่ ากั บ 20.02, 14.99, 0.19 และ 1.22 ตามล าดั บ และเมื่ อ เลี้ ย งด้ วยละอองเกสรต้ น ธูป ฤาษี T. angustifolia มีค่าเท่ากับ 4.53, 14.22, 0.10 และ 1.11 ตามลาดับ ซึ่งทุกค่าของคุณลักษณะทางชีววิทยาของไรตัวห้า ที่ เลี้ยงด้ วยไข่ผี เสื้อข้าวสาร C. cephalonica มี ค่าสูงกว่าไรตัวห้าที่ เลี้ ยงด้วยเพลี้ ยไฟพริ ก และละอองเกสร ต้นธูปฤาษี (ตารางที่ 3) ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าไข่ผีเสื้อข้าวสาร เป็นอาหารที่มีความเหมาะสมในการนามาเพาะเลี้ยงไร ตัวห้า ตารางที่ 3 คุ ณ ลั ก ษณะทางชี ว วิ ท ยาของไรตั ว ห้ า Amblyseius swirskii เมื่ อ เลี้ ย งด้ ว ยเพลี้ ย ไฟพริ ก Scirtothrips dorsalis ไข่ ผีเสื้ อข้าวสาร Corcyra cephalonica และละอองเกสรต้นธูป ฤาษี Typha angustifolia ในสภาพห้องปฏิบัติการที่อุณหภูมิ เฉลี่ย 27 + 2 องศาเซียลเซียส และ ความชื้นสัมพัทธ์ 75 + 2 เปอร์เซ็นต์ คุณลักษณะทางชีววิทยา อัตราการขยายพันธุ์สทุ ธิ (Ro) ชั่วอายุขยั ของกลุ่ม (Tc) (วัน) ความสามารถในการขยายพันธุ์ทางกรรมพันธุ์ (rc) อัตราการเพิ่มแท้จริง (λ)
เหยื่อที่ใช้เลียงไรตัวห้า A. swirskii S. dorsalis
C. cephaloniga
T. angustifolia
12.54 14.83 0.17 1.18
20.02 14.99 0.19 1.22
4.53 14.22 0.10 1.11
3. การศึกษาประสิทธิภาพของไรตัวห้า A. swirskii ในการกินเพลียไฟในห้องปฏิบัติการ จากการศึกษาพบว่า ตัวเต็มวัยเพศเมียของไรตัวห้ากินตัวอ่อนของเพลี้ยไฟพริก S. dorsalis เพลี้ยไฟ ถั่ว C. phaseoli และเพลี้ยไฟฝ้าย T. palmi ได้วันละ 3.8, 3.6 และ 4.1 ตัวต่อวัน ตามล าดับ และตลอด อายุขั ย ของตั ว เต็ ม วัย เพศเมี ย ของไรตั วห้ ากิ น ตั ว อ่อ นของเพลี้ ยไฟฝ้ าย T. palmi ได้ ม ากที่ สุ ด โดยเฉลี่ ย 66.5±5.54 ตัว ซึ่ง มี ค วามแตกต่ างอย่างมี นั ยส าคัญ ทางสถิติ (P<0.05) กั บ เพลี้ย ไฟพริก และเพลี้ ยไฟถั่ ว (ตารางที่ 4) ซึ่งค่าเฉลี่ยของตัวอ่ อ นของเพลี้ยไฟทั้ ง 3 ชนิดที่ ถูก กินในเวลา 24 ชั่วโมง เป็ นเวลา 16 วัน ได้ แสดงไว้ในภาพที่ 3
58
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
Xu and Annie (2010) ทาการทดสอบประสิทธิภาพการกินเพลี้ยไฟของไรตัวห้า A. swirskii รายงาน ว่าไรตัวห้าระยะ protonymp และระยะ deutonymph สามารถกินตัวอ่อนเพลี้ยไฟได้ 4.71 และ 4.33 ตัว ต่อวัน ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับผลของการศึกษาครั้งนี้ ตารางที่ 4 วิสัยการกินเหยื่อชนิดต่าง ๆ ในแต่ละวัยของไรตัวห้า Amblyseius swirskii เมื่อกินเหยื่อตัวอ่อน เพลี้ ย ไฟพริ ก Scirtothrips dorsalis เพลี้ ย ไฟถั่ ว Caliothrips phaseoli และเพลี้ ย ไฟฝ้ า ย Thrips palmi ในสภาพห้องปฏิบัติก ารที่อุณหภูมิเฉลี่ย 27 + 2 องศาเซียลเซียส และความชื้น สัมพัทธ์ 75 + 2 เปอร์เซ็นต์ N
จ้านวนเพลียไฟที่ไรตัวห้ากิน1/ ค่าเฉลี่ย±ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Scirtothrips dorsalis
20
60.80±4.16b
Caliothrips phaseoli
20
58.40±4.81b
Thrips palmi
20
66.50±5.54a
เหยื่อ
ค่าเฉลี่ยในแถวแนวคอลัมน์เดียวกันที่มตี ัวอักษร (a, b, c และd) ทีต่ า่ งกัน มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) ด้วยวิธี DMRT.
จ้านวนเหยื่อ (ตัว)
1/
วัน
ภาพที่ 3 จ านวนค่ า เฉลี่ ย ของตั ว อ่ อ น เพลี้ ย ไฟพริ ก Scirtothrips dorsalis เพลี้ ย ไฟถั่ ว Caliothrips phaseoli และเพลี้ยไฟฝ้าย Thrips palmi ที่ไรตัวห้า Amblyseius swirskii กินทุก 24 ชั่วโมง 4. การศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของไรตั ว ห้ า A. swirskii เพื่ อ ควบคุ ม เพลี ยไฟฝ้ า ย T. palmi บนต้ น มะเขือปราะในสภาพโรงเรือนทดลอง จากผลการทดลองพบว่า ไรตัวห้าตัวอ่อนวัยที่ 2 (Protonymph) ตัวอ่อนวัยที่ 3 (deutonymph) ตัว และระยะเต็มวัยเพศเมีย สามารถกินเพลี้ยไฟได้เฉลี่ยดังนี้ 2.14±1.76 2.68±1.80 และ 3.58±2.12 ตัวต่อวัน ตามลาดับ ระยะตัวเต็มวัยเพศเมียกินเพลี้ยไฟได้มากกว่าระยะตัวอ่อนวันที่ 2 และ 3 ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 5)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
59
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
ตารางที่ 5 ประสิทธิภาพของไรตัวห้า A. swirskii ในการกินเพลี้ยไฟฝ้าย T. palmi ในสภาพโรงเรือนทดลอง ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 37 + 2 องศาเซียลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 40 + 2 เปอร์เซ็นต์ กรรมวิธี กรรมวิธีที่ 1ตัวอ่อนวัยที่ 2 (Protonymph) กรรมวิธีที่ 2 ตัวอ่อนวัยที่ 3 (deutonymph) กรรมวิธีที่ 3 ตัวเต็มวัยเพศเมีย 1/
จ้านวนเพลียไฟที่ไรตัวห้ากินต่อวัน1/ 2.14±1.76 b 2.68±1.80 b 3.58±2.12 a
ค่าเฉลี่ยในแถวแนวคอลัมน์เดียวกันที่มีตัวอักษร (a, b, c และd) ทีต่ ่างกัน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ด้วยวิธี DMRT.
5. การศึกษาอัตราการปล่อยไรตัวห้า A. swirskii เพื่อควบคุมเพลียไฟฝ้าย T. palmi บนต้นมะเขือเปราะ ในสภาพโรงเรือนทดลอง จากผลการทดลองพบว่าทุกกรรมวิธีที่มีการปล่อยไรตัวห้า จานวนประชาการของเพลี้ยไฟฝ้ายจะลดลง จนหมดเมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีไม่ปล่อยไรตัวห้า อัตราที่ปลดปล่อยไรตัวห้า 4 ตัว ต่อ เพลี้ยไฟฝ้าย 20 ตัว สามารถลดปริมาณเพลี้ยไฟฝ้ายได้มากที่สุดใน 3 วัน (ภาพที่ 4 )
ภาพที่ 4 อั ตราการกิ นเพลี้ยไฟฝ้ายของไรตัวห้า Amblyseius swirskii ในสภาพโรงเรือนทดลองที่ อุณหภูมิเฉลี่ย 37 + 2 องศาเซียลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ 40 + 2 เปอร์เซ็นต์ สรุปผลการทดลองและค้าแนะน้า ในการศึกษาทางชีววิทยา ได้ข้อมูลของการเจริญเติบโตของไรตัวห้า A. swirskii ในระยะต่าง ๆ ตั้งแต่ ระยะไข่จนถึงระยะตัวเต็มวัย และ ช่วงเวลาของวงจรชีวิต และความสามารถในการวางไข่ พบว่ามีวงจรชีวิตสั้น จากไข่เป็นตัวเต็มวัยใช้เวลานาน 4.05±1.17 วัน ระยะการวางไข่ 18.19±3.34 วัน วางไข่เฉลี่ย 52.25±5.25 ฟอง การเลือกอาหารที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงเพิ่มปริมาณไรตัวห้า โดยการเปรียบเทียบคุณลักษณะทาง ชีววิทยา พบว่าไข่ผีเสื้อข้าวสาร ให้อัตราการขยายพันธุ์สูงสุดมีค่าเท่ากับ 20.05 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ ตัวอ่อนของเพลี้ยไฟพริก และ ละอองเกสรของต้นธูปฤาษีเป็นอาหาร ทางด้านประสิทธิภาพในการกินเหยื่อที่เป็น 60
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
เพลี้ยไฟในห้องปฏิบัติการ พบว่าตลอดอายุขัย ไรตัวห้าเพศเมียสามารถกินเพลีย้ ไฟพริก เพลี้ยไฟถั่ว และเพลีย้ ไฟ ฝ้าย ได้ 60.8, 58.4 และ 66.5 ตัว ตามลาดับ การศึกษาประสิทธิภาพและอัตราในการกินเพลี้ยไฟฝ้ายในสภาพ โรงเรือนทดลอง พบว่า ระยะตัวเต็มวัยเพศเมียสามารถกินเพลี้ยไฟได้ประมาณวันละ 3.58 ตัว แนะนาให้ปล่อย ไรตัวห้าเพศเมีย จานวน 4 ตัว ต่อต้น เพื่อพบเพลี้ยไฟ 20 ตัว ต่อต้นมะเขือเปราะอายุ 1 เดือน ผลของการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาในห้องปฏิบัติการและสภาพโรงเรือนทดลอง ซึ่งเป็นข้อกาหนด ภายใต้ เ งื่อ นไขของการอนุ ญ าตน าสิ่ ง ต้ อ งห้ ามเข้ า มาในราชอาณาจั ก รเพื่ อ การทดลองหรื อ วิ จั ย ตาม พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ.2507 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ภายใต้กรมวิชาการเกษตร ก่อนที่จะอนุญาตให้นาไรห้า ไปใช้ในแปลงปลูกพืชในสภาพไร่ต่อไป ค้าขอบคุณ ขอขอบคุณที่ ปรึกษากรมวิชาการเกษตร ด้านกีฏวิทยา ดร.มานิตา คงชื่นสิน ที่ ปรึกษากรมวิชาการ เกษตรด้านกีฏวิทยา และ รศ.ดร.บรรพต ณ ป้อมเพชร ที่ให้คาปรึกษาแนะนาและตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ขอขอบคุณ คุณ อิ ท ธิพ ล บรรณาการ นั ก กี ฏวิท ยาชานาญการ กลุ่ม งานอนุก รมวิธานแมลง ที่ ให้ ความ อนุเคราะห์จาแนกชนิดของเพลี้ยไฟและถ่ายภาพทางวิทยาศาสตร์ ขอขอบคุณผู้ช่วยนักวิจัย คุณสาลี เหลือ ทรัพย์ และคุณอภิสิท ธิ์ แช่มภัก ดี เจ้าหน้าที่ กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม กลุ่ม กีฏและสัตววิทยา สานักวิจัย พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ที่ช่วยทาให้งานวิจัยนี้สาเร็จลุล่วงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เอกสารอ้างอิง อินทวัฒน์ บุรีค้า. 2548. นิเวศวิทยาวิเคราะห์ทางกีฏวิทยา. ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ กาแพงแสน, นครปฐม Anonymous. 2017. Biological control: Beneficial insects and mites: Swirskii-System Available at URL http://www.biobest.be/producten/1 1 1 / 3 / 0 / 0 / Accessed on 10/06/2017 Anonymous. 2018. Biological control: Beneficial insects and mites: Swirskii-System Available at URL https://www.allaboutswirskii.com/home/. Accessed on 08/09/2018 Croft, B.A., J.S. Blackwood, and J.A. McMurtry. 2004. Classifying life-style types of phytoseiid mites: diagnostic traits. Experimental and Applied Acarology 33: 247-260. Doğramaci, M., G. Kakkar, V. Kumar, J. Chen and S. Arthurs. 2016. Featured Creatures. UF/IFAS. University of Florida. 9 pp. Goleva, I. and C.P. Zebitz. 2013. Suitability of different pollen as alternative food for the predatory mite Amblysieus swirskii (Acari, Phytoseiidae). Experimental and Applied Acarology 61: 259-283. Hirose, Y. 1990. Prospective use of natural enemies to control Thrips palmi (Thysanoptera: Thripidae). In: The use of natural enemies to control agricultural pests. FFTC Book, Series No. 40 p. 135-141. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
61
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-05
Hirose, Y., H. Kajita, M. Takagi, S. Okajima, B. Napompeth and S. Buranapanichpan. 1989. Exploration for natural enemies of Thrips palmi, an important pest of vegetable crop in the Orient and Pacific Islands: Discovery of its effective parasitoid in Thailand. Abstracts. International Vedalia Symposium on Biological Control: A Century of Success. March 27-30, 1989. Riverside, California. Hirose, Y., H. Kajita, M. Takagi, S. Okajima, B. Napompeth and S. Buranapanichpan. 1993. Natural enemies of Thrips palmi and their effectiveness in the native habitat, Thailand. Biological Control 3(1): 1-15. McMurtry, J.A. and B.A. Croft. 1997. Life-styles of phytoseiid mites and their roles in biological control. Annual Review of Entomology 42: 291-321. Napompeth, B. 1973. Ecology and population dynamics of the corn planthopper, Peregrinus maidis (Ashmead) (Homoptera: Delphacidae), in Hawaii. Ph.D. Dissertation. University of Hawaii. Honolulu, Hawaii. 257 pp. Okajima, S., Y. Hirose, H. Kajita, M. Takagi, B. Napompeth and S. Buranapanichpan. 1992 Thrips on fruit vegetables in Southeast Asia. Applied Entomology & Zoology 27: 300-303. Park, N.H., L. Shipp and R. Buitenhuis. 2010. Predation, development and oviposition by the predatory mite Amblyseius swirskii (Acari: Phytoseiidae) on tomato russet mite (Acari: Eriophyidae). Journal of Economic Entomology 103: 563-569. Park, N.H., L. Shipp, R. Buitenhuis and J.J. Ahn. 2011. Life history parameters of commercially available Amblyseius swirskii (Acari: Phytoseiidae) fed on cattail (Typha latifolia) pollen and tomato russet mite (Aculops lycopersici). Journal of Asia-Pacific Entomology 14: 497-501. Saengyot, S. 2016. Predatory thrips species composition, their prey and host plant association in Northern Thailand. Agriculture and Natural Resources 50: 380-387. Sabelis, M.W. and P.C.J. Van Rijn. 1997. Predation by insects and mites p. 259-354. In: Thrips as crop pests. T. Lewis (ed,). CAB International, Wallingford, UK. Xu, X. and E. Annie. 2010. Prey preference of the predatory mite, Amblyseius swirskii Between first instar western flower thrips Frankliniella occidentalis and nymphs of the Two spotted spider mite Tetranychus urticae. Journal of Insect Science 1: 1-11
62
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
อนุกรมวิธานและเขตการแพร่กระจายแมงมุมแม่ม่ายในประเทศไทย Taxonomic and Distribution of Widow Spider Genus Latrodectus in Thailand วิมลวรรณ โชติวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์ Wimolwan Chotwong Ploychompoo Konvipasruang Atcharabhorn Prasoetphon Athitiya Kaewpradit and Naphacharakorn Taphaisach สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture
บทคัดย่อ แมงมุมแม่ม่าย (widow spiders) เป็นแมงมุมที่มีรายงานความสาคัญทางการแพทย์ พิษของแมงมุม ในกลุ่ม นี้มี ผ ลต่อ ระบบประสาทของมนุ ษย์ จากการส ารวจและเก็ บ รวบรวมตัวอย่างแมงมุ ม แม่ ม่ ายสกุ ล Latrodectus ในประเทศไทยตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2562 ในพื้นที่ 41 จังหวัด เพื่ อ นามาศึกษาลักษณะอนุกรมวิธานและจาแนกชนิดในห้องปฏิบัติการ โดยการใช้ลักษณะที่สาคัญในการจาแนก ชนิด เช่น ลักษณะการจัดเรียงของตา ความยาวของขา ขนแข็งที่มีลักษณะโค้งงอเป็นฟันเลื่อยเรียงต่อกันคล้าย ซี่หวีที่บริเวณขาปล้องสุดท้าย (tarsus) ของขาคู่ที่ 4 ลักษณะรูปร่างและลวดลายบนส่วนหลัง แถบสีส้มหรือสี แดงรูปร่างคล้ายนาฬิกาทรายบริเวณด้านล่างของส่วนท้ อง ลักษณะของอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ ลักษณะของ อวัยวะสืบ พันธุ์เพศเมี ย ฯลฯ ผลการศึกษาพบแมงมุม ในสกุ ล Latrodectus 2 ชนิด ได้แก่ Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841 และ Latrodectus elegans Thorell, 1898 การแพร่ ก ระจายพบ L. geometricus ในพื้นที่ 18 จังหวัด และ L. elegan ในพื้นที่ 7 จังหวัด คาสาคัญ : แมงมุมแม่ม่าย Latrodectus ลักษณะทางอนุกรมวิธาน เขตการแพร่กระจาย ABSTRACT Medically, the widow spider is the most important group of spiders. The venom of this spider affected major neurotransmitters throughout the nervous system (neurotoxin) in human. This Survey and collecting of spider in Genus Latrodectus was conducted in 41 provinces of Thailand from October, 2016 to September, 2019. The samples were collected and identified in laboratory. The taxonomic characters such as eyes arrangement , legs length, comb-footed on tarsus VI, shape and pattern of marking on dorsal of abdomen, red ‘‘hour-glass’’ mark on abdominal ventral, the shape of palpus and epigyne were used for identification. The results revealed that there were 2 species of genus Latrodectus including 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
63
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841 and Latrodectus elegans Thorell, 1898. L. geometricus distributed in 18 provinces and L. elegan distributed in 7 provinces Keywords: widow spiders, Latrodectus, taxonomic character, distribution คานา แมงมุมแม่ม่ายสกุล Latrodectus เป็นแมงมุมที่มีรายงานความสาคัญทางการแพทย์ เนื่องด้วยแมงมุม กลุ่มนี้เป็นผู้ล่าที่กินเหยื่อได้หลากหลาย (generalist predators) เช่น แมลง สัตว์ขาข้อปล้องอื่นๆ รวมถึงสัตว์ ที่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก เช่น จิ้งจก และลูกหนู (Forster, 1995 ) พิษในแมงมุม กลุ่มนี้จึงออกฤทธิ์ในวง กว้างต่อระบบสรีรวิทยาทั้งในสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (Garb et al., 2004, Shukla & Broome, 2007) พิษของแมงมุมแม่ม่ายมีชื่อเรียกเฉพาะว่า Latrotoxin โดยเฉพาะ α Latrotoxin จัดเป็น พิษที่ มีผ ลหลั กต่อระบบประสาท (neurotoxin) โดยพิษจะท าให้เกิ ดช่องว่างบริเวณปลายเซลล์ประสาท ส่งผลให้ แคลเซี ยมไอออน (Ca2+) ไหลเข้ า สู่ ป ลายเซลล์ ป ระสาทซึ่ ง เป็ น กลไกให้ เ กิ ด การปล่ อ ยสารสื่ อ ประสาท (neurotransmitter) ตลอดเวลา ทาให้เกิดการส่งกระแสประสาทอย่างต่อเนื่องและมากกว่าปกติ ส่ง ผลให้ กล้ามเนื้อเกร็งจนเป็นอัมพาต ซึ่งสาเหตุการเสียชีวิตจะเกิดจากกล้ามเนื้อกระบังลมและกล้ามเนื้อหัวใจหยุด ทางาน (Garb et al., 2004) ในปี 2540 พบรายงานจากประเทศอเมริกาใน the American Association of Poison Control Centers เปิ ดเผยว่ามี ค นไข้ถู ก แมงมุ ม แม่ ม่ ายกั ด จ านวน 2,757 ราย แต่มี อาการสาหั ส ประมาณ 0.004% (Litovitz et al., 1998) อย่างไรก็ตาม Bettini, 1964 รายงานว่าพบการเสียชีวิตจากการ ถูกแมงมุมแม่ม่ายกัดจากทั่วโลกเพียง 5 % ของผู้ที่ถูกกัดเท่านั้น นอกจากนี้ Müller, 1993 ได้รายงานเพิ่มเติม ว่า ในช่วงฤดูร้อนของประเทศแอฟริกาตอนใต้ระหว่างเดือนมกราคม กุมภาพันธ์และมีนาคมพบคนไข้ถูกแมง มุมกัดมากที่สุด 65 % และไม่พบรายงานการถูกกัดในช่วงฤดูหนาว แมงมุมแม่ม่ายเป็นกลุม่ แมงมุมทีม่ ีการกระจายกว้างขวางทัว่ โลก พบได้ทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั้ง บริเวณที่เป็นแผ่นดินใหญ่ และเกาะในมหาสมุทร (Shukla & Broome, 2007) หลายชนิดแพร่กระจายโดย การติดไปกั บ การขนส่งสินค้าของมนุษย์ ส่วนใหญ่ มั กพบอาศัยอยู่ในแหล่ง ชุม ชน โดยอาศัยอยู่ร่วมกั บ คน นอกจากนี้สามารถพบได้ในพื้นที่การเกษตร เช่นสวนองุ่นในแคลิฟอร์เนีย และการเกษตรในแอฟริกาตอนใต้ (Costello and Daane, 1998; Müller, 1993) ปัจจุบันทั่วโลกพบทั้งสิ้น 31 ชนิด (World Spider Catalog, 2019) โดยในทวีป เอเชียมี รายงานการพบ 4 ชนิด ได้แก่ L. geometricus, L. erythromelas, L. hasselti และ L. elegans (Schmidt & Klaas, 1991; Knoflach & van Harten, 2002; Yoshida, 2003) ในประเทศ ไทยพบมีการแพร่กระจายทั่วทุกภาค 18 จังหวัด โดยพบที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด สืบเนื่องมาจากได้มีการแจ้งจากเกษตรกร จ. ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และ อุบลราชธานี ว่าพบแมงมุม สกุลแม่ม่ายที่บริเวณท่อนพันธุ์มันสาปะหลัง ที่สุมกองไว้ขณะเตรียมการเพาะปลูกโดยที่เกษตรกรไม่ทราบว่า แมงมุมชนิดนี้เป็นแมงมุมที่มีพิษและเป็นอันตราย และปัจจุบันไม่มีผู้ที่ศึกษาทางด้านอนุกรมวิธานของแมงมุม แม่ม่ายสกุล Latrodectus ในประเทศไทย ในรายงานฉบับนี้จึงได้ศึกษาอนุกรมวิธานของแมงมุม สกุลนี้ เพื่อ 64
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
ทราบชนิดและเขตการแพร่กระจาย เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งอ้างอิง สืบค้นตาม หลักมาตรฐานสากล อีกทั้งยังเป็นฐานข้อมูลที่สาคัญด้านสาธารณสุขสาหรับประชาชนทั่วไป อุปกรณ์และวิธีการ การเก็บตัวอย่างแมงมุม สารวจเก็ บ ตัวอย่างแมงมุ ม ในเวลากลางวันและกลางคืน ตามใต้โต๊ะ เก้ าอี้ ใต้พื้นรถยนต์ แปลงมั น สาปะหลัง และขอบชายป่า โดยสังเกตใยที่ใช้ในการดักเหยื่อ ทาการเก็บตัวอย่างแมงมุมโดยวิธีจับโดยตรงด้วย หลอดพลาสติกใส เก็บรักษาตัวอย่างแมงมุมเฉพาะตัวเต็มวัยเท่านั้น ถ้าจับได้ตัวอ่อนจะต้องนามาเลี้ยงให้เป็นตัว เต็มวัยแล้วจึงนามาจาแนกชนิด นาตัวอย่างที่ได้มาฆ่าด้วยขวดน็ อคแมลงที่บรรจุด้วยสารโปแตสเซียมไฮดรอก ไซด์ เก็บรักษาตัวอย่างแมงมุมในหลอดแก้วที่บรรจุแอลกอฮอล์ 75% เพื่อเก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ บันทึกชื่อ แมงมุม วันที่จับ สถานที่จับ ชื่อผู้เก็บ ลงในป้ายกระดาษขาวแผ่นเล็ก ๆ แล้วใส่ลงในหลอดแก้วที่ดองแมงมุม การศึกษาอนุกรมวิธาน - วิธีการเตรียมตัวอย่าง นาตัวอย่างออกจากหลอดแก้วโดยใช้พู่กนั เขี่ยตัวอย่างให้ขึ้นมาด้านบนของหลอดแก้ว ใช้คีมคีบตัวอย่าง ออกมาและใช้เข็มเขี่ยเขี่ยขาแมงมุมให้กางออก วางตัวอย่างไว้ในจานแก้วที่มีที่มีซิลิกาเจลสีขาวและถูกแช่ด้วย แอลกอฮอล์ 95 % ให้เต็ม จากนั้นนาไปวางไว้ใต้กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอไมโครสโคปรุ่น Olympus SZHILLD stereomicroscope สาหรับการเตรียมอวัยวะเพศเมีย (epigynum) จะใช้เข็มเขี่ยเจาะรอบๆอวัยวะเพศ จากนั้นจึงดึง spermathecae และ copulatory duct ออกมาและนาไปแช่ในโปรติเนสเค (proteinase K) ประมาณ 3-5 ชั่ ว โมง เพื่ อ ก าจั ด เนื้ อ เยื่ อ ส่ วนที่ ไม่ ต้ อ งการออกไป จากนั้ น น าไปล้ างในน้ าสะอาด น า spermathecae และ copulatory duct ใส่ในหลอดแก้วขนาดเล็กแล้วจึงนากลับไปแช่ในขวดตัวอย่างเดิม สาหรับการเตรียม pedipalps (รยางค์คู่หน้า) ให้ดึงออกทางด้านซ้ายของตัวแมงมุมใส่จานแก้วที่มีแอลกอฮอล์ 75% จากนั้นนา 10% KOH มาต้ม ที่ อุ ณหภูมิ 60 0C ประมาณ 5-10 นาที และนามาเทลงในจานแก้ วที่ มี pedipalp ให้ท่วมตัวอย่างโดยการเทแอลกอฮอล์ 75 % ทิ้งไปก่อน แช่จนกระทั่ง pedipalp ขยายตัวออก จึง นาไปศึกษาดูรายละเอียดต่างๆ ใต้กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอไมโครสโคป เมื่อจาแนกชนิดเสร็จนา pedipalp ใส่ ในหลอดแก้วขนาดเล็กและนากลับไปแช่ในขวดตัวอย่างเดิม - การจาแนกชนิด นาตัวอย่างแมงมุม อวัยวะเพศเมีย และ รยางค์คู่หน้า มาจาแนกชนิดด้วยคู่มือวินิจฉัยการจาแนกชนิด และจากตาราต่างๆ โดยเฉพาะเอกสารเกี่ ยวกั บ การศึ ก ษาอนุก รมวิธานแมงมุ ม ในแถบทวีป เอเซี ย ได้แ ก่ Yoshida (2003, 2009), Ono (2002), Song et al. (1999) จากนั้นบรรยายลัก ษณะทางอนุก รมวิธาน วัด ความยาวของทั้งลาตัว ความยาวและความกว้างของ ส่วนหัวรวมกับส่วนอก (carapace) ความยาวและความ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
65
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
กว้างของ ส่ วนท้ อ ง (abdomen) ความยาวของขาในแต่ ล ะปล้อ ง ได้ แ ก่ ปล้ องที่ 3 (femur), ปล้ อ งที่ 4 (patella), ปล้องที่ 5 (tibia), ปล้องที่ 6 (metatarsus), ปล้องที่ 7 (tarsus) บันทึกรูปและบรรยายลักษณะที่ สาคัญทางอนุกรมวิธาน เก็บและรักษาตัวอย่างแมงมุมไว้ในพิพิธภัณฑ์กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สานักวิจัยและ พัฒนาอารักขาพืช เวลาและสถานที่ ทาการศึกษาเก็บตัวอย่างแมงมุมแม่ม่ายระหว่างเดือน ตุลาคม 2559 สิ้นสุด กันยายน 2562 รวม 3 ปี โดยสารวจและเก็บตัวอย่างในพื้นที่ 41 จังหวัด ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ภาคเหนือได้แก่ เชียงใหม่ ลาปาง น่าน แพร่ เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้แก่ นครราชสีมา ขอนแก่น ศรีสะเกษ บุรีรัมย์ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ ภาคกลางได้แก่ กรุงเทพกรุงเทพมหานคร สิงห์บุรี ชัยนาท กาญจนบุรี ราชบุรี ลพบุรี สระบุรี เพชรบู รณ์ พิ ษณุ โลก ภาคตะวันออกได้แก่ นครนายก ฉะเชิงเทรา ชลบุ รี ระยอง จันทบุรี ตราด ภาคตะวันตกได้แก่ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุ ท รสาคร นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี เพชรบุรี ภาคใต้ได้แก่ สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา พัทลุง ชุมพร สงขลา ผลและวิจารณ์ 1. ชนิดและเขตการแพร่กระจายของแมงมุมแม่ม่าย ผลจากการส ารวจชนิ ดแมงมุ ม แม่ ม่ ายในประเทศไทยตามใต้โ ต๊ะ เก้ าอี้ ใต้ พื้น รถยนต์ แปลงมั น สาปะหลัง และขอบชายป่า (ตารางที่ 1) ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2559 สิ้นสุด กันยายน 2562 ในพื้นที่ 18 จังหวัด พบแมงมุ ม แม่ ม่ ายในประเทศไทย จ านวน 2 ชนิด ได้แก่ Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841 และ Latrodectus elegans Thorell, 1898 โดยแมงมุ ม ทั้ ง 2 ชนิ ด มี แ หล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ แ ตกต่ า งกั น L. geometricus อาศัย ในแหล่งชุม ชนและใกล้ชิดกั บ คน ซึ่งแตกต่างจาก L. elegans ที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ ป่ า ห่างไกลจากแหล่งชุมชน จากการสารวจในบางพืน้ ที่อย่างต่อเนื่องพบว่าประชากรของแมงมุมแม่มา่ ยทั้งสองชนิดลดลงอย่างเห็น ได้ชัดจากพื้นที่เดิม โดยสาเหตุเกิดมาจากแหล่งอาศัยเดิมได้มีการเปลี่ยนแปลงไป การถูกเบียนไข่โดยแตนเบียน ในวงศ์ Eulophidae และมี แมงมุ ม ขายาว Pholcidae และแมงมุ ม Scytodidae เป็นศัตรูธรรมชาติที่ ช่วย ควบคุมปริมาณแมงมุม แม่ม่ายสีน้าตาล อีกทั้งแมงมุมแม่ม่ายมีพฤติกรรมการล่าพวกเดียวกันเอง (cannibalism) จึงทาให้จานวนประชากรลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน นอกจากนี้ข่าวสารที่มีความคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับพิษของแมง มุมแม่ม่ายสีน้าตาลในสื่อออนไลน์ และช่องข่าวต่างๆ ทาให้ประชาชนมีการตื่นตระหนกและหวาดกลัวต่อแมง มุมทุกชนิดจึงได้ฉีดพ่นสารเคมีเพื่อทาลายแมงมุมทุกชนิดที่พบ ทาให้ปัจจุบันแมงมุมแม่ม่ายอยู่ในสถานะที่พบ ได้ยาก ยิ่งไปกว่านี้แมงมุมแม่ม่ายหลังเพลิงเป็ นแมงมุมที่มีนิสัยชอบสันโดษ มีแหล่งอาศัยที่ไม่เฉพาะเจาะจง และมีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้น้อยจึงทาให้มีโอกาสที่จะสูญพันธุ์
66
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
ตารางที่ 1 แมงมุมแม่ม่ายทีส่ ารวจพบในประเทศไทย (ตุลาคม 2559- กันยายน 2562) ชื่อวิทยาศาสตร์
แหล่งที่อยู่อาศัย
สถานที่
ผู้เก็บตัวอย่าง
Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841
ร้านอาหาร ไร่ ร้านขายจิ้งหรีด บ้านเรือน ร้านอาหาร ร้านอาหาร ร้านอาหาร โรงเรือนแคตตัส ร้านอาหารที่ 1,2,3 ,4 ร้านอาหาร ร้านอาหารที่ 1,2,3,4,5,6 ร้านอาหาร ร้านอาหาร ร้านขายของข้างทางที่ รกร้าง
ต.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี ต.หนองกุ่ม จ.กาญจนบุรี ต.จตุจักร จ.กรุงเทพมหานคร ต.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.นครปฐม จ.ลาปาง ต.โคกกรวด, ต.โชคชัย จ.นครราชสีมา ต.ท่าอ่าง จ.นครราชสีมา ต.ในเวียง, ต.ท่าวังผา จ.น่าน ต.บ้านไผ่ จ.แพร่ ต.วังทอง จ.พิษณุโลก ต.หนองเรือ จ.ขอนแก่น ต.เสาธงชัย จ. ศรีสะเกษ ต.หนองหญ้าลาด, ต.บักดอง, ต.เสาธงชัย จ. ศรีสะเกษ
วิมลวรรณ วิมลวรรณ จิระพัฒน์ วิมลวรรณ พงศ์พัฒนา พงศ์พัฒนา วิมลวรรณ วิมลวรรณ วิมลวรรณ วิมลวรรณ วิมลวรรณ จิระพัฒน์ จิระพัฒน์ จิระพัฒน์
ตารางที่ 1 แมงมุมแม่ม่ายทีส่ ารวจพบในประเทศไทย (ตุลาคม 2559- กันยายน 2562) (ต่อ) ชื่อวิทยาศาสตร์
Latrodectus elegans Thorell, 1898
แหล่งที่อยู่อาศัย
สถานที่
ร้านอาหาร ป่า ร้านขายของตลาดนัด แหล่งเพาะเลี้ยงจิง้ หรีด บ้านเรือนหลังที่1,2,3
ต.โคกมะขาม จ.บุรรี ัมย์ จิระพัฒน์ ต.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี จิระพัฒน์ ต.ท่าขนอน จ.สุราษฎร์ธานี จิระพัฒน์ ต.วังใหญ่ จ.เพชรบูรณ์ ศวพ.พืชไร่เพชรบูรณ์ ต.ทุ่งพญา จ.ฉะเชิงเทรา จิระพัฒน์ จ.ชลบุรี พงศ์พัฒนา ต.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ จิระพัฒน์ ต.ทุ่งพระยา จ.ฉะเชิงเทรา เชาวลิต
ชายป่า ไร่มันสาปะหลัง
ผู้เก็บตัวอย่าง
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
67
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ชายป่าติดไร่มันสาปะหลัง หญ้าชายป่า หญ้าชายป่า บ่อลูกรัง ชายป่าติดไร่มันสาปะหลัง
ต.ในเมือง จ.ขอนแก่น ต.นาจะหลวย จ.อุบลราชธานี จ.ลพบุรี จ.ชลบุรี ต.ธรรมามูล จ.ชัยนาท
OEB-06
เฉลิมเกียรติ พงศ์พัฒนา พงศ์พัฒนา พงศ์พัฒนา เฉลิมเกียรติ
ภาพที่ 1 การแพร่กระจายแมงมุมแม่ม่ายในประเทศไทย 2 การศึกษาอนุกรมวิธาน จากการศึกษาลักษณะอนุกรมวิธานของแมงมุมแม่ม่ายในประเทศไทยเพื่อจาแนกชนิดตัวอย่างแมง มุมทั้งหมดที่เก็บได้ในห้องปฏิบัติการโดยการใช้ลักษณะที่สาคัญในการจาแนกชนิด เช่น ลักษณะการจัดเรียง ของตา ลักษณะของ endite ลักษณะของ fovea ระยะห่างระหว่างตา ลักษณะ sternum labium maxillae ความยาวของขา ลักษณะรูปร่างและลวดลายบนด้านหลังของส่วนท้อง แถบสีส้มหรือสีแดงรูปร่างคล้ายนาฬิกา ทรายบริเวณด้านล่างของส่วนท้อง ขนแข็งที่ มีลักษณะโค้งงอเป็นฟันเลื่อยเรียงต่อกันคล้ายซี่หวีที่บ ริเวณขา ปล้องสุดท้าย (tarsus) ของขาคู่ที่ 4 ลักษณะของรยางค์คู่หน้า ลักษณะของอวัยวะสืบพันธุ์เพศเมีย พบแมงมุม ในสกุล Latrodectus ทั้งหมด 2 ชนิด สามารถจาแนกชนิดได้ 2 ชนิด ได้แก่ Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841 และ Latrodectus elegans Thorell, 1898 จากการศึ ก ษาโครงสร้ า งอวั ย วะสื บ พั น ธุ์ ข อง L. geometricus พบว่า spermatheca วางขนานชิ ดกัน กระเปาะส่ วนหน้า (anterior lobes) และกระเปาะ
ส่วนท้าย (posterior lobes) มีขนาดเท่ากัน ส่วน copulatory duct ขดเป็นวงจานวน 4 วง สัมพันธ์กับวงขด ของ embolus ในรยางค์คู่หน้า ของเพศผู้ที่มี 4 วงเท่ากัน สอดคล้องกับการศึกษาของ Garb et al. (2004) ส่วน L. elegans พบว่า spermatheca ที่กระเปาะส่วนหน้า (anterior lobes) อยู่ในตาแหน่งห่างกัน และ 68
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
กระเปาะส่วนท้ ายอยู่ในตาแหน่งชิดกัน (v – shape) กระเปาะส่วนหน้าและส่วนท้ ายมี ขนาดแตกต่างกั น ชัดเจน ส่วน copulatory duct ขดเป็นวงจานวน 3 วง สัมพันธ์กับลักษณะวงขดของ embolus ในรยางค์คู่ หน้าของเพศผู้ที่มี 3 วงเท่ากัน (Lotz, 1994; Levi, 1983) เนื่องด้วยกลุ่มแมงมุมแม่ม่ายหลายชนิดมีสีสันและลักษณะภายนอกที่ใกล้เคียงกัน (sibling species) การสรุปชนิดที่แน่นอนจาเป็นต้องศึกษาโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ร่วมกับลักษณะที่สาคัญทางพันธุกรรม เพราะ การจาแนกชนิดของแมงมุมจากเพียงสีสนั ภายนอกอาจทาให้ชื่อชนิดแมงมุมผิดพลาดได้ ดังนั้นการเทียบตัวอย่าง ต้นแบบ (types specimens) และการศึกษาโดยใช้เทคนิคทางโมเลกุลนับเป็นเรื่องจาเป็นสาหรับการศึกษา แมงมุมกลุ่มนี้ต่อไปในอนาคต สาหรับคู่มือการวินิจฉัยชนิดที่ใช้ในการจาแนกและลักษณะอนุกรมวิธานของแมง มุมแม่ม่ายในสกุล Latrodectus แต่ละชนิดมีดังนี้ Key to species of Latrodectus in Thailand Female: 1. dorsum of abdomen have symmetrical markings consist loop-like brown spots, Distinct orange or dark brown hourglass marking on the ventral surface present. 3 (จ)..................................................................................................................................................2 - Abdomen black with bright red pattern on dorsum taking the shape of streaks, posterior half chevron shape extending laterally and on anterior half two curved bands (5ง.); ventrally an hour-glass mark............................................................................2 2. Seminal receptacles pararell (2 ข ) , Copulatory ducts coiled, dumb-bellshaped spermathecae paired, spermathecae ducts with 4 loops (2ข)................geometricus - copulatory ducts coiled three times around the seminal receptacles(4ข)………….…. ......................................................................................................................................... elegans Male: 1. dorsum of abdomen have symmetrical markings consist loop-like brown spots similar with female (3ฉ)……………………………………………………………………...........……………...2 - dorsal region of the abdomen is transverse irregular bars by white and black, longitudinal orange patch at the posterior dorsal (5ค)……………….………...……………….2 2. – Embolus with 4 loops (2ง)……………………………………………..….........……………..geometricus - Embolus with 3 loops (4ค)……………………..…….………………………..…….….......………..elegans วงศ์ Theridiidae Sundevall,1833 (แมงมุมขาหวี, comb-footed or cobweb spiders) แมงมุมขาหวี เป็นแมงมุมที่มีความหลากหลายทางด้านสัณฐานวิทยา ประกอบด้วยสมาชิกที่ถูกจาแนก ชนิดเรียบร้อยแล้วจานวน 124 สกุล 2,514 ชนิด ซึ่งแต่ละสกุลจะมีรูปร่างลักษณะที่ผันแปรแตกต่างกันเช่น สกุ ล Argyrodes จะมี ส่ วนท้ อ งที่ ยาวซึ่ง ถ้ามองด้านข้างจะเห็ นเป็ นรูป ลัก ษณะคล้ายรูป สามเหลี่ยม สกุ ล Ariamnes จะมีส่วนท้องที่ยาวมากรูปร่างลักษณะคล้ายแส้ สกุล Proroncidia จะมีหนามยาวรอบๆ ส่วนท้อง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
69
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
โดยทั่วไปแมงมุมมีนิสัยแยกกันอยู่เนื่องจากถ้าอยู่รวมกันจะมีพฤติกรรมกินกันเอง (cannibalism) แต่แมงมุม ขาหวี ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น แมงมุ ม ที่ อ าศั ย อยู่ ร่ ว มกั น เป็ น สั ง คม (Avilés, 1997) เช่ น Anelosimus eximius (Keyserling, 1884) จะอยู่รวมกันเป็นพันตัวและช่วยกันสร้างรังขนาดใหญ่ (Agnarsson, 2002) และ เป็นที่ รู้ จั ก อย่ า งดี ว่ า สกุ ล Argyrodes ชอบอาศั ย อยู่ ร่ ว มกั บ แมงมุ ม ชนิ ด อื่ น ที่ เ ป็ น เจ้ า ของรั ง แบบลั ก ษณะ Kleptoparasitic ซึ่งเป็นรูปแบบปฏิสัมพันธ์ที่ผิดปกติโดยการที่อาศัยอยู่ร่วมกับเจ้าของรังและขโมยพวกเศษ ซากอาหารจากเจ้าของรัง (Elgar, 1993) ส่วนใหญ่ แมงมุมวงศ์นี้พบอาศัยอยู่ในทรงพุ่มของต้นไม้ ตามใบไม้ บางชนิดอาศัยอยู่ใต้ใบไม้โดยสร้างเส้นใยยุ่งๆ กระจายคลุมตัว เช่น สกุล Chrysso สาหรับสกุล Nihonhimea จะนาใบไม้แห้งมาม้วนแล้วสร้างเป็นรังนอนและสร้างเส้นใย 3 มิติเพื่อดักเหยื่อ สกุล Latrodectus Walckenaer, 1805 N.B.: ถูกพิจารณาว่าเป็น senior synonym ของ Chacoca Badcock, 1932 โดย Levi, 1959 ตัวอย่างต้นแบบ (Type species): L. 13decimguttatus Walckenaer, 1805 ลักษณะประจาสกุล (Generic description): มีการจัดเรียงตาเป็น 2 แถวโดยตาด้านข้างถูก แยกออกมาจากตากลางคู่ห น้าและตาด้านหลังอย่าง ชัดเจน ไม่มีฟันบน chelicerae แผ่นแข็งด้านบน (carapace) มีลักษณะรูปร่างคล้ายลูกแพร์ fovea มีลักษณะ เป็ น หลุ ม ตามด้ า นขวาง ท้ อ งของเพศเมี ย มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป ทรงกลมป่ อ ง ส่ ว นเพศผู้ มี ลั ก ษ ณะคล้ า ย สี่เหลี่ยมผืนผ้า สีและลวดลายของส่วนท้องมีความผันแปรตั้งแต่สีครีม แดง ไปจนกระทั่งสีดา ส่วนเครื่องหมาย ที่มีลักษณะคล้ายรูปนาฬิกาทรายสีส้มที่อยู่ด้านใต้ของส่วนท้องมักจะปรากฎให้เห็น เพศเมียมีขนาดใหญ่มาก โดยมีขนาดลาตัวเกือบถึง 1 เซนติเมตร เพศผู้มีขนาดลาตัวเล็กกว่าเพศเมียประมาณ 4-5 เท่า บริเวณขาปล้อง สุดท้าย (tarsus) ของขาคู่ที่ 4 มีขนแข็งที่มีลักษณะโค้งงอเป็นฟันเลื่อยเรียงต่อกันเป็นแถวเห็นชัดเจนคล้ายซี่หวี สร้างใยไม่เป็นระเบียบเป็นลักษณะ 3 มิติเพื่อทารัง แต่สร้าง gumfoot lines (ภาพที่ 3ข) เพื่อเป็นใยดักเหยื่อใน เวลากลางคืน ขนาดspinneret คู่กลางมีขนาดเล็กกว่าคู่หน้าและคู่หลังมาก ขาคู่ที่ 1 และ 4 ยาวมากกว่าคู่ที่ 2 และ 3 และมี cololus ขนาดใหญ่ Latrodectus geometricus C.L. Koch, 1841 (ภาพ 3จ และ ฉ) ตัวอย่างต้นแบบ (Holotype): ปัจจุบันเก็บไว้ที่ Museum für Naturkunde, Berlin (ZMB) ประเทศเยอรมัน ประวัติทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic history): ค้นพบครั้งแรกโดย Koch ในปี 1841และพบแพร่กระจายที่ Vaterland ประเทศนอร์เวย์ อเมริกาใต้ และโคลั ม เบี ย ต่อ มาปี 1875 Thorell ได้พ บตัวอย่างที่ ป ระเทศแอฟริก า Karsch (1878) พบตัวอย่ างที่ แอฟริกาได้จาแนกชนิดผิดและตั้งชื่อว่า Theridium zickzack ในปี Keyserling รายงานเพิ่มเติมว่าแมงมุม ชนิดนี้แพร่กระจายไปยังแถบประเทศเขตอบอุ่นและประเทศอเมริกา จนกระทั่ง Badcock (1932) ได้จาแนก 70
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
ชนิ ด ผิ ด โดยเขาได้ คิ ด แมงมุ ม ที่ พ บเป็ น new species โดยเขาได้ ตั้ ง ชื่ อ genus และ species ใหม่ เป็ น Chacoca distincta โดยให้เหตุผลว่าสกุล Chacoca แตกต่างจากสกุล Latrodectus ตรงที่ตาด้านข้างแยก ออกจากตาคู่กลางและคู่หลังอย่างชัดเจน แต่เมื่อดูจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลัดษณะอวัยวะสีบพันธุ์ เพศเมียพบว่าเป็นชนิด เดียวกั น Smithers, 1944 ได้พิจารณาทางลักษณะทางสัณฐานวิท ยาและพบว่า L. concinnus ที่ ถูกตั้งขึ้นโดย Pickard-Cambridge ในปี 1904 เป็น synonym ของ L. geometricus ต่อมา Caporiacco, 1949 ได้จาแนกชนิดผิดและคิดว่าเป็น new species จึงตั้งชื่อ L. geometricus modestus, L. geometricus subalbicans และ L. geometricus obscuratus ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ความยาวลาตัวโดยเฉลี่ย: เพศผู้ 2.56 มิลลิเมตร เพศเมีย 7.60 มิลลิเมตร หั วและอก (Carapace): สีน้ าตาลเข้ ม ถึง ดา มี ค วามยาวมากกว่าความกว้าง แผ่ น แข็ ง ด้ านบน (carapace) มีลักษณะรูปร่างคล้ายลูกแพร์ fovea มีลักษณะเป็นหลุมตามด้านขวาง ส่วนหัวแคบกว่าส่วนอก มี 8 ตา เรียง 2 แถว (4-4) แบบ recurve โดยแถวหน้าเรียงโค้ง มากกว่าแถวหลัง ระยะห่างระหว่างตาข้าง ด้านหน้ากั บตากลางคู่หน้ามี ขนาดเท่ากั น ตาข้างของตาแถวหลังแยกห่างออกจากตาคู่กลางแถวหลังอย่าง เด่นชัด sternum สีน้าตาลอ่อนปกคลุมด้วยขน labium ยาวมากกว่าด้านกว้าง maxillae ยาวมากกว่าด้าน กว้าง เห็น scapulae ชัดเจน chelicerae สีน้าตาลเหลืองมีขนาดเล็ก ไม่มีฟันบนchelicerae ขามีสีน้าตาล อ่อนบริเวณข้อต่อระหว่างปล้องขามีสีดาเข้ม ความยาวขา 4 ขา เรียงจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1, 4, 2, 3 ท้อง (Abdomen): สีพื้นของส่วนท้อง (abdomen) มีความหลากหลายสูงตั้งแต่สีขาวสว่าง สีเทา สี น้าตาลอ่อน สีน้าตาลเข้ม ไปจนถึงสีดา กึ่งกลางด้านบนของส่วนท้องมีจุดรูปวงกลมหรือสามเหลี่ยมสีส้ม แดง หรือสีน้าตาลเข้ม ล้อ มรอบด้วยขอบสีขาว เรียงต่อกั นเป็นแถว 3 จุด เชื่อมต่อด้วยแถบสีเดียวกั นพาดไป ทางด้านท้ายลาตัว สองข้างของแนวกลางตัวด้านบนส่วนท้อง มีจุดสีดา เรียงต่อกันข้างละ 4 จุด เห็นชัดในแมง มุม ขนาดเล็ก ส่วนแมงมุ มที่ มี อ ายุม ากจะเห็นชัดเพียงข้างละ 3 จุด แต่ละจุดมี แถบสีอ่อนเชื่อมต่อพาดไ ป ด้านข้างของส่วนท้องเกิดเป็นลวดลายสีอ่อนสลับเข้มตัดกับสีพื้นของส่วนท้อง ด้านล่างของส่วนท้องมีแถบสีส้ม หรือสีแดงรูปร่างคล้ายนาฬิกาทรายเป็นลักษณะเด่น (ภาพที่ 3ง) ส่วนของอวัยวะชักใย (spinnerets) ล้อมรอบ ด้วยแถบสีเข้มเรียงสลับกับสีอ่อนอย่างละ 6 แถบ โครงสร้างอวัย วะสืบพันธุ์มีส่วนของ spermatheca รูปร่าง คล้ายดัมเบล 1 คู่ วางชิดขนานกัน (parallel spermatheca) (ภาพที่ 2ข) โดย spermatheca แต่ละอัน มี กระเปาะส่ วนหน้ า (anterior lobes) และกระเปาะส่ว นท้ าย (posterior lobes) ที่ มี ข นาดเท่ ากั น ส่ ว น spermatheca เชื่อ มต่อกั บ ท่ อ copulatory ducts ที่ ขดซ้อนกันจ านวนข้างละ 4 วง (ภาพที่ 2ข) ส าหรับ โครงสร้างที่ใช้จาแนกของเพศผู้จะอยู่บริเวณด้านหน้าสุดของตัวเต็มวัยเพศผู้ จะมีส่วนของรยางค์ (palp) 1 คู่ ทาหน้าที่สาหรับเก็บน้าเชื้อ ชั่วคราวและส่งถ่ายน้าเชื้อต่อไปยังเพศเมี ย โดยบนรยางค์ แต่ละข้าง มีส่วนของ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
71
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
embolus ที่ยาวและพันเป็นเกลียวขดเป็นวงซ้อนกัน จานวน 4 วง (ภาพที่ 2ค และ ง) และมี colulus ขนาด ใหญ่ เขตการแพร่กระจาย (Distribution): แอฟริกา อเมริกา โปแลนด์ ตะวันออกกลาง ปากี สถาน อินเดีย ไทย ญี่ปุ่น ปาปัวนิวกินี ออสเตรเลีย และฮาวาย ในประเทศไทยสามารถพบทั่วทุกภาค ภาคเหนือได้แก่ ลาปาง น่าน แพร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้แก่ นครรราชสีมา ขอนแก่น ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ อุบลราชธานี ภาคกลางได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครปฐม เพชรบูรณ์ พิษณุโลก ภาคตะวันออกได้แก่ ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ภาค ตะวันตกได้แก่ กาญจนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี ภาคใต้ได้แก่ สุราษฎร์ธานี
ภาพที่ 2 โครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ L. geometricus ก. อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมียภายนอก ข. Spermathecae and copulatory duct ค. และ ง. palp ด้านซ้ายของรยางค์ (palp) เพศผู้ แสดงส่วน embolus ที่ขดเป็นวงซ้อนกัน จานวน 4 วง
ภาพที่ 3 . Latrodectus geometricus ก. ขาปล้องสุดท้าย (tarsus) ของขาคู่ที่ 4 มีขนแข็งที่มลี ักษณะโค้งงอ เป็นฟันเลื่อยเรียงต่อกันเป็นแถวเห็นชัดเจนคล้ายซี่หวี ข. gumfoot lines ใช้สาหรับดักเหยื่อ ค. แหล่งที่อยู่อาศัย ง. แถบสีส้มหรือสีแดงรูปร่างคล้ายนาฬิกาทรายด้านล่างส่วนท้อง จ. ตัวเต็มวัยเพศ เมียและถุงไข่ที่มลี ักษณะคล้ายทุ่นระเบิด ฉ. ตัวเต็มวัยเพศผู้
72
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
Latrodectus elegans Thorell, 1898 (ภาพ 5ค และ ง ) ประวัติทางอนุกรมวิธาน (Taxonomic history): ค้นพบครั้งแรกโดย Thorell ในปี 1898 บริเวณภูเขา Carin Chebà ประเทศพม่า ต่อมาในปี 1909 Simon ได้พบตัวอย่างที่ ฮานอย ประเทศเวีดนามแต่เ นื่องจากตั วอย่างที่ พบมี ลั ก ษณะทางสัณ ฐานวิท ยา ใกล้เคียงกั บ L. hasselti จากประเทศออสเตรเลีย และใกล้เคียงกับ L. elgans ดังนั้นจึง ตัดสินใจตั้งชื่อว่า Latrodectus hasselti elegans ในปี 1998 Zhu ได้จาแนกชนิดผิดโดยได้ตั้งชื่อว่าเป็น L. mactans ต่อมา Song, Zhu and Chen, 1999 ได้จาแนกชนิดผิดโดยได้ตั้งชื่อว่าเป็น L. mactans ปี 2002 ได้รายงานพบ L. elgans ในประเทศญี่ปุ่น โดย Ono ต่อมา Kananbala, et al. 2012 รายงานการพบ L. elgans ครั้งแรกที่ หมู่บ้าน Thawai เมือง Ukhrul รัฐ Manipur ประเทศอินเดีย ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ความยาวลาตัวโดยเฉลี่ย : เพศผู้ 2.28 มิลลิเมตร เพศเมีย 7.22 มิลลิเมตร หัวและอก (Carapace): Carapace ถูก ปกคลุม ด้วยขนสั้นๆ สีดากระจายตัวแบบไม่ส ม่ าเสมอ มี ความยาวมากกว่าความกว้าง แผ่นแข็งด้านบน (carapace) มีลักษณะรูปร่างคล้ายลูกแพร์ fovea มีลักษณะ เป็นหลุมตามด้านขวาง ส่วนหัวแคบกว่าส่วนอก มี 8 ตา เรียง 2 แถว (4-4) แบบ recurve โดยแถวหน้าเรียง โค้งมากกว่าแถวหลัง ระยะห่างระหว่างตาข้างด้านหน้ากับตากลางคู่หน้ามีขนาดเท่ากั น ตาข้างของตาแถวหลัง แยกห่างออกจากตาคู่กลางแถวหลังอย่างเด่นชัด sternum สีน้าตาลอ่อนปกคลุมด้วยขน labium ยาวมากกว่า ด้านกว้าง maxillae ยาวมากกว่าด้านกว้าง เห็น scapulae ชัดเจน chelicerae สีน้าตาลเหลืองมีขนาด เล็ก ไม่มีฟันบน chelicerae ส่วนขามีสีดาเข้ม ความยาวขา 4 ขา เรียงจากมากไปหาน้อยดังนี้ 1, 4, 2, 3 ท้อง (Abdomen): สีพื้ นของส่วนท้ อง (abdomen) มี สีดาสนิท ด้านบนของส่วนท้ องมี แถบสีแดง หรือสีส้มสดพาดขวางจากข้างลาตัวด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งจานวน 4 แถบ โดยแถบสีที่สองถึงสี่ด้านท้าย ตัวเชื่อมต่อกัน (ภาพที่ 5ก,ง) แถบสีดังกล่าวมี รูป ร่างคล้ายเปลวเพลิง สาหรับเพศผู้ส่วนท้องมีสีขาวสลับดา ตอนท้ายด้านบนส่วนหลังมีแถบสีแดง ด้านล่างของส่วนท้องมีแถบสีแดงรูปร่างคล้ายนาฬิกาทรายซึ่งบางพื้นที่ ไม่ พบแถบสีแดงนี้ โครงสร้างอวัยวะสืบ พันธุ์มี ส่วนของ spermatheca รูป ร่างคล้ายดัม เบล 1 คู่ วางตัว ใน ลักษณะที่กระเปาะส่วนหน้า (anterior lobes) อยู่ห่างกัน และกระเปาะส่วนท้าย (posterior lobes) อยู่ชิด กัน มองดูคล้ายตัววี (V-shaped spermatheca) โดยกระเปาะส่วนหน้า (anterior lobes) มีขนาดใหญ่กว่า กระเปาะส่วนท้าย (posterior lobes) อย่างชัดเจน ส่วน spermatheca เชื่อมต่อกับท่อ copulatory ducts ที่ขดซ้อนกันจานวนข้างละ 3 วง (ภาพที่ 4ข) สาหรับโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้จะอยู่บริเวณด้านหน้าสุด ของตัวเต็มวัยเพศผู้ จะมีส่วนของรยางค์ (palp) 1 คู่ ทาหน้าที่สาหรับ เก็บน้าเชื้อชั่วคราวและส่งถ่ายน้าเชื้อ ต่อไปยัง เพศเมี ย โดยบนรยางค์ แต่ล ะข้าง มี ส่วนของ embolus ที่ ยาวและพั นเป็ นเกลียวขดเป็นวงซ้อนกั น จานวน 3 วง (ภาพที่ 4ค) และมี colulus ขนาดใหญ่ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
73
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
เขตการแพร่กระจาย (Distribution): อิ นเดีย พม่ า จีน และญี่ ปุ่ น ส าหรับ ในประเทศไทยพบที่ จัง หวัด ประจวบคีรีขันธ์ ฉะเชิงเทรา ขอนแก่น อุบลราชธานี ลพบุรี ชลบุรี และชัยนาท
ภาพที่ 4 โครงสร้างรยางค์ (palp) Latrodectus. elegans ก. อวัยวะสืบพันธุ์เพศเมียภายนอก ข. Spermathecae และcopulatory duct ค. palp ด้านซ้ายของรยางค์เพศผู้ แสดงส่วน embolus ที่ขดเป็นวงซ้อนกัน จานวน 3 วง ง. palp ด้านซ้ายของรยางค์เพศผู้ แสดงส่วน embolus ขณะยืดตัว
ภาพที่ 5. Latrodectus elegans ก. แหล่งที่อยู่อาศัย ข. ถุงไข่สีครีมรูปทรงคล้ายหยดน้า มีตมุ่ ขนาดเล็กๆ กระจายทั่วผิวถุงไข่ ค. ระยะก่อนที่จะเป็นตัวเต็มวัยเพศผู้ ง.ระยะก่อนที่จะเป็นตัวเต็มวัยเพศเมีย สรุปผลการทดลอง จากการสารวจและเก็บตัวอย่างแมงมุมแม่ม่ายในในแหล่งชุมชน สภาพนิเวศน์การเกษตรและสภาพ ธรรมชาติตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2559 สิ้นสุด กันยายน 2562 พบแมงมุมแม่ม่าย 2 ชนิดได้แก่แมงมุมแม่ม่ายสี น้าตาล Latrodectus geometricus และแมงมุมแม่ม่ายหลังเพลิง Latrodectus elegans พบ L. geometricus แพร่กระจายในพื้นที่ 18 จังหวัด ได้แก่ ลาปาง น่าน แพร่ นครรราชสีมา ขอนแก่น ศรีสะเกษ บุรรี ัมย์ อุบลราชธานี กรุงเทพมหานคร ชัยนาท เพชรบูรณ์ พิษณุโลก ชลบุรี ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี 74
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี และสุราษฎร์ธานี และ L. elegan แพร่กระจายในพื้นที่ 7 จังหวัดได้แก่ ขอนแก่น อุบลราชธานี ลพบุรี ชัยนาท ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ประจวบคีรขี ันธ์ ทั้งนี้แมงมุมแม่ม่ายทั้ง 2 ชนิดเป็นแมงมุม ชนิดใหม่ที่เก็บเพิ่มเติมไว้ในพิพิธภัณฑ์ คาขอบคุณ คุณ พงศ์พัฒนา วิรวรรณนาวิน ช่วยอนุเคราะห์ถ่ายภาพ คุณคมสัน หงภัทรคีรี คุณเชาวลิต ส่องแสง โชติ และคุณเฉลิมเกียรติ เลี่ยมยองใย ที่ช่วยอนุเคราะห์เก็บตัวอย่าง และให้ข้อมูลสถานทีก่ ารเก็บตัวอย่าง เอกสารอ้างอิง Agnarsson, I. 2002. Morphological phylogeny of cobweb spiders and their relatives (Araneae, Araneoidea, Theridiidae). Zoological Journal of the Linnean Society, 2004, 141, 447–626. Avilés, L. 1997. Causes and consequences of cooperation and permanent-sociality in spiders. In: Choe JC, Crespi BJ, eds. The evolution of social insects and arachnids. Cambridge: Cambridge University Press, 476–498. Badcock, A. D. 1932. Reports of an expedition to Paraguay and Brazil in 1926-1927 supported by the Trustes of the Percy Sladen Memorial Fund and the Executive Committee of the Carnegie Trust for the Universities of Scotland. Arachnida from the Paraguayan Chaco. Journal of the Linnean Society of London, Zoology 38: 1-48. Bettini, S. 1964. Epidemiology of latrodectism. Toxicon. 2:93-101. Costello, M.J., K.M. Daane. 1998. Influence of ground cover on spider populations in a table grape vineyard. Ecological. Entomology. 23,33–40. Elgar, M.A. 1993. Inter-specific associations involving spiders: kleptoparasitism, mimicry and mutualism. Memoirs of the Queensland Museum 33:411–430. Forster, L. 1995. The behavioural ecology of Latrodectus hasselti (Thorell), the Australian redback spider (Araneae: Theridiidae): a review. Records of the Western Australian Museum. Supplements. 52, 13-24. Garb, J. E., A. Gonzalez and R.G. Gillespie. 2004. The black widow spider genus Latrodectus (Araneae: Theridiidae): phylogeny, biogeography and invasion history. Molecular Phylogenetics and Evolution. 31: 1127-1142. Koch, C. L. 1841. Die Arachniden. Nürnberg, Achter Band, pp. 41-131, Neunter Band, pp. 1-56. Kananbala, A., K. Manoj, M. Bhubaneshwari, A. Binarani and M. Siliwal. 2012. The first report 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
75
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
of the widow spider Latrodectus elegans (Araneae: Theridiidae) from India. Journal of Threatened Taxa 4: 2718-2722. Karsch, F. 1878. Über einige von Herrn JM Hildebrandt im Zanzibargebiete erbeutete Arachniden. Zeitschrift für die Gesammten Naturwissenschaften 51: 311-322. Keyserling, E. 1884. Die Spinnen Amerikas II. Theridiidae. Nürnberg 1, 1-222. Knoflach, B. and A. van Harten. 2002. The genus Latrodectus (Araneae: Theridiidae) From mainland Yemen, the Socotra Archipelago and adjacent countries. Fauna of Arabia 19: 321-361. Levi, H. W., 1983. On the value of genitalic structures and coloration in separating species of widow spiders (Latrodectus sp.) (Arachnida:Araneae: Theridiidae). Verh. Naturwiss. Ver. Hamburg 26, 195-200. Litovitz, T. L., W. Klein-Schwartz, K.S. Dyer, M. Shannon, S. Lee, M. Powers. 1998. Annual reports of the American Association of Poison Control Centers toxic exposure surveillance system. American Journal of Emergency Medicine. 16:443–497. Lotz, L.N. 1994. Revision of the genus Latrodectus (Araneae: Theridiidae) in Africa. Navorsinge van die Nasionale Museum Bloemfontein. 10 (1): 1-60. Müller, G.J., 1993. Black and brown widow spider bites in South Africa—a series of 45 cases. South African Medical Journal. 83, 399–405. Ono, H., 2002. Note on the Japanese red back spider and American black widows. Orthobula’s Box. 11: 3-6. Pickard-Cambridge, O. 1904. Descriptions of some new species and characters of three new genera, of Araneidea from South Africa. Annals of the South African Museum 3: 143165. Schmidt, G. and P. Klaas. 1991. Eine neue Latrodectus-Spezies aus Sri Lanka (Araneida: Theridiidae). Arachnologischer Anzeiger. 14: 6-9. Shukla, S. and V.G. Broome. 2007. First report of the brown widow spider, Latrodectus geometricus C. L. Koch (Araneae: Theridiidae) from India. Current Science. 93(6): 775777. Simon, E. 1909. Etude sur les arachnides du Tonkin (1re partie). Bulletin Scientifique de la France et de la Belgique 42: 69-147. Smithers, R. H. N. 1944. Contributions to our knowledge of the genus Latrodectus (Araneae) in South Africa. Annals of the South African Museum. 36: 263-312. Song, D. X., Z. Mingsheng and C. Jun. 1999. The Spiders of China. Hebei Science and 76
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-06
Technology Publishing House. p. 398-401. Thorell, T. 1875. On some spiders from New-Caledonia, Madagascar and Réunion. Proceedings of the Zoological Society of London. 43(2): 130-149, Pl. XXV. Thorell, T. 1898. Viaggio di Leonardo Fea in Birmania e regioni vicine. LXXX. Secondo saggio sui Ragni birmani. II. Retitelariae et Orbitelariae. Annali del Museo Civico di Storia Naturale di Genova (2) 19[=39]: 271-378. Walckenaer, C. A. 1805. Tableau des aranéides ou caractères essentiels des tribus, genres, familles et races que renferme le genre Aranea de Linné, avec la désignation des espèces comprises dans chacune de ces divisions. Paris, 88 pp. World Spider Catalog. 2019. World Spider Catalog, Version 20.5. Natural History Museum Bern. Available at URL http://wsc.nmbe.ch (Accessed on 10/05/2019). Yoshida, H., 2003. The spider family Theridiidae (Arachnida: Araneae) from Japan. The arachnological Society of Japan. 224p. Yoshida, H. 2009. Uloboridae, Theridiidae, Ctenidae. In: Ono, H. (ed.) The spiders of Japan with keys to the families and genera and illustrations of the species. Tokai University Press, Kanagawa, pp. 142-147, 356-393, 467-468. Zhu, M. S. 1998. Fauna Sinica: Arachnida: Araneae: Theridiidae. Science Press, Beijing, xi + 436 pp.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
77
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงกลุ่มกลไกการออกฤทธิต์ า่ ง ๆ ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย Efficacy of Various Insecticides from Different Mode of Action for Controlling Melon Thrips (Thrips palmi Karny) in Dendrobium Orchids ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น Srijumnun Srijuntra Suprada Sukonthabhirom na Pattalung and Somsak Siriphontangmun สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ เพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) เป็นศัตรูพืชสาคัญต่อกล้วยไม้สกุลหวาย แมลงชนิดนี้มีความ ต้านทานต่อสารฆ่าแมลงหลายชนิด การหาสารฆ่าแมลงที่ยังสามารถป้องกันกาจัดแมลงชนิด นี้ได้จึงมีความ จาเป็นในการวางแผนการป้องกันกาจัดโดยวิธีผสมผสาน จึงทาการศึกษาประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงหลาย กลุ่ม กลไกการออกฤทธิ์เพื่อใช้ในการป้องกั นกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อนในกล้วยไม้สกุ ล หวาย ดาเนินการที่ แปลง กล้วยไม้ในจังหวัดนครปฐมและจังหวัดปทุมธานี ระหว่างเดือนพฤศจิ กายน – ธันวาคม 2560 วางแผนการ ทดลองแบบ RCB 3 ซ้า ประกอบด้วย กรรมวิธีพ่นสาร fipronil 5% SC (กลุ่ม2) imidacloprid 70% WG (กลุ่ม 4A) sulfoxaflor 24% SC (กลุ่ม 4C) spinetoram 12 % SC (กลุ่ม 5) abamectin 1.8% EC (กลุ่ม 6) emamectin benzoate 1.92% EC (กลุ่ม 6) chlorfenapyr 10%SC (กลุ่ม 13) และ cyantraniliprole 10 %OD (กลุ่ม 28) เปรียบเทียบกับวิธีไม่พ่นสารฆ่าแมลง พบว่าสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพดีในการป้องกัน กาจัดเพลี้ยไฟมี 4 กลุ่ม คือ spinetoram อัตรา 10 และ 15 มล./น้า 20 ลิตร สามารถป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟ ได้ 80-93% นาน 7-14 วัน chlorfenapyr อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร สามารถป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟได้ 7095% นาน 10-12 วัน cyantraniliprole อั ตรา 40 มล./น้า 20 ลิตร สามารถป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟได้ 7080% นาน 7-12 วัน และ fipronil อัตรา 30 และ 50 มล./น้า 20 ลิตร สามารถป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟได้ 7080% นาน 7-12 วัน ผลการทดลองนี้สามารถนาไปใช้ในการวางแผนการป้องกันกาจัดโดยวิธีผสมผสาน และ ใช้ในคาแนะนาการพ่นสารแบบหมุนเวียนเพื่อลดปัญ หาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟเมล่อนใน กล้วยไม้สกุลหวาย คาสาคัญ : สารป้องกันก าจัดศัตรูพืช การป้องกั นกาจัดแบบผสมผสาน การผลิตกล้วยไม้ คาแนะนา ความ ต้านทานต่อสารฆ่าแมลง
78
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ABSTRACT Melon thrips (Thrips palmi Karny) is important insect pest in dendrobium orchids. This pest showed resistance to many insecticides. Searching efficacious insecticides for controlling this pest is still necessary for planning integrated pest control. The efficacy of insecticides from different mode of action for controlling melon thrips in dendrobium orchid was evaluated. The experiments were conducted on orchid farms at Nakhon Pathom Province and Pathum Thani Province during November-December 2017. The experimental design was RCB with 12 treatments and 3 replications. The treatments were the applications of fipronil 5% SC (Group 2), imidacloprid 70% WG (Group 4A), sulfoxaflor 24% SC (Group 4C), spinetoram 12 % SC (Group 5), abamectin 1.8% EC (Group 6), emamectin benzoate 1.92% EC (Group 6), chlorfenapyr 10%SC (Group 13) and cyantraniliprole 10 %OD (Group 28) compared with untreated control. The results indicated that four groups of insecticide showed good efficacy for controlling melon thrips which were spinetoram at the rate of 10 and 15 ml/ 20 L of water can control thrips 80-93 % in 7-14 days, chlorfenapyr at the rate of 30 ml/ 20 L of water can control thrips 70-95% in 10-12 days, cyantraniliprole at the rate of 40 ml/ 20 L of water can control thrips 70-80% in 7-12 days and fipronil at the rate of 30 and 50 ml/ 20 L of water can control thrips 70-80% in 7-12 days. The results obtained could be used in planning integrated pest control and used as recommendation for insecticide rotation to retard resistance problem in melon thrips in dendrobium orchids. Keywords: pesticide, integrated pest control, orchid production, recommendation, insecticide resistance คานา กล้วยไม้สกุลหวายเป็นไม้ตัดดอกส่งออกทีส่ ามารถสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศเป็นจานวนมาก ในปี 2561 ประเทศไทยส่งออกดอกกล้วยไม้ 23,716.96 ตัน คิดเป็นมูลค่า 2,287.03 ล้านบาท โดยมีแหล่งผลิตกล้วยไม้ ที่สาคัญของประเทศอยู่ที่จงั หวัดนครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี ปทุมธานี และกาญจนบุรี (สานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร ก. และ ข, 2562) ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อผลิตและการส่งออกอย่างหนึง่ คือ ปัญหาการระบาด ทาลายของแมลงศัตรูพืชโดยเฉพาะเพลี้ยไฟเมล่อน (T. palmi) เพลี้ยไฟเมล่อน เป็นแมลงศัตรูสาคัญและพบระบาดในแปลงกล้วยไม้ตลอดทั้งปี เกษตรกรมีการใช้สาร ฆ่าแมลงเพื่อป้องกันกาจัดอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ผลผลิตดอกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพ ปราศจากรอยทาลายและ การปนเปื้อนของแมลงชนิดนี้ เพื่อสามารถส่งขายตลาดทั้งในและต่างประเทศ แต่การใช้สารฆ่าแมลงอย่าง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
79
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ต่อเนื่ องส่งผลให้ เกิ ดปัญ หาเพลี้ยไฟต้านทานต่อสารฆ่ าแมลงหลาย ๆ ชนิด เช่น spiromesifen, fipronil abamectin cyantraniliprole sulfoxaflor และสารในกลุ่ ม neonicotinoids (4A) (สุ ภ ราดาและคณะ, 2559 และ 2562) แนวทางที่สามารถชะลอปัญหาแมลงศัตรูพืชต้านทานต่อสารฆ่าแมลงอย่างได้ผล คือ การใช้ สารฆ่าแมลงหลาย ๆ กลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ที่มีประสิทธิภาพมาหมุนเวียนกันในแต่ละช่วงเวลา หรือหนึ่งช่วง อายุขัยของแมลงชนิดนั้น ๆ (Deuter, 1989; Roush,1989 และ Roush and Daly, 1990) Srijuntra et al. (2016) ได้ท ดสอบรู ป แบบการหมุ น เวีย นสารฆ่า แมลง spinetoram (กลุ่ ม 5), emamectin benzoate (กลุ่ม 6) และ fipronil (กลุ่ม 2) ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟที่มีประสิทธิภาพใน กล้วยไม้สกุลหวาย 5 รูปแบบ แต่ผลการทดลองชี้ว่าต้นทุนการใช้สารแบบหมุนเวียนทั้ง 5 รูปแบบนั้นยังสูงกว่า กรรมวิธี ของเกษตรกร และมี สารฆ่าแมลงที่ สามารถนามาใช้พ่นแบบหมุ นเวียนได้เพียง 3 กลุ่ม ซึ่ง Ostad (2008) กล่าวว่า การหมุนเวียนสารฆ่าแมลงทีม่ ีความหลากหลายของกลุ่มไกการออกฤทธิ์มากกลุ่มขึ้นเท่าใด จะ ส่งผลให้การบริหารจัดการความต้านทานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้นการทาการวิจัยเพื่อหากลุ่มสารฆ่า แมลงที่มีประสิทธิภาพเพิ่มเติม เพื่อใช้ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน โดยที่ต้นทุนการใช้สารฆ่าแมลงไม่ แพงมากนัก จึงมีความจาเป็นต่อการนาไปใช้วางแผนในการพ่นสารแบบหมุนเวียนเพื่อป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟใน กล้วยไม้สกุลหวายที่มีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่ อศึกษาประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ชนิดใหม่ ๆ รวมทั้งสารฆ่าแมลงกลุ่มที่เกษตรกรนิยมใช้มาทดสอบ เพื่อใช้เป็นคาแนะนาในการป้องกันกาจัด และใช้ในการ วางแผนการพ่นสารแบบหมุนเวียนเพื่อ ลดปริมาณเพลี้ยไฟในแปลงกล้วยไม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลด ปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงของเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย ตลอดจนนาไปใช้ในการ วางแผนการป้องกันกาจัดโดยวิธีผสมผสานต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ ดาเนินการทดลองที่แปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกรอาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม และ อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2560 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 3 ซ้า 12 กรรมวิธี ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 พ่นสาร fipronil 5% SC อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) กรรมวิธีที่ 2 พ่นสาร fipronil 5% SC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) กรรมวิธีที่ 3 พ่นสาร imidacloprid 70% WG อัตรา 15 กรัม/น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 4A) กรรมวิธีที่ 4 พ่นสาร sulfoxaflor 24% SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 4C)) กรรมวิธีที่ 5 พ่นสาร abamectin 1.8% EC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) กรรมวิธีที่ 6 พ่นสาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) กรรมวิธีที่ 7 พ่นสาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) กรรมวิธีที่ 8 พ่นสาร chlorfenapyr 10%SC อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 13) 80
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
กรรมวิธีที่ 9 พ่นสาร cyantraniliprole 10 % OD อัตรา 40 มล./น้า 20 ลิตร (กลุม่ 28) กรรมวิธีที่ 10 พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) กรรมวิธีที่ 11 พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 15 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) กรรมวิธีที่ 12 ไม่พ่นสารฆ่าแมลง ดาเนินการทดลองเมื่อกล้วยไม้ออกดอกสม่าเสมอและมีเพลี้ยไฟระบาดสม่าเสมอทัว่ แปลง โดยใช้ขนาด แปลงย่อย 5 ตารางเมตร เริ่มพ่นสารตามกรรมวิธีต่าง ๆ โดยใช้เครื่องยนต์พ่นสารแบบสะพายหลังแรงดันน้าสูง อัตราพ่น 120 ลิตร/ไร่ เมื่อ พบเพลี้ยไฟอย่างน้อย 4 ตัว/ช่อดอก พ่นสารทดลอง 3 ครั้ง ทุ ก 7 วัน ตรวจนับ จานวนเพลี้ยไฟทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย โดยวิธีการสุ่มตรวจนับเพลี้ยไฟจากช่อดอกกล้วยไม้ 10 ช่อดอก (ช่อ ดอกที่มีดอกอย่างน้อย 4 ดอกบาน/แปลงย่อย ตรวจนับก่อนพ่นสาร และหลังพ่นสาร 3, 5 และ 7 วัน และหลัง พ่นครั้งสุดท้ ายที่ 3, 5, 7, 10, 12 และ 14 วัน นาข้อมู ล จ านวนเพลี้ยไฟที่ได้ไปวิเคราะห์ผ ลทางสถิติ และ คานวณหาเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัด โดยใช้สูตรของ Henderson-Tilton (Henderson and Tilton, 1955) บันทึกอาการเป็นพิษต่อกล้วยไม้ (phytotoxicity) และคานวณต้นทุนการใช้สาร ผลและวิจารณ์ ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง แปลงที่ 1 อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม (ตารางที่ 1-2) ก่อนพ่นสารครัง้ ที่ 1 พบว่า กรรมวิธีที่พ่นสาร fipronil อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร พบเพลี้ยไฟ 4.47 ตัว/ช่อดอก ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีที่พ่นสาร fipronil อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร, imidacloprid, sulfoxsaflor, abamectin, emamectin benzoate อัตรา 20 และ 30 มล./น้า 20 ลิตร chlorfenapyr, cyantraniliprole, spinetoram อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 4.63-5.03 ตัว/ช่อดอก แต่น้อย กว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่พ่นสารซึง่ พบเพลี้ยไฟ 5.17 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารครัง้ ที่ 1 ไปแล้ว 3, 5 และ 7 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารจานวนเพลี้ยไฟ ค่อย ๆ ลด ปริมาณลง 1.48-2.20, 0.40-1.60 และ 0.17-0.98 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีเพลี้ยไฟ 5.31, 4.75 และ 3.29 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยหลัง พ่นสารไปแล้ว 5 วัน พบว่า กรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร และกรรมวิธีที่พ่นสาร chlorfenapyr พบเพลี้ยไฟเพียง 0.23 และ 0.40 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างทางสถิติกบั กรรมวิธีที่พ่นสาร fipronil imidacloprid sulfoxaflor abamectin emamectin benzoate และ cyantraniliprole ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.98 - 1.14 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารไปแล้ว 7 วัน ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมี จานวนเพลี้ยไฟลดลงอย่างต่อเนื่อง 0.17-0.98 ตัว/ช่อดอก โดยกรรมวิธีที่พ่น spinetoram อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร พบเพลี้ยไฟน้อยทีส่ ุด 0.17 ตัวต่อช่อดอก เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด พบว่า ในช่วง 5 และ 7 วันหลังพ่นสารครัง้ ที่ 1 กรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร มี ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดดีที่สุด 94-95 % รองลงมาคือ chlorfenapyr มีประสิทธิภาพในการป้องกัน กาจัด 88-91% ส่วนกรรมวิธีที่พ่นสาร cyantraniliprole, fipronil อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร, emamectin 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
81
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในแปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม 2560
กรรมวิธี
fipronil 5% SC fipronil 5% SC imidacloprid 70% WG sulfoxaflor 24% SC abamectin 1.8% EC emamectin benzoate 1.92% EC emamectin benzoate 1.92% EC chlorfenapyr 10%SC cyantraniliprole 10 % OD spinetoram 12 %W/V SC spinetoram 12 %W/V SC Untreated
อัตราการ ใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร)
ก่อนพ่น สาร ครั้งที่ 1
30 50 15 20 50 20
หลังพ่นสารครั้งที่ 1 (วัน) 3
5
7
4.73ab1/ 4.47a 4.70ab 4.70ab 4.67ab 4.93ab
1.98 a 1.48 a 1.85 a 1.94 a 2.04 a 1.89 a
1.21 bc 0.98 b 1.04 b 1.21 bc 1.60 c 1.02 b
0.98 d 0.59 bcd 0.86 cd 0.89 cd 0.96 d 0.75 bcd
30
4.63ab
2.20 a
30 40 10 15
4.77ab 5.03ab 4.80ab ND 5.17b
1.76 a 2.08 a 1.64 a ND 5.31b
ก่อนพ่น สาร ครั้งที่ 2
หลังพ่นสารครั้งที่ 3 (วัน)
3
5
7
3
5
7
10
12
14
1.03 c 0.60 abc 0.87 bc 0.90 bc 1.00 c 0.77 abc
0.52 bcd 0.26 a-d 0.69 de 1.02 ef 1.29 f 0.60 cde
1.50 c 0.97 abc 2.43 d 1.43 bc 2.62 d 1.35 bc
1.36 bc 0.98 ab 1.38 bc 1.19 ab 2.20 c 1.39 bc
0.77 bc 0.54 abc 0.97 c 0.62 abc 0.25 a 0.61 abc
0.60 bc 0.66 bc 0.77 bcd 1.21 de 1.56 e 0.86 cd
1.21 ab 1.73 bc 1.78 bc 1.70 bc 1.24 ab 1.53 abc
1.09 a-d 0.79 ab 1.42 b-e 1.92 de 2.08 e 0.96 abc
1.56 cde 0.70 b 1.60 de 1.88 de 2.20 e 1.46 cde
2.47 bcd 1.75 b 3.29 cde 3.03 bcd 3.75 de 2.49 bcd
1.23 bc
0.70 bcd 0.70 abc
0.46 bcd
1.39 bc
1.23 ab
0.38 ab
0.88 cd
1.66 bc
1.72 cde 1.28 bcd 2.19 bc
0.40 a 1.14 b 0.23 a ND 4.75 d
0.36 ab 0.42 abc 0.17 a ND 3.29 e
0.13 ab 0.42 bcd 0.03 a 0.21 abc 4.25 g
0.53 a 0.84 ab 0.42 a 0.72 a 3.99 e
0.53 a 0.72 ab 0.72 ab 0.66 ab 3.59 d
0.56 abc 0.65 abc 0.72 bc 0.63 abc 2.16 d
0.70 bc 0.75 bcd 0.17 a 0.36 ab 4.03 f
1.84 bc 1.97 c 0.97 a 0.98 a 2.21 c
0.73 ab 0.72 ab 0.50 a 0.49 a 4.75 f
0.71 b 0.92 bc 0.20 a 0.21 a 4.66 f
2.04 bc 1.88 b 0.80 a 0.51 a 4.71 e
38.3 50.8
26.4 50.5
38.5 45.7
40.2 102.5
27.8 76.0
29.0 118.9
35.2 77.6
24.2 73.1
27.3 85.9
0.37 ab 0.43 abc 0.17 a 2.30 d 3.30 d
C.V. (%) 6.8 27.1 16.4 33.2 29.4 1/ R.E.(%) 107.2 100.1 98.7 1/ ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ทตี่ ามด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 2/ ประสิทธิภาพเชิงสัมพัทธ์
82
จานวนเพลี้ยไฟ /ช่อดอก (ตัว) หลังพ่นสารครั้งที่ 2 (วัน)
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ตารางที่ 2 เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัด เพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในแปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม 2560 กรรมวิธี
fipronil 5% SC fipronil 5% SC imidacloprid 70% WG sulfoxaflor 24% SC abamectin 1.8% EC emamectin benzoate 1.92% EC emamectin benzoate 1.92% EC chlorfenapyr 10%SC cyantraniliprole 10 % OD spinetoram 12 %W/V SC spinetoram 12 %W/V SC
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร) 30 50 15 20 50 20 30 30 40 10 15
หลังพ่นสารครั้งที่ 1 (วัน) 3 5 7
ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัด (%) หลังพ่นสารครั้งที่ 2 (วัน) หลังพ่นสารครั้งที่ 3 (วัน) 3 5 7 3 5 7 10 12
14
59 68 62 60 57 63 54 64 60 67 ND
87 93 82 74 66 85 88 97 90 92 93
43 57 23 29 12 45 48 53 59 82 84
72 76 76 72 63 77 71 91 75 95 ND
67 79 71 70 68 76 76 88 87 94 ND
59 72 33 91 27 65 61 86 78 89 74
59 68 58 64 32 59 62 84 79 78 74
61 71 51 68 87 70 80 72 69 64 58
84 81 79 67 57 78 76 81 81 95 87
40 9 11 15 38 27 16 9 8 53 36
75 81 67 56 52 79 60 83 84 87 77
63 82 62 56 48 67 69 83 79 95 94
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
83
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
benzoate อัตรา 20, 30 มล./น้า 20 ลิตร, imidacloprid และ sulfoxaflor มีประสิทธิภาพในการป้องกัน กาจัด 75-87, 76-79, 76-77, 71-76, 71-76 และ 70-72 % ตามลาดับ เนื่องจากมีการเพิ่มเติมกรรมวิธีพ่นสาร spinetoram อัตรา 15 มล./น้า 20 ลิตร จึงทาการตรวจนับ เพลี้ยไฟก่อนพ่นสารครัง้ ที่ 2 พบว่า กรรมวิธีไม่พ่นสารและกรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 15 มล./น้า 20 ลิตร มีเพลี้ยไฟ 3.30 และ 2.30 ตัว/ช่อดอก มากกว่าและแตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสาร spinetoram อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร fipronil, imidacloprid, sulfoxaflor, abamectin, emamectin benzoate, chlorfenapyr, cyantraniliprole ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.17-1.03 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารครัง้ ที่ 2 ไปแล้ว 3, 5 และ 7 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.03-1.29, 0.42-2.43 และ 0.53-2.20 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ที่ไม่พ่นสารซึง่ มีเพลี้ยไฟ 4.25, 3.99 และ 3.59 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยหลังการพ่นสารไปแล้ว 5 และ 7 วัน กรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10 และ 15 มล./น้า 20 ลิตร พบเพลี้ยไฟเพียงเล็กน้อย 0.42-0.72, 0.66-0.72 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีที่พ่นสาร chlorfenapyr และ cyantraniliprole ที่พบเพลี้ยไฟ 0.53 และ 0.72-0.84 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพใน การป้องกันกาจัด พบว่า กรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10 และ 15 มล./น้า 20 ลิตร กรรมวิธีที่พ่น สาร chlorfenapyr และ cyantraniliprole มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดหลังการพ่นสารครั้งที่ 2 ค่อนข้างสูง 78-92, 74-93, 84-97 และ 78-90 % ตามลาดับ หลังพ่ นสารครั้งที่ 3 ไปแล้ว 3 และ 5 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.25-0.97, และ 0.17-1.56 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่ พ่นสารซึ่งมี เพลี้ยไฟ 2.16 และ 4.03 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยกรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10, 15 มล./น้า 20 ลิตร กรรมวิธีที่พ่นสาร chlorfenapyr และ cyantraniliprole พบเพลี้ยไฟปริมาณน้อย 0.17-0.72, 0.360.63, 0.56-0.70 และ 0.65-0.75 ตัว/ช่อดอก ตามล าดั บ มี ป ระสิท ธิภาพในการป้องกั นก าจัด 64-65, 58-87, 72-81 และ 69-81% ตามลาดับ รองลงมา คือ กรรมวิธีที่พ่นสาร fipronil อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร emamectin benzoate อั ตรา 20 และ 30 มล./น้า 20 ลิตร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.54-0.66, 0.61-0.86 และ 0.38-0.88 ตัว/ช่อดอก มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 71-81, 70-78 และ 76-80 % ตามลาดับ หลังพ่น สารครั้งที่ 3 ไปแล้ว 7 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟเพิ่มขึ้น โดยกรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10, 15 มล./น้า 20 ลิตร พบเพลี้ยไฟน้อยที่สุด 0.97 และ 0.98 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างทาง สถิ ติกับ กรรมวิธีที่ พ่ นสาร fipronil อั ตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร abamectin และ emamectin benzoate อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 1.21, 1.24 และ 1.53 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยหลังพ่นสารไป แล้ว 7 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีมีประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดลดลงอย่างมาก คาดว่าเนื่องจากการที่เกษตรกร ทาการพ่นสารป้องกันกาจัดแมลง ทาให้เพลี้ยไฟมีการเคลื่อนย้ายเข้าสู่แปลงทดลอง หลังพ่นสารแล้ว 10, 12 และ 14 วัน พบว่า กรรมวิธีที่ พ่ นสาร spinetoram อัตรา 10, 15 มล./น้า 20 ลิตร พบปริม าณเพลี้ยไฟ ค่อนข้างน้อยตลอดช่วง 0.20-0.80 และ 0.21-0.51 ตัว/ช่อดอก ตามล าดับ ในขณะที่ ก รรมวิธีที่ พ่น สาร cyantraniliprole, fipronil อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร และ chlorfenapyr พบเพลี้ยไฟ 0.72-1.88, 0.7084
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
1.75 และ 0.71-2.04 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อพิจารณาประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดพบว่ากรรมวิธี ที่พ่น สาร spinetoram อัตรา 10, 15 มล./น้า 20 ลิตร มีป ระสิท ธิภาพในการป้อ งกั นกาจัดในช่วง 10-14 วัน สูง 82-95 และ 77-94 % ส่วนกรรมวิธีที่ พ่นสาร cyantraniliprole, fipronil อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร และ chlorfenapyr มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดในช่วง 10-12 วัน 79-84, 81-82 และ 83 % ส่วนที่ 14 วัน หลังพ่นสารครั้งที่ 3 ไปแล้ว สารทั้งสามชนิดมีประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดลดต่าลงอย่างมาก แปลงที่ 2 อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (ตารางที่ 3-4) ก่อนพ่นสาร พบว่า กรรมวิธีที่พ่นสาร abamectin และ cyantraniliprole พบเพลี้ยไฟ 4.60 และ 4.57 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีที่พ่นสาร fipronil อัตรา 30, 50 มล./น้า 20 ลิตร , imidacloprid, sulfoxsaflor, emamectin benzoate อัตรา 20 และ 30 มล./น้า 20 ลิตร chlorfenapyr, spinetoram อัตรา 10, 15 มล./น้า 20 ลิตร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 5.00, 4.70, 4.80, 5.00, 5.20, 4.97, 5.50, 5.10 และ 5.43 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ แต่น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีไม่พ่นสารซึ่ง พบเพลี้ยไฟ 5.70 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารครัง้ ที่ 1 ไปแล้ว 3, 5 และ 7 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีแนวโน้มปริมาณเพลี้ยไฟ ลดลงในช่วง 3 วัน และค่อยๆ เพิ่มขึ้นในช่วง 5 และ 7 วัน 0.62-2.88, 2.26-4.28 และ 1.09-3.80 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตกิ ับกรรมวิธีไม่พ่นสาร ซึ่งพบเพลี้ยไฟในปริมาณสูง 8.81, 13.92 และ 9.29 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยกรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 15 มล./น้า 20 ลิตร พบเพลี้ยไฟค่อนข้างน้อย 0.62-2.26 ตัว/ช่อดอก รองลงมาคือ กรรมวิธีที่พ่นสาร chlorfenapyr, spinetoram อัตรา 10 มล./น้า 20 ลิตร และ cyantraniliprole 0.96-3.11, 1.04-3.33 และ 1.80-4.28 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 83-93, 72-89, 73-87 และ 66-75 % ตามลาดับ หลังพ่นสารครัง้ ที่ 2 ไปแล้ว 3, 5 และ 7 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 2.50-3.79, 1.44-2.76 และ 1.73-5.18 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ที่ไม่พ่นสารซึ่งมีเพลี้ยไฟ 8.59, 10.20 และ 10.16 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยกรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10, 15 มล./น้า 20 ลิตร กรรมวิธีที่พ่นสาร chlorfenapyr และ cyantraniliprole พบเพลี้ยไฟ 1.732.69, 1.58-2.50, 1.44-2.82 และ 1.98-2.77 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 80-95, 69-84, 67-85 และ 61-76 % ตามลาดับ หลังพ่ นสารครั้งที่ 3 ไปแล้ว 3, 5 และ 7 วัน พบว่า ทุ ก กรรมวิธีที่ พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 1.65-2.87, 0.41-2.51 และ 0.73-2.97 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ที่ไม่พ่นสารซึ่งมี เพลี้ ยไฟ 9.51, 7.98 และ 7.09 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยกรรมวิธีที่พ่นสาร spinetoram อัตรา 10 , 15 มล./น้า 20 ลิตร กรรมวิธีที่พ่นสาร chlorfenapyr cyantraniliprole และ fipronil อัตรา 30 และ 50 มล./น้า 20 ลิตร พบเพลี้ยไฟ 0.51-1.78, 0.59-1.80, 0.41-1.99, 0.94-1.65, 1.32-2.50 และ 0.992.31 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ โดยมี ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 79-93, 80-92, 78-95, 74-85, 70-81 และ 71-85 % ตามลาดับ หลังพ่นสารครัง้ ที่ 3 ไปแล้ว 10 และ 12 วัน พบว่า ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
85
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในแปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม 2560 กรรมวิธี fipronil 5% SC fipronil 5% SC imidacloprid 70% WG sulfoxaflor 24% SC abamectin 1.8% EC emamectin benzoate 1.92% EC emamectin benzoate 1.92% EC chlorfenapyr 10%SC cyantraniliprole 10 % OD spinetoram 12 %W/V SC spinetoram 12 %W/V SC Untreated
ก่อนพ่นสาร ครั้งที่ 1
30 50 15 20 50 20
5.00 ab1/ 4.70 ab 4.80 ab 5.00 ab 4.60 a 5.20 ab
2.03 de 2.21 de 2.88 e 2.10 de 1.69 bcd 2.65 de
4.11 b 4.17 b 4.24 b 3.78 b 4.16 b 3.76 b
3.80 c 3.62 c 3.28 c 3.67 c 3.06 bc 3.74 c
3.08 ab 3.79 b 2.91 ab 3.36 ab 3.12 ab 3.72 b
2.17 ab 2.23 ab 2.74 b 2.27 ab 2.76 b 2.49 ab
3.83 cd 2.95 abc 3.11 abc 5.18 d 4.13 cd 4.27 cd
30
4.97 ab
1.83 cde
3.32 ab
3.16 c
2.77 ab
1.93 ab
3.53 bcd 2.26 abc 1.24 bcd 1.87 b-e
2.97 abc
3.63 a
30 40 10 15
5.50 ab 4.57 a 5.10 ab 5.43 ab 5.70 b
0.96 ab 1.80 cd 1.04 abc 0.62 a 8.81 f
3.11 ab 4.28 b 3.33 ab 2.26 a 13.92 c
2.55 bc 2.34 bc 1.73 ab 1.09 a 9.29 d
2.74 ab 2.70 ab 2.69 ab 2.50 a 8.59 c
1.44 a 1.98 ab 1.84 ab 1.58 a 10.20 c
2.82 abc 2.77 abc 1.73 a 2.02 ab 10.16 e
1.99 abc 1.65 a 1.78 ab 1.80 ab 9.51 d
0.41 a 0.94 abc 0.51 a 0.59 ab 7.98 g
0.87 a 1.47 a-d 0.95 ab 0.73 a 7.09 f
2.66 ab 2.46 a 3.07 abc 2.86 abc 9.49 d
4.58 a 3.58 a 3.39 a 3.90 a 8.20 b
17.0 60.9
26.5 69.1
24.8 62.2
21.0 61.7
25.2 62.1
28.1 63.2
23.5 63.4
20.9 61.3
หลังพ่นสารครั้งที่ 1 (วัน) 3 5 7
10.8 27.7 20.8 30.9 C.V. (%) R.E.(%) 2/ 90.4 90.2 90.6 1/ ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ทตี่ ามด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT 2/ ประสิทธิภาพเชิงสัมพัทธ์
86
จานวนเพลี้ยไฟ /ช่อดอก (ตัว) หลังพ่นสารครั้งที่ 2 (วัน) 3 5 7
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร)
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
3 2.50 abc 2.31 abc 2.87 c 2.59 bc 2.59 bc 2.46 abc
หลังพ่นสารครั้งที่ 3 (วัน) 5 7 10 1.32 cde 0.99 abc 2.03 def 2.10 ef 2.51 f 1.69 c-f
1.35 a-d 3.16 abc 1.30 abc 4.09 abc 2.42 de 3.93 abc 2.43 de 4.22 bc 2.97 e 4.50 c 2.29 cde 3.42 abc
12 4.46 a 4.69 a 4.83 a 4.81 a 4.13 a 3.90 a
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ตารางที่ 4 เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัด เพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในแปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอเมืองลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน -ธันวาคม 2560 กรรมวิธี
fipronil 5% SC fipronil 5% SC imidacloprid 70% WG sulfoxaflor 24% SC abamectin 1.8% EC emamectin benzoate 1.92% EC emamectin benzoate 1.92% EC chlorfenapyr 10%SC cyantraniliprole 10 % OD spinetoram 12 %W/V SC spinetoram 12 %W/V SC
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร) 30 50 15 20 50 20 30 30 40 10 15
หลังพ่นสารครั้งที่ 1 (วัน) 3 5 7
ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัด (%) หลังพ่นสารครั้งที่ 2 (วัน) 3 5 7 3
74 70 61 73 76 67 76 89 75 87 93
59 46 60 55 55 53 63 67 61 95 69
66 64 64 68 63 70 73 77 66 73 83
53 53 58 55 59 56 61 72 69 79 88
76 73 68 75 66 73 78 85 76 80 84
57 65 67 42 50 54 60 71 66 81 79
70 71 64 69 66 72 73 78 78 79 80
หลังพ่นสารครั้งที่ 3 (วัน) 5 7 10 81 85 70 70 61 77 81 95 85 93 92
78 78 59 61 48 65 70 87 74 85 91
62 48 59 49 41 61 64 71 68 64 68
12 38 31 31 33 38 48 49 42 46 54 56
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
87
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
เพิ่มขึ้น 2.46-4.50 และ 3.39-4.83 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึง่ มีเพลี้ยไฟ 9.49 และ 8.20 ตัว/ช่อดอก โดยที่ 10 วันหลังพ่นสารครั้งที่ 3 พบว่า กรรมวิธี ที่พ่นสาร chlorfenapyr พบเพลี้ยไฟ 2.66 ตัว/ช่อดอก โดยมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 71 % หลังจาก การพ่นสารครัง้ ที่ 3 แล้ว 12 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟเพิ่มขึ้น 3.58-4.83 ตัวต่อช่อดอก และ มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดต่า เมื่อพิจารณาจากผลการทดลองทั้งสองแปลง จะเห็นว่าสารฆ่าแมลงที่มปี ระสิทธิภาพสูงในการป้องกัน กาจัดเพลี้ยไฟ คือ spinetoram ทั้งสองอัตรา มีป ระสิท ธิภาพในการป้องกันก าจัด 80-93% นาน 7-14 วัน และ chlorfenapyr มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการป้ อ งกั น ก าจั ด 70-95% นาน 10-12 วั น รองลงมา คื อ cyantraniliprole และ fipronil ทั้งสองอัตรา มีประสิทธิภาพดีในการป้องกันกาจัด 70-80% นาน 7-12 วัน สอดคล้ องกั บ Dripps et al. (2011) Matthews et al. (2005) และ สุ ภราดาและคณะ (2562) ซึ่ ง ได้ รายงานว่า spinetoram chlorfenapyr และ fipronil เป็นสารที่ มีฤทธิ์ดูดซึม มีความเป็นพิษสูง กั บเพลี้ยไฟ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ในการป้ อ งกั น ก าจั ด เพลี้ ย ไฟ ส่ วนสาร cyantraniliprole แม้ Seal et al. (2006) รายงานว่ามีประสิทธิภาพดีในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเพลี้ยไฟพริก แต่สุภราดาและคณะ (2562) รายงานว่า สาร cyantraniliprole มีความเป็นพิษค่อนข้างต่าต่อตัวเต็มวัยเพลี้ยไฟเมล่อนจากสวนกล้วยไม้ในพื้นที่จังหวัด นครปฐมในสภาพห้องปฏิบัติ ในขณะที่ผลการทดลองนี้พบว่าสาร cyantraniliprole มีป ระสิท ธิภาพดีในการ ป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟในสภาพแปลง อาจเนื่องมาจากเพลี้ยไฟระยะตัวอ่อนซึ่งพบมากในช่อดอกกล้วยไม้สกุล หวายในแปลงปลูก ในสัดส่วน 70:30 (ศรีจานรรจ์และคณะ, 2543) มี ความอ่อนแอต่อสารฆ่าแมลงชนิดนี้ มากกว่าระยะตัวเต็มวัย จึงส่งผลต่อประสิทธิภาพของสารในสภาพแปลง ส่วนสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพ ปานกลาง คือ emamectin benzoate ทั้งสองอัตรา มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 70-80% นาน 5 วัน สอดคล้องกั บ รายงานของสุภราดาและคณะ (2562) ที่ พบว่าเปอร์เ ซ็นต์ก ารตายของเพลี้ยไฟเมล่อนใน ห้องปฏิบัติการเมื่อได้รับสารนี้อยู่ในระดับปานกลาง (60-80%) เช่นเดียวกัน ระยะเวลาของประสิทธิภาพ (long efficacy) ของสารฆ่าแมลง หรือประสิทธิภาพของสารแต่ละชนิด ที่คงอยู่ภายหลังการพ่นสาร ขึ้นกับความถี่ของการใช้สารฆ่าแมลงชนิดหรือกลุ่มนั้น ๆ จากงานทดลองนี้ พบว่า ระยะเวลาของประสิท ธิภ าพของสาร spinetoram ถดถอยลง ในขณะที่ ส าร fipronil มี ร ะยะเวลาของ ประสิทธิภาพยาวนานขึ้น แตกต่างไปจากผลการทดลองของศรีจานรรจ์และคณะ ในปี 2556 ซึ่งรายงานว่าสาร spinetoram มีระยะเวลาของประสิทธิภาพนาน 12-14 วัน ส่วนสาร fipronil มีระยะเวลาของประสิทธิภาพเพียง 5-7 วัน ซึ่งอาจเนื่อ งจากเกษตรกรอาเภอลาดหลุม แก้ว จังหวัดปทุม ธานี มีก ารใช้สาร spinetoram ในการ ป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟในแปลงบ่อยขึ้นจึงทาให้ระยะเวลาของประสิทธิภาพของสารชนิดนี้ถดถอยลงเนื่องจาก แมลงอาจเริ่มมีความต้านทาน ในขณะที่แปลงดังกล่าวมีการงดใช้สาร fipronil ในแปลงมาเป็นระยะยาวนาน ถึง 2 ปี จึงทาให้สาร fipronil มีระยะเวลาของประสิทธิภาพยาวนานขึ้นเนื่องจากแมลงอาจมีความต้านทานต่อ สารชนิดนี้ลดลง (reversion of resistance) อัตราการใช้สารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟทีแ่ ตกต่างกันมีผลต่อเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพและ ระยะเวลาของประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด จากการทดลองนี้จะเห็นได้ว่า สาร fipronil ที่อัตราการใช้ 50 88
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
มล./น้า 20 ลิตร ส่งผลทาให้เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดเพิ่มขึ้น และระยะเวลาของประสิทธิภาพ ยาวนานขึ้นกว่าการใช้สารที่อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร ในขณะที่สาร spinetoram ที่อัตราการใช้ 10 และ 15 มล./น้ า 20 ลิต ร และ emamectin benzoate ที่ อั ตราการใช้ 20 และ 30 มล./น้ า 20 ลิ ตร เห็ น ความ แตกต่างของเปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพและระยะเวลาของประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟไม่ชัดเจนมาก นัก ซึ่งอาจเนื่องมาจากเนื้อสารออกฤทธิ์ไม่มีแตกต่างกันมากจนส่งผลต่อประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดแมลง ในสภาพแปลงปลูก การเลือกใช้อัตราของสารฆ่าแมลงแต่ละชนิดในกลุ่มสารต่าง ๆ มีผลต่อการออกแบบการพ่นสารแบบ หมุนเวียน เช่น ในกรณีของสาร fipronil ถ้าใช้ในอัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร ในการพ่นสารแบบหมุนเวียนก็ ควรดาเนินการพ่นทุก 5 วันครั้ง ขณะที่ถ้าใช้ในอัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร ในการพ่นสารแบบหมุนเวียนก็ควร ดาเนินการพ่นทุก 7 วันครั้ง อย่างไรก็ตามสาหรับสาร spinetoram หากนามาใช้หมุนเวียนควรเพิม่ อัตราการ ใช้เป็น 20 มล./น้า 20 ลิตร เพื่อให้มีประสิทธิภาพและระยะเวลาในการป้องกันกาจัดที่สม่าเสมอยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ป ระสิท ธิภาพของสารฆ่าแมลงแต่ล ะชนิดในแต่ ล ะท้ องที่ อาจแตกต่างกั นได้ตามความ ต้านทานต่อสารฆ่าแมลงแต่ละชนิดของเพลี้ยไฟในแต่ละแหล่งปลูกกล้วยไม้ ดังนั้นการสังเกตประสิทธิภาพของ สารฆ่าแมลงภายหลังการพ่นสารในแต่ละท้องที่จึงมีความสาคัญยิ่งต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้สารให้มีความ เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ด้วย อาการเป็นพิษต่อกล้วยไม้ (phytotoxicity) ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารฆ่าแมลงไม่พบอาการเป็นพิษต่อต้นและดอกกล้วยไม้ทั้ง 2 แปลงทดลอง ต้นทุนการใช้สารฆ่าแมลง (ตารางที่ 5 ) เมื่อพิจารณาต้นทุนการใช้ ส ารฆ่าแมลง พบว่า สารฆ่าแมลงที่มีประสิท ธิภาพดีในการป้องกันกาจัด เพลี้ยไฟเมล่อนในกล้วยไม้สกุล หวาย คือ spinetoram อัตรา 10 และ 15 มล./น้า 20 ลิตร chlorfenapyr cyantraniliprole และ fipronil อัตรา 30 และ 50 มล./น้า 20 ลิตร มีต้นทุนการใช้สาร 312.00, 468.00, 468.00, 912.00, 108.00 และ 180.00 บาท/ไร่/ครั้ ง ตามลาดับ สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพปานกลาง คือ emamectin benzoate อัตรา 20 และ 30 กรัม/น้า 20 ลิตร มีต้นทุนการใช้สาร 456.00 และ 684.00 บาท/ไร่/ครั้ง ตามลาดับ ซึ่งเมื่ อพิ จ ารณาต้นทุนแล้ว สารที่ มี ประสิทธิภาพดี -ปานกลางมี ต้นทุนการใช้สาร ค่อนข้างสูง ยกเว้น สาร fipronil 5% SC เพียงชนิดเดียวซึ่งมีต้นทุนในการใช้สารถูกที่สุด ฉะนั้นการศึกษาประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ต่าง ๆ ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟ เมล่อนในกล้วยไม้สกุลหวายทาให้ได้ข้อมูลสาคัญที่สามารถนาไปใช้ในการออกแบบหมุนเวียนพ่นสารตามกลุ่ม กลไกการออกฤทธิ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาความต้านทานที่เหมาะสม และทาให้ทราบข้อควรพิจารณาเพิ่มเติม นอกเหนือจากความหลากหลายของกลุ่มสารที่ต้องใช้ในการหมุนเวียนการพ่นสารแล้ว จาเป็นต้องพิจารณา อัตราของสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพในแต่ละท้อ งที่ เปอร์เซ็นต์ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัด ระยะเวลา ของประสิทธิภาพ และต้นทุนการพ่นสารของสารฆ่าแมลงแต่ละชนิด เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการป้องกันกาจัด 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
89
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบต้นทุนการใช้สารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย กรรมวิธี
ขนาดบรรจุ (มล.,ก.)
ราคา/หน่วย 1/ (บาท)
อัตราการใช้ (มล.,ก./น้า 20 ลิตร)
ต้นทุนการใช้สาร (บาท/ไร่2//ครั้ง)
1,000 1,000 250 250 250 250 250 250
600 600 950 950 650 950 1,300 1,300
30 50 20 30 30 40 10 15
108 180 456 684 468 912 312 468
fipronil 5% SC fipronil 5% SC emamectin benzoate 1.92% EC emamectin benzoate 1.92% EC chlorfenapyr 10%SC cyantraniliprole 10 % OD spinetoram 12 %W/V SC spinetoram 12 %W/V SC 1/ ราคาผลิตภัณฑ์เ ดือนมกราคม 2562 2/ อัตราพ่น 120 ลิตร/ไร่
90
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
เพลี้ยไฟเมล่อนให้เกษตรกรผู้ปลูก กล้วยไม้ สกุ ลหวายอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ระบบการป้องกันกาจัดศัตรูพืชแบบผสมผสานได้ สรุปผลการทดลอง จากการทดลองนี้ทาให้ได้สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพดีในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟในกล้วยไม้สกุล หวาย จานวน 4 กลุ่ม กลไกการออกฤทธิ์ คือ กลุ่ม 5 spinetoram ที่ อัตรา 10 และ 15 มล./น้า 20 ลิตร มี ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 80-93% นาน 7-14 วัน กลุ่ม 13 chlorfenapyr ที่อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 70-95% นาน 10-12 วัน กลุ่ม 28 cyantraniliprole ที่อัตรา 40 มล./น้า 20 ลิตร มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 70-80% นาน 7-12 วัน และ กลุ่ม 2 fipronil ที่อัตรา 30 และ 50 มล./น้า 20 ลิตร มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 70-80% นาน 7-12 วัน โดยมีต้นทุนการใช้ สาร 312.00, 468.00, 468.00, 912.00, 108.00 และ 180.00 บาท/ไร่/ครั้ง ตามลาดับ สารฆ่าแมลงที่ มี ประสิ ท ธิภ าพปานกลาง คื อ กลุ่ ม 6 emamectin benzoate ที่ อั ตรา 20 และ 30 กรั ม /น้ า 20 ลิ ตร มี ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด 70-80% นาน 5 วัน โดยมีต้นทุนการใช้สาร 456.00 และ 684.00 บาท/ไร่/ ครั้ง ตามลาดับ สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพเหล่านี้สามารถนาไปแนะนาให้เกษตรกรใช้ ในการพ่นสารแบบ หมุนเวียนตามกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดและปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลง ของเพลี้ยไฟเมล่อนในแปลงปลูกกล้วยไม้สกุลหวายได้อย่างยั่งยืน ตลอดจนสามารถนาไปปรับใช้ในการบริหาร ศัตรูพืชแบบผสมผสานต่อไป เอกสารอ้างอิง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ก. 2562. สถิติการส่งออกดอกกล้วยไม้สด. แหล่งที่มา URL http:// www. impexp.oae.go.th/sevice/export.php? สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2562. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ข. 2562. กล้วยไม้ : เนื้อทีเ่ ก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ปี 2561. แหล่งที่มา URL http://www. impexp.oae.go/assets/portals/1/fileups/prcaidata/ files/orchid%2061.pdf สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2562. ศรีจานรรจ์ พิชิตสุวรรณชัย, ปิยรัตน์ เขียนมีสุข, ชานาญ พิทักษ์, ศิริณี พูนไชยศรี และสมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น. 2543. การศึกษารูปแบบการแพร่กระจายของเพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้. หน้า 61-74. ใน : เอกสารวิชาการ การประชุมสัมมนาทางวิชาการแมลงและสัตว์ศัตรูพืช ครั้งที่ 12, กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, 28 – 31 มีนาคม 2543 โรงแรมอมารีออคิด รีสอร์ท จ.ชลบุรี. ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา, วิมลวรรณ โชติวงศ์, วนาพร วงนิคง และ วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูล. 2556. ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟฝ้าย, Thrips palmi (Karny) และผลกระทบต่อ แมงมุมศัตรูธรรมชาติในกล้วยไม้สกุลหวาย. หน้า 75-90. ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืช แห่งชาติ ครั้งที่ 11. 26-28 พฤศจิกายน 2556 โรงแรมเซ็นทารา แอนด์คอนเวนชันเซนเตอร์ จังหวัดขอนแก่น. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
91
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น พวงผกา อ่างมณี และวนาพร วงษ์นิคง. 2559. ความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips, Thrips palmi Karny). หน้า 1165-1178. ใน : ผลงานวิจัยประจาปี 2558 เล่มที่ 2 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา และสมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น. 2562. ความเป็นพิษ ของสารฆ่าแมลงชนิดใหม่ต่อเพลี้ยไฟฝ้าย (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย. ใน : ผลงานวิจัยประจาปี 2561 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์) Deuter, P.L. 1989. The development of an insecticide resistance strategy for the Lockyer Valley. Acta Horticulturae 247: 55-62. Dripps, J.E., R.E. Boucher, A. Chloridis, C.B. Cleveland, C.V. DeAmicis, L.E. Gomez, D.L. Paroonagian, L.A. Pavan, T.C. Sparks, G.B. Watson, 2011. The spinosyn insecticides. pp. 163-212. In : O. Lopez, J.G. Fernandez-Bolanos, (Eds.), Green Trends in Insect Control. Royal Society of Chemistry, Cambridge, UK. Henderson, C.F. and E.W. Tilton. 1955. Tests with acaricides against the brown wheat mite. Journal of Economic Entomology 48: 157-161 Matthews L., R. Cannon, K. Walters and D. Eyre. 2005. Contingency planning for outbreaks of Thrips palmi on protected cucumbers. Cucumber Growers Association. 38 pp. Ostad D.W. 2008. Major Issues in Insect Resistance Management. pp. 1-16. In : Insecticide Resistance Management : Biology, Economics and Prediction. Onstad D.W.(ed.), Academic Press. Roush, R.T. 1989. Designing resistance management programs: How can you choose? Pestic. Sci 26: 423-441. Roush, R.T. and J.C. Daly. 1990. The role of population genetics research in resistance research and management. pp. 97–152. In : Pesticide Resistance in Arthropods, ed. by Roush R.T. and Tabashnik B.E. Chapman and Hall, New York. Seal D.R., M. Ciomperlik, M.L. Richards and K.Klassen. 2006. Comparative effectiveness of chemical insecticides against the chilli thrips, Scirtothrips dorsalis Hood (Thysanoptera : Thripidae) on pepper and their compatibility with natural enemies. Crop Protection 25: 949-955. Srijuntra, S., S. Sukonthabhirom na Pattalung, W. Chotwong, W. Wongnikong and W. Sudjaritthammajariyangkool. 2016. Evaluation of insecticide rotation patterns for controlling Thrips palmi Karny population in Dendrobium orchid farms in 92
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-07
Thailand. pp.221-228. In : Proceedings The 12th Asia Pacific Orchid Conference, 19th-27nd March 2016, Impact forum Exhibition and convention center, Muang thong thani, Bangkok, Thailand.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
93
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
รูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ เพือ่ ป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย Rotation Spraying Pattern for Insecticides with Different Mode of Action for Controlling Melon Thrips (Thrips palmi Karny) in Dendrobium ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น Srijumnun Srijuntra Suprada Sukonthabhirom na Pattalung and Somsak Siriphontangmun สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ การผลิตกล้วยไม้สกุลหวายเพื่อการส่งออกมักประสบปัญหาการต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟ เมล่อน การใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนเป็นวิธีการที่ลดปัญหาดังกล่าวได้ จึงทาการทดลองเพื่อหารูปแบบ การใช้สารฆ่าแมลงโดยการหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์เพื่อป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อนในกล้วยไม้สกุล หวายที่ เหมาะสม ดาเนินการที่แปลงกล้วยไม้ของเกษตรกรในอาเภอนครชัยศรี และอาเภอเมื องนครปฐม จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือ นมกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้า 6 กรรมวิธี ประกอบด้วย การพ่นสารแบบหมุนเวียนของสารฆ่าแมลง spinetoram 12 % SC (กลุ่ม 5) chlorfenapyr 10%SC (ก ลุ่ ม 1 3) cyantraniliprole 10 % OD (กลุ่ ม 28) fipronil 5% SC (ก ลุ่ ม 2) emamectin benzoate 1.92% EC และ abamectin 1.8% EC (กลุ่ม 6) ใน 4 รูปแบบ เปรียบเทียบกับการพ่นสารตามวิธี เกษตรกรและการไม่พ่นสาร พบว่ารูปแบบการพ่นสารแบบหมุนเวียนในทุกรอบวงจรชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน คือ การพ่นสาร spinetoram 1 ครั้ง ตามด้วย abamectin 3 ครั้ง ตามด้วย fipronil 2 ครั้ง เป็นรูปแบบที่ดีที่สุด สามารถควบคุม จ านวนเพลี้ยไฟให้ มี ระดับ ต่า 0.20-1.25 และ 0.23-1.33 ตัว/ช่อดอก ในแปลงกล้วยไม้ ที่ อาเภอนครชัยศรี และอาเภอเมืองนครปฐม ตามลาดับ ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติกับการพ่นสารของเกษตรกรซึ่ง พบเพลี้ยไฟ 0.30-1.73 และ 0.45-1.55 ตัว/ช่อดอก ตามล าดับ ต้นทุ นการใช้ส ารรูป แบบดัง กล่าวต่อรอบ เท่ากับ 466.00 บาท/ไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนการใช้สารตามวิธีเกษตรกรคือ 462.66 บาท/ไร่ รูปแบบการพ่น สารแบบหมุนเวียนที่ได้เหมาะสมที่จะใช้แนะนาเพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟที่ทาลายกล้วยไม้ คาส าคัญ : การป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟ การป้องกันกาจัดโดยวิธีเคมี ความต้านทานสารฆ่าแมลง การผลิต กล้วยไม้ ABSTRACT Dendrobium production for exportation has encountered insecticide resistance problem in melon thrips (Thrips palmi Karny). Insecticide rotation is the method that can 94
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
reduce this problem. The experiments were conducted to find proper insecticide rotation pattern using insecticides from different mode of action for controlling melon thrips in dendrobium. The experiments were carried out in farmer’s farms at Nakhon Chai Si district and Mueang Nakhon Pathom district, Nakhon Pathom province during January-February 2019. The experiments were designed in RCB with 6 treatments and 4 replications. The treatments were composed of 4 different insecticide rotation patterns using insecticides from different mode of action; spinetoram 12 % SC (Group 5), chlorfenapyr 10%SC (Group 1 3 ), cyantraniliprole 10 % OD (Group 28), fipronil 5% SC (Group 2), emamectin benzoate 1.92% EC and abamectin 1.8% EC (Group 6); compared with farmer’s spraying and untreated control. The results revealed that the rotation spraying pattern of spinetoram 1 time abamectin 3 times - fipronil 2 times, in every 14-day interval of thrips life cycle was the best rotation spraying pattern because this pattern can control thrips number as low as 0.20-1.25 and 0.23-1.33 insects/inflorescence in Nakhon Chai Si and Mueang Nakhon Pathom farm, respectively which was not significantly different from farmer’s spraying which can control thrips number as 0.30-1.73 and 0.45-1.55 insects/inflorescence in two farms, respectively. The cost of this insecticide rotation spraying pattern per cycle was 466 bath/rai which was not much different from that of 462.66 bath/rai of farmer’s spraying. Insecticide rotation pattern obtained was proper for recommendation to reduce insecticide resistance problem in thrips damaging orchids. Keywords: Thrips control, chemical control, insecticide resistance, orchid production คานา กล้วยไม้สกุลหวายเป็นไม้ตัดดอกส่งออกที่สามารถสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศเป็นจานวนมาก ในปี 2561 ประเทศไทยส่งออกดอกกล้วยไม้ 23,716.96 ตัน คิดเป็นมู ลค่า 2,287.03 ล้านบาท (สานัก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร, 2562) โดยมี ต ลาดหลัก คือ ญี่ ปุ่น อเมริก า และสหภาพยุโรป ซึ่ง ต้องการสินค้ากล้วยไม้ ที่ มี คุณภาพสูงและมีมาตรฐานสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก คือ การมีเพลี้ยไฟ เมล่อน (T. palmi) ติดไปกับดอกกล้วยไม้ที่ส่งไปยังต่างประเทศ ซึ่งเพลี้ยไฟชนิดนี้ได้ถูกระบุไว้ใน Annex IAI ของ EC Plant Health Directive (2000/29/EC) ว่าเป็นแมลงกักกัน และจะต้องถูกกาจัดให้หมดสิ้นเมื่อถูก ตรวจพบในสหภาพยุโรป (Cannon et al., 2007) เพลี้ยไฟเมล่อน เป็นแมลงศัตรูสาคัญ และพบระบาดในแปลงกล้วยไม้ตลอดทั้งปี เกษตรกรมีการใช้ สารเคมี เพื่อป้องกันก าจัด อย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดปัญ หาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงหลาย ๆ ชนิด เช่น spiromesifen, fipronil abamectin cyantraniliprole sulfoxaflor และสารในกลุ่ม neonicotinoids (4A) เช่น imidacloprid, clothianidin, acetamiprid และ dinotefuran (สุภราดาและคณะ, 2559 และ 2562) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
95
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
การป้องกันกาจัดทาได้ยาก แนวทางที่สามารถชะลอปัญหาแมลงศัตรูพืชต้านทานต่อสารฆ่าแมลงอย่างได้ผล คือ การใช้สารแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ วิธีการนี้จะใช้สารฆ่าแมลงหลาย ๆ กลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ที่มี ประสิทธิภาพและมีความเป็นพิ ษสูงต่อ แมลงชนิดนั้น ๆ แบบหมุ นเวียนกั นในแต่ล ะช่วงเวลา หรือหนึ่งช่วง อายุขัยของแมลงชนิ ดนั้น ๆ แม้ Srijuntra et al. (2016) ได้ ท ดสอบรูป แบบการหมุ น เวียนสารฆ่ าแมลง spinetoram 12% SC (กลุ่ม 5), emamectin benzoate 1.92% EC (กลุ่ม 6) และ fipronil 5% SC (กลุ่ม 2) ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟในกล้วยไม้สกุลหวาย 5 รูปแบบ พบว่า กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนตาม กลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ทุกรูปแบบสามารถลดจานวนประชากรเพลี้ยไฟในแปลงต่ากว่ากรรมวิธีพ่นสารแบบ หมุนเวียนของเกษตรกร แต่เกษตรกรไม่นิยมนาไปปฏิบัติใช้ในแปลง เนื่องจากมีต้นทุนการพ่นสารสูงกว่าวิธี เกษตรกรมาก งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออก ฤทธิ์รูปแบบใหม่ ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟในกล้วยไม้สกุลหวายและมีต้นทุนการพ่นสารที่ เหมาะสม สาหรับใช้เป็นคาแนะนาให้เกษตรกรผู้ ผลิตกล้วยไม้สกุลหวายคุณภาพสูง สาหรับการส่งออก และ สามารถการลดปัญหาความต้านทานของเพลี้ยไฟต่อสารฆ่าแมลงในกล้วยไม้ อุปกรณ์และวิธีการ ดาเนินการทดลองที่แปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกรอาเภอนครชัยศรี และอาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้า 6 กรรมวิธี ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 แบบที่ I. ทุกรอบวงชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) 1 ครั้ง ตามด้วย cyantraniliprole 10 % OD อัตรา 40 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 28) 2 ครั้ง ทุก 7 วัน ตามด้วย chlorfenapyr 10%SC อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 13) 1 ครั้ง (10 วัน) และ emamectin benzoate 1.92% EC อั ต รา 20 มล./น้ า 20 ลิ ต ร (กลุ่ ม 6) 1 ครั้ ง (5 วั น ) ตามด้ ว ย fipronil 5% SC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) 2 ครั้ง ทุก 7 วัน กรรมวิธีที่ 2 แบบที่ II. ทุ กรอบวงชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) 1 ครั้ง ตามด้วย fipronil 5% SC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) 2 ครั้ง ทุ ก 7 วัน ตามด้ว ย chlorfenapyr 10%SC อั ตรา 30 มล./น้ า 20 ลิต ร (กลุ่ ม 13) 1 ครั้ง (10 วัน ) และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) 1 ครั้ง (5 วัน) กรรมวิธีที่ 3 แบบที่ III. ทุกรอบวงชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) 1 ครั้ง ตามด้วย chlorfenapyr 10%SC อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 13) 1 ครั้ง (10 วัน) และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) 1 ครั้ง (5 วัน) ตามด้วย fipronil 5% SC อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) 3 ครั้ง ทุก 5 วัน กรรมวิธีที่ 4 แบบที่ IV. ทุกรอบวงชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) 1 ครั้ง ตามด้วย abamectin 1.8% EC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) 3 ครั้งทุก 5 วัน ตามด้วย fipronil 5% SC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) 2 ครั้ง ทุก7 วัน
96
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
กรรมวิธีที่ 5 วิธีพ่นสารของเกษตรกร (ทุกรอบวงชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร chlorpyrifos 25% WP อัตรา 20 กรัม/น้า 20 ลิตร + methomyl 90% SP อัตรา 15 กรัม /น้า 20 ลิตร พ่น 3 ครั้ง ทุก 5 วัน ตามด้วย emamectin benzoate 5% WG อัตรา 10 กรัม /น้า 20 ลิตร + methomyl 90% SP อัตรา 15 กรัม /น้า 20 ลิตร พ่ น 3 ครั้ง ทุ ก 5 วัน ตามด้วย fipronil 5% SC 30 มล./น้า 20 ลิตร + methomyl 90% SP อัตรา 15 กรัม/น้า พ่น 3 ครั้ง ทุก 5 วัน) กรรมวิธีที่ 6 ไม่พ่นสาร (untreated) ดาเนินการทดลองเมื่ อกล้วยไม้ออกดอกสม่ าเสมอและมีเพลี้ยไฟระบาดสม่าเสมอทั่วแปลง ขนาด แปลงย่อยไม่น้อยกว่า 5 ตารางเมตร เริ่มพ่นสารตามกรรมวิธีต่างๆ เมื่อพบเพลี้ยไฟอย่างน้อย 4 ตัว/ช่อดอก พ่นสารตามกรรมวิธี โดยใช้เครื่องยนต์พ่นสารแบบสะพายหลัง แรงดันน้าสูง อัตราพ่น 120 ลิตร/ไร่ ตรวจนับ จานวนเพลี้ยไฟทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย โดยวิธีการสุ่มตรวจนับเพลี้ยไฟจากช่อดอกกล้วยไม้ 10 ช่อดอก (ช่อ ดอกที่มีดอกอย่างน้อย 4 ดอกบาน/แปลงย่อย) ทาการพ่นสารฆ่าแมลงตามกรรมวิธี ตรวจนับเพลี้ยไฟก่อนพ่น สาร และหลังพ่นสารครั้งแรก 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45, 50 และ 55 วัน นาข้อมูล จานวนเพลี้ยไฟ ไปวิเคราะห์ผลทางสถิติ บันทึกอาการเป็นพิษต่อกล้วยไม้ (phytotoxicity) และคานวณต้นทุนการใช้สาร ผลและวิจารณ์ ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน แปลงทดลองที่ 1 อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม (ตารางที่ 1) ก่อนพ่นสารหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ตามกรรมวิธี พบว่า ทุกกรรมวิธีมีจานวนเพลี้ยไฟ 4.425.03 ตัว/ช่อดอก ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังการพ่นสารตามกรรมวิธีรอบที่ 1 ที่ 5, 10 และ 15 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.83-1.73, 0.40-0.88 และ 0.15-0.45 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทาง สถิติกั บกรรมวิธีไม่พ่ นสารซึ่ง พบเพลี้ยไฟ 3.95, 2.70 และ 3.73 ตัว/ช่อดอก ตามล าดับ เมื่ อเปรียบเที ยบ ระหว่างกลุ่มกรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ กับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร พบว่า ที่ 5 วัน กลุ่มกรรมวิธี พ่นสารแบบหมุนเวียนฯ พบประชากรเพลี้ยไฟ 0.83-1.00 ตัว/ช่อดอก น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 1.73 ตัว/ช่อดอก แต่หลังจากนั้นที่ 10 และ 15 วัน กลุ่ ม กรรมวิธี พ่ น สารแบบหมุ น เวีย นฯ พบประชากรเพลี้ ยไฟ 0.40-0.65 และ 0.15-0.45 ตั ว/ช่ อ ดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.88 และ 0.43 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ หลังพ่นสารตามกรรมวิธี รอบที่ 2 ที่ 20, 25 และ 30 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.35-0.70, 0.23-0.38 และ 0.23-0.43 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีไม่พ่นสาร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 3.95, 3.95 และ 3.33 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบกลุม่ กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ กับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร พบว่า ที่ 20, 25 และ 30 วัน กลุ่มกรรมวิธี พ่นสารแบบหมุนเวียนฯ พบเพลี้ยไฟ 0.35-0.70,0.23-0.38 และ 0.23-0.40 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
97
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร ซึง่ พบเพลี้ยไฟ 0.53, 0.35 และ 0.43 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ หลังพ่นสารตามกรรมวิธี รอบที่ 3 ที่ 35, 40 และ 45 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.30-0.95, 0.63-1.25 และ 0.28-1.23 ตัว/ช่อดอก น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติกับ กรรมวิธีไม่พ่นสารซึ่งพบเพลี้ยไฟ 3.99, 5.08 และ 3.50 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุม่ กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ กับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร พบว่า ที่ 35 วัน กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารแบบ หมุนเวียนฯ มีประสิทธิภาพในการควบคุมปริมาณเพลี้ยไฟได้ดี 0.30-0.75 ตัว/ช่อดอก น้อยกว่าแตกต่างทาง สถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.95 ตัว/ช่อดอก แต่หลังจากนั้นที่ 40 วัน กลุม่ กรรมวิธีที่ พ่นสารแบบหมุนเวียนฯ และกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรสามารถควบคุมประชากรเพลี้ยไฟได้ค่อนข้างดี พบ เพลี้ยไฟ 0.63-1.25 และ 0.88 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากนั้นที่ 45 วัน กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารแบบหมุนเวียนฯ มีประสิทธิภาพในการควบคุมปริมาณเพลี้ยไฟให้อยู่ในระดับต่า 0.280.45 ตัว/ช่อดอก น้อยกว่าแตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึง่ พบเพลี้ยไฟ 1.23 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารตามกรรมวิธี รอบที่ 4 ที่ 50 และ 55 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบจานวนเพลี้ยไฟ ในระดับต่า 0.20-30 และ 0.28-0.38 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีไม่พ่นสารซึ่งพบเพลี้ยไฟ 3.50 และ 3.80 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ พบประชากรเพลี้ยไฟอยู่ในระดับต่า 0.20-0.28 และ 0.28-0.35 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างกันทางสถิตกิ ับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึง่ พบเพลี้ยไฟ 0.30 และ 0.38 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ แปลงทดลองที่ 2 อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม (ตารางที่ 2) ก่อนพ่นสารหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ตามกรรมวิธี พบว่า ทุกกรรมวิธีมีจานวนเพลี้ยไฟ 4.235.18 ตัว/ช่อดอก ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังการพ่นสารตามกรรมวิธีรอบที่ 1 ที่ 5, 10 และ 15 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.48-1.10, 0.96-1.55 และ 0.19-0.51 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติกับกรรมวิธีไม่พ่นสารซึ่งพบเพลี้ยไฟ 4.78, 3.35 และ 4.32 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างกลุม่ กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ กับกรรมวิธีพน่ สารของเกษตรกร พบว่า ที่ 5 และ 10 วัน กลุ่ม กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ พบเพลี้ยไฟ 0.48-0.78 และ 0.96-1.38 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่าง ทางสถิติกบั กรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 1.10 และ 1.55 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ หลังจากนั้นที่ 15 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.19-0.27 ตัว/ช่อดอก มีประสิทธิภาพใน
98
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่แปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 กรรมวิธี แบบที่ I. spine /cyan -cyan /chlorfe - ema benz / fipro-fipro แบบที่ II. spine / fipro-fipro/ chlorfe- ema benz แบบที่ III. spine/chlorfe - ema benz/ fipro- fipro- fipro แบบที่ IV. spine/aba-aba-aba/fipro-fipro-fipro วิธีพ่นสารของเกษตรกร (chlorpy+metho - chlorpy+metho chlorpy+metho/ema benz+metho - ema benz+methoema benz+metho / fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho ไม่พ่นสาร C.V. (%) R.E.(%) 2/ พ่นสารแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ VS วิธพี ่นสารของเกษตรกร วิธีไม่พ่นสาร VS วิธีพ่นสาร
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร) 20/40-40/30-20/50-50 20/50-50/30-20 20/30-20/30-30-30 20/50-50-50/30-30-30 40+15 - 40+15 -40+15/ 10+15 -10+15 -10+15 / 30+40+15 -30+40+15 30+40+15 -
จานวนเพลี้ยไฟ (ตัว/ช่อดอก) หลังการพ่นสารครั้งแรก (วัน) 10 15 20
ก่อนการพ่น สาร
5
4.60 4.67 4.70 4.42 4.88
0.95 ab1/ 0.83 a 0.90 ab 1.00 ab 1.73 b
0.40 a 0.55 a 0.65 a 0.60 a 0.88 a
0.35 ab 0.40 ab 0.15 a 0.45 b 0.43 ab
5.03
3.95 c
2.70b
13.1 -
34.7 -
NS NS
25
30
0.45 ab 0.70 c 0.35 a 0.45 ab 0.58 bc
0.33 a 0.33 a 0.23 a 0.38 a 0.35 a
0.23 a 0.33 a 0.38 a 0.40 a 0.43 a
3.73 c
3.95 d
3.95 b
3.33 b
43.2 45.8
24.9 51.2
12.6 15.3
18.7 6.2
30.5 9.8
**
NS
NS
NS
NS
NS
**
**
**
**
**
**
1/
ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ในวิธี DMRT ประสิทธิภาพเชิงสัมพัทธ์ * แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี F-Test (p<0.05) ** แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% โดยวิธี F-Test (p<0.01) NS ไม่มีความแตกต่างทางสถิติโดยวิธี F-Test (p>0.05) spine = spinetoram, cyan = cyantraniliprole, ema benz = emamectin benzoate, fipro = fipronil, chlorfe = chlorfenapyr, aba = abamectin, chlorpy = chlorpyrifos, metho = methomyl 2/
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
99
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่แปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 (ต่อ) กรรมวิธี แบบที่ I. spine /cyan -cyan /chlorfe - ema benz / fipro-fipro แบบที่ II. spine / fipro-fipro/ chlorfe- ema benz แบบที่ III. spine/chlorfe - ema benz/ fipro- fipro- fipro แบบที่ IV. spine/aba-aba-aba/fipro-fipro-fipro วิธีพ่นสารของเกษตรกร (chlorpy+metho - chlorpy+metho chlorpy+metho/ema benz+metho - ema benz+methoema benz+metho / fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho ไม่พ่นสาร
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร) 20/40-40/30-20/50-50 20/50-50/30-20 20/30-20/30-30-30 20/50-50-50/30-30-30 40+15-40+15 -40+15/ 10+15-10+15 -10+15 / 30+40+15 -30+40+15 -30+40+15 -
C.V. (%) R.E.(%) 2/ พ่นสารแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ VS วิธพี ่นสารของเกษตรกร วิธีไม่พ่นสาร VS วิธีพ่นสาร 1/
35 0.75 bc1/ 0.73 bc 0.30 a 0.40 ab 0.95 c
จานวนเพลี้ยไฟ (ตัว/ช่อดอก) หลังการพ่นสารครั้งแรก (วัน) 40 45 50 0.73 a 0.45 a 0.20 a 1.08 a 0.40 a 0.28 a 0.63 a 0.28 a 0.28 a 1.25 a 0.40 a 0.20 a 0.88 a 1.23 a 0.30 a
55 0.38 a 0.35 a 0.28 a 0.30 a 0.38 a
3.99 d
5.08 b
3.50 b
3.50b
3.80b
28.8 13.3
58.0 26.3
61.5 45.2
20.8 49.7
14.1 10.2
*
NS
*
NS
NS
**
**
**
**
**
ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ในวิธี DMRT ประสิทธิภาพเชิงสัมพัทธ์ * แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี F-Test (p<0.05) ** แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% โดยวิธี F-Test (p<0.01) NS ไม่มีความแตกต่างทางสถิติโดยวิธี F-Test (p>0.05) spine = spinetoram, cyan = cyantraniliprole, ema benz = emamectin benzoate, fipro = fipronil, chlorfe = chlorfenapyr, aba = abamectin, chlorpy = chlorpyrifos, metho = methomyl 2/
100
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
ตารางที่ 2 ประสิทธิภาพการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่แปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 จานวนเพลี้ยไฟ (ตัว/ช่อดอก) หลังการพ่นสารครั้งแรก (วัน) 10 15 20
กรรมวิธี
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร)
หลังการพ่น สารครั้งแรก (วัน)
5
แบบที่ I. spine /cyan -cyan /chlorfe - ema benz / fipro-fipro แบบที่ II. spine / fipro-fipro/ chlorfe- ema benz แบบที่ III. spine/chlorfe - ema benz/ fipro- fipro- fipro แบบที่ IV. spine/aba-aba-aba/fipro-fipro-fipro วิธีพ่นสารของเกษตรกรchlorpy+metho - chlorpy+metho chlorpy+metho/ema benz+metho - ema benz+methoema benz+metho / fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho ไม่พ่นสาร
20/40-40/30-20/50-50 20/50-50/30-20 20/30-20/30-30-30 20/50-50-50/30-30-30 40+15 - 40+15 40+15/ 10+15 -10+15 -10+15 / 30+40+15 30+40+15 -30+40+15 -
4.55 4.98 4.53 4.23 5.18
0.60 a1/ 0.78 a 0.65 a 0.48 a 1.10 a
1.37 a 1.38 a 0.96 a 1.33 a 1.55 a
0.22 a 0.27 ab 0.19 a 0.23 a 0.51 b
4.75
4.78 b
3.35 b
15.3 -
37.5 -
NS NS
C.V. (%) R.E.(%) 2/ พ่นสารแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ VS วิธพี ่นสารของเกษตรกร วิธีไม่พ่นสาร VS วิธีพ่นสาร
25
30
0.87 a 1.24 b 0.77 a 0.82 a 0.99 ab
0.32 a 0.55 a 0.47 a 0.67 a 0.48 a
0.30 a 0.32 a 0.37 a 0.42 a 0.74 b
4.32 c
4.99 c
4.17 b
3.80 c
25.0 34.6
24.0 48.3
14.1 11.8
24.0 11.2
14.0 20.0
NS
NS
*
NS
NS
**
**
**
**
**
**
**
1/
ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ในวิธี DMRT ประสิทธิภาพเชิงสัมพัทธ์ * แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี F-Test (p<0.05) ** แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% โดยวิธี F-Test (p<0.01) NS ไม่มีความแตกต่างทางสถิติโดยวิธี F-Test (p>0.05) spine = spinetoram, cyan = cyantraniliprole, ema benz = emamectin benzoate, fipro = fipronil, chlorfe = chlorfenapyr, aba = abamectin, chlorpy = chlorpyrifos, metho = methomyl 2/
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
101
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
ตารางที่ 2 ประสิทธิภาพการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่แปลงกล้วยไม้สกุลหวายของเกษตรกร อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 (ต่อ) กรรมวิธี แบบที่ I. spine /cyan -cyan /chlorfe - ema benz / fipro-fipro แบบที่ II. spine / fipro-fipro/ chlorfe- ema benz แบบที่ III. spine/chlorfe - ema benz/ fipro- fipro- fipro แบบที่ IV. spine/aba-aba-aba/fipro-fipro-fipro วิธีพ่นสารของเกษตรกร (chlorpy+metho - chlorpy+metho - chlorpy+metho/ema benz+metho - ema benz+metho- ema benz+metho / fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho) ไม่พ่นสาร
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร)
35
20/40-40/30-20/50-50 1.15 ab1/ 20/50-50/30-20 1.18 ab 20/30-20/30-30-30 0.88 a 20/50-50-50/30-30-30 0.90 a 40+15-40+15 -40+15/ 1.33 b 10+15-10+15 -10+15 / 30+40+15 -30+40+15 -30+40+15
C.V. (%) R.E.(%) 2/ พ่นสารแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ VS วิธพี ่นสารของเกษตรกร วิธีไม่พ่นสาร VS วิธีพ่นสาร 1/
-
จานวนเพลี้ยไฟ (ตัว/ช่อดอก) หลังการพ่นสารครั้งแรก (วัน) 40 45 50
55
0.53 a 0.97 b 0.77 ab 0.91 b 0.81 ab
0.84 c 0.47 ab 0.35 a 0.47 ab 0.70 bc
1.02 a 0.38 a 0.28 a 0.35 a 0.45 a
0.62 a 0.47 a 0.47 a 0.62 a 0.45 a
4.55 c
4.07 c
4.07 d
3.55 b
3.72 b
19.2 6.6
14.9 17.3
14.4 14.4
71.9 7.5
12.3 54.7
NS
NS
NS
NS
NS
**
**
**
**
**
ค่าเฉลี่ยในคอลัมน์ที่ตามด้วยอักษรเหมือนกัน ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ในวิธี DMRT ประสิทธิภาพเชิงสัมพัทธ์ * แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี F-Test (p<0.05) ** แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% โดยวิธี F-Test (p<0.01) NS ไม่มีความแตกต่างทางสถิติโดยวิธี F-Test (p>0.05) spine = spinetoram, cyan = cyantraniliprole, ema benz = emamectin benzoate, fipro = fipronil, chlorfe = chlorfenapyr, aba = abamectin, chlorpy = chlorpyrifos, metho = methomyl 2/
102
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
การควบคุมประชากรเพลี้ยไฟให้อยู่ในระดับต่า น้อยกว่าและแตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.51 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารตามกรรมวิธี รอบที่ 2 ที่ 20, 25 และ 30 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.77-1.24, 0.32-0.67 และ 0.30-0.74 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีไม่พ่ นสาร ซึ่งพบเพลี้ยไฟ 4.99, 4.17 และ 3.80 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่ อเปรียบเทียบกลุ่ม กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ กับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร พบว่า ที่ 20 และ 25 วัน กลุ่มกรรมวิธีพ่น สารแบบหมุนเวียนฯ พบเพลี้ยไฟ 0.77-1.24 และ 0.32-0.67 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างทางสถิติกับ กรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.99 และ 0.48 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ในขณะที่ 30 วัน กลุ่ม กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ พบเพลี้ยไฟเพียง 0.30-0.42 ตัว/ช่อดอก น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 0.74 ตัว/ช่อดอก หลังพ่นสารตามกรรมวิธี รอบที่ 3 ที่ 35, 40 และ 45 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบเพลี้ยไฟ 0.88-1.33, 0.53-0.97 และ 0.35-0.84 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติกับกรรมวิธีไม่พ่นสารซึ่งพบเพลี้ยไฟ 4.55, 4.07 และ 4.07 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบ ระหว่างกลุม่ กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ กับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกร พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสาร แบบหมุนเวียนฯ มีประสิทธิภาพในการควบคุมปริมาณเพลี้ยไฟได้ดี 0.88-1.18, 0.53-0.97 และ 0.35-0.84 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่แตกต่างทางสถิติกบั กรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบเพลี้ยไฟ 1.33, 0.81 และ 0.70 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ หลังพ่นสารตามกรรมวิธี รอบที่ 4 ที่ 50 และ 55 วัน พบว่า กลุ่มกรรมวิธีที่พ่นสารพบจานวนเพลี้ยไฟ ในระดับต่า 0.28-1.02 และ 0.47-0.62 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีไม่พ่นสารซึ่งพบเพลี้ยไฟ 3.55 และ 3.72 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม กรรมวิธีพ่นสารแบบหมุนเวียนฯ พบประชากรเพลี้ยไฟ 0.28-1.02 และ 0.47-0.62 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ ไม่ แตกต่างกันทางสถิติกับกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรซึง่ พบเพลี้ยไฟ 0.45 และ 0.0.45 ตัว/ช่อดอก ตามลาดับ สารฆ่าแมลงที่ใช้ในระบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ในการทดลองนี้มีประสิทธิภาพในการควบคุม ประชากรเพลี้ยไฟในแปลงกล้วยไม้ให้อยู่ในระดับต่าได้ดี เนื่องจากผลการทดสอบในการทดลองนี้เมื่อพิจารณาแต่ ละรอบที่มีการพ่นสารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนฯ พบว่า รอบการพ่นสาร spinetoram อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตรทุก 14 วัน cyantraniliprole อัตรา 40 มล./น้า 20 ลิตร ทุก 7 วัน fipronil อัตรา 30 มล./น้า 20 ลิตร ทุก 5 วัน และ abamectin อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร ทุก 5 วัน สามารถรักษาประชากรระดับเพลี้ยไฟให้อยู่ ในระดับต่าได้ดี สอดคล้องกับ สุภราดาและคณะ (2562) ซึ่งได้รายงานว่าสารฆ่าแมลง spinetoram 12% SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร มีความเป็นพิษสูงมากต่อเพลี้ยไฟจากสวนกล้วยไม้ที่อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัด ปทุมธานี อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี อาเภอนครชัยศรี และอาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ดังนั้น สาร spinetoram 12% SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร จึงเหมาะสมที่ จะนาไปใช้ในระบบหมุนเวียนฯ เพื่อ ชะลอปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟทาลายกล้วยไม้ในพื้นที่ดังกล่าว อย่างไรก็ตามอาจมีบาง สารที่ มี พิษ ค่อ นข้ างต่า เช่น สาร cyantraniliprole มี เปอร์เซ็นต์ก ารตายเพี ยง 15-50% เมื่ อทดสอบใน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
103
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
ห้องปฏิบัติการ แต่เมื่อนาใช้ในรูปแบบหมุนเวียนร่วมกับสารฆ่าแมลงตัวที่มีประสิทธิภาพตัวอื่น กลับพบว่ามี ประสิทธิภาพดีในสภาพแปลง ทั้งนี้ เนื่องจากการทดลองนี้นา cyantraniliprole มาพ่นหมุนเวียนต่อจากสาร spinetoram ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟได้ถึง 80-92% ส่งผลให้สาร cyantraniliprole สามารถควบคุ ม ประชากรเพลี้ ย ไฟให้ ในแปลงกล้ ว ยไม้ อ ยู่ ในระดั บ ต่ าต่ อ เนื่ อ ง ในท านองเดี ย วกั น สาร abamectin ซึ่งมีป ระสิท ธิภาพปานกลาง-ต่า 50-70% ในสภาพแปลง (ศรีจานรรจ์ และคณะ, 2562) เมื่ อ นามาพ่นหมุนเวียนต่อจากสารที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดสูง ก็สามารถควบคุมประชากรเพลี้ยไฟให้ อยู่ในระดับต่าได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นในรูป แบบการหมุนเวียนกลุ่มฯ นอกจากการเลือกใช้สารกลุ่มต่างๆ ที่ มี ประสิทธิภาพสูงในการหมุนเวียนฯ แล้วสารที่ มีป ระสิท ธิภาพปานกลาง-ต่าก็ส ามารถนามาใช้ในระบบการ หมุนเวียนได้ โดยต้องใช้ตามหลังกลุ่มสารที่มีประสิทธิภาพสูง ฉะนั้นนอกจากประสิทธิภาพของสารกลุ่มต่างๆ แล้ว การลาดับก่อนหรือหลังในการหมุนเวียนก็มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง การใช้สารฆ่าแมลงโดยการหมุนเวียนฯ ทุกรูปแบบ มีประสิทธิภาพในการควบคุมประชากรเพลี้ยไฟให้ อยู่ในระดับต่าตลอดช่วงการทดลอง เทียบเท่าและดีกว่าวิธีการพ่นสารของเกษตรกร (ตารางที่ 1 และ 2) อย่างไรก็ตาม วิธีการพ่นสารของเกษตรกรยังพบมีการพ่นสารอย่างไม่ถูกต้องตามหลักการหมุนเวียน และมีการ ใช้สาร methomyl 90% WP ซึ่งไม่ได้ขึ้นทะเบียนถูกต้องตามกฎหมายและจัดเป็นสารทีม่ ีความเป็นพิษระดับ พิษร้ายแรง แม้ว่าประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยไฟจะไม่แตกต่างกันมากนัก แต่เมือ่ มองในระยะยาวการพ่น สารของเกษตรกรจะเป็นการเพิม่ ความต้านทานขึ้นในอนาคต ซึ่งต่างจากรูปแบบการหมุนเวียนกลุ่มสารที่ ถูกต้องตามรูปแบบที่ได้นาเสนอในการทดลองนีจ้ ะช่วยชลอความต้านทานได้ดีกว่า สอดคล้องกับคาแนะนาของ Deuter (1989) Roush (1989) และ Roush and Daly (1990) วิธีการใช้สารแบบหมุนเวียน (pesticide rotation) โดยนาสารกาจัดศัตรูพืชชนิดต่างๆ ที่อยู่ต่างกลุม่ กันมาใช้ในแต่ละช่วงเวลา หรือในแต่ละหนึง่ ช่วง อายุขัยของศัตรูพืช เป็นการแก้ไขปัญหาศัตรูพืชต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืช อาการเป็นพิษต่อกล้วยไม้ (phytotoxicity) ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารแบบหมุนเวียนฯ และกรรมวิธีพ่นสารของเกษตรกรไม่พบอาการเป็นพิษต่อต้น และดอกกล้วยไม้ทั้ง 2 แปลงทดลอง ต้นทุนการพ่นสารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียน เมื่อพิจารณาต้นทุนการพ่นสารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียน พบว่า รูปแบบการพ่นสารหมุนเวียนฯ แบบ ที่ IV คือ ทุกรอบวงชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร spinetoram 12 %W/V SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุม่ 5) 1 ครั้ง ตามด้วย abamectin 1.8% EC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุม่ 6) 3 ครั้งทุก 5 วัน ตาม ด้วย fipronil 5% SC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) 2 ครั้ง ทุก 7 วัน มีต้นทุนการพ่นสาร 466.00 บาท/ไร่/รอบวงชีวิต ใกล้เคียงกับวิธีพ่นสารของเกษตรกรทีม่ ีต้นทุนการพ่นสาร 462.66 บาท/ไร่/รอบวงชีวิต ในขณะที่การพ่นสารหมุนเวียนฯ แบบที่ III II และ I มีต้นทุนการพ่นสารสูงกว่า 624.00, 636.00 และ 933.00 บาท/ไร่/รอบวงชีวิต ตามลาดับ (ตารางที่ 3)
104
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบต้นทุนการใช้สารแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ วิธี พ่นสารของเกษตรกร ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อนในแปลงกล้วยไม้ กรรมวิธี
อัตราการใช้ (ก.,มล./น้า 20 ลิตร)
ต้นทุนการใช้สาร1/ (บาท/ไร่2/)
ต้นทุนการใช้สาร ต่อรอบวงชีวิต3/ (บาท/ไร่2/)
แบบที่ I. spine /cyan -cyan /chlorfe - ema benz / fipro-fipro
20/40-40/30-20/50-50
3,732
933.00
20/50-50/30-20
1,908
636.00
20/30-20/30-30-30
1,872
624.00
20/50-50-50/30-30-30
1,398
466.00
1,388
462.66
แบบที่ II. spine / fipro-fipro / chlorfe- ema benz แบบที่ III. spine /chlorfe - ema benz / fipro- fipro- fipro แบบที่ IV. spine / aba-aba-aba / fipro-fipro-fipro
วิธีพ่นสารของเกษตรกร (chlorpy+metho - chlorpy+metho4/ 40+15 - 40+15 - 40+15/ - chlorpy+metho /ema benz+metho - ema benz+metho- 10+15 - 10+15 - 10+15 / ema benz+metho / fipro+ chlorpy+metho - fipro+ 30+40+15 - 30+40+15 -30+40+15 chlorpy+metho - fipro+ chlorpy+metho) 1/ราคาสารฆ่าแมลงเดือนมกราคม 2/อัตราน้า
2562
120 ลิตร/ไร่ 3/ รอบวงชีวิตของเพลี้ยไฟ 14 วัน 4/ สารฆ่าแมลงไม่ขึ้นทะเบียน spine = spinetoram, cyan = cyantraniliprole, ema benz = emamectin benzoate, fipro = fipronil, chlorfe = chlorfenapyr, aba = abamectin, chlorpy = chlorpyrifos, metho = methomyl
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
105
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
สรุปผลการทดลอง จากการทดลองนี้ทาให้ได้รูปแบบการการหมุนเวียนสารตามกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์รูปแบบใหม่ จานวน 4 รูปแบบที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อนในกล้วยไม้สกุลหวาย โดยรูปแบบการหมุนเวียนฯ ทีมีประสิทธิภาพและมีต้นทุนถูกที่สดุ ใกล้เคียงกับต้นทุนการใช้สารของเกษตรกร คือ รูปแบบที่ IV คือ ทุกรอบ วงจรชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน พ่นสาร spinetoram 12 % W/V SC อัตรา 20 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 5) 1 ครั้ง ตามด้วย abamectin 1.8% EC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 6) 3 ครั้งทุก 5 วัน ตามด้วย fipronil 5% SC อัตรา 50 มล./น้า 20 ลิตร (กลุ่ม 2) 2 ครั้ง ทุก 7 วัน การใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการ ออกฤทธิ์แบบที่ IV นี้ สามารถนาไปเป็นคาแนะนาให้เกษตรกรผู้ผลิตกล้วยไม้สกุลหวายสาหรับการส่งออก ซึ่ง จะลดปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟได้ดีและมีประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดที่ยั่งยืน ทาให้ เกษตรกรสามารถผลิตกล้วยไม้สกุลหวายที่มีคุณภาพและปริมาณ เป็นที่ต้องการของประเทศคู่ค้า เอกสารอ้างอิง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2562. สถิตกิ ารส่งออกดอกกล้วยไม้สด. แหล่งที่มา URL http:// impexp.oae.go.th/service/export.php?S สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2562. ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และสมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น. 2562. พัฒนารูปแบบการ ใช้สารฆ่าแมลงโดยการหมุนเวียนกลุม่ กลไกการออกฤทธิ์เพื่อป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟฝ้ายในกล้วยไม้สกุล หวาย. ใน : ผลงานวิจัยประจาปี 2561 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์) สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น พวงผกา อ่างมณี และวนาพร วงษ์นิคง. 2559. ความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips, Thrips palmi Karny). หน้า 1165-1178. ใน : ผลงานวิจัยประจาปี 2558 เล่มที่ 2 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา และสมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น. 2562. ความเป็นพิษ ของสารฆ่าแมลงชนิดใหม่ต่อเพลี้ยไฟฝ้าย (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย. ใน : ผลงานวิจัยประจาปี 2561. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์. (อยู่ระหว่างการตีพิมพ์) Cannon, R.J.C., L. Matthews, D.W. Collins, E. Agallou, P.W. Bartlett, K.F.A. Walters, A. Macleod, D.D. Slawson and A. Gaunt. 2007. Eradication of an invasive alien pest, Thrips palmi. Crop Protection 26 : 1303-1314. Deuter, P.L. 1989. The development of an insecticide resistance strategy for the Lockyer Valley. Acta Horticulturae 247 : 55-62. Roush, R.T. 1989. Designing resistance management programs: How can you choose? Pestic. Sci 26 : 423-441. 106
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-08
Roush, R.T. and J.C. Daly. 1990. The role of population genetics research in resistance research and management. pp. 97–152. In : Pesticide Resistance in Arthropods, ed. by Roush R.T. and Tabashnik B.E. Chapman and Hall, New York. Srijuntra, S., S. Sukonthabhirom na Pattalung, W. Chotwong, W. Wongnikong and W. Sudjaritthammajariyangkool. 2016. Evaluation of insecticide rotation patterns for controlling Thrips palmi Karny population in Dendrobium orchid farms in Thailand. pp.221-228. In : Proceedings The 12th Asia Pacific Orchid Conference, 19th-27nd March 2016, Impact forum Exhibition and convention center, Muang thong thani, Bangkok, Thailand.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
107
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่ทาลายกล้วยไม้ในห้องปฏิบตั กิ าร Efficacy Testing of Various Insecticides on Mortality of Melon Thrips (Thrips palmi Karny) Damaging Orchids in Laboratory สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น Suprada Sukonthabhirom na Pattalung Srijumnun Srijuntra and Somsak Siripontangmun สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ การทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงทาให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นว่าสารชนิดใดเหมาะสมที่จะใช้แบบ หมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทาน จึงทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ย ไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ที่ทาลายกล้วยไม้ในแปลงเกษตรกรที่ อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี อ าเภอนครชัยศรี อาเภอพุท ธมณฑล อาเภอสามพราน และอาเภอเมื อง นครปฐม จังหวัดนครปฐม ทดลองในห้องปฏิบัติการโดยใช้กลีบดอกกล้วยไม้ชุบสาร spinetoram 12% SC, cyantraniliprole 1 0 % OD, sulfoxaflor 24 % SC, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, abamectin 1.8% EC, emamectin benzoate 1.92% EC, carbosulfan 20% EC, fipronil 5% SC, chlorfenapyr 10% SC และ tolfenpyrad 16% EC โดยชุบสารที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนาและที่ความ เข้มข้นสองเท่าของอัตราแนะนาแล้วให้เพลี้ยไฟที่เก็บ จากที่ต่าง ๆ ดูดกิน บันทึกเปอร์เซ็นต์การตายหลังให้ เพลี้ยไฟดูดกินเป็นเวลา 48 ชั่วโมง ผลการทดลองพบว่าสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายตั้ งแต่ 60 % ขึ้นไปที่อัตรา แนะน า หรื อ ตายตั้ ง แต่ 80 % ขึ้ น ไปที่ ส องเท่ า ของอั ต ราแนะน าในเพลี้ ย ไฟอ าเภอลาดหลุ ม แก้ ว คื อ spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ในเพลี้ ยไฟอ าเภอบางใหญ่ คือ spinetoram, emamectin benzoate, fipronil และ chlorfenapyr ในเพลี้ยไฟอาเภอนครชัยศรีคือ spinetoram และ emamectin benzoate ในเพลี้ยไฟอาเภอพุทธมณฑลคือ emamectin benzoate ในเพลี้ยไฟอาเภอสาม พรานคือ emamectin benzoate และ carbosulfan ในเพลี้ ยไฟอ าเภอเมื อ งนครปฐมคือ spinetoram, fipronil และ chlorfenapyr ข้อมูลที่ได้ทาให้สามารถเลือกสารฆ่าแมลงเพื่อวางแผนการใช้สารแบบหมุนเวียน ในแต่ละพื้นที่เพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ คาสาคัญ : ศัตรูกล้วยไม้ ความต้านทานสารฆ่าแมลง ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง การหมุนเวียนสารฆ่าแมลง
108
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ABSTRACT Testing of insecticide efficacy provides information that initially indicates proper insecticides to be used in insecticide rotation for impeding resistance problem. This experiment investigated efficacy of various insecticides on mortality of melon thrips (Thrips palmi Karny) damaging orchids in farmers’ farms at Lat Lum Kaeo district, Pathum Thani province; Bang Yai district, Nonthaburi province; Nakhon Chai Si district, Phutthamonthon district, Sam Phran district and Mueang Nakhon Pathom district, Nakhon Pathom province. The experiment was conducted in laboratory using petals of orchid flowers dipped with various insecticides; spinetoram 1 2 % SC, cyatraniliprole 1 0 % OD, sulfoxaflor 2 4 % SC, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, abamectin 1.8% EC, emamectin benzoate 1.92% EC, carbosulfan 20% EC, fipronil 5% SC, chlorfenapyr 10% SC and tolfenpyrad 16% EC; at their recommended dose and at 2-fold of their recommended dose and then fed to the melon thrips collected from farmers’ orchid farms. The mortality percentage was recorded after feeding for 48 hr. The results revealed that insecticides that caused > 60% mortality at their recommended dose or > 80% mortality at 2-fold of their recommended dose in thrips from Lat Lum Kaeo district were spinetoram, emamectin benzoate and chlorfenapyr; in thrips from Bang Yai district were spinetoram, emamectin benzoate, fipronil and chlorfenapyr; in thrips from Nakhon Chai Si district were spinetoram and emamectin benzoate; in thrips from Phutthamonthon district was emamectin benzoate; in thrips from Sam Phran district were emamectin benzoate and carbosulfan; in thrips from Mueang Nakhon Pathom district were spinetoram, fipronil and chlorfenapyr. The information obtained could be used for selecting insecticides for planning insecticide rotation in each area to reduce resistance problem in melon thrips damaging orchids. Keywords: Orchid pests, insecticide resistance, insecticide efficacy, insecticide rotation คานา กล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium orchids) เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ ในช่วงปี พ .ศ.2549 ประเทศ ไทยส่งออกกล้วยไม้ ส กุลหวาย 23,334 ตัน มูล ค่ารวม 2,581 ล้านบาท สมศักดิ์และคณะ(, 2554) การผลิต กล้วยไม้สกุลหวายในปัจจุบันมีปัญหาเรื่องศัตรูพืชเป็นอย่างมาก ทาให้ผลผลิตดอกที่ได้ไม่มีคุณภาพตามความ ต้องการของตลาด เพลี้ยไฟเมล่อน )Thrips palmi Karny) จัดเป็นแมลงศัตรูที่สาคัญ ของกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เพลี้ยไฟเม ล่อน ดูดกินน้าเลี้ยงกล้วยไม้ที่บริเวณปลายช่อดอกอ่อนและกลีบดอก ทาให้ดอกมีรอยด่างซีด ดอกกล้วยไม้เสีย 12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
109
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
คุณ ภาพ การระบาดท าลายเกิ ดมากในช่วงฤดูร้อน การท าลายของแมลงชนิดนี้ ท าให้มี ปัญ หาในการผลิต กล้ วยไม้ เพื่ อให้ ได้ คุ ณ ภาพเพื่ อ การส่ง ออก และท าให้ มี เพลี้ ยไฟเมล่อ นติด ไปกั บ ดอกกล้วยไม้ ที่ ส่ ง ไปยั ง ต่างประเทศ ซึ่งเพลี้ยไฟชนิดนี้ได้ถูกระบุไว้ใน Annex IAI ของ EC Plant Health Directive (2000/29/EC) ว่าเป็นแมลงกักกัน และจะต้องถูกกาจัดให้หมดสิ้นเมื่อถูกตรวจพบในสหภาพยุโรป )Cannon et al., 2007( นอกจากนี้ เพลี้ยไฟชนิดนี้ยังเป็นแมลงกัก กันของประเทศสหรัฐอเมริกาอีกด้วย (Hata et al. 1991, 1993) ดังนั้นการดูแลรัก ษากล้วยไม้ให้ปราศจากการทาลายของเพลี้ยไฟเมล่อนจึงมี ความสาคัญ อย่ างมากต่อการ ส่งออก การดูแลรักษากล้วยไม้ให้ปราศจากการทาลายของเพลี้ยไฟท าได้ยากเนื่องจากเพลี้ยไฟมี การแพร่ ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว มีพืชอาศัยหลายชนิด และมีความสามารถในการหลบซ่อนตัว (Nagai, 1993; Murai, 2001; Gao et al., 2012) เกษตรกรมักใช้สารเคมีฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟเมล่อนที่ระบาดในสวน กล้วยไม้เนื่องจากเป็นวิธีที่รวดเร็วและประหยัดแรงงาน แต่การใช้สารฆ่าแมลงซ้า ๆ กันบ่อยครั้งมักทาให้เกิด ปัญหาเพลี้ยไฟมีความต้านทานต่อสารฆ่าแมลง ทาให้จานวนชนิดสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน กาจัดลดลง ทาให้การป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟกล้วยไม้ทาได้ยาก จึงมีปัญหาเพลี้ยไฟติดไปดอกกล้วยไม้ส่งออก ดังนั้นการแก้ปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟเมล่อนจึงเป็นวิธีที่ทาให้การป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟ กล้วยไม้ทาได้ง่ายขึ้นเนื่องจากแมลงศัตรูพืชมีความต้านทานลดลง การแก้ปัญ หาความต้า นทานสามารถทาได้ด้วยการใช้วิธีก ารจัดการความต้านทานต่อสารฆ่าแมลง (Insecticide Resistance Management, IRM) ซึ่งวิธีที่สาคัญใน IRM คือการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียน (insecticide rotation) วิธีการใช้สารแบบหมุนเวียนสามารถแก้ปัญหาเพลี้ยไฟต้านทานต่อสารฆ่าแมลงอย่าง ได้ผล (Immaraju et al., 1990a; Gao et al., 2012) วิธีการนี้จาเป็นจะต้องใช้สารกาจัดแมลงหลาย ๆ กลุ่ม กลไกการออกฤทธิ์ที่ มีป ระสิท ธิภาพและมี ความเป็นพิษสูงต่อแมลงชนิดนั้น ๆ แบบหมุ นเวียนกันในแต่ล ะ ช่วงเวลา หรือในช่วงเวลาหนึ่งช่วงอายุขัยของแมลงชนิดนั้น ๆ (Bielza, 2008; Gao et al., 2012) และในการ ใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนจะต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารกาจัดแมลงที่ มี ประสิทธิภาพต่าหรือแมลงมีความ ต้านทานสูงด้วย ในการวางแผนการใช้ส ารฆ่าแมลงแบบหมุ นเวียนอย่างมี ป ระสิท ธิภาพนั้น จ าเป็ นที่ จ ะต้องทราบ ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงแต่ละชนิดต่อเพลี้ยไฟที่ระบาดในสวนกล้วยไม้ในแต่ละพื้นที่ ข้อมูลทีไ่ ด้จะช่วยใน การเลือกชนิดสารฆ่าแมลงที่มีพิษสูงต่อเพลี้ยไฟ หรือไม่ต้านทานหรือมีความต้านทานน้อยมาใช้ในแผนการใช้ สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนในแต่ละพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม ในปัจจุบันข้อมู ลประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อเพลี้ยไฟเมล่อนที่ท าลายกล้วยไม้ ใน สภาพแปลงเกษตรกรในพื้นที่ต่าง ๆ ของประเทศไทยมีค่อนข้างน้อยและไม่ครอบคลุมในหลาย ๆ พื้นที่ การ ทดสอบในห้องปฏิบัติการเป็นวิธีการที่ทาให้ได้ข้อมูลประสิทธิภาพเบื้องต้นของสารฆ่าแมลงต่อเพลี้ยไฟในหลาย ๆ พื้นที่อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงทาการทดลองเพื่อทราบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตาย 110
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ของเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวายในแปลงเกษตรกรในพื้นที่ต่าง ๆ ในห้องปฏิบัติการ ข้อมูลที่ได้ จะนาไปใช้เป็นคาแนะนาเบื้องต้นในการเลือกชนิดสารฆ่าแมลงเพื่อวางแผนการใช้สารแบบหมุนเวียนในแต่ละ พื้นที่เพื่อแก้ปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ อุปกรณ์และวิธีการ แมลงที่ใช้ทดลอง เนื่องจากเพลี้ยไฟเป็นแมลงที่มีขนาดตัวเล็ก เลี้ยงค่อนข้างยาก มีความต้านทานหรือมีการตอบสนอง ต่อสารฆ่าแมลงเปลีย่ นแปลงได้เร็ว และมีการแพร่พันธุ์จากรุ่นหนึง่ ไปอีกรุ่นหนึ่งใช้เวลาสั้น การเลี้ยงเพลี้ยไฟใน ห้องปฏิบัติการเพื่อใช้ในการทดลองอาจได้เพลี้ยไฟที่มีลักษณะการตอบสนองต่อสารฆ่าแมลงต่างกับเพลี้ยไฟใน สภาพแปลง การใช้เพลี้ยไฟที่เก็ บจากแปลงมาทาการทดลองจะได้ผลใกล้เคียงกั บสภาพ เพลี้ยไฟในแปลง มากกว่า (Shelton, et al., 2003) ดังนั้นการทดลองนี้จึง ใช้เพลี้ยไฟที่ เก็ บ จากแปลงเกษตรกรมาใช้ในการ ทดลอง โดยทาการเก็บเพลี้ยไฟเมล่อนตัวเต็มวัยที่ทาลายดอกกล้วยไม้ในสวนกล้วยไม้สกุลหวายในอาเภอลาด หลุมแก้ว (14o 2’ 36’’ N, 100o 21’ 20’’ E) จังหวัดปทุมธานี, อาเภอบางใหญ่ (13o 51’ 29’’ N, 100o 18’ 51’’ E) จังหวัดนนทบุรี, อาเภอนครชัยศรี (13o 53’ 57’’ N, 100o 15’ 14’’ E) อาเภอพุทธมณฑล (13o 53’ 44’’ N, 100o 16’ 0’’ E) อาเภอสามพราน (13o 43’ 52’’ N, 100o 11’ 15’’ E) และอาเภอเมืองนครปฐม (13o 51’ 15’’ N, 99o 58’ 18’’ E) จังหวัดนครปฐม โดยใช้ที่ดูด )aspirators) นาเพลี้ยไฟที่ดูดได้เก็บ ใส่ใน กล่องพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. สูง 6 ซม.แล้วให้กลีบดอกกล้วยไม้เป็นอาหาร ปิดฝากล่องให้ มิ ดชิ ดเพื่อ กั น เพลี้ย ไฟหนี แล้วน ามาเก็ บ ในกล่องโฟมที่ รัก ษาความเย็ นโดยใช้น้ าแข็ ง แล้ว นากลับ มายั ง ห้องปฏิบัติการที่อุณหภูมิ 25 + 2๐C ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70% ช่วงแสง 12 : 12 ชั่วโมง )สว่าง : มืด( เพื่อทา การทดลอง การเตรียมสารฆ่าแมลง สารฆ่าแมลงที่ใช้แบ่งตามเลขกลุ่มสารของ IRAC (Insecticide Resistance Action Committee) ทา การทดลองที่ อัตราแนะนาและที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนา โดยเตรียมสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่ อัตรา ดังกล่าว โดยใช้น้าที่ผ่านขบวนการ reversed osmosis ที่ผสมสารจับ ใบ (Triton X-100) อัตรา 0.05 มล./ ลิตร ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
สาร spinetoram 12 % SC )กลุ่ม 5( ที่อัตรา 10 และ 20 มล./น้า 20 ลิตร สาร cyatraniliprole 10 % OD )กลุ่ม 28( ที่อัตรา 40 และ 80 มล./น้า 20 ลิตร สาร sulfoxaflor 24 % SC )กลุ่ม 4C( ที่อัตรา 40 และ 80 มล./น้า 20 ลิตร สาร imidacloprid 70 % )กลุ่ม 4A( WG ที่อัตรา 15 และ 30 ก./น้า 20 ลิตร สาร acetamiprid 20 % SP )กลุ่ม 4A( ที่อัตรา 20 และ 40 ก./น้า 20 ลิตร สาร abamectin 1.8 % EC )กลุ่ม 6( ที่อัตรา 50 และ 100 มล./น้า 20 ลิตร สาร emamectin benzoate 1.92 % EC )กลุ่ม 6( ที่อัตรา 30 และ 60 มล./น้า 20 ลิตร 12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
111
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
8. สาร carbosulfan 20 % EC )กลุ่ม 1A( ที่อัตรา 60 และ 120 มล./น้า 20 ลิตร 9. สาร fipronil 5 % SC )กลุ่ม 2B( ที่อัตรา 30 และ 60 มล./น้า 20 ลิตร 10. สาร chlorfenapyr 10 % SC )กลุ่ม 13( ที่อัตรา 30 และ 60 มล./น้า 20 ลิตร 11. สาร tolfenpyrad 16 % EC )กลุ่ม 21A( ที่อัตรา 40 และ 80 มล./น้า 20 ลิตร 12. น้าที่ผสมสารจับใบ Triton X-100 อัตรา 0.05 มล./ลิตร (control) ทาการทดลองโดยใช้วิธีชุบกลีบดอกกล้วยไม้ในสารฆ่าแมลง (petal-dipping method) วิธีนี้ดัดแปลง มาจาก Immaraju et al., (1990b) โดยนากลีบดอกกล้วยไม้ Dendrobium ที่ปราศจากการพ่นสารมาชุบสาร ฆ่าแมลงแต่ละชนิดที่ความเข้มข้นตามอัตราดังกล่าวข้างต้นนาน 10 วินาที ส่วนตัวควบคุม )control) ทาการ ชุบกลีบดอกกล้วยไม้ในน้าที่ผสมสารจับใบ นาไปผึ่งจนแห้งแล้วนาไปให้เพลี้ยไฟดูดกิน การทดสอบการตายของแมลง นากลีบดอกกล้วยไม้ที่ชุบสารฆ่าแมลงที่ผงึ่ จนแห้งแล้วมาใส่ในถ้วยพลาสติกใสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. สูง 6 ซม. ถ้วยละ 2 ชิ้น โดยวางกลีบดอกซ้อนกันเพื่อให้เพลี้ยไฟเมล่อนมีที่หลบอาศัยเพื่อดูดกินน้าเลี้ยง นากล่องที่ใส่เพลีย้ ไฟเมล่อนที่เก็บจากสวนกล้วยไม้ในพื้นที่ต่าง ๆ มาเคาะให้เพลี้ยไฟร่วงลงบนกระดาษขาว A4 ปล่อยให้เพลี้ยไฟเดินแล้วใช้พู่กันขนาดเล็กค่อย ๆ เขี่ยเพลี้ยไฟตัวเต็มวัยเพศเมียที่แข็งแรงโดยดูที่ขนาดลาตัว และความว่องไวในการเดินให้ตกมาอยู่ในถ้วยที่มีกลีบดอกกล้วยไม้ที่ชุบสาร ใส่เพลี้ยไฟในแต่ละถ้วย ๆ ละ 10 ตัวซึ่งเป็น 1 ซ้า ทาการทดลองอย่างน้อย 3-4 ซ้า แล้วแต่ปริมาณเพลี้ยไฟที่เก็บได้จากสวนกล้วยไม้ ปล่อยให้ เพลี้ยไฟดูดกินกลีบดอกกล้วยไม้ที่ชุบสารชนิดต่าง ๆ และที่ชุบสารจับใบ ในห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 48 ชั่วโมง การบันทึกผลและวิเคราะห์ เมื่อเพลี้ยไฟเมล่อนดูดกินกลีบกล้วยไม้ที่ชุบสารครบ 48 ชั่วโมงทาการบันทึกเปอร์เซ็นต์การตายโดย การส่องดูด้วยแว่นขยาย เพลี้ยไฟที่ไม่ตอบสนองต่อการเขี่ยของปลายพู่กนั จะถูกพิจารณาว่าตาย ถ้าพบว่าเพลี้ย ไฟในชุดควบคุม ตาย 5-20 % จะท าการปรับ ค่ าเปอร์เซ็นต์ก ารตายโดยใช้ Abbott’s formula (Abbott, 1925( แต่ถ้าตายเกิน 20 % จะทาการทดลองใหม่ แล้วทาการหาค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การตายและค่า standard deviation (SD) ในการทดลองนี้เพลี้ยไฟในชุดควบคุมตายน้อยกว่า 5% จึงไม่ต้องปรับค่าเปอร์เซ็นต์การตาย ส่วนการประเมินสารฆ่าแมลงที่มี ประสิทธิภาพต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้และ สามารถใช้ในแผนการพ่นสารแบบหมุนเวียนได้ ใช้เกณฑ์ว่าสารชนิดนั้นจะต้องทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนา ส่วน สารฆ่าแมลงที่ สมควรหยุดใช้ชั่วคราวเพื่อลดการพัฒนาความต้านทาน ใช้เกณฑ์ว่าสารชนิดนั้นจะต้องทาให้ เพลี้ยไฟตายน้อยกว่า 20 % ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายน้อยกว่า 40 % ที่ความเข้มข้น 2 เท่า ของอัตราแนะนา
112
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ผลการทดลอง ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวายใน แปลงเกษตรกรมีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ ผลการทดลองพบว่าสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้น ไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนา ในเพลี้ย ไฟจากอาเภอลาดหลุมแก้วคือ สาร spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr )ภาพที่ 1( ในเพลี้ยไฟจากอาเภอบางใหญ่คือ สาร spinetoram, emamectin benzoate, fipronil และ chlorfenapyr )ภาพที่ 2( ในเพลี้ยไฟจากอาเภอนครชัยศรีคือ สาร spinetoram และ emamectin benzoate )ภาพที่ 3( ในเพลี้ยไฟจากอ าเภอพุ ทธมณฑลคือ สาร emamectin benzoate )ภาพที่ 4( ในเพลี้ยไฟจากอาเภอสาม พรานคือ สาร emamectin benzoate และ carbosulfan )ภาพที่ 5( ในเพลี้ยไฟจากอาเภอเมืองนครปฐมคือ สาร spinetoram, fipronil และ chlorfenapyr )ภาพที่ 6( ส่วนสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายน้อยกว่า 20 % ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายน้อยกว่า 40 % ที่ ความเข้ม ข้น 2 เท่ าของอั ตราแนะน าในเพลี้ยไฟฝ้ายจากอาเภอลาดหลุม แก้ วคือ สาร cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, abamectin และ carbosulfan )ภาพที่ 1( ในเพลี้ยไฟฝ้ายจากอาเภอบางใหญ่ คือ สาร cyantraniliprole, imidacloprid และ acetamiprid )ภาพที่ 2( ในเพลี้ยไฟจากอาเภอนครชัยศรีคือ ส า ร cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, acetamiprid, abamectin, carbosulfan แ ล ะ tolfenpyrad )ภาพที่ 3( ในเพลี้ ย ไฟจากอ าเภอพุ ท ธมณฑลคื อ สาร spinetoram, cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, acetamiprid, abamectin, carbosulfan, fipronil และ tolfenpyrad )ภาพที่ 4( ในเพลี้ยไฟจากอ าเภอสามพรานคือ สาร sulfoxaflor, imidacloprid และ acetamiprid )ภาพที่ 5( ใน เพลี้ยไฟจากอ าเภอเมื อ งนครปฐมคื อ สาร cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, acetamiprid, abamectin และ tolfenpyrad )ภาพที่ 6(
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
113
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ภาพที่ 1. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟเมล่อน Thrips palmi ที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย จากสวนกล้วยไม้ในอาเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2561
ภาพที่ 2. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟเมล่อน Thrips palmi ที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย จากสวนกล้วยไม้ในอาเภอ บางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ในปี พ.ศ. 2561
114
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ภาพที่ 3. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟเมล่อน Thrips palmi ที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย จากสวนกล้วยไม้ในอาเภอ นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2561
ภาพที่ 4. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟเมล่อน Thrips palmi ที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย จากสวนกล้วยไม้ในอาเภอ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2561
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
115
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ภาพที่ 5. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟเมล่อน Thrips palmi ที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย จากสวนกล้วยไม้ในอาเภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2561
ภาพที่ 6. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟเมล่อน Thrips palmi ที่ทาลายกล้วยไม้สกุลหวาย จากสวนกล้วยไม้ในอาเภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ในปี พ.ศ. 2561
116
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
วิจารณ์ จากข้อมูลประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ สกุลหวายที่ได้ทาให้สามารถให้คาแนะนาเบื้องต้นในการเลือกชนิดสารฆ่าแมลงที่เหมาะสมในการพ่นสารแบบ หมุนเวียนเพื่อแก้ปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ได้ในหลายพื้นที่ คาแนะนาเบื้อ งต้น ในการเลือ กชนิดสารฆ่าแมลงเพื่ อวางแผนการใช้ส ารแบบหมุ นเวียนในแปลง เกษตรกรที่อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานีคือ เกษตรกรควรใช้สารฆ่าแมลง spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr แบ บ หมุ นเวี ย นเพื่ อลดปั ญ ห าความต้ า นท า น และควรงดใช้ ส าร cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, abamectin และ carbosulfan ชั่วคราวเพื่อป้องกันการเกิด ปัญหาเพลี้ยไฟมีความต้านทานสูงต่อสารดังกล่าว )ตารางที่ 1 และ 2) ในการใช้สารแต่ละชนิดแบบหมุนเวียนตามคาแนะนาจะต้องคานึงถึงเลขกลุ่ม สารด้วย จุดสาคัญคือ สารแต่ละเลขกลุ่ม สามารถใช้ติดต่อ กันได้ไม่เกิน 3 ครั้ง ในหนึ่งชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟหรือ ประมาณ 15 วัน (Broughton and Herron, 2007) เช่น ในตารางที่ 2 จะเห็นว่าในสวนกล้วยไม้ของเกษตรกรที่อาเภอลาดหลุม แก้ว จังหวัดปทุมธานี ในช่วง 15 วันแรก พ่น spinetoram )กลุ่ม 5( จานวน 1-3 ครั้ง ในช่วง 15 วันถัดมาพ่น emamectin benzoate )กลุ่ม 6( จานวน 1-3 ครั้ง ในช่วง 15 วันถัดมาพ่น chlorfenapyr )กลุ่ม 13( จานวน 1-3 ครั้ง ในช่วง 15 วันถัดมาพ่น spinetoram )กลุ่ม 5( จานวน 1-3 ครั้ง หมุนเวียนแบบนี้ไปเรื่อย ๆ โดยจะ เห็นว่าการพ่นสารแต่ละเลขกลุ่มเสร็จแล้วจะต้องมีการหยุดพักการพ่นสารเลขกลุ่มเดียวกันในรอบชั่วอายุขัย ถัด ไปอย่ างน้ อ ย 1 รอบ หรือ 15 วัน แล้ วจึ ง จะกลับ มาพ่ น สารเลขกลุ่ ม เดิ ม ได้ ซึ่ง แผนการพ่ นสารแบบ หมุนเวียนแบบนี้เป็นวิธีที่มีการใช้ในการแก้ปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟชนิด Frankliniella occidentalis (Pergande) ในประเทศออสเตรเลีย แต่ช่วงการพ่นอาจเป็น 15-35 วันขึ้นกับระยะชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟใน ฤดูต่าง ๆ (Broughton and Herron, 2007) ส่วนในประเทศสหรัฐอเมริกาใช้ช่วงการพ่น 20-30 วัน (Robb and Parrella, 1995) ในช่วงการพ่นดังกล่าวอาจยาวนานถึงสองชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟซึ่งมีชั่วอายุขัยแต่ละชั่ว ประมาณ 15 วัน ในประเทศไทยภูมิอ ากาศค่อนข้างร้อนและอุณหภูมิในแต่ละฤดูกาลไม่ต่างกันมาก ดังนั้น แผนการพ่นในช่วงชั่วอายุขัยเพลี้ยไฟที่ 15 วันน่าจะเหมาะสม อย่างไรก็ตามถ้ามีปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วยก็อาจ ปรับให้เหมาะสมได้ตามสถานการณ์ ในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ในแปลงเกษตรกรที่อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เกษตรกรควร ใช้สาร spinetoram, emamectin benzoate, fipronil และ chlorfenapyr แบบหมุนเวียน และควรงดใช้ สาร cyantraniliprole, imidacloprid และ acetamiprid ชั่วคราว )ตารางที่ 1 และ 2( ในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ในแปลงเกษตรกรที่อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เกษตรกร ควรใช้สาร spinetoram และ emamectin benzoate แบบหมุนเวียน และควรงดใช้สาร cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, acetamiprid, abamectin, carbosulfan และ tolfenpyrad ชั่วคราว )ตาราง ที่ 1 และ 2( 12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
117
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
ในเพลี้ยไฟเมล่อ นที่ ท าลายกล้วยไม้ในแปลงเกษตรกรที่ส วนกล้วยไม้ ที่ อาเภอพุท ธมณฑล จัง หวัด นครปฐม เกษตรกรควรใช้ ส าร emamectin benzoate แบบหมุ น เวี ย นโดยอาจหมุ น เวี ยนกั บ สารที่ มี ประสิทธิภาพต่อการตายของเพลีย้ ไฟต่ากว่า เช่น สาร chlorfenapyr เพื่อลดปัญหาความต้านทาน )ตารางที่ 1 และ 2( ซึ่งถ้าใช้สารที่มีประสิทธิภาพต่อการตายต่าเกินไปก็จะเหมือนกับการไม่ได้มีการหมุนเวียนการใช้สาร เพราะจะไม่ ส ามารถแก้ ปั ญ หาความต้ า นทานได้ (Broughton and Herron, 2007) และควรงดใช้ ส าร spinetoram, cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, acetamiprid, abamectin, carbosulfan, fipronil และ tolfenpyrad ชั่ว คราว )ตารางที่ 1( เป็ น ที่ น่ าสั ง เกตว่าสาร spinetoram ซึ่ ง เป็ น สารที่ มี ประสิท ธิภ าพสูง ต่อ การตายของเพลี้ยไฟในหลายพื้ นที่ )ภาพที่ 1-3 และ 6) แต่ในสวนกล้วยไม้ ในแปลง เกษตรกรอาเภอพุทธมณฑลสารชนิดนี้กลับ มีประสิทธิภาพต่อการตายของเพลี้ยไฟต่า )ภาพที่ 4) ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากเพลี้ยไฟในสวนกล้วยไม้ดังกล่าวอาจมีความต้านทานต่อสาร spinetoram แล้ว ในเพลี้ยไฟเมล่อ นที่ ท าลายกล้วยไม้ ในแปลงเกษตรกรที่ ส วนกล้วยไม้ ที่ อาเภอสามพราน จัง หวัด นครปฐม เกษตรกรควรใช้สาร emamectin benzoate และ carbosulfan แบบหมุนเวียน และควรงดใช้สาร sulfoxaflor, imidacloprid และ acetamiprid ชั่วคราว )ตารางที่ 1 และ 2( ในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ในแปลงเกษตรกรที่สวนกล้วยไม้ที่อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัด นครปฐม เกษตรกรควรใช้สาร spinetoram, fipronil และ chlorfenapyr แบบหมุนเวียน และควรงดใช้สาร cyantraniliprole, sulfoxaflor, imidacloprid, acetamiprid, abamectin และ tolfenpyrad ชั่ วคราว )ตารางที่ 1 และ 2( ทั้งนี้การให้คาแนะนาการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนแก่เกษตรกรในพื้นที่ต่ าง ๆ นั้นเกษตรกรอาจ ไม่สามารถปฏิบัติได้ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้เกษตรกรพิจารณาคาแนะนานั้น ๆ ร่วมด้วยว่ามีข้อเสีย หรือข้อด้อยด้านใดบ้าง เพื่อจะได้ปรับปรุงคาแนะนาใหม่ ให้เหมาะสมกับเกษตรกรในแต่ละพื้นที่อีกครั้ง โดย อาจจะต้องมีการใช้สารฆ่าแมลงที่อยู่ในกลุ่มอื่นหรือชนิดอื่นเพิ่มเติมหรือทดแทนโดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาความ ต้านทานมากขึ้น หรือ ใช้ส ารฆ่าแมลงที่ มี ร าคาถูกแต่มีป ระสิท ธิภาพปานกลางในบางครั้ง เพื่อให้เกษตรกร สามารถปฏิบัติได้อย่างแท้จริง ตารางที่ 1. คาแนะนาชนิดสารฆ่าแมลงทีส่ ามารถใช้ในการพ่นแบบหมุนเวียน และชนิดสารฆ่าแมลงที่ควรงด เว้นในการพ่นสาร เพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ในแต่ละพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2561
118
จังหวัด
อาเภอ
ปทุมธานี
ลาดหลุมแก้ว
ชนิดสารฆ่าแมลง (กลุ่มสารฆ่าแมลง) ที่สามารถใช้ในการพ่นสาร แบบหมุนเวียน
ชนิดสารฆ่าแมลง (กลุ่มสารฆ่าแมลง) ที่ควรงดเว้น ในการพ่นสาร
spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
cyantraniliprole (กลุ่ม 28) sulfoxaflor (กลุ่ม 4C) imidacloprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) carbosulfan (กลุ่ม 1A)
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” นนทบุรี
บางใหญ่
spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) fipronil (กลุ่ม 2B) chlorfenapyr (กลุ่ม 13) spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
นครปฐม
นครชัยศรี
นครปฐม
พุทธมณฑล
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
นครปฐม
สามพราน
emamectin benzoate (กลุ่ม 6) carbosulfan (กลุ่ม 1A)
นครปฐม
เมืองนครปฐม
OEB-09
cyantraniliprole (กลุ่ม 28) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) cyantraniliprole (กลุ่ม 28) sulfoxaflor (กลุ่ม 4C) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) carbosulfan (กลุ่ม 1A) tolfenpyrad (กลุ่ม 21A) spinetoram (กลุ่ม 5) cyantraniliprole (กลุ่ม 28) sulfoxaflor (กลุ่ม 4C) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) carbosulfan (กลุ่ม 1A) fipronil (กลุ่ม 2B) tolfenpyrad (กลุ่ม 21A) sulfoxaflor (กลุ่ม 4C) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) cyantraniliprole (กลุ่ม 28) sulfoxaflor (กลุ่ม 4C) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) tolfenpyrad (กลุ่ม 21A)
spinetoram (กลุ่ม 5) fipronil (กลุ่ม 2B) chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
ตารางที่ 2. ตัวอย่างรูปแบบการพ่นสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ )กลุ่มสาร( แบบหมุนเวียนในแต่ละช่วง 15 วัน เพื่อลดปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลายกล้วยไม้ในพื้นที่ต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561 อาเภอ จังหวัด อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
สารที่พ่นในช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) spinetoram (กลุ่ม 5)
สารที่พ่นในช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
สารที่พ่นในช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
สารที่พ่นในช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) spinetoram (กลุ่ม 5)
อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
fipronil (กลุ่ม 2B)
chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
119
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
อาเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
OEB-09
emamectin benzoate สารฆ่าแมลงกลุ่มอื่น ๆ ที่ emamectin benzoate สารฆ่าแมลงกลุ่มอื่น ๆ ที่ (กลุ่ม 6) ไม่ใช่กลุ่ม 6 ซึ่งอาจมี (กลุ่ม 6) ไม่ใช่กลุ่ม 6 ซึ่งอาจมี ประสิทธิภาพรองลงมา ประสิทธิภาพรองลงมา เช่น chlorfenapyr เช่น chlorfenapyr (กลุ่ม 13) (กลุม่ 13) emamectin benzoate carbosulfan สารฆ่าแมลงกลุ่มอื่น ๆ ที่ emamectin benzoate (กลุ่ม 6) (กลุ่ม 1A) ไม่ใช่กลุ่ม 6 และกลุม่ (กลุ่ม 6) 1Aซึ่งอาจมีประสิทธิภาพ รองลงมา เช่น chlorfenapyr (กลุ่ม 13) spinetoram fipronil chlorfenapyr spinetoram (กลุ่ม 5) (กลุ่ม 2B) (กลุ่ม 13) (กลุ่ม 5)
สรุปผลการทดลอง จากการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อนที่ทาลาย กล้วยไม้สกุลหวายในพื้นที่ ต่าง ๆ พบว่าสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่อัตราแนะนา หรือตาย ตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่สองเท่าของอัตราแนะนาในเพลี้ยไฟอาเภอลาดหลุมแก้วคือ spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ในเพลี้ ย ไฟอ าเภอบางใหญ่ คื อ spinetoram, emamectin benzoate, fipronil และ chlorfenapyr ในเพลี้ยไฟอาเภอนครชัยศรีคือ spinetoram และ emamectin benzoate ใน เพลี้ ย ไฟอ าเภอพุ ท ธมณฑลคื อ emamectin benzoate ในเพลี้ ย ไฟอ าเภอสามพรานคื อ emamectin benzoate แ ล ะ carbosulfan ใน เพ ลี้ ย ไฟ อ า เภ อ เมื อ งน ค รป ฐ ม คื อ spinetoram, fipronil แ ล ะ chlorfenapyr ผลจากการทดลองทาให้สามารถเลือกชนิดสารฆ่าแมลงที่มี ประสิท ธิภาพสูงต่อการตายของ เพลี้ยไฟเพื่อวางแผนการพ่นสารแบบหมุนเวียนเบื้องต้นเพื่อลดหรือชะลอปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลง ได้ในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังทราบชนิดสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพต่าต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อนและ สมควรงดใช้ชั่วคราวเพื่อป้องกันการสร้างความต้านทานระดับสูง ข้อมูลที่ได้สามารถนาไปใช้ในการให้ความรู้ เกษตรกรเพื่อส่งเสริมรณรงค์ ให้มีการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุ นเวียนที่ ถูก ต้องเพื่อลดปัญ หาการสร้างความ ต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ ยไฟเมล่อ นที่ท าลายกล้วยไม้ ซึ่งจะทาให้ ผู้ปลูกกล้วยไม้ส กุลหวายสามารถ ป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟได้ง่ายขึ้นและสามารถผลิตดอกกล้วยไม้ที่มีคุณภาพปราศจากการทาลายของเพลี้ยไฟได้ เพิ่มมากขึ้น เอกสารอ้างอิง สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น อุราพร หนูนารถ สมรวย รวมอภิชัยกุล และศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา .2554 .เอกสาร วิชาการ แมลงศัตรูผัก เห็ด และไม้ดอก. กลุ่มบริหารศัตรูพืช และกลุ่มกีฏและสัตววิทยา สานักวิจัย พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร .74 หน้า. 120
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
Abbott, W.S. 1925. A method of computing the effectiveness of an insecticide. J. Econ. Entomol. 18: 265-267. Bielza, P. 2008. Insecticide resistance management strategies against the western flower thrips, Frankliniella occidentalis. Pest Manag. Sci. 64: 1131-1138. Broughton, S. and G.A. Herron. 2007. Frankliniella occidentalis (Pergande) (Thysanoptera: Thripidae) chemical control: insecticide efficacy associated with the three consecutive spray strategy. Aust. J. of Entomol. 46: 140-145. Cannon, R.J.C., L. Matthews, D.W. Collins, E. Agallou, P.W. Bartlett, K.F.A. Walters, A. Macleod, D.D. Slawson and A. Gaunt. 2007. Eradication of an invasive alien pest, Thrips palmi. Crop Protection 26:1303-1314. Gao, Y., Z. Lei and S.R. Reitz. 2012. Western flower thrips resistance to insecticides: detection, mechanisms and management strategies. Pest Manag. Sci. 68: 1111-1121. Hata, T.Y., A.H. Hara, B.K.S. Hu, R.T. Kaneko and V.L. Tenbrink. 1993. Field sprays and insecticidal dips after harvest for pest management of Franklinella occidentalis and Thrips palmi (Thysanoptera: Thripidae) on orchids. J. Econ. Entomol. 86: 1483-1489. Hata, T.Y., A.H. Hara and J.D. Hanson. 1991. Feeding preference of melon thrips on orchids in Hawaii. Hort. Science 26: 1294-1295. Immaraju, J.A., J.G. Morse and R.F. Hobza. 1990a. Field evaluation of insecticide rotation and mixtures as strategies for citrus thrips (Thysanoptera: Thripidae) resistance management in California. J. Econ. Entomol. 83(2): 306-314. Immaraju, J.A., J.G. Morse and O.L. Brawner. 1990b. Evaluation of three bioassay techniques for citrus thrips resistance and correlation of the leaf dip method to field mortality. J. Agric. Entomol. 7(1): 17-27. Murai, T., 2001. The pest and vector from the East: Thrips palmi. In: Marullo, R. and Mound, L. (Eds.), Thrips and Tospoviruses: Proceedings of the Seventh International Symposium on Thysanoptera, Reggio Calabria, Italy, 2-7 July 2001, pp. 19-32. Nagai, K. 1993. Integrated pest management of Thrips palmi Karny in eggplant fields. In: Proceedings on an International Symposium on the Use of Biological Control Agents under Integrated Pest Management., Fukuoka, Japan, 4-10 October, 1993. Robb, K.L. and M.P. Parrella. 1995. IPM of western flower thrips, pp. 365-370. In: B.L. Parker, M. Skinner and T. Lewis [eds.], Thrips biology and management. Plenum, New York.
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
121
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-09
Shelton, A.M., B.A. Nault, J. Plate and J.-Z. Zhao. 2003. Regional and temporal variation in susceptibility to lambda-cyhalothrin in onion thrips, Thrips tabaci (Thysanoptera: Thripidae), in onion fields in New York. J. Econ. Entomol. 96(6): 1843-1848.
122
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
ความเป็นพิษของอีโคฟูมที่มตี ่อด้วงถั่วเขียว Callosobruchus maculatus F. และด้วงถั่วเหลือง Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera) Toxicity of ECO2FUME® against Callosobruchus maculatus F. and Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera) สิรีธร โพธิกัน1, 2 ดวงสมร สุทธิสุทธิ์3 รังสิมา เก่งการพานิช3 และ อธิราช หนูสีดา1 Siritorn Potikan1, 2 Dungsamorn Suthisut3 Rungsima Kengkanpanich3 and Atirach Noosidum1 1
ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร จ.กรุงเทพมหานคร 10900 Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายภาคที่ 3 อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110 2 Cane and Sugar Promotion Center Region 3, Chonburi 20110 3 กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร เขตจตุจักร จ.กรุงเทพมหานคร 10900 3 Postharvest and Processing Research and Development Division, Department of Agriculture, Bangkok 10900 1
บทคัดย่อ ด้วงถั่วเขียว (Callosobruchus maculatus F.) และด้วงถั่วเหลือง (Callosobruchus chinensis L.) จัดเป็นแมลงศัตรูที่สาคัญทางเศรษฐกิจของถั่วเขียวทั้งในสภาพไร่และในโรงเก็บ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ ที่จะศึกษาความเป็นพิษของอีโคฟูมที่มีตอ่ ด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองระยะต่างๆ ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้อี โคฟูมความเข้มข้น 0, 250, 500, 750, 1000 และ 1250 ppm รมนาน 24 ชั่วโมง วางแผนการทดลองแบบ CRD และทาการทดลองซ้า 4 ซ้า ผลการศึกษาพบว่าทุกระยะของแมลงทั้ง 2 ชนิดที่ผ่านการรมอีโคฟูมอัตรา 250-1250 ppm มีการตายมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ โดยระยะไข่ ระยะหนอน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย ของแมลงทั้ ง 2 ชนิ ด มี ก ารตายอยู่ ร ะหว่ า ง 75.30-83.60, 99.82-100.00, 81.80-100.00 และ 100.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เมล็ดถั่วเขียวที่ผ่านการรมด้วยอีโคฟูมความเข้มข้น 1250 ppm นาน 24 ชั่วโมง และ เมล็ดในชุดควบคุม (0 ppm) มีอัตราการงอกไม่แตกต่างกัน (มากกว่า 98.50 เปอร์เซ็นต์) อย่างไรก็ตามการ ทดลองพบว่าต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดที่ผ่านการรมด้วยอีโคฟูมมีความสูงน้อยกว่าเมล็ด ในชุดควบคุม 4.9 เท่า จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าอีโคฟูมมีประสิทธิภาพดีในการควบคุมด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลือง การใช้อีโคฟูม ควบคุมแมลงทั้ง 2 ชนิดจะช่วยลดการใช้ฟอสฟีนความเข้มข้นสูงได้ ซึ่งจะชักนาให้แมลงทั้ง 2 ชนิดสร้างความ ต้านทานฟอสฟีนลดลง คาสาคัญ : อีโคฟูม สารรม ด้วงถั่วเขียว ด้วงถั่วเหลือง ถั่วเขียว
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
123
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
ABSTRACT The cowpea weevil ( Callosobruchus maculatus F.) and southern cowpea weevil (Callosobruchus chinensis L.) are important economic insect pests of mung beans in both field and storage. The objective of this work was to study the toxicity of ECO2FUME® against various stages of cowpea and southern cowpea weevils under laboratory condition. The experiment was designed in CRD with the rate of 0, 250, 500, 750, 1000 and 1250 ppm of ECO2FUME® for 24 hours and 4 replications. The results showed that egg, larval, pupal and adult stages of both insects which were fumigated by ECO2FUME® at the rate of 250-1250 ppm ranged from 75.30-83.60% 99.82-100.00%, 81.80-100.00% and 100.00%, respectively. The seed germination rate of mung bean seeds between ECO2FUME® treatment (1250 ppm for 24 hours) and control treatment (0 ppm) was not different ( >98.50% of seed germination). Nevertheless, the sprout height of the ECO2FUME® treatment was lower than the control treatment for 4.9 times. Overall results indicated that ECO2FUME® was effective for controlling all stages of cowpea and southern cowpea weevils under laboratory condition. Using of ECO2FUME® to control these two insects will decrease the high concentration of phosphine application that leads to decrease of phosphine resistance of these two insects. Keywords: ECO2FUME®, fumigant, cowpea weevil, southern cowpea weevil, mung bean คานา ถั่วเขียวเป็นพืชที่จัดอยู่ในกลุ่มอาหารเพื่อสุขภาพ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายประเภท เช่น ใช้บริโภคเมล็ดโดยตรง ผลิตถั่วงอก วุ้นเส้น แป้งถั่วเขียว และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ (สานักวิจัยและพัฒนาการ เกษตรเขตที่ 2, 2552) อย่างไรก็ตามการเก็บรักษาผลผลิตของถั่ วเขียวมั กประสบปัญหาการเข้าทาลายของ แมลงศัตรูหลังการเก็บเกี่ยวที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เพราะแมลงในโรงเก็บ สามารถแพร่ขยายพันธุ์ได้ง่าย มีวงจรชีวิตสั้น ทาให้มีประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะเข้าทาลายและสร้าง ความเสี ย หายให้ กั บ เมล็ ด ถั่ วเขี ย วทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม (เกรี ย งไกร, 2521) โดยเฉพาะด้ วงถั่ วเขี ย ว (Callosobruchus maculatus F.) และด้วงถั่วเหลือง (Callosobruchus chinensis L.) (พรทิพย์ และคณะ, 2551) ด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองสามารถเข้าทาลายเมล็ดพืชตระกูลถั่วได้ทุกชนิดทั้งในสภาพไร่และในโรง เก็บ โดยแมลงจะเริ่มเข้าทาลายตั้งแต่เมล็ดเริ่มแก่ที่อยู่ในไร่และภายหลังการเก็บเกี่ยว ตัวเมียวางไข่ที่เปลือก เมล็ด จากนั้นหนอนจะเข้ากัดกินภายในเมล็ดแล้วเจริญเติบโตเป็นดักแด้ และตัวเต็มวัยจะเจาะออกมาทาให้ เมล็ดถูกทาลายเป็นรูพรุน (เกรียงไกร, 2521) สร้างความเสียหายให้กับผลผลิต 5-10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี (กองกีฏ 124
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
และสัตววิท ยา, 2540) วิธีที่ นิยมใช้ป้อ งกั นก าจัดด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองในโรงเก็ บ คือ การรมด้วย สารเคมี เช่น เมทิ ล โบรไมด์ (methyl bromide) หรือ ฟอสฟีน (phosphine) (Bell, 2000) อย่างไรก็ ตาม เมทิลโบรไมด์เป็นสารเคมีที่ส่งผลกระทบต่อชั้นบรรยากาศโอโซน ซึ่งถูกห้ามใช้ในบางประเทศ (Ryan et al, 2006) รวมถึงประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 (กรรณิการ์ และคณะ, 2558) ส่วนฟอสฟีนมีข้อจากัดในการใช้ งาน คือต้องใช้เวลาในการรมยาวนานกว่าเมทิลโบรไมด์ ซึ่งปัจจุบันพบว่าแมลงทนทานต่อการใช้ ฟอสฟีนเพิ่ม มากขึ้น (Bell, 2000) นอกจากนั้นเมื่อใช้ฟอสฟีนที่มีความเข้มข้นสูงก็จะมีผลต่อความงอกของเมล็ดพันธุ์อีก ด้วย (Sittisuang and Nakakita, 1985) ด้วยข้อจากัดข้างต้นอีโคฟู ม (ECO2FUME®) จึงได้ถูกนามาทดลองเพื่อใช้ควบคุมแมลงศัตรูผลิตผล เกษตร ซึ่งพบว่าอีโคฟู ม ความเข้มข้น 350-1,000 ppm สามารถก าจัดด้วงงวงข้าวโพด และมอดแป้งได้เป็น อย่างดี (กรรณิการ์ และคณะ, 2558) นอกจากนั้นอีโคฟูมเป็นสารรมที่มีคุณสมบัติไม่ติดไฟ ไม่ทาลายชั้นโอโซน มีความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพสูงอีกด้วย (พรทิพย์ และคณะ, 2551) การทดลองครั้งนี้จึงมีเ ป้าหมายใน การทดสอบประสิท ธิภาพของอีโคฟูมความเข้มข้นต่างๆ ที่มี ต่อด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลือง และทดสอบ ความงอกของเมล็ดถั่วเขียวหลังการใช้อีโคฟูม เพื่อเป็นแนวทางในการกาจัดแมลงศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยวทั้ง 2 ชนิด อุปกรณ์และวิธีการ 1. การทดสอบประสิทธิภาพของอีโคฟูมที่มีตอ่ ระยะต่าง ๆ ของด้วงถั่วเขียว และด้วงถั่วเหลือง การเลี้ยงขยายพันธุ์แมลง นาเมล็ดถั่วเขียวที่ ล้างท าความสะอาดแล้ว ผึ่งให้แห้ง และนาไปอบที่ อุณ หภูมิ 65 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 6 ชั่วโมง เพื่อฆ่าแมลงที่กาลังพัฒนาภายในเมล็ด ชั่งถั่วเขียวที่อบแล้วปริมาณ 50 กรัม ใส่ในขวดแก้ว ทรงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.8 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตร จากนั้นใส่ตัวเต็ม วัยด้วงถั่วเขียวหรือ ด้วงถั่วเหลือง (ได้รับความอนุเคราะห์จากกองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผล เกษตร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) จานวน 50 ตัวต่อขวด ปิดฝาขวดเลี้ยงแมลงด้วย กระดาษซับ เก็บไว้ที่อุณหภูมิ 25±5 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 75±5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 2 วัน จึงนา ตัวเต็มวัยออกจากขวดแก้ว ปิดฝาขวดแก้วด้วยกระดาษซับอีกครั้ง และเก็บไว้จนกระทั่งระยะไข่ของด้วงทั้ง 2 ชนิดพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย การทดสอบประสิทธิภาพ เตรียมขวดแก้วเลี้ยงแมลงและเมล็ดถั่วเขียวตามวิธีการเลี้ยงข้างต้น ใส่ด้วงถั่วเขียวหรือด้วงถั่วเหลือง ตัวเต็มวัยอายุ 0-7 วัน ลงในขวดแก้วจานวน 50 ตัวต่อขวด ปิดฝาขวดเลี้ยงแมลงด้วยกระดาษซับเพื่อใช้ในการ ทดสอบของระยะตัวเต็มวัย สาหรับระยะไข่ ระยะหนอน และระยะดักแด้ให้เก็บขวดแก้วที่บรรจุตัวเต็มวัยของ ด้วงทั้ง 2 ชนิดไว้ที่อุณหภูมิ 25±5 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 75±5 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 2 วัน จึงนา 12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
125
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
ตัวเต็ม วัยออกจากขวดแก้ ว เก็ บ รัก ษาขวดแก้ วที่ บ รรจุ เมล็ด ถั่วเขียว ซึ่ งแมลงจะพั ฒ นาตั วเป็ น ระยะไข่ ระยะหนอน และระยะดักแด้ภายใน 2, 10 และ 16 วัน ตามลาดับ เมื่อครบกาหนดเวลานาเมล็ดถั่วเขียวใส่ใน ถุงผ้าฝ้ายที่ มี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 เซนติเมตร ยาว 8 เซนติเมตร หลังจากนั้นนาแมลงทุ กระยะการ เจริญ เติบโต (จ านวน 4 ซ้า) ใส่ไว้ในโหลแก้ วดูดความชื้นขนาด 2.85 ลิตร และปิดฝา จากนั้นปล่อยอีโคฟูม ความเข้มข้น 0, 250, 500, 750, 1000 และ 1250 ppm จากถุงเก็บ ก๊าซ (Tedlar bags) ใส่ล งไปในโหลดูด ความชื้นด้วยหลอดฉีดยา รมทิ้งไว้เป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง เมื่อครบตามระยะเวลาที่กาหนด เปิดโหลแก้วเพื่ อ ระบายก๊าซออกเป็นเวลา 30 นาที ตรวจนับอัตราการตายของตัวเต็มวัยของแมลงทั้ง 2 ชนิด สาหรับระยะไข่ ระยะหนอน และระยะดักแด้ นามาเก็บในขวดแก้วเลี้ยงแมลงอีกครั้ง เพื่อรอให้เป็นระยะตัวเต็มวัยจึงนามา ตรวจนับและบันทึกอัตราการตาย 2. การตรวจสอบความสามารถในการงอกของเมล็ดหลังการรมด้วยสารทดสอบ ทดสอบความสามารถในงอกของเมล็ดพืชหลังการรมด้วยอีโคฟูมความเข้มข้นที่สามารถควบคุมทุ ก ระยะการเจริญเติบโตของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ด้วยวิธี standard germination test (ISTA, 2008) โดยน าเมล็ ด ถั่ ว เขี ย วจ านวน 50 กรั ม ใส่ ในถุ ง ผ้ า ฝ้ า ยที่ มี ข นาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 6 เซนติเ มตร ยาว 8 เซนติเ มตร และรมด้วยอีโ คฟู ม ความเข้ ม ข้น 0 และ 1250 ppm รมเป็ นระยะเวลา 24 ชั่วโมง ตามวิธีการทดลองที่ 1 สุ่มเมล็ดที่ผ่านการรมจานวน 100 เมล็ด (จานวน 4 ซ้า) จากนั้นโรยเมล็ดลง ในจานเพาะเชื้อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร ที่มีกระดาษทิชชู่วางซ้อนกัน 5 ชั้น ให้กระจายทั่วจาน เพาะเชื้อ ฉีดน้ากลั่นปริมาตร 1 มิลลิลิตรด้วยหัวฉีดฟ็อกกี้ทุกวัน เมื่อครบ 5 วัน บันทึกความสามารถในการ งอก และสุ่มต้นกล้าแบบง่ายโดยใช้วิธีการจับฉลากจานวน 10 ต้นจากแต่ละซ้า เพื่อวัดความสูงของต้นกล้า 3. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ทุ ก การทดลองวางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบู รณ์ (Completely Randomized Design, CRD) นาผลการทดลองไปวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนโดยใช้ One way ANOVA และเปรียบเทียบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยโดยใช้ Tukey’s HSD test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ประเมินค่าความเข้มข้นของอีโค ฟูมที่ทาให้ระยะต่าง ๆ ของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองตาย 99 เปอร์เซ็นต์ (LC99) โดยวิธี Probit analysis (Finney, 1971) เปรี ย บเที ย บความแตกต่ า งความสามารถในการงอกและความสู ง ของต้ น กล้ า โดยใช้ Paired-Samples T-test ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ ด้วยโปรแกรม SPSS version 13.0 ผลการทดลองและวิจารณ์ การทดสอบประสิทธิภาพของอีโคฟูมที่มีต่อระยะต่าง ๆ ของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลือง การทดสอบประสิทธิภาพของอีโคฟูมที่มีต่อระยะต่าง ๆ ของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองตามอัตรา แนะน าที่ ค วามเข้ ม ข้ น 250, 500, 750, 1000 และ 1250 ppm รมนาน 24 ชั่ ว โมง พบว่ า อี โ คฟู ม ท าให้ 126
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
ระยะต่าง ๆ ของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองตายแตกต่างกับชุดควบคุมอย่างมีนัยสาคัญ (P<0.001) ดังแสดง ในตารางที่ 1 โดยระยะไข่ของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองมีการตายอยู่ระหว่าง 75.30-83.60 เปอร์เซ็นต์ (F=312.37; df=10, 33; P<0.001) ร ะ ย ะ ห น อ น มี ก า ร ต า ย สู ง ถึ ง 99.82-100.00 เป อ ร์ เซ็ น ต์ (F=185.35; df=10, 33; P<0.0001) ร ะ ย ะ ดั ก แ ด้ มี ก า ร ต า ย สู ง ถึ ง 81.80-100.00 เป อ ร์ เซ็ น ต์ (F=450.22; df=10, 33; P<0.001) และระยะตัวเต็ม วัยของแมลงทั้ง 2 ชนิดมีก ารตาย 100.00 เปอร์เซ็นต์ (F=0.00; df=10, 33; P<0.001) ผลการทดลองข้างต้นสอดคล้องกับการทดลองของกรรณิการ์ และคณะ (2558) ที่ใช้อีโคฟูมในการ กาจัดด้วงงวงข้าวโพดและมอดแป้ง ที่ เข้าท าลายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายใต้ผ้าพลาสติก (gas-proof sheet) พบว่าความเข้มข้นของอีโคฟูมที่สามารถกาจัดแมลงทั้ง 2 ชนิดได้ทุกระยะการเจริญเติบโต คือ 350, 700 และ 1000 ppm ที่รมนาน 3, 2 และ 1 วัน ตามลาดับ นอกจากนั้น นุช (2547) ศึกษาการใช้อีโคฟูมความเข้มข้น 840 ppm รมนาน 7 วัน เพื่อกาจัดด้วงงวงข้าว มอดข้าวเปลือก มอดแป้ง มอดฟันเลื่อยใหญ่ ผีเสื้อข้าวเปลือก และผีเสื้อข้าวสาร พบว่าทุกระยะการเจริญเติบโตของแมลงทั้ง 6 ชนิด มีการตายอยู่ระหว่าง 99.66-100.00 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม การทดลองนี้พ บว่าระยะไข่และระยะดักแด้ของแมลงศัตรูพืช ทั้ ง 2 ชนิดต้องรมด้วย อีโคฟูม ที่ มี ความเข้ม ข้น สูงกว่าในระยะตั วอ่อนและตัวเต็ม วัย จึง จะสามารถก าจัดได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่ ง สอดคล้องกั บกรรณิก าร์ และคณะ (2558) ที่ รายงานว่าการใช้อีโคฟูม ความเข้มข้น 500 ppm รมนาน 72 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 6 องศาเซลเชียส สามารถกาจัดเพลี้ยไฟฝ้ายระยะตัวอ่อนและระยะตัวเต็มวัยได้ แต่ในระยะ ไข่ของเพลี้ยไฟฝ้ายต้องใช้อีโคฟูมความเข้มข้นสูงถึง 2000 ppm จึงจะสามารถกาจัดเพลี้ยไฟระยะไข่ได้หมด เช่น เดี ยวกั บ ฟอสฟี น ความเข้ม ข้น 25-650 ppm ที่ ร มนาน 1-3 วัน จะมี ป ระสิ ท ธิภ าพในการก าจั ดมอด ข้าวเปลือก ด้วงงวงข้าวโพด มอดฟันเลื่อย มอดแป้ง และมอดยาสูบได้ดี แต่ความเข้มข้นของฟอสฟีนที่สามารถ ฆ่าระยะไข่และดักแด้จะสูงกว่าระยะหนอนและตัวเต็มวัยมาก (กรรณิการ์ และคณะ, 2558) เมื่อนาผลการทดลองไปประเมินค่าความเข้มข้นของอีโคฟูมที่ทาให้ระยะต่าง ๆ ของด้วงถั่วเขียวและ ด้วงถั่วเหลืองตาย 99 เปอร์เซ็นต์ (LC99) พบว่า ค่า LC99 ของอีโคฟูมที่มีต่อระยะไข่ ระยะหนอน และระยะ ดักแด้ของด้วงถั่วเขียวเท่ากับ 1240.08, 74.60 และ 533.78 ppm ตามลาดับ และค่า LC99 ของอีโคฟูมที่มีต่อ ระยะไข่ แ ละระยะดั ก แด้ ข องด้ ว งถั่ ว เหลื อ งเท่ า กั บ 326.11 และ 621.30 ppm ตามล าดั บ (ตารางที่ 2) สอดคล้องกับ Moon et al. (2012) ที่รายงานว่าการใช้อีโคฟูมความเข้มข้น 354.62 ppm รมนาน 24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส สามารถกาจัดเพลี้ยแป้งส้มได้ 50 เปอร์เซ็นต์
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
127
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
ตารางที่ 1 อัตราการตายของระยไข่ ระยะหนอน ระยะดักแด้ และระยะตัวเต็มวัย ของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่ว เหลือง ที่รมด้วยอีโคฟูมความเข้มข้น 0, 250, 500, 750, 1000 และ 1250 ppm นาน 24 ชั่วโมง อัตราการตาย (%) ความเข้มข้น ชนิดแมลง (ppm) ระยะไข่ ระยะหนอน ระยะดักแด้ ระยะตัวเต็มวัย 0(ชุดควบคุม) 0.00±0.00d1/ 0.00±0.00b 0.00±0.00c 0.00±0.00b ด้วงถั่วเขียว 250 75.30±0.67c 99.82±0.18a 81.80±4.38b 100.00±0.00a 500 83.60±3.85b 99.82±0.10a 99.50±0.21a 100.00±0.00a 750 94.20±2.50a 99.91±0.09a 99.60±0.25a 100.00±0.00a 1000 95.70±2.54a 100.00±0.00a 100.00±0.00a 100.00±0.00a 1250 100.00±0.00a 100.00±0.00a 100.00±0.00a 100.00±0.00a ด้วงถั่วเหลือง 250 98.30±1.72a 100.00±0.00a 98.00±1.21a 100.00±0.00a 500 99.70±0.15a 100.00±0.00a 98.30±0.51a 100.00±0.00a 750 100.00±0.00a 100.00±0.00a 98.70±0.78a 100.00±0.00a 1000 100.00±0.00a 100.00±0.00a 99.90±0.12a 100.00±0.00a 1250 100.00±0.00a 100.00±0.00a 100.00±0.00a 100.00±0.00a CV 0.32 0.33 0.32 0.33 1/
ค่าเฉลี่ย ±SE ที่ตามด้วยตัวอักษรเดียวกันในแนวตั้ งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ โดยวิธี Tukey’s test (p<0.05)
ตารางที่ 2 ความเข้ม ข้นของอีโคฟูมที่ทาให้ด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลือง ตาย 99 99% (LC99) รมนาน 24 ชั่วโมง ชนิดแมลง ระยะ LC99 95% Confidence X2 Intercept±SE Slope±SE (ppm) Interval (ppm) ด้วงถั่วเขียว ไข่ 1240.08 1048.48-159.23 2.45 0.21±0.17 0.00±0.00 หนอน 74.60 0.18 0.56±4.83 0.94±1.82 ดักแด้ 533.78 443.52-780.48 4.49 -0.29±3.94 0.01±0.00 ตัวเต็มวัย ด้วงถั่วเหลือง ไข่ 326.11 0.36 1.41±0.75 0.00±0.00 หนอน ดักแด้ 621.30 1.03 1.70±0.36 0.00±0.00 ตัวเต็มวัย -
128
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
การตรวจสอบความสามารถในการงอกของเมล็ดหลังการรมด้วยสารทดสอบ ความสามารถในการงอกของเมล็ดถั่วเขียวที่ผ่านการรมด้วยอีโคฟูมความเข้มข้น (1250 ppm) และ เมล็ดจากชุดควบคุม (0 ppm) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (t=3.00; df=3; P=0.058) โดยมีค่าการงอกอยู่ ระหว่าง 98.50-100.00 เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 1) ทั้งนี้อีโคฟูมเป็นก๊าซที่ประกอบด้วยส่วนผสมของฟอสฟีนและ คาร์ บ อนไดออกไซด์ เ ป็ น อั ต ราส่ วน 2 : 98 เปอร์ เซ็ น ต์ โ ดยน้ าหนั ก (WHO, 1988) ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ จึ ง สอดคล้ องกั บ Sittisuang and Nakakita (1985) ที่ ร ายงานว่าฟอสฟี น สามารถใช้ กั บ เมล็ ดพั นธุ์ ข้าวและ ข้ า วโพดได้ โดยไม่ ท าลายความสามารถในการงอกของเมล็ ด พั น ธุ์ แต่ ถ้ า เมล็ ด มี ค วามชื้ น สู ง จะท าให้ ความสามารถในการงอกของเมล็ดลดลง Gupta and Kashyap (1995) พบว่าการใช้ปริมาณสารอลูมิเนียม ฟอสไฟด์ที่ ความเข้ม ข้น 0.125, 0.250 และ 0.50 ppm รมนาน 45 วัน ที่ ความชื้นของเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว 9-12 เปอร์เซ็นต์ จะส่งผลให้ด้วงถั่วเขียวตาย แต่ไม่มีผลต่อความชื้นของเมล็ด และการรมเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วย อลูมิเนียมฟอสไฟด์ 28 ppm นาน 7 วัน แล้วคลุมด้วยผ้าพลาสติกไว้ตลอดการเก็บรักษา 6 เดือน สามารถลด ความเสียหายจากการทาลายของแมลงได้ดี ไม่มีผลต่อความสามารถในการงอก และความแข็งแรงของเมล็ด พันธุ์ข้าว (ไพฑูรย์ และคณะ, 2531) การรมเมล็ดพันธุ์ข้าวที่คลุมด้วยผ้าพลาสติด้วยอลูมิเนียมฟอสไฟด์ 700, 1022 และ 1694 ppm นาน 7 วัน สามารถกาจัดมอดข้าวเปลือกได้ 100 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีผลกระทบต่อ ความสามารถในการงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว (Cogburn and Tilton, 1963) อย่างไรก็ตามเมื่อวัดความสูงของต้นถั่วหลังเมล็ดงอก 5 วันพบว่าความสูงของเมล็ดที่ผ่านการรมด้วย อีโคฟูมมีความสูงน้อยกว่าเมล็ดจากชุดควบคุมอย่างมีนัยสาคัญ (t=7.96; df=3; P=0.004) โดยมีค่าความสูง เท่ ากับ 1.31±0.43 และ 6.47±2.44 เซนติเมตร ตามล าดับ (ภาพที่ 1) เช่นเดียวกับการใช้ฟอสฟีนรมเมล็ด พันธุ์ ซึ่งจะไม่มีผลต่อความสามารถการงอกของเมล็ดพันธุ์ แต่มีผ ลต่อความแข็งแรงของต้นอ่อน พรทิพย์ และ คณะ (2551) การใช้อีโคฟูมจึงน่าจะเหมาะสมกับการใช้รมเมล็ดถั่วเขียวเพื่อการบริโภค
ก ข B 1250 ppm รมนาน 24 ชั่วโมง เปอร์เซ็นต์การ A 1 การใช้อีโคฟูมกับเมล็ดถั่วเขียว ที่ความเข้มข้น 0 และ กราฟ
งอกของเมล็ด (ก) และ ความสูงของเมล็ด (ข) 12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
129
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
สรุป อีโคฟู มที่ ความเข้ม ข้นที่ 1250 ppm รมนาน 24 ชั่วโมง มี ป ระสิท ธิภาพในการก าจัดทุ ก ระยะการ เจริญ เติบ โตของด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลือง อย่างไรก็ ตามการใช้อีโ คฟู ม ความเข้ม ข้นเพียง 750 ppm สาหรับด้วงถั่วเขียว และ 250 ppm สาหรับด้วงถั่วเหลือง ก็ทาให้มีอัตราการตายเทียบเท่า 100 เปอร์เซ็นต์ และอีโคฟูมความเข้มข้น 1250 ppm รมนาน 24 ชั่วโมง ไม่มีต่อการงอกของเมล็ดถั่วเขียว แต่มีผลต่อความสูง ของต้นกล้าซึ่งต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดที่ผ่านการรมด้วยอีโคฟูมมีความสูงน้อยกว่าเมล็ดในชุดควบคุม 4.9 เท่า กิตติกรรมประกาศ การทดลองนี้สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนวิจัย มก. ประจาปี 2560-61 (สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.) ขอขอบคุณ ผศ.เอกวัต วิถีประดิษฐ์ และคุณรังสิมา เก่งการพานิช สาหรับคาแนะนาและการให้ความช่วยเหลือ เอกสารและสิ่งอ้างอิง กองกีฏและสัตววิทยา. 2540. การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี. กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 32 หน้า. เกรียงไกร จาเริญมา. 2521. การศึกษาชีววิทยาของด้วงถั่ว (Callosobruchus chinensis L.) และการป้องกัน กาจัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. กรรณิการ์ เพ็งคุ้ม รังสิมา เก่งการพานิช ใจทิพย์ อุไรชื่น ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ ภาวินี หนูชนะภัย พนัญญา พบสุข ณัฐวัฒ น์ แย้ม ยิ้ม พรทิพ ย์ วิสารทานนท์ และอัจฉรา เพชรโชติ. 2558. การพัฒนาการจัดการศัตรู ผลิตผลเกษตรเพื่ อ รัก ษาคุณ ภาพ. หน้า 7-26. ใน: รายงานโครงการวิจัย ปี 2558. ส านัก วิจัยและ พัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร, จตุจักร, กรุงเทพฯ. นุช เหลาคม. 2548. การทดสอบความเป็นพิษของสารรมอีโคฟูมในการป้องกั นกาจัดแมลงศัตรูในโรงเก็ บ บางชนิด. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. พรทิพย์ วิสารทานนท์ กุสุมา นวลวัฒน์, บุษรา จันทร์แก้วมณี ใจทิพย์ อุไรชื่น รังสิมา เก่งการพานิช กรรณิการ์ เพ็งคุ้ม จิราภรณ์ ทองพันธ์ ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ ลักขณา ร่มเย็น และภาวินี หนูชนะภัย. 2551. แมลงที่ พบในผลิตผลเกษตรและการป้องกันกาจัด พิมพ์ครั้งที่ 2. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด, กรุงเทพฯ. 180 หน้า. ไพฑูรย์ อุไรรงค์ ประสูติ สิทธิสรวง กิติยา กิจควรดี และนิพนธ์ มาฆทาน. 2531. การใช้สารฟอสฟีนลดความ สู ญ เสี ย ของเมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า วจากแมลงศั ต รู ในโรงเก็ บ . หน้ า 211-219. ใน: รายงานการสั ม มนา ความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาวิทยาการเมล็ดพันธุ์ ครั้งที่ 3. กรมวิชาการเกษตรและสมาคม วิทยาศาสตร์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2. 2552. เทคโนโลยีการผลิตถั่วเขียวหลังนา. เอกสารเผยแพร่ สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2. 18 หน้า. Bell, C.H. 2000. Fumigation in the 21st century. Crop Prot. 19: 563-569. 130
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-10
Cogburn, R.R. and W.E. Tilton. 1963. Studies of phosphine as a fumigation for sacked rice under gas-tight tarpaulins. J. Econ. Entomol. 56(5): 706-708. Finney, D.J. 1971. Probit Analysis. Cambridge University Press, London. 331 p. Gupta, M. and R.K. Kashyap. 1995. Phosphine fumigation against pulse beetle germination and vigour of green gram seed. Seed Sci. Technol. 23: 429-38. ISTA (International Seed Testing Association). 2008. International Rules for Seed Testing Rules. International Seed Testing Association, Zurich, Switzerland. 43 p. Moon Y.M., M.G. Park, J. Tumambing, B.S. Kim, B.H. Lee. 2012. ECO 2Fume as a quarantine fumigant for import of nursery trees. Pages 300-304. In: Proc 9th. International Conference on Controlled Atmosphere and Fumigation in Stored Products, October 15-19, 2012. Turkey. Ryan, R., N. Grant, J. Nicolson, D. Beven and A. Harvey. 2006. VAPORMATE (16.7 wt% EtF in CO2): dispensing techniques. Pages 618-621. In: 9th International Working Conference on Stored Product Protection. 5-18 October 2006, Sao Paulo, Brazil. Sittisuang, P. and H. Nakakita. 1985. The effect of phosphine and methyl bromide on germination of rice and corn. J. Pestic. Sci. 10: 461-468. WHO (World Health Organization). 1988. Phosphine and Selected Metal Phosphine (Environmental Health Criteria). World Health Organisation (WHO), Geneva. 100 p.
12-14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
131
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
การศึกษาศักยภาพการก่อโรคในหนูศัตรูพืชและการเพิ่มปริมาณของ ค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้ (Apicomplexa: Eimeriidae) จากหนูศัตรูพืช สกุล Rattus และ Mus ที่พบในประเทศไทย Pathology and Oocysts Propogation in Rats of Enteric Coccidia Protozoa (Apicomplexa: Eimeriidae) from Rattus spp. and Mus spp. in Thailand วิชาญ วรรธนะไกวัล ปราสาททอง พรหมเกิด สมเกียรติ กล้าแข็ง และ ทรงทัพ แก้วตา Vichan Watthanakaiwan Prasartong Promkerd Somkiat Klakaeng and Songtap Kaewta สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ ค็ อ คซิ เ ดี ย โปรโตซั ว ในล าไส้ วงศ์ Eimeriidae ได้ แ ก่ โ ปรโตซั ว สกุ ล Eimeria และ Isospora มีความจาเพาะเจาะจงกับชนิดของสัตว์อาศัย และสามารถก่อโรคในสัตว์อาศัยได้ในหลายสปีชีส์ งานวิจัยนีม้ ี วัตถุประสงค์ทดสอบศักยภาพการก่อโรค และเพิ่มปริมาณไอโซเลทที่มีศักยภาพในหนูทดลอง ดาเนินการ วิจัยในระหว่างปี 2559 - 2561 ดักหนูศัตรูพืชสกุลหนูท้องขาว 133 ตัว และสกุลหนูหริ่ง 103 ตัว รวม ทั้งหมด 236 ตัว คัดแยกโอโอซีสต์จากมูลหนูที่ดักได้ จานวน 57 ไอโซเลท เป็นโอโอซีสต์ของ Eimeria 54 ไอโซเลท และ Isospora 3 ไอโซเลท จากพื้นที่เกษตร จานวน 15 จังหวัด ใน 5 ภูมิภาคของประเทศไทย ผลการทดลองพบโอโอซีส ต์ของ Eimeria จ านวน 6 ไอโซเลท ที่ ร ะดับ ความเข้ ม ข้น 500 และ 5,000 โอโอซีสต์ มีศักยภาพสามารถทาให้หนูทดลองป่วยและตายได้ ร้อยละ 20-40 ภายใน 3-10 วัน หลังจาก ได้รับ เชื้อ (dpi) ผลการจ าแนกชนิดทางสัณฐานวิท ยาจากลัก ษณะของโอโอซีส ต์ สอดคล้ องกั บ ผลการ จาแนกชนิดทาง ชีวโมเลกุล บริเวณไรโบโซมอล ดีเอ็นเอ (18S rDNA) พบว่า ทั้ง 6 ไอโซเลท ที่มีศักยภาพ ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เป็ น E. nieschulzi isolate K11 01, E. ferrisi isolate MJ01, E. ferrisi isolate MJ04, E. nafuko isolate NKW05, Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 แ ล ะ Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 ตามล าดั บ การศึ ก ษาการเพิ่ ม ปริม าณของ โอโอซี ส ต์ โดยการให้ โ อโอซี ส ต์ ข อง E. nieschulzi isolate K11 01 จ านวน 2,500 โอโอซี ส ต์ กั บ หนูท้องขาวบ้าน จานวน 10 ตัว พบโอโอซีสต์ถูกขับออกมาพร้อมกับมูลหนูสูงสุด (28±12 oocysts/µl) ที่ ระยะเวลา 7 วัน ภายหลังจากได้รับเชื้อ คาสาคัญ : ค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้ Eimeriidae โปรโตซัว Eimeria การก่อโรคในหนูทดลอง
132
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ABSTRACT The enteric coccidia protozoa within the Eimeriidae (Eimeria, Isospora species), most species are host-specific and the several coccidian species are highly pathogenic for their hosts. This research was aimed to the efficiency of pathology in Rattus spp. and Mus spp. pests and oocysts propogation in rats. The experiments were conducted during 2016 -2018. Total isolation of oocyst 57 isolates, from 236 rodent pests, 133 and 103 Rattus and Mus species respectively were captured from agricultural of 15 provinces in 5 regions of Thailand, was revealed Eimeria oocyst 54 isolates and Isospora oocyst 3 isolates. In this study 6 isolates of Eimeria oocysts caused severe clinical illness and mortality, 20-40%, occurred in rats and mice an infectious dose of 500 and 5,000 oocysts at the 3-10 days postinfection (dpi). The morphological of sporulate oocysts were identified according to molecular analysis of partial 18S ribosomal DNA (18S rDNA), the 6 isolates of Eimerian oocysts in this study, including E. nieschulzi isolate K11 01, E. ferrisi isolate MJ01, E. ferrisi isolate MJ04, E. nafuko isolate NKW05, Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 and Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 respectively. In the preliminary study of oocysts propogation, we infected R. rattus (n = 10) with 2,500 oocysts of E. nieschulzi isolate K11 01. Oocysts shedding was detectable the highest number (28±12 oocysts/µl) at 7 dpi. Keywords: enteric coccidian protozoa, Eimeriidae, Eimeria oocysts, pathology in rats, oocysts propogation คานา สารชีวิน ทรีย์ก าจัดหนู (bio-rodenticide) ของกรมวิชาการเกษตร ผลิตขึ้ นจากปรสิต โปรโตซั ว Sarcocystis singsporensis Zaman & Colley (1976) เป็ น ค็ อ คซิ เ ดี ย โปรโตซั ว (coccidia protozoa) ที่ อ ยู่ ใ น Phylum Apicomplexa มี ค วามจ าเพ าะต่ อ สั ต ว์ อ าศั ย 2 ชนิ ด ได้ แ ก่ สั ต ว์ อ าศั ย ตั ว กลาง (intermediate hosts) คื อ ห นู ส กุ ล ท้ อ งขาว (Rattus) แ ล ะ ส กุ ล พุ ก (Bandicota) โด ย มี งู เ ห ลื อ ม (Python reticulatus) เป็ น สั ต ว์ อ าศั ย สุ ด ท้ า ย (final hosts) (ยุ วลั ก ษณ์ และคณะ, 2544; Jakel et al., 1996) ดังนั้นจึงมีความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยความจาเพาะต่อชนิดของสัตว์อาศัย จึงทาให้สกุลหนูหริ่ง (Mus) ยังไม่มีสารชีวภัณฑ์กาจัดหนูที่จาเพาะต่อหนูชนิดนี้ ซึ่งหนูหริ่งนั้ นเป็นศัตรูสาคัญของธัญพืชที่สาคัญใน ประเทศไทย เช่น ในแปลงปลูกถั่วเหลือง ถั่วเขียว นาข้าว และโรงเก็บเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น อีกทั้งการผลิตเหยื่อ โปรโตซัวกาจัดหนูจากปรสิตโปรโตซัว S. singaporensis ในปัจจุบันนั้น ต้องมีการเลี้ยงงูเหลือมและหนูเพื่อใช้
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
133
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ในการผลิตเหยื่อโปรโตซัวก าจัดหนู ซึ่งการเลี้ยงงูเหลือมจัดเป็นงานที่ มีภาระต้องรับ ผิดชอบสูงทั้ งในเรื่อง ค่าใช้จ่าย บุคลากร รวมไปถึงสถานที่เลี้ยง ค็อคซิเดียโปรโตซัวในล าไส้ (enteric coccidia protozoa) ได้แก่ โปรโตซัว ในสกุ ล Eimeria และ Isospora นั้นเป็นโปรโตซัวที่ ต้อ งการสัตว์อาศั ยเพียงชนิด เดียว (monoxenous host) โดยอาศัยในระบบ ทางเดินอาหารของสัตว์อาศัย มีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศบริเวณลาไส้ ในระยะสุดท้ายของ การเจริญ เติบ โตมีการสร้างโอโอซีสต์ (oocysts) ซึ่งเป็นระยะติดเชื้อมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ ไม่ เหมาะสมได้ โดยจะถูกขับออกมาพร้อมกับมูลของสัตว์อาศัยสู่สิ่งแวดล้อมภายนอก พร้อมทีจ่ ะเข้าสู่รา่ งกายของ สั ต ว์อ าศั ย ตั วใหม่ โ ดยการปนเปื้ อ นในแหล่ ง น้ าและอาหารตามธรรมชาติ เพื่ อ เริ่ ม วงจรชีวิ ต ใหม่ ต่ อ ไป (Duszynski et al., 1999; Berto et al., 2009) สัตว์อาศัยของโปรโตซัวกลุ่มนี้สามารถพบได้ในสัตว์มีกระดูก สันหลังทั่วไป ได้แก่ สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนม เป็นต้น โดยเฉพาะโปรโตซัวในสกุ ล Eimeria นั้ น มี ม าก กว่ า 400 สปี ชี ส์ มี ห นู เป็ น สั ตว์ อ าศั ย (Duszynski and Upton, 2001) ได้ แ ก่ E. langebarteli, E. separate, E. nieschulzi, E. papillata, E. falciformis, E. sevilletensis, E. reedi, E. arizonensis, E. onychomysis และ E. albigulae (Zhao and Duszynski, 2001) เป็ น ต้น โปรโตซั ว สกุล Eimeria นั้นมีความจาเพาะเจาะจงกับชนิดของสัตว์อาศัยสูงมากในระดับสกุล (genus specific) (Long and Joyner, 1984: Zhao and Duszynski. 2001) อีกทั้งในแต่ละ สปีชีส์นั้น ไม่สามารถติดต่อข้ามระหว่าง สัตว์อาศัยต่างสกุลกันได้ (Hnida and Duszynski, 1999; Slapeta et al., 2001) สัตว์อาศัยที่มีการติดเชื้อ โปรโตซัวสกุลนี้มักพบว่าป่วยเป็นโรค coccidiosis ซึ่งมีอาการท้องเสียและเป็นโรคในระบบลาไส้ น้าหนักลด และตายในที่สุด (Haberkorn et al., 1983) เนื่องจากยังไม่ เคยมี ร ายงานการศึก ษาศักยภาพในการก่ อโรคและการเพิ่ม ปริม าณของค็อคซิเดีย โปรโตซัวในลาไส้ กับหนูทดลองในประเทศไทย ดังนั้นในการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ คัดแยกชนิดและศึกษา ศักยภาพการก่อโรคกับหนูทดลองของค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้ จากมูลหนูศัตรูพืชในสกุลหนูท้องขาว และ สกุลหนูหริ่ง จากภูมิภาคต่างๆในประเทศไทย รวมถึงการเพิ่มปริมาณเชื้อให้มปี ริมาณมากขึ้นในหนูทดลอง เพื่อ วิจัยและพัฒนาต่อยอดในการผลิตเป็นสารชีวภัณฑ์กาจัดหนูต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ 1. การเก็บตัวอย่าง ดักหนูศัตรูพืชสกุลท้องขาว และสกุลหนูหริ่ง จากธรรมชาติ ด้วยกรงดักชนิดจับเป็น (live trap) จาก พื้นที่ทาการเกษตรในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทย พร้อมกับบันทึกพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS) 2. การคัดแยกและจาแนกชนิดค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้หนูโดยวิธีทางสัณฐานวิทยา เก็ บ มู ล หนู จ ากหนู ที่ ดั ก ได้ ลงในสารละลาย potassium dichromate (K2Cr2O7) ความเข้ ม ข้ น 2-2.5% ตามวิธีข อง Duszynski and Wilber 1997 จ าแนกชนิ ดโดยการตรวจดู ลัก ษณะโอโอซี ส ต์ ที่ พ บ 134
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ภายใต้ ก ล้องจุล ทรรศน์ (light microscope) วัดขนาดและบันทึ ก ลัก ษณะ วิเคราะห์ห าค่าเฉลี่ย ค่าต่าสุด ค่าสูงสุด ค่า shape index (SI; ความยาว/ความกว้าง) และค่า standard (SD) ด้วยโปรแกรม SPSS version 17.0 และเก็บสารแขวนลอยโอโอซีสต์ ลงในหลอดทดลองที่อุณหภูมิ 4-10 oC เพื่อรอการทดสอบต่อไป 3. การทดสอบศักยภาพในการก่อโรคกับหนูทดลองของเชื้อ น าเชื้ อ ค็ อ คซิ เ ดี ย โปรโตซั ว ที่ คั ด แยกได้ มาทดสอบศั ก ยภาพความรุ น แรงในการก่ อ โรคกั บ หนูทดลอง 2 ชนิด ได้แก่ หนูท้องขาวบ้าน (R. rattus) และหนูหริ่ง (Mus spp.) ว า ง แ ผ น ก า ร ท ด ล อ ง แ บ บ CRD (Completely Randomized Design) จ า น ว น 10 ซ้ า (ซ้าละ 1 ตัว) 3 กรรมวิธี ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 ให้โอโอซีสต์โดยตรงทางปากกับหนูจานวน 500 โอโอซีสต์ กรรมวิธีที่ 2 ให้โอโอซีสต์โดยตรงทางปากกับหนูจานวน 5,000 โอโอซีสต์ กรรมวิธีที่ 3 ให้น้ากลั่นโดยตรงทางปากกับหนูเป็นตัวเปรียบเทียบ (control) วัดขนาดและชั่งน้าหนักหนูก่อนทาการทดลอง แยกหนูที่ใช้ทดลองใส่กรงทดลอง งดน้าและอาหารเป็น เวลา 1 คืน ก่ อนการทดลอง ทดสอบศักยภาพในการก่อโรคกั บ หนูท้ องขาวบ้านและหนูห ริ่ง ตามกรรมวิธี หลังจากทาการทดลองกับ เชื้อทดลองแล้วให้ อาหารและน้าตามปกติ บันทึกระยะเวลาการตายของหนูและ พยาธิสภาพที่เกิดขึ้น หาร้อยละการตายของหนูทดลองและนามาวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีทางสถิติที่เหมาะสม 4. การจาแนกชนิดและการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้หนูโดยวิธีทาง ชีวโมเลกุล 4.1 การสกัดดีเอ็นเอ (DNA extraction) สกัดดีเอ็นเอของค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้หนู จากสารแขวนลอยโอโอซีสต์ที่คัดแยกได้ โดยใช้ชุด สกัดดีเอ็นเอ QIAamp DNA stool mini kit (QIAGEN, Germany) ตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต 4.2 การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิค PCR (Polymerase Chain Reaction) ไพรเมอร์ (primers) ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ในบริเวณไรโบโซมอล ดีเอ็นเอ (18S rDNA) จานวน 2 คู่ ได้ แ ก่ 1FE edit (ดั ด แปลงจาก Jinneman et al., 1999); 5’-GCA AAT TAC CCA ATG AAA ACA GYT TC-3’ และ4 RB edit (ดัดแปลงจาก Jinneman et al., 1999); 5’- GTG CAG GAG AAG CCA AGG TAG G-3’ และ IE18S for3; 5’-CTC GTA GTT GGA TTT CTG TCG TG-3’ และ IE18S rev2; 5’- GTT ATT GCCT CAA ACT TCC TTG CGT T-3’ หลั ง จากนั้ น เพิ่ มปริ ม าณ ดี เ อ็ น เอโดยใช้ ป ริ ม าตรรวม 20 ul ประกอบด้วยดีเอ็นเอของค็อคซิเดียโปรโตซัว ในล าไส้ห นู 2 ul ผสมกั บ 10x PCR buffer, 10mM dNTPs, เอนไซม์ Phusion hotstart taq DNA polymerase (Thermo scientific, USA) 1 ยู นิ ต และไพรเมอร์ ชนิ ดละ 10 mM และเติม น้ากลั่น จนครบปริม าตร 20 ul ผสมสารให้เข้ากั น ท าปฏิ กิ ริยา PCR ในเครื่อ ง ควบคุม อุณหภูมิ (thermal cycler) ภายใต้อุณหภูมิ pre denature 95 oC เป็นเวลา 2 นาที จากนั้นเข้าสู่ รอบของการเพิ่มชิ้นส่วนของดีเอ็นเอ denature 95 oC เป็นเวลา 30 วินาที, annealing 60 oC เป็นเวลา 30 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
135
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
วินาที และ extension 72 oC เป็นเวลา 45 วินาที จานวน 40 รอบ จากนั้นเข้าสู่ขั้นตอน final extension 72 oC เป็นเวลา 5 นาที ตรวจสอบผลการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ด้วย 1.5 % อะกาโรสเจล อิเล็กโตรโฟริซีส (agarose gel electrophoresis) 4.3 การหาลาดับเบส (nucleotide sequencing) ตรวจสอบแถบดีเอ็นเอทีไ่ ด้โดยใช้ 1.5% อะกาโรสเจล อิเล็กโตรโฟริซีส และตัดแถบดีเอ็นเอที่ต้องการ ที่ มี ข นาดของแถบดี เ อ็ น เอขนาดตรงกั บ ที่ ค านวณไว้ หลั ง จากนั้ น ท าให้ บ ริ สุ ท ธิ์ โ ดยใช้ gel elution kit (GeneMark, Taiwan) ตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผ ลิต และส่งดีเอ็นเอที่บ ริสุทธิ์ไปวิเคราะห์ห าลาดับเบสที่ First BASE laboratories ประเทศมาเลเซีย 4.4 การวิเคราะห์ผล (data analysis) ตรวจสอ บผ ลล าดั บ เบ ส บริ เ วณ 18 S rDNA ที่ ได้ แล ะรวมแต่ ล ะ contig เป็ น สายเดี ยว หลังจากนั้นตรวจสอบความถูกต้องและตัดลาดับเบสที่ไม่ชัดเจนหรือมีสัณญาณรบกวนออก เปรียบเทียบความ เหมื อ นกั บ ล าดั บ เบสในฐานข้ อ มู ล GenBank (www.ncbi.nlm.nih.gov) โดยใช้ โ ปรแกรม BLASTn (www.ncbi.nlm.nih.gov) หลังจากนั้นจัดเรียง วิเคราะห์ และตรวจสอบความถูกต้องของลาดับเบสโดยใช้ โปรแกรม BioEdit version 7.0 (Hall, 1999) และนามาวิเคราะห์ดังนี้ 4.4.1 ความสัมพันธ์และความหลากหลายทางพันธุกรรม วิเคราะห์ความสัม พั นธ์ท างพันธุก รรม โดยการสร้างแผนภูมิ ความสัม พันธ์ท างพันธุก รรม (phylogenetic tree) 3 วิธี ได้แ ก่ วิธี Neighbor-joining (NJ; Saitou and Nei, 1987) โดยใช้ โ ปรแกรม MEGA 7 software (Kuma et al., 2016) ค านวณระยะห่ างทางพั น ธุก รรมระหว่างตั วอย่ างแต่ ล ะคู่ ด้ว ย แบบจ าลอง kimura 2-parameter distance models (Kimura, 1980) วิ ธี Maximum likelihood (ML; Felsenstein, 1981) คานวณหา best fit model โดยใช้โปรแกรม MEGA 7 software และดาเนินการโดย ใช้ โ ปรแกรม PAUP v. 4.0b8 (Swofford, 2001) โดยใช้ ค่ า AIC value (Akaki information criterion) ก าหนดให้ ห าสั ณ ฐานที่ ดี ที่ สุ ด โดย heuristic search ท า brance swapping ใช้ nearest neighbor interchanges (NNI) branch swapping methods (Felsenstein, 2004) ผลการค านวณใช้ แ บบจ าลอง tamura 3-parameter (Tamura, 1992) ในขณะที่ วิ ธี Bayesian inference ด าเนิ น การโดยใช้ โ ปรแกรม MrBayes version 3.1.2 (Ronquist and Huelsenbeck., 2003) ด้ ว ยวิ ธี Markov Chain Monte Carlo (mcmc) numerical method โดยตัดค่า burn-in 25% วิเคราะห์ด้วยแบบจาลอง GTR+I+G evolutionary model สร้างแผนภูมิความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมสุดท้าย (final tree) โดยใช้โปรแกรม TreeView version 1.6.6 (Page, 1996) ทั้ ง 3 แผนภูมิ ดังกล่าว ท าการวิเคราะห์ห าค่าทางสถิติ (bootstrap) จ านวน 1,000 รอบ ขณะที่ Markov chain ตั้ง ค่าที่ 1,000,000 generations โดยที่ ค่าทางสถิตที่ ได้ จ ะถู ก นามาแสดงเพื่ อเพิ่ ม ระดับความเชื่อมั่นของแผนภูมิที่ได้ โดยเปรียบเทียบกับ ค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้ชนิดอื่น ที่มีในฐานข้อมูล โดยใช้ Toxoplasma gondii (JX473256) และ Neospora caninum (JX473256) เป็นโปรโตซัวนอกกลุ่ม (outgroup) 136
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
4.4.2 การวิเคราะห์ร้อยละความเหมือนกันทางพันธุกรรมและระยะห่างทางพันธุกรรม วิ เ คราะ ห์ ค่ าร้ อ ย ล ะ ความ เห มื อ น กั น ท างพั น ธุ ก รรม (nucleotide identity; NI) โดยใช้โปรแกรม BioEdit version 7.0 และวิเคราะห์หาค่าระยะห่างทางพันธุกรรม (genetic distance; GD) โดยการวิเคราะห์แบบ pairwise distance โดยใช้โปรแกรม MEGA 7 software 5. การเพิ่มปริมาณในหนูทดลอง (oocysts propogation) น าเชื้อ ค็ อ คซิ เ ดี ย โปรโตซั ว ที่ คั ด แยกได้ แ ละพบว่ ามี ศั ก ยภาพท าให้ ห นู ท ดลองป่ วยและตายได้ นามาทดลองเพิ่ ม ปริม าณในหนูท้ อ งขาวบ้ าน โดยการให้โอโอซีส ต์ที่ ระดับ ความเข้ม ข้น sublethal dose โดยตรงทางปากกับหนูทดลอง จานวน 10 ตัว และเก็บมูลหนูทดลองทุกวัน เป็นระยะเวลา 14 วัน หลังจากที่ ได้รับเชื้อแล้ว ตามวิธีของ Duszynski and Wilber 1997 ตรวจดูลักษณะและนับจานวนโอโอซีสต์ที่พบภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ และบันทึกผลที่ได้ ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง 1. การเก็บตัวอย่างและการคัดแยกเชื้อ (sampling and isolation) ดักหนูศัตรูพืชสกุลท้องขาว และสกุลหนูหริ่งศัตรูพืช จากพื้นที่เกษตรตามภูมิภาคต่างๆในประเทศไทย จานวน 17 แหล่ง ใน 15 จังหวัด จาก 5 ภูมิภาค ในประเทศไทย รวมได้ตัวอย่างหนูในการวิจัยครั้งนี้ ทั้งสิ้น 236 ตัว สามารถคัดแยกโอโอซีสต์ ได้ทั้ งหมด 57 ไอโซเลท (isolates) คิดเป็นร้อยละ 24 จากตัวอย่างหนู ทั้ งหมด 236 ตัว (หนูท้ อ งขาว 133 ตัว และหนู ห ริ่ง 103 ตัว) ซึ่ง สามารถคัดแยกโอโอซีส ต์ ของโปรโตซั ว Isospora และ Eimeria ได้ 3 และ 54 ไอโซเลท ตามลาดับ คิดเป็นร้อยละ 5 และร้อยละ 95 จากโอโอซีสต์ที่ คัดแยกได้ทั้งหมด (ตารางที่ 1) 2. การทดสอบศักยภาพความรุนแรงในการก่อโรคกับหนูทดลอง (pathogenicity) นาตัวอย่างโอโอซีสต์ที่คัดแยกได้ ไปทดสอบศักยภาพในการก่อโรคกับหนูทดลอง จานวน 57 ไอโซเลท พบว่า มี 6 ไอโซเลท ที่มีศกั ยภาพสามารถทาให้หนูทดลองป่วยและตายได้ ร้อยละ 20-40 และทั้ง 6 ไอโซเลท เป็นโอโอซีสต์ของโปรโตซัว Eimeria ทั้งหมด โดยคัดแยกได้จากมูลหนูท้องขาว จานวน 4 ไอโซเลท (Rr K11, Rn BKK02, Ran MJ04 และ Ran KW03) และคัดแยกได้จากมูลหนูหริ่ง จานวน 2 ไอโซเลท (Mce NKW05 และ Mpa MJ01) ระยะเวลาการก่อโรคที่ทาให้หนูทดลองมีอาการป่วยและตาย อยู่ที่ 3-10 วัน ภายหลังจาก ได้รับเชื้อ (3rd-10th dpi) ที่ระดับความเข้มข้น 500 – 5,000 โอโอซีสต์ (ตารางที่ 3) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่ เคยมีรายงานไว้ (Slapeta et al., 2001; Matsui et al., 2005; Patra et al., 2011) 3. ลักษณะพยาธิสภาพ (clinical pathology) ผลการวิจัยในครั้งนี้ พบว่าหนูทดลองที่ป่วยและตายจากเชื้อโปรโตซัว Eimeria ทั้ง 6 ไอโซเลท จากการ วิจัยในครั้งนี้ มีอาการตาแฉะ ซึม ไม่กินน้าและอาหาร น้าหนักลด ลักษณะพยาธิสภาพที่พบ มีลักษณะลาไส้ พองลม (ballooning intestine) และลาไส้อักเสบ (intestinal inflammation) (ภาพที่ 2) ส่วนผลการตรวจ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
137
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ทางพยาธิวิทยา (histopathology) บริเวณลาไส้ พบลักษณะเซลล์หลุดลอกออก (sloughing of intestinal mucosa) และพบเซลล์ merozoites เป็นจานวนมาก (ตารางที่ 3) ซึ่ งเป็นผลจากการที่ เชื้อโปรโตซัวกลุ่ม Eimeria เมื่อเข้าสู่ร่างกายของหนูที่เป็นสัตว์อาศัยแล้ว จะเข้าสู่เซลล์อ่อนที่กาลังพัฒนาในระบบทางเดินอาหาร หรือเยื่อบุผิวบริเวณล าไส้ และเข้าท าลายบริเวณเยื่อเมื อกและเซลล์บุผิวล าไส้ ท าให้เกิ ดอาการของโรค coccidiosis (Slapeta et al., 2001; Matsui et al., 2005; Patra et al., 2011) 4. การจาแนกชนิดทางสัณฐานวิทยา (morphological identification) ในการวิจัยครั้ง นี้ ใช้วิธีและหลัก เกณฑ์ ก ารจ าแนกชนิด ของโปรโตซัวในวงศ์ Eimeriidae ตามวิธีของ Duszynski and Wilber 1997 พ บ ว่ า ไอ โซเลท Rr K11 01 นั้ น มี ลั กษณ ะ โอโอ ซี ส ต์ ที่ ชี้ บ่ งว่ า เป็ น E. nieschulzi (Mesfin and Bellamy, 1977; Relman et al., 1996) โดยที่ ไอโซเลท Mpa MJ01 และ Ran MJ04 ซึ่ง โอโอซี ส ต์ที่ พ บมี ลัก ษณะคล้ายกั น และพบว่าเป็น E. ferrisi (Koudela and Cerna, 1991; Matsui et al., 2005) ส่วนไอโซเลท Mce NKW05 มีลักษณะโอโอซีสต์ที่ชี้บ่งว่าเป็น E. nafuko (Kvicerova and Hypsa, 2013) ขณะเดียวกั นตัวอย่างเชื้อโปรโตซัวที่ คัดแยกได้ในการวิจัยครั้งนี้ อีก 2 ไอโซเลท ได้แก่ Rn BKK02 และ Ran KW03 เมื่อวิเคราะห์จากลักษณะโอโอซีสต์แล้ว ยังไม่สามารถจาแนกชนิดได้ และไม่ตรง กับสปีชีส์ใดๆของโปรโตซัวในสกุล Eimeria จากฐานข้อมูลที่มี (ตารางที่ 2 และภาพที่ 1) 5. การจาแนกชนิดทางชีวโมเลกุล (molecular identification) เพิ่มปริมาณดีเอ็นเอของโปรโตซัว Eimeria 6 ไอโซเลท ที่มีศักยภาพทาให้หนูทดลองป่วยและตายได้ ด้วยเทคนิ คพี ซีอ าร์ (PCR) ในบริเวณ 18S rDNA โดยใช้ ไพรเมอร์ จานวน 2 คู่ ได้แก่ 1FE edit /4 RB edit และ IE18S for3/IE18S rev2 ได้ชิ้นส่วนดีเอ็นเอขนาด 600 และ 700 คู่เบส ตามลาดับ และนาไปหาลาดับ เบส หลังจากนั้นรวมแต่ละ contig เป็นสายเดียว ตัดส่วนลาดับเบสที่ ไม่ชัดเจน บริเวณปลาย 5’ และ 3’ ได้ ลาดับ เบสความยาว 700 คู่เบส โดยท าการวิเคราะห์ร่วมกั บ ล าดับ เบสของโปรโตซัวสกุ ล Eimeria ที่ มี ใน ฐานข้อมูล GenBank จานวน 31 สาย รวมลาดับเบสที่นามาใช้ในการวิเคราะห์ทั้งหมด 37 ตัวอย่าง ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม โดยการสร้างแผนภูมิความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม 3 วิธี ได้แก่ NJ/ML และ BI (ภาพที่ 3) พบว่าทั้ง 3 วิธีให้แผนภูมิผลการวิเคราะห์ในรูปแบบเดียวกัน สามารถจัดกลุ่ม ได้เป็น 4 กลุ่ม ตามชนิดของสัตว์อาศัยที่โปรโตซัวสกุล Eimeria นั้นอาศัยอยู่ ได้แก่ clade I (rodent host) เป็ น กลุ่ ม ที่ มี สัต ว์ ฟั น แทะเป็ น สัต ว์ อ าศัย (rodent Eimeria) นั้ น สามารถแบ่ ง ได้ เป็ น 2 กลุ่ม ใหญ่ ได้ แ ก่ OR- rodent cluster และ OR+ rodent cluster ซึ่งโอโอซีส ต์ของโปรโตซัว Eimeria ทั้ ง 6 ไอโซเลท ที่ มี ศักยภาพทาให้หนูทดลองป่วยและตายได้ ในการวิจัยครั้งนี้ (Rr K11 01, Rn BKK02, Mpa MJ01, Ran MJ04, Mce NKW05 และRan KW03) จัดอยู่ในกลุ่ม OR- rodent cluster ในขณะที่ โปรโตซัวใน clade II (avian host) เป็นกลุ่มที่มีนกเป็นสัตว์อาศัย clade III (bovine host) เป็นกลุ่มที่มีสัตว์เท้ากีบเป็นสัตว์อาศัย และ clade IV (lagomorph host) เป็นกลุ่มที่มีกระต่ายเป็นสัตว์อาศัย จากผลการวิเคราะห์พบว่าโปรโตซัวภายใน clade I มีค่า NI และ GD เท่ากับร้อยละ 95.7-99.7 และ 0.000-0.018 ตามลาดับ และเมื่อเปรียบเทียบกัน 138
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ระหว่างโปรโตซัว ใน clade I กั บ โปรโตซั วใน clade II – clade IV พบว่ า มี ค่ า NI และ GD อยู่ ที่ ร้อ ยละ 93.1-97.2 และ 0.020-0.031 ตามลาดับ ซึ่งจากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่าโปรโตซัวทั้ง 6 ไอโซเลท ให้ผลการ จ าแนกชนิ ด ทางสั ณ ฐานวิ ท ยาจากลั ก ษณะของโอโอซี ส ต์ ส อดคล้ อ งกั บ ผลจากการวิ เ คราะห์ แ ผนภู มิ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมในทุกไอโซเลท ในกลุ่ม OR- rodent cluster สามารถแบ่งกลุ่มได้เป็น 4 กลุ่มย่อย (haplotypes) ได้แก่ A B C และ D โดยไอโซเลท Rr K11 01 (E. nieschulzi) จัดอยู่ในกลุ่มย่อย A เมื่อเปรียบเทียบกับ E. nieschulzi (U40263) ในฐานข้อมู ล GenBank นั้น มี ค่า NI และ GD อยู่ที่ ร้อยละ 99.4 และ 0.000 ตามลาดับ และมี ห นูในสกุ ล ท้ องขาวเป็นสัตว์อ าศัยเช่น เดียวกั น (ตารางที่ 2) ส่วนไอโซเลท Mpa MJ01 และ Ran MJ04 ถูก จัดอยู่ใน กลุ่มย่อย B ซึ่งโอโอซีสต์ที่พบมีลักษณะคล้ายกัน และให้ผลจาแนกชนิดเป็น E. ferrisi เมื่อนาทั้งสองไอโซเลท มาเปรี ยบเที ยบกั บ E. ferrisi (MH752015) ในฐานข้อมู ล GenBank พบว่า มี ค่า NI และ GD อยู่ที่ ร้อยละ 99.3 - 99.4 และ 0.002 - 0.001 ตามล าดับ ขณะที่ ไอโซเลท Mce NKW05 (E. nafuko) นั้นถูก จัดอยู่ใน กลุ่มย่อย C เมื่อเปรียบเที ยบกั บ E. nafuko (JQ993665) ในฐานข้อมู ล GenBank พบว่า มีค่า NI และ GD อยู่ที่ ร้อยละ 99.7 และ 0.000 ตามล าดับ อย่างไรก็ ดี จ ากการวิจัย ครั้ง นี้ พบว่ าโปรโตซัว Eimeria สปีชี ส์ เดียวกัน สามารถพบได้ในหนูที่เป็นสัตว์อาศัยต่างสกุลกันได้ อาทิเช่น E. ferrisi (MH752015) ในฐานข้อมูล GenBank มี ห นู ห ริ่ ง บ้ า น (M. musculus) เป็ น สั ต ว์ อ าศั ย (Koudela and Cerna, 1991; Matsui et al., 2005) กับเชื้อโปรโตซัว 2 ไอโซเลท ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ไอโซเลท Mpa MJ01 พบในหนูหริ่งป่าขนเสี้ยน (M. phahari) และไอโซเลท Ran MJ04 พบในหนูป่าอินโดจีน (R. andamanensis) เช่นเดียวกับ E. nafuko (JQ993665) ในฐานข้ อ มู ล GenBank มี ห นู silvery mole rat (Heliophobius argenteocinereus) เป็ น สั ต ว์ อ าศั ย (Kvicerova and Hypsa, 2013) กั บ ไอโซ เล ท Mce NKW05 พ บ ใน ห นู ห ริ่ ง น าห างสั้ น (M. cervicolor) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่เคยมีรายงานไว้ว่า โปรโตซัวในสกุล Eimeria บางสปีชีส์ สามารถ พบในสัตว์อาศัยได้มากกว่า 1 ชนิด (Hill and Duszynski, 1986; Upton et al., 1992) ขณะเดี ย วกั น ไอโซเลท Rn BKK02 (Eimeria sp.) และ Ran KW03 (Eimeria sp.) ที่ ยั ง ไม่ ส ามารถ จ าแนกชนิ ดจากลั ก ษณะสั ณ ฐานวิท ยาของโอโอซี ส ต์ ได้ นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณาจากผลการวิเ คราะห์ แ ผนภู มิ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมพบว่า ถูกจัดอยู่ในกลุ่มย่อย B และ D ในกลุ่ม OR- rodent cluster ตามลาดับ (ภาพที่ 3) พบว่ามีค่า NI และ GD เมื่อเปรียบเทียบกับสมาชิกภายในกลุ่มย่อย B และ D เท่ากับ 97.8-98.9; 0.003-0.006 และ 98.9-99.0; 0.003 ตามลาดับ โดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้หลักเกณฑ์วิธีในการตั้งชื่อโปรโตซัว กลุ่ม rodent Eimeria ของ Kvicerova and Hypsa, 2013 ในการตั้งชื่อตัวอย่างโปรโตซัวทั้ง 6 ไอโซเลท ที่มี ศัก ยภาพท าให้ห นูท ดลองป่วยและตายได้ จากการวิจัย ครั้งนี้ ได้แก่ Rr K11 01, Mpa MJ01, Ran MJ04, Mce NKW05, Rn BKK02 และ Ran KW03 เป็น E. nieschulzi isolate K11 01, E. ferrisi isolate MJ01, E. ferrisi isolate MJ04, E. nafuko isolate NKW05, Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 และ Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 ตามลาดับ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
139
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
การจาแนกชนิดในระดับสปีชีส์นั้นการวัดขนาด และรูปร่าง ของโอโอซีสต์เพียงอย่างเดียวนั้นไม่เพียงพอ (Long and Joyner, 1984) ต้องใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของโอโอซีสต์และการมีหรือไม่มีโครงสร้างต่างๆ ของโอโอซีสต์ ร่วมกับข้อมูลทางชีวโมเลกุลในการจาแนกชนิดของโปรโตซัวในกลุ่มนี้ (Slapeta et al., 2001) ซึ่งลาดับเบสในบริเวณที่นิยมใช้ในการจาแนกชนิดและศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของค็อคซิเดียโปรโตซัว ได้แก่ บริเวณไรโบโซมอล ดีเอ็นเอ และ plastid open reading frame (ORF470) (Zhao and Duszynski, 2001; Kvicerova and Hypsa, 2013) โดยเฉพาะบริเวณ 18S rDNA นั้นเป็นบริเวณที่เหมาะสมในการใช้เป็น เครื่ อ งหมายในการจ าแนกชนิ ด และศึ ก ษาความสั ม พั น ธ์ท างพั น ธุก รรมของโปรโตซั วในสกุ ล Eimeria (Zhao and Duzynski, 2001) 6. การเพิ่มปริมาณในหนูทดลอง (oocysts propogation) การเพิ่มปริมาณโอโอซีสต์ของค็อคซิเดียโปรโตซัวในลาไส้ ที่มีศักยภาพทาให้หนูทดลองป่วยและตายได้ โดยการให้เชื้อ E. nieschulzi isolated K11 01 ความเข้มข้น 2,500 โอโอซีสต์ (sublethal dose) โดยตรง ทางปากกับหนูท้องขาวบ้าน จานวน 10 ตัว พบว่าโอโอซีสต์ถูกขับออกมาพร้อมกับมูลหนูที่ระยะเวลา 6- 8 วัน โดยพบโอโอซีสต์ถูกขับออกมาสูงสุด ที่ระยะเวลา 7 วัน ภายหลังจากได้รับเชื้อ (dpi) มีค่าร้อยละค่าเฉลี่ยของ โอโอซี ส ต์ ที่ ร ะยะเวลา 6- 8 วั น ภายหลั ง จากได้ รั บ เชื้ อ เท่ า กั บ 2.2±4.64, 28±12 และ 6.3±10.4 (oocysts/µl ± S.D.) ตามลาดับ (ภาพที่ 4) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยที่เคยมีรายงานไว้ว่า ภายหลังจากที่หนู ทดลองได้รับเชื้อแล้ว ที่ระยะเวลา 6-8 วัน หนูทดลองจะขับโอโอซีสต์ออกมาพร้อมมูลมากที่สุด หลังจากนั้น ปริมาณโอโอซีสต์ที่ถูกขับออกมา จะค่อยๆลดลงตามระยะเวลาที่เพิ่มขึ้น จนกระทั่งไม่พบโอโอซีสต์ในมูล หนู ทดลอง หลังจากได้รับเชื้อแล้ว 12-14 วัน (Matsui et al., 2005; Slapeta et al., 2001) สรุปผลการทดลอง การด าเนิ น งานวิจั ยในครั้ง นี้ ตั้ง แต่ เดื อ นตุ ล าคม 2559 ถึ ง เดือ นกั น ยายน 2561 ได้ ด าเนิ น การ ดักหนูท้องขาว และหนูหริ่งศัตรูพืช จานวน 236 ตัว สามารถคัดแยกโอโอซีส ต์จากมูลหนูที่ดักได้ จานวน 57 ไอโซเลท ในพื้ นที่ เกษตร จานวน 17 แหล่ง (15 จังหวัด) ใน 5 ภูมิ ภาคของประเทศไทย โอโอซีส ต์ทั้ ง 57 ไอโซเลท ที่คัดแยกได้เป็นโปรโตซัว Eimeria 54 ไอโซเลท และ Isospora 3 ไอโซเลท พบโอโอซีสต์ของเชื้อ Eimeria จ านวน 6 ไอโซเลท ที่ ร ะดั บ ความเข้ ม ข้ น 500 – 5,000 โอโอซี ส ต์ มี ศั ก ยภาพสามารถท าให้ หนูทดลองป่วยและตายได้ ร้อยละ 20-40 ภายใน 3-10 วัน หลังจากได้รับเชื้อ ผลการจาแนกชนิดทางสัณฐาน วิทยาของโอโอซีสต์ ร่วมกับการศึกษาทางชี วโมเลกุล จากการวิเคราะห์ ลาดับเบสบริเวณ 18S rDNA พบว่า โปรโตซัวทั้ง 6 ไอโซเลท ในการวิจัยนี้ที่มีศักยภาพท าให้ห นูทดลองป่วยและตายได้ ได้แก่ Rr K11 01, Mpa MJ01, Ran MJ04, Mce NKW05, Rn BKK02 แ ล ะ Ran KW03 เป็ น E. nieschulzi isolate K11 01, E. ferrisi isolate MJ01, E. ferrisi isolate MJ04, E. nafuko isolate NKW05, Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 แ ล ะ Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 ตามลาดับ ขณะที่การศึกษาการเพิ่มปริมาณของโอโอซีสต์ โดยการให้โอโอซีสต์ของ E. nieschulzi isolate 140
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
K11 01 จานวน 2,500 โอโอซีสต์ กับหนูท้องขาวบ้าน จานวน 10 ตัว พบว่าโอโอซีสต์ถูกขับออกมาพร้อมกับ มูลหนูที่ระยะเวลา 6 - 8 วัน และพบโอโอซีสต์สูงสุด (28±12 oocysts/µl) ที่ระยะเวลา 7 วัน ภายหลังจาก ได้รับเชื้อ (dpi) ผลที่ ได้จ ากการวิจัยในครั้ง นี้ ท าให้ท ราบว่าตามธรรมชาติ มีโ อโอซีส ต์ของโปรโตซัว Eimeria ใน หนูศัตรูพืชสกุลท้องขาวและสกุลหนูหริ่งในประเทศไทย ที่ มีศักยภาพทาให้หนูป่วยและตายได้ แต่เนื่องจาก ปริมาณโอโอซีสต์ที่พบใน มูลหนูจากธรรมชาตินั้น มีปริมาณน้อย ซึ่งมี ค่าเฉลี่ยของโอโอซีสต์ที่คัดแยกได้จาก ตัวอย่างหนูแต่ละตัวอยู่ที่ร้อยละ 28 oocysts/ul (min-max; 1-670 oocysts/ul) ดังนั้นจึงมีควรมีการศึกษา เพิ่มเติมในเรื่องการเพิ่มปริมาณโอโอซีสต์ ให้มีปริมาณที่เพิ่มขึ้นและสามารถคงศักยภาพความรุนแรงในการ ก่อโรคไว้ได้ รวมถึงการวิจัยต่อยอดจากผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ในเรื่องความจาเพาะเจาะจงของเชื้อ และ ความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมต่อไป เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการป้องกันและกาจัดหนูศัตรูพืช ร่วมกับการใช้ เหยื่อโปรโตซัวกาจัดหนู S. singaporensis ของกรมวิชาการเกษตร อันจะนาไปสู่การขยายผลการป้องกันและ กาจัดหนูศัตรูพืชแบบบูรณาการต่อไป คาขอบคุณ ขอขอบคุ ณ ส านั ก งานการวิ จั ย แห่ ง ชาติ (วช.) ที่ เ ป็ น แหล่ ง ทุ น วิจั ย ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ ขอขอบคุณ คุณสิท ธิศักดิ์ แสไพศาล คุณกาญจนา วาระวิชนี และคุณแสนชัย คาหล้า กลุ่มงานไวรัสวิท ยา กลุ่ มวิจัยโรคพื ช ส านัก วิจั ยพั ฒ นาการอารักขาพืช ที่ ให้ความอนุเคราะห์ใช้เครื่อง thermal cycler ในการ วิเคราะห์ทางชีวโมเลกุล ขอขอบคุณ คุณทัศวรรณ พุ่มกาหลง คุณศุภกร วงศ์เรืองพิบูลย์ คุณบรรจง บุญครอบ คุณวิชา สีแจ่ม คุณธนากรณ์ ภักดีสุข คุณกุลธิดา เจนสิริโสภณ และเจ้าหน้าที่กลุ่มงานสัตววิทยาการเกษตร กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ช่วยงานในการดาเนินงานวิจัย ครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง ยุวลักษณ์ ขอประเสริฐ เสริมศักดิ์ หงส์นาค กรแก้ว เสือสะอาด เกรียงศักดิ์ หามะฤทธิ์ ปิยาณี หนูกาฬ และพวงทอง บุญทรง. 2544. หนูและการป้องกันกาจัด. กลุ่มงานสัตววิทยาการเกษตร กองกีฏและ สัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 136หน้า. Berto, B. P., H.R. Luz, W. Flausino, I. Ferreira and C.W. Lopes. 2009. New species of Eimeria Schneider, 1875 and Isospora Schneider, 1881 (Apicomplexa: Eimeriidae) from the shortcrested flycatcher Myiarchus ferox (Gmelin) (Passeriformes: Tyrannidae) in South America. Systematic Parasitology. 74: 75-80. Duszynski, D.W. and P.G. Wilber. 1997. A Guideline for the preparation of species descriptions in the Eimeriidae. Journal of Parasitology. 83: 333-336. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
141
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
Duszynski, D.W. and S.J. Upton. 2001. Cyclospora, Eimeria, Isospora and Cryptosporidium spp. Parasitic disease of wild mammals, 2nd edition. Iowa state press, Iowa city, pp. 416-433. Duszynski, D.W., W.D. Wilson, S.J. Upton and N.D. Levine. 1999. Coccidia (Apicomplexa: Eimeriidae) in the primates and the scandentia. International Journal of Primatology. 20: 761-797. Felsenstein, J. 1981. Evolutionary trees from DNA sequences. A maximum likelihood approach. Journal of Molecular Evolution. 17: 368-376. Felsenstein, J. 2004. Inferring phylogenies sinauer associates, Sunderland, Mass. 663p. Hall, T. 1999. BioEdit: a user-friendly biological sequence alignment editor and analysis program for Windows 95/98/NT. Nucleic acids Symposium Series. 41: 95-98. Hill, T.P. and D.W. Duszynski. 1986. Coccidia (Apicomplexa: Eimeriidae) from sciurid rodents (Eutamias, Sciurus, Tamiasciuris spp.) from the western United States and northern Mexico with description of two new species. Journal of Protozoology. 33: 282-288. Hnida, J.A. and D.W. Duszynski. 1999. Cross-transmission studies with Eimeria arizonensis, E. arizonensis-like oocysts and Eimeria langebarteli: host specificity at the genus and species level within the Muridae. Journal of Parasitology. 85: 873-877. Jaekel, T., H. Burgstaller and W. Frank. 1996. Sarcocystis singaporensis: Studies on host specificity, pathogenicity, and potential use as a biocontrol agent of wild rats. Journal of Parasitology. 82: 280-287. Jinneman, K.C., J.H. Wetherington,W.E. Hill, C.J. Omiecinski, A.M. Adam, J.M. Jhonson, B.J. Tenge, N.L. Dang and M.M. Wekell. 1999. An oligonucleotide-ligation assay for the differentiation between Cyclospora and Eimeria spp. polymerase chain reaction amplification products. Journal of Food Protection. 62: 682-685. Kimura, M. 1980. A simple model for estimating evolutionary rates of base substitutions through comparative studies of nucleotide sequences. Journal of Molecular Evolution. 16: 111–120. Koudela, B. and Z. Cerna. 1991. Finding of the coccidium Eimeria ferrisi Levine et Ivens, 1965 (Eimeriidae, Apicomplexa) in feral house mice (Mus musculus) in south Bohemia. Folia Parasitologica. 38: 189-190.
142
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
Kumar, S., G. Stecher and K. Tamura. 2 0 1 6 . MEGA7 : Molecular Evolutionary Genetics Analysis version 7 . 0 for bigger datasets. Molecular Biology and Evolution 3 3 : 1870-1874. Kvicerova, J. and V. Hypsa. 2013. Host-parasite incongruences in rodent Eimeria suggest significant role of adaptation rather than cophylogeny in maintenance of host specificity. PLoS ONE. 8: e63601. Long, P. L. and L. P. Joyner. 1984. Problems in the identification of species of Eimeria. The Journal of Protozoology. 31: 535-541. Matsui, T., T. Fujino, F. Kobayashi, T. Morita and S. Imai. 2005. Life cycle of Eimeria krijgsmanni-like coccidium in the mouse (Mus musculus). The Journal of Veterinary Medical Science. 68: 331-336. Mesfin, G.M., J.E.C. Bellamy and P.H.G. Stockdale. 1977. The Pathological changes caused by Eimeria falciformis var pragensis in mice. Canadian Journal of Comparative Medicine. 42: 496-510. Page, R.D.M., 1996. TreeView: an application to display phylogenetic trees on personal computers. Computers Applications in the Biosciences. 12: 357-358. Patra, G., M. A. Ali, Kh. V. Chanu, J. Lalsiamthara, J.L. Kataria, S. Hazarika, D. Malswmkima, R. Ravindran and L. I. Devi. 2011. Molecular diagnosis of naturally infection with Eimeria nieschulzi in laboratory rats. Research Journal of Parasitology. 6: 43-52. Relman, D.A., T.M. Schmidt, A. Gajadhar, M. Sogin, J. Cross, K. Yoder, O. Sethabutr and P. Echeverria. 1996. Molecular phylogenetic analysis of Cyclospora, the human intestinal pathogen, suggests that It Is closely related to Eimeria species. Journal of Infection Disease. 173. 440-445. Ronquist, F and J.P. Huelsenbeck. 2003. MrBayes 3: Bayesian phylogenetic inference under mixed models. Bioinformatics 19: 1572-1574. Saitou, N. and M. Nei. 1987. The neighbor-joining method: a new method for reconstructing phylogenetic trees. Molecular Biology and Evolution. 4: 406-425. Slapeta, J.R., D. Modry, J. Votypka, M.J. Jirku, M. Obornik, J. Lukes and B. Koudela. 2001. Eimeria telekii n.sp. (Apicomplexa: Coccidia) from Lemniscomys striatus (Rodentia: Muridae): morphology, pathology and phylogeny. Parasitology. 122: 133-143. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
143
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
Swofford, D.L. 2001. PAUP*. Phylogenetic analysis using pasimony (and other method) version 4. Sinauer Associates, Sunderland, Massachusetts. Tamura, K. 1992. Estimation of the number of nucleotide substitutions when there are strong transition-transversion and G+C content biases. Molecular Biology and Evolution. 9: 678-687. Upton, S.J., C.T. McAlliter, D.B. Brillhart, D.W. Duszynsku and C.D. Wash. 1992. Cross transmission studies with Eimeria arizonensis-like oocysts (Apicomplexa) in new world rodents of the genera Baiomys, Neotoma, Onychomys, Peromyscus and Reithrodontomys (Muridae). Journal of Parasitology. 78: 406-413. Zhao, X. and D.W. Duszynski. 2001. Phylogenetic relationships among rodent Eimeria species determined by plastid ORF470 and nuclear 18S rDNA sequences. International Journal for Parasitology. 31: 715-719.
144
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ตารางที่ 1 แสดงภูมิภาค อาเภอ จังหวัด พิกัดทางภูมิศาสตร์ พื้นที่ทาการเกษตร และชนิดของสัตว์อาศัย ของโอโอซีสต์ที่คัดแยกได้ในการศึกษาครั้งนี้ No Country
Sampling location
1 Eastern Thailand BanSang, PrachinBuri
2 Central Thailand Mueng, ChaiNat
Source
Locallity coordinating
Hosts (N)
Oocysts (N)
rice field
14.011897, 101.215630
7
2
rice field
15.19322, 100.123391
11
3
Host species (n)
Type of oocysts (n)
Ricefield rat; Rattus argentiventer (5)
Eimeria sp. (2)
Ryukyu mouse; Mus caroli (2)
N.A.
Ricefield rat; Rattus argentiventer (11)
Eimeria sp. (2) Isospora sp. (1)
KlongLuang, Pathumthani
coconut farm
14.176516, 100.771015
8
3
Roof rat; Rattus rattus (8)
Eimeria sp. (3)
Mueng, NakhonNayok
rice field
14.159897, 101.134773
15
6
Ricefield rat; Rattus argentiventer (5)
N.A.
Ryukyu mouse; Mus caroli (10)
Eimeria sp. (6)
Fawn-colored mouse; Mus cervicolor (16)
Eimeria sp. (5)
Mueng, Kanchanaburi
lemongrass
14.111819, 99.4964177
16
6
farm BanphotPhisai,
soybean farm
Isospora sp. (1) 15.967748, 99.897299
25
6
NakhonSawan BanLat, Phetchaburi
NongYang, UthaiTani
Phranakhon, Bangkok
peanut farm
rice field
13.072184, 99.887626
15.3228345, 99.6391726
SanamLuang 13.755344, 100.493134
15
10
3
3
1
1
Ryukyu mouse; Mus caroli (12)
Eimeria sp. (3)
Fawn-colored mouse; Mus cervicolor (14)
Eimeria sp. (4)
Roof rat; Rattus rattus (6)
N.A.
Fawn-colored mouse; Mus cervicolor (9)
Eimeria sp. (3)
Roof rat; Rattus rattus (5)
Eimeria sp. (1)
Fawn-colored mouse; Mus cervicolor (3)
N.A.
Polynesian rat; Rattus exulans (2)
N.A.
Norway rat; Rattus norvegicus (3)
Eimeria sp. (1)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
145
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ตารางที่ 1 แสดงภูมิภาค อาเภอ จังหวัด พิกัดทางภูมิศาสตร์ พื้นที่ทาการเกษตร และชนิดของสัตว์อาศัย ของโอโอซีสต์ที่คัดแยกได้ในการศึกษาครั้งนี้ (ต่อ) No Country 3 Northern Thailand
Sampling location MaeJam, ChiangMai
MaeWang, ChiangMai
Source Macadamia plantation
Locallity coordinating 18.647326, 98.476465
Hosts (N)
Oocysts (N)
21
5
18.639482, 98.512224
6
4
BoKluea, Nan Phan, ChiangRai
Macadamia plantation rice field rice field
19.139900, 101.155085 19.528509, 99.744685
7 12
1 2
NamNao, Phetchabun
Macadamia
16.945576, 101612696
12
3
plantation LomKao, Phetchabun
4 NorthEast Thailand
5 Southern Thailand
Sikhio, NakhonRatchasima
rice field
corn field
Host (n) Indochinese forest rat; Rattus andamanensis (16) Shrew mouse, Mus pahari (5) Indochinese forest rat; Rattus andamanensis (6) Asian rat; Rattus tanezumi (7) Asian rat; Rattus tanezumi (9) Ryukyu mouse; Mus caroli (3)
Type of oocysts (n) Eimeria sp. (4)
Indochinese forest rat;
Eimeria sp. (3)
Eimeria sp. (1) Eimeria sp. (2) N.A.
Rattus andamanensis (12) 16.850098, 101.200224
14.872284, 101.650930
16
31
3
6
Fawn-colored mouse; Mus cervicolor (13)
Eimeria sp. (3)
Ryukyu mouse; Mus caroli (3)
N.A.
Fawn-colored mouse; Mus cervicolor (5)
Eimeria sp. (3)
Ryukyu mouse; Mus caroli (9)
Isospora sp. (1), Eimeria sp. (1)
Ricefield rat; Rattus argentiventer (8)
N.A.
Roof rat; Rattus rattus (9)
Eimeria sp. (1)
Roof rat; Rattus rattus (9)
Eimeria sp. (2) N.A.
HatYai, SongKla
rice field
6.968445, 100.380445
9
2
Sawi, Chumphon
oil palm
10.188052, 99.109264
12
N.A.
Malayan wood rat, Rattus tiomanicus (12)
236
57
Prevalence 24.2%
plantation Total N.A., Not available
146
Eimeria sp. (1) Eimeria sp. (4)
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
OEB-11
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ตารางที่ 2 แสดงลักษณะต่างๆของโอโอซีสต์ทั้ง 6 ไอโซเลท ที่มีศัยภาพทาให้หนูทดลองป่วยและตายได้ ในการศึกษาครัง้ นี้ และโอโอซีสต์ของโปรโตซัวสกุล Eimeria จานวน 4 สปีชีส์ที่พบในหนูตามธรรมชาติ ที่มีในฐานข้อมูล (ค่าเฉลี่ย ± ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, S.D. มีหน่วยการวัดเป็นไมโครเมตร) No.
Voucher number /
Sampling location/
Acession number
Origin
Type Hosts
of
Oocysts OS
SI
OW
OR
MP
PG
SB
SR
Reference
14.77
1.5
smooth
-
-
-
+
+
A*, B*
29.99 ± 2.66
19.98 ± 3.59
1.5
smooth
-
-
-
+
+
This study
(26.73-31.68)
(15.80-20.74)
21.98 ± 3.53
16.43 ± 2.05
1.3
smooth
-
-
+
+
-
This study
(16.83-25.84)
(14.85-19.80)
18.1
15.6
1.2
smooth
-
-
+
+
+
C*, D*
(14-21)
(12-16)
20.99 ± 2.83
17.05 ± 1.90
1.2
smooth
-
-
+
+
+
This study
(18.81-25.74)
(12.87-17.82)
11.48 ± 2.48
8.51 ± 1.66
1.2
smooth
-
-
+
+
+
This study
(7.92-13.86)
(5.94-9.90)
15.5
12.5
1.2
smooth
-
-
+
+
-
E*
ellipsoidal
(15-16)
(12-13)
ellipsoidal
19.39 ± 1.92
15.45 ± 1.33
1.2
smooth
-
-
+
+
-
This study
(17.82-21.78)
(14.87-16.84)
27
21
1.3
granulated
-
-
+
+
+
E*, F*
(18-30)
(12-20)
29.11 ± 1.80
21.58 ± 2.47
1.3
rough
-
-
-
+
-
This study
(26.73-31.68)
(19.80-25.74)
oocysts 1
U40263
USA
R. norvegicus (brown rats )
E. nieschulzi
ellipsoidal to oval
2
RrK11 01
KlongLuang,
R. rattus
E. nieschulzi isolate K11 01
oval
Pathumthani 3
RnBkk 02
Phranakhon, Bangkok
R. norvegicus
Eimeria sp. ex
oval
Rattus norvegicus isolate Bkk 02
4 5 6 7
MH752015 Mpa MJ01 Ran MJ04 JQ993665
Germany MaeJam, ChiangMai MaeJam, ChiangMai Czech Republic
M. musculus M. pahari R. andamanensis Heliophobius argenteocinereus
E. ferrisi E. ferrisi isolate MJ01 E. ferrisi isolate MJ04 E. nafuko
(silvery mole rat) 8
MceNKW05
BanphotPhisai,
M. cervicolor
E. nafuko isolate NKW05
9
JQ993667
NakhonSawan Malawi
Mastomys natalensis
Eimeria sp.
(natal multimammate mouse)
ex Mastomys natalensis
R. andamanensis
Eimeria sp. ex Rattus andamanensis
10
Ran KW03
MaeWang, ChiangMai
isolate KW03
oval to ellipsoidal ellipsoidal ellipsoidal subspherical/
ellipsoidal oval
Length
Width
(min - max)
(min - max)
22.51
A* Mesfin and Bellamy, 1977; B* Relman et al., 1996; C* Koudela and Cerna, 1991; D* Matsui et al., 2005; E* Kvicerova and Hypsa. 2013; F* Devos and Dobson, 1970. OS - oocysts shape; SI - shape index; OW - oocysts wall; OR - oocysts residuum; MP – micropyle; PG – polar granule; SB – stieda body; SR – sporocyst residuum.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
147
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
ตารางที่ 3 แสดงลักษณะพยาธิสภาพ ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยา ร้อยละการตายของหนูทดลอง และจานวนวันที่ตายของหนูทดลอง ที่พบในหนูทดลองที่ป่วยและตาย จากการได้รับโอโอซีสต์ที่คัดแยกได้ในการศึกษาครั้งนี้ No.
Voucher
species
number 1
2
Rr K11 01
Rn Bkk02
E. nieschulzi isolate K11 01
Eimeria sp. ex Rattus norvegicus
Experimental
Inoculation dose
rodent species (n)
(treatment)
Rattus rattus (10)
Rattus rattus (10)
5,000 oocysts (T2)
5,000 oocysts (T2)
% Mortality
Range of
after
mortality
inoculation
(days)
30
6, 7 and 10
20
3 and 4
isolate Bkk 02
Clinical signs
Histopathological observation
weight loss and weakness
schizonts and merozoites
ballooning intestine
in intestine and
hemorrhagic enteritis
sloughing of intestinal mucosa
weight loss and weakness hemorrhagic enteritis
schizonts and merozoites in intestine and sloughing of intestinal mucosa
3
4
5
Mpa MJ01
Ran MJ04
Mce NKW05
E. ferrisi isolate MJ01
E. ferrisi isolate MJ04
E. nafuko isolate NKW05
Mus cervicolor (10)
Rattus rattus (10)
Mus cervicolor (10)
500 oocysts (T1)
5,000 oocysts (T2)
5,000 oocysts (T2)
40
20
20
3
3 and 4
5 and 7
weight loss and weakness
schizonts and merozoites
hemorrhagic enteritis
in intestine and
depression, ruffling and off food
sloughing of intestinal mucosa
weight loss and weakness
schizonts and merozoites
ballooning intestine
in intestine and
hemorrhagic enteritis
sloughing of intestinal mucosa
weight loss and weakness hemorrhagic enteritis
schizonts and merozoites in intestine and sloughing of intestinal mucosa
6
Ran KW03
Eimeria sp. ex Rattus andamanensis Rattus rattus (10) isolate KW03
148
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
5,000 oocysts (T2)
20
5 and 6
weight loss and weakness
schizonts and merozoites
ballooning intestine
in intestine and
hemorrhagic enteritis
sloughing of intestinal mucosa
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
1A
1B
1C
10 uM
10 uM
10 uM
1D
10 uM
OEB-11
1E
10 uM
1F
10 uM
ภาพที่ 1 แสดงลักษณะโอโอซีสต์ของโปรโตซัว Eimeria spp. 6 ไอโซเลท ที่มีศักยภาพทาให้หนูทดลองป่วย และตายได้ ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ (ที่ ก าลั ง ขยาย 100 เท่ า ), 1A) Eimeria nieschulzi isolate K11 01 (voucher RrK11 01); พ บ มี stieda body (หั ว ลู ก ศ ร ) แ ล ะ มี sporocyst residuum (ลู ก ศ ร ). 1B) Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate Bkk02 (voucher RnBKK 02); พบมี stieda body (หั ว ลูก ศร) และมี polar granule (ลู ก ศร). 1C) Eimeria ferrisi isolate MJ01 (voucher MpaMJ 01); พบมี stieda body (หั ว ลู ก ศร) และมี polar granule (ลู ก ศร). 1D) Eimeria ferrisi isolate MJ04 (voucher RanMJ04); พบมี stieda body (หัวลูก ศร) และมี polar granule (ลูกศร). 1E) Eimeria nafuko isolate NKW05 (voucher MceNKW 05); พบมี stieda body (หัวลูกศร) และมี polar granule (ลูกศร) และ 1F) Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 (voucher RanKW 03); พ บ stieda body (หัวลูกศร).
ภาพที่ 2 แสดงลักษณะลาไส้พองลม และลาไส้อักเสบ B (ลูกศร) ของหนูทดลองที่ได้รับโอโอซีสต์ของ Eimeria nieschulzi isolate K11 01 (voucher RrK11 01) จ านวน 5,000 โอโอซีสต์ (กรรมวิธีที่ 2) ที่ป่วยและตาย ภายใน 6 วันภายหลังจากได้รับเชื้อ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
149
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
U40263 Eimeria nieschulzi
75/75 99
Eimeria nieschulzi isolate K11 01 (voucher RrK11 01) JQ993662 Eimeria sp. ex Apodemus sylvaticus isolate 08 53
79/75 80
JQ993658 Eimeria sp. ex Apodemus agrarius isolate 21617 78/90 KU192917 82/86 91
A
Eimeria kaunensis
JQ993663 Eimeria sp. ex Cricetus cricetus isolate K7
80
Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 (voucher Rn BKK02) AF246717 Eimeria telekii 89/94 MH752015 100
Eimeria ferrisi
B
Eimeria ferrisi isolate MJ01 (voucher Mpa MJ01) Eimeria ferrisi isolate MJ04 (voucher Ran MJ04)
OR-
JQ993664 Eimeria sp. ex Gerbillus dasyurus 74/78 85
AF311644 Eimeria sevilletensis KU192973 Eimeria apionodes Eimeria nafuko isolate NKW05 (voucher Mce NKW05)
84/88 90
C
Clade I
JQ993665 Eimeria nafuko
Rodent hosts
AF080614 Eimeria falciformis JQ993667 Eimeria sp. ex Mastomys natalensis
78/72 98 75/79 98
Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 (voucher Ran KW03)
D
JQ993659 Eimeria alorani AF307878 Eimeria arizonensis 82/81 85
AF339489 Eimeria chaetodipi AF307880 Eimeria albigulae AF339492 Eimeria peromysci
81/82 96
E
OR+
AF307879 Eimeria onychomysis JQ993648 Eimeria callospermophili JQ993654 Eimeria sp. ex Acomys sp. JK-2013 isolate K2
91/88 80
U67118 Eimeria mitis 88/86 100
DQ136187 Eimeria acervulina 83/82 100
KT184351 Eimeria praecox
Clade II Avian hosts
AF026388 Eimeria tenella
KT184334 Eimeria ahsata 86/90 100
AF345997 Eimeria ovinoidalis 71/76 100
KT184356 Eimeria zuernii
Clade III Bovine hosts
U77084 Eimeria bovis 99/100 100
EF694011 Eimeria flavescens EF694014 Eimeria piriformis 99/100 100
Clade IV Lagomorph hosts
M97703 Toxoplasma gondii U03069 Neospora caninum
Out group
0.01
ภาพที่ 3 แผนภูมิความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมบริเวณ 18S rDNA ความยาว 700 คู่เบส ของ Eimeria spp. ทั้ ง 6 ไอโซเลท ที่ มี ศัก ยภาพท าให้ ห นู ท ดลองป่ วยและตายได้ ในการศึก ษาครั้งนี้ และโปรโตซั ว Eimeria ชนิ ด อื่ น ๆ จากการวิเ คราะห์ โ ดยวิธี neighbor-joining (NJ), maximum likelihood (ML) และ baysian inference (BI) โดยมี Toxoplasma gondii และ Neospora caninum. เป็นโปรโตซัวนอกกลุ่ม ตัวเลขที่อยู่ ด้านบนกิ่งแสดงค่า bootstrap 1,000 replicates ของการวิเคราะห์ NJ/ML ขณะที่ตัวเลขด้านล่างกิ่งแสดงค่า bayesian posterior probability ของการวิ เ คราะห์ BI. แล ะค่ า scale bar แ สดงถึ ง nucleotides substitutions per site.
150
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEB-11
จานวนโอโอซีสต์ ของ E. nieschulzi isolate K11 01
ภาพที่ 4 แสดงปริมาณโอโอซีสต์ของ Eimeria nieschulzi isolate K11 01 ที่พบถูกขับออกมาพร้อมกับ มูลหนู หลังจากการให้เชื้อโดยตรงทางปากกับหนูท้องขาวบ้าน จานวน 2,500 โอโอซีสต์ ภายในระยะเวลา 10 วัน หลังจากได้รบั เชื้อ (dpi)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
151
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก สาหรับการป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก The Study of Poison Protein Bait Trap Spacing for Controlling Fruit Fly (Bactrocera latifrons (Hendel)) in Chili Plantations กรกต ดารักษ์ สัญญาณี ศรีคชา และ วิภาดา ปลอดครบุรี Korrakot Damrak Sunyanee Srikachar and Wipada Plodkornburee สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก สาหรับการป้องกันกาจัด แมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก เปรียบเทียบ 2 วิธี ระหว่างวิธีที่ 1 ติดตั้งกับดัก เหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร และวิธีที่ 2 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีน รอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร ดาเนินการที่แปลงเกษตรกร แปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ. จักราช จ.นครราชสีมา ระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ค. 2560 และแปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ระว่ างเดือน มี.ค.-พ.ค. 2561 พบแมลงวันผลไม้ในกั บ ดัก 4 ชนิด ได้แก่ Bactrocera latifrons (Hendel), Bactrocera dorsalis (Hendel), Bactrocera cucurbitae (Coquillett) และ Bactrocera tau (Walker) โดยพบจานวน B. latifrons มากที่สุด จากการเปรียบเทียบการใช้กับดักทั้งสองวิธีโดยวิเคราะห์เปอร์เซ็นต์การ ทาลายของแมลงวันทองพริก ในแปลงทดลองด้วย t-test แบบ 2 กลุ่ม ที่ เป็นอิส ระต่อกั น พบว่าไม่ มี ความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) คาสาคัญ : พริก แมลงวันทองพริก กับดักเหยื่อพิษโปรตีน ABSTRACT The study of spatial scale of poison protein bait traps were carried out in two locations including Nong Pluang, Chakkarat (Nakhon Ratchasima) in June-July 2017 and Chaeng Ngam, Nong Ya Sai (Suphan Buri) in March-May 2018. Two spacing consist of five and ten meters trap spacing of poison protein bait were compared to determine the appropriate spacing in chili plantations. Four species of Bactocera, including B. latifrons (Hendel), B. dorsalis (Hendel), B. cucurbitae (Coquillett), and B. tau (Walker), were found in poison protein bait traps. The most abundant species was B. latifrons in both locations. There were 152
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
no significant differences of the efficiency between traps spaced between five or ten meters by t-test. Keywords: chili, Bactrocera latifrons, poison protein bait trap คานา พริกเป็นหนึ่งในพืชผักที่มีการปลูกอย่างแพร่หลายในประเทศไทย เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญและทา รายได้ดี อีกทั้งมีศักยภาพในการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศ โดยข้อมูลจากสานักเศรษฐกิจการเกษตร ใน ปี 2556 มีปริมาณการส่งออกพริกไปยังต่างประเทศ โดยปริมาณการส่งออกพริกสด 74,517 กิโลกรัม คิดเป็น มูลค่า 7,681,620 บาท และปริมาณการส่งออกพริกแห้ง 3,456,720 กิ โลกรัม คิดเป็นมู ลค่า 172,410,171 บาท แต่เนื่องจากการปลูกพริกในประเทศไทยมีปัญหาจากการเข้าทาลายของแมลงวันผลไม้ชนิดที่สาคัญคือ แมลงวันทองพริก (Solanum fruit fly; Bactrocera latifrons (Hendel)) (กองกีฏและสัตววิทยา, 2544) จากการศึกษาค้นคว้าวิจัยการป้องกันกาจัดแมลงวันผลไม้โดยทั่วไปที่ผ่านมาพบว่ามีหลายวิธี เช่น การ รักษาแปลงปลูกให้สะอาดเพื่อให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการแพร่ระบาด การห่อผลด้วยวัสดุต่างๆ ใน เวลาที่เหมาะสมซึ่งขึ้นกับพืชที่ทาการเพาะปลูก การพ่นด้วยสารฆ่าแมลง malathion (Malathion 57% EC) อัตรา 20-30 มิลลิลิตรต่อน้า 20 ลิตร ทุกๆ 7 วัน และการพ่นด้วยเหยื่อพิษที่ประกอบด้วยยีสต์โปรตีนในอัตรา 200 มิลลิลิตร ผสมกับสารฆ่าแมลง malathion (Malathion 57% EC) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้า 5 ลิตร ทุก 7 วัน โดยพ่นแบบเป็นจุด (Spot Treatment) ในเวลาเช้าตรู่ เริ่มพ่นก่อนการระบาด 1 เดือน การพ่นเหยื่อ โปรตีน อาศัยหลักการพื้นฐานทางชีววิทยาที่เมื่อตัวเต็มวัยฟักออกจากดักแด้ใหม่ๆ จะมีความต้องการอาหารที่ มีปริมาณโปรตีนสูงเพื่อพัฒนาอวัยวะสืบพันธุ์และวางไข่ การป้องกันกาจัดใช้ยีสต์ออโตไลเซท ผสมสารฆ่าแมลง malathion (Malathion 57% EC) พ่ นทิ้ งไว้บนใบพืช เพื่อให้แมลงวันผลไม้มากิ น และตายก่อนที่จ ะมีอายุ ครบผสมพันธุ์และวางไข่ เหยื่อล่อแมลงวันผลไม้ดึงดูดแมลงวันผลไม้เสมือนหนึ่งเป็นอาหารของมัน ระยะในการ ดึงดูดจะไม่ไกลและส่ งกลิ่นล่อแมลงวันผลไม้ได้เพียงไม่เกิ น 10 เมตรเท่านั้น เหยื่อนี้จ ะล่อแมลงวันผลไม้ได้ ภายใน 7 วัน หลังจากพ่นไปบนต้นไม้หรือผสมกับสารอื่นๆ ทั้งนี้เนื่องจากแสงแดดและจุลินทรีย์ในบรรยากาศ ได้ทาลายให้เหยื่อแปรสภาพไปทีละน้อย จนเหยื่อไม่ดึงดูดแมลงวันผลไม้ได้อีกต่อไป (กองกีฏและสัตววิทยา, 2544) สาหรับการวิจัยการป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริก B. latifrons วิภาดา และคณะ (2556) ได้นาเหยื่อ พิษโปรตีนมาทาการทดลองโดยใช้ทดสอบเพื่อป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริก B. latifrons ในพริก ซึ่งพบว่า การเริ่มพ่นเหยื่อพิษโปรตีนอินไวท์ตั้งแต่พริกเหลืองอยู่ในระยะติดผลอายุประมาณ 2.5 เดือนหลังย้ายปลูก โดย การพ่นเหยื่อพิษโปรตีน อัตราเหยื่อโปรตีนอินไวท์ 200 มิลลิลิตร ผสมสาร malathion 57% EC อัตรา 10 มิล ลิลิตร ในน้า 5 ลิตร เป็นจุดทุ กต้นรอบแปลงและพ่นเป็นแถวต้นละจุด ห่างกันแถวละ 5 เมตร พ่นทุ ก สัปดาห์ สามารถลดการเข้าทาลายจากแมลงวันทองพริกในพริกได้ โดยพบหนอนเข้าทาลายพริกเฉลี่ย 9.77 ตัว ต่อน้าหนักพริก 1 กิโลกรัม น้อยกว่ากรรมวิธีการป้องกันกาจัดด้วยวิธีของเกษตรกรซึ่งพบหนอนเฉลี่ย 17.59 ตัวต่อน้าหนักพริก 1 กิโลกรัม นอกจากนี้ยังมีรายงานการใช้เหยื่อพิษโปรตีน ที่ GF-120 ซึ่งเป็นสารฆ่าแมลง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
153
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
สปินโนแซดผสมกับเหยื่อโปรตีน (spinosad-based hydrolysed protein bait) เพื่อทดแทนการใช้สารฆ่า แมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตในการควบคุมแมลงวันผลไม้แบบพื้นที่กว้าง (Area-Wide Fruit Fly Program) ในรัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกา (Vargas et al, 2015) ในปัจจุบัน มีคาแนะนาการป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริกหลายวิธี เช่น วิธีการรักษาแปลงปลูกให้ สะอาด การพ่นด้วยสารฆ่าแมลง และการพ่นด้วยเหยื่อพิษโปรตีน แต่จากปัญหาการเข้าทาลายของแมลงวัน ทองพริกที่ยังคงเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ผลผลิตเสียหายและมีคุณภาพต่า เกษตรกรต้องทาการป้องกันกาจัดทั้ ง ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว ซึ่งทาให้ต้นทุนผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น การป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริกโดยใช้สารฆ่า แมลงอย่างต่อเนื่องทาให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิตและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ การปนเปื้อนของแมลงวัน ทองพริกในผลผลิตที่ส่งออกยังก่อให้เกิดปัญหาด้านการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากแมลงวันทองพริกชนิดนี้ เป็นแมลงศัตรูกั ก กั นของประเทศคู่ค้าหลายประเทศ และถูก นามาใช้เป็นเครื่องมื อกี ดกั นทางการค้าจาก ต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา กลุ่มสหภาพยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน และจีน ดังนั้นจึงต้องหาวิธีป้องกันกาจัดแบบผสมผสานมาใช้ร่วมกัน วิธีการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดักในแปลง ปลูกจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่สามารถนามาใช้ผสมผสานร่วมกันกับวิธีอื่นๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัด แมลงวันทองพริก โดยผลจากการศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดั กนี้ จะ สามารถนาไปปรับใช้ร่วมกับวิธีป้องกันกาจัดแมลงวันทองพริกวิธีอื่นในแปลงปลูกพริกได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ อุปกรณ์และวิธีการ ดาเนินการทดลองในแปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์ จินดาของเกษตรกร จานวน 2 แปลง แปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ.นครราชสีม า ขนาดพื้นที่ 2.5 ไร่ ปลูก สภาพไร่ ระยะปลูกระหว่างแถว 1 เมตร ระยะระหว่างต้น 50 เซนติเมตร แปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ ปลูก สภาพไร่ ระยะปลูกระหว่างแถว 1 เมตร ระยะระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ท าการทดสอบระยะห่ างที่ เ หมาะสมในการใช้ เ หยื่ อ พิ ษ โปรตี น ในรู ป แบบกั บ ดั ก 2 วิ ธี 10 ซ้ า เปรียบเทียบ 2 วิธี โดยใช้ t-test แบบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน วิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร วิธีที่ 2 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร การใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก มีอัตราและวิธีการใช้ดังนี้ อั ต ราการใช้ : เหยื่ อ โปรตี น (แซนซ-ไฟล) อั ต รา 200 มิ ล ลิ ลิ ต ร ผสมกั บ สารฆ่ า แมลง malathion 57% W/V EC (มาดิเอท 57) อัตรา 10 มิลลิลิตร ในน้า 5 ลิตร วิธีการใช้: เทเหยื่อพิษโปรตีนจานวน 40 มิลลิลิตร ใส่ในถ้วยพลาสติกขนาดเล็กที่มีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 6 เซนติเมตร สูง 3 เซนติเมตร โดยใส่สาลีเพื่อช่วยให้เหยื่อพิษโปรตีนคงตัวอยู่ในถ้วยพลาสติก แล้ว นาไปใส่ในกับดักที่ทาจากกระบอกพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 11 เซนติเมตร สูง 6.5 เซนติเมตร ที่ถูก 154
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
เจาะรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5 เซนติเมตร สี่ทิศตรงกันข้ามกัน เพื่อให้แมลงวันทองพริกบินเข้ากับดัก และ ใช้แผ่นฟิวเจอร์บอร์ดเป็นฝาปิดทั บด้านบน ใช้ลวดยึดตัวกับดักไว้กับไม้ ปักแปลง จากนั้นจึงนาไปติดตั้งรอบ แปลงปลูกที่ระดับความสูง 15 เซนติเมตร จากพื้นดิน (ภาพที่ 1) ในแปลงพริกระยะเก็บเกี่ยวจนถึงเก็บเกี่ยว ผลผลิตรุ่นสุดท้าย โดยทาการเปลี่ยนเหยื่อพิษโปรตีนใหม่ทุกสัปดาห์ ติดกับดักรอบแปลงปลูกตามวิธีที่ 1 และ 2 จานวนวิธีละ 10 แปลงย่อย โดยมีระยะห่างระหว่างวิธี 10 เมตร เก็บข้อมูลโดยนับจานวนแมลงวันผลไม้ที่ติดเข้ามาในกับดักทุกสัปดาห์ (ภาพที่ 2) บันทึกจานวน ชนิด และเพศของแมลงวันผลไม้ที่เข้ามาในกับดัก และสุ่มเก็บผลพริกในระยะที่พริกเปลี่ยนสีจากเขียวเป็นแดงแล้ว จนถึงผลผลิตรุ่นสุดท้ายทุกสัปดาห์ ครั้งละ 20 ผล ต่อแปลงย่อย บันทึกจานวนผลดี ผลเสีย เพื่อหาเปอร์เซ็นต์ การทาลายของแมลงวันทองพริก วิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การทาลายของแมลงวันทองพริกจากจานวนผลเสีย ด้วยค่าสถิติ t-test แบบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน ระหว่างวิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูก ที่ระยะห่างระหว่างกับ ดักทุ ก 5 เมตร และ วิธีที่ 2 ติดตั้งกับ ดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่าง ระหว่างกับดักทุก 10 เมตร เวลาและสถานที่ การศึก ษาทดลองในโครงการนี้ เริ่ม ต้น ตั้ง แต่ ตุ ล าคม 2559 สิ้น สุด พฤษภาคม 2561 โดยมี ก าร ดาเนินการในห้องปฏิบัติการกลุ่มบริหารศัตรูพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร และใน แปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์จินดาของเกษตรกร แปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ.นครราชสีมา และ แปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
155
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ภาพที่ 1 การติดตัง้ กับดักเหยื่อพิษโปรตีนในแปลงปลูก
ภาพที่ 2 แมลงวันผลไม้ที่ติดเข้ามาในกับดักเหยื่อพิษโปรตีน
156
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
OEA-01
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
ผลและวิจารณ์ จากการดาเนินการทดลองในแปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์จินดาของเกษตรกร แปลงที่ 1 ต.หนอง พลวง อ.จักราช จ.นครราชสีมา ขนาดพื้นที่ 2.5 ไร่ และมีประวัติพบการเข้าทาลายของแมลงวันทองพริกใน พื้นที่แปลงปลูก ทาการแบ่งพื้นที่ออกเป็นแปลงย่อย จานวนวิธีละ 10 แปลงย่อย ขนาดแปลงย่อย 3x60 เมตร เพื่อติดตั้งกั บดัก เหยื่อพิ ษโปรตีนรอบแปลงปลูก ตามวิธีที่ 1 ติดตั้งกั บดัก เหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงป ลูก ที่ ระยะห่างระหว่างกับ ดักทุก 5 เมตร จานวน 26 กับดัก/แปลงย่อย และวิธีที่ 2 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีน รอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร จานวน 14 กับดัก/แปลงย่อย ทาการเก็บแมลงวันผลไม้ ที่ติดเข้ามาในกับดัก โดยบันทึกจานวน ชนิด และเพศของแมลงวันผลไม้ที่เข้ามาในกับดักเหยื่อพิษโปรตีนและ เปลี่ยนเหยื่อพิษโปรตีนใหม่ ทุกสัปดาห์ รวมทั้งสุ่ มเก็บผลพริกในระยะที่ พริกเปลี่ยนสีจากเขียวเป็นแดงทุ ก สัปดาห์ ครั้งละ 20 ผล ต่อแปลงย่อย ในระยะเก็บเกี่ยวผลพริกจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตรุ่นสุดท้าย บันทึกจานวน ผลดี ผลเสีย เพื่อหาเปอร์เซ็นต์การทาลายของแมลงวันทองพริก ในระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2560 จากการเก็บข้อมูล 8 ครั้ง พบว่า มีแมลงวันผลไม้ติดเข้ามาในกับดักจานวน 328 ตัว สามารถจาแนกได้ 3 ชนิด คือ แมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) แมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Hendel) และ แมลงวันแตง Bactrocera cucurbitae (Coquillett) โดยพบแมลงวันทองพริก B. latifrons จานวน 293 ตัว เป็นเพศเมีย 161 ตัว และเพศผู้ 132 ตัว ส่วนแมลงวันทอง B. dorsalis พบจานวน 33 ตัว เป็นเพศเมีย 5 ตัว และเพศผู้ 28 ตัว และพบแมลงวันแตง B. cucurbitae จานวน 2 ตัว เป็นเพศเมีย 1 ตัว และเพศผู้ 1 ตัว และ มีจานวนเฉลี่ยแมลงวันทองพริก B. latifrons ในวิธีที่ 1 จานวน 0.17, 0.30, 0.27, 0.43, 0.15, 0.13, 0.06 และ 0.01 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ โดยเป็นจานวนเฉลี่ยแมลงวันทองพริก B. latifrons เพศเมีย 0.08, 0.09, 0.13, 0.30, 0.08, 0.06, 0.04, และ 0.01 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ ตามลาดับ ส่วนในวิธีที่ 2 มีจานวนเฉลี่ยแมลงวันทอง พริก B. latifrons 0.14, 0.19, 0.12, 0.32, 0.13, 0.06, 0.01 และ 0 ตัว/กั บ ดัก /สัป ดาห์ โดยเป็นจานวน เฉลี่ย แมลงวันทองพริก B. latifrons เพศเมีย 0.09, 0.12, 0.08, 0.21, 0.08, 0.04, 0 และ 0 ตัว/กั บดัก / สัปดาห์ ตามลาดับ มีเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริกในวิธีที่ 1 40.50%, 76.50%, 63.50%, 76.50%, 74.50%, 81.50%, 75.00% และ 88.50% และในวิธีที่ 2 54.00%, 86.50%, 52.50%, 82.50%, 81.50%, 89.50%, 78.00% และ 85.50% ตามล าดับ (ตารางที่ 1) จากข้ อมู ลดังกล่าวพบว่ามีจ านวนเฉลี่ย แมลงวันทองพริก B. latifrons มากที่สุดในวิธีที่ 1 0.43 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ และจานวนเฉลี่ยน้อยที่สุดในวิธีที่ 2 0 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ โดยพบจานวนเฉลี่ยเพศเมียมากที่สุด 0.30 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ ในวิธีที่ 1 และจานวน เฉลี่ยเพศเมียน้อยที่สุดในวิธีที่ 2 0 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ สาหรับเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทอง พริก พบเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ย สูงสุด ในวิธีที่ 2 89.50% และเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยต่าสุดในวิธีที่ 1 40.50% (ตารางที่ 1)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
157
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
ตารางที่ 1 จานวนแมลงวันทองพริก B. latifrons เฉลี่ย (ตัว/กับดัก/สัปดาห์) ที่พบในกับดักเหยื่อพิษโปรตีน และเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก ระหว่างวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 ที่พบในแปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ.นครราชสีมา ในระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2560 ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ค่าเฉลี่ย
จานวน B. latifrons เฉลี่ย (ตัว/กับดัก/สัปดาห์) รวม เพศเมีย วิธีที่ 11/ วิธีที่ 22/ วิธีที่ 11/ วิธีที่ 22/ 0.17 0.14 0.08 0.09 0.30 0.19 0.09 0.12 0.27 0.12 0.13 0.08 0.43 0.32 0.30 0.21 0.15 0.13 0.08 0.08 0.13 0.06 0.06 0.04 0.06 0.01 0.04 0 0.01 0 0.01 0 0.19 0.12 0.10 0.08
เปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ย ของ B. latifrons (%) วิธีที่ 11/ วิธีที่ 22/ 40.50 54.00 76.50 86.50 63.50 52.50 76.50 82.50 74.50 81.50 81.50 89.50 75.00 78.00 88.50 85.50 72.06 76.25
1/
วิธีที่ 1 ติดตัง้ กับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร วิธีที่ 2 ติดตัง้ กับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร
2/
จากการดาเนินการทดลองในแปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์จินดาของเกษตรกร แปลงที่ 2 ต.แจง งาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ขนาดพื้นที่ 2 ไร่ และมีประวัติพบการเข้าทาลายของแมลงวันทองพริ กใน พื้นที่แปลงปลูก ทาการแบ่งพื้นที่ออกเป็นแปลงย่อย จานวนวิธีละ 10 แปลงย่อย ขนาดแปลงย่อย 3x30 เมตร เพื่อติดตั้งกั บดัก เหยื่อพิ ษโปรตีนรอบแปลงปลูก ตามวิธีที่ 1 ติดตั้งกั บดัก เหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูก ที่ ระยะห่างระหว่างกั บ ดักทุก 5 เมตร จานวน 14 กับดัก/แปลงย่อย และวิธีที่ 2 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีน รอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร จานวน 8 กับดัก/แปลงย่อย ทาการเก็บแมลงวันผลไม้ที่ ติดเข้ามาในกับดัก โดยบันทึกจานวน ชนิด และเพศของแมลงวันผลไม้ที่ เข้ามาในกับดักเหยื่อพิษโปรตีนและ เปลี่ยนเหยื่อพิษโปรตีนใหม่ ทุ กสัปดาห์ รวมทั้งสุ่มเก็บผลพริกในระยะที่ พริกเปลี่ยนสีจากเขียวเป็นแดงทุ ก สัปดาห์ ครั้งละ 20 ผล ต่อแปลงย่อย ในระยะเก็บเกี่ยวผลพริกจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตรุ่นสุดท้าย บันทึกจานวน ผลดี ผลเสีย เพื่อหาเปอร์เซ็นต์การทาลายของแมลงวันทองพริก ในระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2561 จากการเก็บข้อมูล 8 ครั้ง พบว่า มีแมลงวันผลไม้ติดเข้ามาในกับดักจานวน 58 ตัว สามารถจาแนกได้ 4 ชนิด คื อ แมลงวั น ทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) แมลงวัน ทอง Bactrocera dorsalis (Hendel) แมลงวั นแตง Bactrocera cucurbitae (Coquillett) และแมลงวันผลไม้ ชนิด Bactrocera tau (Walker) โดยพบแมลงวันทองพริก B. latifrons จานวน 49 ตัว เป็นเพศเมีย 15 ตัว และเพศผู้ 34 ตัว ส่วนแมลงวัน ทอง B. dorsalis พบจานวน 5 ตัว เป็นเพศเมีย 1 ตัว และเพศผู้ 4 ตัว แมลงวันแตง B. cucurbitae จานวน 158
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
2 ตัว เป็นเพศผู้ 2 ตัว และแมลงวันผลไม้ชนิด B. tau จานวน 2 ตัว เป็นเพศเมีย 1 ตัว และเพศผู้ 1 ตัว และมี จ านวนเฉลี่ยแมลงวันทองพริก B. latifrons ในวิธีที่ 1 จ านวน 0.05, 0.03, 0.03, 0.06, 0.01, 0.06, 0.04 และ 0.03 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ โดยเป็นจานวนเฉลี่ยแมลงวันทองพริก B. latifrons เพศเมีย 0.04, 0, 0.01, 0.01, 0, 0.03, 0.01 และ 0.01 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ ตามลาดับ ส่วนในวิธีที่ 2 มีจานวนเฉลี่ยแมลงวันทองพริก B. latifrons 0, 0.05, 0.02, 0.11, 0.02, 0.18, 0.14 และ 0.05 ตัว/กับ ดัก /สัปดาห์ โดยเป็นจ านวนเฉลี่ย แมลงวันทองพริก B. latifrons เพศเมีย 0, 0.02, 0, 0.02, 0, 0, 0.09 และ 0 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ ตามลาดับ ส าหรับ เปอร์เซ็น ต์ก ารท าลายเฉลี่ย ของแมลงวันทองพริก พบว่าในวิธีที่ 1 มีเปอร์เซ็น ต์ก ารท าลายเฉลี่ ย 28.50%, 29.00%, 56.50%, 68.00%, 36.00%, 41.00%, 50.50% และ 62.50% และในวิธีที่ 2 24.50%, 39.50%, 58.50%, 67.00%, 42.00%, 35.50%, 50.00% และ 76.50% ตามลาดับ (ตารางที่ 2) จากข้อมู ล ดังกล่าวพบว่ามีจานวนเฉลี่ยแมลงวันทองพริก B. latifrons มากที่สุดในวิธีที่ 2 0.18 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ และ จานวนเฉลี่ยน้อยที่สุดในวิธีที่ 2 0 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ โดยพบจานวนเฉลี่ยเพศเมียมากที่สุด 0.09 ตัว/กับดัก/ สัปดาห์ ในวิธีที่ 2 และพบจานวนเฉลี่ยเพศเมียน้อยที่สุดทั้งในวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 0 ตัว/กับดัก/สัปดาห์ สาหรับ เปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก พบเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยสูงสุด ในวิธีที่ 2 76.50% และ เปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยต่าสุดในวิธีที่ 2 24.50% (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 จานวนแมลงวันทองพริก B. latifrons เฉลี่ย (ตัว/กับดัก/สัปดาห์) ที่พบในกับดักเหยื่อพิษโปรตีน และเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก ระหว่างวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 ที่พบในแปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ในระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2561 ครั้งที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 ค่าเฉลี่ย
จานวน B. latifrons เฉลี่ย (ตัว/กับดัก/สัปดาห์) รวม เพศเมีย วิธีที่ 11/ วิธีที่ 22/ วิธีที่ 11/ วิธีที่ 22/ 0.05 0 0.04 0 0.03 0.05 0 0.02 0.03 0.02 0.01 0 0.06 0.11 0.01 0.02 0.01 0.02 0 0 0.06 0.18 0.03 0 0.04 0.14 0.01 0.09 0.03 0.05 0.01 0 0.04 0.07 0.01 0.02
เปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ย ของ B. latifrons (%) วิธีที่ 11/ วิธีที่ 22/ 28.50 24.50 29.00 39.50 56.50 58.50 68.00 67.00 36.00 42.00 41.00 35.50 50.50 50.00 62.50 76.50 46.50 49.19
1/
วิธีที่ 1 ติดตัง้ กับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร วิธีที่ 2 ติดตัง้ กับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร
2/
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
159
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
เมื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก B. latifrons ด้วยค่าสถิติ t-test แบบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน ระหว่างวิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูก ที่ระยะห่างระหว่างกับ ดักทุ ก 5 เมตร และ วิธีที่ 2 ติดตั้งกับ ดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลู กที่ระยะห่าง ระหว่างกับดักทุก 10 เมตร ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 พบว่า ในการทดสอบที่แปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์ จินดาของเกษตรกรในแปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ.นครราชสีมา ได้ค่า t-test มีค่าเท่ากับ -0.5742 ค่า p-value = 0.5749 ซึ่งมากกว่าระดับนัยสาคัญที่ตั้งไว้ที่ 0.05 ดังนั้นการติดตั้งกับดักเหยื่อ พิษโปรตีนรอบ แปลงปลูกทั้ง 2 วิธี ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่ 3) และในการทดสอบ ที่แปลงปลูกพริกพันธุ์จินดาของเกษตรกรในแปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ได้ค่า t-test มีค่าเท่ากับ -0.3307 ค่า p-value = 0.7457 ซึ่งมากกว่าระดับนัยสาคัญที่ตั้งไว้ที่ 0.05 ดังนั้นการติดตั้งกับดัก เหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกทั้ง 2 วิธี ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่ 4) ตารางที่ 3 เปรียบเที ยบเปอร์เซ็นต์ก ารทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก B. latifrons ด้วยค่าสถิติ t-test แบบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน ระหว่างวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 ในแปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ. นครราชสีมา ในระหว่างเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2560 Mean
t
p
วิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลง ปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร
72.0625
-0.5742
0.5749 (ns)
วิธีที่ 2 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลง ปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร
76.25
ns=ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
ตารางที่ 4 เปรียบเที ยบเปอร์เซ็ นต์ก ารทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก B. latifrons ด้วยค่าสถิติ t-test แบบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน ระหว่างวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 ในแปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ในระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2561 Mean วิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลง ปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร
46.50
วิธีที่ 2 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลง ปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร
49.1875
ns=ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05
160
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
t
p
-0.3307
0.7457 (ns)
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-01
สรุปผลการทดลอง การทดสอบระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก สาหรับการป้องกันกาจัด แมลงวันทองพริก B. latifrons เปรียบเทียบ 2 วิธี ระหว่าง วิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูก ที่ระยะห่างระหว่างกับ ดักทุ ก 5 เมตร และ วิธีที่ 2 ติดตั้งกับ ดักเหยื่ อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่าง ระหว่างกับดักทุก 10 เมตร ในแปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์จินดาของเกษตรกร แปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ.นครราชสีมา และแปลงที่ 2 ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี เมื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์ เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การทาลายเฉลี่ยของแมลงวันทองพริก B. latifrons ด้วยค่าสถิติ t-test แบบ 2 กลุ่มที่ เป็นอิสระต่อกัน ระหว่างวิธีติดกับดัก 2 วิธี ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 พบว่า การติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบ แปลงปลูกทั้ง 2 วิธี ของทั้ง 2 แปลง ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) จึงแนะนาให้ติด กับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร เพราะไม่ทาให้การทาลายของ แมลงวันทองพริกลดลงได้มากกว่าการติดกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร ซึ่งจะลดปริมาณการใช้กับดักได้ คาขอบคุณ ขอขอบคุณ ดร.มานิตา คงชื่นสิน ที่ป รึก ษากรมวิชาการเกษตรด้านกี ฏวิทยา คุณพุฒ นา รุ่งระวี ที่ ปรึกษากรมวิชาการเกษตรด้านวิชาการสถิติและการประเมินผลงานวิจัย คุณศรุต สุทธิอารมณ์ นักกีฏวิทยา ชานาญการพิเศษ คุณวนาพร วงษ์นิคง นักกีฏวิทยาชานาญการ ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษาแนะนา ขอขอบคุณ คุณสมาน ร่มเริง คุณเกสร เอี่ยมฉ่า ที่เอื้อเฟื้อแปลงปลูกพริกขี้หนูผลใหญ่พันธุ์จินดาสาหรับดาเนินงานทดลอง และขอขอบคุณพนักงานราชการและเจ้าหน้าที่กลุ่มบริหารศัตรูพืชทุกท่าน ที่ให้การช่วยเหลืองานวิจัย ทาให้ งานวิจัยชิ้นนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เอกสารอ้างอิง กองกี ฏและสัตววิท ยา. 2544. แมลงวันผลไม้ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการกองกี ฏและสัตววิท ยา กรม วิชาการเกษตร กรุงเทพฯ. วิภาดา ปลอดครบุรี สัญ ญาณี ศรีคชา ศรุต สุท ธิอารมณ์ และเกรียงไกร จาเริญ มา. 2556. การใช้เหยื่อพิษ โปรตีนเพื่อป้องกันกาจัดแมลงวันผลไม้ในพริก. วารสารกีฏและสัตววิทยา 31(1): 17-28. Vargas, R.I., J.C. Piñero, and L. Leblanc. 2015. An overview of pest species of Bactrocera fruit flies (Diptera: Tephritidae) and the integration of biopesticides with other biological approaches for their management with a focus on the Pacific Region. Insects. 6: 297– 318.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
161
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงวันผลไม้ Efficiency of Entomopathogenic Fungi to Control Fruit Fly ปิยธิดา สนิท และ จุรีมาศ วังคีรี Piyatida Sanit and Jureemart Wangkeeree สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology, Thammasat University Rangsit Centre, Khlong Nueng, Khlong Luang, Pathum Thani 12120
บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) เป็นศัตรูพืชที่สาคัญทางการเกษตร พบการแพร่กระจาย ทั่วทุกภาคของประเทศไทยสามารถเข้าทาลายพืชผักและผลไม้หลายชนิด การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลง Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ในการควบคุม แมลงวันผลไม้ในหนอนระยะท้ายและระยะดักแด้ โดยทดสอบเชื้อราที่เจริญบนเมล็ดข้าวและเชื้อราที่ผ่านการแปร สภาพให้อยู่ในรูปแบบเม็ด ที่อายุการเก็บรักษาของเชื้อราที่ 0, 1 และ 2 เดือน วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) พบว่า เชื้อราที่เหมาะสมกับหนอนระยะท้ายการคือ B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 และ BCC2779 มี แนวโน้มที่มีประสิทธิภาพดีที่อายุการเก็บรักษา 0 และ 1 เดือน เชื้อราที่เหมาะสมกับระยะดักแด้คือ เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC16762 มีแนวโน้มที่มีประสิทธิภาพดีที่อายุ 0, 1 และ 2 เดือน คาสาคัญ : เชื้อราสาเหตุโรคแมลง แมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) ABSTRACT Fruit flies, Bactrocera dorsalis (Hendel) considered a very destructive group of insects that cause enormous economic losses in agriculture, especially in a wide variety of fruits and vegetables. The objective of this study was to test the efficiency of entomophathogenic fungi including Metarhizium anisopliae and Beauveria bassiana. This experiment were conducted on last instar larva and pupae with 2 types of fungi (non- transformed and transformed fungi) at the storage time 0, 1 and 2 months. The experiment was completely randomized design (CRD). The results of last instar larvae testing revealed that B. bassiana isolates BCC1495 and BCC2779 162
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
were more effective at 0 and 1 month of storage period. For pupae testing found that M. anisopliae isolate BCC30455 and BCC16762 were more effective at 0, 1 and 2 months of storage period. Keywords: Entomopathogenic Fungi, Fruit fly Bactrocera dorsalis (Hendel) คานา แมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) เป็นศัตรูพืชที่ สาคัญ ของพืชผักและผลไม้ ส่วนใหญ่จะ ท าลายในส่วนของผล แต่ก็ ส ามารถเข้าท าลายทุ ก ส่วนของพืชได้ไม่ ว่าจะเป็นส่วนดอก ใบ ล าต้น หรือรากได้ (สมาคมกีฏวิทยาและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย, 2558) การเข้าทาลายของแมลงวันผลไม้เกิดจากตัวเมียมาวางไข่ ที่ผิวหรือในเนื้อผลไม้ และเมื่อไข่ฟักตัวเป็นหนอนก็เป็นช่วงเวลาที่พอดีกับระยะสุกของผลไม้ โดยตัวหนอนจะกัด กินอยู่ภายในผล โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณรอบขั้วผล ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ผลร่วงหล่นส่งผลเสียต่อผลผลิต และสร้างปัญ หาแก่ เกษตรกรเป็น อย่างมาก (ชาคริ ต, 2554) เพราะฉะนั้นเกษตรกรต้ องควบคุม ปริม าณของ แมลงวันผลไม้ตั้งแต่ระยะหนอนและดักแด้ซึ่งเป็นระยะที่สาคัญ ในการเข้าทาลายผลผลิตได้ การเลือกวิธีในการ ควบคุ ม แมลงวันผลไม้ ควรคานึง ถึง ความปลอดภั ยของผู้ ใช้ ไม่ ส่ งผลกระทบต่อแมลงอื่น ๆที่ มี ป ระโยชน์ และ สภาพแวดล้อมด้ วย คือ การใช้เชื้อ รา M. anisopliae และ B. bassiana ซึ่งเป็นเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการ ควบคุมแมลงวันผลไม้เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่มีความปลอดภัยต่อมนุษย์และสภาพแวดล้อม วัตถุประสงค์ของการวิจัย คื อ ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของเชื้ อ รา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC16762 และเชื้ อ รา B. bassiana ไอโซเลท BCC4742, BCC2779 และ BCC1495 ในการควบคุม แมลงวัน ผลไม้ ในหนอนระยะท้าย และระยะดักแด้และทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราที่มีการแปรสภาพและเก็บรักษาซึ่งสามารถนาข้อมูลที่ได้มา ปรับใช้ในการควบคุมแมลงวันผลไม้เพื่อผลผลิตที่มีคุณภาพและความเสียหายของผลผลิตน้อยลง อุปกรณ์และวิธีการ การเตรียมเชื้อรา การเพิ่มปริมาณสปอร์เชื้อรา เลี้ ย งเชื้ อ ราเขี ย ว M. anisopliae 2 ไอโซเลท คื อ BCC30455 และ BCC16762 และเชื้ อ ราขาว B. bassiana 3 ไอโซเลท คื อ BCC4742, BCC2779 และBCC1495 ได้ ม าจากศู น ย์ พั น ธุ วิ ศ วกรรม แล ะ เทคโนโลยีชี ว ภาพแห่ ง ชาติ (National Center for Genetic Engineering and Biotechnology) บนอาหาร Potato Dextrose Agar (PDA) แล้วนาไปบ่มที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จนกว่าเชื้อราจะสร้างสปอร์สมบูรณ์ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
163
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
จากนั้นเพิ่มปริมาณสปอร์เชื้อราบนข้าวบรรจุในถุงพลาสติก บ่มที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เวลา 2 สัปดาห์ หรือ สปอร์ของเชื้อราเจริญเติบโตทั่วเมล็ดข้าว การปรับรูปแบบและการเก็บรักษาสปอร์เชื้อรา - รูปแบบที่ 1 เชื้อราที่ไม่แปรสภาพ: เป็นสปอร์ของเชื้อราที่เจริญบนเมล็ดข้าว คือ หลังจากเพิ่มปริมาณ สปอร์แล้ว นาไปลดความชื้นให้อยู่ในช่วง 10-15% แล้วบรรจุเชื้อราลงในถุงอลูมิเนียมฟอล์ย ถุงละ 20 กรัม ปิด ปากถุงให้สนิท และเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพที่ระยะเวลา 0, 1 และ 2 เดือน - รูปแบบที่ 2 เชื้อราที่แปรสภาพ: เชื้อราที่เพิ่มปริมาณบนข้าวไอโซเลทเดียวกันทั้งหมดมาผสมรวมกันบดให้ ละเอียดด้วยเครื่อ งปั่น (blender) เติม น้ากลั่นนึ่งฆ่าเชื้อที่ ผสม 0.1% Tween 80 ผสมให้เป็นเนื้อเดียวกันแล้ว นามาอัดเป็นแท่งด้วยเครื่องบด (grinder) นาใส่ถาด และอบที่อุณหภูมิ 33 องศาเซลเซียส นาน 3 วัน จากนัน้ เก็บ รักษาที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และทดสอบประสิทธิภาพที่ระยะเวลา 0, 1 และ 2 เดือน การเลี้ยงแมลงวันผลไม้ เลี้ยงตัวเต็ม วัยของแมลงวันผลไม้ (B. dorsalis) ในกรงบุล วดตาข่ายอลูมิ เนียม ในห้องปฏิบัติก าร อารักขาพืช สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาหาร สาหรับเลี้ยงตัวเต็มวัย ประกอบด้วยส่วนผสมของ Yeast hydrolysate 1 ส่วน และน้าตาล 3 ส่วน มีการให้น้าเพื่อ เพิ่มความชื้นให้กับกรงเลี้ยงแมลงวันผลไม้ เมื่อตัวเต็มวัยอายุประมาณ 15 วัน ใช้กล้วยน้าว้าเป็นตัวล่อให้แมลงวั น ผลไม้ตัวเมียวางไข่ จากนั้นนาผลกล้วยน้าว้ามาวางในกล่องพลาสติกที่บรรจุราข้าวละเอียดปริมาณ ½ ของกล่อง รอจนกระทั่งไข่เปลี่ยนแปลงเป็นระยะหนอน หนอนระยะท้ายดีดตัวออกจากผลกล้วยและเข้าดักแด้ในราละเอียด ภายใน 1-2 วัน เมื่อดักแด้อายุ 6 วัน ร่อนดักแด้ออกจากราละเอียดเพื่อเลี้ยงแมลงวันผลไม้รุ่นต่อไปได้ การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราในการควบคุมแมลงวันผลไม้ในหนอนระยะท้ายและดักแด้ ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อรากับหนอนระยะท้ายและดักแด้ ใช้เชื้อทั้ง 2 รูปแบบ ได้แก่ สปอร์ราบนข้าว และรูปแบบอัดเม็ดที่อายุการเก็บรักษา 0, 1 และ 2 เดือน โดยใช้เชื้อรา 4 กรัม คลุกผสมกับดิน 20 กรัม ในแก้ว พลาสติก การทดลองละ 5 ซ้า ใช้หนอนระยะท้ายและดักแด้ ซ้าละ 20 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) บันทึกเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนระยะท้ายและดักแด้ที่ 14 วัน หลังการทดสอบด้วยเชื้อ รา คานวณค่าทางสถิติที่ ระดับ ความเชื่อมั่ น 95% ใช้ วิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) โดยโปรแกรม SPSS นาซากหนอนและดัก แด้ม าวางบนกระดาษกรองที่ ชื้น ใน petri dish บ่ม ที่ 164
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เพื่อสังเกตลักษณะการเจริญของเส้นใยและสปอร์เชื้อราบนซากหนอนระยะท้ายและ ดักแด้ ผลการทดลองและวิจารณ์ การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงวันผลไม้ในหนอนระยะท้าย จากการทดสอบประสิท ธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงที่ อายุ การเก็ บ รักษา 0 เดือน ในการควบคุม หนอนระยะท้าย สาหรับ รูปแบบไม่แปรสภาพ เชื้อรา B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 มีเปอร์เซ็นต์ก ารตาย สูงสุดที่ 92% (ตารางที่ 1) สาหรับรูปแบบแปรสภาพพบว่า เชื้อรา B. bassiana ไอโซเลท BCC2779 มีเปอร์เซ็นต์ การตายสูงสุด คือ 90% โดยเชื้อรา B. bassiana ทั้ง 3 ไอโซเลททั้งรูปแบบไม่แปรสภาพและแปรสภาพไม่มีความ แตกต่างกั นอย่างมี นัยส าคั ญ ทางสถิติ (P>0.05) สามารถเลือกใช้เชื้อ B. bassiana ที่ อายุก ารเก็ บรักษาเชื้อรา 0 เดือน ได้ทั้ง 3 ไอโซเลทในการควบคุมหนอนระยะท้าย (ตารางที่ 1) การใช้เชื้อราที่อายุการเก็บรักษา 1 เดือน พบว่าเชื้อรา B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 ทั้งรูปแบบไม่ แปรสภาพและแปรสภาพ มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุดที่ 78% และ 75% (ตารางที่ 2) สอดคล้องกับการศึกษาการ ใช้เชื้อรา B. bassiana ควบคุม ระยะหนอนของแมลงวัน Musca domestica พบว่าระยะหนอนมี เปอร์เซ็นต์ การตายสูงสุด คือ 97.5% (Mishra et al., 2011) ตารางที่ 1 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนระยะท้ายของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) หลัง การทดสอบด้วยเชื้อรา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ทีอ่ ายุการเก็บรักษา 0 เดือน ไอโซเลท
เปอร์เซ็นต์การตาย± S.D. รูปแบบไม่แปรสภาพ
รูปแบบแปรสภาพ
5.0±3.54d
5.0±3.54d
M. anisopliae BCC 30455
44.0±31.10c
35.0±23.98c
M. anisopliae BCC 16762
69.0±12.45bc
68.0±11.78b
B. bassiana BCC 4742
84.0±2.24ab
85.0±15.0ab
B. bassiana BCC 2779
83.0±10.37ab
90.0±7.91a
B. bassiana BCC 1495
92.0±2.74a
86.0±6.52ab
กลุ่มควบคุม
*ค่าเฉลี่ยในสดมภ์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรที่ต่างกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
165
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
ตารางที่ 2 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนระยะท้ายของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) หลัง การทดสอบด้วยเชื้อรา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ทีอ่ ายุการเก็บรักษา 1 เดือน ไอโซเลท
เปอร์เซ็นต์การตาย± S.D. รูปแบบไม่แปรสภาพ
รูปแบบแปรสภาพ
5.0±3.54c
5.0±3.54d
M. anisopliae BCC 30455
51.0±15.97b
49.0±8.22c
M. anisopliae BCC 16762
64.0±27.02ab
55.0±11.18bc
B. bassiana BCC 4742
58.0±2.74ab
66.0±10.84ab
B. bassiana BCC 2779
48.0±20.19b
73.0±10.37a
B. bassiana BCC 1495
78.0±5.70a
75.0±11.73a
กลุ่มควบคุม
*ค่าเฉลี่ยในสดมภ์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรที่ต่างกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
การใช้เชื้อราที่อายุการเก็บรักษา 2 เดือน ในการควบคุมหนอนระยะท้ าย สาหรับรูปแบบไม่แปรสภาพ พบว่าเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 มี เปอร์เซ็นต์ก ารตายสูงสุดที่ 58% และมี ป ระสิท ธิภาพไม่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) กับเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC16762 สาหรับรูปแบบ แปรสภาพ พบว่าเชื้อ รา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 มีเปอร์เซ็นต์ก ารตายสูงสุดที่ 81% ซึ่ง มี ความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (P<0.05) กับเชื้อราไอโซเลทอื่น (ตารางที่ 3) จากการศึกษาประสิทธิภาพ ของเชื้อรา M. anisopliae ต่อการเข้าทาลายหนอนระยะท้ายแมลงวันผลไม้ Ceratitis capitata (Wiedemann) พบว่า หนอนระยะท้ า ยมี เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ก ารตาย 73.80% (Samira et al., 2014) และใช้ เชื้ อ รา M. anisopliae ควบคุมแมลงวันผลไม้ Anastrepha ludens (Loew) พบว่าเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท Ma2, Ma8 และ Ma16 ทาให้หนอนระยะท้ายมีเปอร์เซ็นต์การตาย คือ 98.75% (Lezama-Gutiérrez et al., 2000)
166
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
ตารางที่ 3 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนระยะท้ายของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) หลัง การทดสอบด้วยเชื้อรา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ที่อายุการเก็บรักษา 2 เดือน ไอโซเลท
เปอร์เซ็นต์การตาย± S.D. รูปแบบไม่แปรสภาพ
รูปแบบแปรสภาพ
กลุ่มควบคุม
5.0±3.54c
5.0±3.54d
M. anisopliae BCC 30455
58.0±10.95a
81.0±14.75a
M. anisopliae BCC 16762
57.0±12.55a
65.0±6.12b
B. bassiana BCC 4742
44.0±9.62b
50.0±11.73c
B. bassiana BCC 2779
36.0±8.94b
40.0±11.72c
B. bassiana BCC 1495
34.0±8.94b
66.0±7.42b
*ค่าเฉลี่ยในสดมภ์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรที่ต่างกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงวันผลไม้ในระยะดักแด้ จากผลการทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงที่อายุการเก็บรักษา 0 เดือน ในการควบคุม ระยะดักแด้ สาหรับรูปแบบไม่แปรสภาพ เชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุด ที่ 95% และแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (P<0.05) กับ เชื้อราทุ กไอโซเลท ส าหรับรูป แบบแปรสภาพ เชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุดที่ 90% และ 90% ตามลาดับ (ตารางที่ 4) จากการศึกษาใช้เชื้อรา M. anisopliae ในการควบคุมระยะดักแด้ของ แมลงวันผลไม้ C. capitata และ C. fasciventris พบว่าเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท ICEPE 32 และ ICEPE 69 ท าให้ ระยะดักแด้ของ C. capitata มี เปอร์เซ็นต์การติดเชื้อราสูงสุดที่ 96% และไอโซเลท ICEPE 69 ท าให้ ระยะดักแด้ของ C. fasciventris มีเปอร์เซ็นต์การติดเชื้อราสูงสุดที่ 90% (Ekesi et al., 2002)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
167
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
ตารางที่ 4 เปอร์เซ็นต์การตายของระยะดักแด้ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) หลัง การทดสอบด้วยเชื้อรา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ที่อายุการเก็บรักษา 0 เดือน ไอโซเลท
เปอร์เซ็นต์การตาย± S.D. รูปแบบไม่แปรสภาพ c
กลุ่มควบคุม
12.0±2.74
M.anisopliae BCC 30455
95.0±6.12
M.anisopliae BCC 16762
65.0±7.07
B.bassiana BCC 4742
73.0±9.75
B.bassiana BCC 2779
65.0±7.91
B.bassiana BCC 1495
75.0±12.75
a
b b b b
รูปแบบแปรสภาพ 12.0±2.74
d
90.0±3.54 81.0±6.52 84.0±8.94
a
b
ab
64.0±5.48 90.0±6.12
c
a
*ค่าเฉลี่ยในสดมภ์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรที่ต่างกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
การใช้เชื้อราที่อายุการเก็บรักษา 1 เดือน ในการควบคุมระยะดักแด้ สาหรับรูปแบบไม่แปรสภาพ พบว่า เชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC16762 มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุดที่ 99% ไม่ แตกต่างทางสถิติกับเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 มีเปอร์เซ็นต์การตาย 97% สอดคล้องกับใช้เชื้อรา M. anisopliae ในการ ควบคุมระยะดักแด้ของแมลงวันผลไม้ C. capitata โดยมีเปอร์เซ็นต์การตาย คือ 96% (Ekesi et al., 2002) แต่ จากการใช้ เ ชื้ อ รา M. anisopliae ควบคุ ม ระยะดั ก แด้ ข องแมลงวัน Haematobia irritans พบว่ าดั ก แด้ มี เปอร์เซ็นต์การตายอยู่ในช่วง 10-30% (Mochi et al., 2010) แต่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิ ติ (P<0.05) กั บ เชื้ อรา B. bassiana ทั้ ง 3 ไอโซเลท (ตารางที่ 5) ส าหรั บ รูป แบบแปรสภาพ พบว่าเชื้อ รา B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุดที่ 66% โดยเชื้อราทุกไอโซเลทไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) (ตารางที่ 5) จากการศึก ษาของ Mar and Lumyong (2012) ใช้เชื้อ ราขาว B. bassiana ไอโซเลท CMUCDMF03 ในการควบคุม ระยะดัก แด้ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera sp. พบว่ ามี เปอร์เซ็นต์ก ารตายอยู่ ในช่ วง 29.67-100% และเชื้ อ ราขาว B. bassiana ไอโซเลท 6241 ส่ ง ผลให้ ร ะยะดั ก แด้ ข องแมลงวัน ผลไม้ B. dorsalis ตายได้ 68% (Aemprapa, 2007)
168
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
ตารางที่ 5 เปอร์เซ็นต์การตายของระยะดักแด้ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) หลัง การทดสอบด้วยเชื้อรา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ที่อายุการเก็บรักษา 1 เดือน ไอโซเลท
เปอร์เซ็นต์การตาย± S.D. รูปแบบไม่แปรสภาพ
รูปแบบแปรสภาพ
กลุ่มควบคุม
12.0±2.74d
12.0±2.74b
M. anisopliae BCC 30455
97.0±2.74a
56.0±19.81a
M. anisopliae BCC 16762
99.0±2.24a
50.0±17.68a
B. bassiana BCC 4742
51.0±18.17b
48.0±18.23a
B. bassiana BCC 2779
36.0±12.45c
59.0±28.15a
B. bassiana BCC 1495
55.0±7.91b
66.0±21.33a
*ค่าเฉลี่ยในสดมภ์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรที่ต่างกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
การใช้ เ ชื้ อ ราที่ อ ายุ ก ารเก็ บ รัก ษา 2 เดื อ น ทั้ ง รูป แบบไม่ แ ปรสภาพและแปรสภาพ พบว่ า เชื้ อ รา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงสุด คือ 72% และ 84% ตามลาดับ สอดคล้องกับ การใช้ เชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท PSUM02 ควบคุม ระยะดัก แด้ของแมลงวันพริก B. latifrons พบว่า เปอร์เซ็นต์การตายของระยะดักแด้ คือ 72.50% (หงษ์ฟ้า และคณะ, 2557) โดยเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC16762 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) แต่แตกต่างกันทางสถิติกับเชื้อรา B. bassiana ทุกไอโซเลท (ตารางที่ 6) สาหรับรูปแบบแปรสภาพเชื้อรา M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) กับเชื้อราทุกไอโซเลท (ตารางที่ 6)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
169
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
ตารางที่ 6 เปอร์เซ็นต์การตายของระยะดักแด้ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) หลัง การทดสอบด้วยเชื้อรา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ที่อายุการเก็บรักษา 2 เดือน ไอโซเลท
เปอร์เซ็นต์การตาย± S.D. รูปแบบไม่แปรสภาพ รูปแบบแปรสภาพ c
กลุ่มควบคุม
12.0±2.74
M. anisopliae BCC 30455
72.0±12.04
M. anisopliae BCC 16762
69.0±11.40
B. bassiana BCC 4742
28.0±15.65
B. bassiana BCC 2779
23.0±9.08
B. bassiana BCC 1495
37.0±6.71
a a b
bc b
12.0±2.74
d
84.0±23.29 59.0±17.81 29.0±10.84 39.0±15.97 42.0±16.05
a b
cd bc bc
*ค่าเฉลี่ยในสดมภ์เดียวกันที่ตามด้วยตัวอักษรที่ต่างกันมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)
สรุปผลการทดลอง การใช้เชื้อ ราสาเหตุโรคแมลง M. anisopliae และ B. bassiana ในการควบคุม หนอนระยะท้ ายของ แมลงวัน ผลไม้ B. dorsalis ที่ อ ายุ ก ารเก็ บ รั ก ษา 0 และ 1 เดื อ นพบว่ า เชื้ อ ราขาว B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 และ BCC2779 มีประสิทธิภาพในการควบคุมหนอนระยะท้ายสูงที่สุด มีเปอร์เซ็นต์การตายมากกว่า 75% และที่อายุการเก็บรักษา 2 เดือน พบว่า เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 มีประสิทธิภาพ สูงที่สุด มีเปอร์เซ็นต์การตายสูงถึง 80% ในการควบคุมระยะดักแด้ของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis เชื้อราที่มีประสิท ธิภาพสูงสุด ที่อายุการเก็ บ รัก ษา 0, 1 และ 2 เดือ น ได้แก่ เชื้อ ราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC16762 ท าให้ มี เปอร์เซ็นต์การตายมากกว่า 72% แตกต่างจากกลุ่มทดลองอื่นๆอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P>0.05) จากการทดสอบประสิทธิภาพการเก็บรักษาเชื้อราที่อายุการเก็บรักษาที่แตกต่างกัน พบว่าที่อายุการเก็บ รักษา 0 และ 1 เดือน เชื้อราสาเหตุโรคแมลงมีประสิทธิภาพสูง และมีแนวโน้มลดลงที่อายุการเก็บรักษา 2 เดือน
170
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
เอกสารอ้างอิง ชาคริต จุลกะเสวี. 2554. แมลงวันผลไม้และการป้องกันกาจัด. แหล่งที่มา URL http://www.thaikasetsart.com/แมลงวันผลไม้และการป้อง/ สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2562. นริศ ท้าวจันทร์ และอนุชิต ชินาจริยวงศ์. 2551. ประสิทธิภาพการควบคุมของเชื้อรา Metarhizium anisopliae ในแมลงวันผลไม้ (Diptera: Tephritidae). วิทยาศาสตร์การเกษตร, 3(พิเศษ): 22-25. สมาคมกีฏวิทยาและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย. 2558. แมลงวันผลไม้. แหล่งที่มา URL http://www.ezathai.org/?p=209 สืบค้นเมือ่ 25 กรกฎาคม 2562. หงส์ฟ้า แซ่เตื้อง นริศ ท้าวจันทร์ และอนุชิต ชินาจริยวงศ์. 2557. ผลของเชื้อรา M. anisopliae PSUM02 ต่อ แมลงวันพริก Bactrocera latifrons (Hendel) (Diptera: Tephritidae) ระยะตัวหนอน ดักแด้ และตัว เต็มวัยในสภาพห้องปฏิบัตกิ าร. ว.พืชศาสตร์สงขลานครินทร์,1(1): 48-53. Aemprapa, S. 2007. Entomopathogenic fungi screening against fruit fly in Thailand. KMITL Sci. Tech. J., 7(S2): 122-126. Ekesi, S., N. K. Maniania and S. A. Lux. 2002. Mortality in three African tephritid fruit fly puparia and adults caused by the entomophatogenic fungi, Metarhizium anisopliae and Beauveria bassiana. Biocontrol Sci Techn., 12(1): 7-17. Lezama-Gutiérrez, R., A. Trujillo-de la Luz, J. Molina-Ochoa, O. Rebolledo-Dominguez, A. R. Pescador, M. López-Edwards and M. Aluja. 2000. Virulence of Metarhizium anisopliae (Deuteromycotina: Hyphomycetes) on Anastrepha ludens (Diptera: Tephritidae): laboratory and field trials. J. Econ. Entomol., 93(4): 1080- 1084. Mar, T. T. and S. Lumyong. 2012. Evolution of effective entomophathogenic fungi to fruit fly pupa, Bactrocera spp. and their antimicrobial activity. Chiang Mai J. Sci., 39(3): 464-477. Mishra, S., P. Kumar, A. Malik and S. Satya. 2011. Adulticidal and larvicidal activity of Beauveria bassiana and Metarhizium anisopliae against housefly, Musca domestica (Diptera: Muscidae), in laboratory and simulated field bioassays. Parasitol. Res., 108: 1483- 1492. Mochi, D. A., A. C. Monteiro, A. C. R. Machado and L. Yoshida. 2010. Entomophathogenic fungal against pupae and adult Haematobia irritans (Diptera: Muscidae). Vet Parasitol, 168(1-2): 105-110.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
171
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-02
Samira, A. K., W. K. Mohammad, F. A. Hussain, K. S. Ali and A. H. Sabreen. 2014. Efficiency of Beauveria bassiana and Metarhizium anisopliae to control Mediteranian fruit fly, Ceratitis Caitata. International Journal of Entomological Research, 02(03): 169-173.
172
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
ผลของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงต่ออัตราการตาย และการแพร่กระจายตัวในประชากรแมลงวันผลไม้ Effect of Entomopathogenic Fungi on Surviving and its Transmission in Fruit Fly กมลรัตน์ สุวรรณไชศรี และ จุรีมาศ วังคีรี Kamonrat Suwanchaisri and Jureemart Wangkeeree สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตาบลคลองหนึ่ ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology, Thammasat University Rangsit Centre, Khlong Nueng, Khlong Luang, Pathum Thani 12120
บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) เป็นแมลงศัตรูพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ การ ควบคุมแมลงวันผลไม้โดยชีววิธีด้วยเชื้อราสาเหตุโรคแมลงเป็นวิธีการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยต่อ สภาพแวดล้อม การทดลองนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลเชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae และเชื้อ ราขาว Beauveria bassiana ที่มีประสิทธิภาพในการเข้าทาลายแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัย วางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ทาการทดลอง 5 ซ้า ผลการทดลองพบว่า เชื้อราขาว B. bassiana 3 ไอโซเลท ได้แก่ BCC1495, BCC2779 และ BCC4742 สามารถทาให้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยมีเปอร์เซ็นต์การตาย 90 ถึง 100% นอกจากนีเ้ ชื้อราไอโซเลทดังกล่าวสามารถแพร่กระจายตัวในประชากรของแมลงวันผลไม้ได้เมื่อ เพศใดเพศหนึ่ง สัม ผัส กั บ เชื้อ รา แต่ เชื้อ ราที่ มี ป ระสิท ธิภาพในการแพร่ก ระจายตัวได้ดีที่ สุดคือ เชื้อราขาว B. bassiana 2 ไอโซเลท ได้แก่ ไอโซเลท BCC2779 และ BCC4742 สามารถทาให้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็ม วัยมีเปอร์เซ็นต์การตาย 90 ถึง 100% คาสาคัญ : แมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) เชื้อราเขียว Metarhizium anisopliae เชื้อราขาว Beauveria bassiana ABSTRACT The fruit fly, Bactrocera dorsalis (Hendel), is well known as one of the major economic insect pests. The biological control of B. dorsalis with entomopathogenic fungi are effective and an environment-friendly method. The objective of this study was to test the efficacy of Metarhizium anisopliae and Beauveria bassiana against fruit fly adult. The 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
173
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
experiment was determined 5 replicates in CRD. The results showed that B. bassiana BCC1495, BCC2779 and BCC4742 were causing the highest fruit flies mortality as 90 -100%. In addition, those isolates can be transmitted from infected to uninfected flies. The most efficacious spread of fungus on adult’s fruit flies are B. bassiana BCC2779 and BCC4742, it showed mortality percentage on adult’s fruit flies at 90 to 100%. Keywords: fruit fly Bactrocera dorsalis (Hendel), Metarhizium anisopliae, Beauveria bassiana คานา แมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Hendel) เป็นแมลงศัตรูพืชที่มีความสาคัญทางการเกษตร พบ การแพร่กระจายทั่ วทุกภาคของประเทศไทย เข้าท าลายพืชผักและผลไม้ หลายชนิด ซึ่งในประเทศไทยได้มี รายงานการแพร่ระบาดของแมลงวันผลไม้หลายชนิด ได้แก่ B. dorsalis, B. carambolae, B. papay และ B. pyrifoliae (Drew, 2001) ความเสียหายของแมลงวันผลไม้ มั ก จะเกิ ดขึ้นเมื่อเพศเมียวางไข่ ในผลไม้ ตัว หนอนที่ฟักจากไข่จะอาศัยและชอนไชอยู่ภายในผล ทาให้ผ ลเน่าเสียและร่วงหล่นลงพื้น ตัวหนอนจะดีดตัว ออกมาเพื่อเข้าดักแด้ในดินแล้วจึงออกเป็นตัวเต็มวัย แมลงวันผลไม้วางไข่ในผลไม้ที่ใกล้สกุ และมีเปลือกบาง ใน ระยะเริ่มแรกจะสังเกตได้ยากอาจพบอาการช้าบริเวณใต้ผิวเปลือก เมื่อหนอนโตขึ้นเรื่อยๆจะทาให้ผลเน่าเละ และมีน้าไหลเยิ้มออกทางรูที่หนอนเจาะออกมาเพื่อเข้าดักแด้ ผลไม้ที่ถูกทาลายนี้มักจะมีโรคและแมลงชนิด อื่นๆเข้าท าลายซ้า ดังนั้นความเสียหายที่ เกิ ดกั บ ผลผลิตโดยตรงนี้จึงมี มูล ค่ามหาศาล ก่ อให้เกิ ดปัญ หาต่ อ เศรษฐกิจในระดับชาติเป็นอันมาก (ชาคริต, 2554) การป้องกันกาจัดแมลงวันผลไม้นั้นมีหลากหลายวิธี การ ควบคุมส่วนใหญ่นิยมเลือกใช้สารเคมี ซึ่งส่งผลให้เกิดการตกค้างของสารเคมีในสภาพแวดล้อม และก่อให้เกิด ผลกระทบต่อ สั ตว์ เลี้ ยงรวมถึ ง คนด้ วย การควบคุม แมลงศั ตรู พื ชโดยชีว วิธี ถื อเป็ นวิ ธีก ารที่ ป ลอดภัย ต่ อ สิ่ง แวดล้อมและรวมทั้ งสิ่งมี ชีวิตนอกเป้าหมาย โดยเฉพาะการใช้เชื้อราสาเหตุโรคแมลง เช่น เชื้อราเขี ยว Metarhizium anisopliae ไอโซเลท PSUM02 ที่ มี ร ายงานการนาไปใช้ค วบคุ ม แมลงวัน ผลไม้ ได้ อ ย่างมี ประสิทธิภาพ (นริศ และคณะ, 2551) และมีผลต่อการจับคู่ผสมพันธุ์ของแมลงวันผลไม้ด้วย (Dimbi et al., 2009) เชื้อราเขียว Metarhizium spp. เป็นเชื้อที่ทาให้เกิดโรคกับแมลง ซึ่งมีการรายงานถึงความสามารถใน การทาลายแมลงได้มากกว่า 200 ชนิด อีกทั้งเป็นเชื้อที่เพาะเลี้ยงได้ง่ายและพบทั่วไปในดิน จึงได้รับความนิยม นาไปใช้ในรูปแบบของสารชีวินทรีย์ฆ่าแมลง (Valadares and Peberdy, 1997) ดังนั้นการวิจัยนี้มีวัตถุระสงค์ เพื่ อ ศึ ก ษาผลของเชื้ อ ราสาเหตุ โ รคแมลงไอโซเลทที่ ยั ง ไม่ เ คยมี ก ารศึ ก ษามาก่ อ นดั ง นี้ เชื้อ ราเขี ย ว M. anisopliae 2 ไอโซเลท ได้แก่ BCC16762, BCC30455 และเชื้อราขาว Beauveria bassiana 3 ไอโซเลท ได้แก่ BCC1495, BCC2779, BCC4742 ในการควบคุมแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัย และความสามารถในการ แพร่กระจายตัวของเชื้อราในประชากรของแมลงวันผลไม้
174
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
อุปกรณ์และวิธีการ 1 การเลี้ยงเพิ่มปริมาณสปอร์ของเชื้อรา เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC16762, BCC30455 และเชื้อราขาว B. bassiana ไอโซ เลท BCC1495, BCC2779, BCC4742 ได้รับจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) นาไปเลี้ ยงในอาหารเลี้ ยงเชื้อ potato dextrose agar (PDA) บ่ม ที่ อุ ณ หภู มิ 25°C เป็ น เวลา 14 วั น หรื อ จนกว่าเชื้อราจะสร้างสปอร์สมบูรณ์ เพิ่มจานวนเชื้อราโดยนาชิ้นวุ้นที่มีสปอร์ของเชื้อราในอาหาร PDA มาย้าย เลี้ยงลงในข้าวที่ผ่า นการนึ่งฆ่าเชื้อ ประกอบด้วยข้าว 80 กรัม ต่อน้ากลั่น 28 มล. นาไปบ่มที่อุณหภูมิ 25°C จนกว่าเชื้อราจะมีสปอร์สมบูรณ์ 2. การเตรียมสารแขวนลอยเชื้อรา เตรียมสารแขวนลอยเชื้อราแต่ละไอโซเลทในน้ากลัน่ นึ่งฆ่าเชื้อ 15 มล. ที่ผสมสาร Tween 80 ที่ความ เข้มข้น 0.1% ด้วยการนาข้าวที่ มีส ปอร์ของเชื้อรามาละลายในน้า ผสมให้เข้ากั นแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง เพื่ อ ให้ ได้ ส ปอร์ข องเชื้ อ ราในรู ป ของสารแขวนลอย แล้ วน าไปตรวจนั บ ปริม าณสปอร์ต่ อ ปริม าตรด้ ว ย Haemacytometer จากนั้นเตรียมให้ได้ระดับความเข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. เพื่อนาไปทาการทดลอง 3. การเลี้ยงแมลงวันผลไม้ เลี้ยงตัวเต็มวัยแมลงวันผลไม้ชนิด B. dorsalis ในกรงลวดตาข่ายอลูมิเนียม ขนาด 45 x 50 x 60 ลบ. ซม. ภายในกรงมีถาดอาหารสาหรับตัวเต็มวัย (Yeast hydrolysate:น้าตาล = 1:3) ใช้กล้วยในการล่อให้แมลง ตัวเต็มวัยเพศเมียมาวางไข่ จากนั้นนากล้วยที่มีไข่ของแมลงวันผลไม้มาใส่ไว้ในกล่องพลาสติกที่มีราข้าวละเอียด หนอนจะฟักออกจากไข่ใช้เวลา 2-4 วัน และกินกล้วยเป็นอาหาร เมื่อหนอนอายุ 1 สัปดาห์ หนอนจะดีดตัว ออกมาจากกล้วยลงไปในราข้าวละเอี ยดเพื่อเตรียมเข้าสู่ระยะดักแด้ ซึ่งจะใช้เวลา 9 วัน จึงออกเป็นตัวเต็มวัย จากนั้นแยกเพศผู้และเพศเมียของแมลงวันผลไม้ตัวเต็มวัยที่ยังไม่ได้รับการผสมพันธุ์ไปใส่เลี้ยงกรงลวดตาข่าย อลูมิเนียม 4. ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana กับแมลงวันผลไม้ ระยะตัวเต็มวัย 4.1 ทดสอบประสิทธิภาพโดยวิธีการฉีดพ่นเชื้อราในรูปสารแขวนลอย นาสารแขวนลอยเชื้อราระดับความเข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. พ่นใส่ตัวแมลงวันผลไม้ระยะตั ว เต็มวัย วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของเชื้อราแต่ละไอโซเลท ทาการ ทดสอบ 5 ซ้าการทดลอง ใช้แมลงซ้าละ 20 ตัว (คละเพศ) โดยใช้กรรมวิธีควบคุมคือ ฉีดพ่นแมลงวันผลไม้ด้วย น้ากลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ บันทึกผลจานวนการตายทุกๆ 2 วัน เป็นเวลา 14 วัน สาหรับแมลงที่ตายนาไปวางในจาน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
175
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
Petri dish ที่รองด้วยกระดาษกรอง (Whatman®#1) ที่ผ่านการฆ่าเชื้อ และเพิ่มความชื้นด้วยน้ากลั่นนึ่งฆ่า เชื้อ บ่มไว้ที่อุณหภูมิ 25°C จนกว่าเชื้อราสร้างสปอร์บนซากของแมลง นาสปอร์เชื้อรามาตรวจสอบภายใต้ กล้องจุลทรรศน์ เพื่อยืนยันการตายของแมลงว่ามีสาเหตุการตายจากเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อรา ขาว B. bassiana 4.2 ทดสอบประสิทธิภาพโดยวิธีการใช้เชื้อราผสมกับอาหารที่ใช้เลี้ยงแมลงวันผลไม้ เตรียมสปอร์ของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana แต่ละไอโซเลท นาไป บดละเอียดให้อยู่ในรูปแบบผงเชื้อรา จากนั้นนาผงเชื้อราผสมกับ อาหารเลี้ยงแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็ม วัย (อาหาร:เชื้อรารูปแบบผง = 2:1) วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ เชื้อราแต่ละไอโซเลท ทดสอบ 5 ซ้าการทดลอง ใช้แมลงซ้าละ 20 ตัว (คละเพศ) โดยใช้กรรมวิธีควบคุมคือ อาหารเลี้ยงแมลงวันผลไม้ปกติ บันทึกผลจานวนการตายทุกๆ 2 วัน เป็นเวลา 14 วัน สาหรับแมลงที่ตายนาไป วางในจาน Petri dish ที่รองด้วยกระดาษกรอง (Whatman®#1) ที่ผ่านการฆ่าเชื้อ และเพิ่มความชื้นด้วยน้า กลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ บ่มไว้ที่อุณหภูมิ 25°C จนกว่าเชื้อราสร้างสปอร์บนซากของแมลง นาสปอร์เชื้อรามาตรวจสอบ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ เพื่อยืนยันการตายของแมลงว่ามีสาเหตุการตายจากเชื้อราเขียว M. anisopliae และ เชื้อราขาว B. bassiana 5. ทดสอบการแพร่กระจายตัวของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana 5.1 การแพร่กระจายตัวเมื่อใช้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยเพศผู้เป็นตัวพาหะ นาสารแขวนลอยของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana แต่ละไอโซเลทที่ ระดับความเข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. มาฉีดพ่นใส่เพศผู้ จากนั้นนาไปปล่อยให้ผสมพันธุ์ในกรงที่มีเพศเมียที่ ไม่ได้พ่นเชื้อรา ทาการทดลองแบบ CRD 5 ซ้า ซ้าละ 20 ตัว (เพศผู้ 10 ตัว : เพศเมีย 10 ตัว) สังเกตการตาย ของแมลงวันผลไม้เพศผู้และเพศเมี ยเมื่อผ่านไปทุกๆ 2 วัน หลังจากปล่อยให้ผสมพันธุ์กัน เป็นเวลา 14 วัน สาหรับแมลงที่ตายนาไปวางในจาน Petri dish ที่รองด้วยกระดาษกรอง (Whatman®#1) ที่ผ่านการฆ่าเชื้อ และเพิ่มความชื้นด้วยน้ากลั่นนึ่งฆ่าเชื้อ บ่มไว้ที่อุณหภูมิ 25 °C จนกว่าเชื้อราสร้างสปอร์บนซากของแมลง นา สปอร์เชื้อรามาตรวจสอบภายใต้กล้องจุลทรรศน์เพื่ อยืนยันการตายของแมลงว่ามีสาเหตุการตายจากเชื้อรา เขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana 5.2 การแพร่กระจายตัวเมื่อใช้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยเพศเมียเป็นตัวพาหะ วางแผนการทดลองเช่นเดียวกับการใช้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยเพศผู้เป็นตัวพาหะ
176
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana กับแมลงวันผลไม้ ระยะตัวเต็มวัย 1.1 ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราโดยวิธีการฉีดพ่นเชื้อราในรูปสารแขวนลอย จากการศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC16762, BCC30455 และเชื้อราขาว B. bassiana ไอโซเลท BCC1495, BCC2779, BCC4742 ที่ระดับความเข้มข้น 1×108 สปอร์/ มล. ต่อเปอร์เซ็นต์การตายสะสมของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัย เชื้อราที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดที่ทาให้ แมลงวั น ผลไม้ ร ะยะตั ว เต็ ม วั ย มี เ ปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารตายมากถึ ง 100% คื อ เชื้ อ ราขาว B. bassiana ไอโซ เลท BCC1495, BCC2779 และ BCC4742 แตกต่างจากกลุ่ม ทดลองอื่นอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (P<0.05) รองลงมาคือ เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC1672 ที่ 59 และ 39% ตามลาดับ (ตารางที่ 1) เช่น เดีย วกั บ รายงานจากการศึก ษาของนริศ และคณะ (2551) พบว่าการใช้เ ชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท PSUM02 ระดับความเข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. ทาให้แมลงวัน ผลไม้ระยะตัวเต็ม วัย ตาย 100% และการศึ ก ษาของ Qazzaz et al. (2015) พบว่าการใช้ เชื้ อ ราขาว B. bassiana ไอโซเลท P. Bv32, P. Bv39, P. Bv41, P. Bv51 และ P. Bv52 ระดับความเข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. ทาให้อัตราการ ตายของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยสูงถึง 70% ลักษณะของแมลงวันผลไม้ที่เกิดจากการเข้าทาลายของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana โดยวิธีการฉีดพ่นสารแขวนลอย พบว่าหลังจากแมลงตายได้ 5 วัน เชื้อรามีการสร้างสปอร์อย่าง รวดเร็วปกคลุมทั่วร่างกายของแมลง ตารางที่ 1 เปอร์เซ็นต์การตายของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัย หลังจากได้รับเชื้อ 14 วัน โดยวิธีการฉีดพ่น เชื้อราแต่ละไอโซเลทในรูปสารแขวนลอย ไอโซเลท BCC16762 BCC30455 BCC1495 BCC2779 BCC4742 1/
เปอร์เซ็นต์การตาย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 39 ± 2.39c 59 ± 3.42b 100 ± 0a 100 ± 0a 100 ± 0a
ค่าเฉลี่ยในแนวตั้งตามด้วยอักษรที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
177
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
1.2 ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อโดยวิธีการใช้เชื้อราผสมกับอาหารที่ใช้เลี้ยงแมลงวันผลไม้ จากการศึกษาประสิทธิภาพของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana ต่อ เปอร์เซ็นต์การตายสะสมของแมลงวันผลไม้ เชื้อราทุกไอโซเลททาให้เปอร์เซ็นต์การตายของแมลงวันผลไม้ ระยะตัวเต็มวัยแตกต่างจากกลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) เชื้อราที่มีประสิทธิภาพมากที่สุ ด คือ เชื้ อ ราขาว B. bassiana ทั้ ง 3 ไอโซเลท ได้ แ ก่ BCC1495, BCC2779 และ BCC4742 สามารถท าให้ แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยตายได้มากกว่า 95% ขึ้นไป รองลงมาคือ เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท ได้แก่ BCC30455 และ BCC16762 สามารถทาให้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยตายที่ 91 และ 89% ตามลา ดับ (ตารางที่ 2) เช่นเดียวกับการศึกษาของ Qazzaz et al. (2015) พบว่าการใช้เชื้อราขาว B. bassiana ไอ โซเลท P. Bv32, P. Bv39, P. Bv41, P. Bv51 และ P. Bv52 ที่ระดับความเข้มข้น 1×108 สปอร์/มล. ผสมกับ อาหาร ทาให้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยมีเปอร์เซ็นต์การตายสูงถึง 60% และการศึกษาของ Vey et al. (1987) พบว่าการใช้เชื้อราเขียว M. anisopliae ที่ระดับความเข้มข้น 50 มิลลิกรัมต่อกรัม ผสมกับอาหาร ทา ให้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยมีอัตราการตายถึง 88% ลักษณะของแมลงวันผลไม้ที่เกิดจากการเข้าทาลายของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อรา ขาว B. bassiana โดยวิธีการผสมเชื้อรากับอาหาร พบว่าหลังจากแมลงตายได้ 5 วัน เชื้อราเริ่ม มีการสร้าง สปอร์ปกคลุมบริเวณส่วนหัวของแมลง เนื่องจากแมลงได้รับเชื้อราโดยตรงผ่านทางปาก และสร้างสปอร์อย่าง รวดเร็วปกคลุมทั่วร่างกายของแมลง ตารางที่ 2 เปอร์เซ็นต์การตายของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัย หลังจากได้รับเชื้อ 14 วัน โดยวิธีผสมเชื้อรา แต่ละไอโซเลทกับอาหาร ไอโซเลท BCC16762 BCC30455 BCC1495 BCC2779 BCC4742 1/
เปอร์เซ็นต์การตาย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 89 ± 1.64c 91 ± 1.3bc 97 ± 0.89ab 100 ± 0a 100 ± 0a
ค่าเฉลี่ยในแนวตั้งตามด้วยอักษรที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
2. ศึกษาการแพร่กระจายตัวของเชื้อราเขียว M. anisopliae และเชื้อราขาว B. bassiana 2.1 การแพร่กระจายตัวเมื่อใช้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยเพศผู้เป็นตัวพาหะ การทดลองการแพร่กระจายตัวของเชื้อราโดยฉีดพ่น สารแขวนลอยเชื้อราโดยใช้ที่ ระดับความ เข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. ผลการทดลองเปอร์เซ็นต์การตายสะสมของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยโดยใช้เพศ ผู้เป็นพาหะ พบว่าแมลงวันผลไม้เพศผู้ที่เป็นพาหะมีเปอร์เซ็นต์การตายสูงกว่าแมลงวันผลไม้เพศเมียปกติที่อยู่ 178
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
ภายในกรงเดี ยวกั น เชื้ อ ราที่ มี ป ระสิท ธิภาพมากที่ สุด คือ เชื้อราขาว B. bassiana ทั้ ง 3 ไอโซเลท ได้แ ก่ BCC2779, BCC4742 และ BCC1495 โดยเพศผู้ที่เป็นพาหะมีเปอร์เซ็นต์การมากกว่า 90% ขึ้นไป และทาให้ เพศเมี ยปกติมี เปอร์เซ็นต์ก ารตาย 100, 94 และ 70% ตามล าดับ แตกต่างจากกลุ่ม การทดลองอื่นอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) รองลงมาคือ เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC1672 โดยเพศผู้ที่เป็นพาหะมีเปอร์เซ็นต์การตาย 40 และ 38% ตามลาดับ ทาให้เพศเมียปกติมีเปอร์เซ็นต์การตาย 32 และ 30% ตามลาดับ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 เปอร์เซ็นต์การตายของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยทั้ง 2 เพศ หลังจากได้รับเชื้อ 14 วัน จาก แมลงวันเพศผู้ที่ได้รับการฉีดพ่นเชื้อราแต่ละไอโซเลทในรูปสารแขวนลอย
พาหะ เพศผู้
1/
ตัวรับ เพศเมีย
เปอร์เซ็นต์การตาย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ไอโซเลท BCC16762 BCC30455 BCC1495 BCC2779 BCC4742
เพศผู้ 38 ± 2.49c 40 ± 0.71c 98 ± 0.45a 100 ± 0a 100 ± 0a
เพศเมีย 30 ± 3.46dc 32 ± 1.1dc 70 ± 0.71b 100 ± 0a 94 ± 0.89a
ค่าเฉลี่ยในแนวตั้งตามด้วยอักษรที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
2.2 การแพร่กระจายตัวเมื่อใช้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยเพศเมียเป็นตัวพาหะ เปอร์เซ็นต์การตายสะสมของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็ม วัยโดยใช้เพศเมียเป็นพาหะ ที่ ระดับ ความเข้มข้น 1x108 สปอร์/มล. พบว่าแมลงวันผลไม้เพศเมียที่เป็นพาหะมีเปอร์เซ็นต์การตายสูงกว่าแมลงวัน ผลไม้เพศผู้ปกติที่อยู่ภายในกรงเดียวกัน เชื้อราที่มีประสิทธิภาพมากที่สดุ คือ เชื้อราขาว B. bassiana ทั้ง 3 ไอ โซเลท ได้แก่ BCC2779, BCC4742 และ BCC1495 โดยเพศผู้ที่เป็นพาหะมีเปอร์เซ็นต์การมากกว่า 90% ขึ้น ไป และทาให้เพศเมียปกติมีเปอร์เซ็นต์การตาย 96, 98 และ 70% ตามลาดับ แตกต่างจากกลุ่มการทดลองอื่น อย่างมี นัยส าคัญ ทางสถิติ (P<0.05) รองลงมาคือ เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC1672 โดยเพศเมียที่เป็นพาหะมีเปอร์เซ็นต์การตาย 36 และ 26% ตามลาดับ ทาให้เพศผู้ปกติมีเปอร์เซ็นต์ การตาย 34 และ 18% ตามลาดับ (ตารางที่ 4)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
179
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
ตารางที่ 4 เปอร์เซ็นต์การตายของแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยทั้ง 2 เพศ หลังจากได้รับเชื้อ 14 วัน จาก แมลงวันเพศเมียที่ได้รับการฉีดพ่นเชื้อราแต่ละไอโซเลทในรูปสารแขวนลอย
พาหะ เพศเมีย
1/
ตัวรับ เพศผู้
ไอโซเลท BCC16762 BCC30455 BCC1495 BCC2779 BCC4742
เปอร์เซ็นต์การตาย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพศผู้ 18 ± 0.45de 34 ± 0.55c 70 ± 1.87b 96 ± 0.55a 90 ± 1.22a
เพศเมีย 26 ± 1.14dc 36 ± 1.14c 100 ± 0a 100 ± 0a 98 ± 0.45a
ค่าเฉลี่ยในแนวตั้งตามด้วยอักษรที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
จากการทดลองการแพร่กระจายตัวของเชื้อราในประชากรแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวั ย แสดงให้ เห็นว่าเชื้อราทุกไอโซเลทสามารถแพร่กระจายตัวได้เมื่อเพศใดเพศหนึ่งได้รับเชื้อรา แต่เชื้อราที่มีประสิทธิภาพ ดีที่สุดคือ เชื้อราขาว B. bassiana 2 ไอโซเลท ได้แก่ BCC4742 และ BCC2779 ทาให้แมลงวันผลไม้ระยะตัว เต็ม วัยมี เปอร์เซ็นต์ก ารตาย 90 ถึง 100% อาจเกิ ดจากพฤติก รรมการผสมพันธุ์และการสัม ผัส กั น ซึ่ง วิธีนี้ สามารถนาไปใช้ในการควบคุมแมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยได้โดยใช้เชื้อราในปริมาณที่น้อยลง เช่นเดียวกับ การศึกษาของนริศและคณะ (2551) ทดสอบเชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท PSUM02 ที่ระดับความ เข้ม ข้น 1x106 สปอร์ /มล. พบว่าแมลงวันแตงเพศผู้ ที่ เป็น พาหะมี เปอร์เซ็นต์ก ารจับ คู่ผ สมพันธุ์ล ดลง และ ถ่ายทอดเชื้อราไปสู่แมลงวันแตงเพศเมี ยปกติได้ มี ค่าการรอดชีวิตอยู่ที่ 6.16±0.19 และ 11.10±0.55 วัน ตามล าดั บ และรายงานจากการศึ ก ษาของ Sookar et al. (2010) ในการทดสอบผลของเชื้ อ ราเขี ย ว M. anisopliae ไอโซเลท ICIPE 62 ต่อการเจริญพันธุ์และการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ พบว่าแมลงวันผลไม้ เพศผู้ที่ ได้รับ เชื้อ สามารถถ่ายโอนสปอร์ของเชื้อราไปยัง เพศเมี ยปกติได้โดยการผสมพันธุ์ ท าให้เพศเมี ยมี เปอร์เซ็นต์การตายมากกว่า 80% และการติดเชื้อมีผลกระทบต่อพฤติกรรมการผสมพันธุ์ การวางไข่ และความ อุดมสมบูรณ์ของแมลงวันผลไม้เพศเมีย ในทานองเดียวกันเพศเมียที่ได้รับเชื้อสามารถถ่ายโอนสปอร์เชื้อราไปสู่ เพศชายปกติได้และทาให้เพศผู้มีเปอร์เซ็นต์การตายมากกว่า 80% เช่นกัน เช่นเดียวกับการศึกษา QuesadaMoraga et al. (2008) การทดสอบผลของเชื้ อ ราเขี ย ว M. anisopliae ไอโซเลท EAMa 01/58-Su ต่ อ ความสามารถในการแพร่กระจายตัวในแมลงวันผลไม้ พบว่าเพศผู้ที่ได้รับเชื้อสามารถถ่ายโอนสปอร์ของเชื้อรา ไปยังเพศเมียปกติได้ 90 ถึง 100% และเพศเมียที่ได้รับเชื้อสามารถถ่ายโอนสปอร์ของเชื้อราไปยังเพศผู้ปกติได้ 60 ถึง 90%
180
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองสามารถคัดเลือกเชื้อราสาเหตุโรคแมลงที่มีประสิทธิภาพ สาหรับใช้ในการควบคุม แมลงวันผลไม้ ร ะยะตัวเต็ม วัยได้ทั้ ง หมด 3 ไอโซเลท ได้แก่ เชื้อราขาว B. bassiana ไอโซเลท BCC1495, BCC2779 และ BCC4742 ซึ่ ง วิ ธีที่ ใช้ในการควบคุม โดยวิ ธีก ารฉี ด พ่ น หรือ ผสมกั บ อาหาร สามารถท าให้ แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยมีเปอร์เซ็นต์การตาย 90 ถึง 100% นอกจากนี้ยังพบว่าเชื้อราไอโซเลทดัง กล่าว สามารถแพร่กระจายตัวในประชากรของแมลงวันผลไม้ได้เมื่อเพศใดเพศหนึ่งได้รับหรือสัมผัสกับเชื้อรา วิธีการ นี้สามารถมานาไปใช้ในการควบคุมแมลงวันผลไม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยลดความเสียหายที่จะเกิด ขึ้นกับผลผลิต และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ร่วมกับวิธีการควบคุมแมลงศัตรูพืชแบบอื่นๆได้เช่นกัน เอกสารอ้างอิง ชาคริต จุลกะเสวี. 2554. แมลงวันผลไม้และการป้องกันกาจัด. แหล่งที่มา URL http:// www.thaikasetsart.com สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2560. นริศ ท้ าวจันทร์ อนุชิต ชินาจริยวงศ์ และ วิวัฒ น์ เสือสะอาด. 2551. ผลของเชื้อราโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae ต่ อ พ ฤติ ก รรมการผสมพั นธุ์ ข องแมลงวั น ผลไม้ Bactrocera papayae (Diptera: Tephritidae). วิทยาศาสตร์เกษตร(พิเศษ) 42: 339-342. Dimbi, S., N.K. Maniania and S. Ekesi. 2009. Effect of Metarhizium anisopliae inoculation on the mating behavior of three species of African Tephritid fruit flies, Ceratitis capitata, Certitis cosyra and Ceratitis fasciventris. Biological Control 50: 111-116. Drew, R.A.I. 2 0 0 1 . The fruit fly fauna of Bougainville, the Solomon Islands and Vanuatu. Australian Journal of Entomology 40: 38. Qazzaz, F.O., M.L. Al-Masri and R.M. Barakat. 2015. Effectiveness of Beauveria bassiana native isolates in the biological control of the Mediterranean fruit fly. Advances in Entomology 3: 44-55. Quesada-Moraga, E., I. Martin-Carballo, I. Garrido-Jurado and C. Santiago-Álvarez. 2008. Horizontal transmission of Metarhizium anisopliae among laboratory populations of Ceratitis capitata (Wiedemann) (Diptera: Tephritidae). Biological Control 47(1):115124. Sookar, P., S. Bhawant and M.N. Allymamod. 2010. Isolation of entomopathogenic fungi from the soil and their pathogenicity to two fruit fly species (Diptera: Tephritidae). Journal of Applied Entomology 132: 778-788.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
181
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-03
Valadares-Inglis, M.C. and J.F. Peberdy. 1997. Location of chitinolytic enzymes in protoplast and whole cells of the entomopathogenic fungus Metarhizium anisopliae. Mycological Research 101(2): 1393-1396.
182
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
การเปลี่ยนแปลงการระบาดของแมลงดาหนามมะพร้าวในเกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี Coconut Hispine Beetle Infestation Change in Samui Island, Suratthani Province วลัยพร ศะศิประภา1 และ ยิ่งนิยม ริยาพันธ์2 Walaiporn Sasiprapa1 and Yingniyom Riyaphan2 1
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมวิชาการเกษตร ลาดยาว จตุจกั ร กรุงเทพ Information and communication Technology Center, Department of Agriculture, Ladyaw, Chatuchak, Bangkok 10900 2 ศูนย์วิจัยปาล์มสุราษฏร์ธานี อ. กาญจนดิษฐ์ จ. สุราษฏร์ธานี 2 Suratthani Plam Research Center, Kanchanadit, Suratthani
1
บทคัดย่อ แมลงดาหนามมะพร้าวจัดเป็นแมลงศัตรูต่างถิ่นที่สาคัญของมะพร้าวและพืชตระกูลปาล์ม เข้าทาลาย ใบอ่อนของมะพร้าวทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัยทาลายความเสียหายอย่างมาก การควบคุมแมลงดาหนาม มะพร้าวด้วยการปล่อยแตนเบียนที่เคยได้ผลในปี 2548 แต่กลับมาระบาดอีกตั้งแต่ปี 2555 และยังคงปรากฏ อยู่ในหลายพื้นที่ และคงอยู่ในระบบนิเวศใหม่ซึ่งมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดรอบใหม่ๆอีกได้ การควบคุมและ ป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืชให้ได้ผลอย่างยั่งยืน จึงดาเนินการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการระบาดของแมลงดา หนามมะพร้าวในพื้นที่เกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี ระหว่างเดือนตุลาคม 2555–พฤษภาคม 2562 โดยสารวจ ความเสียหายจากการระบาดของแมลงดาหนามในพื้นที่ปลูกมะพร้าวจานวน 10 แปลงหลัก และ 40 แปลง ติดตาม สุ่มนับประชากร ทางใบที่ถูกทาลายและทางใบสีเขียวที่ไม่ถูกทาลาย ทุก 1 และ 2 เดือน พบว่า จานวน หนอนในยอดกลมมากขึ้นและมี แนวโน้มสูง ขึ้นอย่างรวดเร็วระหว่างเมษายน-กันยายน 2561 และพบศัตรู ธรรมชาติน้อยมากจนถึงไม่พบ แต่ปลายปี 2561 ฝนมากขึ้นทาให้จานวนแมลงดาหนามมะพร้าวลดลง เมื่อนา ข้อมู ล สภาพแวดล้อ มมาวิเ คราะห์ร่วมด้วย พบว่า การเข้าท าลายและประชากรแมลงดาหนามมะพร้าวมี ความสัมพันธ์กับฝน ทั้งการตกของฝนและปริมาณฝนตก จานวนวันที่อุณหภูมิสูงกว่า 30 °ซ การทาลายของ เดือนก่อนมีความสัมพันธ์กับเปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลายในเดือนถัดไป นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์กับ จ านวนแตนเบียน และเวลา ซึ่ง อาจเกี่ยวข้องกั บฤดูกาลซึ่งต้องศึกษาต่อไป อย่างไรก็ ตาม ค่าสัม ประสิทธิ์ สหสัม พันธ์ดัง กล่าวยัง ไม่ เ ข้าใกล้ 1 หรือ -1 และมี ค่าต่ากว่า 0.6 ซึ่ง อาจเนื่องปฏิสัม พันธ์ร ะหว่างปัจ จัย จาเป็นต้องใช้เทคนิคอื่นๆ ในการค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าทาลายของแมลงดาหนามมะพร้ าว คาสาคัญ: แมลงดาหนามมะพร้าว การระบาดของแมลงศัตรูมะพร้าว
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
183
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
ABSTRACT coconut hispine beetle is exotic and one of the most serious pests of coconut and palm, both adults and larvae damage on young leaves. Complete control of coconut hispine beetle has been achieved by importing and establishing parasitoids in 2005, but significant outbreak again in 2012 which have probability to be a new outbreak in successful locations. To have the information for sustainability control, the dynamic population study had been conducted in Samui Island, Suratthani Province during October 2013- May 2019. Ten coconut fields were sampling and monitor population of coconut hispine beetle and its natural enemy every 1 months. 40 coconut fields were survey and evaluated every 2 months for number of leafs attack by coconut hispine beetle number of green leaves, percentage of damage of 1 st leaf. The result found number of coconuts hispine beetle larvae in young leaves dramatically increase during April-September 2018 and rarely to no natural enemy found, but late 2018 the population decrease due to intensive rainfall. Preliminary study with population and meteorological data found that, infested and population of coconut hispine beetle have relationship with rainfall both amount and number of rainy days. No. of day temperature >30 C and previous month infestation have relationship with percentage of damage of 1st leaf, and relationship found in no of parasitoid warps and time that seasonal will be further study. However, correlation coefficient not nearly 1 or -1 and value lower than 0.6, may be interaction between factor, that some analytical technic should be used to detect the majority of coconut hispine beetle outbreak. Keywords: coconut hispine beetle, coconut pest outbreak คานา มะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ เคยมีพื้นที่ปลูกมะพร้าวมากถึง 2.5 ล้านไร่ ในปี พ.ศ. 2545 แต่มี แนวโน้มลดลงเหลือประมาณ 7.57 แสนไร่ ในปี พ.ศ. 2561 จ.ประจวบคีรีขันธ์มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดพื้นที่ลดลง จาก 4.2 แสนไร่ ในปีพ.ศ. 2555 เหลือ 2.9 แสนไร่ในปีพ.ศ. 2561 สาเหตุสาคัญเนื่องจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ อื่นทดแทน และเกิดการระบาดของศัตรูพืชที่ ร้ายแรงอย่างต่อเนื่อง ทาให้ผลผลิตมะพร้าวลดลง (สานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร, 2557และ 2562) แมลงศัตรูะพร้าวที่สาคัญได้แก่ หนอนหัวดามะพร้าว แมลงดาหนาม มะพร้าว ด้วงแรดมะพร้าวและด้วงงวงมะพร้าว (อัมพร และคณะ, 2556) โดยแมลงดาหนามมะพร้าวที่พบใน ประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ Brontispa longissima Gestro และ Plesispa reicheri Chapuis เข้าทาลายใบ อ่อนของมะพร้าวทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัย ซ่อนตัวและแทะกินผิวใบในยอดอ่อนของมะพร้าวที่ยังไม่คลี่ ใบ อ่อนที่ถูกทาลายเมื่อคลี่ออกจะเป็นสีน้าตาล มองไกลๆ เห็นเป็นสีขาวโพลน พบระบาดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 184
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
ที่ จ.นราธิวาส ต่อมาในปี พ.ศ. 2547 มีรายงานการระบาดของ Brontispa longissima Gestro ในภาคใต้โดย เฉพาะที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งไม่ใช่ชนิดที่เคยพบมาก่อน (เฉลิมและวัชรี, 2547; อัมพร และคณะ, 2551) ประกอบกับมะพร้าวเป็นพืชที่มีลาต้นสูงเป็นการยากในการจัดการป้องกันกาจัด การควบคุมการระบาดของ แมลงดาหนามมะพราวที่เกิดอยางรุนแรงในช่วงนั้น จึงดาเนินการโดยใช้แตนเบียน Asecodes hispinarum Bouček นาเข้ามาขยายพันธุ์ให้ได้ปริมาณมากและปล่อยในช่วงปี พ.ศ.2547-8 ซึ่งสามารถควบคุมได้ผลอยาง ชัดเจน หลังปลอยแตนเบียน 10 เดือน (เฉลิมและคณะ, 2552) แต่ในปี พ.ศ.2554 มีรายงานการระบาดของ แมลงดาหนามมะพร้าวอีกทั้งประเทศรวมพื้นที่ 172,505 ไร่ โดยระบาดมากที่สุดในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 157,400 ไร่ ชึ่งเป็นช่วงเดียวกับที่มีรายงานหนอนหัวดามะพร้าวระบาด (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2554) การ ระบาดของทั้งแมลงดาหนามมะพร้าว และหนอนหัวดามะพร้าวส่งผลให้พื้นที่เก็บเกี่ยวลดลงและปริมาณผลผลิต ต่อไร่ลดลง หากการเข้าทาลายรุนแรงและติดต่อกันเป็นเวลานาน สามารถทาให้ต้นมะพร้าวตายได้ นอกจากนี้ สภาพภู มิ อ ากาศยั ง มี ส่ ว นเอื้ อ อ านวยให้ ก ารระบาดรุ น แรงและขยายพื้ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากข้ อ มู ล ของกรม อุตุนิยมวิทยา (2560) ปี พ.ศ. 2546 2547 2557 และ 2558 เป็นปีที่ประเทศไทยมีปริมาณฝนต่ากว่าค่าปกติ แต่ปี พ.ศ. 2554 มีป ริมาณฝนมากที่สุด ซึ่ง อาจเกี่ยวข้องหรือสนับสนุน การระบาดของแมลงศัตรู พืชได้ จึง ดาเนินการศึกษาติดตามการเปลี่ยนแปลงการะบาดของแมลงดาหนามมะพร้าว ทั้งรอยทาลาย จานวนแมลงดา หนามมะพร้าวและองค์ประกอบทางสภาพอากาศในแปลงเพื่อให้ได้ข้อมูลทั้งในช่วงที่มีการระบาดและไม่ระบาด ต่อเนื่องกัน นามาอธิบายความสัมพันธ์และวิเคราะห์หาโอกาสที่จะเกิดการระบาดของแมลงต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ พื้นที่ศึกษา
แปลงหลัก แปลงติดตาม
ภาพที่ 1 ที่ตั้งแปลงหลักและแปลงติดตามในพื้นที่ศึกษา เกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
185
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
วิธีการ 1. สารวจความเสียหายจากการระบาดของแมลงดาหนามมะพร้าวในพื้นที่ปลูกมะพร้าวของเกาะสมุย โดยสุ่ม เลือกแปลงมะพร้าวเพื่ อเป็นตัวแทนตามสัดส่วนพื้นที่ ปลูก จ านวน 40 แปลงติดตาม ทุ ก 2 เดือน ประเมินความเสียหายจากการทาลายของแมลงศัตรูมะพร้าวโดยสุ่มแปลงละ 10 ต้น นับทางใบที่ถูกทาลายด้วย แมลงดาหนามมะพร้าว ทางใบสีเขียวที่ไม่ถูกทาลาย เปอร์เซ็นต์การทาลายของทางใบแรกที่คลี่ซึ่งเป็นทางใบ อ่อนสุดที่คลี่หมดโดยสังเกตุจากยอดที่เพิ่งคลี่หมด โดยให้พื้นที่ทางใบทั้งหมดเป็น 100 ในช่วงเดือนตุลาคม 2555–ตุลาคม 2557 และตุลาคม 2559-พฤษภาคม 2562 2 ประเมินประชากรแมลงดาหนามมะพร้าว โดยการตัดยอดของมะพร้าวที่ ยังไม่ คลี่จาก 10 จุดที่ คัดเลือกเป็นแปลงหลัก โดยเลือกต้นมะพร้าวที่มีรอยทาลายจากแมลงดาหนามมะพร้าวบริเวณยอดจุดละ 1 ต้น เก็บนับปริมาณแมลงดาหนามมะพร้าว ที่ศูนย์วิจัยปาล์มน้ามันสุราษฎร์ธานี และนาหนอนมาเลี้ยงต่อไปอีก 7 วัน เพื่อดูการเกิดมัมมี่ทุก 2 เดือนในช่วงปลายเดือนตุลาคม 2555–ตุลาคม 2557 และทุกเดือนตุลาคม 2559พฤษภาคม 2562 และประเมินเปอร์เซ็นต์การทาลายของทางใบแรกแปลง 3. รวมรวมข้อมูลอุตุนิยมวิทยาจากสถานีตรวจวัดในพื้นที่ของกรมอุตุนิยมวิทยา และติดตั้งเครื่องวัด อุณหภูมิและความชื้นเพิ่มในแปลงที่ระดับยอดมะพร้าว นามาวิเคราะห์ผลร่วมกับข้อมูลข้างต้น ผลและวิจารณ์ สภาพการปลูกมะพร้าว พื้นที่ปลูกมะพร้าวมีลักษณะกระจายตัวรอบเกาะ รายรอบชุมชนที่เป็นพื้นราบ และบางส่วนบนภูเขา ส่วนใหญ่ปลูกแบบพืชเดียว ต.บ่อผุดมีพื้นที่ปลูกมากที่สุด รองลงมาคือ ตลิ่งงาม มะเร็ต ตามลาดับ การปลูก มะพร้าวในเกาะสมุยนี้เป็นแปลงขนาดเล็กประมาณ 2 ไร่ ถึงใหญ่มากกว่า 50 ไร่ แต่สวนมักอยู่ติดต่อกันท าให้ เห็นแปลงมะพร้าวเป็นผืนใหญ่ในหลายบริเวณ สภาพพื้นที่ปลูกมะพร้าวมีตั้งแต่ที่ราบติดทะเลจนถึงบริเวณที่ เป็นภูเขาสูง เนื่องจากมีพื้นที่ราบน้อย ซึ่งพื้นที่ราบติดต่อกันเป็นผืนใหญ่พบอยู่ในพื้นที่ ต.ตลิ่งงาม มะเร็ต และ แม่น้า ส่วนใหญ่ปลูกมะพร้าวพันธุ์พื้นเมือง มีอายุมาก ถึงมากกว่า 80 ปี การปลูกในอดีตทาได้ง่าย ไม่ต้องดูแล รักษามาก ไม่มีการใส่ปุ๋ยหรือให้น้า แต่ ในช่วงที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์สวนมะพร้าวไปเป็ น อย่างอื่น เช่น อาคารที่พักอาศัย ชุมชนและศูนย์การค้า ทาให้ไม่ได้รับการดูแลหรือโค่นทิ้งไป หลายพื้นที่ผู้เป็น เจ้าของแปลงที่ดินซึ่งปลูกมะพร้าวที่เป็นคนต่างถิ่น หรือซื้อที่ดินไว้เพื่อกิจการอื่น มักไม่ให้การดูแลเอาใจใส่สวน อาจทาให้เป็นแหล่งที่อาศัยของแมลงศัตรูมะพร้าวได้ การประเมินความเสียหายจากแมลงดาหนามมะพร้าว พบการเข้าทาลายรุนแรงทางด้านตะวันออก และด้านใต้ของเกาะ มะพร้าวส่วนใหญ่พบการระบาดของ แมลงดาหนามในระดับน้อยถึงปานกลาง พื้นที่ถูกทาลายในระดับน้อยกระจายทั่วทั้งเกาะ มีเพียง แปลงขนาด 186
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
เล็กที่สารวจไม่พบการเข้าทาลายของแมลงดาหนามมะพร้าวเลย จานวนทางใบที่ถูกแมลงดาหนามมะพร้าว ทาลายเฉลี่ย 4.7 ทางใบ จากแปลงที่สารวจทั้งหมด และเฉลี่ย 4.9 ทางใบเฉพาะในแปลงที่มีแมลงดาหนาม มะพร้าวทาลาย ซึ่งในกลุ่มนี้ยังคงมีทางใบเขียวที่ไม่ถูกทาลายอยู่เฉลี่ย 15.1 ทางใบ พื้นที่ส่วนใหญ่มีการเข้า ทาลายของแมลงดาหนามมะพร้าวในช่วงเวลา 6-10 เดือนก่อนการสารวจ โดยสังเกตุจากจานวนทางใบที่ถูก ทาลายจากยอดลงมา แต่พื้นที่ที่รุนแรงมากจะถูกทาลายเฉลี่ย 16.7 ทางใบแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ส่วนนี้มีการเข้า ทาลายมานานกว่า 1 ปี การเปลี่ยนแปลงการเข้าทาลายในแปลงติดตาม การทาลายทางใบแรกของแมลงดาหนามมะพร้าว จากการประเมินรอยทาลายใบที่เพิ่งคลี่หมดของ มะพร้าว ในช่วง 6 ปี สามารถสังเกตได้ว่าช่วงเดือนตุลาคมของทุกปีพบรอยทาลายทางใบแรกสูง ซึ่งบางปีอาจ เกิดขึ้นก่อนหรือหลังเล็กน้อย และปี 2560 การทาลายเฉลี่ยต่ากว่าทุกๆ ปี เฉลี่ย 7.6% ส่วนช่วงที่มีรอยการ ทาลายทางใบแรกต่าพบในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน 2556 มิถุนายน-สิงหาคม 2557 กุมภาพันธ์-มิถุนายน 2559 เมษายน-สิงหาคม 2560 และเมษายน-มิถุนายน 2561 (ภาพที่ 2) จานวนทางใบที่ถูกแมลงดาหนาม มะพร้าวทาลายเฉลี่ย 3.9ทางใบ/ต้น สาหรับทางใบสีเขียวที่ไม่ถูกทาลายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตลอดช่วงที่ศึกษา เฉลี่ย 21.9 ทางใบ
ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงการทาลายของแมลงดาหนามมะพร้าวเฉลีย่ ในแปลงติดตามทีเ่ กาะสมุย การเปลี่ยนแปลงการเข้าทาลายในแปลงหลัก ประชากรแมลงดาหนามะพร้าวช่วงแรกนี้สูงเฉลี่ย 103 ตัว/ยอดกลม แปลงที่มีจานวนแมลงดาหนาม มะพร้าวในยอดกลมมากอยู่ในพื้นที่ต.หน้าเมือง และตลิ่งงาม และเพิ่มจานวนมากขึ้นเป็น 467-710 ตัว/ยอด กลมในเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2556 หลังจากนั้ นลดลงมาในช่วงกุมภาพันธ์-เมษายน 2557 และเพิ่มจานวน สูงอีกครั้งในช่วงเดือนสิงหาคม 2557 (ภาพที่ 3ก) การทาลายทางใบแรกของแมลงดาหนามมะพร้าว พบรอย ทาลายเฉลี่ย 3 ช่วง ในช่วงปลายปีทานองเดียวกับแปลงติดตาม และพบการทาลายต่าในช่วงเดือนสิงหาคม 2556 เมษายน -พฤษภาคม 2557 (ภาพที่ 3ข) พบร่องรอยการทาลายใบแรกสูง 2 เดือนหลังจากที่จานวนพบ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
187
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
จานวนแมลงดาหนามมาก นอกจากนี้ยังพบแตนเบียนหนอนและแตนเบียนดักแด้แมลงดาหนามมะพร้าว (ภาพ ที่ 3ค) แต่ก็มีหลายช่วงที่ไม่พบแตนเบียนเลยที่ เป็นช่วงยาว คือ เมษายน-มิถุนายน 2556 และพบแตนเบียน หนอนมากกว่าแตนเบียนดักแด้ ทั้งนี้ ช่วงแรกนี้การเปลี่ยนแปลงการเข้าทาลายจาก % การทาลายใบแรกใน แปลงหลักและแปลงติดตามเป็นไปในทานองเดียวกัน ก)
ข)
ค)
ภาพที่ 3 การเปลี่ยนแปลงประชากรของแมลงดาหนามมะพร้าวในใบกลม (ก) การทาลายทางใบแรก (ข) ราย แปลงหลัก และค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงดาหนามในยอดกลม การทาลายทางใบแรกและปริมาณ น้าฝนรายเดือนที่เกาะสมุยระหว่างปี พ.ศ. 2555-2558
188
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
ช่วงที่ 2 การสารวจถี่ขึ้นเป็นทุกเดือน พบว่า ทางใบแรกมีร่องรอยความเสียหายจากการเข้าทาลาย เฉลี่ยเริ่มมีแนวโน้มลดลงในเดือนธันวาคมของทุกปี และลดลงต่าสุดในเดือนเมษายน 2559 พฤษภาคม 2560 มิถุนายน 2561 และพบปริมาณแมลงดาหนามมะพร้าว มากที่สุดในเดือนกันยายน 2561 จานวน 224.6/ยอด กลม โดยเป็นตัวเต็มวัย 54.4 ตัว และน้อยที่สุดในเดือนเมษายน 2560 4 ตัว/ยอดกลม พบแตนเบียนหนอน และแตนเบียนดักแด้แมลงดาหนามมะพร้าวสูงสุดในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 จานวน 4.9 และ 1 มัมมี่/ยอดกลม ตามลาดับ ปริมาณหนอนเริ่มมีมากขึ้นขณะที่มัมมี่แตนเบียนทั้ง 2 ชนิดเริ่มมีปริมาณลดลง เมื่อย่างเข้าฤดูร้อน ในเดือนมีนาคมและเมษายน อากาศร้อน ความชื้นในบรรยากาศต่ามีผลทาให้แมลงทั้งแมลงดาหนามมะพร้าว และแตนเบียนพบในปริมาณที่ลดลง แมลงดาหนามมะพร้าวพบเฉลีย่ 12.2 ตัว/ยอดกลม และไม่พบหรือแทบไม่ พบมัมมี่หนอน/มัมมี่ดักแด้ในดังกล่าว เป็นผลให้ในเดือนพฤษภาคมมีปริมาณหนอนเพิ่มมากขึ้นและทางใบแรก มี % การทาลายเริ่มเพิ่มขึ้นจนเดือนสิงหาคม และช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายนไม่พบแตนเบียนแมลงดาหนาม มะพร้าว ยกเว้นปี 2560 ที่สารวจแล้วไม่พบแตนเบียนขยับเลื่อนขึ้นมาเป็นช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน และ สอดคล้องกับการเลี้ยงแตนเบียนแมลงดาหนามมะพร้าวที่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ -เมษายน ไข่และดักแด้จะฟ่อ เนื่องจากสภาพอากาศแห้งแล้ง ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมสาหรับขยายพันธุ A. hispinarum อยู่ระหว่าง 26-28 ซ (เฉลิมและคณะ, 2552) จึงพบการเข้าทาลายที่สูงขึ้นและจานวนหนอนที่ เพิ่มมากขึ้นด้วยในช่วงเดือนถัดๆไป แต่เมื่อพิจารณาโดยรวมจากข้อมูลสารวจในช่วงที่ 2 นี้จานวนแมลงดาหนามมะพร้าวต่ากว่าช่วงแรก ปี 2559 ปริมาณฝนต้องแต่ต้นปีจนถึงเดือนตุลาคม ที่สถานีอุตุนิยมวิทยาสมุยมีเพียง 799 ม.ม. จึงทา ให้พบแมลงดาหนามมะพร้าวในยอดกลมสูง มากในเดือนกรกฎาคม-พฤศจิก ายน 2559 แต่ห ลัง จากเดือน พฤศจิกายนถึงธันวาคม ฝนตกหนักรวม 2 เดือน 1,056.8 มม. จานวนวันฝนตก 41 วัน ทาให้ปริมาณแมลงดา หนามมะพร้าวลดลงเรื่อยๆ จนการทาลายทางใบแรกลดลงอย่างชัดเจน ต้นปี 2560 (มกราคม-มิถุนายน) มี ปริมาณฝน 900 มม. จานวนวันฝนตกไม่น้อยกว่า 40 วัน เป็นปีที่ฝนช่วงต้นปีสูงกว่าปีก่อน ๆ จึงทาให้ตรวจนับ ประชากรแมลงดาหนามมะพร้าวในทุกระยะมีแนวโน้มลดลง มีช่วงฝนทิ้งช่วงนานแต่ปลายปีมีฝนต่อเนื่องช่วง พฤศจิกายน-มกราคม 2561 มีปริมาณฝนมากขึ้น ทาให้การทาลายใบแรกไม่สูงมากนักจนถึงต้นปี 2561 แต่ กลับมาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในเดือน ก.ค.-ก.ย.61 โดยเฉพาะวัยหนอน อย่างไรก็ตาม ช่วงตุลาคม-ธันวาคมฝน ตกต่อเนื่องท าให้ ป ระชากรแมลงดาหนามมะพร้าวลดลงอย่างมาก แต่ยัง พบการท าลายใบแรกอยู่จ นถึ ง พฤษภาคม 2562 (ภาพที่ 4) ช่วงเดือนพฤษภาคมแมลงดาหนามมะพร้าวจะมี ไข่จานวนมากขึ้น และลดลง ในช่วงปลายปีเนื่องจากปริมาณฝนมากทาให้ไข่ฟักได้ลดลง หรือหากมีหนอนวัยเล็กมากและมีฝนตกหนักจะทา ให้หนอนวัยเล็กตายก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย อย่างไรก็ตาม แปลงที่อยูใ่ กล้เคียงกันแต่สภาพแวดล้อม แตกต่างกันทาให้การทาลายเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันได้ สภาพอากาศที่มีผลต่อการระบาดของแมลงดาหนามมะพร้าว จากข้อมูลข้างต้น ที่ได้จะเห็นได้ว่า ประชากรของแมลงดาหนามมะพร้าว จานวนแตนเบียนแมลงดา หนามมะพร้าว น่าจะมีความสัมพันธ์กัน และมีผลต่อเปอร์เซ็นต์ทางใบแรกของมะพร้าวที่ถูกทาลาย จึงนาข้อมูล การเข้าทาลายและประชากรแมลงดาหนามมะพร้าวจากแปลงหลัก มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลสภาพอากาศของ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
189
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
สถานีอุตุนิยมวิทยาสมุยรายวัน พบว่า เปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลายมีความสัมพันธ์กับฝน ทั้งการตกของ ฝนและปริมาณฝนตก โดยที่ปริมาณฝนรวมช่วง 45 วันก่อนหน้ามีความสัมพันธ์ กับเปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูก ท าลายสูง กว่า (r= .235**) ช่วง 3-120 วันก่ อนหน้า และจ านวนวันฝนตก 120 วัน มี ความสัม พัน ธ์ กั บ เปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลายสูงกว่า (r= .426**) ช่วง 30- 150 วันก่อนหน้า จานวนวันที่อุณหภูมิสูงกว่า 30 °ซ ในช่วง 20-30 วันก่อนหน้า มีความสัมพันธ์กับสูงกว่าช่วงอื่นๆ เปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลายของ เดือนก่อนมีความสัมพันธ์กับเปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลายในเดือนถัดไป นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์กับ จานวนแตนเบียน (r= 0.114*) และเวลา (ปี/เดือน) ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับฤดูกาลซึ่งต้องศึกษาต่อไป แต่ไม่ พบ ความสัมพันธ์ของเปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลายกับจานวนหนอน หรือจานวนตัวเต็มวัยของแมลงดาหนาม มะพร้าว แต่มี ความสัม พั นธ์กั บ จ านวนแตนเบีย นแมลงด าหนามมะพร้า ว อย่างไรก็ ตาม ค่าสัม ประสิท ธิ์ สหสัมพันธ์ดังกล่าวยังไม่เข้าใกล้ 1 หรือ -1 และมีค่าต่ากว่า 0.7 มาก ซึ่งอาจเนื่องจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย อีกทั้ง อุณหภูมิและความชื้นในแปลงที่ระดับยอดมะพร้าว เมื่อเปรียบเทียบกับระดับที่สูงจากพื้นดิน 2 เมตร พบว่า อุณหภูมิต่าสุดไม่แตกต่างกัน แต่อุณหภูมิสูงสุดแตกต่างกันมาก ที่ระดับเรือนยอดมะพร้าวมีอุณหภูมิ สูงสุดสูงกว่าทุกช่วงและความแตกต่างจะมีมากในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม ส่วนความชื้นสัมพันธ์สุงสุดที่ เรือนยอดมะพร้าวสูงกว่าที่ระดับพื้นผิว แต่ความชื้นสัมพันธ์ต่าสุดต่ากว่า ยังจาเป็นต้องใช้เทคนิคอื่นๆ รวมทั้ง การเหลื่อมข้อ มูล เนื่องจากประชากรหนอนและตัวเต็ม วัยแมลงดาหนามมะพร้าวท าลายทางใบที่ ยังไม่คลี่ ส่วนข้อมูลทางใบแรกที่ถูกทาลายเป็นผลจากการทาลายของเดือนก่อนๆหน้า และอาจมีอิทธิพลของฤดูกาลเข้า มาเกี่ยวข้อง
190
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
ก)
ข)
ภาพที่ 4 การเปลี่ยนแปลงประชากรแมลงดาหนามมะพร้าว ศัตรูธรรมชาติในยอดกลมมะพร้าว (ก) และ เปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลาย ปริมาณฝนรายเดือน (ข) ระหว่าง พ.ย.2558–พ.ค.2562 ที่ เกาะสมุย จ.สุราษฎร์ธานี
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
191
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์ทางใบแรกที่ถูกทาลาย กับสภาพอากาศของสถานี อุตุนิยมวิทยาสุราษฎร์ธานี อ.เกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี ปริมาณน้าฝนสะสม
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ จานวนวันฝนตก
3 วันก่อนหน้า .213** 20 วันก่อนหน้า 7 วันก่อนหน้า .210** 30 วันก่อนหน้า 10 วันก่อนหน้า .148** 45 วันก่อนหน้า 14 วันก่อนหน้า .252** 60 วันก่อนหน้า 15 วันก่อนหน้า .269** 90 วันก่อนหน้า 20 วันก่อนหน้า .225** 120 วันก่อนหน้า 30 วันก่อนหน้า .290** 150 วันก่อนหน้า 45 วันก่อนหน้า .327** 60 วันก่อนหน้า .300** 90 วันก่อนหน้า .278** 120 วันก่อนหน้า .235** *. Correlation is significant at the 0.05 level (2-tailed). **. Correlation is significant at the 0.01 level (2-tailed).
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ .127* .226** .276** .318** .401** .426** .401**
สรุปผลการทดลอง การสารวจติดตามการเปลี่ยนแปลงประชากรและการทาลายของแมลงดาหนามมะพร้าว ที่เกาะสมุย พบการเปลี่ยนแปลงขึ้นๆลงๆ โดยมีเปอร์เซ็นต์การทาลายทางใบแรกของแมลงดาหนามมะพร้าวสูงในช่วงเดือน ตุลาคมของทุกปี ซึ่งอาจเกิดขึ้นก่อนหรือหลังเล็กน้อย ส่วนช่วงที่มีการทาลายทางใบแรกต่าพบในช่วงเดือน เมษายน-มิถุนายน 2556 มิถุนายน-สิงหาคม 2557 กุมภาพันธ์-มิถุนายน 2559 เมษายน-สิงหาคม 2560 และ เมษายน-มิถุนายน 2561 จานวนทางใบสีเขียวที่ไม่ถูกทาลายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตลอดช่วงที่ศึกษา เฉลี่ย 21.9 ทางใบ สาหรับประชากรแมลงดาหนามะพร้าวช่วงแรกสูงเฉลี่ย 103 ตัว/ยอดกลม และเพิ่มจานวนมากขึ้นเป็น 467-710 ตัว/ยอดกลมในเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2556 สิงหาคม 2557 กันยายน 2561 และน้อยที่สุดใน เดือนเมษายน 2560 4 ตัว/ยอดกลม และช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายนของทุกปีไม่พบแตนเบียนแมลงดาหนาม มะพร้าว ยกเว้นปี 2560 ที่สารวจแล้วไม่พบแตนเบียนขยับเลื่อนขึ้นมาเป็นช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน การ เข้าทาลายและประชากรแมลงดาหนามมะพร้าวมีความสัมพันธ์กับฝน ทั้งการตกของฝนและปริ มาณฝนตก จานวนวันที่อุณหภูมิสูงกว่า 30 °ซ การทาลายของเดือนก่อนมี ความสัมพันธ์กับเปอร์เซ็นต์ท างใบแรกที่ ถูก ทาลายในเดือนถัดไป นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์กับจานวนแตนเบียน และเวลา ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับฤดูกาล ซึ่งต้องศึกษาต่อไป อย่างไรก็ตาม ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ดั งกล่าวยังไม่เข้าใกล้ 1 หรือ -1 และมีค่าต่า ทั้งนี้
192
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-04
อาจเนื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย หรือฤดูกาลมีส่วนเกี่ยวข้อง จาเป็นต้องใช้เทคนิคอื่นๆ ในการค้นหาปัจจัยที่ มีผลต่อการเข้าทาลายของแมลงดาหนามมะพร้าว เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการเกษตร. 2554. รายงานสถานการณ์หนอนหัวดามะพร้าว ศูนย์ปฏิบัติการควบคุมการระบาดศัตรูพืช แหล่งข้อมูล: http://www.agriqua.doae.go.th/coconut_list_54.html. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2557. กรมอุตุนิยมวิทยา. 2560. ความผันแปรและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิากาศ พ.ศ. 2559. ศูนย์ภูมิอากาศ สานัก พัฒนาอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา. 16 หน้า. เฉลิม สนธิุเสก และวัชรี สมสุข. 2547. แมลงดาหนามมะพร้าวตัวใหมและแนวทางการปองกันกาจัด. หนา 1-4. ใน: เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใชแตนเบียนกาจัดแมลงดาหนามมะพร้าว. กลุมกีฏ และสัตววิทยา สานักวิจัยพฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. 30 ตุลาคม 2547 ณ หอประชุม กาญจนาภิเษก เทศบาลตาบลเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี. เฉลิม สินธุเสก อัมพร วิโนทัย รุจ มรกต ประภัสสร เชยคาแหง ยุพิน กสินเกษมพงษ์ สุภาพร ชุมพงษ จรัสศรี วงศ กาแหง และยิ่งนิยม ริยาพันธุ์. 2552. การควบคุมแมลงดาหนามมะพราว Brontispa longissima Gestro (Coleoptera: Chrysomelidae) แบบชีววิธี. 2 หน้า. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2557. มะพร้าว: เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ปี 2553 2557. แหล่งที่มา URL: http://www.oae.go.th/download/prcai/farmcrop/coconut.pdf. สืบค้น เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2558. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2562. มะพร้าวผลแก่: เนื้อที่ยืนต้น เนือ้ ที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ปี 2561. แหล่งที่มา URL http://newweb.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/prcaidata/files/coconut61.pdf. สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2562. อัมพร วิโนทัย สุเทพ สหายา เสาวนิตย์ โพธิ์พูนศักดิ์ ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง ยิ่งนิยม ริยาพันธ์ ปิยะนุช นาคะ และวีรา คล้ายพุก. 2556. การจัดการแมลงศัตรูมะพร้าวที่เกาะสมุย. เอกสารประกอบการอบรม. กรมวิชาการ เกษตร. 36 หน้า. อัมพร วิโนทัย, ประภัสสร เชยคาแหง, รจนา ไวยเจริญ, รุจ มรกต และเฉลิม สินธุเสก. 2551. วิจัยพัฒนาการผลิต ขยายและการจ้างเอกชนผลิตแตนเบียน Asecodes hispinarum เพื่อควบคุมแมลงดาหนามมะพร้าว Brontispa longissima โดยชีววิธี. หน้า 7-19. ใน: การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการป้องกันและกาจัด แมลงดาหนามศัตรูมะพร้าวและมาตรการเฝ้าระวัง. 28 - 29 มกราคม 2551 ณ โรงแรมชลจันทร์ พัทยา รี สอร์ท จ.ชลบุรี.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
193
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นเพื่อป้องกัน ก้าจัดหนอนหัวด้าในมะพร้าวน้าหอมและมะพร้าวนา้ ตาล Efficacy and Residues of Insecticides Used in Truck Injection for Controlling Coconut Black-headed Caterpillar Opisina arenosella Walker in Aromatic Coconut and Sugar Coconut พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์1 พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท1 นลินา ไชยสิงห์1 สุชาดา สุพรศิลป์1 วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร 1 ลมัย ชูเกียรติวัฒนา 2 วาเลนไทน์ เจือสกุล 2 ชนิตา ทองแซม2 วีระสิงห์ แสงวรรณ 2 วิชชุตา ควรหัตร์2 และ สุวัฒน์ พูลพาน3 Pichate chaowattanawong1 Pruetthichat Punyawattoe1 Nalina Chaiyasing1 Suchada Supornsin1 Woravit Sutjaritthammajariyankun1 Lamai Chukiatwattana 2 Valentine Juersakul2 Chanida Thongsam 2 Verasing Sangwan2 Vichuta Kuanhat2 and Suwat Poonpan 3 1
ส้านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช Plant Protection Research and Development Office 2 กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร 2 Agriculture Production Sciences Research and Development Division 3 ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน Supanburi Field Crop Research Center Department of Agriculture ส้านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพ 10900 โทรศัพท์ 025793053 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture. 50 Paholyotin Rd. Lardyao, Chatuchak, Bangkok 10900. Tel. 025793053 1
บทคัดย่อ การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นเพื่อ ป้องกันกาจัด หนอนหัวดาในมะพร้าวน้าหอมและมะพร้าวน้าตาล ที่อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ดาเนินการระหว่าง เดือน กรกฎาคม 2560 – เมษายน 2562 มะพร้าวน้าหอมดาเนินการในแปลงที่มีความสูง 4-6 เมตรจานวน 2 แปลง และความสูง 6-10 เมตร จานวน 2 แปลง วางแผนการทดลองแบบ RCB 5 ซ้า 8 กรรมวิธี ได้แก่ การฉีด สาร abamectin 1.8% EC อั ตรา 15, 30, 60 และ 90 มิ ลลิลิตรต่อต้น และสาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5, 10 และ 50 มิลลิลิตรต่อต้น เปรียบเทียบกับกรรมวิธี ไม่ใช้สาร สาหรับมะพร้าวน้าตาล ดาเนินการในแปลงที่มี ความสูง 4-6 เมตรจานวน 2 แปลง วางแผนการทดลองแบบ RCB 5 ซ้า 7 กรรมวิธี ได้แ ก่ การฉี ดสาร abamectin 1.8% EC อัต รา 15, 30 และ 90 มิ ล ลิ ลิตรต่ อต้น และสาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 และ 50 มิลลิลิตรต่อต้น เปรียบเทียบกับกรรมวิธีไม่ใช้สาร หลังฉีดสาร 3, 7, 194
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
15, 30 60 และ 90 วั น เก็ บ ใบมะพร้ าวมาทดสอบ โดยให้ ห นอนหั วด ากิ น ใบมะพร้า วที่ ฉี ด สารเข้า ต้ น เปรี ยบเที ย บจ านวนหนอนที่ ตายของแต่ ล ะกรรมวิธี พบว่าการฉี ดสารเข้าต้ นด้ว ยสาร abamectin และ emamectin benzoate ทุกอัตรามีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดหนอนหัวดาได้ดี ส่วนการศึกษาปริมาณ สารพิษตกค้างในผลผลิตมะพร้าวทั้ ง 2 ชนิด หลัง จากการใช้ส าร 3, 7, 15, 30, 60, 90 และ 120 วัน ใน มะพร้าวน้าหอม และมะพร้าวน้าตาล ไม่พบสารตกค้างในมะพร้าวทั้ง 2 ชนิด ในทุกครั้งและ ทุกอัตราการใช้ สาร ค้าส้าคัญ : มะพร้าว หนอนหัวดามะพร้าว ฉีดสารเข้าต้น พิษตกค้าง ABSTRACT Efficacy trial and Residue analysis of insecticides used in trunk injection for controlling Coconut Black-headed Caterpillar Opisina arenosella Walker. in aromatic and sugar coconut were evaluated in coconut field in Samutsakorn province during July 2017-April 2019. For aromatic coconut, coconut trees with 4-6 meters trunk high and 6-10 meters trunk high were used. The experiment design was RCB with 5 replications and 8 treatments which were, injection with abamectin 1.8% EC at the rate of 15, 30, 60 and 90 ml./tree and emamectin benzoate 1.92% EC at the rate 5, 10 and 50 ml/tree and the untreated as the control treatment for aromatic coconuts. For sugar coconut, 4-6 meters trunk high were used. The experiment design was RCB with 5 replications and 7 treatments which were, injection with abamectin 1.8% EC at the rate of 15, 30 and 90 ml./tree and emamectin benzoate 1.92% EC at the rate of 5,10 and 50 ml/tree and the untreated as the control treatment. The leaves of the treated coconut trees were collected at 3, 7, 15, 30, 60 and 90 days after injection for bioassay by feeding the Coconut Black-headed Caterpillar with these leaves in laboratory. The numbers of dead caterpillar were compared between treatments. The results showed that all the treatments that inject with insecticides had high efficacy for controlling Coconut Black-headed Caterpillar. For the residue analysis, the samples of coconut flesh and juice from aromatic coconut and sugar form sugar coconut, were taken at 3, 7, 15, 30, 60 and 90 days after injection in both aromatic and sugar coconut. The results showed that there were no residues of insecticides found in all samples at every rates of injection at 3, 7, 15, 30, 60 and 90 days after injection. Keywords: coconut, Coconut Black-headed Caterpillar, trunk injection, resudues
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
195
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
ค้าน้า มะพร้าวจัดเป็นพืชที่มีความสัมพันธ์กับเศรษฐกิจและสังคมชนิดหนึ่ง ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกมะพร้าว ทั้งหมด 1,159,608 ไร่ โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมะพร้าวมากที่สุดคือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จานวน 454,550 ไร่ (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560) แมลงศัตรูมะพร้าวที่กาลังระบาดเป็นปัญ หาหนักและเร่งด่วนใน ขณะนี้ ได้แก่ หนอนหัวดามะพร้าว; Opisina arenosella Walker (อัมพร, 2551 และประภาส, 2554) กรม ส่งเสริมการเกษตร (2556) รายงานว่าสถานการณ์ปัจจุบัน ได้ขยายพื้นที่และระบาดรุนแรง 16 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี สมุ ทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ภูเก็ต และนราธิวาส นอกจากนี้สานักวิจัย และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 (ชัยนาท) รายงานว่าพบการระบาดเพิ่มในจังหวัด ราชบุรี สมุทรสาคร นครปฐม และปทุมธานี ซึ่งพื้นที่ปลูกดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นมะพร้าวพันธุ์ น้าหอมและมะพร้าวน้าตาล สุเทพ และคณะ (2553 และ 2555) รายงานว่าการใช้สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 30 และ 50 มิลลิลิตรต่อ ต้น โดยวิธีฉีดสารเข้าล าต้น (Trunk injection) มี ป ระสิ ท ธิภาพป้องกั น กาจัดหนอนหัวดามะพร้าวได้นาน ประมาณ 3 เดือน นอกจากนี้ไม่พบพิษตกค้างในน้า และเนื้อมะพร้าว ยกเว้นมะพร้าวต้นที่สูง 8.6 เมตรเพียง ต้นเดียวที่พบในน้ามะพร้าว 0.0017 ppm. ดังนั้นจึงแนะนาเฉพาะมะพร้าวที่มีความสูงเกิน 12 เมตร ห้ามใช้ กับมะพร้าวน้าหอม และมะพร้าวกะทิ เนื่องจากงานวิจัยยังไม่ครอบคลุมถึง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงทา การวิจั ยให้ครอบคลุม มะพร้ าวที่ มี ความสูง น้อยกว่า 12 เมตร มะพร้าวน้าหอม และมะพร้าวกะทิ รวมถึง มะพร้าวน้าตาล เพื่อ หาอัตราที่เหมาะสมที่มีประสิทธิภาพแต่ไม่มีพิษตกค้างกับมะพร้าวน้าหอมและมะพร้าว น้าตาล และต้นมะพร้าวที่มีความสูงน้อยกว่า 12 เมตร เพื่อเป็นคาแนะนาเผยแพร่สาหรับ แนะนาให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่ส่งเสริม ธุรกิจเอกชนที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนเกษตรกรต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์ 1. สวนมะพร้ าวน้าหอม ความสูง 4 - 6 เมตร จ านวน 2 แปลง ความสูง 6 - 10 เมตร จานวน 2 แปลง มะพร้าวน้าตาลความสูง 4-6 เมตร จานวน 2 แปลง 2. สว่านเจาะลาต้น ถังบรรจุสารพร้อมอุปกรณ์ฉีดสารเข้าลาต้น อุปกรณ์ป้องกันสารเคมี 3. สารฆ่าแมลง emamectin benzoate 1.92% EC และ abamectin 1.8% EC 4. อุปกรณ์ตัดใบมะพร้าว 5. สารเคมี และเครือ่ งมือในห้องปฏิบัติการในการวิเคราะห์สารพิษตกค้าง
196
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
การทดลองที่ 1 การทดสอบประสิทธิภ าพสารเคมี การศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นและ การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าหอม วิธีการ วางแผนการทดลองแบบ RCB จานวน 2 ต้นต่อซ้า ทา 5 ซ้า มี 8 กรรมวิธี ดังนี้ 1. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 15 มิลลิลิตรต่อต้น 2. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 30 มิลลิลิตรต่อต้น 3. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 60 มิลลิลิตรต่อต้น 4. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มิลลิลิตรต่อต้น 5. สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 มิลลิลิตรต่อต้น 6. สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มิลลิลิตรต่อต้น 7. สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อต้น 8. ไม่ใช้สาร (control) วิธีปฏิบัติการทดลอง แบ่งเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขันตอนที่ 1 การฉีดสารเข้าต้น เจาะลาต้นมะพร้าวที่ระดับความสูงประมาณ 0.5 - 1 เมตร จากโคนต้น อัตราต่า ต้นละ 1 รู อัตราสูง 2 รู โดยเจาะฝั่งตรงข้ามกัน ที่ความลึก 10 - 15 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 - 1.5 เซนติเมตร โดย เจาะให้เอียงลงประมาณ 45 องศา ฉีดสารเข้าลาต้นตรงรูที่เจาะในอัตราตามกรรมวิธี กรณีอัตราต่าใส่เพียงรู เดียว กรณีอัตราสูงแบ่งใส่รูละครึ่งหนึ่งของอัตราที่กาหนด ขั นตอนที่ 2 ศึก ษาการผลของสารฆ่ า แมลงในใบมะพร้า วและความเป็ นพิ ษ ต่อ หนอนหัว ด้ า มะพร้าว (Bioassay) หลังการใช้สารที่ 3, 7, 15, 30, 60 และ 90 วัน ตัดใบมะพร้าวในแต่ละกรรมวิธีความยาวประมาณ 5 นิ้ว จานวน 10 ชิ้น ใส่ลงในกล่อง แล้วคัดเลือกหนอนที่เก็บรวบรวมจากธรรมชาติ และมีขนาดใกล้เคียงกันใส่ กล่องที่มีใบมะพร้าวกล่องละ 10 ตัว แต่ละกรรมวิธีทา 4 ซ้า การบันทึกข้อมูล ทาการบันทึกจานวนหนอนที่ตายแต่ละกรรมวิธี คานวณเปอร์เซ็นต์การตายของแต่ละกรรมวิธี บันทึก อาการเกิดพิษของพืชเนื่องจากสารฆ่าแมลง นาข้อมูลเปอร์เซ็นต์การตายของแต่ละกรรมวิธี มาวิเคราะห์ผลทาง สถิติ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี DMRT ขันตอนที่ 3 การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าหอม ดาเนินการสุ่มผลมะพร้าวน้าหอมระยะส่งตลาดทุกกรรมวิธีที่ฉีดสารเข้าต้น ในขั้นตอนที่ 1 กรรมวิธีละ 10 ผล มาวิเคราะห์ส ารพิ ษตกค้างในน้า เนื้อและเปลือกมะพร้ าวน้าหอม จากการใช้สารจากทั้ ง 4 แปลง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
197
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
ทดลอง ทาการวิเคราะห์เนื้อและน้ามะพร้าวรวมกัน รวม 6 ครั้ง (ที่หลังการใช้สาร 3, 7, 15, 30, 60 และ 90 วัน รวม 6 ครั้ง x 7 ตัวอย่าง x 4 แปลงทดลอง = 168 ตัวอย่าง) สกัดตัวอย่างมะพร้าวด้วยวิธี QuEChERS เพื่อหาสารพิษตกค้าง abamectin และ emamectin benzoate โดยวิเคราะห์ด้วย LC/MS/MS นอกจากนี้ ยังทดสอบวิธีการเพื่อหาประสิทธิภาพการวิเคราะห์ ตัวอย่างที่ร ะดับความเข้มข้นต่าสุดที่วิเคราะห์ได้ (LOD) ตัวอย่างที่มีปริมาณต่าสุดที่วิเคราะห์ได้และน่าเชื่อถือ (LOQ) ตัวอย่าง Blank Sample และ Reagent Blank เพื่อการควบคุมคุณภาพผลการทดสอบ การบันทึกข้อมูล บันทึกปริมาณการตกค้างของสารจากการฉีดเข้าต้นมะพร้าวน้าหอม การทดลองที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมี การศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้ นและ การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าตาล วิธีการ วางแผนการทดลองแบบ RCB จานวน 2 ต้นต่อซ้า ทา 5 ซ้า มี 5 กรรมวิธีดังนี้ 1. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 15 มิลลิลติ รต่อต้น 2. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 30 มิลลิลติ รต่อต้น 3. สาร abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มิลลิลติ รต่อต้น 4. สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 มิลลิลติ รต่อต้น 5. สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มิลลิลติ รต่อต้น 6. สาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มิลลิลติ รต่อต้น 7. ไม่ใช้สาร (control) วิธีปฏิบัติการทดลองแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขันตอนที่ 1 การฉีดสารเข้าต้นกับมะพร้าวที่เก็บน้าตาล ดาเนินการเจาะและฉีดสารเข้าต้นเช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 ขั นตอนที่ 2 ศึกษาการผลของสารฆ่า แมลงในใบมะพร้า ว และความเป็ นพิ ษ ต่อ หนอนหั วด้ า มะพร้าว (Bioassay) ดาเนินการเช่นเดียวกกับการทดลองที่ 1 การบันทึกข้อมูล ดาเนินการเช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 ขันตอนที่ 3 การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าตาล นาน้าตาลที่เก็บเกี่ยวได้มาวิเคราะห์หาสารตกค้างหลังฉีดสารที่ระยะ 3, 7, 15, 30, 60 และ 90 วัน สุ่มเก็บน้าตาลมะพร้าวทุกกรรมวิธีที่ฉีดสารเข้าต้น มาวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการใช้สารจากทั้ง 2 แปลง ทดลอง ทาการวิเคราะห์ รวม 6 ครั้ง (ที่หลังการใช้สาร 3, 7, 15, 30, 60 และ 90 วัน รวม 6 ครั้ง) 198
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
การบันทึกข้อมูล บันทึกปริมาณการตกค้างของสารจากการฉีดเข้าต้นมะพร้าวน้าตาล เวลาและสถานที่ท้าการทดลอง แปลงเกษตรกรที่อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ดาเนินการระหว่างเดือน กรกฎาคม 2560 – เมษายน 2562 ผลการทดลองและวิจารณ์ การทดลองที่ 1 การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมี การศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นและ การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าหอม มะพร้าวน้าหอมความสูง 4-6 เมตร แปลงที่ 1 (ตารางที่ 1) หลังเจาะอัดสาร 3 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 30.43 – 91.73 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา เฉลี่ย 91.73 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีการใช้สารทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 7 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 73.82 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 2.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา เฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 15 มล.ต่อต้นแต่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารทีเ่ หลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 15 30 60 และ 90 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้ สารเฉลี่ยอยูร่ ะหว่าง 81.56 – 100.00, 86.00-100, 84.00-100 และ 86.48-100 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ไม่ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตริ ะหว่างกรรมวิธี แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีไม่ใช้สาร
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
199
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
ตารางที่ 1 เปอร์เซ็นต์ การตายของหนอนหัวดามะพร้าวหลังการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงด้วยวิธี bioassays ในมะพร้าวน้าหอมความสูง 4-6 เมตร ณ แปลงเกษตรกร อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (แปลง ที่ 1) กรรมวิธี
T1 abamectin 1.8% EC T2 abamectin 1.8% EC T3 abamectin 1.8% EC T4 abamectin 1.8% EC T5 emamectin benzoate 1.92% EC T6 emamectin benzoate 1.92% EC T7 emamectin benzoate 1.92% EC T8 ไม่ใช้สาร (control) CV% 1/
อัตรา ผลิตภัณฑ์ต่อ ต้น (มิลลิลิตร) 15 30 60 90 5 10 50
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว (หลังเจาะอัดสาร) 3 วัน 30.43c1/ 37.69c 39.94c 34.00c 53.22b 72.00b 91.73a 0.00d 24.80
7 วัน 73.82c 94.18ab 97.78a 98.18a 80.00bc 94.00ab 100.00a 2.00d 14.40
15 วัน 84.00a 91.56a 96.00a 97.50a 81.56a 96.36a 100.00a 0.00b 15.60
30 วัน 86.00a 94.67a 94.00a 97.09a 88.18a 95.75a 100.00a 1.00b 12.10
60 วัน 84.91a 96.75a 100.00a 100.00a 84.00b 96.00a 100.00a 0.00b 7.60
90 วัน 89.65a 95.71a 98.00a 100.00a 86.84a 97.88a 100.00a 5.00b 8.30
ตัวเลขทีต่ ามด้วยอักษรเดียวกันหรือไม่มีตัวอักษรในแต่ละสดมภ์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
มะพร้าวน้าหอมความสูง 4-6 เมตร แปลงที่ 2 (ตารางที่ 2) หลังเจาะอัดสาร 3 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหั วดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 28.00 – 92.55 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา เฉลี่ยสูงสุด 92.55 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 7 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 41.29 - 100 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 15 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่แตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธี การใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 15 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 47.70 - 98.18 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 5.64 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า 200
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 98.18 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 60 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 และ 50 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ใช้สารทีเ่ หลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 30 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 68.00 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตกิ บั กรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 60 วั น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 76.00 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธี ที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา เฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับ กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 90 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 81.45 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 2.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อั ตรา 60 และ 90 มล.ต่ อต้ น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น ตารางที่ 2 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว หลังการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงด้วยวิ ธี bioassays ในมะพร้าวน้าหอมความสูง 4-6 เมตร ณ แปลงเกษตรกร อาเภอลาสนธิ จังหวัดลพบุรี (แปลงที่ 2) กรรมวิธี
T1 abamectin 1.8% EC T2 abamectin 1.8% EC T3 abamectin 1.8% EC T4 abamectin 1.8% EC
อัตราผลิตภัณฑ์ ต่อต้น (มิลลิลิตร) 15 30 60 90
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว (หลังเจาะอัดสาร) 3 วัน 28.00c/1 53.59bc 57.44b 64.21b
7 วัน 41.29b 78.00a 87.55a 92.00a
15 วัน 57.64b 67.43b 98.18a 93.56a
30 วัน 68.00b 92.33a 96.67a 96.00a
60 วัน 76.00b 93.00a 93.14a 96.00a
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
90 วัน 81.45b 96.67a 100.00a 100.00a
201
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
T5 emamectin benzoate 1.92% EC 5 46.97bc 46.44b 47.70b 89.11ab 93.00a T6 emamectin benzoate 1.92% EC 10 52.00bc 82.00a 94.00a 94.36a 98.18a T7 emamectin benzoate 1.92% EC 50 92.55a 100.00a 98.18a 100.00a 100.00a T8 ไม่ใช้สาร (control) 0.00d 0.00c 5.64c 0.00c 0.00c CV% 37.40 25.70 24.30 21.40 19.70 1/ ตัวเลขทีต่ ามด้วยอักษรเดียวกันหรือไม่มีตัวอักษรในแต่ละสดมภ์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
92.55ab 98.00a 100.00a 2.00c 11.33
มะพร้าวน้าหอมความสูง 6-10 เมตร แปลงที่ 1 (ตารางที่ 3) หลังเจาะอัดสาร 3 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหั วดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 23.82 – 68.08 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 1.82 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่เจาะอัดสาร พบว่ากรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัว ดาสูงสุดเฉลี่ย 68.08 เปอร์เซ็นต์ ไม่ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มิลลิลิตรต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ที่เหลือทุก กรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 7 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 47.00 - 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 2.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีทเี่ จาะอัดสาร พบว่ากรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัว ดาสูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ใช้สารทุก กรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 15 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 56.00 - 98.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลีย่ 98.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 60 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีใช้สารที่เหลือทุกกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 30 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 72.55 - 98.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 202
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลีย่ 98.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกบั กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 60 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารทีเ่ หลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 60 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธี ก ารใช้ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 82.00 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 และ 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอน หัวดาสูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 60 และ 90 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุก กรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 90 วัน หลังเจาะอัดสาร 90 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรม วิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 82.00 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับ กรรมวิธีไม่ เจาะอั ดสารที่ พ บเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่ อเปรียบเที ยบ ระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้ ส าร พบว่ ากรรมวิธี emamectin benzoate 1.92 % EC อั ตรา 50 มล.ต่อ ต้น พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ กั บ กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อั ตรา 5 มล.ต่อ ต้น แต่ ไม่ แตกต่างอย่างมี นั ยส าคัญ ทางสถิ ติกั บ กรรมวิธีที่ใช้สารทุกกรรมวิธี ตารางที่ 3 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว หลังการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงด้วยวิธี bioassays ในมะพร้าวน้าหอมความสูง 6-10 เมตร ณ แปลงเกษตรกร อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (แปลงที่ 1) กรรมวิธี
T1 abamectin 1.8% EC T2 abamectin 1.8% EC T3 abamectin 1.8% EC T4 abamectin 1.8% EC T5 emamectin benzoate 1.92% EC T6 emamectin benzoate 1.92% EC T7 emamectin benzoate 1.92% EC T8 ไม่ใช้สาร (control) CV% 1/
อัตราผลิตภัณฑ์ ต่อต้น (มิลลิลิตร) 15 30 60 90 5 10 50
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว (หลังเจาะอัดสาร) 3 วัน 23.82c1/ 29.00c 32.67c 38.44bc 27.45c 53.27ab 68.08a 1.82d 35.90
7 วัน 47.00d 64.36bcd 73.78bc 79.38b 60.64cd 79.00b 100.00a 2.00e 20.50
15 วัน 56.00d 64.52cd 92.00ab 98.00a 73.11cd 76.00bc 96.00a 0.00e 19.40
30 วัน 72.55b 74.42b 86.91ab 98.00a 76.28b 97.78a 98.00a 0.00c 15.20
60 วัน 82.00c 84.00c 96.36ab 98.33a 80.06bc 100.00a 100.00a 0.00d 10.40
90 วัน 82.00b 93.00a 98.33a 98.00a 98.18a 98.00a 100.00a 0.00c 7.50
ตัวเลขทีต่ ามด้วยอักษรเดียวกันหรือไม่มีตัวอักษรในแต่ละสดมภ์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
203
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
มะพร้าวน้าหอมความสูง 6-10 เมตร แปลงที่ 2 (ตารางที่ 4) หลังเจาะอัดสาร 3 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหั วดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 24.00 – 95.96 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูง สุดเฉลี่ย 95.96 เปอร์เซ็นต์ ไม่ แตกต่างอย่างมี นัยส าคัญ ทางสถิ ติกั บ กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 7 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 72.00 - 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 4.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น และกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 60 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 และ 10 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีทุก กรรมวิธี หลังเจาะอัด สาร 15 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 88.94 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ใช้สารทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 30 60 และ 90 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สาร เฉลี่ยอยูร่ ะหว่าง 94.83 – 100.00 92.00 – 100.00 และ 90.33 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ไม่แตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธี แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตกิ ับกรรมวิธีไม่ใช้ สาร
204
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
ตารางที่ 4 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว หลังการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงด้วยวิธี bioassays ในมะพร้าวน้าหอมความสูง 6-10 เมตร ณ แปลงเกษตรกร อาเภอลาสนธิ จังหวัดลพบุรี (แปลงที่ 2) กรรมวิธี
อัตราผลิตภัณฑ์ ต่อต้น (มิลลิลิตร)
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว (หลังเจาะอัดสาร) 60 วัน 92.00a
90 วัน 90.33a
T2 abamectin 1.8% EC 30 42.07c 78.33bc 96.92a 98.18a 92.18a T3 abamectin 1.8% EC 60 46.00c 93.81a 98.00a 98.46a 98.00a T4 abamectin 1.8% EC 90 64.00b 100.00a 94.18ab 98.00a 100.00a T5 emamectin benzoate 1.92% EC 5 43.00c 88.83ab 94.85ab 98.18a 100.00a T6 emamectin benzoate 1.92% EC 10 90.91a 98.18a 98.00a 98.18a 100.00a T7 emamectin benzoate 1.92% EC 50 95.96a 100.00a 100.00a 100.00a 100.00a T8 ไม่ใช้สาร (control) 0.00e 4.00d 0.00c 4.00b 0.00b CV% 16.80 11.70 6.70 5.80 9.60 1/ ตัวเลขทีต่ ามด้วยอักษรเดียวกันหรือไม่มีตัวอักษรในแต่ละสดมภ์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
98.80a 100.00a 96.92a 98.00a 100.00a 100.00a 0.00b 8.40
T1 abamectin 1.8% EC
3 วัน 24.00d1/
15
7 วัน 72.00c
15 วัน 88.94b
30 วัน 94.83a
อาการเกิดพิษของพืชเนื่องจากสารฆ่าแมลงในมะพร้าวน้าหอม ไม่พบอาการเกิดพิษของพืชเนื่องจากสารฆ่าแมลงในทุกการทดลอง การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าหอม ผลการวิเคราะห์สารพิษตกค้าง ในมะพร้าวน้าหอมต้นเตี้ย 4-6 เมตร ทั้ง 2 แปลง และต้นสูง 6-10 เมตร ทั้ง 2 แปลง ในเนื้อ น้า และเปลือก พบว่าตรวจไม่พบสาร abamectin ในทุกตัวอย่างที่ทาการวิเคราะห์ในทุก อัตราการฉีดเข้าลาต้น ที่ระยะ 3, 7, 15, 30, 60 และ 90 วัน หลังฉีดสารเข้าต้น การทดลองที่ 2 การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมี การศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้น และ การวิเคราะห์สารพิษตกค้างจากการฉีดสารเข้าต้นมะพร้าวน้าตาล มะพร้าวน้าตาล แปลงที่ 1 (ตารางที่ 5) หลังเจาะอัดสาร 3 วัน พบเปอร์เซ็นต์ ก ารตายของหนอนหั วดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 11.68 - 39.30 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 4.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเที ยบระหว่างกรรมวิธีที่เจาะอัดสาร พบว่ากรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัว ดาสูงสุดเฉลี่ย 39.30 เปอร์เซ็นต์ ไม่ แตกต่างอย่างมี นัยสาคัญ ทางสถิติกั บ กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
205
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
หลังเจาะอัดสาร 7 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 36.00 – 86.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูงสุดเฉลี่ย 86.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 15 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 82.86 – 98.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลีย่ 98.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 30 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 และ 50 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 30 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 88.55 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธี ที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 และ 10 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้ สารทีเ่ หลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 60 วั น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีก ารใช้ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 75.17 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่การใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 90 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหั วดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 83.45 – 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา 206
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
สูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 15 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี ตารางที่ 5 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว หลังการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงด้วยวิธี bioassays ในมะพร้าวน้าตาล ณ แปลงเกษตรกร อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (แปลงที่ 1) กรรมวิธี
อัตรา ผลิตภัณฑ์ต่อ ต้น (มิลลิลิตร)
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว (หลังเจาะอัดสาร)
3 วัน 7 วัน 15 วัน 30 วัน 60 วัน / T1 abamectin 1.8% EC 15 11.68cd 36.00d 82.86c 93.67abc 75.17d T2 abamectin 1.8% EC 30 15.90c 67.80bc 89.31abc 96.00ab 82.89cd T3 abamectin 1.8% EC 90 31.22ab 81.00ab 98.00a 99.27ab 96.00ab T4 emamectin benzoate 1.92% EC 5 13.00cd 51.45cd 86.26bc 88.55c 84.00bcd T5 emamectin benzoate 1.92% EC 10 22.29bc 59.70c 92.06abc 92.91bc 92.00abc T6 emamectin benzoate 1.92% EC 50 39.30a 86.00a 97.00ab 100.00a 100.00a T7 ไม่ใช้สาร (control) 4.00d 0.00e 0.00d 0.00d 0.00e CV% 39.00 23.50 9.80 6.00 12.10 1/ ตัวเลขทีต่ ามด้วยอักษรเดียวกันหรือไม่มีตัวอักษรในแต่ละสดมภ์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่ น 95% โดยวิธี DMRT
มะพร้าวน้าตาล แปลงที่ 2 (ตารางที่ 6) หลังเจาะอัดสาร 3 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหั วดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ ยอยู่ ระหว่าง 17.33 – 42.87 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลีย่ 42.87 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 7 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้สารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 33.00 – 86.50 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารทีพ่ บ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 86.50 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 30 มล.ต่อต้น แต่ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอั ดสาร 15 วัน พบเปอร์เซ็นต์ก ารตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 65.56 – 96.18 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกั บกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
207
90 วัน 83.45b 90.00ab 99.00a 89.47ab 94.00ab 100.00a 0.00c 10.60
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็น ต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มิลลิลิตรต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 96.18 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 30 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีการใช้เฉลี่ยอยูร่ ะหว่าง 84.60 – 98.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกบั กรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบเปอร์เซ็นต์ การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ใช้สาร พบว่ากรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 90 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 98.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกบั กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกบั กรรมวิธีที่ใช้สารทีเ่ หลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 60 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 85.78 – 100 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 0.00 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี abamectin 1.8% EC อั ตรา 90 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาสูงสุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธี abamectin 1.8% EC อัตรา 30 มล.ต่อต้น และ emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 มล.ต่อต้น แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ใช้สารที่เหลือทุกกรรมวิธี หลังเจาะอัดสาร 90 วัน พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาจากกรรมวิธีก ารใช้ ส ารเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 88.00 – 100 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ ใช้สารที่พบ เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดาเฉลี่ย 2.22 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีที่ ใช้สาร พบว่า กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 50 มล.ต่อต้น พบเปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดา สูง สุดเฉลี่ย 100.00 เปอร์เซ็นต์ มากกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยส าคัญ ทางสถิติกั บ กรรมวิธี emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5 มล.ต่อต้น แต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีใช้สารทีเ่ หลือทุก กรรมวิธี
208
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
ตารางที่ 6 เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว หลังการทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงด้วยวิธี bioassays ในมะพร้าวน้าตาล ณ แปลงเกษตรกร อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร (แปลงที่ 2) กรรมวิธี
อัตราผลิตภัณฑ์ ต่อต้น (มิลลิลิตร)
เปอร์เซ็นต์การตายของหนอนหัวดามะพร้าว (หลังเจาะอัดสาร)
3 วัน 7 วัน 15 วัน 30 วัน 60 วัน T1 abamectin 1.8%EC 15 20.27cd1/ 58.11b 80.36ab 94.33a 88.18bc T2 abamectin 1.8%EC 30 28.00bcd 79.96a 95.78a 97.00a 95.11ab T3 abamectin 1.8%EC 90 42.87a 86.50a 96.18a 98.00a 100.00a T4 emamectin benzoate 1.92%EC 5 17.33d 33.00c 65.56b 84.60b 85.78c T5 emamectin benzoate 1.92%EC 10 29.64bc 54.36b 71.18ab 96.00a 96.00ab T6 emamectin benzoate 1.92%EC 50 34.44ab 68.97b 88.36ab 98.00a 100.00a T7 ไม่ใช้สาร (control) 0.00e 0.00d 0.00c 0.00c 0.00d CV% 34.70 28.30 25.60 5.70 7.90 1/ ตัวเลขทีต่ ามด้วยอักษรเดียวกันหรือไม่มีตัวอักษรในแต่ละสดมภ์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
90 วัน 92.18ab 94.73ab 97.00ab 88.00b 97.69ab 100.00a 2.22c 8.60
ไม่ พบอาการเกิ ดพิ ษของพื ชเนื่อ งจากสารฆ่าแมลงในทุ ก การทดลอง และไม่ พบสารพิ ษตกค้างในทุ ก ตัวอย่างที่ทาการวิเ คราะห์ในทุกอัตราการฉีดเข้าลาต้น ที่ระยะ 3, 7, 15, 30, 60 และ 90 วัน หลังฉีดสารเข้า ต้น สรุปผลการทดลอง การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้ าต้นเพื่อป้องกันกาจัด หนอนหัวดาในมะพร้าวน้าหอมและมะพร้าวน้าตาล ในมะพร้าวน้าหอมที่ความสูง 4-6 เมตร จานวน 2 แปลง ความสูง 6-10 เมตร จานวน 2 แปลง และในมะพร้าวน้าตาลความสูง 4-6 เมตรจานวน 2 แปลง ด้วยสาร abamectin 1.8% EC อัตรา และ emamectin benzoate 1.92% EC ทุกอัตรา เปรียบเทียบกับ กรรมวิธีไม่ ใช้ส ารหลัง ฉีด สารเข้าต้ น 3, 7, 15, 30 60 และ 90 วัน ผลพบว่าการฉี ดสารเข้ าต้น ด้วยสารทุ ก อั ตรามี ประสิทธิภาพป้องกันกาจัดหนอนหัวดาได้ถึง 90 วัน ส่วนการศึกษาปริมาณสารพิษตกค้างในผลผลิตมะพร้าว ทั้ง 2 ชนิด รวม 6 ครั้ง ตรวจไม่พ บสาร พิษตกค้างทั้ ง 6 ครั้ง ในทุ กอัตราการใช้สาร นอกจากนี้ตลอดการ ทดลองไม่พบอาการเป็นพิษของสาร (phytotoxicity) ของสารทั้ง 2 ชนิดที่มีต่อมะพร้าว เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการเกษตร. 2556. รายงานสถานการณ์ศัตรูมะพร้าว. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา: http:// www.doae.go.th (3 พฤษภาคม 2557) ประภาส ทรงหงษา. 2554. หนอนหัวดา ศัตรูตัวร้ายของสวนมะพร้าว. 13(12) : 2-6.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
209
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-05
พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท สิริกญ ั ญา ขุนวิเศษ สุภางคนา ถิรวุธ สุชาดา สุพรศิลป์ นลินา พรมเกศา สรรชัย เพชร ธรรมรส และ สิริวิภา พลตรี. 2558. การทดสอบประสิทธิภาพของสาร emamectin benzoate 5% WG และ emamectin benzoate 1.92% EC ในป้องกันกาจัดหนอนหัวดามะพร้าว Coconut blackheaded caterpillar; Opisina arenosella (Walker) ด้วยวิธีเจาะลาต้น (Trunk injection). ใน: การ จัดการแมลงศัตรูมะพร้าวแบบผสมผสานในพื้นที่แปลงใหญ่ (งานวิจัยจากเงินรายได้กรมวิชาการเกษตร). 23 หน้า สุเทพ สหายา พวงผกา อ่างมณี และ อัมพร วิโนทัย. 2553. ทดสอบเบื้องต้นประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัด หนอนหัวดามะพร้าว. วารสารกีฏและสัตววิทยา. 28 : 3-9. สุเทพ สหายา ประภัสสรา พิมพ์พันธุ์ ลมัย ชูเกียรติวัฒนา วะนิดา สุขประเสริฐ วี ระสิงห์ แสงวรรณ ยงยุทธ ไผ่ แก้ว พวงผกา อ่างมณี วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร สุภางคนา ถิรวุธ สุชาดา สุพรศิลป์ นลินา พรมเกษา สรรชัย เพชรธรรมรส และ สิริวิภา พลตรี. การป้องกันกาจัดหนอนหัวดามะพร้าวโดยวิธี Trunk injection. รายงานผลโครงการวิจัยเร่งด่วน ปีงบประมาณ 2555. กิจกรรมการจัดการหนอนหัวดามะพร้าว 2555. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืชและสานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร, กรุงเทพฯ 33 หน้า. ส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร, 2560. ข้ อ มู ล การผลิ ต เกษตร [ระบบออนไลน์] . แหล่ง ที ่ม า:http:// www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/prcaidata/files/coconut60(3).pdf (8 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2561) อัมพร วิโนทัย. 2551. หนอนหัวดามะพร้าวศัตรูพืชชนิดใหม่. วารสารกีฏและสัตววิทยา. 26 : 73-75. Matthews, G.A. 2000. Pesticide Application methods. 3rd Ed. Blackwell Science. 432 pp. OECD. 1997. Guidance document for the conduct of studies of occupational exposure to pesticides during agricultural application. Environmental Health and Safety Publications Series on Testing and Assessment No 9. OCDE/GD (97) 148, OECD, Paris, France. 57 pp. Thongsinthusak, T., Ross J.H., Meinders, D. 1993. Guidance for the Preparation of Human Pesticide Exposure Assessment Documents. Department of Pesticide Regulation, California Environmental Protection Agency; Sacramento, CA: 1993. [October 9, 2014]. (HS-1612). http://www.cdpr.ca.gov/docs/whs/pdf/hs1612.pdf .
210
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ทาลายมะม่วงในแหล่งปลูกสาคัญ Effect of Various Insecticides on Mortality of Chili Thrips (Scirtothrips dorsalis Hood) damaging Mangoes in Major Planting Areas สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจานรรจ์ ศรีจันทรา และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น Suprada Sukonthabhirom na Pattalung Srijumnun Srijuntra and Somsak Siripontangmun สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ ข้อมูลการตายของแมลงเมื่อได้รับสารฆ่าแมลงทาให้ทราบเบื้องต้นว่าสารฆ่าแมลงชนิดใดเหมาะสมที่ จะนามาใช้แบบหมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทาน จึงทาการทดลองเพือ่ ทราบผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ ทาลายมะม่วงในแปลงเกษตรกรที่ อาเภอ เมืองสุพรรณบุรี อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อาเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา และ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ทาการทดลองในห้องปฏิบัติการโดยใช้ใบอ่อนมะม่วงชุบ ด้วยสาร fipronil 5% SC, lambda-cyhalothrin 2.5 % CS, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, spinetoram 12% SC, emamectin benzoate 1.92% EC, abamectin 1.8% EC, chlorfenapyr 10% SC และ cyantraniliprole 10% OD โดยชุบสารแต่ละชนิดที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนาและที่ความ เข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนา แล้วนาไปให้เพลี้ยไฟพริกที่เก็บจากแปลงมะม่วงในแหล่งต่าง ๆ ดูดกิน บันทึก เปอร์เซ็นต์การตายหลังจากให้เพลี้ยไฟดูดกิน ใบอ่อนมะม่วงที่ชุบสารฆ่าแมลงเป็นเวลา 48 ชั่วโมง ผลการ ทดลองพบว่าสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนาในเพลี้ยไฟจากอาเภอเมืองสุพรรณบุรี อาเภอสามชุก และอาเภอ บางคล้า คือสาร fipronil, spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr และในเพลี้ยไฟจาก อ าเภอวั ง ทอง และอ าเภอปากช่ อ ง คื อ สาร spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ข้อมูลที่ได้ช่วยในการเลือกสารฆ่าแมลงที่เหมาะสมเพื่อใช้แบบหมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ย ไฟพริกที่ทาลายมะม่วงในแต่ละแหล่งปลูก คาสาคัญ : ศัตรูมะม่วง ความต้านทานสารฆ่าแมลง ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง การหมุนเวียนสารฆ่าแมลง
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
211
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
ABSTRACT Mortality data of insect pests after exposing to insecticides approximately guides proper insecticides to be used in insecticide rotation for retarding resistance problem. This experiment examined the effect of various insecticides on mortality of chili thrips (Scirtothrips dorsalis Hood) damaging mangoes in farmers’ farms at Mueang Suphan Buri district and Sam Chuk district, Suphan Buri province; Wang Thong district, Phitsanulok province; Bang Kla district, Chachoengsao province and Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province. The experiment was conducted in laboratory using young mango leaves dipped with various insecticides; fipronil 5% SC, lambda-cyhalothrin 2.5 % CS, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, spinetoram 12% SC, emamectin benzoate 1.92% EC, abamectin 1.8% EC, chlorfenapyr 10% SC and cyantraniliprole 10% OD; at their recommended dose and at 2-fold of their recommended dose and then fed to the chili thrips collected from farmers’ mango fields. The mortality percentage was recorded after feeding for 48 hr. The results indicated that the insecticides that caused > 60% mortality at their recommended dose or > 80% mortality at 2-fold of their recommended dose in thrips from Mueang Suphan Buri district, Sam Chuk district and Bang Khla district were fipronil, spinetoram, emamectin benzoate and chlorfenapyr; in thrips from Wang Thong district and Pak Chong district were spinetoram, emamectin benzoate and chlorfenapyr. The data obtained facilitated selection of proper insecticides for insecticide rotation to retard resistance problem in thrips damaging mango in each planting area. Keywords: Mango pests, insecticide resistance, insecticide efficacy, insecticide rotation คานา มะม่ วง (Mangifera indica L.) เป็นผลไม้ ที่มี ความสาคัญ ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย สามารถ ส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศสร้างรายได้เข้าประเทศเป็นจานวนมาก ในปีการเพาะปลูก 2557 ประเทศ ไทยมี พื้นที่ ป ลูก มะม่ วง 2,131,590 ไร่ สามารถเก็ บ เกี่ยวผลผลิต มะม่ วงได้ 3,308,230 ตัน คิดเป็ นมู ล ค่า 57,270 ล้านบาท และมีปริมาณการส่งออกผลมะม่วง 88,965 ตัน คิดเป็นมูลค่า 3,242 ล้านบาท (สานักงาน เศรษฐกิจการเกษตร, 2558) การผลิตมะม่วงในปัจจุบันพบว่ามีศัตรูพืชระบาดทาลายมากขึ้น จึงเป็นปัญหาต่อ การผลิตมะม่วงให้ได้คุณภาพตามความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ เพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) เป็นแมลงศัตรูที่สาคัญของมะม่วง เป็นแมลงขนาดเล็ก ตัวอ่อนและตัวเต็ม วัยดูดน้าเลี้ยงบริเวณใบอ่อน ยอดอ่อน ตุ่มตาใบ ตุ่มตาดอก ช่อดอกมะม่วง โดยเฉพาะ ฐานรองดอกและขั้วผลอ่อน ทาให้ช่อดอกหงิกงอ ดอกร่วง ไม่ติดผลหรือติดผลน้อย ขอบและปลายใบแห้ง ยอด 212
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
แห้งไม่แทงช่อใบหรือช่อดอก ถ้าเข้าทาลายในระยะติดผลอ่อน จะทาให้ผลหลุดร่วง แต่ถ้าผลนั้นเจริญเติบโตมี ขนาดใหญ่ขึ้นจะพบว่าผิวของผลมีร่องรอยการถูกทาลายจากเพลี้ยไฟ โดยจะพบลักษณะคล้ายขี้กลากน้าตาล ไหม้ ปรากฏบนผิวมะม่ วง ท าให้ ผ ลมะม่ วงไม่ ได้ คุณ ภาพขายไม่ ได้ร าคา และไม่ เ ป็นที่ ต้องการของตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งตลาดต่างประเทศ (กรมวิชาการเกษตร, 2545; ศิริณี, 2538) เกษตรกรไทยมักใช้สารฆ่าแมลงในการป้องกันกาจัดเพลีย้ ไฟที่ทาลายมะม่วง ทั้งนี้เนื่องจากเป็นวิธีที่ทา ได้ง่าย ได้ผลเร็ว และใช้แรงงานน้อย ซึ่งเกษตรกรมักใช้สารฆ่าแมลงที่คิดว่ามีประสิทธิภาพดีซ้า ๆ กันโดยไม่มี การหมุนเวียนสารแบบถูกต้อง ทาให้เพลี้ยไฟเกิดความต้านทาน ซึ่งมีผลทาให้ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงที่ ใช้ในการป้องกันกาจัด มีแนวโน้มลดลง และจานวนชนิดสารฆ่าแมลงที่ มีป ระสิทธิภาพต่อ เพลี้ยไฟมะม่วงมี น้อยลงเรื่อย ๆ ดังนั้นต่อไปเกษตรกรอาจไม่สามารถป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟที่ทาลายมะม่วงได้เนื่องจากเพลี้ยไฟ มีความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงทุกชนิด เป็นที่ท ราบกันดีว่าการแก้ปัญ หาเพลี้ยไฟต้านทานต่อสารฆ่าแมลงที่ ได้ผลจะต้องมีก ารใช้สารแบบ หมุ นเวียน (Immaraju et al., 1990; Gao et al., 2012) การวางแผนการใช้ส ารแบบหมุ นเวียนเพื่อชะลอ ความต้านทานในเพลี้ยไฟสามารถทาได้หลายแบบ Broadbent and Pree (1997) เสนอแผนการใช้ส ารฆ่า แมลงแบบหมุนเวียนเพื่อชะลอความต้านทานในเพลีย้ ไฟ Frankliniella occidentalis โดยการใช้สารฆ่าแมลง แต่ล ะกลุ่ม แบบหมุ นเวียนในทุ ก ๆ 2 สัป ดาห์ห รือทุ ก ๆ หนึ่งชั่วอายุขัยของแมลง ในขณะที่ Herron and Cook (2002) ได้เสนอแผนการใช้สารแบบหมุ นเวียนที่เรียกว่า “three spray’s strategy” โดยเกษตรกร ได้รับ คาแนะน าให้พ่ นสารฆ่าแมลงกลุ่ม ใดกลุ่ม หนึ่ง ติดต่อกั นได้ 3 ครั้ง ภายใน 1 ชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟ ต่อจากนั้นจึงเปลี่ยนไปพ่นสารฆ่าแมลงกลุ่มอื่นติดต่อกันได้ 3 ครั้ง ภายใน 1 ชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟ เป็นแบบนี้ ไปจนครบรอบการหมุนเวียน ในการวางแผนการใช้สารแบบหมุนเวียนนั้นจาเป็นต้องทราบผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการ ตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ทาลายมะม่วงในแปลงเกษตรกรในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อ สามารถเลือกชนิดสารฆ่าแมลงหรือกลุ่มสารที่มีผลต่อการตายมากที่สุด หรืออาจกล่าวได้ว่าไม่มีปัญหาความ ต้านทานหรือมีปัญหาน้อยเพื่อนามาใช้ในการหมุนเวียน การใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพใน การลดหรือชะลอปั ญ หาความต้ านทานจ าเป็น ต้องมี การใช้ส ารฆ่าแมลงหลายชนิดหรือหลายกลุ่ม สารที่ มี ประสิทธิภาพ เพื่อใช้หมุนเวียนกันในแต่ละช่วง (Denholm et al., 1977) อย่างไรก็ตามในขณะนี้ขาดข้อมูล ผลหรือประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริกทีท่ าลายมะม่วงในหลาย ๆ พื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน ทาให้ไม่สามารถเลือกชนิดสารฆ่าแมลงหรือกลุ่มสารที่เหมาะสมเพื่อสร้างแผนการใช้สารแบบ หมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงในพื้นที่ต่าง ๆ การทดลองนีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อทราบผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ ยไฟพริกที่ ทาลายมะม่ วงในแปลงเกษตรกรในพื้ นที่ ป ลูกส าคัญ ได้แก่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี อาเภอสามชุก จังหวัด สุพรรณบุรี อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา และ อาเภอปากช่อง จังหวัด 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
213
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
นครราชสีมา เพื่อนาข้อมูลมาสร้างแผนการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวี ยนเบื้องต้นเพื่อใช้แนะนาเกษตรกรให้ เปลี่ยนวิธีการใช้สารฆ่าแมลงแบบเดิมมาเป็นวิธีการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียน ซึ่งวิธีนี้สามารถลดหรือชะลอ ปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงได้ อุปกรณ์และวิธีการ การเตรียมแมลง ทาการเก็บเพลีย้ ไฟพริกที่ทาลายใบอ่อนและช่อดอกมะม่วงในแปลงเกษตรกรโดยเก็บแบบสุ่มกระจาย ทั่วแปลงในแปลงมะม่วงที่ อาเภอเมือ งสุพรรณบุรี อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี อาเภอวังทอง จังหวัด พิษณุโลก อาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา และ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา โดยตั ดยอดและดอกที่ มีเพลี้ยไฟใส่ในกล่องพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม. สูง 14 ซม. ปิดฝากล่องให้แน่นเพื่อกันเพลี้ยไฟ หนี เก็ บ ใส่ในกล่อ งโฟมที่ มี น้าแข็ง เพื่ อ รัก ษาความเย็น แล้วน ามายัง ห้องปฏิบัติก าร ที่ อุณ หภูมิ 25 + 2๐ C ความชื้นสัมพัทธ์ 60-70% ช่วงแสง 12 : 12 ชั่วโมง (สว่าง : มืด) เพื่อทาการทดลอง การเตรียมสารฆ่าแมลง ในการทดลองนี้ใช้ค่าความเข้มข้นที่อัตราแนะนา (recommended field rate) และที่อัตราสองเท่า ของอัตราแนะนา ในการศึกษาผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก ทาการเตรียมสาร ฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนา โดยใช้น้าที่ผสมสารจับใบ (Triton X100) อัตรา 0.05 มล./ลิตร ผสมสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ดังนี้ 1. สาร fipronil 5% SC (กลุ่ม 2B) ที่อัตรา 30 และ 60 มล./น้า 20 ลิตร 2. สาร lambda-cyhalothrin 2.5 % CS (กลุ่ม 3A) ที่อัตรา 20 และ 40 มล./น้า 20 ลิตร 3. สาร imidacloprid 70% WG (กลุ่ม 4A) ที่อัตรา 15 และ 30 ก./น้า 20 ลิตร 4. สาร acetamiprid 20% SP (กลุ่ม 4A) ที่อัตรา 20 และ 40 ก./น้า 20 ลิตร 5. สาร spinetoram 12% SC (กลุ่ม 5) ที่อัตรา 10 และ 20 มล./น้า 20 ลิตร 6. สาร emamectin benzoate 1.92% EC (กลุ่ม 6) ที่อัตรา 30 และ 60 มล./น้า 20 ลิตร 7. สาร abamectin 1.8% EC (กลุ่ม 6) ที่อัตรา 50 และ 100 มล./น้า 20 ลิตร 8. สาร chlorfenapyr 10% SC (กลุ่ม 13) ที่อัตรา 30 และ 60 มล./น้า 20 ลิตร 9. สาร cyantraniliprole 10% OD (กลุ่ม 28) ที่อัตรา 40 และ 80 มล./น้า 20 ลิตร 10. น้าที่ผสมสารจับใบ Triton X-100 อัตรา 0.05 มล./ลิตร (control) นาใบอ่อนมะม่วงที่ปราศจากการพ่นสารมาตัดเป็นชิ้นขนาด 2.5 x 2.5 ซม. แล้วชุบสารแต่ละชนิดที่ ความเข้มข้นตามอัตราดังกล่าว นาน 10 วินาที แล้วนาไปผึ่งจนแห้ง
214
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
การทดสอบการตายของแมลง นาใบอ่อนมะม่วงที่ชุบสารฆ่าแมลงที่ผึ่งจนแห้งแล้วมาใส่ในถ้วยพลาสติกใสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. สูง 6 ซม. ถ้วยละ 2 ชิ้น โดยวางซ้อนกันเพื่อให้เพลี้ยไฟมีที่หลบอาศัย และดูดกินน้าเลี้ยงจากใบ ทาการ เตรียมแมลงทดลองโดยนายอดใบอ่อนและช่อดอกที่มเี พลีย้ ไฟพริกทาลายที่เก็บจากแปลงมะม่วงในพื้นที่ต่าง ๆ มาเคาะให้เพลี้ยไฟร่วงลงบนกระดาษขาว A4 ใช้พู่กันขนาดเล็กค่อย ๆ เขี่ยเพลี้ยไฟพริกตัวเต็มวัยเพศเมียที่ แข็งแรงโดยดูที่เพศเมียจะมีขนาดลาตัวใหญ่กว่าเพศผู้และความแข็งแรงดูที่ความว่องไวในการเดินบนกระดาษ แล้วทาการเขี่ยเพลี้ยไฟให้ตกมาอยู่ในถ้วยที่มีใบอ่อนมะม่วงที่ชุบสารฆ่าแมลง ใส่เพลี้ยไฟในแต่ละถ้วย ๆ ละ 10 ตัวซึ่งเป็น 1 ซ้า ปิดฝาถ้วยให้สนิทเพื่อกันเพลี้ยไฟหนี ทา 3-4 ซ้า แล้วแต่ปริมาณเพลี้ยไฟที่เก็บได้จากแปลง มะม่วง ปล่อยให้เพลี้ยไฟพริกดูดกินใบมะม่วงที่ชุบสารในห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 48 ชั่วโมง การบันทึกผลและวิเคราะห์ เมื่อเพลี้ยไฟดูดกินใบอ่อนมะม่ วงที่ชุบสารฆ่าแมลงครบ 48 ชั่วโมงทาการบันทึกเปอร์เซ็นต์การตาย โดยการส่องดูด้วยแว่นขยาย เพลี้ยไฟที่ไม่ตอบสนองต่อการเขี่ยของปลายพู่กันจะถูกพิจารณาว่าตาย ถ้าพบว่า เพลี้ ยไฟในชุ ด ควบคุ ม (control) ตาย 5-20 % จะท าการปรับ ค่ าเปอร์ เซ็ น ต์ ก ารตายโดยใช้ Abbott’s formula (Abbott, 1925) แต่ถ้าตายเกิน 20 % จะทาการทดลองใหม่ นาข้อมูลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ การตายและวิเคราะห์หาค่า standard deviation (SD) ในการทดลองนี้เพลี้ยไฟในชุดควบคุมตายน้อยกว่า 5% จึงไม่ต้องปรับค่าเปอร์เซ็นต์การตาย ส่วนการประเมิ นผลของสารฆ่าแมลงที่มีป ระสิทธิภาพในการฆ่าเพลี้ยไฟพริกที่ท าลายมะม่ วง และ สามารถใช้ในการใช้สารแบบหมุนเวียนได้ ใช้เกณฑ์ว่าสารชนิดนั้นจะต้องทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไป ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนา ส่วนการ ประเมินผลของสารฆ่าแมลงที่เพลี้ยไฟมีความต้านทานสูงและสมควรหยุดใช้ชั่วคราวเพื่อลดการพัฒนาความ ต้านทาน ใช้เกณฑ์ ว่าสารชนิดนั้นจะต้องทาให้เพลี้ยไฟตายน้อยกว่า 20 % ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายน้อยกว่า 40 % ที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนา ผลการทดลอง สารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ มีผลต่อการตายของเพลีย้ ไฟพริกที่ทาลายมะม่วงในแหล่งปลูกต่าง ๆ แตกต่าง กัน สารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนาในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงจากอาเภอเมืองสุพรรณบุรี อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุ รี และอ าเภอบางคล้า จัง หวัดฉะเชิงเทราคือ สาร fipronil, spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr (ภาพที่ 1-2 และ 4 ) ส่วนในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงจากอาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก และอ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาคือ สาร spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr (ภาพที่ 3 และ 5) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
215
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
ส่วนสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตายน้อยกว่า 20 % ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายน้อยกว่า 40 % ที่ ค วามเข้ ม ข้น 2 เท่ าของอั ตราแนะน าในเพลี้ ยไฟพริก จากอาเภอเมื อ งสุ พ รรณบุรี คือ สาร lambdacyhalothrin และ cyantraniliprole (ภาพที่ 1) ในเพลี้ย ไฟพริ ก จากอ าเภอสามชุ ก คือ สาร lambdacyhalothrin, imidacloprid, acetamiprid, abamectin และ cyantraniliprole (ภาพที่ 2) ในเพลี้ยไฟ พริกจากอาเภอวังทองคือ สาร lambda-cyhalothrin, acetamiprid, abamectin และ cyantraniliprole (ภาพที่ 3) ในเพลี้ ย ไฟพริ ก จากอ าเภอบางคล้ า คื อ สาร lambda-cyhalothrin, acetamiprid และ abamectin (ภาพที่ 4) ในเพลี้ยไฟพริกจากอาเภอปากช่องคือ สาร lambda-cyhalothrin, imidacloprid, acetamiprid และ abamectin (ภาพที่ 5)
ภาพที่ 1.ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis ที่ทาลายมะม่วง จากสวนมะม่วงในอาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัด สุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2562
216
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
ภาพที่ 2.ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis ที่ทาลายมะม่วง จากสวนมะม่วงในอาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ในปี พ.ศ. 2562
ภาพที่ 3.ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis ที่ทาลายมะม่วง จากสวนมะม่วงในอาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ในปี พ.ศ. 2562
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
217
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
ภาพที่ 4.ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis ที่ทาลายมะม่วง จากสวนมะม่วงในอาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ใน ปี พ.ศ. 2562
ภาพที่ 5.ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ที่อัตราแนะนา และที่อัตราสองเท่าของอัตราแนะนาต่อการตาย (% ค่าเฉลี่ย + SD) ของเพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis ที่ทาลายมะม่วง จากสวนมะม่วงในอาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2562
218
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
วิจารณ์ การทดลองนี้ทาให้ได้คาแนะนาชนิดสารฆ่าแมลงที่เหมาะสมในการพ่นสารแบบหมุนเวียนและชนิดสาร ฆ่าแมลงที่ควรงดเว้นในการพ่นสารเพื่อลดหรือชะลอปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟพริกที่ ทาลายมะม่วงในแต่ละพื้นที่ (ตารางที่ 1) คาแนะนาแก่เกษตรกรในการเลือกชนิดสารฆ่าแมลงเพื่อใช้ แบบหมุนเวียนในสวนมะม่วงที่อาเภอเมือง สุพรรณบุรี อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และอาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา คือ ควรเลือกสารที่ มี ข้อมูลว่าสามารถทาให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้น ไปที่ ความเข้ม ข้น 2 เท่ าของอั ตราแนะนาเพื่อ มาใช้แบบหมุ นเวี ยน ได้แก่ สาร fipronil, spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr (ตารางที่ 1-2, ภาพที่ 1-2 และ 4 ) และควรงดการใช้สารที่ มี ข้อมูลว่าทาให้เพลี้ยไฟตายน้อยกว่า 20 % ที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายน้อยกว่า 40 % ที่ความ เข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนาในแต่ละพื้นที่เพื่อป้องกันไม่ให้เพลี้ยไฟพริกมีความต้านทานเพิ่มมากขึ้นจนเป็น ปัญหาในอนาคต การทดลองนี้พบว่าในเพลี้ยไฟพริกจากอาเภอเมืองสุพรรณบุรี สารฆ่าแมลงที่สมควรงดใช้ ได้แก่สาร lambda-cyhalothrin และ cyantraniliprole (ตารางที่ 1, ภาพที่ 1) ในเพลี้ยไฟพริกจากอาเภอ สามชุ ก สารฆ่ า แมลงที่ ส มควรงดใช้ ได้ แ ก่ สาร lambda-cyhalothrin, imidacloprid, acetamiprid, abamectin และ cyantraniliprole (ตารางที่ 1, ภาพที่ 2) ในเพลี้ยไฟพริกจากอาเภอบางคล้า สารฆ่าแมลงที่ สมควรงดใช้ ได้แก่สาร lambda-cyhalothrin, acetamiprid และ abamectin (ตารางที่ 1, ภาพที่ 4) สาหรับคาแนะนาแก่เกษตรกรในการเลือกชนิดสารฆ่าแมลงเพื่อใช้แบบหมุนเวียนในสวนมะม่วงที่อาเภอ วังทอง จังหวัดพิษณุโลก และอาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ก็เป็นไปในทานองเดียวกันคือ สารฆ่าแมลง ที่สมควรนามาใช้แบบหมุนเวียนเพื่อชะลอปัญหาความต้านทานของเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วง ได้แก่ สาร spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr (ตารางที่ 1-2, ภาพที่ 3 และ 5) ส่ วนสารฆ่ า แมลงที่สมควรแนะนาให้เกษตรกรงดใช้เพื่อป้องกันไม่ให้เพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงมีความต้านทานเพิ่มมาก ขึ้น ในเพลี้ยไฟพริก จากอ าเภอวัง ทอง ได้แก่ สาร lambda-cyhalothrin, acetamiprid, abamectin และ cyantraniliprole (ตารางที่ 1 และ ภาพที่ 3) ส่วนในเพลี้ยไฟพริกจากอาเภอปากช่อง สารฆ่าแมลงที่สมควร งดใช้ ได้แก่ สาร lambda-cyhalothrin, imidacloprid, acetamiprid และ abamectin (ตารางที่ 1, ภาพที่ 5) ในการให้คาแนะนาเพื่อ เลือ กชนิด สารฆ่าแมลงเพื่อการพ่น สารแบบหมุนเวียนในพื้นที่ ต่าง ๆ ตาม ตารางที่ 2 จะต้องพิจารณาชนิดสารหรือเลขกลุ่มสารด้วย คือสารฆ่าแมลงที่มีเลขกลุ่มสารเดียวกันสามารถใช้ พ่นติดต่อกั นได้ไม่เกิน 3 ครั้งในหนึ่งชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟคือประมาณ 15 วัน (Broughton and Herron, 2007) เช่น ในตารางที่ 2 ในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงในพื้นที่อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จะเห็นว่าในช่วง 15 วันแรก พ่น fipronil (กลุ่ม 2B) จานวน 1-3 ครั้ง ตามปริมาณการระบาดของแมลง ในช่วง 15 วันถัดมาพ่น spinetoram (กลุ่ม 5) จานวน 1-3 ครั้ง ในช่วง 15 วันถัดมาพ่น emamectin benzoate (กลุ่ม 6) จานวน 112–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
219
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
3 ครั้ง ในช่ วง 15 วั น ถั ด มาพ่ น chlorfenapyr (กลุ่ ม 13) จ านวน 1-3 ครั้ง และในช่ วง 15 วัน ถั ด มาพ่ น fipronil (กลุ่ม 2B) จานวน 1-3 ครั้ง หมุนเวียนวนแบบนี้ไปเรื่อย ๆ โดยที่ก ารพ่นสารแต่ล ะกลุ่ม เสร็จแล้ว จะต้องหยุดพักการพ่นสารกลุ่มเดียวกันในรอบชั่วอายุขัยถัดไปอย่างน้อย 1 รอบ หรืออย่างน้อย 15 วัน แล้วจึง กลับมาพ่นใหม่ได้ คาแนะนาช่วงการพ่นสารแบบหมุนเวียนอาจแตกต่างกันได้ซึ่งขึ้นกับระยะการเจริญเติบโตของเพลีย้ ไฟ ในแต่ละชั่วอายุขัย ในต่างประเทศที่มี อุณหภูมิในแต่ละฤดู กาลแตกต่างกัน มากทาให้ชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟ ยาวนานแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นการใช้ช่วงการพ่นสารแบบหมุนเวียนที่แตกต่างกันในแต่ละฤดูกาลจึง เหมาะสม เช่ น การพ่ น สารแบบหมุ น เวีย นเพื่ อ แก้ ปั ญ หาความต้ า นทานในเพลี้ ย ไฟชนิ ด Frankliniella occidentalis (Pergande) ในประเทศออสเตรเลียใช้ช่วงการพ่นสารแบบหมุนเวียนตั้งแต่ 15-35 วัน ขึ้นกับ ระยะชั่ วอายุ ขั ยของเพลี้ ย ไฟในฤดู ก าลต่ า ง ๆ ในแต่ ล ะพื้ น ที่ (Broughton and Herron, 2007) ส่ วนใน ประเทศสหรัฐ อเมริก าใช้ ช่ วงการพ่ น สารแบบหมุ น เวีย นตั้ ง แต่ 20-30 วัน (Robb and Parrella, 1995) อย่างไรก็ตามช่วงในการพ่ น สารในแต่ล ะช่วงอาจยาวถึง สองชั่วอายุขัยของเพลี้ยไฟซึ่งแต่ล ะชั่ว อายุขัยยาว ประมาณ 15 วันก็ได้ซึ่งแล้วแต่ความสะดวกในการจัดการ แต่ในประเทศไทยภู มิอากาศค่อนข้างร้อนและ อุณหภูมิในแต่ละฤดูกาลไม่ต่างกันมาก เพลี้ยไฟมีการแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว และระบาดอย่างหนักในช่วงที่ มะม่วงกาลังให้ผลผลิต อีกทั้งเพลี้ยไฟยังมีความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงหลายชนิด จึงทาให้มีชนิดสารหรือ กลุ่มสารฆ่าแมลงทีส่ ามารถใช้ได้กับเพลีย้ ไฟไม่มาก ดังนั้นแผนการพ่นสารแบบหมุนเวียนในช่วง 15 วันจึงน่าจะ เหมาะสมกว่า อย่างไรก็ตามถ้ามีปัจจัยอื่น ๆ ร่วมด้วยก็อาจปรับช่วงการพ่นสารแบบหมุนเวียนให้เหมาะสมได้ ตามสถานการณ์ การให้คาแนะนาการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนแก่เกษตรกรในพื้นที่ต่าง ๆ นั้นเกษตรกรอาจไม่ สามารถปฏิบัติได้ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการปรับคาแนะนาโดยให้เกษตรกรร่วมพิจารณาคาแนะนา นั้น ๆ ด้วยว่ามีข้อเสียด้านใดบ้าง เพื่อจะได้ปรับปรุงคาแนะนาใหม่ให้เหมาะสมเพื่อให้เกษตรกรในแต่ละพื้นที่ สามารถปฏิบัติได้อย่างแท้จริง เช่น อาจจะต้องมีการใช้สารฆ่าแมลงที่อยู่ในกลุ่มอื่น ๆ เพิ่มเติมหรือทดแทนโดย ไม่ก่อให้เกิดปัญหาความต้านทานเพิ่มมากขึ้น หรือมีการใช้สารฆ่าแมลงที่มีราคาถูกกว่าแต่มีประสิทธิภาพปาน กลางในบางครั้งเพื่ อ ให้เกษตรกรสามารถปฏิบั ติได้โ ดยไม่ เสียค่าใช้จ่ายสูงมากนัก ซึ่งอาจเป็นการจูง ใจให้ เกษตรกรหันมาใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้น
220
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
ตารางที่ 1. คาแนะนาชนิดสารฆ่าแมลงทีส่ ามารถใช้ในการพ่นแบบหมุนเวียน และชนิดสารฆ่าแมลงที่ควรงด เว้นในการพ่นสาร เพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟพริกทีท่ าลายมะม่วงในแต่ละพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2562 จังหวัด
อาเภอ
ชนิดสารฆ่าแมลง (กลุ่มสารฆ่าแมลง) ที่สามารถใช้ในการพ่นสาร แบบหมุนเวียน
สุพรรณบุรี
เมืองสุพรรณบุรี
สุพรรณบุรี
สามชุก
พิษณุโลก
วังทอง
spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
ฉะเชิงเทรา
บางคล้า
นครราชสีมา
ปากช่อง
fipronil (กลุ่ม 2B) spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) chlorfenapyr (กลุ่ม 13) spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
fipronil (กลุ่ม 2B) spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) chlorfenapyr (กลุ่ม 13) fipronil (กลุ่ม 2B) spinetoram (กลุ่ม 5) emamectin benzoate (กลุ่ม 6) chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
ชนิดสารฆ่าแมลง (กลุ่มสารฆ่าแมลง) ที่ควรงดเว้น ในการพ่นสาร lambda-cyhalothrin (กลุ่ม 3A) cyantraniliprole (กลุ่ม 28)
lambda-cyhalothrin (กลุ่ม 3A) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) cyantraniliprole (กลุ่ม 28) lambda-cyhalothrin (กลุ่ม 3A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) cyantraniliprole (กลุ่ม 28) lambda-cyhalothrin (กลุ่ม 3A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6) lambda-cyhalothrin (กลุ่ม 3A) imidacloprid (กลุ่ม 4A) acetamiprid (กลุ่ม 4A) abamectin (กลุ่ม 6)
ตารางที่ 2. ตัวอย่างรูปแบบการพ่นสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ (กลุ่มสาร) แบบหมุนเวียนในแต่ละช่วง 15 วัน เพื่อลดปัญหาความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงในพื้นที่ต่าง ๆ ใน ปี พ.ศ. 2562 อาเภอ จังหวัด
อาเภอเมือง สุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
สารที่พ่นใน ช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) fipronil (กลุ่ม 2B)
สารที่พ่นใน ช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) spinetoram (กลุ่ม 5)
สารที่พ่นในช่วงเวลา สารที่พ่นในช่วงเวลา 15 วัน (พ่นสารได้ 15 วัน (พ่นสารได้ ไม่เกิน 3 ครั้ง) ไม่เกิน 3 ครั้ง) emamectin benzoate (กลุม่ 6)
chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
221
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
fipronil (กลุ่ม 2B)
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
spinetoram (กลุ่ม 5)
อาเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
fipronil (กลุ่ม 2B)
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
spinetoram (กลุ่ม 5)
emamectin benzoate (กลุ่ม 6)
chlorfenapyr (กลุ่ม 13)
spinetoram (กลุ่ม 5)
สรุปผลการทดลอง สารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ มีผลแตกต่างกันต่อการตายของเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงในแต่ละแหล่ง ปลูกการทดลองนี้ทาให้ทราบชนิดสารฆ่าแมลงที่มีผลต่อการตายสูงในเพลี้ยไฟ โดยสารที่ทาให้เพลี้ยไฟตาย ตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตรา แนะนาในเพลี้ยไฟพริกที่ ทาลายมะม่วงจากอาเภอเมืองสุพรรณบุรี อาเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี และ อ าเภอบ างคล้ า จั ง ห วั ด ฉะเชิ ง เท ราคื อ สาร fipronil, spinetoram, emamectin benzoate แล ะ chlorfenapyr ส่วนในเพลี้ยไฟพริกที่ทาลายมะม่วงจากอาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก และอาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาคือ สาร spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ข้อมูลที่ได้สามารถ นามาใช้ในการเลือกชนิดสารเพื่อสร้างแผนการพ่นสารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนที่เหมาะสมในพื้นที่นั้น ๆ เพื่อ แนะนาเกษตรกรให้เป็นหลักปฏิบัติในการพ่นสารที่ถูกวิธีและสามารถลดหรือชะลอหรือปัญ หาเพลี้ยไฟพริก ต้านทานต่อสารฆ่าแมลงได้ ข้อมูลที่ได้ยังสามารถใช้แนะนาเกษตรกรเพื่อหลีกเลี่ยงหรือลดการใช้ชนิดสารฆ่า แมลงที่มีผลต่อการตายของเพลี้ยไฟพริกต่าเพื่อป้องกันเพลี้ยไฟสร้างความต้านทานระดับสูงในอนาคต ซึ่งถ้า เกษตรกรท าตามคาแนะนาจะทาให้ สามารถป้องกั นก าจัดเพลี้ยไฟพริกที่ ทาลายมะม่ วงได้ง่ายขึ้นเนื่องจาก ปัญหาความต้านทานลดลง ทาให้สามารถผลิตมะม่วงที่ มีคุณภาพสูงปราศจากรอยทาลายของเพลี้ยไฟเพื่อส่ง ขายตลาดทั้งในและต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
222
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-06
เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการเกษตร. 2545. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เกษตรดีที่เหมาะสมสาหรับ มะม่วง. 26 หน้า. ศิริณี พูนไชยศรี. 2538. ชีววิทยาของเพลี้ยไฟศัตรูมะม่วง Scirtothrips dorsalis Hood. ว. กีฏและสัตววิทยา. 17 (3): 160-165. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. สถิติการค้าเกษตรไทยกับต่างประเทศ. แหล่งทีม่ า URL http://www.oae.go.th สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2558. Abbott, W.S. 1925. A method of computing the effectiveness of an insecticide. J. Econ. Entomol. 18: 265-267. Broadbent, A.B. and D.J. Pree. 1997. Resistance to insecticides in populations of Frankliniella occidentalis (Pergande) (Thysanoptera: Thripidae) from greenhouses in the Niagara region of Ontario. Can. Entomol. 129: 907-913. Broughton, S. and G.A. Herron. 2007. Frankliniella occidentalis (Pergande) (Thysanoptera: Thripidae) chemical control: insecticide efficacy associated with the three consecutive spray strategy. Aust. J. of Entomol. 46: 140-145. Denholm, I, A.R. Horowitz, M. Cahill and I. Ishaaya. 1977. Management of Resistance to Novel Insecticides In: I. Ishaaya and D. Degheele (eds.) Insecticides with Novel Modes of Action: Mechanisms and Application. Springer. Gao, Y., Z. Lei and S.R. Reitz. 2012. Western flower thrips resistance to insecticides: detection, mechanisms and management strategies. Pest Manag. Sci. 68: 1111-1121. Herron, G.A. and D.F. Cook. 2002. Initial verification of the resistance management strategy for Frankliniella occidentalis (Pergande) (Thysanoptera: Thripidae) in Australia. Aust. J. Entomol. 41: 187-191. Immaraju, J.A., J.G. Morse and R.F. Hobza. 1990. Field evaluation of insecticide rotation and mixtures as strategies for citrus thrips (Thysanoptera: Thripidae) resistance management in California. J. Econ. Entomol. 83(2): 306-314. Robb, K.L. and M.P. Parella. 1995. IPM of western flower thrips, pp. 365-370. In: B.L. Parker, M. Skinner and T. Lewis. (eds.) Thrips Biology and Management, Plenum Press, New York, NY, USA.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
223
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
การพ่นสารโดยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) ในการป้องกันกาจัด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) Aerial Spray Technique by The Unmanned Aerial Vehicle (UAV) for Controlling Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท นลินา ไชยสิงห์ สุชาดา สุพรศิลป์ และ วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร Pichate chaowattanawong Pruetthichat Punyawattoe Nalina Chaiyasing Suchada Supornsin and Woravit Sutjaritthammajariyankun สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture.
บทคัดย่อ ทาการทดสอบประสิทธิภาพการพ่นสารฆ่าแมลงทางอากาศโดยอากาศยานไร้คนขับ เพื่อป้องกันกาจัด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ดาเนินการที่แปลงเกษตรกร จังหวัดลพบุรี ระหว่างเดือนมกราคม-มิถุนายน 2562 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 5 ซ้า 6 กรรมวิธี ได้แก่ พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) ที่อัตรา 1.28 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) ที่ อัตรา 2.56 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ที่อัตรา 3 ลิตรต่อไร่, พ่นสาร ด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ที่อัตรา 5 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพาย หลังแบบแรงดันน้าสูงประกอบก้านฉีดแบบปรับท้ายที่ติดตั้งหัวฉีดแบบกรวยกลวง อัตราพ่นของเกษตรกรที่ 60 ลิตรต่อไร่ และกรรมวิธีไม่พ่นสาร โดยทุกกรรมวิธีที่พ่นสาร พ่นด้วยสารแนะนา emamectin benzoate 5% WG อัตราที่เท่ากันคือ 30 กรัมต่อไร่ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์ เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) และกรรมวิธีการพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ทุกอัตรามี ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดได้ดีเทียบเท่าการพ่นของเกษตรกรที่ 60 ลิตรต่อไร่ ที่เดินพ่นเน้นยอดแถวต่อ แถว และแตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีไม่พ่นสาร โดยการใช้อากาศยานไร้คนขับสามารถพ่นสาร 1 ไร่ ใช้เวลา ไม่เกิน 3 นาที ในขณะที่การเดินพ่นด้วยคนใช้เวลามากกว่า 30 นาที คาสาคัญ : หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ข้าวโพด อากาศยานไร้คนขับ ABSTRACT The efficacy of UAV for controlling Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) in corn field was carried out in Lopburi province from January to June 2019. The experiment design was RCB with 5 replications and 6 treatments which were, spraying with 224
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
single roter UAV (Helicopter) at the rate of 1.28 litre/rai, spraying with single roter UAV (Helicopter) at the rate of 2.56 litre/rai, spraying with multiple roters UAV (Drone) at the rate of 3 litre/rai, spraying with multiple roters UAV (Drone) at the rate of 5 litre/rai, spraying with high pressure motorized knapsack sprayer with cone nozzle at the rate of 60 litre/rai (farmer practice) and the untreated as a control. All the spray treatments used the recommendation chemical, emamectin benzoate 5% WG 50 gram/rai. The results showed that the efficacy of all treatments that spraying with single roter UAV and multiple roters UAV were equal to the treatment that spraying with high pressure motorized knapsack sprayer with cone nozzle (farner practice) which focusing on the whorl and significantly different from the untreated. Thus the time consumed rate of the UAV was 3 minutes/rai whereas the time consumed rate of the farmer practice was 30 minutes/rai. Keywords: Fall Armyworm, corn, Unmanned Aerial Vehicle คานา หนอนกระทู้ ข้ า วโพดลายจุ ด (fall armyworm); Spodoptera frugiperda (JE Smith) เป็ น ศั ต รู ส าคัญ ของข้าวโพด พบระบาดในพื้ นที่เ ขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของทวีปอเมริกา (Prasanna et al., 2018) สาหรับวงจรชีวิตหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดใช้เวลาประมาณ 30-40 วัน เมื่อผสมพันธุ์แล้ว เพศเมียจะวางไข่ ในเวลากลางคืน โดยวางไข่เป็นกลุ่ม ใต้ใบพืช แต่ละกลุ่มจะมีไข่ ประมาณ 100-200 ฟอง และมีขนสีน้าตาล อ่อนปกคลุม เพศเมียหนึ่งตัวจะวางไข่ได้ประมาณ 1,500-2,000 ฟอง ระยะไข่ 2-3 วัน หนอนมี 6 วัย ระยะ หนอน 14-22 วัน หนอนโตเต็มที่มีขนาดลาตัวยาวประมาณ 3.2-4.0 ซม. หนอนจะทิ้งตัวลงดินเพื่อเข้าดักแด้ ระยะดักแด้ 7-13 วัน จึงออกเป็นตัวเต็มวัยและมีชีวิตอยู่ได้ 10-21 วัน ตัวเต็มวัยสามารถบินได้เฉลี่ย 100 กิ โ ลเมตรต่อคืน (FAO, 2017) การเข้าท าลายพืชจะเริ่ม ในระยะที่ เ ป็นตัวหนอน โดยหนอนจะเข้าท าลาย ข้าวโพดตั้งแต่อายุประมาณ 7 วัน จนกระทั่งออกฝัก โดยกัดกินยอดและใบข้าวโพดเว้าแหว่งหรือกัดกินทั้งแผ่น ใบ ทาลายช่อดอกตัวผู้ กัดกินไหม ฝัก เมล็ด และจะพบตัวหนอนหลบซ่อนอยู่ในยอดหรือโคนกาบใบข้าวโพด ความเสียหายเห็น ได้ชัดคือ ในระยะต้นอ่ อ นท าให้พืชตาย ระยะต้นแก่ พืชจะไม่ เจริญเติบ โต ฝัก ลีบ เล็กไม่ สมบูรณ์ หากระบาดรุนแรงจะทาให้ผลผลิตเสียหาย 73% ของพื้นที่ (FAO, 2019a) หลังการระบาดอย่างรุนแรงในทวีปอเมริกา ในช่วงต้นปี 2559 มีรายงานพบการระบาดครั้งแรกในภาค กลางและภาคตะวันตกของทวีปแอฟริกา เนื่องจากเป็นแมลงศัตรูพืชที่สามารถบินได้ไกล และขยายพันธุ์ได้ รวดเร็ว จึงสามารถสร้างความเสียหายได้อย่างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง โดยหลังการพบการระบาดครั้งแรก เพียง 2 ปี ก็ ส ามารถเข้าระบาดได้ในทุก พื้นที่ ที่มีการปลูกข้าวโพดในทวีปแอฟริกา ส าหรับในทวีปเอเซียมี รายงานพบการระบาดครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม ปี 2561 เข้าทาลายข้าวโพดในพื้นที่รัฐ Chikkaballapur, Karnataka ของประเทศอินเดีย และหลัง จากนั้นเพียง 5 เดือนก็ พบการระบาดใน 4 รัฐที่ เ ป็นแหล่งปลูก 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
225
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
ข้าวโพดสาคัญในอินเดีย ได้แก่ รัฐ Tamil Nadu, Telangana, Andhra Pradesh และ West Bengal (FAO, 2018) ประเทศไทยได้รับการแจ้งเตือนจาก FAO เรื่องการระบาดของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ซึ่งเป็น แมลงศัตรูพืชที่สาคัญ สามารถระบาดข้ามพรหมแดน (transboundary insect pest) กรมวิชาการเกษตร ใน ฐานะ NPPO ได้ดาเนินการเฝ้าระวังหนอนกระทู้ และได้พบการระบาดครัง้ แรกเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2561 ใน จังหวัดกาญจนบุรี และตาก (FAO, 2019b) ซึ่งตรงกับช่วงที่ข้าวโพดเป็นพืชนโยบายส่งเสริมให้ปลูกเป็นพืชหลัง นา จึงทาให้การระบาดเป็นไปอย่างรวดเร็ว และพบในทุกภาคของประเทศ เนื่องจากแมลงชนิดนี้เป็นแมลงต่าง ถิ่น เกิดการอุบัติใหม่ และก่อให้เกิดความเสียหายแก่พืชได้อย่างรวดเร็ว และรุนแรงเป็นพื้นที่กว้าง ซึ่งทาให้ วิธีการป้องกันกาจัดแบบเดิมของเกษตรกรไม่ได้ผล ดังนั้นจึงจาเป็นต้องศึกษาวิธีการป้องกันกาจัดหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และครอบคลุมพื้นที่กว้าง อย่างเร่งด่วน เพื่อใช้เป็นคาแนะนาอย่าง เป็นทางการให้กับเกษตรกร เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้ทันกับฤดูปลูก ข้าวโพดหลักในเดือนเมษายน – พฤษภาคม ซึ่งจะมีพื้นที่ปลูกข้าวโพดมากกว่า 6 ล้านไร่ (สานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร, 2561) อุปกรณ์ 1. อากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) และแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) 2. เครื่องยนต์พ่นสารแบบแรงดันน้าสูง 4. แปลงข้าวโพด 5. สารฆ่าแมลง emamectin benzoate 5% WG 6. อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ ความเร็วลม และความชื้นสัมพัทธ์ 7. อุปกรณ์ผสมสาร และชุดพ่นสาร วิธีการทดลอง 1. เตรียมแปลงทดลองและแผนการทดลอง ทาการทดลองในข้าวโพดอายุ 23 วัน ระยะห่างระหว่างแถว 0.75 เมตร ระยะระหว่างต้น 0.20 โดย แบ่งแปลงทดลองเป็นแปลงย่อยขนาด 16 x 30 เมตร จานวน 20 แปลงย่อย เว้นระยะห่างระหว่างแปลง 30 เมตร เมตรวางแผนการทดลองแบบ RCB มี 4 กรรมวิธี จานวน 5 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) ยี่ห้อ Yamaha รุ่น FAZER, Yamaha Co., Ltd., ประเทศญี่ปุ่น ขนาดความจุถัง 24 ลิตร ติดตั้งคานหัวฉีดโดยใช้หัวฉีดแบบพัด (XR 110025) จานวน 2 หัว (ภาพที่ 1) อัตราพ่น 1.28 ลิตร/ไร่ (FAZER 1.28) กรรมวิธีที่ 2 พ่นสารด้วยเครื่องเช่นเดียวกับกรรมวิธีที่ 1 อัตราพ่น 2.56 ลิตร/ไร่ (FAZER 2.56) กรรมวิธีที่ 3 พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ยี่ห้อ DJI รุ่น DJI 1 –9046002G, DJI Co., Ltd., ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ขนาดความจุถัง 6 ลิตร ติดตั้งคานหัวฉีดโดยใช้หัวฉีด แบบพัด (XR 11001) จานวน 4 หัว (ประกอบในประเทศไทย) (ภาพที่ 2) อัตราพ่น 3 ลิตร/ไร่ (Drone 3) 226
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
กรรมวิธีที่ 4 พ่นสารด้วยเครื่องเช่นเดียวกับกรรมวิธีที่ 3 อัตราพ่น 5 ลิตร/ไร่ (Drone 5) กรรมวิธีที่ 5 พ่นสารด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูง (แบบที่เกษตรกรนิยมใช้) ยี่ห้อ Maruyama รุ่น MS 073D, Maruyama Co., Ltd., ประเทศญี่ปุ่น ขนาดความจุถัง 25 ลิตร ประกอบ ก้านฉีดแบบปรับมุมพ่นด้านท้ายความยาว 70 เซนติเมตร (ภาพที่ 3) อัตราพ่น 60 ลิตร/ไร่ (MKS 60) กรรมวิธีที่ 6 ไม่พ่นสาร ในการทดลองนี้พ่นสาร emamectin benzoate 5% WG อัตราที่เท่ากันคือ 30 กรัมต่อไร่ สาหรับ การพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) และการพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับ แบบหลายโรเตอร์ (โดรน) จะบินพ่นสูงจากต้นข้าวโพดประมาณ 3 และ 2 เมตร ตามลาดับ ส่วนการพ่นด้วย เครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูง จะพ่นเน้นยอดสูงจากยอดประมาณ 30 เซนติ เมตร ก่อนทา การทดลองทาการตรวจวัดสภาพอากาศ ได้แก่ ความเร็วลม อุณหภูมิ และความชื้น
ภาพที่ 1 อากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์)
ภาพที่ 2 อากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ภาพที่ 3 เครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลัง แบบแรงดันน้าสูง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
227
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
วิธีการ ก่อนพ่นสารตามกรรมวิธี สุ่มประเมินระดับการทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด โดยให้คะแนนอ้างอิง จาก Davis scale แบ่งระดับการทาลายเป็น 9 ระดับ สุ่มจากต้นข้าวโพดบริเวณกลางแปลงย่อย จานวนไม่น้อยกว่า 20 ต้นต่อแปลงย่อย โดยตรวจนับหลังข้าวโพดงอกที่ 3, 5, 7, 10 และ 14 วัน เช็คจานวนหนอน และรวบรวมข้อมูล ระดับการทาลายที่ได้มาคานวณเปอร์เซ็นต์การท าลาย โดยใช้สูตรของ Townsend-Heuberger แล้วนาไป วิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยวิธีทางสถิติที่เหมาะสม และตรวจอาการเป็นพิษของพืชจากการใช้สารป้องกันกาจัดแมลง (phytotoxicity) การประเมินระดับการทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด โดยสุ่มตรวจนับจากข้าวโพดไม่น้อยกว่า 20 ต้นต่อแปลงย่อย จาก 4 แถวกลาง ตรวจนับจานวน 3 ใบยอด ใช้ระดับการทาลายของ Davis and William (1992) แบ่งเป็น 9 ระดับ ดังนี้ (ภาพที่ 4) ระดับ 0 ไม่พบร่องรอยการทาลาย ระดับ 1 พบร่องรอยทาลายเป็นรูเล็ก ๆ ระดับ 2 พบร่องรอยทาลายเป็นรูเล็ก ๆ และรูกลมๆขนาดใหญ่ขึ้น ระดับ 3 พบร่องรอยทาลายเป็นรูเล็ก ๆ และมีแผลกลมจานวนเล็กน้อย รวมถึงรอยแทะบนผิวใบ ยาวเป็นขีด ขนาดยาวไม่เกิน 1.3 เซนติเมตร ระดับ 4 พบรอยแทะบนผิวใบยาวเป็นขีด ขนาดยาวไม่เกิน 1.3 – 2.5 เซนติเมตร จานวนเพิม่ มากขึ้น ระดับ 5 พบรอยแทะบนผิวใบยาวเป็นขีด ขนาดยาวมากกว่า 2.5 เซนติเมตร ขึ้นไปจานวน เล็กน้อย และเริ่มมีรอยกัดกินทะลุเนือ้ ใบ ระดับ 6 พบทัง้ รอยแทะบนผิวใบยาวเป็นขีด และรอยกัดกินทะลุเนื้อใบขนาดใหญ่เพิม่ มากขึ้น ระดับ 7 พบรอยแทะบนผิวใบยาวเป็นขีดหลายขนาดเป็นจานวนมาก และพบรอยกัดกินทะลุเนื้อ ใบขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น ระดับ 8 พบทัง้ รอยแทะบนผิวใบเป็นขีดยาวทุกขนาดจานวนมาก และพบรอยกัดกินทะลุเนือ้ ใบ ขนาดกลางและใหญ่เกือบหมดทั้งใบ ระดับ 9 ใบถูกทาลายเกือบทัง้ หมด นาระดับการทาลายที่ได้มาคานวณเปอร์เซ็นต์การทาลาย โดยใช้สูตรของ TownsendHeuberger การทาลาย (%) = ∑ (nv) x 100 NV n = จานวนต้นในแต่ละระดับการทาลาย v = คะแนนระดับการทาลาย N = จานวนทั้งหมดของต้นที่สุ่มนับ V = คะแนนระดับการทาลายทาลายสูงสุด
228
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
ภาพที่ 4 ระดับการทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด แบ่งเป็น 9 ระดับ การบันทึกข้อมูล - บันทึกจานวนหนอน และระดับการทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด - อาการเกิดพิษของพืชเนื่องจากสารฆ่าแมลง (phytotoxicity) การวิเคราะห์ข้อมูล - นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยวิธีที่เหมาะสม เวลาและสถานที่ดาเนินการทดลอง ดาเนินการทดลองที่แปลงข้าวโพดของเกษตรกร อ.ท่าม่วง อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 – มกราคม 2562 ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. สภาพอาการศระหว่างการทดลอง ระหว่างทาการทดลองความเร็วลมมีค่าค่อนข้างคงที่คือมีความเร็วลมเฉลี่ย 0.2-0.8 เมตร/ต่อวินาที อุณหภูมิเฉลี่ย 24 ± 2 °ซ.และความชื้นสัมพัทธ์ (RH %) มีค่าเฉลี่ย 78 ± 2% ซึ่งเป็นสภาพอากาศที่เหมาะสม ต่อการพ่นสาร (Miller et al., 2018)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
229
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
2. จานวนหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยต่อต้น แปลงที่ 1 แปลงเกษตรกร อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี (ตารางที่ 1) ก่อนพ่นสารพบหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.83-0.95 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่าง กรรมวิธี หลังพ่นสาร 3 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมี หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.060.16 ตัวต่อต้น น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพด ลายจุดเฉลี่ย 0.97 ตัวต่อต้น เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีพบว่ากรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับ แบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) อัตรา 2.56 ลิตรต่อไร่ และกรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบ หลายโรเตอร์ (โดรน) อัตรา 3 และ 5 ลิตรต่อไร่ มีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.10 0.06 และ 0.07 ตัว ต่อต้น น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์ เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) อัตรา 1.28 ลิตรต่อไร่และกรรมวิธีการพ่นด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดัน น้าสูง อัตรา 60 ลิตรต่อไร่ ซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.16 และ 0.15 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 5 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.050.08 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยส าคัญทางสถิ ติกั บ กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.88 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 7 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.010.05 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยส าคัญทางสถิ ติกั บ กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.72 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 10 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.050.12 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยส าคัญทางสถิ ติกั บ กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.38 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 14 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.030.06 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่ น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยส าคัญทางสถิ ติกั บ กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.46 ตัวต่อต้น ตารางที่ 1 จานวนหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยต่อต้นจากการพ่นด้วยวิธีการต่าง ๆ ณ แปลงเกษตรกร อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี (แปลงที่ 1) กรรมวิธี FAZER 1.28 FAZER 2.56 Drone 3 Drone 5 230
ก่อนพ่นสาร 0.92 0.83 0.95 0.95
3 วัน 0.16b1/ 0.10a 0.06a 0.07a
จานวนหนอนหลังพ่นสาร (ตัวต่อต้น) 5 วัน 7 วัน 10 วัน 0.08a 0.05a 0.12a 0.06a 0.01a 0.05a 0.05a 0.03a 0.10a 0.06a 0.03a 0.07a
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
14 วัน 0.05a 0.03a 0.03a 0.03a
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
MK 60 0.85 0.15b 0.07a 0.05a 0.11a 0.06a Control 0.90 0.97c 0.88b 0.72b 0.38b 0.46b CV% 17.08 14.56 17.97 41.25 46.11 42.12 1/ ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันในสดมภ์เดียวกัน ไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิเคราะห์โดยวิธี DMRT แปลงเกษตรกร อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี (แปลงที่ 2) ก่อนพ่นสารพบหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.62-0.71 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่าง กรรมวิธี หลังพ่นสาร 3 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมี หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.020.12 ตัวต่อต้น น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพด ลายจุดเฉลี่ย 0.77 ตัวต่อต้น เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกรรมวิธีพบว่ากรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับ แบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) อัตรา 2.56 ลิตรต่อไร่ และกรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบ หลายโรเตอร์ (โดรน) อัตรา 3 และ 5 ลิตรต่อไร่ มีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.08 0.02 และ 0.05 ตัว ต่อต้น น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์ เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) อัตรา 1.28 ลิตรต่อไร่และกรรมวิธีการพ่นด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดัน น้าสูง อัตรา 60 ลิตรต่อไร่ ซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.12 และ 0.12 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 5 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.040.06 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธี แต่น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.73 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 7 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.010.04 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธี แต่น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.73 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 10 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.050.13 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.43 ตัวต่อต้น หลังพ่นสาร 14 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.030.16 ตัวต่อต้น ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งมีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 0.57 ตัวต่อต้น ตารางที่ 2 จานวนหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยต่อต้นจากการพ่นด้วยวิธีการต่าง ๆ ณ แปลงเกษตรกร อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี (แปลงที่ 2) กรรมวิธี ก่อนพ่นสาร จานวนหนอนหลังพ่นสาร (ตัวต่อต้น) 3 วัน 5 วัน 7 วัน 10 วัน 14 วัน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
231
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
FAZER 1.28 0.69 0.12b1/ 0.06a 0.04a 0.05a 0.05a FAZER 2.56 0.62 0.08a 0.05a 0.01a 0.13a 0.04a Drone 3 0.71 0.02a 0.04a 0.02a 0.11a 0.03a Drone 5 0.71 0.05a 0.05a 0.02a 0.08a 0.07a MK 60 0.63 0.12b 0.05a 0.04a 0.12a 0.16a Control 0.67 0.77c 0.73b 0.72b 0.43b 0.57b CV% 12.93 11.64 21.56 37.12 39.19 44.22 1/ ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันในสดมภ์เดียวกัน ไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิเคราะห์โดยวิธี DMRT อาการเกิดพิษของพืชเนื่องจากสารฆ่าแมลง (phytotoxicity) ไม่พบอาการเกิดพิษของสารฆ่าแมลงจากทุกกรรมวิธีที่พ่นสาร ทั้ง 2 แปลง 3. เปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยต่อต้น แปลงที่ 1 แปลงเกษตรกร อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี (ตารางที่ 3) ก่อนพ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 60.34-66.81 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธี หลังพ่นสาร 3 วัน พบว่ากรรมวิธีที่พ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) อัตรา 1.28ลิตรต่อไร พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 61.95 เปอร์เซ็นต์ น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีพ่นด้วยอาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) อัตรา 3 ลิตรต่อไร และกรรมวิธีพ่นด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูง อัตรา 60 ลิตรต่อไร่ ที่ มีเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 68.58 และ68.75 เปอร์เซ็นต์ แต่ ไม่แตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติกับกรรมวิธีที่พ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) อัตรา 2.56 ลิตรต่อไร กรรมวิธีพ่นด้วยอาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) อัตรา 3 ลิตรต่อไร่ และกรรมวิธีที่ ไม่ พ่นสารซึ่ง พบเปอร์เ ซ็นต์ก ารทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 62.73 67.31 และ 66.97 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ หลังพ่นสาร 5 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 57.14-63.23 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่ง พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 73.53 เปอร์เซ็นต์ ส่วนกรรมวิธีพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) อัตรา 3 ลิตรต่อไรไม่แตกต่างกับกรรมวิธีไม่พ่นสาร ที่พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เฉลี่ย 63.23 เปอร์เซ็นต์ หลังพ่นสาร 7 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 48.57-62.64 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า 232
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่ง พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 73.53 เปอร์เซ็นต์ หลังพ่นสาร 10 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 37.33-44.25 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 80.86 เปอร์เซ็นต์ หลังพ่นสาร 14 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 29.53-33.01 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่ง พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 76.88 เปอร์เซ็นต์ ตารางที่ 3 เปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ณ แปลงเกษตรกร อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี (แปลงที่ 1) กรรมวิธี
ก่อนพ่นสาร
เปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด 3 วัน 5 วัน 7 วัน 10 วัน 14 วัน FAZER 1.28 60.34 61.95a 57.14a1/ 48.57a 38.86a 29.53a FAZER 2.56 61.62 62.73ab 57.85a 49.17a 37.33a 29.89a Drone 3 65.54 68.58b 63.23ab 54.37a 43.43a 33.01a Drone 5 66.69 67.31ab 62.09a 62.64a 44.25a 30.59a MK 60 66.81 68.78b 66.61a 51.83a 41.08a 31.70a Control 62.35 66.97ab 69.14b 73.53b 80.86b 76.88b CV% 15.03 14.24 14.66 16.41 17.36 18.29 1/ ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันในสดมภ์เดียวกัน ไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิเคราะห์โดยวิธี DMRT แปลงที่ 2 แปลงเกษตรกร อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี (ตารางที่ 4) ก่อนพ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 48.27-53.44 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างทางสถิติระหว่างกรรมวิธี หลังพ่นสาร 3 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทูข้ ้าวโพดลายจุดเฉลีย่ อยู่ ระหว่าง 50.79-56.39 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติระหว่างกรรมวิธี และไม่แตกต่างทาง สถิ ติ กั บ กรรมวิ ธี ที่ ไ ม่ พ่ น สารซึ่ง พบเปอร์เ ซ็น ต์ก ารท าลายของหนอนกระทู้ ข้ า วโพดลายจุด เฉลี่ย 66.97 เปอร์เซ็นต์
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
233
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
หลั ง พ่ น สาร 5 วั น พบว่ า ทุ ก กรรมวิ ธี ที่ พ่ น สารด้ ว ยอากาศยานไร้ ค นขั บ แบบโรเตอร์ เ ดี่ ย ว (เฮลิคอปเตอร์) ทั้ง 2 อัตรา พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 52.00 52.64 เปอร์เซ็นต์น้อยกว่าและแตกต่างกับกรรมวิธีไม่พ่นสาร ซึ่งพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 73.53 เปอร์เซ็นต์ ส่วนกรรมวิธีพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ทั้ง2 อัตรา และ กรรมวิธีพ่น ด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูง อัตรา 60 ลิตรต่อไร่ พบ เปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เฉลี่ย อยู่ระหว่าง 56.50-60.61 ไม่แตกต่างระหว่าง กรรมวิธีและไม่แตกต่างกับกรรมวิธีไม่พนสาร หลังพ่นสาร 7 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 43.77-56.37 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่ง พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 66.17 เปอร์เซ็นต์ หลังพ่นสาร 10 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 33.22-39.28 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่งพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 71.96 เปอร์เซ็นต์ หลังพ่นสาร 14 วัน พบว่าทุกกรรมวิธีที่พ่นสารพบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลาย จุดเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 26.28-29.37 เปอร์เซ็นต์ ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกรรมวิธีแต่น้อยกว่า และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ กับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารซึ่ง พบเปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดเฉลี่ย 76.88 เปอร์เซ็นต์ ตารางที่ 4 เปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทูข้ ้าวโพดลายจุด ณ แปลงเกษตรกร อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี (แปลงที่ 2) กรรมวิธี ก่อนพ่นสาร เปอร์เซ็นต์การทาลายของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด 3 วัน 5 วัน 7 วัน 10 วัน 14 วัน FAZER 1.28 48.27 50.79 52.00a1/ 43.77a 34.58a 26.28a FAZER 2.56 49.29 51.43 52.64a 44.25a 33.22a 26.60a Drone 3 52.43 56.23 57.53ab 48.93a 38.65a 29.37a Drone 5 53.35 55.19 56.50ab 56.37a 39.38a 27.22a MK 60 53.44 56.39 60.61b 46.64a 36.56a 28.21a Control 49.88 54.91 62.91b 66.17b 71.96b 68.42b CV% 12.02 11.67 13.34 14.76 15.45 16.27 1/ ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยอักษรเหมือนกันในสดมภ์เดียวกัน ไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิเคราะห์โดยวิธี DMRT 234
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
การพ่นสารด้วยเครื่องอากาศยานไร้คนขับเป็นการพ่นสารในระบบน้าน้อยมาก สารป้องกันกาจัด ศัตรูพืชที่ผสมในการพ่นด้วยเครื่องชนิดนี้จึงมีความเข้มข้นสูงเมื่อเทียบกับการผสมสารพ่นด้วยเครื่องพ่นสาร แบบแรงดั นน้ าสูง ของเกษตรกร ดั ง นั้ น เมื่ อ พ่น สารในอัต ราของสารออกฤทธิ์ ที่ เ ท่ ากั นในพื้น ที่ จึ ง ท าให้ ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดไม่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Gao et al., (2013) ที่ทาการ ทดสอบประสิทธิภาพการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับกับการพ่นด้วยเครื่องแรงดันน้าสูงในการป้องกันกาจัด หนอนเจาะลาต้นข้าวโพด พบว่าการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับอัตรา 18.25 ลิตร/เฮกแตร์ มีประสิทธิภาพใน การป้องกันกาจัดเทียบเท่าการพ่นสารด้วยเครื่องแบบแรงดันน้าสูง หรือในกรณีของ Qin et al. (2018) ที่ ทาการศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดโรคราน้าค้างในข้าวโพดด้วยสาร triadimefon 44%SC อัตรา แนะนาที่ 450 กรัม/เฮกแตร์ จากการพ่นด้วยเครื่อง UAV ที่อัตราพ่น 15 ลิตร/เฮกแตร์ เปรียบเทียบกับเครื่อง พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงที่อัตราพ่น 300 ลิตร/เฮกแตร์ ผลการทดลองพบว่าการพ่นด้วยระบบน้า น้อยมากด้วยเครื่อง UAV มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดโรคราน้าค้างในข้าวโพดได้ดีเทียบเท่าการพ่นด้วย เครื่องพ่นสารแบบแรงดันน้าสูงของเกษตรกร นอกจากนีไ้ ด้ทาการทดลองพ่นด้วยเครื่อง UAV โดยลดอัตราสาร ลงมา 20 เปอร์เซ็นต์ จากอัตราแนะนาที่ 450 กรัม/เฮกแตร์ เป็น 360 กรัม/เฮกแตร์ การทดลองพ่นด้วยเครือ่ ง UAV ก็ยังคงมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดโรคราน้าค้างในข้าวโพดเทียบเท่ากับการพ่นด้วยเครื่องพ่นสาร สะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงอัตราพ่น 300 ลิตร/เฮกแตร์ อย่างไรก็ตามการพ่นด้วยระบบน้าน้อยมากเป็นการ พ่นสารป้องกันกาจัดศัตรูพืชที่มีความเข้มข้นสูง ดังนั้นก่อนการนามาพ่นในสภาพไร่ ควรเลือกสูตรของสาร (formulation) ที่มีข้อมูล คาแนะนาหรือผ่านการทดสอบเรื่องความเป็นพิษต่อต้นข้าวมาแล้วมาใช้ สาหรับสูตร ของสารบางสูตรที่มีความเสี่ยงในเรื่องความเป็นพิษต่อ พืช เช่น EC หรือ WP ควรต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ นอกจากนี้สูตรของสารบางสูตร เช่น WP ในกรณีที่ผสมน้าน้อยก่อให้เกิดการตกตะกอน จนทาให้อุดตันหัวฉีด หรือในกรณีที่ใช้ในอัตราสูงมากจะเกาะตัวเป็นชั้น จนไม่สามารถพ่นสารละลายออกมาได้ 4. เวลาที่ใช้ในการพ่นสารต่อไร่ จากการเก็บข้อมูลเรื่องเวลาที่ใช้ในการพ่นสารพบว่าการเดินพ่นเน้นยอดแถวต่อแถวของเกษตรกรด้วย เครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงประกอบก้านฉีดแบบปรับท้ายที่ติดตั้งหัวฉีดแบบกรวยกลวง ใน พื้นที่ 1 ไร่ ใช้เวลาเฉลี่ย 32 นาที ในขณะที่การพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับใช้เวลาเฉลี่ย 3 นาที สรุปผลการทดลอง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดจากการพ่น สารด้วย อากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) ที่อัตรา 1.28 และ 2.56 ลิตรต่อไร่ การพ่นสารด้วย อากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ที่อัตรา 3 และ 5 ลิตรต่อไร่ การพ่นสารด้วยเครื่องยนต์พ่นสาร สะพายหลัง แบบแรงดันน้าสูง ประกอบก้านฉีดแบบปรับ ท้ายที่ ติดตั้ง หัวฉีดแบบกรวยกลวง อัตราพ่นของ เกษตรกรที่ 60 ลิตรต่อไร่ และกรรมวิธีไม่พ่นสาร โดยทุกกรรมวิธีที่ พ่นสารพ่นด้วยสารแนะนา emamectin benzoate 5% WG อัตราที่เท่ากันคือ 30 กรัมต่อไร่ ผลการทดลองพบว่ากรรมวิธีการพ่น ด้วยอากาศยานไร้ คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) และกรรมวิธีการพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
235
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-07
(โดรน) ทุกอัตรามีประสิทธิภาพในการป้องกั นกาจัดได้ดีเทียบเท่าการพ่นของเกษตรกรที่ 60 ลิตรต่อไร่ ที่เดิน พ่นเน้นยอดแถวต่อแถว โดยสามารถพ่น 1 ไร่ ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที ในขณะที่การเดินพ่นด้วยคนใช้เ วลา มากกว่า 30 นาที ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ข้อมูลชนิดของสารกาจัดแมลงที่มีประสิทธิภาพ อัตราและเทคนิคที่เหมาะสมในการป้องกันกาจัด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด 2. เกษตรกรมีวิธีการป้องกันกาจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดที่มีประสิทธิภาพ สามารถป้องกันการ ระบาด และพื้นที่การระบาดของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดลดลง การนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถแก้ไขปัญหาการระบาดของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดทีก่ าลังเป็นปัญหาระดับภูมิภาคได้ 2. ได้เ ทคโนโลยีในการจัดการหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดที่ เ หมาะสมส าหรับ แนะนาเกษตรกร นักวิชาการ นักส่งเสริม และภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง เอกสารอ้างอิง Davis, F.M., and W.P., Williams. 1992. Visual rating scales for screening whorl-stage corn for resistance to fall armyworm. Mississippi Agricultural &Forestry Experiment Station, Technical Bulletin 186, Mississippi State University, MS39762, USA. Gao Y.Y, Zhang Y T, Sun N. Primary studies on spray droplet distribution and control effects of aerial spraying using unmanned aerial vehicle (UAV) against the corn borer. Plant Protection, 2013; 39(2): 152–157. (in Chinese) Qin, W.C., Xue, X.Y, Zhang, S.M., Gu, W. and B.K. Wang. 2018. Droplet deposition and efficiency of fungicides sprayed with small UAV against wheat powdery mildew. Int. J. Agric & Biol. Eng. 11(2): 27-32.
236
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
ออกแบบและพัฒนาคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย (air-assisted boom sprayer) ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าว; Stenchaetothrips biformis ในนาข้าว A Design and Development of an Air-Assisted Boom Sprayer for Controlling Rice Thrips; Stenchaetothrips biformis, in Paddy Fields ยุทธนา เครือหาญชาญพงค์1 พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท2 พักตร์วิภา สุทธิวารี1 พงษ์ศักดิ์ ต่ายก้อนทอง1 นิรุติ บุญญา1 วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร2 สุภางคนา ถิรวุธ2 สุชาดา สุพรศิลป์2 นลินา ไชยสิงห์2 และ อัคคพล เสนาณางค์1 Yuttana Khaehanchanpong1 Pruetthichat Punyawattoe2 Phakwipa Suttiwaree1 Pongsak Taikonthong1 Nirut Boonya2 Woravit Sutjaritthammajaraiyangkun2 Supangkana Thirawut2 Suchada Supornsin2 Nalina Chaiyasing2 and Akkapol Senanarong1 1
สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม 50 ถ.พหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กทม 10900 Agricultural Engineering Research Institute 50 PhahonyothinLadyaoChajujak Bangkok 10900. 2 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช 50 ถ.พหลโยธิน ลาดยาว จตุจกั ร กทม 10900 2 Plant Protection Research and Development Office 50 PhahonyothinLadyaoChajujak Bangkok 10900. 1
บทคัดย่อ การพ่นสารกาจัดแมลงศัตรูข้าวใช้น้า แรงงาน เวลาพ่นค่อนข้างมาก เพื่อแก้ปั ญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึ ง ออกแบบคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยลมถูกสร้างจากเพลาอานวยกาลังของรถแทรกเตอร์ผ่านเกียร์ทด ไปยังพัด ลมที่ สร้างลมความเร็ว 100 กิโลเมตร/ชั่วโมง คานหัวฉีดกว้าง 6 เมตร ต่อพ่วงกับรถแทรกเตอร์ขนาด 34 แรงม้า ใช้หัวฉีดแบบพัด 9 หัว ความสามารถในการฉีดพ่น 21.3 ไร่ /ชั่วโมง ประสิทธิภาพการทางาน 95 เปอร์เซ็นต์ ใช้ น้ามันเชื้อเพลิง 0.37 ลิตร/ไร่ ทดสอบประสิทธิภาพด้วยวิธี colorimetric method ในข้าวระยะกล้า โดยพ่นด้วย คานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยอัตรา 20 ลิตร/ไร่ เปรียบเทียบกับคานหัวฉีดของเกษตรกรแบบไม่ใช้แรงลมช่วยอัตรา 40 ลิตร/ไร่ และก้านพ่นแบบปรับมุมด้านท้ายอัตรา 40 และ 60 ลิตร/ไร่ ผลการทดลองพบว่าการพ่นด้วยคาน หัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยพบความหนาแน่นของละอองสารสูงสุด มีการตกค้างของละอองสารบนต้นข้าวไม่แตกต่าง กับการพ่นอื่น ๆ โดยมีการสูญเสียลงสู่ดินน้อยกว่าและปลิวสู่พื้นที่นอกเป้าหมายเพียง 3 เมตร จากนั้นนาคาน หัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยมาทดสอบด้วยสาร thiacloprid 24% SC อัตราแนะนาที่ 6 มิลลิลิตร/ไร่ และอัตรา 4.8 มิลลิลิตร/ไร่(ลดอัตรา 20%) เปรียบเทียบกับคานหัวฉีดของเกษตรกรอัตรา 40 ลิตร/ไร่ และก้านพ่นแบบปรับมุม ด้า นท้ ายอัตรา 40 ลิตร/ไร่ด้ว ยสาร thiacloprid 24% SC อัตราแนะนา 6 มิ ล ลิลิ ตร/ไร่ พบว่ าทุ กกรรมวิ ธี มี ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าวเทียบเท่ากัน การพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยนอกจากลด อัตราน้าได้ 50% และยังลดอัตราการใช้สารได้ 20%
คาสาคัญ : เครื่องพ่นแบบใช้แรงลมช่วย ข้าว อารักชาพืช 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
237
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
ABSTRACT Rice pesticide spraying requires high volume of water and is alabor-intensive and time-consuming process. To resolve this, the research team developed an air-assisted boom sprayer. The wind is generated from a tractor power take-offthrough areduction gear and then to a fan with the blowing speed of 100 km/hr.This 6-metre-wide air-assisted boom sprayer with 9 fan nozzles is mounted to a 34-horsepower tractor. This equipment has the spraying capacity of 21.3 rai/hr, the working capacity of 95%, and the fuel oil consumption rate of 0.37 l/rai. The efficacy test employing the colorimetric method was conducted during the seedling stage. A comparison between the developed equipment with the spray volumeof 20 l/rai and a boom sprayer widely used by farmerswith the spray volume of 40 l/rai, both employing a spray lance with the spray volume of 40 and 60 l/rai, was also performed.The findings showed that the developedboom sprayer produces the highest droplet density and that the spray deposition on rice plants isnot different from thatproduced by theother sprayers.In addition, itreduced spray losses to the ground and the spray drift deposition on the groundismerely 3 metresbeyond the targeted area. To evaluate the bio-efficacy of spraying techniques, the effect of the insecticide for rice thrips when treated with thiacloprid 2 4 % SC- 6ml/rai (recommendation rate) and 4.8 ml/rai (20% reduced from recommendation rate) and the boom sprayer using the same insecticide(at the recommendation rate)and with the spray volume of 40l/raiwas carried out.The results indicated that allspray applicationsprovide similareffect for control of rice thrips. Also, the pesticide spraying employing the developed air-assisted boom sprayer helps reduce water use by 50% and chemical use by 20%. Keywords: Air assist boom sprayer, rice, plant protection คานา ข้าวเป็ น พื ชเศรษฐกิ จ ที่ ส าคัญ ของไทย ในปี 2561 มี พื้ นที่ ป ลู ก 65 ล้านไร่ ให้ ผ ลผลิ ต 22 ล้านตั น ผลผลิตเฉลี่ย 320 กิโลกรัม/ไร่ แต่กลับมีผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ ต่ากว่าประเทศคู่แข่ง (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2562) เพราะ เกิดการเข้าทาลายของ วัชพืช แมลงศัตรูพืช และ โรคพืช ในทุกระยะการเจริญเติบโต ทาให้ เกษตรกรจาเป็นต้องใช้วิธีการต่างๆ ในการป้ องกันกาจัด ซึ่งวิธีการที่นิยมมากที่สุด คือ การพ่นสาร เนื่องจาก เป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายในการปฏิบัติเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการป้องกันกาจัดอื่นๆ การพ่นสารป้องกัน แบ่งออกเป็น 2 ระบบ ได้แก่ แบบน้าน้อย โดยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลัง ใช้ แรงลม ด้วยแรงงานคน ยังไม่มีใช้งานในเครื่องที่ออกแบบ สาหรับติดตั้งพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์ และระบบที่ 2 238
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
ได้แก่ การพ่นแบบน้ามาก โดยเครื่องยนต์พ่นสารแบบแรงดันน้าสูง ทั้งแบบสะพายหลัง และ แบบลากสายด้วย ก้านฉีดแบบปรับมุมพ่นด้านท้าย คาแนะนาการพ่นสารของกรมวิชาการเกษตร แนะนา การพ่นแบบน้าน้อยที่ อัตรา 20 ลิตร/ไร่ และแบบน้ามาก อัตรา 60 – 80 ลิตร/ไร่ แต่เกษตรกรมักพ่นในอัตราที่สูงกว่าคาแนะนา ทา ให้เกิดการสิ้นเปลือง และเพิ่มต้นทุนการผลิต ในการพ่นสารเกษตรกรมักพ่นสารในลักษณะที่เดินผ่านแนวพ่น สารเข้าไปสัมผัสสารโดยตรง พ่นส่ายหัวฉีดไปมา ทางด้านซ้าย และขวาโดยมีแนวพ่นประมาณ 5 – 6 เมตร การพ่นดังกล่าวแม้จะพ่นได้เร็ว แต่มักพบความหนาแน่น และ การตกค้างของละอองสาร ในทรงพุ่มบนต้นข้าว ทาให้ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดไม่ดี อีกทั้งประสิทธิภาพในการพ่นจะขึ้นอยู่กับทักษะและความตั้งใจ ของผู้พ่นเป็นหลัก (Pojananuwonget al., 1997, 1999 และ 2001) ในกรณีที่เกษตรกรจ้างคนพ่น และ พบ ผู้พ่นที่ขาดทักษะและความรับผิดชอบ ทาให้ประสิทธิภาพในการพ่นต่า เมื่อมองถึงความปลอดภัย การพ่นแบบ ไม่คานึงถึงทิศทางในการพ่นก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้พ่นได้ ซึ่งสอดคล้องกับรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างปี 2548 – 2555 พบแนวโน้มของเกษตรกรมีอัตราการป่วยจากสาเหตุของสารป้องกันกาจัดศัตรูพืช เพิ่มขึ้นทุกปี (MOPH, 2013) นอกจากนี้ ปัญหาภัยแล้งที่ทวีความรุนแรงขึ้นทุกปี ทาให้เกิดข้อจากัดในเรื่องของทรัพยากรน้าที่จ ะ นามาใช้ในการผลิตรวมถึงนามาพ่นสาร เพื่อเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต การนาเทคโนโลยี เพื่อมาทดแทนวิธีการเดิม จึงเป็นสิ่งจาเป็น เครื่องฉีดพ่นสารแบบแรงดันลม (air assisted boom sprayer) เป็นอุปกรณ์พ่นสารที่มีศักยภาพ เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดแมลงศัตรูพืชหลายชนิด และมี ความปลอดภัยสูงต่อ ผู้ พ่น (Nuyttenset al., 2004a และ 2004b; Ade and Rondelli, 2007; Halley et al., 2011) เป็นการพ่นสารแบบน้าน้อย ด้วยเครื่องพ่นสารสะพายหลังแบบใช้แรงลมช่วย โดยใช้หัวฉีดแบบ Wizza อัตราพ่น 20-25 ลิตรต่อไร่ มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยกระโดดและวัชพืชในนาข้า วได้ดี เทียบเท่าการพ่นสารแบบน้ามากอัตราพ่น 60-80 ลิตร/ไร่ (Pojananuwonget al., 1997 และ 1999) แม้จะ ใช้น้าน้อยกว่าถึง 2 เท่า แต่เนื่องจากการพ่นชนิดนี้มีลมเข้าช่วยพัดพาละอองสารเข้าสู่ทรงพุ่มและใต้ใบ จาก ข้อมูลดังกล่าว มีความเป็นไปได้ในการนา เครื่องฉีดพ่นสารแบบใช้แรงลมเข้าช่วยมาประยุกต์ใช้ในการป้องกัน เพลี้ยไฟข้าวในประเทศไทย อีกทั้งยังมีข้อมูลสนับสนุนในต่างประเทศว่า เครื่องฉีดพ่นนี้ สามารถใช้ปริมาณน้า ในการพ่นสารน้อยลง โดยมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดได้เทียบเท่าการพ่นสารในอัตราพ่นที่ สูง (Ade และ Rondelli, 2007; Halley et al., 2011) ดัง นั้ นจึง เป็ นหน้าที่ ของสถาบั นวิจัย เกษตรวิศวกรรม และ สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช ในการพัฒนาอุปกรณ์พ่นสารดังกล่าว ตลอดจนเทคนิคที่เหมาะสมในการ ป้องกันเพลี้ยไฟในข้าว โดยเป็นอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพ ประหยัดและปลอดภัย
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
239
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
อุปกรณ์และวิธีการ การศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การออกแบบและพัฒนาคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย ศึกษารูปแบบของปั๊ม ออกแบบระบบการฉีดพ่น สร้างคานหัวฉีดต้นแบบ, ทดสอบการใช้งานเบื้องต้น และปรับปรุงแก้ไขตามมาตรฐาน ASAE standard S572.1., ศึกษารูปแบบคานหัวฉีดแบบใช้แรงดันลมช่วย ชนิดของหัวฉีด ตลอดจน ข้อกาหนดต่างๆ ในการพ่นสารเคมี โดยศึกษาถึงชนิดของหัวฉีดทั้ง 3 แบบ คือ แบบ กรวย แบบปะทะ และแบบรูป พัด , ทดสอบประสิทธิภาพคานหัวฉีดแบบใช้แรงดันลมช่วยที่ออกแบบ เก็ บ ข้อมูลในห้องปฏิบัติการ, ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันเพลี้ยไฟ การทดสอบประสิทธิภาพของคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ศึกษาปริมาณการตกค้างของละอองสารละลายของสีบนส่วนต่าง ๆ ของต้นข้าว การสูญเสีย ของละอองสารลงสู่ดิน และการปลิวของละอองบนพื้นที่นอกเป้าหมายด้วยวิธี Colorimetric method 2.1.1 เตรียมแปลงทดลองและแผนการทดลอง ทดสอบในข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 ที่ อ.ศรีประจันต์ จ. สุพรรณบุรี ในข้าวระยะกล้า (14วันหลังหว่าน) โดยทดสอบ แปลงย่อยขนาด 12x 30 เมตร เว้นระยะห่างระหว่างแปลง 20 เมตรวางแผนการทดลองแบบ RCB มี 4 กรรมวิธี จานวน 5 ซ้า กรรมวิธีที่ 1 พ่นสารละลายของสี Kingkol tartrazine ด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย ประกอบ หัวฉีดแบบพัดสีเหลือง ที่แรงดัน 3 บาร์พ่นแบบน้าน้อย อัตรา20 ลิตร/ไร่ (Air boom) กรรมวิธี ที่ 2 พ่ นสารละลายของสี Kingkol tartrazine ด้ วยคานหัวฉีด ของเกษตรกร แบบไม่ ใช้ แรงลม ประกอบหัวฉีดแบบพัดสีแดง ที่แรงดัน 5 บาร์ พ่นแบบน้าปาน อัตรา 40ลิตร/ไร่ (Boom) กรรมวิธีที่ 3 พ่ นสารละลายของสี Kingkol tartrazine ด้วยเครื่อ งยนต์พ่ นสารสะพายหลัง แบบ แรงดันน้าสูง ยี่ห้อMaruyama รุ่น MS 073D ขนาดความจุถัง 25 ลิตร ประกอบก้านฉีดแบบปรับมุมพ่นด้าน ท้ายความยาว 70 เซนติเมตร พ่นแบบน้าปานกลาง อัตรา 40 ลิตร/ไร่ (MKS 40) กรรมวิธีที่ 4 เช่นเดียวกับกรรมวิธีที่ 3 พ่นแบบน้าปานกลาง อัตรา 60 ลิตร/ไร่ (MKS 60) การพ่ น สารละลายของสี Kingkol tartrazine ด้ ว ยคานหั วฉี ด ทั้ ง 2 กรรมวิธี และ การพ่ น ด้ ว ย เครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูง คานหัวฉีดอยู่สูงจากต้นข้าวประมาณ 0.5 เมตร ก่อนทาการ ทดลองตรวจวัดสภาพอากาศ ได้แก่ ความเร็วลม อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ 2.1.2 การศึกษาความหนาแน่นของละอองสารบนต้นข้าว ติด กระดาษ chromulux ขนาดกว้าง 1.5 เซนติ เมตร เพื่ อใช้ในฐานะเป้ าหมายเที ยม (Artificial target) บนต้ น ข้ าวทุ ก ระยะ 2 เมตรนั บ จากขอบแปลง ดั ง นั้ น ใน1 แปลงย่ อ ยจะติ ดกระดาษทั้ ง หมด 6 240
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
ตาแหน่ ง ๆ ละ 5 ต้ น รวม 30 แผ่ น /แปลงย่ อ ย จากนั้ น พ่ น ตามกรรมวิธี ด้ วยสารละลายของสี Kingkol tartrazine ในอัตรา 300 กรัม/ไร่ นากระดาษมานับจานวนละอองสาร ด้วยโปรแกรมประมวลภาพ ค่าที่ได้มี หน่วยเป็นจานวนละออง/ตารางเซนติเมตร นาค่าดังกล่าวมาวิเคราะห์ผลทางสถิติแล้วนามาวิเคราะห์ความ แตกต่างโดยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test 2.1.3 การศึกษาปริมาณการตกค้างของละอองสารบนต้นข้าว ใช้สารละลายของสี Kingkol tartrazine เป็นตัวแทนสารป้องกันก าจัดศัตรูพืช ในอัตราเดียวกับข้อ 2.1.2 พ่นตามกรรมวิธี ทิ้งไว้ประมาณ 30 นาที เพื่อให้สารละลายของสีแห้งแล้วทาการเก็ บ ตัวอย่างต้นข้าว ตัวอย่างทั้ง หมดจะท าการใส่ ในถุงพลาสติก ปิดถุงให้ส นิท และเก็ บ ไว้ในกล่องกั นแสงอั ล ตร้าไวโอเลต เพื่อ ป้อ งกั น การสลายตั วของสี น าตัว อย่ างที่ ได้ม าล้ างสีด้ วยน้ าสะอาดปริม าตร 10 มิ ล ลิ ลิต รปล่ อ ยทิ้ ง ไว้ให้ ตกตะกอน กรองตะกอนแล้วดูดสารละลายใส่ลงในภาชนะใส่สารตัวอย่าง (cuvette) ขนาด 3 มิลลิลิตรนาไป วัดค่าความเข้มแสงด้วยเครื่อง Colorimeter ที่ค่าดูดกลืนแสง 470 นาโนเมตร นาค่าที่ได้มาคานวณปริมาณ การตกค้างซึ่งมีหน่วย ไมโครกรัม/ต้นข้าว นาค่าดังกล่าวมาวิเคราะห์ผลทางสถิติและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดย วิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) 2.1.4 การศึกษาการสูญเสียของละอองสารลงสู่ดิน ใช้จานเลี้ยงเชื้อขนาด 20 x 100 มิลลิเมตร ติดตั้งบนก้านเหล็กสูงประมาณ 0.1 เมตรในแปลงข้าวทุก ระยะ 2 เมตร นับจากขอบแปลงดังนั้นใน 1 แปลงย่อยจะวางจานเลี้ยงเชื้อทั้งหมด 6 ตาแหน่งรวมตัวอย่างที่ เก็บ 6 จุด/แปลงย่อยรวม 30 ตัวอย่าง/กรรมวิธีพ่น นาจานเลี้ยงเชื้อมาล้างและวิเคราะห์ข้อมูลดังอธิบายในข้อ 2.1.3 จากนั้นนาค่าที่ได้มาหารด้วยพื้นที่ของจานเลี้ยงเชื้อ ค่าที่ได้มีหน่วยเป็นไมโครกรัม/ตารางเซนติเ มตร นา ค่าดังกล่าวมาวิเคราะห์ผลทางสถิติและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test 2.1.5 การศึกษาการปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอกเป้าหมาย ใช้จ านเลี้ยงเชื้อ ติดตั้งบนก้านเหล็กสูงประมาณ 0.1 เมตร วางทุ ก ระยะ 1 เมตร จากแนวพ่นแนว สุดท้ายเป็นระยะทาง 10 เมตร ทั้งด้านเหนือลมและใต้ลม ดังนั้นใน 1 แปลงย่อยจะวางตัวอย่างทั้งหมด 20 ตาแหน่ง พ่นสารละลายของสีตามกรรมวิธี และดาเนินการเช่นเดียวกับข้อ 2.1.4 2.2 การทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าวในข้าวระยะกล้า ทดสอบในแปลงย่อยขนาด 12x 30 เมตร เว้นระยะระหว่างแปลงย่อย 10 เมตร วางแผนการทดลอง แบบ Randomized Complete Block มี 5 กรรมวิธี จานวน 4 ซ้า ได้แก่ กรรมวิธีที่ 1 พ่ นแบบน้าปานกลางด้วยคานหัวฉีด ของเกษตรกรแบบไม่ใช้ลม อัตรา 40 ลิตรต่อไร่ ผสมสารไทอะโคลพริด 24% SC อัตรา 6 มิลลิลิตร/ไร่ (อัตราแนะนา) (Boom) กรรมวิธีที่ 2 พ่นแบบน้าน้อยด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย อัตรา 20 ลิตรต่อไร่ ผสมสารไทอะโค ลพริด 24% SC อัตรา 6 มิลลิลิตร/ไร่ (อัตราแนะนา) (Air boom1) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
241
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
กรรมวิธีที่ 3 พ่นแบบน้าน้อยด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย อัตรา 20 ลิตรต่อไร่ ผสมสารไทอะโค ลพริด 24% SC อัตรา 4.8 มิลลิลิตร/ไร่ (ลดจากอัตราแนะนา 20%) (Air boom2) กรรมวิธีที่ 4 พ่ นด้วยเครื่องพ่นสารสะพายหลังชนิดแรงดันน้าสูงประกอบก้านฉีดแบบปรับมุมด้าน ท้ายของเกษตรกร อัตรา 40 ลิตร/ไร่ (อัตราพ่นแนะนาในข้าวอายุน้อยกว่า 40 วัน ) ผสมสารไทอะโคลพริด 24% SC อัตรา 6 มิลลิลิตร/ไร่ (อัตราแนะนา) (MKS 40) กรรมวิธีที่ 5 ไม่พ่นสาร ในการทดสอบประสิท ธิภาพจะเริ่มพ่นสารเมื่อพบการระบาดของเพลี้ยไฟข้าวมากกว่า 2 ตัวต่อต้น โดยสุ่มนับจานวนเพลี้ยไฟข้าวก่อนพ่นสาร 1 วัน และหลังพ่นสาร 3, 5, 7, 10 และ 14 วัน จากต้นข้าวแปลง ย่อยละ 40 ต้น ตรวจนับทุกใบตามแนวเส้นทแยงมุม เว้นห่างจากของแปลง 50 เซนติเมตร บันทึกจานวนเพลี้ย ไฟข้าว และ ลักษณะความเป็นพิษที่เกิดขึ้นกับพืชปลูก นาข้อมูลจานวนเพลี้ยไฟข้าวมาทาการวิเคราะห์ผลทาง สถิติและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธีDuncan’s Multiple Range Test ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การออกแบบและพัฒนาคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย ปัจจัยที่มีผลต่อการพ่นสาร คือ ระยะแถว,ระยะปลูก,หัวฉีด,อัตราการพ่น, ทิศทางการพ่น, ความเร็วของ รถแทรกเตอร์, และ ปัจจัยหลักที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง คือลมธรรมชาติ ซึ่งลมนี้เอง ทาให้เกิดการฟุ้งกระจายของ ละอองยา ทาให้ไม่โดนต้นพืช และเกิดการตกค้างบนดินเป็นการสูญเสียและสิ้นเปลือง (Planas et al., 1998) ผลการตรวจเอกสารพบว่า การพ่นแบบใฃ้ลมช่วยจะช่วยลดการฟุ้งกระจายในสภาวะที่เกิดกระแสลมธรรมชาติ และ ลดการฟุ้ ง กระจายของละอองที่ อ อกมาจากหัวฉีด (Davishvand and Brown,1997) ลมที่ ส ร้างจาก อุโมงค์ลมจะช่วยกดให้ล ะอองสารที่ออกจากหัวฉีด ไปสู่เป้าหมายได้โดยตรงและ ช่วยให้เกิดการพลิกกลับของ ใบพืช ท าให้ส ารออกฤทธิ์ส ามารถโดนพื้ นที่ สัม ผัส ใต้ใบพืชได้โดยง่าย (Taylor et al.1989) การออกแบบ จะต้องเลือกใบพัดลม ให้เหมาะกับต้นกาลังในการสร้างลม ซึ่งจากการศึกษาของ Davishvand and Brown (1997) ที่กล่าวว่าลมของการพ่นแบบอุโมงค์ลมที่มีประสิทธิภาพนั้นความเร็วลมที่ด้านปลายออกของลมต้อง ประมาณ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (27.7 เมตรต่อวินาที) จะสามารถส่งลมเข้าไปโดนใบพืชได้มากที่สุด ลดการ สูญเสีย เนื่องจากลมธรรมชาติ และ ยังสามารถลดการสูญเสียบนพื้นดินได้อีกด้วย ดังนั้นในการเลือก พัดลม สาหรับสร้างลม โดยจากการศึกษา ลมต้องมีแรงลมที่ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เลือกพัดลมแบบ AM-630 E ที่ ปริมาณลม 284-142 cmm. แรงดัน 20-110 mmWg. ความเร็วรอบ 2,500 รอบต่อนาที (รูปที่ 1)
242
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
รูปที่ 1 พัดลมสาหรับสร้างต้นแบบ ออกแบบอุโมงค์ลมต้นแบบ ให้มีขนาดเท่ากับพัดลมที่ได้เลือกไว้ ลมจะสร้างจากพัดลมที่รับกาลังมา จากเพลาอานวยกาลังของรถแทรกเตอร์ ผ่าน พูเล่ และ เกียร์ทด (รูปที่ 2 และ 3) ให้มีความเร็วลมที่ปลายทาง ที่ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้านปลายของอุโมงค์ลม ใส่ท่อผ้าใบ ที่เจาะรูขนาดเส้นผ่ าศูนย์กลางรู 1 นิ้ว ห่างกัน ทุก 2 นิ้ว (รูปที่ 4) เพื่อให้ลมผ่านทางบนรูที่เจาะ สาหรับไปกดให้สารออกฤทธิ์ที่ออกจากหัวฉีดทางานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ หลังจากสร้างต้นแบบ ทดสอบวัดความเร็วลมในห้องปฏิบัติการ (รูปที่ 5) เพื่อหาอัตราของลมที่ สร้างจากพัดลมต้นแบบ ทดสอบที่รอบเพลาอานวยกาลังของรถแทรกเตอร์ 540 รอบต่อนาที รอบเครื่องยนต์ รถแทรกเตอร์ 2,400 รอบต่อนาที สามารถสร้างลมที่ทางออกของรถแทรกเตอร์ได้ 41-43 เมตรต่อวินาที ซึ่ง เพียงพอกับการคานวณการสร้างต้นแบบที่ต้องการลมที่ทางออกประมาณ 28 เมตรต่อวินาที
รูปที่ 2 แนวทางการออกแบบอุโมงค์ลมต้นแบบ
รูปที่ 3 ระบบขับเคลือ่ นพัดลมจากเพลาอานวยกาลังผ่านพูเล่ย์และเกียร์ทด
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
243
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
รูปที่ 4 ผ้าใบที่เจาะรูเมื่อนามาประกอบต้นแบบ
รูปที่ 5 ทดสอบลมในห้องปฏิบัติการ เลือกหัวฉีดแบบพัดและ ทดสอบหัวฉีด 3 ชนิด คือ โมเดล 30-02F80YE (สีเหลือง), 30-03 F80UB (สี น้าเงิน) และ 30-04F80RE (สีแดง) (รูปที่ 6) ที่ความดันของปั้มที่ 3 บาร์ และ 5 บาร์
รูปที่ 6 หัวพ่นแบบพัดสามชนิด
รูปที่ 7 ทดสอบอัตราการฉีดพ่นของหัวฉีดในห้องปฏิบัติการ
244
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
ผลการทดสอบพบว่าอัตราการไหลจากหัวฉีด สีแดง สีน้าเงิน และสีเหลือง ที่ แรงดัน 3 บาร์ มีอัตรา การไหลเฉลี่ย 1,000, 800 และ 580 มล. ต่อนาที ส่วน ที่แรงดัน 5 บาร์มีอัตราการไหลเฉลี่ย 1,800, 1,250 และ980มล. ต่อนาทีดังนั้น ในการเลือกหัวฉีดพ่นสาหรับทดสอบพ่นในแปลงเกษตรกร จะเลือกใช้ หัวฉีดแบบสี เหลืองที่แรงดัน 3 บาร์สาหรับเครื่องพ่นแบบใช้ล มช่วย (อัตราพ่น 20 ลิตรต่อไร่) และ วิธีการของเกษตรกรใช้ หัวฉีดสีแดงที่แรงดัน 5 บาร์ ฉีดพ่น 40-60 ลิตรต่อไร่ (ใช้ความเร็วรถแทรกเตอร์ที่เกียร์ 3 low, 1.4 m/s) ต้นแบบเครื่องพ่นแบบอุโมงค์ลม จะติดพ่วงท้ายกับรถแทรกเตอร์ขนาด 36 แรงม้า ที่เปลี่ยนล้อเป็นล้อ แบบล้อสูงที่เส้นผ่าศูนย์กลางล้อหน้า 108 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางล้อหลัง 145 เซนติเมตร(รูปที่ 8)
รูปที่ 8 รถแทรกเตอร์ต้นแบบเมื่อติดตั้งเครื่องพ่นแบบอุโมงค์ลม 2. การทดสอบประสิทธิภาพของคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย 2.1 การศึกษาความหนาแน่นของละอองสารบนต้นข้าว ปริมาณการตกค้างของละอองสารบนต้น ข้าว การศึกษาการสูญเสีย ของละอองสารลงสู่ดิน และการศึกษาการปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอก เป้าหมายด้วยวิธี Colorimetric method ระหว่าทดสอบ ความเร็วลมมีค่าค่อนข้างคงที่คือมีความเร็วลมเฉลี่ย 0.2-0.8 เมตร/ต่อวินาทีอุณหภูมิ เฉลี่ย 26 ± 2 °ซ.และความชื้นสัมพัทธ์ (RH %) มีค่าเฉลี่ย 75 ± 2% ซึ่งเป็นสภาพอากาศที่เหมาะสมต่อการพ่น สาร (Miller et al., 2018) 2.1.1 การศึกษาความหนาแน่นของละอองสารบนต้นข้าว จากการพ่ นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยอัตรา 20 ลิตร/ไร่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 80.16 ละออง/ ตารางเซนติเมตร แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีการพ่นด้วยคานหัวฉีด ของเกษตรกร แบบไม่ใช้ลมอัตรา 40 ลิตร/ไร่ ที่มีละอองสารเฉลี่ย 68.00 ละออง/ตารางเซนติเมตร แต่มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติกับการพ่นด้วยเครื่องพ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงอัตรา 40 และ 60 ลิตร/ไร่ ซึ่งมีละอองสารเฉลี่ย 53.00 และ 57.25 ละออง/ตารางเซนติเมตร (ตารางที่1) วิธีการพ่นสารมีผลอย่างมากต่อจานวนละอองบน เป้าหมาย การศึกษาก่อ นหน้านี้ได้รายงานว่าการพ่นที่ มีประสิทธิภาพต้องการละอองสารอย่างน้อย 20-30 ละออง/ตารางเซนติเมตร สาหรับการป้อ งกันก าจัดแมลง และวัชพืชก่ อนงอก ละอองสาร 30-40 ละออง/ ตารางเซนติเมตรสาหรับวัชพืชหลังงอก และ 50–70 ละออง/ตารางเซนติเมตรสาหรับการป้องกันกาจัดโรคพืช 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
245
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
(Ebert et al., 1999 และ Matthews et. al., 2014) ซึ่ ง จากการทดลองพบว่ าทุ ก กรรมวิ ธีมี ล ะอองสาร มากกว่า 30 ละออง/ตารางเซนติเมตร ซึ่งเพียงพอต่อการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าว 2.1.2 การศึกษาปริมาณการตกค้างของละอองสารบนต้นข้าว จากการพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย และ คานหัวฉีดของเกษตรกรแบบไม่ใช้ลมอัตรา 20 และ 40 ลิตร/ไร่ และ ด้วยเครื่องพ่ นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงอัตรา 40 และ 60 ลิตร/ไร่ พบการ ตกค้างของละอองสารบนต้นข้าวเฉลี่ย 2.48, 2.72, 2.32 และ 2.44 ไมโครกรัม/ต้น ตามลาดับ ซึ่งไม่แตกต่าง กั น ทางสถิ ติร ะหว่ างกรรมวิธี (ตารางที่ 1) การทดลองนี้ ส อดคล้ องกั บ รายงานของ Cunningham and Harden, (1999) และ Matthews et al. (2014) ที่พบว่าการพ่นสารแบบน้าน้อยด้วยเครื่องพ่นสารแบบใช้ แรงลมอัตราพ่นระหว่าง 8-32 ลิตร/ไร่ นอกจากจะเป็นการพ่นที่สารที่ผสมพ่นมีความเข้มข้นสูงแล้วยังมีลมซึ่ง ผลิตจากเครื่องช่วยในการนาพาละอองสารเข้าสู่เป้าหมายได้ดี ดังนั้นเมื่อ เปรียบเทียบกับการพ่นแบบน้าปาน กลางที่ใช้อัตราพ่นระหว่าง 32-96 ลิตร/ไร่ในกรณีที่ใช้ปริมาณสารออกฤทธิ์ (active ingredient) ในอัตราที่ เท่ากันการพ่นแบบน้าน้อยจะพบการตกค้างของละอองสารบนเป้าหมายไม่แตกต่างจากการพ่นแบบน้าปาน กลาง 2.1.3 การศึกษาการสูญเสียของละอองสารลงสู่ดิน จากการพ่นด้วยเครื่องพ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงอัตรา 60 ลิตร/ไร่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดที่ 2.34 ไมโครกรัม/ตารางเซนติเมตร ไม่แตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีการพ่นด้วยเครื่องชนิดเดียวกันที่อัตรา 40 ลิตร/ ไร่ และกรรมวิธีการพ่นด้วยคานหัวฉีด ของเกษตรกรแบบไม่ใช้แรงลมอัตรา 40 ลิตร/ไร่ ที่มีการสูญ เสียของ ละอองสารลงสู่ดินเฉลี่ย 2.06 และ 1.98 ไมโครกรัม/ตารางเซนติเมตรตามลาดับ แต่มากกว่า และ แตกต่าง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีการพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยอัตรา 20 ลิตร/ไร่ ที่มีการสูญเสีย ของละอองสารลงสู่ดินเฉลี่ย 1.50 ไมโครกรัม/ตารางเซนติเมตร จากการศึกษาในหลายงานวิจัยพบว่าการพ่น สารแบบน้ามาก (>96 ลิตร/ไร่) และแบบน้าปานกลาง (>32 ลิตร/ไร่) ก่อให้เกิดการสูญเสียของละอองสารลงสู่ ดินมากกว่าการพ่นแบบน้าน้อย (<32 ลิตร/ไร่) (ดารงและคณะ, 2551; Austerweilet al., 2000; SánchezHermosillaet al., 2012; Rincónet al., 2017) ซึ่งในงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงผลการทดลองที่สอดคล้องกัน กันกับการศึกษาก่อนหน้านี้ ตารางที่ 1ความหนาแน่นของละอองสารบนต้นข้าว ปริมาณการตกค้างของละอองสารบนต้นข้าว และการ สูญเสียของละอองสารลงสู่ดิน กรรมวิธี
อัตราพ่น (ลิตร/ไร่)
1. Air boom 2. Boom
20 40
246
ความหนาแน่นของละออง สารบนต้นข้าว (จานวน ละออง/ตารางเซนติเมตร) 80.16a1/ 68.00ab
ปริมาณการตกค้างของ ละอองสารบนต้นข้าว (ไมโครกรัม/ต้น) 2.48 2.72
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การสูญเสียของละอองสาร ลงสู่ดิน (ไมโครกรัม/ตาราง เซนติเมตร) 1.50c 1.98b
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” 3. MKS 40 40 53.00b 2.32 4. MKS 60 60 57.25b 2.44 CV% 12.40 18.08 1/ ตัวเลขที่ตามด้วยอักษรเดียวกันในแต่ละสดมภ์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติที่P=0.05% โดยวิธีDMRT
OEA-08 2.06ab 2.34a 10.44
2.1.4 การปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอกเป้าหมาย การพ่นด้วยคานหัวฉีดเป็นการพ่นจากด้านบนเหนือเป้าหมาย ทาให้ละอองสารถูกพัดจากด้านบนลงสู่ ด้านล่าง ในขณะที่การพ่นของเกษตรกรเป็นการพ่นแบบเดินส่ายก้านฉีดไปด้านหน้า ทาให้ละอองสารบางส่วน ปลิวออกนอกพื้นที่เป้าหมาย การทดสอบ คานหัวฉีดทั้ง 2 แบบอยู่เหนือต้นข้าว 0.5 เมตรประกอบกับช่วงเวลา ในการพ่นความเร็วลมในพื้นที่น้อยกว่า 0.2 - 0.8เมตร/วินาทีอุณหภูมิในขณะพ่น 26 ± 2 °ซ.และมีความชื้น สัมพัทธ์75 ± 2% ซึ่งเหมาะสมต่อการพ่นสาร ดังนั้นจึงพบการปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอกเป้าหมายที่ สามารถตรวจวัดได้ไกลที่สุดห่างจากแนวพ่ นเพียง 3 เมตรในขณะที่ระยะที่เกิดจากการพ่นด้วยกรรมวิธีของ เกษตรกรพบการปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอกเป้าหมายที่สามารถตรวจวัดได้ไกลที่สุด 4 เมตร (ตารางที่ 2) ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดลองของ (Pojananuwonget al., 1999 และ Punyawattoe, 2013) ที่พบว่า การพ่นด้วยคานหัวฉีดที่ติดตั้งหัวฉีดแบบกรวยกลวงและแบบพัดสูงจากต้นข้าวประมาณ 0.5 เมตรที่ความเร็ว ลมในพื้นที่ต่ากว่า 0.2เมตร/วินาทีพบการปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอกเป้าหมายระยะไกลที่สุดไม่เกิน5 เมตร จากแนวพ่นสุดท้าย ตารางที่ 2 การปลิวของละอองสาร (ไมโครกรัม/ตารางเซนติเมตร) บนพื้นที่นอกเป้าหมายที่เริ่มวัดจากแนวพ่น แนวสุดท้าย กรรมวิธี
1. Air boom 2. Boom 3. MKS 40 4. MKS 60 1/ตรวจไม่พบ
1 0.30 0.30 0.28 0.32
ระยะที่ทาการทดสอบจากแนวพ่นแนวสุดท้าย (เมตร) การปลิวของละอองสารบนพื้นที่นอกเป้าหมาย(ไมโครกรัม/ตารางเซนติเมตร) ด้านเหนือลม ด้านใต้ลม 2 3 4 5-10 1 2 3 4 0.18 0.04 - 1/ 0.32 0.15 0.05 0.18 0.04 0.28 0.12 0.02 0.17 0.06 0.31 0.18 0.04 0.19 0.08 0.02 0.36 0.19 0.10 0.03
5-10 -
2.2 การทดสอบประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าว ผลการทดสอบประสิทธิภาพทั้ง 2 แปลงทดลอง ใน อ. บางเลน และ อ.กาแพงแสน จ. นครปฐมให้ผล การทดสอบที่สอดคล้องกัน กล่าวคือ กรรมวิธีที่พ่นสารไทอะโคลพริด 24% SC ด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลม ช่วยอัตรา 20 ลิตร/ไร่ คานหัวฉีดของเกษตรกรแบบไม่ใช้ลมอัตรา 40 ลิตร/ไร่ และพ่นด้วยเครื่องพ่นสาร สะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงอัตรา 40 และ 60 ลิตร/ไร่ มีจานวนเพลี้ยไฟข้าวไม่แตกต่างกันทางสถิติ (ตาราง
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
247
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
ที่ 3-4) แต่น้อ ยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเที ยบกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสาร ในการ ทดลองนี้ไม่พบอาการเป็นพิษของสารทดลองต่อต้นข้าวจากการพ่นสารในทุกกรรมวิธีทั้ง 2 การทดลอง ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพของสารไทอะโคลพริด24% SC ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าว; Stenchaetothrips biformisจากการพ่นด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ ที่ อ. บางเลน จ. นครปฐม ระหว่างเดือนมีนาคม ถึงเมษายน 2562 (แปลงที่ 1) กรรมวิธี
Boom Air boom 1 Air boom 2 MKS 40 Control CV% 1/
อัตราพ่น อัตราการใช้ (ลิตร/ไร่) (มิลลิลิตร/ ก่อนพ่นสาร ไร่) 40 6 2.72 20 6 2.80 20 4.8 2.70 40 6 2.82 2.75 9.62
3 0.35b1/ 0.33b 0.40b 0.48b 3.42a 16.31
จานวนเพลี้ยไฟข้าว (ตัว/ต้น) หลังพ่นสาร (วัน) 5 7 10 0.25b 0.23b 0.15b 0.26b 0.25b 0.18b 0.30b 0.28b 0.28b 0.33b 0.33b 0.30b 4.18a 5.35a 7.08a 17.27 28.43 17.90
14 0.10b 0.15b 0.26b 0.23b 7.25a 36.2
ตัวเลขที่ตามด้วยอักษรเดียวกันในแต่ละสดมภ์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติที่P=0.05% โดยวิธีDMRT
ตารางที่ 4 ประสิทธิภาพของสารไทอะโคลพริด24% SC ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าว; Stenchaetothrips biformisจากการพ่นด้วยกรรมวิธีต่าง ๆ ที่ อ. กาแพงแสน จ. นครปฐม ระหว่างเดือน มีนาคม ถึง เมษายน 2562 (แปลงที่ 2) กรรมวิธี
Boom Air boom 1 Air boom 2 MKS 40 Control CV% 1/
อัตราพ่น (ลิตร/ไร่) 40 20 20 40 -
อัตราการใช้ (มิลลิลิตร/ ไร่) 6 6 4.8 6 -
ก่อนพ่น สาร 3.42 3.58 3.51 3.64 3.58 9.68
3 0.44b1/ 0.42b 0.52b 0.61b 4.46a 16.45
จานวนเพลี้ยไฟข้าว (ตัว/ต้น) หลังพ่นสาร (วัน) 5 7 10 0.32b 0.28b 0.19b 0.32b 0.32b 0.22b 0.39b 0.36b 0.35b 0.42b 0.40b 0.38b 5.43a 6.94a 9.20a 18.55 28.57 18.32
14 0.12b 0.19b 0.32b 0.29b 9.43a 17.97
ตัวเลขที่ตามด้วยอักษรเดียวกันในแต่ละสดมภ์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติที่P=0.05% โดยวิธีDMRT
การพ่นสารด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยอัตรา 20 ลิตร/ไร่ เป็นการพ่นสารแบบน้าน้อย สารฆ่า แมลงที่ผสมในการพ่น จึงมีความเข้มข้นสูง เมื่อเทียบกับการผสมสารพ่นแบบน้าปานกลางด้วยคานหัวฉีดและ เครื่องพ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงของเกษตรกร ดังนั้นเมื่อพ่นสารในอัตราของสารออกฤทธิ์ที่เท่ากัน แม้ว่าปริมาณน้าจะมีความแตกต่าง แต่ไม่ได้ทาให้ประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดแตกต่างกันซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาของ ดารงและคณะ (2551) ที่ท าการศึกษาการพ่นสารแบบน้าน้อยด้วยหัวฉีด ULEM และ CDA อั ต รา 20 ลิ ต ร/ไร่ ใ นการป้ อ งกั น ก าจั ด เพลี้ ย ไฟข้ า ว;Stenchaetothrips biformis ด้ ว ยสารฆ่ า แมลง 248
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
imidacloprid อัตราเนื้อสารบริสุทธิ์ 3 กรัม /ไร่ เปรียบเทียบกับการพ่นสารแบบน้าปานกลางด้วยเครื่องพ่น สารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงของเกษตรกรที่อัตรา 40 ลิตร/ไร่ ผลการทดลองพบว่าการพ่นแบบน้าน้อย ด้วยหัวฉีด ULEM และ CDA มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าวได้ดีเทียบเท่าการพ่นด้วยเครื่อง พ่นสารของเกษตรกร นอกจากนี้ยังได้ทาการทดลองโดยลดอัตราสารลงมา 30เปอร์เซ็นต์จากอัตราเนื้อสาร บริสุทธิ์ 3 กรัม/ไร่ เป็น 2 กรัม/ไร่ ผลการทดลองพบว่า การพ่นสารแบบน้าน้อยด้วยหัวฉีด ULEM และ CDA ยังคงมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดได้ดีเทียบเท่าการพ่นด้วยเครื่องพ่นสารของเกษตรกร นอกจากนี้ยัง สอดคล้องกับการศึกษาของ Qin et al. (2018) ที่ทาการศึกษาประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดโรคราน้าค้าง ในข้าวโพดจากระบบการพ่นแบบน้าน้อยมากด้วยสาร triadimefon 44%SC อัตราแนะนาที่ 450 กรัม/เฮก แตร์ พ่นด้วยเครื่อง UAV ที่อัตราพ่น 15 ลิตร/เฮกแตร์ เปรียบเทียบกับการพ่นระบบน้ามากด้วยเครื่องพ่นสาร สะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงที่อัตรา300ลิตร/เฮกแตร์ผลการทดลองพบว่าการพ่นด้วยระบบน้าน้อยมากด้วย เครื่องUAV มีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดโรคราน้าค้างในข้าวโพดได้ดีเทียบเท่าการพ่นด้วยเครื่องพ่นสาร แบบแรงดันน้าสูงของเกษตรกร นอกจากนี้ได้ท าการทดลองพ่นด้วยเครื่องUAV โดยลดอัตราสารลงมา 20 เปอร์เซ็นต์ จากอัตราแนะนาที่ 450 กรัม/เฮกแตร์ เป็น 360กรัม /เฮกแตร์ การทดลองพ่นด้วยเครื่องUAV ก็ ยังคงมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดโรคราน้าค้างในข้าวโพดเทียบเท่ากับการพ่นด้วยเครื่องพ่นสารสะพาย หลังแบบแรงดันน้าสูงอัตรา 300 ลิตร/เฮกแตร์ อย่างไรก็ตามในการลดอัตราสารจาเป็นต้องคานึงถึง ระดับ ความต้านทานของศัตรูพืช ในพื้ นที่และต้องมีก ารพ่นแบบสลับกลุ่มสารตามกลไกการเข้าทาลาย (Mode of action) เพื่อลดความเสี่ยงที่ ศัตรูพืชจะสร้างความต้านทาน นอกจากนี้ ก ารพ่น แบบน้าน้อยเป็นการพ่นสาร ป้ อ งกั น ก าจั ด ศั ต รู พื ช ที่ มี ค วามเข้ ม ข้ น สู ง ดั ง นั้ น ก่ อ นการน ามาพ่ น ในสภาพไร่ ควรเลื อ กสู ต รของสาร (formulation) ที่มีข้อมูล คาแนะนาหรือผ่านการทดสอบเรื่องความเป็นพิษต่อต้นข้าวมาแล้วมาใช้ สาหรับสูตร ของสารบางสูตรที่มีความเสี่ยงในเรื่องความเป็นพิษต่อพืช เช่น EC หรือ WP ควรต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ นอกจากนี้สูตรของสารบางสูตร เช่น WP ในกรณีที่ผสมน้าน้อยก่อให้เกิดการตกตะกอน จนทาให้อุดตันหัวฉีด หรือในกรณีที่ใช้ในอัตราสูงมากจะเกาะตัวเป็นชั้น จนไม่สามารถพ่นสารละลายออกมาได้ สรุปผลการทดลอง การศึกษาประสิทธิภาพของคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยอัตรา 20 ลิตร/ไร่ เปรียบเทียบกับคานหัวฉีด ของเกษตรกรแบบไม่ใช้ลมอัตรา 40 ลิตร/ไร่ และการพ่นด้วยเครื่องพ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูงอัตรา 40 และ60 ลิตร/ไร่ด้วยวิธี colorimetric method ในข้าวระยะกล้า (15 วันหลังหว่าน) พบว่าคานหัวฉีดแบบ ใช้แรงลมช่วยมีความหนาแน่นของละอองสารสูงสุด และพบการตกค้างของละอองสารบนต้นข้าวไม่แตกต่าง กับการพ่นด้วยวิธีการอื่น ๆ โดยมีการสูญเสียลงสู่ดินน้อยกว่า และ ปลิวสู่พื้นที่นอกเป้าหมายเพียง 3 เมตร และเมื่อนามาทดสอบประสิท ธิภาพในการป้องกั นก าจัดเพลี้ยไฟข้าวด้วยสาร thiacloprid 24% SC อัตรา แนะนาที่ 6 มิลลิลิตร/ไร่ และอัตรา 4.8 มิลลิลิตร/ไร่ (ลดอัตรา 20%) เปรียบเทียบการพ่นด้วยคานหัวฉีดของ เกษตรกรแบบไม่ใช้ลม และ ด้วยเครื่องพ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้าสูง ด้วยสาร thiacloprid 24% SC อัตราแนะนา 6 มิลลิลิตร/ไร่ พบว่าทุกกรรมวิธีมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟข้าวได้ดีเทียบเท่ากัน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
249
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
การพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมนอกจากช่วยลดอัตราน้าได้ 50% ลดอัตราการใช้สารได้ 20% แล้วยังช่วย ให้เกษตรกรมีความปลอดภัยไม่ต้องสัมผัสกับสารฆ่าแมลงข้อมูลที่ได้จากการวิจัย นีส้ ามารถใช้เป็นคาแนะนา และสามารถนาไปขยายผลในศัตรูพืชชนิดอื่น ๆ ทั้งในข้าวและพืชเศรษฐกิจที่ สาคัญของประเทศ นอกจากนี้ยัง ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาสู่การอารักขาพืชแม่นยาสูง (Precision Crop Protection) ที่สอดคล้องกับนโยบาย เกษตร 4.0 ของประเทศ คาขอบคุณ ผู้วิจัยขอขอบคุณ คุณสมคิด พันธ์ดี และคุณปรีดี รักงาม กลุ่มงานวิจัยการใช้สารป้องกันกาจัดศัตรูพืช กลุ่มกีฏและสัตววิทยาสานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืชกรมวิชาการเกษตร ผู้ให้ความช่วยเหลือในการวิเคราะห์ ข้อมูลและช่วยเหลืองานด้านเทคนิค เอกสารอ้างอิง ดารง เวชกิจ จีรนุช เอกอานวย พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท สรรชัย เพชรธรรมรส สิริวิภา พลตรี .2551 .ศึกษา ประสิทธิภาพของULEM เพื่อการป้องกันกาจัดแมลงศัตรูกล้วยไม้บางชนิด.รายงานผลวิจัยเรื่อ งเต็ม . 57 .กรมวิชาการเกษตร หน้า. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2562. ปริมาณและมูลค่าการนาเข้าสารกาจัดศัตรูพืช ปี 2553 - 2556. [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=146 (สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2562). Ade, G. and V. Rondelli. 2007. Performance of an air-assisted boom sprayer in the control of Colorado beetle infestation in potato crops. Biosyst. Engng. 97: 181-187. Austerweil, M., A. Gamliel, B. Steiner, Y. Riven and V. Zilberg. 2000. Approaches to evaluating the performance of air-assisted pesticide application equipment in greenhouses. Asp. Appl. Biol.57 : 391-398. Cunningham, G.P. and J. Harden. 1999. Sprayers to reduce spray volumes in mature citrus trees. Crop Prot. 18 : 275-281. Darvishvand, M. and Brown R.B. (1997). Performance of an air assisted forestry boom sprayer. Canadian Agril. Engg. 399(4):281-287. Ebert, T.A., R.A.J. Taylor, R.A. Downer and F.R. Hall. 1999. Deposition structure and efficacy 1 :Interaction between deposit size, toxicant concentration, and deposition number. Pestic. Sci. 55 : 783-792. Halley, S., V. Hofman, G. Van Ee and K. Misek. 2011. Best Methods for Applying Fungicide to Grain Heads UsingAir-assist Sprayers. [Online]. Available from: https://www.ag.nds.u.edu/pubs/ ageng/machine/ae1480.pdf (December 26, 2011). 250
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
Matthews G.A., R. Bateman and P. Miller. 2014. Pesticide Application Methods. 4th edition. Wiley-Blackwell, Chichester, UK Miller, D.R., T.E. Stoughton, W. E. Steinke, E.W. Huddleston, and J. B. Ross. 2018. Atmospheric stability effects on pesticide drift from an irrigated orchard. Available at: http://www.prairieswine.com/pdf/2983.pdf . Accessed: 23 Oct, 2018. MOPH. 2013. Reported cases of notifiable disease by week Thailand, 2013. Bureau of Epidemiology, Department of DiseaseControl, Ministry of Public Health. (Online). Available. http://www.boe.moph.go.th/boede/506data/54 wk36.pdf (3 May, 2014). Nuyttens, D., S. Windey and B. Sonck. 2004a. Optimization of a vertical spray boom for greenhouse spray applications. Biosyst. Eng. 89 : 417-423. Nuyttens, D., S. Windey and B. Sonck. 2004b. Comparison of operator exposure for five different greenhouse spraying applications. J. Agr. Saf. and Health. 10 : 187-195. Planas, S., Solanelles, F., Fillat, A., Walklate, P., Miralles, A., Ade, G., Pezzi, F., Val, L.,Andersen, P.G., 1998. Advances on Air-assisted Spraying on the MediterraneanOrchards (Fruit, Vine and Citrus). EurAgEng Paper Nº 98-A-019. Oslo. Pojananuwong, S., Wechakit, D., Armeen, S. and A. Chaimanee. 1997. Field efficacy test of low volume application of pesticides against important insect pests and weeds in broadest rice. Biennial report, Division of Entomology and Zoology, Department of Agriculture, Bangkok, Thailand. Pojananuwong, S., Wechakit, D., Ek-amnuay, J., Pechtammaros, S., Suwanathane, S. and S. Chueyphan. 1 9 9 9 . Pesticide application technique against pests of rice. Biennial report, Division of Entomology and Zoology, Department of Agriculture, Bangkok, Thailand. Pojananuwong, S., Armeen, S., Pamorn, P., Suwanathane, S., Pechtammaros, S. and S. Chueyphan. 2 0 0 1 . Pesticide application technique for control of rice pests. Biennial report, Division of Entomology and Zoology, Department of Agriculture, Bangkok, Thailand. Punyawattoe, P. 2013. Rational insecticide application techniques for control of NilaparvatalugensStål in paddy fields. (Doctoral dissertation). Nanjing Agricultural University, People Republic of China. 119 pp. Qin,W.C.,Xue, X.Y, Zhang, S.M., Gu, W. and B.K. Wang. 2018.Droplet deposition and efficiency of
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
251
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OEA-08
fungicides sprayed with small UAV against wheat powdery mildew. Int. J. Agric & Biol. Eng. 11(2) : 27-32. Rincón, V.J., J. Sánchez-Hermosilla, F. Páez, J. Pérez-Alonso and Á.J. Callejón. 2017. Assessment of the influence of working pressure and application rate on pesticide spray application with a hand-held spray gun on greenhouse pepper crops. Crop Prot96 : 7-13. Sánchez-Hermosilla, J., V.J. Rincón, F. Páez and M. Fernández. 2012. Comparative spray deposits by manually pulled trolley sprayer and a spray gun in greenhouse tomato crops. Crop Prot31 : 119-124. Taylor, W.A., P.G. Andersen and S. Cooper 1989. The use of air assistance in a field crop sprayer to reduce drift and modify drop trajectories. In Brighton Crop Protection Conference-Weeds, 631-639. Farnham, Surrey, England: British Crop Protection Council.
252
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
การศึกษาโปรติโอมิคส์ของมันสาปะหลังพันธุต์ ้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่างมันสาปะหลัง Proteomic of Resistant and Susceptible Cassava Varieties to Cassava Mosaic Disease สุกัญญา ฤกษ์วรรณ1 สิทธิรักษ์ รอยตระกูล2 นวลนภา เหมเนียม1 กิ่งกาญจน์ เสาร์คา3 ศิรกิ าญจน์ หรรษาวัฒนกุล4 จุฑาทิพย์ ถวิลอาพันธ์1 และ วันวิสา ศิริวรรณ์1 Sukanya Roekwan1 Sittiruk Roytrakul2 Nuannapa Hemniam1 Kingkan Saokham3 Sirikan Hunsawattanakul4 Jutathip Thawinampan1 and Wanwisa Siriwan1 1
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 12120 2 National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Thailand Science Park, Pathum Thani 12120 3 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140 3 Center of Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Nakhon Pathom 73140 4 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 4 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 1
บทคัดย่อ มันสาปะหลัง (Manihot esculenta Crantz) เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตที่สาคัญ ในปัจจุบันได้กลายเป็น พืชเศรษฐกิ จ ที่ ส าคัญ ในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะประเทศไทย กั ม พู ชาและ เวียดนาม อย่างไรก็ตามการผลิตมันสาปะหลังได้ ลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านจากการระบาดของโรค ใบด่างมันสาปะหลัง (CMD) ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) ซึ่งจัดอยู่ใน genus Begamoviruses และ family Geminiviridae SLCMV มีการแพร่กระจายอย่างรุนแรงในกัมพูชา เวียดนามและไทย การระบาดของโรคซึ่งเกิดจากการติดเชื้อจากท่อนพันธุ์และมีแมลงหวี่ขาว Bemisia tabaci เป็นแมลงพาหะ ท าให้ผ ลผลิตลดลง 40-80 % ทั้ ง นี้ขึ้นอยู่กั บ ระยะการติดเชื้อของพืช การศึก ษาครั้งนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบโปรตีนที่แสดงออกในพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่างมันสาปะหลัง เพื่อ ทราบโปรตีนที่มีความจาเพาะในมันสาปะหลังสายพันธุ์ต้านทาน ด้วยเทคนิคโปรตีโอมิกส์ ในการทดลองครั้ งนี้ เป็นการเปรียบเทียบรูปแบบของโปรตีนในมันสาปะหลังพันธุ์ TME3 ซึ่งเป็นพันธุ์ต้านทานและมันสาปะหลัง พันธุ์การค้าเกษตรศาสตร์ 50 พบว่าโปรตีน ที่ พบเฉพาะมั นส าปะหลังพันธุ์ TME3 มี 64 โปรตีน และ 58 โปรตีน พบเฉพาะมันสาปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ในขณะเดียวกันพบว่าโปรตีนของมันสาปะหลังพันธุ์ TME3 และ เกษตรศาสตร์ 50 มี 346 โปรตีนที่เหมือนกัน จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า รูปแบบโปรตีนของ พันธุ์มั นส าปะหลังที่ ต้านทานและอ่ อ นแอต่อโรคใบด่างมั นสาปะหลังที่ มี แตกต่างกั นอาจจะมี ผ ลต่อความ ต้านทานต่อโรคใบด่างมันสาปะหลัง ข้อมูลพื้นฐานของรู ปแบบโปรตีนที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้ นักปรับปรุง พันธุ์สามารถนาไปใช้เป็นเครื่องหมายพันธุกรรมในการคัดเลือกพันธุ์ต้านทานในอนาคตได้ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
253
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
คาสาคัญ : โปรติโอมิคส์ มันสาปะหลังพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอ โรคใบด่างมันสาปะหลัง
ABSTRACT Cassava (Manihot esculenta Crantz) is an important source of carbohydrates. Today it has become one of the major crops in many countries of Southeast Asia. Especially, Thailand, Cambodia and Vietnam. However, the Southeast Asian cassava production has been rapidly decreased in this recent years which being affected by Cassava mosaic disease (CMD). Caused by the Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) which is classified to the Genus of Begamoviruses and family of Geminiviridae. SLCMV has been wildly spread in Cambodia, Vietnam and Thailand. Disease outbreak which is transmitted by cutting material and whitefly Bemisia tabaci as an insect vector. The yield losses due to CMD infection could affect to 40-80% depending on the infection stage of plant. The objective of study was to study the protein patterns expressed in resistant and susceptible varieties to cassava mosaic disease for understand of specific proteins in the resistance cassava varieties by proteomic techniques. In this experiment, the comparison of protein patterns in resistant variety (TME3) and commercial variety (Kasetsart 50). It was found that the unique protein found in TME3 and KU50 were 64 and 58 proteins. At the same time, the similarity protein of cassava TME3 and Kasetsart 5 0 were 3 46 proteins. The results show that differential protein patterns of cassava resistant and susceptible varieties maybe involve to the level of cassava mosaic disease resistance. For this proteomic information the breeders could apply them as genetic markers for select the resistance variety in the future. Keywords: Proteomic, Resistance and commercial variety and Cassava mosaic disease คานา มันสาปะหลัง (Manihot esculenta Crantz) เป็นพืชที่ มีความส าคัญ ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย เนื่องจากเป็นประเทศที่ มีพื้ นที่ ปลูกมั นสาปะหลังเป็นอันดับ ที่ 3 ของโลกรองจากประเทศ ไนจีเรียและ บราซิล นอกจากนั้นประเทศไทยยังเป็นผูส้ ่งออกผลิตภัณฑ์มันสาปะหลังเป็นอันดับหนึ่งของโลกมายาวนาน มัน สาปะหลังติดหนึ่งในสิ บของสินค้าเกษตรส่งออกของไทยคิดเป็นมูลค่าราวแสนล้านบาทต่อปี และผูกพันกับ เกษตรกรรวม 5 แสน ครัวเรือ นที่ มี อ าชีพ เพาะปลูก มั นส าปะหลัง ซึ่งสามารถผลิต หัวมั นส าปะหลัง สดได้ ประมาณ 30 ล้านตันต่อปีบนพื้นที่ เพาะปลูก 8.9 ล้านไร่ เมื่อเดือนกุม ภาพันธ์ 2560 ที่ผ่านมา กรมวิชาการ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้แจ้งเตือนให้มีการเฝ้าระวังโรคใบด่างมันสาปะหลัง (Cassava mosaic disease, CMD) ที่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMD) โดย Wang et al. 254
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
(2015) และ Monica et al. (2016) ได้มีการสารวจไวรัสดังกล่าวที่จังหวั ดรัตนะคีรี ประเทศกัมพูชา ครั้งแรก ที่มีการรายงานว่าพบไวรัส SLCMD ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จังหวัดรัตนะคีรี เป็นจังหวัดที่มีระยะห่าง จากประเทศไทยประมาณ 500 กิโลเมตร นอกจากนี้ Vietnam academy of agricultural sciences plant protection research institute ได้ท าการสารวจแปลงปลูกมันสาปะหลังในช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2560 พบการระบาดของ CMD ที่จังหวัดเทนิน (Tay Ninh) ประเทศเวียดนาม โดยทาความเสียหายมากกว่า 1,200 เฮคตาร์ จากข้อมูลดังกล่าวพบว่าการระบาดของ CMD เริ่มขยายวงกว้างในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ฉะนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่า CMD อาจมีการเข้ามาระบาดในประเทศไทยในอนาคต พบว่าโรคใบด่าง มันส าปะหลังก่ อให้เกิดความเสียหายกับ ผลผลิตมากกว่า 80% วิธีก ารในควบคุม และป้องกั นโรคใบด่างมั น สาปะหลังมีหลายวิธี เช่น กาจัดแมลงพาหะ, ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปลอดโรค, กาจัดวัชพืช และการใช้พันธุ์ต้ านทาน เป็นต้น การใช้พันธุ์ต้านทานต่อโรคใบด่างมันสาปะหลังเป็นวิธีการที่ดีที่สดุ ในการควบคุมและป้องกันการเกิดโรค ปัจจุบันไม่มีรายงาน การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานต่อโรคใบด่างมันสาปะหลังในประเทศไทย ปัจจัยที่สาคัญในการ ปรับ ปรุง พัน ธุ์พื ชคือ ระยะเวลาที่ ใช้ค่ อ นข้ างยาว เพื่อ จัดการปั ญ หาดั งกล่าวจึง มี ก ารน าเครื่องหมายทาง พันธุกรรม (genetic markers) มาเป็นเครื่องมือในการคัดเลือกต้นที่มียีนต้านทาน เครื่องหมายทางพันธุกรรม สามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) เครื่องหมายทางลักษณะสัณฐานวิทยา (morphological markers) 2) เครื่องหมายทางชีวเคมี (biochemical markers) และ 3) เครื่องหมายดีเอ็นเอ (DNA markers) ในปัจจุบันมี การใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ (DNA markers) อย่างแพร่หลายในการคัดเลือกพันธุ์ต้านทาน ในขณะเดียวการ การใช้เครื่องหมายทางชีวเคมี (biochemical markers) ที่ ใช้เทคนิคโปรติโอมิ ก ส์ (Booranasrisak et al., 2013) ในการศึกษาผลผลิตในขั้นสุดท้ายของยีน เพื่อการหาโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับความต้านทานโรคจึงเป็น วิธีการหนึ่งที่สามารถช่วยนักปรับปรุงพันธุ์ในการคัดเลือกพันธุ์ต้านทานอีกทางหนึ่ง
อุปกรณ์และวิธีการ 1. พันธุ์มันสาปะหลังที่ใช้ทดลอง 1.1 TME3 (Allie, 2013) 1.2 เกษตรศาสตร์ 50 2. วัสดุและอุปกรณ์ 2.1 เครื่อง Liquid Chromatography Mass spectrometer, LC-MS 2.2 เครื่อง Microplate reader 2.3 เครื่อง speed vaccum 2.4 เครื่อง PCR
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
255
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
3. สารเคมี 3.1 สารเคมีที่ใช้ในการสกัดโปรตีนโดยใช้ 1% SDS (sodium dodecyl sulfate) 3.2 สารเคมีที่ใช้ในการทา SDS-PAGE (sodium dodecyl sulfate–polyacrylamide gel electrophoresis) 3.3 สารเคมีที่ใช้ในการวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีนด้วยวิธี Bradford (Bradford M., 1976) 3.4 สารเคมีที่ใช้ในการย่อยโปรตีนเป็นสายเปปไทด์โดยใช้วิธี In-solution digestion 3.5 สารเคมีที่ใช้ในการทา Real time polymerase chain reaction (qPCR) 4. การวิเคราะห์ข้อมูลโปรตีนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4.1 โปรแกรมวิเคราะห์โปรตีน Decyder MS 4.2 โปรแกรมออนไลน์ jvenn (http://jvenn.toulouse.inra.fr)
วิธีการ 1. ตัวอย่างมันสาปะหลังที่ใช้ในการศึกษา ปลูกมันสาปะหลังจานวน 4 สายพันธุ์ ประกอบด้วยสายพันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคใบด่าง (resistance varieties) คื อ TME3 และสายพั น ธุ์ อ่ อ นแอ (susceptible varieties) คื อ เกษตรศาสตร์ 50ได้ รั บ ความ อนุเคราะห์ ท่ อ นพั นธุ์จ ากมู ล นิธิส ถาบันพั ฒ นามั นส าปะหลังแห่งประเทศไทยนาท่ อนพันธุ์ทั้ ง หมดปลูกใน ตู้ควบคุมอุณหภูมิที่ 28-30 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 1 เดือน เก็บตัวอย่างใบในไนโตรเจนเหลวก่อนที่จะนาไป ใส่ที่ -80 องศาเซลเซียสเพื่อใช้ในการศึกษาการแสดงออกของโปรตีน 2. การสกัดโปรตีน ชั่งตัวอย่าง 0.2-0.3 กรัม นาตัวอย่างบดด้วยโกร่งเย็น เติม 1% SDS ปริมาณ 1 มิลลิลิตร นาตัวอย่างที่ บดละเอียดปิเปตลงใน Micro tube ปริมาณ 1 มิลลิลิตร จากนั้นนาไปเขย่าที่อุณหภูมิห้องนาน 1 ชั่วโมง ปั่น เหวี่ยงที่ 12000 rpm ที่อุ ณหภูมิห้องนาน 10 นาที แยกส่วนใส (Supernatant) นาไปวิเคราะห์ห าปริมาณ โปรตี นด้ วยวิธี Bradford (Bradford M., 1976) โดยใช้ส ารละลาย bovine serum albumin (BSA) เป็ น สารละลายโปรตีนมาตรฐานโดยปิเปตสารละลาย BSA ปริมาณ 0, 2, 4, 6, 8 และ 10 ไมโครลิตร ปิเปตน้า กลั่นปริมาณ 10, 8, 6, 4, 2 และ 0 ไมโครลิตร ช่องเดียวกับที่ใส่ BSA ตามลาดับ ใน Eliza plate และ ปิเปต ตัวอย่างโปรตีน 10 ลงใน Eliza plate ทาทั้งหมด 3 ซ้า เติม Bradford reagent ปริมาณ 200 ไมโครลิตร ใน แต่ละช่องที่ ใส่ BSA และตัวอย่างโปรตีนไว้แล้ว นาไปวัดความเข้มข้นโดยใช้เครื่อง Microplate reader ที่ ความยาวคลื่น 595 นาโนเมตร ค่าที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยและทากราฟ Protein Standard หลังจากนั้นนาตัวอย่าง โปรตีนที่ทราบความเข้มข้น 0.2 มิลลิกรัมไปทา SDS – PAGE
256
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
3. การย่อยโปรตีน ปรับความเข้มข้นของโปรตีนที่มีความเข้มข้นเท่ากันในทุกตัวอย่าง ย่อยโปรตีนเป็นสายเปปไทด์ โดยใช้ วิธี In-solution digestion ตัวอย่างโปรตีนจะย่อยด้วยเอนไซม์ เปปซินในอัตราส่วน 1:50 แล้วบ่ม ไว้ที่ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นนาไปใส่เครื่อง vacuum centrifuge เพื่อทาการระเหยของเหลว ละลายตะกอนด้วย 0.1 เปอร์เซ็นต์ formic acid ปริมาตร 15 ไมโครลิตร นาไปปั่นที่ 10,000 รอบต่อนาที เป็นเวลา 10 นาที สารละลายที่ได้จากการปั่นเหวี่ยงปริมาตร 10 ไมโครลิตร จะถูกนาไปวิเคราะห์ LC-MS/MS 4. การวิเคราะห์ชนิดของโปรตีนด้วยเทคนิค LC-MS/MS และการจาแนกชนิดของโปรตีนของโปรตีน การจาแนกชนิดของโปรตีนและดูการแสดงออกของโปรตีนด้วยเทคนิค LC-MS/MS แบบ ESI-QUADTOF (Newton et al., 2004) เทคนิคนี้จะประมวลผลในรูปแบบระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม โดยแสดงค่าแมส ต่อสเปกตรัมในรูปแบบของกราฟ ที่มีแกนตั้งเป็นค่า relative intensity และแกนในแนวนอนเป็นค่ามวลต่อ ประจุ (m/z) ผลของแมสสเปกตรัมที่มีข้อมูลเชิงปริมาณจาก LC-MS/MS นาไปวิเคราะห์โปรตีนโดยโปรแกรม Decyder MS จากนั้นนาข้อมูล MS/MS แต่ละตัวอย่างที่ได้จากการวิเคราะห์โปรตีนด้วยโปรแกรม Decyder MS นาไปเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลโปรตีนของ Genbank โดยใช้ฐานข้อมูล Mascot search ซึ่งในการสืบค้น ข้อมูล ตั้งค่าดังนี้ Manihot esculenta Crantz, Trypsin (ยินยอมให้เอนไซม์มี การย่อยผิดตาแหน่งเพียง 1 ต าแหน่ ง ) carbamidomethyl (C) (fixed modification) และ oxidation (M)(variable modification) นาไปวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของโปรตีนทั้งสองสายพันธุ์โดยใช้ โปรแกรมออนไลน์ jvenn และหา ห น้ า ที่ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง ชี ว วิ ท ย า ด้ ว ย วิ ธี Gene Ontolgy จ า ก ฐ า น ข้ อ มู ล UniProt (http://www.uniprot.org) และ Gramene (http://www.gramene.org)
ผลการทดลอง 1. การสกัดโปรตีนจากมันสาปะหลังแต่ละสายพันธุ์ หลังจากปลูกมันสาประหลังสายพันธุ์ TME 3 และเกษตรศาสตร์ 50 (KU50) ภายในโรงเรือนภายใต้ อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส / 25 องศาเซลเซียสต่อกลางวัน/กลางคืน และระยะเวลา 16 ชั่วโมง / 8 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 เดือน เก็บตัวอย่างใบชั่งตัวอย่าง 0.2-0.3 กรัม นาตัวอย่างบดด้วยโกร่งเย็น เติม 1% SDS ปริมาณ 1 มิ ล ลิลิ ตร น าตัวอย่างที่ บ ดละเอี ย ดปิ เปตลงใน Micro tube ปริม าณ 1 มิ ล ลิลิ ตร จากนั้ นน าไปเขย่ าที่ อุ ณ หภู มิ ห้ อ งนาน 1 ชั่ ว โมง ปั่ น เหวี่ ย งที่ 12,000 rpm ที่ อุ ณ หภู มิ ห้ อ งนาน 10 นาที แยกส่ ว นใส (Supernatant) นาไปวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีนด้วยวิธี Bradford (Bradford M., 1976) โดยใช้สารละลาย bovine serum albumin (BSA) เป็นสารละลายโปรตีนมาตรฐานโดยปิเปตสารละลาย BSA ปริมาณ 0, 2, 4, 6, 8 และ 10 ไมโครลิตร ปิเปตน้ากลั่นปริม าณ 10, 8, 6, 4, 2 และ 0 ไมโครลิตร ช่องเดียวกั บ ที่ ใส่ BSA ตามลาดับ ใน Eliza plate และ ปิเปตตัวอย่างโปรตีน 10 ลงใน Eliza plate ทาทั้งหมด 3 ซ้า เติม Bradford reagent ปริมาณ 200 ไมโครลิตร ในแต่ละช่องที่ใส่ BSA และตัวอย่างโปรตีนไว้แล้ว นาไปวัดความเข้มข้นโดย 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
257
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
ใช้เครื่อง Microplate reader ที่ความยาวคลื่น 595 นาโนเมตร ค่าที่ได้มาหาค่าเฉลี่ยและทากราฟ Protein Standard หลังจากนั้นนาตัวอย่างโปรตีนที่ทราบความเข้มข้น 0.2 มิลลิกรัม ตรวจสอบโปรตีนด้วยวิธี SDSPAGE
รูปที่ 1 การตรวจแยกโปรตีนจากเนื้อเยื่อใบของมันสาปะหลังสายพันธุ์ต้านทาน TME3 และสายพันธุ์การค้า เกษตรศาสตร์ 50 (KU50) ด้วย 12% SDS-PAGE ช่อง M : ช่อง 1 : มันสาปะหลังสายพันธุ์ต้านทาน TME3 ช่อง 2 : มันสาปะหลังสายพันธุ์การค้าเกษตรศาสตร์50 (KU50) 2. การวิเคราะห์ชนิดของโปรตีนด้วยเทคนิค LC-MS/MS และการจาแนกชนิดของโปรตีนของโปรตีน เมื่อทาการตรวจสอบโปรตีนด้วย SDS-PAGE ปรับความเข้มข้นของโปรตีนให้มีความเข้มข้นเท่ากันในทุก ตัวอย่าง แล้วท าการย่ อยโปรตีนเป็นสายเปปไทด์โดยใช้วิธี In solution digestion ย่อยด้วยเอนไซม์เปปซิน ถูกนาไปวิเคราะห์ LC-MS/MS จากผลการวิเคราะห์ LC-MS/MS สามารถจาแนกชนิดของโปรตีนที่มีในมันสาปะหลัง TME3 จานวน 428 ชนิด และสายพั น ธุ์เ กษตรศาสตร์ 50 (KU50) จ านวน 422 ชนิด นาไปวิเคราะห์ เปรียบเที ยบความ แตกต่างของโปรตีนทั้งสองสายพันธุ์โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ jvenn (http://jvenn.toulouse.inra.fr) การ วิเคราะห์ดังรูปที่ 2
258
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
รูปที่ 2 การเปรียบเทียบความแตกต่างของโปรตีนระหว่างสายพันธุ์ต้านทาน TME3 และสายพันธุ์การค้า เกษตรศาสตร์50 (KU50) โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ jvenn (http://jvenn.toulouse.inra.fr) ผลการวิเคราะห์จาก jvenn พบว่า มันส าปะหลังสายพั นธุ์ TME3 และเกษตรศาสตร์50 (KU50) มี โปรตีนที่เหมือนกันทั้งหมด 364 ชนิด ซึ่งพบโปรตีนที่มีเฉพาะในสายพันธุ์ TME3 จานวน 64 ชนิด ดังตารางที่ 1 และพบโปรตีนที่มีเฉพาะในสายพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 (KU50) จานวน 58 ชนิด ดังตารางที่ 2
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
259
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
ตารางที่ 1 โปรตีนที่จาแนกได้จากตัวอย่างใบมันสาปะหลังที่พบเฉพาะในสายพันธุ์ TME3 จานวน 64 ชนิด เมื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค LC-MS/MS และวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างโดยใช้โปรแกรม ออนไลน์ jvenn Protein best hit gi|1216300367 gi|3914608 gi|1216298719 gi|1216286558 gi|1216283205 gi|1216245797 gi|1216270532 gi|1216318718 gi|1216316883 gi|1216282779 gi|1216311630 gi|1216287118 gi|1216249781 gi|1216288503 gi|1216286584 gi|1216233893 gi|1216311705 gi|1216313085 gi|1216314997 gi|190358184 gi|190360069 gi|1216234396 gi|1216312545 gi|1216305365 gi|1216305187 gi|1216272982 gi|1216299578 gi|1216236034 gi|1216243648 gi|1216278581 gi|1216244614 gi|1216308316 gi|1216308263 gi|1216233252 gi|1216293716 gi|1216247700 gi|1216280330 gi|1216256489 gi|1216249445 gi|1035915493 gi|1216230841 gi|1216285382 gi|1216251309 gi|1216272446 gi|1216290119 gi|1216301702 gi|1216244003 gi|1216263668 gi|1216298655 gi|1216277828 gi|1216297594 gi|1216286994 gi|1216300338 gi|1216308279 gi|1216315838 gi|1216309422 gi|1216275319 gi|1216252337 gi|1035893845 gi|190358679 gi|190358679 gi|1216229274 gi|1216267565 gi|1216292763
260
ID detail best hit elongation factor Tu, chloroplastic [Manihot esculenta] RecName: Full=Ribulose bisphosphate carboxylase small chain, chloroplastic LOW QUALITY PROTEIN: enolase-like [Manihot esculenta] phosphoinositide phosphatase SAC2-like isoform X2 [Manihot esculenta] 60S acidic ribosomal protein P0 [Manihot esculenta] U-box domain-containing protein 15-like [Manihot esculenta] AUGMIN subunit 7 [Manihot esculenta] glyceraldehyde-3-phosphate dehydrogenase B, chloroplastic-like [Manihot esculenta] CBL-interacting serine/threonine-protein kinase 8 [Manihot esculenta] sorting and assembly machinery component 50 homolog [Manihot esculenta] 40S ribosomal protein S3-3-like [Manihot esculenta] B-cell receptor-associated protein 31-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110612204 isoform X3 [Manihot esculenta] histone H2B-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110626454 isoform X2 [Manihot esculenta] homeobox-leucine zipper protein HAT4-like [Manihot esculenta] photosystem I reaction center subunit III, chloroplastic [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110604894 [Manihot esculenta] chlorophyll a-b binding protein of LHCII type 1 [Manihot esculenta] RecName: Full=ATP synthase subunit alpha, chloroplastic RecName: Full=Photosystem II protein D1 O-glucosyltransferase rumi homolog isoform X2 [Manihot esculenta] glyceraldehyde-3-phosphate dehydrogenase, cytosolic [Manihot esculenta] ruBisCO large subunit-binding protein subunit beta, chloroplastic [Manihot esculenta] transcription factor TCP4-like [Manihot esculenta] transcription elongation factor SPT6 homolog isoform X2 [Manihot esculenta] histone H4 [Manihot esculenta] probable inactive receptor kinase At4g23740 [Manihot esculenta] oxygen-evolving enhancer protein 2, chloroplastic-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110623198 [Manihot esculenta] coatomer subunit beta-1 [Manihot esculenta] oxygen-evolving enhancer protein 3-2, chloroplastic-like [Manihot esculenta] ATP synthase subunit b', chloroplastic [Manihot esculenta] probable plastid-lipid-associated protein 11 isoform X3 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110629220 [Manihot esculenta] putative ion channel POLLUX-like 2 isoform X5 [Manihot esculenta] protein NETWORKED 4A-like [Manihot esculenta] protein LHY-like isoform X2 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110612081 [Manihot esculenta] hypothetical protein MANES_07G029800 [Manihot esculenta] transcription factor GAMYB-like isoform X1 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110626011 isoform X2 [Manihot esculenta] syntaxin-22-like [Manihot esculenta] signal recognition particle 43 kDa protein, chloroplastic [Manihot esculenta] CDT1-like protein a, chloroplastic [Manihot esculenta] developmental protein SEPALLATA 1-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110610022 [Manihot esculenta] tripeptidyl-peptidase 2 isoform X4 [Manihot esculenta] protein BREAKING OF ASYMMETRY IN THE STOMATAL LINEAGE-like [Manihot esculenta] pyruvate kinase 1, cytosolic-like [Manihot esculenta] probable LRR receptor-like serine/threonine-protein kinase At4g30520 [Manihot esculenta] membrane-associated 30 kDa protein, chloroplastic-like isoform X2 [Manihot esculenta] tubulin beta chain [Manihot esculenta] probable sucrose-phosphate synthase 1 isoform X2 [Manihot esculenta] leukotriene A-4 hydrolase homolog isoform X2 [Manihot esculenta] transcription factor MYC2-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110622059 isoform X2 [Manihot esculenta] ABC transporter G family member 28-like isoform X1 [Manihot esculenta] hypothetical protein MANES_18G079900 [Manihot esculenta] RecName: Full=ATP synthase subunit beta, chloroplastic RecName: Full=ATP synthase subunit beta, chloroplastic uncharacterized protein LOC110607977 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110619064 [Manihot esculenta] pentatricopeptide repeat-containing protein At2g22070 isoform X2 [Manihot esculenta]
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
Peptide ILDDAMAGDNVGLLLR IIGFDNVR VNQIGSVTESIEAVK GLSEDKRLR SIRVHADKTGNK SGNINVSEKKPGKAR MAAKQMEEIQR AAALNIVPTSTGAAK SKITKSKSR LENLFRR ELAEDGYSGVEVR ALEKEVTTLQAK NGPMGLLERPSISRQNDHFMDDLEMDQHASFNK AMGIMNSFINDIFEK IIREWVQMNNRQR GISDEEDGDNSRKK EFVNGELVVKDV ASPEVVTGMLTIFGK AVSSGSPWYGPDR IVNTGTVLQVGDGIAR FGQEEETYNIVAAHGYFGR KGSPSLR AASFNIIPSSTGAAK VVAAGANPVLITR GESHRQAAKSSRLGTR SLKDAESER TLYGFGG SSNIFLNSR SITDYGSPEEFLAK EAGDRGKAMEER FLCRLNETEIVEPLIPSVLQNLEHR FYLQPLDPAQAAVR QLEEQAAAVMR TLNNVITFPPDR LPALRGIAVVRGNPR KASNSAGQDKLK VNTLTAELSSR HANGKENQDNSRSEVFTVVQEAHCPSVPSANK LVMDTLSLFREVR IIMASLMMK ISGSSSDEPGENILR SNLEEKLMKR RQEVFLLDNEIAFNEAVIDER ILNEEIFEYAEVQEILEK EELIHKIIASHSDIVDRREVEEQLK RLEEGSGQVPLR ESGVNLK GVDTTDK MCTPWPTTR AGMSVAR QDEGLPSLGNLR AQSAKTQTKVNEMLGNVNTSNALSAFEKMEEK EVDEQMINVQNK SWIRAAAMR AALNIGIGWR AKVDESESKLR NGNSRDFNLTR GDLAQRMCTAAEVK LSLVMGLLQEHHR FVQAGSEVSALLGR FVQAGSEVSALLGR KGKAIVGATGPPTKR RLERHEKR AGSINGAR
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
ตารางที่ 2 โปรตีนทีจ่ าแนกได้จากตัวอย่างใบมันสาปะหลังที่พบเฉพาะในสายพันธุ์เกษตรศาสตร์50 (KU50) จานวน 58 ชนิด เมื่อวิเคราะห์ด้วยเทคนิค LC-MS/MS และวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่าง โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ jvenn Protein best hit gi|1216305619 gi|1216281983 gi|1216266558 gi|1216297108 gi|1216245427 gi|1216296045 gi|1216278414 gi|1216233089 gi|1216274100 gi|1216267018 gi|1216286866 gi|1035899079 gi|1216250026 gi|1216287335 gi|1216273776 gi|1216249481 gi|1216291280 gi|1216258999 gi|1216283982 gi|1216305611 gi|1216310783 gi|1035922570 gi|1216300397 gi|1216297496 gi|1216297978 gi|1035910877 gi|1216302529 gi|1216317888 gi|1035894566 gi|1216256479 gi|1216254438 gi|1216261795 gi|1216302052 gi|1216295642 gi|1216281520 gi|1216310373 gi|1216252999 gi|1216298895 gi|1216271888 gi|1216268981 gi|1216264598 gi|1216267485 gi|1216304899 gi|1216262170 gi|1216318231 gi|1216228269 gi|157695885 gi|1216254800 gi|1216276279 gi|1216227845 gi|1216272270 gi|1216293161 gi|1216286886 gi|1216260773 gi|1216304974 gi|1216293868 gi|1216272778 gi|1216304098
ID detail best hit DUF21 domain-containing protein At4g14240-like [Manihot esculenta] heat shock cognate 70 kDa protein 2-like [Manihot esculenta] chlorophyll a-b binding protein CP29.3, chloroplastic [Manihot esculenta] DEAD-box ATP-dependent RNA helicase 10-like isoform X2 [Manihot esculenta] LOW QUALITY PROTEIN: protein tesmin/TSO1-like CXC 7 [Manihot esculenta] mitochondrial import receptor subunit TOM20-like isoform X2 [Manihot esculenta] protein WVD2-like 1 [Manihot esculenta] probable fructokinase-7 isoform X2 [Manihot esculenta] BTB/POZ domain-containing protein At5g41330-like [Manihot esculenta] putative disease resistance RPP13-like protein 1 [Manihot esculenta] protein PAF1 homolog [Manihot esculenta] hypothetical protein MANES_15G086500 [Manihot esculenta] phosphoenolpyruvate carboxylase-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110626718 [Manihot esculenta] secoisolariciresinol dehydrogenase-like [Manihot esculenta] CASP-like protein 2A1 [Manihot esculenta] trihelix transcription factor GTL1-like [Manihot esculenta] polygalacturonate 4-alpha-galacturonosyltransferase-like isoform X2 [Manihot esculenta] nifU-like protein 2, chloroplastic [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110601886 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110603940 [Manihot esculenta] hypothetical protein MANES_04G062300 [Manihot esculenta] hydroxyproline O-galactosyltransferase HPGT1 isoform X1 [Manihot esculenta] protein BOBBER 1-like [Manihot esculenta] DDT domain-containing protein PTM isoform X3 [Manihot esculenta] hypothetical protein MANES_09G025100 [Manihot esculenta] protein SHOOT GRAVITROPISM 5-like [Manihot esculenta] probable protein phosphatase 2C 10 isoform X2 [Manihot esculenta] hypothetical protein MANES_18G140200 [Manihot esculenta] protein MIZU-KUSSEI 1-like [Manihot esculenta] EPIDERMAL PATTERNING FACTOR-like protein 5 [Manihot esculenta] GDSL esterase/lipase At5g62930 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110600515 [Manihot esculenta] small ribosomal subunit biogenesis GTPase RsgA 1, mitochondrial-like [Manihot esculenta] endoplasmic reticulum metallopeptidase 1-like [Manihot esculenta] NADP-dependent glyceraldehyde-3-phosphate dehydrogenase [Manihot esculenta] double-stranded RNA-binding protein 2-like [Manihot esculenta] L-type lectin-domain containing receptor kinase S.1 [Manihot esculenta] putative receptor-like protein kinase At3g47110 [Manihot esculenta] protein TONNEAU 1a-like [Manihot esculenta] ERAD-associated E3 ubiquitin-protein ligase component HRD3A-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110619015 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110601676 [Manihot esculenta] heterogeneous nuclear ribonucleoprotein F-like isoform X3 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110606918 [Manihot esculenta] DNA polymerase I A, chloroplastic/mitochondrial-like [Manihot esculenta] photosystem I P700 apoprotein A1 (chloroplast) [Manihot esculenta] germin-like protein 9-3 [Manihot esculenta] DEAD-box ATP-dependent RNA helicase 3, chloroplastic isoform X2 [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110607302 [Manihot esculenta] 2-Cys peroxiredoxin BAS1, chloroplastic [Manihot esculenta] chlorophyll a-b binding protein 8, chloroplastic [Manihot esculenta] putative phospholipid:diacylglycerol acyltransferase 2 [Manihot esculenta] histone H1-like [Manihot esculenta] tubulin alpha-3 chain-like [Manihot esculenta] protein FAR1-RELATED SEQUENCE 5-like [Manihot esculenta] uncharacterized protein LOC110621039 isoform X4 [Manihot esculenta] putative vesicle-associated membrane protein 726 [Manihot esculenta]
Peptide SENDSSTPR NQVAMNPINTVFDAK STPFQPYTEVFGLQR AIPINGHMTQSKR IGNQQEQAEMENTYSGNEXEHYK SSDFKYDIFGWIILAVGIVAWVGMAK EDLNTAIIAKNK ISGEEMEFLIEGDNSFDDMMVLEK ARNLPPKAK DLIELHAGIGNLINLMHLDLSGTYHLLEMPR ATPLLSGER LEKLQIMDFSDNKLSGTIPEK DVCLLARMMAANLYYSQIEGLMFELSMWR GDIVIGEVCSFMRNDASLK MSSIDSTTSITR AWTFFFLDQLFTYIILAAAAVALELLYLAR GPLWEEVSAAMKKLGYNR GGGCGSR LQGACGSCPSSVVTMKMGIERRLMEK IRSKPGGKLEMGEAGVVER HNTILERQKLLGEETGR AVAGRRGHLAVVDMKNMSLIK VVVFDVGGR DEPMEVEK DCIVVSDGKQDDIGSASK APSNPRTR EKSGGDPTLEVAK GSIEHRGGFVSNMPGDVPR MKSSSVDNVICKNIPFSTASLIFLSR SKSSSGGLLKMFK QDIQGMGEVEGLNEKANSK KADVLVRGYGGYNTR MEESKPSSTPPSSSPSSLKQKLKLR MLSANGPAK QLSSVNQADWAKLEAERWLFK EGNLIWPLLLDNVRPDMR DHACVLEEGSQGVQKEDPLYIR LVEAADERMQGEYGVEEMEMVLK IGVSCSSSSPGDR MDDYTREMMDLKTLVTR IGDAYYYGLGVERDYERAAEAYMEAK FPDGYMSNMALCVDMNKYR ISKLLKDVTLR AAMTKDRMTLGSR SIKAGER ESAQKNGSMVVKGSAPVDNINDEAVDK YSDFLTFR AGLAPKP DLIARAKTGTGK SGGGNGGDDDDSR SYDVLIPDQGIALR AGLIPAETALPWFK ESIKGGR ATAAPAK AVFVDLEPTVIDEVR ATILVKMEKSGKWVVTR MSDPTSITTTAKPR SQAQDFRQQGTK
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
261
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
วิจารณ์ผลการทดลอง การวิเคราะห์ชนิดของโปรตีนในมันสาปะหลังทั้งสองสายพันธุ์ โดยใช้เทคนิค LC-MS/MS และนาข้อมูล MS/MS แต่ละตัวอย่างเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลโปรตีนของ Genbank เพื่อระบุชนิดของโปรตีน พบโปรตีนที่ มีในมั นส าปะหลัง พันธุ์ต้านทาน TME3 จ านวน 428 ชนิด และสายพันธุ์อ่อนแอเกษตรศาสตร์50 (KU50) จานวน 422 ชนิด เมื่อนามาวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของโปรตีนทั้งสองสายพันธุ์ โดยใช้โปรแกรม ออนไลน์ jvenn พบโปรตีนที่มีเหมือนกันทั้งสองสายพันธุ์ 364 ชนิด ในขณะเดียวกันก็พบโปรตีนที่มีเฉพาะใน สายพันธุ์ต้านทาน TME3 จานวน 64 ชนิด และโปรตีนที่มีเฉพาะในสายพันธุ์อ่อนแอเกษตรศาสตร์50 (KU50) จานวน 58 ชนิด จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า รูปแบบโปรตีนของพันธุ์มันสาปะหลังที่ต้านทานและอ่อนแอ ต่อโรคใบด่างมั นสาปะหลังที่ มีแตกต่างกั นอาจจะมี ผลต่อความต้านทานต่อโรคใบด่างมันสาปะหลัง ข้อมู ล พื้น ฐานของรูป แบบโปรตีน ที่ ได้จ ากการศึ ก ษาครั้ง นี้ นัก ปรั บ ปรุง พั นธุ์ส ามารถน าไปใช้เป็ นเครื่อ งหมาย พันธุกรรมในการคัดเลือกพันธุ์ต้านทานในอนาคตได้ การใช้เทคนิคโปรตีโอมิกส์เพื่อศึกษารูปแบบของโปรตีนที่แตกต่างกันพืชที่แสดงออกในลักษณะต้านทาน และอ่อนแอต่อโรค เหมาะกับพืชที่มีฐานข้อมูลโปรตีนมากเพียงพอ เช่น ข้าว ข้าวโพด และถั่วเหลืองเป็นต้น สาหรับในกรณีของมันสาปะหลังนั้น ปัจจุบันยังไม่มีการศึกษารูปแบบของโปรตีนในพืชชนิดนี้ และฐานข้อมู ลที่ มียังไม่มากพอที่จะใช้ในการหาข้อมูลหน้าที่การทางานของโปรตีนชนิดนั้น ๆ จาเป็นต้องใช้ฐานข้อมูลของพืช ชนิดอื่นที่มีความใกล้ชิดกับมันสาปะหลังในการศึกษาหน้าที่การทางานของโปรตีนต่าง ๆ
สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองการศึกษารูปแบบโปรตีนที่แสดงออกในพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่างมัน สาปะหลัง เพื่อทราบโปรตีนที่มีความจาเพาะในมันสาปะหลังสายพันธุ์ต้านทาน ด้วยเทคนิคโปรตีโอมิกส์ โดย เปรียบเทียบรูปแบบของโปรตีนในมันสาปะหลังพันธุ์ TME3 ซึ่งเป็นพันธุ์ต้านทานและมันสาปะหลังพันธุ์การค้า เกษตรศาสตร์ 50 พบว่าโปรตีนที่พบเฉพาะมันสาปะหลังพันธุ์ TME3 มีจานวน 64 ชนิด และ มีโปรตีน 58 ชนิดพบเฉพาะมันสาปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50
คาขอบคุณ ห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยา ห้อง 108 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน และห้อ งปฏิบั ติติก ารโปรตีโอมิ กส์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ที่ ให้ความ อนุเคราะห์ในการใช้ห้อ งปฏิบัติการ และทุน TGIST ประจ าปี 2561 จากสถาบันบัณฑิตวิท ยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไทย
262
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-02
อ้างอิง Allie, F., , E. J. P., & , M. J. O. a. C. R. (2014). Transcriptional analysis of South African cassava mosaic virus-infected susceptible and tolerant landraces of cassava highlights differences in resistance, basal defense and cell wall associated genes during infection. Bradford, M.M. (1976) A Rapid and Sensitive Method for the Quantitation of Microgram Quantities of Protein Utilizing the Principle of Protein-Dye Binding. Analytical Biochemistry, 72:248-254. Booranasrisak T, Phaonakrop N, Jaresitthikunchai J, Virunanon C, Roytrakul S and Chulalaksananukul W (2013) Proteomic evaluation of free fatty acid biosynthesis in Jatropha curcas L. (physic nut) kernel development. Afr J Biotechnol 12: 3132–3142. Newton RP, Brenton AG, Smith CJ and Dudley E (2004) Review: Plant proteome analysis by mass spectrometry: principles, problems, pitfalls and recent developments. Phytochemistry 65: 1449–1485. Wang, H., Cui, X., Wang, X., Liu, S., Zhang, Z., & Zhou, X. J. P. D. (2016). First report of Sri Lankan cassava mosaic virus infecting cassava in Cambodia. 100(5), 1029-1029.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
263
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
เชื้อ Phytophthora palmivora จากแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญในประเทศไทย มีความต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราในอัตราสูง High Rates of Fungicide Resistance Found in Phytophthora palmivora Isolated from Major Durian Cultivation Areas in Thailand อุมาพร ศิริวัฒนกุล1,2 สุภาวดี เพชรขจร3 และ วิษุวัต สงนวล2,3 Umaporn Siriwattanakul1,2 Supawadee Phetkhajone3 and Wisuwat Songnuan2,3 1
ภาควิชาเทคโนโลยีชวี ภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 10400 Department of Biotechnology, Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok 10400 2 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 10900 2 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology: (AG-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900, Thailand 3 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 10400 3 Department of Plant Science, Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok 10400 1
บทคัดย่อ โรครากเน่ าโคนเน่ ามี ส าเหตุ จ ากเชื้ อ Phytophthora palmivora ก่ อ ให้ เ กิ ดความเสีย หายแก่ พื ช เศรษฐกิจหลายชนิด เช่น ทุเรียน ยางพารา และปาล์มน้ามัน สามารถทาให้ต้นพืชตายได้อย่างรวดเร็ว การใช้ สารเคมีเป็นการควบคุมโรคที่นิยมมากที่สุด อย่างไรก็ตามการใช้สารเคมีปริมาณมากและเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้เชื้อต้านทานต่อสารเคมีได้ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราของ เชื้อ P. palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียน สารวจและแยกเชื้อ P. palmivora ก่อโรคจากแหล่ง ปลูกทุเรียนในจังหวัดนนทบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และชุมพร นามาทดสอบระดับความต้านทานต่อสารกาจัด เชื้อราเมทาแลกซิล ฟอสฟอนิกแอซิด ฟอสอีทิลอะลูมินัม และเทอร์ราคลอ พบว่าความเข้มข้นแนะนา (800 – 1,000 ppm) เชื้อราร้อยละ 57.6 ต้านทานต่อเมทาแลกซิล และเมื่อเพิ่มความเข้นข้นของเมทาแลกซิลให้สูงขึ้น ถึง 6,400 ppm ก็ไม่สามารถควบคุมเชื้อที่มีความต้านทานต่อเมทาแลกซิลได้ นอกจากนี้เชื้อราร้อยละ 42.4 ต้านทานต่อฟอสฟอนิกแอซิด เชื้อราร้อยละ 6.25 ต้านทานต่อฟอสอีทิลอะลูมินัม และไม่มีเชื้อราที่ต้านทานต่อ เทอร์ราคลอได้ การศึกษานี้สรุปได้ว่าเชื้อ P. palmivora มีอัตราการต้านทานต่อเมทแลกซิลสูง ดังนั้นความ เข้าใจเกี่ยวกับการต้านทานสารกาจัดเชื้อรานาไปสู่การเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของเชื้อต้านทานได้ คาสาคัญ : ทุเรียน โรครากเน่าโคนเน่า เมทาแลกซิล ฟอสฟอนิกแอซิด ฟอสอีทิลอะลูมินัม เทอร์ราคลอ ABSTRACT Rot disease caused by Phytophthora palmivora is an important problem in several economic crops, including durian, rubber tree, and oil palm. The outbreak of Phytophthora 264
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
disease can quickly cause the death of trees. Fungicide application is the most popular method to control Phytophthora infection. However, inappropriate application of fungicide e.g. high concentration, frequency, and prolong application may cause the development of resistant pathogen. Therefore, the purpose of this study was to investigate the rate of resistance to fungicides of P. palmivora causing durian rot diseases in major durian cultivation in Thailand. In this study, the sample of durian disease was surveyed and isolated P. palmivora from durian cultivation areas: Nonthaburi, Rayong, Chanthaburi, Trat and Chumphon. Resistance levels to various fungicides: metalaxyl, phosphonic acid, fosethyl-Al, and terraclor were investigated. The results showed that at recommended concentration of each fungicide (800 - 1,000 ppm), 98.34% of P. palmivora isolates were resistant to metalaxyl. When the concentration of metalaxyl was increases up to 3,200 ppm, it still could not control the growth of resistant isolates, it cannot control the metalaxyl resistant isolates. In addition, 38.75% of P. palmivora isolates showed resistance to phosphoric acid, 6.25% resistance to fosethyl aluminum and no isolate was resistant to terraclor. In conclusion, P palmivora had high rate of resistance to metalxyl. Therefore, understanding of fungicide resistance can lead to better surveillance control of outbreaks of highly resistant isolates. Keywords: durian, rot disease, metalaxyl, phosphonic acid, fosethyl-Al, terraclor คานา Phytophthora เป็นเชื้อราในกลุ่ม Oomycete เป็นเชื้อราที่สาคัญที่ก่อโรคและสร้างความเสียหาย ให้แก่ พืชเศรษฐกิ จ ได้ห ลากหลายชนิ ด (Kamoun, 2003) รายงานว่า Phytophthora ท าให้ เกิ ดโรคในพื ช เศรษฐกิจที่สาคัญในเขตร้อนและกึ่งร้อน เช่น P. infestans สาเหตุโรคใบไหม้มันฝรั่ง P. parasitica สาเหตุโรค รากและผลเน่าในส้ม P. capsica ก่อให้เกิดโรคผลเน่าพริกไทย และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง P. palmivora เป็น เชื้อราที่สามารถก่อโรคได้หลากหลายบนพืชเศรษฐกิจมากกว่า 30 ชนิด เช่น สับปะรด ยางพารา กล้วยไม้ และ รวมไปถึงทุเรียน (Sangchote et al., 2004) Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ซึ่งเป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่สาคัญของ ประเทศไทย เชื้อราชนิดนี้สามารถอาศัยอยู่ได้ทั้งบนพืชและในดิน สามารถเข้าทาลายต้นทุเรียนได้ทุกระยะการ เจริญเติบโตและทุกส่วนของทุเรียน จึงเป็นสาเหตุให้ยากต่อการป้องกันกาจัด โดยเฉพาะในช่วงที่ฝนตกชุกและ ความชื้นสูงจะพบการระบาดของเชื้อโรครุนแรงมากขึ้น (Chinaphuti, 2011) เชื้อราชนิดนี้ทาให้ต้นทุเรียน เสียหายและผลผลิตทุเรียนลดลงได้มากถึงร้อยละ 80 (เชษฐา, 2541) และยังส่งผลต่อการจัดการหลังการเก็บ เกี่ยว ผลผลิตทุเรียนเสียหายมากถึงร้อยละ 25 (Hyde, 1998)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
265
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
ในการควบคุม และจัดการกั บ ปัญ หาโรครากเน่าโคนเน่า เช่น จัดการพื้นที่ ให้มี ความชื้นต่า การใช้ จุลินทรีย์ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโรค (Drenth and Guest, 2004) แต่ก ารจัดการด้วยวิธีดังกล่าวนั้นมัก ใช้ไม่ ได้ผ ล (Bajwa and Kogan, 2002) การใช้สารเคมีในการป้องกันและกาจัดเชื้อราสาเหตุโรคจึงเป็นวิธีที่เกษตรกรนิยม ใช้มากที่สุดเนื่องจากเป็นวิธีที่ง่าย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สารกาจัดเชื้อราที่นิยมใช้ได้แก่ เมทาแลคซิล (metalaxyl) ฟอสอี ทิ ล อะลู มิ นั่ ม (fosethyl-Al) ฟอสฟอนิ ก แอซิ ด (phosphonic acid) แมนโคเซ็ บ (mancozeb) เบ น โน มิ ล (bennomyl) แ ล ะ คาร์ เบ น ด าซิ ม (carbendazim) เป็ น ต้ น (Ferrin and Kabashima, 1991; Drenth and Guest, 2004). ในปัจจุบันมีการแนะนาให้ใช้สารกาจัดเชื้อราในรูปแบบต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมายทาให้เกิดการใช้ที่มากเกินจาเป็น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้น (Paulsrud and Montgomery, 2005) การใช้สารเคมีในปริมาณมากและเป็นระยะเวลานานส่งผลให้เชื้อรามีการปรับตัว และสามารถต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราได้เพิ่มมากขึ้น (Vincelli and Williams, 2014) จากการรายงานของ Fungicide Resistance Action Committee (FRAC) กล่าวไว้ว่าสารก าจัดเชื้อราร้อยละ 19 จัดอยู่ในกลุ่ม เสี่ยงสูงต่อการพัฒนาความต้านทาน และร้อยละ 35 มีความเสี่ยงปานกลาง (Leadbeater and Gisi, 2010) การพัฒนาความต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อรามีสาเหตุจากหลายปัจจัย เป็นผลมาจากการที่เชื้อรามีการ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม เพื่อตอบสนองต่อแรงกระตุ้นจากการใช้สารเคมี รวมไปถึงการย้ายถิ่นฐานของเชื้อ รา (Wu et al., 2019) มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางพันธุ์ก รรมของเชื้อราได้ทั้งสิ้นจึงเป็นสาเหตุหลักในการ ควบคุมโรคไม่ได้ผลเท่าที่ควร ดังนั้นจึงมีความจาเป็นในการศึกษาผลของสารกาจัดเชื้อราชนิดต่าง ๆ ที่นิยมใช้ ในการป้องกันกาจัดเชื้อ P. palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าทุ เรียน เพื่อให้ได้ข้อมูล การต้านทานต่อ สารเคมีของเชื้อ นาไปสู่ก ารเฝ้าระวังและการควบคุม การระบาดของเชื้อสายพันธุ์ที่ มีความต้านทานสูงเพื่อ ป้องกันความสูญเสียของอุตสาหกรรมทุเรียนที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงถึงกว่าหมื่นล้านบาทต่อปี อุปกรณ์และวิธีการ 1. สารวจ ศึกษาและแยกเชื้อสาเหตุโรคในทุเรียนจากแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญในประเทศไทย สารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่างดิน ราก เปลือกลาต้น ใบ และผลทุเรียนที่แสดงอาการของโรครากเน่า โคนเน่าจากพื้นที่เพาะปลูกทุเรียนในจังหวัดนนทบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และชุมพร แยกเชื้อ P. palmivora จากตัวอย่างดินโดยใช้วิธี soil dilution plate และ ใช้เหยื่อล่อ (baiting) และแยกเชื้อจากตัวอย่างชิ้นพืชด้วยวิธี tissue transplanting ลงบนอาหารเลีย้ งเชื้อ V8 เมื่อมีเชื้อใยเจริญออก จากตัวอย่างดิน หรือชิ้นพืช ตัดปลายเส้นใยถ่ายลงบนอาหารเลีย้ งเชื้อ V8 ใหม่จนได้เชื้อราบริสุทธิ์ แล้วจึงนามา แยกเชื้อด้วยวิธี single spore isolation เพื่อให้ได้เป็นเชื้อราที่มีความบริสุทธิ์ และลดความแปรปรวนของเชื้อ ราในแต่ล่ะไอโซเลท
266
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
2. การต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราของเชื้อ Phytophthora palmivora สารกาจัดเชื้อราที่ ใช้ในการศึกษานี้คือ เมทาแลคซิล (metalaxyl) ฟอสฟอนิก แอซิด (phosphonic acid) ฟอสอีทิลอะลูมิ นัม (fosethyl-Al) และเทอร์ราคลอ (terraclor) ในการทดสอบประสิทธิภาพของสาร กาจัดเชื้อราด้วยวิธีการเลี้ยงเชื้อราบนอาหารพิษ (poisoned food technique) ซึ่งผสมสารกาจัดเชื้อราให้มี ความเข้มข้นดังตารางที่ 1 ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA และใช้น้ากลั่นฆ่าเชื้อเป็นชุดควบคุม การทดสอบแบ่งเป็น การทดสอบประสิทธิภาพของสารกาจัดเชื้อราในการยับยั้งการเจริ ญของเชื้อ P. palmivora และการทดสอบ ระดับความต้านทานของเชื้อ P. palmivora ต่อสารกาจัดเชื้อ การทดสอบความต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราของเชื้อ P. palmivora โดยการตัดปลายเส้นใยของเชื้อ P. palmivora แต่ละไอโซเลทที่มีอายุ 7 วัน ด้วย cork borer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร วางลง บนอาหารพิษผสมสารกาจัดเชื้อราความเข้มข้นต่าง ๆ บ่มที่อุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) เป็นเวลา 5 วัน ตรวจวัดความสามารถในการเจริญของเชื้อไอโซเลทต่าง ๆ เปรียบเทียบกับชุดควบคุม ตารางที่ 1 ความเข้มข้นของสารกาจัดเชื้อราต่าง ๆ ที่ใช้
3. ระดับความต้านทานต่อสารเมทแลกซิลของเชื้อ Phytophthora palmivora การทดสอบระดับความต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราเมทาแลกซิลของเชื้อ P. palmivora โดยใช้เชื้อ P. palmivora ที่แสดงความต้านทานต่อสารเมทาแลกซิล ตัดปลายเส้นใยของเชื้อ P. palmivora แต่ละไอโซเลท ที่มีอายุ 7 วัน วางบนอาหารพิษที่ผสมสารเมทาแลกซิลความเข้มข้น 800, 1,600, และ 3,200 ppm โดยใช้น้า กลั่นฆ่าเชื้อเป็นชุดควบคุม บ่มที่อุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) เป็นเวลา 5 วัน วัดขนาดการเจริญของเชื้อรา แต่ละไอโซเลทเปรียบเทียบกับชุดควบคุม เกณฑ์ในการจาแนกและจัดกลุ่มเชื้อราที่แสดงความต้านทานต่อสารเคมีชนิดต่าง ๆ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ เชื้อรากลุ่มที่แสดงความอ่อนแอต่อสารกาจัดเชื้อรา (sensitive) ไม่มีการเจริญของเชื้อราบนอาหารเลี้ยง เชื้อที่ ผสมสารเคมีความเข้มข้นแนะนา (800 ppm) หรือเจริญ ได้น้อยกว่าร้อยละ 40 ของชุดควบคุม เชื้อรา กลุ่มต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราระดับปานกลาง (intermediate resistance) มีก ารเจริญเชื้อราบนอาหาร 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
267
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
เลี้ยงเชื้อที่ผสมสารเคมีความเข้มข้นแนะนา (800 ppm) ได้มากกว่าร้อยละ 40 ของชุดควบคุม และเชื้อรากลุ่ม ต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อ ราระดับ สูง (high resistance) มีก ารเจริญ ของเชื้อราบนอาหารเลี้ ยงเชื้ อที่ ผ สม สารเคมีความเข้มข้นสูงกว่าความเข้มข้นแนะนา (1,600 ppm) ได้มากกว่าร้อยละ 40 ของชุดควบคุม ผลและวิจารณ์ 1. สารวจ ศึกษาและแยกเชื้อสาเหตุโรคในทุเรียนจากแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญในประเทศไทย จากการส ารวจและสุ่ม เก็บ ตัวอย่างที่ เป็นโรคจากแหล่ง เพาะปลู กทุ เรียนในจังหวัดนนทบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และชุมพร ในปีพ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2561 พบว่าโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียน มีการระบาดใน แต่ละพื้นที่แตกต่างกัน พบการแสดงอาการของโรคมากในบริเวณที่มีฝนตกติดต่อกันหลายวัน และในบริเวณ สวนทุเรียนมีความหนาแน่นรกทึบ ลักษณะอาการพบได้ชัดเจนที่สุดบริเวณโคนลาต้นต้นและราก พบมีจุดฉ่าน้า สีน้าตาลและเนื้อไม้เป็นสีน้าตาลแดงไปจนถึงสีดาและมีอาการเน่าร่วมด้วย (ภาพที่ 1) หลังการสารวจแล้วจึงเก็บตัวอย่างส่วนของพืชที่แสดงอาการจากต้นที่เป็นโรคและดินบริเวณโคนต้นที่ เป็นโรค เพื่อนาไปแยกหาเชื้ อสาเหตุและศึกษาความสามารถในการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราชนิดต่าง ๆ แยกเชื้อ Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าได้ทั้งหมด 66 ไอโซเลท แบ่งเป็นไอโซเลทที่ แยกได้จากพืชจานวน 43 ไอโซเลท และไอโซเลทที่แยกได้จากดินจานวน 23 ไอโซเลท และแบ่งตามพื้นที่เก็บ ตัวอย่าง ไอโซเลทที่แยกได้จากสวนในจังหวัดนนทบุรี 12 ไอโซเลท จังหวัดจันทบุรี 17 ไอโซเลท จังหวัดระยอง 11 ไอโซเลท จังหวัดตราด 14 ไอโซเลท จังหวัดชุมพร 12 ไอโซเลท (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ตัวอย่างโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียนที่สารวจและเก็บจากแหล่งเพาะปลูกทุเรียนในจั งหวัด นนทบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และชุมพร ในปีพ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2561 พื้นที่เก็บตัวอย่าง
จานวนสวน
นนทบุรี จันทบุรี ระยอง ตราด ชุมพร
3 6 4 4 5
268
ไอโซเลททั้งหมด 12 17 11 14 12
จานวนไอโซเลท ไอโซเลททีแ่ ยกจากพืช 7 11 7 10 8
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
ไอโซเลททีแ่ ยกจากดิน 5 6 4 4 4
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
ภาพที่ 1 ลักษณะอาการโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียนที่พบบริเวณลาต้น 2. การต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราของเชื้อ Phytophthora palmivora การทดสอบความสามารถในการต้านทานต่องสารกาจัดเชื้อรา ของเชื้อ P. palmivora ในการศึกษานี้ ใช้สารเคมีทางการค้า 4 ชนิด ที่เกษตรกรนิยมใช้ในการป้องกันกาจัดโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียน ได้แก่ เมทา แลคซิล (metalaxyl) ฟอสฟอนิกแอซิด (phosphonic acid) ฟอสอีทิลอะลูมินัม (fosethyl-Al) และเทอร์รา คลอ (terraclor) น าสารเคมี ทั้ ง 4 ชนิ ด มาทดสอบด้ ว ยวิ ธี เ ลี้ ย งเชื้ อ ราบนอาหารพิ ษ (poisoned food technique) ที่ผสมสารเคมีในความเข้มข้นต่าง ๆ กัน ผลการศึกษาที่ความเข้มข้นต่าที่ สุดตามคาแนะนาบน ฉลาก พบเชื้อแสดงลักษณะการต้านทานต่อสารเมทาแลกซิลความเข้มข้น 800 ppm จานวน 38 ไอโซเลท คิด เป็นร้อยละ 57.6 ของจานวนไอโซเลททั้งหมด เชื้อที่แสดงความต้านทานต่อสารฟอสฟอนิกแอซิดความเข้มข้น 1,000 ppm จ านวน 28 ไอโซเลท คิด เป็ น ร้อยละ 38.75 ของจ านวนไอโซเลททั้ ง หมด เชื้อ ที่ แสดงความ ต้านทานต่อสารฟอสอีทิลอะลูมินัมที่ความเข้มข้น 2,000 ppm จานวน 5 ไอโซเลท คิดเป็นร้อยละ 6.25 ของ จานวนไอโซเลททั้งหมด และไม่มีเชื้อใดต้านทานต่อสารเทอร์ราคลอที่ความเข้มข้น 600 ppm ได้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 2-3) เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารเคมีมากขึ้นเป็นสองเท่าจนถึงแปดเท่าของความเข้มข้นแนะนา ยังพบเชื้อ ที่แสดงความต้านทานต่อสารเมทาแลกซิล แต่ในขณะที่เพิ่มความเข้มข้นของสารอื่น ๆ เป็นสองเท่าสามารถ ควบคุมการเจริญของเส้นใยเชื้อได้ทั้ งหมด จากการศึกษานี้กล่าวได้ว่าเชื้อ P. palmivora สาเหตุโรครากเน่า โคนเน่าทุเรียนที่พบในแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญในประเทศไทยแสดงลักษณะความต้านทานต่อสารเมทาแลก ซิล 2 ลักษณะ คือ กลุ่มที่ต้านทานต่อสารเมทาแลกซิล และกลุ่มที่อ่อนแอต่อสารเมทาแลกซิล โดยไม่ขึ้นอยู่กับ ความเข้ มข้นของสาร เนื่องจากเมื่อเพิ่ม ความเข้นข้นของเมทาแลกซิล ให้สูงขึ้นถึง 6,400 ppm ก็ไม่สามารถ ควบคุมเชื้อที่มีความต้านทานต่อเมทาแลกซิลได้ ในขณะที่เชื้อที่มีความอ่อนแอต่อสารเมทาแลกซิลเมื่อลดความ เข้มข้นของสารลงถึง 1 ppm ก็ยังสามารถควบคุมการเจริญของเชื้อได้ จากการศึก ษาที่ ผ่ านมาพบว่าเมทาแลกซิ ล เป็ น สารเคมี ที่ นิ ย มน ามาใช้ ในการป้ อ งกั น ก าจั ดเชื้ อ Phytophthora และก็ยังเป็นสารเคมี ที่เชื้อ Phytophthora แสดงความต้านทานมากที่ สุด ซึ่งเมทาแลกซิ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
269
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
ลออกฤทธิ์โดยการยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์ RNA polymerase I (Sukul and Spiteller, 2000) ซึ่งใช้ใน กระบวนการสังเคราะห์ RNA ในสิ่งมีชีวิต เนื่องจากการออกฤทธิ์ดังกล่าวง่ายต่อการปรับตัวของเชื้อให้เกิดการ กลายพั น ธุ์ จ นสามารถต้ า นทานต่ อ สารเคมี ได้ (Randall et al., 2014) สารฟอสฟอนิ ก แอซิ ด และฟอส อีทิลอะลูมินัม เป็นสารในกลุ่มฟอสฟอเนตซึง่ ออกฤทธิ์รบกวนกระบวนการเมทบอลิซึม (metabolism) ของเชื้อ และทางานร่วมกับกระบวนการต้านทานของพืชในการยับยั้งการเจริญ เติบ โตของเชื้อ (Grant et al., 1990) นอกจากนี้สารเทอร์ราคลอออกฤทธิ์โดยการยับยั้งปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมัน (lipid peroxidation) ซึ่งทา ให้เยื่อหุ้ม เซลล์ของเชื้ อ เสียหาย (Ying, 2018) จากการศึกษาที่ ผ่านยังไม่ มีรายงานการต้านทานของเชื้อต่อ สารเคมีกลุ่มฟอสฟอเนตและกลุ่มเทอร์ราคลอ ทั้งนี้จากการศึกษานี้พบว่าเชื้อ P. palmivora สามารถปรับตัว และแสดงความต้านทานต่อสารในกลุ่มฟอสฟอเนตได้ ตารางที่ 3 ความสามารถในการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราของเชื้อ P. palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า ทุเรียนที่พบในแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญ ความ เข้มข้น 8X 4X 2X X X/2 X/4 X/8 X/16 X/32 X/64 X/128 X/256 X/512 X/1024
เมทาแลคซิล ไอโซเลท ร้อยละ 6 9.1 9 13.6 20 30.3 38 57.6 37 56.1 37 56.1 37 56.1 35 53.0 36 54.5 37 56.1 36 54.5 36 54.5 38 57.6 37 56.1
ความสามารถในการต้านทานต่อสารเคมี ฟอสฟอนิกแอซิด ฟอสอีทิลอะลูมินัม ไอโซเลท ร้อยละ ไอโซเลท ร้อยละ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 28 42.4 5 6.25 35 53.0 25 37.88 54 81.8 33 50 55 83.3 42 63.64 57 86.4 46 69.7 57 86.4 50 75.76 60 90.9 56 84.85 62 93.9 57 86.36 66 100.0 60 90.91 66 100.0 66 100 66 100.0 66 100
หมายเหตุ X = ความเข้มข้นแนะนาบนฉลากสารเคมี
270
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
เทอร์ราคลอ ไอโซเลท ร้อยละ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 14 18 20 25 37 46 51 64 55 69 61 76 64 80 66 100 66 100
100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0
OPB-04
ล เมทาแลคซิ ค กแอซิ ฟอสฟอนิ ม นิ มิ ลอะลิ ทิ ฟอสอิ
X/3 2 X/6 4 X/1 28 X/2 56 X/5 12 X/1 02 4
X/8 X/1 6
X X/2 X/4
2X
4X
เทอราคลอ
8X
ความตานทาน(%)
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ความเขมขนของสาร
ภาพที่ 2 ความสามารถในการต้านทานต่อ สารก าจัดเชื้อราเมทาแลคซิ ล (metalaxyl) ฟอสฟอนิก แอซิ ด (phosphonic acid) ฟอสอี ทิ ล อะลูมิ นั ม (fosethyl-Al) และเทอร์ร าคลอ (terraclor) ความเข้ ม ข้นต่ าง ๆ ของเชื้อ P. palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าทุเรียนที่พบในแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญ Metalaxyl
Phosphonic acid
Fosethyl-Al
Terraclor
8X
X
X/8
X/64
X/512
Control
ภาพที่ 3 ความสามารถในการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราเมทาแลคซิล ฟอสฟอนิกแอซิด ฟอสอีทิลอะลูมินัม และเทอร์ราคลอ ของเชื้อ P. palmivora บนอาหารพิษที่มีอายุ 5 วัน
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
271
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
3. ระดับความต้านทานต่อสารเมทแลกซิลของเชื้อ Phytophthora palmivora การศึ ก ษาระดั บ ความต้ า นทานต่ อ สารเมทาแลกซิ ล ของเชื้ อ P. palmivora สามารถจั ด กลุ่ ม ความสามารถในการต้านทานต่อสารเมทาแลกซิลของเชื้อ P. palmivora ไอโซเลทที่แยกได้ 3 กลุ่ม คือ เชื้อ กลุ่มที่แสดงความอ่อนแอ (sensitive) พบเชื้อร้อยละ 42.4 ของเชื้อทั้งหมด เชื้อกลุ่มที่ต้านทานระดับปานกลาง (intermediate resistance) พบเชื้อร้อยละ 33.3 ของเชื้อทั้งหมด และเชื้อรากลุ่มที่ต้านทานระดับสูง (high resistance) พบเชื้อร้อยละ 27.3 ของเชื้อทั้งหมด เมื่อจาแนกตามพื้นที่เก็บตัวอย่างพบว่าเชื้อ P palmivora ไอโซเลทที่แยกได้จากสวนทุเรียนในจังหวัดชุมพรมีความต้านทานต่อสารเมทาแลกซิลสูงที่สุด และไอโซเลทที่ แยกได้จากสวนทุเรียนในจังหวัดตราด จันทบุรี ระยอง และนนทบุรี ตามลาดับ นอกจากนี้หากเปรียบเทียบจาก ส่วนต่าง ๆ ของพืช พบว่าเชื้อไอโซเลทที่แยกได้จากดินมีความสามารถในการต้านทานสารเคมีเมทาแลกซิลมา กกว่าไอโซเลทที่แยกได้จากชิ้นส่วนของพืช (ตารางที่ 4 และภาพที่ 4-5) ตารางที่ 4 ระดับความสามารถในการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราเมทาแลคซิลของเชื้อ P. palmivora สาเหตุ โรครากเน่าโคนเน่าทุเรียนที่พบในแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญ พื้นที่เก็บ ตัวอย่าง
ระดับความต้านทาน (%) ไอโซเลททั้งหมด S I R
ไอโซเลททีแ่ ยกจากพืช S I R
ไอโซเลททีแ่ ยกจากดิน S I R
นนทบุรี
66.7
16.7
16.7
42.86
28.57
28.57
40.00
40.00
20.00
จันทบุรี
41.2
35.3
23.5
36.36
36.36
27.27
16.67
33.33
50.00
ระยอง
36.4
45.5
18.2
42.86
42.86
14.29
25.00
75.00
0.00
ตราด
35.7
35.7
28.6
50.00
30.00
20.00
25.00
75.00
0.00
ชุมพร
16.7
33.3
50.0
25.00
25.00
50.00
0.00
50.00
50.00
รวม
39.4
33.3
27.3
39.53
32.56
27.91
21.74
52.17
26.09
หมายเหตุ
272
S – Sensitive
I – Intermediate resistance
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
R – High resistance
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” 0
800
1,600
OPB-04
3,200 ppm
NP01
CbP06
CbP09
CbP15 RbP01 Non-host
ภาพที่ 4 ระดับสามารถในการต้านทานต่อสารกาจั ดเชื้อราเมทาแลคซิลของเชื้อ P. palmivora ไอโซเลทที่มี ความต้านทานสูง บนอาหารพิ ษที่ มีอ ายุ 5 วัน (ความเข้ม ข้นของสารเมาทาแลกซิล 800, 1,600 และ 3,200 ppm ตามลาดับ)
ภาพที่ 5 ระดับสามารถในการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราเมทาแลคซิลของเชื้อ P. palmivora สาเหตุโรคราก เน่าโคนเน่าทุเรียน จาแนกตามแหล่งปลูกทุเรียนที่สาคัญ (ก) และส่วนที่นามาแยกเชื้อ (ข) จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าเมทาแลกซิลเป็นสารเคมีที่มีความเสี่ยงสูงต่อการพัฒ นาความต้านทาน ของเชื้อ (Vincelli and Williams, 2014; Wu et al., 2019) เนื่องจากปัจจุบันมีการใช้สารเมทาแลกซิลกันใน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
273
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
ปริมาณมากขึ้นโดยไม่คานึงถึงข้อบ่งใช้ที่อยู่บนฉลาก ส่งผลให้เชื้อราสามารถพัฒนาจนเกิดความต้านทานขึ้นได้ ซึ่งตามคาแนะนาควรใช้ 800 – 1,000 ppm (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2554; Fishel, 2009 ) จากรายงานวิจัยของ อมรรัตน์ และคณะ (2555) ระบุว่าสารเมทาแลกซิลความเข้ มข้น 100 และ 1,000 ppm ไม่สามารถควบคุม การเจริญ ของเชื้อราได้ นอกจากนี้ยังพบว่ามีเชื้อราที่แสดงความต้านทานต่อสารเมทาแลกซิลที่ ความเข้มข้น 10,000 ppm เช่นเดียวกับ การศึกษาใน P. palmivora สาเหตุโรคฝักเน่าในโกโก้ พบว่าสารเมทาแลกซิล ที่ ความเข้มข้น 1,250 ppm ไม่สามารถควบคุมการเจริญของเชื้อได้ (Torres-Londono, 2016) จากการศึกษา ระดับความต้านทานต่อสารเมทาแลกซิลของเชื้อ P. palmivora ที่แยกได้จากแหล่งเพาะปลูกทุเรียนที่สาคัญใน ประเทศไทยพบว่าเชื้อแสดงความต้านทานต่อสารเคมีเมทาแลกซิลในระดับสูง สรุปผลการทดลอง โรครากเน่าโคนเน่าจากเชื้อ Phytophthora เป็นโรคที่ทาความเสียหายต่อการผลิตทุเรียนมากที่สุด ความเข้าใจเกี่ยวกับการเกิดการต้านทานสารเคมีป้องกันกาจัดของเชื้อ Phytophthora จะนาไปสู่การเฝ้าระวัง และการควบคุมการระบาดของเชื้อสายพันธุ์ที่มีความต้านทานสูงเพื่อป้องกันความสูญเสียของผลผลิตได้ จาก การส ารวจและเก็บ ตัวอย่างโรครากเน่าโคนเน่าจากแหล่งเพาะปลูกทุเรียนที่ สาคัญในประเทศไทย พบการ ระบาดของเชื้อ Phytophthora palmivora ในพื้นที่ที่มีฝนตกชุกและความชื้นสูง รวมไปถึงในพื้นที่รกทึบ จากการศึกษาการต้านทานต่อสารกาจัดเชื้อราของเชื้อ P. palmivora พบเชื้อแสดงลักษณะต้านทาน ต่อสารเคมีเมทาแลกซิลในระดับสูง ต้านทานต่อสารฟอสฟอนิกแอซิดในระดับปานกลาง ต้านทานต่อสารฟอส อีทิลอะลูมินัมในระดับต่า และไม่มีเชื้อไอโซเลทใดต้านทานต่อสารเทอร์ราคลอ ดังนั้นความเข้าใจเกี่ยวกับการ ต้านทานสารกาจัดเชื้อรานาไปสู่การเฝ้า ระวังและควบคุมการระบาดของเชื้อต้านทานได้ และการใช้สารกาจัด เชื้อราไม่ ควรใช้ส ารเคมี ชนิดใดชนิดหนึ่งติดต่อกันเป็นระยะเวลานานเนื่องจากจะนาไปสู่ก ารพัฒ นาความ ต้านทานของเชื้อต่อได้ คาขอบคุณ งานวิจัยนี้ ได้รับ การสนั บ สนุน ส่วนหนึ่ งจากศูน ย์ความเป็น เลิศ ด้านเทคโนโลยี ชีวภาพการเกษตร สานักพัฒ นาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารอ้างอิง กลุ่มวิจัยโรคพืช. 2554. หนังสือคาแนะนาแผนการทดลองการทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกาจัดโรคพืช. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. 48-49. เชษฐา กวางทอง. 2541. การใช้เทคโนโลยีการผลิตทุเรียนของเกษตรกรในจังหวัดจันทบุรี: ศึกษาเฉพาะกรณี อาเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
274
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
อมรรัตน์ ภู่ไพบูลย์ พีระวรรณ พัฒนวิภาส และยุทธศักิด์ เจียมไชยศรี. 2555.ผลของสารป้องกันกาจัดโรคพืช metalaxyl ต่อการเจริญของ รา Phytophthora palmivora. รายงานผลงานวิจัย ประจาปี 2555. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. 1163-1174. Chinaphuti, A. 2011. Postharvest technology of horticultural crops in Thailand. Senior Expert in Post Harvest. 3. Drenth, A., and Guest, D. I. 2004. Diversity and management of Phytophthora in Southeast Asia. ACIAR Monograph. 114: 103. Ferrin, D. M. and Kabashima, J. N. 1991. In vitro insensitivity to metalaxyl of isolates of Phytophthora citricola and P. parasitica from ornamental host in southern California. Plant Disease. 75: 1041-1044. Fishel, F. M. 2009. Fungicide Resistance Action Committee's (FRAC) Classification Scheme of Fungicides According to Mode of Action. Available at URL http://Fishel-miamidade.ifas.ufl.edu Accessed on 8/9/2019. Grant, B. R., Dunstan, R. H., Griffith, J. M., Niere, J. O., and Smillie, R. H. 1990. The mechanism of phosphonic (phosphorous) acid action in Phytophthora. Australasian Plant Pathology. 19(4): 115-121 Hyde, K. 1998. Durian. In: The new rural industries. A Handbook for Farmers and Investors. 281–287. Kamoun, S. 2003. Molecular genetics of pathogenic oomycetes. Eukaryotic cell. 2 (2): 191199. Leadbeater, A., Gisi, U. 2010. The challenges of chemical control of plant diseases. Chapter 1. In: Gisi, U., Chet, I., Gullino, M. L. (eds): Recent Developments in Management of Plant Diseases, Plant Pathology in the 21th Century. Vol. 1. Dordrecht, Springer Science and Business Media. 3–17. Paulsrud, B. E., & Montgomery, M. 2005. Characteristics of Fungicides Used in Field Crops. Report on Plant disease. 1002: 1–18. Randall, E., Young, V., Sierotzki, H., Scalliet, G., Birch, P. R., Cooke, D. E., and Whisson, S. C. 2014. Sequence diversity in the large subunit of RNA polymerase I contributes to M efenoxam insensitivity in Phytophthora infestans. Molecular plant pathology. 15(7): 664-676. Sangchote, S., Poonpolgul, S., Sdoodee, R., Kanjanamaneesathian, M., Baothong, T., and Lumyong, P. 2004. 4.3 Phytophthora Diseases in Thailand. Diversity and Management of Phytophthora in Southeast Asia. 77. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
275
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-04
Sukul, P. and Spiteller, M. 2000. Metalaxyl: persistence, degradation, metabolism, and analytical methods. Reviews of environmental contamination and toxicology. 164: 126. Torres-Londono, G. A. 2016. Morphological Characterization, Virulence, and Fungicide Sensitivity Evaluation of Phytophthora Palmivora. Michigan State University. Plant Pathology. Vincelli, P., and Williams, D. 2014. Chemical Control of Turfgrass Diseases. Agriculture and Natural Resources. 1: 1–24. Wu, Q., Zhao, B., Fan, Z., Guo, X., Yang, D., Zhang, N., Yu, B., Zhou, S., Zhao, J., and Chen, F. 2019. Discovery of Novel Piperidinyl-thiazole Derivatives as Broad-spectrum Fungicidal Candidate. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 67(5): 1360-1370. Ying, G. G. 2018. Ecological Risk Assessment of Pesticides Used in Agriculture. In Integrated Analytical Approaches for Pesticide Management (pp. 67-79). Academic Press.
276
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
ประสิทธิภาพของน้้าหมักเปลือกมังคุดต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคใบติดในทุเรียน Efficacy of Mangosteen Pericarp Bio-Extract on Rhizoctonia solani Causing Leaf Blight Disease of Durian สุกญ ั ญา บุญยงค์1 และ มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม2 Sukanya Boonyong1 and Maneerat Koohapitagtam2 1
สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาบูรพา บางแสน ชลบุรี 20131 สาชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี จันทบุรี 22170 1 Division of Biological Sciences, Faculty of Science, Burapha University, Bangsaen, Chon Buri 20131 2 Division of Agricultural Biotechnology, Faculty of Science and Arts, Burapha University, Chantaburi Campus, Chantaburi 22170 2
บทคัดย่อ ทุเรียนเป็นพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจในภาคตะวันออกของประเทศไทย งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของน้าหมักเปลือกมังคุดต่อการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา R. solani สาเหตุโรค ใบติดในทุเรียน ในสภาพห้องปฏิบัติการ การทดสอบมีทั้งหมด 8 กรรมวิธี คือ ใช้น้าหมักเปลือกมังคุดที่ความ เข้มข้น 0.25, 0.50, 1.0, 2.0, 4.0, และ 5.0% v/v เปรียบเทียบกับสารเคมีกาจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ที่ ความเข้มข้น 750 ppm และอาหาร Potato Dextrose Agar (PDA) ทาการทดสอบด้วยวิธี poisoned food technique ผลที่ได้พบว่าน้าหมักเปลือกมังคุดที่ความเข้มข้น 4.0% และ 5.0% v/v สามารถยับยั้งการเจริญ ของเส้นใยเชื้อ รา R. solani ได้ 100% เที ยบเท่ ากั บ การใช้ส ารเคมี กาจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ที่ ความ เข้มข้น 750 ppm ค้าส้าคัญ : ประสิทธิภาพ น้าหมักเปลือกมังคุด ทุเรียน โรคทุเรียน โรคใบติดของทุเรียน ABSTRACT Durian is economically important crop in the East of Thailand. The aim of this research was to study the efficiency of mangosteen pericarp bio-extract to inhibit mycelial growth of R. solani, a causal agent of leaf blight disease in durian in vitro. There were 8 treatments including mangosteen pericarp bio-extract concentrated at 0.25, 0.50, 1.0, 2.0, 4.0, and 5.0% v/v compared to 750 ppm pyraclostrobin and Potato Dextrose Agar (PDA). The poisoned food technique was used to perform and the result clearly showed that mangosteen pericarp bio-extract concentrated at 4.0% and 5.0% v/v could inhibit mycelial growth of R. solani by 100% as well as 750 ppm pyraclostrobin. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
277
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
Keywords: efficacy, mangosteen pericarp bio-extract, durian, durian disease, leaf blight disease of durian ค้าน้า ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่ งออกทุเรียนสดรายใหญ่ของโลก จากรายงานของสานักวิจัย เศรษฐกิจการเกษตร (2560) พบว่า ในปี พ. ศ. 2559 การส่งออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์ สามารถสร้างรายได้ ให้กับประเทศไทยได้มากถึง 18,398 ล้านบาท และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีเนื่องจากความต้องการของตลาด ต่างประเทศในแถบเอเชียยังมีอยู่อีกมาก ตลาดส่งออกทุเรียนสดที่สาคัญของไทยคือ สาธารณะรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง ไต้หวัน และประเทศอินโดนีเซีย แหล่งผลิตทุเรียนที่สาคัญ ส่วนใหญ่อยู่ในแถบภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดระยอง จันทบุรี ตราด และปราจีนบุรี และบางจังหวัดทางภาคใต้ เช่น จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี และ นครศรีธรรมราช พันธุ์ทุเรียนที่เกษตรกรนิยมปลูกมากทีส่ ุดคือ พันธุ์หมอนทอง เนื่องจากสามารถขายในรูปของ ผลสดและส่งโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อทาทุเรียนทอดส่งออกได้ การปลูกทุเรียนตั้งแต่อดีตเกษตรกรมักประสบปัญหากับโรคพืชที่สาคัญ ได้แก่ โรครากเน่าและโคนเน่า (root and stem rot disease) ที่ เกิ ด จากเชื้ อ Phytophthora palmivora (เชษฐา, 2541; ปั ญ จมาและ สมศิริ , 2545) โรคใบติด (leaf blight disease) ที่ เกิ ดจากเชื้อรา R. solani (ปัญ จมา, 2546) และโรคราสี ชมพู (pink disease) (แสวง, 2530) ที่ เกิ ด จากเชื้ อรา Fusarium sp. โดยเฉพาะโรคใบติด ที่ ส ามารถเข้ า ท าลายต้ นทุ เรียนได้ทุ ก ระยะการเจริญ เติ บ โต หากต้น ทุ เ รียนเป็น โรคนี้ จ ะแสดงอาการใบไหม้ และลาม แพร่กระจายทั่วทั้งต้นอย่างรวดเร็ว แม้ว่าในทางวิชาการจะไม่มีรายงานความเสียหายของผลผลิตทุเรียนแต่จาก การสอบถามเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนในพื้นที่ๆ ได้รับผลกระทบโดยตรงจากโรคนี้ในจังหวัดจันทบุรี ซึ่งพบการ แพร่ระบาดของโรคอย่างรุนแรง กล่าวว่าหากต้นทุเรียนเป็นโรคนี้ความเสียหายที่สังเกตได้ชัดเจนคือใบของ ทุเรียนจะแสดงอาการแห้งตาย และหากสภาพอากาศมีความเหมาะสมต่อการเกิดโรคๆ จะลุกลามอย่างรวดเร็ว และทาให้ต้นทุเรียนแสดงอาการใบแห้งตายทั้งต้น เกิดความเสียหายโดยตรงต่อความสมบูรณ์ของต้นทุเรียนได้ มากถึง 70% และเมื่อต้นทุเรียนมีความสมบูรณ์ลดลง การติดดอกและออกผลก็จะมีปริมาณลดลงตามลาดับ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อปริมาณผลผลิตทุเรียนในพื้นที่ปลูกนั้นๆ ที่อาจมีมากถึง 50 ถึง 60% ปัจจุบันการควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อราชนิดนี้อย่างได้ผลจาเป็นต้องอาศัยหลายๆ วิธีร่วมกัน ซึ่งได้แก่ การตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่งเพือ่ ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เก็บส่วนที่เป็นโรคไปเผาทาลาย การใช้เชื้อราไตรโค เดอร์มา และการใช้สารเคมีกาจัดเชื้อราโรคพืช เช่น วลิดามัยซิน คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ และเฮดไลน์ เป็นต้น อย่างไรก็ตามการใช้สารเคมีในปริมาณมากและระยะเวลานานอาจทาให้เชื้อรา R. solani ต้านทานต่อสารเคมี และทาให้การป้องกันกาจัดเชื้อราในอนาคตไม่ได้ผลแล้ว สารเคมียังก่อให้เกิดมลพิษต่อสภาพแวดล้อมรวมถึง ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาต้นทุเรียนของเกษตรกรยังเพิ่มขึ้นตามลาดับอีกด้วย ในงานวิจัยก่อนหน้านี้เพื่อสนองแนวพระราชดาริเกษตรทฤษฎีใหม่ คณะผู้วิจัยได้ทดลองนาเปลือก มังคุด (Garcinia mangostana L.) ซึ่งเป็นผลไม้ที่ปลูกมากในแถบภาคตะวันออก โดยเฉพาะจังหวัดจันทบุรี 278
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
แ ล ะ มี ราย งาน พ บ ส า รอ อ ก ฤ ท ธิ์ ท า งชี วภ าพ ใน เป ลื อ ก มั งคุ ด เช่ น xanthones (Suttirak and Manurakchinakorn, 2014) ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ยั บ ยั้ งเชื้ อ รา ได้ ห ล าย ช นิ ด เช่ น Colletotrichum gloeosporioides Penz., Rhizopus sp., Alternaria solani, Aspergillus niger, A. flavus, Penicillium sp., Fusarium roseum (นิภาดา และคณะ, 2554; Pedraza-Chaverri et al., 2008) ทั้งในรูป แบบการใช้ ของน้าเปลือกมังคุดสด น้าเปลือกมังคุดแห้ง และน้าหมักเปลือกมังคุด มาทาการทดสอบประสิทธิภาพในการ ยับยั้งเชื้อ P. palmivora ไอโซเลทที่ ก่อโรครุนแรง ที่แยกได้จ ากต้นทุเรียนเป็น โรครากเน่าและโคนเน่า ใน สภาพห้องปฏิบัติการ พบว่าสามารถยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อ P. palmivora ได้ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ เมื่อ เปรียบเทียบกับการใช้สารเคมีกาจัดเชื้อราเมตาแลกซิลอัตราสูงสุดที่บริษัทผู้ผลิตแนะนา (2500ppm) ยับยั้งได้ 68.4 เปอร์เซ็นต์ (มณีรัตน์ และ ภัทราพร, 2558) และเมื่อนาน้าหมักเปลือกมังคุดไปทดสอบการรักษาโรคราก เน่าและโคนเน่าในสภาพแปลง ด้วยการผสมกับน้ายาจับใบไปทาแผล ซึ่งมีลักษณะอาการเน่า ฉ่าน้า สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 1 เดือน แล้ว พบว่าสามารถรักษาอาการแผลฉ่าน้าให้หายเป็นปกติได้ โดยแผลที่ทาด้ วย น้าหมักเปลือกมังคุดจะแห้งสนิท เกิดการสร้างเนื้อเยื่อไม้ขึ้นมาใหม่ จากความสาเร็จของการใช้น้าหมักเปลือก มังคุดควบคุม โรครากเน่าและโคนเน่าของทุเรียน ดังนั้นน้าหมั กเปลือกมั งคุดน่าจะสามารถนามาใช้ในการ ควบคุมโรคของทุเรียนที่สาคัญ ชนิดอื่นได้ วัตถุประสงค์ของงานวิจั ยนี้เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของน้าหมั ก เปลื อ กมั ง คุ ด ต่ อ การยั บ ยั้ ง การเจริญ ของเส้ น ใยเชื้ อ รา R. solani สาเหตุ โรคใบติ ด ในทุ เ รี ย น ในสภาพ ห้องปฏิบัติการ ก่อนที่จะพัฒนาผลที่ได้ไปใช้ในการควบคุมโรคใบติดในสภาพแปลงต่อไป อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 1. เตรียมน้้าหมักเปลือกมังคุด การเตรียมน้าหมักเปลือกมังคุดโดยใช้เปลือกมังคุดสด หัวเชื้อจุลินทรีย์ (EM) และน้าตาล ใส่ส่วนผสม ทั้งหมดลงในถังหมัก จากนั้นใส่น้าสะอาดจนท่วมเปลือกมังคุด กวนส่วนผสมให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้นาน 3 เดือน เมื่อครบเวลาตักน้าหมักเปลือกมังคุดมากรองผ่านผ้าขาวบาง และนาน้าหมักเปลือกมังคุดไปปั่นตกตะกอนที่ ความเร็ว 8,000 รอบต่อนาที นาน 20 นาที ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส จากนั้นนาน้าหมักเปลือกมังคุดมา กรองผ่านตัวกรองขนาดรูพรุน 200 ไมโครเมตร ภายในตู้ปลอดเชื้อ เก็บน้าหมักเปลือกมังคุดที่กรองเรียบร้อย แล้วใส่หลอด Corning ขนาด 50 มิลลิลิตร เพื่อใช้ในการทดลองขั้นตอนต่อไป 2. เตรียมเชื้อรา Rhizoctonia solani แยกเชื้ อ รา R. solani จากใบทุ เ รี ย นพั น ธุ์ ห มอนทองที่ แ สดงอาการใบติ ด ด้ ว ยวิ ธี Tissue transplanting medthod จากนั้ น เลี้ ย งเพิ่ ม ปริ ม าณเชื้ อ รา R. solani ที่ แ ยกได้ บ นอาหาร PDA ใหม่ ที่ อุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
279
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
3. ทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อรา Rhizoctonia solani ยืนยันเชื้อรา R. solani ที่นามาใช้ในการทดลอง ยังคงประสิทธิภาพในการก่อโรค ด้วยการปลูกเชื้อลง บนใบทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่อยู่ในระยะเพสลาด ด้วยวิธี detached leaf บ่มใบทุเรียนที่ปลูกเชื้ อเรียบร้อย แล้วในกล่องเก็บความชื้น และนาไปวางที่อุณหภูมิห้อง ตรวจสอบอาการแผลจุดฉ่าน้าบนใบทุเรียนที่ได้รับการ ปลูกเชื้อทุก 3 วัน หรือจนกว่าใบทุเรียนจะแสดงอาการของโรคใบติด เปรียบเทียบความสามารถในการก่อโรค ของเชื้อรากับใบทุเรียนที่ปลูกเชื้อด้วยอาหาร PDA ปกติ 4. ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของน้้ า หมั ก เปลื อ กมั ง คุ ด ต่ อ การยั บ ยั้ งการเจริ ญ ของเส้ น ใย เชื้ อ รา Rhizoctonia solani ใช้ cork borer ขนาด 5 มิลลิเมตร ตัดปลายเส้นใยเชื้อรา R. solani ที่เลี้ยงบนอาหาร PDA เป็นเวลา 7 วัน มาทดสอบด้วยวิธี poisoned food technique โดยวางเชื้อราบนอาหาร PDA ที่ผสมน้าหมักเปลือก มังคุดความเข้มข้น 0.25, 0.50, 1.0, 2.0, 4.0, และ 5.0% v/v ตามลาดับ บันทึกผลการทดลองโดยวัดรัศมีการ เจริญ ของโคโลนีเส้นใยเชื้อรา R. solani ที่ เจริญบนอาหาร PDA ที่ ผสมน้าหมัก เปลือกมั งคุดในแต่ละความ เข้มข้น เป็นเวลา 3 วัน เปรียบเทียบกับเส้นใยเชื้อราที่ เจริญบนอาหาร PDA ปกติ คานวณหาเปอร์เซ็นต์การ ยับ ยั้งการเจริญ (% Growth inhibition) ของเส้นใยเชื้อรา ตามวิธีก ารของ Potiyot และ Kunasakdakul (2014) ดังนี้ เปอร์เซ็นต์การยับยั้ง = [R1-R2] x100 R1 เมื่อ R1 และ R2 คือ ความยาวรัศมีของโคโลนีเชื้อราในจานควบคุม (อาหาร PDA ปกติ) และในชุดทดสอบ (อาหาร PDA ผสมกับสารสกัดหยาบจากเปลือกมังคุดในความเข้มข้นต่างๆ กัน) ตามลาดับ 5. การวิเคราะห์ความแตกต่างของน้าหมักเปลือกมังคุด ในแต่ละความเข้มข้นต่อการยับยั้งการเจริญของเส้นใย เชื้อรา Rhizoctonia solani วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ SPSS Version 16.0 โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ) มีทั้งหมด 8 กรรมวิธี (Treatment) กรรมวิธีละ 5 ซ้า ดังนี้ กรรมวิธีที่ 1 น้าหมักเปลือกมังคุด ปริมาตร 0.25 มิลลิลิตร ต่ออาหาร PDA ปริมาตร 99.75 มิลลิลิตร (0.25% v/v) กรรมวิธีที่ 2 น้าหมักเปลือกมังคุด ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร ต่ออาหาร PDA ปริมาตร 99.5 มิลลิลิตร (0.5% v/v) กรรมวิธีที่ 3 น้าหมักเปลือกมังคุด ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ต่ออาหาร PDA ปริมาตร 99.0 มิลลิลิตร (1.0% v/v) กรรมวิธีที่ 4 น้าหมักเปลือกมังคุด ปริมาตร 2 มิลลิลิตร ต่ออาหาร PDA ปริมาตร 98.0 มิลลิลิตร (2.0% v/v) 280
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
กรรมวิธีที่ 5 น้าหมั กเปลือ กมัง คุด ปริม าตร 4 มิ ลลิลิตร ต่ออาหาร PDA ปริมาตร 96.0 มิ ลลิลิตร (4.0% v/v) กรรมวิธีที่ 6 น้าหมักเปลือกมังคุด ปริมาตร 5 มิลลิลิตร ต่ออาหาร PDA ปริมาตร 95.0 มิลลิลิตร (5.0% v/v) กรรมวิธีที่ 7 อาหาร PDA ไม่ผสมน้าหมักเปลือกมังคุด (กลุม่ ควบคุม) กรรมวิธีที่ 8 อาหาร PDA ผสมสารเคมีกาจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน (750 ppm) 0.25 มิลลิลิตร ต่อ ปริมาตร 99.75 มิลลิลิตร เปรียบเที ยบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของน้าหมักเปลือกมังคุดในแต่ล ะความเข้มข้นและสารเคมี ไพราโคลสโตรบินในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา R. solani โดยวิธี Duncan’s new multiple range test (DMRT) ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ผลและวิจารณ์ 1. การเตรียมน้้าหมักเปลือกมังคุด น้าหมักเปลือกมังคุดที่หมักนาน 3 เดือน จะมีแผ่นวุ้นสีชมพูเคลือบอยู่ด้านบนของน้าหมัก (ภาพที่ 1ก) เมื่อยกแผ่นวุ้นออกจะพบน้าหมักเปลือกมังคุดที่มีสีแดงเข้ม (ภาพที่ 1ข) กลิ่นหอมคล้ายไวน์ มีตะกอนเล็กน้อย
ก
ข
ภาพที่ 1 ลักษณะของน้าหมักเปลือกมังคุดทีห่ มักเป็นเวลา 3 เดือนจะพบแผ่นวุ้นสีชมพูเคลือบปกคลุมน้าหมัก อยู่ด้านบน (ก) และน้าหมักมีสีแดงเข้ม (ข) 2. การเตรียมเชื้อรา Rhizoctonia solani และการทดสอบการเกิดโรค เชื้อรา R. solani สาหรับใช้ในการศึกษาครั้งนี้ แยกได้จากใบทุเรียนพันธุ์ห มอนทองที่ เป็นโรคใบติด ภายหลังจากการแยกเชื้อและย้ายเชื้อรามาเลี้ยงบนอาหาร PDA ใหม่ ที่อุณหภูมิห้อง ในเวลา 3 วัน จะพบเส้น ใยเชื้อราสีขาวเจริญเต็มจานเลี้ยงเชื้ออย่างรวดเร็ว และเมื่อเลี้ยงเชื้อราต่อไปเป็นระยะเวลา 7 วัน พบว่าเส้นใย เชื้อราสีขาวจะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลเข้ม และมีการสร้างเม็ด sclerotium สีน้าตาลดา ที่มีรูปร่างและขนาดไม่ แน่ น อนกระจายอยู่ บ ริ เ วณขอบจานเลี้ ยงเชื้ อ (ภาพที่ 2ก) ทั้ ง นี้ สี เส้ น ใยของเชื้อ รา R. solani ที่ แ ยกได้ สอดคล้องกับการรายงานของ Lal and Kandhari (2009) ที่ทาการศึกษาความหลากหลายของลักษณะโคโลนี 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
281
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
และสัณฐานวิทยาของเชื้อรา R. solani ที่แยกได้จากโรคกาบใบแห้งของข้าว แล้วพบว่าสีเส้นใยของเชื้อรา R. solani มีสีน้าตาลเข้ม ยืนยันความสามารถในการก่อโรคของเชื้อรา R. solani ที่แยกได้ด้วยการปลูกเชื้อรา ลงบนใบทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่อยู่ในระยะเพสลาด ผลที่ได้พบว่าภายหลังการปลูกเชื้อเป็นเวลา 3 วั น ใบ ทุเรียนจะพบแผลจุดฉ่าน้าสีน้าตาล ในตาแหน่งที่ปลูกเชื้อในขณะที่ไม่พบอาการดังกล่าวในตาแหน่งที่ปลูกเชื้อ ด้วยอาหาร PDA ปกติ (ภาพที่ 2ข) แสดงว่าเชื้อ รา R. solani ที่ แยกได้แ ละใช้ ในการศึก ษาครั้ง นี้ยั ง คง ความสามารถในการก่อโรค
ปลูกเชื้อด้วย R. solani
ปลูกเชื้อด้วย PDA
ก
ข
ภาพที่ 2 ลักษณะสีของเส้นใยและเม็ด sclerotium ของเชื้อรา R. solani ที่แยกได้จากการศึกษาครั้งนี้ (ก) และเมื่อทาการปลูกเชื้อเพื่อทดสอบการเกิดโรค พบว่าเชื้อรา R. solani สามารถก่อโรคโดยทาให้ใบ ทุเรียนเกิดแผลจุดฉ่าน้าสีน้าตาล ได้ภายใน 3 วัน หลังจากปลูกเชื้อ (ลูกศรชี้สีเหลื อง) เมื่อเปรียบเทียบ การปลูกเชื้อด้วยอาหาร PDA ที่ไม่พบอาการดังกล่าว (ลูกศรชี้สีฟ้า) 3. ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของน้้ า หมั ก เปลื อ กมั ง คุ ด ต่ อ การยั บ ยั้ ง การเจริ ญ ของเส้ น ใยเชื้ อ รา Rhizoctonia solani ในการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของน้ าหมั ก เปลื อ กมั ง คุ ด ที่ ค วามเข้ ม ข้ น ต่ า งๆกั น คื อ 0.25% v/v, 0.5%v/v, 1.0% v/v, 2.0% v/v, 4.0% v/v และ 5.0% v/v เปรียบเทียบกับอาหาร PDA ปกติ และสารเคมี กาจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ต่อการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา R. solani (ภาพที่ 3 และตารางที่ 1) พบว่าการใช้น้าหมักเปลือกมังคุดความเข้มข้น 4.0% v/v (ภาพที่ 3จ) และ 5.0% v/v (ภาพที่ 3ฉ) สามารถ ยับ ยั้ง การเจริญ ของเส้น ใยเชื้อ รา R. solani ได้ 100% ตามล าดับ เที ย บเท่ าการใช้ส ารเคมี ก าจั ด เชื้อ รา ไพราโคลสโตรบินที่ความเข้มข้น 750 ppm (ภาพที่ 3ซ) รองมาคือการใช้น้าหมักเปลือกมังคุดความเข้มข้น 282
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
2.0% v/v (ภาพที่ 3ง) และ 1.0% v/v (ภาพที่ 3ค) มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อราได้ เท่ ากั บ 68.44% และ 32.89% ตามล าดั บ ในขณะที่ น้ าหมั ก เปลื อ กมั ง คุ ด ที่ ค วามเข้ ม ข้ น 0.25% v/v (ภาพที่ 3ก) และ 0.5% v/v (ภาพที่ 3ข) ไม่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้ อรา R. solani (0%)
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
ซ
ภาพที่ 3 ผลการทดสอบประสิท ธิภาพของน้ าหมั ก เปลือกมั งคุดต่อการยับ ยั้ง การเจริญ ของเส้นใยเชื้อ รา R. solani ที่ความเข้มข้นต่างๆ กัน ได้แก่ 0.25% v/v, 0.5% v/v, 1.0% v/v, 2.0% v/v, 4.0% v/v 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
283
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
และ 5.0% v/v (ก-ฉ) ตามลาดับ เปรียบเทียบกับเชื้อรา R. solani ที่เจริญบนอาหาร PDA ปกติ(ช) และสารเคมีกาจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ความเข้มข้น 750 ppm (ซ) ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา R. solani บนอาหาร PDA ที่ผสมกับ น้าหมั ก เปลื อ กมั ง คุ ดความเข้ ม ข้น ต่ างๆกั น ภายหลั ง จากการเลี้ย งเชื้ อ ที่ อุ ณ หภู มิ ห้ อ งเป็ น เวลา นาน 3 วัน ความเข้มข้นของน้าหมักมังคุด
ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การยับยัง้ เจริญของเส้นใย
กรรมวิธีที่ 1 0.25% v/v กรรมวิธีที่ 2 0.50% v/v กรรมวิธีที่ 3 1.0% v/v กรรมวิธีที่ 4 2.0% v/v กรรมวิธีที่ 5 4.0% v/v กรรมวิธีที่ 6 5.0% v/v อาหาร PDA ปกติ สารเคมีกาจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ความเข้มข้น 750 ppm
0 0 32.89 68.44 100 100 0 100
สรุปผลการทดลอง จากการทดสอบประสิทธิภาพของน้าหมักเปลือกมังคุดที่หมักนาน 3 เดือน ต่อการยับยั้งการเจริญของ เส้นใยเชื้อรา R. solani สาเหตุโรคใบติดในทุเรียน ที่ ความเข้ม ข้นต่างๆกันได้แก่ 0.25% v/v, 0.50% v/v, 1.0% v/v, 2.0% v/v, 4.0% v/v และ 5.0% v/v ตามล าดั บ เปรี ย บเที ย บกั บ สารเคมี ก าจั ด เชื้ อ รา ไพราโคลสโตรบิน ผลที่ได้พบว่าการใช้น้าหมักเปลือกมังคุดที่ความเข้มข้น 4.0% v/v และ 5.0% v/v สามารถ ยับยั้งการเจริญของเส้นใยราได้ 100% เทียบเท่ าการใช้สารเคมี รองลงมาคือ การใช้น้าหมักเปลือกมั งคุดที่ ความเข้ม ข้น 2.0% v/v และ 1.0% v/v สามารถยับยั้งการเจริญของเส้นในเชื้อราได้ 68.44 และ 32.89% ตามลาดับ ในขณะที่การใช้น้าหมักเปลือกมังคุดความเข้มข้น 0.25% v/v และ 0.5% v/v ไม่สามารถยับยั้งการ เจริญของเส้นใยเชื้อราได้ ค้าขอบคุณ ขอขอบคุณสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และคณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ทีส่ นับสนุนทุนวิจัยครัง้ นี้
284
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-05
เอกสารอ้างอิง เชษฐา กวางทอง. 2541. การใช้เทคโนโลยีการผลิตทุเรียนของเกษตรกรในจังหวัดจันทบุรี : ศึกษาเฉพาะกรณี อาเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์). ปัญจมา กวางติ๊ด และสมศิริ แสงโชติ. 2545. การจัดการโรคผลเน่าของทุเรียน (Durio zibethinus Murr.) ที่ เกิดจากเชื้อรา Phytophthora pamivora (Butl.) Butl. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 33(6): 4548. พืชเกษตรไทย. 2061. มังคุด สรรพคุณ และการปลูกมังคุด. สืบค้น 15 มีนาคม 2561 มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม และภัทราพร ทองนิม่ . 2558. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากเปลือกมังคุดต่อ การยับยัง้ การเจริญของเชื้อรา Phytophthora pamivora (Butl.) Butl. สาเหตุโรครากเน่าและโคน เน่าของทุเรียน.วารสารวิทยาศาสตรเกษตร 46 (3): 207-218. นิภาดา ประสมทอง มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย ประภัสสร บุษหมั่น วรภัทร ลัคนทินวงศ์ และมงคล วงศ์สวัสดิ์. 2554. ผลของสารสกัดจากเปลือกมังคุดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของผลมะม่วงพันธุ์น้าดอกไม้. การประชุมวิชาการ ระบบเกษตรแห่งชาติ, 7: 520-525. Pedraza-Chaverri, J., Cardenas-Rodrguez, N., Orozco-Ibarra, M. and J.M. Perez-Rojas. 2008. Review : Medicinal properties of mangosteen (Garcinia mangostana). Food Chem. Toxicol. 46: 3227-3239. Suttirak, W. and S. Manurakchinakorn. 2014. In vitro antioxidant properties of mangosteen peel extract. J. Food Sci. Tech. 51: 3546-3558. Potiyot, A. and K. Kunasakdakul. 2014. Resistant induction of Phytophthora root rot in strawberry tissue culture plantlets Using endophytic actinomycetes. Journal of Agriculture 30: 213-222.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
285
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
ฤทธิ์การต้านเชือ้ แบคทีเรียของ Zinc Oxide Nanoparticles ในการยับยั้ง Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองของคะน้า Antibacterial Effect of Zinc Oxide Nanoparticles on Xanthomonas campestris pv. campestris, Cause of Black Rot of Chinese Kale ศุภิสรา ศรีโพธิ์งาม สุพจน์ กาเซ็ม และ ติยากร ฉัตรนภารัตน์ Supisara Sripo-ngam Supot Kasem and Tiyakhon Chatnaparat ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900
บทคัดย่อ การต้านทานสารปฏิชีวนะในแบคทีเรียสาเหตุโรคพืชเป็นปัญหาสาคัญในการจัดการโรคพืช ซึ่งปัญหา นี้นาไปสู่การหาทางเลือกใหม่ในการควบคุมแบคทีเรียสาเหตุโรคพืช zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) เป็นสารอนินทรีย์ที่จัดอยู่ในกลุ่ม generally recognized as safe (GRAS) และมีการใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ ในการผลิ ต พื ช การศึ ก ษานี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของ ZnO NPs ในการยั บ ยั้ ง Xanthomonas campestris pv. campestris (Xcc) สาเหตุ โรคขอบใบทองของพืชตระกู ล กะหล่า และ ศึกษาผลของพื้นที่ผิวสัมผัสของ ZnO NPs ต่อการควบคุมเชื้อ Xcc จากการทดสอบค่า Minimum Inhibitory Concentration (MIC) และ Minimum Bactericidal Concentration (MBC) เพื่อหาค่าความเข้มข้นต่าสุด ในการยับยั้งแบคทีเรียพบว่า ZnO NPs ที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมาก (46, 33 และ 52 m2/g) มีประสิทธิภาพในการ ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียมากกว่าอนุภาคที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสน้อย โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 62.5, 125, 125 และ 2000, 4000, 4000 µg/ml ตามล าดับ และเมื่ อตรวจสอบการตายของแบคที เรียด้วยวิธี live/dead cells ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Epifluorescence พบว่าเซลล์ส่วนใหญ่ตายเมื่ อเลี้ยง Xcc ร่วมกับ ZnO NPs ที่ค่าความเข้มข้นเท่ากับ MBC การทดสอบกลไกระดับโมเลกุลของ ZnO NPs ต่อการแสดงออก ของยีนที่เกี่ยวข้องกับการก่อโรคด้วยวิธี Real-Time qRT-PCR พบว่า ZnO NPs ยับยั้งการแสดงออกของยีน hrpB และ hrpF ซึ่งเป็นยีนในระบบ Type III secretion system การศึกษานี้แสดงถึงประสิทธิภาพและกลไก ของ ZnO NPs ในการยับยั้ง Xcc โดยออกฤทธิ์ในการฆ่าเซลล์และยับยั้งการแสดงออกของยีนก่อโรค ข้อมูลที่ ได้สามารถนามาพั ฒ นาวิธีก ารใช้ ZnO NPs ในการควบคุม โรคขอบใบทองคะน้า เพื่อเป็นทางเลือกในการ ควบคุมโรคพืชแบบปลอดภัยต่อไป คาสาคัญ : นาโนซิงค์ออกไซด์ การยับยั้งแบคทีเรีย โรคขอบใบทองของคะน้า
286
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
ABSTRACT Antibiotic and drug resistance of bacterial plant pathogens have become the critical problems in plant disease management. This situation leading to the development of safety alternative strategies to control bacterial plant pathogens. Nanoparticles are an alternative way that could be utilized in plant disease control. Zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) is an inorganic compound and listed as a generally recognized as safe (GRAS) material and have been used in many applications in plant production. Thus, the aim of this study was to investigate the antibacterial activity of ZnO NPs against Xanthomonas campestris pv. campestris (Xcc), the causal agent of black rot disease of Brassica plants. The antibacterial effect of ZnO NPs formulated that differ in their surface area against Xcc was evaluated. The Minimum Inhibitory Concentration (MIC) and Minimum Bactericidal Concentration (MBC) values of ZnO nanoparticles with high surface area (46, 33 and 52 m2/g) for Xcc were determined to be 62.5, 125, 125 µg/ml and 2000, 4000, 4000 µg/ml, respectively, suggest that ZnO NPs with high surface area are more effective than low surface area. The mechanism of ZnO NPs on the cells viability of Xcc was examined by live/dead cells staining and observed under Epifluorescence microscope. We observed that the majority of Xcc cells were dead after exposure to MBC value of ZnO NPs for 24 h. In addition, the molecular mechanism of ZnO NPs on the suppression of pathogenicity genes of Xcc was also investigated. Real-Time qRT-PCR showed that the expression levels of T3SS representative genes, hrpB and hrpF of Xcc were highly decreased when Xcc cells treated with ZnO NPs. All these results suggest that the ZnO nanoparticles are effectively inhibit Xcc by inhibit growth, caused cell dead and suppress the expression of pathogenicity genes in Xcc. The results obtained from this study can be used to develop the application of ZnO NPs to control black rot diseases of Chinese kale. Keywords: Zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs), antibacterial activity, black rot of Chinese kale คานา ในปัจจุบันพบปัญหาแบคทีเรียสาเหตุโรคพืชต้านทานต่อสารเคมีป้องกันกาจัดโรคพืช ทาให้เกษตรกร ต้องใช้ส ารเคมีซ้าๆและบ่อยครั้ง จนก่อ ให้เกิ ดปัญ หาการตรวจพบสารเคมี ตกค้างในผลผลิต ดังนั้นการนา โมเลกุลระดับนาโนมาใช้ในการควบคุมโรคพืชจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพและ เกิดความปลอดภัย ในต่างประเทศรวมทั้งประเทศไทย มีการผลิต zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) ซึ่ง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
287
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
เป็ น สารอนิ น ทรีย์ (inorganic) ที่ มี ค วามปลอดภั ย สู ง จั ด อยู่ ในกลุ่ ม “generally recognized as safe” (GRAS) (FDA 2015) และนามาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมที่แตกต่างหลากหลาย โดยเฉพาะทางการแพทย์ มี รายงานการใช้ ZnO NPs ในการควบคุมแบคทีเรียหลายชนิด เช่น การใช้ ZnO NPs ในการยับยั้งการเจริญ ข อ ง แ บ ค ที เรี ย Escherichia coli Pseudomonas aeruginosa แ ล ะ Staphylococcus aureus (Premanathan et al. 2011) ซึ่งได้มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพของอนุภาคนาโนในรูปแบบต่างๆ โดยพบว่า ประสิทธิภาพของ ZnO NPs ในการยับยั้งแบคทีเรียยังขึ้นอยู่กับขนาด (size) และลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของอนุภาค (particle morphology) มีรายงานว่า CuO NPs ที่มี ขนาดเล็ก รูป ร่างท่อนและพื้นที่ผิวสัมผัส มาก แสดงประสิท ธิภ าพในการยับ ยั้ ง เชื้อ E. coli ได้ดี ก ว่ารูป ร่างกลม (Tavakoli et al. 2019) ส าหรั บ แบคที เ รี ย สาเหตุ โ รคพื ช มี ร ายงานการใช้ อ นุ ภ าคนาโน (nanoparticles) ในการยั บ ยั้ ง เชื้ อ Ralstonia solanacearum รวมทั้งเชื้อแบคทีเรียในกลุ่ม Xanthomonads เช่น Xanthomonas oryzae pv. oryzae X. citri sub.sp. citri และ X. alfalfae (Graham et al. 2016, Huang et al. 2018, Chen et al. 2019, Ogunyemi et al. 2019) แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงานการนา ZnO NPs มาใช้ยับยั้งเชื้อ Xanthomonas campestris pv. campestris (Xcc) สาเหตุโรคขอบใบทองของพืชตระกูลกะหล่า ซึ่งพบปัญหาการต้านทาน ต่อสารเคมีในพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมีเดิมซ้าๆและบ่อยครั้ง ดังนั้นการวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง ประสิทธิภาพและกลไกของอนุภาค ZnO NPs ที่พื้นที่ผิวสัมผัส (surface area) แตกต่างกันในการควบคุมโรค พืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยใช้โรคขอบใบทองหรือเน่าดาที่เกิดจากเชื้อ X. campestris pv. campestris ที่พบปัญหาการต้านทานต่อสารเคมีในปัจจุบันเป็นโมเดลในการศึกษา (Lugo et al. 2013) รวมถึงตรวจสอบ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเซลล์แบคทีเรียและกลไกของ ZnO NPs ต่อการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับ การเกิ ดโรค ซึ่ง องค์ความรู้จ ากงานวิจัยครั้ง นี้ส ามารถเป็นข้อมู ล ในการก าหนดชนิด ZnO NPs และ/หรือ นาไปสู่การกาหนดอัตราการใช้ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง ใช้ในอัตราน้อย และเป็นสารทางเลือกใหม่ใน การควบคุมโรคพืชแบบปลอดภัย อุปกรณ์และวิธีการ 1. การทดสอบประสิทธิภาพของอนุภาค zinc oxide nanoparticles ในการยับยั้งเชื้อ Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองคะน้า การทดลองนี้ใช้ เชื้อ X. campestris pv. campestris สายพันธุ์ Kn15 (Xcc Kn15) ซึ่งแยกได้จาก พื้นที่ปลูกคะน้าที่มีการใช้สารเคมีในการควบคุมโรคขอบใบทองอย่างต่อเนื่อง (ธาณิกานต์ 2561) และก่อโรค รุนแรงบนพืชคะน้าเป็นโมเดลในการศึกษา โดยนาเชื้อบริสุทธิ์เลี้ยงในอาหารเหลว nutrient broth (NB) เป็น เวลา 16 ชั่ วโมง หลั ง จากนั้น ปรั บ ความเข้ ม ข้น เซลล์ เท่ า กั บ OD600=0.5 น ามาเลี้ ยงร่ วมกั บ zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) แต่ ล ะชนิ ดที่ พื้ น ที่ ผิ ว สั ม ผั ส (surface area) แต กต่ า งกั น (ตารางที่ 1) เป รี ย บ เที ย บ กั บ ก รรม วิ ธี ที่ ใช้ ส าร เค มี ได้ แ ก่ ส ารป ฏิ ชี วน ะ Bactrol® (gentamicin sulfate + oxytetracycline hydrochloride) และสารเคมีคอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ (copper hydroxide) และกรรมวิธีที่ ไม่เลี้ยงร่วมกับสารทดสอบทุกชนิดเป็นชุดควบคุม จากนั้นตรวจสอบประสิทธิภาพของ ZnO NPs ในการยับยั้ง 288
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
Xcc โดยหาค่าความเข้มข้นต่าสุดในการยับยั้งแบคทีเรีย (Minimum Inhibitory Concentration, MIC) ด้วย วิธี broth microdilution (Graham et al. 2016) และค่าความเข้มข้นต่าสุดที่ สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ ทั้งหมด (Minimum Bactericidal Concentration, MBC) ตามวิธีการของ Ansari (2012) ตารางที่ 1 รูปแบบของ zinc oxide nanoparticles ที่พื้นที่ผิวสัมผัสแตกต่างกันในกรรมวิธีทดสอบ ZnO nanoparticles1/ ZnO NPs no.1 ZnO NPs no.2 ZnO NPs no.3 ZnO NPs no.4 ZnO NPs no.5 ZnO nanopowder (Sigma-Aldrich)
เปอร์เซ็นต์ ZnO (%) 95.54 97.57 98.29 99.68 99.81 79.1 - 81.5
พื้นที่ผิวสัมผัส (m2/g) 52 46 33 18 5 15-25
1/
Zinc Oxide nanoparticles (ZnO NPs) ที่ใช้ในการทดลองผ่านการตรวจสอบปริม าณ ZnO (% ZnO) และพื้นที่ผิวสัม ผัสด้วยวิธี Titration และ Brunauer–Emmett–Teller (BET) ตามลาดับ
1.1 การทดสอบค่ า ความเข้ ม ข้ น ต่ าสุ ด ของ ZnO NPs ในการยั บ ยั้ งแบคที เรี ย (Minimum Inhibitory Concentration, MIC) และค่า ความเข้ มข้ นที่ส ามารถฆ่า เชื้ อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. campestris ได้ทั้งหมด (Minimum Bactericidal Concentration, MBC) นาเชื้อแบคทีเรีย Xcc ที่เตรียมไว้มาเลี้ยงร่วมกับ ZnO NPs ชุดทดสอบทั้ง 5 รูปแบบที่ความเข้มข้น แตกต่างกัน (8000, 4000, 2000, 1000, 500, 250, 125 และ 62.5 µg/ml) จากการเจือจางแบบ Two-fold serial dilutions ใน 96 well microplate ตามวิธีการของ Graham (2016) เปรียบเทียบกับสารเคมีและชุด ควบคุม บ่ม เชื้อ เป็ นเวลา 24 ชั่ วโมง จากนั้ นตรวจสอบการมี ชี วิตของเซลล์ ด้วยการเติม resazurin dye (0.0125%, wt/vol) ปริมาตร 10 µl ต่อปริมาตรของสารทดสอบ 100 µl หลังจากนั้น 2-4 ชั่วโมงจึงสังเกต การเปลี่ยนแปลงของสี หากเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นสีชมพูแสดงว่ามีการเจริญของแบคทีเรียที่มีชีวิต (Graham et al. 2016) โดยกาหนดให้ช่องที่มี ZnO NPs ที่ความเข้มข้นต่าสุดที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสี (สีน้าเงิน ) เป็น ค่ าความเข้ม ข้นต่ าสุด ที่ ส ามารถยับ ยั้ง แบคที เรีย ได้ (MIC) (Elshikh et al. 2016) โดยท าการทดลอง ทั้งหมด 3 ซ้าในแต่ละกรรมวิธี จากนั้นนาสารแขวนลอยที่ได้จากการทดสอบค่า MIC มาหาค่า MBC โดยนาเชื้อในแต่ละกรรมวิธีที่ ความเข้มข้นต่างๆปริมาตร 25 µl มาเลี้ยงบนอาหาร nutrient agar (NA) ที่แบ่งช่องทั้งหมด 8 ช่อง (ภาพที่ 1) ด้วยวิธี streak plate method โดยเลือกความเข้มข้นที่ 8000, 4000, 2000, 1000, 500, 250 และ 125 µg/ml เปรียบเทียบกับ เชื้อ Xcc ที่ ไม่ ได้ผสมสารทดสอบกรรมวิธีละ 3 ซ้า บ่มเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่วโมงแล้ว
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
289
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
สังเกตการเจริญ ของโคโลนี โดยให้ช่องที่มีค่าความเข้มข้นของสารต่าที่ สุดที่ไม่มี การเจริญของโคโลนีเป็นค่า MBC (Ansari et al. 2012)
ภาพที่ 1 รูปแบบการแบ่งช่องจานเลี้ยงเชื้อที่ใช้ในการทดสอบค่า Minimum Bactericidal Concentration,zinc MBCoxide ด้วยวิnanoparticles ธี streak plate method 2. ตรวจสอบกลไกของ ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรค 2.1 กลไกของ zinc oxide nanoparticles ต่อการแสดงออกของยีน zinc uptake regulator (zur) และยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคด้วยวิธี Real-Time qRT-PCR เนื่องจากยีน zinc uptake regulator (zur) เป็นยีนที่ ทาหน้าที่ รักษาสมดุล ของ zinc ภายในเซลล์ แบคทีเรีย และมีรายงานว่ายีน zur ของเชื้อ Xcc เกี่ยวข้องกับการก่อให้เกิดโรคและเกี่ยวข้องกับการทางาน ของ hrp genes ซึ่งเป็นยีนในระบบ Type III secretion ที่สาคัญต่อการเกิดโรคโดยตรงของเชื้อแบคทีเรียใน กลุ่ม Xanthomonads ดังนั้น การประยุกต์ใช้โมเลกุล ZnO NPs น่าจะส่งผลโดยตรงต่อการแสดงออกของยีน ดังกล่าว ดังนั้นการทดลองนี้จึงทาการทดสอบผลของ ZnO NPs ต่อการแสดงออกของยีน zur และยีน hrp ของเชื้อ Xcc ด้วยวิธี Real-Time qRT-PCR โดยเลี้ยงเชื้อ Xcc ในอาหารเลี้ยงเชื้อ hrp-inducing medium และอาหาร hrp-inducing medium ที่ ผ สม ZnO NPs no.2 ความเข้ม ข้น 125 µg/ml จากนั้นเก็ บ เซลล์ แบคที เรียที่ เลี้ยงในอาหารมาใช้ในการศึก ษาการแสดงออกของยีน โดยเติม RNA Protect Cell Reagent (RNAprotect® Bacteria Reagent QIAGEN) ในอัตราส่วน 2:1 (v/v) ลงในเซลล์แบคทีเรียที่ เลี้ยงในแต่ล ะ สภาวะ ตกตะกอนเซลล์และนามาสกัด RNA ด้วยชุดเครื่องมือ RNeasy® Mini Kit (QIAGEN) และย่อย DNA ที่ปนเปื้อนในตัวอย่างด้วย TURBO DNA-free™ Kit (Invitrogen) ตรวจวัดความเข้มข้นของ RNA บริสุทธิ์ด้วย เครื่อง NanoDrop® ND 2000 จากนั้นนา RNA บริสุทธิ์ที่ได้มาใช้ในการเป็น template เพื่อสังเคราะห์ first strand cDNA ด้ ว ย RevertAid First Strand cDNA Synthesis Kit (Thermo Fisher Scientific) โดยใช้ RNA Template ความเข้ ม ข้ น 1 µg และไพรเมอร์ Random Hexamer จากนั้ น น าตั ว อย่ า งที่ ได้ ม าใช้ ตรวจสอบการแสดงออกของยีนด้วยไพร์เมอร์จาเพาะบริเวณยีน zur hrpA hrpB และ hrpF ด้วยเทคนิค Real-Time qRT-PCR โดยจะใช้ cDNA ความเข้ ม ข้ น 1 ng (เจื อ จาง 1,000 เท่ า จาก RNA บริ สุ ท ธิ์ ค วาม 290
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
เข้ ม ข้ น 1 µg) และสี ย้ อ มดี เ อ็ น เอ 5X HOT FIREPol® EvaGreen® qPCR Mix Plus (no ROX) (Solis BioDyne) ด้วยเครื่อง Eco™ Real-Time PCR system (Illumina®) และปฏิบัติตามวิธีแนะนาในคู่มือโดยใช้ ยี น RNA polymerase, sigma 70 (sigma D) factor (rpoD) เ ป็ น internal control ซึ่ ง เ ป็ น housekeeping gene วิเคราะห์ผลการทดลองโดยคานวณหาระดับการเปลี่ยนแปลงการแสดงออกของยีน (relative gene expression หรือ fold change) ด้วยวิธี 2-△△Ct (Livak and Schmittgen 2001) 2.2 กลไกของ zinc oxide nanoparticles ต่อการมีชีวิตของเซลล์แบคทีเรีย (cell viability) เพื่ อ ศึ ก ษาผลของ ZnO NPs ต่ อ การมี ชี วิ ต ของเซลล์ แ บคที เ รีย Xcc งานทดลองนี้ น าเชื้ อ Xcc Kn15:GFP ซึ่ งเป็ น ส าย พั น ธุ์ ที่ มี พ ล าส มิ ด pKT-trp จ าก เซ ล ล์ Escherichai coli DH5α (pKT-trp) (Hallmann et al. 2001) ทาให้มีการแสดงออกของ green fluorescent protein (GFP) ตลอดเวลา (ธาณิ กานต์ 2561) มาใช้ในการทดลองเพื่อที่จะสามารถตรวจสอบลักษณะของเซลล์ในขณะที่เซลล์ยังมีชีวิต (เซลล์ เรืองแสง GFP) ร่วมกับการใช้เทคนิค live/dead cells staining โดยการย้อมด้วย propidium iodide เซลล์ ที่ตายจะติดสีแดงของ propidium iodide เมื่ อส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Epifluorescence โดยนาเซลล์ Xcc Kn15:GFP ที่ความเข้มข้นเซลล์เท่ากับ 1 x 108 cfu/ml เลี้ยงในอาหาร NB ที่ผสม ZnO NPs ด้วยความ เข้มข้ นต่าสุดที่ส ามารถฆ่าเชื้อ แบคที เรียได้ (ค่า MBC) ที่ได้จากการทดลองที่ 1.1 เปรียบเที ยบกั บกรรมวิธี ควบคุม และเลี้ยงเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่วโมง (Hsueh et al. 2015) หลังจากนั้นนาเซลล์มาย้อมด้วย propidium iodide และบ่ม ในที่มืดเป็นเวลา 10 นาที หลังจากนั้นนาเซลล์แบคทีเรีย มาตรวจสอบลัก ษณะทางสัณฐาน วิทยาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Epifluorescence (Hallmann et al. 2001) ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การทดสอบประสิทธิภาพของอนุภาค zinc oxide nanoparticles ในการยับยั้งเชื้อ Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองคะน้า จากการทดสอบประสิทธิภาพของ ZnO NPs แต่ละชนิดในการยับยั้งเชื้อ Xcc โดยการหาค่าความ เข้มข้นต่าสุดในการยับยั้ง (MIC) และค่าความเข้มข้นต่าสุดที่สามารถฆ่าเชื้อ Xcc ได้ (MBC) พบว่า ZnO NPs มีประสิท ธิภาพในการยับยั้งเชื้อ Xcc ได้ดีเทียบเท่ าสารปฏิชีวนะ Bactrol® และพบว่า ZnO NPs ที่ มีพื้นที่ ผิวสัมผัสแตกต่างกันทั้ง 5 รูปแบบ มีประสิทธิภาพในการยับยั้งที่แตกต่างกัน โดย ZnO NPs ที่มีพื้นที่ผิวสัมผัส ที่สูงกว่ามีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียดีกว่ าอนุภาคที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสต่ากว่า โดย ZnO NPs รูป แบบที่ มี ป ระสิท ธิภาพในการยับ ยั้ง แบคที เรียดี ที่ สุดสามอันดับ แรกคือ no.2 (46 m2 /g), no.3 (33 m2/g) และ no.1 (52 m2/g) โดยมี ค่า MIC และ MBC เท่ากั บ 62.5, 125, 125 และ 2000, 4000, 4000 µg/ml ตามลาดับ (ตารางที่ 2) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ZnO NPs มีความสามารถในการยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ ในความเข้มข้นที่ต่า นอกจากนั้นพบว่า เมื่ อเปรียบเทียบ ZnO NPs no.4 กับ ZnO nanopowder (SigmaAldrich) ที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสใกล้เคียงกัน แต่เปอร์เซ็นต์ ZnO ต่างกัน ค่า MIC ของ ZnO NPs no.4 มีค่าเท่ากับ 500 µg/ml ในขณะที่ ZnO nanopowder (Sigma-Aldrich) ที่มีเปอร์เซ็นต์ ZnO ต่ากว่า มีค่า MIC เท่ากับ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
291
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
1000 µg/ml แสดงให้เห็นว่าเปอร์เซ็นต์ ZnO มี ผลต่อประสิ ท ธิภาพของ ZnO NPs ในการยับยั้งเชื้อ Xcc เช่นเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตามพบว่ากรรมวิธีที่ใช้สารเคมีคอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ ให้ค่า MIC และ MBC เท่ากันที่ ความเข้มข้น 250 µg/ml แสดงให้เห็นว่าที่ความเข้มข้นเดียวกันนี้คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์สามารถยับยั้งและฆ่า แบคที เรียได้ ชี้ให้เห็นว่า กลไกการยับ ยั้งเชื้อแบคที เรียของสารเคมี คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์และ ZnO NPs แตกต่างกัน โดยมีรายงานว่าพื้นที่ผิวสัมผัสที่แตกต่างกันของ ZnO NPs ส่งผลต่อการปลดปล่อยไอออน Zn2+ และการสร้าง ROS (Sirelkhatim et al. 2015) ซึ่งเป็นกลไกที่ทาให้ ZnO NPs มีความแตกต่างจากสารเคมี คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์ สอดคล้องกับการรายงานของ Graham (2016) ค่า MIC ของ ZnO NPs ในการยับยั้ง Xanthomonas alfalfa subsp. citrumelonis เท่ ากั บ 62.5-125 µg/ml และค่า MIC ของสารเคมี ค อป เปอร์ไฮดรอกไซด์เท่ากั บ 250-500 µg/ml ในขณะเดียวกันมีรายงานการทดสอบความเป็นพิษของสารเคมี คอปเปอร์ไฮดรอกไซด์เปรียบเทียบกับอนุภาคนาโนต่อต้นมะเขือเทศ พบว่าสารเคมีคอปเปอร์ไฮดรอกไซด์เป็น พิ ษ ต่อ พื ชมากกว่าอนุ ภาคนาโน (Huang et al. 2018) จากผลการทดลองแสดงให้ เห็ น ว่า ZnO NPs มี ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อ Xcc ได้ดี โดยเฉพาะอนุภาคที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมากและมีเปอร์เซ็นต์ ZnO ที่สูง ซึ่งมีประสิทธิภาพดีกว่าสารปฏิชีวนะและปลอดภัยกว่าสารเคมีคอปเปอร์ ZnO NPs จึงเหมาะสมที่ จะใช้เป็นทางเลือกหนึ่งในการควบคุมโรคขอบใบทองคะน้าที่เกิดจากเชื้อ Xcc ต่อไป ตารางที่ 2 ค่ าความเข้ ม ข้น ต่ าสุ ด ของ ZnO nanoparticles แต่ ล ะรูป แบบที่ ส ามารถยั บ ยั้ง (Minimum Inhibitory Concentration, MIC) และฆ่าเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. campestris ได้ (Minimum Bactericidal Concentration, MBC) สารที่ใช้ทดสอบ ZnO NPs no.1 ZnO NPs no.2 ZnO NPs no.3 ZnO NPs no.4 ZnO NPs no.5 ZnO nanopowder (Sigma-Aldrich) Bactrol® Copper hydroxide
เปอร์ เ ซ็ น ต์ ZnO (%) 95.54 97.57 98.29 99.68 99.81 79.1 - 81.5
พื้ น ที่ ผิ ว สั ม ผั ส (m2/g) 52 46 33 18 5 15-25
X. campestris pv. campestris MIC (µg/ml) MBC (µg/ml) 125 4000 62.5 2000 125 4000 500 8000 8000 มากกว่า 8000 1000 8000
-
-
62.5 250
หมายเหตุ : Bactrol® คือ สารปฏิชีวนะ Gentamicin sulfate + Oxytetracycline hydrochloride
292
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
มากกว่า 8000 250
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
2. ก ล ไก ข อ ง zinc oxide nanoparticles ใน ก าร ยั บ ยั้ งเชื้ อ Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองคะน้า 2.1 กลไกของ zinc oxide nanoparticles ต่อการแสดงออกของยีน zinc uptake regulator (zur) และยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคด้วยวิธี Real-Time qRT-PCR ผลการแสดงออกของยีน zur และยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคของเชื้อ Xcc ที่เลี้ยงในอาหารที่มีและ ไม่มี ZnO NPs no.2 ที่ความเข้มข้น 125 µg/ml เป็นเวลา 6 ชั่วโมง พบว่าการแสดงออกของยีน hrpB และ hrpF ลดลงเท่ากับ 0.232 และ 0.004 ตามลาดับ (ภาพที่ 2) แต่อย่างไรก็ตามไม่พบว่า ZnO NPs ส่งผลต่อ การแสดงออกของยีน hrpA แสดงให้เห็นว่า ZnO NPs ส่งผลต่อการแสดงออกของยีนที่สาคัญต่อการก่อโรค ของเชื้อ Xcc อย่างจาเพาะเจาะจง โดยยีน hrpB เป็นยีนที่ทาหน้าที่ encode โปรตีน ATP-dependent RNA helicase และเกี่ยวข้องกับการควบคุม type IV pili ในแบคทีเรียจีนัส Xanthomonas ส่งผลต่อการเคลื่อนที่ และยึดติดของแบคทีเรีย (Granato et al. 2016) นอกจากนี้โปรตีน HrpF มีบทบาทในการเป็น translocon protein ที่สาคัญในปฏิสัมพันธ์ระหว่างแบคทีเรียสาเหตุโรคและการรับรู้จดจาของพืชอาศัย ยีน hrpF จึงจัดว่า เป็นยีนที่ มีความสาคัญ ในการก่อให้เกิดโรค (Büttner et al. 2002) ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของ (Chen et al. 2019) ระบุว่า CuO NPs สามารถควบคุมโรคเหี่ยว (bacterial wilt disease) ที่เกิดจากเชื้อ Ralstonia solanacearum ได้โดยส่งผลให้ล ดการแสดงออกของยีนที่ เกี่ ยวข้องกั บ การก่ อโรคและการเคลื่อนที่ ของ แบคที เรีย ในขณะเดียวกั น พบว่า ZnO NPs ไม่ ส่ง ผลต่อการแสดงออกของยีน zur ซึ่ง เป็นยีนที่ ท าหน้าที่ ควบคุมสมดุลของ zinc ภายในเซลล์และควบคุมการแสดงออกของยีน hrp (Huang et al. 2009) จากผลการ ทดลองชี้ให้เห็ นว่ากลไกหนึ่ งของ ZnO NPs ต่อการยับ ยั้งเชื้อ Xcc คือ ส่ง ผลต่อการแสดงออกของยีน ที่ เกี่ยวข้องกับการก่อโรค
*
*
ภาพที่ 2 ระดับการแสดงออกของยีนทีเ่ กี่ยวข้องต่อการเกิดโรคของ Xanthomonas campestris pv. campestris ประกอบด้วย hrpA, hrpB, hrpF และ zur ที่เลี้ยงโดยการเติมและไม่เติม ZnO NPs no.2 ที่ความเข้มข้น 125 µg/ml เป็นเวลา 6 ชั่วโมง และวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติ Student’s T-Test (แทนด้วยเครื่องหมายดอกจัน, *) ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (α) เท่ากับ 0.05 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
293
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
2.2 กลไกของ zinc oxide nanoparticles ต่อการมีชีวิตของเซลล์แบคทีเรีย (cell viability) จากการตรวจสอบการมีชีวิตของเซลล์แบคทีเรียภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Epifluorescence โดยเลี้ยง เชื้อ Xcc ร่วมกับ ZnO NPs ที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด 3 อันดับแรกคือ no.2, no.3 และ no.1 ตามลาดับ โดย ใช้ความเข้มข้นต่าสุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ (Minimum Bactericidal Concentration, MBC) พบว่า เซลล์ส่วนใหญ่ที่เลี้ยงร่วมกับ ZnO NPs เกิดการตาย (red cells) (ภาพที่ 3A-3C) เมื่อเปรียบเทียบกับเซลล์ แบคทีเรียชุดควบคุม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเซลล์มีชีวิตปกติ (green cells) (ภาพที่ 3H) และพบเซลล์แบคทีเรียที่มี ชีวิตจานวนมาก เมื่อทดสอบด้วยสารปฏิชีวนะ Bactrol® ที่ความเข้มข้น 2,000 และ 4,000 µg/ml และพบ ปริม าณเซลล์ต ายมากขึ้น เมื่ อ ใช้ค วามเข้ม ข้น ของ Bactrol® ที่ 8,000 µg/ml (ภาพที่ 3D-3F) ซึ่ง ผลการ ทดลองนี้สอดคล้องกับค่า MBC ที่ได้ทาการทดสอบในข้างต้น และนอกจากนั้นแสดงให้เห็นว่าเชื้อ Xcc มีการ ต้านทานต่อสารเคมีควบคุมโรคที่มีสารออกฤทธิ์สาคัญเป็นสารปฏิชีวนะ ในขณะที่เมื่อทดสอบด้วยสารเคมีคอป เปอร์ไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้นที่ 1000 µg/ml ปรากฏการตายของเซลล์แบคทีเรีย 100% (ภาพที่ 3G) ซึ่งมี รายงานระบุว่าสารเคมี คอปเปอร์ส ามารถฆ่าเซลล์แบคที เรียได้โดยตรงและรวดเร็ว เกิ ดจากเยื่อหุ้ม เซลล์ เสียหาย การเกิ ด reactive oxygen species (ROS) และการเสื่อมสลายของสารพันธุก รรม (Grass et al. 2011) ในขณะที่กลไกสาคัญในการยับยั้งแบคทีเรียของ ZnO NPs คือการปลดปล่อยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (hydrogen peroxide) (Xie et al. 2011) โดยมีรายงานว่าการสร้าง ROS ของ ZnO NPs ส่งผลให้รบกวน องค์ป ระกอบของ lipids, DNA และ โปรตีนภายในเซลล์และท าให้เซลล์ตายในที่ สุด (Raghupathi et al. 2011) จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่ากลไกของ ZnO NPs ในการยับยั้งเชื้อ Xcc คือสามารถออกฤทธิ์ใน การฆ่าเซลล์ ซึ่งอาจจะเกิดจากการที่เซลล์เกิดความเสียหาย ทาให้การซึมผ่านของสารบริเวณเยื่อหุ้ม เซล ล์ เพิ่มขึ้น (membrane permeability) และเกิดการรั่วไหลของสารพันธุกรรมภายในเซลล์ ซึ่งจะทาการศึกษา ต่อไป
ภาพที่ 3 ความสมบูรณ์ของผนังเซลล์แบคทีเรียภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Epifluorescence เมื่อ เลี้ยงร่วมกับ (A) 2000 µg/ml ZnO NPs no.2, (B) 4000 µg/ml ZnO NPs no.3, (C) 4000 µg/ml ZnO NPs no.1, (D) 2000, (E) 4000, (F) 8000 µg/ml Bactrol® และ (G) 1000 µg/ml Copper hydroxide เปรียบเทียบกับ (H) Xcc Kn15:GFP ชุดควบคุม 294
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
สรุปผลการทดลอง การศึกษานี้เป็นรายงานแรกที่มีการทดสอบประสิทธิภาพและกลไกของ zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) ในการยั บ ยั้ ง แบคที เ รี ย สาเหตุ โ รคขอบใบทองคะน้ า Xanthomonas campestris pv. campestris ซึ่งการทดลองนี้พบว่า ZnO NPs สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ Xcc ได้ โดยเปอร์เซ็นต์ ZnO และพื้นที่ผิวสัมผัสของอนุภาค ZnO NPs ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อ Xcc โดยเฉพาะอนุภาค ZnO NPs ที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมาก จะส่งเสริมประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรียได้ดียิ่งขึ้น และพบว่ากลไกของ ZnO NPs ในการยับยั้งเชื้อ Xcc ได้แก่ 1) ส่งผลต่อยีนที่เกี่ยวข้องกับการก่อโรค โดยลดการแสดงออกของยีน hrpB และ hrpF ซึ่งเป็นยีนที่เกี่ยวข้องกับ Type III secretion system และ 2) องค์ป ระกอบของเซลล์ แบคทีเรีย เสียหายทาให้เกิดการรั่วไหลของสารภายในเซลล์และเซลล์ตายในที่สุด จากข้อมูลที่ได้จึงเป็น ข้อมูลพื้นฐานที่ เป็นประโยชน์ที่จะนามากาหนดชนิดของ ZnO NPs และทดสอบอัตราการใช้ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง ในอัตราที่ต่ามาควบคุมโรคขอบใบทองของคะน้า ซึ่งอยู่ระหว่างการทาการศึกษาเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ในการ ควบคุมเชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคต่อไป คาขอบคุณ ผู้วิจัยขอขอบคุณโครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (MSD61I0085) ภายใต้การ ดาเนินการของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และบริษัท โกเบิล เคมีเคิล จากัด ที่สนับสนุนการดาเนินงานวิจัยนี้ เอกสารอ้างอิง ธาณิ กานต์ เนี ย มแตง. 2561. การคั ด เลื อ กและเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของแบคที เ รี ย ปฏิ ปั ก ษ์ ด้ ว ยวิ ธี osmoadaptation เพื่ อ ค ว บ คุ ม โ ร ค ข อ บ ใ บ ท อ ง ค ะ น้ า . วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ป ริ ญ ญ า โท . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Ansari, M. A., H. M. Khan, A. A. Khan, A. Sultan, and A. Azam. 2012. Synthesis and characterization of the antibacterial potential of ZnO nanoparticles against extendedspectrum beta-lactamases-producing Escherichia coli and Klebsiella pneumoniae isolated from a tertiary care hospital of North India. Appl Microbiol Biotechnol 94:467-477. Büttner, D., D. Nennstiel, B. Klüsener, and U. Bonas. 2002. Functional analysis of HrpF, a putative type III translocon protein from Xanthomonas campestris pv. vesicatoria. JOURNAL OF BACTERIOLOGY 184:2389-2398. Chen, J., S. Mao, Z. Xu, and W. Ding. 2019. Various antibacterial mechanisms of biosynthesized copper oxide nanoparticles against soilborne Ralstonia solanacearum. RSC Advances 9:3788-3799. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
295
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
Elshikh, M., S. Ahmed, S. Funston, P. Dunlop, M. McGaw, R. Marchant, and I. M. Banat. 2016. Resazurin-based 96-well plate microdilution method for the determination of minimum inhibitory concentration of biosurfactants. Biotechnol Lett 38:1015-1019. FDA. 2015. Select Committee on GRAS Substances (SCOGS) Opinion: Zinc Salts. FDA (Food and Drug Administration). Graham, J. H., E. G. Johnson, M. E. Myers, M. Young, P. Rajasekaran, S. Das, and S. Santra. 2016. Potential of Nano-Formulated Zinc Oxide for Control of Citrus Canker on Grapefruit Trees. Plant Disease 100:2442-2447. Granato, L. M., S. C. Picchi, M. d. O. Andrade, M. A. Takita, A. A. de Souza, N. Wang, and M. A. Machado. 2016. The ATP-dependent RNA helicase HrpB plays an important role in motility and biofilm formation in Xanthomonas citri subsp. citri. BMC microbiology 16:55-55. Grass, G., C. Rensing, and M. Solioz. 2011. Metallic copper as an antimicrobial surface. Applied and environmental microbiology 77:1541-1547. Hallmann, J., A. Quadt-Hallmann, W. G. Miller, R. A. Sikora, and S. Lindow. 2001. Endophytic Colonization of Plants by the biocontrol agent Rhizobium etli G12 in relation to Meloidogyne incognita infection. Phytopathology 91:415-422. Hsueh, Y. H., W. J. Ke, C. T. Hsieh, K. H. Lin, D. Y. Tzou, and C. L. Chiang. 2015. ZnO nanoparticles affect Bacillus subtilis cell growth and biofilm formation. PLoS ONE:123. Huang, D. L., D. J. Tang, Q. Liao, X. Q. Li, Y. Q. He, J. X. Feng, B. L. Jiang, G. T. Lu, and J. L. Tang. 2009. The Zur of Xanthomonas campestris Is Involved in Hypersensitive Response and Positively Regulates the Expression of the hrp Cluster Via hrpX But Not hrpG MPMI 22. Huang, Z., P. Rajasekaran, A. Ozcan, and S. Santra. 2018. Antimicrobial Magnesium Hydroxide Nanoparticles As an Alternative to Cu Biocide for Crop Protection. J Agric Food Chem 66:8679-8686. Livak, K. J., and T. D. Schmittgen. 2001. Analysis of relative gene expression data using realtime quantitative PCR and the 2(-Delta Delta C(T)) Method. Methods 25:402-408. Lugo, A. J., W. Elibox, J. B. Jones, and A. Ramsubhag. 2013. Copper resistance in Xanthomonas campestris pv. campestris affecting crucifers in Trinidad. European Journal of Plant Pathology 136:61-70.
296
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPB-06
Ogunyemi, S. O., Y. Abdallah, M. Zhang, H. Fouad, X. Hong, E. Ibrahim, M. M. I. Masum, A. Hossain, J. Mo, and B. Li. 2019. Green synthesis of zinc oxide nanoparticles using different plant extracts and their antibacterial activity against Xanthomonas oryzae pv. oryzae. Artificial Cells, Nanomedicine, and Biotechnology 47:341-352. Premanathan, M., K. Karthikeyan, K. Jeyasubramanian, and G. Manivannan. 2011. Selective toxicity of ZnO nanoparticles toward Gram-positive bacteria and cancer cells by apoptosis through lipid peroxidation. Nanomedicine: Nanotechnology, Biology and Medicine 7:184-192. Raghupathi, K. R., R. T. Koodali, and A. C. Manna. 2011. Size-Dependent Bacterial Growth Inhibition and Mechanism of Antibacterial Activity of Zinc Oxide Nanoparticles. Langmuir 27:4020-4028. Sirelkhatim, A., S. Mahmud, A. Seeni, N. H. M. Kaus, L. C. Ann, S. K. M. Bakhori, H. Hasan, and D. Mohamad. 2015. Review on Zinc Oxide Nanoparticles: Antibacterial Activity and Toxicity Mechanism. Nanomicro Lett 7:219-242. Tavakoli, s., M. Kharaziha, and S. Ahmadi. 2019. Green synthesis and morphology dependent antibacterial activity of copper oxide nanoparticles. 9:163-171. Xie, Y., Y. He, P. L. Irwin, T. Jin, and X. Shi. 2011. Antibacterial activity and mechanism of action of zinc oxide nanoparticles against Campylobacter jejuni. Applied and environmental microbiology 77:2325-2331.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
297
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และควบคุมโรคสาคัญของคะน้า Efficacy of Salt Tolerant Bacterial Strains for Plant Growth Promotion and Controlling Important Diseases of Chinese Kale พินิจ รื่นชาญ1 ปริยานุช จุลกะ2 อรอุมา เพียซ้าย1 และ สุพจน์ กาเซ็ม1* Pinit Reunchan1 Pariyanuj Chulka2 Onuma Piasai1 and Supot Kasem1* 1
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ 10900 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพ 10900 2 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 *agrsupot@ku.ac.th
1
บทคัดย่อ แบคทีเรียหลายชนิดที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยในสภาวะกดดันรวมถึงสภาวะดินเค็มจะมีคุณสมบัติที่ดี ในการ เจริญแข่งขันและผลิตสารออกฤทธิ์ชีวภาพหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อพืช งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก แบคทีเรียจากดินเค็มที่มีคุณสมบัติส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมโรคสาคัญของคะน้า แบคทีเรียจานวน 23 จาก 43 ไอโซเลทที่แยกจากดินเค็มพื้นที่คุ้งบางกระเจ้าสามารถเจริญบนอาหาร NB ผสม 10% NaCl (w/v) ได้ดี และมี 3 ไอโซเลทแสดงกลไกการเจริญแข่งขัน (TK และ K3) และผลิตสารทุติยภูมิ (KN) ยับยั้งการเจริญของเชื้อ โรคพื ช 3 ชนิ ด คื อ Xanthomonas campestris pv. campestris, Pectobacterium carotovorum subsp. carotovorum และ Alternaria brassicicola สาเหตุ โรคขอบใบทอง เน่ าเละ และใบจุ ด คะน้ า ตามลาดับ การทดสอบในสภาพโรงเรือนพบว่ากรรมวิธีคลุกเมล็ดร่วมกับราดดิน 5 ครั้งด้วยแบคทีเรียไอโซเลท K3 สามารถส่งเสริมการเจริญเติบโตคะน้าได้ดีที่สุด รองลงมาคือ KN และ TK ซึ่งมีค่า growth parameter เท่ากั บ 53.63, 50.00 และ 48.99 ตามลาดับ การคลุกเมล็ดร่วมกับราดดิน 3 ครั้งและพ่นใบ 3 ครั้งด้วยแบคทีเรียทั้ง 3 ไอ โซเลทสามารถลดความรุนแรงของโรคสาคัญของคะน้าได้ดีทัดเทียมกันและดีกว่าการใช้สารเคมี และแบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลทสามารถตรึงไนโตรเจน ละลายฟอสฟอรัส และผลิ ต Indol-3 acetic acid (IAA) ในอาหารทดสอบได้ การศึ กษาโดยวิธีการมาตรฐานและ 16S rRNA sequencing ระบุ ได้ว่าแบคที เรียไอโซเลท TK เป็ น Bacillus cereus ในขณะที่ไอโซเลท KN และ K3 เป็น B. amyloliquefaciens คาสาคัญ : แบคทีเรียทนเค็ม โรคสาคัญของคะน้า กลไกการส่งเสริมการเจริญเติบโตพืช กลไกการควบคุมโรค ABSTRACT Many bacterial strains living in pressure conditions including saline soil, exhibited a good colonization and produce various benefit bioactive compounds for plant. The objective of this 298
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
study is to screen bacterial strain from saline soil that have potential on plant growth promotion and controlling important disease of Chinese kale. The twenty three out of forty-three bacterial isolates from saline soil collected from Bang Krachoa area could grow well in NB mixed with 10% NaCl (w/v). The three isolate showed mechanism as competitions (TK and K3) and secondary metabolites production (KN) to suppress growth of 3-plant pathogens, Xanthomonas campestris pv. campestris, Pectobacterium carotovorum subsp. carotovorum and Alternaria brassicicola, the causal of black rot, soft rot and leaf spot disease of Chinese kale, respectively. Under greenhouse experiment, seed treated together with 5 time soil drenching with bacteria isolate K3 was the most effective on plant growth promotion, follow by isolate KN and TK with growth parameter at 53.63, 50.00 and 48.99, respectively. Seed treated together with 3 time soil drenching and 3 time foliar spray with each strain showed similar effect to reduced all diseases severity and better than chemical application. These three bacterial isolates were exhibited potential of N-fixation, phosphate solubilization, and Indol-3 acetic acid ( IAA) production in tested medium. The standard methods and 16S rDNA sequencing identified isolate TK as Bacillus cereus whereas isolate KN and K3 as B. amyloliquefaciens. Keywords: Salt tolerant bacteria, Disease of Chinese Kale, plant growth promoting mechanism, disease control mechanism คานา การควบคุมโรคโดยชีววิธีเ ป็นวิธีทางเลือกที่นามาใช้ ในการจัดการโรคพืชและลดหรือทดแทนการใช้ สารเคมี (ศิริพรรณ, 2017) จุลินทรีย์หลายชนิดมีคุณสมบัติการเป็นปฏิปักษ์ยับยั้งและควบคุมโรคพืชทั้งที่เกิด จากเชื้อรา แบคทีเรีย และ ไส้เดือนฝอย บางชนิดมีคุณสมบัติส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช (plant growth promoting rhizobacteria : PGPR) (Priyank et.al., 2019) โดยแบคทีเรียปฏิปักษ์และ PGPR เหล่านี้มีที่มา จากธรรมชาติ เช่นดินบริเวณรอบราก ดินที่ติดกับรากพืช ผิวใบ แหล่งที่มีอินทรียวัตถุอุดมสมบูรณ์ แหล่งน้า ธรรมชาติ เป็ นต้น (Rachel et.al., 2018) นอกจากนี้มี ร ายงานว่าแบคที เรียที่ มี แหล่ งที่ อยู่ในสภาวะที่ ไม่ เหมาะสม เช่น ดินเค็ม น้ากร่อย ดินกรดหรือด่างจัด ดินแห้งแล้งหรือร้อนจัด ตลอดจนดินที่มีโลหะหนักมักจะ เป็นแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติพิเศษที่ช่วยในการทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว ซึ่งมักเกี่ยวข้อง กับการผลิตสารต่างๆ และสารที่ผลิตจะมีผลต่อการเจริญเติบโตพืชทั้งทางตรงและทางอ้อม (Beneduzi et.al., 2012) ทั้ ง นี้ แบคที เ รีย ทนเค็ ม (salt tolerant bacteria) คื อ แบคที เ รีย ที่ เจริญ อยู่ ในสภาพเกลื อสู ง โดยมี คุณสมบัติในการสลายหรือแตกตัวเกลือในดินให้อยูใ่ นรูปที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์และใช้ประโยชน์ในกระบวนการ เมทตาบอลิซึมได้ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวยังส่งผลต่อพืชด้วยโดยเฉพาะการผลิตสารประกอบต่างๆ ที่มีผลต่อ การเจริญ เติบ โต เช่น การผลิ ต gibberellin, indole-3-acetic acid (IAA), การละลายฟอสเฟต การตรึง ไนโตรเจน การผลิต extra polysaccharide (EPS), การผลิต volatile organic compounds การผลิตสาร 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
299
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
ออกฤทธิ์ชีวภาพยับ ยัง เชื้อ โรค (Antibiotic) และกระตุ้นกลไกปกป้อ งตนเองของพืช (Rameesha et.al., 2016) คะน้า (Brassica oleracea var. alboglabra) เป็นพืชที่ปลูกและเจริญเติบโตได้ในทุกสภาพดินปลูก รวมถึงสภาพดินเค็มปานกลางแต่ผลผลิตที่ได้จะต่ากว่าเมื่อปลูกในดินปกติ (Blaylock. 1994) การปลูกคะน้า มัก เกิ ดปัญ หาโรคต่างๆ ทั้ ง ที่ เกิดจากราและแบคที เรีย เช่น โรคใบจุด ขอบใบทอง และเน่าเละที่ เกิ ดจาก Alternaria brassicicola, Xanthomonas campestris pv.campestris และ Pectobacterium carotovorum subsp. carotovorum ตามลาดับ ซึ่งเป็นโรคที่เข้าทาลายคะน้าได้ตั้งแต่ระยะกล้าจนถึง เก็บเกี่ยว เกษตรกรใช้ สารเคมีควบคุมเป็นหลักส่งผลให้ตกค้างในผลผลิตและเชื้อโรคดื้อยา การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก สายพั น ธ์ แ บคที เ รี ย ทนเค็ ม ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ส่ ง เสริ ม การเจริ ญ เติ บ โตและควบคุ ม โรคส าคั ญ ของคะน้ าใน ห้องปฏิบัติการและเรือนทดลอง เพื่อเป็นแนวทางในการขยายผลการใช้ทั้งในสภาพแปลงปลูกปกติและสภาวะ ดินเค็มเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปัญหาการใช้สารเคมีเกินความจาเป็น อุปกรณ์และวิธีการ 1. สายพันธ์แบคทีเรียทนเค็มและคุณสมบัติในการยับยังเชื้อสาเหตุโรคของสาเหตุโรคของคะน้า นาตัวอย่างดินที่สุ่มเก็บจากพื้นทีค่ ุ้งบางกะเจ้า อาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการรวม 6 จุดสุ่ม มาแยกแบคทีเรียโดยวิธี soil dilution plate (Sunil et.al., 2013) ด้วยอาหาร nutrient agar (NA) บ่มเชื้อที่ อุณหภูมิห้องนาน 36 ชั่วโมง เลือกเก็บตัวแทนแบคทีเรียโดยใช้ลักษณะโคโลนีที่แตกต่างกัน จากนั้นนาตัวแทน แบคทีเรียที่แยกได้ทั้งหมดมาเลี้ยงด้วยอาหาร nutrient broth (NB) ปริมาตร 10 ม.ล. ที่ผสม 10% NaCl บ่ม เชื้ อ นาน 24 ชั่ ว โมง บนเครื่ อ งเขย่ า 150 rpm ประเมิ น การเจริ ญ ด้ ว ยการวั ด ค่ า ความขุ่ น ด้ ว ยเครื่ อ ง spectrophotometer (A600) คัดเลือกแบคทีเรียที่เจริญในสภาวะเค็มได้มาทาการเลี้ยงเชื้อให้ได้เชื้อบริสุทธิ์ และทดสอบความสามารถในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียสาเหตุโรคขอบใบทองและเน่าเละของคะน้าที่ เกิ ด จ า ก X. campestris pv. campestris แ ล ะ P. carotovorum subsp. carotovorum ตามลาดับ ด้วยวิธี paper disc diffusion โดยใช้เซลล์แขวนลอยแบคทีเรียทนเค็มและแบคทีเรียสาเหตุโรคที่ มี ค่าความขุ่นที่ 0.2 OD. (A600) (Shwini and Srividya, 2014) ส าหรับ ความสามารถในการยับ ยังเชื้อรา A. brassicicola สาเหตุ โ รคใบจุ ด ทดสอบด้ ว ยวิ ธี dual culture บนอาหาร potato dextrose agar (PDA) (Chatsuda and Kaewalin, 2015) แต่ ล ะกรรมวิ ธี ว างแผนการทดลองแบบ CRD ประกอบด้ ว ย 3 ซ้ า ประเมินผลโดยวัดความกว้างขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางบริเวณยับยั้ งแบคทีเรียสาเหตุโรคและเส้นผ่าศูนย์กลาง โคโลนีเชื้อราสาเหตุโรคที่ 48 ชั่วโมงและ 10 วัน ตามลาดับ คัดเลือกแบคทีเรียที่มีคุณสมบัติครอบคลุมยับยัง้ ทัง้ เชื้อราและแบคทีเรียสาเหตุโรคทั้ง 3 โรคและนาไปทดสอบต่อไป
300
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
2. การประเมินประสิทธิภาพแบคทีเรียทนเค็มในการส่งเสริมการเจริญเติบ โตคะน้าในสภาพเรือนทดลอง และการศึกษากลไกที่เกี่ยวข้องบนอาหารทดสอบ ทดสอบประสิท ธิภาพของแบคที เรียทนเค็ม ที่ คัดเลือกจากข้อ 1 ในการส่ง เสริม การงอกและการ เจริญเติบโตของคะน้าเปรียบเทียบกับ Pseudomonas fluorescens SP007S ซึ่งเป็นแบคทีเรียปฏิปักษ์สาย พันธุ์คุณภาพของภาควิชาโรคพื ช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปรียบเที ยบวิธีการ 3 วิธี คือ 1) คลุกเมล็ดก่อนปลูก 2) ราดดิน และ 3) คลุกเมล็ดก่อนปลูกร่วมกับราดดิน ทาการราดดินที่คะน้าอายุ 10, 20, 30, 40 และ 50 วันหลั งงอกด้ วยเซลล์ แขวนลอยแบคที เ รีย ที่ ความขุ่น 0.2 OD. (A600) ปริม าตร 10 มล/ กระถาง ดูแลรดน้าให้ปุ๋ยคะน้าตามคาแนะนา วางแผนการทดลองแบบ CRD แต่ละกรรมวิธีมี 5 ซ้า สุ่มเก็บ คะน้ามาประเมินการเจริญเติบโตและความแข็งแรงต้น (ความยาวราก ความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ และน้าหนักสด) ที่อายุ 55 วัน นาข้อมูลทั้งหมดมาหาค่าเฉลี่ยและวิเคราะห์ค่าสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS และ คานวณหาค่าดัชนีการเจริญเติบโต (Growth Parameter: G.P) ดังสมการ G.P = จากนั้นนาแบคที เรียมาศึกษาการผลิตสารที่ เกี่ ยวข้องกับ กลไกการส่งเสริม การเจริญ เติบ โตพืชทั้ ง ทางตรง ได้แก่ การผลิตออกซิน (indole-3-acetic acid) การตรึงไนโตรเจน และการละลายฟอสเฟต ด้วย อาหาร nutrient broth (NB) + 1% tryptophan (Glickmann and Dessaux, 1995) Burk’s N-free agar (Wilson and Knight, 1952) และ Pikovskaya’s agar (Sharma et al., 2011) 3. การทดสอบประสิทธิภาพแบคทีเรียทนเค็มในการควบคุมโรคของคะน้าในสภาพโรงเรือนทดลอง ทดสอบประสิท ธิภาพของแบคที เรี ยทนเค็มและ P. fluorescens SP007s ในการควบคุมโรคใบจุ ด โรคขอบใบทอง และเน่าเละของคะน้า โดยแยกการทดลองตามชนิดโรค วางแผนการทดลองแบบ CRD แต่ละ กรรมวิธีมี 5 ซ้า เปรียบเทียบวิธีการ 3 วิธี คือ 1) คลุกเมล็ดร่วมกับราดดิน 2) คลุกเมล็ดร่วมกับราดดินและการ พ่นเชื้อ และ 3) พ่นเชื้ออย่างเดียว โดยราดดินที่คะน้าอายุ 7, 14 และ 21 วันหลังงอกตามวิธีการข้อ 2 และพ่น เซลล์แขวนลอยแบคทีเรียทนเค็ม ที่ความขุ่น 0.2 OD. (A600) ปริมาตร 20 มล/กระถาง บนคะน้าอายุ 28, 32 และ 42 วัน ปลูกเชื้อสาเหตุโรคแต่ละเชื้อที่คะน้าอายุ 43 วัน โดยการพ่นเซลล์แขวนลอยแบคทีเรียสาเหตุโรคที่ 0.2 OD. (A600) และสปอร์เชื้อราที่ 106 สปอร์/มล. ประเมินโรคที่ 7 วันหลังปลูกเชื้อ โดยโรคใบจุดและโรค ขอบใบทองประเมินความเสียหายของพื้นที่ใบ และคานวณระดับความรุนแรงของโรค (Ke et.al., 2016) ตาม สมการ ระดับความรุนแรงของโรค =
ส่วนโรคเน่าเละประเมินจานวนต้นที่ เกิดโรค (disease incidence) จากจานวนต้นทั้งหมดที่ประเมินในแต่ละ กรรมวิธี (นลินา, 2545) เปรียบเทียบกับการควบคุมด้วยสารเคมี copper hydroxide สาหรับแบคทีเรีย และ คาร์เบนดาซิม สาหรับเชื้อรา วิเคราะห์ข้อมูลการเกิดและความรุนแรงของโรคโดยใช้โปรแกรมทางสถิติ SPSS 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
301
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
4. การศึกษาคุณสมบัติและการระบุชนิดของแบคทีเรีย ใช้วิธีมาตรฐานการระบุชนิดแบคทีเรียกลุ่ม Bacillus (Dagmar. 2004) ได้แก่ ลักษณะโคโลนีบนอาหาร เลี้ยงเชื้อ การทดสอบแกรม รูปร่างและการเรียงตัวเซลล์ ตาแหน่งเอนโดสปอร์ การทดสอบปฏิกิริยา oxygen relationship, motility, catalase production, gelatin hydrolysis, indole test, starch hydrolysis แ ล ะ การ เจริญในอาหาร NB+10% NaCl เปรียบเทียบกับตารา Bergey's manual of determinative bacteriology, 9th edition (Holt et.al., 1994) และการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์โดยใช้ universal primer บริเวณยีน 16S rRNA คื อ 27F ( 5’GAGTTTGATCATGGCTCAG3’) , แ ล ะ 1492R ( 5′GGTTACCTTG TTACGACTT3′) (Rajapandi et.al., 2016) นาข้อมูลล าดับนิวคลีโอไทล์ที่ได้เปรียบเทียบกับ ลาดับนิวคลีโอไทล์ในฐานข้อมู ล GenBank ของ National Center for Biotechnology Information (NCBI) ด้วยโปรแกรม BLAST ผลการทดลอง 1. สายพันธุ์แบคทีเรียทนเค็มและประสิทธิภาพการยับยังสาเหตุโรคสาคัญของคะน้า แยกแบคทีเรียได้ 20 กลุ่ม รวม 43 ไอโซเลทตามลักษณะโคโลนี และมีเพียง 23 ไอโซเลทสามารถ เจริญในอาหาร nutrient broth (NB) ที่ผสม 10% NaCl ได้ (ไม่แสดงข้อมูลผลการมาทดสอบความสามารถใน การยับ ยั้ง การเจริญ ของเชื้อ สาเหตุโ รค พบว่าแบคทีเ รีย ทนเค็ม 5 ไอโซเลท คือ TK KN, K2, K3 และ KH11 มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการยั บ ยั้ ง แบคที เ รี ย X. campestris pv. campestris และ P. carotovorum subsp. carotovorum ได้ ดี แ ตกต่ า งกั น มี ค วามกว้ า งบริ เ วณยั บ ยั้ ง เท่ า กั บ 2.00, 2.50, 1.00, 1.50 และ 2.00 ซม. และ 1.37, 2.00, 1.67, 2.00 และ 1.60 ซม. ตามลาดับ (ตารางที่1) ส่วนการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา A. brassicicola พบว่าแบคที เรียทั้ง 5 ไอโซเลท แสดงความสามารถในการยับยั้งได้ดี ลดขนาดการเจริญ ของ โคโลนีเชื้อราได้ 44.44, 72.22, 72.22, 61.11 และ 72.22 % โดยกลไกการยับยั้งคือการเจริญคุมทับรวมกับ การผลิตสารปฏิชีวนะยั้งยั้งเชื้อโรคเป้าหมาย จึงคัดเลือกแบคทีเรียทั้ง 5 ไอโซเลทไปทดสอบประสิทธิภาพใน การส่งเสริมการเจริญเติบโตต่อไป ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการยับยัง้ การเจริญของแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. campestris และ Pectobacterium carotovorum subsp. carotovorum สาเหตุโรคขอบใบทองและเน่าเละ และเชื้อรา Alternaria brassicicola สาเหตุโรคใบจุด ในสภาพห้องปฏิบตั ิการ แบคทีเรีย ไอโซเลท K2 K14 Th1p2
302
เส้นผ่าศูนย์กลาง บริเวณยับยัง(ซม.) XCC1/
PEC1/
1.00d 1.33c 1.33c
1.67a-c 1.67a-c 2.00a
การยับยั้งการเจริญ ของโคโลนีเชื้อรา Ab2/3/4/ ขนาดโคโลนี % (ซม.) การยับยัง 2.50a 72.22 9.00f 0.00 9.00f 0.00
แบคทีเรีย ไอโซเลท KN TK L1
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
เส้นผ่าศูนย์กลาง บริเวณยับยัง(ซม.) XCC1/
PEC1/
2.50a 2.00b 1.83b
2.00a 1.37c 0.67de
การยับยั้งการเจริญ ของโคโลนีเชื้อรา Ab2/3/4/ ขนาดโคโลนี % (ซม.) การยับยัง 2.50a 72.22 5.00cd 44.44 3.00ab 66.67
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” Th1p K3 KH11 KH1 Thip HG2 114 BEAN KL4 F-test CV%
1.00d 1.50c 2.00b 1.83b 0.83d-f 1.00d 1.00d 0.50g 2.00b ** 13.10
1.83ab 2.00a 1.60bc 2.00a 1.97a 1.70a-c 1.67a-c 1.60bc 1.60bc ** 14.30
9.00f 3.50b 2.50a 9.00f 4.65c 3.00ab 9.00f 9.00f 9.00f ** 4.80
0.00 61.11 72.22 0.00 48.33 66.67 0.00 0.00 0.00 -
BCK Th4 LM7 Th5 PhI4 Kl1p Kl1 Kl2 control **
1.50c 1.50c 1.00d 1.00d 0.87de 0.60e-g 0.57fg 0.57fg 0.00h ** 13.10
1.00d 1.00d 1.00d 0.50e 0.00f 0.00f 0.00f 0.00f 0.00f ** 14.30
OPA-01 2.50a 5.50de 5.00cd 6.00e 9.00f 9.00f 9.00f 9.00f 9.00f 4.80
0.00 38.89 44.44 33.33 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 -
1/
ค่าเฉลี่ยจาก 3 ซ้า, XCC = Xanthomonas campestris pv. campestris และ PEC = Pectobacterium carotovorum subsp.carotovorum แบคทีเรียสาเหตุโรคขอบใบทองและเน่าเละตามลาดับ 2/ ค่าเฉลี่ยจาก 5 ซ้า, Ab = Alternaria brassicicola, เชื้อราสาเหตุโรคใบจุด 3/ ขนาดโคโลนีเชื้อราประเมินจากความกว้างเส้นผ่าศูนย์กลางโคโลนีที่เจริญจากขอบจานเลีย้ งเชื้อจนถึงโคโลนีด้านตรงข้ามที่เชื้อปฏิปักษ์เจริญ 4/
% การยับยัง = 100 - (
) x 100
2. ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการส่ งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมโรคสาคัญของคะน้าใน สภาพเรือนทดลอง การส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้าตั้งแต่ระยะกล้าจนเก็บเกี่ยว (55 วัน) พบว่าแบคทีเรียทนเค็ม 3 จาก 5 ไอโซเลท คือ K3, KN และ TK แสดงคุณสมบัติที่โดนเด่นในด้านการส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้า โดยกรรมวิธีคลุกเมล็ดร่วมกับราดดินให้ผลดีกว่ากรรมวิธีราดดินเพียงอย่างเดียว และแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ กับกรรมวิธีคลุกเมล็ดเพียงอย่างเดียว และแต่ละไอโซเลทแสดงประสิทธิภาพดีต่อการเจริญเติบโตของคะน้าแต่ ละตัวชี้วัดที่ แตกต่างกั น (ความยาวราก ความสูง ต้น ความกว้ างใบ ความยาวใบและ น้าหนัก สด) ซึ่งเมื่ อ วิเคราะห์โดยใช้สมการ growth parameter (G.P) พบว่ากรรมวิธีคลุกเมล็ดร่วมกับราดดินด้วยแบคทีเรียไอโซ เลท K3 มีประสิทธิภาพสูงสุด ที่ค่า G.P เท่ากับ 53.63 รองลงมาคือ KN และ TK มีค่า G.P เท่ากับ 50.00 และ 48.99 ตามล าดั บ โดยไอโซเลท K3 และ KN ให้ ผ ลดี ก ว่ า และเท่ า เที ย มกั บ การใช้ แ บคที เ รี ย สายพั น ธ์ เปรียบเทียบ Pseudomonas fluorescens SP007s ที่มีคา่ G.P เท่ากับ 51.05 แต่สายพันธ์ Pseudomonas fluorescens SP007s ไม่สามารถเจริญในดินเค็มได้ (ตารางที่ 2) ทั้งนี้การทดสอบกลไกของเชื้อที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชบนอาหารทดสอบพบว่าแบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลทสามารถผลิตออกซิน (IAA) ตรึง ไนโตรเจน และละลายฟอสฟอรัสได้ (ไม่ได้แสดงข้อมูล) ดัง้ นัน้ การทดลองนี้จึงคัดเลือกแบคทีเรียไอโซเลท K3, KN และ TK ไปทดสอบความสามารถในการควบคุมโรคในสภาพเรือนทดลองต่อไป สาหรับประสิทธิภาพในการควบคุโรคของคะน้า 3 โรคคือ เน่าเละ ขอบใบทอง และ ใบจุด พบว่าทุก กรรมวิธี คือ การคลุกเมล็ดร่วมกับการราดดิน การคลุกเมล็ดร่วมกับการพ่น และการพ่นเพียงอย่างเดียวให้ผล ในการลดการเกิดและความรุนแรงของโรคทั้ง 3 โรคได้ดีกว่ากรรมวิธีที่ไม่มีการควบคุมโรคที่มีจานวนต้นเกิด 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
303
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
โรค 85, 85 และ 90 % และดัชนีความรุนแรงโรคที่ 3.40, 1.03 และ 1.10 ตามลาดับ (ตารางที่ 3) กรรมวิธี คลุกเมล็ดร่วมกับการราดดินและพ่นใบให้ผลดีที่สุด ในการลดความรุนแรงโรคทั้ง 3 โดยการใช้แบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลทให้ผลทัดเทียบกัน และไม่แตกต่างกับการใช้ P. fluorescens SP007s และกรรมวิธีการใช้สารเคมี โดยมี ค่า วิเ คราะห์ ร ะดั บ ความรุน แรงของโรคเน่ าเละ ขอบใบทอง และ ใบจุ ด ที่ 0.40, 0.80 และ 0.80 ตามลาดับ ทั้งนี้การคลุกเมล็ดร่วมกับการราดดินและพ่นใบด้วยไอโซเลท KN มีประสิทธิภาพสูงสุดในการลด จานวนต้นเกิดโรคเน่าเละ ขอบใบทอง และ ใบจุด ได้ดีที่ สุด คือ เกิ ดโรคเพียง 5, 15 และ 10 % ตามลาดับ รองลงมาคือ การคลุก เมล็ดร่ว มกั บ การราดดิ นและพ่ นใบด้วยไอโซเลท K3 และ TK ตามล าดับ ทั้ งนี้ จ าก การศึกษาพบว่าแบคที เรียแต่ล ะไอโซเลทเมื่อใช้ในลักษณะพ่นใบเพียงอย่างเดียวจะมีป ระสิ ท ธิภาพในการ ควบคุมโรคต่างกันด้วย คือ การพ่นใบด้วยไอโซเลท KN มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเน่าเละดีทสี่ ุด การพ่น เพียงไอโซเลท K3 อย่างเดียวสามารถควบคุมโรคขอบใบทองได้ดีที่สุดใน และการพ่นไอโซเลท TK อย่างเดียว ควบคุม โรคใบจุดได้ดีที่ สุด แสดงให้เห็นว่าความหลากหลายและความจ าเพาะของแบคที เรียที่ มีผ ลต่อโรค เป้าหมายที่จะศึกษาในขั้นตอนต่อไป ตารางที่ 2 ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้าภายใต้สภาพเรือนทดลอง กรรมวิธ1/ี SD+ST TK SD TK ST TK SD+ST KN SD KN ST KN SD+ST K2 SD K2 ST K2 SD+ST K3 SD K3 ST K3 SD+ST KH11 SD KH11 ST KH11 SD+ST 7s SD 7s ST 7s น้ากลั่น 304
ความยาวราก (ซม.) 12.60a-d 12.25a-d 8.75g-i 12.75a-c 11.80b-e 7.20h-j 6.30f-h 9.20f-h 6.80ij 14.25a 11.10c-f 7.45hij 10.10e-g 10.40d-g 6.40ij 13.45ab 11.90b-e 6.90ij 5.905j
ความยาวลา ต้น (ซม.) 16.50b 14.70d 10.20h 17.50a 14.65d 10.40h 12.20f 11.55g 10.35h 17.55a 14.40d 11.35g 13.50e 13.30e 11.40g 16.00c 14.45d 11.15g 8.65f
ตัวชี้วัดการเจริญเติบโตของคะน้า2/ ความกว้างใบ ความยาวใบ น้าหนักสด (ซม.) (ซม.) (กรัม) 6.66b-e 9.18bc 14.00 6.72b-e 8.42bc 13.00 5.19f 6.79fg 5.00 6.97bc 8.83cd 13.00 6.87bc 8.50cd 10.00 5.99de 7.20ef 6.00 6.35cd 7.28ef 13.00 6.40cd 7.20ef 12.00 5.46ef 5.87gh 6.00 7.85a 10.708a 16.00 6.57b-d 8.20c-e 12.00 5.50ef 5.80gh 6.00 6.62b-d 8.53cd 12.00 6.50b-d 7.93de 10.00 5.39ef 5.86gh 6.00 7.17b 10.18ab 10.00 6.85bc 9.33bc 10.00 5.14f 6.50f-h 7.00 4.80f 5.65gh 5.00
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
Growth parameter3/ 48.99 48.49 37.98 50.00 47.07 41.04 43.40 43.10 37.78 53.63 47.27 39.20 46.45 45.13 37.60 51.05 49.58 37.59 33.40
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” F-test CV%
* 29.20
* 25.40
** 11.60
** 14.50
OPA-01
-
-
1/
กรรมวิธีทดสอบด้วย ST = คลุกเมล็ด, SD = ราดดินด้วยเซลล์แขวนลอยของแบคทีเรียแต่ละไอโซเลท คือ TK, KN, K2, K3 และ KH11 เทียบกับ Pseudomonas fluorescens SP007s (7s) 2/ ค่าเฉลี่ยจาก 5 ซ้า, ตัวอักษรที่เหมือนกันในแนวตั้งไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ความเชื่อมั่น 95 % 3/
Growth parameter (G.P) =
ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพของแบคที เรียทนเค็มและวิธีก ารใช้ที่แตกต่างกันในการควบคุม โรคเน่าเละ ขอบ ใบทอง และใบจุดของคะน้าภายใต้สภาพเรือนทดลอง กรรมวิธ1/ี ST+SD TK ST+SD KN ST+SD K3 ST+SD 7s ST+SD+F TK ST+SD+F KN ST+SD+F K3 ST+SD+F 7s F TK F KN F K3 F 7s สารเคมี พ่นเฉพาะ เชื้อโรค F-test CV%
ร้อยละของต้นพืชที่เกิดโรค (%) PEC XCC A.b 45 25 25 30 15 20 15 25 30 15 20 10 20 15 15 5 15 10 10 15 25 5 25 30 20 30 15 5 15 25 20 10 20 15 15 20 5 5 10 85 85 90 -
-
-
PEC 1.80c 1.20bc 0.60a 0.60a 0.40a 0.40a 0.40a 0.40a 0.80a 0.20a 0.80a 0.60a 0.20a 3.40d ** 1.54
ระดับความรุนแรงของโรค2/ XCC A.b 0.13ab 0.13a 0.10ab 0.10a 0.15ab 0.15a 0.10ab 0.15a 0.08ab 0.08a 0.08ab 0.08a 0.08ab 0.08a 0.08ab 0.08a 0.18b 0.75a 0.10ab 0.13a 0.05ab 0.13a 0.08ab 0.13a 0.25ab 0.05a 1.03c 1.10b ** 1.90
** 1.53
1/
กรรมวิธีทดสอบประสิทธิภาพด้วย ST = คลุกเมล็ด, SD = ราดดิน, F = พ่นใบด้วยแบคทีเรียแต่ละไอโซเลท คือ TK, KN และ K3 เทียบกับ Pseudomonas fluorescens SP007s (7s) และสารเคมี copper sulfate สาหรับโรคขอบใบทอง และเน่าเละ คาร์เบนดาซิมสาหรับโรคใบจุด 2 / ความรุนแรงของโรคประเมินจาก 5 ซ้า, โดยวิธกี ารประเมินความรุนแรงของโรคตามนลินา (2545) และคานวณระดับความรุนแรงของโรคตาม วิธีการ ของ Ke et al ( 2016) ด้วยสมการ
โดย XCC = Xanthomonas campestris pv.
campestris, PEC = Pectobacterium carotovorum subsp.carotovorum และ A.b = Alternaria brassicicola, สาเหตุโรคขอบใบทอง เน่าเละ และ ใบจุด ตามลาดับ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
305
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
3. การระบุชนิดแบคทีเรีย การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และชีวเคมี พบว่าแบคทีเรียไอโซเลท TK, KN และ K3 เป็น แกรมบวกกลุ ่ม Bacillus ลัก ษณะเซลล์เ ป็น ท่อ น ผลิต เอนโดสปอร์ก ลางเซลล์ เจริญ โดยใช้ ออกซิเ จนและเจริญ ในอาหาร NB+10% NaCl ได้ดี สามารถเคลื่อ นที ่ไ ด้ สร้า งเอนไซม์ catalaseไม่ เกิดปฏิกิริยา indole ไอโซเลท KN และ K3 มีการเรียงตัวของเซลล์เป็นสายยาว สร้างเอนไซม์ย่อยเจลาติน และแป้งได้ ในขณะที่ไอโซเลท TK เซลล์ไม่เรียงตัวแต่กระจายทั่ วไป ไม่ สร้างเอนไซม์ย่อยเจลาตินและแป้ง (ตารางที่ 4) การเปรียบเทียบข้อมูลที่ ได้กับตารา Bergey's manual of determinative bacteriology 9th edition (Holt et. al., 1994) และการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ยีนบริ เวณ 16S rRNA ให้ผลสอดคล้องกัน คือ ไอโซเลท TK มี คุณ สมบัติตรงกั บ Bacillus cereus โดยมี ค่า identity เท่ ากั บ 100% และค่า expected value (E-value) เท่ ากั บ 0 เมื่ อเที ยบกั บสายพั นธุ์ accession number NR_074540.1 NR_113266.1 และ NR_112630.1 ส่วนไอโซเลท KN และ K3 มีคุณสมบัติตรงกับ B. amyloliquefaciens ที่ค่า identity เท่ากับ 100% และค่า E-value เท่ากับ 0 เมื่อเทียบกับสายพันธุ์ accession number NR_041455.1 NR_116022.1 และ NR_117946.1 (ตารางที่ 5) ตารางที่ 4 คุณสมบัตทิ างสัณฐานวิทยา สรีรวิทยา และชีวเคมีบางประการที่ใช้ทดสอบเพื่อการระบุชนิดของ แบคทีเรียทนเค็มไอโซเลท TK, KN และ K3 ไอโซเลท/สายพันธุ์แบคทีเรียทดสอบ คุณสมบัติทดสอบ1/
ปฏิกิริยาจากการทดสอบ2/
1. แกรม
TK +
KN +
K3 +
B. cereus2/ +
B. amyloliquefaciens2/ +
2. ลักษณะเซลล์
ท่อน
ท่อน
ท่อน
ท่อน
ท่อน
3. ตาแหน่ง endospore
กลางเซลล์
กลางเซลล์
กลางเซลล์
กลางเซลล์
กลางเซลล์
4. Oxygen relationship
+
+
+
+
+
5. Motility
+
+
+
+
+
6. Catalase production
+
+
+
+
+
7. Gelatin hydrolysis
-
+
+
-
+
8. Indole test
-
-
-
-
-
9. Starch hydrolysis
-
+
+
+
+
10. Growth on NB + + + + + +10% NaCl 1/+ = เกิดปฏิกิริยา และ - = ไม่เกิดปฏิกิริยา 2/อ้างอิงข้อมูลเปรียบเทียบจากตารา Bergey's manual of determinative bacteriology, 9th edition
306
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ยีนบริเวณ 16S rRNA ของ แบคทีเรียทนเค็มไอโซเลท TK KN และ K3 เปรียบเทียบกับฐานข้อมูล GenBank ใน NCBI ด้วยโปรแกรม BLAST ไอโซเลท TK
KN
K3
Query cover (%) 100%
E-value 0.0
Identity (%) 100%
Accession number NR_074540.1
Bacillus cereus strain JCM 2152
100%
0.0
100
NR_113266.1
Bacillus cereus strain NBRC 15305
100%
0.0
100
NR_112630.1
Bacillus amyloliquefaciens strain NBRC 15535
100%
0.0
100
NR_041455.1
Bacillus amyloliquefaciens strain BCRC
100%
0.0
100
NR_116022.1
Bacillus amyloliquefaciens strain MPA 1034
100%
0.0
100
NR_117946.1
Bacillus amyloliquefaciens strain MPA 1034 Bacillus amyloliquefaciens strain NBRC 15535
100% 100%
0.0 0.0
100 100
NR_117946.1 NR_041455.1
Bacillus amyloliquefaciens strain BCRC 11601
100%
0.0
100
NR_116022.1
สายพันธุ์แบคทีเรียเปรียบเทียบ Bacillus cereus strain ATCC 14579
สรุปและวิจารณ์ผล การแยกแบคทีเรียจากตัวอย่างดินที่เก็บจากพื้นที่บางกระเจ้า พบความหลากหลายของลักษณะ โคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อ และความสามารถในการเจริญบนอาหารที่ มีเกลือผสม (10% NaCl) ซึ่งเป็นผลจาก พื้นที่ดังกล่าวไม่ได้เป็นพื้นที่ดินเค็มถาวร แต่ประสบปัญหาจากน้าทะเลหนุนในบางฤดูกาลในรอบปี ทาให้เกิดการ ดูดซับเกลือในชั้นดินบางส่วน จึงมีการปะปนกันของชนิดแบคทีเรียที่มีอยู่เดิมและแบคทีเรียที่ปรับตัวทนต่อสภาพ ดินเค็ม ซึ่งสอดคล้องกับรายงานที่ว่าชนิดของแบคทีเรียทนเค็มขึ้นอยู่กับลักษณะดิน พื้นที่ และปริมาณเกลือสะสม ในดิน (Shuai et. al., 2018) เมื่อทาการทดสอบประสิทธิภาพการยับยัง้ เชื้อสาเหตุโรค 3 ชนิดในห้องปฏิบัติการ พบว่าแบคทีเรียทนเค็มที่คัดเลือกแสดงประสิทธิภาพและกลไกต่างกัน คือ TK และ K3 มีกลไกชัดเจนด้านการ เจริญแข่งขันคลุมทับเชื้อโรคส่วน KN ผลิตสารปฏิชีวนะยับยั้งได้ดีที่สุด ซึ่งทั้ง 2 ลักษณะเป็นกลไกหลักที่สาคัญ ของการเป็นแบคทีเรียปฏิปักษ์ ในการควบคุมโรคพืช (Chaur, 1998) การประเมินประสิทธิภาพการส่งเสริมการ เจริญเติบโตคะน้าในสภาพเรือนทดลองแสดงให้เห็นว่าวิธีการคลุกเมล็ดร่วมกับการราดดิน 5 ครั้ง ให้ผลดีที่สุดใน การส่งเสริมการงอกและการเจริญ ของคะน้า เนื่องจากแบคที เรี ยสามารถครอบครองส่ วนของรากได้ ดี และ ประชากรของเชื้อในดินมี มากพอในการส่งเสริมการเจริญเติบโตพืช ที่ สัมพันธ์กับกลไกการตรึงไนโตรเจน การ ละลายฟอสฟอรัส และการผลิตออกซิน ซึ่งเป็นปั จจัยสาคัญต่อการเจริญเติบโตพืช (Sivasakthi et. al., 2014) สาหรับการควบคุมโรคมีความสอดคล้องกับการส่งเสริมการเจริญเติบโต การคลุกเมล็ดร่วมกับราดดิน 3 ครั้งและ พ่นใบ 3 ครั้ง สามารถลดความรุนแรงของโรคทั้งสามได้ดีที่สุด โดยเห็นผลชัดเจนเมื่อควบคุมด้วยแบคทีเรียทนเค็ม ไอโซเลท KN รองลงมาคือ K3 และ TK ตามล าดับ และพบว่าแบคที เรียแต่ละไอโซเลทมีความสามารถในการ ควบคุมโรคเป้าหมายต่างกันซึ่งมาจากกลไกการผลิตสารปฏิชีวนะยับยั้งและการเจริญแข่งขันที่มีทั้งออกฤทธิ์แบบ กว้างและแบบเฉาะเจาะจง (Cawoy et. al., 2011) แบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลทมีความแตกต่างกันทั้งในระดับสปีชีส์ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
307
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
และระดับสายพันธุ์ที่มีผลต่อความสามารถยับยังและกลไกที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมการเจริญเติบโตพืช และกลไก การควบคุมโรค โดย Bacillus cereus TK มีคุณสมบัติในการส่งเสริมการเจริญเติบโตชัดเจนกว่าการควบคุมโรค ส่วนสายพันธุ์ B. amyloliquefaciens KN และ K3 แสดงความแตกต่างกันทั้งกลไกที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมการ เจริญเติบโตพืช และกลไกการยับยัง้ และควบคุมโรค ชี้ให้เห็นว่าแบคทีเรียที่คัดเลือกจะมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติที่ต้องการศึกษา และควรใช้ในลักษณะผสมสายพันธุ์เพื่อประสิทธิภาพครอบคลุม (Essaid et. al., 2000) ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางที่จะนาไปสู่การพัฒนาวิธีการใช้ที่เหมาะสมทั้งในสภาพดินปลูกปกติและ สภาพดินเค็มตลอดจนกลไกที่เกี่ยวข้องในระดับลึกต่อไป คาขอบคุณ ผลงานวิจัยนี้ได้รับ งบประมาณสนับ สนุน จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภายใต้ “ชุดโครงการวิจัย บูรณาการเพื่อการพัฒนาเชิงนิเวศพื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน” ประจาปี ๒๕๕๘ รหัสโครงการวิจยั กษ ๖/๒๕๕๘ โครงการวิจัยย่อยเรื่อง “ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการส่งเสริมเจริญเติบโตของพืช ภายใต้สภาวะวิกฤตน้าเค็ม” เอกสารอ้างอิง นลินา เหมสนิท. 2545. การใช้เชื้อแบคทีเรียปฏิปกั ษ์ Pseudomonas fluorescens SP007s ชักนาให้ คะน้า เกิดความต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูพืช. วิทยานิพจน์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Beneduzi. A, Ambrosini. A and Luciane M.P. Passaglia. 2012. Plant growthpromoting rhizobacteria (PGPR): Their potential as antagonists and biocontrol agents. Journal of Genetics and Molecular Biology. 35(4): 1044-1051. Blaylock A.D. 1994. Soil salinity, salt tolerance, and growth potential of horticultural and landscape plants. Available at URL Uwacadweb.uwyo.edu/eppl/Plant_Pathology/factsheets/sheets/Wy988.pdf. Accessed on 03/8/2019. Cawoy. H, Bettiol. W, Fickers. P and Ongena. M. 2011. Bacillus-based biological control of plant diseases. Pesticides in the Modern World – Pesticides Use and Management. 273-302. Chatsuda Phuakjaiphaeo and Kaewalin Kunasakdakul. 2015. Isolation and screening for inhibitory activity on alternaria brassicicola of endophytic actinomycetes from centella asiatica (L.) Urban. Journal of Agricultural Technology. 11(4): 903-912. Chaur Tsuen Lo. 1998. General mechanisms of action of microbial biocontrol agents. Plant pathology bulletin. 7: 155-166. Dagmar Fritze. 2004. Taxonomy of the genus bacillus and related genera: The aerobic 308
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
endospore-forming bacteria. The American Phyto pathological Society. 94(11): 12451248. Essaid Ait Barka, Abdel Belarbi, Cathy Hachet, Jerzy Nowak and Jean-Claude Audran. 2000. Enhancement of in vitro growth and resistance to gray mould of Vitis vinifera cocultured with plant growth-promoting rhizobacteria. FEMS Microbiology Letters 186: 9195. Glickmann. E. and Dessaux. Y. 1995. A Critical Examination of the Specificity of the Salkowski Reagent for Indolic Compounds Produced by Phytopathogenic Bacteria. Microbiology. 61(2). 793–796. Holt, j.G., N.R. Krieg, P.H.A. Sneath, J.T. staley and S.T. Williams. 1994. Bergey's manual of determinative bacteriology, 9th Edition. Baltimre. The Williams and Wilkins Co. Ke Liu, Carol Garrett, Henry Fadamiro, and Joseph W. Kloepper. 2016. Antagonism of black rot in cabbage by mixtures of plant growth-promoting rhizobacteria (PGPR). Biocontrol. 61: 605–613. Priyank HanumanMhatre, Chinnannan Karthik, Kadirvelu. K, K. Divya. L, Venkatasalam. E.P, Sakthivel Srinivasan, Ramkumar. G, Chandrasekar Saranya and Rajashree Shanmuganathan. 2019. Plant growth promoting rhizobacteria (PGPR): A potential alternative tool for nematodes bio-control. Biocatalysis and Agricultural Biotechnology. 17: 119-128. Rachel Backer, Stefan Rokem. J, Gayathri Ilangumaran, John Lamont, Dana Praslickova, Emily Ricci, Sowmyalakshmi Subramanian, and Donald L. Smith. 2018. Plant growthpromoting rhizobacteria: context, mechanisms of action, and roadmap to commercialization of Bio stimulants for sustainable agriculture. Front Plant Sci. 9: 117. Rajapandi Senthilraj, Ganduri Sathyanarayana Prasad and Kunchithapatham Janakiraman. 2016. Sequence-based identification of microbial contaminants in non-parenteral products. Journal of Pharmaceutical Sciences. 52(2): 229-336. Rameesha Abbas, Sumaira Rasul, Kashif Aslam, Muhammad Baber, Muhammad Shahid, Fathia Mubeen and Tahir Naqqash. 2016. Halotolerant PGPR: A hope for cultivation of saline soils. Journal of King Saud University – Science. 1018-3647. Sharma. S, Vijay Kumar and Ram Babu Tripathi. 2011. Isolation of Phosphate Solubilizing Microorganism (PSMs) From Soil. J. Microbiol. Biotech. Res. 1(2): 90-95. Shuai Zhao, Jun-Jie Liu, Samiran Banerjee, Na Zhou, Zhen-Yong Zhao, Ke Zhang and 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
309
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-01
Chang-Yan Tian. 2018. Soil pH is equally important as salinity in shaping bacterial communities in saline soil under halophytic vegetation. SCIENtIfIC Reports. 1-11. Sivasakthi. S, Usharani. G and Saranraj P. 2014. Biocontrol potentiality of plant growth promoting bacteria (PGPR)-Pseudomonas fluorescens and Bacillus subtilis: a review. Africa journal of agricultural research. 9(16). 1265-1277. Shwini N. A and Srividya S. 2014. Potentiality of bacillus subtilis as biocontrol agent for management of anthracnose disease of chill caused by colletotrichum gloeosporioides OGC1. 3 Biotech. 4: 127–136. Sunil T. Pawar, Amarsinh A. Bhosale, Trishala B. Gawade and Tejswini R. Nale. 2013. Isolation, screening and optimization of exopolysaccharide producing bacterium from saline soil. J.Microbiol. Biotech. Res. 3(3): 24-31. Wilson P.W. and Knight S.G. 1952. Experiments in bacteria physiology. Burguess. Publishing Co., Minneapolis. 58-59.
310
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
การควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการในพืน้ ที่ปลูกอ้อย บริษทั น้้าตาลมิตรลาว จ้ากัด (สปป.ลาว) Integration Control of White Leaf Disease in Sugarcane Area of Mitr Lao Co., Ltd. พีรญา กลมสอาด1 มานุวัตร ตินตะรสาละ ณ ราขสีมา1 เริ่มพงษ์ คลังภูเขียว2 วรินทร จารย์คูณ1 วิฑูรย์ บุญเกิด1 ยิ่งยศ ตันสมรส1 ประพัฒน์ พันปี1 ปรัขญา สว่างมณีเจริญ1 สิริวรรณ โคตรโสภา1 และ Laurent Soulard1 Peeraya Klomsa-ard1 Manuwat Tintarasara na ratchaseema1 Rermpong Clangpukeao2 Varinthon Jarnkoon1 Witoon Boonkerd 1 Yingyos Tonsomros1 Prapat Punpee1 Pratchya Swangmaneecharern1 Siriwan Kodsopa 1 and Laurent Soulard1 1
บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้้าตาล จ้ากัด 399 ม. 1 ถ.ชุมแพ-ภูเขียว ต.โคกสะอาด อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ 36110 1 Mitrphol Sugar Cane Research Center Co., Ltd. 399 Moo 1 Chumpae-Phukieo Road, Khoksa-at, Phukieo, Chaiyaphum 36110 Thailand 2 บริษัท น้้าตาลมิตรลาว จ้ากัด เลขที่ 111 หน่วยที่ 10 บ้านแก้งแฮด เมืองไซบูลี แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2 Mitr Lao Sugar Co., Ltd.111 Unit 10, Kenghet Village, Xaiburi District, Savannakhet Provice, Lao PDR.
บทคัดย่อ พื้นที่ปลูกอ้อยของบริษัทน้าตาลมิตรลาว จากัด ได้รับความเสียหายจากการระบาดของโรคใบขาวมา เป็นระยะเวลามากกว่า 10 ปี พบโรคใบขาวเฉลี่ยในอ้อยปลูก 5-15% และในอ้อยตอ 15-50% ทาให้อ้อยไม่ สามารถไว้ตอได้ สร้างความเสียหายมูลค่า กว่า 90-100 ล้านบาทต่อปี บ.มิตรผลวิจัยพัฒนาอ้อยและน้าตาล จากัด ร่วมกับ บ.น้าตาลมิตรลาว จากัด ได้จัดทาโครงการ การควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการในพื้นที่มิตร ลาว ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการระบาดของโรคใบขาว โดยนาเทคโนโลยีการควบคุมโรคใบขาวร่วมกับ ระบบการจัดการแปลง เริ่มตั้งแต่ การควบคุมโรคใบขาวที่ติดมากับท่อนพันธุ์อ้อย, การควบคุมแมลงพาหะโดย ใช้วิธีกล, การอบรมให้ความรู้แก่ชาวไร่ ให้มีความรู้ในการป้องกันและกาจัดโรคใบขาว และการติดตามเฝ้าระวัง การระบาดของโรคใบขาวในแปลงตลอดฤดูปลูก ผลจากการดาเนินกิจกรรมการควบคุมโรคใบขาวข้างต้น ทาให้สามารถลดการแพร่ระบาดของโรคใบ ขาวในพื้นที่ และลดประชากรแมลงพาหะได้มากกว่า 50%, ชาวไร่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและกาจัด โรคใบขาว, มีการติดตามเฝ้าระวังการระบาด โดยจัดทาแผนที่การระบาด และสามารถควบคุมการระบาดได้ ทันเวลา ส่งผลให้ภาพรวมปัจจุบันในพื้นที่มิตรลาวมีการระบาดของโรคใบขาวลดลง พบโรคใบขาวในอ้อยปลูก 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
311
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
เฉลี่ย 1-2% อ้อยตอ 3-4% สามารถเพิ่มการไว้ตอได้มากกว่า 50% ของพื้นที่ทั้งหมด และมีผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้น เฉลี่ย 1-2 ตันต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าที่เพิ่มขึ้นประมาณ 300 ล้านบาทต่อปี ค้าส้าคัญ : โรคใบขาว การควบคุมแบบบูรณาการ บริษัทน้าตาลมิตรลาว จากัด ABSTRACT The outbreak of white leaf disease in sugarcane planting area of Mitr Lao Co., Ltd was found in 5-15 % and 15-50 % in planting cane and ratoon cane respectively, more than 10 years. Especially with ratoon cane, over 90-100 million baht has been correspondent for the losses each year due to this disease. The cooperation between Mitr Phol Sugarcane Research Center Co., Ltd and Mitr Lao Co., Ltd was started on 2016/2017 crushing season. The Integration control of white leaf disease project has been conducted to control outbreak of white leaf disease by used integrated technology including cleaning seed cane, control insect vector, survey/training of sugarcane farmer and monitoring or control epidemic of disease. All of the activities used control white leaf disease were reducing the pathogen from seed cane, reducing insect vector more than 50%, the sugarcane famers have a better understanding of the prevention/elimination, monitoring of white leaf disease and makes epidemic mapping. The perspective outbreak of white leaf disease was reducing in 1-2% of planting cane and 3-4% of ratoon cane, increase the sugarcane stumps more than 50%, and increased average cane yield approximately 1-2 tons per rai. The impacts was over 300 million baht per year has been representing an increase in value. Keywords: white leaf disease, Integration control, Mitr Lao Sugar Co., Ltd. ค้าน้า ปัจจุบันโรคใบขาวเป็นปัญหาที่สาคัญในการเพาะปลูกอ้อยของประเทศไทยรวมทั้งที่มิตรลาวด้วย ในปี การผลิต 2554/55 พบว่าภาคตะวัน ออกเฉีย งเหนื อ มี พื้น ที่ ในการระบาดของโรคใบขาวอ้ อยไม่ น้ อยกว่า 170,000 ไร่ ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่ออุตสาหกรรมอ้อยและน้าตาลทรายของประเทศไทยไม่ต่ากว่า 1,000 ล้านบาท (ธวัช, 2554) ส าหรับ กลุ่ม มิ ตรผลมีก ารระบาดของโรคใบขาวปีละกว่า 60,000 ไร่ ซึ่งสร้างความ เสียหายให้กับชาวไร่และโรงงานปีละไม่ต่ากว่า 40-100 ล้านบาท และมีแนวโน้มที่จะรุนแรงมากขึ้นทุกปี โรค ใบขาวสามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของอ้อย โดยใบอ้อยจะมีสีเขียวซีด หรือสีขาว เนื่องจากการ เข้าทาลายของเชื้อ ทาให้ปริมาณและขนาดของคลอโรฟิลล์ลดลง (Rishi และ Chen, 1989) ส่งผลให้ใบอ้อย 312
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
เรียวเล็กกว่าปกติ มีลาต้นแคระแกร็น ขนาดลาเล็กกว่าปกติ หากอาการรุนแรงอ้อยจะแตกกอคล้ายกอตะไคร้สี ขาวและไม่เกิดลา ซึ่งอาการจะปรากฎชัดเจนในระยะอ้อยแตกกอ ในอ้อยตอความรุนแรงของโรคจะเพิ่มขึน้ จน ไว้ตอไม่ได้ ผลผลิตลดลง 30-40 % ต้องมีการรื้อตอและปลูกใหม่ทุกปี (อัปสร, 2543) ซึ่งพันธุ์อ้อยที่ใช้ปลูกใน พื้นที่มิตรลาวส่วนใหญ่ มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ คือ พันธุ์ขอนแก่น 3 ที่เป็นพันธุ์ที่มีลักษณะอ่อนแอต่อโรคใบ ขาว และไม่มีการคัดเลือกท่อนพันธุ์ที่ปลอดโรคหรือไม่แสดงอาการของโรคที่ใช้เป็นแปลงพันธุ์ ทาให้โรคใบขาว ในพันธุ์ขอนแก่น 3 แพร่กระจายได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว นอกจากนั้นในเขตพื้นที่ดินทรายที่ดินมีความ อุดมสมบูรณ์ต่า มีแนวโน้มในการระบาดของโรคใบขาวรุนแรงมากขึ้น (กรมวิชาการเกษตร, 2550) เนื่องจาก เป็นพื้นที่ ที่มี ความเหมาะสมต่อ การเจริญ เติบ โตและขยายพันธุ์ของแมลงพาหะ (ทรงยศ และคณะ, 2532; Yang, 1972 แล ะ Chen, 1979) แล ะมี เพ ลี้ ยจั กจั่ น สี น้ าต าล M.hiroglyphicus (Matsumura) แ ล ะ Yamatotettix flavovittatus เป็นแมลงพาหะในการถ่ายทอดโรค (Hanboonsong et al., 2006) ในปีการ ผลิต 2560/61 บริษัท น้าตาลมิตรลาว จากัด มีพื้นที่ที่เสียหายรุนแรงจากการระบาดของโรคใบขาว โดยเฉพาะ ในอ้อยตอ (พื้ นที่ ก ว่า 20,000 ไร่) ท าให้ไม่ ส ามารถไว้ตออ้อยได้ต้องไถรื้อ ทิ้ ง คิดเป็น มู ล ค่าความเสียหาย ประมาณ 90-100 ล้ านบาท ซึ่ ง สาเหตุ ห ลั ก ๆของการระบาดของโรคใบขาวที่ รุ น แรงในพื้ น ที่ มิ ต รลาว เนื่องมาจาก (1) พั นธุ์อ้ อยที่ใช้ปลูกในพื้นที่ มากกว่า 90 % คือ พันธุ์ขอนแก่ น 3 ซึ่งมี ลัก ษณะเป็นพันธุ์ที่ อ่อนแอต่อโรคใบขาว และไม่ได้มีการตรวจสอบโรคใบขาวที่ติดมากับท่อนพันธุ์ จึงเป็นสาเหตุทาให้โรคใบขาว กระจายในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว (2) สภาพอากาศที่ร้อนชื้นทาให้มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อ โรค (3) สภาพดินปลูกอ้อยที่เป็นดินทรายและมีความอุดมสมบูรณ์ของดินที่ต่า-ต่ามากมีความเหมาะสมต่อการ เจริญ เติบ โตของแมลงพาหะ (เพลี้ ยจั๊ก จั่น ) และเป็น ตัวเร่ง ให้ เกิ ด การระบาดของโรคใบขาวที่ รุน แรงขึ้ น สถานการณ์การระบาดของโรคใบขาวในพื้นที่ปลูกอ้อยของมิตรลาว จากการสารวจพื้นที่ในเบื้องต้น ในอ้อย ปลูกพบโรคใบขาวเฉลี่ย 5-15 % ในอ้อยตอพบโรคใบขาวระบาดเฉลี่ย 15-50 % โดยพบความรุนแรงของโรค ใบขาวมากกว่า 50-100 % ในอ้อยตอที่ตัดท้ายฤดูหีบหรือที่ตัดช่วงปลายเดือนกุมภาพั นธ์ ไม่สามารถไว้ตอได้ ทาให้ต้องลงทุนปลูกอ้อยใหม่ การควบคุมโรคใบขาวในปัจจุบันสามารถทาได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นวิธีกล เช่น การขุด เผา ทาลาย หรือ ไถรื้อกรณีที่เป็นรุนแรง การใช้สารเคมี เช่น การฉีดพ่นสารกาจัดวัชพืชไกลโฟเสท 0.1 % ลงบนกอที่เป็นโรค พบว่าสามารถฆ่ากอที่เป็นโรคได้ ซึ่งวิธีการนี้ค่อนข้ างประหยัดเวลาและแรงงานมาก (อนุสรณ์ และเกลียวพันธุ์, 2534) การปลูกพืชตัดวงจรโรค เช่น ปอเทือง ข้าวไร่ การตรวจสอบท่อนพันธุ์อ้อย ด้วยเทคนิค PCR (polymerase chain reaction) ซึ่งเป็นอีกทางเลือกในการตรวจสอบการมีอยู่ของ เชื้อไฟโต พลาสมาในอ้อย (Wongkaew et al., 1997; Sakuanrungsirikul et al., 2015) การใช้ชุดตรวจโรคใบขาว ตรวจสอบแปลงพันธุ์อ้อย การแช่ท่อนพันธุ์ในน้าร้อนสามารถยั้บยั้งการเกิดโรคได้ รวมทั้งการนาต้นกล้าอ้อยที่ ไม่แสดงอาการของโรคไปปลูกต่อ ในอ้อยปลูกจะไม่แสดงอาการใบขาวจนถึง 10 เดือน (สุนี และคณะ, 2557) นอกจากนี้ยังพบว่าแม้จะแช่ท่อนอ้อยแล้วก็ตาม แต่เมื่อนามาปลูกในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคใบขาวรุนแรงก็ สามารถทาให้เกิดโรคได้ เนื่องจากมีแมลงพาหะถ่ายทอดโรค ซึ่งวิธีการแช่น้าร้อนการปฏิบัติค่อนข้างยุ่งยาก และใช้เวลานาน (อนุสรณ์, 2543) การผลิตต้นกล้าอ้อยปลอดโรคหรือมาจากอ้อยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จากเยื่อ
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
313
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
เจริญปลายยอด เป็นวิธีการที่สามารถกาจัดโรคใบขาวจากท่อนพันธุ์ได้ดี (นิลุบล และคณะ, 2549) ซึ่งแนวทาง การแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้นล้วนเป็นการแก้ปัญหาของโรคใบขาวที่ปลายเหตุ ดังนั้น แนวทางในการควบคุมโรคใบขาวสาหรับพื้นทีม่ ิตรลาว เพื่อให้ได้ผลและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงต้องนาเทคโนโลยีการควบคุมโรคใบขาวด้วยวิธีการต่างๆข้างต้นมาใช้ในการควบคุมแบบบูรณาการ ร่วมกับ การบริหารจัดการแปลงในสภาพพื้นที่ แปลงขนาดใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการระบาดของโรคใบ ขาวในพื้ นที่ ป ลูก อ้ อ ยมิ ตรลาว ในอ้ อ ยปลู ก ให้อยู่ในระดับ 3-5 % ส่วนในอ้อยตอให้ อยู่ในระดับ 5-10 % สามารถเพิ่ม การไว้ตอได้ม ากกว่า 1 ตอ และเพื่ออบรม ถ่ายทอดความรู้ที่ เกี่ ยวข้องรวมทั้งการป้องกันและ ควบคุมโรคใบขาวที่ถูกต้องให้กับชาวไร่รวมทั้งเจ้าหน้าที่ด้านอ้อยของโรงงานน้าตาลมิตรลาว อุปกรณ์และวิธีการ บริษัทมิตรผลวิจัยพัฒ นาอ้อยและน้าตาล จากัด และ บริษัทน้าตาลมิตรลาว จากัด ได้ร่วมกันจัดทา โครงการ “การควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการในพื้นที่ มิตรลาว” ขึ้นในระหว่างปี 2560-2562 โดยได้นา เทคโนโลยีการควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการ ร่วมกับการจัดการแปลงอย่างเป็นระบบ มาใช้ในการควบคุม โรคใบขาวอ้อ ย ซึ่ง ได้มี การจัดตั้งคณะท างานในการควบคุมโรคใบขาว และร่วมกัน วิเคราะห์ห าสาเหตุ และ ปัจจัยที่ทาให้เกิดการระบาดที่รุนแรงของโรคใบขาวในพื้นที่มิตรลาว ได้ผลดังนี้ 1). ปัญหาการใช้ท่อนพันธุ์ที่ไม่ ปลอดโรค โดยพันธุ์อ้อยที่ใช้ปลูกในพื้นที่มากกว่า 90 % คือพันธุ์ขอนแก่น 3 ซึ่งมีลักษณะเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อ โรคใบขาว และไม่ได้มีการตรวจสอบโรคใบขาวที่ติดมากับท่อนพันธุ์ ก่อนปลูก จึงเป็นสาเหตุทาให้โรคใบขาว กระจายในพื้นที่ ได้อย่างรวดเร็ว 2). ไม่มีการควบคุมและป้องกัน แมลงพาหะของโรคใบขาวในพื้นที่ ซึ่งการ แพร่กระจายของโรคใบขาว สามารถติดไปกับท่อนพันธุ์ และการถ่ายทอดเชื้อโดยแมลงพาหะ 3). ชาวไร่ขาด ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคใบขาว รวมถึง การป้องกันและควบคุมโรคใบขาวที่ถูกต้อง 4). ขาดระบบการ จัดการแปลงที่ ดี รวมถึง การเฝ้าระวัง การติด ตาม และการควบคุม การระบาดของโรคใบขาว ซึ่งจากการ วิเคราะห์สาเหตุหลักของการระบาดของโรคใบขาวในพื้นที่มิตรลาวดังกล่าว ทาให้ต้องแก้ไขปัญหาแบบบูรณา การและอย่างเป็นระบบ โดยสามารถสรุปแนวทางในการแก้ปัญหาดังนี้ 1. ปัญ หาการใช้ ท่ อ นพั น ธุ์ที่ ไม่ ป ลอดโรค : ในแต่ล ะปี บ.น้าตาลมิ ตรลาว ต้องใช้พัน ธุ์อ้ อยประมาณ 50,000-60,000 ตัน สาหรับ ปลูกในพื้ นที่ประมาณ 40,000-50,000 ไร่ ดังนั้น เพื่อให้ได้แปลงพันธุ์หรือท่อน พันธุ์อ้อยที่สะอาด ปลอดโรคใบขาว จึงได้ดาเนินการคัดเลือกและตรวจสอบแปลงพันธุ์ในระดับสายตา ทั้งจาก แหล่งพันธุ์ที่นาเข้าพันธุ์อ้อยจากประเทศไทย และภายในพื้นที่ปลูกอ้อยของบ.น้าตาลมิตรลาวเอง โดยการสุ่ม นับเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบขาวในระดับสายตา ซึ่งเกณฑ์การคั ดเลือกแปลงพันธุ์อ้อยต้องเป็นประเภทอ้อย ปลูกและต้องมีเปอร์เซ็นต์การแสดงออกของโรคใบขาวในระดับ สายตาที่ต่ากว่า 3 % จากนั้นแปลงที่ผ่านการ คัดเลือกในระดับสายตา จะทาการตรวจสอบท่อนพันธุ์อ้อยด้วยเทคนิค PCR (polymerase chain reaction) เพื่อตรวจสอบการมีอยู่ของเชื้อไฟโตพลาสมาในอ้อย โดยได้ทาการสุ่มเก็บตัวอย่างใบอ้อยจานวน 30 ตัวอย่าง ต่อพื้นที่ 1 ไร่ จากแต่ละพื้นที่เป้าหมาย ในระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน เพื่อนามาใช้ประเมินด้วย 314
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
ปฏิกิริยา PCR ซึ่งแปลงที่จะสามารถใช้เป็นแปลงพันธุ์ได้ต้องมีเปอร์เซ็นต์ของการติดเชื้อจากเทคนิค PCR ต่า กว่า 20 % รวมทั้ ง บ.น้าตาลมิ ตรลาว ได้ดาเนินการสร้างแหล่ง พันธุ์ อ้อยปลอดโรค โดยใช้ก ล้าอ้อยจาการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในอ้อยสายพันธุ์ใหม่ๆ ที่ผ่านการคัดเลือกแล้วว่ามีศักยภาพที่เหมาะสมกับพื้นที่มิตรลาว ใน พื้ น ที่ ก ว่ า 1,000 ไร่ ซึ่ ง เป็ น พื้ น ที่ ที่ Isolate ห่ างไกลจากพื้ น ที่ ป ลู ก อ้ อ ยมากกว่า 50 กิ โ ลเมตร โดยในปี 2564/65 คาดว่า บ.น้าตาลมิตรลาว จะมีแหล่งพันธุ์อ้อยทีป่ ลอดโรค จานวนกว่า 100,000 ตัน สาหรับใช้ปลูก ในพื้นที่มิตรลาวกว่า 70,000 ไร่ 2. ไม่มี ก ารควบคุม และป้องกัน แมลงพาหะของโรคใบขาวในพื้นที่ : บ.น้าตาลมิ ตรลาว ได้ดาเนินการ ควบคุมแมลงพาหะโรคใบขาวโดยใช้กับดักแสงไฟ และกับดักกาวเหนียว ควบคุมตลอดฤดูการปลูกอ้อย โดยใน พื้นที่ที่มีระบบไฟฟ้าเข้าถึง ได้ทาการติดตั้งกับดักแสงไฟ (light trap) ชนิดหลอด black light blue ขนาด 20 วัตต์ ในปีที่ 1 จานวน 150 เครื่อง และในปีที่ 2 จานวน 180 เครื่อง ทาการเปิดไฟเวลา 18.00 - 20.00 น. ใน ทุกวัน ส่วนในพื้นที่ที่ระบบไฟฟ้าเข้าไม่ถึง ทาการติดกับดักกาวเหนียวที่มีสีเหลือง โดยติดห่างจากขอบแปลง ประมาณ 10-20 เซนติเมตร และติดกับดักกาวเหนียวสูงจากพื้นดินประมาณ 50-60 เซนติเมตร ระยะห่างของ กับดักกาวเหนียว ประมาณ 10-15 เมตรต่อจุด หรือใช้กับดักกาวเหนียวประมาณ 15-20 แผ่นต่อพื้นที่ 1 ไร่ ทาการเปลี่ยนแผ่นกับดักกาวเหนียวทุก 1 เดือน อีกทั้งได้ดาเนินการติดตั้งสถานีอากาศ ในพื้นที่ตัวแทน เพื่อ ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพอากาศจากสถานีอากาศ เช่น ความชื้นสัมพั ทธ์ของอากาศ ปริมาณน้าฝน อุณหภูมิ ฯลฯ กับข้อมูลประชากรแมลงพาหะ จากการสารวจปริมาณแมลงพาหะ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึง เดื อ นตุ ล าคม ของทุ ก ปี โดยสุ่ ม นั บ ประชากรแมลงพาหะชนิ ด M.hiroglyphicus (Matsumura) และ Yamatotettix flavovittatus จากกับดักกาวเหนียวในพื้นที่ตัวแทน จานวน 2 สัปดาห์ต่อครั้ง ร่วมกับข้อมูล เปอร์เซ็นต์โรคใบขาว เพื่อใช้ในการคาดการณ์ ถึงแนวโน้มของประชากรแมลงพาหะ และความรุนแรงของโรค ใบขาว ในการวางแผนควบคุมประชากรแมลงพาหะและการระบาดของโรคใบขาวได้ทันท่วงที ในส่วนของการ เฝ้าติดตามประชากรแมลงพาหะ ทาการสุ่มนับประชากรแมลงพาหะชนิด M.hiroglyphicus (Matsumura) และ Yamatotettix flavovittatus จากกั บ ดัก กาวเหนียวในพื้นที่ ตัวแทน จ านวน 2 สัป ดาห์ต่อครั้ง โดย ดาเนินการสุ่มนับประชากรแมลงตลอดทั้งปี เพื่อให้ทราบถึงจานวนประชากรแมลงพาหะในแต่ละช่วงเวลา ทา ให้สามารถควบคุมแมลงพาหะ ได้ทันท่วงที 3. ชาวไร่ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคใบขาว รวมถึงการป้องกันและควบคุมโรคใบขาวที่ถูกต้อง : ได้ดาเนินการอบรมให้ความรู้แก่ชาวไร่ และเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ในส่วนของชาวไร่อ้อย ได้ดาเนินการอบรมโดย การจัดประชุมย่อยรายหมู่บ้าน ครั้งละ 20-30 คน และจัดประชุมรวมรายเขตส่งเสริม ครั้งละประมาณ 200300 คน ในส่วนของเจ้าหน้าที่ส่งสริม ได้ทาการอบรมให้ความรู้เช่นเดียวกับชาวไร่ แต่จะเน้นเรื่ องการจัดการ โรคใบขาวในสภาพแปลงขนาดใหญ่ เช่น การให้ความรู้ เรื่องการชุบท่อนพันธุ์ การสร้างแหล่งพันธุ์ปลอดโรคใน พื้นที่มิตรลาว เป็นต้น โดยทาการอบรมแก่ชาวไร่และเจ้าหน้าที่ส่งเสริม อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ ผ่านมา เพื่อให้ชาวไร่มีความรู้ความเข้าใจ ในการป้องกันและควบคุมโรคใบขาวอย่างถูกต้อง รวมถึงสร้างความ ตระหนักรู้ถึงปัญหาของโรคใบขาวร่วมกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และแก้ปัญหาของโรคใบขาวได้อย่างยั่งยืน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
315
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
4. ขาดระบบการจัดการแปลงที่ดี รวมถึงการเฝ้าระวัง การติดตาม และการควบคุมการระบาดของโรคใบ ขาว :ในส่วนของการติดตามควบคุมการระบาดโรคใบขาว ได้ดาเนินการสุ่มสารวจทุกแปลง ทั้งในประเภทอ้อย ปลูก และอ้อยตอ จานวน 3 ครั้งต่อแปลง ที่อ้อยอายุ 1 เดือน 2 เดือน และ 4 เดือน ตามลาดับ โดยเดินสารวจ และตรวจนับจานวนกอที่แสดงอาการของโรคใบขาว สุ่มการเกิดโรคในพื้นที่ 1 ไร่ เป็นตัวแทนของเปอร์เซ็นต์ การเกิดโรคในแต่ละแปลง โดยเอาจานวนกอที่แสดงอาการของโรคหารด้วยจานวนกอทั้งหมดในพื้นที่ 1 ไร่ และคูณด้วย 100 ซึ่งการสารวจทาควบคู่กับการกาจัดโรคใบขาวในพื้นที่ โดยในอ้อยปลูก จะทาการขุดกอที่ เป็นโรค และนามาเผาทาลายนอกแปลง ส่วนในอ้อยตอ จะทาการฉีดพ่นสารไกลโฟเสทลงบนกอที่เป็นโรค หากเป็นรุนแรงมากกว่า 20 % จะแนะนาให้ทาการไถรื้อแปลง และได้ส่งเสริมให้ชาวไร่ปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อ ตัดวงจรโรคใบขาวและแมลงพาหะ เช่น ถั่วเขียว ถั่วลิสง และปอเทือง เป็นต้น ผลและวิจารณ์ จากการดาเนินงานตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ในระหว่างปี 2560-2562 เพื่อควบคุมการระบาด ของโรคใบขาวในพื้นที่มิตรลาว โดยได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาหลักของสาเหตุการระบาดของโรคใบขาว ตั้งแต่ การคัดเลือกและตรวจแปลงพันธุ์ในระดับสายตา เพื่อคัดเลือกแปลงพันธุ์ สะอาด รวมถึง การตรวจสอบท่อน พันธุ์อ้อยด้วยเทคนิค PCR (polymerase chain reaction) เพื่อตรวจสอบการมีอยู่ของเชื้อไฟโตพลาสมาใน อ้อย การควบคุมแมลงพาหะโรคใบขาวโดยใช้กับดักแสงไฟ และกับดักกาวเหนียว การอบรมให้ความรู้ ความ เข้าใจ ในการป้อ งกั นและควบคุมโรคใบขาวอย่างถูก ต้องแก่ ชาวไร่ และเจ้าหน้าที่ ส่งเสริม และการติดตาม ควบคุมการระบาดโรคใบขาวและแมลงพาหะ อย่างเป็นระบบ ซึ่ง ผลการดาเนินงาน ในระยะเวลา 2 ปีที่ผ่าน มา พบว่าแมลงพาหะโรคใบขาวมีปริมาณลดลงประมาณ 60-70 % (ภาพที่ 1)
ภาพที่ 1 จานวนแมลงพาหะเฉลี่ยต่อเดือน ชนิด M. hiroglyphicus (Matsumura) โดยสุม่ นับจากกับดักกาวเหนียวในพืน้ ที่ปลูกอ้อยมิตรลาว ระหว่างปี พ.ศ. 2560 ถึงปี พ.ศ. 2562 316
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
และ พบเปอร์เซ็นต์การระบาดของโรคใบขาวลดลง โดยในอ้อยปลูกมีเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบขาวเฉลี่ย 1-2 % (เดิมพบ 5-15 %) ในอ้อยตอมีเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบขาวเฉลี่ย 3-4 % (เดิมพบ 15-50 %) (ภาพที่ 2)
ภาพที่ 2 เปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบขาวเฉลี่ยในอ้อยปลูก และในอ้อยตอในพื้นทีป่ ลูกอ้อยมิตรลาว ระหว่างปี พ.ศ. 2560 กับปี พ.ศ. 2562 ผลผลิตเพิ่มสูงขึ้นเฉลี่ย 1-2 ตันต่อไร่ ทั้งในอ้อยปลูกและอ้อยตอ (ภาพที่ 3) อีกทั้งพื้นที่ไว้ตอ สามารถไว้ตอได้ มากขึ้นกว่า 50 % จากเดิม สามารถไว้ ตอได้เพี ยง 20 % (ภาพที่ 4) ท าให้ มี ป ริม าณตันอ้ อยที่ ม ากขี้น กว่า 120,000 ตัน (ภาพที่ 5)
ภาพที่ 3 ผลผลิตเฉลี่ย ตันต่อไร่ ทั้งในอ้อยปลูกและอ้อยตอในพื้นที่ปลูกอ้อยมิตรลาว ระหว่างปี พ.ศ. 2560 ถึง ปี พ.ศ. 2562
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
317
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
ภาพที่ 4 เปอร์เซ็นต์พื้นทีก่ ารไว้ตอในพื้นทีป่ ลูกอ้อยมิตรลาว ระหว่างปี พ.ศ. 2560 ถึง ปี พ.ศ. 2562
ภาพที่ 5 ปริมาณตันอ้อยเข้าหีบในพื้นทีป่ ลูกอ้อยมิตรลาว ระหว่างปี พ.ศ. 2560 ถึง ปี พ.ศ. 2562 ทาให้ต้นทุนการทาไร่ลดลงประมาณ 23 % มีเปอร์เซ็นต์การเก็บหนีส้ ินชาวไร่เพิ่มขึ้นประมาณ 10 % ทาให้ เกิดผลกระทบ (IMPACT) ในส่วนของชาวไร่ ซึ่งได้แก่ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น และการไว้ตอที่เพิ่มขึ้น มูลค่าผลกระทบ กว่า 197 ล้านบาท ในส่วนของด้านโรงงาน ซึ่งได้แก่ ต้นทุนการทาไร่ของบริษัทลดลง และปริมาณกากชาน อ้อยที่เพิม่ ขึ้น มูลค่าผลกระทบกว่า 108 ล้านบาท ทาให้เกิดผลกระทบ (IMPACT) รวมทัง้ สิ้น จานวน 305 ล้านบาท (ภาพที่ 6)
318
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
ภาพที่ 6 มูลค่าผลกระทบ (IMPACT) ที่เกิดขึ้นจากโครงการควบคุมโรคใบขาวพื้นที่มิตรลาว ใน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2562 สรุปผลการทดลอง จากการดาเนินการควบคุมโรคใบขาว โดยใช้เทคโนโลยีการควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการร่วมกับ การจัดการแปลงอย่างเป็นระบบ ปัจจุบันสามารถลดความรุนแรงของโรคใบขาวในพื้นที่ปลูกอ้อยของมิตรลาว ได้ โดยในอ้อยปลูกมีเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบขาวเฉลี่ย 1-2 % ในอ้อยตอมีเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคใบขาวเฉลี่ย 3-4 % ผลผลิตอ้อยเพิ่มขึ้นทั้งในอ้อยปลูกและอ้อยตอ เฉลี่ย 1-2 ตันต่อไร่ อ้อยสามารถไว้ตอได้มากขึ้นกว่า 50 % คิดเป็นมูลค่าที่เพิ่มขึ้น 300 ล้านบาทต่อปี ทั้งนี้การควบคุมโรคใบขาวในพื้นที่ปลูกอ้อยของบ.น้าตาลมิตร ลาว จะไม่ประสบความสาเร็จ หากไม่มีความร่วมมือกันในทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นด้านอ้อย ด้านโรงงาน และ ชาวไร่อ้อย ฯลฯ ในการขับเคลื่อนเทคโนโลยีการควบคุมโรคใบขาวอ้อย ซึ่งผลจากการดาเนินการเพื่อควบคุม การระบาดของโรคใบขาวดังกล่าว ทาให้ชาวไร่อ้อยมีกาไร โดยไม่ต้องลงทุนปลูกอ้อยใหม่ โรงงานมีความมั่นคง ทางด้านวัตถุดิบ และส่งผลให้เกิดความยั่งยืนของการทาธุรกิจอ้อยและน้าตาลในพื้นที่ ส.ป.ป. ลาว เอกสารอ้างอิง ทรงยศ พิสิษฐ์กลุ , ชุมพล กันทะ, โสภณ วงศ์แก้ว, ปรีชา นีระ, พิบูลย์ ไชยอ้อย และชนัฏฏา เชษฐราช. 2532. การศึกษาแมลงพาหะนาโรคใบขาวอ้อยและแนวทางป้องกันกาจัด. แก่นเกษตร 17 (3) : 164-172. ธวัช หะหมาน. 2554. คู่มือการจัดการโรคใบขาวอ้อย. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย (สอน.) กระทรวงอุตสาหกรรม 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
319
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OPA-03
นิลุบล ทวีกุล, นฤทัย วรสถิตย์ และสมศักดิ์ ชูพันธุ์. 2549. ศึกษาระบบการผลิตท่อนพันธุ์อ้อยปลอดโรคใบ ขาว. น. 251-254. ใน: รายงานผลงานวิจัยปี 2549. ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สานักวิจัยและ พัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 กรมวิชาการเกษตร สุนี ศรีสงิ ห์, ศุจริ ัตน์ สงวนรังศิริกุล, วัลลิภา สุชาโต และวาสนา ยอดปรางค์. 2557. การศึกษาวิธีการใช้้า น้ ร้อนในการก้าจัดเชื้อโรคใบขาวในท่อนพันธุ์อ้อย. ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี อนุสรณ์ กุศลวงศ์ และ เกลียวพันธุ์ สุวรรณรักษ์. 2534. การใช้ไกลโพเสทกาจัดอ้อยเป็นโรคใบขาว. รายงาน ผลงานวิจัย, กลุม่ งานวิจัยโรคพืชไร่ กองโรคพืชและจุลชีววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. หน้า 33-35. อนุสรณ์ กุศลวงศ์. 2543. โครงการป้องกันกาจัดโรคใบขาวของอ้อย จังหวัดอุดรธานี. เอกสารรายงานการ ป้องกันกาจัดโรคใบขาว. สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม อัปสร เปลี่ยนสินไชย อุดม เลียบวัน ประชา ถ้าทอง นิพนธ์ เอี่ยมสุภาษิต อดุลย์ พงษ์พัว และ วันทนีย์ อู่ วาณิชย์. 2543. ความต้านทานของโรคอ้อยพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. รายงานการประชุมอ้อยและ น้าตาลทรายแห่งชาติ ครั้งที่ 4 15-17 สิงหาคม 2543 ณ โรงแรมสีมาธานี จังหวัดนครราชสีมา หน้า 474-503. Chen, C.T. 1979. Vector-pathogen relationships of sugarcane white leaf disease. Taiwan Sugar Journal : 50-54. Hanboonsong, Y., W. Ritthison, C. Choosai, and P. Sirithon. 2006. Transmission of sugarcane white leaf phytoplasma by Yamototettix flavovittatus, a new leafhopper vector. Econ. Entomol. 99(5): 1531-1537. Rishi, N. and C.T. Chen. 1989. Grassy shoot and white leaf disease. Disease of sugarcane Major disease (Ricaud, B.C. and B.T. Egan. Eds), pp. 289-300. Elsevier Science Publisher, Amsterdam Sakuanrungsirikul, S., T. Wongwarat, S. Sakot, T. Sansayawichai, and S. Srisink. 2015. SecA, a New Marker for an Improved Detection Method of Sugarcane White Leaf Phytoplasma: 1–15. Wongkaew, P., Y. Hanboonsong, P. Sirithorn, C. Choosai, S. Boonkrong, T. Tinnangwattana, R. Kitchareonpanya, and S. Damak. 1997. Differentiation of phytoplasmas associated with sugarcane and gramineous weed white leaf disease and sugarcane grassy shoot disease by RFLP and sequencing. Theoretical and Applied Genetics 95: 660–663. doi:10.1007/s001220050609 Yang, S.L. 1972. Bionomics of Matsumuratettix hiroglyphicus Matsumura, an insect vector of sugarcane white leaf disease III. A study on the relationship between environmental factors and oviposition of Matsumuratettix hiroglyphicus Matsumura. Rept. Taiwan Sugar EXP. Sta. 57 : 65-74. 320
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
ชีววิทยาของ Asystasia gangetica (L.) T. Anderson วัชพืชที่สาคัญของประเทศไทย Biology of Asystasia gangetica (L.) T. Anderson the Important Weed of Thailand จรัญญา ปิ่นสุภา วิไล อินทรเจริญสุข อุษณีย์ จินดากุล เทอดพงษ์ มหาวงศ์ ธัญชนก จงรักไทย และ เอกรัตน์ ธนูทอง Jarunya Pinsupa Vilai Intarajaroensuk Aussanee Chindakul Terdphong Mahawong Tanchanok Jongrukthai and Akekart Tanutong กลุ่มวิจัยวัชพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพมหานคร 10900 Weed Science Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 Thailand
บทคัดย่อ วัชพืช Asystasia gangetica (L.) T. Anderson มีชื่อไทยเรียกว่า “บาหยา” เป็นวัชพืชที่ สาคัญ ใน สวน ยางพารา ปาล์มน้ามัน สับปะรด และไม้ผล เป็นต้ น การศึกษาข้อมูลทางชีววิทยาจะเป็นข้อมูลพื้นฐาน สาคัญ ในการหาแนวทางการควบคุมและป้องกันก าจัดที่เหมาะสมในพื้นที่ ท าการเกษตรต่อไป ดาเนินการ ทดลอง ในเรือนทดลองและห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิจัยวัชพืช ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2559 - ตุลาคม พ.ศ. 2561 การศึกษาชีววิทยาของต้น บาหยา (Asystasia gangetica (L.) T. Anderson) ประกอบด้วย การศึกษาวงจร ชีวิต การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์ ศักยภาพการผลิตเมล็ด และอิทธิพลของระยะเวลาต่อการงอกของเมล็ด ผลการศึกษา พบว่า บาหยา เป็นวัชพืชอายุข้ามปี สามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งเมล็ดและลาต้น หลังจากเมล็ ดงอก ประมาณ 1 สัปดาห์ มีใบจริงเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามและมีการเจริญเติบโตทางด้านใบและลาต้นอย่างรวดเร็ว สร้างเมล็ ดที่ ร ะยะ 7 สัป ดาห์ ห ลั งงอก และหลัง จากดอกบาน 2-3 สั ป ดาห์ เมล็ด สุก แก่ และในช่วง 15 สัป ดาห์หลังงอก ต้นบาหยาติดผล มากที่สุด จากนั้นในช่วง 19 สัปดาห์หลังงอก การเจริญเติบโตลดลงทั้ ง ทางด้านล าต้ น ใบ การสร้างผล และเมล็ ดลดลง การขยายพั น ธุ์ ด้ว ยเมล็ ด พบว่า เมล็ ด อยู่ บ นผิว ดิน มี เปอร์เซ็นต์ความงอกสูงถึง 92.8 เปอร์เซ็นต์ หากเมล็ดอยู่ในระดับความลึกของดิน 15 เซนติเมตร เมล็ดไม่ สามารถงอกได้ เช่นเดียวกับส่วนของลาต้น คาสาคัญ : ชีววิทยา บาหยา ABSTRACT Asystasia gangetica (L.) T. Anderson (common name in Thai “Baya”) is one of the potential weeds in Thailand. This weed plays pivotal problems on rubbers, oil-palms, 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
321
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
pineapples, and fruit crops across the country. The study of its biology is mandatory, since understanding the basic information leads to suitable prevention as well as effectiveness in control management on agricultural areas in the long run. The study was implemented in both a greenhouse and a laboratory of the Weed Science group from October 2017 – October 2018. The biological study of A. gangetica included the observation of life cycles, plant growths, propagations, seed productions, and effect of times on seed emergences. The results showed that A. gangetica is a perennial weed and can propagate by both seeds and stems. One week after seed germination, the plant had first opposite true leaves, after that the vegetative growth grew very rapidly. The seeds were produced at 7 weeks after seed germination and developed to mature seeds at 2-3 weeks after blooming. Maximum fruits of A. gangetica were obtained 15 weeks after seed germination. Subsequently at 19 weeks after seed germination, the vegetative growth diminished as well as fruits and seeds. For seeds propagation, the study showed that the seeds on the surface soil provided high germination up to 92.8 percent. Neither seeds nor stems were able to germinate at 15 cm. deep in the soil. Keywords: Biology, Asystasia gangetica (L.) T. Anderson คานา Asystasia gangetica (L.) มี ชื่อ ไทยว่าบาหยา เป็นพืชอยู่ในสกุ ล Asystasia วงศ์ Acanthaceae (วงศ์ต้อยติ่ง) เป็นพืชดั้งเดิมในประเทศแถบแอฟริกาใต้ ต่อมา A. gangetica ถูกจัดให้เป็นวัชพืช ในปี 2002 และอยู่ในบัญ ชีรายชื่อวัชพื ชทั่ วโลก ในประเทศออสเตรเลียในปี 1998 A. gangetica ได้อยู่ในรายการแจ้ง เตือนด้านสิ่ง แวดล้อ มแห่ง ชาติ (Ismail และ Shukor, 1998) จะต้อ งรายงานเมื่ อ พบ และนอกจากนั้น ใน ออสเตรเลียยังพบว่าวัชพื ชชนิดนี้มี ผลกระทบต่อพืช ปลูก หลายชนิด เช่น พืชผัก ถั่ว ไม้ ตัดดอก และไม้ ผ ล (Skinner, 2015) การแพร่ก ระจาย A. gangetica นั้ น อยู่ ในพื้ น ที่ สู ง เนื่ อ งจากส่ วนใหญ่ ยัง คงใช้ เ ป็ น พื ช สมุนไพรและเป็นไม้ประดับในหลายประเทศ ซึ่งในปัจจุบันมีรายงานการแพร่ระบาดของพืชชนิดนี้มากกว่า 60 ประเทศทั่วโลก (CABI, 2018) ส่วนในทวีปเอเชีย ปี 1997 Kiew และ Vollesen พบวัชพืชชนิดนี้เป็นวัชพืชที่ สาคัญในประเทศมาเลเซีย เป็นปัญ หาในพื้นที่ปลูกปาล์มน้ามัน ยางพารา และโกโก้ โดยเฉพาะในพื้นที่ปลูก ปาล์มน้ามันที่มีการแพร่ระบาดวัชพืชนี้ทั้งแปลง ทาให้ผลผลิตลดลง และในประเทศไทยพบว่าวัชพืชชนิดนี้ มี การนาเข้ามาเพื่อปลูกเป็นไม้ประดับ มีชื่ อไทยว่าบาหยา การเป็นพืชไม้ประดับ ทาให้นิยมนาไปปลูก จึงเป็ น ปัจ จัยหนึ่งที่ เอื้ อให้พื ชในสกุ ล นี้เกิ ดการแพร่ก ระจายไปในที่ ต่างๆ ได้ง่ายประกอบกั บ พืชชนิดนี้มี ก ารแพร่ ขยายพันธุ์ได้ดี ทั้งส่วนของเมล็ด ล าต้น และกิ่ง จึงง่ายต่อการแพร่ขยายพันธุ์ โดย Acevedo - Rodríguez (2005) ได้รายงานถึงลักษณะและสาเหตุการแพร่กระจายพันธุ์ของ A. gangetica ว่า เป็นพืชที่สามารถปรับตัว
322
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
ได้อย่างรวดเร็วกับสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน สามารถทนต่อร่มเงาได้ดี มีอายุหลายปี และเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็ว ในปี 2549 ศิริพรและคณะ พบวัชพืชชนิดนี้มีการระบาดลงในพืชปลูกเศรษฐกิจ คือปาล์มน้ามัน และ ยางพาราในเขตภาคใต้ของประเทศไทย และในปี 2551 สาราญและคณะ รายงานว่าวัชพืชชนิดนี้สร้างปัญหา ให้เกษตรกรชาวไร่สับปะรดในเขตพื้นที่ปลูกจังหวัดพัทลุง ทาให้ผลผลิตลดลงและในปัจจุ บันพบวัชพืชนี้ ใน พื้นที่ ป ลูกไม้ ผ ล ในเขตภาคตะวันออก จะเห็นได้ว่าวัชพืชชนิดนี้มีศัก ยภาพการแพร่ระบาดได้ดีในพื้นที่ ท า การเกษตรของประเทศไทย แต่ยังไม่มีข้อมูลงานวิจัยพื้นฐานทางด้านชีววิทยาในด้านการเจริญเติบโต วงจรชีวิต การขยายพันธุ์ ศักยภาพการผลิตเมล็ด อัตราการงอกของเมล็ดและลาต้น เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการหาแนว ทางการควบคุมและป้องกันกาจัดที่เหมาะสมต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ 1.ศึกษาการเจริญเติบโต 1.1 ศึกษาวงจรชีวิตของบาหยา รวบรวมเมล็ดบาหยาจากแปลงเกษตรกรหรือที่พบตามธรรมชาติ เลือกเมล็ดที่สมบูรณ์และสุกแก่ ลงปลูกในกระถางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร โรยเมล็ด 5 เมล็ดต่อ กระถาง ถอนแยกให้เหลือ กระถางละ 1 ต้น จานวน 10 ซ้า บันทึกข้อมูล วันงอก ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของต้นกล้า ระยะเวลาใบจริงคู่แรก เกิดเป็นตุ่มตาดอกแรก ระยะดอกแรกบาน ดอกติดเมล็ด จนกระทั่งต้นตาย 1.2 ศึกษาการพัฒนาการเจริญเติบโต ปลูกบาหยาในกระถางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร กระถางละ 5 ต้น จานวน 105 กระถาง หลังจากงอกมีใบเลี้ยง 2 ใบ ทาการถอนแยกให้เหลือ 1 ต้นต่อกระถาง บันทึกข้อมูล ในทุกๆ 1 สัปดาห์ ทาการถอนต้นบาหยาจานวน 5 กระถาง เพื่อชั่งน้าหนักสด และน้าหนักแห้ง วัดความสูง นับจานวนใบต่อต้น จานวนกิ่งต่อต้น จานวนช่อดอก จานวนดอกย่อยต่อช่อดอก จานวนเมล็ดต่อ ดอก เป็นระยะเวลา 21 สัปดาห์ 2. ศึกษาการขยายพันธุ์ 2.1 การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดในระดับความลึกของดิน วางแผนการทดลองแบบ RCB จานวน 5 ซ้า 4 กรรมวิธี ประกอบด้วย กรรมวิธีที่ 1 วางเมล็ดบนผิวดิน กรรมวิธีที่ 2 วางเมล็ดที่ระดับความลึกจากผิวดิน 3 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 3 วางเมล็ดที่ระดับความลึกจากผิวดิน 5 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 4 วางเมล็ดที่ระดับความลึกจากผิวดิน 15 เซนติเมตร น าเมล็ ด บาหยาที่ สุ ก แก่ แ ละมี ลั ก ษณะสมบู ร ณ์ จ านวน 50 เมล็ ด ปลู ก ในกระถางขนาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร สูง 18 เซนติเมตร จ านวน 20 กระถาง โดยมี ร ะดั บ ความลึก ของดิ นเป็น กรรมวิธีต่างๆ ได้แก่ วางเมล็ดบนผิวดิน (0) 3, 5, และ 15 เซนติเมตร รดน้าทุกวัน บันทึกข้อมูล จานวนต้น อ่อนที่งอกจากเมล็ดทุกวัน เป็นระยะเวลา 30 วัน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
323
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
2.2 การขยายพันธุ์ด้วยลาต้นในระดับความลึกของดิน วางแผนการทดลองแบบ 3x4 Factorial in RCB จานวน 3 ซ้า ปัจจัยที่ 1 ส่วนของลาต้น มี 3 ระดับ ได้แก่ โคนต้น กลางต้น และปลายต้น ปัจจัยที่ 2 ระดับความลึกของดินมี 4 ระดับ ได้แก่ 0 (ระดับผิวดิน) 3, 5 และ 15 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 1 วางส่วนโคนต้นบนผิวดิน กรรมวิธีที่ 2 วางส่วนกลางต้นบนผิวดิน กรรมวิธีที่ 3 วางส่วนปลายต้นบนผิวดิน กรรมวิธีที่ 4 วางส่วนโคนต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 3 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 5 วางส่วนกลางต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 3 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 6 วางส่วนปลายต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 3 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 7 วางส่วนโคนต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 5 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 8 วางส่วนกลางต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 5 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 9 วางส่วนปลายต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 5 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 10 วางส่วนโคนต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 15 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 11 วางส่วนกลางต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 15 เซนติเมตร กรรมวิธีที่ 12 วางส่วนปลายต้นที่ระดับความลึกจากผิวดิน 15 เซนติเมตร นาส่วนลาต้นของบาหยา มาตัดเป็นท่อนมีความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร และแยกเป็นส่วนคือ ส่วน โคนต้น กลางต้น และปลายต้น และนาไปปลูกในกระถางซีเมนต์ขนาด 80x75x45 เซนติเมตร โดยนาส่วนของ ลาต้นของบาหยาในแต่ละส่วนๆละ 10 ท่อน วางในแต่ละกระถางซีเมนต์ ในระดับความลึกของดิน 4 ระดับคือ ระดับบนผิวดิน(0), 3, 5 และ 15 เซนติเมตร หลังจากนั้นดูแลรักษาโดยรดน้าทุกวัน บันทึกข้อมูล จานวนต้น อ่อนที่งอกจากลาต้นทุกวัน เป็นระยะเวลา 30 วัน 3. ศึกษาศักยภาพการผลิตเมล็ด วางแผนการทดลองแบบ RCB จานวน 3 ซ้า 7 กรรมวิธี ประกอบด้วย กรรมวิธีที่ 1 บาหยา 1 ต้น /ตารางเมตร กรรมวิธีที่ 2 บาหยา 2 ต้น /ตารางเมตร กรรมวิธีที่ 3 บาหยา 4 ต้น /ตารางเมตร กรรมวิธีที่ 4 บาหยา 6 ต้น /ตารางเมตร กรรมวิธีที่ 5 บาหยา 8 ต้น /ตารางเมตร กรรมวิธีที่ 6 บาหยา 10 ต้น /ตารางเมตร กรรมวิธีที่ 7 บาหยา 50 ต้น /ตารางเมตร (ตามธรรมชาติ ประมาณ 50 ต้น/ตารางเมตร)
324
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
ปลูกต้นบาหยาในพื้นที่ขนาด 1 ตารางเมตร เพื่อศึกษาศักยภาพในการผลิตเมล็ดของต้นบาหยา ใน สภาพที่มีการแข่งขันของต้นบาหยาในอัตราที่แตกต่างกัน โดยเปรียบเทียบกับการขึ้นในสภาพธรรมชาติในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ประมาณ 50 ต้น บันทึกข้อมูล จานวนเมล็ดของแต่ละต้นในแต่ละกรรมวิธี 4. ศึกษาอิทธิพลของระยะเวลาต่อการงอกของเมล็ดบาหยา นาเมล็ดที่ เก็ บ ทั นทั นที ห ลัง จากสุก แก่ จากแปลง (0 วัน) และเมล็ดที่ เก็ บ ไว้ ในสภาพอุณหภูมิ ห้อง ปฏิบัติการช่วงเวลาต่างๆ ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 เดือน นาเมล็ดเหล่านั้นมาเพาะใส่ จานแก้วจานวน 50 เมล็ด บรรจุกระดาษกรอง 1 แผ่น เติมน้ากลั่น 5 มิลลิลิตร วางแผนการทดลองแบบ CRD จานวน 5 ซ้า แล้วนาไปวางในสภาพที่อุณหภูมิ ห้องปฏิบัติการ บันทึกข้อมูล นับจานวนเมล็ดที่งอกทุก 7 วัน เป็นระยะเวลา 30 วัน เวลาและสถานที่ เดือน ตุลาคม 2559- ตุลาคม 2561 เรือนทดลอง และห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิจัยวัชพืช ผลและวิจารณ์ วงจรชีวิต และการเจริญเติบโตของต้นบาหยา (Asystasia gangetica) ศึก ษาวงจรชีวิต และการเจริญ เติบ โตของต้นบาหยา (Asystasia gangetica) ตั้งแต่เมล็ดเริ่ม งอก จนกระทั่งออกดอกและติดผล พบว่า เมล็ดสามารถงอกได้ภายใน 3-5 วันหลังปลูก หลังจากนั้นประมาณ 1 สัปดาห์ มีใบจริงเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม ต่อจากนั้นที่ระยะ 2-3 สัปดาห์ มีการแตกกิ่งตรงบริเวณโคนต้นและ ลาต้นเป็นลักษณะสี่เหลี่ยม ลาต้นบาหยาแตกกิ่งมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยในแต่ละข้อของลาต้น แตกออกเป็นกิ่ง 2 กิ่ง พร้อมกั บ ความสูงและจ านวนใบที่ เพิ่ ม มากขึ้น จนกิ่ ง ด้านล่างชิดดินเกิ ดรากบริเวณข้อของกิ่ ง ซึ่ ง การ เจริญเติบ โตเป็นแบบที่มี การแตกกิ่งก้ านสาขาทาให้ส ามารถปกคลุมพื้ นที่ ได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อ ผลผลิตของพืชปลูกหรือลดความหลากหลายทางชีวภาพลง (John et al., 2016) จนในระยะ 6 สัปดาห์ เกิด ช่อดอก ดอกบานหลังเกิดช่อดอกประมาณ 1 สัปดาห์หรือ 7 สัปดาห์หลังงอก ดอกบานและมีการสร้างเมล็ด อยู่ภายในรังไข่ ซึ่งภายในมีเมล็ดประมาณ 2-4 เมล็ด ผลแรกสุก (ผลเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล) ที่ระยะ 2-3 สัปดาห์ หลังจากดอกบาน หรือ 9-10 สัปดาห์หลังงอก ต้นบาหยาทยอยออกดอกและติดผลจนถึงช่วงสัปดาห์ที่ 15 โดยติดผลมากที่สุด จากนั้นจะค่อยๆลดลงจนถึง 19 สัปดาห์หลังงอก ต้นเริ่มโทรม ใบเหลือง ไม่มีการออกดอก ติดผล และมีน้าหนักแห้งของบาหยาลดลง (ภาพที่ 1 และตารางที่ 1) แต่ในส่วนของลาต้นโดยเฉพาะส่วนของ โคนต้นมีการสร้างตาตามข้อและรอบโคนต้น เมื่อลาต้น กิ่ง หรือโคนต้นทอดนอนกับผิวดิน สามารถที่จะสร้าง รากงอกติดกับผิวดิน และตามข้อมีการเจริญเติบโตแตกใบใหม่ เช่นเดียวกับงานวิจัยของ Tsai et.al., (2005) ที่พบว่าข้อแต่ละข้อเมื่อสัมผัสกับผิวดินจะสามารถสร้างรากและเจริญเติบโตได้ใหม่ แต่สภาพแวดล้อมบริเวณ นั้นต้องมี ความชื้นและแสงแดดที่ เหมาะสมในการเจริญ เติ บ โตของต้นบาหยา CRC Weed Management 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
325
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
(2016) ได้รายงานว่าสภาพภูมิ อ ากาศที่ เหมาะสมในเขตร้อนชื้ น มี ความชื้นสูงและมีฝ นตกตลอด จะมี ผ ล ส่งเสริม ให้การเจริญ เติบ โตของต้นบาหยาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง โดยสอดคล้องกั บรายงานของ Hsu et al., (2005) และ Westaway et al., (2016) ที่พบว่าบาหยาเป็นวัชพืชอายุหลายปี (perennial weed) สามารถ ขยายพันธุ์ได้ทั้งเมล็ด และส่วนของลาต้น ซึ่งการศึกษาวงจรชีวิตของต้นบาหยานั้นได้สอดคล้องกับงานวิจัยของ Akamine, (1947) ที่พบว่าการเจริญเติบโตจากกิ่งหรือข้อที่สัมผัสหรืออยู่ในดินนั้นจะใช้เ วลาเพียง 6 สัปดาห์ ในการออกดอก ส่วนถ้างอกจากเมล็ดเป็นต้นกล้าจะใช้เวลาประมาณ 8 สัปดาห์ สาหรับการติดดอกและผลิต เมล็ดในสภาพพื้นที่เปิด แต่ถ้าในสภาพที่มีร่มเงา อาจใช้เวลานานกว่า ประมาณ 2 สัปดาห์ และระยะเวลาใน การพัฒนาดอกเป็นเมล็ดเพื่อการแพร่กระจายนั้นใช้เวลาประมาณ 1 เดือน การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดในระดับความลึกของดิน นาเมล็ดบาหยา หว่านลงในกระถางในระดับ ความลึกของดินที่ ระดับ 0, 3, 5 และ 15 เซนติเมตร เพื่อศึกษาการงอกของเมล็ดบาหยาในระดับความลึกต่างๆ พบว่า เมล็ดบาหยาที่ หว่านที่ ระดับความลึก 0 เซนติเมตร (ผิวหน้าดิน) มีเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดสูงกว่า เมล็ดที่ถูก หว่านในระดับความลึก 3 และ 5 เซนติเมตร โดยพบว่าเมล็ดที่หว่านที่ระดับความลึก 0 เซนติเมตร (บนผิวหน้าดิน) มีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงถึง 92.8 เปอร์เซ็นต์และเมล็ดที่หว่านที่ระดับความลึก 3, 5 และ 15 เซนติเมตร มีเปอร์เซ็นต์ความงอก 84.8 72.4 และ 0 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ซึ่ง จะเห็นว่าเมล็ดที่ ห ว่านที่ ระดับ ความลึก ของดิน 15 เซนติเมตร เมล็ดไม่ สามารถงอกโผล่พ้นหน้าดินได้ และการงอกของเมล็ดที่ระดับความลึกของดิน 0 เซนติเมตร (ผิวหน้าดิน) และ 3 เซนติเมตร เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดบาหยาไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่เมล็ดที่หว่านที่ระดับความลึกของ ดิน 5 เซนติเมตร มีเปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดแตกต่างทางสถิติกับเมล็ดทีห่ ว่านระดับความลึกของดินที่ระดับ 0 เซนติเมตร (ผิวหน้าดิน) และ 3 เซนติเมตร (ตารางที่ 2) สอดคล้องกับการทดลองของ Benvenuti et al., (2001) ที่ ร ายงานว่ า เมล็ ด วั ช วั ช พื ช หลายชนิ ด เช่ น หญ้ าพง (Sorghum halepens) หญ้ าข้ า วนก (Echinochloa crus-galli) ห ญ้ า ตี น น ก (Digitaria sanguinali) ผั ก โ ข ม (Amaranthus retroflexu) ผัก เบี้ยใหญ่ (Portulaca olerace) ครอบจักรวาล (Abutilon theophras) เมล็ด สามารถงอกได้ดีที่ ระยะ ความลึกของดินไม่เกิน 8 เซนติเมตร หลังจากนั้นเมล็ดไม่สามารถงอกได้หรืออาจงอกได้น้อยมาก การขยายพันธุ์ด้วยลาต้นในระดับความลึกของดิน จากการที่นาส่วนของลาต้นของบาหยามาศึกษาการขยายพันธุ์ โดยนาส่วนลาต้นของบาหยา มาตัด เป็นท่อนมีความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร และแยกเป็นส่วนคือ ส่ว นโคนต้น กลางต้น และปลายต้น และ นาไปปลูก ในกระถางที่ มี ร ะดับ ความลึก ของดิน 4 ระดับ คือ 0 (ผิวดิน ), 3, 5 และ 15 เซนติ เมตร พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกของดินและส่วนต่างๆของต้น(โคนต้น กลางต้น และปลายต้น) ไม่มีผลต่อการ ขยายพันธุ์ เช่น เดียวกับส่วนของลาต้น คือ ส่วนโคนต้น กลางต้น และปลายต้น ไม่มีผลต่อการขยายพันธุ์ การ ขยายพันธุ์ด้วยส่วนโคนต้น กลางต้น และปลายต้น สามารถที่จะงอกเจริญเติ บโตเป็นต้นบาหยาได้ไม่แตกต่าง กัน แต่ระดับความลึกของดินมีผลต่อการงอกหรือการขยายพันธุ์ของส่วนของลาต้นบาหยา ซึ่งจะพบว่าส่วนของ 326
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
โคนต้น กลางต้น และปลายต้น ที่ระดับความลึกของดินคือ 0 (ผิวดิน) 3 และ 5 เซนติเมตร ไม่แตกต่างกันทาง สถิติ แต่จะแตกต่างทางสถิติกับที่วางส่วนของโคนต้น กลางต้น และปลายต้นที่ 15 เซนติเมตร ซึ่งเป็นระดับ ความลึกของดินที่บาหยาไม่สามารถเจริญเติบโตได้ (ตารางที่ 3) ศักยภาพการผลิตเมล็ด ศึก ษาศั ก ยภาพในการผลิตเมล็ดของต้นบาหยา ในสภาพที่ มี ก ารแข่งขันของต้นบาหยาในอัตราที่ แตกต่างกัน โดยเปรียบเทียบกับการขึ้นในสภาพธรรมชาติในพื้นที่ 1 ตารางเมตร ประมาณ 50 ต้น จากผลการ ทดลอง(ตารางที่ 4) จะเห็นว่า ค่าเฉลี่ยของเมล็ดบาหยาต่อต้นโดยเพิ่มความหนาแน่นของต้น บาหยาในพื้นที่ ปลูก 1 ตารางเมตร กรรมวิธีที่มีต้นบาหยา 1 ต้นต่อตารางเมตร และ 2 ต้นต่อตารางเมตร มีจานวนเมล็ดเฉลี่ย ต่อต้นมากกว่ากรรมวิธีที่อื่นๆ ฉะนั้นหากพบต้นบาหยาในพื้นที่เพียง 1 หรือ 2 ต้น จาเป็นต้องกาจัดออกจาก พื้นที่เนื่องจากต้นบาหยา สามารถผลิตเมล็ดได้สูงมากว่า 1,000 เมล็ดต่อต้น และมีเปอร์เซ็นต์ความงอกของ เมล็ดสูงมากว่า 90 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนั้นเมล็ดยังมีกระจายตัวจากการแตกระเบิดของฝัก ซึ่งส่งผลให้มีการ แพร่ระบาดในบริเวณใกล้เคียงได้อย่างรวดเร็ว แต่การแพร่กระจายทางไกลนั้นส่วนใหญ่เกิดจากมนุษย์ เช่นการ นาส่วนของเหง้าหรือลาต้นมาใช้เป็นส่วนผสมของดินและปุ๋ยหมัก สามารถทาให้วัชพืชชนิดนี้แพร่กระจายได้ เป็นอย่างดี (PIER, 2012) อิทธิพลของระยะเวลาต่อการงอกของเมล็ดบาหยา เก็ บ รวบรวมเมล็ ดจากต้ นบาหยาที่ มี ก ารสุก แก่ ในแปลง และเมล็ ดที่ เก็ บ ในสภาพอุ ณ หภู มิ ห้ อ ง ปฏิบัติการของแต่ละเดือน จนกระทั่งครบ 1 ปี นาเมล็ดทั้งหมดมาเพาะหาเปอร์เซ็นต์ความงอก เพื่อจะศึกษา เมล็ดบาหยาสามารถพักตัวได้นานเท่าไรหากยังอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการเจริญ เติบ โต พบว่า เมล็ดบาหยาสามารถงอกได้จนถึงระยะ 11 เดือน หลังจากที่เก็บเมล็ดไว้ในสภาพอุณหภูมิหอ้ ง โดยมีเปอร์เซ็นต์ ความงอกสูงถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ในช่วง 1-6 เดือน หลังจากนั้นในเดือนที่ 7 และ 8 เปอร์เซ็นต์ ความงอกลดลง แต่ยังมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงถึง 86.2 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นที่ระยะ 9 เดือน เปอร์เซ็นต์ความงอกลดลง จน กระทั้งที่ระยะ 12 เดือนหรือ 1 ปี เมล็ดไม่สามารถงอกได้ (ตารางที่ 5) แต่ Akamine (1947) พบว่าเมล็ดนี้ จะต้องเก็บรักษาเป็นเวลาหลายเดือนที่อุณหภูมิห้องก่อนที่จะงอก หลังจากระยะเวลาประมาณ 135 - 140 วัน ในการจัดเก็บในสภาวะที่ปกติพบว่าเมล็ดสามารถงอกได้ดีที่อุณหภูมิห้อง สรุปผลการทดลอง บาหยา (Asystasia gangetica) เป็นวัชพืชอายุข้ามปี สามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งเมล็ดและลาต้น สร้าง เมล็ดที่ระยะ 7 สัปดาห์หลังงอก และหลังจากดอกบาน 2-3 สัปดาห์ เมล็ดสุกแก่ และในช่วง 15 สัปดาห์หลัง งอก ต้นบาหยาติดผลมากที่สุด จากนั้นในช่วง 19 สัปดาห์หลังงอก การเจริญเติบโตลดลงทั้งทางด้านลาต้น ใบ และการสร้างผลและเมล็ด การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด สามารถขยายพันธุ์ได้ดีโดยมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงถึง 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
327
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
92.8 เปอร์เซ็นต์เมื่อ เมล็ดอยู่ที่ระดับผิวดิน และมีศักยภาพในการผลิตเมล็ด สามารถผลิตเมล็ดได้มากกว่า 1,000 เมล็ดต่อต้น เมล็ดที่สุกแก่มีชีวิตอยู่ได้นานสูงถึง 11 เดือน ในสภาพห้องปฏิบัติการ เอกสารอ้างอิง ศิริพร ซึงสนธิพร. 2549. การสารวจวัชพืชต่างถิ่นในประเทศไทย (เขตภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ). ผลงานประจาปี 2545,สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ, 2545, หน้า 944-971 สาราญ สะรุโณ สุภาค รัตนสุภา อริยธัช เสนเกตุ ศุกร์ เก็บไว้ ศริณนา ชูธรรมธัช อุดร เจริญแสง นลินี จาริก ภากร ไพดรจน์ สุวรรณจินดา. 2551. การพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสับปะรด เพื่อบริโภคสดภาคใต้ตอนล่าง. การประชุมวิชาการประจาปี 2551 ผลงานวิจัยที่ใช้ได้จริงจากหิ้งสูห่ ้าง ครั้งที่ 2 วันที่ 16-17 กันยายน 2551 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพ กรมวิชาการ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน้า 205-227. Acevedo-Rodríguez P, Strong MT, 2012. Catalogue of the Seed Plants of the West Indies. Smithsonian Contributions to Botany, 98:1192 pp. Washington DC, USA: Smithsonian Institution. http://botany.si.edu/Antilles/WestIndies/catalog.htm Akamine, E. K.. 1947. Germination of Asystasia gangetica L. seed with special reference to the effect of age on the temperature requirement for germination. Plant Physiology. 22: 603-607 Benvenuti S. Mario M. and Sergio M. 2001. Quantitative Analysis of Emergence of Seedling from Buried Weed Seeds with Inereasing Soil Depth. Weed Sci. Soc. 49:528-535 CABI. 2018. Invasive Species Compendium: Asystasia gangetica (chinese violet) (datasheet full). https://www.cabi.org/isc/datasheet/7641 CRC : Weed Management. 2016. Weed management guide : Chinese violet (Asystasia gangetica ssp. micrantha). alert list for environmental weeds. CRC for Australian Weed Hsu T. W., Chiang T.Y., Peng J.J. Asystasia gangetica (L.) Anderson subsp. micrantha (Nees) Ensermu (Acanthaceae), A Newly Naturalized Plant in Taiwan. Taiwania, 50 : 117-122. Ismail S, Shukor A, 1998. Effects of water stress, shading and clipping on growth and development of Asystasia gangetica. Plant Protection Quarterly, 13:140-142 John O. Westaway, Lesley Alford, Greg Chandler and Michael Schmid. 2016. Asystasia gangetica subsp. micrantha, a new record of an exotic plant in the Northern Territory. Northern Territory Naturalist 27: 29–35 Kiew, R. and K. Vollisen. 1997. Asystasis (Acanthaceae) in Malaysia. JOOR: Kew Bulletin, 52 328
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
(4):965-971. PIER, 2012. Pacific Islands Ecosystems at Risk. Honolulu, USA : HEAR, University of Hawaii. http://www.hear.org/pier/index.html Skinner, J. (2015) The invasive weed Chinese violet (Asystasia gangetica subspecies micrantha) now threatens northern Australia. Plant Protection Quarterly 30 (4), 126– 132. Tsai-Wen Hsu, Tzen-Yuh Chiang and Jen-Jye Peng. 2012. Asystasia gangetica (L.) T. Anderson subsp. micrantha (Nees) Ensermu (Acanthaceae), A Newly Naturalized Plant in Taiwan. Taiwania 50(2): 117-122. Westaway J.O., Alford L., Chandler G., and Schmid M. Asystasis gangetica subsp. micrantha, a new record of an exotic plant in the Northern Territory. Northern Territory Naturalist 27: 29-35
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
329
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ภาคผนวก Figure1. Life cycle of Asystasia gangetica 3- 5 days after sowing
19 weeks
15 weeks
7 weeks
330
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
1 week
2 weeks
6 weeks
OWB-01
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
Table 1. Growth of Asystasia gangetica Weeks after seed germination
Height (cm.)
Leaf/plant
Branches/plant
Inflorescence /plant
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
2.08±0.28 6.22±0.64 8.76±0.70 12.32±1.75 17.70±1.84 20.38±2.01 26.52±3.57 30.76±2.62 37.72±3.75 52.40±4.56 61.40±7.70 62.33±2.52 65.33±0.58 64.50±0.71 64.00±0.20 66.00±1.14 75.30±1.00 82.00±1.14 88.50±4.61 83.00±3.25 73.00±4.12
2.00±0 4.00±0 14.40±2.07 26.60±4.39 41.40±9.79 57.00±19.94 117.00±31.06 161.20±23.52 187.60±64.14 267.20±24.39 293.60±26.43 438.00±17.58 446.67±74.57 446.50±12.02 501.00±38.18 515.00±21.21 587.24.±10.14 672.50±14.85 518.00±6.36 504.00±7.23 453.67±5.02
0 0 4.00±0 5.20±0.45 5.80±0.84 6.20±1.1 9.60±2.07 14.80±3.83 21.80±4.763.36 26.60±15.57 39.40±4.04 40.33±6.66 47.33±1.41 46.00±12.02 56.50±13.43 48.50±8.49 53.21±7.12 67.00±9.20 59.50±7.12 60.00±5.14 46.33±4.32
0 0 0 0 0 1.40±3.13 1.60±4.02 1.80±0.45 2.0±1.82 21.80±10.99 29.20±4.76 24.67±9.87 14.33±1.15 18.00±2.83 13.50±4.95 13.50±3.54 9.24±2.0.8 10.00±2.83 13.00±4.24 14.67±2.45 20.00±3.12
Flower/plant
Fruits/plant
0 0 0 0 0 0 1.60±3.56 2.00±0.45 2.60±3.21 23.00±12.98 32.80±8.58 30.33±6.51 12.33±4.51 8.00±1.41 1.00±1.41 3.00±4.24 3.21±2.48 1.00±1.41 0 3.00±0.21 0.33±0.28
0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.60±3.56 1.80±0.45 5.00±3.21 21.00±12.98 21.50±8.58 23.50±6.51 21.50±4.51 21.00±3.56 9.50±1.41 0 6.33±1.41 2.00±4.24
Dry weight (g) 0.03±0.01 0.34±0.47 0.23±0.04 0.60±0.21 1.47±0.87 2.99±2.00 5.68±1.46 9.62±2.60 15.18±1.86 25.62±3.89 33.56±9.10 48.77±4.11 61.80±4.80 42.20±1.84 61.65±6.43 61.60±2.55 73.79±6.82 93.90±7.78 87.02±11.60 63.54±5.56 41.35±2.35
Values are mean ± S.D. of 5 plants
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
331
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
Table 2. Effect of soil depth on germination of Asystasia gangetica Soil depth(cm.) Germination (%) 0 92.8 a 3 84.8 a 5 72.4 b 15 0c CV(%) 11.98 Means within columns followed by the same letter are not significantly different at the 5% level by DMRT
Table 3. Propagation of Asystasia gangetica by stems in the soil depth Part of stems stub middle tip Means CV(%)
Soil depth(cm.) 0
3
5
15
0.0 46.7 66.7
40.0 36.7 40.0
46.7 26.7 33.3
0.0 0.0 0.0
38.8 a1/ 38.9 a 35.6 a 75.07
0b
Means 21.7 27.5 35.0
Means within columns followed by the same letter are not significantly different at the 5% level by DMRT
Table 4. Effect of Asystasia gangetica plant density on seed yield
332
Plant density
Seed yield
plant m-2 1 2 4 6 8 10 50 CV(%)
no. plant-1 1,305 a 1,307 a 517 b 493 b 316 c 258 d 35 e 12.41
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
OWB-01
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-01
Means within columns followed by the same letter are not significantly different at the 5% level by DMRT
Table 5. Percentage germination of Asystasia gangetica mature seeds within 12 months after harvesting Months after harvesting Germination (%) 0 100 a 1 100 a 2 100 a 3 100 a 4 100 a 5 100 a 6 100 a 7 97.8 a 8 86.2 b 9 72.6 c 10 43 d 11 15.8 e 12 0f CV(%) 2.03 Means within columns followed by the same letter are not significantly different at the 5% level by DMRT
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
333
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
ผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอนต่อข้าวโพดลูกผสมก่อนการค้าและสายพันธุ์แท้ Effect of Nicosulfuron to Pre-commercial Field Corn Hybrids and Inbred Lines สดใส ช่างสลัก1 สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์2 สาราญ ศรีชมพร1 ประกายรัตน์ โภคคาเดช1 สรรเสริญ จาปาทอง และ รังสิต สุวรรณมรรคา2 Sodsai Changsaluk1 Sarawut Rungmekharat2 Samran Srichompom1 Prakayrat Phocadate1 Sunsem Jampathong1 and Rungsit Suwanmonkha2 1
ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30320 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Klangdong, Pakchong, Nakhon Ratchasima 30320 2 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10900 2 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900
1
บทคัดย่อ นิโคซัลฟูรอนสามารถควบคุมวัชพืชได้ดีแต่มีผลกระทบต่อผลผลิต ในข้าวโพดไร่บางพันธุ์ การวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอน (nicosulfuron 6% W/V OD) ต่อผลผลิตของข้าวโพด ไร่ลูกผสมพันธุ์ก่อนการค้าและสายพันธุ์แท้ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่แปลงทดลองไร่สุวรรณ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ดาเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน พ.ศ.2561 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 2 ซ้า มี ข้าวโพดไร่ลูก ผสมพั นธุ์ก่อ นการค้า 40 พันธุ์ และ สายพันธุ์แท้ 34 สายพันธุ์ โดยพ่นนิโคซัล ฟูร อน ร่วมกับอาทราซีน อัตรา 160+300 กรัม/ไร่ เมื่อข้าวโพดอายุ 3 สัปดาห์หลังปลูก พบว่าวัชพืชที่ขึ้นมากในแปลง ได้แก่ แห้วหมู (Cyperus rotundus L.) หญ้าโขย่ง (Rottboellia cochinchinensis L.), ผักยาง (Euphorbia heterophylla L.) และผั ก ปลาบ (Commelina benghalensis L.) นิ โคซัล ฟูร อนมี ป ระสิท ธิภ าพควบคุ ม วัชพืชได้ระดับดีมาก ตั้งแต่ 94–96 เปอร์เซ็นต์ และไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตของพันธุ์ก่อนการค้า KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6013 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX3021 KSX3022 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107 KSX9108 KSX6110 KSX6112 KSX6113 KSX9919 KSX339 KSX7328 และ KSX4452 ซึ่งให้ผลผลิตระหว่าง 1,202 – 2,134 กิโลกรัมต่อไร่ แ ล ะ ส า ย พั น ธุ์ แ ท้ Ki47 Kei1710 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1716 Kei1717 Kei1719 Kei1720 Kei1721 Kei1722 Kei1723 Kei1801 Kei1702 Kei1803 Kei1804 Kei1805 Kei1806 และ Tzi6 ซึ่ ง ให้ ผ ล ผลิตระหว่าง 248-1,039 กิ โ ลกรัม ต่ อ ไร่ แต่ ท าให้ ผ ลผลิต ของพันธุ์ก่ อนการค้า KSX5731 ต่าสุด คือ 305 กิโลกรัมต่อไร่ โดยต้นข้าวโพดเสียหายสูงถึง 83.3 เปอร์เซ็นต์ และท าให้ส ายพันธุ์แท้ Ki27 และ Ki57 มีต้น เสียหาย 100 เปอร์เซ็นต์ ไม่ มี ผ ลผลิต ส่วนสายพั นธุ์แท้ Ki48 Ki59 Kei1314 Kei1420 Kei1421 Kei1519 Kei1608 Kei1711 Kei1715 มีต้นเสียหายสูง ตั้งแต่ 50-83.3 เปอร์เซ็นต์ คาสาคัญ : สารนิโคซัลฟูรอน การกาจัดวัชพืช ข้าวโพดไร่ พันธุ์ก่อนการค้า สายพันธุ์แท้ 334
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
ABSTRACT The nicosulfuron was gave good control weed, but its effects to some corn hybrids. The objective was to study on the efficiency of nicosulfuron (6% W/V OD) applied as mixed with atrazine (90% WG) 160+300 g/ rai, to control weed and its effects on yield of 40 precommercial hybrids cultivar and 34 inbred lines were employed in this experiment.. The trial was laid out in RCBD, composed of 2 replications, during July – November 2018 on Suwan Farm, Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province. The results revealed that purple nutsedge (Cyperus rotundus L. ), Itchgrass (Rottboellia cochinchinensis Lour.), wild poinsettia (Euphorbia heterophylla L.) and tropical spiderwort (Commelina benghalensis L.) were major weeds in the field. The application of nicosulfuron show very high efficiency on weed control, 94-96%, which was not affected to grain yield of pre-commercial hybrids cultivar; KSX5819, KSX5908, KSX5911, KSX5916, KSX5918, KSX6009, KSX6010, KSX6011, KSX6013, KSX6017, KSX6019, KSX6020, KSX3021, KSX3022, KSX6104, KSX6105, KSX6106, KSX6107, KSX9108, KSX6110, KSX6112, KSX6113, KSX9919, KSX339, KSX7328, KSX4452. They gave grain yield in the range of 1,202–2,134 kg/rai, and it was not effect to inbred lines; Ki47, Kei1710, Kei1712, Kei1713, Kei1714, Kei1716, Kei1717, Kei1719, Kei1720, Kei1721, Kei1722, Kei1723, Kei1801, Kei1702, Kei1803, Kei1804, Kei1805, Kei1806 and Tzi6 of yield during 2 4 8 -1 ,0 3 9 kg/rai, but its effected to KSX5731 which gave the lowest yield of 305 kg/rai, and high plant injury of 83.3%, while Ki27 and Ki57 had no yield and gave plant injury of 100%. Ki48, Ki59, Kei314, Kei420, Kei421, Kei1519, Kei1608, Kei1711 and Kei1715 gave high plant injury in the range of 50-83.3%. Keywords: Nicosulfuron, Weed Control, Field corn, Pre-commercial, Inbred lines คานา การกาจัดวัชพืชของเกษตรกรมีการใช้สารกาจัดวัชพืชในการป้องกันกาจัดวัชพืชเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก ขาดแคลนแรงงานและค่าจ้างแรงงานสูง การเลือกใช้สารควบคุมวัชพืชก่อนงอกมีผลกระทบต่อพืชปลูกน้อย แต่ การใช้ส ารควบคุมวัชพื ชหลังงอกจะต้องคานึงถึง ประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช ผลกระทบต่อพืชปลูกและ สภาพแวดล้อม ควรเลือกใช้สารที่ไม่เป็นอั นตรายต่อผู้ใช้และสภาพแวดล้อม การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึก ษาประสิทธิภาพของสารก าจัดวัชพื ช นิโ คซัล ฟูร อน (nicosulfuron 6% W/V OD) ร่วมกั บ สารคุม วัชพืช อาทราซีน (atrazine 90% WG) ในการควบคุมวัชพืช และผลกระทบต่อผลผลิตของข้าวโพดไร่ลูก ผสมพันธุ์ ก่อนการค้าและสายพันแท้ ซึ่งผลการทดลองทีม่ ีประสิทธิภาพจะนาไปเผยแพร่ให้นักปรับปรุงพันธุ์และเกษตรกร ใช้ต่อไป 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
335
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
Niclosulfuron เป็นสารกาจัดวัชพืชแบบเลือกทาลายใช้ในข้าวโพด กาจัดได้ทั้งวัชพืชประเภทใบแคบ ใบกว้าง และกก โดยเฉพาะวัชพืชกาจัดยาก ได้แก่ หญ้าโขย่ง ข้าวฟ่างผี หญ้าปากควาย เป็ นต้น มีกลไกการ ท าลายของวัชพื ช คือ ยับ ยั้ง การท างานของ acetolactase synthase ซึ่ง เป็ นเอนไซม์ ชนิด แรกในวิถีก าร สังเคราะห์กรดอะมิโน โดยยับยั้งการสร้างกรดอะมิโนที่มีลักษณะยาวเป็นลูกโซ่ ได้แก่ วาลีน ลูซีน และ ไอโซลู ซีน ไม่เป็นอันตรายต่อนก ปลา และ ผึ้ง (www.agchemaccess.com/Nicosulfuron) อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์ 1. เมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า วโพดไร่ ลู ก ผสมพั น ธุ์ ก่ อ นการค้ า จ านวน 35 พั น ธุ์ คื อ KSX5720 KSX5731 KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6012, KSX6013 KSX6014 KSX6015 KSX6016 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX6021 KSX6022 KSX6023 KSX6101 KSX6102 KSX6103 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107 KSX6108 KSX6109 KSX6110 KSX6111 KSX6112 KSX6113 KSX6114 พันธุ์ลูกผสมการค้า จานวน 5 พันธุ์ คือ DK9918C Pac339 S7328 NS3 และ พันธุ์ SW4452 เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ 2. เมล็ดพั นธุ์ข้าวโพดไร่ส ายพั นธุ์แท้ จ านวน 34 สายพันธุ์ คือ Ki47 Ki48 Ki60 Kei1314 Kei1420 Kei1421 Kei1519 Kei1608 Kei1611 Kei1709 Kei1710 Kei1711 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1715 Kei1716 Kei1717 Kei1719 Kei1720 Kei1721 Kei1722 Kei1723 Kei1801 Kei1802 Kei1803 Kei1804 Kei1805 Kei1806 Kei1807 Ki59 Ki27 Ki57 และ Tzi6 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในแปลงทดลองและเก็บข้อมูล ได้แก่ ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 และปุ๋ยยูเรีย สารควบคุม วัชพืช nicosulfuron และอาทราซีน แจ็บปลูก เทปวัด ไม้ปักแปลง ปูนขาว ป้าย ไม้วัดความสูง และถุงเก็บ ผลผลิต เครื่องชั่ง ตวง วัด ถังใส่น้า เครื่องพ่นสารแบบสะพายหลัง วิธีการ เตรียมแปลงปลูกโดยไถและพรวนดิน เพื่อเป็นการย่อยดินให้ละเอียดแล้วปลูกโดยใช้รถแทรกเตอร์ ใส่ ปุ๋ยรองพื้นสูตร 15-15-15 อั ตรา 30 กิ โลกรัม ต่อไร่พร้อมปลูก และแต่งหน้าด้วยปุ๋ยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อข้าวโพดอายุ 3 สัปดาห์ ปลูกข้าวโพดโดยใช้แจ็บ จานวน 2 แถวต่อแปลงย่อย ระยะปลูก 70x20 ซม.จานวน 1 ต้น/หลุม แถวยาว 2 เมตร พ่น nicosulfuron+atrazine อัตรา 160+300 กรัม/ไร่ วาง แผนการทดลองแบบ สุ่ ม บลอคสมบู ร ณ์ (Randomized Complete Black Design; RCBD) มี 2 ซ้ า (replications) มี 2 การทดลอง การทดลองที่ 1 จานวน 40 ทรีทเม้นท์ คือพันธุ์ก่อนการค้า การทดลองที่ 2 จานวน 34 ทรีทเม้นท์ คือสายพันธุ์แท้ ดังนี้
336
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
การทดลองที่ 1 พันธุ์ข้าวโพดไร่ลูกผสมก่อนการค้า จานวน 40 พันธุ์ ได้แก่ Treatment T1 =
Varieties KSX5720
Treatment T21 =
Varieties KSX6023
T2 =
KSX5731
T22 =
KSX6101
T3 =
KSX5819
T23 =
KSX6102
T4 =
KSX5908
T24 =
KSX6103
T5 =
KSX5911
T25 =
KSX6104
T6 =
KSX5916
T26 =
KSX6105
T7 =
KSX5918
T27 =
KSX6106
T8 =
KSX6009
T28 =
KSX6107
T9 =
KSX6010
T29 =
KSX6108
T10 =
KSX6011
T30 =
KSX6109
T11 =
KSX6012
T31 =
KSX6110
T12 =
KSX6013
T32 =
KSX6111
T13 =
KSX6014
T33 =
KSX6112
T14 =
KSX6015
T34 =
KSX6113
T15 =
KSX6016
T35 =
KSX6114
T16 =
KSX6017
T36 =
DK9919C
T17 =
KSX6019
T37 =
PAC339
T18 =
KSX6120
T38 =
S7328
T19 =
KSX6121
T39 =
NS3
T20 =
KSX6122
T40 =
SW4452
การทดลองที่ 2 สายพันธุ์แท้ข้าวโพดไร่ จานวน 34 สายพันธุ์ ได้แก่ Treatment T1 =
Varieties Ki47
Treatment T18 =
Varieties Kei1717
T2 =
Ki48
T19 =
Kei1719
T3 =
Ki60
T20 =
Kei1720
T4 =
Kei1314
T21 =
Kei1721
T5 =
Kei1420
T22 =
Kei1722
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
337
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” T6 =
Kei1421
T23 =
Kei1723
T7 =
Kei1519
T24 =
Kei1801
T8 =
Kei1608
T25 =
Kei1802
T9 =
Kei1611
T26 =
Kei1803
T10 =
Kei1709
T27 =
Kei1804
T11 =
Kei1710
T28 =
Kei1805
T12 =
Kei1711
T29 =
Kei1806
T13 =
Kei1712
T30 =
Kei1807
T14 =
Kei1713
T31 =
Ki59
T15 =
Kei1714
T32 =
Ki27
T16 =
Kei1715
T33 =
Ki57
T17 =
Kei1716
T34 =
Tzi6
OWB-02
การบันทึกข้อมูลปริมาณวัชพืชต่อพื้นที่ 0.25 ตารางเมตร ก่อนและหลังพ่นสารวัชพืช สุ่มวัด 2 จุดต่อ แปลงย่อย เปอร์เซ็นต์การควบคุมวัชพืชที่ระยะเก็บเกี่ยว โดยให้คะแนนด้วยสายตา (Visual control) ตั้งแต่ 0 ถึง 100% (0% หมายถึง ควบคุมวัชพืชไม่ได้ และ 100% หมายถึง ควบคุมวัชพืชได้อย่างสมบูรณ์) ผลผลิตและ ข้อมูลลักษณะทางการเกษตร ได้แก่ ความสูงต้น (ซม.) ความสูงฝัก (ซม.) จานวนต้นที่เก็บเกี่ยว จานวนต้นหัก ล้ม จานวนฝักเก็บ เกี่ ยว จานวนฝักเสีย ความชื้นเมล็ด เปอร์เซ็นต์กะเทาะ และผลผลิตเมล็ดที่ความชื้น 15 เปอร์เซ็นต์ (กก./ไร่) คานวณจากสูตร ผลผลิตต่อไร่ (กก.) = น้าหนักฝัก x เปอร์เซ็นต์กะเทาะ x (100-ความชื้นเมล็ดที่วัดได้) x 1,600 (ความชื้นมาตรฐาน คือ 100 -15) x พื้นที่เก็บเกี่ยว ปลูกข้าวโพดทดลองในแปลงทดลองในไร่สุวรรณ อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างเดือน กรกฎาคม – พฤศจิก ายน 2561 วิเ คราะห์ ข้อมู ล โดยใช้โปรแกรม Statistix และวิเคราะห์ค วามแตกต่าง ค่าเฉลี่ยโดยวิธี DMRT ผลและวิจารณ์ วัชพืชที่พบมากในแปลงทดลอง ได้แก่ แห้วหมู (Cyperus rotundus Linn.) หญ้าโขย่ง (Rottborlia cochinchinensis (Lour.) ผั ก ย า ง (Euphorbia heterophylla Linn.) ผั ก ป ล า บ (Commelina benghalensis L.)
338
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
การทดลองที่ 1 ปริมาณวัชพืชรวมทั้งหมดก่อนพ่นสารสารไม่ มีความแตกต่างกันทางสถิติ ระหว่าง 39 – 59 ต้น/0.50 ตารางเมตร โดยพบแห้วหมู ระหว่าง 20 – 33 ต้น/0.5 ตารางเมตร วัชพืชใบแคบระหว่าง 7.7 – 15.0 ต้น/ 0.50 ตารางเมตร วัชพืชใบกว้างระหว่าง 3.0 – 25 ต้น/0.50 ตารางเมตร หลังจากพ่นสารกาจัดวัชพืชแล้วใน ระยะเก็ บ เกี่ยวพบปริม าณวัชพื ชลดลงอย่างมาก ตั้งแต่ 83.1 - 93.7 เปอร์เซ็นต์ โดยมี ปริม าณวัชพืชรวม ทั้งหมดระหว่าง 3.2 – 8.7 ต้น/0.50 ตารางเมตร ปริมาณแห้วหมูอยู่ระหว่าง 1.2 - 3.7 ต้น/0.50 ตารางเมตร ปริมาณวัชพืชใบแคบอยู่ระหว่าง 0 - 2.0 ต้น/0.50 ตารางเมตร และปริมาณวัชพืชใบกว้างอยู่ระหว่าง 1.0 5.0 ต้น/0.50 ตารางเมตร นิโคซัลฟูรอนมีประสิทธิภาพควบคุมวัชพืชได้ระดับดีมาก ตั้งแต่ 94 – 96 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 1) การใช้ นิ โ คซัล ฟู ร อนไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ ผลผลิ ต ข้ า วโพดไร่ พั น ธุ์ก่ อ นการค้ า KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6013 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX3021 KSX3022 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107 KSX9108 KSX6110 KSX6112 KSX6113 KSX9919 KSX339 KSX7328 และ KSX4452 โดยให้ผลผลิตระหว่าง 1,202 – 2,134 ซึ่งไม่แตกต่างกับพันธุ์ SW4452 ซึ่งเป็นพันธุ์เปรียบเทียบ ที่ให้ผลผลิต 1,344 กิโลกรัมต่อไร่ แต่มีผลกระทบและทาให้ผลผลิตของพันธุ์ KSX5731 ลดลงมากที่สุด โดยให้ผลผลิตเพียง 305 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งมีต้นเสียหายสูงสุดถึง 83.3 เปอร์เซ็นต์ ใ น ข ณ ะ ที่ พั น ธุ์ KSX5720 KSX6012 KSX6014 KSX6015 KSX6016 KSX6023 KSX6102 KSX6103 KSX9109 KSX6111 และ NS3 มีต้นเสียหายเล็กน้อย ระหว่าง 5.6 – 15.7 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะทางการเกษตร มี ค วามแตกต่ า งกั น พบว่ า ความชื้ น เมล็ ด มี ค่ า อยู่ ร ะหว่ าง 19.6 – 25.5 เปอร์ เ ซ็ น ต์ พั น ธุ์ KSX6112 ให้ เปอร์เซ็นต์ความชื้นสูง สุด 25.5 เปอร์เซ็นต์ พันธุ์ KSX5918 ให้เปอร์เซ็นต์ความชื้นต่าสุด 19.6 เปอร์เซ็นต์ ส าหรับ พั นธุ์ KSX5916 ให้เ ปอร์เซ็น ต์ก ะเทาะสูง สุด 90.8 เปอร์เ ซ็นต์ ส่ วนพั นธุ์ KSX5731 ให้เปอร์เซ็น ต์ กะเทาะต่าสุด 42.1 เปอร์เซ็นต์ พั นธุ์ KSX5911 ให้ความสูงต้นสูง 223 เซนติเมตร ส่วนพันธุ์ KSX5731 ให้ ความสูงต้นและความสูงฝักต่าสุด 88 และ 43 เซนติเมตร ตามลาดับ (ตารางที่ 3) ผลการทดลองสอดคล้องกับรายงานของ สดใส และคณะ (2558) พบว่าการใช้สารนิโคซัลฟูรอนทุก อัตรามีประสิทธิภาพควบคุมวัชพืชรวมได้ระดับดีถึงดีมาก ตั้งแต่ 80–98 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่แตกต่างกับการกาจัด วัชพืชด้วยจอบ (96 เปอร์เซ็นต์) การใช้นิโคซัลฟูรอน อัตรา 160 และ 180 ซีซี/ไร่ ไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตฝัก สดทั้งเปลือก น้าหนักฝักดี และจานวนฝัก แต่การใช้นิโคซัลฟูรอนที่อัตรา 200 ซีซี/ไร่ ทาให้ผลผลิตฝักสดทั้ง เปลือก และน้าหนักฝักดีของข้าวโพดหวานลดลง และ สดใส และคณะ (2560) ได้รายงานอีกว่าผลการใช้ นิ โคซัลฟูรอนแบบเดี่ยวและใช้ผสมกับอาทราซีนทุกอัตรามีประสิทธิภาพควบคุมวัชพืชรวมได้ระดับดีมาก ตั้งแต่ 90– 98 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งไม่แตกต่างกับ การใช้จอบ (98 เปอร์เซ็นต์) และไม่มีผ ลกระทบต่อผลผลิตเมล็ดและ ลักษณะทางการเกษตรของข้าวโพดไร่พันธุ์ SW4452
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
339
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
การทดลองที่ 2 ปริมาณวัชพืชรวมทั้งหมดก่อนพ่นสารสารไม่แตกต่างกันทางสถิติ มีค่าระหว่าง 35.5– 57 ต้น/0.50 ตารางเมตร โดยพบแห้วหมูปริมาณระหว่าง 20 – 34 ต้น/0.5 ตารางเมตร วัชพืชใบแคบระหว่าง 9.0 – 15.0 ต้น/0.50 ตารางเมตร วัชพืชใบกว้างระหว่าง 3.0 – 15 ต้น/0.50 ตารางเมตร หลังจากพ่นสารกาจัดวัชพืชแล้ว ในระยะเก็บเกี่ยวพบปริมาณวัชพืชลดลงอย่างมาก ตั้งแต่ 72.5 – 92.6 เปอร์เซ็นต์ โดยมีปริมาณวัชพืชรวม ทั้งหมดระหว่าง 3.0 – 14.0 ต้น/0.50 ตารางเมตร ปริมาณแห้วหมูอยู่ระหว่าง 1.5 – 9.0 ต้น/0.50 ตาราง เมตร ปริมาณวัชพืชใบแคบระหว่าง 0 - 2.5 ต้น/0.50 ตารางเมตร และปริมาณวัชพืชใบกว้างระหว่าง 1.0 5.5 ต้น/0.50 ตารางเมตร นิโคซัลฟูรอนมีประสิทธิภาพควบคุมวัชพืชได้ระดับดีมาก ตั้งแต่ 94 – 96 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 2) การใช้ นิโ คซัล ฟู ร อนไม่ มี ผ ลกระทบต่อ ผลผลิตและลัก ษณะทางการเกษตรของสายพันธุ์แท้ Ki47 Kei1710 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1716 Kei1717 Kei1719 Kei1720 Kei1721 Kei1722 Kei1723 Kei1801 Kei1702 Kei1803 Kei1804 Kei1805 Kei1806 และ Tzi6 ซึ่ ง ให้ ผ ลผลิ ต ระหว่ า ง 248 - 1,039 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ทาให้สายพันธุ์แท้ Ki27 และ Ki57 มีต้นเสียหายสูงถึง 100 เปอร์เซ็นต์ และไม่ให้ผลผลิต ส่วน สายพันธุ์แท้ Ki48 Ki59 Kei314 Kei420 Kei421 Kei1519 Kei1608 Kei1711 และ Kei1715 ให้ ต้นเสียหาย สูง ตั้ ง แต่ 50.0 - 83.3 เปอร์ เซ็ น ต์ ในขณะที่ ส ายพั น ธุ์แ ท้ Ki60 Kei1611 Kei1709 และ Kei1807 ให้ ต้ น เสียหายเล็กน้อย ระหว่าง 6.3 - 11.1 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 4) สรุปผลการทดลอง วั ช พื ช ที่ ขึ้ น มากในแปลงทดลองได้ แ ก่ แห้ ว หมู (Cyperus rotundus) หญ้ า โขย่ ง (Rottboellia cochinchinensis), ผั ก ยาง (Euphorbia heterophylla) และผั ก ปราบ (Commelina benghalensis) ที่ ระยะเก็บเกี่ยวพบปริมาณวัชพืชลดลงอย่างมาก ตั้งแต่ 83.1 - 93.7 เปอร์เซ็นต์ นิโคซัลฟูรอนมีประสิทธิภาพ ควบคุมวัชพืชได้ระดับดีมาก ตั้งแต่ 94–96 เปอร์เซ็นต์ การใช้ นิโ คซัล ฟู ร อนไม่ มี ผ ลกระทบต่อผลผลิต ของข้าวโพดไร่ลูก ผสมพั นธุ์ก่ อนการค้า KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6013 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX3021 KSX3022 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107 KSX9108 KSX6110 KSX6112 KSX6113 KSX9919 KSX339 KSX7328 และ KSX4452 โดยให้ ผ ลผลิ ต ระหว่ า ง 1,202 – 2,134 ซึ่ ง ไม่ แตกต่างกับพันธุ์เปรียบเทียบ SW4452 ที่ให้ผลผลิต 1,344 กิโลกรัมต่อไร่ นิโคซัลฟูรอนไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตของข้าวโพดไร่สายพันธุ์แท้ Ki47 Kei1710 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1716 Kei1717 Kei1719 Kei1720 Kei1721 Kei1722 Kei1723 Kei1801 Kei1702 Kei1803 Kei1804 Kei1805 Kei1806 และ Tzi6 ซึ่งให้ผลผลิตระหว่าง 248-1,039 กิโลกรัมต่อไร่
340
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
นิโคซัลฟูรอนทาให้ผลผลิตของข้าวโพดไร่ลูกผสมก่อนการค้าพันธุ์ KSX5731 ต่าสุด 305 กิโลกรัม/ไร่ ต้น ข้ าวโพดเสี ย หายสู ง ถึ ง 83.3 เปอร์เ ซ็ น ต์ และท าให้ ส ายพั น ธุ์ แ ท้ Ki27 และ Ki57 มี ต้ น เสี ย หาย 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ไม่ มี ผ ลผลิ ต ส่ ว นสายพั น ธุ์ แ ท้ Ki48 Ki59 Kei1314 Kei1420 Kei1421 Kei1519 Kei1608 Kei1711 Kei1715 มีต้นเสียหายสูง ตั้งแต่ 50.0 - 83.3 เปอร์เซ็นต์ คาขอบคุณ ขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพั ฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการวิจัย ชุดแม่บ ทข้าวโพด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้ทุนอุดหนุนวิจัยโครงการวิจัยการทดลองข้าวโพดในระดับไร่กสิกร ศูนย์วิจัย ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ตลอดจนเจ้าหน้าที่ คนงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่สนับสนุน และช่วยงานวิจัย ให้สาเร็จด้วยดีเสมอมา เอกสารอ้างอิง สดใส ช่างสลัก โกศล เกิดโภคทรัพย์ ชฎามาศ จิตต์เลขา สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์ และสมชัย ลิ่มอรุณ. 2558. การกาจัดวัชพืชด้วยนิโคซัลฟูรอนในข้าวโพดหวานและข้าวโพดข้าวเหนียว. น. 563-570. ใน การ ประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 12 วันที่ 20-22 ตุลาคม 2558 ณ โรงแรมดุสิตไอแลนด์ รี สอร์ท จังหวัดเชียงราย. สดใส ช่างสลัก สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์ สาราญ ศรีชมพร นรุณ วรามิตร รังสิต สุวรรณมรรคา แอนนา สายมณีรัตน์ และ สมชัย ลิ่มอรุณ. 2560. การกาจัดวัชพืชในแปลงข้าวโพดไร่ของเกษตรกรด้วย นิโคซัลฟูรอน. น. 985-975. ใน การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 13 วันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเรือรัษฎา จังหวัดตรัง. Agchem access. Nicosulfuron-herbicide… www.agchemaccess.com/Nicosulfuron (20 Aug. 2015)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
341
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWB-02
ตารางที่ 1 ปริมาณวัชพืช ต่อพื้นที่ 0.5 ตารางเมตร ก่อนพ่นสารและหลังพ่นสารที่ระยะเก็บเกี่ยว เปอร์เซ็นต์ วัชพืชที่ลดลง (%) และคะแนนการควบคุมวัชพืช (%) ของผลของสาร nicosulfuron ต่อข้าวโพด ไร่ลูกผสมพันธุ์ก่อนการค้า ที่แปลงทดลองศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ต.กลางดง อ.ปาก ช่อง จ.นครราชสีมา ปี 2561 (การทดลองที่ 1). ทรีทเม้นท์
2
จานวนวัชพืช/0.50 ม ก่อนพ่นสาร วัชพืช ใบแคบ
แห้วหมู 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 Mean
342
KSX5720 KSX5731 KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6012 KSX6013 KSX6014 KSX6015 KSX6016 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX6021 KSX6022 KSX6023 KSX6101 KSX6102 KSX6103 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107 KSX6108 KSX6109 KSX6110 KSX6111 KSX6112 KSX6113 KSX6114 9919C Pac339 S7328 NS3 SW4452
2
25.0 25.0 23.0 22.0 22.0 25.0 26.0 33.0 30.0 28.0 26.0 24.0 22.0 23.0 22.0 25.0 26.0 27.0 28.0 29.0 25.0 26.0 23.0 24.0 25.0 23.0 24.0 22.0 25.0 26.0 22.0 22.0 22.0 22.0 20.0 25.0 25.0 25.0 25.0 25.0 24.7
ab ab ab ab ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab ab
10.0 11.0 7.7 12.0 11.0 10.0 9.0 8.0 11.0 15.0 11.0 12.0 11.0 13.0 14.0 11.0 10.0 12.0 12.0 11.0 12.3 11.5 11.0 12.5 12.5 12.5 12.5 13.0 13.0 13.0 13.0 13.0 12.0 11.0 11.0 12.0 13.0 12.5 13.0 12.0 11.7
ab ab b ab ab ab ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
วัชพืช ใบกว้าง 13.0 8.0 10.0 25.0 10.0 10.0 10.0 12.0 15.0 12.0 12.0 10.0 10.0 3.0 8.0 9.0 7.0 8.0 9.0 7.0 8.0 9.0 9.0 8.0 8.0 6.0 6.0 5.0 5.0 5.0 7.0 8.0 25.0 10.0 12.0 12.0 14.0 14.0 13.0 10.0 10.1
bc ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab
จานวนวัชพืช/0.50 ม หลังพ่นสาร ระยะเก็บเกี่ยว รวม ทั้งหมด 48.0 44.0 40.7 59.0 43.0 45.0 45.0 53.0 56.0 55.0 49.0 46.0 43.0 39.0 44.0 45.0 43.0 47.0 49.0 47.0 45.3 46.5 43.0 44.5 45.5 41.5 42.5 40.0 43.0 44.0 42.0 43.0 59.0 43.0 43.0 49.0 52.0 51.5 51.0 47.0 46.4
แห้วหมู 3.3 3.3 3.0 3.7 3.0 3.0 3.3 3.3 3.0 3.3 3.0 3.2 3.1 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.2 3.3 3.1 3.3 3.1 3.1 3.1 3.2 3.2 3.3 3.3 3.3 3.3 3.3 3.2 1.2 2.2 2.5 3.4 3.0 3.1
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab
วัชพืช ใบแคบ
วัชพืช ใบกว้าง
รวม ทั้งหมด
2.0 1.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.3 0.1 0.5 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.5 0.0 0.0 0.1
2.3 2.0 1.5 5.0 2.0 3.0 4.0 2.0 5.0 2.0 2.0 2.0 2.0 1.0 2.0 3.0 2.0 2.0 2.0 1.5 2.0 1.0 2.0 2.0 2.5 2.6 2.2 2.0 2.5 2.2 2.4 2.0 2.0 2.0 2.0 2.0 1.0 2.0 2.0 4.0 2.3
7.6 6.3 4.5 8.7 5.0 6.0 7.6 5.4 8.5 5.3 5.0 5.2 5.2 4.0 5.0 6.0 5.0 5.0 5.0 4.5 5.2 4.3 5.1 5.3 5.6 5.7 5.3 5.2 5.7 5.5 5.7 5.3 5.3 5.3 5.2 3.2 3.3 5.0 5.4 7.0 5.5
a ab b b b b ab ab ab b b b ab b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b ab b b b
bc ab ab a ab ab ab ab a ab ab ab ab b ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab
ab ab ab a ab ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab
% วัชพืช ที่ลดลง 84.1 85.7 88.9 85.3 88.4 86.7 83.1 89.8 84.8 90.4 89.8 88.7 87.9 89.7 88.6 86.7 88.4 89.4 89.8 90.4 88.5 90.8 88.1 88.1 87.7 86.3 87.5 87.0 86.7 87.5 86.4 87.7 91.0 87.7 87.9 93.5 93.7 90.3 89.4 85.1 88.2
คะแนน ควบคุม วัชพืช (%) 95.3 95.0 94.0 95.0 95.0 95.0 96.0 94.0 96.0 95.0 95.0 96.0 94.0 94.0 96.0 96.0 95.0 95.0 96.0 95.0 96.0 96.0 96.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 96.0 96.0 96.0 96.0 96.0 95.3
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” C.V.(%) F-test LSD 0.05
OWB-02
8.4 *
7.7 *
16.6 *
10.2 ns
18.4 *
74.1 *
16.6 *
10.2 ns
16.2 ns
9.9 ns
3.4
3.5
2.4
-
3.4
3.5
2.4
-
-
-
1/
Mean followed by a common letter are not significantly different at 5% probability level by DMRT * = significant at p <0.05 ns = non significant
ตารางที่ 2 ปริมาณวัชพืช ต่อพื้นที่ 0.5 ตารางเมตร ก่อนพ่นสารและหลังพ่นสารที่ระยะเก็บเกี่ยว เปอร์เซ็นต์ วัชพืชที่ลดลง (%) และคะแนนการควบคุมวัชพืช (%) ของผลของสาร nicosulfuron ต่อข้าวโพด สายพันธุ์แท้ ที่แปลงทดลองที่แปลงทดลองศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ต.กลางดง อ. ปากช่อง จ.นครราชสีมา ปี 2561 (การทดลองที่ 2). ทรีทเม้นท์
2
จานวนวัชพืช/0.50 ม ก่อนพ่นสาร แห้วหมู
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
2
Ki47 Ki48 Ki60 Kei1314 Kei1420 Kei1421 Kei1519 Kei1608 Kei1611 Kei1709 Kei1710 Kei1711 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1715 Kei1716 Kei1717 Kei1719 Kei1720 Kei1721 Kei1722 Kei1723 Kei1801 Kei1802 Kei1803 Kei1804 Kei1805 Kei1806 Kei1807
28.0 28.0 26.0 25.0 25.0 26.0 27.0 34.0 30.0 25.0 26.0 26.0 25.0 20.0 20.0 20.0 25.0 27.0 28.0 30.0 25.0 26.0 23.0 25.0 26.0 24.0 25.0 23.0 24.0 26.0
ab ab ab ab ab ab ab a ab ab ab ab ab b b b ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
ที่ลดลง 15.0 12.0 8.0 11.0 10.0 10.0 10.0 9.0 10.0 16.0 11.0 12.0 11.0 12.0 10.0 13.0 10.0 12.0 12.0 12.0 12.3 11.5 11.0 12.5 12.5 12.5 12.5 12.0 12.0 12.0
a ab b ab ab ab ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
วัชพืช ใบกว้าง
จานวนวัชพืช/0.50 ม หลังพ่นสาร ระยะเก็บเกี่ยว รวม ทั้งหมด
แห้วหมู
วัชพืช ใบแคบ
วัชพืช ใบกว้าง
57.0 49.0 43.0 51.0 46.0 46.0 47.0 53.0 50.0 51.0 47.0 47.0 46.0 35.5 38.0 42.0 42.0 47.0 49.0 49.0 45.3 40.5 43.0 45.5 46.5 42.5 43.5 40.0 41.0 43.0
3.3 3.3 3.0 9.0 3.0 3.0 3.3 3.3 3.0 3.3 3.0 3.2 3.1 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 3.0 2.0 2.0 2.1 2.3 3.1 3.2 3.1 3.2 3.0 3.0
2.5 1.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.3 0.1 0.5 0.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
2.3 2.0 1.5 5.0 2.0 3.0 4.0 2.0 5.5 2.0 2.0 2.0 2.0 1.0 2.0 3.0 2.0 2.0 2.0 1.5 2.0 1.0 2.0 2.0 2.5 2.6 2.2 2.0 2.5 2.2
% วัชพืช
รวมทั้งหมด
ที่ลดลง
bc 7.6 ab ab 6.8 ab ab 4.5 ab a 14.0 a ab 5.0 ab ab 6.0 ab a 7.6 ab ab 5.4 ab a 8.5 ab ab 5.3 ab ab 5.0 ab ab 5.2 ab ab 5.2 ab b 4.0 ab ab 5.0 ab ab 6.0 ab ab 5.0 ab ab 5.0 ab ab 5.0 ab ab 4.5 ab ab 4.0 ab b 3.0 ab ab 4.1 ab ab 4.3 ab ab 5.6 ab ab 5.8 ab ab 5.3 ab ab 5.2 ab ab 5.5 ab ab 5.2 ab
86.6 86.1 89.5 72.5 89.1 87.0 83.8 89.8 83.0 89.6 89.4 88.9 88.7 88.7 86.8 85.7 88.1 89.4 89.8 90.8 91.2 92.6 90.5 90.5 88.0 86.4 87.8 87.0 86.6 87.9
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
343
14.0 9.0 9.0 15.0 11.0 10.0 10.0 10.0 10.0 10.0 10.0 9.0 10.0 3.5 8.0 9.0 7.0 8.0 9.0 7.0 8.0 3.0 9.0 8.0 8.0 6.0 6.0 5.0 5.0 5.0
ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab ab ab ab ab
ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
a ab b ab ab ab ab ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
คะแนน ควบคุม วัชพืช (%) 95.3 95.0 94.0 95.0 95.0 95.0 96.0 94.0 96.0 95.0 95.0 96.0 94.0 94.0 96.0 96.0 95.0 95.0 96.0 95.0 96.0 96.0 96.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0 95.0
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” 31 32 33 34 Mean C.V.(%) F-test
Ki59 Ki27 Ki57 Tzi6
LSD 0.05
25.0 25.0 25.0 25.0 25.5 12.2 * 13.4
ab ab ab ab
12.0 12.0 12.5 11.0 11.6 7.7 * 5.5
ab ab ab ab
7.0 8.0 15.0 10.0 8.6 16.6 * 12.4
ab ab a ab
44.0 45.0 52.5 46.0 45.7 10.2 ns -
2.3 2.3 2.3 1.5 3.0 18.4 * 7.4
ab ab ab b
0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 74.1 * 2.5
ab ab ab ab
2.4 2.0 2.0 2.0 2.3 16.6 * 2..4
ab ab a ab
OWB-02 4.7 4.3 4.3 3.5 5.5 10.2 ns -
ab ab ab ab
89.3 90.4 91.8 92.4 88.1 16.2 ns -
95.0 95.0 95.0 95.0 95.2 9.9 ns -
1/
Mean followed by a common letter are not significantly different at 5% probability level by DMRT * = significant at p <0.05 ns = non significant
ตารางที่ 3 ผลผลิตและลักษณะทางการเกษตรของข้าวโพดไร่ลูกผสมพันธุ์ก่อนการค้า ที่ใช้สาร nicofulfuron แปลงทดลองที่แปลงทดลองศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา ปี 2561 (การทดลองที่ 1). ความสูง ทรีทเม้นท์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28
344
KSX5720 KSX5731 KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6012 KSX6013 KSX6014 KSX6015 KSX6016 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX6021 KSX6022 KSX6023 KSX6101 KSX6102 KSX6103 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107
ต้น (ซม.) 203 88 208 205 223 195 213 195 190 190 208 203 198 198 202 198 205 198 208 194 208 180 200 193 175 178 198 195
ฝัก ab c ab ab a ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
(ซม.) 103 43 100 108 108 103 110 106 108 103 100 108 103 102 100 103 105 103 105 98 108 85 100 101 93 96 95 105
ab c ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
ความชื้น
เปอร์เซ็นต์
เมล็ด
กะเทาะ
(%) 23.5 22.1 23.8 22.9 22.8 21.1 19.6 22.0 22.5 22.2 21.5 22.7 22.6 21.6 22.2 23.7 24.5 23.6 23.5 24.3 23.0 22.3 21.8 23.3 22.8 22.1 23.6 23.4
ab b ab ab ab ab b ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab ab
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
(%) 84.1 42.1 82.5 84.1 86.9 90.8 89.6 84.8 69.3 82.0 82.1 86.2 82.9 86.5 84.6 84.0 81.2 82.2 75.9 75.9 83.8 81.7 84.8 73.4 84.5 83.9 83.6 83.6
a b a a a a a a ab a a a a a a a a a a a a a a ab a a a a
ผลผลิต
%ผลผลิต
เมล็ด
กับพันธุ์ เปรียบเทียบ
(กก./ไร่) 1980 305 1882 1847 1920 1927 1918 1937 1301 1615 1605 1545 1708 1517 1753 1544 1951 1562 1886 2013 1652 1629 1733 983 1574 1841 1458 1507
ab d abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc abc ab abc abc abc cd abc abc abc abc
(%) 147 23 140 137 143 143 143 144 97 120 119 115 127 113 130 115 145 116 140 150 123 121 129 73 117 137 108 112
ต้น เสียหาย (%) 15.7 83.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 12.5 0.0 10.0 5.6 5.6 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 5.6 0.0 8.3 6.3 0.0 0.0 0.0 0.0
b a b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b b
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 Mean C.V.(%) F-test LSD0.05 LSD0.01
KSX6108 KSX6109 KSX6110 KSX6111 KSX6112 KSX6113 KSX6114 9919C Pac339 S7328 NS3
218 213 195 205 215 208 218 163 165 180 178 165 194 11.3 ** 44.5 59.6
SW4452 (check)
ab ab ab ab ab ab ab b ab ab ab ab
115 113 103 108 110 100 108 80 85 100 85 98 100 11.9 ** 24.1 32.3
a a ab ab ab ab ab b ab ab ab ab
21.7 22.5 22.9 20.7 25.5 22.3 20.4 22.4 24.5 24.5 20.5 23.5 22.4 11.7 ** 5.2 7.1
ab ab ab ab a ab ab ab a a ab ab
86.9 72.6 84.8 84.2 85.9 87.9 84.3 83.9 72.1 81.9 85.6 83.9 81.8 14.8 ** 24.3 32.5
a ab a a a a a a ab a a a
1168 1711 1348 1722 2063 1803 2037 1344 1202 2134 1089 1344 1626 22.0 ** 725 970
OWB-02
a-d abc abc abc a abc ab abc a-d a bcd abc
87 127 100 128 153 134 152 100 89 159 81 100 121
0.0 7.1 0.0 6.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 5.0 14.3 0.0 4.6 151.2 ** 14.2 18.9
b b b b b b b b b b b b
1/
Mean followed by a common letter are not significantly different at 1% probability level by DMRT ** = significant at p <0.05
ตารางที่ 4 ผลผลิตและลักษณะทางการเกษตรของสายพันธุ์แท้ข้าวโพดไร่ที่ใช้สาร nicofulfuron แปลง ทดลองที่แปลงทดลองศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ปี 2561 (การทดลองที่ 2). ความสูง ทรีทเม้นท์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
Ki47 Ki48 Ki60 Kei1314 Kei1420 Kei1421 Kei1519 Kei1608 Kei1611 Kei1709 Kei1710 Kei1711 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1715 Kei1716
ความชื้น
ต้น
ฝัก
(ซม.) 115 70 155 58 68 63 115 113 132 145 142 70 149 147 143 71 135
(ซม.) 58 38 73 25 25 28 38 55 61 73 65 35 76 75 66 33 59
abc abc abc bc abc abc ab ab ab ab ab abc ab ab ab abc ab
เมล็ด a-d a-e abc de de cde a-e a-d a-d abc a-d a-e ab ab a-d b-e a-d
(%) 15.5 9.0 18.3 9.0 9.0 8.5 18.3 19.5 20.3 18.8 18.4 9.5 18.7 21.0 19.0 8.6 18.5
a ab a ab ab ab a a a a a ab a a a ab a
เปอร์เซ็นต์
ผลผลิต
กะเทาะ
เมล็ด
(%) 81.9 28.8 79.6 36.0 44.6 42.6 78.6 82.3 79.9 84.5 86.4 43.5 86.6 85.9 85.9 43.7 83.7
(กก/ไร่) 675 64 218 133 107 174 5 521 691 548 786 428 1020 849 1039 268 678
a ab a ab ab ab a a a a a ab a a a ab a
a-g ij e-j g-j hij f-j j a-j a-f a-j abc b-j a ab a c-j a-g
ผลผลิต ต้น กับพันธุ์ เปรียบเทียบ เสียหาย (%) (%) 272 0.0 d 26 60.0 a-d 88 8.3 bcd 53 50.0 a-d 43 83.3 ab 70 71.4 a-d 2 82.5 abc 210 41.7 a-d 278 6.3 cd 220 11.1 bcd 316 0.0 d 172 50.0 a-d 411 0.0 d 342 0.0 d 418 0.0 d 108 50.0 a-d 273 0.0 d
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
345
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ” 18 Kei1717 142 ab 62 a-d 19.4 a 86.8 a 753 19 Kei1719 148 ab 66 a-d 20.3 a 84.3 a 651 20 Kei1720 149 ab 75 ab 22.0 a 78.8 a 777 21 Kei1721 160 a 73 abc 19.9 a 83.2 a 683 22 Kei1722 158 a 71 a-d 18.3 a 84.2 a 494 23 Kei1723 154 ab 75 ab 19.1 a 81.9 a 592 24 Kei1801 147 ab 63 a-d 18.9 a 82.3 a 618 25 Kei1802 155 ab 78 ab 18.2 a 86.7 a 773 26 Kei1803 141 ab 60 a-d 18.6 a 80.6 a 578 27 Kei1804 150 ab 70 a-d 19.4 a 80.4 a 562 28 Kei1805 143 ab 65 a-d 18.5 a 76.8 a 349 29 Kei1806 153 ab 75 ab 18.7 a 74.9 a 340 30 Kei1807 155 ab 80 a 18.5 a 78.6 a 234 31 Ki59 139 ab 58 a-d 18.4 a 36.2 ab 201 32 Ki27 0 c 0 e 0.0 b 0.0 b 0 33 Ki57 85 abc 38 a-e 0.0 b 0.0 b 0 34 Tzi6 143 ab 53 a-d 18.2 a 70.2 a 248 Mean 124 57 16.1 68.2 472 C.V.(%) 29.6 30.1 30.9 36.4 42.5 F-test ** ** ** ** ** LSD0.05 74.4 34.9 10.1 50.5 409 LSD0.01 99.9 46.8 13.6 67.8 549 1/ Mean followed by a common letter are not significantly different at 1% probability level by DMRT ** = significant at p <0.01
346
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
OWB-02 a-e a-h a-d a-f a-j a-i a-h a-d a-i a-i b-j b-j d-j f-j j j c-j
303 262 313 275 199 238 249 311 233 226 141 137 94 81 0 0 100 190
0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 10.0 50.0 100.0 100.0 0.0 22.8 123.6 ** 57.3 96.9
d d d d d d d d d d d d bcd a-d a a d
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานในไร่ออ้ ย Integrated Weeds Management in Sugarcane ปรัชญา เอกฐิน ยุรวรรณ อนันตนมณี และ จรรยา มณีโชติ Pruchya Ekkathin Yurawan Anantanamanee and Chanya Maneechote สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development office, Department of Agriculture Chatuchak Bangkok 10900
บทคัดย่อ อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยมีพื้นที่รวม 1.6 ล้านไร่ วัชพืชทาให้ผลผลิอ้อยเสียหาย 10-75% ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระบาด แม้ว่าการใช้สารกาจัดวัชพืชปัจจุบันใช้กันอย่างแพร่หลายใน ประเทศไทยแต่การเลือกชนิดของสารที่ไม่ตรงกับชนิดของวัชพืชหรือสารบางชนิดที่ใช้มาเป็นเวลานาน เช่น อะทราซีนและอามีทรีนทาให้การควบคุมวัชพืชไม่ดีในหลายพื้นที่ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้วิธี จัดการวัชพืชแบบผสานที่มีประสิทธิภาพและลดต้นทุน โดยแบ่งเป็น 2 การทดลอง 1 ทดสอบสารกาจัดวัชพืช คู่ผสมในอ้อย วางแผนแบบ RCB 4 ซ้า 16 วิธี และ การทดลอง 2 การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานเทียบกับวิธี กาจัดวัชพืชของเกษตรกรทาการทดลองใน จ.สุพรรณบุรี และกาญจนบุรี ผลการทดลอง พบว่า สารคู่ผสม indaziflam+sulfentrazone อัตรา 12+150 g ai/ไร่ ควบคุมวัชพืชได้ดีที่ 90-120 วัน หลังพ่นสาร จึงนามาใช้ ร่วมกับการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานในไร่อ้อยในการทดลองที่ 2 เปรียบเทียบกับวิธีการกาจัดวัชพืชของ เกษตรกรและต้ น ทุ น ในการก าจัด วั ช พื ช พบว่ า การใช้ ส ารคู่ ผ สม indaziflam+sulfentrazone ร่ ว มกั บ วิธีการใช้รถพรวนระหว่างร่องอ้อยที่ 3 เดือนหลังปลูกอ้อยและพ่น สาร paraquat ที่ 4 เดือนหลังปลูกอ้อยมี ประสิท ธิภาพในการควบคุม วัชพื ช ได้ดีอี ก ทั้ ง ยัง มี ต้นทุ นในการก าจัดวัชพืช ต่อไร่เ พียง 815 บาท ซึ่ง วิธี เกษตรกรมีต้นทุน 1,420 บาท ดังนั้นการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานที่ดีและมีประสิทธิภาพ จึงจะเป็นวิธีการ ที่ดีในการผลิตอ้อย คำสำคัญ : การจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน สารกาจัดวัชพืช อ้อย ต้นทุนในการกาจัดวัชพืช ABSTRACT Sugarcane is one of major economic crops in Thailand with total area of 1.6 m ha. Annually, weed infestations cause yield loss in sugarcane by 10-75% depending on the severity of infestation. To date, pre-emergence herbicide application becomes widely used in Thailand, however, old herbicides i.e. atrazine and ametryn gave poor weed control in many areas. The objectives of this study (i) aimed to find a combination of herbicides showing more effective control under field conditions and (ii) integrated with mechanical and cultural practices in 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
347
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
farmers’ field. Experiments have sixteen treatments with four replicates were arranged in RCB The results showed that indaziflam+sulfentrazone at the rate of 12+150 g ai/rai, gave an excellent weed control for 90-120 days. Secondly, indaziflam+sulfentrazone treatments were separately integrated with mechanical methods and paraquat at 4 mounts after planted in one farmer’s field and It was confirmed effective than framer practice In addition, The cost of weeds control is only 815 baht/rai and farmers practices have a cost of 1,420 baht/rai Hence, effective herbicides together with mechanic control would be appropriated method for sugarcane production Keywords: integrated weed management, sugarcane, indaziflam, pendimethalin, imazapic คานา ที่ผ่านมาเกษตรกรนิยมเลือกใช้สาร กาจัดวัชพืชพ่นหลังวัชพืชงอก แบบไม่เลือกทาลาย เช่น สารพารา ควอต โดยพ่นหลังปลูกอ้อยเมื่อมีวัชพืชงอกความสูงประมาณ 15-30 เซนติเมตร แต่หากใช้ไม่ระวังอาจทาให้ พืชปลูกได้รับความเสียหาย แต่วิธีการกาจัดวัชพืชในอ้อยมีอีกหลายวิธี เช่น การใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทพ่น ก่อนวัชพืชงอก การใช้รถไถพรวน (เกลียวพันธ์, 2546) การศึกษาประสิทธิภาพสารกาจัดวัชพืช การศึกษา ช่วงเวลาที่เหมาะสม และการนาเอาไปใช้ร่วมกับเครื่องจักรกล เพื่อให้ได้การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานที่มี ประสิทธิภาพเหมาะสมต่อพืชปลูก ปัจจุบัน มีคาแนะนาการใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอก ทั้ง ชนิ ด เดี่ ย วและผสม ให้ เ กษตรกรได้ เ ลื อ กใช้ ส ารก าจั ด วั ช พื ช ให้ ถู ก ชนิ ด วั ช พื ช แต่ ก ารก าจั ด วั ช พื ช ให้ มี ประสิทธิภาพนั้น จาเป็นต้องใช้หลายวิธีการร่วมกัน การนาเอาสารกาจัดวัชพืชทั้ง 2 ประเภท คือ สารกาจัด วัชพืชประเภทพ่นก่ อนวัชพื ชงอก มาผสมกันสารกาจัดวัชพืชประเภทพ่นหลังวัชพืชงอก (Herbicide Tank Mix) พ่นในช่วงเวลาที่เหมาะสม (จรรยา, 2558) ซึ่งมีงานวิจัยหลายชิ้นที่ระบุว่าการใช้สารผสมสามารถช่วยให้ ประสิ ท ธิ ภ าพในการควบคุ ม ก าจั ด วั ช พื ช ได้ ดี ขึ้ น เช่ น กลุ่ ม วิ จั ย วั ช พื ช , (2554) ได้ ร ายงานการใช้ ส าร glyphosate isopropylamonium 48% SL+ diclosulam 84% WG แ ล ะ glyphosate isopropylamonium 48% SL+ indaziflam 50 %SC สามารถกาจัดวัชพืชในมะม่วงได้ดียาวนานถึง 4 เดือน เป็นต้น โดยสารที่มีฤทธิ์ในการควบคุมวัชพืชที่งอกจากเมล็ดก็จะควบคุมไม่ให้วัชพืชงอกขึ้นมาใหม่ ซึ่งสารกาจัด วัชพืชที่นามาใช้เป็นสารกาจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชที่งอกจากเมล็ดได้นาน 2-4 เดือน เช่น อินดาซิเฟรม ไดโคซูแรม ฟูมิออกซาซิน เป็นต้น (Amit J. et al .2013) saflufenacil, glufosinate, ส่วน สารที่มีฤทธิ์ในการกาจัดวัชพืชที่งอกแล้วก็จะเข้าทาลายวัชพืช หรืออีกนัยหนึ่งคือ สามารถพ่นคุมและฆ่าวัชพืช ได้ในการพ่นเพียงครั้งเดียว โดยสารที่กาจัดวัชพืชประเภทพ่นหลังวัชพืชงอกที่นาใช้ทดสอบ คือ กลูโฟซิเนต (glufosinate ammonium 15% SL) เป็นสารกาจัดวัชพืชที่ไม่เลือกทาลาย เข้าสู่ต้นพืชทางใบ หลังพ่นสารพืช จะแสดงอาการใบเหลืองและเหี่ยว ภายใน 2-3 วัน และตายภายใน 3-7 วัน สารกลูโฟซิเนต เมื่อตกลงสู่ดิน จะ มีการสลายตัวอย่างรวดเร็วโดยจุลินทรีย์ในดิน มีครึ่งชีวิตในดินเพียง 7 วัน มีประสิท ธิภาพในการกาจัดวัชพืชได้ ดี เมื่อได้ชนิดสารกาจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและกาจัดวัชพืชเหมาะสม นาเอาไปใช้ร่วมกับ วิธี 348
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
เขตกรรม เช่น การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร การตัดหญ้า เป็นต้น จะสามารถลดปริมาณการใช้สาร และ ต้นทุนในการจัดการวัชพืชของเกษตรกรไม่เพิ่มขึ้นจากเดิมที่เคยปฏิบัติ เพื่อให้การจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน ให้มีประสิทธิภาพ และสามารถนาไปใช้เป็นคาแนะนาให้กับเกษตรกรต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ การทดลองที่ 1 ทดสอบสารกาจัดวัชพืชคู่ผสมในอ้อย ดาเนินการในแปลงเกษตรกร ในอาเภอ พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี พ่นสารกาจัดวัชพืชในอ้อย ตาม กรรมวิธี (ตารางที่ 1) ที่ระยะวัชพืชมีจานวนใบ 2-3 ใบ บันทึกข้อมูลความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชที่ระยะ 15 และ 30 วันหลังพ่นสาร บันทึกประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารที่ระยะ 30 60 และ 90 วันหลัง พ่นสาร ตารางที่ 1 กรรมวิธีทดสอบสารกาจัดวัชพืชคู่ผสมในอ้อย กรรมวิธี 1.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP+paraquat 27.6% SL 2.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glyphosate 48% SL 3.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glufosinate 15% SL 4.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC+ paraquat 27.6% SL 5.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glyphosate 48% SL 6.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glufosinate 15% SL 7.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +paraquat 27.6% SL 8.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +glyphosate 48% SL 9.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL+glufosinate 15% SL 10.hexazinone/diuron 13.2%+46.8% WG 11.ametryn/atrazine 35%+35% WG 12.indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC 13.diclozulam 84% WG 14.diclozulam 84% WG+pendimethalin 33% EC 15.diclozulam 84% WG +pendimethalin33% EC 16.UTC
อัตรา g ai/ไร่ 288+10+138 288+10+240 288+10+90 112+231+138 112+231+240 112+231+90 231+24+138 231+24+240 231+24+90 300 350 12+148 15 5+231 10+231 -
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
349
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
การทดลองที่ 2 การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานเทียบกับวิธีกาจัดวัชพืชของเกษตรกร นากรรมวิธีที่ดีและมีประสิทธิภาพในการทดลองที่ 1 มาขยายผล ในแปลงเกษตรกร พื้นที่ 10 ไร่ โดย แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน ดาเนินการทดสอบวิธีการกาจัดวัชพืชแบบผสมผสาน 2 วิธี เมื่อเปรียบเทียบกับ วิธีการปฏิบัติของเกษตรกร ตารางที่ 2 ขั้นตอนในการกาจัดวัชพืชในเกษตรกร ด้วยวิธีจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน และ วิธีเกษตรกร ขั้นตอนดาเนินงาน วิธีที่ 1 การวัชพืชแบบผสมผสาน วิธีที่ 2 วิธีเกษตรกร การเตรียมดิน
การกาจัดวัชพืช
ไถผาล 3 ตากดินทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ จากนั้นไถผาล 7 พร้อมยก ร่องปลูกอ้อย ครั้งที่ 1 หลังปลูกอ้อย 7 วัน วัชพืช ใบจานวนใบ 2-3 ใบ ใช้สารกาจัด วัชพืชประเภทพ่นก่อนวัชพืชงอก indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC อัตรา 12+148 gai/ไร่ ครั้งที่ 2 ที่ระยะ 3 เดือนหลังปลูก อ้อย ใส่ปุ๋ยกลบโคนและพรวน กาจัดวัชพืชระหว่างแถวอ้อย ครั้งที่ 2 ที่ระยะ 4 เดือนหลังปลูก อ้อย พ่นสารกาจัดวัชพืช paraquat 27.6% SL g ai/ไร่
ไถผาล 3 ตากดินทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ จากนั้นไถผาล 7 พร้อมยก ร่องปลูกอ้อย ครั้งที่ 1 ที่ระยะ 2 วันหลังปลูกอ้อย พ่นสารกาจัดวัชพืช pendimethlin 33% EC+acetochlor 50% EC อัตรา 231+250 g ai/ไร่ ครั้งที่ 2 ที่ระยะ 2 เดือนหลังปลูก อ้อย ใส่ปุ๋ยกลบโคนและพรวน กาจัดวัชพืชระหว่างแถวอ้อย ครั้งที่ 3 ที่ระยะ 3 เดือน หลังปลูก อ้อย พ่นสารกาจัดวัชพืช paraquat 27.6% SL g ai/ไร่ครัง้ ที่ 4 ที่ระยะ 4 เดือน หลังปลูก อ้อย พ่นสารกาจัดวัชพืช paraquat 27.6% SL g ai/ไร่
ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง การทดลองที่ 1 โดยทุ ก กรรมวิ ธี ที่ ผ สมสาร paraquat 27.6% SL, glyphosate 48% SL และ glufosinate 15% SL เป็นพิ ษต่อ อ้ อ ยเล็ก น้อยที่ ร ะยะ 15 วันหลัง พ่นสารก าจัดวัชพืช และอ้อยสามารถ เจริญเติบโตเป็นปกติและไม่พบอาการเป็นพิษที่ระยะ 30 วันหลังพ่นสารกาจัดวัชพืช (ไม่แสดงตาราง) สาหรับ กรรมวิธีที่พ่นสาร indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC อัตรา 12+148 gai/ไร่ pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +paraquat 27.6% SL อั ต รา 231+24+138 g ai/ไร่ pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +glyphosate 48% SL อั ต ร า 231+24+240 g ai/ไร่ pendimethalin 33% 350
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
EC+imazapic 24% SL+glufosinate 15% SL อัตรา 231+24+90 g ai/ไร่ มี ป ระสิท ธิภาพในการควบคุม วัชพืชประเภทใบกว้ าง เช่น ผักเบี้ยหิน ปอวัชพืช วัชพืชประเภทใบกว้าง เช่น หญ้าดอกขาวเล็ก และหญ้า ตีนนกได้ดี ที่ระยะ 30 และ 60 วันหลังพ่นสารในแปลงอาเภอ พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยอ้อยมีการ เจริญเติบโตทางด้านความสูงและการแตกกว่ามากกว่ากรรมวิธีไม่กาจัดวัชพืช ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพของสารป้องกันกาจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนงอก (pre-emergence herbicide) ผสมร่วมกับประเภทพ่นหลังจากวัชพืชงอก (post-emergence herbicide) ในอ้อย อาเภอ พนมทวน จังหวัด สุพรรณบุรี กรรมวิธี 1.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP+paraquat 27.6% SL 2.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glyphosate 48% SL 3.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glufosinate 15% SL 4.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC+ paraquat 27.6% SL 5.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glyphosate 48% SL 6.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glufosinate 15% SL 7.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +paraquat 27.6% SL 8.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +glyphosate 48% SL 9.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL+glufosinate 15% SL 10.hexazinone/diuron 13.2%+46.8% WG 11.ametryn/atrazine 35%+35% WG 12.indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC 13.diclozulam 84% WG 14.diclozulam 84% WG+pendimethalin 33% EC 15.diclozulam 84% WG +pendimethalin33% EC 16.UTC
อัตรา g ai/ไร่ 288+10+138 288+10+240 288+10+90 112+231+138 112+231+240 112+231+90 231+24+138 231+24+240 231+24+90 300 350 12+148 15 5+231 10+231 -
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
30 9 9 9 9 8 8 9 9 9 8 9 9 5 5 6 0
จานวนวัน หลังพ่นสาร 60 90 120 6 5 2 6 5 2 5 5 2 5 4 2 7 5 4 5 4 3 7 6 4 8 7 5 8 7 5 6 4 2 6 3 2 8 7 5 3 3 1 2 2 2 3 2 2 0 0 0
351
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
ตารางที่ 4 จานวนต้นและน้าหนักแห้งวัชพืชที่ 40 วันหลังพ่นสารกาจัดวัชพืชแบบก่อนวัชพืชงอก (pre-emergence herbicide) ผสมกับสารกาจัดวัชพืช ประเภทหลังงอก (post-emergence herbicide) ในอ้อย อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี กรรมวิธี
อัตรา g ai/ไร่
1.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP+paraquat 27.6% SL 2.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glyphosate 48% SL 3.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glufosinate 15% SL 4.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC+ paraquat 27.6% SL 5.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glyphosate 48% SL 6.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glufosinate 15% SL 7.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +paraquat 27.6% SL 8.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +glyphosate 48% SL 9.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL+glufosinate 15% SL 10.hexazinone/diuron 13.2%+46.8% WG 11.ametryn/atrazine 35%+35% WG 12.indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC 13.diclozulam 84% WG 14.diclozulam 84% WG+pendimethalin 33% EC 15.diclozulam 84% WG +pendimethalin33% EC 16.UTC
288+10+138 288+10+240 288+10+90 112+231+138 112+231+240 112+231+90 231+24+138 231+24+240 231+24+90 300 350 12+148 15 5+231 10+231 -
352
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
5.5b 6.4b 4.3b
ต้น/ตารางเมตร ปอ หญ้า หญ้า ผักเบี้ย วัชพืช ดอก ตีนนก หิน ขาวไร่ 4.7b 4.6b 4.3b 0.6b 5.3b 3.9b 6.0b 0.7b 7.2b 6.7b 4.0b 0.5b
4.7b 4.4b
6.0b 4.0b
ผักเบี้ย หิน
0.3a 0.6a
0.4a 0.4a
5.0b 3.7b 0.4a 0.3a 0.2a 0.6a 0.7a 0.6a 0.4a 0.7a 0.6a 0.8a 0.3a 0.4a 0.4a 0.5a 1.4ab 2.3ab 1.3ab 2ab 8.5b 6.7b 9.6b 10.3b
0.7b 0.4b
กรัม/ตารางเมตร ปอ หญ้า วัชพืช ดอก ขาวไร่ 0.4b 0.3b 0.3b 0.4b 0.2b 0.3b 0.4b 0.6b
หญ้า ตีนนก 0.2b 0.4b 0.3b
0.05a 0.03a 0.07a 0.06a
0.4b 0.5b 0.07a 0.06a 0.04a 0.3a 0.09a 0.04a 0.02a 0.04a 0.06a 0.06a 0.01a 0.03a 0.04a 0.03a 1.1ab 1.3ab 0.9ab 0.9ab 2.6b 5.4b 3.3b 2.2b
0.1a 0.0a 0.0a 0.2a 0.01a 9.5c 9.7c 10.6c 14.3c 3.6c 11.5c 12.7c 10.6c 13.4c 2.5c
0.0a 4.4c 3.9c
0.0a 4.3c 2.3c
0.01a 3.2c 1.2c
9.5c 9.7c 10.6c 14.3c 3.6c 4.4c 4.3c 3.2c 19.5d 18.7d 21.2d 23.4d 10.7d 13.3d 15.5d 13.5d
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
กรรมวิธี
อัตรา g ai/ไร่
C.V.%
OWA-01
ต้น/ตารางเมตร กรัม/ตารางเมตร ผักเบี้ย ปอ หญ้า หญ้า ผักเบี้ย ปอ หญ้า หญ้า หิน วัชพืช ดอก ตีนนก หิน วัชพืช ดอก ตีนนก ขาวไร่ ขาวไร่ 87.5 65.2 55.6 34.7 56.7 45.5 50.0 35.8
ตารางที่ 4 การวัดการเจริญเติบโตของอ้อยที่ระยะ 30, 60, และ 90 วันหลังพ่นสารป้องกันกาจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนงอก (pre-emergence herbicide) ผสมร่วมกับประเภทพ่นหลังจากวัชพืชงอก (post-emergence herbicide) ในอ้อยอาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี กรรมวิธี
1.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP+paraquat 27.6% SL 2.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glyphosate 48% SL 3.alachlor 48% EC+flumioxazin 50% WP + glufosinate 15% SL 4.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC+ paraquat 27.6% SL 5.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glyphosate 48% SL 6.amicabazone 70% WG+pendimethalin 33% EC + glufosinate 15% SL 7.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +paraquat 27.6% SL 8.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL +glyphosate 48% SL 9.pendimethalin 33% EC+imazapic 24% SL+glufosinate 15% SL 10.hexazinone/diuron 13.2%+46.8% WG 11.ametryn/atrazine 35%+35% WG
อัตรา g ai/ไร่ 288+10+138 288+10+240 288+10+90 112+231+138 112+231+240 112+231+90 231+24+138 231+24+240 231+24+90 300 350
30 วัน 81.6a
ความสูงอ้อย (เซนติเมตร) 60 วัน 90 วัน 114.7b 174.6b
การแตกกอ (จานวนลา/กอ) 30 วัน 60 วัน 90 วัน 1.6a 3.7a 4.3a
102.4a 102.9a 101.8a
115.3b 117.2b 116.0b
173.9b 176.7b 167.3a
1.7a 1.5a 1.7a
3.7a 3.9a 3.6a
4.4a 4.3a 4.5a
102.7a 102.1a 98.8ab
114.0b 113.7b 110.6a
167.6a 174.4a 172.7a
1.4a 1.4a 1.4a
3.6a 3.7a 3.2a
4.7a 4.7a 4.9a
91.4b 88.6b
110.7a 110.4a
170.6a 170.4a
1.2a 1.1a
3.0a 3.1a
4.6a 4.4a
102.4a 101.8a
121.3ab 106.7b
169.3ab 169.6b
1.1a 1.6a
3.7a 3.6a
4.4a 4.3a
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
353
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
กรรมวิธี
12.indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC 13.diclozulam 84% WG 14.diclozulam 84% WG+pendimethalin 33% EC 15.diclozulam 84% WG +pendimethalin33% EC 16.UTC C.V.%
354
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
อัตรา g ai/ไร่ 12+148 15 5+231 10+231 -
OWA-01
ความสูงอ้อย (เซนติเมตร) 30 วัน 60 วัน 102.7a 110.0a 72.1a 119.7c 71.4c 102.7c
90 วัน 160.0a 140.6c 150.6c
การแตกกอ (จานวนลา/กอ) 30 วัน 60 วัน 90 วัน 1.1a 3.6a 4.4a 1.6a 3.7a 4.3a 1.5a 3.1a 4.3a
81.6b 72.4a 52.9
140.6c 121.2d 55.6
1.6a 1.7a 56.7
109.7c 98.7d 65.2
3.7a 2.7a 45.5
4.3a 2.5b 50.0
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
การทดลองที่ 2 วิธีที่ 1 วิธีจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน หลังปลูกอ้อย 7-10 วัน วัชพืชมีจานวนใบ 2-3 ใบ ใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนวัชพืชงอก indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC อัตรา 12+148 g ai/ไร่ สามารถควบคุมวัชพืชได้นานถึง 3 เดือน และหลังจากนั้น ใส่ปุ๋ยกลบโคนอ้อย และพ่นสารกาจัดวัชพืช paraquat อัตรา 138 g ai/ไร่ ต้นทุนในการกาจัดวัชพืช 815 บาทต่อไร่ เปรียบเทียบกับ วิธีที่ 2 ซึ่งเป็นวิธีของเกษตรกร ใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทพ่นก่อนวัชพืชงอก pendimethlin 33% EC+acetochlor 50% EC อัตรา 231+250 g ai/ไร่ สามารถคุมวัชพืชได้เพียง 2 เดือน และหลังจากนั้นพบวัชพืช ประเภทใบกว้างขึ้นเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องพรวนกาจัดวัชพืชระหว่างแถวอ้อย และใส่ปุ๋ยกลบโคน และมีการ พ่นสารกาจัดวัชพืช paraquat อัตรา 138 g ai/ไร่ จานวน 2 ครั้งที่ 3 และ 4 เดือนหลังปลูกอ้อย มีต้นทุนในการ กาจัดวัชพืช 1,420 บาทต่อไร่ ซึ่งแตกต่างกับกรรมวิธีที่ 1 ตารางที่ 5 เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชในอ้อยวิธีจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน ระยะการเจริญเติบโต 15 วัน 30 วัน 60 วัน 90 วัน 120 วัน 150 วัน
ประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช1/ วิธีที่ 1 การวัชพืชแบบ วิธีที่ 2 ผสมผสาน วิธีของเกษตรกร 10 10 9 7 9 6 9 9 8 8 8 8
1/ประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชด้วยสายตา
3 = ควบคุมวัชพืชได้เล็กน้อย ควบคุมวัชพืชได้สมบูรณ์
ด้วยระบบการให้คะแนน 0-10 โดยที่ 0 = ควบคุมวัชพืชไม่ได้ 14-6 = ควบคุมวัชพืชได้ปานกลาง 7-9 = ควบคุมวัชพืชได้ดี 10 =
การเจริญเติบโตของอ้อย พบว่า วิธีการที่ 1 สามารถกาจัดวัชพืชได้ดีตั้งแต่ระยะ 3-4 เดือนหลังปลูกซึง่ เป็นระยะวิกฤตของอ้อยที่จะ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต จึงทาให้ออ้ ยเจริญเติบโตได้ดี มีความสูงเฉลี่ย 91.0 เซนติเมตร (ตารางที่ 3) ส่วนวิธีการที่ 2 นั้น ไม่สามารถกาจัดวัชพืชได้ในช่วงดังกล่าว ทาให้ ความสูงของอ้อยอยูท่ ี่ 74.0 เซนติเมตร
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
355
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
ตารางที่ 6 การเจริญเติบโตด้านความสูง (ซม.) ของอ้อยจากการควบคุมวัชพืช 2 วิธี ความสูง (เซนติเมตร)
ผลผลิต
จานวนลา (ลาต่อกอ)
ตัน/ไร่)
วิธีดาเนินการ
ราคาอ้อย (บาท/ไร่)
1 เดือน
2 เดือน
6 เดือน
1 เดือน
2 เดือน
6 เดือน
12 เดือน
วิธีที่ 1 DOA
12.4 a
91.0 a
191.0 a
1.7 a
2.5 a
4.8 a
12.4
10,664
วิธีที่ 2 เกษตรกร
14.7 a
74.0 ab
174.0 a
1.5 a
2.3 a
4.2 a
7.2
6,192
C.V.%
44.6
37.8
37.7
8.7
5.6
6.5
15.6
-
สรุปผลการทดลอง วิธีการที่ 1 การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานสามารถควบคุมวัชพืชได้ดีม าก เนื่องจากสาร indaziflam 50% SC+sulfentrazone 48% SC อัตรา 12+148 g ai/ไร่ ที่ใช้พ่นก่อนวัชพืชงอกนั้น สามารถกาจัดวัชพืชได้ทั้ง ใบแคบและใบกว้าง และมีระยะในการควบคุมวัชพืชได้นาน 3-4 เดือน หลังจากนั้นมีวัชพืชเริ่มงอกใหม่จากเมล็ด จึงพ่นกาจัดด้วยพาราควอต 1 ครั้ง ที่ระยะ 3 เดือน และใส่ปุ๋ยพูนโคนพร้อมกาจัดวัชพืชระหว่างแถวอ้อยที่ระยะ 4 เดือนหลังปลูกซึง่ เป็นระยะที่อ้อยมีการแตกกอทรงพุ่มเริ่มจะคลุมพื้นที่แล้ว ทาให้วัชพืชที่งอกใหม่ไม่สามารถแข่งขัน ได้ จึงทาให้วิธีการนี้มีประสิทธิภาพดีในการควบคุมวัชพืช และมีต้นทุนในการกาจัดวัชพืชที่ถูกกว่าวิธีของเกษตรกร ใน วิธีก ารที่ 2 ซึ่ง มี ป ระสิท ธิภาพในการควบคุม วัชพืชได้ดีในระยะ 2 เดือนหลัง ปลูก เพราะสารก าจัดวัชพืช pendimethlin 33% EC+acetochlor 50% EC อัตรา 231+250 g ai/ไร่ สามารถกาจัดวัชพืชใบแคบได้เป็นส่วน ใหญ่และมีวัชพืชใบกว้างบ้างชนิดที่ไม่สามารถควบคุมได้ หลังจากนั้นมีวัชพืชเริ่มงอกใหม่จากเมล็ดจึงพ่นกาจัดด้วย พาราควอต 2 ครั้ ง ที่ ร ะยะ 3 และ 4 เดื อ น ซึ่ ง เป็ นระยะที่ อ้ อยมี ก ารแตกกอทรงพุ่ม เริ่ม จะคลุม พื้นที่ แล้ว เช่นเดียวกับกรรมวิธีที่ 1 แต่ใช้ต้นทุนในการกาจัดวัชพืชที่สูงกว่าวิธีที่ 1 เอกสารอ้างอิง กลุ่มวิจัยวัชพืช. 2554. คาแนะนาการควบคุมวัชพืชและการใช้สารกาจัดวัชพืช. กลุม่ วิจัยวัชพืช สานักวิจัย พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 149 หน้า.
356
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-01
เกลียวพันธ์ สุวรรณรักษ์. 2546. วัชพืชในไร่อ้อยและการป้องกันกาจัด. กรมวิชาการเกษตร วารสารกรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ; ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 จรรยา มณีโชติ ยุรวรรณ อนันตนมณี สุพัตรา ชาวกงจักร์ ปรัชญา เอกฐิน เบญจมาศ คาสืบ อนุชา เหลาเคน นาฏญา โสภา จารุณี ติสวัสดิ์ และ จรัญญา ปิ่นสุภา. 2558. การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานเพื่อลดต้นทุน การผลิตมันสาปะหลัง. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 12 จังหวัดเชียงราย. หน้า 75-84 Amit J. Jhala, Analiza H. M. Ramirez, and Megh Singh .2013. Tank mixing saflufenacil, glufosinate, and indaziflam improved burndown and residual weed control. Weed Technology: 27:422–429
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
357
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
การเปรียบเทียบผลกระทบของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มตี ่อการเจริญเติบโต และความเสียหายของข้าวโพดหวาน Comparison of PRE Herbicides Effect on the Growth and Crop Injury of Sweet Corn ไพรวรรณ กิตติสุขประเสริฐ กนต์ธร พรหมวงศนันท์ และ อภิรัฐ บัณฑิต* Praiwan Kittisukprasrert Konthorn Phromwongnan and Apirat Bundit* ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 Department of Plant and Soil Sciences, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200 *Corresponding author: apirat.b@cmu.ac.th; †Presenting author: praiwan28103@gmail.com
บทคัดย่อ สารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีประสิทธิภาพเป็นองค์ประกอบสาคัญของการจัดการวัชพืช แบบผสมผสานในข้าวโพดหวาน ซึ่งสารแต่ละชนิดจะมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน ดังนั้น จึงวางแผนการทดลอง แบบ CRD เพื่อพิจารณาการตอบสนองของข้าวโพดหวานต่อการใช้สารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอก และ ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดวัชพืชของ สาร atrazine อัตรา 270 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร diclosulam อั ต รา 12.6 กรั ม สารออกฤท ธิ์ ต่ อ ไร่ , สาร indaziflam อั ต รา 10 กรั ม สารออกฤทธิ์ ต่ อ ไร่ , สาร isoxaflutole/cyprosulfamide อัตรา 9.6 + 9.6 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร pendimethalin อัตรา 198 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ และสาร sulfentrazone อัตรา 115 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ ผลการทดลองพบว่า สาร ป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกส่วนใหญ่ส่งผลกระทบต่อ การงอก น้าหนักแห้ง และความเป็นพิษ ของต้น กล้าข้าวโพดหวานไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยส าคัญ ที่ 14 วันหลังการพ่นสาร ยกเว้นการใช้ส าร diclosulam และสาร sulfentrazone มี ผ ลยั บ ยั้ง การเจริญ เติบ โตและมี ความเป็น พิษ มากกว่า นอกจากนี้ การศึ ก ษา ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดวัชพืชที่ 14 วันหลังการพ่นสาร พบว่า จานวนและน้าหนักแห้งของวัชพืชไม่ มี ความแตกต่างกันทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับ การกาจัดวัชพืชด้วยมือ ดังนั้น ผลการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้ เห็นว่า สารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกทุกชนิดสามารถควบคุมวัชพืชได้ไม่แตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับ กรรมวิธีควบคุม อย่างไรก็ตาม การใช้สาร diclosulam และสาร sulfentrazone มีผลเสียหายต่อข้าวโพด หวานมากกว่า ดังนั้น การใช้สาร atrazine, สาร indaziflam, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide และสาร pendimethalin จึงมีศักยภาพที่เหมาะสมในการป้องกันกาจัดวัชพืชสาหรับข้าวโพดหวาน คาสาคัญ : ความเสียหายของพืชปลูก สารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอก ข้าวโพดหวาน ประสิทธิภาพการ ป้องกันกาจัดวัชพืช
358
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
ABSTRACT Effective pre-emergence (PRE) herbicides are key components of integrated weed management in sweet corn, each herbicides are vary in their efficiency. Thus, the experiment was laid out as a completely randomized design (CRD) to determine the sensitivity of sweet corn to the PRE applied and weed control efficacy of atrazine at 270 g a.i./rai, diclosulam at 12.6 g a.i./rai, indaziflam at 10 g a.i./rai, isoxaflutole/cyprosulfamide at 9.6 + 9.6 g a.i./rai, pendimethalin at 198 g a.i./rai and sulfentrazone at 115 g a.i./rai. The results showed that, most PRE applied were not significant different effect on germination, dry weight and phytotoxic of sweet corn seedlings at 14 days after application (DAA), except for the application of diclosulam and sulfentrazone had an inhibitory effects on the growth and more toxicity. In addition, the weed control efficacy at 14 DAA was investigated. It was found that, the number and dry weight of weeds were not significant when compared with hand weeding treatment. Therefore, the results of this study indicate that weeds can be controlled with all PRE herbicides application when compared with those control treatments. However, diclosulam and sulfentrazone applied PRE were more injurious to sweet corn. Therefore, the application of atrazine, indaziflam, isoxaflutole/cyprosulfamide and pendimethalin are potential for weed control in sweet corn. Keywords: crop injury, PRE herbicides, sweet corn, weed control efficacy คานา วัชพื ช เป็น พื ชที่ ส่ง ผลกระทบต่อ ผลผลิต ทางการเกษตรในด้ านที่ เป็ น โทษ ซึ่ง ท าให้ ผ ลผลิต ทาง การเกษตรลดลงเป็นจ านวนไม่ น้อย โดยพบว่า การแข่งขันของวัชพืชส่งผลทาให้ ผลผลิตของพืชปลูก ลดลง เนือ่ งจากวัชพืชมีความต้องการปัจจัยการเจริญเติบโตที่ คล้ายกันกับพืชปลูก (Zystro et al. 2012) นอกจากนี้ วัชพืชยังเป็นที่อยูอ่ าศัยของโรคและแมลงศัตรูพืชได้อีกด้วย (หฤทัย, 2552) ดังนั้น การป้องกันกาจัดวัชพืชด้วย วิธีการที่ เหมาะสม เพื่ อ ไม่ให้ วัชพื ชสร้างความเสียหายแก่ พืชปลูก จึงมี ความจ าเป็นอย่างมากส าหรับ การ เพาะปลูก ข้ าวโพดหวาน (Zea mays L.) เป็ น พื ช ปลู ก ที่ ต้ อ งมี ก ารจั ด การวั ช พื ช อย่ างดี ในช่ ว งระยะการ เจริญเติบโตที่ V2 ถึงระยะการเจริญเติบโตที่ V10 ซึ่งจะส่งผลทาให้เกิดการสูญเสียของผลผลิตไม่เกินร้อยละ 5 (Tursuna et al. 2016) การป้องกันกาจัดวัชพืชในช่วงระยะเวลาดังกล่าวจะเป็นการลดการแข่งขันของวัชพืช และส่งเสริมให้ต้นข้าวโพดสามารถเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ ซึ่งการใช้สารป้องกันกาจัดวัชพืชเป็นวิธีการ หนึ่งที่มีศักยภาพสูง ต้นทุนต่า และเห็นผลได้ชัดเจน โดยสอดคล้องกับการศึกษาของ Rosa (2014) ที่ระบุว่า การป้ อ งกั นก าจั ดวัช พื ชในแปลงปลูก ข้าวโพดหวาน โดยการผสมสารป้ องกั น ก าจั ดวั ชพื ช ระหว่าง สาร 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
359
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
bromoxynil, สาร terbuthylazine และสาร trimsulfuron ส่งผลทาให้มีกาไรสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับการ ป้องกันก าจัดวัชพืชด้วยแรงงานคน เนื่องจากการป้องกั นก าจัดวัชพืช ด้วยแรงงานคนเป็น วิธีก ารที่ ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลานานในการจัดการ (Baghestani et al. 2007) อย่างไรก็ตาม การใช้สารป้องกันกาจัด วัชพืชอย่างเหมาะสมต่อชนิดพืชปลูก ชนิดวัชพืช และอัตราแนะนา จะสามารถช่วยเพิ่มศักยภาพในการป้องกัน กาจัดวัชพืช และทาให้เกิดความแม่นยาในการใช้ป ริมาณสารต่อพื้นที่ ป ลูก พืชได้อีกด้วย ดังนั้น การใช้สาร ป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกจึง เป็นวิธีการที่มีศักยภาพสาหรับการป้องกันก าจัดวัชพืชในช่วงระยะการ เจริญเติบโตแรกของข้าวโพดหวาน การใช้สารป้องกันกาจัดวัชพืชที่เหมาะสมกับพืชปลูกจะช่วยลดผลกระทบที่มีต่อพืชปลูกและทาให้พืช ปลูกสามารถเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้น การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลกระทบ ของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกชนิดต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริญเติบโตและความเป็นพิษในข้าวโพดหวาน และ 2) ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกชนิดต่าง ๆ โดยคาด ว่าการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการคัดเลือกชนิดของสารป้องกันก าจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่ เหมาะสม เพื่อเพิ่มทางเลือกในการใช้สารป้องกันกาจัดวัชพืชให้กับเกษตรกร และสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ที่นาไปสู่การทาการเกษตรแบบแม่นยา (precision agriculture) ต่อไปในอนาคต อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์และวิธีการทดลอง เก็ บ ตัว อย่างดิ น จากแปลงทดลองของ ศู น ย์ วิจั ย สาธิต และฝึก อบรมการเกษตรแม่ เหี ย ะ คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แล้วนาดินไปผึ่งในที่ร่มเป็นเวลา 2 สัปดาห์ และร่อนด้วยตะแกรงที่มีรู ขนาด 5 มิลลิเมตร นาดินที่เตรียมไว้ข้างต้นใส่ลงในกระถางที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 22 เซนติเมตร และลึก 12 เซนติเมตร ในอัตราส่วนระหว่างปริมาณดิน 3 กิโลกรัมต่อกระถาง ทาการปลูกข้าวโพดหวาน (พันธุ์ ซี.พี. สวีท เอส1) จานวน 20 เมล็ด ด้วยระยะระหว่างแถว 4 เซนติเมตร ระหว่างต้น 4 เซนติเมตร และความลึก 5 เซนติเมตร แล้วปรับ ความชื้ น ดิน ด้วยน้าอั ตราส่วนเท่ ากั บ 0.23 มิ ล ลิลิตร ต่อ ดิน 1 กรัม หลัง จากนั้น น า กระถางไปไว้กลางแจ้งและดาเนินการทดลองตามแต่ละกรรมวิธีต่อไป วางแผนการทดลองเป็นแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 8 กรรมวิธี จ านวน 3 ซ้า ประกอบด้วย กรรมวิธีที่ 1 กาจัดวัชพืชด้วยมือ (hand weeding), กรรมวิธีที่ 2 ไม่กาจัดวัชพืช (weedy check), กรรมวิธีที่ 3 พ่นสาร atrazine อัตรา 270 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, กรรมวิธีที่ 4 พ่นสาร indaziflam อัตรา 10 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อ ไร่ , กรรมวิธีที่ 5 พ่นสาร diclosulam อัตรา 12.6 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่ , กรรมวิ ธี ที่ 6 พ่ นสาร sulfentrazone อั ต รา 115 กรั ม สารออกฤทธิ์ ต่ อ ไร่ , กรรมวิ ธี ที่ 7 พ่ น สาร pendimethalin อั ต ร า 198 ก รั ม ส า ร อ อ ก ฤ ท ธิ์ ต่ อ ไ ร่ แ ล ะ ก ร ร ม วิ ธี ที่ 8 พ่ น ส า ร isoxaflutole/cyprosulfamide อัตรา 9.6 + 9.6 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ ทาการพ่นสารป้องกันกาจัดวัชพืช ตามแต่ ล ะกรรมวิธีห ลังปลูก ข้าวโพดในขณะที่ ดิน มี ความชื้น ด้วยถัง พ่น สารแบบสะพายหลัง (knapsack 360
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
sprayer) หัวฉีดรูปพัด ซึ่งกาหนดปริมาณน้ายาต่อพื้นที่ (spray volume) เท่ากับ 80 ลิตรต่อไร่ หลังพ่นสารจึง ทาการบันทึกข้อมูลดังต่อไปนี้ ข้อมูลพืชปลูก 1) ความงอก (เปอร์เซ็นต์) ที่ 7 และ 14 วันหลังการพ่นสาร คานวณได้จาก เปอร์เซ็นต์ความงอก =
x 100
2) ความสูงของข้าวโพดหวาน (เซนติเมตร) ที่ 14 วันหลังการพ่นสาร ทาโดยการวัดความสูงของต้น ข้าวโพดจากผิวดินถึงปลายใบสูงสุด 3) น้าหนักแห้งของข้าวโพดหวาน (มิลลิกรัมต่อต้น) ที่ 14 วันหลังการพ่นสาร ทาโดยการอบตัวอย่าง ต้นข้าวโพดหวานให้แห้งที่อุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส นาน 7 วัน แล้วจึงนาไปชั่งนาหนัก 4) ความเป็นพิษของข้าวโพดหวาน (เปอร์เซ็นต์) ทาโดยการประเมินด้วยสายตาที่ 14 วันหลังการ พ่นสาร ตามวิธีการประเมินความเป็นพิษของ Vanhala et al. (2004) ข้อมูลสารป้องกันกาจัดวัชพืช 1) ประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช โดยรวม (เปอร์เซ็นต์) ทาโดยการประเมินด้วยสายตาที่ 14 วัน หลังการพ่นสาร ตามวิธีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชของ Vanhala et al. (2004) ข้อมูลวัชพืช 1) จานวนต้นวัชพืช (ต้นต่อ 0.038 ตารางเมตร) ของแต่ละกรรมวิธีที่ 14 วันหลังการพ่นสาร ทาโดย การนับจานวนต้นวัชพืชทั้งหมดที่โผล่ขึ้นบนผิวดิน 2) น้าหนักแห้งของวัชพืช (มิลลิกรัมต่อ 0.038 ตารางเมตร) ทั้งหมดในแต่ละกรรมวิธีที่ 14 วันหลัง การพ่นสาร โดยทาการอบตัวอย่างวัชพืชให้แห้งดังที่กล่าวไว้ข้างต้น แล้วจึงนาไปชั่งนาหนัก การวิเคราะห์ทางสถิติ นาข้อมู ลไปวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance; ANOVA) ตามแผนการทดลองแบบ CRD ที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์ และเปรียบเทียบความแปรปรวนของแต่ละกรรมวิธีด้วยวิธี LeastSignificant Different test (LSD) ด้วยโปรแกรม Statistix 8.0 ผลการวิจัย ผลกระทบของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีต่อการงอกและการเจริญเติบโตของข้าวโพดหวาน จากผลการทดลองพบว่า เปอร์เซ็นต์ความงอกของข้าวโพดหวานมีความแตกต่างกันทางสถิติที่ความ เชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ 7 วันหลังการพ่นสาร isoxaflutole/cyprosulfamide, สาร pendimethalin, สาร atrazine, สาร indaziflam และสาร sulfentrazone มีเปอร์เซ็นต์ความงอกไม่แตกต่างกันทางสถิติกับ การกาจัดวัชพื ชด้วยมือ มีค่าเท่ ากั บ 90, 77, 67, 60 และ 57 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ในขณะที่ ก ารพ่นสาร diclosulam มีความแตกต่างทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 30 เปอร์เซ็นต์ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
361
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
อย่างไรก็ ตาม เมื่ อ พิจ ารณาที่ 14 วันหลังการพ่นสาร พบว่า การพ่นสาร atrazine, สาร indaziflam, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide และสาร pendimethalin มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 100, 100, 97 และ 90 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ซึ่งไม่แตกต่างกันทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ แต่การใช้สาร diclosulam และสาร sulfentrazone มีความแตกต่างทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ มีเปอร์เซ็นต์ความงอกเท่ากับ 60 และ 0 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ผลของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีผลกระทบต่อการงอกของข้าวโพดหวาน Treatment Hand weeding Weedy check Atrazine Indaziflam Diclosulam Sulfentrazone Pendimethalin Isoxaflutole/Cyprosulfamide T-test LSD
Percentage of germination (%) 7 DAA1 14 DAA 100 a2 100 a 100 a 100 a 67 ab 100 a 60 ab 100 a 30 b 60 b 57 ab 0c 77 ab 90 a 90 ab 97 a ** ** 64.8 19.5
1
DAA = Days After Application; 2Means within a column followed by the same letter grouping are not significantly different according to LSD test (**P < 0.01).
ผลกระทบของสารป้องกันกาจัดวัชพืช แบบก่ อนงอกที่มี ต่อการเจริญ เติบโตและความเป็นพิษ ของ ข้าวโพดหวานที่ 14 วันหลังการพ่นสาร พบว่า มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์ โดย การพ่นสาร pendimethalin, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide และสาร indaziflam ทาให้ต้นข้าวโพด หวานมี ค วามสู งไม่ แตกต่างกั นทางสถิติกั บ การก าจัดวัชพื ชด้วยมื อ ซึ่ง มี ความสูง เท่ ากั บ 17, 17 และ 16 เซนติเมตร ตามล าดับ ในขณะที่ การใช้ส าร atrazine, สาร diclosulam และสาร sulfentrazone มีความ แตกต่างทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ ซึ่งมีความสูงเท่ากับ 15, 6 และ 0 เซนติเมตร ตามลาดับ (ตารางที่ 2) ส่วนผลกระทบของสารป้อ งกั นก าจัดวัชพืช แบบก่ อนงอกที่ มี ต่อ น้าหนั ก แห้ง พบว่า การพ่น สาร isoxaflutole/cyprosulfamide, สาร pendimethalin, สาร indaziflam และสาร atrazine มีน้าหนักแห้ง เฉลี่ยต่อต้นไม่แตกต่างกันทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ ซึ่งมีน้าหนักแห้งเฉลี่ยต่อต้นเท่ากับ 148, 147, 126 และ 111 มิลลิกรัมต่อต้น ตามลาดับ ในขณะที่การใช้สาร diclosulam และสาร sulfentrazone มีความ 362
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
แตกต่างทางสถิติกับการกาจัดวัชพื ชด้วยมื อ ซึ่งมีน้าหนักแห้งเฉลี่ยต่อต้นเท่ ากับ 48 และ 0 มิลลิกรัมต่อต้น ตามลาดับ (ตารางที่ 2) นอกจากนี้ ความเป็นพิ ษของต้นข้าวโพดหวานหลังมีก ารพ่นสาร isoxaflutole/cyprosulfamide, สาร atrazine, สาร pendimethalin และสาร indaziflam มีความเป็นพิษไม่ แตกต่างกั นทางสถิติกับ การ ก าจั ด วั ช พื ช ด้ ว ยมื อ ซึ่ ง มี ค่ า เท่ า กั บ 13, 3, 3 และ 0 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ตามล าดั บ ในขณะที่ ก ารใช้ ส าร sulfentrazone และสาร diclosulam มีความเป็นพิษ แตกต่างกั นทางสถิติ กั บ การก าจัดวัชพืชด้วยมื อ ซึ่ง เท่ากับ 97 และ 37 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ผลของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่ อนงอกต่อการเจริญเติบ โตและความเป็น พิษของข้าวโพด หวาน Treatment Hand weeding Weedy check Atrazine Indaziflam Diclosulam Sulfentrazone Pendimethalin Isoxaflutole/Cyprosulfamide T-test LSD 1
Plant height (cm/plant) 19 a1 16 ab 15 b 16 ab 6c 0d 17 ab 17 ab ** 3.5
Zea mays Dry weight (mg/plant) 152 a 116 ab 111 ab 126 a 48 bc 0c 147 a 148 a ** 69.8
Phytotoxicity (%) 0d 0d 3 cd 0d 37 b 97 a 3 cd 13 cd ** 10.9
Means within a column followed by the same letter grouping are not significantly different according to LSD test (**P < 0.01).
ประสิทธิภาพการป้องกันกาจัดวัชพืชของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอก จากผลการทดลองพบว่า ผลกระทบของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกต่อจานวนวัชพืชที่ 14 วันหลังการพ่นสาร มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99 เปอร์เซ็นต์ โดยการพ่นสาร atrazine, สาร indaziflam, สาร diclosulam, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide, สาร pendimethalin และสาร sulfentrazone มีจานวนต้นวัชพืชเฉลี่ยต่อพื้นที่ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ ซึ่งมีจานวน ต้นวัชพืชเฉลี่ยต่อพื้นที่เท่ากับ 15, 13, 12, 8, 2 และ 0 ต้นต่อพื้นที่ 0.038 ตารางเมตร ตามลาดับ (ตารางที่ 3) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
363
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
ส่วนน้าหนัก แห้ งของวัชพื ชหลังการพ่นสาร พบว่า การพ่นสาร atrazine, สาร indaziflam, สาร diclosulam, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide, สาร pendimethalin และสาร sulfentrazone ไม่ แตกต่างกั นทางสถิ ติกั บ การก าจัด วัชพื ชด้วยมื อ ซึ่งมี น้าหนัก แห้ง วัชพืช 307, 230, 117, 113, 10 และ 0 มิลลิกรัมต่อพื้นที่ 0.038 ตารางเมตร ตามลาดับ (ตารางที่ 3) ส าหรั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการควบคุ ม วัช พื ช โดยรวม พบว่ า การพ่ น สาร sulfentrazone และสาร pendimethalin ไม่แตกต่างกันทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ ซึ่งมีเปอร์เซ็นต์การควบคุมโดยรวมเท่ากับ 100 แล ะ 93 เป อ ร์ เ ซ็ น ต์ ตามล าดั บ ใน ขณ ะที่ ก ารพ่ น สาร indaziflam, สาร diclosulam, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide และสาร atrazine มีความแตกต่างทางสถิติกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ ซึ่งมี เปอร์เซ็นต์การควบคุมโดยรวมเท่ากับ 83, 83, 83 และ 77 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ (ตารางที่ 3) ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชของสารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่ 14 วันหลังการใช้สาร Weeds Treatment Number Dry weight Total control (plant/0.038 m2) (mg/0.038 m2) (%) Hand weeding 0 b1 0b 100 a Weedy check 22 a 553 a 70 c Atrazine 15 ab 307 ab 77 c Indaziflam 13 ab 230 ab 83 bc Diclosulam 12 ab 117 b 83 bc Sulfentrazone 0b 0b 100 a Pendimethalin 2b 10 b 93 ab Isoxaflutole/Cyprosulfamide 8 ab 113 b 83 bc T-test ** ** ** LSD 15.5 341.1 16.1 1
Means within a column followed by the same letter grouping are not significantly different according to LSD test (**P < 0.01).
อภิปราย ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า สารป้องกันกาจัดวัชพืชแบบก่อนงอกส่วนใหญ่ ได้แก่ สาร atrazine, สาร indaziflam, สาร pendimethalin และสาร isoxaflutole/cyprosulfamide ไม่ ส่งผลกระทบต่อการ งอกของเมล็ด และความเป็นพิษในข้าวโพดหวานที่ 14 หลังการพ่นสาร เนื่องจากหลัง มีการพ่นสารข้าวโพด หวานมีเปอร์เซ็นต์ความงอกและความเป็นพิษไม่แตกต่างจากการกาจัดวัชพืชด้วยมือ แต่พบว่าข้าวโพดหวานมี เปอร์เซ็นต์ความงอกลดลงและแสดงอาการเป็นพิษสูงเมื่อพ่นสาร diclosulam และสาร sulfentrazone ซึ่ง อาจเป็นเพราะว่า สาร diclosulam ที่อัตรา 12.6 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ และสาร sulfentrazone ที่อัตรา 364
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
115 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ เป็นสารที่ถูกแนะนาให้ใช้ควบคุมวัชพืชในแปลงปลูกอ้อย ซึ่งไม่ใช่สาหรับควบคุม วัชพืชในการปลูกข้าวโพดหวาน สอดคล้อ งกับ กรณีศึกษาของ Mahadi and Dadari (2007) ที่ ระบุว่า สาร ป้ อ งกั น ก าจั ด วัช พื ช ก่ อ นงอกที่ ใช้ ป กติ ในแปลงปลู ก ข้ าว ได้ แ ก่ สาร butachlor, สาร oxadiazon, สาร piperophos และสาร cinosulfuron เมื่ อ นามาใช้ป้ องกั น ก าจัด วัชพื ชในแปลงปลูก ข้าวโพด พบว่า สาร butachlor และสาร oxadiazon ส่งผลให้ต้นข้าวโพดมีความแข็งแรงเพิม่ ขึ้น แต่การใช้สาร piperophos และ สาร cinosulfuron ส่ ง ผลให้ ต้น ข้ าวโพดมี ค วามแข็ ง แรงลดลงเมื่ อเที ยบกั บ การป้ อ งกั นก าจั ดวั ชพื ช ด้ว ย แรงงานคน นอกจากนี้ อาจจะเป็นผลมาจากการใช้สารในอัตราที่ไม่เหมาะสาหรับข้าวโพดหวาน สอดคล้องกับ การศึกษาของ Torun (2011) ที่ ระบุว่า การใช้สาร bentazone ในอัตรา 1/2 ของอัตราแนะนา และอัตรา แนะนา ส่งผลให้มีความเสียหายต่อต้นฝ้าย 77 และ 84 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ ส่วนการใช้สาร bentazone ใน อัตรา 2 เท่า และ 4 เท่า ของอัตราแนะนา ส่งผลให้ มีความเสียหายต่อต้นฝ้าย 100 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตาม ควรมีการศึกษาระยะเวลาของการตอบสนองและความเป็นพิษของข้าวโพดหวานที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ สารป้องกันก าจัดวัชพืชแบบก่อนงอกมากกว่า 14 วันหลังการพ่นสาร และควรมีการศึกษาอัตราของสารที่ เหมาะสมกับชนิดพืชปลูก หากต้องการนาสารป้องกันกาจัดวัชพืช แบบก่อนงอกแต่ละชนิดไปใช้ในการปลูก ข้าวโพดหวานในอนาคต สรุปผลการวิจัย จากการประเมินผลกระทบที่ 14 วันหลังการใช้สาร พบว่า การใช้สาร atrazine อัตรา 270 กรัมสาร ออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร indaziflam อัตรา 10 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร pendimethalin อัตรา 198 กรัมสาร ออกฤทธิ์ต่อไร่ และสาร isoxaflutole/cyprosulfamide อัตรา 9.6 + 9.6 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ มีศักยภาพ ที่เหมาะสมในการป้องกันกาจัดวัชพืชสาหรับข้าวโพดหวาน โดยจะส่งผลกระทบต่อการงอก การเจริญเติบโต และความเป็นพิษของต้นอ่อนข้าวโพดหวานในระดับต่า แต่การใช้สาร diclosulam อัตรา 12.6 กรัมสารออก ฤทธิ์ ต่ อ ไร่ และสาร sulfentrazone อั ต รา 115 กรั ม สารออกฤทธิ์ ต่ อ ไร่ มี ผ ลยั บ ยั้ ง การงอกและการ เจริญเติบโตของต้นอ่อนข้าวโพดหวานค่อนข้างสูง กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ทีม งานวิจัยทางด้านวิท ยาการวัชพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิท ยาลัยเชียงใหม่ , คุณ อธิวัฒน์ ทรงพิ นิจ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โปรดิ๊วส จากัด และคุณองอาจ ศรีสงคราม บริษัท บาก้า จากัด ที่ สนับสนุนการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง หฤทั ย เหมะธุลิ น . 2552. ความหลากหลายทางชนิ ด พัน ธุ์ข องวัช พื ชในนาข้าวอิ น ทรี ย์จัง หวัด พิ ษณุ โลก . แหล่งที่มา URL https://meanhh.wordpress.com/2009/03/16/ สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2562.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
365
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-02
Baghestani, M.A., E. Zand, S. Soufizadeh, A. Eskandari, R. PourAzar, M. Veysi and N. Nassirzadeh. 200 7. Efficacy evaluation of some dual purpose herbicides to control weeds in maize (Zea mays L.). Crop Protection 26(7): 936– 942 Mahadi, M.A. and S.A. Dadari. 2007. Effect of some rice based herbicides on yield and yield components of maize. Crop Protection 26(11): 1601-1605. Rosa, R. 2 0 14. The structure and yield level of sweet corn depending on the type of winter catch crops and weed control method. Journal of Ecological Engineering 15(4): 118–130. Torun, H. 2011. Damages caused by overdose herbicide application on non-target plants. Available at URL https://www.researchgate.net/publication/317559532 Accessed on 07/05/2019. Tursuna, N., A. Datta, M.S. Sakinmaz, Z. Kantarci, S.Z. Knezevic and B.S. Chauhan. 2016. The critical period for weed control in three corn (Zea mays L.) types. Crop Protection 90: 59-65. Vanhala, P., D. Kurstjens, J. Ascard, A. Bertram, D.C. Cloutier, A. Mead, M. Raffaelli and J. Rasmussen. 2004. Guidelines for physical weed control research: flame weeding, weed harrowing and intra-row cultivation, 6th EWRS Workshop on Physical and Cultural Weed Control, Norway. Zystro, J.P., N.D. Leon and W.F. Tracy. 2 0 1 2 . Analysis of traits related to weed competitiveness in sweet corn (Zea mays L.). Sustainability 4(4): 543-560.
366
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
ประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารกาจัดวัชพืชประเภทใช้กอ่ นวัชพืชงอก เพือ่ กาจัดวัชพืชในสวนมะม่วง Efficacy of Glyphosate and Pre-emergence Herbicides Tank Mixed for Broad Spectrum Weed Control in Mangoes Plantation ภัทร์พิชชา รุจิระพงศ์ชัย และ คมสัน นครศรี Phatphitcha Rujirapongchai and Komson Nakonsri กลุ่มวิจัยวัชพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพมหานคร 10900 Weed Science Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 Thailand
บทคัดย่อ ปัญ หาการจัดการวัชพืชในพื้นที่ปลูกมะม่วงขนาดใหญ่ โดยเฉพาะการผลิตมะม่วงในฤดูฝน คือ การ งอกใหม่ของวัชพืชอย่างรวดเร็ว ท าให้เกิดการจัดการวัชพืชหลายครั้ง เกษตรกรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ จัดการวัชพืชเพิ่มขึ้น เป็นการสิ้นเปลือง เวลา ค่าใช้จ่าย และแรงงาน ดังนั้นการใช้สารกาจัดวัชพืชน่าจะเป็นวิธี ที่สามารถกาจัดวัชพืชที่งอกแล้วและควบคุมวัชพืชที่ยังไม่งอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อควบคุมวัชพืชได้นาน ยิ่งขึ้น ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารกาจัดวัชพืช ประเภทก่อนงอกต่อการกาจัดวัชพืชในมะม่วง ดาเนินการทดลองระหว่างเดือนตุลาคม 2557-กันยายน 2558 ที่แปลงเกษตรกร อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี วางแผนการทดลอง แบบ RCBD มี 4 ซ้า 11 กรรมวิธี ได้แก่ การพ่นสาร glyphosate + diuron อัตรา 288+400 กรัมสารออกฤทธิ์ต่ อไร่ glyphosate + flumioxazin อัตรา 288+30 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + indaziflam อัตรา 288+12 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + penoxsulam อั ตรา 288+10 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + oxyfluorfen อัตรา 288+50 กรั ม สารออกฤทธิ์ ต่ อ ไร่ glyphosate + acetochlor อั ต รา 288+300 กรั ม สารออกฤทธิ์ ต่ อ ไร่ glyphosate + pendimethalin อัตรา 288+330 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + imazpic อัตรา 288+40 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อ ไร่ glyphosate อัตรา 288 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ พบว่า การพ่นสารคู่ผสม ระหว่างสาร glyphosate + imazpic, glyphosate + indaziflam และ glyphosate + flumioxazin มี ประสิท ธิภาพในการควบคุม วัชพื ชประเภทใบแคบและใบกว้างได้ดี ท าให้น้าหนัก แห้ง ของวัชพืชน้อยกว่า กรรมวิธีอื่น ๆ และยังสามารถควบคุมวัชพืชได้ถึง 3 เดือน อีกทั้งไม่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของมะม่วง คาสาคัญ : สวนมะม่วง สารกาจัดวัชพืช วัชพืช ไกลโฟเซต
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
367
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
ABSTRACT The big problem of weed control in huge mango orchards especially in rainy season is the rapidly emerge of new weeds. It’s more cost and labor in weed management .However, it is doubtful whether or not using post and pre-emergence herbicides together as post-emergence during this period could effectively control weeds. Therefore, the effective herbicides to extend the duration of control weed emergence and no effected on plant emergence should be recognized. Therefore, the objective of this research was to investigate the effect of herbicides application on weed control in Mangoes Plantation. The field experiments were conducted at Mueang district Kanchanaburi Province, during October 2014 – September 2015. The experiment laid out in RCB, composed with 4 replications, 11 treatments. The treatment were 1) glyphosate + diuron, 2) glyphosate + flumioxazin, 3) glyphosate + indaziflam, 4) glyphosate + penoxsulam, 5) glyphosate + oxyfluorfen, 6) glyphosate + pendimethalin, 7) glyphosate + acetochlor, 8) glyphosate + imazpic, 9) glyphosate, 10) hand weeding and 11) no weeding. The rates of herbicide application of treatments 1-9 were 288+400, 288+30, 288+12, 288+10, 288+50, 288+300, 288+330, 288+40 and 288 g(ai.)/rai., it was found that spraying with the mixture of glyphosate +diuron, glyphosate + imazpic, glyphosate + indaziflam and glyphosate + flumloxazin were the effective mixtures to control narrow and broad leaf weeds and getting the lower dry weight of weeds than others. Including they had the duration of weed controlling for 3 months so the weed was emerged later than others then they were not effected the mango growth. Keywords: mangoes plantation, herbicides, Weeds, glyphosate คานา ปัญหาการจัดการวัชพืชในพื้นที่ปลูกมะม่วงขนาดใหญ่ โดยเฉพาะในฤดูฝน คือ การงอกใหม่ของวัชพืช อย่างรวดเร็ว ทาให้มีการกาจัดวัชพืชหลายครั้ง ในรอบ 1 ปี เนื่องจากไม้ผลเป็นพืชที่มีอายุยาวบางชนิดเป็นไม้ ยืนต้นขนาดใหญ่ต้องใช้เวลาหลายปีทรงพุ่มจึงจะชิดกัน แต่บางชนิดทรงพุ่มไม่ชิดกันจึงมีพื้นที่ว่างระหว่างแถว ปลูกที่แสงสามารถส่องถึงผิวดินได้ทาให้เกิดปัญหาของวัชพืชตามมา ซึ่งเป็นทั้งวัชพืชฤดูเดียวหรือวัชพืชข้ามปี การจัดการวัชพืชจึงต้องทาอย่างต่อเนื่องเกษตรกรจะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการจัดการวัชพืชเพิ่ม ขึ้น เป็นการ สิ้นเปลือง เวลา ค่าใช้จ่าย และแรงงาน การใช้สารกาจัดวัชพืชน่าจะเป็นวิธีที่สามารถกาจัดวัชพืชที่งอกแล้ว และควบคุมวัชพืชที่ยังไม่งอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ สารกาจัดวัชพืชที่ใช้มีทั้งประเภทใช้ก่อนและหลังวัชพืช งอก แต่ก ารใช้ชนิดเดี่ยว ๆระยะเวลาการควบคุม วั ชพื ชอาจได้เพียง 1-2 เดือ น การใช้ส ารก าจัดวัชพืชทั้ ง ประเภทก่ อนและหลังวัชพื ชร่วมกั นจะท าให้ก ารควบคุม วัชพืชได้นานขึ้น และเป็นการประหยัดเวลาและ แรงงาน สารกาจัดวัชพืชที่ใช้มีทั้งประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอก เช่น diuron และmetribuzin ใช้หลังปลูกทันที่ 368
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
หรือ หลัง การไถพรวนดิ น ครั้ง ที่ ส อง ส่ วนสารก าจัด วัช พื ช ประเภทใช้ ห ลัง วัชพื ช งอก เช่ น glyphosate , glufosinate , paraquat และ imazapyr จะใช้เมื่อวัชพืชงอกแล้วมีความสูงไม่เกิน 30 เซนติเมตร (นิรนาม ,2554) อย่างไรก็ตามการใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทใช้หลังวัชพืชจะสามารถควบคุมวัชพืชได้ป ระมาณ 1-2 เดือนเท่านั้น เมล็ดวัชพืชที่มีอยู่ในดินจานวนมากจะงอกขึ้นมาอีกเกษตรกรต้องทาการกาจัดวัชพืชอีกครั้งอย่าง น้อย 2-3 ครั้งใน 1 ปี ซึ่งต้องเสียเวลา และค่าใช้จ่าย มากขึ้น ดังนั้นการใช้สารกาจัดวัชพืชประเภทใช้หลัง วัชพืชงอกร่วมกับประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอกจะทาให้การควบคุมวัชพืชได้ยาวนานมากขึ้น ซึ่งจะประหยัดเวลา และแรงงานและทาให้จานวนครั้งในการกาจัดวัชพืชในรอบ 1 ปีน้อยลง วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกั บสารกาจัดวัชพืช ประเภทก่อนงอก ต่อการกาจัดวัชพืชในมะม่วง และไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตมะม่วง วิธีดาเนินการ อุปกรณ์ - สวนมะม่วง อายุ 3-5 ปี - สารกาจัดวัชพืช ได้แก่ glyphosate 48%SL, diuron 80%WP, flumioxazin 50%WP, indaziflam 50%SC, penoxsulam 2.5%OD, oxyfluorfen 23.5%EC, acetochlor 50%EC, pendimethalin 33%EC, imazpic 24%SL - ปุ๋ยเคมี - เครื่องพ่นสารแบบโยกสะพายหลัง (knapsack sprayer) หัวพ่นรูปพัด - เครื่องชั่งตวงสารเคมี - ป้ายปักแปลง และถุงกระดาษ วิธีการ วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 4 ซ้า มี 11 กรรมวิธี ประกอบด้วย กรรมวิธี 1. glyphosate(48%SL) + diuron(80%WP) 2. glyphosate(48%SL) + flumioxazin (50%WP) 3. glyphosate(48%SL) + indaziflam (50%SC) 4. glyphosate(48%SL) + penoxsulam (2.5%OD) 5. glyphosate(48%SL) + oxyfluorfen (48%EC) 6. glyphosate(48%SL) + acetochlor (50%EC) 7. glyphosate(48%SL) + imazpic (24%SL) 8. glyphosate(48%SL) + pendimethalin(33%EC)
อัตราการใช้(กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่) 288+400 288+30 288+12 288+10 288+50 288+300 288+40 288+330
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
369
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
9. glyphosate(48%SL) 10.hand weeding 11. weedy check
OWA-03
288 -
วิธีดาเนินการทดลอง เลื อ กแปลงมะม่ ว งอายุ ไม่ เกิ น 5 ปี ที่ มี วัช พื ชขึ้ น สม่ าเสมอและวัช พื ชงอกมี ค วามสู ง ไม่ เกิ น 15 เซนติเมตร ใช้แปลงขนาด 8X8 เมตร พ่ นสารก าจัดวัชพืชตามกรรมวิธี และอัตราที่ ก าหนด ระหว่างแถว มะม่วง โดยใช้เครื่องพ่นสารแบบโยกสะพายหลัง(knapsack sprayer) หัวพ่นรูปพัด ใช้อัตราน้า 80 ลิตรต่อไร่ และตัดวัชพืชด้วยเครื่องตัดหญ้า 3 ครั้งทุก 30 วัน โดยครั้งแรกตัดหญ้าพร้อมกันกับวันพ่นสาร การบันทึกข้ อมูล ประเมิ นประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช : ที่ 15, 30 และ 60 วันหลังพ่นสารกาจัดวัชพืช โดยจาแนกวัชพืชเป็นประเภทใบแคบวงศ์หญ้า ประเภทใบกว้าง และประเภทกก โดยประเมินด้วยสายตาตาม ระบบการให้คะแนน 0-10 เมื่อเปรียบเทียบกับการกาจัดวัชพืชด้วยมือ ดังนี้ คะแนน 0=ไม่สามารถควบคุม วัชพืชได้ คะแนน 1-3=ควบคุม วัชพื ชได้เล็ก น้อย คะแนน 4-6= ควบคุม วัชพืชได้ป านกลาง คะแนน 7-9= ควบคุมวัชพืชได้ดี คะแนน 10=ควบคุมวัชพืชได้สมบูรณ์ และความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชต่อพืชปลูก : ที่ 15, 30 และ 45 วันหลังพ่นสารกาจัดวัชพืช โดยวิธีก ารประเมินด้วยสายตา ตามระบบการให้คะแนน 0-10 ดังนี้ คะแนน 0=ไม่เป็นพิษ คะแนน 1-3=เป็นพิษเล็กน้อย คะแนน 4-6=เป็นพิษปานกลาง คะแนน 7-9= เป็น พิษมาก คะแนน 10 =พืชปลูกตาย (กลุ่มวิจัยวัชพืช, 2554 ) สุ่มนับจานวนและน้าหนักแห้งของวัชพืช โดยการ สุ่มเก็บบันทึกข้อมูลทุกกรรมวิธี ๆ กรรมวิธีละ 2 จุด ด้วยกรอบสี่เหลี่ยม ขนาด 0.5 × 0.5 เมตร เมื่อ 30 วัน หลังใช้ส ารก าจัดวัชพื ช โดยจ าแนกเป็นประเภทใบแคบวงศ์ห ญ้า และประเภทใบกว้า ง และคิดต้นทุ นการ จัดการวัชพืชในแต่ละกรรมวิธี โดยคิดเฉพาะค่าใช้จ่ายในการกาจัดวัชพืชรวมไปถึงค่าจ้างพ่นสาร เวลาและสถานที่ ดาเนิน การทดลองระหว่างเดื อ นตุ ล าคม 2557-กั น ยายน 2558 ที่ แปลงเกษตรกร อาเภอเมื อ ง จังหวัดกาญจนบุรี ผลและวิจารณ์ผลการทดลอง ปริมาณและชนิดวัชพืชในแปลงไม่กาจัดวัชพืช วัชพืชที่พบในแปลงมะม่วงส่วนใหญ่เป็นวัชพืชประเภทใบกว้างมากกว่าวัชพืชประเภทใบแคบ ได้แก่ หญ้าขนเล็ก หญ้าตีนนก ตีนตุ๊กแก บานไม่รู้โรยป่า ผักโขมหิน ผักปลาบ และแห้วหมู (ตารางที่ 1)
370
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
ตารางที่ 1 ชนิดและปริมาณของวัชพืชในกรรมวิธีที่ไม่กาจัดวัชพืช ที่ระยะ 30 วันหลังใช้สารกาจัดวัชพืช ที่ แปลงทดลอง อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ชนิดวัชพืช วัชพืชประเภทใบแคบ - หญ้าตีนนก (Digitaria ciliaris (Retz.) Koel.) - หญ้าขนเล็ก (Brachiaria distachya (L.) Stapf) วัชพืชประเภทใบกว้าง - ตีนตุ๊กแก (Tridax procumbens L.) - บานไม่รู้โรยป่า (Gomphrena celosioides Mart.) - ผักโขมหิน (Boerhavia diffusa L.) วัชพืชประเภทกก - แห้วหมู (Cyperus rotundus L.) รวม
จานวนวัชพืช/ตร.ม.
เปอร์เซ็นต์
59.2 67.2
13.0 14.7
89.2 97.2 53.8
19.6 21.3 11.8
89.0 455.6
19.5 100.0
ความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชและประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืช การประเมินความเป็นพิษด้วยสายตาพบว่าการพ่นสารกาจัดวัชพืชคู่ผสมระหว่าง สาร glyphosate + diuron ,glyphosate + flumioxazin, glyphosate + penoxsulam glyphosate + oxyfluorfen glyphosate + acetochlor glyphosate + pendimethalin และglyphosate เดี่ ย ว ไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ มะม่วง ส่วนประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชโดยรวมจากการประเมินด้วยสายตาที่ระยะ 15, 30 และ 60 วัน หลังพ่น สาร พบว่า ที่ ร ะยะ 15 วันหลัง พ่ นสาร การพ่นสารก าจัดวัชพื ชคู่ผ สมระหว่างสาร glyphosate + diuron, glyphosate + indaziflam, glyphosate + flumioxazin glyphosate + penoxsulam glyphosate + imazapic สามารถควบคุมวัชพืชโดยรวมได้ดีถึงระยะ 60 วันหลังพ่นสาร แต่เมื่อประเมินเป็น ชนิดพบว่า การพ่ นสาร glyphosate + diuron glyphosate + indaziflam, glyphosate + flumioxazin glyphosate + penoxsulam glyphosate + imazapic สามารถกาจัดวัชพืช ได้แก่ หญ้าขนเล็ก หญ้าตีนนก ตีนตุ๊กแก บานไม่รู้โรยป่า ผักโขมหิน และแห้วหมู ได้ดี ซึ่งวัชพืชดังกล่าวเป็นวัชพืชเดิมที่งอกแล้ว โดยเฉพาะ การพ่นสาร glyphosate + imazapic สามารถก าจัดแห้ วหมู ได้ดี ในขณะที่ คู่ผ สมระหว่าง glyphosate + oxyfluorfen glyphosate + acetochlor glyphosate + pendimethalin มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการก าจั ด วัชพืชดังกล่าวได้ป านกลาง วัชพืชสามารถเจริญ เติบโตได้ตามปกติ แต่เมื่อพิจารณาถึ งประสิทธิภาพในการ ควบคุมวัชพืชที่ยังไม่งอกพบว่า ที่ระยะ 30 และ 60 วันหลังพ่นสาร การพ่นสารคู่ผสมระหว่าง glyphosate + indaziflam, glyphosate + flumioxazin glyphosate + penoxsulam glyphosate + imazapic ยั งไม่ พบการงอกใหม่ ข องวั ช พื ช แต่ ก ารพ่ นสาร glyphosate + oxyfluorfen glyphosate + acetochlor 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
371
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
glyphosate + pendimethalin เริ่มมีวัชพืชงอกขึ้นมาใหม่ สอดคล้องกับ Amit และ Hans (2012) ได้ใช้สาร ก าจัดวัชพื ช glyphosate อั ต รา 2 lb ai/acre ผสมกั บ สารก าจัดวัชพื ช indaziflam, penoxsulam และ flumioxazin อัตรา 0.065, 0.030 และ 0.015 lb ai/acre สามารถควบคุมวัชพืชได้นาน 4-5 เดือน ส่วนการ พ่นกาจัดวัชพืช glyphosate 48%SL เดี่ยว ๆ สามารถกาจัดวัชพืชได้ดีในช่วงแรก ๆ เช่นเดียวกับการรายงานของ Megh et al., (2011) รายงานว่าการใช้สาร saflufenacil หรือ glyphosate อย่างใดอย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียว จะมีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืช 70% เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้สารแบบผสมกันที่ ระยะ 60 และ 90 วันหลังการใช้สาร และเมื่อเพิ่มสารกาจัดวัชพืช pendimethalin ผสมลงไปจะให้ผลในการควบคุมวัชพืชได้ ดีกว่าการใช้ saflufenacil และ glyphosate เพียงสองชนิดผสมกันเช่นเดียวกับจารึก บุญศรีรัตน์. 2541 ได้ แนะนาให้ใช้สารกาจัดวัชพื ชแบบผสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืช เช่น ไกลโฟเซต+ไดแคมบา อัตรา 93.24+45.72 กรัม สารออกฤทธิ์ต่อไร่ เพื่อใช้กาจัดวัชพืชใบแคบและใบกว้าง ไกลโฟเซต+พิโคแรม อัตรา 96.8/10.6 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ เพื่อกาจัดวัชพืชใบแคบข้ามปี และวัชพืชใบกว้างประเภทเถาเลื้อย เป็นต้น (ตารางที่ 4) ตารางที่ 2 ความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชต่อมะม่วงและประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชโดยรวมในมะม่วง ที่แปลงทดลอง อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
กรรมวิธี
อัตราการใช้ (กรัมสารออก ฤทธิ์/ไร่)
1. glyphosate + diuron 2. glyphosate + flumioxazin 3. glyphosate + indaziflam 4. glyphosate + penoxsulam
288+400 288+30 288+12 288+10
5. glyphosate + oxyfluorfen 6. glyphosate + acetochlor 7. glyphosate + imazapic 8. glyphosate + pendimethalin 9. glyphosate 10.hand weeding 11.control
288+50 288+300 288+40 288+330 288 -
หมายเหตุ คะแนนประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช 4 – 6 = ควบคุมวัชพืชได้ปานกลาง
372
ความเป็นพิษของสาร กาจัดวัชพืชต่อมะม่วง 15 30 DAA DAA 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0
ประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชโดยรวม 15 DAA 9 9 8 8 7 6 7 7 8 10 0
30 DAA 8 9 8 9 7 6 9 7 8 10 0
0 = ไม่สามารถควบคุมวัชพืชได้
1 – 3 = ควบคุมวัชพืชได้เพียงเล็กน้อย
7 – 9 = ควบคุมวัชพืชได้ดี
10 = ควบคุมวัชพืชสมบูรณ์
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
60 DAA 7 8 8 8 6 6 9 6 7 10 0
90 DAA 6 7 7 8 6 4 8 6 7 10 0
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
จานวนต้นวัชพืชต่อตารางเมตร และนาหนักแห้งวัชพืช (กรัมต่อตารางเมตร) การสุ่มนับจานวนต้นวัชพืชเพื่อหาน้าหนักแห้งวัชพืช ที่ระยะ 30 และ 60 วันหลังพ่นสาร พบว่าการพ่น ส า ร คู่ ผ ส ม glyphosate + indaziflam, glyphosate + flumioxazin glyphosate + penoxsulam glyphosate + imazapic สามารถลดจานวนต้นวัชพืชและน้าหนักแห้งวัชพืชได้แก่ หญ้าขนเล็ก หญ้าตีนนก ตีนตุ๊กแก บานไม่รู้โรยป่า ผักโขมหิน และแห้วหมู น้อยกว่าแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีไม่ กาจัดวัชพืช โดยเฉพาะสารคู่ผสมระหว่าง glyphosate + imazapic สามารถลดจานวนต้นและน้าหนักแห้ง แห้วหมูได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับทุกกรรมวิธีที่ทดลอง (ตารางที่ 5,6) ซึ่งสอดคล้องกับ Amit J. Jhala et al., (2013) รายงานว่า การพ่นสารIndaziflam+saflufenacil + glufosinate มีประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืช ประเภทใบแคบและใบกว้างได้ดี สามารถลดจานวนต้นและน้าหนักแห้งวัชพืชลง 88 เปอร์เซ็นต์ แต่การพ่น pendimethalin + saflufenacil + glufosinate มี ค วามหนาแน่ น ของวั ช พื ช น้ อ ยที่ สุ ด เช่ น เดี ย วกั บ Anonymous, 2016 พบว่า การนาสาร Imazapic + glyphosate + diuron มาผสมกันสามารถลดจานวน ต้นและน้าหนักแห้งวัชพืชได้และควบคุมวัชพืชได้นานถึง 120 วันหลังพ่นสาร (ตารางที่ 4)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
373
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรกรไทย ”
OWA-03
ตารางที่ 3 ประสิทธิภาพของสารกาจัดวัชพืชคู่ผสมต่อการควบคุมวัชพืชจาแนกเป็นชนิดในแปลงมะม่วง ที่แปลงทดลอง อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี กรรมวิธี
ที่ระยะ 30 วันหลังพ่นสาร
อัตรา(กรัมสาร ออกฤทธิ์ต่อไร่)
DIGCI
BRADI
TRIPR
1. glyphosate + diuron 288+400 10 10 2. glyphosate + flumioxazin 288+30 10 10 3. glyphosate + indaziflam 288+12 10 10 4. glyphosate + penoxsulam 288+10 10 10 5. glyphosate + oxyfluorfen 288+50 8 8 6. glyphosate + acetochlor 288+300 8 8 7. glyphosate + imazapic 288+40 10 10 8. glyphosate + pendimethalin 288+330 10 10 9. glyphosate 288 10 10 10.hand weeding 10 10 11.control 0 0 หมายเหตุ คะแนนประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช 0 = ไม่สามารถควบคุมวัชพืชได้ 4 – 6 = ควบคุมวัชพืชได้ปานกลาง
7 – 9 = ควบคุมวัชพืชได้ดี
8 9 8 9 7 6 9 6 6 10 0
GOMCE BOEDI
ที่ระยะ 60 วันหลังพ่นสาร CYPRO
6 7 7 8 9 7 8 9 6 8 9 8 6 6 6 6 6 6 9 9 9 6 6 6 9 8 7 10 10 10 0 0 0 1 – 3 = ควบคุมวัชพืชได้เพียงเล็กน้อย
DIGCI
BRADI
10 10 10 10 8 8 10 10 10 10 0
10 10 10 10 8 8 10 10 10 10 0
TRIPR 7 7 7 8 6 6 8 5 7 10 0
GOMCE BOEDI 6 7 8 8 5 5 8 5 7 10 0
6 8 7 7 5 5 8 6 7 10 0
CYPRO 6 6 6 7 6 6 8 6 6 10 0
10 = ควบคุมวัชพืชสมบูรณ์
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
374
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
ตารางที่ 4 ผลของสารกาจัดวัชพืช ต่อจานวนต้นวัชพืช (ต้นต่อตารางเมตร) และนาหนักแห้งวัชพืช (กรัมต่อตารางเมตร) ในมะม่วง ที่ระยะ 30 วันหลังพ่นสาร ที่แปลง ทดลอง อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี กรรมวิธี 1. glyphosate + diuron 2. glyphosate + flumioxazin 3. glyphosate + indaziflam 4. glyphosate + penoxsulam 5. glyphosate + oxyfluorfen 6. glyphosate + acetochlor 7. glyphosate + imazapic 8. glyphosate + pendimethalin 9. glyphosate 10.hand weeding 11.control C.V.(%)
อัตรา(กรัมสาร ออกฤทธิ์ต่อไร่) 288+400 288+30 288+12 288+10 288+50 288+300 288+40 288+330 288 -
จานวนต้นวัชพืช(ต้นต่อตารางเมตร)
นาหนักแห้งวัชพืช (กรัมต่อตารางเมตร)
DIGCI
BRADI
TRIPR
GOMCE
BOEDI
CYPRO
DIGCI
BRADI
TRIPR
GOMCE BOEDI
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 5.2 a 5.8 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 59.2 b 107.98
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 7.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 67.2 b 89.00
17.2 a 11.8 a 5.2 a 2.0 a 19.0 a 35.8 b 2.0 a 27.8 b 31.8 b 0.0 a 89.2 c 98.33
33.0 b 12.0 a 4.0 a 2.0 a 74.5 c 30.0 b 3.0 a 45.0 b 12.0 a 0.0 a 97.2 c 78.08
19.0 ab 3.2 a 6.0 a 3.0 a 26.0 b 27.0 b 3.0 a 29.0 b 3.0 a 0.0 a 53.8 c 90.12
23.0 ab 17.0 ab 3.0 a 4.0 a 38.0 b 39.0 b 3.0 a 55.0 c 14.0 ab 0.0 a 89.0 c 56.44
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 17.8 b 20.1 b 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 65.0 c 111.31
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 14.2 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 97.4 b 120.40
11.6 a 8.3 a 8.0 a 1.8 a 33.0 b 55.5 b 1.0 a 36.9 b 49.3 b 0.0 109.2 c 87.78
28.0 ab 13.8 a 4.6 a 1.0 a 85.7 c 65.0 c 1.5 a 45.0 b 4.5 b 0.0 a 123.2 d 80.95
CYPRO
11.2 a 27.2 ab 2.9 a 15.1 a 2.6 a 42.3 b 0.9 a 2.2 a 12.0 a 69.7 c 20.4 b 63.6 c 2.1 a 1.6 a 26.0 b 72.5 c 9.0 a 19.5 a 0.0 a 0.0 a 79.6 c 102.5 c 93.72 79.50
1/
Means followed by the same letter in column are not significantly different at 5% level by DMRT DIGCI = Digitaria ciliaris (Retz.) Koel. (หญ้าตีนนก) GOMCE = Gomphrena celosioides Mart. (บานไม่รู้โรยป่า) BRADI = Brachiaria distachya (L.) Stapf (หญ้าขนเล็ก) BOEDI = Boerhavia diffusa (L.) (ผักโขมหิน) TRIPR =Tridax procumbens (L.) (ตีนตุ๊กแก) CYPRO = Cyperus rotundus (L.) (แห้วหมู)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
375
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-03
ตารางที่ 5 ผลของสารกาจัดวัชพืช ต่อจานวนต้นวัชพืช (ต้นต่อตารางเมตร) และนาหนักแห้งวัชพืช (กรัมต่อ ตารางเมตร) ในมะม่วง ที่ระยะ 60 วันหลังพ่นสาร ที่แปลง ทดลอง อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี จานวนต้นวัชพืช(ต้นต่อตารางเมตร)
อัตรา(กรัมสาร
กรรมวิธี
ออกฤทธิ์ต่อไร่)
1. glyphosate + diuron 2. glyphosate + flumioxazin 3. glyphosate + indaziflam 4. glyphosate + penoxsulam 5. glyphosate + oxyfluorfen 6. glyphosate + acetochlor 7. glyphosate + imazapic 8. glyphosate + pendimethalin 9. glyphosate 10.hand weeding 11.control C.V.(%)
288+400 288+30 288+12 288+10 288+50 288+300 288+40 288+330 288 -
DIGCI
BRADI
TRIPR
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 8.7 a 9.3 a 0.0 a 0.0 a 6.7 a 0.0 a 62.7 b 47.90
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 14.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 90.7 b 63.40
30.7 ab 83.3 c 25.3 ab 21.3 ab 18.7 ab 8.7 a 17.0 ab 4.0 a 26.0 ab 98.0 d 69.3 c 38.0 b 6.0 a 7.0 a 47.3 b 28.7 ab 65.3 c 42.0 b 0.0 a 0.0 a 102.7 d 120.7 d 58.78 73.50
1/
GOMCE
นาหนักแห้งวัชพืช (กรัมต่อตารางเมตร)
BOEDI
CYPRO
DIGCI
38.0 b 12.7 a 9.3 a 8.0 a 25.0 b 26.0 b 5.0 a 34.0 b 12.0 a 0.0 a 63.3 c 72.02
30.7 ab 49.3 b 56.0 bc 16.0 a 48.7 b 41.3 b 4.0 a 97.3 c 18.7 a 0.0 a 122.7 c 55.72
0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 7.8 a 0.0 a 5.3 a 12.5 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 12.1 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 84.9 b 119.9 b 21.31 120.40
Means followed by the same letter in column are not significantly different at 5% level by DMRT DIGCI = Digitaria ciliaris (Retz.) Koel. (หญ้าตีนนก) GOMCE = Gomphrena celosioides Mart. (บานไม่รู้โรยป่า) BRADI = Brachiaria distachya (L.) Stapf (หญ้าขนเล็ก) BOEDI = Boerhavia diffusa (L.) (ผักโขมหิน) TRIPR =Tridax procumbens (L.) (ตีนตุ๊กแก) CYPRO = Cyperus rotundus (L.) (แห้วหมู)
376
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
BRADI
TRIPR
GOMCE
BOEDI
CYPRO
15.2 ab 20.5 ab 12.3 a 22.0 ab 31.0 b 71.5 c 2.0 a 55.1 bc 80.8 c 0.0 a 121.8 d 87.78
33.2 b 22.6 ab 48.3 b 8.6 a 18.0 ab 56.1 b 5.5 a 2.7 a 71.8 c 3.4 a 4.5 a 10.2 a 89.2 c 30.0 b 33.6 b 25.6 ab 37.7 b 38.5 b 3.5 a 4.5 a 2.6 a 33.3 b 41.0 b 45.5 b 34.4 b 20.0 ab 29.9 ab 0.0 a 0.0 a 0.0 a 118.5 c 88.7 c 99.8 c 80.95 93.72 79.50
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรกรไทย ”
OWA-03
ต้นทุนการจัดการวัชพืช การคิดต้นทุนการกาจัดวัชพืชจะเห็นได้ว่าการกาจัดวัชพืชด้วยมือ (แรงงาน) มีต้นทุนการจัดการวัชพืช มากที่สุด เฉลี่ยไร่ละ 1,500 บาท (ค่าจ้างเหมาแรงงานวันละ 500 บาท/ไร่) เมื่ อเปรียบเทียบกับการใช้ส าร กาจัดวัชพืชและเมื่อพิจารณาต้นทุนการพ่นสารกาจัดวัชพืช (รวมถึงค่าจ้างพ่นสารถังละ 30 บาท) แต่ละชนิด ร่วมกับ ประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชได้ดีและยาวนาน พบว่า การพ่นสารคู่ผสมระหว่าง glyphosate + indaziflam, glyphosate + flumioxazin และ glyphosate + imazapic มี ต้นทุ นการกาจัดวัชพืชเฉลี่ย ระหว่าง 368-522 บาทต่อไร่ ซึ่งมีต้นทุนการจัดการวัชพืชต่าที่สุดเมื่อเปรีย บเทียบกับทุกรรมวิธีที่มีการกาจัด วัชพืช ส่วนการพ่นสารคู่ผสมระหว่าง glyphosate + penoxsulam มีประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชได้ดีแต่ เมื่อพิจารณาถึงต้นทุ นการจัดการวัชพื ชถือว่ามีต้นทุนสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกั บกรรมวิธีการพ่นสารคู่ผสม ข้างต้น แต่ก็ยังน้อยกว่าการกาจัดวัชพืชด้วยมือ (แรงงาน)การลดต้นทุนในการกาจัดวัชพืชลงนั้น หมายถึงกาไร สุทธิที่เกษตรกรจะได้รับเพิ่มขึ้นจากวิธีการเดิม ๆ ที่เคยปฏิบัติมา และการเลือกใช้สารกาจัดวัชพืชแต่ละชนิด ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่ (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการจัดการวัชพืชในแต่ละกรรมวิธี (บาท/ไร่) กรรมวิธี 1. glyphosate + diuron 2. glyphosate + flumioxazin 3. glyphosate + indaziflam 4. glyphosate + penoxsulam 5. glyphosate + oxyfluorfen 6. glyphosate + acetochlor 7. glyphosate + imazapic 8. glyphosate + pendimethalin 9. glyphosate 10.hand weeding 11.control
อัตรา ต้นทุนการจัดการวัชพืช (กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่) (บาท/ไร่) 288+400 244 288+30 522 288+12 378 288+10 1,162 288+50 248 288+300 252 288+40 368 288+330 404.5 288 138 1,500 -
หมายเหตุ ค่าพ่นยาไร่ละ 30 บาท
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
377
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรกรไทย ”
OWA-03
สรุปผลการทดลองและคาแนะนา ก า ร พ่ น ส า ร คู่ ผ ส ม ร ะ ห ว่ า ง glyphosate + imazapic, glyphosate + indaziflam แ ล ะ glyphosate + flumioxazin พ่นระหว่างแถวมะม่วง และวัชพืชมีความสูงไม่เกิน 15 เซนติเมตร ไม่พบความ เป็นพิษต่อมะม่ วงหลัง พ่ นสาร และการพ่ นสารคู่ผ สมดั งกล่า วมี ป ระะสิท ธิภาพในการก าจัด วัชพื ช ได้ดี ไม่ แตกต่างกั น แต่ถ้าในกรณี ที่ ในแปลงมี แห้วหมู ระบาด แนะนาให้ ใช้ส ารก าจัดวัชพืชคู่ผสม glyphosate + imazapic เพราะมีประสิทธิภาพในการกาจัดแห้วหมูได้ดีและยาวนาน ฉะนั้นการเลือกวิธีการควบคุมวัชพืชจึง ขึ้นอยู่กับชนิดวัชพืช ความสะดวกและความสามารถในการจัดการของเกษตรกรแต่ล่ะรายว่าจะเลือกวิธีการใด ที่มีต้นทุนการผลิตน้อยที่สุด เอกสารอ้างอิง กลุ่มวิจัยวัชพืช .2554. คาแนะนาการควบคุมวัชพืชและการใช้สารกาจัดวัชพืช. สานักวิจัยพัฒนาการ อารักขา พืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 149 หน้า. จารึก บุญศรีรัตน์. 2541. การจัดการวัชพืชในสวนยางพารา. สถาบันวิจัยยาง. กรมวิชาการเกษตร. หน้า 16 Amit J. J. and B.D. Hans. 2012. Weed control tank mixed with indaziflam or penoxsulam in California orchards and vineyards. Available at URL http://ucanr.org/blogs/UCDWeedScience/blogfiles/6258.pdf Accessed on 29/8/ 2019 Anonymous.2016. Combinations of diuron, flumioxazin, glyphosate, and sulfentrazone for total vegetation control. Available at URL https://weedscience.ca.uky.edu/files/imazapic_total_vegetation_control.pdf (9 sep 2019) Anonymous.2012. Introduction of indaziflam for weed control in fruit, nut and grape crops. Available at URL : http://www.ncwss.org/proceed/2009/Abstracts/164.pdf Accessed on 29/8/ 2019 Megh Singh, Mayank Malik, Analiza H.M. Ramirez, and Amit J. Jhala.2011. Tank Mix of saflufenacil with glyphosate and pendimethalin for broad-spectrum weed control in Florida citrus. HortTechnology, October 2011 : 21(5), 606-615.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
378
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
ผลของการใช้สารก้าจัดวัชพืชผสมกับสารก้าจัดเพลี้ยไฟในข้าวนาหว่านน้้าตม ที่มีผลต่อหญ้าข้าวนก Efficacy of Herbicide and Insecticide Mixture for Control Echinochloa crus-galli (L.) T. Beauv ยุรวรรณ อนันตนมณี ธีรทัย บุญญะปะภา และ ปรัชญา เอกฐิน Yurawan Anantanamanee Teerathai Boonyaphapa and Pruchya Ekkathin ส้านักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ เกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้สารกาจัดวัชพืชแบบพ่นหลังวัชพืชงอกผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟในนาข้าว ผสมฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน เพื่อประหยัดต้นทุน ซึ่งอาจมีผลต่อประสิทธิภาพสาร จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่ ปลูกข้าวในพื้นที่ภาคกลาง จานวน 150 ราย พบว่า มีเกษตรกรถึง 77.3 เปอร์เซ็นต์ ที่มีพฤติกรรมการใช้สาร กาจัดวัชพืชประเภทพ่นหลังวัชพืชงอกผสมกับสารกาจัดเพลีย้ ไฟฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน ให้เหตุผลว่า การใช้สาร ก าจั ดวัชพืชผสมกั บ สารก าจัดเพลี้ยไฟในนาข้าวเป็นการลดต้ นทุ น ในการผลิต และประหยัดเวลาในการ ปฏิบัติงาน เกษตกรกลุ่มนี้ยังคงปฏิบัติเช่นเดิมต่อไป เพราะไม่พบว่าการใช้สารแบบผสมมีผลกระทบต่อต้นข้าว และทาให้ประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชและเพลี้ยไฟด้อยลง ผลการทดลองพบว่า การใช้สารกาจัดวัชพืชผสม กับสารกาจัดเพลี้ยไฟยังคงมีประสิทธิภาพในการกาจัดหญ้าข้าวนกได้ในระดับดี ที่ระยะ 15 และ 30 วันหลัง พ่นสาร และไม่มี ความเป็นพิ ษต่อ ต้นข้าว ยกเว้นกรรมวิธีการพ่น สาร propanil ซึ่งข้าวจะมี อาการใบไหม้ เล็กน้อย เป็นอาการเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืช propanil การใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟใน นาข้าวมีผลทาให้จานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟน้อยกว่าและแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกับ กรรมวิธีไม่พ่นสาร ซึ่งหากเกษตรกรยังคงต้องการปฏิบัติเช่นเดิม จาเป็นต้องมีการจัดอบรม และให้ความรู้เรื่อง ของการใช้สารอย่างถูกต้องปลอดภัย และหลักของการผสมสารให้ถูกต้อง ค้าส้าคัญ : สารกาจัดวัชพืช สารกาจัดเพลี้ยไฟ สารผสม ABSTRACT The data from farmers interview were developed and disseminated to 150 farmers from 3 province in the center of Thailand. The result show 77.3% of farmer were apply herbicide mixing with insecticide. In farmers reason, herbicide and insecticide mixing are reduce cost of production and timesaving. Farmers are still and keep going to apply herbicide plus insecticide for control weed and Thrips. in paddy field because did not affect 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
379
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
to herbicide efficacy for weed control and efficacy of insecticide control on Thrips., according to the result of the experiment after applied herbicide and insecticide mixing show the moderately to good efficacy (visual rating) for control Echinochloa crus-galli (L.) P.Beauv. and no phytotoxic on rice except treatment of insecticide plus propanil are moderately to severely toxic but the injury based on effect of herbicide. In addition, the result show number of Thrips in juveniles and adult stage after application at 7 and 14 days are significantly less than untreated control. Keywords: Herbicide, Insecticide, Pesticide tank mix ค้าน้า เกษตรกรมี ก ารใช้ส ารก าจัดวัชพื ชอย่างแพร่ห ลาย เพื่อทดแทนแรงงานที่ ขาดแคลนและมี ค่าจ้าง แรงงานที่ สูงขึ้น เกษตรกรหลายรายมี การนาเอาสารก าจัดวัชพืชอย่างน้อย 2 ชนิด มาผสมลงในถังพ่นเอง (tank mix) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชให้ดีขึ้น และวัตถุประสงอีกอย่างหนึ่ง คือ ต้องการลดจานวนครั้งในการพ่นสาร ซึ่งมีผลต่อต้นทุนในการผลิตของเกษตรกรที่จะเพิ่มขึ้นด้วย จากการ ลงพื้นที่และสอบถามเกษตรกรทาให้ทราบว่าที่ผ่านมาจนถึง ณ ปัจจุบันเกษตรจานวนมากมีการใช้สารกาจัด วัชพืชแบบผสม (tank mix) และมีการนาเอาสารกาจัดแมลงผสมเพิ่มเข้าไป เพื่ อฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน ซึ่งจะ พบมากในเกษตรกรที่ทานาข้าวโดยเฉพาะในพื้นที่ภาคกลาง ที่มีการนาเอาสารกาจัดวัชพืชประเภทพ่นหลัง วัชพืชงอก เช่น propanil, pyrazonsulfuron-ethyl, cyhalofop-butyl และ bispyribac sodium เป็นต้น ซึ่งจะพ่นประมาณ 10-15 วันหลังหว่านข้าว ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เพลี้ยไฟข้าวมักลงทาลายข้าวพอดี เกษตรกรจึง เลือกที่จะผสมสารกาจัดเพลี้ยไฟลงไปในถังพ่นด้วย เพื่อต้องการลดขั้นตอนการทางาน และประหยัดต้นทุน เมื่อพฤติกรรมของเกษตรกรที่มีการใช้สารผสมแบบนี้มานาน และมีความต้องการใช้ต่อไป จึงควรมี การศึกษา ผลกระทบของสารของการใช้สารก าจั ดวัชพืชผสมกับ สารก าจัดเพลี้ยไฟในนาข้าว เพื่อเป็นแนวทางในการ เลือกใช้สารคู่ผสมที่เหมาะสมต่อการจัดการวัชพืชและเพลี้ยไฟต่อไป ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่าการใช้สารกาจัด วัชพืชในนาข้าว เช่น สาร propanil หรือสารกาจัดวัชพืชที่มี propanil ผสมอยู่ ห้ามใชสารกาจัดแมลง กลุ่ม carbamate และ กลุ่ม organophosphate ในช่วงก่อนพ่นและหลังพ่นสาร 7 วัน เนื่องจากจะทาให้เกิดความ เป็นพืษต่อพืชปลูก (กลุ่มวิจัยวัชพืช, 2554) อีกทั้งทางกรมวิชาการเกษตรไม่แนะนาในการใช้สารกาจัดวัชพืช ผสมกับสารกาจัดแมลง เนื่องจาการสารแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกต่างกัน ซึ่งการใช้สาร 2 ชนิดขึ้นไปผสม กั นอาจท าให้ ป ระสิท ธิภาพสารแตกต่างกั น ไปใน 3 ลัก ษณะดัง นี้ 1. ประสิท ธิภ าพคงเดิม ไม่ มี ผ ลต่ อกั น (independent action) 2.ประสิท ธิภาพลดลง ส่งผลต่อประสิทธิภาพเดิ ม (antagonistic action) 3. เสริม ประสิทธิภาพของกันและกัน ดีกว่าสภาพการใช้แบบเดี่ยว (synergistic action) (พรชัย, 2540) งานวิจัยนี้มี มุ่งเน้นการศึกษาความเข้ากันได้ของสารเพื่อใช้เป็นข้อมูลรองรับพฤติกรรมการใช้สารกาจัดวัชพืชในการจัดการ วัชพืชผสมเพลี้ยไฟในนาข้าวของเกษตรกร 380
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสติ ธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์ 1. สารกาจัดวัชพืช ได้แก่ propanil 36% EC, pyrazonsulfuron-ethyl 10% WP, quinclorac 25% SC, cyhalofop-butyl 10% EC, penoxulam 2.5% OD, pyribenzoxim 5% EC และ bispyribac sodium 10% SC 2. สารฆ่าแมลงที่ใช้ในการป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟ ได้แก่ carbaryl 85% WP, fipronil 5% SC, thaiacloprid 24% SC 3. บีเกอร์ และแท่งคนสาร 4. ถังพ่นสารกาจัดวัชพืช 5. กระบะพลาสติกใส่ดิน 6. ดินนา 7. เมล็ดหญ้าข้าวนก และเมล็ดข้าวสาหรับทดลอง การทดลองผลของการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ ยไฟในข้าว นาหว่านน้าตมที่มีผลต่อ หญ้าข้าวนก ประกอบด้วยขั้นตอนดาเนินการ 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 (ปี 2559) สารวจและเก็บข้อมูลจากการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดแมลง ของเกษตรกรในพื้นที่ภาค กลาง เพื่อเป็นข้อมูลพฤติกรรมในการใช้สารและสถานการณ์การใช้สารแบบผสมของเกษตรกรในปัจจุบัน การบันทึกข้อมูล บันทึกข้อมูลพฤติกรรมการใช้สารแบบผสมของเกษตรกรในพื้นที่ ขั้นตอนที่ 2 (ปี 2559) ท าการศึก ษาความเข้ากั นได้ของสารก าจัดวัชพืชผสมกั บ สารก าจัดแมลง ใช้วิธีก าร Jar test ของ O’Connor-Marer (2000) ผสมสารทั้งสองในอัตราสูงสุดที่แนะนาแบบสารเดี่ยวโดยผสมสารตามกรรมวิธีลงใน บีกเกอร์ (beaker) ปริมาตร 500 มิลลิลิตร ผสมไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 15 นาที การบันทึกข้อมูล - บันทึกการแยกชั้นที่เห็นด้วยสายตาเป็นเกณฑ์ตัดสินถึงการเข้ากันได้ของสาร - บันทึ ก ลัก ษณะของเนื้อ สาร เช่น การตกตะกอน การแยกชั้ นของสาร สี การเกิดสารแขวนลอย เปรียบเทียบกับการผสมสารในน้ากลั่น 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
381
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
ขั้นตอนที่ 3 (ปี 2560) แบบการวิจัย ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลของสารกาจัดวัชพืชทั้งหมด 9 ชนิด ผสมกับ และสารกาจัดแมลง 3 ชนิด ใช้อัตราตามคาแนะนา โดยดาเนินการทดลองในโรงเรือนของกลุ่ ม วิจัยวัชพื ช โดยเตรียมพืชปลูกในกระบะ พลาสติก ขนาดประมาณ 25 x 30 เซนติเมตร ที่สามารถเก็บน้าได้ โดยใช้ดินนาสาหรับปลูกข้าว จานวน 144 กระบะ ทาการหว่านเมล็ดข้าวจานวน 50 เมล็ด ต่อกระบะ และเมล็ดวัชพืช หญ้าข้าวนก จานวน 50 เมล็ด ต่อ กระบะ หลังหว่านข้าวที่ระยะ 15 วัน ทาการพ่นสารกาจัดวัชพืชที่ผสมกับสารกาจัดแมลง โดยเลือกสารกาจัด วัชพืชที่ใช้ในการกาจัดวัชพืชในข้าวนาหว่านน้าตมที่มีช่วงเวลาในการใช้สารหลังหว่านข้าวประมาณ 10 – 15 วัน ซึ่งในระยะนี้เป็นช่วงเวลาที่เพลี้ยไฟ มีการเข้าทาลายต้นข้าวและเกษตรกรมักพ่นสารกาจัดเพลี้ยไฟในช่วง ระยะเวลาเดียวกัน วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 3 ซ้า มี 22 กรรมวิธี ดังนี้ Treatment 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 382
Herbicide propanil 36% EC propanil 36% EC propanil 36% EC pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC Untreated control
Rate (gai/rai) 320 320 320 4 4 4 120 120 120 16 16 16 3 3 3 5 5 5 6 6 6 -
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสติ ธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + +
Insecticide
Rate
carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC -
30 8 3 30 8 3 30 8 3 30 8 3 30 8 3 30 8 3 30 8 3 -
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
การบันทึกข้อมูล 1. ประสิท ธิภาพการควบคุม วัชพื ช: ให้คะแนนโดยวิธีป ระเมิ นด้วยสายตาตามระบบ 0 - 10 ตาม ลักษณะที่ปรากฏดังนี้ 0 = ควบคุมไม่ได้ (no control) 1-3 = ควบคุมได้เล็กน้อย (slightly control) 4-6 = ควบคุมได้ปานกลาง (moderately control) 7-9 = ควบคุมได้ดี (good control) 10 = ควบคุมได้สมบูรณ์ (completely control) บันทึกข้อมูล 3 ครั้ง ที่ระยะ 15, 30 และ 60 วันหลังใช้สารและทาการนับจานวนต้นวัชพืชที่รอดตาย 2. ความเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืชต่อพืชปลูก ให้คะแนนโดยวิธีประเมินด้วยสายตา ตามระบบ 0 10 ตามลักษณะที่ปรากฏดังนี้ 0 = ไม่เป็นพิษ (normal) 1-3 = เป็นพิษเล็กน้อย (slightly toxic) 4-6 = เป็นพิษปานกลาง (moderately toxic) 7-9 = เป็นพิษรุนแรง (severely toxic) 10 = พืชปลูกตาย (completely killed) บันทึกข้อมูล 3 ครั้ง ที่ระยะ 15, 30 และ 60 วันหลังใช้สารกาจัดวัชพืช และบันทึกลักษณะความเป็น พิษที่เกิดขึ้นกับพืชปลูก 3. การเจริญเติบโตของพืชปลูก: จานวนใบ ความสูงต้น การแตกกอ เป็นต้น ที่ 15, 30 และ 60 วัน การวิเคราะห์ข้อมูล นาระดับคะแนนมาทาการวิเคราะห์ผลทางสถิติและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) เวลาและสถานที่ ดาเนินการทดลองระหว่าง ปี 2559-2560 ณ ห้องปฏิบัติการ และโรงเรือน กลุ่มวิจัยวัชพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช และ นาข้าวของเกษตรกร ผลและวิจารณ์ จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่ปลูกข้าวในจังหวัดนครนายกจานวน 34 รายและปทุมธานีจานวน 36 ราย และสุพรรณบุรีจ านวน 80 ราย รวมทั้ งสิ้น 150 ราย พบว่า เกษตรกรจ านวน 116 ราย คิดเป็น 77.3 เปอร์เซ็นต์ของเกษตรกรทั้งหมด มีพฤติกรรมในการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟ และเกษตรกร จานวน 34 ราย คิดเป็น 22.6 เปอร์เซ็นต์ไม่ใช้สารกาจัดวัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟ (Table 1) จาก การสัมภาษณ์เกษตรกรที่ใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลีย้ ไฟ ทาให้ทราบว่า เกษตรกรมีพฤติกรรมการ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
383
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
ใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟมาไม่น้อยกว่า 5 ปี และจะยังคงปฏิบัติเช่นเดิม เนื่องจากยังไม่ พบว่าการใช้สารแบบผสมมีผลกระทบต่อต้นข้าว และทาให้ประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชและเพลีย้ ไฟด้อยลง นอกจากนี้เรื่องของต้นทุนในการฉีดพ่นเป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทาให้เกษตรกรยังคงใช้สารแบบผสมต่อไป จาก ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์สามารถแบ่งเหตุผลของเกษตรกรได้ 2 ข้อด้วยกัน ดังนี้ 1. เกษตรกรจานวน 102 ราย คิดเป็น 87.9 เปอร์เซ็นต์ จากจานวนเกษตรกรที่มีการใช้สารผสม ให้เหตุผลว่า การใช้สารกาจัดวัชพืชผสม กับ สารก าจัดเพลี้ยไฟในนาข้าวเป็นการลดต้นทุ นในการผลิต และประหยัดเวลาในการปฏิบัติงาน ข้อที่ 2. เกษตรกรจานวน 14 ราย คิดเป็น 12.1 เปอร์เซ็นต์ ให้เหตุผลว่า หากไม่ผสมสารกาจัดเพลี้ยไฟจะทาให้เพลี้ย ไฟระบาดรุนแรงและจัดการไม่ทัน (Table 2) ท าการศึก ษาความเข้ากั นได้ของสารก าจัดวัชพืชผสมกั บ สารก าจัดแมลง ใช้วิธีก าร Jar test ของ O’Connor-Marer (2000) ผสมสารทั้งสองในอัตราสูงสุดที่แนะนาแบบสารเดี่ยวโดยผสมสารตามกรรมวิธีลงใน บีกเกอร์ (beaker) ปริมาตร 500 มิลลิลิตร ผสมไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 15 นาที พบว่า penoxulam + carbaryl และ penoxulam + thiacloprid เมื่อนามาผสมกันแล้วจะเกิดเป็นตะกอนแขวนลอย และมีผลึก ลอยอยู่บนผิวหน้าของสารละลาย เมื่อผสมและตั้งทิ้งไว้ 15 นาที (Table 4) หลังจากทาการทดสอบความเข้ากันได้ของสารคูผ่ สมระหว่างสารกาจัดวัชพืชและสารกาจัดเพลี้ยไฟ ในห้องปฏิบัติการแล้ว ได้ดาเนินการทดสอบประสิทธิภาพของสารคู่ผสมในการควบคุมวัชพืช ได้แก่ หญ้า ข้าวนก และทดสอบความเป็นพิษต่อพืชปลูก พบว่า สารคูผ่ สมทุกคู่ผสม มีประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชได้ดี หลังพ่นสารทีร่ ะยะ 7-15 วัน ไม่พบอาการเป็นพิษต่อต้นข้าว ยกเว้นสารกาจัดวัชพืช propanil 36% EC +carbaryl 85% WP มีความเป็นพิษต่อต้นข้าวรุนแรง คะแนนที่ได้จากการประเมินความเป็นพิษอยูท่ ี่ 7 คะแนน ส่วน propanil 36% EC + fipronil 5% SC และ propanil 36% EC + thiacloprid 24% SC มี อาการเป็นพิษปานกลาง คะแนนที่ได้จากการประเมินความเป็นพิษอยู่ที่ 4 และ 5 คะแนนตามลาดับ ประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืช ระยะ 15 และ 30 วัน พบว่า สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟทุก คู่ผสม มีประสิทธิภาพในการกาจัดหญ้าข้าวนกได้ในระดับปานกลางถึงดี (Table 5) นอกจากนี้ได้ท าการทดลองประสิท ธิภาพสารก าจัดวัชพืชผสมกั บสารกาจัดเพลี้ยไฟ เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพในการกาจัดเพลี้ยไฟในนาข้าว โดยทาการทดลองในนาข้าวของเกษตรกร จังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างเดือนมีนาคม 2561 จานวน 1 แปลงทดลอง โดยทาการสุ่มนับจานวนตัวอ่อ นและตัวเต็มวัยของเพลี้ย ไฟก่อนทาการพ่นสาร โดยสุ่มซ้าละ 40 ต้น เมื่อข้าวอายุ 10 วันหลังหว่าน พบ จานวนตัวอ่อนเพลี้ยไฟเฉลี่ย 4.9 ตัวต่อต้น และตัวเต็มวัยเฉลี่ย 7.2 ตัวต่อต้น ทาการพ่นสารตามกรรมวิธี ที่ระยะ 12 วันหลังหว่านข้าว จากนั้น ทาการสุ่มนับจานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟ ที่ระยะ 7 และ 14 วันหลังพ่นสาร พบว่า ทุก กรรมวิธีที่พ่นสารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลีย้ ไฟมีจานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟน้อยกว่าและ แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธีที่ไม่พ่นสาร โดยพบว่า ที่ระยะ 7 วันหลังพ่นสาร ทุกกรรมวิ ธีที่พ่น สารมีจานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเพลี้ยไฟเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.3-2.0 และ 0.1-0.2 ตัวต่อต้น ตามลาดับ ส่วน กรรมวิธีที่ไม่พ่นสารมีจานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟเฉลี่ย 22.3 และ 8.8 ตัวต่อต้น ตามลาดับ ที่ 384
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสติ ธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
ระยะ 14 วันหลังพ่นสาร ทุกกรรมวิธีที่พ่นสารมีจานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเพลีย้ ไฟเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.3-1.0 และ 0.0 ตัวต่อต้น ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีที่ไม่พ่นสารมีจานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเพลี้ยไฟเฉลี่ย 31.3 และ 7.7 ตัวต่อต้น ตามลาดับ จากผลการทดลองทาให้ทราบว่า การใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟใน นาข้าวยังคงมีประสิทธิภาพในการกาจัดเพลี้ยไฟทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัยได้ดีกว่ากรรมวิธีไม่พ่นสาร ซึ่ง สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่มีพฤติกรรมในการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัด เพลี้ยไฟ ฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน ว่าการใช้สารแบบผสมไม่มีผลกระทบต่อต้นข้าว และทาให้ประสิทธิภาพในการ กาจัดวัชพืชและเพลี้ยไฟด้อยลง เกษตรกรจึงยังคงปฏิบัติเช่นเดิมต่อไป (Table 6 and 7) Table 1 Number of farmers there apply are herbicide and insecticide mixture in paddy field Practice Apply herbicide and insecticide mixture Non- apply herbicide and insecticide mixture Total
Number of farmer 116 34 150
% 77.3 22.6 100.0
Table 2 Farmer reason for apply herbicide and insecticide mixture in paddy field The farmer reason for apply Number of Farmer 1. Reduce cost and timesaving 102
% 87.9
2. Protection Total
14 116
12.1 100.0
1. Never done and Cumbersome
12
35.3
2. Not found a Thrips. in paddy field
16
47.1
3. Don’t have a money to buy the insecticide
6
17.6
Total
34
100.0
The farmer reason for non-apply
Table 3 Stage of rice are farmers applied the herbicide and insecticide mixture in paddy field Stage of rice Number of Farmer % (Day after sowing) 0-4 4 3.4 5-7 49 42.3 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
385
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
8-15 Total
63 116
54.3 100.0
Table 4 Miscibility testing of herbicide and insecticide mixture. Herbicide Insecticide 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 386
propanil 36% EC propanil 36% EC propanil 36% EC pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC butachlor 60% EC butachlor 60% EC butachlor 60% EC pretilachlor 30% EC pretilachlor 30% EC
+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + +
OWA-04
carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสติ ธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
Miscibility miscible
immiscible
-
Remark
Suspension Precipitate
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
Herbicide 27 pretilachlor 30% EC 28 Untreated
Insecticide
OWA-04
Miscibility
Remark
miscible
immiscible
-
-
+ thiacloprid 24% SC
Table 5 Phytoxic and Efficacy of herbicide and insecticide mixture for control Echinochloa crus-galli (L.) T. Beauv. At 15 and 30 after application in green house condition. Treatment Herbicide Insecticide Phytotoxic Efficacy 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 Remark
propanil 36% EC propanil 36% EC propanil 36% EC pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC Untreated Control
+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + +
carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC
15 DAA
15 DAA
30 DAA
7 4 5 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 1 2 0 2 1 0 0 0 0
10 10 10 6 5 5 9 9 8 7 7 8 5 6 6 6 7 6 6 5 5 0
8 8 8 5 4 4 7 7 7 6 7 7 3 6 6 5 6 6 5 4 5 0
DAA = Day After Application 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
387
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
Phytotoxic 0 = normal, 1-3 = slightly toxic, 4-6 = moderately toxic, 7-9 = severely toxic, 10 = completely kill Efficacy 0 = no control, 1-3 = slightly control, 4-6 = moderately control, 7-9 = good control 10 = completely control
Table 6 Number of Thrips. at juveniles stage before and after application in paddy field. Treat ment
Herbicide
Insecticide
Number of Thrips. before application
propanil 36% EC propanil 36% EC propanil 36% EC pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC Untreated Control
+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + -
carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC -
CV (%) 1/
(No./plant)
4.6 5.2 4.8 4.8 4.9 5.2 4.9 4.9 4.7 4.6 5.2 4.8 4.7 5.1 4.8 4.7 5.0 4.6 5.0 5.1 4.8
7 DAA 0.3 a 1.0 a 0.7 a 0.3 a 1.0 a 1.7 a 2.0 a 1.3 a 1.3 a 1.7 a 1.7 a 1.3 a 2.0 a 1.3 a 0.3 a 1.3 a 1.3 a 1.0 a 1.7 a 1.3 a 1.7 a 22.3 b
14 DAA 0.3 a 0.3 a 0.7 a 0.0 a 0.7 a 0.3 a 0.7 a 0.7 a 1.0 a 0.3 a 0.0 a 0.7 a 0.3 a 0.7 a 0.7 a 1.0 a 1.0 a 0.0 a 0.7 a 0.7 a 0.7 a 31.3 b
8.69
55.48
114.17
(No./plant)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
Number of Thrips. after application
4.9ns
Number followed by the same letter or no letter in a column are not significantly different at the 0.05 according to Duncan’s test.
388
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสติ ธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
Table 7 Number of Thrips. at adult stage before and after application in paddy field. Treat ment
Herbicide
Insecticide
Number of Thrips. before application
propanil 36% EC propanil 36% EC propanil 36% EC pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP pyrazosulfuron-ethyl 10% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP quinclorac 50% WP cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC cyhalofop-butyl 10% EC penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD penoxulam 2.5% OD pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC pyribenzoxim 5% EC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC bispyribac sodium 10% SC Untreated Control
+ + + + + + + + + + + + + + + + + + + + + -
carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC carbaryl 85% WP fipronil 5% SC thiacloprid 24% SC -
CV (%) 1/
(No./plant)
8.0ns 7.4 6.5 7.3 6.2 7.1 7.2 6.3 6.8 7.8 7.0 7.7 6.5 7.9 6.6 6.9 6.8 7.2 7.7 6.4 7.8 8.1
7 DAA 0.2 a 0.2 a 0.1 a 0.1 a 0.1 a 0.1 a 0.1 a 0.2 a 0.1 a 0.1 a 0.2 a 0.2 a 0.1 a 0.1 a 0.2 a 0.1 a 0.1 a 0.2 a 0.1 a 0.1 a 0.1 a 8.8 b
14 DAA 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 0.0 a 5.3 b
17.20
70.90
131.49
(No./plant)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
Number of Thrips. after application
Number followed by the same letter or no letter in a column are not significantly different at the 0.05 according to Duncan’s test.
สรุปผลการทดลอง 1. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่ปลูกข้าวในพื้นที่ภาคกลาง จานวน 150 ราย พบว่า มีเกษตรกรถึง 77.3 เปอร์เซ็นต์ ที่มีพฤติกรรมการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน โดยให้เหตุผล ว่า การใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟในนาข้าวเป็นการลดต้นทุนในการผลิต และประหยัดเวลา ในการปฏิบัติงาน หากไม่ผสมสารกาจัดเพลีย้ ไฟจะทาให้เพลี้ยไฟระบาดรุนแรงและจัดการไม่ทนั เกษตรกรกลุ่ม 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
389
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-04
นี้ ยั ง คงปฏิ บั ติ เ ช่ น เดิ ม ต่ อ ไป เนื่ อ งจากไม่ พ บว่ าการใช้ ส ารแบบผสมมี ผ ลกระทบต่ อ ต้ น ข้ าว และท าให้ ประสิทธิภาพในการกาจัดวัชพืชและเพลี้ยไฟด้อยลง 2. การใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟยังคงมีประสิทธิภาพในการกาจัดหญ้าข้าวนกได้ในระดับดี ไม่มีความเป็นพิษต่อต้นข้าว ยกเว้นกรรมวิธีการพ่นสาร propanil ซึ่งข้าวจะมีอาการใบไหม้ เล็กน้อย ซึ่งเป็น อาการเป็นพิษของสารกาจัดวัชพืช propanil อีกทั้งการใช้สารกาจัดวัชพืชผสมกับสารกาจัดเพลี้ยไฟในนาข้าว มีผลทาให้จานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟน้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับกรรมวิธี ไม่พ่นสาร ซึ่งหากเกษตรกรยังคงต้องการปฏิบัติเช่นเดิม จาเป็นต้องมีการจัดอบรม และให้ความรู้กับเกษตรกร ในเรื่องของการใช้สารอย่างถูก ต้องปลอดภัย และต้องให้เกษตรกรเรียนรู้ห ลัก ของการผสมสารให้ถูกต้อง เนื่องจากสารแต่ละชนิดหากนามาผสมกันอาจไม่ส ามารถละลายเป็นเนื้อเดียวกั นได้ เช่น penoxulam + carbaryl และ penoxulam + thiacloprid เมื่อนามาผสมกันแล้วจะเกิดเป็นตะกอนแขวนลอย และมีผลึก ลอยอยู่บนผิวหน้าของสารละลาย มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพสาร เอกสารอ้างอิง กลุ่มวิจัยวัชพืช. 2554. คาแนะนาการควบคุมวัชพืชและการใช้สารกาจัดวัชพืช ปี 2554. กลุ่มวิจัยวัชพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุเทพฯ. 149 หน้า. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. 2540. วัชพืชศาสตร์. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่. 585 หน้า. รังสิต สุวรรณเขตนิคม. 2547. สารป้องกันกาจัดวัชพืช : พื้นฐานและวิธีการใช้. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. 467 หน้า. Khosro Khodayari, Roy J.Smith, JR., and N. Philip Tugwell 1986. Interaction of Propanil and Selected Insecticide on Rice (Oryza sativa). Weed Science.34:800-803 MA Xiao-yan, Wu Han-wen, JIANG Wi-li, Ma Ya-jie and MA yan. 2016. Weed and insect contro; affected by mixing insecticides with glyphosate in cotton. Integrative Agriculture 2016, 15(2): 373-380. R.M.HAYES, K.V. Yeargan, W.W.Witt, and H.G.Raney. 1979. Interaction of selected InsecticideHerbicide Combination on soybean (Glycine max). Weed Sci.27:51-54 Sarah H. Lancaster, David L. Jordan, Alan C. York, John W. Wilcut, David W.Monks and Rick L. Brandenburg 2004. Interactions of Clethodim and Sethoxydim with Selected Agrichemicals Applied to Peanut. Weed Sci.19:456-461.
390
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสติ ธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
เครื่องกำจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตำมสำหรับมันสำปะหลัง Mechanical Weeder and Fertilizer Attached Walking Tractor for Cassava วุฒิพล จันทร์สระคู1 วรรธนะ สมนึก1 ศักดิ์ชัย อำษำวัง1 มงคล ตุ่นเฮ้ำ1 อนุชิต ฉ่ำสิงห์2 โสภิตำ สมคิด3 และ สุพัตรำ ชำวกงจักร์4 Wuttiphol Chansrakoo1 Wantana Somnuk1 Sakchai Arsawang1 Mongkol Thunhaw1 Anuchit Chamsing2 Sopita Somkid3 and Supattra Chawkongjuk4 1
ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น กรมวิชำกำรเกษตร, ขอนแก่น 40000 Khonkaen Agricultural Engineering Research Center, Deparment of Agriculture, Khonkaen 40000 2 กลุ่มวิจัยวิศวกรรมหลังกำรเก็บเกี่ยว สถำบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชำกำรเกษตร, กรุงเทพฯ 10900 2 Reseach Group Postharvest Engineering, Agricultural Engineering Research Institute, Deparment of Agriculture, 10900 3 สำนักวิจัยและพัฒนำกำรเกษตรเขตที่ 4 กรมวิชำกำรเกษตร, อุบลรำชธำนี 34190 3 Agricultural Reseach and Development Office 4, Deparment of Agriculture, Ubon Ratchathani 34190 4 ศูนย์วิจัยและพัฒนำกำรเกษตรกำฬสินธุ์ กรมวิชำกำรเกษตร, กำฬสินธุ์ 46120 4 Kalasin Agricultural Research and Development Center, Deparment of Agriculture, Kalasin 46120 1
บทคัดย่อ การผลิตมันสาปะหลังในขั้นตอนการกาจัดวัชพืชต้องใช้เวลา แรงงานคนมาก และมีต้นทุนการกาจัด วัชพืชประมาณ 16 เปอร์เซ็นต์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพือ่ พัฒนาเครือ่ งมือกาจัดวัชพืชพร้อมใส่ปยุ๋ แบบติด รถไถเดิ น ตามส าหรั บ ไร่ มั น ส าปะหลั ง ทดแทนการใช้ แ รงงานคนในการก าจั ด วั ช พื ช และการให้ ปุ๋ ย ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) ต้นกาลังรถไถเดินตามขนาด 9 แรงม้า และล้อเหล็กแบบหน้าแคบ 2) ชุดโครง ไถจานผาลคู่ ขนาด 18 นิ้ว และล้อคัดท้ าย 3) ถัง บรรจุและอุปกรณ์ กาหนดปริมาณการให้ปุ๋ย ทดสอบ สมรรถนะการทางานในไร่มันสาปะหลังอายุประมาณ 2 เดือน ระยะห่างระหว่างแถว 110 - 120 เซนติเมตร ในเขตพื้นที่ จ.กาฬสินธุ์ และ จ.อุบลราชธานี ผลการทดสอบพบว่า ความสามารถในการทางาน 1.26 - 1.70 ไร่/ชั่วโมง ประสิทธิภาพการกาจัดวัชพืช 86.12 - 92.97% อัตราการสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิง 0.33 - 0.56 ลิตร/ไร่ และอัตราการให้ปุ๋ยเฉลี่ย 50 กิโลกรัม/ไร่ จุดคุ้มทุน 89.33 ไร่/ปี และระยะเวลาคืนทุน 2.46 ปี คำสำคัญ : การกาจัดวัชพืช รถไถเดินตาม มันสาปะหลัง ABSTRACT Cassava production in the weeding process requires a huge of labor, and the cost of weeded control is about 16 percent. The aim of this research to developing the equipment for weeding and fertilizing with a walking tractor for a cassava field. Among of them comprise of 3 parts: 1) the power of walking tractor with 9 HP and narrow steel wheels, 2) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
391
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
frame plow, 2 plate size 18 inch and wheel steer, 3) tanks and equipment determine the amount of fertilizer. Performance testing of cassava plantation for about 2 months. The distance between rows 110-120 cm, in the area Kalasin and Ubon Ratchathani. The results were showed that worked at capacity 1.26-1.70 rai/h., efficiency 86.12-92.97%, fuel consumption rate 0.33-0.56 liters/rai and the average fertilizer rate of 50 kg/rai. The breakeven point was 89.33 rai/year and the payback period was 2.46 years. Keywords: Weeding, Walking Tractor, Cassava คำนำ การผลิตมันสาปะหลังของไทยได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่การปรับปรุงพันธุ์ การพัฒนา เทคโนโลยีการผลิตอื่นๆ ตลอดจนเทคโนโลยีการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต และการใช้ประโยชน์ ด้านอื่น ๆ แต่ในส่วนของการเพิ่ ม ประสิท ธิภาพการผลิต และลดต้นทุ นการผลิต ที่ เ กี่ยวข้องกั บ การใช้ เครื่องจักรกลเกษตรยังมีการศึกษาค่อนข้างน้อย มันสาปะหลังส่วนใหญ่นิยมปลูกด้วยท่อนพันธุ์ และมีระยะ ปลูกค่อนข้างห่างใช้ระยะระหว่างแถว 1 เมตร และระยะระหว่างต้น 1 เมตร เก็บเกี่ยวที่อายุ 8-12 เดือน การเจริญเติบ โตของมั นสาปะหลังในช่วงแรกช้ามาก ใบแรกเริ่ม คลี่ให้เห็นหลังจากการปลูกประมาณ 3 สัปดาห์ และสร้างพุ่มใบให้ชนกันจนคลุมพื้นที่ ใช้เวลาประมาณ 3-4 เดือนหลังจากปลูก มันสาปะหลังเริ่ม เอาอาหารไปเก็บที่ราก ที่เรียกว่า “การลงหัว” ประมาณเดือนครึ่งถึงสองเดือนหลังจากปลูก และหลังจาก 4 เดือนไปแล้วไม่ มี การลงหัว เพิ่ ม แต่จะขยายขนาดหัวให้ใหญ่ขึ้นจนกระทั่ งเก็ บเกี่ ยว ฉะนั้นถ้ามี วัชพืช รบกวนในระยะ 3-4 เดือนแรก จะทาให้การลงหัวไม่ดีทาให้จานวนหัวต่อต้นลดลง น้าหนักหัวไม่ดีตามไป ด้วย นอกจากนี้การปล่อยให้มีวัชพืชในแปลงยังมีผลเสีย เนื่องจากวัชพืชเหล่านี้บางชนิดเป็นที่อาศัยหลบ ซ่อนของแมลงศัตรูพืชเช่น เพลี้ยแป้ง เป็นต้น (สุรพงษ์ และคณะ, 2550) การแข่งขันระหว่างวัชพืชกับมัน สาปะหลัง โดยหาระยะเวลาที่มันสาปะหลังยอมให้มีวัชพืชขึ้นแข่ง และหาระยะเวลาที่มันสาปะหลังต้องไม่มี วัชพืชขึ้นแข่ง โดยไม่ ท าให้น้าหนัก หัวลดลง ผลการทดลองพบว่า ถ้าไม่ มี การพรวนดินกาจัดวัชพืชเลย น้าหนัก จะลดลงมากกว่าร้อ ยละ 80 ถ้าปล่อยให้มี วัชพืชขึ้นแข่งกั บ มั นส าปะหลังระหว่าง 60 วันแรก หลังจากปลูก จะทาให้ผลผลิตลดลงถึงร้อยละ 50 พรวนดินกาจัดวัชพืช 2 ครั้ง ที่ระยะเวลาพอเหมาะคือที่ 30 วัน และ 60 วันหลังปลูก จะได้ผลผลิตร้อยละ 75 การพรวนดินกาจัดวัชพืชหลังจากปลูกไปแล้ว 120 วัน จะไม่ทาให้ผลผลิตเพิ่ม ระยะเวลาที่ไม่ควรมีวัชพืชขึ้นแข่งกับมันสาปะหลังเลยจะอยู่ระหว่าง 30-120 วันหลังจากปลูก ฉะนั้นการพรวนดินกาจัดวัชพืชในไร่มันสาปะหลัง ควรจะเริ่มครั้งแรกให้เร็วที่สุด ถ้าปล่อย ให้วัชพืชขึ้นแข่งนานขึ้น ก็จะยิ่งทาให้ผลผลิตมันสาปะหลังลดลง ในฤดูฝนควรเริ่มกาจัดวัชพืชที่ 15 วันหลัง ปลูก และจะทาไปจนถึง 120 วัน หลังจากนั้นพุ่มใบจะชนกันจนคลุมพื้นที่ได้หมด แต่ถ้าเป็นการปลูกในฤดู แล้งอาจจะยืดเวลาการพรวนดินกาจัดวัชพืชครั้งแรกออกไปได้อีก เนื่องจากมีวัชพืช น้อย (จาลอง และคณะ ,2537) ในปัจจุบันการผลิตมันสาปะหลังยังใช้แรงงานคนเป็นหลัก ซึ่งต้องใช้เวลาและแรงงานจานวนมาก โดยต้นทุนการกาจัดวัชพืชมีสัดส่วนร้อยละ 16 ของต้นทุนการผลิตมันสาปะหลังทัง้ หมด (สุรพงษ์ และคณะ, 392
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
2550) ซึ่งส่วนใหญ่เป็นต้นทุนการจ้างแรงงาน การกาจัดวัชพืชโดยวิธี ทางกลนับว่าเป็นวิธีที่ได้ผลดีอย่างยิ่ง สามารถเพิ่มธาตุอาหารแก่พืช ทาให้อากาศสามารถผ่านลงในดินช่วยให้ดินร่วนซุยและเป็นการช่วยลดการ ใช้สารเคมีกาจัดวัชพืช (ประสาท และคณะ, 2558) ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อเกษตรกรและเกิดมลพิษต่อดิน และน้า การพรวนดินกาจัดวัชพืชที่ได้ผลควรจะต้องท าลายและพรวนกลบวัชพืช ซึ่งควรทาขณะดินแห้ง วัชพืชจะตายดี จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นจึงเห็นว่าควรมีการวิจัยและพัฒนาเครื่องกาจัดวัชพืชพร้อมยก ร่องกลบปุ๋ยแบบเดินตามในร่องปลูกมันสาปะหลัง ให้สามารถทดแทนการพรวนดินกาจัดวัชพืช และใส่ปุ๋ย ด้วยแรงงานคนอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มความรวดเร็วในการพรวนดินกาจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยมันสาปะหลัง ลดต้นทุนการผลิต และลดการใช้แรงงานคนได้ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยและพัฒนาเครื่อง กาจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสาหรับมันสาปะหลัง อุปกรณ์และวิธีกำร การศึกษาวิจัยนี้เป็นการออกแบบและพัฒ นาเครื่องกาจัดวัชพืชพร้อมยกร่องกลบปุ๋ยในร่องมั น สาปะหลัง โดยสร้างชุดหยอดปุ๋ยและชุดไถผาลจานกาจัดวัชพืชแบบติดรถไถเดินตาม อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ ต้น กาลังจากเครื่องยนต์ดีเซลขนาด 9 แรงม้า ล้อเหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80 ซม. หน้ากว้างล้อ 17 ซม. และ เครื่องมือช่าง และเครื่องจักรโรงงานสาหรับการสร้างต้นแบบ มีวิธีการดาเนินงานดังนี้ 1. ออกแบบและสร้างเครื่อ งต้นแบบ โดยมี แนวความคิดในการออกแบบโดยใช้ต้นก าลัง จาก เครื่องยนต์ขนาดดีเซลขนาด 9-11 แรงม้า ติดตั้งกับโครงรถไถเดินตาม ขนาดตัวเครื่องมีความกว้างมากที่สดุ ไม่เกิน 80 ซม. และสามารถทางานในร่องมันสาปะหลังได้สะดวก ประกอบด้วยชุดถังบรรจุและหยอดปุ๋ยทา จากสแตนเลส สามารถหยอดปุ๋ยได้ครั้งละ 2 แถว ชุดไถกาจัดวัชพืชแบบผาลจานสามารถปรับมุมการไถ พลิกดินได้ และวัสดุในการสร้างต้นแบบต้องหาซื้อได้ง่ายตามร้านในท้องถิ่น 2. ทดสอบการทางานเบื้องต้นของเครื่องในแปลงทดลองของศูนย์วิจัย กรมวิชาการเกษตร เพื่อหา ข้อบกพร่องต่างๆ และปรับปรุงแก้ไข 3. ทดสอบการทางานในสภาพการใช้งานจริง เก็บข้อมูลสภาพพืช และสภาพแปลง ประกอบการ ทดสอบสมรรถนะ ซึ่ง ค่าชี้ผลได้แก่ ความสามารถในการทางาน (ไร่ ต่อชั่วโมง) ประสิทธิภาพในการกาจัด วัชพืช (%) อัตราการสิ้นเปลืองน้ามัน (ลิตรต่อไร่) และอัตราการให้ปุ๋ย (กิโลกรัมต่อไร่) 4. วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบ และวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม เพื่อหาจุดคุ้มทุน 5. ประเมินผลการยอมรับเทคโนโลยีการใช้งาน โดยการสาธิตและเผยแพร่แก่กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูก มันสาปะหลัง 6. วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลการทดลอง
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
393
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
ผลกำรทดลองและวิจำรณ์ การผลิตมันสาปะหลังในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีระยะห่างระหว่างแถวหรือร่องปลูก อยู่ระหว่าง 80-120 เซนติเมตร การกาจัดวัชพืชจะดาเนินการเมื่อมันสาปะหลังอายุ 1-3 เดือน ซึ่งเป็นช่วง ที่มันสาปะหลังต้องเติบโตแข่งกับวัชพืช การดายหญ้าหรือการกาจัดวัชพืช โดยส่วนใหญ่จะใช้แรงงานคน เดินเข้าไปในร่อง โดยใช้จอบถากหญ้า หรือใช้ไถซิ่ง ซึ่งต้องใช้แรงงานคนเป็นจานวนมาก บางพื้นที่ก็ใช้รถไถ เดินตามติดไถจาน หรือไถพรวนดินแบบจอบหมุนแบบเดินตามที่นาเข้าจากต่างประเทศและมีจาหน่ายใน ประเทศไทย (ภาพที่ 1-3) แต่ก็มีข้อจากัดในการใช้งานอยู่มากพอสมควร เช่น จะใช้เครื่องมือกาจัดวัชพืชได้ เฉพาะในร่องมันสาปะหลังที่มีระยะห่างแถว 120 เซนติเมตรขึ้นไป เนื่องจากข้อจากัดของความกว้างตัวรถ ไถเดินตาม
ภำพที่ 1 การกาจัดวัชพืชในไร่มันสาปะหลังด้วยแรงงานคน
ภำพที่ 2 การใช้รถไถเดินตามติดผาลจานและจอบหมุนพรวนดินกาจัดวัชพืช แนวทางการออกแบบเครื่องมือให้เหมาะสมกับการใช้งานในการกาจัดวัชพืชพร้อมพลิกดินกลบปุ๋ย ในร่องมันสาปะหลัง ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่องมือพรวนดินกาจัดวัชพืชในร่องปลูกพืชเพียงอย่างเดียว และมี การไถพลิกดินเพื่อกลบโคนต้นมันสาปะหลังแถวเดียวในแต่ละรอบการไถ โดยใช้ชุดผาลจานที่ติดมากับรถ ไถเดินตาม แต่ในบางยี่ห้อมีจาหน่ายเป็นอุปกรณ์เสริม ที่สาดดินกลบโคนต้นได้ทั้งสองแถวในร่องปลูกมัน สาปะหลัง แต่ยังมีข้อจากัดกับการใช้งานของสภาพแปลงปลูกมันสาปะหลังมากพอสมควร เช่น ข้อจากัดใน การพรวนดินก าจัดวัชพื ชในร่อ งที่ แคบกว่าร่องมั น ส าปะหลัง ไม่ ส ามารถปรับ ได้ตามความกว้างร่องที่ เหมาะสม มีผลต่อการกาจัดวัชพืชได้ไม่หมดยังคงเหลือค้างในแปลง และหากวัชพืชมีปริมาณที่หนาแน่นจะ 394
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
เกิดการติดขัดในชุดใบมีดจอบหมุน แต่มีข้อดีในส่วนการควบคุมตัวเครื่องมือที่มีความคล่องตัวและสะดวก ในขณะปฏิบัติงาน เนื่องจากเครื่องมือมีขนาดเล็กและน้าหนักเบา ทั้งนี้อย่างไรก็ตามการนาเข้าเครื่องมือ จากต่างประเทศเข้ามาจาหน่ายยัง มีราคาค่อนข้างแพง และอะไหล่จ าเป็นต้องซื้ อจากตัวแทนจ าหน่าย เท่านั้น ไม่สามารถซ่อมแซมหรือแก้ไขได้โดยช่างในท้องถิ่นนั้นๆ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงมีแนวคิดการใช้ รถไถ เดินตามเป็นต้นกาลังในการพัฒนาอุปกรณ์สาหรับการกาจัดวัชพืช ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่มรี ถไถเดินตามเพือ่ ใช้ในกิจกรรมการเตรียมดินเพาะปลูกอยู่เดิมแล้ว ผลกำรออกแบบและสร้ำงเครื่องต้นแบบ ดาเนินการออกแบบโดยเลือกใช้ต้นกาลังจากรถไถเดินตามยี่ห้อสยามคูโบต้า ซึ่งเกษตรกรนิยมใช้ มากพอสมควร เป็นต้นแบบในการพัฒนาเครื่องมือกาจัดวัชพืช เลือกใช้ล้อเหล็กรถไถเดินตามแบบหน้าแคบ ซึ่งมีจาหน่ายในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางจังหวัด และต้องสั่งจากร้านค้าที่มีการผลิตโดยตรง ขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางล้อ 80 เซนติเมตร และหน้ากว้างล้อ 17 เซนติเมตร (ภาพที่ 3) เมื่อนามาติดตั้งกับตัวรถไถ เดินตามจะมีความกว้าง 75-80 เซนติเมตร ซึ่งเหมาะสาหรับทางานในร่องมันสาปะหลังที่อายุ 2-3 เดือน
ภำพที่ 3 ล้อเหล็กรถไถเดินตามแบบหน้าแคบ โครงไถทาจากเหล็กประกอบด้วยผาลจานขนาด 18 นิ้ว จานวน 2 ใบ พร้อมล้อคัดท้ายขนาด 16 นิ้ว สามารถปรับมุมเอียงใบผาลจานในการไถพลิกดินระหว่างร่องปลูกมันสาปะหลังได้ทั้งสองทาง เพื่อกลบ ปุ๋ยที่โรยระหว่างโคนต้นมันสาปะหลังทั้ง 2 แถว ในการทางานรอบเดียว และปรับความลึกความลึกการไถ ได้ตามสภาพดินและขนาดของร่องมันสาปะหลัง (ภาพที่ 4)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
395
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
ภำพที่ 4 ออกแบบและสร้างชุดผาลไถแบบใหม่ ถัง หยอดปุ๋ ย ท าจากสแตนเลส ขนาดกว้ าง 35 เซนติ เมตร ยาว 55 เซนติ เมตร และสู ง 40 เซนติเมตร อุปกรณ์กาหนดปริมาณปุ๋ยเป็นเกลีย วสแตนเลสสองทางเพื่อส่งปุ๋ยผ่านท่อนาพลาสติกลงไปที่ ด้านหน้าผาลจานทั้งสองข้าง โดยความสูงของถังหยอดปุ๋ย จากพื้นดิน 145 เซนติเมตร ซึ่งไม่ สูงเกินกว่า ระดับ สายตาของผู้ปฏิบัติงานขับ รถไถเดินตาม สามารถบรรจุปุ๋ยได้ป ระมาณ 25 กิ โลกรัม (ใช้งานพื้นที่ โดยประมาณ 2 งาน จึงหยุดเติมปุ๋ย) ซึ่งอัตราการให้ปุ๋ยประมาณ 50 กิโลกรัมต่อไร่ (ภาพที่ 5)
ภำพที่ 5 ถังหยอดปุ๋ยแบบเกลียวสองทาง การควบคุมการทางานและกาหนดอัตราการหยอดด้วยระบบพูเล่ย์ สายพาน ส่งกาลังจากเพลาล้อ ล้อไถเดินตาม พร้อมคันควบคุมที่แขนจับรถไถเดินตาม (ภาพที่ 6) ซึ่งสามารถหยุดการทางานของชุดหยอด ปุ๋ยได้ส ะดวกเมื่ อกลับรถที่ หัวแปลงมั นส าปะหลัง และเมื่ อประกอบส่วนต่างๆ ของต้นแบบเครื่องกาจัด วัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสาหรับมันสาปะหลังดังแสดงใน ภาพที่ 7
396
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
ภำพที่ 6 คันควบคุมการหยอดปุ๋ยส่งกาลังด้วยระบบพูลเล่ย์และสายพาน
ภำพที่ 7 ต้นแบบเครื่องกาจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสาหรับมันสาปะหลัง ผลกำรทดสอบในไร่มันสำปะหลัง การทดสอบเครื่ อ งมื อ ก าจั ด วั ช พื ช ด าเนิ น การทดสอบเก็ บ ข้ อ มู ล การใช้ ง าน สมรรถนะ เครื่องต้นแบบ และประสิทธิภาพการท างานในแปลงปลูกมันสาปะหลัง ในช่วงปลูกมันสาปะหลังในเขต พื้นที่ จังหวัดกาฬสินธุ์ นครราชสีมา และอุบ ลราชธานี ทดสอบการใช้งานและปรับให้ เครื่องมือพรวนดิน กาจัดวัชพืชพร้อมพลิกดินกลบปุ๋ยแบบเดินตามในร่องปลูกมันสาปะหลัง สามารถทางานได้อย่างต่อเนื่อง มี ประสิทธิภาพ มีความปลอดภัยง่ายในการใช้งาน เพื่อลดเวลาและการใช้แรงงานในการพรวนดินกาจัดวัชพืช และใส่ปุ๋ยในแปลงมันสาปะหลัง โดยเป็นการทดสอบเพื่อหาสมรรถนะการทางาน (ภาพที่ 8)
ภำพที่ 8 การทดสอบสมรรถนะในการทางาน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
397
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
ภำพที่ 9 การหาอัตราสิ้นเปลืองน้ามัน สภาพพืชและวัชพืชก่อน-หลังทดสอบ จากผลการทดสอบต้น แบบเครื่อ งก าจัดวัชพืชในร่องมั นส าปะหลังแบบเดินตาม (ตารางที่ 1) ทดสอบในแปลงปลูกมันสาปะหลังอายุประมาณ 2-3 เดือน ณ แปลงเกษตรกร ต้นกาลังใช้เครื่องยนต์ดีเซล ขนาด 9 แรงม้า ปรับความเร็วรอบเครื่องยนต์ 700 รอบต่อนาที มีความสามารถในการทางาน 1.26-1.70 ไร่ต่อชั่วโมง ประสิทธิภาพกาจัดวัชพืช 86.12-92.97% (ระหว่างแถว) อัตราการสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิง 0.33-0.56 ลิตรต่อไร่ อย่างไรก็ตามเครื่องกาจัดวัชพืชนี้เป็นการกาจัดวัชพืชเฉพาะในร่องมันหรือระหว่าง แถวมันสาปะหลังเท่านั้น ยังมีข้อจากัดที่ไม่สามารถกาจัดวัชพืชที่ขึ้นระหว่างต้นได้ จะต้องใช้แรงงานคนใน การกาจัดภายหลังจากการทางานด้วยเครื่องต้นแบบ หรือใช้สารเคมีประเภทคุมหญ้าหรือวัชพืชอื่นๆ ฉีดพ่น ก่อนการงอกของต้นมันสาปะหลัง ซึ่งการกาจัดวัชพืชในไร่มันสาปะหลังจะต้องใช้วิธีผสมผสานจึงจะเกิด ประสิทธิภาพมากที่สุด ตำรำงที่ 1 ผลการทดสอบสมรรถนะการทางานของเครื่องกาจัดวัชพืชแบบติดรถไถเดินตาม แหล่งที่ 1 2 3 เฉลี่ย
ความสามารถ ในการทางาน (ไร่/ชั่วโมง) 1.70 1.68 1.26 1.55
ประสิทธิภาพ การกาจัดวัชพืช (%) 92.97 85.89 86.12 88.32
อัตราการสิ้นเปลือง น้ามันเชื้อเพลิง (ลิตร/ไร่) 0.33 0.50 0.56 0.46
กำรวิเครำะห์เศรษฐศำสตร์ คานวณหาจุดคุ้มทุนโดยเปรียบเทียบการกาจัดวัชพืชในแปลงมันสาปะหลังด้วยเครื่องกาจัดวัชพืช แบบติดรถไถเดินตาม โดยคานวณในกรณีที่ เ กษตรกรผู้รับจ้างต้องการซื้อรถไถเดินตามและเครื่องก าจัด วัชพืชมาใช้งานหรือ รับ จ้าง ก าหนดให้ราคาของรถไถเดินตามพร้อมเครื่องยนต์ (9-11 แรงม้ า) เท่ากั บ 90,000 บาท และให้การใช้งานสาหรับการกาจัดวัชพืช 30% ของการใช้งานทั้งหมด โดยราคาเครื่องกาจัด วัชพืชพร้อมอุปกรณ์หยอดปุ๋ย ราคา 15,000 บาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 8.0 ต่อปี อายุการใช้งานประมาณ 398
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
10 ปี ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษา รวมค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 92.50 บาทต่อไร่ โดยคานวณที่ความสามารถใน การทางานเฉลี่ย 1.55 ไร่ต่อชั่วโมง (12.4 ไร่ต่อวัน) ที่อัตราค่ารับจ้าง 250 บาทต่อไร่ ทั้งนี้คาดหมายว่าใน แต่ละปีจะสามารถทางานได้ประมาณ 300 ไร่ พบว่าจุดคุ้มทุนจะอยู่ที่ 89.33 ไร่ต่อปี และระยะเวลาคืนทุน 2.46 ปี สรุปผลกำรทดลอง เครื่องกาจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามที่พัฒ นาขึ้นนี้สามารถทาการไถกาจัดวัชพืชใน แปลงมันสาปะหลังที่อายุ 2-3 เดือน โดยกาจัดวัชพืชที่ขึ้นระหว่างแถวปลูก ซึ่งเป็นการไถพลิกกลบดินไปที่ โคนต้น พร้อมกับการใส่ปุ๋ยในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ถูกไถพลิกกลบดินที่ที่โคนต้นมันสาปะหลังในเวลา เดียวกัน การพัฒนาเครื่องกาจัดวัชพืชนี้ขึ้นมาก็เพื่อทดแทนแรงงานคนในการกาจัดวัชพืชระหว่างแถว และ ลดการใช้สารเคมีในการกาจัดวัชพื ช โดยเครื่องต้นแบบมี ส่วนประกอบด้วยกัน 3 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนต้น กาลังในการขับเคลื่อนด้วยรถไถเดินตามขนาด 9-11 แรงม้า 2) ส่วนโครงสร้างไถผาลจานกาจัดวัชพืช และ 3) ส่วนอุปกรณ์หยอดปุ๋ย ผลการทดสอบพบว่า เครื่องต้นแบบมีความสามารถในการทางานโดยเฉลี่ย 1.55 ไร่ต่อชั่วโมง ประสิทธิภาพกาจัดวัชพื ช โดยเฉลี่ย 88.32% อัตราการสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย 0.46 ลิตรต่อไร่ เมื่อวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์พบว่า จุดคุ้มทุนจะอยู่ที่ 89.33 ไร่ต่อปี และระยะเวลาคืน ทุน 2.46 ปี แต่อย่างไรก็ตามเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังควรทาการกาจัดวัชพืชในขณะที่ยังมีปริมาณไม่ หนาแน่นจนเกินไป เพื่อให้เครื่องจักรสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กำรนำไปใช้ประโยชน์ 1. ร่วมแสดงในงานนิทรรศการด้านการเกษตรต่างๆ สาธิตให้แก่เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายร่วมกับ ภาคเอกชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ร่วมแสดงงานนิทรรศการวันเกษตรภาคอีสาน ประจาปี 2561 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 2. ได้พิมพ์เขียวของต้นแบบเครื่องกาจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสาหรับมันสาปะหลัง สาหรับถ่ายทอดให้แก่ โรงงานผลิตเครื่องจักรกลเกษตรไปพัฒ นา และผลิตจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ต่อไป โดยโรงงานที่รับ เครื่องต้นแบบไปผลิตเชิงพาณิชย์ ได้แก่ โรงงาน เอส ที ขอนแก่ น ต.เมื องเก่า อ.เมือง ขอนแก่น จ.ขอนแก่น และ โรงกลึงนายป้อ ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 3. สาธิตการใช้งานให้กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มันสาปะหลังเขาพระนอน อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 (ภาพที่ 10)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
399
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
ภำพที่ 10 สาธิตการใช้งานให้กลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่มันสาปะหลัง 4. สาธิตการใช้งานการไถกลบปอเทืองในไร่มนั สาปะหลังให้กับกลุ่มเกษตรกรมันสาปะหลังอินทรีย์ อาเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี ร่วมกับสานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 (ภาพที่ 11)
ภำพที่ 11 สาธิตการใช้งานการไถกลบปอเทืองในไร่มันสาปะหลังให้กบั เกษตรกรมันสาปะหลังอินทรีย์ 5. สร้างเครื่องกาจัดวัชพืชแบบติดรถไถเดินตามจานวน 10 ชุด (ภาพที่ 12) เตรียมส่งมอบให้กลุ่ม เกษตรกรผู้ร่วมโครงการพัฒนาระบบการผลิตแป้งมันสาปะหลังอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่การผลิตของเกษตรกร ในจัง หวัดอุบ ลราชธานี เพื่ อเพิ่ ม ศัก ยภาพการเป็นศูนย์ก ลางเกษตรอินทรีย์ในภูมิ ภาคอาเซียน ภายใต้ โครงการวิจัยการทดสอบเครื่อ งก าจัด วัชพื ชพร้อ มยกร่องกลบปุ๋ ยพื ชสดแบบติดรถไถเดิ น ตามในมั น สาปะหลังอินทรีย์ สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 กรมวิชาการเกษตร
ภำพที่ 12 สร้างเครื่องกาจัดวัชพืชแบบติดรถไถเดินตามจานวน 10 ชุด
400
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
OWA-05
6. นาผลงานวิจัยเครื่องกาจัดวัชพืชพร้อมใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตาม ไปขยายผลการใช้งานสู่กลุ่ม เกษตรกรส าหรับการกาจัดวัชพืชและไถกลบปุ๋ยพืชสด ในการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตมันสาปะหลัง อินทรีย์ ร่วมกั บ สานัก วิจัยและพั ฒ นาการเกษตรเขตที่ 4 กรมวิชาการเกษตร และโรงงานแป้งมั นอุบ ล เกษตรพลังงาน ในเครือกลุ่มบริษัทอุบลเอทานอล พร้อมทั้งร่วมจัดงานวันเก็บเกี่ยวมันสาปะหลังอินทรีย์ รุ่นที่ 1 ประจาปี 2560/2561 ณ ต.นาดี อ.นาเยีย จ.อุบลราชธานี
ภำพที่ 13 ร่วมจัดงานวันเก็บเกี่ยวมันสาปะหลังอินทรีย์ รุ่นที่ 1 ประจาปี 2560/2561 คำขอบคุณ ขอขอบคุณ ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น ที่ ให้ก ารสนับสนุนสถานที่ในการสร้างต้นแบบ รวมทั้งเครื่องมือและอุ ปกรณ์ต่างๆ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ สานักวิจัยและพัฒนาการ เกษตรเขตที่ 3 และกลุ่มวิชาการ สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 กรมวิชาการเกษตร ที่ให้ความ ร่วมมือในการประสานงานในพื้นที่เพื่อการทดสอบร่วมกับแปลงเกษตรกร และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่าน ที่มีส่วนช่วยสนับสนุนงานวิจัย ให้สาเร็จและบรรลุผลตามเป้าหมาย เอกสำรอ้ำงอิง จาลอง เจียมจานรรจา ปิยวุฒิ พูลสงวน สมยศ พุทธเจริญ เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ และวิทยา แสงสิง แก้ว. 2537. ระยะเวลาในการควบคุมวัชพืชในมันสาปะหลัง. วารสารวัชพืช 2(3) : 144-147. ประสาท แสงพั นธุ์ตา, วุฒิพล จันทร์สระคู , อนุชิต ฉ่าสิงห์, ศักดิ์ชัย อาษาวัง, สุพัตรา ชาวกงจักร์ , ดนัย ศารทู ลพิ ทั กษ์ และสิท ธิชัย ดาศรี. 2558. วิจัยและพัฒ นาเครื่องกาจัดวัชพืชและใสปุยในไรมั น สาปะหลัง. รายงานโครงการวิจัยประจาปี 2558 กรมวิชาการเกษตร. 43 หน้า. สุรพงษ์ เจริญรัถ, นันทวรรณ สโรบล, กุลศิริ กลั่นนุรักษ์, อาภาณี โภคประเสริฐ, เสาวรี ตังสกุล, จรุงสิทธิ์ ลิ่ม ศิล า และอุ ดม เลียบวัน. 2550. กิ จกรรมการศึก ษาโอกาสและข้อจ ากั ดของการผลิตพืชไร่ เศรษฐกิจสาคัญงานทดลองประเมินความคุ้มค่าการลงทุนและสภาวะความเสี่ยงของเกษตรกรจาก ความแปรปรวนด้านการผลิตและราคาของผลผลิตมันสาปะหลังและอ้อย, น.135-139. เอกสาร ประกอบการสัมมนาเรื่องแนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสาปะหลัง. 159 น. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
401
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ภาคแผ่นภาพ POSTER PRESENTATION
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
การศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (Diptera: Tephritidae) ร่วมกับการใช้เทคนิค Morphometrics ในตัวเต็มวัย Taxonomy of Fruit Fly Larvae in Tribe Dacini (Diptera: Tephritidae) and Using Morphometrics Technique in Adults ยุวรินทร์ บุญทบ ชมัยพร บัวมาศ เกศสุดา สนสิริ จอมสุรางค์ ดวงธิสาร และ สิทธิสิโรดม แก้วสวัสดิ์ Yuvarin Boontop Chamaiporn Buamas Kessuda Sonsiri Jomsurang Duangthisan and Sitisarodom Kaewsawat สานักวิจัยพัฒนาการอารักพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok, Thailand
บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้เผ่า Dacini เป็นศัตรูพืชเศรษฐกิจและศัตรูพืชกักกันที่สาคัญ ตัวอ่อนสร้างความเสียหาย ต่อการนาเข้าและส่งออกผัก ผลไม้ ทั่วโลก อีกทั้ งมีความยากในการจ าแนกชนิดด้วยลัก ษณะสัณฐานวิท ยา ภายนอก การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนร่วมกับเทคนิค Morphometrics เพื่อช่วยจาแนก ชนิดแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ให้ถูกต้องแม่นยา และรวดเร็วมากขึ้น โดยรวบรวมตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจากทุก ภูมิ ภาคของไทย พร้อ มทั้ ง จัดท าแนวทางวินิจ ฉัยตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ เผ่า Dacini จ านวน 6 ชนิด ได้แ ก่ Bactrocera correcta, B. dorsalis, B. latifrons, B. umbrosa, Zeugodacus cucurbitae และ Z. tau และจากการศึกษา Morphometrics ของปีกแมลงวันผลไม้ 10 ชนิด ได้แก่ B. carambolae, B. cilifera, B. correcta, B. dorsalis, B. latifrons, B. umbrosa, B. tuberculata, B. zonata, Z. cucurbitae และ Z. tau พบว่าขนาดเซนทรอยด์ ของปี ก มี ความความแตกต่างอย่ างมี นั ยส าคั ญ ทางสถิติ (P < 0.05) โดย B. latifrons มี ข นาดเล็ ก สุ ด (5.53 ± 0.40) และ B. tuberculata มี ข นาดใหญ่ สุ ด (6.38 ± 0.31) และจาก การศึกษารูปร่างของปีก ด้วยวิธี Canonical variate analysis พบว่าสามารถแยกสกุล Zeugodacus ออก จากสกุล Bactrocera ได้อย่างชัดเจน การศึกษาครั้งนี้เป็นครั้งแรกในการจัดทาแนวทางตรวจวินิ จฉัยชนิดตัว อ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ด้วยเทคนิคที่ง่าย สะดวก และประหยัดเวลา อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาด้าน ชีวโมเลกุลเพิ่มเติมต่อไปในอนาคต คาสาคัญ : แมลงวันผลไม้ เซนทรอยด์ รูปร่างปีก ABSTRACT Fruit flies of the tribe Dacini are of prime economic and quarantine importance. Larvae infest fruit and cause serious problems and can be a major phytosanitary impediment to international trade. Species identification of larvae by morphological characteristics is 402
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
difficult. In the present study, traditional, morphological taxonomy and wing morphometrics were performed to obtain more precise species definition and establish reliable character states for the identification of larvae. Surveys were undertaken in a variety of fruit orchards throughout Thailand using lures and collection of larvae from fruits. Larvae of six dacine species have been redescribed: Bactrocera correcta, B. dorsalis, B latifrons, B. umbrosa, Zeugodacus cucurbitae and Z. tau. A dichotomous key was prepared to enable rapid identification of larvae by using a combination of morphological features. Additionally, wing morphometrics were studied from 10 species: of B. carambolae, B. cilifera, B. correcta, B. dorsalis, B. latifrons, B. umbrosa, B. tuberculata, B. zonata, Z. cucurbitae and Z. tau. Centroid sizes differed significantly among sampled species (P < 0.05), with B. latifrons smallest (5.53 ± 0.40 mm) and B. tuberculata largest (6.38 ± 0.37 mm). Canonical variate analysis of the dataset revealed a clear pattern in which species of Zeugodacus clustered together and separated from the cluster comprising species of Bactrocera. This study has provided a simplified identification guide for initial morphological diagnosis of larval stages . However, further molecular analysis is needed to clarify the distinction among other species. Keywords: larvae, fruit fly, centroid, wing shape คานา แมลงวันผลไม้หรือแมลงวันทอง (fruit fly) เป็นแมลงศัตรูพืชที่สร้างความเสียหายกับผลไม้และผักใน พื้น ที่ เ ขตร้อน (tropical) และเขตร้อ นชื้น (subtropical) เป็น อย่ างมาก ทั่ วโลกพบแมลงวันผลไม้ ในเผ่ า Dacini มากกว่า 700 ชนิด (Krosch et al., 2012) สาหรับทวีปเอเชียนั้นพบว่าแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini เป็น แมลงวันผลไม้ที่มีสร้างความเสียหายจนเกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสกุล Bactrocera, Dacus และ Zeugodacus นั้ น ท าให้ เ กิ ดความเสี ยหายต่ อ ผลผลิ ต ทางการเกษตรอย่ างสู ง (Aluja and Norrbom, 2001) แมลงวันผลไม้ เผ่า Dacini มี รูป ร่างทางสัณฐานวิท ยาใกล้เคียงกั นมาก (Hernández-Ortiz et al., 2012; Schutze et al., 2012; Krosch et al., 2013) ตัวเต็มวัยเข้าทาลายผักผลไม้โดยการวางไข่กับผลที่ มี เปลือกบางหรืออ่อนนุ่ม จากนั้นตัวอ่อนจะเจริญเติบโตกัดกินอยู่ภายในผลทาให้ผลไม้เน่าเสียก่อนการเก็บเกี่ยว และบ่อยครั้งพบว่าตัวอ่อนของแมลงวันผลไม้ติดไปภายในผลพร้อมกับการส่งออกผักผลไม้ ไปยังต่างประเทศ ซึ่ง ก่อให้เกิดปัญหาการกีดกัดทางการค้าตามมา ดัง นั้ นการศึก ษาครั้ง นี้จ ะเป็ น การศึ ก ษาชนิ ดของแมลงวันผลไม้ เ ผ่า Dacini ในระยะตัวอ่ อนด้ว ย การศึกษาอนุกรมวิธานแบบดั้งเดิม (traditional taxonomy) และการประยุกต์ใช้การวิเคราะห์มอร์โฟเมตริก 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
403
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ของปีก (wing morphometrics) กับแมลงวันผลไม้ตัวเต็มวัย โดยข้อมูลที่ ได้จะสามารถนามาใช้ประโยชน์ใน การอ้างอิง และเป็นข้อ มู ล สนับ สนุนในการจัดจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ เผ่า Dacini ที่ พ บในประเทศไทย รวมทั้งสามารถนาไปใช้ประยุกต์เพื่อเป็นข้อมูลพืน้ ฐานในการป้องกันกาจัด รวมทั้งการนาเข้าส่งออกผักผลไม้ไป ยังต่างประเทศต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ 1. วิธีการเก็บตัวอย่างตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแมลงวันผลไม้ ตัวอ่อน: เก็บตัวอย่างจากพื้นที่การเกษตร และพื้นที่ป่าธรรมชาติ โดยรวบรวมตัวอย่างจากพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย เก็บรวบรวมผักผลไม้ที่มีร่องรอยการทาลายของแมลงวันผลไม้ และนากลับ มายังห้องปฏิบัติการ แยกตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ระยะ 3 (third instar) ออกจากพืชอาศัย นามาต้มในน้าร้อน อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เพื่อให้ตัวหนอนคงสภาพสมบูรณ์และสีไม่เปลี่ยนแปลง จากนั้นดองตัวอย่างด้วย แอลกอฮอล์ 95-100% (เพื่อใช้ในการศึกษาอนุกรมวิธานของตัวอ่อน) บันทึก สถานที่ วันเดือน ปี และชื่อผู้เก็บ เก็บรักษาตัวอย่างภายใต้อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส ตัวเต็ม วัย : รวมทั้ ง เก็ บ รวบรวมตัวอย่างแมลงวันผลไม้ตัวเต็ม วัยในแปลงเพาะปลูก และในสภาพ ธรรมชาติโดยใช้กับดักล่อแมลงวันผลไม้แบบเปียก (wet bucket trap) ซึ่งประกอบด้วยสารล่อแมลงวันผลไม้ 2 ประเภท ได้แก่ เมทิลยูจินอล (methyl eugenol) และคิวลัวร์ (CUE lure) 2. การศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา นาตัวอย่างตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ม าศึก ษาลักษณะต่าง ๆ โดยละเอียดด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษา ลักษณะสาคัญที่ใช้ในการจาแนกชนิด และทาสไลด์ถาวร เช่น รยางค์ปาก หรือบริเวณด้านท้ายของลาตัว เพื่อ ใช้ในการท าการจัดท าแนวทางวิเคราะห์ชนิดตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ บันทึ ก ชื่อวิทยาศาสตร์ที่ วัน เดือน ปี สถานที่เก็บตัวอย่าง และชื่อผู้เก็บตัวอย่าง จากนั้นจัดทาแนวทางวินิจฉัย (dichotomous key) ชนิดตัวอ่อน แมลงวันผลไม้ในเผ่า Dacini ที่รวบรวมได้ และจัดเก็บตัวอย่างที่ได้ศึกษาไว้ในพิพิธภัณฑ์ โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ ตามระบบสากลของการเก็บรักษาตัวอย่างแมลง 3. การศึกษาชนิดแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ด้วยเทคนิค morphometrics 3.1 ท าสไลด์ถาวร (ปีก ) โดยใช้แมลงวันผลไม้ จานวน 20 ตัวอย่าง/ชนิด ตัดส่วนปีก ด้ านขวาของ แมลงวันผลไม้ มาวางบนสไลด์ที่หยดน้ายา canada balsam แล้วปิดทับด้วยกระจกปิดสไลด์ นาไปอบในตู้อบ อุณหภูมิ 40 - 45 องศาเซลเซียส ให้แห้งเป็นเวลา 2 - 6 สัปดาห์ 3.2 ถ่ ายภาพปี ก แมลงวั น ผลไม้ และก าหนดจุด สั ง เกต (landmark) ของปี ก แมลงวัน ผลไม้ ด้ ว ย โปรแกรม TPSDIG2 Version 2.17 และสร้างไฟล์ในรูปแบบ ของ TPS.file 3.3 ศึกษาการเปลี่ยนแปลงขนาดของร่างกายที่มีผลต่อรูปร่างของปีก (allometry) โดยใช้เทคนิคการ วิเคราะห์ด้วยการท าการทดสอบแบบถดถอย (regression analysis) พร้อมทั้งศึกษาขนาดของเซนทรอยด์ 404
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
(centroids size) ของแมลงวันผลไม้ชนิดต่าง ๆ ในเผ่า Dacini โดยใช้โปรแกรม Morpho J (Klingenberg, 2011) ขนาดของเซนทรอย์นั้นมีความสัมพันธ์กับรูปร่างปีก สามารถใช้เป็นมาตรฐานในการเปรียบเทียบรูปร่าง ของปีก ได้ อย่างแม่นยา (Schutze, et al., 2012) ซึ่งขนาดเซนทรอยด์ของแต่ล ะปีก จะคานวณโดยการรวม ระยะทางระหว่างจุดสังเกตแต่ล ะจุดกับ จุดกึ่ งกลางของจุดสังเกต (ตาแหน่งเฉลี่ยในพื้นที่ ส องมิ ติของพิกั ด ทั้งหมด) และถอดรากที่สองของผลรวมนี้ (Boontop et al., 2017) และเปรียบเทียบขนาดเซนทรอย์ของปีก แมลงวันผลไม้เผ่า Dacini โดย หาค่าเฉลี่ย ค่าความคลาดเลื่อนด้วยการวิเคราะห์แบบ one-way ANOVA โดย Tukey post hoc test ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม ส า เร็ จ รู ป SPSS version 22 (IBM SPSS Statistics, IBM Corporations, NY) 3.4 วิเคราะห์ความแตกต่างของรูปร่างของปีก (wing shape) แมลงวันผลไม้ชนิดต่าง ๆ ในเผ่า Dacini โดยการวิเคราะห์รปู ร่างของปีกแมลงวันผลไม้ตามหลัก Canonical variate analysis (CVA) ด้วย โปรแกรม Morpho J ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ลักษณะทางอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini จากการศึกษาลักษณะอนุกรมวิธานของตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ระยะที่ 3 (third instar) ทีร่ วบรวมได้ จากพืชอาหารชนิดต่าง ๆ ซึ่งเป็นระยะที่ตัวอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่กอ่ นจะเข้าดักแด้ จัดเป็นระยะที่ตัวอ่อนมี ความสมบูรณ์และเหมาะสมทีส่ ุดในการนามาศึกษาอนุกรมวิธาน (ภาพที่ 1-3) พบลักษณะสาคัญที่ใช้ในการ จาแนกชนิด ได้แก่ 1.1 ปาก (mouth hook) คือ ส่วนของโครงสร้างแข็ง (cephalopharygeal) ซึ่งประกอบด้วย (ภาพที่ 1ก) - apical tooth: ส่วนปลายสุดของฟัน - pre - apical tooth: ส่วนทีเ่ ป็นโครงสร้างแข็ง พบก่อนบริเวณล่างสุดของฟัน - neck: พื้นที่ด้านหลัง ventral apodeme - dorsal apodeme: ส่วนทีเ่ ป็นโครงสร้างแข็ง พบก่อนบริเวณด้านบนของกราม 1.2 รูหายใจด้านหน้า (anterior spiracle) (ภาพที่ 1ข) เป็นรูหายใจที่พบบริเวณส่วนหน้า ด้านข้าง ของลาตัว มีลักษณะเป็นเนื้อยื่นออกมาคล้ายนิ้วมือ (tubules) มีรูปร่างและจานวนแตกต่างกันในแมลงวัน ผลไม้แต่ละชนิด 1.3 บริเวณส่วนท้ายของลาตัว (caudal segment) (ภาพที่ 1ค) เป็นส่วนปลายสุดของตัวอ่อน แมลงวันผลไม้ ซึง่ ประกอบด้วยส่วนสาคัญที่ใช้ในการจาแนกชนิดตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ ได้แก่ - รูหายใจบริเวณท้าย (posterior spiracle): ส่วนของรูหายใจท้ายมีลักษณะรูปร่างและจานวน แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กบั ชนิดแมลงวันผลไม้ - เส้นขวาง (Transverse line): เป็นเส้นสีดาหนา พาดขวางบริเวณส่วนท้ายของลาตัว 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
405
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาพที่ 1 ลักษณะสาคัญที่ใช้ในการจาแนกชนิดตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (ก) ปาก (ข) รูหายใจด้านหน้า (ค) บริเวณส่วนท้ายของลาตัว แนวทางวินิจฉัยตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini 1. Posterior end with a short transverse line at the apex (between the tubercles) (ภาพที่ 4); posteriors spiracular slits nearly equidistant from each other and nearly parallel ……………………………………………………………………....…………...…..……… 2 (Genus Zeugodacus) - Posterior end without a transverse line at the apex (between the tubercles); posteriors spiracular slits variable………………………………………….….………………………….… 3 (Genus Bactrocera) 2. Preapical tooth present. Anterior spiracle with 16 - 23 tubules…….......................Z. cucurbitae - Preapical tooth absent. Anterior spiracle with 14 -16 tubules…………..…..…….…...…...…….Z. tau 3. 4. -
Anterior spiracle with less than 14 tubules ………………………...…………….…...…..….……....…..……….4 Anterior spiracle with more than 14 tubules………………………..………...….…...…..…….…....……….…..5 Anterior spiracles with 9-11 tubules………..…………..………………………….…..……..….....……B. correcta Anterior spiracles with 10-12 tubu.…….……………………………………………….……B. dorsalis complex
5. Anterior spiracle with 13-18…..........................................……………….……….….…………...……B. latifrons - Anterior spiracle with 18 -21 tubules; each tubercle below posterior spiracle bearing two papillae………………………………..….…………………………………………..….…..…..……………....……..B. umbrosa Bactrocera (Bactrocera) correcta (Bezzi) (ภาพที่ 2ก 3ก และ 4ก) ชื่อสามัญ: แมลงวันฝรั่ง (guava fruit fly) ความยาวของลาตัว: 7.5 - 9 มิลลิเมตร ความกว้างของลาตัว: 1.4 – 1.5 มิลลิเมตร ตัวอ่อนรูปร่างยาวรี หัวเรียวเล็ก ส่วนท้ายจะมีขนาดใหญ่กว่าส่วนหัว (tapering anteriorly) มีสีขาว ค่อนข้างเหลือง บางส่วนของตัวอ่อนจะมีเส้นแข็งพาดขวางด้านใต้ของรูหายใจ ส่วนหัว: cephalic lobes พัฒนาได้ดี
406
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ปาก: บริเวณส่วนปลายของฟัน มีลักษณะเรียว ยาว แหลม รูปร่างคล้ายเคียว ไม่มี pre-apical tooth ส่วน ของคอมีขนาดสั้นเมื่อเทียบกับความยาวของฟัน dorsal apodeme ยื่นออกไปจากส่วนของกรามอย่างเห็นได้ ชัด (ภาพที่ 2ก) รูหายใจด้านหน้า: รูหายใจมีลักษณะโค้งนูนบริเวณขอบ มีจานวนตั้งแต่ 9 -11 อัน (ภาพที่ 3ก) รูหายใจด้านหลัง: อยู่บริเวณส่วนท้ายสุดของหนอน แต่ละข้างจะประกอบด้วยแท่งข้างละ 3 แท่ง รูหายใจที่ ส่วนปลายท้อง มีจานวน 3 อัน ยาวเรียวเป็น 2- 3 เท่าของความกว้าง (ภาพที่ 4ก) ลักษณะการทาลาย: ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ ตัวหนอนกัดกินและเจริญเติบโตในผลไม้หลากหลายชนิด ส่วนของพืชที่พบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เข้าทาลาย : ผล พืชอาหาร: ชมพู่ ฝรั่ง กระท้อน มะละกอ กล้วย กระท้อน พุทรา ละมุด น้อยหน่า และมะม่วง ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา: EMBT.L 0601 – EMBT.L 0620 (20 ตัวอย่าง) Bactrocera (Bactrocera) dorsalis Hendel (ภาพที่ 2ข 3ข และ 4ข) ชื่อสามัญ: แมลงวันผลไม้ (oriental fruit fly) ความยาวของลาตัว: 8 - 11 มิลลิเมตร ความกว้างของลาตัว: 1.7 -1.8 มิลลิเมตร ตัวหนอนมี รูป ร่างยาวรี หัวเรียวเล็ก ส่วนท้ ายจะมี ขนาดใหญ่ก ว่าส่วนหัว มี สีขาวค่อนข้างเหลือง บางส่วนของตัวอ่อนจะมีเส้นแข็งพาดขวางด้านใต้ของรูหายใจ ส่วนหัว: cephalic lobes พัฒนาได้ดี ปาก: บริเวณส่วนปลายของฟันมีลักษณะ ผอมแหลม ไม่มี pre-apical tooth ส่วนของคอ มี ขนาดสั้นเมื่ อ เทียบกับความยาวของฟัน dorsal apodeme ยื่นออกไปจากส่วนของกรามอย่างเห็นได้ชัด (ภาพที่ 2ข) รูหายใจด้านหน้า: รูหายใจมีลักษณะโค้งนูนบริเวณขอบ มีจานวนตั้งแต่ 10 - 12 อัน (ภาพที่ 3ข) รูหายใจด้านหลัง: รูหายใจที่ส่วนท้องไม่สามารถแยกอย่างเห็นได้ชัดจากส่วนปล้องท้องสุดท้าย รูหายใจที่ส่วน ปลายท้องมีจานวน 3 อัน ยาวเป็น 2- 3 เท่าของความกว้าง (ภาพที่ 4ข) พืชอาหาร: ชมพู่ ลาไย กระท้อน น้อยหน่า ขนุน มะละกอ ลิ้นจี่ กล้วย เงาะ ฝรั่ง พุทรา และมะม่วง ส่วนของพืชที่พบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เข้าทาลาย: ผล ลักษณะการทาลาย: ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ ตัวหนอนกัดกิน และเจริญเติบโตผล ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา: EMBT.L 0701 – EMBT.L 0720 (20 ตัวอย่าง) Bactrocera (Bactrocera) latifrons (Hendel) (ภาพที่ 2ค 3ค และ 4ค) ชื่อสามัญ: แมลงวันทองมะเขือ หรือ แมลงวันทองพริก (solanum fruit fly) ความยาวของลาตัว: 7.5 – 8.5 มิลลิเมตร ความกว้างของลาตัว: 1.1 - 1.2 มิลลิเมตร ตัวหนอนมี รูป ร่างยาวรี หัวเรียวเล็ก ส่วนท้ ายจะมี ขนาดใหญ่ ก ว่าส่วนหั วมี สีขาวค่อนข้างเหลือ ง บางส่วนของตัวอ่อนจะมีเส้นแข็งพาดขวางด้านใต้ของรูหายใจ ส่วนหัว: cephalic lobes พัฒนาได้ดี
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
407
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ปาก: บริเวณส่วนปลายของฟั นมีลักษณะแหลม ไม่มี pre-apical tooth ส่วนของคอมีขนาดสั้นเมื่อเทียบกับ ความยาวของฟัน ไม่มี dorsal apodeme (ภาพที่ 2ค) รูหายใจด้านหน้า: รูหายใจมีลักษณะโค้งนูนบริเวณขอบ มีจานวนตั้งแต่ 13 -18 อัน ในบางตัวอย่างที่นามา ศึกษาพบว่าตาแหน่งของ tubule นั้น ไม่ได้ตั้งอยู่ในทางเดียวกัน (ภาพที่ 3ค) รูหายใจด้านหลัง: รูหายใจที่ส่วนท้องไม่สามารถแยกอย่างเห็นได้ชัดจากส่วนปล้องท้องสุดท้าย รูหายใจที่ส่วน ปลายท้องมีจานวน 3 อัน ยาวเป็น 2- 3 เท่าของความกว้าง (ภาพที่ 4ค) พืชอาหาร: พืชตระกูลพริก มะเขือเปราะ และมะเขือยาว ส่วนของพืชที่พบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เข้าทาลาย: ผล ลักษณะการทาลาย: ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ ตัวหนอนกัดกิน และเจริญเติบโตในผล ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา: EMBT.L 0901 – EMBT.L 0920 (20 ตัวอย่าง) Bactrocera (Bactrocera) umbrosa (Fabricius) (ภาพที่ 2ง 3ง และ 4ง) ชื่อสามัญ: แมลงวันทองขนุน (bread fruit fly) ความยาวของลาตัว: 7.5 – 10.5 มิลลิเมตร ความกว้างของลาตัว: 1.1 - 1.3 มิลลิเมตร ตัวหนอนมี รูป ร่างยาวรี หัวเรียวเล็ก ส่วนท้ ายจะมี ขนาดใหญ่ ก ว่าส่วนหั วมี สีขาวค่อนข้างเหลือ ง บางส่วนของตัวอ่อน จะมีเส้นแข็ง พาดขวางด้านใต้ของรูหายใจ ส่วนหัว: cephalic lobes พัฒนาได้ดี ปาก: บริเวณส่วนปลายของฟันมีลักษณะแหลม ไม่มี pre-apical tooth ส่วนของคอมีขนาดสั้นเมื่อเทียบกับ ความยาวของฟัน ไม่มี dorsal apodeme (ภาพที่ 2ง) รูหายใจด้านหน้า: รูหายใจมีลักษณะโค้งนูนบริเวณขอบ มีจานวนตั้งแต่ 18 -21 อัน (ภาพที่ 3ง) รูหายใจด้านหลัง: รูหายใจที่ส่วนท้องไม่สามารถแยกอย่างเห็นได้ชัดจากส่วนปล้องท้องสุดท้าย รูหายใจที่ส่วน ปลายท้องมีจานวน 3 อัน ยาวเป็น 2- 3 เท่าของความกว้าง (ภาพที่ 4ง) พืชอาหาร: ขนุนและจาปาดะ ส่วนของพืชที่พบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เข้าทาลาย: ผล ลักษณะการทาลาย: ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ ตัวหนอนกัดกิน และเจริญเติบโตในผล ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา: EMBT.L1301 – EMBT.L1320 (20 ตัวอย่าง) Zeugodacus (Zeugodacus) cucurbitae (Coquillett) (ภาพที่ 2จ 3จ และ 4จ) ชื่อสามัญ: แมลงวันแตง (melon Fly) ความยาวของลาตัว: 9 -11 มิลลิเมตร ความกว้างของลาตัว: 1.2 -1.3 มิลลิเมตร ตัวหนอนมี รูป ร่างยาวรี หัวเรียวเล็ก ส่วนท้ ายจะมี ขนาดใหญ่ ก ว่าส่วนหั วมี สีขาวค่อนข้างเหลือ ง บางส่วนของตัวอ่อน จะมีเส้นแข็ง พาดขวางด้านใต้ของรูหายใจ ส่วนหัว: cephalic lobes พัฒนาได้ดี
408
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ปาก: บริเวณส่วนปลายของฟันมีลักษณะแหลม และมี pre-apical tooth ขนาดเล็กยื่นออกมา ส่วนของคอมี ขนาดสั้นเมื่อเทียบกับความยาวของฟัน ส่วนของ dorsal apodeme ทู่แบะยื่นออกไปเล็กน้อย (ภาพที่ 2จ) รูหายใจด้านหน้า: มีจานวนตั้งแต่ 16 -23 อัน (ภาพที่ 3จ) รูหายใจด้านหลัง: รูหายใจที่ส่วนท้องไม่สามารถแยกอย่างเห็นได้ชัดจากส่วนปล้องท้องสุดท้าย รูหายใจที่ส่วน ปลายท้องมีจานวน 3 อัน ยาวเป็น 2- 3 เท่าของความกว้าง (ภาพที่ 4จ) พืชอาหาร: พืชตระกูลแตง เช่น แตงโม ฟักเขียว แตงไทย แตงกวา มะระจีน มะระขี้นก บวบ เหลี่ยม บวบงู เมล่อน และตาลึง ส่วนของพืชที่พบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เข้าทาลาย: ผล ลักษณะการทาลาย: ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ ตัวหนอนกัดกิน และเจริญเติบโตในพืชผักผลไม้หลายชนิด ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา: EMBT.L1601 – EMBT.L1620 (20 ตัวอย่าง) Zeugodacus (Zeugodacus) tau (Walker)(ภาพที่ 2ฉ 3ฉและ 4ฉ) ชื่อสามัญ: แมลงวันฟักทอง (Pumpkin fly) ความยาวของลาตัว: 7.5 - 9 มิลลิเมตร ความกว้างของลาตัว: 1.1 – 1.2 มิลลิเมตร ตัวหนอนมี รูป ร่างยาวรี หัวเรียวเล็ก ส่วนท้ ายจะมี ขนาดใหญ่ก ว่าส่วนหัว มี สีขาวค่อนข้างเหลือง บางส่วนของตัวอ่อน จะมีเส้นแข็ง พาดขวางด้านใต้ของรูหายใจ ส่วนหัว: cephalic lobes พัฒนาได้ดี ปาก: บริเวณส่วนปลายของฟันมีลักษณะแหลม ไม่มี pre-apical tooth ขนาดเล็กยื่นออกมา ส่วนของคอมี ขนาดยาวเมื่อเทียบกับความยาวของฟัน ส่วนของ dorsal apodeme แหลมผอม ยื่นออก (ภาพที่ 2ฉ) รูหายใจด้านหน้า: รูหายใจมีลักษณะโค้งนูนบริเวณขอบ มีจานวนตั้งแต่ 14 -16 อัน (ภาพที่ 3ฉ) รูหายใจด้านหลัง: รูหายใจที่ส่วนท้องไม่สามารถแยกอย่างเห็นได้ชัดจากส่วนปล้องท้องสุดท้าย รูหายใจที่ส่วน ปลายท้องมีจานวน 3 อัน ยาวเป็น 2- 3 เท่าของความกว้าง (ภาพที่ 4ฉ) พืชอาหาร: พืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงโม ฟัก มะระ และเมล่อน ส่วนของพืชที่พบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เข้าทาลาย: ผล ลักษณะการทาลาย: ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ ตัวหนอนกัดกิน และเจริญเติบโตในผล ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา: EMBT.L 1901 – EMBT.L 1920 (20 ตัวอย่าง)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
409
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาพที่ 2 ส่วนของปากทีม่ ีลกั ษณะเป็นโครงสร้างแข็งของตัวอ่อนระยะที่สามของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (ก) Bactrocera correcta (ข) Bactrocera dorsalis (ค) Bactrocera latifrons (ง) Bactrocera umbrosa (จ) Zeugodacus cucurbitae (ฉ) Zeugodacus tau
ภาพที่ 3 รูหายใจด้านหน้าของตัวอ่อนระยะทีส่ ามของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (ก) Bactrocera correcta (ข) Bactrocera dorsalis (ค) Bactrocera latifrons (จ) Bactrocera umbrosa (จ) Zeugodacus cucurbitae (ฉ) Zeugodacus tau
410
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาพที่ 4 รูหายใจส่วนท้ายของตัวอ่อนระยะทีส่ ามของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (ก) Bactrocera correcta (ข) Bactrocera dorsalis (ค) Bactrocera latifrons (ฉ) Bactrocera umbrosa (จ) Zeugodacus cucurbitae (ฉ) Zeugodacus tau 2. การศึกษาชนิดแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ด้วยเทคนิค Morphometrics 2.1 กาหนดจุดสังเกต (Landmark based data) การกาหนดจุดสังเกตลงบนปีกซึง่ เป็นอวัยวะที่เราต้องการศึกษา โดยข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลพิกัดคาร์ที เซียน (cartesian coordinate) ซึ่งเป็นข้อมูลที่อยู่ในระนาบสองมิติ (x, y) หรือระนาบสามมิติ (x, y, z) โดย เป็นจุดที่แสดงถึงความสัมพันธ์เชิงหน้าที่ของโครงสร้างหรืออวัยวะที่เรียกว่า“โฮโมโลจี” (homology) โดยมี ลักษณะเป็นจุดคู่เหมือน (homologous point) คือเป็นจุดที่มีตาแหน่งตรงกันทัง้ ในระดับภายในประชากร (interspecies) และระหว่างประชากร (interspecies) (ภาพที่ 5) ซึ่งใช้จุดสังเกตุนั้นเป็นตัววิเคราะห์ความ แตกต่างและความแปรผันทางสัณฐานวิทยาของตัวอย่างปีกแมลงวันผลไม้
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
411
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาพที่ 5 ตาแหน่งจุดสังเกตุ (landmark) บนปีกด้านขวาของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ที่ใช้ในการศึกษาด้วย เทคนิค Morphometrics ของปีก (ก) Bactrocera carambolae (ข) Bactrocera cilifera (ค) Bactrocera correcta (ง) Bactrocera dorsalis (จ) Bactrocera latifrons (ฉ) Bactrocera uberculata (ช) Bactrocera zonata (ซ) Bactroecer umbrosa (ฌ) Zeugodacus cucurbitae (ญ) Zeugodacus tau 2.2 ขนาดเซนทรอยด์ (centroids size) จากปีกของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini จากขนาดของเซนทรอย์ด้วยวิธีการทาง morphometrics จากปีกของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini จานวน 10 ชนิด พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P < 0.05) โดยขนาดเซนทรอยด์จากแมลงวันทอง ฝรัง่ B. latifrons มีขนาดเล็กสุด (5.54 ± 0.40) และ B. tuberculata มีขนาดใหญ่สุด (6.38 ± 0.31) (ภาพที่ 6)
412
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาพที่ 6 ค่าเฉลี่ย (ค่าความคลาดเลื่อน) ของขนาดเซนทรอย์จากปีกแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini จานวน 10 ชนิดค่าเฉลี่ยที่มีตัวอักษรเหมือนกันคือไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติทรี่ ะดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 (P < 0.05) จากการวิเคราะห์ด้วย one-way ANOVA with a Tukey post hoc test (F9, 190 = 6.495; P < 0.05) 2.3 การศึกษา allometric effect ด้วยกระบวนการ multiple regression การกาหนดค่า allometric effect ของการทา multiple regression จากรูปร่างของปีกแมลงวันผลไม้ เผ่า Dacini ต่อขนาดของเซนทรอยด์พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P < 0.0001) 2.4 การวิเคราะห์รูปร่างของปีกแมลงวันผลไม้ตามหลัก Canonical variate analysis (CVA) จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนของรูปร่างปีกจากแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ทั้ง 10 ชนิด ตามหลักการ CVA พบความแตกต่างระหว่างสกุลของแมลงวันผลไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณแกนหลัก พบวงกลมแต่ละสี ซึ่งเป็นตัวแทนของแมลงวันผลไม้แต่ละชนิดใน 2 สกุล (Bactrocera และ Zeugodacus) นั้น พบว่าแมลงวัน ผลไม้ในสกุล Zeugodacus แยกออกจากแมลงวันผลไม้สกุล Bactrocera ซึ่งเกาะกลุ่มกันอย่างชัดเจน แสดง ถึงรูปร่างปีกของแมลงวันผลไม้ในสกุล Zeugodacus นั้นมีความแตกต่างจากแมลงวันผลไม้สกุล Bactrocera อย่างชัดเจน และพบว่าแมลงวันผลไม้ชนิดต่าง ๆ ในสกุล Bactrocera นั้นเกาะกลุ่มกันตามแนวแกน CVA ซึ่งแสดงให้เห็นว่าแสดงให้เห็นว่า แมลงวันผลไม้ทั้งหมดในสกุล Bactrocera นั้นมีรูปร่างของปีกคล้ายคลึงกัน มาก และในแมลงวันผลไม้ ในสกุ ล Bactrocera พบว่า B. zonata นั้น มี ลัก ษณะรูป ร่างปี ก แตกต่างจาก แมลงวันผลไม้ชนิดอื่น ๆ ในสกุลนี้ (ภาพที่ 7)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
413
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาพที่ 7 แสดงรูปร่างของปีก (wing shape) ของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini จากการวิเคราะห์ด้วย Canonical variate analysis (CVA) ที่ค่าความเชื่อมั่นที่ 95% ซึ่งจุดแต่ละจุดเป็นตัวแทนของแมลงวันผลไม้ แต่ละตัว และสีแต่ละสีเป็นตัวแทนแมลงวันทองแต่ละชนิด วิจารณ์ผลการทดลอง การศึกษาอนุกรมวิธานของตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ในครั้งนี้ เป็นครั้งแรกทีม่ ีการศึกษาใน ประเทศไทย เนื่องจากตัวอ่อนนั้นมีลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาที่ใกล้เคียงกันมาก ทาให้ยากในการตรวจจาแนก ชนิด และพบว่ายังมีตัวอ่อนแมลงวันผลไม้อีกหลายชนิดโดยเฉพาะอย่างยิง่ แมลงวันผลไม้ในกลุ่ม B. dorsalis complex ที่ไม่สามารถจาแนกได้โดยวิธีการอนุกรมวิธานแบบดั้งเดิม ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาทางชีวโมเลกุล โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcode) เพิ่มเติมเพื่อยืนยันความถูกต้อง ซึ่งจะก่อให้เกิด ประโยชน์มากยิ่งขึ้น นอกจากนีผ้ ลจากการศึกษา morphometrics จากปีกของแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ยังช่วยยืนยัน รูปร่างของปีกแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini เพิ่มเติม ซึง่ ก่อนหน้านี้ Kithawee & Rungsri (2011) ได้ทาการศึกษา morphometrics จากปีกในแมลงวันฟักทอง Z. tau และ Boontop et al., (2017) ศึกษาในแมลงวันแตง Z. cucurbitae เพียงเท่านั้น ดังนั้นการศึกษาครั้งนีจ้ ัดเป็นครั้งแรกที่มกี ารใช้เทคนิค morphometrics จากปีก มาร่วมศึกษากับอนุกรมวิธานแบบดั้งเดิม ซึง่ ผลจากการศึกษาครั้งนี้พบว่า ขนาดของเซนทรอย์จากแมลงวัน ทองฝรั่ง B. latifrons มีขนาดเล็กสุด และ B. tuberculata มีขนาดใหญ่สุด ซึง่ อาจส่งผลมาจากคุณภาพของ อาหารที่ตัวหนอนกินเข้าไป (Kithawee & Rungsri, 2011) เนื่องจาก B. latifrons นั้นมีความเจาะจงต่อพืช อาศัย (พริกและมะเขือ) ซึ่งข้อจากัดในด้านปริมาณและคุณภาพของอาหารอาจส่งผลต่อขนาดของเซนทรอย์ได้ (Boontop et al., 2017) และจากการทดสอบค่า allometric effect พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ จึงสามารถยืนยันได้ว่า ผลกระทบจาก allometric นั้น ไม่ได้มีผลต่อรูปร่างของปีกแมลงวันผลไม้ เผ่า Dacini ซึง่ สอดคล้องกับการศึกษาในแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex และ Z. cucurbitae (Kroch et al., 2011; Boontop et al., 2017) การศึกษาครัง้ นีส้ ามารถนาข้อมูลที่ได้ไปศึกษารูปร่างของปีก (wing 414
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
shape) ต่อไปได้ ผลจากการวิเคราะห์ความแปรปรวนของรูปร่างปีกจากแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ทั้ง 10 ชนิด ตามหลักการ CVA พบว่ารูปร่างปีกของแมลงวันผลไม้ในสกุล Zeugodacus นั้นมีความแตกต่างจากแมลงวัน ผลไม้สกุล Bactrocera อย่างชัดเจน การศึกษารูปร่างของปีกในครั้งนี้มีความสาคัญอย่างยิง่ เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงรูปร่างของปีกนั้นมีผลต่อการจับคูผ่ สมพันธุ์ของแมลงวันผลไม้อกี ด้วย เพราะแมลงวันผลไม้เพศผู้ จะจดจารูปร่างของปีกในการเลือกจับคู่ผสมพันธุ์ (Sivinski & Pereira, 2005) ดังนั้นความแปรปรวนของ รูปร่างปีกจึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่เป็นตัวกาหนดชนิด ซึ่งอาจส่งผลต่อการเกิดชนิดใหม่ขึ้นอีกด้วย (De Quieroz, 2007) ดังนั้นการศึกษาครัง้ นี้เป็นครั้งแรกในการศึกษาอนุกรมวิธานชนิด และการจัดทาแนวทางวินิจฉัยของ แมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ในประเทศไทย เป็นการนาเทคนิคที่ไม่ยุ่งยาก และเลือกเอาลักษณะเด่นทีง่ ่ายต่อการ มองเห็นมาจัดทาเป็นแนวทางวินิจฉัยเหมาะสาหรับวิชาการ หรือเจ้าหน้าที่ด่านตรวจพืชต่าง ๆ เพื่อให้นาไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงเมื่อมีการตรวจพบตัวอ่อนแมลงวันผลไม้ที่ติดมาพืชผักผลไม้ที่ต้องการส่งออกหรือ นาเข้า นอกจากนี้ยงั สามารถใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการส่งออกพืชผักผลไม้ของไทย รวมทัง้ เป็นข้อมูลในการ จัดทาบัญชีรายชื่อศัตรูพืช (pest list) ของชนิดแมลงวันผลไม้ที่มีในประเทศไทยได้อีกด้วย ข้อมูลทั้งหมดจาก การศึกษาครั้งนีส้ ามารถนามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ที่ใช้สนับสนุนเพื่อให้ข้อมูลการจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ใน ประเทศไทยให้มีความน่าเชื่อถือ และมีความทันสมัยเทียบเท่าสากลด้วยวิธีการแบบผสมผสาน (integrative taxonomy) (Krosch et al., 2013) รวมทัง้ สามารถนาไปใช้ประยุกต์เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการป้องกัน กาจัด รวมทั้งการนาเข้าส่งออกผักผลไม้ไปยังต่างประเทศต่อไป สรุปผลการทดลอง จากการเก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงวันผลไม้ทั้งตัวอ่อนจากพืชอาหารชนิดต่าง ๆ และตัวเต็มวัย ทั่วทุก ภูมิภาคของประเทศไทย นาตัวอ่อนระยะที่ 3 วัดขนาดและทาสไลด์ถาวรส่วนที่มีลกั ษณะสาคัญในการศึกษา อนุกรมวิธาน เช่น ปาก รูหายใจด้านข้าง และด้านท้าย สามารถสร้างแนวทางวินจิ ฉัยชนิดตัวอ่อนแมลงวัน ผลไม้เผ่า Dacini ได้ 6 ชนิด และผลจากการศึกษา morphometrics ของปีกนั้นก็เป็นอีกหนึ่งวิธีการที่ช่วย ยืนยันและสร้างความน่าเชื่อถือในการจาแนกแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ของไทยให้มีความทันสมัย น่าเชื่อถือใน ระดับสากล เอกสารอ้างอิง Aluja, M., Norrbom, A.L. 2001. Fruit Flies (Tephritidae): Phylogeny and Evolution of behavior. Florida, USA, CRC Press. De Queiroz, K. 2007. Species concepts and species delimitation. Systematic Biology, 56(6), 879886. Boontop Y., MK Schutze, AR Clarke, SL Cameron, MN Krosch. 2017. Signatures of invasion: using an integrative approach to infer the spread of melon fly, Zeugodacus cucurbitae 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
415
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
(Diptera: Tephritidae), across Southeast Asia and the West-Pacific. Biological invasions 19 (5), 1597-1619 Hernández-Ortiz, V., Bartolucci, A.F., Morales-Valles, P., Frias, D. & Selivon, D. 2012. Cryptic species of the Anastrepha fraterculus complex (Diptera: Tephritidae): a multivariate approach for the recognition of South American morphotypes. Annals of the Entomological Society of America 105: 305-318. Kitthawee, S. & Rungsri, N. 2011. Differentiation in wing shape in the Bactrocera tau (Walker) complex on a single fruit species in Thailand. Science Asia, 37, 308-313. Klingenberg, C. P. (2011). MorphoJ: an integrated software package for geometric morphometrics. Molecular Ecology Resources, 11, 353-357. Krosch, M.N., Schutze, M., Armstrong, K.F., Graham, G.C., Yeates, D.K. & Clarke, A.R. 2012. A molecular phylogeny for the Dacini (Diptera: Tephritidae): Systematic and biogeographic implications. A molecular phylogeny for the Tribe Dacini (Diptera: Tephritidae): Systematic and biogeographic implications. Molecular Phylogenetics and Evolution. doi.org/10.1016/j.ympev.2012.05.006 Krosch, M.N., Schutze, M.K., Armstrong, K.F., Boontop, Y., Boykin, L.M., Chapman, T.A., Englezou, A., Cameron, S.L. & Clarke, A.R. 2013. Piecing together an integrative taxonomic puzzle: microsatellite, wing shape and aedeagus length analyses of Bactrocera dorsalis s.l. (Diptera: Tephritidae) find no evidence of multiple lineages in a proposed contact zone along the Thai/Malay Peninsula. Systematic Entomology 38: 2-13. Schutze, M.K., Jessup, A. & Clarke, A.R. 2012. Wing shape as potential discriminator of morphologically similar pest taxa within the Bactrocera dorsalis species complex (Diptera: Tephritidae). Bulletin of Entomological Research 102: 103-111 Sivinski, J., & Pereira, R. 2005. Do wing markings in fruit flies (Diptera: Tephritidae) have sexual significance? Florida entomologist, 88(3), 321-324.
416
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-01
ภาคผนวก ตารางผนวกที่ 1 สถานที่เก็บตัวอย่างแมลงวันผลไม้ (ภูมิภาคและจังหวัด) ประเภทของสารดึงดูด และพืช อาศัย ภูมิภาค 1. ภาคกลาง
2. ภาคตะวันตก 3. ภาคเหนือ 4 ภาค ตะวันออก 5. ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 6. ภาคใต้
จังหวัด กรุงเทพมหานคร นครปฐม ราชบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบูรณ์ เพชรบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์ ตาก กาญจนบุรี กาแพงเพชร ลาพูน เชียงใหม่ เชียงราย และน่าน จันทบุรี และระยอง ขอนแก่น เลย อุดรธานี นครราชสีมา สระบุรี บุรรี ัมย์ สุรินทร์ หนองคาย มหาสารคาม ชัยภูมิ และอุบราชธานี ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ระนอง ตรัง พัทลุง สงขลา กระบี่ พังงา และภูเก็ต
สารดึงดูด เมทิลยูจินอล และ คิวลัวร์
เมทิลยูจินอล และ คิวลัวร์ เมทิลยูจินอล และ คิวลัวร์ เมทิลยูจินอล และ คิวลัวร์ เมทิลยูจินอล และ คิวลัวร์ เมทิลยูจินอล และ คิวลัวร์
พืชอาศัย ชมพู่ ฝรั่ง แตงกวา ฟักเขียว มะระขี้นก และ ฟักทอง ฟักเขียว มะระ ขี้นก และชมพู่ ฟักเขียว มะระ ขี้นก ชมพู่ ฟักเขียว มะระ ขี้นก ชมพู่ ฟักทอง แตงโม ฝรัง่ และมะม่วง กระท้อน ฝรัง่ ชมพู่ มะม่วง และ ขนุน
ตารางผนวกที่ 2 ชื่อวิทยาศาสตร์ จานวนตัวอย่าง ความยาวและความกว้างของตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ชื่อวิทยศาสตร์ จานวนตัวอย่าง ความยาว (มม.) ความกว้าง (มม.) 1 B. correcta 20 8.619 ± 0.494 1.499 ± 0.116 2 B. dorsalis complex 20 10.084 ± 0.269 1.755 ± 0.068 3 B. latifrons 20 8.219 ± 0.410 1.199 ± 0.096 4 B. umbrosa 20 10.952 ± 0.810 1.795 ± 0.098 5 Z. cucurbitae 20 9.381 ± 0.442 1.200 ± 0.133 6 Z. tau 20 7.962 ± 0.610 1.114 ± 0.955
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
417
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
อนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง (Hemiptera: Cicadellidae) ในประเทศไทย Taxonomy of Mango Leafhoppers (Hemiptera: Cicadellidae) in Thailand เกศสุดา สนศิริ จารุวัตถ์ แต้กุล ยุวรินทร์ บุญทบ สุนัดดา เชาวลิต ชมัยพร บัวมาศ อิทธิพล บรรณาการ Kessuda Sonsiri Charuwat Taekul Yuwarin Boontop Sunadda Chaowalit Chamaiporn Buamas and Ittipon Bannakan สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900
บทคัดย่อ เพลี้ย จัก จั่น มะม่ ว ง (Hemiptera: Cicadellidae) เป็ น แมลงศั ตรูส าคัญ ในมะม่ วง สร้างความ เสียหายโดยการดูดกินน้าเลี้ยงจากใบ ยอดอ่อน และช่อดอก ทาให้ ใบหงิก ขอบใบไหม้ ดอกแห้งและร่วง ติดผลน้อยหรือไม่ติดผล หากมี การระบาดรุนแรงจะทาให้ผลผลิตลดลง 80 - 100 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจาก เพลี้ยจักจั่นในกลุ่มนี้มีรปู ร่างลักษณะที่คล้ายคลึงกันยากแก่การจาแนกชนิด วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ ทราบชนิด เขตการแพร่กระจาย พร้อมจัดทาแนวทางการวินิจฉัย เพื่อเป็นข้อมูลจัดทารายชื่อแมลงศัตรูพืช และวิเคราะห์ความเสี่ยงแมลงศัตรูพืช ในการนาเข้าและส่งออกผลผลิตทางการเกษตรรวมทั้งเป็นข้อมูล เบื้องต้นในการศึก ษาด้านกี ฏวิท ยาทุ ก สาขาวิชาที่เกี่ ยวข้อง ดาเนินการระหว่างเดือนตุล าคม 2559 ถึง กันยายน 2562 จากการศึกษาโดยการสารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่างเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วงจากแปลง ปลูกที่สาคัญทั่วทุกภาคของประเทศไทย นามาจาแนกชนิดตามหลักอนุกรมวิธาน และใช้แนวทางวินิจฉัย ตาม Distant (1908) และ Dietrich (2005) พบเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วงจานวน 4 สกุล 8 ชนิด ได้แก่ Amrasca splendens Ghauri, Amritodus atkinsoni (Lethierry), Idioscopus clypealis (Lethierry), Idioscopus nagpurensis (Pruthi), Idioscopus nitidulus (Walker), Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles, Idioscopus chumphoni Hongsaprug และ Mangganeura reticulata Ghauri ซึ่ งเพลี้ย จัก จั่น สกุ ล Amritodus เป็ นการรายงานครั้งแรกใน ประเทศไทย และชนิ ดที่ เป็ นศั ตรู ส าคั ญของมะม่ วง ได้ แก่ I. clypealis, I. nagpurensis และ I. nitidulus ทั้ ง นี้ ได้ บรรยายลักษณะทางสัณฐานวิทยา เขตการแพร่กระจาย และแนวทางการวินิจฉัย (Key to species) ของ เพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วงที่ได้สารวจพบในครั้งนี้ไว้ด้วยแล้ว คาสาคัญ : เพลี้ยจักจั่น อนุกรมวิธาน Cicadellidae Hemiptera
418
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ABSTRACT Mango leafhoppers are major pests in mango. Nymphs and adults of the leafhoppers puncture and suck the sap from tender shoots, inflorescences and leaves of mango trees, which cause non-setting of flowers and dropping of immature fruits. The yield loss may reach 80 – 100 percent, if severe outbreaks are found. Presented with similar shapes and characters, this pest is difficult to identify to species. The objectives of this study are to gain better insight in the identification at species level as well as the distributions of the mango leafhoppers in Thailand. The results are applied in a pest list and pest risk analysis program for the import-export agricultural products. A survey and collecting were implemented from October 2016 – September 2019 on the mango crops across the country. The insect samples were examined based on classical taxonomy and identification to the species level followed Distant (1908) แ ล ะ Dietrich (2005). The result revealed that 4 genera 8 species were found comprising, Amrasca splendens Ghauri, Amritodus atkinsoni (Lethierry), Idioscopus clypealis (Lethierry), Idioscopus nagpurensis (Pruthi), Idioscopus nitidulus (Walker), Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles, Idioscopus chumphoni Hongsaprug and Mangganeura reticulata Ghauri. Amritodus is considered as new to the genus record in Thailand. I. clypealis, I. nagpurensis and I. nitidulus are most common and destructive species of hoppers, which cause heavy damage to mango crops. The species descriptions and the key to species are presented. Keywords: Mango leafhopper, Taxonomy, Cicadellidae, Hemiptera คานา มะม่วง (Mangifera indica (Linn.)) เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย นิยม ปลูกเพื่อบริโภคและส่งขายทั้งในและนอกประเทศ นารายได้เข้าประเทศปีละหลายพันล้านบาท (สานัก เศรษฐกิจการเกษตร, 2561) เพลี้ยจักจั่น (leafhopper) เป็นแมลงจัดอยู่ในวงศ์ Cicadellidae อันดับย่อย Auchenorrhyncha อั นดับ Hemiptera ปัจ จุบันพบเพลี้ยจักจั่นในวงศ์นี้แล้ว 22,600 ชนิด ใน 40 วงศ์ ย่อย (subfamily) มากกว่า 170 สกุล (genus) มีเขตการแพร่กระจายทั้งเขตอบอุ่นและเขตร้อน (Knight, 2010; Dietrich, 2005) ในประเทศไทย วารี (2543) ได้รายงานว่า พบเพลี้ยจักจั่นจานวน 4 สกุล 8 ชนิด ที่เป็นศัตรูสาคัญในมะม่วง โดยทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้าเลี้ยงจากใบและยอดอ่อน ทาให้ใบหงิก และขอบใบไหม้ไม่สามารถผลิตช่อดอก หากดูดกินน้าเลี้ยงจากช่อดอก จะทาให้ดอกแห้งและร่วง ติดผล น้อยหรือไม่ติดผลเลย นอกจากนี้ในขณะที่ดูดกินน้าเลี้ยง เพลี้ยจักจั่นจะถ่ายมูลมี ลักษณะเป็นของเหลว เหนียวๆคล้ายน้าหวาน เรียกว่า Honey dew หรือมูลหวาน ติดตามช่อดอกและใบ และรอบๆทรงพุ่ม มูล น้าหวานนี้เป็นอาหารของราดา (sooty mold) ทาให้ราดามีการเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ปกคลุมใบ ช่อ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
419
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ดอก ซึ่งมีผลกระทบต่อการสังเคราะห์แสงของใบ (Nene, 2001; Butani, 1979; Sen และ Chaudhari, 1961) หากขนาดประชากรที่ ล งท าลายมี จ านวนมากอาจท าให้ ผ ลผลิ ต ลดลง 20-100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ (Verghese และ Rao, 1985) และพบระบาดทั่วไปทุกท้องที่ที่มีการปลูกมะม่วง เนื่องจากเพลี้ยจักจั่นใน กลุ่มนี้มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาภายนอกคล้ายคลึงกันยากแก่การจาแนกชนิด และในประเทศไทยยังไม่มี การสารวจชนิดทั่วทุกภูมิภาค ดังนั้นจึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาเพื่อให้ทราบชนิดเขตการ แพร่กระจาย พร้อมจัดทาแนวทางการวินิจฉัยชนิด เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องจาแนกชนิดได้อย่ างถูกต้อง รวมถึง เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาด้านกีฏวิทยาทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลในการจัดทา บัญชีรายชื่อศัตรูพื ช (Pest list: PL) และการวิเคราะห์ความเสี่ยง (Pest Risk Analysis: PRA) สนับสนุน การนาเข้าและส่งออกมะม่วงของประเทศไทย อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์ 1) ตัวอย่างเพลี้ยจักจั่น ที่รวบรวมได้จากแปลงปลูกมะม่วง และตัวอย่างที่เก็บรักษาไว้ใน พิพิธภัณฑ์แมลง กรมวิชาการเกษตร 2) อุปกรณ์เก็บตัวอย่าง ได้แก่ สวิงจับแมลง (insect net) ขวดฆ่าแมลง (killing jar) ขวดดอง ปากคีบ พู่กัน กล่องพลาสติก ถุงพลาสติก ซองกระดาษใส่ตัวอย่าง ถังรักษาความเย็น และเครื่องวัดค่าพิกัด ภูมิศาสตร์ (GPS) 3) อุปกรณ์และสารเคมีต่างๆ สาหรับใช้ในการทาสไลด์ถาวรอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (male genitalia) ได้ แ ก่ potassium hydroxide 10 %, alcohol 70-95 %, aetic acid gacial, clove oil แ ล ะ canada balsam แผ่นสไลด์แก้วและแผ่นแก้วปิดสไลด์ ตู้อบสไลด์ถาวร 4) อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดรูปร่างแมลง เช่น เข็มไร้สนิม เบอร์ 0 เข็มหมุดหัวกลม ไม้จัดรูปร่างแมลง กระดาษว่าวสีใส กระดาษแข็งรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก (card point) ปากคีบ โหลชื้น ตู้อบแมลง ฯลฯ 5) กล้องจุลทรรศน์ชนิด stereo microscope, compound microscope และกล้องถ่ายภาพ 6) เอกสารประกอบการจาแนกชนิดของเพลี้ยจักจั่นในวงศ์ Cicadellidae ของ Distant (1908) และ Dietrich (2005) วิธีการ 1) สารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่างเพลี้ยจักจั่นในแปลงปลูกมะม่วงที่สาคัญทั่วทุกภูมิภาคของ ประเทศไทย โดยการเดินสุ่มสารวจทั่วแปลงโดยใช้สวิงจับแมลง โฉบเพื่อเก็บเพลี้ยจักจั่นจากแปลงปลูก มะม่วง ฆ่าโดยใช้ขวดฆ่า ซึ่งบรรจุน้ายาเอททิล อะซิเตด หลังจากเพลี้ยจักจั่นตายแล้ว เก็บใส่ซองกระดาษ สามเหลี่ยมและนาไปเก็ บ ไว้ในกล่อ งเก็บ ตัวอย่างแมลงเพื่อป้องกั นการกระทบกระเทื อนซึ่ง อาจท าให้ ตัวอย่างเกิดความเสียหาย บันทึกข้อมูลเบื้องต้น เช่น พืชอาหาร สถานที่ วัน เดือน ปี วัดค่าพิกัดภูมิศาสตร์ และชื่อผู้เก็บตัวอย่าง ทุกครั้งที่เก็บตัวอย่าง 2) การเตรียมตัวอย่างเพื่อจาแนกชนิด นาตั ว อย่ า งเพลี้ ย จั ก จั่ น ที่ ไ ด้ จ ากการสารวจ มาจั ด รู ป ร่ า งโดยนาไปติ ด บนกระดาษรู ป สามเหลี่ย มขนาดเล็ ก จัดรูปร่างให้เห็นด้านหลังและด้านข้าง นาไป อบแห้งในตู้อบตัวอย่างแมลง ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส นาน 15 - 30 วัน เพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วงบาง 420
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ชนิดที่ มี ลัก ษณะภายนอกใกล้เคี ยงกั นมากจ าเป็น ต้องใช้ข้ อแตกต่ างของอวัยวะสื บ พั นธุ์เพศผู้ (male genitalia) ในการจาแนกชนิด ซึ่งจะทาตามวิธีการของ Knight (1965) 3) การตรวจจาแนกชนิด นาตัวอย่างเพลี้ยจักจัน่ ที่ผา่ นการอบจนแห้งแล้วมาตรวจวิเคราะห์จาแนกชนิด ใต้กล้องจุลทรรศน์ stereo microscope ตรวจสอบลักษณะที่สาคัญทางอนุกรมวิธานด้วยการใช้เอกสาร แนวทางการวินิจฉัยชนิดของ Distant (1908) และ Dietrich (2005) ลักษณะสาคัญที่ใช้จาแนกชนิด ได้แก่ ลักษณะลวดลายบนส่วนหัว (head) และใบหน้า (face) ตาเดี่ยว (ocelli) แผ่นเหนือริมฝีปากบน (clypeus) สั น หลั ง อกปล้ อ งแรก (pronotum) แผ่ น แข็ ง ทรงสามเหลี่ ย มบริ เ วณท้ า ยส่ ว นอกด้ า นสั น หลั ง (scutellum)ลั ก ษณะส่ ว นปลายของขาคู่ ห ลั ง (hind basitarsus) และอวั ย วะสื บ พั น ธุ์ เ พศผู้ (male genitalia) ได้แก่ aedeagus 4) ถ่ายภาพใต้กล้องจุลทรรศน์ แบบ stereo และแบบ compound บันทึกรายละเอียดบนแผ่น ป้ายบันทึกเพลี้ยจักจั่นแต่ละตัว พร้อมทั้งใส่หมายเลขประจาตัว 5) จัดทาแนวทางวินิจฉัย (key) สกุลและชนิดของเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง ที่รวบรวมได้ 6) จัดเก็บตัวอย่างที่ได้ศึกษาเก็บรวบรวมไว้ในพิพิธภัณฑ์ โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามระบบสากล ของการเก็บรักษาตัวอย่างแมลง เพื่อตรวจสอบ สืบค้น และอ้างอิงในภายหลัง เวลาและสถานที่ เวลา สถานที่
ตุลาคม 2559 สิ้นสุด กันยายน 2562 - แหล่งปลูกมะม่วงทั่วทุกภาคของประเทศไทย - ห้องปฏิบัติการกลุ่มงานอนุกรมวิธานแมลง กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ ผลและวิจารณ์
การศึกษาอนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นในวงศ์ Cicadellidae ที่เป็นศัตรูของมะม่วงในแหล่งปลูกที่สาคัญ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย จานวน 9,555 ตัวอย่าง วิเคราะห์ชนิดโดยใช้แนวทางการวินิจฉัยของ Distant (1908) และ Dietrich (2005) รวมทั้งเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่มีในพิพิธภัณฑ์แมลงของสานักวิจัยพัฒนาการ อารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร สามารถวิเคราะห์ชนิด ได้ 8 ชนิด โดยมีรายละเอียด ดังนี้ แนวทางการวินิจฉัยในระดับชนิด 1 ก. ส่วนปลายของขาคู่หลัง (hind basitarsus) มีลักษณะหัวตัด (ภาพที่ 2ก)…………………….…..(2) ข. ส่วนปลายของขาคู่หลัง (hind basitarsus) มีลกั ษณะแหลม (ภาพที่ 2ข)…………………….….(3) 2 ก. สันหลังอกปล้องแรก (pronotum) มีจุดสีดาหนึ่งคู่บนขอบส่วนหน้า, อวัยวะเพศผู้ (aedeagus) ไม่มีรยางค์.………………………………………………………………….Amritodus atkinsoni (Lethierry) ข. สันหลังอกปล้องแรก (pronotum) มีจุดดาประปราย, อวัยวะเพศผู้ (aedeagus) มีรยางค์ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
421
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
…………..……………………………………………………………………………………………………………………..(4) 3 ก. สันหลังอกปล้องแรก (pronotum), ตรงกลางส่วนหัว, แผ่นแข็งทรงสามเหลี่ยมบริเวณท้ายส่วน อกด้านสันหลัง (scutellum) และใกล้ปลายปีก มีจุดสีแดงเข้มเกือบดา……………………………….. ……………………………………………………………….…………….…….….Amrasca splendens Ghauri ข. สันหลังอกปล้องแรก (pronotum) มีลักษณะนูน ขอบหน้ายื่นเป็นรูปโค้ง ยาวรี ผิวของสันหลัง อกปล้องแรกแตกระแหงเป็นตาข่าย ใบหน้ายาว มีแถบสีดาจากส่วนบนใบหน้ามาจดแผ่นเหนือ ริมฝีปาก (clypeus)…………………………………………………….Mangganeura reticulata Ghauri 4 ก. สันหลังอกปล้อง (pronotum), แผ่นแข็งทรงสามเหลี่ยมบริเวณท้ายส่วนอกด้านสันหลัง (scutellum), พื้นของใบหน้า และ 2/3 ของพื้นที่ clavus ที่ชิดกับเส้นปีกมีสีเหลือง……………... ………………………………………………………….….Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles ข. สันหลังอกปล้องแรก (pronotum), แผ่นแข็งทรงสามเหลี่ยมบริเวณท้ายส่วนอกด้านสันหลัง (scutellum) และพื้นที่ของใบหน้า และ 2/3 ของพื้นที่ clavus ที่ชิดกับเส้นปีกไม่มีสีเหลือง ………………………………………………………………………………………………………………………………….(5) 5 ก. ส่วนหัวมีจุดสีดาขนาดใหญ่ 2 จุด มองเห็นได้ทั้งด้านบนและด้านล่าง……..………………………….(6) ข. ส่วนหัวไม่มีจุดสีดา…………………………………………………………….…………………..……………………(7) 6 ก. แผ่นเหนือริมฝีปากบน (clypeus) มีสีดาเต็มแผ่น อวัยวะเพศของเพศผู้ (aedeagus) มีรยางค์ 4 เส้น ยาว 2 เส้น สั้น 2 เส้น……………………….………………..Idioscopus clypealis (Lethierry) ข. แผ่นเหนือริมฝีปากบน (clypeus) มีสีดาครึ่งแผ่น, อวัยวะเพศของเพศผู้ มีรยางค์ 4 เส้น ค่อนข้างสั้น…………………………….………………………….………Idioscopus nagpurensis (Pruthi) 7 ก. ใบหน้า (face) ตรงกลางมีแถบสีน้าตาลเข้มทอดขวางและจุดสีขาวบนใบหน้าจะอยู่ในระดับ เสมอกับตาเดี่ยว (ocelli) และ aedeagus มีลักษณะทรงกระบอกส่วนปลายโค้งงอเล็กน้อย มี รยางค์ 4 เส้น ยาว 2 เส้น สั้น 2 เส้น………………………………..Idioscopus nitidulus (Walker) ข. ใบหน้ามีสีน้าตาลอ่อน และจุดกลมเล็กๆสีขาว จะอยู่ต่ากว่าระดับตาเดี่ยว (ocelli) และอวัยวะ เพศของเพศผู้มีลักษณะค่อนข้างตรง ส่วนปลายโค้งงอมีปลายแหลม รยางค์ยาวกว่าตัว Aedeagus มาก………………………………………………….Idioscopus chumphoni Hongsaprug Amrasca splendens Ghauri, 1967 (ภาพที่ 3ก) Amrasca splendens Ghauri. 1967: 161; Dworakowska, 1994: 12 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) 422
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : มีมี สีเขียวสดใส ส่วนหัวค่อนข้างแหลมมน ที่ ขอบหน้าผาก ระหว่างตารวม (compound eye) มีจุดกลมสีดาเล็กๆ 2 จุด และมีเส้นสีขาววนเป็นรูปครึ่งวงกลมล้อมจุดดานี้ไว้ บริเวณกลางส่วนหัว สันหลังอกปล้องแรก (pronotum) แผ่นแข็งทางตอนท้ายของปล้องอก (scutellum) และใกล้ ปลายปีกมีสีน้าตาลแดง ขนาด (Measurements) : เพศผู้ขนาดลาตัวยาวเฉลี่ย 3.85 + 0.36 มิลลิเมตร เพศเมียยาวเฉลี่ย 3.89 + 0.15 มิลลิเมตร (n=20) (วัดจากปลายสุดของหัวถึงปลายสุดของท้อง) การวิ นิ จ ฉั ย (Diagnosis) : ลั ก ษณะทั่ วไปคล้ า ยกั บ เพลี้ ย จั ก จั่ น ฝอยทุ เ รี ย น A. durianae มาก แต่ A. splendens จะมีสีเข้มกว่า บริเวณกลางส่วนหัว, pronotum และ scutellum มีสีแดงสด และที่ขอบ หน้าผากมีจุดสีดา 2 จุด มีเส้นสีขาววนรอบ แต่ A. durianae มีเส้นสีเขียววนรอบ เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ศรีลังกา ไทย เวียดนาม บังคลาเทศ แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : สุพรรณบุรี ปทุมธานี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครนายก สุโขทัย เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลาปาง ชัยภูมิ และ นครราชสีมา ตัว อย่ า งที่ ใช้ ศึกษา (Material examined) : จ านวน 40 ตั วอย่ าง THAILAND: Pathum Thani Prov. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011332 – 011334, 001341 – 001350), Sukhothai Prov., 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 001618 – 001627, 001645 – 001654) วิจารณ์ (Comments) : พบตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้าเลี้ยงยอดอ่อนของมะม่วงและมะปราง วารี (2543) ได้รายงานว่าพบเพลี้ยจักจั่นชนิดนี้เฉพาะในเขตภาคกลางของประเทศไทย แต่จากการศึกษาในครั้ง นี้พบมีการแพร่กระจายในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และหลายจังหวัดในเขตภาคเหนือ Amritodus atkinsoni (Lethierry, 1889) (ภาพที่ 3ข) Idiocerus atkinsoni Lethierry, 1889: 252 Idioscerus quinquepunctatus Melichar, 1930: 146 Amritodus atkinsoni Anufriev, 1970: 376 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ส่ ว นหั ว และอก (Head and Thorax) : มี สี เหลื อ งเหลื อ บน้ าตาล ส่ ว นหั ว มี ข อบหน้ า ผาก (vertex) โค้งมน ตารวม (compound eye) ขนาดใหญ่สีน้าตาลเข้ม เกื อบดา ขอบด้านหน้าของใบหน้า (face) มีจุดกลมสีดาสองจุดมี ขอบสีขาววนรอบ ระหว่างตาเดี่ยว (ocelli) มีแผ่นสีน้าตาล มีเส้นสีเหลือง ขนาดเล็ ก อยู่ ต รงกลาง (ภาพที่ 4ข) pronotum มี จุ ดกลมสี ดาสองจุด และบริเ วณขอบด้ านบนของ scutellum มีสามเหลี่ยมสีดา 1 คู่ และมีจุดกลมสีดาเล็กๆ 2 จุดอยู่ระหว่างรูปสามเหลี่ยมหัวกลับ ขอบปีก ด้านหน้าของปีกคู่หน้า มีแผ่นสีเงิน ขนาด (Measurements) : ขนาดลาตัวเพศผู้ยาวเฉลี่ย 8.99 + 0.2 มิลลิเมตร เพศเมียยาวเฉลี่ย 9.48 + 0.3 มิลลิเมตร (n=20) อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (Male genitaria : aedeagus มีลักษณะเป็นรูปตัว S ไม่มีรยางค์ (processes) (ภาพที่ 5ก) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
423
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
การวินิจฉัย (Diagnosis) : I. atkinsoni มีลักษณะรูปร่างใกล้เคียงและคล้ายกับ I. nitidulus แต่สามารถ แยกจากลักษณะสัณฐานภายนอกคือ บนสันหลังอกปล้องแรกมีจุดสีดา 2 จุด และ aedeagus มีลักษณะ เป็นรูปตัว s ไม่มีรยางค์ (processes) เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : อินเดีย บังคลาเทศ พม่า ปากีสถาน แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : เชียงใหม่ ตัวอย่างที่ใช้ ศึกษา (Material examined) จานวน 40 ตัวอย่าง THAILAND: Chang Mai Prov. 20♂ 20♀ (EMBT.Hem. 001910 – 001940) วิจารณ์ (Comments) : เพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วงในสกุลนี้ยังไม่เคยมีการรายงานการพบมาก่อนในประเทศ ไทย ถือเป็นการรายงานครั้งแรก สารวจพบเฉพาะที่จังหวัดเชียงใหม่เท่านั้น และเป็นเพลี้ยจักจั่นที่มีขนาด ใหญ่ ที่ สุดที่ ส ารวจพบในครั้ง นี้ จากรายงานของ Sohi and Sohi (1990) พบว่า I. atkinsoni สามารถ ขยายพันธุ์ได้ 6 รุ่น ต่อปี ดังนั้นควรมีการเฝ้าระวังและติดตามการแพร่กระจายไปยังภูมิภาคอื่นๆ และใน อนาคตอาจเป็นศัตรูสาคัญของมะม่วงในประเทศไทย Idioscopus chumphoni Hongsaprug (ภาพที่ 3ค) Idioscopus chumphoni Hongsaprug 1984: 424 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : มีสีน้าตาล ลักษณะหัวและลาตัวเป็นรูปลิ่ม ตรงกลางใบหน้า (fronts) มี แถบสีน้าตาลเข้ มทอดขวาง และจุดกลมสีขาวบนใบหน้าจะอยู่ใต้ตาเดี่ยว (ocelli) (ภาพที่ 4ค) แผ่น pronotum และ scutellum เป็นสีน้าตาลอมเทา มีจุดสีดาประปรายทั่วไป เมื่อปีกทั้งสองประกอบกันจะเห็นจุดสี ขาวเรียงกันเป็นรูปตัววี(v) ขนาด (Measurements) : เป็ น เพลี้ ย จั ก จั่ น ขนาดใหญ่ เพศผู้ ขนาดล าตั วยาวเฉลี่ ย 7.35 + 0.3 มิลลิเมตร เพศเมียยาวเฉลี่ย 7.45 + 0.3 มิลลิเมตร (n = 20) อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (Male genitaria) : aedeagus ค่อนข้างตรง ส่วนปลายเว้าและแหลม รยางค์ (processes) ยาวกว่าตัว aedeagus มาก (ภาพที่ 5ข) การวินิจฉัย (Diagnosis) : ขนาด รูปร่าง สีสันและลักษณะทั่วไปคล้ายเพลี้ยจักจั่น I. nitidulus แต่มีข้อแตกต่างคือ ใบหน้ามีสีน้าตาลอ่อน มีจุดเล็กๆ สีขาว อยู่ระดับต่ากว่าตาเดี่ยว (ocelli) และ aedeagus ค่อนข้างตรง รยางค์ยาว กว่าตัว aedeagus มาก เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : เวียดนาม ลาว กัมพูชา ไทย แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : ชุมพร พัทลุง กระบี่ นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง สุราษฎร์ ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ตและ ประจวบคีรีขันธ์ ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา (Material examined) : จานวน 40 ตัวอย่าง THAILAND: Chumphon Prov. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011370 – 011380, 001390 – 001400), Phatthalung Prov. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011450 – 011460, 001480 – 001490) 424
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
วิจารณ์ (Comments) : พบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้าเลี้ยงจากใบ ยอด และช่อดอกมะม่วง ในเขต ภาคใต้ของประเทศไทย วารี(2543) ได้รายงานว่าพบที่จังหวัดชุมพร สุร าษฏร์ธานี และหนองคาย แต่จาก การศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บมี เ ขตการแพร่ ก ระจายเพิ่ ม ขึ้ น ในหลายจั ง หวั ด ทางภาคใต้ ได้ แ ก่ พั ท ลุ ง กระบี่ นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง ระนอง ประจวบคีรีขันธ์ พังงา และ ภูเก็ต ดังนั้นควรมีก ารเฝ้าระวังและ ติดตามการแพร่กระจายไปยังภูมิภาคอื่นๆของประเทศไทย Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles (ภาพที่ 3ง) Idioscopus clavosignatus Maldonado-Capriles, 1974: 163 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : มีสีน้าตาล หรือ สีน้าตาลดา ส่วนหัวโค้งมน ขอบหน้าผาก มีสี น้าตาล ใบหน้ามีสีน้าตาลดามีจดุ สีนาตาลอ่ ้ อนกระจายทั่วไป (ภาพที่ 4ง ) pronotum และ scutellum พื้นของใบหน้า และ 2/3 ของพื้นที่ clavus ที่ชิดกับเส้นปีกมีสีเหลือง ขนาด (Measurements) : เพศผู้ขนาดล าตัวยาวเฉลี่ย 7.44 + 0.39 มิ ล ลิเมตร เพศเมี ยยาว เฉลี่ย 7.73 + 0.18 มิลลิเมตร (n=20) การวินิจฉัย (Diagnosis) : มีลักษณะทั่วไปคล้ายเพลี้ยจักจั่น I. nitidulus แต่มีข้อแตกต่างคือ pronotum และ scutellum พื้นของใบหน้า และ 2/3 ของพื้นที่ clavus ที่ชิดกับเส้นปีกมีสีเหลือง เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : มาเลเซีย ไทย แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : ชุมพร สุราษฏร์ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา (Material examined) จานวน 20 ตัวอย่าง THAILAND: Chumphon Prv. 5♂ 5♀ (EMBT.Hem. 011510 – 011515, 001530 – 001535), Phuket Prv. 5♂ 5♀ (EMBT.Hem. 011540 – 011543, 001545 – 001550) วิจารณ์ (Comments) : พบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้าเลี้ยงจากใบ ยอด และช่อดอกมะม่วง ในเขต ภาคใต้ของประเทศไทย วารี(2543) ได้ร ายงานว่าพบ I. clavosignatus เฉพาะที่ จังหวัดชุม พร แต่จาก การศึก ษาครั้ง นี้พ บว่ามี เขตการแพร่ก ระจายเพิ่ม ขึ้นในหลายจังหวั ดทางภาคใต้ของประเทศไทย ได้แก่ สุราษฏร์ธานี ระนอง พังงา ภูเก็ต และกระบี่ ดังนั้นควรมีการเฝ้าระวังและติดตามการเขตการแพร่กระจาย ในภูมิภาคอื่นๆ Idioscopus clypealis (Lethierry, 1889) (ภาพที่ 3จ) Idiocerus clypealis Lethierry 1889: 252 Idiocerus nigroclypeatus Melichar 1903: 148 Idiocerus clypeatus Matsumura, 1907: 90 (Missp) Idioscopus clypealis (Lethierry) Baker, 1915: 339 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
425
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : พื้นสีของส่วนหัว ลาตัว และปีกมีสีน้าตาลอ่อนอมเขียว ส่วนหัวและอกกว้างกว่า pronotum ใบหน้า (face) เพศเมียมีจุดสีดา 2 จุด ส่วนเพศผู้จะไม่มี และที่ขอบ ด้านหน้าของหน้าผาก (vertex) มีอกี 2 จุด scutellum มีสามเหลี่ยมสีดา 1 คู่ แผ่น clypeus มีสีดาเต็ม แผ่น(ภาพที่ 4จ) ขนาด (Measurements) : ขนาดล าตัวเพศผู้ยาวเฉลี่ย 3.64 + 0.12 มิ ล ลิเมตร เพศเมี ยยาว เฉลี่ย 3.78 + 0.17 มิลลิเมตร (n=20) อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (Male genitaria) : aedeagus มี รยางค์ทั้ งหมด 4 เส้น ยาว 2 เส้น สั้น 2 เส้นกางออกจากแกนของ aedeagus (ภาพที่ 5ค) การวินิจฉัย (Diagnosis) : I. clypealis มี ลัก ษณะรูป ร่างใกล้เคียงและคล้ายกั บ I. nagpurensis แต่ สามารถแยกจากลักษณะสัณฐานภายนอกคือแผ่น clypeus มีสีดาเต็มแผ่น และ aedeagus มีรยางค์ 4 เส้น สั้น 2 เส้น ยาว 2 เส้น ในขณะที่ I. nagpurensis มีรยางค์สั้นทั้ง 4 เส้น เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : ในแถบเอเชีย (บัง คลาเทศ กั ม พู ชา จีน อิน เดีย อิ นโดนีเซี ย อิหร่าน มาเลเซีย ศรีลังกา ไต้หวัน พม่า เวียดนาม ไทย ฯลฯ) และโอเชียเนีย (ออสเตรเลีย) แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : ทุกจังหวัด ทุกภูมิภาคของประเทศไทย ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา (Material examined) : จานวน 40 ตัวอย่าง THAILAND; Chang Mai Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011700 – 011720), Nakhon Ratchasima Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011820 – 011840) วิจารณ์ (Comments) : พบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของ I. clypealis ลงทาลายมะม่วงในปริมาณมาก และ มักลงทาลายร่วมกับเพลี้ยจักจั่นชนิด I. nagpurensis และ I. nitidulus ในทุกจังหวัด และทุกภูมิภาคของ ประเทศไทย นับว่าเป็นศัตรูสาคัญชนิดหนึ่งของมะม่วง Idioscopus nagpurensis (Pruthi, 1930) (ภาพที่ 3ฉ) Idiocerus nagpurensis Pruthi, 1930 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : ลักษณะของหัวและลาตัวเป็นรูปลิ่ม พื้นสีของหัว ลาตัว และปีกมีสีน้าตาลอ่อนอมเขียว ลาตัวเรียวแหลมไปทางปลายปีก ตามีสีเขียวด้านข้างมีแถบสีดา ส่วนหัวมี จุดกลมสีดา 2 จุด แผ่น clypeus มีสีดาครึ่งแผ่น อีกครึ่งมีสีเหลือง (ภาพที่ 4ฉ) และแผ่นแข็งทางตอนท้าย ของปล้องอก (scutellum) ส่วนฐานมีสามเหลี่ยมสีดา 1 คู่ ระหว่างสามเหลี่ยมมีจุดสีน้าตาลอ่อน 2 จุด สัน หลังอกปล้องแรก (pronotum) มีสีเหลืองอ่อน ขนาด (Measurements) : ขนาดล าตัวเพศผู้ยาวเฉลี่ย 3.43 + 0.12 มิ ล ลิเมตร เพศเมี ยยาว เฉลี่ย 3.44 + 0.12 มิลลิเมตร (n=20) อวั ย วะสื บ พั นธุ์ เพศผู้ (Male genitaria) : aedeagus มี ร ยางค์ ทั้ ง หมด 4 เส้ น ค่ อ นข้ า งสั้ น (ภาพที่ 5ง)
426
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
การวินิจฉัย (Diagnosis) : ขนาด สี และรูปร่างคล้าย I. clypealis มาก แต่สังเกตลักษณะภายนอกได้จาก แผ่น clypeus ของ I. nagpurensis จะเป็นสีดาเพียงครึ่งแผ่นจากด้านล่าง และ aedeagus ทั้ง 4 เส้น สั้น เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา ไทย แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา (Material examined) : จานวน 40 ตัวอย่าง THAILAND: Phetchaburi Prv., 10♂ 10♀ (EMBT.Hem.011600 – 011610, 011620 – 001630), Nakhon Ratchasima Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011650 – 011670) วิจารณ์ (Comments) : พบ I. nagpurensis ทุก ภูมิภาคของประเทศไทย แต่ปริมาณการพบในแต่ล ะ ภูมิภาคต่างกัน โดยพบปริมาณการเข้าทาลายมะม่วงในทุกภาคปริมาณมาก แต่ในเขตภาคใต้พบปริมาณ น้อย อาจจะเนื่องมาจากความแตกต่างของสภาพภูมิอากาศและความชื้น เนื่องจากภาคใต้ของประเทศไทย มีฝนตกชุกและความชื้นสัมพัทธ์สูง มักพบลงทาลายร่วมกับ I. clypealis และ I. nitidulus Idioscopus nitidulus (Walker, 1870) (ภาพที่ 3ช) Jassus nitidulus Walker 1870: 322 Idiocerus niveosparsus Lethierry, 1889: 252 Idiocerus nitidulus Distant, 1908: 136 Chunra niveosparsus Baker, 1915: 318 Idioscopus nitidulus Maldonado-Capriles, 1973: 181 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : ลักษณะส่วนหัวและลาตัวเป็นรูปลิ่ม ตรงกลางใบหน้า (front) มีแถบสีน้าตาลเข้มทอดขวาง และจุดกลมสีขาวบนใบหน้าจะอยู่ในระดับเสมอกับตาเดี่ยว(ocelli) (ภาพที่ 4ช) pronotum และ scutellum มีสีน้าตาลอมเทา มี จุดสีดาประปรายทั่วไป เวลาที่ปีก ทั้งสอง ประกอบกันจะเห็นจุดสีขาวใสเรียงกันเป็นรูปตัววี (V) ขนาด (Measurements) : ขนาดล าตัวเพศผู้ยาวเฉลี่ย 4.45 + 0.16 มิ ล ลิเมตร เพศเมี ยยาว เฉลี่ย 4.71 + 0.07 มิลลิเมตร (n=20) อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (Male genitaria) : aedeagus ค่อนข้างตรงทรงกระบอก ส่วนปลายโค้งงอ เล็กน้อย รยางค์มี 4 เส้น สั้น 2 เส้น ยาว 2 เส้น เส้นยาวจะยาวเท่าฐาน aedeagus (ภาพที่ 5จ) การวินิจฉัย (Diagnosis) : I. nitidulus มีลักษณะสัณฐานวิทยาภายนอกคล้ายกับ I. chumphoni มาก แต่ลักษณะของ aedeagus มีความแตกต่างอย่างชัดเจน คือ I. nitidulus มี aedeagus รูปทรงกระบอก ส่วนปลายโค้งงอเล็กน้อย รยางค์ (process) สั้นกว่าตัว aedeagus (ภาพที่ 5จ) เขตการแพร่ก ระจาย (Distribution) : ในแถบเอเชี ย (บรูไน กั ม พู ชา จี น อิ นเดี ย อิน โดนีเ ซี ย ลาว มาเลเซีย พม่า ปากีสถาน ฟิลิปินส์ ศรีลังกา เวียดนาม ไทย ไต้หวัน) และโอเชียเนีย (ออสเตรเลีย) แหล่งที่สารวจพบ (Collected locality) : ทุกภูมิภาคของประเทศไทย 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
427
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ตัวอย่างที่ใช้ศึกษา (Material examined) : จานวน 40 ตัวอย่าง THAILAND: Chiang Mai Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 010406 – 011415)., Nakhon Ratchsima Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 010181 – 010200) วิ จ ารณ์ (Comments) : พบลงท าลายร่ วมกั บ เพลี้ ย จั ก จั่ น I. clypealis และ I. nagpurensis วารี (2543) ได้รายงานว่าพบมากในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า I. nitidulus มีการแพร่กระจายในทุกภูมิภาคของประเทศไทยในปริมาณมาก ซึ่งถือว่าเป็นศัตรูสาคัญ ของมะม่วงอีกชนิดหนึ่ง Mangganeura reticulata Ghauri (ภาพที่ 3ซ) Mangganeura reticulata Ghauri, 1967: 164 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา (Description) ส่วนหัวและอก (Head and Thorax) : ส่วนหัวมีสีเหลืองนวล ขอบหน้าจะยื่นเป็นรูปโค้งยาวรี ใบหน้ ายาว มี แ ถบสี ด าจากส่ ว นบนของใบหน้ า มาจดแผ่ น แข็ ง เหนื อ ริม ฝี ก ปาก (clypellus) ตารวม (compound) มีสีดา (ภาพที่ 4ซ) สันหลังอกปล้องแรก (pronotum) มีลักษณะนูนมากและแตกแขนงเป็น ตาข่าย ปีกมีสีฟ้าอมเทา ขนาด (Measurements) : ขนาดลาตัวเพศผู้ยาวเฉลี่ย 6.75 + 0.2 มิลลิเมตร เพศเมียยาวเฉลี่ย 6.85 + 0.1 มิลลิเมตร การวินิจฉัย (Diagnosis) : ขนาด สี และรูป ร่างคล้ายเพลี้ยจัก จั่นฝอยของฝ้าย Amrasca biguttula (Ishida) แต่สังเกตลักษณะสันอกปล้องแรก (pronotum) ของ M. reticulata มีสีเหลืองและแตกแขนง เป็นรูปตาข่าย เขตการแพร่กระจาย (Distribution) : ในแถบเอเชีย (อินเดีย มาเลเซีย ฯลฯ) แหล่งที่ส ารวจพบ (Collected locality) : ตาก สุโขทั ย ล าปาง ชุม พร สุร าษฏร์ธานี พั ท ลุง ระนอง ภูเก็ต ประจวบคีรีขันธ์ ตัวอย่ า งที่ ใช้ ศึกษา (Material examined) : จ านวน 40 ตั วอย่าง THAILAND: TAK Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 011960 – 011970), Ranong Prv. 10♂ 10♀ (EMBT.Hem. 012010 – 012020), วิจารณ์ (Comments) : วารี (2543) ได้รายงานว่าพบ M. reticulata ในจังหวัดชุมพร และสุราษฎร์ธานี แต่จ ากการศึก ษาครั้ง นี้พ บมีก ารแพร่กระจายเพิ่มขึ้นในหลายจังหวัดได้แก่ ตาก สุโขทั ย ลาปาง พัท ลุง ระนอง ภูเก็ต ประจวบคีรีขันธ์ ดังนั้นควรมีการเฝ้าระวังและติดตามเพราะในอนาคตอาจเป็นศัตรูสาคัญของ มะม่วง สรุปผลการทดลอง การศึกษาอนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นวงศ์ Cicadellidae ศัตรูมะม่วง ในแหล่งปลูกมะม่วงที่สาคัญ ของประเทศไทย ผลการตรวจสอบจาแนกชนิ ด โดยใช้แนวทางการวินิจฉัยตามหลักอนุก รมวิธานแมลง รวมทั้งเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่มีในพิพิธภัณฑ์แมลงของสานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการ 428
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
เกษตร สามารถจั ดจ าแนกได้ 4 สกุ ล 8 ชนิ ด จากจ านวน 9,555 ตัวอย่าง ได้แ ก่ Amrasca splendens Ghauri, Amritodus atkinsoni (Lethierry), Idioscopus clypealis (Lethierry), Idioscopus nagpurensis (Pruthi), Idioscopus nitidulus (Walker), Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles, Idioscopus chumphoni Hongsaprug และ Mangganeura reticulata Ghauri ซึ่ งชนิ ดที่ เป็ นศั ตรู ส าคั ญของมะม่ วง ได้ แก่ เพลี้ ยจั กจั่ น I. clypealis, I. nagpurensis และ I. nitidulus พบมีการเข้าทาลายมะม่วงทั่วทุกภาคของประเทศไทย เพลี้ยจักจั่นชนิด I. clavosignatus และ I. chumphoni พบเฉพาะทางภาคใต้ ของประเทศไทย I. nitidulus, A. splendens และ M. reticulata มีเขตการแพร่กระจายเพิ่มขึ้นจากที่วารี (2543) ได้รายงานไว้ และพบเพลี้ยจักจั่นสกุล Amritodus ซึ่ง ถือเป็นการรายงานครั้งแรกในประเทศไทย ตัวอย่างที่ ได้จากการส ารวจเก็บ ไว้ในพิพิธภัณฑ์แมลง กรมวิชาการ เกษตร เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมจัดทาฐานข้อมูล เพื่ อหาแนวทางในการป้องกันกาจัดที่เหมาะสม และนาไปใช้อ้างอิงทางวิชาการสาหรับงานอนุกรมวิธานและงานกีฏวิทยาด้านอื่นๆ นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูล เบื้องต้นในการจัดทาบัญชีรายชื่อแมลงศัตรูพืชเพื่อประกอบในงานสาคัญด้านการส่งออกและนาเข้าสินค้า เกษตร คาขอบคุณ ขอขอบคุณ Dr. Irena Dworakowska ผู้เชี่ยวชาญอนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นจากประเทศแคนนาดา คุณวารี หงพฤกษ์ ผู้เชี่ยวชาญอนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นในประเทศไทย ที่ให้คาแนะนาและช่วยเหลือในการ จาแนกชนิด และเจ้าหน้าที่กลุ่มงานอนุกรมวิธานแมลง กลุ่มกีฏและสัตววิทยาทุกท่านที่มีส่วนช่วยในการ สารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่างแมลง ตลอดจนเตรียมตัวอย่างแมลงเพื่อการจัดจาแนกชนิดจนงานวิจัยชิ้น นี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี เอกสารอ้างอิง วารี หงษ์พฤกษ์. 2543. เพลี้ยจักจั่นและเพลี้ยกระโดด ศัตรูพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย. กลุ่มกีฏและ สัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. 126 หน้า. สานั ก งานเศรษฐกิจ การเกษตร. 2561. สถิติการนาเข้าส่งออกมะม่ วง. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมู ล : www.oae.go.th/oae_report/export_import/export.php. (10 กรกฏาคม 2562). Anufriev, G.A., 1970b. Description of new genus: Amritodus for Idiocerus atkinsoni Leth. (Hemiptera: Cicadellidae). Journal of Natural History 4: 375-376. Baker, C.F., 1915. Studies in Philippine Jassoidea: III. The Idiocerini of the Philippines. Philippine Jour. Sci. 10: 317-343. Butani, D. K. 1979. Insect and Fruits , Periodical Experts Book Agency, New Delhi. 415 p Dietrich, C.H. 2005. Key to families of Cicadomorpha and subfamilies and tribes of Cicadellidae (Hemiptera: Auchenorhyncha). Fla. Entomol. 88: 502-517. Distant, W.L. 1908. Rhynchota-Homoptera; The Fauna of British India including Ceylon 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
429
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
and Burma. Taylor and Francis Ltd. London. Iv: Pp. 501. Dworakowska, I. 1994. Typhlocybinae (Auchenorrhyncha: Cicadellidae) known to occur in Sri Luanka. Annotationes Zoologicae et Botanicae, 20 (216), 3-39. Ghauri, M.S.K. 1967. New mango leafhoppers from the Oriental and Austro-oriental regions (Homoptera: Cicadellidae). The proceedings of the Royal Entomological Society of London, (B). 36 (11-12), 159-166. Hongsaprug, W. 1984. Taxonomic study of mango leafhoppers in Thailand. Mitteilungen der schweizerischen Entomologischen Gesellschaft 57 (4): 423-24. Knight, W.J. 1965. Techniques for use in the identification of leafhoppers (Homoptera: Cicadellidae) Entomologist’ s Gazette, 1965; 16: 129-136. Knight, W.J. 2010. Leafhoppers (Cicadellidae) of the Pacific. An annotated systematic checklist of the leafhoppers recorded in the Pacific during the period 1758-2000. (Online). Available. http://www. Tymbal.org/publicat/knight catalogus.pdf. (April 24. 2016) Lethierry, L.F., 1889. Definitions of three new Homoptera. Jour. Asiatic Soc. Bengal. 58: 252-253. Maldonado-Capriles, J. 1973. Studies on Idiocerine leafhoppers: X. Idioscopus nitidulus (Walker), new combination (Homoptera: Cicadellidae). Proceedings of the Entomological Society of Washington. 75(2): 179-181. Maldonado – Capriles, J., 1974. Studies on idiocerine leafhoppers XII. Idioscopus clavosignatus spec. nov. (Homoptera, Cicadellidae Zoologische Mededelingen. 48(15): 163-167 Matsumura, S., 1907. Die Cicadinen Japans. Annotationes Zoologicae Japonenses. Tokyo, 6: 83-116. Melichar, L., 1903. Homopteren-Fauna von Ceylon. Verlag von Felix L. Dames. Berlin. Pp. i-iv, 1-248. Nene, Y.L. 2001. Mango through millennia. Asian Agri. History, 5(1) : 39-68. Pruthi, H. 1930. Studies on Indian Jassidae (Homoptera). Part I. Introductory and description of some new genera and species. Mem. Indian Mus. 11: 1-68. Sen A. C. and D. Prasad. 1961. Experiments with New synthetic Insecticide for the Control of Mango Hoppers in Bihar. Indian Journal of Entomology Vol.4 No.3 234-246 pp. Sohi, A.S. and Sohi, A. S. (Snr). 1990. Mango leafhoppers (Homoptera: Cicadellidae). A review Journal of Insect Science. 3, 1-12. Verghese, A. and G.S.P. Rao 1985. Sequential sampling plan for mango leaf hopper, Idioscopus clypealis Lethierry. Entomon Vol.10 No.4. 285-290. 430
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
Walker, F. 1870. Catalogue of the homopterous insects collected in the Indian Archipelago by Mr. A. R. Wallace, with descriptions of new species. Jour. Linnean Soc. Zool. 10: 276-330. ภาคผนวก
ภาพที่ 1 อาการขอบใบไหม้และช่อดอกแห้งเนื่องจากการเข้าทาลายของเพลี้ยจักจั่น
ก
ข
ภาพที่ 2 ลักษณะส่วนปลายของขาคู่หลัง (hind basitarsus) ก. หัวตัด ข. ปลายแหลม
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
431
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ข.
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช ช
ซ
ภาพที่ 3 ตัวเต็มวัยเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง ก). Amrasca splendens Ghauri ข). Amritodus atkinsoni (Lethierry) ค). Idioscopus chumphoni Hongsaprug ง). Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles 432
จ). Idioscopus clypealis (Lethierry) ฉ). Idioscopus nagpurensis (Pruthi) ช). Idioscopus nitidulus (Walker) ซ). Mangganeura reticulata Ghauri
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
PEB-02
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-02
ง). Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles ซ). Manggneura reticulate Ghauri
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
ซ
ภาพที่ 4 ลักษณะใบหน้า (face) ของเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง ก). Amrasca splendens Ghauri ข). Amritodus atkinsoni (Lethierry) ค). Idioscopus chumphoni Hongsaprug ง). Idioscopus clavosignatus Maldonado Capriles
ก
จ). Idioscopus clypealis (Lethierry) ฉ). Idioscopus nagpurensis (Pruthi) ช). Idioscopus nitidulus (Walker) ซ). Mangganeura reticulata Ghauri
ค
ข
ง
จ
ภาพที่ 5 อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ (male genitalia) ของเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง ก). Amritodus atkinsoni (Lethierry) ง). Idioscopus nagpurensis (Pruthi) ข). Idioscopus chumphoni Hongsaprug จ). Idioscopus nitidulus (Walker) ค). Idioscopus clypealis (Lethierry) 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
433
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
ความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่าปลีระหว่าง การใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานและการใช้สารเคมีก่าจัดแมลง Diversity of Insect Pests and Natural Enemy Insects in Cabbage Crops between Integrated Pest Management and Insecticide Uses วรนาฏ โคกเย็น เบญจคุณ แสงทองพราว และ จารุวัฒน์ เถาธรรมพิทักษ์ Woranad Khokyen Banjakhun Sangtongproaw and Jaruwat Thowthampitak ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900
บทคัดย่อ กะหล่าปลีเป็นผักที่นิยมปลูกเพื่อในใช้การบริโภค แมลงศัตรูของกะหล่าปลีมีหลายชนิด เกษตรกรมี การใช้สารเคมีกาจัดแมลงไม่ถูกวิธีและใช้มากเกินความจาเป็น ทาให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูก กะหล่าปลีที่มีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และมีการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ต. คีรีราษฎร์ อ. พบพระ จ. ตาก จานวน 2 พื้นที่ คือ พื้ นที่ติดป่า (NF) และพื้นที่ติดถนน (NR) โดยใช้กับดักกาวเหนียวสี เหลืองดักจับแมลง ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2558 – เดือนกันยายน 2559 พบว่า แปลง NF-IPM พบแมลง มากที่ สุ ด 7 อั น ดั บ 35 วงศ์ ส่ ว นแปลง NF-CHEM พบแมลงน้ อ ยที่ สุ ด 7 อั น ดั บ 27 วงศ์ ค่ าดั ช นี ค วาม หลากหลายในแปลง NF-IPM มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 2.15 ขณะที่แปลง NR-CHEM มีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ 1.82 ในแปลง NF-CHEM มีค่าความสม่าเสมอของชนิดแมลงมากที่สุดเท่ากับ 0.63 ส่วนแปลง NF-IPM และ NRIPM มีค่าความคล้ายคลึงของชนิดแมลงมากที่สุด ทั้ง 4 แปลงมีสัดส่วนของแมลงศัตรูพืชมากกว่าแมลงศัตรู ธรรมชาติและแมลงอื่ นๆ แมลงศัตรูพื ชที่ พ บมาก คือ เพลี้ ยอ่อน (Aphididae) เพลี้ยไฟ (Thripidae) และ แมลงวั น หนอนชอนใบ (Agromyzidae) แมลงศั ต รู ธ รรมชาติ ที่ พ บมากได้ แ ก่ แตนเบี ย นแอนเซอติ ด (Encyrtidae) และแตนเบี ยนบราโคนิด (Braconidae) กลุ่ม แมลงอื่นๆ ที่ พบมากได้แก่ แมลงวันหลัง ค่อม (Phoridae) สรุป ได้ว่า แปลงปลูก กะหล่าปลีที่มี การจัดการแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสานทาให้แมลงมีความ หลากหลายมากกว่าแปลงที่ใช้สารเคมีกาจัดแมลงเพียงอย่างเดียว ค่าส่าคัญ : ผัก ดัชนีความหลากหลาย อาเภอพบพระ จังหวัดตาก กับดักกาวเหนียวสีเหลือง ABSTRACT Cabbage is a favor vegetable for consumption. There are many species of insect pests in cabbage. Farmers use insecticides with incorrect practices and over dosage that are harmful to consumers and environment. The objective of this study was to investigate 434
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
diversity of insect pests and natural enemy insects in cabbage crops between integrated pest management (IPM) and insecticide (CHEM) using in Khiri Rat Sub-district, Phop Phra District, Tak Province. Two areas were determined that include near forest area (NF) and near road area (NR). Yellow sticky trap was used for insect capturing on November 2015September 2016. The results show that NF-IPM area found the highest species of insects in 7 Orders, 35 Families and NF-CHEM area found the lowest species of insects in 7 Orders, 27 Families. In NF-IPM area showed the highest diversity index (2.15) while NR-CHEM showed the lowest (1.82). Species evenness in NF-CHEM area was highest (0.63). The similarity index in NF-IPM and NR-IPM areas were highest. The percentage of insect pests in all areas was more than natural enemy insects and other insects. The insect pests found in largest number were aphids (Aphididae), thrips (Thripidae) and leaf miners (Agromyzidae). For natural enemy insects were encyrtid wasps (Encrytidae) and braconid wasps (Braconidae) and other insect group was humpacked flies (Phoridae). The conclusion, the cabbage crops with integrated pest management was demonstrated species diversity more than crops that used only chemical control. Keywords: Vegetable, Species diversity index, Phop Phra District, Tak Province, Yellow sticky trap ค่าน่า กะหล่าปลี (Brassica oleracea var. capitata) เป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งในตระกูลกะหล่าทีส่ าคัญ ของประเทศไทยตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุบั น เนื่ อ งจากเป็ น พื ช ที่ ป ลู ก เป็ น การค้ า และมี ค วามนิ ย มบริโ ภค ภายในประเทศ โดยมีพื้นที่ปลูกแหล่งใหญ่หลายแห่งและอยู่ในหลายจังหวัดเกือบทุกภาคของประเทศไทย จาก รายงานระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านการเกษตรข้อมู ล ภาวะการผลิตพืช พืชอายุสั้น (รต.01) ชนิ ด กะหล่าปลี ทั้ งประเทศรายเดือนของกรมเสริม การเกษตรระหว่างเดือนมกราคม 2560 ถึงธันวาคม 2560 พบว่า พื้นที่ป ลูก กะหล่ารวมทั้ งประเทศประมาณ 44,296 ไร่ โดยจังหวัดแม่ฮ่องสอนมี พื้นที่ป ลูก มากที่สุด 14,874 ไร่ รองลงมาจังหวัดเพชรบูรณ์ 13,189 ไร่ ลาดับที่ 3 คือจังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่ปลูกทั้งหมด 5,783 ไร่ และลาดับที่ 4 คือจังหวัดตากมีพื้นที่ปลูกทั้งหมด 3,777 ไร่ (ระบบสารสนเทศกรมส่งเสริมการเกษตร, 2560) กะหล่าปลีมีการปลูกต่อเนื่องกั นตลอดทั้ งปีและมีก ารใช้สารเคมี กาจัดศัตรูพืชในปริมาณมากจึงประสบกั บ ปัญหาการระบาดของศัตรูพืชที่สาคัญหลายชนิด เช่น หนอนใยผัก หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม หนอน เจาะยอดกะหล่า หนอนผีเสื้อขาว เป็นต้น แมลงเหล่านี้เข้าทาลายกะหล่าปลีได้ทุกระยะการเจริญเติบโตและ แมลงมีความต้านทานต่อสารเคมี กาจัดศัตรูพืชหลายชนิด โดยเฉพาะหนอนใยผักพบว่ามีความต้านทานต่อ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชและมีการพัฒนากลไกความต้านทานที่ซับซ้อนมากขี้นจากในอดีต (Abdel-Razek et al., 2006) จึงมีความจาเป็นที่ต้องหาวิธีการควบคุมแมลงศัตรูกะหล่าดังกล่าวโดยวิธีอื่นๆไม่ให้เกิดความเสียหาย 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
435
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
ทางเศรษฐกิจ และลดปริมาณการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ และปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค รวมทั้งสภาพแวดล้อมต่างๆ (กรมวิชาการเกษตร, 2554) การจัดการศัตรูพื ชโดยวิธีผ สมผสาน (IPM: Integrated Pest Management) เป็น วิธีก ารควบคุ ม ศัตรูพืชหลายวิธีมาผสมผสานกัน เพื่อลดปริมาณศัตรูพืชให้อยู่ในระดับที่มีการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชน้อยที่สุด และให้เกิดสมดุลทางระบบนิเวศมากที่สุด โดยมีหลักการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน ได้แก่ การทาให้พืช แข็งแรง การอนุรัก ษ์แมลงที่เป็นประโยชน์ การลงสารวจแปลงอย่างสม่าเสมอ และการที่เกษตรกรมีความ เชี่ยวชาญหรือชานาญในการจัดการศัตรูพื ช (สานัก พัฒ นาคุณภาพสินค้าเกษตร, 2550) อีกวิธีห นึ่งคือการ ควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี ได้แก่ การใช้ตัวห้าตัวเบียน และเชื้อจุลินทรีย์ในการควบคุม แมลงศั ตรูพืช ซึ่งเป็น วิธีการที่สาคัญที่สามารถนามาพัฒนาใช้ในการควบคุมศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสานที่ต้องใช้ร่วมกับวิธีการอื่นๆ เพื่อ ลดปริมาณการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Hill & Foster, 2000; Abdel-Razek et al., 2006; Pratissoli et al., 2008) จากรายงานของระบบสารสนเทศการผลิ ต ทางด้ า นการเกษตร กรมส่ ง เสริ ม การเกษตร production.doae.go.th พบว่ า ในพื้ น ที่ ป ลู ก กะหล่ าปลี จั ง หวั ด แม่ ฮ่ อ งสอน เพชรบู ร ณ์ และตาก มีการระบาดของแมลงศัตรูกะหล่าปลีจานวนมากและพบว่าแมลงศัตรูกะหล่าปลีมีความต้านทานต่อสารเคมี กาจัดศัตรูพืชอย่างต่อเนื่อง และที่ สาคัญเกษตรกรในพื้นที่ ดังกล่าวยังขาดความรู้ความเข้าใจการใช้สารเคมี กาจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง ใช้สารเคมีเกินความจาเป็น และขาดความรู้ด้านแมลงศัตรูพืช แมลงศัตรูธรรมชาติ และแมลงอื่นๆที่อยู่ในระบบนิเวศ ไม่สามารถแยกได้ว่าแมลงที่พบในแปลงกะหล่าปลีเป็นแมลงดีหรือแมลงร้าย เกษตรกรจึงใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชฉีดพ่นเกินความจาเป็น ทาให้แมลงศัตรูธรรมชาติและแมลงที่สาคัญอื่นๆใน ระบบนิเวศลดจานวนลง ดังนั้นการวิจัยเรื่องนี้จึงมุ่งเน้นการศึกษาความหลายชนิดของแมลงต่างๆ ในแปลงที่ใช้ วิธีการควบคุมศัตรูพืชแบบดั้งเดิมคือการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชและแปลงที่ใช้วิธีการควบคุมศัตรูพืชโดยวิธี ผสมผสาน เปรียบเที ยบกัน เพื่อให้ส่งเสริมและพัฒ นาวิธีการปฏิบัติของเกษตรกรให้เลือกใช้วิธีการควบคุม ศัตรูพื ช อย่ างถู ก ต้ อ ง เหมาะสมกั บ สถานการณ์ และปั จ จั ยแวดล้อ มต่ างๆ รวมทั้ ง ให้เ กษตรกรได้ รับ พื้ น ฐานความรู้เกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช และแมลงศัตรูธรรมชาติที่สาคัญในระบบนิเวศในพื้นที่ของตนเอง เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพในการผลิตตลอดจนได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัย อุปกรณ์และวิธีการ 1.1 พื้นที่สารวจและการเก็บตัวอย่างแมลง พื้นที่ศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ดาเนินการในพื้นที่หมู่บ้านอุ้มเปี้ยม ตาบลคีรีราษฎร์ อาเภอพบพระ จังหวัด ตาก คัดเลือกแปลงปลูกกะหล่าปลีของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการผลิตผักปลอดภัยในรูป แบบ แปลงใหญ่ จานวน 2 พื้นที่ๆ ละ 2 แปลง โดยแต่ละพื้นที่ให้มีลักษณะแตกต่างกัน ได้แก่ พื้นที่ติดป่าบนเชิงเขา สูง (NF) และพื้นที่ติดถนน (NR) แต่ละแปลงมีขนาด 1 ไร่ มีระยะห่างระหว่างแปลง 10 เมตร แปลงที่ 1 เป็น แปลงที่ใช้การจัดการศัตรูพืชวิธีผสมผสาน (IPM) และแปลงที่ 2 เป็นแปลงที่ใช้สารเคมีกาจัดแมลงตามการปฏิบัติ 436
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
ของเกษตรกร (CHEM) จากนั้นทาการสารวจและเก็บตัวอย่างแมลงตั้งแต่เริ่มปลูกกะหล่าปลี โดยวิธีการใช้กับ ดักกาวเหนียว (Sticky trap) นาถุงพลาสติกขนาด 6 x 9 นิ้ว ทาด้วยกาวเหนียวดักแมลงสวมทับแผ่นพลาสติก สีเหลือง จากการทบทวนเอกสารพบว่าแมลงศัตรูพืชติดกับดัก กาวสีเหลืองมากกว่าสีอื่นๆ (จตุรงค์ และคณะ, 2549) นากับดักกาวดังกล่าวมาติดด้วยไม้สาหรับปักลงดิน ปักสูงจากต้นกะหล่าปลีประมาณ 60 เซนติเมตร ปัก 10 จุดๆ ละ 1 แผ่น ระยะห่างระหว่างจุดห่างประมาณ 10 เมตร ตามเส้นทแยงมุมของพื้นที่ และเก็บกับ ดักกาวเหนียวหลังจากทิ้งไว้เป็นเวลา 24 ชั่วโมง การเก็บกับดักกาวเหนียวกลับห้องปฏิบัติการให้ ใช้กระดาษ A4 จานวน 2 แผ่นประกบถุงพลาสติกที่มีแมลงติดอยู่ ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง และนามาเก็บใส่ถุงพลาสติก ขนาดใหญ่ ทาการสารวจและบันทึกข้อมูลทุกๆ 15 วัน ตามอายุกะหล่าปลี 60 วัน จานวน 4 ครั้ง ตั้งแต่เริ่ม ปลูกไปจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิต 1.2 การจาแนกชนิดและวงศ์ของแมลง และการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ หลังจากการสารวจ และเก็บตัวอย่างแมลงที่ได้ นาแมลงมาทาการเซตบนกระดาษแข็งรูปสามเหลี่ยม (Card point) เป็นกระดาษแข็งสีขาวใช้สาหรับตัวอย่างแมลงที่มีขนาดเล็ก นาตัวอย่างแมลงวางบริเวณปลาย แหลมของกระดาษใช้เข็มไร้สนิม (Stainless steel) ปักบนกระดาษ (ศิริณี และคณะ, 2548) และนาแมลงมา ติดโดยใช้กาวใสหรือยาทาเล็บแบบใส จากนั้นนาแมลงมาจาแนกชนิด (Species) และวงศ์ (Family) ภายใต้ กล้องสเตอริโอไมโครสโคป (Stereo Microscope) โดยใช้คีย์ (keys) การจัดจาแนกแมลงจากหนังสือ The Insect of Australia Vol.II (Nielsen and Common, 1991) และหนัง สื อ Hymenoptera of the world (Goulet and Huber, 1993) นาข้อ มู ลที่ ได้ม าวิเคราะห์ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพของ ShannonWiener (Margalef, 1958) โดยการศึกษาวิจัยนี้ใช้สูตรของ Shannon-Wiener’s Index ตาม Ludwig และ Reynold (1998) ดังนี้ H' = - (pi) 1n (pi) S i=1 H' คือ ความหลากหลายของ Shannon-Wiener’s Index S คือ จานวนชนิด Pi คือ สัดส่วนระหว่างจานวนสิ่งมีชีวิต (i= 1, 2, 3, …) ต่อจานวน ตัวอย่างทั้งหมด เมื่อ
J = H’/ InS J คือ ความสม่าเสมอ H’ คือ ความหลากหลายของ Shannon-Wiener’s Index S คือ จานวนชนิด
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
437
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
ค่ าดั ชนี ความ คล้ ายค ลึ ง (similarity Index) จ าก สู ต ร Sorensen’s Similarity Coefficient (Sorensen, 1948) สูตรคานวณดังนี้ ความคล้ายคลึงกัน (Ss) = 2a / (2a + b + c) เมื่อ Ss = ความคล้ายคลึงของแมลงในแต่ละพื้นที่ a = จานวนชนิดแมลงที่พบในพื้นที่ A และ B b = จานวนชนิดแมลงที่พบในพื้นที่ B c = จานวนชนิดแมลงที่พบในพื้นที่ A ผลการทดลอง จากการสารวจแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่าปลีที่มีการจัดการศัตรูพืช แบบผสมผสาน (IPM) และมีการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ต. คีรีราษฎร์ อ. พบพระ จ. ตาก ใน 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ ติดป่า (NF) และพื้ นที่ ติดถนน (NR) โดยใช้กั บ ดัก กาวเหนียวสีเ หลืองดัก จับ แมลง ระหว่างเดือน พฤศจิก ายน 2558 – เดือ นกันยายน 2559 พบว่า แปลง NF-IPM พบแมลงมากวงศ์ที่ สุด 35 วงศ์ จาก 7 อันดับ ส่วนแปลง NF-CHEM พบแมลงน้อยวงศ์ที่สุด 27 วงศ์ จาก 7 อันดับ หากพิจารณาถึงจานวนตัวของ แมลงที่พบในแปลงพบว่า แปลง NR ทั้ง 2 แปลงพบจานวนตัวของแมลงเป็นจานวนมากเมื่อเปรียบเทียบกับ แปลง NF (ตารางที่ 1) ตารางที 1 จานวนแมลงทั้งหมด (ตัว) ที่พบในแปลงกะหล่าปลีทมี่ ีการใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ในพื้นที่ติดป่า (NF) และพื้นที่ติดถนน (NR) ตาบลคีรรี าษฎร์ อาเภอพบพระ จังหวัดตาก อันดับ Coleoptera
Diptera
438
วงศ์ Chrysomelidae Coccinellidae Curculionidae Mordellidae Staphylinidae Agromyzidae Anthomyiidae Chironomidae Chloropidae
NF IPM 97 3 0 0 5 44 1 0 7
NR CHEM 82 6 0 0 11 31 2 2 12
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
IPM 28 2 0 0 35 144 1 6 3
CHEM 17 0 1 1 22 162 0 7 0
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
ตารางที 1 จานวนแมลงทั้งหมด (ตัว) ที่พบในแปลงกะหล่าปลีทมี่ ีการใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ในพื้นที่ติดป่า (NF) และพื้นที่ติดถนน (NR) ตาบลคีรรี าษฎร์ อาเภอพบพระ จังหวัดตาก (ต่อ) อันดับ
วงศ์
Drosophilidae Empididae Lauxaniidae Lonchaeidae Muscidae Phoridae Pipunculidae Platystomatidae Psychodidae Sciaridae Sepsidae Syrphidae Tephritidae Tipulidae Hemiptera Aleyrodidae Aphididae Cicadellidae Delphacidae Geocoridae Miridae Psyllidae Hymenoptera Bethylidae Braconidae
NF IPM 15 1 0 4 4 242 1 11 1 17 3 1 1 1 2 252 29 11 1 10 3 1 17
NR CHEM 11 0 1 8 9 229 0 5 0 32 2 0 0 0 2 240 21 4 0 0 0 0 5
IPM 24 0 0 3 9 126 0 9 2 61 10 0 0 1 177 1450 29 5 0 3 84 2 31
CHEM 11 0 0 5 9 100 1 5 0 51 7 0 0 0 78 1139 35 4 0 5 59 0 27
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
439
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
ตารางที 1 จานวนแมลงทั้งหมด (ตัว) ที่พบในแปลงกะหล่าปลีทมี่ ีการใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ในพื้นที่ติดป่า (NF) และพื้นที่ติดถนน (NR) ตาบลคีรรี าษฎร์ อาเภอพบพระ จังหวัดตาก (ต่อ) อันดับ
วงศ์ Encyrtidae Eulophidae Formicidae Ichneumonidae Pteromalidae Scelionidae Signiphoridae Vespidae
Isoptera Lepidoptera Yponomeutidae Psocoptera Thysanoptera Thripidae รวม
NF IPM 26 3 0 5 0 1 2 0 0 4 1 5 832
NR CHEM 20 2 0 4 2 0 5 0 0 0 2 5 755
IPM 390 1 0 6 2 0 24 1 0 6 6 866 3,547
CHEM 289 2 2 5 1 0 17 0 2 3 4 925 2,996
เมื่ อนาข้อมูล แมลงที่ สารวจพบมาคานวณหาค่าดัชนีความหลากหลาย (H’) ของแมลงศัตรูพืชและ แมลงศัตรูธรรมชาติ พบว่า ในแปลง NF-IPM มีค่าดัชนีความหลากหลายมากที่สุดเท่ากับ 2.15 รองลงมาเป็น แปลง NF-CHEM แปลง NR-IPM และแปลง NR-CHEM มีค่าดัชนีความหลายหลากเท่ ากับ 2.06 1.88 และ 1.82 ตามลาดับ ค่าความสม่าเสมอของแมลงมากที่สุดในแปลง NF-CHEM เท่ากับ 0.63 ส่วนแปลง NF-IPM แปลง NR-IPM และแปลง NR-CHEM มีค่าความสม่าเสมอ เท่ากับ 0.61 0.54 และ 0.53 ตามลาดับ สาหรับ ความคล้ายคลึง (Ss) ของแมลงที่พบในแปลงปลูกกะหล่าปลีมีค่าอยูร่ ะหว่าง 0.74 – 0.85 (ตารางที่ 2) ตารางที 2 ค่าดัชนีความหลากหลายและค่าความสม่าเสมอของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลง กะหล่าปลีที่มกี ารใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ตาบลคีรี ราษฎร์ อาเภอพบพระ จังหวัดตาก พื้นที่/แปลง NF-IPM NF-CHEM 440
จานวนวงศ์ 35 27
จานวนตัว 831 755
ดัชนีความหลากหลาย (H’) ค่าความสม่าเสมอ (J) 2.15 0.61 2.06 0.63
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
NR-IPM 33 3,547 1.88 NR-CHEM 31 2,996 1.82 Similarity index between NF-IPM and NF-CHEM = 0.74 Similarity index between NF-IPM and NR-IPM = 0.85 Similarity index between NF-IPM and NR-CHEM = 0.82 Similarity index between NF-CHEM and NR-IPM = 0.73 Similarity index between NF-CHEM and NR-CHEM = 0.83 Similarity index between IPM of Punya and NR-CHEM = 0.81
PEB-03
0.54 0.53
นอกจากนีส้ ัดส่วนของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่าปลีที่พบทั้ง 2 แปลง (IPM และ CHEM) ใน 2 พื้นที่ (NF และ NR) พบว่าทั้ง 4 แปลง มีสัดส่วนของแมลงศัตรูพืชมากกว่าแมลงศัตรู ธรรมชาติ และแมลงอื่ น ๆ โดยแปลง NR-CHEM พบศัตรูพืชมากที่ สุด ร้อยละ 80.94 ส่วนแปลง NR-IPM แปลง NF-IPM และแปลง NF-CHEM พบร้อยละ 78.63 53.91 และ 51 ตามลาดับ แมลงศัตรูพืชที่พบมาก คือ เพลี้ยอ่อน (วงศ์ Aphididae) เพลี้ยไฟ (วงศ์ Thripidae) และแมลงวันหนอนชอนใบ (วงศ์ Agromyzidae) ในแปลง NR-IPM พบแมลงศัตรูธรรมชาติพบมากที่สดุ คิดเป็นร้อยละ 14.01 ในขณะที่แปลง NF-IPM และ NFCHEM พบน้อยที่สุดคิดเป็น 9.15 เปอร์เซ็นต์ แมลงศัตรูธรรมชาติที่พบมาก ได้แก่ แตนเบียนแอนเซอติด (วงศ์ Encyrtidae) และแตนเบียนบราโคนิด (วงศ์ Braconidae) นอกจากนี้ยังพบกลุ่มแมลงอื่น ๆ ที่ มีบทบาทใน ระบบนิเวศ เช่น แมลงผู้ย่อยสลาย แมลงกินเศษซากพืช สัตว์ หรือกินเชื้อราทั้ง 2 พื้นที่ ได้แก่ แมลงวันหลัง ค่อม (วงศ์ Phoridae) ดังภาพที่ 1
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
441
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
Other 36.94%
Natural enemy 9.15%
Other 41.72%
Insect pests 53.91%
Natural enemy 7.28%
NF-IPM
Insect pests 51%
NF-CHEM
Insect pests 80.94%
Insect pests 78.63%
Other 7.36%
PEB-03
Natural enemy 14.01%
Other 6.68%
Natural enemy 12.38%
NR-CHEM
NR-IPM
ภาพที 1 สัดส่วนของแมลงที่พบในแปลงกะหล่าปลีที่มกี ารใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ในพื้นที่ติดป่า (NF) และพื้นที่ติดถนน (NR) ตาบลคีรรี าษฎร์ อาเภอ พบพระ จังหวัดตาก วิจารณ์ผล จากการศึกษาพบว่าในพื้นที่แปลงปลูกกะหล่าปลีที่มีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานไม่ว่าจะเป็น พื้นที่ที่อยู่ติดป่าหรือติดถนนพบจานวนวงศ์ของแมลงมากกว่าพื้นที่ที่ใช้สารเคมีกาจัดแมลง แสดงให้เห็ นว่าการ ใช้ ส ารเคมี ก าจั ด แมลงท าให้ แมลงในแปลงปลู ก กะหล่ าปลี มี ค วามหลากหลายของวงศ์ ล ดลง และเมื่ อ เปรียบเทียบค่าดัชนีความหลากหลายและค่าความสม่าเสมอโดยรวมของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติ พบว่า พื้นที่ติดป่ามีค่าดัชนีความหลากหลายและค่าความสม่าเสมอสูงกว่าพื้นที่ติดถนน ซึ่งพื้นที่ป่าส่วนใหญ่ที่ ติดกับพื้นที่ที่ทาการศึกษาเป็นป่าธรรมชาติ ได้แก่ ป่าดิบเขา (ที่ว่าการอาเภอพบพระ, ม.ป.ป.) ในพื้นที่ป่ามีพืช อาหารและมีระบบนิเวศที่ ซับ ซ้อ นส่งผลให้แมลงมี ความหลากหลายสูง (Srinivasan, 2014) สอดคล้องกั บ การศึ ก ษาของ Pimentel และคณะ ซึ่ ง ศึ ก ษาความหลากหลายของแมลงในพื้ น ที่ ป่ า และพื้ น ที่ เ กษตร 442
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
Pimentel et.al, 1992) ในส่วนพื้นที่ติดถนนเป็นพื้นที่ที่ทาการเกษตรอย่างต่อเนื่องมีการบุกรุกพื้นทีป่ ่าดั้งเดิม เพื่อเปลี่ยนเป็นพื้นที่เกษตรกรรมถาวรส่งผลต่อพื้นที่อาศัยตลอดจนแหล่งอาหารของแมลงถูกรบกวน บางชนิด อาจสูญพันธุ์หรือลดลงจากการที่อีกชนิดเพิ่มปริมาณมากขึ้น (กอบศักดิ์, 2544) การรบกวนพื้นที่จากกิจกรรม ของมนุษย์ทั้งทางตรงหรือทางอ้อมส่งผลต่อความหลากหลายและความชุกชมของแมลงได้ (มณฑิรา, 2559) แปลงปลู ก กะหล่ าปลี ที่ มี ก ารจั ด การศั ต รูพื ช แบบผสมผสาน (IPM) ทั้ ง 2 พื้ น ที่ มี ค่ า ดั ช นี ค วาม หลากหลายสู งกว่าแปลงที่ ใช้ส ารเคมี ก าจัดแมลง (CHEM) ผลจากการใช้ส ารเคมี ที่ มี ผ ลกระทบต่ อความ หลากหลายทางชีวภาพของแมลง ท าให้จ านวนชนิดของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติ จากแปลง ผสมผสานสูงกว่าแปลงที่ใช้สารเคมี (วีรเทพ, 2546) สัดส่วนระหว่างแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติเป็น สิ่งสาคัญต่อปริมาณการระบาดของแมลงศัตรูพืชและการเกิดการควบคุมโดยชีววิธีตามธรรมชาติได้ (จตุรงค์ และคณะ, 2549) วิธีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานสามารถลดจานวนครั้งของการใช้สารเคมีได้ 33.33% และลดปริมาณการใช้ส ารเคมี ได้ 69.11% (ชูวิท ย์ และคณะ, 2543) จากการใช้กั บ ดัก กาวเหนียวสีเหลือง สามารถลดปริมาณตัวเต็มวัยของได้ตลอดฤดูปลูก โดยเฉพาะเพลี้ยอ่อนกะหล่าและแมลงวันหนอนชอนใบที่ พบว่าติดกับดักจานวนมาก (มาลี และคณะ, 2545) ตามผลการศึกษาทั้ง 4 แปลงมีสัดส่วนของแมลงศัตรูพืช มากกว่าแมลงศัตรูธรรมชาติและแมลงอื่ นๆ แมลงศัตรูพืชที่ พบมาก คือ เพลี้ยอ่อน (Aphididae) เพลี้ยไฟ (Thripidae) และแมลงวันหนอนชอนใบ (Agromyzidae) แมลงศัตรูธรรมชาติส่วนใหญ่จะพบมากในแปลงที่มี การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานหรือแปลงที่ทาการเกษตรอินทรีย์สามารถพบแตนเบียนได้มากกว่าแปลงที่ใช้ สารเคมี (Gnanakumar et al, 2012) สรุปผลการทดลอง การศึกษาความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่าปลีที่มีการ จัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และมีการใช้สารเคมีกาจัดแมลง (CHEM) ต. คีรีราษฎร์ อ. พบพระ จ. ตาก มี 2 พื้นที่ คือ พื้ นที่ติดป่า (NF) และพื้นที่ ติดถนน (NR) โดยใช้กั บ ดัก กาวเหนียวสีเหลืองดักจับ แมลง พบว่า แปลงปลูกกะหล่าปลีที่มีการจัดการแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสานทาให้แมลงมีความหลากหลายมากกว่า แปลงที่ใช้สารเคมีกาจัดแมลงเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้การศึกษาความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรู ธรรมชาติครั้งนี้ สามารถนาไปถ่ายทอดความรู้และเกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรในพื้นที่ได้รู้และทราบประเภท และบทบาทของแมลงแต่ละชนิด รวมทั้งเป็นทางเลือกในการจัดการศัตรูพืชอย่างถูกต้อง เหมาะกับสถานการณ์ หรือสภาพแวดล้อมในพื้นที่ต่อไป เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการเกษตร. 2559. รายงานระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านการเกษตร. แหล่งที่มา URL http://production.doae.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2559 กรมส่งเสริมการเกษตร. 2560. รายงานระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านการเกษตร. แหล่งที่มา URL http://production.doae.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
443
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
กลุ่มบริหารศัตรูพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร. 2554. แมลงศัตรูผัก เห็ด และไม้ดอก. พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กอบศักดิ์ วันธงไชย. 2544. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงป่าไม้ในประเทศไทย. แหล่งที่มา URL http://www.dnp.go.th/foremic/research/Paper/ins_biodiversity.htm. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2560 จตุรงค์ พวงมณี, ระพีพงศ์ เกษตรสุนทร, กุหลาบ อุตสุข, พิมพรรณ นันต๊ะภูมิ และ กรรณิการ์ มณีหาญ. 2549. การศึกษาจานวนแมลงศัตรูพืช และแมลงศัตรูธรรมชาติในระบบการ ผลิตผักปลอดสารพิษ. น. 153-158. ใน รายงานการประชุมวิชาการ ศวพก. จตุรงค์ พวงมณี, ระพีพงศ์ เกษตรสุนทร, กุหลาบ อุตสุข, พิมพรรณ นันต๊ะภูมิ และ กรรณิการ์ มณีหาญ. 2550. การเปรียบเทียบความแตกต่างของสีที่ใช้เป็นกับดักแมลงในการผลิตผัก ปลอดสารพิษ. น. 143-148. ใน รายงานการประชุมวิชาการ ศวพก. ชูวิทย์ ศุขปราการ และคณะ. 2543. การป้องกันกาจัดศัตรูกะหล่าปลีโดยวิธีผสมผสาน. รายงานผลการ ดาเนินงานการป้องกันกาจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน 3: 113-131. ที่ว่าการอาเภอพบพระ. ม.ป.ป. สภาพภูมิศาสตร์. แหล่งที่มา URL http://www.amphurphopphra.go.th/content.php?cid=201509202001030AsOB7L. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2559. ทวีชัย วงษ์ทอง. ม.ป.ป. ความหลากชนิดของแมลงในอุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จังหวัดเชียงใหม่. แหล่งที่มา URL http://bioff.forest.ku.ac.th/FEB_2 สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2560 พบพระโพสต์. 2016. ตาบลคีรีราษฎร์ อาเภอพบพระ จังหวัดตาก. แหล่งที่มา URL http://www. phopphra.com/ สืบค้นเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560. มณฑิรา แก้วรุ่งเรือง และคณะ. 2559. ความหลากหลายของมดในพื้นที่ทมี่ ีการใช้ประโยชน์ที่แตกต่างกันใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกาแพงแสน. แก่นเกษตร 44(2): 287-294. มาลี ชวนะพงศ์ และคณะ. 2545. ทดสอบการป้องกันกาจัดศัตรูคะน้าโดยวิธีผสมผสาน. วารสารกีฏ และสัตววิทยา 24(2): 85-99 วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ. 2546. การเปรียบเทียบความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติในแปลง ผักคะน้าที่ควบคุมด้วยสารเคมีฆ่าแมลงและสารชีวภาพ. วารสารเกษตร 19(3): 249-258. สินชัย หอมจันทร์. 2551. การศึกษาความหลากหลายของแมลงโดยการใช้กับดักมุง้ ในวนอุทยานพระแท่นดงรัง จังหวัดกาญจนบุรี. ผลงานที่เป็นผลการดาเนินงานที่ผ่านมา: 1-34. สานักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร. 2550. โรงเรียนเกษตรกรเพื่อการ จัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ. Abdel-Razek A.S, M.H. Abbas., M.E.Khouly and A.A., Rahman. 2006. Potential of microbial control of diamondback moth Plutella xylostella (Linnaeus) (Lepidoptera: Plutellidae) on two cabbage cultivars under different fertilizer 444
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-03
treatments. J. appl. Sci. Res. 2(11): 942-948. Achterberg, C.V, T. F. Houston, C.D. Michener and R.W. Toylor. 1991. Hymenoptera. The Insect of Australia Vol.II: 916-1000. Balakrishnan S. 2014. Diversity of some insect fauna in different coastal habitats of Tamil Nadu southeast coat of India. Journal of Asia-Pacific Biodiversity 7(4): 408-414. Cassis, G, J.W. Evans, M.J. Fletcher, L. Hill, I. Lansbory, M.B. Malipatil, G.B. Monteith, M.S. Moulds, J.T. Polhemus, J.A. Slater, P. Stys, K.L. Toylor, T.A. Weir and D.J. Williams. 1991. Hemiptera. . The Insect of Australia Vol.I: 429-509. Colless, D.H. and D.K. Mcalpine. 1991. Diptera. The Insect of Australia Vol.II: 717-786. Gnanakumar, M, K.Rajmohana, C. Bijoy, D. Balan and R. Nishi. 2012. Diversity of Hymenoptera Egg Parasitoids in Organic and Conventional Paddy Ecosystems. Tropical Agricultural Research 23(4): 300-308. Goulet, H. and J.I. Huber. 1993. Hymenoptera of the world: An identification guide to families. Research Branch Agriculture Canada. Hill, T.A., and R.E. Foster. 2000. Effect of insecticides on the diamondback moth (Lepidoptera: Plutellidae) and its parasitoid Diadegma insulare (Hymenoptera: Ichneumonidae). J. econ. Entomol. 93(3):763-768. Lawrence, J.F. and E.B. Britton. 1991. Coleoptera. The Insect of Australia Vol II: 543-683. Ludwig, J.A. and J.F. Reynold. 1988. Statistical ecology: A primer on computing and methods. New York: John Wiley and Sons. 337p. Margalef, R. 1989. Information theory in ecology. General Systematics 3: 36-71. Mound, L.A. and B.S. Heming. Thysanoptera. The Insect of Australia. Vol I: 510-515. Nielsen, E. S. and I. F. B. Common. 1991. Lepidoptera. The Insect of Australia. Vol II: 817-915. Pimentel D, U. Stachow, D.A. Takacs, H. W. Brubaker and A.R. Dumas. 1992. Conserving biological diversity in agricultural/forestry systems. Bioscience 42(5): 354-362. Sorensen, T. A. 1948. A method of establishing groups of equal amplitude in plant sociology based on similarity of species content, and its application to analyses of the vegetation on Danish commons. Kongelige Danske Videnskabernes Selskabs Biologiske Skrifter, 5, 1-34. Tripplehorn, C. A. and N.F. Johnson. 2005. Borror and Delong’s Introduction to the Study of Insects. (7th ed), CA: Thomas Brooks/Cole.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
445
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
ความหลากชนิดของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุก์ ีวีฟรุตในพื้นที่ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ Species Diversity of Fruit fly in Kiwifruit Orchard in The Royal Agricultural Station Inthanon, Chiang Mai Province สรายุทธ ปิตตาระเต รัตนาภรณ์ หมายหมั้น และ พัชรินทร์ ครุฑเมือง Sarayut Pittarate Rattanaporn Maimun and Patcharin Krutmuang ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Department of Entomology and Plant Pathology, faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand
บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้ เป็นแมลงศัตรูสาคัญทางเศรษฐกิจในไม้ผล มีรายงานการระบาดเป็นอย่างมากในพื้นที่ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อสารวจ ติดตามการระบาดของแมลงวันผลไม้ และศึกษาชีววิทยาของแมลงวันผลไม้ที่พบเข้า ทาลายในกีวี่ ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยวางกับดักฟีโรโมนแบบแผ่นกาวเหนียวสีเหลือง วางสุ่ม แบบเป็นระบบ (systematic random sampling) ภายในพื้นที่ 1,317 ตารางเมตร ในช่วงเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ผลการศึกษาพบว่ากับดักกาวเหนียว สามารถดึงดูดแมลงวันผลไม้ได้ทั้ง 2 เพศ โดย ในแต่ละเดือนมีสัดส่วนเพศของแมลงที่ติดกับดักแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ นอกจากนี้ในจานวนของแมลงที่ ติ ด กั บ ดั ก ยั ง พบแมลงวั น ผลไม้ ใ นสกุ ล Bactrocera จ านวน 5 ชนิ ด ได้ แ ก่ B. dorsalis, B. tau, B. scutellaris, B. zonata และ B. nigrotibialis พบสกุล Acroceratitis จานวน 1 สกุล แต่ยังไม่ทราบชื่อชนิด และพบแมลงวันผลไม้ที่ไม่ทราบสกุลและชนิด ให้เป็น Unknown A 1 ชนิด มากไปกว่านั้นเดือนพฤศจิกายน มี ค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวันผลไม้มากที่สุด คือ 35.58±3.00 ตัวต่อกับดัก ซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 20.52 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 92.82 เปอร์เซ็นต์ และเดือนกุมภาพันธ์มีค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวันผลไม้ น้อยที่สุด ที่อุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 17.64 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 78.24 เปอร์เซ็นต์ ผลการศึกษาครั้ง นี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานแก่นักวิจัยและเกษตรกรในการพยากรณ์ ช่วงการระบาด และใช้ประกอบการตัดสินใจ เลือกกรรมวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการบริหารจัดการเพื่อลดความเสียหายจากแมลงวันผลไม้ศัตรูกีวีบนพื้นที่ โครงการหลวงและพื้นที่สูงต่อไป คาสาคัญ : Bactrocera แมลงวันผลไม้ กับดักฟีโรโมน ความหลากชนิด ABSTRACT Fruit fly is one of the economically important on fruit plants, especially in kiwifruit which is becoming popular of Thai people. Severe damage in kiwifruit orchard were report in 446
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
Royal Agricultural Station Inthanon at khun Huai Haeng, Chom Thong District, Chiang Mai Province. The objective were to study monitoring of insect number when the outbreak occurred to pre-harvest and post-harvest in kiwifruit orchard, biological study and identification of fruit fly from kiwifruit were found damage. Sample was collected from Royal Agricultural Station Inthanon at Khun Huai Haeng during October 2018 to February 2019 by using yellow sticky pheromone traps and trapping by systematic random sampling methods within an area of 1 ,3 1 7 square meters. The results showed that the traps attracted both sexes of fruit flies, which was significantly different in each month. The traps was found 5 species of fruit flies; Bactrocera dorsalis, B. tau, B. scutellaris, B. Zonata, and B. nigrotibialis. One family of Acroceratitis could not identify the species that called unknown species in this experiment. More than that, the highest population of fruit fly was caught at 35.58 ± 3.00 insect per trap in November 2018 (20.52 oC, 92.82% RH), and the lowest populations of fruit fly was in February 2019 (1 7 .6 4 oC, 7 8 .2 4 % RH). The results of this study will provide database for researchers and farmers in predicting the outbreak occurred. Finally, the study can be applied in management fruit fly to reduce damage on kiwifruit orchard pest in highland and Royal Project Foundation. Keywords: Bactrocera, Fruit fly, Pheromone trap, Species diversity คานา แมลงวันผลไม้หรือแมลงวันทอง (Fruit fly) เป็นแมลงในอันดับ Diptera วงศ์ Tephritidae จัดเป็น วงศ์ที่ มี จ านวนชนิดมากที่ สุดของแมลงในอันดับ Diptera มี ป ระมาณกว่า 4,000 ชนิด กระจายไปทั่ วโลก โดยเฉพาะเขตร้อนและกึ่งร้อน (Jacson, 2011) ในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิค คาดว่ามี ไม่น้อยกว่า 1,000 ชนิ ด ส่ ว นมากอยู่ ในสกุ ล (genus) Bactrocera และมี อ ยู่ ไม่ กี่ ช นิ ด ที่ จั ด อยู่ ในสกุ ล อื่ น ได้ แ ก่ Adrama, Anomoia, Carpoyia, Dacus, Euphranta และ Monacrostichus สาหรับในประเทศไทยเข้าใจว่ามีความ หลากชนิดของแมลงวันผลไม้ไม่น้อยกว่า 200 ชนิด (วิสุท ธิ์ และคณะ, 2541) การศึกษาชนิดแมลงวันทองใน ประเทศไทย วิสุทธิ์และคณะ (2541) รายงานว่า พบแมลงวันผลไม้กว่า 87 ชนิด ใน 2 วงศ์ย่อย ใน 9 สกุล ซึ่ง ส่วนใหญ่จัดอยู่ในสกุล Bactrocera และพบว่าเป็นชนิดใหม่มากถึง 50 ชนิด โดยเฉพาะในกลุ่มแมลงวันผลไม้ ที่มีความคล้ายกันทางสั ณฐานวิทยาจัดอยู่ในกลุ่มชนิดซับซ้อน (species complex) เช่นในกลุ่ม B. dorsalis complex หรือ B. tau complex รายงานการศึกษาของ Drew and Hancock (1994) พบแมลงวันผลไม้ใน กลุ่ม Bactrocera dorsalis complex ในเอเชียมี 52 ชนิด และอีกทั้ งยังพบว่าแมลงวันผลไม้ กว่า 8 ชนิ ดมี ความส าคั ญ ทางการเกษตร วิสุท ธิ์ และคณะ (2541) รายงานการพบแมลงวันผลไม้ ในกลุ่ม B. dorsalis complex ที่พบในประเทศไทยมีถึง 38 ชนิด มากไปกว่านั้น มนตรี (2544) รายงานว่าแมลงวันผลไม้ที่สาคัญ ในประเทศไทยมีจานวนกว่า 10 ชนิดที่สาคัญ ได้แก่ B. dorsalis, B. correcta, B. curcubitae, B. tau, B. 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
447
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
umbrosa, B. latifrons, B. zonata, B. carambolae, B. papaya, แ ล ะ B. Tuberculate ที่ พ บ เข้ า ทาลายก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจกับไม้ผลหลายชนิดทั่วโลก ในพื้นที่สถานีวิจัยเกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ก็ พบปัญ หาแมลงวันผลไม้ เข้าทาลายผลผลิตพืชเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการปลูก ไม้ผลหลากหลาย ชนิด รวมไปถึงแปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุตที่ถูกแมลงวันผลไม้เข้าทาลายผลผลิตเป็นจานวนมาก กีวีฟรุตเป็น ผลไม้ เขตหนาวที่ ถู ก นาเข้ ามาเพื่ อ เพาะปลูก ในประเทศไทย เพื่ อท าการศึก ษาทดลองและลดการนาเข้ า (สุริ น ทร์ , 2543) เป็ น ผลไม้ ที่ มี คุ ณ ค่ าทางอาหาร และวิต ามิ น สู ง มี ป ระโยชน์ ต่อ สุ ข ภาพ สามารถน ามา รับประทานสดหรือแปรรูปได้หลากหลาย (ปวระณา, 2557) เป็นหนึ่งในผลไม้ที่กาลังได้รับความนิยมอย่างมาก จากคนไทย แต่ผลผลิตยังมีไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด เนื่องมาจากกีวีฟรุตได้รับความเสียหายที่ใน ระยะที่ผลเริ่มแก่หรือเริ่มสุกโดยแมลงวันผลไม้เข้ามาวางไข่ (อัจฉรา, 2549) ทาให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิต ทั้งในด้านปริม าณและคุณภาพ ผลผลิตที่ ควรจะได้มี ปริมาณลดลง หรืออาจไม่ มีผ ลผลิต เนื่องจากผลผลิต เสียหาย เน่าเสีย เพราะแมลงทาลาย (ปวระณา, 2557) ทาให้เก็บเกี่ยวผลผลิตไม่ได้หรือทาลายผลผลิตทาให้ คุณภาพตกต่าขายไม่ได้ หรือ ขายไม่ได้ราคา เนื่องจากรอยแผลที่แมลงวันผลไม้ทาลายส่งผลให้เกิดตาหนิที่ ผลผลิต หรือภายในเน่าเสียบางส่วน (Kiwifruit Vine Health, 2014) เป็นปัญหาอย่างมากในการจัดการเพื่อ ป้องกันกาจัดแก่เกษตรกร ดังนั้นการศึกษาปริมาณ สัดส่วนเพศและความหลากชนิดของแมลงวันผลไม้ในแปลง รวบรวมพันธุ์กีวีฟรุต จะเป็นข้อมูลพื้นฐานทีม่ ีความสาคัญแก่นักวิจัย เกษตรกร รวมถึงผู้ที่เกี่ยวข้องสาหรับใช้ใน การพยากรณ์ ช่วงการระบาด ใช้ป ระกอบการตัดสินใจเลื อกใช้วิธีป้องกั นก าจัดที่ มีป ระสิท ธิภาพสูง สุดและ ทันเวลาในการบริหารจัดการแมลงวันผลไม้ในพื้นที่ อุปกรณ์และวิธีการ 1. การศึกษาปริมาณประชากรและสัดส่วนเพศของแมลงวันผลไม้ในพื้นที่แปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุต สารวจแมลงวันผลไม้จากแปลงรวบรวมพันธุ์กีวี ฟรุต สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ทาการติดตั้งกับดักกาวเหนียวแผ่นสีเหลือง ขนาด 14 x 23 เซนติเมตร โดย ใช้สเปรย์กาวดักแมลง Mag-net พ่นบนแผ่นสีเหลือง จานวน 30 กับดัก วางแผนการทดลองแบบสุ่มแบบเป็น ระบบ (systematic random sampling) กระจาย 10 ตารางเมตรต่อ 1 กับดัก ในพื้นที่ 1,317 ตารางเมตร จากพื้นที่ทั้ งหมด 2 ไร่ ทาการเก็บ แมลงจากกับดักกาวเหนียวทุก เดือน เดือนละ 2 ครั้ง (ตุล าคม 2561 ถึง กุมภาพันธ์ 2562) 2. การจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้ในพื้นที่แปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุต แยกชนิดตามอนุกรมวิธานแมลงวันผลไม้สกุ ล Bactrocera ของ ยุวรินทร์ และคณะ (2552), เอกสาร วิชาการกองกีฏและสัตววิทยา ฉันทนี (2544) และ White and Elson-Harris (1992)
448
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
ผลและวิจารณ์ 1..ผลการศึกษาประชากรและสัดส่วนเพศของแมลงวันผลไม้ การศึกษาประชากรของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุต ในระยะเวลา 5 เดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2562 ในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง พบว่าใน เดือนตุลาคมมีค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวันผลไม้เท่ากับ 27.22±2.21 ตัวต่อกับดัก และจะเพิ่มขึ้นมากใน เดือนพฤศจิกายนโดยมีค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวันผลไม้เท่ากับ 35.58±3.00 ตัวต่อกับดัก เนื่องจากในช่วง กลางเดือนตุลาคมจนถึงช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน เป็ นช่วงระยะการเก็บเกี่ยวของผลกีวีฟรุต เป็นช่วงที่อาหาร อุดมสมบูรณ์ พบจานวนประชากรของแมลงวันผลไม้เป็นจานวนมาก และในเดือนธันวาคมยังคงมีค่าเฉลี่ยของ ประชากรแมลงวันผลไม้เท่ากับ 33.40±3.82 ตัวต่อกับดักซึ่งค่าเฉลี่ยใกล้เคียงกับเดือนพฤศจิกายน เนื่องจาก ช่วงระยะนี้เป็นช่วงระยะหลังการเก็บเกี่ยวที่เกษตรกรไม่ได้จัดการเก็บผลผลิตค้างต้นออกจากแปลงจึงทาให้ ประชากรแมลงวันผลไม้ยังคงมีมาก (ตารางที่ 1) หรือเป็นเพราะประชากรแมลงวันผลไม้ชุดใหม่ที่ฟักออกมา จากการเข้าดักแด้ภายในดินภายหลังการเข้าทาลายผลกีวีฟรุตในช่วงออกผลจนถึงระยะการเก็บเกี่ยว หลังจาก สิ้นเดือนธันวาคมจนถึงเดือนมกราคมพบจานวนประชากรแมลงวันผลไม้ลดลงมีค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวัน ผลไม้เ ท่ ากั บ 20.08±2.77 ตัวต่อ กั บ ดัก และจ านวนประชากรลดลงอย่างต่อเนื่องในเดือนกุ ม ภาพั นธ์ที่ มี ค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวันผลไม้ เท่ากับ 4.17±0.64 ตัวต่อกับดัก ผลการศึกษาในแต่เดือนพบว่าเดือน พฤศจิกายน มีค่าเฉลี่ ยของประชากรแมลงวันผลไม้มากที่สุด คือ 35.58±3.00 ตัวต่อกับดัก ที่อุณหภูมิเฉลี่ย เท่ ากับ 20.52 oC และเดือนกุ มภาพั นธ์มี ค่าเฉลี่ยของประชากรแมลงวันผลไม้ น้อยที่สุด ซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ย เท่ ากับ 17.64 oC (ตารางที่ 1) สอดคล้องกับ การรายงานของ Danjuma et al (2014) ที่รายงานว่าผลของ อุณหภูมิส่งผลต่อการอยู่รอดและการพัฒนาการของแมลงวันผลไม้ ซึ่งพบว่าในระยะไข่, ตัวหนอน, ดักแด้ และ ตัวเต็มวัย มีอัตราการพัฒนาการของแมลงที่ดีที่สุดที่อุณหภูมิ 20-30, 20-30, 25-30 และ 25 oC ตามลาดับ และถ้าอุณหภูมิ ต่าหรือ สูงเกิ นไปแมลงในแต่ล ะระยะจะมี ก ารอยู่รอดและพัฒ นาการที่ ต่า มากไปกว่านั้ น อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศมีความสัมพันธ์ใกล้เคียงกัน โดยอุณหภูมิมีผลต่ออายุและพัฒนาการ ของแมลง ส่วนความชื้นสัมพัทธ์จะมีผลต่อการเจริญเติบโตและความแข็งแรงของไข่ ตัวหนอน ดักแด้ และตัว เต็มวัย (มนตรี, 2544) แมลงวันผลไม้ในระยะไข่เจริญเติบโตได้ดีในสภาพความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศอยู่ในช่วง 50-80 เปอร์ เ ซ็ น ต์ และหนอนเจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ในสภาพความชื้ น สั ม พั ท ธ์ ข องอากาศอยู่ ในช่ ว ง 60-85 เปอร์เ ซ็ น ต์ ขณะที่ ร ะยะดั ก แด้ เ จริญ เติ บ โตได้ ดี ในสภาพความชื้ น สั ม พั ท ธ์ ข องอากาศอยู่ ในช่ ว ง 60-80 เปอร์เซ็นต์ และตัวเต็มวัยแพร่ระบาดได้ดีในความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศอยู่ในช่วง 70-80 เปอร์เซ็นต์ (สัญญาณี และคณะ, 2555) และปริมาณน้าฝนและระยะเวลาการตกของฝน ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จากัดการแพร่กระจาย ของแมลงวันผลไม้ โดยในฤดูฝนทาให้การทาลายของแมลงวันผลไม้ลดลง (สัญญาณี, 2556) ในแต่ละเดือนและ แต่ละครั้งที่ทาการสารวจมีความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศเกิน 60 เปอร์เซ็นต์ นัน่ เป็นความชื้นสัมพัทธ์ที่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตในแต่ละระยะของแมลงวันผลไม้ และในปริมาณน้าฝนก็เช่นเดียวกันที่มีค่าที่ แตกต่างกันใน
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
449
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
แต่ละเดือนส่งผลให้ค่าเฉลี่ยประชากรของแมลงวันผลไม้ที่พบมีค่าที่แตกต่างกัน (รัตติยา และ สิริพร 2557) (ตารางที่ 1) เมื่อทาการจาแนกเพศของประชากรแมลงวันผลไม้พบว่า ในเดือนตุลาคมพบประชากรเพศผู้และเพศเมีย 1,472 และ 161 ตัวตามล าดับ ในเดือนพฤศจิก ายนพบประชากรเพศผู้และเพศเมีย 1,961 และ 175 ตัว ตามลาดับ ในเดือนธันวาคมพบประชากรเพศผู้และเพศเมีย 1,604 และ 400 ตัวตามลาดับ ในเดือนมกราคม พบประชากรเพศผู้และเพศเมีย 793 และ 412 ตัวตามลาดับ และในเดือนกุม ภาพันธ์พบประชากรเพศผู้และ เพศเมีย 210 และ 40 ตัวตามลาดับ (ภาพที่ 1) จะเห็นได้ว่าจานวนของประชากรแมลงวันผลไม้เพศผู้มากกว่า เพศเมียเสมอ อาจเนื่องจากในผลิตภัณฑ์กาวเหนียว (Mag-net) อาจมีส่วนผสมของสารล่อแมลง ที่เป็ นสาร สังเคราะห์ขึ้นโดยกระบวนการทางเคมีอย่างเช่น สารจาพวก parapheromone คือเป็นสารจาพวกกึ่งฟีโรโมน ยกตัวอย่างเช่น สาร trimedlure (TML) ล่อแมลงวันผลไม้ medfly และ Natal fruit fly ได้, สาร methyl eugenol (ME) ล่อ แมลงวันผลไม้ ได้ห ลายชนิดในสกุ ล Bactrocera เช่น Oriental fruit fly (B. dorsalis), peach fruit fly (B. zonata), carambola fruit fly (B. carambolae), Philippine fruit fly (B. philippinensis), and banana fruit fly (B. musae) เป็ น ต้ น , สาร cuelure (CUE) ล่ อ แมลงวั น ผลไม้ ได้ หลายชนิดในสกุ ล Bactrocera เช่นเดียวกั นกับ methyl eugenol เช่น melon fly (B. cucurbitae) and Queensland fruit fly (B. tryoni) เป็นต้น และสาร Spiroketal (SK) ล่อแมลงวันผลไม้ B. oleae เป็นต้น สารจ าพวกกึ่ ง ฟี โ รโมนเหล่ านี้ จ ะดึ ง ดู ด แมลงเพศผู้ เพี ย งอย่า งเดี ย วและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการดึ ง ดู ด สู ง (International Atomic Energy Agency, 2003) ส่วนใหญ่ก ารดึงดูดแมลงวันผลไม้ เฉพาะเพศผู้ดัง กล่าว แสดงให้เห็นถึงปฏิกิริยาสนองตอบของแมลงวันผลไม้แบบกินอาหาร แสดงการกินอย่างกระหายหิว ดังนั้นจึง จัดเป็นสารล่ออาหาร (food lure) ไม่ใช่สารล่อเพศ (sex pheromone) (มนตรี, 2544) จากการศึกษายังพบ แมลงวันผลไม้เพศเมียติดกับดักร่วมด้วยนั้น อาจเนื่องมาจาก สี และรูปแบบของกับดัก รวมไปถึงกลิ่นของสาร ดึงดูด อีกทั้งกับดักกาวเหนียวใช้ได้ดีกับแมลงที่ไม่สามารถจับได้ง่ายหรือแมลงที่บินเร็ว
450
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
ตารางที่ 1 แสดงจานวนประชากรแมลงวันผลไม้ในแต่ละเดือนตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561-กุมภาพันธ์ 2562 ปริมาณน้าฝน อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ เดือน ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์
ครั้งที่ทา การเก็บผล
จานวนแมลงวัน (ตัว)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
696 937 1330 806 784 1220 957 248 155 95
ค่าเฉลี่ยของจานวน ค่าเฉลี่ยรวมของจานวน ปริมาณน้าฝน ประชากร ± S.E. ประชากร ± S.E. (มิลลิเมตร) (ตัวต่อกับดัก) (ตัวต่อกับดัก) 23.20±2.40 10.33 27.22±2.21 31.23±3.61 3.70 44.33±4.78 13.51 35.58±3.00 26.87±2.91 13.77 26.13±3.31 7.65 33.40±3.82 40.67±6.7 0.00 31.90±4.2 0.00 20.08±2.77 8.27±2.01 0.00 5.17±1.00 10.76 4.17±0.64 3.17±0.79 3.50
อุณหภูมิ (°C) สูงสุด
ต่าสุด
เฉลี่ย
ความชื้นสัมพัทธ์ ( %)
23.88 25.71 24.59 25.27 23.68 23.31 24.36 23.28 21.91 25.37
17.10 15.56 16.56 15.66 13.86 11.37 12.87 9.01 10.00 14.12
20.49 20.64 20.58 20.47 18.77 17.34 18.62 16.15 15.96 19.75
94.31 89.36 94.50 91.14 90.54 85.36 86.25 83.57 79.19 77.28
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
451
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
ภาพที่ 1 สัดส่วนเพศผู้และเพศเมียของแมลงวันผลไม้ (ตัว) ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2562 1..การจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุต ในการจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้จะใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของส่วนหัว จุดสีดาใต้หนวด จานวน ขน inferior fronto-orbital และขน superior fronto-oebital สีของหนวดปล้องต่างๆ แถบสีบริเวณเส้นปีก สีของส่วนอกบริเวณ scutum และ scutellum อีกทั้งลักษณะของแถบสีเหลืองด้านบนของส่วนอก (yellow vittae) สีของส่วนท้องและขาส่วนต่างๆ ตามแนวทางการจาแนกชนิดของ ฉันทนี (2544), ยุวรินทร์และคณะ (2552) และอ้ างอิ งจากงานวิจัยของ White and Elson-Harris (1992) ร่วมกั น ผลการศึก ษาในพื้น ที่ พ บ แมลงวันผลไม้สกุล Bactrocera จานวน 5 ชนิด ได้แก่ B.dorsalis, B. tau, B. scutellaris, B. zonata และ B. nigrotibialis สอดคล้อ งกั บฐานข้อ มูล แมลงวันผลไม้ ในประเทศไทยของ ฉันทนี (2544) และ ไชยวัฒ น์ (2545) โดยพบแมลงวันผลไม้สกุล และชนิด Bactrocera tau มากที่สุดจานวนร้อยละ 51.84 รองลงมาคือ Bactrocera dorsalis ร้อยละ 38.42 Bactrocera scutellaris ร้อยละ 5.60 Bactrocera zonata ร้อยละ 3.24 Bactrocera nigrotibialis ร้อยละ 0.71 Acroceratitis sp. ร้อยละ 0.15 และแมลง Unknown A พบ น้อยที่สุดร้อยละ 0.04 ในการศึกษาครั้งนี้แมลงวันผลไม้ พบสกุล Acroceratitis จานวน 1 สกุลแต่ยังไม่ทราบ ชื่อชนิด และพบแมลงวันผลไม้ ที่ ไม่ ท ราบสกุ ล และชนิด ให้เ ป็น Unknown A (ตารางที่ 2) ผลการศึก ษา แมลงวัน ผลไม้ ที่ พ บในครั้ ง นี้ ส อดคล้ อ งกั บ การรายงานของ Baimai et al (1999) และ Kitthawee and Rungsri (2011) ที่ ร ายงานการพบแมลงวัน ผลไม้ ในกลุ่ ม B. dorsalis complex มี จ านวน 5 ชนิ ด ได้ แ ก่ species A, species B, species C, species D และ species E และ B. tau complex พบ 8 ชนิด ได้แก่ species A, species B, species C, species D, species E, species G, species F and species I แต่จากการศึกษาไม่สามารถระบุได้ว่าชนิดใดเป็นศัตรูที่สร้างความเสียหายร้ายแรงในกีวีฟรุต การที่จะ พิสูจน์ว่าแมลงวันผลไม้ชนิดใดเป็นศัตรูของกีวีฟรุต อาจต้องศึกษาการเพาะเลี้ยงแมลงวันผลไม้ในระยะหนอนที่ อาศัยอยู่ในผลของกีวีฟรุตเพื่อศึกษาชนิดเพิ่มเติม รวมทั้งศึกษาความสัมพันธ์ของเปอร์เซ็นต์ความเสียหายกับ 452
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
ปริมาณแมลงที่พบ โดยการเก็บรวบรวมผลของกีวีฟรุตที่ร่วงหล่นตามต้นที่ถูกแมลงวันผลไม้ทาลายมาเลี้ยงใน ห้องปฏิบัติการจนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัย จากนั้นทาการจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้ เนื่องจากการใช้กับดัก ร่วมกับสารดึงดูดอาจไม่ได้จานวนชนิดของแมลงวันผลไม้ศัตรูพืชที่แท้ จริง อย่างไรก็ตามการทราบชนิดของ แมลงวันผลไม้ในพื้นที่ปลูกกีวีฟรุต ทาให้ง่ายต่อการศึกษาข้อมูลชีววิทยา รวมถึงพฤติกรรมนามาซึ่งการป้องกัน กาจัดอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาความหลากชนิด สัดส่วนเพศ และประชากรของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวี ฟรุต ในระยะเวลา 5 เดือน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2562 ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุต สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง พบประชากรของแมลงวันผลไม้ในเดือนเดือนพฤศจิกายน มีค่าเฉลี่ยประชากรต่อกับดักมากที่สุด และพบค่าเฉลี่ยประชากรต่อกับดักน้อยที่สุดในเดือนกุมภาพันธ์ ในแต่ ละเดือนจะพบประชากรแมลงวันผลไม้เพศผู้มากกว่าเพศเมีย และเมื่อทาการจาแนกชนิดตามลักษณะสัณฐาน วิทยาภายนอกของแมลงวันผลไม้ พบแมลงวันผลไม้ทั้งหมดอยู่ในวงศ์ Tephritidae 2 วงศ์ย่อย 3 สกุล 6 ชนิด และยังไม่ท ราบชนิดอี ก 1 การทราบชนิด สัดส่วนเพศของแมลงวันผลไม้ในพื้นที่ ปลูกกี วีฟรุต ทาให้ง่ายต่อ การศึกษาข้อมูลชีววิทยา การพยากรณ์ฤดูกาลระบาด รวมถึงพฤติกรรม อันที่ซึ่งจะเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการนามาพิจารณาเลือกสรรวิธีการป้องกันกาจัดอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป คาขอบคุณ ขอขอบคุณ มู ล นิธิโครงการหลวง จัง หวัดเชียงใหม่ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ อาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ อ นุ เคราะห์ให้ ใช้พื้ นที่ ส าหรับ ท าการศึก ษาทดลอง และขอบคุณ สาขากี ฏ วิท ยา คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ช่วยสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องมือรวมไปถึงองค์ความรู้ในการศึกษาครั้งนี้
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
453
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
ตารางที่ 2 ความแตกต่างระหว่างแมลงวันผลไม้ ส่วนลาตัว ส่วนหน้า ส่วนอก postsutural yellow vittae B. tau
ส่วนท้อง
ส่วนปีก
Scutellum Segment I Segment II
R4+5
R2+3
R1
Segment III Segment IV Segment V
M1+2 M3+4
B. dorsalis
B. scutellaris
454
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
PEB-04
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
B. zonata
B. nigrotibialis
Acroceratitis sp.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
455
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
Chaetellipsis paradoxa R4+5
arista
456
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
M1+2
m cross vein M3+4
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
เอกสารอ้างอิง ฉันทนี เฮงสวัสดิ์. 2544. อนุกรมวิธานของแมลงวันผลไม้. หน้า 19-108. ใน: มนตรี จิรสุรัตน์, (ผู้รวบรวม), แมลงวันผลไม้ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการ. กองกีฏวิทยาและสัตว-วิทยา, กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. ไชยวัฒน์ ดวงสุภา. 2545. การสารวจและการศึกษาชีวประวัติของแมลงวันทองในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิ พนธ์มหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย, เชียงใหม่. 123 หน้า. ปวระณา ภาระรมย์, 2557. ผลไม้เมืองหนาว. แหล่งที่มา URL http://0903426138.blodspot .com/2014 /10/3_16.html สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2562 พัฒนา นรมาศ. 2559. การป้องกันและกาจัดแมลงวันผลไม้: แมลงวันผลไม้ทาลายผลผลิตจงช่วยกันพิชิต เศรษฐกิจจะรุ่งเรือง. เอกสารวิชาการ. กองเกษตรสัมพันธ์, กรมส่งเสริมการเกษตร, กระทรวงเกษตร และสหกรณ์. 4 หน้า. มนตรี จิรสุรัตน์, (ผู้รวบรวม). 2544. แมลงวันผลไม้ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการ. กองกีฏวิทยาและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 243 หน้า. ยุวรินทร์ บุญทบ และคณะ, 2552. อนุกรมวิธานแมลงวันผลไม้ Bactrocera. รายงานผลงานวิจัยประจาปี 2554. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร. หน้า 1742-1758. รัตติยา พุ่มกาพล และ สิริพร แพรวพรายรัตน์. 2557. การศึกษาปริมาณของแมลงวันผลไม้ในพื้นที่ปลูก พีชโดยการใช้กับดักล่อประยุกต์จาก Steiner trap ที่เกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง อาเภอจอมทอง จัง หวัดเชียงใหม่ . โครงงานสหกิ จ . คณะสัต ว์ศาสตร์และเทคโนโลยีก ารเกษตร, มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี. 24 หน้า. วิสุทธิ์ ใบไม้, ปัทมาภรณ์ กฤตยพงษ์, สังวร กิจทวี, เฉลียว กุวังคะดิลก, สุจินดา ธนะภูมิ, แสน ติกวัฒนานนท์, P.J. Grote, และอรวรรณ สั ต ยาลั ย . 2541. การศึ ก ษาเชิ ง ป ระชากรของแมลงวั น ผลไม้ แ ละ ยุงก้นปล่อง. คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. 116 หน้า. สัญญาณี ศรีคชา, วิภาดา ปลอดครบุรี, ยุวรินทร์ บุญทบ, และ เกรียงไกร จาเริญมา. 2555. ชีววิทยา การเข้า ท าลาย ฤดู ก าลระบาดของแมลงวั น ทองชนิ ด Bactrocera cucurbitae (Coquillet). รายงาน ผลงานวิจัยประจาปี 2555. สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช , กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการ เกษตร, กรุงเทพ. หน้า 2196-2200. สัญญาณี ศรคชา. 2556. แมลงวันผลไม้และการป้องกันกาจัด. เอกสารวิชาการ. กลุ่มบริหารศัตรูพืช , สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 12 หน้า. สุรินทร์ นิลสาราญจิต. 2543. ไม้ผลเขตหนาว. คณะเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 176 หน้า. อัจฉรา ภาวศุทธิ์, ชินพัทธ์ ธนารุจ, พรประเสริฐ ธรรมอินทร์, ทูลโรย มะลิแก้ว และสานิต นิรพาท. 2549. การศึกษาวิธีการเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตกีวี่ ฟรุตโดยการห่อผล. รายงานวิจัยฉบั บสมบูรณ์. มูลนิธิโครงการหลวง, จังหวัดเชียงใหม่. 52 หน้า. Baimai, V., J. Phinchongsakuldit and W. Trinachartvanit. 1999. Metaphase karyotypes of fruit 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
457
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-04
flies of Thailand (III): Six members of the Bactrocera dorsalis Complex. Zoological Studies. 38(1): 110-118. Danjuma, S., N. Thaochan, S. Permkam, and C. Satasook. 2014. Effect of temperature on the development and survival of immature stages of the carambola fruit fly, Bactrocera carambolae, and the Asian papaya fruit fly, Bactrocera papayae, reared on guava diet. Journal of Insect Science. 14(1). 1-16. Drew, R.A.I., and D.L. Hancock. 1994. The Bactrocera dorsalis complex of fruit flies (Diptera: Tephritidae: Dacinae) in Asia. (Online). Bulletin of Entomological Research: Supplement Series Number 2, In Supplement, CAB, Wallingford. Available at URL http://journals. Cambridge.org/action/displayAbstra-ct?fromPage=online&aid=8787876&fileId=S13674 26900000278 Accessed on 31/03/2019 International Atomic Energy Agency. 2003. Trapping guidelines for area wide fruit fly programmes. (Online). Insect pest control section, Division of Nuclear Techniques in Food and Agriculture, International Atomic Energy Agency, Vienna, Austria. Available at URL http://www-pub.iaea.org/ MTCD/publications/PDF/TG-FFP_web.pdf Accessed on 28/03/2019 Jacson, D., N. Looney, M. Morley-Bunker, and G. Thiele, (eds.). 2011. Temperate and subtropical fruit production. 3rd ed. Cambridge University Press, Cambridge. 327 pp. Kitthawee, S., and N. Rungsri. 2011. Differentiation in wing shape in the Bactrocera tau (Walker) complex on a single fruit species of Thailand. Science Asia 37: 308-313. Kiwifruit Vine Health. 2014. Financial impact of a fruit fly incursion to New Zealand’s kiwifruit industry. Available at URL http://www.kvh.org.nz/vdb/document/98983 Accessed on 12/02/2019 White, I.M., and M.M. Elsaon-Harris.1992. Fruit flies of economic significance: Their identification and Bionomic. Redwood Press, Melksham. 601 pp.
458
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
การประยุกต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการจาแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium spp. ที่เป็นศัตรูพืชกักกันแบบรวดเร็ว Rapid Identification of Quarantine Pest Species of Genus Tribolium spp. Based on DNA barcoding นพรัตน์ บัวหอม1 ชลธิชา รักใคร่2 ชนินทร ดวงสอาด2 ช่อทิพย์ ศัลยพงษ์1 อิทธิพล บรรณการ2 และ มนตรี ธนรส1 Nopparat Buahom1 Chonticha Rakkrai2 Chanintorn Doungsa – ard2 Chortip Salyapongse1 Ittipon Bannakan2 and Montri Tanaros1 1
สานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 Ofiice of Agricultural Regulation, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 2 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 1
บทคัดย่อ มอดแป้ง (Flour beetle) สกุล Tribolium เป็นแมลงศัตรูพืชกักกั นที่สาคัญ แต่เนื่องจากมอดแป้ง มีขนาดเล็ก บางชนิดมีรูปร่างลักษณะใกล้เคียงกัน การจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาเพียงอย่าง เดียวจึงค่อนข้างยาก โดยเฉพาะตัวอย่างที่ไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ หรืออยู่ไม่อยู่ในระยะตัวเต็ม วัย การทดลองนี้ ดาเนินการระหว่าง ปี 2559 - 2561 โดยนาตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่รวบรวมได้จากโรงสีข้าวและโรงปรับปรุง คุณภาพข้าวระหว่างการตรวจประเมินผู้ผลิตและแปรรูปข้าวส่งออกไปจีน และจากด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพ จานวน 103 ตัว นามาจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิ ทยา พบว่าประกอบด้วย 4 ชนิด คือ มอดแป้ง ชนิด T. castaneum มอดฟันเลื่อย (Oryzaephilus surinamensis) ด้วงงวงข้าวโพด (Sitophilus oryzae) ด้วงถั่วเขียว (Callosobruchus maculatus) และมีตัวอย่างบางส่วนไม่สามารถจาแนกได้ เนื่องจากไม่อยู่ใน สภาพสมบูรณ์ จากนั้น นาตัวอย่างของแมลงศัตรูโรงเก็บทั้ง 4 ชนิด และตัวอย่างที่ไม่สามารถจาแนกได้ จานวน 24 ตัว มาสกัดดีเอ็นเอ เพิ่มปริมาณยีน COI ด้วยเทคนิค PCR ตรวจวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์กับฐานข้อมูล GenBank พบว่าผลการจาแนกชนิดตรงกับลักษณะทางสัณฐานวิทยา และตัวอย่างที่ไม่สามารถระบุชนิดได้ คือ มอดแป้งชนิด T. castaneum ผลการวิเคราะห์ ML - tree ได้ยืนยันความถูกต้องของการจาแนกชนิดด้วยเทคนิค ดีเอ็นเอบาร์โค้ด โดยพบว่าลาดับนิวคลีโอไทด์ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บทั้ง 4 ชนิด อยู่ใน clade เดียวกัน กั บ ล าดับ นิ วคลี โอไทด์จ ากฐานข้ อ มู ล GenBank โดยมอดแป้ ง ชนิ ด T. castanuem และชนิ ด T. fremani มี ความสัมพั นธ์ท างพั นธุกรรมใกล้เคียงกั น และได้ นาล าดับ นิวคลีโอไทด์ ที่ ได้ส่ง ไปยัง ฐานข้อ มู ล GenBank (Acession No. MK649848 – MK649857) คาสาคัญ : มอดแป้ง การจาแนกชนิดแบบรวดเร็ว กักกันพืช ดีเอ็นเอบาร์โค้ด 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
459
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
ABSTRACT Flour beetles of the genus Tribolium are important quarantine pests. Because Tribolium individuals is small and similar in morphological characteristics for some species, especially damaged samples and non – adults state, it is difficult to identify base on external characteristics alone. The study carried out molecular identification, using mtDNA COI gene, during 2016 – 2018. We collected 103 stored – product pest individuals from rice mills during the on – site inspection of rice production and processing enterprises for exporting to China and Bangkok port plant quarantine station, and identified base on external morphological characteristics, the results showed that the individuals consisted of 4 species of pest, including T. castaneum, Oryzaephilus surinamensis, Sitophilus oryzae and Callosobruchus maculatus, and some individuals could not identified cause damaged. We applied molecular identification on 24 samples from 4 species individuals and damaged individuals, through DNA extraction, PCR amplification, sequencing and sequences alignment in GenBank. Results of two identification techniques are consistent, sequences similarity is highly at 98.94% above, and the damaged sample is T. castaneum. Phylogenetics analysis based on Maximum Likelihood method using K2P parameter further verified the molecular identification results above. Each species are in the same clade to the species got from GenBank. Genetics relationship between T. castaneum and T. freemani are very close, and conformed to previous studies. We submitted nucleotide sequences of 4 species to GenBank, accession numbers are MK649848 – MK649857. Therefore, the study can provide technical reference and support to rapid identification of other pests, which can provide convenience in release of plants and plant products consignments in entry - exit inspection and quarantine, and can also be a basis of population genetics study. Keywords: Flour beetle, Rapid Identification, Plant Quarantine, DNA barcoding คานา มอดแป้ง (Flour beetle) เป็นแมลงในอันดับ Coleoptera วงศ์ Tenebrionidae สกุล Tribolium MacLeay 1825 ปั จจุบันมี ร ายงานการตรวจพบมอดแป้งแล้ว 36 ชนิด (Angelini และ Jockusch, 2008) โดยมี 10 ชนิดที่แมลงศัตรูโรงเก็บ ที่ส าคัญ ได้แก่ Tribolium castanium ซึ่งพบการแพร่กระจายในหลาย ประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย T. confusum ที่พบการแพร่กระจายในหลายประเทศทั่วโลก แต่ยังไม่มี รายงานการตรวจพบในประเทศไทย (Crop Protection Compendium, 2019) รวมถึง T. destructor, T. audax, T. madens, T. freemani, T. anaphe, T. brevicorne, T. parallelus และ T. thusa (Wang, 460
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
2015; Crop Protection Compendium, 2019) โดยมอดแป้งเหล่านี้สามารถเข้าทาลายแป้งจากพืช เมล็ด ธัญพืช เมล็ดข้าวโพด เมล็ดถั่วชนิดต่างๆ และเมล็ดพืชที่ให้น้ามัน ได้ทั้งในระยะหนอนและตัวเต็มวัย ด้วยการ เข้าทาลายภายหลังจากที่แมลงชนิดอื่นทาลายเมล็ดพืชจนเป็นรูหรือรอยแตกแล้ว โดยตัวเต็มวัยจะหลั่งสาร บางชนิดที่ มีกลิ่นเหม็ น ทาให้แป้งจากพื ชหรือ เมล็ดพืชที่ ถูกท าลายจับตัวเป็นก้ อน ขึ้นรา และมี กลิ่นเหม็ น ไม่สามารถใช้รับประทานได้ สร้างความเสียหายแก่ผลผลิตในโรงเก็บเป็นจานวนมากในแต่ละปี (Li และคณะ, 2011) นอกจากนี้ มอดแป้งยังมีความสามารถในการขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว มีวงจรชีวิตที่ ยาวนาน และ มีความปราดเปรียวรวดเร็ว หากไม่ มีมาตรการควบคุม ป้องกั นที่มี ประสิทธิภาพ อาจส่งผลกระทบต่อความ มั่ น คงทางอาหารได้ (Rees, 2004) ด้ ว ยเหตุ นี้ หน่ ว ยงานอารั ก ขาพื ช (National Plant Protection Organizations, NPPOs) หลายประเทศทั่ ว โลกก าหนดให้ ม อดแป้ ง เป็ น ศั ตรู พื ชกั ก กั น เช่น ประเทศจี น ก าหนดให้ ม อดแป้ ง ชนิ ด T. destructor เป็ นศั ต รู พื ชกั ก กั น (General Administration of Quality Supervision, Inspection and Quarantine of the P.R. China, 2017) ประเทศไทยโดยกรมวิ ชาการเกษตร ได้ทาการศึกษาวิเคราะห์ความเสี่ยงศัตรูพื ชของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดนาเข้าจากประเทศสหรัฐอเมริก า พบว่า มอดแป้งชนิด T. confusum มีศักยภาพเป็นศัตรูพืชกักกัน (ณัฏฐพร และคณะ, 2553) ด้วยเหตุนี้ จึงกาหนดให้ มีการรมยาด้วยสารเมทิลโบรไมด์ หรือสารฟอสฟีนเพื่อกาจัดมอดแป้ง และแมลงศัตรูพืชชนิดอื่น การค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศที่ขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น ทาให้โอกาสที่มอดแป้งจะติดปะปนไปกับ สิน ค้าเกษตร และแพร่ก ระจายไปยังพื้ น ที่ ใหม่ ๆ เพิ่ ม สูงขึ้น จากการรายงานของกระทรวงศุล กากรแห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น (the General Administration of Customs of P. R. China, 2017) พบว่ า ระหว่างปี 2551 – 2554 ด่านตรวจพืชของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีการตรวจพบมอดแป้งในสินค้าเกษตร นาเข้าจากต่างประเทศทั้งหมด 32,718 ครั้ง เฉพาะในปีพ.ศ. 2555 ตรวจพบทั้งหมด 21,036 ครั้ง โดยตรวจ พบมอดแป้ ง 5 ชนิ ด คื อ T. castanium, T. confusum, T. destructor, T. madens และ T. freeman โดยตัวอย่างมอดแป้งที่ตรวจพบบางส่วน สามารถจาแนกได้ถึงระดับสกุลเท่ านั้น (Wang และคณะ, 2015) ปัจจุบัน การจาแนกชนิดของมอดแป้งอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาของตัวเต็มวัยเท่านั้น การจาแนกชนิด ของมอดแป้ง ในระยะไข่ หนอน และดัก แด้ รวมถึ งเศษชิ้ นส่วนตัวเต็ม วัยมี ค วามยากล าบาก และต้องใช้ เวลานาน โดยเฉพาะมอดแป้ง 2 ชนิด คือ T. castanium และ T. confusum ที่มีรูปร่างลักษณะทางสัณฐาน วิทยา และขนาดใกล้เคียงกั น แต่ในงานด้านการกั กกั นพืช มีก ารตรวจพบแมลงศัตรูพืชกั ก กันทุ กระยะการ เจริญ เติ บ โต รวมถึง เศษชิ้นส่ วนของแมลงศั ตรูพื ชกั ก กั น ดัง นั้น การศึก ษาค้น คว้าเทคนิ คใหม่ ที่ ส ามารถ ตรวจสอบแมลงศัตรูพืชกักกันได้ทุกระยะการเจริญเติบโต รวมถึงเศษชิ้นส่วนของแมลงศัตรูพืชกักกัน ได้อย่าง รวดเร็วและถูกต้องแม่นยา จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง (Zhang และคณะ, 2013) ในระยะไม่ กี่ ปี ที่ ผ่ านมา การตรวจจ าแนกชนิ ด ของสิ่ ง มี ชี วิต ด้ว ยวิธี ท างชี วโมเลกุ ล (molecular identification) เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ เมื่อเปรียบเทียบกับการตรวจวินิจฉัยด้วยลักษณะทางสัณฐาน วิท ยา (morphological identification) (Liu และคณะ, 2011) โดยเฉพาะอย่ างยิ่ ง เมื่ อ เทคนิ ค ดี เ อ็ น เอ บาร์โค้ดที่ถูกคิดค้นโดย Hebert และคณะ (2003) กลายมาเป็นเครื่องมือสาคัญในการตรวจวินิจฉัยชนิดของ 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
461
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
สิ่งมีชีวิต โดยดีเอ็นเอบาร์โค้ดเป็นลาดับของดีเอ็นเอที่สั้นและมีมาตรฐาน เหมาะสาหรับใช้ตรวจวินิจฉัยชนิด ในระดับโมเลกุล ได้รับการยอมรับและถูกกาหนดให้เป็นวิธีหนึ่งในการตรวจวินิจฉัยศัตรูพืชกักกันในมาตรฐาน ISPM No. 27 เรื่อง Diagnostic protocols for regulated pests (FAO, 2006) เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดเป็น การนาเอาดีเอ็นเอมาตรฐานที่สามารถใช้ระบุชนิดของของสิ่งมีชีวิตได้ มาเพิ่ม ปริมาณด้วยเทคนิค PCR แล้ว วิเคราะห์ห าลาดับ นิวคลีโอไทด์ จากนั้นนาลาดับ นิวคลีโอไทด์ของสิ่งมี ชีวิตนั้น ไปวิเคราะห์เปรียบเที ยบกั บ ล าดั บ นิ ว คลี โ อไทด์ ม าตรฐานในฐานข้ อ มู ล สากล เช่ น ฐานข้ อ มู ล ของ GenBank เป็ น ต้ น และสร้ า ง phylogenetic tree เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการ ทาให้สามารถระบุชนิดของสิ่งมีชีวิตได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว โดยสามารถใช้ในการจ าแนกชนิดของตัวอย่างแมลง ได้ทุกระยะการเจริญ เติบ โต ไม่ว่า ตัวอย่างจะอยู่ในสภาพสมบูรณ์หรือไม่ก็ตาม (วุฒิพงษ์, 2554) โดยยีนที่นิยมนามาใช้เป็นดีเอ็นเอมาตรฐานใน ปัจจุบันคือ ยีน COI ซึ่ง อยู่ในไมโทคอนเดรีย (mtDNA COI) มี ความแปรผันของล าดับ นิวคลีโอไทด์เพี ยง พอที่ จ ะใช้จาแนกชนิดสัตว์ได้ (Hebert และคณะ, 2003; วุฒิ พงษ์, 2554) การประยุก ต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอ บาร์โค้ด (DNA barcode) ด้วยการใช้ลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI เป็นดีเอ็นเอมาตรฐานในการจาแนกชนิด ของมอดแป้ง สามารถช่วยอานวยความสะดวกทางการค้าลดระยะเวลาในการตรวจปล่อย และสามารถให้ผล การจาแนกในระดับชนิด (species) ได้อย่างถูกต้องแม่นยา โดยหากด่านตรวจพืชมีการตรวจพบมอดแป้งทีเ่ ป็น ศัตรูพืชกักกันในแป้งจากพืช หรือเมล็ดพืชนาเข้าจากต่างประเทศแล้ว กรมวิชาการเกษตรสามารถใช้ผลตรวจ ดังกล่าวเป็นข้อมูลแจ้งเตือนถึงปัญหาการไม่เป็นไปตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัยพืช (The notification of non-compliance) ไปยัง หน่วยงานอารัก ขาพืชแห่งชาติ (NPPO) ของประเทศผู้ส่งออก เพื่อให้เพิ่ม ความ เข้มงวดในการตรวจสอบกักกันก่อนการส่งออก ป้องกัน การเข้ามา (introduction) ของมอดแป้งต่างถิ่นที่ มี ความสาคัญทางเศรษฐกิจ และอาจส่งผลกระทบต่อการผลิตผลในโรงเก็บของประเทศไทย จากการตรวจสอบเอกสารวิจัยที่ ผ่านมา พบว่ามีก ารศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกั บการจ าแนกชนิดของ มอดแป้งด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุ ลในต่างประเทศ ดังนี้ Mestrovic และคณะ (2006) ศึกษาความสัม พันธ์ เชิงวิวัฒนาการระหว่างมอดแป้งสกุล Tribolium โดยใช้ลาดับนิวคลีโอไทด์ที่ได้จากการเชื่อมต่อลาดับนิวคลีโอ ไทด์ของยี น COI ที่ มี ความยาว 642 bp และยีน 16S rDNA ที่ มี ความยาวระหว่าง 448 – 452 bp พบว่า phylogenetic tree สามารถแบ่ ง มอดแป้ ง สกุ ล ดั ง กล่ า วออกได้ เ ป็ น 3 กลุ่ ม กลุ่ ม ที่ 1 ประกอบด้ ว ย T. brevicornis กลุ่ ม ที่ 2 ประกอบด้วย T. castanium, T. freemani, T. madens และ T. audax และ กลุ่ม ที่ 3 ประกอบด้วย T. confusum, T. anaphe และT. destructor โดยมอดแป้งชนิด T. castanium กับ T. freemani และมอดแป้งชนิด T. madens กั บ T. audax เป็น sibling species pairs กัน Angelini และ Jockusch (2008) วิเ คราะห์ค วามสั ม พัน ธ์ท างพั นธุ ก รรมของมอดแป้ง สกุ ล Tribolium ด้ วยการใช้ เครื่องหมายชีวโมเลกุลหลายชนิด ได้แก่ ยีน COI ยีน 16S rDNA ยีน 28S rDNA และ wingless พบว่า มอดแป้ง ชนิ ด T. castanium และ T. confusum ต่ า งเป็ น monophyletic ส่ ว น Nowaczyk และคณะ (2009) ศึก ษาวิธีก ารจาแนกชนิดของมอดแป้ง ชนิด T. confusum โดยใช้เทคนิค Real-time PCR มีก ารออกแบบ ไพรเมอร์ที่ มี ค วามเฉพาะเจาะจงจากล าดั บ นิ วคลี โอไทด์ ข องยี น ITS และ ยี น COI ของมอดแป้ ง ชนิ ด T. confusum ที่ ได้จ ากฐานข้อมู ล GenBank โดยมีก ารพิสูจ น์ความน่าเชื่อถือและความเฉพาะเจาะจงของ 462
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
ไพรเมอร์ที่ ได้ ท าให้ได้วิธีก ารจ าแนกชนิดที่ มี ความรวดเร็วและแม่ นยา Ming และคณะ (2015) วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ทางพั นธุกรรมระหว่ างมอดแป้ง 2 ชนิด คือ T. castanium และ T. confusum โดยใช้ลาดับ นิวคลีโอไทด์ของยีน COI และยีน Cytb ซึ่งอยู่บนไมโทคอนเดรีย จากตัวอย่างมอดแป้งชนิดละ 100 ตัวอย่าง พบว่า มอดแป้งทั้ ง 2 ชนิดมี ความแตกต่างทางพันธุศาสตร์ระหว่างกัน ถึงแม้ว่ารูปร่างลักษณะทางสัณฐาน วิทยาและขนาดจะใกล้เคียงกันมากก็ตาม โดยเมื่อเปรียบเที ยบความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการกับ มอดแป้งอีก 2 ชนิด คือ T. freemani และ T. destructor พบว่า คู่มอดแป้งชนิด T. castanium กับ T. freemani และ T. confusum กั บ T. destructor มี ค วามสั ม พั น ธ์ ใ กล้ ชิ ด กั น มากกว่ า คู่ ม อดแป้ ง T. castanium และ T. confusum นอกจากนี้ ได้พิ สูจ น์แล้วว่า ล าดับ นิ วคลีโอไทด์ ของยีน COI และ ยีน Cytb สามารถใช้ใน การศึก ษาการแบ่งแยกทางพั นธุกรรม และความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการระหว่างสปีซีส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สปีซีส์ที่มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาคล้ายคลึงกัน ส่วนในประเทศไทย ปัจจุบันยังไม่พบการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น การทดลองนี้จึงเป็นพื้นฐานสาหรับการศึกษาวิจัยการจาแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium และ สามารถใช้ต่อยอดในการศึกษาพันธุศาสตร์ประชากร (Population Genetics) หรือการออกแบบไพรเมอร์ที่มี ความเฉพาะเจาะจง (specific primers) สาหรับมอดแป้งสกุล Tribolium อุปกรณ์และวิธีการ อุปกรณ์ 1. ตัวอย่างของแมลงศัตรูโรงเก็บ (stored – product pest) 2. วัสดุวิทยาศาสตร์และสารเคมี 3. อุปกรณ์สาหรับเก็บตัวอย่าง เช่น หลอดทดลอง พู่กัน ที่คีบแมลง และ micropin เป็นต้น 4. กล้องสเตอริโอไมโครสโคป (stereo microscope) 5. เครื่อง PCR thermal cycler 6. เครื่องอ่านลาดับดีเอ็นเออัตโนมัติ (Automated DNA sequencer) 7. เครื่อง gel electrophoresis แบบแนวนอน และเครื่องอ่านวิเคราะห์ gel 8. เครื่อง autoclave 9. อ่างน้าควบคุมอุณหภูมิ (water bath) 10. เครื่องปั่นเหวี่ยงความเร็วสูง (high speed centrifuge) 11. เครื่องชั่งดิจิตอลทศนิยมสองตาแหน่ง (2 digit digital scale) 12. ตู้เย็น (refrigerator) 13. เครื่องเขย่าสาร (vortex) 14. เครื่องอบไมโครเวฟ 15. โปรแกรม DNAMAN V. 7.0, โปรแกรม MEGA V. 5.0, โปรแกรม ClustalX และโปรแกรม BLAST
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
463
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
วิธีการ 1. การเก็บรวบรวมตัวอย่าง (samples collection) เก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บระยะเต็มวัย ด้วย 2 วิธีการ ดังนี้ (1) เก็บรวบรวมจากด่านตรวจพืช พนักงานเจ้าหน้าที่ของด่านตรวจพื ช ท าการสุ่มตรวมสินค้าธัญ พืชนาเข้าจากต่างประเทศ ระหว่าง ปี 2559 - 2561 โดยหากสุ่มตรวจพบแมลงศัตรูโรงเก็บระยะเต็มวัย ทั้งที่มีสภาพสมบูรณ์ และสภาพไม่สมบูรณ์ ในสินค้าธัญพืชนาเข้าใด ให้นาตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่ได้มาแช่ในหลอดทดลองที่มีเอทานอลเข้มข้น 95% แล้วเก็บรักษาไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิ – 20 °C บันทึกข้อมูลผู้เก็บตัวอย่าง ชื่อที่อยู่ผู้ส่ง ออกและผู้นาเข้า ชนิดของ สินค้าธัญพืช จานวนและปริมาณของสินค้าธัญพืช ประเทศผู้ส่งออก วันที่นาเข้า เป็นต้น (2) เก็บรวบรวมจากโรงสีข้าว หรือโรงเก็บผลิตผลเกษตร เก็ บรวบรวมแมลงศัตรูโรงเก็บ ระยะเต็มวัยจากโรงปรับ ปรุงคุณภาพข้าวหรือโรงสีข้าวระหว่างการ ตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนผู้ผลิตและแปรรูปข้าวส่งออกไปจีน หรือจากโรงเก็บผลิตผลเกษตรระหว่างการ ควบคุมการรมยากาจัดศัตรูพืชเพื่ อการส่งออก ทั้งตัวอย่างที่มีสภาพสมบูรณ์ และมีสภาพไม่สมบูรณ์ โดยนา ตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็ บ ที่ ได้ม าแช่ในหลอดทดลองที่ มี เอทานอลเข้ม ข้น 95% แล้วเก็ บ รัก ษาไว้ ในตู้เย็น ที่อุณหภูมิ – 20 °C บันทึกข้อมูลผู้เก็บตัวอย่างวันเดือนปีที่เก็บตัวอย่าง ชื่อและที่อยู่ของโรงปรับปรุงคุณภาพ ข้าวหรือโรงสีข้าว 2. การตรวจจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา (morphological identification) หากตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บอยู่ในระยะตัวเต็มวัย และมีสภาพสมบูรณ์ ให้นามาตรวจจาแนกชนิด ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา ก่อนการจาแนกด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด ตามเอกสารแนวทางการจาแนก ชนิดของแมลงศัตรูโรงเก็บ ภายใต้กล้องสเตอริโอไมโครสโคป (stereo microscope) บันทึกภาพถ่ายลักษณะ ทางสัณฐานวิท ยา เพื่ อ ใช้ยืนยันผลการจาแนกชนิดด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด แต่ห ากตัวอย่างแมลงศัตรู โรงเก็บมีสภาพไม่สมบูรณ์ให้ข้ามไปดาเนินการในข้อ 3 3. การสกัดดีเอ็นเอ และเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิค PCR (DNA extraction and PCR amplification) (1) การสกัดดีเอ็นเอของตัวอย่างโดยใช้ชุดสกัดดีเอ็นเอสาเร็จรูปของ QIAamp DNA Mini Kit (GIAGEN, Germany) ตามวิธีการทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตกาหนด (2) นา genomic DNA ของแต่ละตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ มาตรวจสอบคุณภาพด้วย 1.5% agarose gel (3) เพิ่ ม ปริม าณดี เอ็ น เอเป้ าหมายด้วยเทคนิ ค PCR ด้ วยคู่ COI universal primers (Folmer และคณะ, 1994) โดยเตรียมสารละลายปริมาณ 25 µL ประกอบด้วย 2X PCR Marter Mix (Promega), LCO 1490, HCO 2198, DNA template แ ล ะ ddH2O โด ย มี Thermo cycling condition คื อ pre – denaturing 464
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
ที่ อุ ณหภูมิ 94 °C เป็ นเวลา 3 นาที , denaturing ที่ อุณ หภู มิ 94 °C เป็ น เวลา 1 นาที , annealing ที่ อุ ณหภู มิ 52 °C เป็ น เวลา 1 นาที , extension ที่ อุ ณ หภู มิ 72 °C เป็ นเวลา 1 นาที จ านวน 35 cycles จากนั้ น final – extension ที่อุณหภูมิ 72 °C เป็นเวลา 10 นาที (4) ตรวจสอบคุณภาพของ PCR products ด้วยวิธี 1.5% agarose gel electrophoresis 4. การตรวจหาลาดับนิวคลีโอไทด์ (nucleotide sequencing) ตรวจสอบลาดับนิวคลีโอไทด์ (bidirectional sequencing) ของ PCR products ของตัวอย่างแมลง ศัตรูโรงเก็บ โดยใช้เครื่องอ่านลาดับดีเอ็นเออัตโนมัติ (Automated DNA sequencer) ของ Solgen Analysis Service ประเทศเกาหลีใต้ เมื่ อได้ลาดับนิวคลีโอไทด์ของแต่ละตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บแล้ว ใช้โปรแกรม DNAMAN V.7.0 ในการเตรียมลาดับนิวคลีโอไทด์เส้นเดียวที่มีความยาว 658 bp ของแต่ละตัวอย่าง 5. การวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ (sequencing analysis) (1) นาลาดับ นิวคลีโอไทด์ของแต่ล ะตัว อย่างแมลงศัตรูโรงเก็ บ ที่ ได้ มาเปรียบเที ยบกั บ ล าดับ นิวคลีโ อไทด์ มาตรฐานในฐานข้อ มูล GenBank โดยใช้โปรแกรม BLAST เพื่อตรวจค่า sequences similarity (%) หรือ ความคล้ายคลึงกัน เพื่อจาแนกชนิดของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด (2) ดาวน์โหลดล าดับนิวคลีโอไทด์มาตรฐานของแมลงศัตรูโรงเก็บชนิดที่เกี่ ยวข้อง และตั๊กแตนไผ่ (Ceracris kiangsu) จากฐานข้อมูล GenBank จากนั้น ใช้โปรแกรม Clustal X ในการเรียบเรียงลาดับนิวคลีโอไทด์ของ ตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่ได้ และนิวคลีโอไทด์มาตรฐานทั้งหมด ให้อยู่ในไฟล์เดียวกัน และบันทึกข้อมูลใน รูปแบบ FASTA เพื่อใช้วิเคราะห์ข้อมูลในขั้นตอนต่อไป (3) ใช้โปรแกรม MEGA V. 5.0 ในการวิเคราะห์องค์ประกอบของเบสในลาดับนิวคลีโอไทด์ การสร้างแผนภูมิ ความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง วิ วั ฒ นาการ (phylogenetic tree) โดยวิ ธี Maximum Likelyhood (ML tree) ด้ ว ย แบบจ าลอง Kimura – 2 – Parameter (K2P) (Nei และ Kumar, 2000) ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารที่ เ หมาะสมใน การศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการ โดยการทดลองนี้ใช้ ตั้กแตนไผ่ (Ceracris kiangsu) เป็นสัตว์นอกกลุ่ม (outgroup) เพื่อยืนยันผลการจาแนกชนิดของแมลงศัตรูโรงเก็บด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โ ค้ด และวิเคราะห์ ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการระหว่างแมลงศัตรูโรงเก็บแต่ละชนิดในการทดลอง 6. การวิเคราะห์ผลการทดลอง (1) วิเคราะห์ผลการจาแนกชนิดของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ สรุปจานวนของแมลงศัตรูโรงเก็บแต่ละชนิดที่ได้ และนามาเปรียบเทียบกับผลการจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา เพื่อยืนยันผลการจาแนกชนิดด้วย เทคนิคทั้ง 2 อย่าง (เฉพาะตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่มีสภาพสมบูรณ์) ทั้งนี้ หากพบว่า แมลงศัตรูโรงเก็บที่ได้ เป็นศัตรูพืชกักกันของประเทศไทย ให้ทาการแจ้งเตือนปัญหาการไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดในการนาเข้า ไปยัง องค์การอารักขาพืชแห่งชาติของประเทศผู้สง่ ออก เพื่อให้เพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบกักกันสินค้าธัญพืช ก่อนการส่งออกมายังประเทศไทย 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
465
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
(2) ใช้โปรแกรม DNAMAN V.7.0 แปลลาดับนิวคลีโอไทดของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่ได้จากการทดลอง เป็ นลาดับ โปรตีน ที่ ไม่ มี termination coding จากนั้น นาข้อมู ล ลาดับ นิวคลีโอไทด์ และลาดับ โปรตีน ที่ มี คุณภาพดีของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่เป็นตัวแทน ป้อนเข้าสู่ฐานข้อมูล GenBank โดยใช้โปรแกรม BankIt บันทึกข้อมูล GenBank Accession Numbers ระยะเวลาที่ทาการทดลอง ดาเนินการทดลองระหว่าง เดือน ตุลาคม 2559 – กันยายน 2561 สถานที่ทาการทดลอง 1) ด่านตรวจพืช ของสานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร (สคว.) เช่น ด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพ เป็น ต้น 2) โรงปรับปรุงคุณภาพข้าวหรือโรงสีข้าวระหว่างการตรวจประเมินผูผ้ ลิตและแปรรูปข้าวส่งออกไปจีน หรือ โรงเก็บผลิตผลการเกษตรระหว่างการควบคุมการรมยากาจัดศัตรูพืชเพือ่ การส่งออก 3) ห้องปฏิบัติการของกลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร สคว. 4) ห้องปฏิบัติการของกลุ่มวิจัยโรคพืช สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช (สอพ.) 5) ห้องปฏิบัติการของกลุ่มงานอนุกรมวิธาน กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สอพ. ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการเก็บ รวบรวมตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บทั้ งที่ มีชีวิตและไม่ มีชีวิต จากโรงสีและโรงปรับ ปรุง คุณ ภาพข้าว จ านวน 3 แห่ ง ในพื้ น ที่ จั ง หวั ดสุ ริน ทร์ จั ง หวั ดชลบุ รี และจัง หวัด สุพ รรณบุ รี รวมถึง การ เก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ ที่ไม่มีชีวิตจากสินค้าธัญพืชนาเข้าจากต่างประเทศ จานวน 2 ครั้ง ณ ด่านตรวจพืช ท่ าเรือ กรุง เทพ ระหว่างเดื อ นสิ งหาคม 2559 ถึง เดือ นพฤศจิก ายน 2560 แล้วน าตัวอย่ าง แมลงศัตรูโรงเก็บที่มีสภาพสมบูรณ์ มาจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา ตามเอกสารแนวทางการ จ าแนกชนิดของแมลงศัต รูโ รงเก็ บ (อุ รุญ ากร และคณะ, 2540; พรทิ พ ย์ และคณะ, 2548; Rees, 2004) พบว่าได้ตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ จานวน 4 ชนิด คือ มอดแป้ง (T. castaneum) จานวน 35 ตัว มอดฟันเลื่อย (Oryzaephilus surinamensis) จ านวน 20 ตั ว ด้ ว งงวงข้ าวโพด (Sitophilus oryzae) จ านวน 30 ตั ว ด้วงถั่วเขียว (Callosobruchus maculatus) จานวน 15 ตัว รวม 100 ตัว และพบว่าไม่สามารถจาแนกชนิด ด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา เนื่องจากไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ จานวน 3 ตัว รวมทั้งสิ้น 103 ตัว (ตารางที่ 1) ผลการนาตัวอย่างมอดแป้งที่ เก็ บ รวบรวมได้จ ากโรงสี ข้าวในจัง หวัดสุรินทร์ จานวน 10 ตัวอย่าง (กาหนดเป็นลาดับที่ 1 - 10) จากโรงปรับปรุงคุณภาพข้าวในจังหวัดชลบุรี จานวน 10 ตัวอย่าง (กาหนดเป็น ลาดับที่ 11 - 20) ตัวอย่างมอดฟันเลื่อยที่เก็บรวบรวมได้จากโรงสีข้าวในจังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 1 ตัวอย่าง (ก าหนดเป็นล าดับ ที่ 21) ตัวอย่างด้วงงวงข้าวโพด และด้วงถั่วเขียวที่ เก็บ รวบรวมได้ ณ ด่านตรวจท่ าเรือ กรุง เทพ จ านวนชนิ ดละ 1 ตั วอย่ าง (ก าหนดเป็น ล าดับ ที่ 21 และ 22 ตามล าดับ ) รวมถึง ตัว อย่ างของ แมลงศัตรูโรงเก็บไม่ทราบชนิดที่ไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ที่เก็บรวบรวมได้จากโรงสีข้าวในจังหวัดสุรินทร์ จานวน 1 ตัวอย่าง (กาหนดเป็นลาดับที่ 24) รวมทั้งหมด 24 ตัวอย่าง มาสกัดดีเอ็นเอด้วยชุดสกัดดีเอ็นสาเร็จรูปของ 466
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
QIAamp DNA Mini Kit (GIAGEN, Germany) ตามวิธีการที่บริษัทผู้ผลิตกาหนด จากนั้น ตรวจสอบคุณภาพ ของ genomic DNA ของตั วอ ย่ า งแ มล งศั ต รู โ รงเก็ บ ทั้ ง 24 ตั วอ ย่ า ง ด้ ว ยวิ ธี 1.5% agarose gel electrophoresis และตรวจภายใต้เครื่องวิเคราะห์ gel พบว่า genomic DNA ทั้งหมดมีความเข้มข้น เพียงพอ สาหรับการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิค PCR เมื่อนา genomic DNA ของตัวอย่าง จานวน 24 ตัวอย่าง มาเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมาย คือ ยีน COI ด้วยเทคนิค PCR โดยใช้ universal primers คือ LCO – 1490 และ HCO – 2198 จากนั้น ตรวจสอบ คุณ ภาพของ PCR products ของตัวอย่างทั้ ง หมด ด้วยวิธี 1.5% agarose gel electrophoresis แล้วตรวจ ภายใต้เครื่องวิเคราะห์ gel พบว่า PCR products มี คุณ ภาพดี สามารถส่งไปตรวจหาล าดับนิวคลีโอไทด์ได้ (ภาพที่ 1)
ภาพที่ 1 ผลการตรวจสอบคุณภาพของ PCR products ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ จานวน 24 ตัวอย่าง M: Marker; 1 – 20: ตัวอย่างมอดแป้ง 21: ตัวอย่างมอดฟันเลือ่ ย 22: ตัวอย่างด้วงงวงข้าวโพด 23: ตัวอย่างด้วงถั่วเขียว 24: ตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่ไม่ทราบชนิด
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
467
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
ตารางที่ 1 แสดงสถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ
ลาดับ
สถานที่เก็บรวบรวมตัวอย่าง
จานวนที่เก็บ ชนิดของแมลงศัตรูโรง ได้/ เก็บ ที่นามา ทดลอง (ตัว) มอดแป้ง (T. 20/10 castaneum) ไม่ทราบชนิด* 3/1
1
โรงสีข้าวในพื้นที่ ต.เฉนียง อ.เมือง จ.สุรินทร์
2
โรงสีข้าวในพื้นที่ ต.กระจัน อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี
มอดฟันเลื่อย (O. surinamensis)
20/1
3
ด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพ ด้วงงวงข้าวโพด** สานักควบคุมพืชและวัสดุ (S. zeamais) การเกษตร กรมวิชาการ เกษตร เขตคลองเตย กรุงเทพฯ ด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพฯ ด้วงถั่วเขียว*** (C. maculatus)
30/1
โรงปรับปรุงคุณภาพข้าว ในพื้นที่ ต.หนองเสือช้าง อ.หนองใหญ่ จ.ชลบุรี
15/10
4
5
มอดแป้ง
15/1
ชื่อพืช อาศัย
วันที่เก็บ ตัวอย่าง/ผู้ เก็บตัวอย่าง
ข้าว
18 ส.ค. 2559/ ข้าว นพรัตน์ บัวหอม ข้าว 7 ธ.ค. 2559/ นพรัตน์ บัวหอม ข้าวสาลี 30 ก.ย. 2559/มนตรี ธนรส
ถั่วเขียว 19 ม.ค. 2560/มนตรี ธนรส ข้าว 24 พ.ย. 2560/ นพรัตน์ บัวหอม
*ตัวอย่างอยู่ในระยะตัวเต็มวัย แต่สภาพไม่สมบูรณ์ จึงไม่สามารถจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาได้ **พบด้วงงวงข้าวโพดที่ไม่มีชีวิตในตัวอย่างของเมล็ดข้าวสาลี (Australian Hard Wheat) นาเข้าจากเครือรัฐออสเตรเลีย เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2559 ***พบด้วงถั่วเขียวที่ไม่มีชีวิตในตัวอย่างของเมล็ดถั่วเขียว นาเข้าจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2560
468
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
จากนั้น นา PCR products ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บข้างต้น จานวน 24 ตัวอย่าง มาตรวจหา ลาดับนิวคลีโอไทด์ด้วยเครื่องอ่านลาดับ ดีเอ็นเออัตโนมัติ (Automated DNA sequence) และใช้โปรแกรม DNAMAN v.7.0 ในการเตรียมลาดับนิวคลีโอไทด์เส้นเดียวที่มีความยาว 658 bp ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรง เก็ บ แต่ล ะตัวอย่าง แล้วนามาเปรียบเทียบกั บล าดั บ นิวคลีโอไทด์มาตรฐานในฐานข้อมู ล GenBank โดยใช้ โปรแกรม Blast เพื่อตรวจค่า sequences similarity (%) พบว่า ผลการจาแนกชนิดของตัวอย่างแมลงศัตรู โรงเก็บ จานวน 23 ตัวอย่างด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด ให้ผลตรงกันกับผลการจาแนกชนิดด้วยลักษณะทาง สัณฐานวิทยา ส่วนผลการจาแนกชนิดของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่ไม่สามารถระบุชนิดได้ เนื่องจากไม่อยู่ใน สภาพสมบูรณ์ จานวน 1 ตัวอย่าง พบว่าเป็นมอดแป้ง ชนิด T. castaneum โดยค่า sequences similarity ระหว่างล าดับ นิ วคลีโอไทด์ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็ บ กั บ ล าดับ นิวคลีโอไทด์ม าตรฐานในฐานข้อมู ล GenBank อยู่ในระดับ 98.94% ขึ้นไป โดยเฉพาะตัวอย่างที่ 24 ซึ่งไม่สามารถระบุชนิดได้ เนื่องจากไม่อยู่ใน สภาพสมบูรณ์มีค่า sequences similarity กับลาดับนิวคลีโอไทด์มาตรฐานของมอดแป้งถึง 99.85% ผลการศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ จานวน 24 ตัวอย่าง โดยวิธี Maximum Likelyhood (ML) พบว่า ML tree สามารถแบ่งออกเป็น 4 clade โดยมอดแป้ง มอดฟันเลื่อย ด้วงงวงข้าวโพด และด้วงถั่วเขียวอยู่ต่าง clade กั นอย่างชัดเจน มอดแป้ง สกุ ล Tribolium ทั้ งหมดอยู่ใน clade ใหญ่เดียวกัน โดยลาดับนิวคลีโอไทด์ของมอดแป้งชนิด T. castaneum จานวน 21 ลาดับที่ได้จากการ ทดลอง อยู่ใน clade เดียวกั นกับ ล าดับ นิวคลีโอไทด์มาตรฐานของมอดแป้ง ชนิด T. castaneum จ านวน 2 ล าดับ ที่ได้จากฐานข้อมูล GenBank และอยู่ต่าง clade ย่อยกับ มอดแป้งสกุล Tribolium ชนิดอื่น ได้แก่ T. confusum, T. destructor, T. madens, T. freemani และ T. brevicornis อย่างเห็ นได้ ชัด โดย ML tree แสดงให้ เห็ นว่ามอดแป้ งชนิ ด T. castaneum และ T. freeman มี ความสั ม พั นธ์ท างพั นธุก รรมใกล้ ชิดกั น สอดคล้องกับการรายงานของ Mestrovic และคณะ (2006) ส่วนลาดับนิวคลีโอไทด์ของมอดฟันเลื่อย ด้วงงวง ข้าวโพด และด้วงถั่วเขียวที่ได้จากการทดลองต่างก็อยู่ใน clade เดียวกันกับลาดับนิวคลีโอไทด์มาตรฐานที่ได้ จากฐานข้อมูล GenBank ตามแต่ละชนิดเช่นกัน ดังนั้น การทดลองนี้จึงยืนยันได้ว่าการจาแนกชนิดของแมลง ศัตรูโรงเก็บ โดยเฉพาะมอดแป้งสกุล Tribolium ด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดที่ใช้ยีน mtDNA COI เป็นดีเอ็นเอ เป้าหมาย ให้ผลตรงกันกับการจาแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยา และยังสามารถใช้ในการจาแนกชนิด ของแมลงศัตรูโรงเก็บ ที่ไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ได้อย่างแม่นยา สอดคล้องกับการรายงานของ Ming และคณะ (2015) (ภาพที่ 2)
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
469
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
ภาพที่ 2 แผนภูมิความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการที่สร้างโดยโปรแกรม MEGA V. 5.0 ด้วยวิธี Maximum Likelihood (ML tree) จากการนาลาดับนิวคลีโอไทด์ของตัวอย่างมอดแป้ง หมายเลข 1 – 5, 7 และ 13 จานวน 7 ลาดับ และลาดับนิวคลีโอไทด์ของตัวอย่างมอดฟันเลื่อยด้วงงวงข้ าวโพด และด้วงถั่วเขียว จานวนชนิดละ 1 ลาดับ รวมทั้ ง หมด 10 ล าดั บ ซึ่ ง เป็ น ตั วแทนของตั วอย่ า งทั้ ง หมด ป้ อ นเข้า สู่ ฐ านข้ อ มู ล GenBank โดยได้ รั บ Accession No. MK649848 – MK649857
470
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
สรุปผลการทดลอง การทดลองนี้ได้ประยุกต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการจาแนกชนิดของมอดแป้ง สกุล Tribolium ที่เป็นศัตรูพืชกักกันอย่างรวดเร็ว โดยการเก็บรวมรวมตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บทั้งที่มี ชีวิต และไม่มีชีวิตใน ระยะตัวเต็มวัย ทั้งที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ และไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์จากโรงสีข้าวและโรงปรับปรุงคุณภาพข้าว จานวน 3 แห่ง ในจัง หวัดสุรินทร์ จัง หวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดชลบุรี ระหว่างการตรวจประเมิ น (pre audit) เพื่อขึ้นทะเบียนผู้ผลิตและแปรรูปข้าวส่งออกไปสาธารณรัฐประชาชนจีน จานวน 58 ตัวอย่าง และเก็บ รวบรวมตัวอย่างแมลงศัตรู โรงเก็บระยะตัวเต็มวัยที่ไม่มีชีวิตจากสินค้าธัญ พืช คือ เมล็ดข้าวสาลีนาเข้าจาก เครือรัฐออสเตรเลีย และเมล็ดถั่วเขียวนาเข้าจากสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ โดยเจ้าหน้าที่ด่านตรวจพืช ท่าเรือกรุงเทพ ระหว่าง ปี 2559 -2560 จานวน 45 ตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 103 ตัวอย่าง นาตัวอย่างมาจาแนก ชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาแล้ว พบว่าเป็นตัวอย่างของแมลงศัตรูโรงเก็บ จานวน 4 ชนิด คือ มอดแป้ง จานวน 45 ตัว มอดฟันเลื่อย จานวน 20 ตัว ด้วงงวงข้าวโพด จานวน 30 ตัว ด้วงถั่วเขียว จานวน 15 ตัว และไม่ส ามารถระบุชนิดได้เนื่อ งจากไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ จานวน 3 ตัว จากนั้น นาตัวอย่างของมอดแป้ง จานวน 20 ตัว ตัวอย่างของมอดฟันเลื่อย ด้วงงวงข้าวโพด ด้วงถั่วเขียว และตัวอย่างที่ไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ อย่างละ 1 ตัว รวมทั้งสิ้น 24 ตัว มาสกัดดีเอ็นเอ และเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมาย คือ ยีน COI ด้วยวิธี PCR โด ย ใช้ universal primers (LCO – 1490 แ ล ะ HCO - 2198) ภ าย ใต้ PCR volume แ ล ะ thermal condition ที่ ก าหนด ท าให้ ได้ PCR products ที่ มี คุ ณ ภาพของตั วอย่ างแมลงศั ต รูโรงเก็ บ ส าหรับ น าไป ตรวจหาลาดับนิวคลีโอไทด์ (nucleotide sequencing) และทาลาดับนิวคลีโอไทด์ของแต่ละตัวอย่างให้เป็น เส้นเดียวกัน ความยาว 658 bp แล้วนาไปวิเคราะห์โดยการเปรียบเทียบกับลาดั บ นิวคลีโอไทด์มาตรฐานใน ฐานข้อมูล GenBank พบว่าค่า sequences similarity ที่ได้มีค่าสูงถึง 98.94% ขึ้นไป และให้ผลการจาแนก ชนิดตรงกับ ผลการจาแนกด้วยลักษณะทางสัณฐานวิท ยา ส่วนตัวอย่างที่ ไม่ สามารถระบุชนิดได้ พบว่าเป็น ตัวอย่างของมอดแป้งชนิด T. castaneum โดยมีค่า sequences similarity สูงถึง 99.85% เมื่อนาลาดับนิวคลีโอไทด์มาตรฐานจากฐานข้อมูล GenBank ของมอดแป้งชนิด T. castaneum, T. confusum, T. destructor, T. madens, T. freemany และ T. brevicornis มอดฟั น เลื่ อ ย ด้ ว งงวง ข้าวโพด ด้วงถั่วเขียว และตั๊กแตนไผ่ (outgroup) รวม 12 ลาดับ มาวิเคราะห์ ความสัม พันธ์เชิงวิวัฒนาการ (Phylogenetic tree) โด ย วิ ธี Maximum Likelihood (ML tree) ด้ ว ย แ บ บ จ า ล อ ง Kimura – 2 – Parameter (K2P) ร่วมกันกับลาดับนิวคลีโอไทด์ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บ จานวน 24 ลาดับ พบว่าแมลง ศัตรูโรงเก็บทั้ง 4 ชนิดมีระยะห่างทางพันธุกรรม (genetic distance) ระหว่างกันอย่างชัดเจน มอดแป้งสกุล Tribolium ทั้งหมดอยู่ใน clade เดียวกัน โดยลาดับนิวคลีโอไทด์ของมอดแป้งชนิด T. castaneum จานวน 21 ล าดับ ที่ ได้จ ากการทดลอง อยู่ ใน clade เดียวกั นกั บ ล าดับ นิวคลีโ อไทด์ ม าตรฐานของมอดแป้ ง ชนิ ด T. castaneum จ านวน 2 ล าดับ ที่ ได้จ ากฐานข้อมู ล GenBank และอยู่ต่าง clade ย่อยกั บ มอดแป้ งสกุ ล Tribolium ชนิดอื่นอย่างเห็นได้ชัด ส่วนลาดับนิวคลีโอไทด์ของมอดฟันเลื่อย ด้วงงวงข้าวโพด และด้วงถั่วเขียว ที่ได้จากการทดลองต่างก็อยู่ใน clade เดียวกันกับลาดับนิวคลีโอไทด์มาตรฐานที่ได้จากฐานข้อมูล GenBank 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
471
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
ตามแต่ ล ะชนิ ด เช่น กั น จึ ง ยื น ยั น ได้ ว่า การจ าแนกชนิ ด ของแมลงศั ต รูโ รงเก็ บ โดยเฉพาะมอดแป้ ง สกุ ล Tribolium ด้วยเทคนิ คดีเอ็ น เอบาร์โค้ ด ให้ ผ ลตรงกั นกั บ การจ าแนกชนิดด้ วยลั ก ษณะทางสัณ ฐานวิท ยา นอกจากนี้ เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดยังสามารถใช้ในการจ าแนกชนิดของแมลงศัตรูโรงเก็ บที่ ไม่อยู่ในสภาพ สมบูรณ์ได้อย่างแม่นยา ผลการนาลาดับนิวคลีโอไทด์ของตัวอย่างมอดแป้ง จานวน 7 ลาดับ และลาดับนิวคลีโอไทด์ของ ตัวอย่างมอดฟันเลื่อยด้วงงวงข้าวโพด และด้วงถั่วเขียว จานวนชนิดละ 1 ลาดับ รวมทั้งหมด 10 ลาดับ ซึ่งเป็น ตั ว แทนของตั ว อย่ า งทั้ ง หมดที่ ได้ จ ากการทดลอง ป้ อ นเข้ า สู่ ฐ านข้ อ มู ล GenBank ท าให้ ได้ GenBank GenBank Accession Number คื อ MK649848 – MK649857 ซึ่ ง สามารถน ามาใช้ ในการวิ จั ย ด้ านพั น ธุ ศาสตร์ป ระชากร (Population Genetics) และการจ าแนกชนิดของแมลงศัตรูโรงเก็บ ด้วยเทคนิคดีเอ็นเอ บาร์โค้ดในอนาคต นอกจากนี้ การทดลองนี้ได้พิสูจน์ยืนยันแล้วว่ายีน COI สามารถใช้เป็นดีเอ็นเอเป้าหมายใน การจาแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ การรายงานของ Ming และคณะ (2015) ข้อเสนอแนะ การจาแนกชนิดด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด เป็นเครื่องมือสาคัญที่ช่วยในการจาแนกชนิดของสัตว์ และพืช ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว แต่การใช้เทคนิคนี้ในพืชยังมีข้อจากัดเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้จาแนก ชนิดของสัตว์ โดยเทคนิคนี้สามารถใช้จาแนกชนิดได้ ไม่ว่าตัวอย่างสัตว์จะอยู่ในสภาพสมบูรณ์หรือไม่สมบูรณ์ และอยู่ในระยะเติบโตใด (วุฒิพงศ์, 2554) ซึ่งดีเอ็นเอมาตรฐานที่นิยมนามาใช้ในการเปรียบเทียบในปัจจุบัน คือ ยีน COI ซึ่งเป็นยีนที่อยู่ภายในไมโทคอนเดรีย (mitochondria) มีการแปรผันของลาดับนิวคลีโอไทด์ ใน ระดับภายในชนิดต่า หรือแทบไม่มีก ารแปรผัน และมีการแปรผันของลาดับ นิวคลีโอไทด์ ระหว่างชนิดเพียง พอที่จะใช้ในการจาแนก สามารถเพิ่มปริมาณด้วยเทคนิค PCR ได้ง่าย และส่วนของยีนที่นามาวิเคราะห์มีความ ยาวไม่ มากนัก เพียง 658 bp มี universal primers ที่มีความเฉพาะเจาะจงสูง อย่างไรก็ตาม มีรายงานว่า mtDNA COI ยีนเองก็มีข้อจากัด ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่ อการจาแนกชนิดที่เป็น complex (Jiang และคณะ, 2014) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis complex ดังนั้น เพื่อให้การจาแนกชนิด ของแมลงศัตรูโรงเก็บมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อาจจาเป็นต้องมีการใช้ยีนตัวอื่นเพิ่มเติม เช่น 16s rDNA, ND6 และ ITS เป็นต้น ในอนาคต คาขอบคุณ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณผู้บริหารกรมวิชาการเกษตร สานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช (สอพ.) และ สานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร (สคว.) ที่ได้ให้การสนับสนุนการดาเนินการการทดลองนี้ ขอขอบคุณคุณ พรพิมล อธิปัญญาคม ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคพืช ดร. ณัฏฐิมา โฆษิตเจริญ กุล คุณทิ พวรรณ กัณหาญาติ และ เจ้าหน้าที่ของกลุ่มวิจยั โรคพืช ดร. ยุวรินทร์ บุญทบ กลุ่มงานอนุกรมวิธาน กลุ่มกีฏและสัตววิทยา ที่ได้ให้ความ อนุเคราะห์ด้านสถานที่ในการดาเนินการทดลอง และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่กลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร 472
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
กลุ่มบริหารโครงการวิจัย และฝ่ายบริหารทั่วไป สคว. ที่ได้ให้การสนับสนุนการทดลองนี้ในด้านต่างๆ ทาให้การ ดาเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ เอกสารอ้างอิง ณัฏฐพร อุทัยมงคล, วาสนา ฤทธิ์ไธสง, ชลิดา อุณหวุฒิ. 2553. การศึกษาวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ศัตรูพืชสาหรับการนาเข้าเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดจากสหรัฐอเมริกา.คลังผลงานวิจัยกรมวิชาการเกษตร: ผลงานวิจัและพัฒนาปี 2553. หน้า 1147 – 1174. พรทิพย์ วิสารทานนท์, กุสุมา นวลวัฒน์, บุษรา จันทร์แก้วมณี, และคณะ. 2548. แมลงที่พบในผลิตผลเกษตร และการป้องกันกาจัด. กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร, กรม วิชาการเกษตร, จตุจักร, กรุงเทพ,158 หน้า. วุฒิพงศ์ มหาคา. 2554. ดีเอ็นเอบาร์โค้ดของพืช: หลักการพื้นฐาน การประยุกต์ใช้ และข้อจากัด. วารสาร พฤกษศาสตร์ไทย, 3(1): 1 – 30. อุรุญากร จันทร์แสง, มาลี บรรจบ, นิภา เบญจพงศ์ และคณะ. 2540. การศึกษาชนิดของแมลงที่เข้าทาลายพืช สมุนไพรในโรงเก็บ. วารสารองค์การเภสัชกรรม, 23(1): 1 – 9. Angelini D.R., Jockusch E.L. 2008. Relationship among pest flour beetles of the genus Tribolium (Tenebrionidae) inferred from multiple molecular markers. Molecular Phylogenetics and Evolution, 46(1): 127 – 141. Crop Protection Compendium. 2019. CABI International, Wallingford, UK. Available at URL https://www.cabi.org/cpc/ Accessed on 04/02/2019. FAO. 2006. ISPM No.27: diagnosis protocols for regulated pests. International Standards for Phytosanitary Measures 1 to 29 (2007 edition), Secretariat of the International Plant Protection Convention, Rome, pp. 341 – 352. Folmer O., Black M., Venhoek R. 1994. DNA permiers for amplification of mitoehondrial cytochrome C oxidase subunit I from diverse metazoan invertebrate. Molecular Marine Biology and Biotechnology, 3: 294 – 299. Hebert P.D.N., Cywinska A., Ball S.L., et al.. 2003. Biological identifications through DNA barcodes. Proceeding of the Royal Society B: Biological Science, 270(1512): 313 – 321. Jiang F., Jin Q., Liang L., et al. 2014. Existence of species complex largely reduced barcoding success for invasive species of Tephritidae: a case study in Bactrocera spp.. Molecular Ecology Resources, 14: 1114 – 1128. Li C.J., Wang Y.Q., Liu X., et al.. 2011. Progress on study of functional genome of Tribolium castaneum. Chinese Journal of Applied Entomology, 48(6): 1544 – 1552.
12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
473
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-05
Liu L.J., Liu J.Q., Wang Q.L., et al.. 2011. Identifiction of Bactrocera invadens (Diptera: Tephritidae) from Burendi, based on morphological characteristics and DNA barcode. African Journal of Biotechnology, 10(62): 13623 – 13630. Ming Q.L., Shen J.F., Cheng C., et al.. 2015. Genetic Relationship between Tribolium castanium and T. confusum based on mitochondrial DNA sequences. Pakistan Journal of Zoology, 47(5): 1405 – 1412. General Administration of Customs of the P.R. China. 2017. List of Import Plant Quarantine Pest of the P.R. China. Available at URL http://www.aqsiq.gov.cn/xxgk_13386/zvfg/gfxwj/dzwjy/201706/t20170614 _490858.htm. Accessed on 30/07/2017. Mestrovic N., Mravinac B., Plohl M., et al.. 2006. Preliminary phylogeny of Tribolium beetles (Coloeptera: Tenebrionidae) resolved by combined analysis of mitochondrial genes. European Journal of Entomology, 103: 709 – 715. Nei M., Kumar S.. 2000. Molecular evolution and phylogenetics. Oxford University Press. Nowaczyk K., Obrepalska-Steplowska A., Gawlak M., et al.. 2009. Molecular techniques for detection of Tribolium confusum infestations in stroed products. Journal of Economic Entomology, 102(4): 1691 -1695. Rees David. 2004. Insects of Stored Products. Csiro Publishing. Collingwood. Auatralia. 181 p. Wang Y.J.. 2015. Molecular Techniques for identification of Stored Tribolium. China Agricultural University. Zhang C.W., Xu L.P., Lu M., et al.. 2013. Rapid Molecular Identification of Tribolium destructor. Journal of Anhui Agricultural Sciences. 41(24): 9924 – 9926.
474
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-06
ชีววิทยาและผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ Chartocerus hyalipennis และ Prochiloneurus insolitus ต่อแตนเบียน Anagyrus lopezi Biology and Effect of Hyperparasitoids, Chartocerus hyalipennis and Prochiloneurus insolitus on Parasitoid, Anagyrus lopezi เสาวลักษณ์ แก้วเทวี เบญจคุณ แสงทองพราว และ อัญชนา ท่านเจริญ Saowaluck Kaewtawee Banjakhun Sangtongpraow and Anchana Thancharoen ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900
บทคัดย่อ เพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพูเป็นแมลงศัตรูที่สาคัญของมันสาปะหลังและทาให้มันสาปะหลังแสดงอาการ ผิดปกติและผลผลิตลดลง แตนเบียนที่ใช้ในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพูคือ Anagyrus lopezi (Santis) แต่ในธรรมชาติพบว่ามีแตนเบียนไฮเปอร์ซึ่งเบียนแตนเบียน A. lopezi อีกทอดหนึ่ง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงประชากรของแตนเบียนไฮเปอร์ C. hyalipennis และ P. insolitus ในแปลงปลูกมันสาปะหลัง ต.ห้วยบง อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา จานวน 9 แปลง ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2561 ถึงกุ มภาพันธ์ 2562 และ ศึกษาชีววิทยาและผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ทั้ง 2 ชนิดต่อแตนเบียน A. lopezi ในห้องปฏิบัติการภาควิชา กีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า เพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพูและแตนเบียน ไฮเปอร์ C. hyalipennis และ P. insolitus มีจานวนมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน ส่วนแตนเบียน A. lopezi พบมาก ที่สุดในเดือนกันยายน เปอร์เซ็นต์การเบียนในสภาพแปลงของ P. insolitus มากกว่า C. hyalipennis ในทุกเดือน วงจรชีวิตของ C. hyalipennis และ P. insolitus ตั้งแต่ไข่จนถึงตัวเต็มวัยเท่ากับ 11.10±0.26 และ 11.45±0.15 วัน ตามลาดับ อายุขัยของ C. hyalipennis และ P. insolitus เพศเมียเมื่อเลีย้ งด้วยสารละลายน้าผึง้ เท่ากับ 20.8±3.72 และ 13±1.53 วัน ตามลาดับ ส่วนเพศผู้ของ C. hyalipennis เท่ากับ 21±2.79 วัน เปอร์เซ็นต์การเบียนของ C. hyalipennis และ P. insolitus ในห้องปฏิบัติการเท่ากับ 60.41±4.77 และ 37.50±2.23 ตามลาดับ เมื่อปล่อยทั้ง 2 ชนิดพร้อมกันทาให้เปอร์เซ็นต์การเบียนลดลงเหลือ 39.63±1.66 และ 28.08±1.40 ตามลาดับ สรุปได้ว่า แตน เบียนไฮเปอร์ C. hyalipennis และ P. insolitus มีผลทางลบต่อแตนเบียน A. lopezi คาสาคัญ : มันสาปะหลัง เพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพู ตาบลห้วยบง จังหวัดนครราชสีมา เปอร์เซ็นต์การเบียน ABSTRACT The pink cassava mealybug is an important insect pest of cassava that caused abnormal growth and yields decreasing. The parasitoid used for controlling of pink cassava mealybug is A. lopezi. In the field, it was found that hyperparasitoids parasitized A. lopezi. The aims of this study 478
12–14 พฤศจิกายน2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยา ก้าวนาเกษตรไทย ”
PEB-06
were to determine the population dynamic of C. hyalipennis and P. insolitus in 9 cassava plantations at Huai Bong sub-district, Dankhunthot district, Nakhon Ratchasima Province during July 2018-February 2019 and to study the biology and effect of two hyperparasitoids on A. lopezi in laboratory of Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University. The results shown that the highest number of pink cassava mealy bug, C. hyalipennis and P. insolitus were found on November while A. lopezi was found on September. The parasitism percentage in fields of P. insolitus was more than C. hyalipennis in all months. The life cycle of C. hyalipennis and P. insolitus from egg to adult stage were 11.10±0.26 and 11.45±0.15 days, respectively. The longevity of female C. hyalipennis and P. insolitus when fed with honey solution were 20.8±3.72 and 13±1.53 days, respectively and 21±2.79 days in male of C. hyalipennis. The parasitism rate of C. hyalipennis and P. insolitus in laboratory were 60.41±4.77 and 37.50±2.23, respectively. The parasitism rate was decreased when released two hyperparasitoids together, 39.63±1.66 in C. hyalipennis and 28.08±1.40 in P. insolitus. The conclusion, C. hyalipennis and P. insolitus had negative effect on A. lopezi Keywords: Cassava, Pink cassava mealybug, Huai Bong sub-district, Nakhon Ratchasima, Parasitism rate บทนา แมลงศัตรูมันสาปะหลังที่พบว่ามีการระบาดก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตมันสาปะหลังทั้งในแง่ ของปริมาณและคุณภาพ คือเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพู Phenacoccus manihoti (Matile – Ferrero) ซึ่งจัดอยู่ในวงศ์ Pseudococcidae อันดับ Hemiptera เพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพูมีถิ่นกาเนิดในอเมริกาใต้ และมีการระบาดรุนแรงในแปลงปลูกมันสาปะหลังในแอฟริกาตะวันออก (อัมพร และคณะ, 2553) สาหรับ ประเทศไทยเมื่อ ปลายปี พ.ศ. 2550 มีร ายงานพบการระบาดของเพลี้ยแป้งมั นส าปะหลังสีชมพูในจัง หวัด ระยอง กาแพงเพชร และนครราชสีม า และต่อมาในระหว่างปลายปี พ.ศ. 2551 เดือนมกราคม พ.ศ. 2552 เกิ ดการระบาดของเพลี้ยแป้ง มั นสาปะหลังสีชมพู อ ย่างรุนแรงในพื้นที่ จังหวัดก าแพงเพชร ระยอง ชลบุ รี สระแก้ ว บุ รีรัม ย์ ชัยภูมิ และนครราชสีม า ก่ อให้เกิ ดความเสียหายขั้นวิก ฤตต่อผลผลิต ส่ง ผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ใช้มันส าปะหลังเป็นวั ตถุดิบ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงเร่งดาเนิน การหาวิธีการ จัดการเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพู เพื่อควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพูไม่ให้เกิดความ เสียหายกับผลผลิตและท่อนพันธุ์มันสาปะหลัง และป้องกันการแพร่กระจายของเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพู ไปยังแหล่งปลูกมันสาปะหลังอื่น (บัญญติ และคณะ, 2555) การใช้แตนเบียนในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพูนั้น เป็นอีกวิธีหนึ่งที่กรมวิชาการเกษตร โดยสานักวิจัยพัฒนาอารักขาพืช ได้ทาการศึกษาแมลงศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพู หนึ่งใน 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี
479