บทคัดย่อ การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 14

Page 1

บทนํา การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2536 โดยสมาคมทางวิชาการเกษตร ซึ่งประกอบด้วย สมาคมอารักขาพืชไทย สมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย สมาคมวิทยาการวัชพืช แห่งประเทศไทย สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย สมาคมคนไทยธุรกิจเกษตร และสมาคมวิศวกรรมเกษตร แห่งประเทศไทย ร่วมกันเป็นเจ้าภาพ และจากการประชุมในครั้งนั้นได้มีข้อตกลงกันว่า จะมีการจัดการ ประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ทุก 2 ปี โดยให้แต่ละสมาคมผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเป็นผู้ดําเนินการ จัดการประชุม การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ในปี 2562 เป็นการประชุมครั้งที่ 14 โดยมีสมาคม อารักขาพืชไทย เป็นผู้ดําเนินการจัดการประชุมภายใต้หัว ข้อ เรื่อ ง “เกษตรแม่น ยํา ก้า วนํา เกษตรไทย : Precision Agriculture Approaches to Thai Farming” โดยพิจารณาเห็นว่า ศัตรูพืชยังคงเป็น ปัญหาสําคัญของการทําการเกษตร การกําจัดศัตรูพืช ทั้ง แมลง โรคพืช วัชพืช และศัตรูพืชอื่นๆ เกษตรกร ต้องเสียค่าใช้จ่าย เวลา และใช้วิทยาการหลายๆ ด้านเพื่อรักษาผลผลิตให้พ้นจากการทําลายของศัตรูพืช เหล่านั้น ปัจจุบันการทําการเกษตรในรูปแบบ “เกษตรแม่นยํา” หรือ “Precision Agriculture” โดยนํา เทคโนโลยีและการจัดการข้อมูลมาใช้ภายในฟาร์ม เพื่อบริหารจัดการฟาร์มให้มีความเหมาะสมและแม่นยําขึ้น เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถจัดการศัตรูพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพนําไปสู่การลดต้นทุนการผลิต เพิ่มปริมาณ และคุ ณ ภาพของผลผลิ ต ให้ ไ ด้ ม าตรฐานสากล ปลอดภั ย ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภคและสิ่ ง แวดล้ อ มเป็น ประโยชน์ต ่อ การเกษตรของประเทศไทยอย่างครบวงจร และยั่งยืน ในการจัดประชุมครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือและประสานงานจากหน่วยงานทั้งองค์กรภาครัฐเอกชน สถานการศึกษาต่างๆ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการอารักขาพืช โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม และนําเสนอผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการอารักพืชไทยและการเกษตรไทย รวมทั้งสิ้น 86 เรื่อง แบ่งเป็น ภาคบรรยาย 35 เรื่อง และภาคแผ่นภาพ 51 เรื่อง นอกจากนี้ยังมีผู้สนใจนําเสนอภาพถ่ายที่เกี่ยวข้องกับการ อารักขาพืชด้วย ในการนี้คณะอนุกรรมการฝ่ายเอกสารและวิชาการได้จัดพิมพ์เอกสารบทคัดย่อ/ABSTRACTS พร้อมทั้งจัดทําผลงานวิจัยเรื่องเต็มในรูปแบบอีเล็คโทรนิคเพื่อเผยแพร่ผลงานของนักวิชาการด้านอารักขาพืชสู่ สาธารณะ ในนามของคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 14 ขอขอบคุณ ผู้เข้าร่วม ประชุมและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านมา ณ โอกาสนี้

(นางสาวเสาวลักษณ์ พรกุลวัฒน์) นายกสมาคมอารักขาพืชไทย ประธานคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14


การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ”

สารบัญ CONTENTS

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ”

ภาคบรรยาย ORAL PRESENTATION ลําดับ

เรื่อง

OEB-01

ความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสื้อหนอนกระทู้ สกุล Spodoptera Guenée, 1852 2 (Lepidoptera: Noctuidae) ชนิดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทย อาทิตย์ รักกสิกร และคณะ การจําแนกชนิดแมลงวันผลไม้ศัตรูพืชในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex 4 (Diptera: Tephritidae) ในประเทศไทยด้วยลักษณะทางพันธุกรรม ยุวรินทร์ บุญทบ และคณะ การศึกษาความเป็นพืชอาศัย: การเข้าทําลายของแมลงวันทองในแก้วมังกรเนื้อแดง 6 ปวีณา บูชาเทียน และคณะ ศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าตัวห้ําสตีธอรัส Stethorus pauperculus 8 (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae) อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล และคณะ ชีววิทยาและศักยภาพของไรตัวห้ํา Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) ในการกําจัดเพลี้ยไฟใน 10 ห้องปฏิบัติการและโรงเรือน อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และคณะ อนุกรมวิธานและเขตการแพร่กระจายแมงมุมแม่ม่ายในประเทศไทย 12 วิมลวรรณ โชติวงศ์ และคณะ ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ต่าง ๆ ในการป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟเมล่อน 14 (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย ศรีจํานรรจ์ ศรีจนั ทรา และคณะ รูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์เพื่อป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟเมล่อน 16 (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย ศรีจํานรรจ์ ศรีจนั ทรา และคณะ การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi 18 Karny) ที่ทําลายกล้วยไม้ในห้องปฏิบัติการ สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และคณะ ความเป็นพิษของอีโคฟูมที่มีต่อด้วงถั่วเขียว Callosobruchus maculatus F. และด้วงถั่วเหลือง 20 Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera) สิรีธร โพธิกัน และคณะ การศึกษาศักยภาพการก่อโรคในหนูศัตรูพืชและการเพิ่มปริมาณของค็อคซิเดียโปรโตซัวในลําไส้ 22 (Apicomplexa: Eimeriidae) จากหนูศัตรูพืชสกุล Rattus และ Mus ที่พบในประเทศไทย วิชาญ วรรธนะไกวัล และคณะ การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก 24 สําหรับการป้องกันกําจัดแมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก กรกต ดํารักษ์ และคณะ ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงวันผลไม้ 26 ปิยธิดา สนิท และคณะ ผลของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงต่ออัตราการตาย และการแพร่กระจายตัวในประชากรแมลงวันผลไม้ 28 กมลรัตน์ สุวรรณไชศรี และคณะ

OEB-02 OEB-03 OEB-04 OEB-05 OEB-06 OEB-07 OEB-08 OEB-09 OEB-10 OEB-11 OEA-01 OEA-02 OEA-03

หน้า

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

OEA-04 OEA-05 OEA-06 OEA-07 OEA-08 OPB-01 OPB-02 OPB-03 OPB-04 OPB-05 OPB-06 OPA-01 OPA-02 OPA-03 OWB-01 OWB-02 OWA-01

การเปลี่ยนแปลงการระบาดของแมลงดําหนามมะพร้าวในเกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี วลัยพร ศะศิประภา และคณะ การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นเพื่อป้องกันกําจัด หนอนหัวดําในมะพร้าวน้ําหอม และมะพร้าวน้ําตาล พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ และคณะ ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ทําลายมะม่วงในแหล่งปลูกสําคัญ สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และคณะ การพ่นสารโดยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) ในการป้องกันกําจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) พิเชฐ เชาวน์วัฒนาวงศ์ และคณะ ออกแบบและพัฒนาคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย (air-assisted boom sprayer) ในการป้องกัน กําจัดเพลี้ยไฟข้าว; Stenchaetothrips biformis ในนาข้าว ยุทธนา เครือหาญชาญพงค์ และคณะ บทบาทของโมเลกุลในการยับยั้งระบบ type III secretion ของแบคทีเรียสาเหตุโรคใบจุดนูน ถั่วเหลือง เอกชัย ขวัญบัว และคณะ การศึกษาโปรติโอมิคส์ของมันสําปะหลังพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่างมันสําปะหลัง สุกัญญา ฤกษ์วรรณ และคณะ การศึกษาจีโนมเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่พบในประเทศไทย ธิติมา จินตกานนท์ และคณะ เชื้อ Phytophthora palmivora จากแหล่งปลูกทุเรียนที่สําคัญในประเทศไทยมีความต้านทานต่อ สารกําจัดเชื้อราในอัตราสูง อุมาพร ศิริวัฒนกุล และคณะ ประสิทธิภาพของน้ําหมักเปลือกมังคุดต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุ โรคใบติดในทุเรียน สุกัญญา บุญยงค์ และ มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม ฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียของ Zinc Oxide Nanoparticles ในการยับยั้ง Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองของคะน้า ศุภิสรา ศรีโพธิ์งาม และคณะ ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมโรคสําคัญของคะน้า พินิจ รื่นชาญ และคณะ การจําแนกโรคขอบใบแห้งและใบไหม้ของข้าวโดยใช้การวิเคราะห์ภาพถ่าย เตชินท์ วรสิทธิ์ และคณะ การควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการในพื้นที่ปลูกอ้อย บริษัท น้ําตาลมิตรลาว จํากัด (สปป.ลาว) พีรญา กลมสอาด และคณะ ชีววิทยาของ Asystasia gangetica (L.) T. Anderson วัชพืชที่สําคัญของประเทศไทย จรัญญา ปิ่นสุภา ผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอนต่อข้าวโพดลูกผสมก่อนการค้าและสายพันธุ์แท้ สดใส ช่างสลัก และคณะ การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานในไร่อ้อย ปรัชญา เอกฐิน และคณะ

30 32 34 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54 56 58 60 62

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี


การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ” ภาคแผ่นภาพ POSTER PRESENTATION

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ” OWA-02 การเปรียบเทียบผลกระทบของสารป้องกันกําจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีต่อการเจริญเติบโตและความ เสียหายของข้าวโพดหวาน ไพรวรรณ กิตติสุขประเสริฐ และคณะ OWA-03 ประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารกําจัดวัชพืชประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอกเพื่อกําจัด วัชพืชในสวนมะม่วง ภัทร์พิชชา รุจิระพงศ์ชัย และ คมสัน นครศรี OWA-04 ผลของการใช้สารกําจัดวัชพืชผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟในข้าวนาหว่านน้ําตม ที่มีผลต่อหญ้าข้าวนก ยุรวรรณ อนันตนมณี และคณะ OWA-05 เครื่องกําจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสําหรับมันสําปะหลัง วุฒิพล จันทร์สระคู และคณะ

ลําดับ

เรื่อง

หน้า

64

PEB-01

72

66

PEB-02

การศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (Diptera: Tephritidae) ร่วมกับการใช้ เทคนิค Morphometrics ในตัวเต็มวัย ยุวรินทร์ บุญทบ และคณะ อนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง (Hemiptera: Cicadellidae) ในประเทศไทย เกศสุดา สนศิริ และคณะ ความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่ําปลีระหว่างการใช้การ จัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานและการใช้สารเคมีกําจัดแมลง วรนาฏ โคกเย็น และคณะ ความหลากชนิดของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวีฟรุตในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ สรายุทธ ปิตตาระเต และคณะ การประยุกต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการจําแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium spp. ที่เป็น ศัตรูพืชกักกันแบบรวดเร็ว นายนพรัตน์ บัวหอม และคณะ ชีววิทยาและผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ Chartocerus hyalipennis และ Prochiloneurus insolitus ต่อแตนเบียน Anagyrus lopezi เสาวลักษณ์ แก้วเทวี และคณะ การตรวจสอบเอกลักษณ์ของกลุ่มสารที่มีฤทธิ์ในการควบคุมแมลงในสารสกัดบัวตองด้วยเทคนิค ทีแอลซีสมรรถนะสูง พจนีย์ หน่อฝั้น และคณะ การประเมินความหลากหลายของสัตว์ขาข้อที่ลงใช้พืช 4 ชนิดในสกุล Passiflora ชิษณุพงศ์ พานเทียน และ ชัชวาล ใจซื่อกุล ฤทธิ์สัมผัสตายของสารสกัดยาสูบ (Nicotiana tabacum Linnaeus) ต่อไรแมงมุมสองจุด (Tetranychus urticae Koch) วสันต์ ตฤณธวัช และ วนิดา อ่วมเจริญ ประสิทธิภาพของ Steinernema carpocapsae (Weiser) ที่มีต่อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) ลัทธพล เหมือนตา และคณะ ประสิทธิภาพของสารรมอีโคฟูม (ECO2FUME) ในการป้องกันกําจัดเพลี้ยแป้งมังคุด (Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae)) ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ และคณะ การติดตามการระบาดของแมลงดําหนาม และแนวโน้มการทําความเสียหายต่อ ผลผลิตข้าวจังหวัดสุพรรณบุรี จินตนา ไชยวงค์ และคณะ นกศัตรูข้าวและการประเมินความเสียหายในนาข้าว จังหวัดเชียงราย ทัสดาว เกตุเนตร และคณะ อิทธิพลของทิศทางลมต่อการแพร่ระบาดของโรคใบด่างมันสําปะหลังโดยแมลงหวี่ขาว กิ่งกาญจน์ เสาร์คํา และคณะ แนวโน้มและความสัมพันธ์ของศัตรูข้าวและผลผลิตของแปลงนาข้าวพันธุ์ กข61 ฤดูนาปีและนาปรัง ภายใต้สภาพนาชลประทาน ศุภลักษณา หล่าจันทึก และคณะ

68 70

PEB-03 PEB-04 OPB-05 PEB-06 PEB-07 PEB-08 PEB-09 PEB-10 PEB-11 PEB-12 PEB-13 PEA-01 PEA-02

74 76 78 80 82 84 86 88 90 92 94 96 98 100

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี


การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ” PEA-03 PEA-04 PEA-05 PEA-06 PEA-07 PEA-08 PPB-01 PPB-02 PPB-03 PPB-04 PPB-05 PPB-06 PPB-07

PPB-08 PPB-09 PPB-10 PPB-11

ศึกษาชนิดและปริมาณของหนูในพื้นที่นาข้าวที่มีการล้อมรั้วร่วมกับการใช้ลอบดักหนูในจังหวัด สุพรรณบุรี ทัสดาว เกตุเนตร และคณะ เซนทารี / ฟลอร์แบค และ ไดเพล / แบคโทสปิน สารชีวภัณท์กําจัดแมลง: ศัตรูธรรมชาติของหนอน กระทู้ข้าวโพดลายจุด Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) เดเนียล ซอมมิค และคณะ ประสิทธิภาพเชื้อแบคทีเรียและสารฆ่าแมลงในการป้องกันกําจัดหนอนกระทู้ผักในพริก สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น และคณะ การพัฒนาสารชีวภัณฑ์กําจัดแมลงศัตรูผักสายพันธุ์ไทยสําหรับการผลิตพืชผักปลอดสารเคมีอย่างยั่งยืน พัชรินทร์ ครุฑเมือง และคณะ การควบคุมหอยและทากศัตรูพืชในสวนลองกองเพื่อการส่งออก ปราสาททอง พรหมเกิด และคณะ การใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการศึกษาความหนาแน่นและช่วงการระบาดของแมลงวันผลไม้ในพี้ช เผ่าไท ถายะพิงค์ และคณะ การตอบสนองกระบวนการป้องกันตัวเองของพืชใน Arabidopsis thaliana โดยสารระเหยจากเชื้อ รา Trichoderma sp. PSU-P1 ปริศนา วงค์ล้อม และคณะ การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ Pichia sp. ในปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อ การส่งเสริมการเจริญและการยับยั้งโรคผักกวางตุ้ง สิรีธร แสงเพ็ง และคณะ ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่แยกได้จากบริเวณรอบรากต้นกะเพรา (Ocimum sanctum Linn.) ในการยับยั้งเชื้อราและแบคทีเรียก่อโรคพืช วราภรณ์ สุทธิสา และคณะ การจําแนกชนิดแบคทีเรียสาเหตุโรคใบแห้งของหอม ทิพวรรณ กันหาญาติ และคณะ การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกําจัดโรคราน้ําค้างในชาโยเต้ ทิวา บุบผาประเสริฐ และคณะ ประสิทธิภาพของสารไบโอแอคทีฟอิลิซิเตอร์ต่อการแสดงออกของยีนที่สามารถกระตุ้นความต้านทาน โรคในถั่วเหลือง ศุภลักษ์ สัตยสมิทสถิต และคณะ ผลของสารไดเมโทมอร์ฟ 50% W/V SC และเมทาแลกซิล 25% WP ในการควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนหมอนทองในห้องปฏิบัติการและ เรือนทดลอง เรวัฒ เพียซ้าย และคณะ การแสดงออกของโปรตีนอ้อยที่ต้านทานต่อโรคใบขาว ลาวัลย์ กลัดสุวรรณ และคณะ การประเมินความต้านทานของพันธุ์อ้อยต่อโรคแส้ดําในการปรับปรุงพันธุ์ กนกวรรณ สว่าง และคณะ การกระจายตัวของ pathotype ของเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่พบระบาดใน จังหวัดสุพรรณบุรีปี พ.ศ. 2561 จารุวี อันเซตา และคณะ ไพรเมอร์ที่จําเพาะเจาะจงในการตรวจสอบเชื้อ Xanthomonas perforans ชัญญานุช กอรักงาม และคณะ

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ” 102

PPB-12

104

PPB-13

106 108 110 112 114 116 118 120 122

PPB-14 PPB-15 PPB-16 PPB-17 PPA-01 PPA-02 PPA-03 PPA-04

124

PPA-05

126

PPA-06 PPA-07

128 130 132 134

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

PPA-08 PPA-09

การสํารวจโรคและการศึกษาการกระจายตัวของสายพันธุ์เชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ในจังหวัดเชียงรายในปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2561 ไพเราะ ขวัญงาม และคณะ การจัดจําแนกเชื้อ Xanthomonas spp. สาเหตุโรคใบจุดในมะเขือเทศและพริก จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์ และคณะ ประสิทธิภาพของสารกําจัดเชื้อราในการควบคุมเชื้อ Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุ โรคแอนแทรคโนสของมะม่วง อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช และคณะ การคัดเลือกเชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ในการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum capsici สาเหตุโรคแอนแทรกโนสพริก ยุวดี ชูประภาวรรณ และคณะ ประสิทธิภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีสต่อเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริก ปิลันธนา ฐาปนพงษ์วรกุล และคณะ การศึกษาผลของสารป้องกันกําจัดเชื้อราบางชนิดต่อการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดของพริกไทย ทิวา บุบผาประเสริฐ และคณะ ประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดเชื้อราในการควบคุมโรคราสนิมสาเหตุจากเชื้อ Puccinia allii Rud. ในกุยช่าย นพพล สัทยาสัย และคณะ ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคพืชบางชนิดต่อการแพร่ระบาดของ โรคราสนิมขาวในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน พจนา ตระกูลสุขรัตน์ และคณะ ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคราสนิมของถั่วเหลืองสาเหตุจากเชื้อรา Phakopsora pachyrhizi ชนินทร ดวงสะอาด และคณะ ผลการใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงของเชื้อรา Trichoderma virens และ T. harzianum ในการป้องกัน กําจัดโรคกาบใบแห้งและการให้ผลผลิตข้าว จินันทนา จอมดวง และคณะ การแสดงอาการของโรคใบด่างมันสําปะหลังในมันสําปะหลังพันธุ์ต้านทานและพันธุ์การค้าด้วยวิธี เสียบยอด นวลนภา เหมเนียม และคณะ ประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคแอนแทรคโนสของมันสําปะหลัง อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว และคณะ ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคพืชบางชนิดในการป้องกันกําจัดโรคสแคปขององุ่นที่มี สาเหตุจากเชื้อรา Sphaceloma ampelinum ในสภาพแปลงทดลอง พจนา ตระกูลสุขรัตน์ และคณะ การควบคุมเชื้อรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุโรคใบไหม้ของสตรอเบอรีที่ต้านทานต่อสารป้องกัน กําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมโดยใช้เชื้อปฏิปักษ์แอกติโนไมซีส วรุตม์ ใจปิน และคณะ ประสิทธิภาพของสารชีวภัณฑ์กําจัดศัตรูพืชในการควบคุมโรคเหี่ยวของมะเขือเทศจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum นันทิชา มารักษา และ อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช

136 138 140 142 144 146 148 150 152 154 156 158 160 162 164

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี


การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยํา ก้าวนําเกษตรกรไทย ” PPA-10

ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคใบจุดตาเสือของเผือกสาเหตุจากเชื้อรา Phytophthora colocasiae Rac. ชนินทร ดวงสอาด และคณะ PWA-01 ผลของสาร paraquat ต่อการเจริญเติบโต และการรอดชีวิต ในคะน้าและผักบุ้งจีน ธนากร โสโท และคณะ PWA-02 การประเมินความทนทานของสารกําจัดวัชพืชประเภทหลังงอกและการฟื้นตัวของอ้อยพันธุ์ต่างๆ นิดานุช ปรปักพ่าย และ สันติไมตรี ก้อนคําดี PWA-03 ผลของการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานต่อประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชในการผลิตพริก สิริชัย สาธุวิจารณ์ และคณะ

166

168

การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “ เกษตรแม่นยำ� ก้าวนำ�เกษตรกรไทย ”

170 172

บทคัดย่อ


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 01 OEB-01

ความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสื้อหนอนกระทู้ สกุล Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae) ชนิดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทย อาทิตย์ รักกสิกร1 สุนัดดา เชาวลิต1 ดนัย ชัยเรือนแก้ว1 อนุสรณ์ พงษ์ม1ี กัลยา บุญสง่า2 และ จินตนา ไชยวงค์2 1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 2 กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ ผีเสื้อหนอนกระทู้สกุล Spodoptera (Lepidoptera: Noctuidae) นั้นมีหลายชนิดที่จัดเป็น ศัตรูพืชสําคัญต่อพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว และพืชผักต่าง ๆ เป็นต้น ตัวเต็มวัยและหนอนของผีเสื้อสกุลนี้มีความคล้ายคลึงกันมาก ทําให้การจําแนกชนิดทําได้ ค่อนข้างยาก จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาความแตกต่างทางสัณฐานวิทยาของผีเสื้อหนอน กระทู้ระยะต่าง ๆ ที่มีความสําคัญต่อพืชเศรษฐกิจของไทย ในครั้งนี้ดําเนินการสํารวจและเก็บตัวอย่าง หนอนกระทู้และตัวเต็มวัยจากแหล่งปลูกพืชทั่วทุกภาคของไทย ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 ถึงเดือน มิถุนายน 2562 ทําการจําแนกชนิดโดยใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได้แก่ ลวดลายบนปีกและอวัยวะ สืบพันธุ์ของตัวผีเสื้อ โครงสร้างส่วน cremaster ในระยะดักแด้ และตําแหน่งของจุดและลวดลายของ ตัวหนอน รวมทั้งเปรียบเทียบกับตัวอย่างผีเสื้อที่เก็บรักษาไว้ในพิพิธภัณฑ์แมลง กรมวิชาการเกษตร พบหนอนกระทู้ชนิดที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจในประเทศไทย จํานวน 4 ชนิด ได้แก่ ผีเสื้อหนอน กระทู้หอม Spodoptera exigua (Hübner, 1808) ผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797) ผีเสื้อหนอนกระทู้ผัก Spodoptera litura (Fabricius, 1775) และ ผีเสื้อหนอนกระทู้กล้า Spodoptera mauritia (Boisduval, 1833) ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ทําให้ ทราบชนิดของผีเสื้อสกุลนี้อย่างถูกต้องมีความเป็นสากล เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานซึ่งจะก่อให้เกิด ประโยชน์ในการป้องกันกําจัด และควบคุมการระบาดต่อไปในอนาคต คําสําคัญ : ผีเสื้อหนอนกระทู้ Spodoptera สัณฐานวิทยา การจําแนกชนิด หนอนศัตรูพืชที่สําคัญ

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 01 OEB-01

The Morphological Differences Between Economically Important Species of Armyworm Moths, Genus Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae), in Thailand Artit Rukkasikorn1 Sunadda Chaovalit1 Danai Chaireunkaew1 Anusorn Pongmee1 Kunlayaa Boonsanga2 and Jintana Chaiwong2 1

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900

ABSTRACT Larvae of several species of armyworm moths, genus Spodoptera (Lepidoptera: Noctuidae), have been reported as key pests of many economic plants, such as rice, maize, legumes and various vegetables. Adults and larvae of these species look similar which causes difficulty in correct species identification. Study of the basic biology and morphological differences between all stages of economically important species of armyworm moths in Thailand should be indispensable. Specimens were collected from plantation areas in all parts of Thailand from December 2018 to June 2019. Morphological characters which can be used to identify these economically important armyworms to species are the ornate wing patterns and genitalia of the adult stage, structure of pupal cremaster, and position of spots and lines in larvae. After comparison with specimens in the Insect Museum, Department of Agriculture, the economically important species of armyworm moths in Thailand were found to be composed of 4 species: the beet armyworm, Spodoptera exigua (Hübner, 1808); the fall armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797); the common cutworm, Spodoptera litura (Fabricius, 1775); and the lawn armyworm, Spodoptera mauritia (Boisduval, 1833). The results of this study will provide correct species identification which is important for use in integrated pest management and future control of epidemics. Keywords: armyworm moths, Spodoptera, morphology, identification, key pest larvae

2

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 1

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

3

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 2


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 02 OEB-02

การจําแนกชนิดแมลงวันผลไม้ศัตรูพืชในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) ด้วยลักษณะทางพันธุกรรมในประเทศไทย ยุวรินทร์ บุญทบ ณัฏฐิมา โฆษิตเจริญกุล ชมัยพร บัวมาศ และ จารุวัตถ์ แต้กุล สํานักวิจัยพัฒนาการอารักพืช กรมวิชาการเกษตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้กลุ่ม Bactrocera dorsalis complex เป็นศัตรูพืชที่ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อ ผลผลิตทางการเกษตรอย่างสูง โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งในงานด้านกั กกั นพืชนั้น มี รูปร่างลัก ษณะ ภายนอกใกล้เคียงกันมาก ก่อให้เกิดปัญหาในการวินิจฉัยชนิดส่งผลต่อการค้าระหว่างประเทศ รวมทั้ง ยากต่อการตัดสินใจในการหาแนวทางในการป้องกันกําจัด ซึ่งปัจจุบันมีการนําเทคนิคชีวโมเลกุลมาใช้ ในการวินิจฉัยชนิดของแมลงศั ตรู พืช ทําให้ได้ผลการตรวจสอบที่ ถูกต้องแม่นยํา รวดเร็วมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้จึงใช้ดีเอ็นเอบาร์โค้ดจากยีนตําแหน่ง cox1 และความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการมา จําแนกชนิดแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex ในประเทศไทยให้ถกู ต้องและทันสมัย เทียบเท่าสากล ผลการศึกษาด้านสัณฐานวิทยาพบแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex 3 ชนิด ได้แก่ B. caramboale, B. dorsalis และ B. papayae แต่เมื่อนํามาศึกษาดีเอ็นเอบาร์โค้ดพบว่า B. dorsalis นั้นมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับ B. papayae และทั้งสองชนิดมีความแตกต่าง อย่างเห็นได้ชัดจาก B. carambolae และจากการศึกษาความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการของแมลงวัน ผลไม้จํานวน 70 ตัวอย่าง (B. dorsalis complex 61 ตัวอย่าง และแมลงวันผลไม้ในวงศ์ Tephritidae 9 ตัวอย่าง) วิเคราะห์ด้วย Maximum Likelihood และ Bayesian analysis พบว่าทั้ง สองวิธีการให้ผลสอดคล้องกัน โดยแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex เป็น sister group และมีลักษณะทางพันธุกรรมแตกต่างจากแมลงวันผลไม้ชนิดอื่น ๆ ในวงศ์ Tephritidae อย่างเห็นได้ ชัด และความสัมพันธ์ภายในกลุ่มทั้ง B. dorsalis แล B. carambolae นั้นมีลักษณะเป็น polyphyletic ผลจากการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลสนับสนุนการยืนยันชนิดของแมลงวันผลไม้กลุ่ม B. dorsalis complex ในประเทศไทยให้ทันสมัยเทียบเท่าสากล และควรมีการศึกษาต่อไป โดยเพิ่ม ข้อมูลของยีนตําแหน่งอื่นมาร่วมวิเคราะห์ด้วย คําสําคัญ : แมลงวันผลไม้ ดีเอ็นเอบาร์โค้ด พันธุกรรม

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 02 OEB-02

Molecular Identification of Pest Species in Oriental Fruit Fly, Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) Species Complex in Thailand Yuvarin Boontop Nutthima Kositcharoenkul Chamaiporn Buamas and Charuwat Taekul Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Chatuchak, Bangkok, 1900, Thailand.

ABSTRACT One of most serious groups of horticultural pests, the Bactrocera dorsalis complex, is of particular biosecurityquarantine concern. Species of this complex are notoriously difficult to identify using morphology, which, in view of the economic importance of these taxa and the international trade consequences, has caused in ongoing difficulties for plant protection. Nowadays, molecular diagnostic tools provide valuable support for rapid and accurate identification. DNA barcoding of the mitochondrial Cytochrome Oxidase I (cox1) gene and phylogenetic could be employed to increase the accuracy of B. dorsalis complex identication in Thailand as international standard. Three species of the B. dorsalis complex (B. carambolae, B. dorsalis and B. papayae) were identified using morphological characteristics. By using cox1 (DNA barcode), the results showed that B. carambolae could be clearly separated from B. dorsalis and B. papaya. However, B. dorsalis remained indistinguishable from B. papayae. Moreover, phylogenetic analyses were used to investigate patterns of clustering of the 70 dorsalis complex samples (61 samples) with other pest species of fruit flies (9 samples). Maximum Likelihood and Bayesian analyses of the sequences gave consistent results. Based on phylogenetic analyses of cox1, it proved effective in resolving B. dorsalis and B. carambolae from other fruit fly species. Phylogenetic analyses found that B. dorsalis formed a reciprocally monophyletic sister group to a large clade consisting of other fruit flies sampled. Although the phylogenetic study showed B. dorsalis and B. carambolae to be polyphyletic. The results of this study are promising and providing a basic understanding on the number of species of B. dorsalis complex present in Thailand. However, a further study is needed to understand more on the classification within the B. dorsalis complex group and to add additional genes for better classification. Keywords: fruit fly, DNA barcoding, genetics

4

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 3

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

5

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 4


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 03 OEB-03

การศึกษาความเป็นพืชอาศัย: ความสามารถในการเข้าทําลายของ แมลงวันทองในแก้วมังกรเนื้อแดง

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 03 OEB-03

Host Status: Infestability of Red Dragon Fruit by Oriental Fruit fly, Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) Paweena Buchatian1 Walaikorn Rattanadhachakul2 Ratchada Intarakumheng1 Siriporn Khongthawie1 Ananya Nuchkeaw1 and Saluckjit phankum1

ปวีณา บูชาเทียน1 วลัยกร รัตนเดชากุล2 รัชฎา อินทรกําแหง1 ศิริพร คงทวี1 อนัญญา นุชเขียว1 และ สลักจิต พานคํา1 1 1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

2

บทคัดย่อ แก้วมังกรเนื้อแดง (Hylocereus costaricensis) (Weber) Britton & Rose เป็นผลไม้ที่มี ศักยภาพเป็นพืชส่งออกได้ แต่ปัญหาแมลงวันทอง Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) ศัตรูพืชกักกันที่มีความสําคัญและเป็นอุปสรรคต่อผลไม้สดส่งออก ดังนั้นวัตถุประสงค์ ของการทดลองนี้คือ ศึกษาความเป็นพืชอาศัยของแมลงวันทองในผลแก้วมังกรเนื้อแดงก่อนการ ส่งออก หัวข้อศึกษามีดังนี้ 1) การศึกษาความเป็นพืชอาศัยของแมลงวันทอง B. dorsalis ในแก้ว มังกรเนื้อแดง (force infestation) ในสภาพห้องปฏิบัติการ โดยแบ่งเป็นแก้วมังกรเป็นสองกลุ่ม กลุ่ม แรกเจาะรู 10 รู กลุ่มสองไม่เจาะรู โดยเปรียบเทียบการเข้าทําลายของแมลงเมื่อวางผลไม้ภายในกรง เป็นเวลานาน 20 30 และ 40 นาที หลังจากนั้นนําผลไม้ไปเก็บที่ห้องควบคุมอุณหภูมิ 27 องศา เซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 60-70 เป็นเวลา 7 วัน ผลการศึกษา พบว่าหนอนแมลงวันทองใน ผลไม้ที่เจาะรูมีการรอดชีวิตร้อยละ 21.33, 15.93 และ 28.8 ตามลําดับ ซึ่งสูงกว่าผลแก้วมังกรไม่ เจาะรูพบร้อยละ 0.46, 1.2 และ 3.8 ตามลําดับ 2) การศึกษาระยะการเจริญเติบโตของแมลงวันทอง ในผลแก้วมังกรเปรียบเทียบกับการเลี้ยงด้วยอาหารเทียม พบว่าอัตราการเจริญเติบโตของหนอนวัย 2 ในผลแก้วมังกรเร็วกว่าเลี้ยงในอาหารเทียม 1 วัน ส่วนหนอนระยะอื่นๆไม่มีความแตกต่างกัน ผลการ ทดลองสรุปได้ว่าแก้วมังกรเป็นพืชอาศัยของ B. dorsalis และผลการศึกษาดังกล่าวทําให้ได้ข้อมูลเพื่อ นําไปใช้ศึกษาการกําจัดแมลงวันทองด้านกักกันพืชก่อนการส่งออกต่อไป คําสําคัญ : แก้วมังกร แมลงวันทอง (Bactrocera dorsalis) พืชอาศัย

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 Agricultural Regulatory Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT Red dragon fruit (Hylocereus costaricensis) (Weber) Britton & Rose is the potential fruit be able to export. However the Oriental fruit fly, Bactrocera dorsalis (Hendel) (Diptera: Tephritidae) is the important quarantine pests of fresh fruit for international trade. The objective of this study is to determine host status of red dragon fruit to the Oriental fruit fly. This studied was conducted as follows 1) we conducted laboratory force infestation in cage by divided fruits to two groups. First group were puncture 10 holes and second group were non-puncture. We compared number of larval survival in the fruits after infestation at different exposure time of 20, 30 and 40 minutes. After infestation, the fruit were keep in the room at 27 oC and humidity 60-70 % RH for 7 days. The result shown that percentage larva survival in 10 puncture holes dragon fruits were 21.33, 15.93 and 28.8, respectively higher than non-puncture fruit which found 0.46, 1.2 and 3.8, respectively. 2) The studied of development stage of B. dorsalis on dragon fruit compared with artificial diet shown that the 2nd instar larva perform development on fruits faster than artificial diet 1 day but other larval stages showed no difference. In conclusion, red dragon fruit was host of B. dorsalis. According to these data, we are further study for develop quarantine heat treatment to disinfest the Oriental fruit fly in red dragon fruit before export. Keyword: Dragon Fruit, Oriental Fruit fly (Bactrocera dorsalis), Host status

6

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 5

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

7

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 6


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 04 OEB-04

ศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าตัวห้ําสตีธอรัส Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae)

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 04 OEB-04

Study on suitable spider mites for mass rearing of acarophagous lady beetles, Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae)

อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล อิทธิพล บรรณาการ พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์

Atcharabhorn Prasoetphon Ittipon Bannakan Pichate chaowattanawong Ploychompoo Konvipasruang Athitiya Kaewpradit and Naphacharakorn Ta-Phaisach

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

ด้วงเต่าตัวห้ําสตีธอรัส Stethorus pauperculus เป็นศัตรูธรรมชาติที่สําคัญ มีศักยภาพใน การควบคุมไรศัตรูพืช แต่ยังไม่มีข้อมูลการเพาะเลี้ยงให้ได้ปริมาณมาก การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาชนิดไรแมงมุมที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่าสตีธอรัส 3 ชนิด ได้แก่ ไรแดงหม่อน (Tetranychus truncates) ไรแมงมุมคันซาวา (Tetranychus kanzawai) และไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus) ดําเนินการ ระหว่างเดือนตุลาคม 2560 ถึงเดือนกันยายน 2561 ณ สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร ในสภาพห้องปฏิบัติการ อุณหภูมิ 27.50 ± 1.05 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 45.30 ± 7.27 % พบว่า ระยะเวลาการเจริญเติบโตจากไข่เป็นตัว เต็มวัยของด้วงเต่าตัวห้ําสตีธอรัสเมื่อกินไรแดงหม่อน ไรแมงมุมคันซาวา และไรแดงแอฟริกันเฉลี่ย 14.54 16.00 และ 16.67 วัน เพศเมียมีอายุเฉลี่ย 65.69 42.13 และ 14.00 วัน ระยะวางไข่เฉลี่ย 60.23 37.00 และ 4.00 วัน วางไข่ได้ทั้งหมดเฉลี่ย 343.62 93.38 และ 7.67 ฟองต่อตัว เฉลี่ยวันละ 4.85 2.40 และ 0.61 ฟองต่อตัว อัตราการขยายพันธุ์สุทธิในชั่วอายุขัย (R0) มีค่า 178.68 37.35 และ 1.15 อัตราการเพิ่มประชากร (rc) มีค่า 0.10, 0.09 และ 0.01 ผลิตลูกได้สุทธิ (λ) 1.27 1.24 และ 1.01 ตัวต่อวัน ชั่วอายุขัยของกลุ่ม (Tc) 50.55 38.82 และ 26.39 วัน สัดส่วนของลูกที่ฟักเป็นเพศ เมียของรุ่นที่ 1 เท่ากับ 0.28 0.37 และ 0.14 ตามลําดับ จะเห็นได้ว่า ด้วงเต่าตัวห้ําสตีธอรัสสามารถ เพิ่มประชากรได้ดีเมื่อกินไรแดงหม่อน จึงเหมาะสมที่จะใช้ไรชนิดนี้เป็นอาหารในการเพาะเลี้ยงด้วง เต่าให้ได้ปริมาณมาก เพื่อนํามาใช้ประโยชน์ในการป้องกันกําจัดไรศัตรูพืชต่อไป คําสําคัญ : ด้วงเต่าตัวห้ําสตีธอรัส ไรแดงหม่อน ไรแมงมุมคันซาวา ไรแดงแอฟริกัน ตัวห้ํา

The acarophagous lady beetle, Stethorus pauperculus, has been one of the most effective predators using as biological control of spider mites. Despite its importance, there is no information about mass rearing technique. The objective of this research is to study the suitability of 3 spider mites: mulberry red mite (Tetranychus truncatus), kanzawa spider mite (Tetranychus kanzawai) and african red mite (Eutetranychus africanus) as prey for mass rearing S. pauperculus. This study was carried out from October 2017 – September 2018 at the Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture. Under laboratory conditions at 27.50 ± 1.05 ํC and 45.30 ± 7.27 %RH, the results revealed that when S. pauperculus fed on T. truncatus, T. kanzawai and E. africanus the development times from eggs to adult stages of the were 14.54, 16.00 and 16.67 days,. The female longevities were 65.69, 42.13 and 14.00 days. The oviposition periods were 60.23, 37.00 and 4.00 days. The totals of eggs per female were 343.62, 93.38 and 7.67 eggs; the number of eggs per day were 4.85, 2.40 and 0.61 eggs. The net reproductive rate (R0) were 178.68, 37.35 and 1.15. The intrinsic rate of increase (rc) were 0.10, 0.09 and 0.01 day-1. The finite rates of increase were 1.27, 1.24 and 1.01 day-1. The generation time (Tc) were 50.55, 38.82 and 26.39 days. The proportion of female of F1 were 0.28, 0.37 and 0.14, respectively. The results indicated that the population of S. pauperculus could rapidly increase when feeding on T. truncatus, thereby proving as suitable prey for mass rearing S. pauperculus to control spider mites in the future. Keywords: Stethorus pauperculus, Tetranychus truncatus, Tetranychus kanzawai, Eutetranychus africanus, acarophagous lady beetle, Predator

8

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 7

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

9

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 8


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 05 OEB-05

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 05 OEB-05

ชีววิทยาและศักยภาพของไรตัวห้ํา Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) ในการกําจัดเพลี้ยไฟในห้องปฏิบัติการและโรงเรือน

Biological and Potential as a Bio-agent of Amblyseius swirskii (AthiasHenriot) for Controlling Thrips spp. in Laboratory and Greenhouse

อทิติยา แก้วประดิษฐ์ พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล ณพชรกร ธไภษัชย์ และ วิมลวรรณ โชติวงศ์

Athitiya Kaewpradit Pichate Choawattanawong Ploychompoo Kornvipartreang, Atcharabhorn Prasoetphon Naphacharakorn Ta-Phaisach and Wimolwan Chotwong

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ ในเดือนพฤษภาคม ปีพ.ศ. 2559 ได้นําเข้าไรตัวห้ํา Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) (Acari: Phytoseiidae) เข้าในประเทศไทยเพื่อทําการทดลอง โดยทําการศึกษาวงจรชีวิต คุณลักษณะ ทางชีววิทยา และประสิทธิภาพการกินเพลี้ยไฟ การศึกษาลักษณะชีววิทยาของไรตัวห้ําที่เลี้ยงด้วย เพลี้ยไฟพริก Scirtothrips dorsalis พบว่าระยะไข่, ตัวอ่อน, protonymph และ deutonymph มี ค่าเฉลี่ย 1.50 ± 0.28, 0.67 ± 0.04, 0.88 ± 0.72 และ 1.00 ± 0.13 ตามลําดับและ ระยะตัวเต็มวัย มีค่าเฉลี่ย 4.05 ± 1.17 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่ 3.63 ± 0.65 ฟองต่อวัน ตลอดชีวิตวางไข่ได้ 52.25 ± 5.25 ฟอง มีการวางไข่ 18.19 ± 3.34 วัน จากการศึกษาอาหารที่เหมาะสมโดยใช้ตัวอ่อน เพลี้ยไฟพริก S. dorsalis ไข่ผีเสื้อข้าวสาร Corcyra cephalonica และเกสรต้นธูปฤาษี Typha angustifolia เป็นอาหาร พบว่า มีอัตราการเจริญขยายพันธุ์สุทธิ(Ro) เท่ากับ 12.54, 20.02 และ 4.53 เท่า ชั่วอายุไขของกลุ่ม (Tc) เท่ากับ 14.83, 14.99 และ 14.22 วันความสามารถในการ ขยายพันธุ์ทางกรรมพันธุ์ (rc) เท่ากับ 0.17, 0.19 และ 0.10 เท่าและมีอัตราการเพิ่มแท้จริง (λ) เท่ากับ 1.18, 1.22 และ 1.11 ตามลําดับ การศึกษาประสิทธิภาพการกินเพลี้ยไฟระยะตัวอ่อนจํานวน 3 ชนิด ได้แก่ เพลี้ยไฟพริก S. dorsalis เพลี้ยไฟถั่ว Caliothrips phaseoli และ เพลี้ยไฟฝ้าย T. palmi พบว่าตลอดชีวิตไรตัวห้ํากินเพลี้ยไฟฝ้ายได้มากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 66.50 ± 5.54 ตัว แตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P <0.05 ) กับเพลี้ยอีกสองชนิด การทดสอบในโรงเรือน พบว่า การปล่อยไรตัวห้ํา 4 ตัว สามารถกินเพลี้ยไฟฝ้าย 20 ตัว บนต้นมะเขือเปราะได้หมดใน 5 วัน คําสําคัญ : ไรตัวห้ํา Amblyseius swirskii (Athias-Henriot) ชีววิทยา อาหาร ตารางชีวิต ประสิทธิภาพการกินเพลี้ยไฟ Thrips spp.

Plant Protection Research and Development office, Department of Agriculture Chatuchak, Bangkok

ABSTRACT Predaceous mite, Amblyseius swirskii was introduced to Thailand in May 2016. Laboratory studies were conducted on its life cycle using the chili thrips, Scirtothrips dorsalis, as food; its potential in terms of biological attributes obtained from the life table analysis using S. dorsalis larvae, eggs of Corcyra cephalonica, and pollens of Typha angustifolia, as food. The thrips consumption efficiency was determined using larvae of S. dorsalis, Caliothrips phaseoli, and Thrips palmi, as prey. The life cycle study revealed the durations of 1.50 ± 0.28, 0.67 ± 0.04, 0.88 ± 0.72, 1.00 ± 0.13 days for the egg, larval, protonymph and deutonymph stages, respectively, and 4.05 ± 1.17 days from egg to adult. Females laid 3.63 ± 0.65 eggs per day, totaling 52.25 ± 5.25 eggs during the oviposition period of 18.19 ± 3.34 days. Study on its potential using S. dorsalis larvae, eggs of C. cephalonica, and pollens of T. angustifolia in terms of its biological attributes obtained from the life table analysis yielded the parameters consisting of the net reproductive rate of increase (Ro) of 12.54, 20.02 and 4.53 times, the cohort generation time (Tc) of 14.83, 14.99 and 14.22 days, the capacity for increase (rc) of 0.17, 0.19 and 0.10 times, and the finite rate of increase (λ) of 1.18, 1.22 and 1.11 per day, respectively. Study on the thrips consumption efficiency using S. dorsalis, C. phaseoli and T. palmi larvae as prey showed that during its life span the highest consumption obtained were 66.50 ± 5.54 larvae of T. palmi per day which is statistically different (P<0.05) from 60.80 ± 4.16 and 58.40 ± 4.81 larvae of S. dorsalis and C. phaseoli per day, respectively. In greenhouse, it was found that releasing of 4 predatory mites can completely control 20 T. palmi on eggplant in 5 days. Keywords: predaceous mite, Amblyseius swirskii (Athias-Henriot), biology, food sources, biological attributes, thrips consumption efficiency

10

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 9

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

11

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 10


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 06 OEB-06

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 06 OEB-06

อนุกรมวิธานและเขตการแพร่กระจายแมงมุมแม่ม่ายในประเทศไทย

Taxonomic and Distribution of Spider Genus Latrodectus in Thailand

วิมลวรรณ โชติวงศ์ พลอยชมพู กรวิภาสเรือง อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล อทิติยา แก้วประดิษฐ์ และ ณพชรกร ธไภษัชย์

Wimolwan Chotwong Ploychompoo Konvipasruang Atcharabhorn Prasoetphon Athitiya Kaewpradit and Naphacharakorn Taphaisach

กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

Mite and Spider Research Group, Entomology and Zoology Division, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture

บทคัดย่อ แมงมุมแม่ม่าย (widow spiders) เป็นแมงมุมที่มีรายงานความสําคัญทางการแพทย์ พิษของแมง มุมในกลุ่มนี้มีผลต่อระบบประสาทของมนุษย์ จากการสํารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่างแมงมุมแม่ม่ายสกุล Latrodectus ในประเทศไทยตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2559 ถึงเดือน กันยายน 2562 ในพื้นที่ 18 จังหวัด เพื่อ นํามาศึกษาลักษณะอนุกรมวิธานและจําแนกชนิดในห้องปฏิบัติการ โดยการใช้ลักษณะที่สําคัญในการจําแนก ชนิด เช่น ลักษณะการจัดเรียงของตา ความยาวของขา ขนแข็งที่มีลักษณะโค้งงอเป็นฟันเลื่อยเรียงต่อกัน คล้ายซี่หวีที่บริเวณขาปล้องสุดท้าย (tarsus) ของขาคู่ที่ 4 ลักษณะรูปร่างและลวดลายบนส่วนหลัง แถบสีส้ม หรือสีแดงรูปร่างคล้ายนาฬิกาทรายบริเวณด้านล่างของส่วนท้อง ลักษณะของอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ ลักษณะ ของอวั ย วะสื บ พั น ธุ์ เ พศเมี ย ฯลฯ ผลการศึ ก ษาพบแมงมุ ม ในสกุ ล Latrodectus 2 ชนิ ด ได้ แ ก่ Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841 และ Latrodectus elegan Thorell, 1898 การ แพร่กระจายพบ L. geometricus ในพื้นที่ 18 จังหวัด และ L. elegan ในพื้นที่ 7 จังหวัด

คําสําคัญ : แมงมุมแม่ม่าย Latrodectus ลักษณะทางอนุกรมวิธาน เขตการแพร่กระจาย

ABSTRACT Medically, the widow spider is the most important group of spiders. The venom of this spider affected major neurotransmitters throughout the nervous system (neurotoxin) in human. This Survey and collecting of spider in Genus Latrodectus was conducted in 18 provinces of Thailand from October, 2016 to September, 2019. The samples were collected and identified in laboratory. The taxonomic characters such as eyes arrangement, legs length, comb-footed on tarsus VI, shape and pattern of marking on dorsal of abdomen, red ‘‘hour-glass’’ mark on abdominal ventral, the shape of palpus and epigyne were used for identification. The results revealed that there were 2 species of genus Latrodectus including Latrodectus geometricus C. L. Koch, 1841 and Latrodectus elegan Thorell, 1898. L. geometricus distributed in 18 provinces and L. elegan distributed in 7 provinces Keywords: widow spiders, Latrodectus, taxonomic character, distribution

12

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 11

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

13

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 12


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 07 OEB-07

ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ต่าง ๆ ในการป้องกันกําจัดเพลีย้ ไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย ศรีจํานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ เพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) เป็นศัตรูพืชสําคัญต่อกล้วยไม้สกุลหวาย แมลงชนิด นี้มีความต้านทานต่อสารฆ่าแมลงหลายชนิด การหาสารฆ่าแมลงที่ยังสามารถป้องกันกําจัดแมลงชนิด นี้ได้จึงมีความจําเป็นในการวางแผนการป้องกันกําจัดโดยวิธีผสมผสาน จึงทําการศึกษาประสิทธิภาพ ของสารฆ่าแมลงหลายกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์เพื่อใช้ในการป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟเมล่อนในกล้วยไม้ สกุ ล หวาย ดํ า เนิ น การที่ แ ปลงกล้ ว ยไม้ ใ นจั ง หวั ด นครปฐมและจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ระหว่ า งเดื อ น พฤศจิกายน – ธันวาคม 2560 วางแผนการทดลองแบบ RCB 3 ซ้ํา ประกอบด้วย กรรมวิธีพ่นสาร fipronil 5% SC (กลุ่ม2) imidacloprid 70% WG (กลุ่ม 4A) sulfoxaflor 24% SC (กลุ่ม 4C) spinetoram 12 % SC (กลุ่ม 5) abamectin 1.8% EC emamectin benzoate 1.92% EC (กลุ่ม 6) chlorfenapyr 10%SC (กลุ่ม 13) และ cyantraniliprole 10 %OD (กลุ่ม 28) เปรียบเทียบกับวิธีไม่พ่นสารฆ่าแมลง พบว่าสารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพดีในการป้องกันกําจัดเพลี้ย ไฟมี 4 กลุ่ม คือ spinetoram อัตรา 10 และ 15 มล./น้ํา 20 ลิตร สามารถป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟได้ 80-92% นาน 7-14 วัน chlorfenapyr อัตรา 30 มล./น้ํา 20 ลิตร สามารถป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟได้ 70-95% นาน 10-12 วัน cyantraniliprole อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร สามารถป้องกันกําจัดเพลี้ย ไฟได้ 70-80% นาน 7-10 วัน และ fipronil อัตรา 30 และ 50 มล./น้ํา 20 ลิตร สามารถป้องกัน กําจัดเพลี้ยไฟได้ 70-80% นาน 7-10 วัน ผลการทดลองนี้สามารถนําไปใช้ในการวางแผนการป้องกัน กําจัดโดยวิธีผสมผสาน และใช้ในคําแนะนําการพ่นสารแบบหมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทานต่อ สารฆ่าแมลงในเพลี้ยไฟเมล่อนในกล้วยไม้สกุลหวาย คําสําคัญ : สารป้องกันกําจัดศัตรูพืช การป้องกันกําจัดแบบผสมผสาน การผลิตกล้วยไม้ คําแนะนํา ความต้านทานต่อสารฆ่าแมลง

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 07 OEB-07

Efficacy of Various Insecticides from Different Mode of Action for Controlling Melon Thrips (Thrips palmi Karny) in Dendrobium Orchids Srijumnun Srijuntra Suprada Sukonthabhirom na Pattalung and Somsak Siriphontangmun Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT Melon thrips (Thrips palmi Karny) is important insect pest in dendrobium orchids. This pest showed resistance to many insecticides. Searching efficacious insecticides for controlling this pest is still necessary for planning integrated pest control. The efficacy of insecticides from different mode of action for controlling melon thrips in dendrobium orchid was evaluated. The experiments were conducted on orchid farms at Nakhon Pathom Province and Pathum Thani Province during November-December 2017. The experimental design was RCB with 12 treatments and 3 replications. The treatments were the applications of fipronil 5% SC (Group 2), imidacloprid 70% WG (Group 4A), sulfoxaflor 24% SC (Group 4C), spinetoram 12 % SC (Group 5), abamectin 1.8% EC (Group 6), emamectin benzoate 1.92% EC (Group 6), chlorfenapyr 10%SC (Group 13) and cyantraniliprole 10 %OD (Group 28) compared with untreated control. The results indicated that four groups of insecticide showed good efficacy for controlling melon thrips which were spinetoram at the rate of 10 and 15 ml/ 20 L of water can control thrips 80-92% in 7-14 days, chlorfenapyr at the rate of 30 ml/ 20 L of water can control thrips 70-95% in 10-12 days, cyantraniliprole at the rate of 40 ml/ 20 L of water can control thrips 70-80% in 7-10 days and fipronil at the rate of 30 and 50 ml/ 20 L of water can control thrips 70-80% in 7-10 days. The results obtained could be used in planning integrated pest control and used as recommendation for insecticide rotation to retard resistance problem in melon thrips in dendrobium orchids. Keywords: pesticide, integrated pest control, orchid production, recommendation, insecticide resistance

14

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 13

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

15

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 14


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 08 OEB-08

รูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ เพื่อป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Rotation Spraying Pattern for Insecticides with Different Mode of Action for Controlling Melon Thrips (Thrips palmi Karny) in Dendrobium

ศรีจํานรรจ์ ศรีจันทรา สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Srijumnun Srijuntra Suprada Sukonthabhirom na Pattalung and Somsak Siriphontangmun

บทคัดย่อ

Plant Protection Research Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

การผลิตกล้วยไม้สกุลหวายเพื่อการส่งออกมักประสบปัญหาการต้านทานต่อสารฆ่าแมลงใน เพลี้ยไฟเมล่อน การใช้สารฆ่าแมลงแบบหมุนเวียนเป็นวิธีการที่ลดปัญหาดังกล่าวได้ จึงทําการทดลอง เพื่อหารูปแบบการใช้สารฆ่าแมลงโดยการหมุนเวียนกลุ่มกลไกการออกฤทธิ์เพื่อป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟ เมล่อนในกล้วยไม้สกุลหวายที่เหมาะสม ดําเนินการที่แปลงกล้วยไม้ของเกษตรกรในอําเภอนครชัยศรี และอําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 วางแผนการ ทดลองแบบ RCB 4 ซ้ํา 6 กรรมวิธี ประกอบด้วย การพ่นสารแบบหมุนเวียนของสารฆ่าแมลง spinetoram 12 % SC (กลุ่ม 5), chlorfenapyr 10%SC (กลุ่ม 13), cyantraniliprole 10 % OD (กลุ่ม 28), fipronil 5% SC (กลุ่ม 2), emamectin benzoate 1.92% EC และ abamectin 1.8% EC (กลุ่ม 6) ใน 4 รูปแบบ เปรียบเทียบกับการพ่นสารตามวิธีเกษตรกรและการไม่พ่นสาร พบว่า รูปแบบการพ่นสารแบบหมุนเวียนในทุกรอบวงจรชีวิตเพลี้ยไฟ 14 วัน คือการพ่นสาร spinetoram 1 ครั้ง ตามด้วย abamectin 3 ครั้ง ตามด้วย fipronil 2 ครั้ง เป็นรูปแบบที่ดีที่สุดสามารถควบคุม จํานวนเพลี้ยไฟให้มีระดับต่ํา 0.20-1.25 และ 0.23-1.33 ตัว/ช่อดอก ในแปลงกล้วยไม้ที่อําเภอนคร ชัยศรี และอําเภอเมืองนครปฐม ตามลําดับ ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติกับการพ่นสารของเกษตรกรซึ่งพบ เพลี้ยไฟ 0.30-1.73 และ 0.23-1.33 ตัว/ช่อดอก ตามลําดับ ต้นทุนการพ่นสารรูปแบบดังกล่าวต่อ รอบเท่ากับ 466.00 บาท/ไร่ ซึ่งใกล้เคียงกับต้นทุนการพ่นสารตามวิธีเกษตรกรคือ 462.66 บาท/ไร่ รูปแบบการพ่นสารแบบหมุนเวียนที่ได้เหมาะสมที่จะใช้แนะนําเพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟ ที่ทําลายกล้วยไม้

ABSTRACT

คําสําคัญ : การป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟ การป้องกันกําจัดโดยวิธีเคมี ความต้านทานสารฆ่าแมลง การปลูกกล้วยไม้

OEB - 08 OEB-08

Dendrobium production for exportation has encountered insecticide resistance problem in melon thrips (Thrips palmi Karny). Insecticide rotation is the method that can reduce this problem. The experiments were conducted to find proper insecticide rotation pattern using insecticides from different mode of action for controlling melon thrips in dendrobium. The experiments were carried out in farmer’s farms at Nakhon Chai Si district and Mueang Nakhon Pathom district, Nakhon Pathom province during January-February 2019. The experiments were designed in RCB with 6 treatments and 4 replications. The treatments were composed of 4 different insecticide rotation patterns using insecticides from different mode of action; spinetoram 12 % SC (Group 5), chlorfenapyr 10%SC (Group 13), cyantraniliprole 10 % OD (Group 28), fipronil 5% SC (Group 2), emamectin benzoate 1.92% EC and abamectin 1.8% EC (Group 6); compared with farmer’s spraying and untreated control. The results revealed that the rotation spraying pattern of spinetoram 1 time - abamectin 3 times - fipronil 2 times, in every 14-day interval of thrips life cycle was the best rotation spraying pattern because this pattern can control thrips number as low as 0.20-1.25 and 0.23-1.33 insects/inflorescence in Nakhon Chai Si and Mueang Nakhon Pathom farm, respectively which was not significantly different from farmer’s spraying which can control thrips number as 0.301.73 and 0.45-1.33 insects/inflorescence in two farms, respectively. The cost of this insecticide rotation spraying pattern per cycle was 466 bath/rai which was not much different from that of 462.66 bath/rai of farmer’s spraying. Insecticide rotation pattern obtained was proper for recommendation to reduce insecticide resistance problem in thrips damaging orchids. Keywords: Thrips control, chemical control, insecticide resistance, orchid production

16

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 15

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

17

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 16


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 09 OEB-09

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 09 OEB-09

การทดสอบประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟฝ้าย (Thrips palmi Karny) ที่ทําลายกล้วยไม้ในห้องปฏิบัติการ

Testing Efficacy of Various Insecticides on Mortality of Cotton Thrips (Thrips palmi Karny) damaging Orchids in Laboratory

สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจํานรรจ์ ศรีจันทรา และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น

Suprada Sukonthabhirom na Pattalung Srijumnun Srijuntra and Somsak Siripontangmun

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ การทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงทําให้ทราบข้อมูลเบื้องต้นว่าสารชนิดใดเหมาะสมที่จะ ใช้แบบหมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทาน จึงทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อ การตายของเพลี้ยไฟฝ้าย (Thrips palmi Karny) ที่ทําลายกล้วยไม้ในแปลงเกษตรกรที่อําเภอลาด หลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี อําเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี อําเภอนครชัยศรี อําเภอพุทธมณฑล อําเภอสามพราน และอําเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ทดลองในห้องปฏิบัติการโดยใช้กลีบดอก กล้วยไม้ชุบสาร spinetoram 12% SC, cyantraniliprole 10% OD, sulfoxaflor 24% SC, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, abamectin 1.8% EC, emamectin benzoate 1.92% EC, carbosulfan 20% EC, fipronil 5% SC, chlorfenapyr 10% SC และ tolfenpyrad 16% EC โดยชุบสารที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนําและที่ความเข้มข้นสองเท่าของอัตราแนะนําแล้ว ให้เพลี้ยไฟที่เก็บจากที่ต่าง ๆ ดูดกิน บันทึกเปอร์เซ็นต์การตายหลังให้เพลี้ยไฟดูดกินเป็นเวลา 48 ชั่วโมง ผลการทดลองพบว่าสารที่ทําให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่อัตราแนะนํา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้ น ไปที่ ส องเท่ า ของอั ต ราแนะนํ า ในเพลี้ ย ไฟอํ า เภอลาดหลุ ม แก้ ว คื อ spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ในเพลี้ยไฟอําเภอบางใหญ่คือ spinetoram, emamectin benzoate, fipronil และ chlorfenapyr ในเพลี้ยไฟอําเภอนครชัยศรีคือ spinetoram และ emamectin benzoate ในเพลี้ยไฟอําเภอพุทธมณฑลคือ emamectin benzoate ในเพลี้ยไฟอําเภอสามพรานคือ emamectin benzoate และ carbosulfan ในเพลี้ยไฟ อําเภอเมืองนครปฐมคือ spinetoram, fipronil และ chlorfenapyr ข้อมูลที่ได้ทําให้สามารถเลือก สารฆ่าแมลงเพื่อวางแผนการใช้สารแบบหมุนเวียนในแต่ละพื้นที่เพื่อลดปัญหาความต้านทานในเพลี้ย ไฟฝ้ายที่ทําลายกล้วยไม้ คําสําคัญ : ศัตรูกล้วยไม้ ความต้านทานสารฆ่าแมลง ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง การหมุนเวียนสารฆ่า แมลง

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT Testing of insecticide efficacy provides information that initially indicates proper insecticides to be used in insecticide rotation for impeding resistance problem. This experiment investigated efficacy of various insecticides on mortality of cotton thrips (Thrips palmi Karny) damaging orchids in farmers’ farms at Lat Lum Kaeo district, Pathum Thani province; Bang Yai district, Nonthaburi province; Nakhon Chai Si district, Phutthamonthon district, Sam Phran district and Mueang Nakhon Pathom district, Nakhon Pathom province. The experiment was conducted in laboratory using petals of orchid flowers dipped with various insecticides; spinetoram 12% SC, cyatraniliprole 10% OD, sulfoxaflor 24% SC, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, abamectin 1.8% EC, emamectin benzoate 1.92% EC, carbosulfan 20% EC, fipronil 5% SC, chlorfenapyr 10% SC and tolfenpyrad 16% EC; at their recommended dose and at 2-fold of their recommended dose and then fed to the cotton thrips collected from farmers’ orchid farms. The mortality percentage was recorded after feeding for 48 hr. The results revealed that insecticides that caused > 60% mortality at their recommended dose or > 80% mortality at 2-fold of their recommended dose in thrips from Lat Lum Kaeo district were spinetoram, emamectin benzoate and chlorfenapyr; in thrips from Bang Yai district were spinetoram, emamectin benzoate, fipronil and chlorfenapyr; in thrips from Nakhon Chai Si district were spinetoram and emamectin benzoate; in thrips from Phutthamonthon district was emamectin benzoate; in thrips from Sam Phran district were emamectin benzoate and carbosulfan; in thrips from Mueang Nakhon Pathom district were spinetoram, fipronil and chlorfenapyr. The information obtained could be used for selecting insecticides for planning insecticide rotation in each area to reduce resistance problem in cotton thrips damaging orchids. Keywords: Orchid pest, insecticide resistance, insecticide efficacy, insecticide rotation

18

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 17

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

19

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 18


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 10 OEB-10

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 10 OEB-10

ความเป็นพิษของอีโคฟูมที่มีต่อด้วงถั่วเขียว Callosobruchus maculatus F. และด้วงถั่วเหลือง Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera)

Toxicity of ECO2FUME® against Callosobruchus maculatus F. and Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera)

สิรีธร โพธิกัน1, 2 ดวงสมร สุทธิสุทธิ์3 รังสิมา เก่งการพานิช3 และ อธิราช หนูสีดํา1

Siritorn Potikan1, 2 Dungsamorn Suthisut3 Rungsima Kengkanpanich3 and Atirach Noosidum1

1

ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมอ้อยและน้ําตาลทรายภาคที่ 3 ศรีราชา ชลบุรี 20110 3 กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรุงเทพฯ 10900 2

บทคัดย่อ ด้วงถั่วเขียว (Callosobruchus maculatus F.) และด้วงถั่วเหลือง (Callosobruchus chinensis L.) จัดเป็นแมลงศัตรูที่สําคัญทางเศรษฐกิจของถั่วเขียวทั้งในสภาพไร่และในโรงเก็บ เกษตรกรในประเทศไทยใช้ฟอสฟีนรมกําจัดแมลงทั้ง 2 ชนิดนี้ มาเป็นระยะเวลานานจึงทําให้แมลง เกิดความต้านทานต่อฟอสฟีนมากขึ้น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาความเป็นพิษของอีโคฟูม ที่มีต่อด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลืองระยะต่างๆ ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้อีโคฟูมความเข้มข้น 0, 250, 500, 750, 1000 และ 1250 ppm รมนาน 24 ชั่วโมง วางแผนการทดลองแบบ CRD และทําการ ทดลองซ้ํา 4 ซ้ํา ผลการศึกษาพบว่าทุกระยะของแมลงทั้ง 2 ชนิดที่ผ่านการรมอีโคฟูมอัตรา 2501250 ppm มีการตายมากกว่า 75 เปอร์เซ็นต์ โดยระยะไข่ ระยะหนอน ระยะดักแด้ และระยะตัว เต็มวัยของแมลงทั้ง 2 ชนิดมีการตายอยู่ระหว่าง 75.30-83.60, 99.82-100.00, 81.80-100.00 และ 100.00 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ เมล็ดถั่วเขียวที่ผ่านการรมด้วยอีโคฟูมความเข้มข้น 1250 ppm นาน 24 ชั่ ว โมง และเมล็ ด ในชุ ด ควบคุ ม (0 ppm) มี อั ต ราการงอกไม่ แ ตกต่ า งกั น (มากกว่ า 98.50 เปอร์เซ็นต์) อย่างไรก็ตามการทดลองพบว่าต้นกล้าที่งอกจากเมล็ดที่ผ่านการรมด้วยอีโคฟูมมีความสูง น้อยกว่าเมล็ดในชุดควบคุม 4.9 เท่า จากผลการทดลองชี้ให้เห็นว่าอีโคฟูมมีประสิทธิภาพดีในการควบคุม ด้วงถั่วเขียวและด้วงถั่วเหลือง การใช้อีโคฟูมควบคุมแมลงทั้ง 2 ชนิดจะช่วยลดการใช้ฟอสฟีนความ เข้มข้นสูงได้ ซึ่งจะชักนําให้แมลงทั้ง 2 ชนิดสร้างความต้านทานฟอสฟีนลดลง คําสําคัญ : อีโคฟูม สารรม ด้วงถั่วเขียว ด้วงถั่วเหลือง ถั่วเขียว

1

Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 Cane and Sugar Promotion Center Region 3, Chonburi 20110 3 Postharvest and Processing Research and Development Division, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT The cowpea weevil (Callosobruchus maculatus F.) and southern cowpea weevil (Callosobruchus chinensis L.) are important economic insect pests of mung beans in both field and storage. Farmers in Thailand have used phosphine to fumigate these two insects for a long time that causes an increase of phosphine resistance. The objective of this work was to study the toxicity of ECO2FUME® against various stages of cowpea and southern cowpea weevils under laboratory condition. The experiment was designed in CRD with the rate of 0, 250, 500, 750, 1000 and 1250 ppm of ECO2FUME® for 24 hours and 4 replications. The results showed that egg, larval, pupal and adult stages of both insects which were fumigated by ECO2FUME® at the rate of 250-1250 ppm ranged from 75.30-83.60% 99.82-100.00%,81.80100.00% and 100.00%, respectively. The seed germination rate of mung bean seeds between ECO2FUME® treatment (1250 ppm for 24 hours) and control treatment (0 ppm) was not different (>98.50% of seed germination). Nevertheless, the sprout height of the ECO2FUME® treatment was lower than the control treatment for 4.9 times. Overall results indicated that ECO2FUME® was effective for controlling all stages of cowpea and southern cowpea weevils under laboratory condition. Using of ECO2FUME® to control these two insects will decrease the high concentration of phosphine application that leads to decrease of phosphine resistance of these two insects. Keywords: ECO2FUME®, fumigant, cowpea weevil, southern cowpea weevil, mung bean

20

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 19

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

21

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 20


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 11 OEB-11

การศึกษาศักยภาพการก่อโรคในหนูศัตรูพชื และการเพิ่มปริมาณของ ค็อคซิเดียโปรโตซัวในลําไส้ (Apicomplexa: Eimeriidae) จากหนูศัตรูพืชสกุล Rattus และ Mus ที่พบในประเทศไทย

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEB - 11 OEB-11

Pathology and oocysts propogation in rats of enteric coccidia protozoa (Apicomplexa: Eimeriidae) from Rattus spp. and Mus spp. in Thailand

วิชาญ วรรธนะไกวัล ปราสาททอง พรหมเกิด สมเกียรติ กล้าแข็ง และ ทรงทัพ แก้วตา

Vichan Watthanakaiwan Prasartong Promkerd Somkiat Klakang and Songtap Kaewta1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

การศึกษาศักยภาพการก่อโรคในหนูศัตรูพืชและการเพิ่มปริมาณของค็อคซิเดียโปรโตซัว ในลําไส้ (Apicomplexa: Eimeriidae) จากหนูศัตรูพืชสกุล Rattus และ Mus ที่พบในประเทศไทย ดําเนินการวิจัยระหว่ างเดือนตุ ลาคม 2559 ถึงเดือนกันยายน 2561 ได้ดําเนิ นการดักหนู ศัตรูพืช สกุลหนูท้องขาว (Rattus) 133 ตัว และสกุลหนูหริ่ง (Mus) 103 ตัว รวมทั้งหมด 236 ตัว สามารถ คัดแยกโอโอซีสต์จากมูลหนูที่ดักได้ จํานวน 57 ไอโซเลท เป็นโอโอซีสต์ของโปรโตซัว Eimeria 54 ไอ โซเลท และ Isospora 3 ไอโซเลท จากพื้นที่เกษตร จํานวน 15 จังหวัด ใน 5 ภูมิภาคของประเทศไทย และพบโอโอซีสต์ของเชื้อ Eimeria จํานวน 6 ไอโซเลท ที่ระดับความเข้มข้น 500 และ 5,000 โอโอ ซีสต์ มีศักยภาพสามารถทําให้หนูทดลองป่วยและตายได้ ร้อยละ 20-40 ภายใน 3-10 วัน หลังจาก ได้รับเชื้อ (dpi) ผลการจําแนกชนิดทางสัณฐานวิทยาจากลักษณะของโอโอซีสต์ สอดคล้องกับผลการ จําแนกชนิดทางชีวโมเลกุล บริเวณไรโบโซมอล ดีเอ็นเอ (18S rDNA) พบว่าเชื้อโปรโตซัวสกุล Eimeria ทั้ง 6 ไอโซเลท ที่สามารถคัดแยก ในการศึกษาครั้งนี้ เป็น E. nieschulzi isolate K11 01, E. ferrisi isolate MJ01, E. ferrisi isolate MJ04, E. nafuko isolate NKW05, Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 และ Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 ตามลําดับ การศึกษาการเพิ่มปริมาณของโอโอซีสต์ โดยการให้โอโอซีสต์ของ E. nieschulzi isolate K11 01 จํานวน 2,500 โอโอซีสต์ กับหนูท้องขาวบ้าน จํานวน 10 ตัว พบโอโอซีสต์ถูกขับ ออกมาพร้อมกับมูลหนูสูงสุด ที่ระยะเวลา 7 วันภายหลังจากได้รับเชื้อ จํานวน 28±22 โอโอซีสต์/ ไมโครลิตร

Pathology and oocysts propogation in rats of enteric coccidia protozoa (Apicomplexa: Eimeriidae) from Rattus spp. and Mus spp. in Thailand was conducted during October 2016 to September 2018. Total isolation of oocyst 57 isolates, from 236 rodent pests, 133 and 103 Rattus and Mus species respectively were captured from agricultural of 15 provinces in 5 regions of Thailand, was revealed Eimeria oocyst 54 isolates and Isospora oocyst 3 isolates. In this study 6 isolates of Eimeria oocysts caused severe clinical illness and mortality, 20-40%, occurred in rats and mice an infectious dose of 500 and 5,000 oocysts at the 3-10 days postinfection (dpi). The morphological of sporulate oocysts were identified according to molecular analysis of partial 18S ribosomal DNA (18S rDNA), the 6 isolates of Eimerian oocysts in this study, including E. nieschulzi isolate K11 01, E. ferrisi isolate MJ01, E. ferrisi isolate MJ04, E. nafuko isolate NKW05, Eimeria sp. ex Rattus norvegicus isolate BKK02 and Eimeria sp. ex Rattus andamanensis isolate KW03 respectively. In the preliminary study of oocysts propogation, we infected roof rat (R. rattus) (n = 10) with 2,500 oocysts of E. nieschulzi isolate K11 01. Oocysts shedding was detectable the highest oocysts (28±22 oocysts/μl) at 7 dpi.

คําสําคัญ : ค็อคซิเดียโปรโตซัวในลําไส้ Eimeriidae โปรโตซัว Eimeria การก่อโรคในหนูทดลอง

22

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 21

Keywords: enteric coccidian protozoa, Eimeriidae, Eimeria oocysts, pathology in rats, oocysts propogation

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

23

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 22


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 01 OEA-01

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 01 OEA-01

การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก สําหรับการป้องกันกําจัดแมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก

The study of poison protein bait trap spacing for controlling fruit fly (Bactrocera latifrons (Hendel)) in chili plantations

กรกต ดํารักษ์ สัญญาณี ศรีคชา และ วิภาดา ปลอดครบุรี

Korrakot Damrak Sunyanee Srikachar and Wipada Plodkornburee

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสมในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนในรูปแบบกับดัก สําหรับการป้องกัน กําจัดแมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก เปรียบเทียบ 2 วิธี ระหว่างวิธีที่ 1 ติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 5 เมตร และวิธีที่ 2 ติดตั้งกับ ดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร ดําเนินการที่แปลงเกษตรกร แปลงที่ 1 ต.หนองพลวง อ.จักราช จ.นครราชสีมา ในเดือน มิ.ย.-ก.ค. 2560 และแปลงที่ 2 ต.แจง งาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี ในเดือน มี.ค.-พ.ค. 2561 พบแมลงวันผลไม้ในกับดัก 4 ชนิด ได้แก่ Bactrocera latifrons (Hendel), Bactrocera dorsalis (Hendel), Bactrocera cucurbitae (Coquillett) และ Bactrocera tau (Walker) โดยพบจํานวน B. latifrons มากที่สุด จากการ วิเคราะห์เปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์การทําลายของแมลงวันทองพริกด้วย t-test แบบ 2 กลุ่มที่เป็นอิสระ ต่อกั น ระหว่ างวิ ธีติด กั บดัก 2 วิ ธี พบว่ า ไม่มี ค วามแตกต่างกั น จากการประเมิ นการทํ า ลายของ แมลงวันทองพริก พบว่ามีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การทําลายของแมลงวันทองพริกในวิธีควบคุมมากกว่าวิธี ที่ติดกับดักวิธีที่ 2 และวิธีที่ 1 ตามลําดับ ส่วนค่าเฉลี่ยจํานวนหนอนที่พบในผลพริก พบว่ามีจํานวน มากที่สุดในวิธีควบคุม รองลงมาเป็นวิธีที่ 1 และวิธีที่ 2 ตามลําดับ จากข้อมูลการศึกษาดังกล่าว จึง เลือกใช้การติดตั้งกับดักเหยื่อพิษโปรตีนรอบแปลงปลูกที่ระยะห่างระหว่างกับดักทุก 10 เมตร เพื่อใช้ เป็นคําแนะนําต่อไป

The study of spatial scale of poison protein bait traps were carried out in two locations including Nong Pluang, Chakkarat (Nakhon Ratchasima) in June-July 2017 and Chaeng Ngam, Nong Ya Sai (Suphan Buri) in March-May 2018. Two treatments including five and ten meters trap spacing of poison protein bait were compared to determine the most effective spacing for controlling Bactrocera latifrons (Hendel) in chili plantations. Four species of Bactocera, including B. latifrons (Hendel), B. dorsalis (Hendel), B. cucurbitae (Coquillett), and B. tau (Walker), were found in poison protein bait traps. The most abundant species was B. latifrons in both locations. There were no significant differences of the efficiency between traps spaced between five or ten meters by t-test. The infestation and the mean number of larvae/fruits of B. latifrons in five, ten meters trap spacing plots and untreated plot were performed. The highest mean infestation was observed in the untreated plot, followed by the ten meters trap spacing plot and the five meters trap spacing plot, respectively. On the other hand, the highest mean number of larvae/fruits was observed in the untreated plot, followed by the five meters trap spacing and the ten meters trap spacing plot, respectively. Therefore, the ten meters trap spacing of poison protein bait was selected to be the recommendation for controlling B. latifrons in chili plantations because of its economic and technical feasibility.

คําสําคัญ : พริก แมลงวันทองพริก กับดักเหยื่อพิษโปรตีน

Keywords: chili, Bactrocera latifrons, poison protein bait trap

24

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 23

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

25

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 24


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 02 OEA-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 02 OEA-02

ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมแมลงวันผลไม้

Efficiency of Entomopathogenic Fungi to Control Fruit Fly

ปิยธิดา สนิท และ จุรีมาศ วังคีรี

Piyatida Sanit and Jureemart Wangkeeree

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology, Thammasat University Rangsit Centre, Khlong Nueng, Khlong Luang, Pathum Thani 12120

บทคัดย่อ

ABSTRACT

แมลงวันผลไม้ (Diptera: Tephritidae) เป็นศัตรูพืชที่สําคัญทางการเกษตร พบการ แพร่กระจายทั่วทุกภาคของประเทศไทยสามารถเข้าทําลายพืชผักและผลไม้หลายชนิด การวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลง Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana ในการควบคุมแมลงวันผลไม้ในหนอนระยะท้ายและระยะดักแด้ โดยทดสอบ เชื้อราที่เจริญบนเมล็ดข้าวและเชื้อราที่ผ่านการแปรสภาพให้อยู่ในรูปแบบเม็ด ที่อายุการเก็บรักษา ของเชื้อราที่ 0, 1 และ 2 เดือน คลุกผสมกับดินในแก้วพลาสติก คัดเลือกหนอนระยะท้ายที่ดีดตัวออก จากผลกล้วยน้ําว้าและดักแด้ที่ร่อนออกจากรําละเอียด วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) โดยแต่ ล ะไอโซเลทมี 5 ซ้ํ า การทดลอง พบว่ า เชื้ อ ราที่ เ หมาะสมกั บ หนอนระยะท้ า ยการคื อ B. bassiana ไอโซเลท BCC1495 และ BCC2779 มีแนวโน้มที่มีประสิทธิภาพดีกว่าที่อายุการเก็บรักษา 0 และ 1 เชื้อราที่เหมาะสมกับระยะดักแด้คือ เชื้อราเขียว M. anisopliae ไอโซเลท BCC30455 และ BCC16762 มีแนวโน้มที่มีประสิทธิภาพดีกว่าที่อายุ 0, 1 และ 2 เดือน การใช้เชื้อรา M. anisopliae และ B. bassiana ในการควบคุมแมลงวันผลไม้โดยเชื้อรารูปแบบไม่แปรสภาพและแปร สภาพส่วนมากไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ (P>0.05)

Fruit flies (Diptera: Tephritidae) considered a very destructive group of insects that cause enormous economic losses in agriculture, especially in a wide variety of fruits and vegetables. The objective of this study was to test the efficiency of entomophathogenic fungi including Metarhizium anisopliae and Beauveria bassiana. This experiment were conducted on last instar larva and pupae with 2 types of fungi (non- transformed and transformed fungi) at the storage time 0, 1 and 2 months. The experiment was completely randomized design (CRD) with five replicates. The results of last instar larvae testing revealed that B. bassiana isolates BCC1495 and BCC2779 were more effective at 0 and 1 month of storage period. For pupae testing found that M. anisopliae isolate BCC30455 and BCC16762 were more effective at 0, 1 and 2 months of storage period. However, the efficacy of mostly non-transformed or transformed of M. anisopliae and B. bassiana were not significantly difference (P>0.05).

คําสํ าคัญ : การเก็บรั กษาเชื้ อรา หนอนระยะท้าย ระยะดักแด้ Metarhizium Beauveria bassiana

Keywords: Last instar larva, Pupae, Metarhizium anisopliae, Beauveria bassiana

26

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

anisopliae

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 25

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

27

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 26


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 03 OEA-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

ผลของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงต่ออัตราการตาย และการแพร่กระจายตัว ในประชากรแมลงวันผลไม้

Effect of entomopathogenic fungi on surviving and its transmission in fruit fly.

กมลรัตน์ สุวรรณไชศรี และ จุรีมาศ วังคีรี

Kamonrat Suwanchiasri and Jureemart Wangkeeree

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120

บทคัดย่อ แมลงวันผลไม้ (Bactrocera dorsalis) เป็นแมลงศัตรูพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ การ ควบคุมแมลงวันผลไม้โดยชีววิธีด้วยเชื้อราสาเหตุโรคแมลงเป็นวิธีการที่ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้อม และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพควบคุ ม แมลงได้ ดี การทดลองนี้ จึ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาผลเชื้ อ รา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana เชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการเข้าทําลาย แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัย วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) ทําการทดลอง 5 ซ้ํา ผล การทดลองพบว่า เชื้อรา B. bassiana 3 ไอโซเลท ได้แก่ BCC1495, BCC2779 และ BCC4742 วิธี ที่ใช้ในการควบคุมโดยวิธีการฉีดพ่น สามารถทําให้แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยมีเปอร์เซ็นต์การตาย 90 ถึง 100 % นอกจากนี้เชื้อราไอโซเลทดังกล่าวสามารถแพร่กระจายตัวในประชากรของแมลงวัน ผลไม้ได้เมื่อเพศใดเพศหนึ่งสัมผัสกับเชื้อรา แต่เชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการแพร่กระจายตัวได้ดีที่สุด คือเชื้อรา B. bassiana 2 ไอโซเลท ได้แก่ ไอโซเลท BCC2779 และ BCC4742 สามารถทําให้ แมลงวันผลไม้ระยะตัวเต็มวัยตาย 90 ถึง 100 % คําสําคัญ : Bactrocera dorsalis เชื้อรา Metarhizium anisopliae เชื้อรา Beauveria bassiana

28

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 27

OEA - 03 OEA-03

Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology,Thammasat University Rangsit Centre, Khlong Nueng, Khlong Luang, Pathum Thani 12120

ABSTRACT The fruit fly (Bactrocera dorsalis) is well known as one of the major economic insect pests. The biological control of B. dorsalis with entomopathogenic fungi is an environment-friendly method and be effective to control this insect pest. The objective of this study was to test the efficacy of Metarhizium anisopliae and Beauveria bassiana. The experiment was Completely Randomized Design (CRD), with five replicates. The results showed that B. bassiana isolate BCC1495, BCC2779 and BCC4742 are causing the highest fruit flies mortality as 90-100% when spraying with spores solution. In addition, those isolates can be a horizontal transmission, the most efficacious spread of fungus on adult’s fruit flies are B. bassiana isolate BCC2779 and BCC4742, it showed mortality percentage on adult’s fruit flies with 90 to 100 % Keywords: Bactrocera dorsalis, Metarhizium anisopliae, Beauveria bassiana

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

29

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 28


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 04 OEA-04

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 04 OEA-04

การเปลี่ยนแปลงการระบาดของแมลงดําหนามมะพร้าวในเกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี

Coconut Hispine Beetle Infestation Change in Samui Island, Suratthani Province

วลัยพร ศะศิประภา1 และ ยิ่งนิยม ริยาพันธ์2

Walaiporn Sasiprapa1 and Yingniyom Riyaphan2

1

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กรมวิชาการเกษตร ลาดยาว จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 2 ศูนย์วิจัยปาล์มน้ํามันสุราษฏร์ธานี ท่าอุแท กาญจนดิษฐ์ สุราษฏร์ธานี 84160

บทคัดย่อ แมลงดําหนามมะพร้าวจัดเป็นแมลงศัตรูต่างถิ่นที่สําคัญของมะพร้าวและพืชตระกูลปาล์ม เข้าทําลายใบอ่อนของมะพร้าวทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัย การควบคุมแมลงดําหนามมะพร้าวด้วย การปล่อยแตนเบียนที่เคยได้ผลในปี 2548 แต่กลับมาระบาดอีกตั้งแต่ปี 2555 และคงอยู่ในระบบ นิเวศใหม่ซึ่งมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดใหม่ได้อีก จึงศึกษาการเปลี่ยนแปลงการระบาดของแมลงดํา หนามมะพร้าวในพื้นที่เกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี ระหว่างเดือนตุลาคม 2555–พฤษภาคม 2562 โดย สํารวจความเสีย หายในพื้นที่ ปลู กมะพร้ าวจํานวน 10 แปลงหลัก และ 40 แปลงติดตาม สุ่ม นับ ประชากร ทางใบที่ถูกทําลายและทางใบที่ไม่ถูกทําลาย ทุก 1 และ 2 เดือน พบว่า จํานวนหนอนใน ยอดกลมมากขึ้ น และมี แ นวโน้ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ระหว่ า งเมษายน-กั น ยายน เมื่ อ นํ า ข้ อ มู ล สภาพแวดล้อมมาวิเคราะห์ร่วมด้วย พบว่า การเข้าทําลายและประชากรแมลงดําหนามมะพร้าวมี ความสัมพันธ์กับฝน ทั้งการตกและปริมาณน้ําฝน จํานวนวันที่อุณหภูมิสูงกว่า 30 °ซ การทําลายของ เดื อ นก่ อ นมี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ เปอร์ เ ซ็ น ต์ ท างใบแรกที่ ถู ก ทํ า ลายในเดื อ นถั ด ไป นอกจากนี้ ยั ง พบ ความสัมพันธ์กับจํานวนแตนเบียน และเวลา ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับฤดูกาลซึ่งต้องศึกษาต่อไป อย่างไรก็ ตาม ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ดังกล่าวยังไม่เข้าใกล้ 1 หรือ -1 ซึ่งอาจเนื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย จําเป็นต้องใช้เทคนิคอื่นๆ ในการค้นหาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าทําลายของแมลงดําหนามมะพร้าว เพื่อให้ได้ข้อมูลสําหรับตัดสินใจการควบคุมแมลงศัตรูพืชให้ได้ผลอย่างยั่งยืน คําสําคัญ : แมลงดําหนามมะพร้าว การระบาดของแมลงศัตรูมะพร้าว

1

Information and communication Technology Center, Department of Agriculture, Ladyaw, Chatuchak, Bangkok 10900 2 Suratthani Plam Research Center, Kanchanadit, Suratthani 84290

ABSTRACT coconut hispine beetle is exotic and one of the most serious pests of coconut and palm, both adults and larvae damage on young leaves. It has been controlled by importing and establishing parasitoids in 2005, but significant outbreak again in 2012 which have probability to be a new outbreak. To have the information for sustainability control, the dynamic population study had been conducted in Samui Island, Suratthani Province during October 2013- May 2019. Ten coconut fields were sampling and monitor population of coconut hispine beetle every month. 40 coconut fields were evaluated every 2 months for number of leaves attack, green leaves and percentage damage of 1st leaf. The result found number of coconuts hispine beetle larvae in young leaves dramatically increase during April-September. Infested leaves and population of coconut hispine beetle have relationship with rainfall both amount and rainy days. Temperature >30 ํC and previous month infestation have relationship with percentage of damage of 1st leaf, and relationship found in no of parasitoid warps and time that seasonal will be further study. However, correlation coefficient not nearly 1 or -1, may be interaction between factors, that some analytical technic should be used to detect the majority of coconut hispine beetle outbreak. Keywords: coconut hispine beetle, coconut pest outbreak

30

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 29

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

31

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 30


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 05 OEA-05

การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นเพื่อ ป้องกันกําจัดหนอนหัวดําในมะพร้าวน้ําหอม และมะพร้าวน้ําตาล พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์1 พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท1 นลินา ไชยสิงห์1 สุชาดา สุพรศิลป์1 วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร1 ลมัย ชูเกียรติวัฒนา2 วาเลนไทน์ เจือสกุล2 ชนิตา ทองแซม2 วีระสิงห์ แสงวรรณ2 วิชุตา ควรหัตร์2 และ สุวัฒน์ พูลพาน3 1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 2 กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร 3 ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี สถาบันวิจยั พืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร

บทคัดย่อ การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมีและการศึกษาผลตกค้างของสารเคมีที่ฉีดเข้าต้นเพื่อป้องกัน กําจั ดหนอนหัวดําในมะพร้าวน้ํ าหอมและมะพร้าวน้ําตาล ที่อําเภอบ้ านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร ดําเนินการระหว่างเดือน กรกฎาคม 2560 – เมษายน 2562 มะพร้าวน้ําหอมดําเนินการในแปลงที่มี ความสูง 4-6 เมตรจํานวน 2 แปลง และความสูง 6-10 เมตร จํานวน 2 แปลง วางแผนการทดลอง แบบ RCB 5 ซ้ํา 8 กรรมวิธี ได้แก่ การฉีดสาร abamectin 1.8%EC อัตรา 15, 30, 60 และ 90 มิลลิลิตรต่อต้น และสาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 5, 10 และ 50 มิลลิลิตรต่อต้น เปรียบเทียบกับกรรมวิธีไม่ใช้สาร สําหรับมะพร้าวน้ําตาลดําเนินการในแปลงที่มีความสูง 4-6 เมตร จํานวน 2 แปลง วางแผนการทดลองแบบ RCB 5 ซ้ํา 5 กรรมวิธี ได้แก่ การฉีดสาร abamectin 1.8%EC อัตรา 15, 30 และ 90 มิลลิลิตรต่อต้น และสาร emamectin benzoate 1.92% EC อัตรา 10 และ 50 มิลลิลิตรต่อต้น เปรียบเทียบกับกรรมวิธีไม่ใช้สาร หลังฉีดสาร 3, 7, 15, 30 60 และ 90 วัน เก็บใบมะพร้าวมาทดสอบ โดยให้หนอนหัวดํากินใบมะพร้าวที่ฉีดสารเข้าต้น เปรียบเทียบจํานวน หนอนที่ตายของแต่ละกรรมวิธี พบว่าการฉีดสารเข้าต้นด้วยสาร abamectin และ emamectin benzoate ทุกอัตรามีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดหนอนหัวดําได้ดี ส่วนการศึกษาปริมาณ สารพิษตกค้างในผลผลิตมะพร้าวทั้ง 2 ชนิด หลังจากการใช้สาร 3, 7, 15, 30, 60, 90 และ 120 วัน ในมะพร้าวน้ําหอม และมะพร้าวน้ําตาล ไม่พบสารตกค้างในมะพร้าวทั้ง 2 ชนิด ในทุกครั้งและ ทุก อัตราการใช้สาร คําสําคัญ : มะพร้าว หนอนหัวดํามะพร้าว ฉีดสารเข้าต้น พิษตกค้าง

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 05 OEA-05

Efficacy and Residues of Insecticides Used in Truck Injection for Controlling Coconut Black-headed Caterpillar Opisina arenosella Walker in Aromatic Coconut and Sugar Coconut Pichate chaowattanawong1 Pruetthichat Punyawattoe1 Nalina Chaiyasing1 Suchada Supornsin1 Woravit Sutjaritthammajariyankun1 Lamai Chukiatwattana2 Valentine Juersakul2 Chanida Thongsam2 Verasing Sangwan2 Vichuta Kuanhat2 and Suwat Poonpan3/ 1

Plant Protection Research and Development Office 50 Paholyotin Rd. Lardyao, Chatuchak, Bangkok 10900. 2 Agriculture Production Sciences Research and Development Division 3 Supanburi Field Crop Research Center Department of Agriculture

ABSTRACT Efficacy trial and Residue analysis of insecticides used in trunk injection for controlling Coconut Black-headed Caterpillar Opisina arenosella Walker. in aromatic and sugar coconut were evaluated in coconut field in Samutsakorn province during July 2017-April 2019. For aromatic coconut, coconut trees with 4-6 meters trunk high and 610 meters trunk high were used and for sugar coconut, 4-6 meters trunk high were used. The experiment design was RCB with 5 replications and 8 treatments which were, injection with abamectin 1.8% EC at the rate of 15, 30, 60 and 90 ml./tree and emamectin benzoate 1.92% EC at the rate 5, 10 and 50 ml/tree and the untreated as the control treatment for both coconuts. The leaves of the treated coconut trees were collected at 3, 7, 15, 30, 60 and 90 days after injection for bioassay by feeding the Coconut Black-headed Caterpillar with these leaves in laboratory. The numbers of dead caterpillar were compared between treatments. The results showed that all the treatments that inject with insecticides had high efficacy for controlling Coconut Blackheaded Caterpillar. For the residue analysis, the samples of coconut flesh and juice from aromatic coconut and sugar form sugar coconut, were taken at 3, 7, 15, 30, 60 and 90 days after injection in both aromatic and sugar coconut. The results showed that there were no residues of insecticides found in all samples at every rates of injection at 3, 7, 15, 30, 60 and 90 days after injection.

Keywords: coconut, Coconut Black-headed Caterpillar, trunk injection, vesidual toxicity

32

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 31

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

33

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 32


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 06 OEA-06

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 06 OEA-06

ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ทําลายมะม่วงในแหล่งปลูกสําคัญ

Effect of Various Insecticides on Mortality of Chili Thrips (Scirtothrips dorsalis Hood) damaging Mangoes in Major Planting Areas

สุภราดา สุคนธาภิรมย์ ณ พัทลุง ศรีจาํ นรรจ์ ศรีจันทรา และ สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น

Suprada Sukonthabhirom na Pattalung Srijumnun Srijuntra and Somsak Siripontangmun

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ ข้อมูลการตายของแมลงเมื่อได้รับสารฆ่าแมลงทําให้ทราบเบื้องต้นว่าสารฆ่าแมลงชนิดใด เหมาะสมที่จะนํามาใช้แบบหมุนเวียนเพื่อลดปัญหาความต้านทาน จึงทําการทดลองเพื่อทราบผลของ สารฆ่าแมลงชนิดต่าง ๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ทําลาย มะม่วงในแปลงเกษตรกรที่อําเภอเมืองสุพรรณบุรี อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อําเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา และ อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ทําการ ทดลองในห้องปฏิบัติการโดยใช้ใบอ่อนมะม่วงชุบด้วยสาร fipronil 5% SC, lambda-cyhalothrin 2.5 % CS, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, spinetoram 12% SC, emamectin benzoate 1.92% EC, abamectin 1.8% EC, chlorfenapyr 10% SC และ cyantraniliprole 10% OD โดยชุบสารแต่ละชนิดที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนําและที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตรา แนะนํา แล้วนําไปให้เพลี้ยไฟพริกที่เก็บจากแปลงมะม่วงในแหล่งต่าง ๆ ดูดกิน บันทึกเปอร์เซ็นต์การ ตายหลังจากให้เพลี้ยไฟดูดกินใบอ่อนมะม่วงที่ชุบสารฆ่าแมลงเป็นเวลา 48 ชั่วโมง ผลการทดลอง พบว่าสารที่ทําให้เพลี้ยไฟตายตั้งแต่ 60 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้นตามอัตราแนะนํา หรือตายตั้งแต่ 80 % ขึ้นไปที่ความเข้มข้น 2 เท่าของอัตราแนะนําคือ สาร fipronil, spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ในเพลี้ยไฟจากอําเภอเมืองสุพรรณบุรี อําเภอสามชุก และอําเภอบาง คล้า สาร spinetoram, emamectin benzoate และ chlorfenapyr ในเพลี้ยไฟจากอําเภอวังทอง และอําเภอปากช่อง ข้อมูลที่ได้ช่วยในการเลือกสารฆ่าแมลงที่เหมาะสมเพื่อใช้แบบหมุนเวียนเพื่อลด ปัญหาความต้านทานในเพลี้ยไฟที่ทําลายมะม่วงในแต่ละแหล่งปลูก คําสําคัญ : ศัตรูมะม่วง ความต้านทานสารฆ่าแมลง ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง การหมุนเวียนสารฆ่า แมลง

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT Mortality data of insect pests after exposing to insecticides approximately guides proper insecticides to be used in insecticide rotation for retarding resistance problem. This experiment examined the effect of various insecticides on mortality of chili thrips (Scirtothrips dorsalis Hood) damaging mangoes in farmers’ farms at Mueang Suphan Buri district and Sam Chuk district, Suphan Buri province; Wang Thong district, Phitsanulok province; Bang Kla district, Chachoengsao province and Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province. The experiment was conducted in laboratory using young mango leaves dipped with various insecticides; fipronil 5% SC, lambda-cyhalothrin 2.5 % CS, imidacloprid 70% WG, acetamiprid 20% SP, spinetoram 12% SC, emamectin benzoate 1.92% EC, abamectin 1.8% EC, chlorfenapyr 10% SC and cyantraniliprole 10% OD; at their recommended dose and at 2-fold of their recommended dose and then fed to the chili thrips collected from farmers’ mango fields. The mortality percentage was recorded after feeding for 48 hr. The results indicated that the insecticides that caused > 60% mortality at their recommended dose or > 80% mortality at 2-fold of their recommended dose in thrips from Mueang Suphan Buri district, Sam Chuk district and Bang Khla district were fipronil, spinetoram, emamectin benzoate and chlorfenapyr; in thrips from Wang Thong district and Pak Chong district were spinetoram, emamectin benzoate and chlorfenapyr. The data obtained facilitated selection of proper insecticides for insecticide rotation to retard resistance problem in thrips damaging mango in each planting area. Keywords: Mango pest, insecticide resistance, insecticide efficacy, insecticide rotation

34

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 33

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

35

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 34


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 07 OEA-07

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 07 OEA-07

การพ่นสารโดยอากาศยานไร้คนขับ (UAV) ในการป้องกันกําจัด หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797))

Aerial Spray Technique by The Unmanned Aerial Vehicle (UAV) for Controlling Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797))

พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์ พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท นลินา ไชยสิงห์ สุชาดา สุพรศิลป์ และ วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร

Pichate chaowattanawong Pruetthichat Punyawattoe Nalina Chaiyasing Suchada Supornsin and Woravit Sutjaritthammajariyankun

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture.

บทคัดย่อ

ABSTRACT

ทําการทดสอบประสิทธิภาพการพ่นสารฆ่าแมลงทางอากาศโดยอากาศยานไร้คนขับ เพื่อ ป้องกันกําจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ดําเนินการที่แปลงเกษตรกร จังหวัดลพบุรี ระหว่างเดือน มกราคม-มิถุนายน 2562 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 5 ซ้ํา 6 กรรมวิธี ได้แก่ พ่นสารด้วยอากาศ ยานไร้คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) ที่อัตรา 1.28 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยอากาศยานไร้ คนขับแบบโรเตอร์เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) ที่อัตรา 2.56 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบ หลายโรเตอร์ (โดรน) ที่อัตรา 3 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ที่อัตรา 5 ลิตรต่อไร่, พ่นสารด้วยเครื่องยนต์พ่นสารสะพายหลังแบบแรงดันน้ําสูงประกอบก้านฉีด แบบปรับท้ายที่ติดตั้งหัวฉีดแบบกรวยกลวง อัตราพ่นของเกษตรกรที่ 60 ลิตรต่อไร่ และกรรมวิธีไม่ พ่นสาร โดยทุกกรรมวิธีที่พ่นสาร พ่นด้วยสารแนะนํา emamectin benzoate 5% WG อัตราที่ เท่ากันคือ 30 กรัมต่อไร่ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีการพ่นด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบโรเตอร์ เดี่ยว (เฮลิคอปเตอร์) และกรรมวิธีการพ่นสารด้วยอากาศยานไร้คนขับแบบหลายโรเตอร์ (โดรน) ทุก อัตรามีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดได้ดีเทียบเท่าการพ่นของเกษตรกรที่ 60 ลิตรต่อไร่ ที่เดินพ่น เน้นยอดแถวต่อแถว และแตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีไม่พ่นสาร โดยการใช้อากาศยานไร้คนขับ สามารถพ่นสาร 1 ไร่ ใช้เวลาไม่เกิน 3 นาที ในขณะที่การเดินพ่นด้วยคนใช้เวลามากกว่า 30 นาที

The efficacy of UAV for controlling Fall Armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) in corn field was carried out in Lopburi province from January to June 2019. The experiment design was RCB with 5 replications and 6 treatments which were, spraying with single roter UAV (Helicopter) at the rate of 1.28 litre/rai, spraying with single roter UAV (Helicopter) at the rate of 2.56 litre/rai, spraying with multiple roters UAV (Drone) at the rate of 3 litre/rai, spraying with multiple roters UAV (Drone) at the rate of 5 litre/rai, spraying with high pressure motorized knapsack sprayer with cone nozzle at the rate of 60 litre/rai (farmer practice) and the untreated as a control. All the spray treatments used the recommendation chemical, emamectin benzoate 5% WG 50 gram/rai. The results showed that the efficacy of all treatments that spraying with single roter UAV and multiple roters UAV were equal to the treatment that spraying with high pressure motorized knapsack sprayer with cone nozzle (farner practice) which focusing on the whorl and significantly different from the untreated. Thus the time consumed rate of the UAV was 3 minutes/rai whereas the time consumed rate of the farmer practice was 30 minutes/rai.

คําสําคัญ : หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ข้าวโพด อากาศยานไร้คนขับ

36

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 35

Keywords: Fall Armyworm, corn, Unmanned Aerial Vehicle

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

37

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 36


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OEA - 08 OEA-08

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

A Design and Development of an Air-Assisted Boom Sprayer for Controlling Rice Thrips; Stenchaetothrips biformis, in Paddy Fields

ออกแบบและพัฒนาคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย (air-assisted boom sprayer) ใน การป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟข้าว; Stenchaetothrips biformis ในนาข้าว 1

2

1

ยุทธนา เครือหาญชาญพงค์ พฤทธิชาติ ปุญวัฒโท พักตร์วิภา สุทธิวารี พงษ์ศักดิ์ ต่ายก้อนทอง1 นิรตุ ิ บุญญา1 วรวิช สุดจริตธรรมจริยางกูร2 สุภางคนา ถิรวุธ2 สุชาดา สุพรศิลป์2 นลินา ไชยสิงห์2 และ อัคคพล เสนาณางค์1 1

สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม 50 ถ.พหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กทม 10900 2 สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช 50 ถ.พหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กทม 10900

OEA - 08 OEA-08

Yuttana Khaehanchanpong1 Pruetthichat Punyawattoe2 Phakwipa Suttiwaree1 Pongsak Taikonthong1 Nirut Boonya2 Woravit Sutjaritthammajaraiyangkun2 Supangkana Thirawut2 Suchada Supornsin2 Nalina Chaiyasing2 and Akkapol Senanarong1 1

Agricultural Engineering Research Institute 50 Phahonyothin Ladyao Chajujak Bangkok 10900 Plant Protection Research and Development Office 50 Phahonyothin Ladyao Chajujak Bangkok 10900

2

บทคัดย่อ

ABSTRACT

การพ่นสารกําจัดแมลงศัตรูข้าวใช้น้ํา แรงงาน เวลาพ่นค่อนข้างมาก เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงออกแบบคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย ลมถูกสร้างจากเพลาอํานวยกําลังของรถแทรกเตอร์ ผ่านเกียร์ทด ไปยังพัดลมที่ สร้างลมความเร็ว 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คานหัวฉีดกว้าง 6 เมตร ต่อ พ่วงกับรถแทรกเตอร์ขนาด 34 แรงม้า ใช้หัวฉีดแบบพัด 9 หัว ความสามารถในการฉีดพ่น 21.3 ไร่ต่อ ชั่ ว โมง ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งาน 95 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ใช้ น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง 0.37 ลิ ต รต่ อ ไร่ ทดสอบ ประสิทธิภาพด้วยวิธี colorimetric method ในข้าวระยะกล้า โดยพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลม ช่วยอัตรา 20 ลิตรต่อไร่ เปรียบเทียบกับคานหัวฉีดของเกษตรกรอัตรา 40 ลิตรต่อไร่ และก้านพ่น แบบปรับมุมด้านท้ายอัตรา 40 และ 60 ลิตรต่อไร่ ผลการทดลองพบว่าการพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้ แรงลมช่วยพบความหนาแน่นของละอองสารสูงสุด มีการตกค้างของละอองสารบนต้นข้าวไม่แตกต่าง กับการพ่นอื่น ๆ โดยมีการสูญเสียลงสู่ดินน้อยกว่าและปลิวสู่พื้นที่นอกเป้าหมายเพียง 3 เมตร จากนั้น นําคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยมาทดสอบด้วยสาร thiacloprid 24% SC อัตราแนะนําที่ 6 มิลลิลิตร ต่อไร่ และอัตรา 4.8 มิลลิลิตรต่อไร่(ลดอัตรา 20%) เปรียบเทียบกับคานหัวฉีดของเกษตรกรอัตรา 40 ลิตรต่อไร่ และก้านพ่นแบบปรับมุมด้านท้ายอัตรา 40 ลิตรต่อไร่ด้วยสาร thiacloprid 24% SC อัตรา แนะนํา 6 มิลลิลิตรต่อไร่ พบว่าทุกกรรมวิธีมีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟข้าวเทียบเท่า กัน การพ่นด้วยคานหัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วยนอกจากลดอัตราน้าํ ได้ 50% และยังลดอัตราการใช้สาร ได้ 20%

Rice pesticide spraying requires high volume of water and is alabor-intensive and time-consuming process. To resolve this, the research team developed an airassisted boom sprayer. The wind is generated from a tractor power take-offthrough areduction gear and then to a fan with the blowing speed of 100 km/hr.This 6-metrewide air-assisted boom sprayer with 9 fan nozzles is mounted to a 34-horsepower tractor. This equipment has the spraying capacity of 21.3 rai/hr, the working capacity of 95%, and the fuel oil consumption rate of 0.37 l/rai. The efficacy test employing the colorimetric method was conducted during the seedling stage. A comparison between the developed equipment with the spray volumeof 20 l/rai and a boom sprayer widely used by farmerswith the spray volume of 40 l/rai, both employing a spray lance with the spray volume of 40 and 60 l/rai, was also performed.The findings showed that the developedboom sprayer produces the highest droplet density and that the spray deposition on rice plants isnot different from thatproduced by theother sprayers.In addition, itreduced spray losses to the ground and the spray drift deposition on the groundismerely 3 metresbeyond the targeted area. To evaluate the bio-efficacy of spraying techniques, the effect of the insecticide for rice thrips when treated with thiacloprid 24% SC- 6ml/rai (recommendation rate) and 4.8 ml/rai (20% reduced from recommendation rate) and the boom sprayer using the same insecticide (at the recommendation rate) and with the spray volume of 40l/raiwas carried out. The results indicated that allspray applicationsprovide similareffect for control of rice thrips. Also, the pesticide spraying employing the developed air-assisted boom sprayer helps reduce water use by 50% and chemical use by 20%.

คําสําคัญ : เครื่องพ่นแบบใช้ลมช่วย ข้าว อารักขาพืช

38

Keywords: Air assist boom sprayer, rice, plant protection 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 37

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

39

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 38


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 01 OPB-01

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 01 OPB-01

บทบาทของโมเลกุลในการยับยั้งระบบ type III secretion ของแบคทีเรียสาเหตุโรค ใบจุดนูนถั่วเหลือง

Roles of Molecules for Inhibiting Type III Secretion System of Xanthomonas citri pv. glycines Causing Bacterial Pustule of Soybean

เอกชัย ขวัญบัว และ ติยากร ฉัตรนภารัตน์

Ekkachai Khwanbua and Tiyakhon Chatnaparat

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

ระบบ type III secretion (T3SS) เป็นปัจจัยที่สําคัญในการก่อให้เกิดความรุนแรงโรคใน แบคทีเรียสาเหตุโรคพืชหลายชนิด การยับยั้งระบบ T3SS ของแบคทีเรียจึงเป็นกลยุทธ์ทางเลือกใน การพั ฒ นาสารเพื่ อ ควบคุ ม โรคที่ เ กิ ด จากแบคที เ รี ย แบคที เ รี ย สาเหตุ โ รคใบจุ ด นู น ถั่ ว เหลื อ ง Xanthomonas citri pv. glycines (Xcg) เป็นหนึ่งในแบคทีเรียสาเหตุโรคพืชที่มีความสําคัญในการ ก่อโรคในถั่วเหลือง การศึกษาในครั้งนี้จึงศึกษาบทบาทของ small molecules ในการยับยั้งระบบ T3SS ของแบคทีเรีย Xcg 12-2 จากการคัดเลือก small molecules จํานวน 9 ชนิด ที่มีรายงานว่า มีผลในการยับยั้งระบบ T3SS พบว่า trans-2-phenylcyclopropane-1-carboxylic acid (No.3) และ benzoic acid (No.6) สามารถยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา HR ของเชื้อ Xcg 12-2 และเมื่อ ตรวจสอบการแสดงออกของยีนในระบบ T3SS ด้วยวิธี quantitative reverse transcriptionpolymerase chain reaction (qRT-PCR) พบว่าการแสดงออกของยีนในระบบ T3SS ของ Xcg 122 มีการแสดงออกลดลงเมื่อเลี้ยงเชื้อร่วมกับ benzoic acid ที่ความเข้มข้น 200 μM แสดงให้เห็นว่า benzoic acid สามารถยับยั้งการแสดงออกของ T3SS แต่ในทางกลับกันพบว่า trans-2phenylcyclopropane-1-carboxylic acid สามารถกระตุ้นการแสดงออกของเชื้อ Xcg 12-2 ได้ เพิ่ ม มากขึ้ น และจากการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของสาร trans-2-phenylcyclopropane-1carboxylic acid และ benzoic acid ในควบคุมโรคใบจุดนูนถั่วเหลืองในสภาพเรือนทดลองพบว่า benzoic acid สามารถลดการเกิดโรคใบจุดนูนถั่วเหลืองที่เกิดจากเชื้อ Xcg 12-2 ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า small molecules ที่มีผลยับยั้งระบบ type III secretion systems ของแบคทีเรียสาเหตุโรคใบจุดนูนถั่วเหลือง ซึ่งสามารถใช้เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการ ควบคุมโรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรียต่อไป

Type III secretion systems (T3SSs) are major virulence factors in several gram negative bacterial plant pathogens. Recently, the inhibition of T3SS is regarded as an alternative strategy for the development of new agents for bacterial diseases control. Xanthomonas citri pv. glycines (Xcg) is one of the most important bacterial pathogens on soybean, which causes bacterial pustule disease. In this study, the roles of small molecule for inhibiting type III secretion of Xcg strain 12-2 were investigated. A total of 9 different small molecules were screened for their effects on the T3SS expression of Xcg 12-2. We found that trans-2-phenylcyclopropane-1carboxylic acid (No.3) and benzoic acid (No.6) were able to reduce the hypersensitive response (HR) caused by Xcg on non-host tobacco plants. The expression of T3SS genes of Xcg 12-2 were reduced in the Xcg cells treated with 200 μM benzoic acid when determined by quantitative reverse transcription-polymerase chain reaction (qRT-PCR) analysis, suggesting that expression of T3SS of Xcg 12-2 was suppressed by benzoic acid. However, the expression of T3SS genes of Xcg 12-2 was increased by trans-2-phenylcyclopropane-1-carboxylic acid. These benzoic acid and trans-2phenylcyclopropane-1-carboxylic acid were then tested for their abilities to control bacterial pustule on soybean. Benzoic acid was able to reduce the disease severity of bacterial pustule caused by Xcg 12-2. This study demonstrated the efficiency of T3SS inhibitor molecules to discover compounds that could be alternatively applied to control bacterial plant diseases.

คําสําคัญ : โรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคของถั่วเหลือง trans-2-phenylcyclopropane-1carboxylic acid กรดเบนโซอิก

40

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 39

Keywords: bacterial plant disease, diseases of soybean, trans-2-phenylcyclopropane1-carboxylic acid, benzoic acid

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

41

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 40


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 02 OPB-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 02 OPB-02

การศึกษาโปรติโอมิคส์ของมันสําปะหลังพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอต่อ โรคใบด่างมันสําปะหลัง

Proteomic of resistant and susceptible cassava verities to Cassava mosaic disease

สุกัญญา ฤกษ์วรรณ1 สิทธิรกั ษ์ รอยตระกูล2 นวลนภา เหมเนียม1 กิ่งกาญจน์ เสาร์คํา3 ศิริกาญจน์ หรรษาวัฒนกุล4 จุฑาทิพย์ ถวิลอําพันธ์1 และ วันวิสา ศิริวรรณ์1

Sukanya Roekwan1 Sittiruk Roytrakul2 Nuannapa Hemniam1 Kingkan Saokham3 Sirikan Hunsawattanakul4 Jutathip Thawinampan1 and Wanwisa Siriwan1

1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ปทุมธานี 12120 3 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140 4 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

2

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Thailand Science Park, Pathum Thani 12120 3 Center of Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Nakhon Pathom 73140 4 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

2

บทคัดย่อ

ABSTRACT

มันสําปะหลัง (Manihot esculenta Crantz) เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรตที่สําคัญ ในปัจจุบันได้ กลายเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะประเทศไทย กัมพูชาและเวียดนาม อย่างไรก็ตามการผลิตมันสําปะหลังได้ลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านจาก การระบาดของโรคใบด่างมันสําปะหลัง (CMD) ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) ซึ่งจัดอยู่ใน genus Begamoviruses และ family Geminiviridae SLCMV มีการ แพร่กระจายอย่างรุนแรงในกัมพูชา เวียดนามและไทย การระบาดของโรคซึ่งเกิดจากการติดเชื้อจาก ท่อนพันธุ์และมีแมลงหวี่ขาว Bemisia tabaci เป็นแมลงพาหะ ทําให้ผลผลิตลดลง 40-80 % ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับระยะการติดเชื้อของพืช การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบโปรตีนที่แสดงออก ในพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่างมันสําปะหลัง เพื่อทราบโปรตีนที่มีความจําเพาะในมัน สําปะหลังสายพันธุ์ต้านทาน ด้วยเทคนิคโปรตีโอมิกส์ ในการทดลองครั้งนี้เป็นการเปรียบเทียบรูปแบบ ของโปรตีนในมันสําปะหลังพันธุ์ TME3 ซึ่งเป็นพันธุ์ต้านทานและมันสําปะหลังพันธุ์การค้า เกษตรศาสตร์ 50 พบว่าโปรตีนที่พบเฉพาะมันสําปะหลังพันธุ์ TME3 มี 64 โปรตีน และ 58 โปรตีน พบเฉพาะมันสําปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ในขณะเดียวกันพบว่าโปรตีนของมันสําปะหลังพันธุ์ TME3 และ เกษตรศาสตร์ 50 มี 346 โปรตีนที่เหมือนกัน จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า รูปแบบ โปรตีนของพันธุ์มันสําปะหลังที่ต้านทานและอ่อนแอต่อโรคใบด่างมันสําปะหลังที่มีแตกต่างกันอาจจะ มีผลต่อความต้านทานต่อโรคใบด่างมันสําปะหลัง ข้อมูลพื้นฐานของรูปแบบโปรตีนที่ได้จากการศึกษา ครั้งนี้ นักปรับปรุงพันธุ์สามารถนําไปใช้เป็นเครื่องหมายพันธุกรรมในการคัดเลือกพันธุ์ต้านทานใน อนาคตได้

Cassava (Manihot esculenta Crantz) is an important source of carbohydrates. Today it has become one of the major crops in many countries of Southeast Asia. Especially, Thailand, Cambodia and Vietnam. However, the Southeast Asian cassava production has been rapidly decreased in this recent years which being affected by Cassava mosaic disease (CMD). Caused by the Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) which is classified to the Genus of Begamoviruses and family of Geminiviridae. SLCMV has been wildly spread in Cambodia, Vietnam and Thailand. Disease outbreak which is transmitted by cutting material and whitefly Bemisia tabaci as an insect vector. The yield losses due to CMD infection could affect to 40-80% depending on the infection stage of plant. The objective of study was to study the protein patterns expressed in resistant and susceptible varieties to cassava mosaic disease for understand of specific proteins in the resistance cassava varieties by proteomic techniques. In this experiment, the comparison of protein patterns in resistant variety (TME3) and commercial variety (Kasetsart 50). It was found that the unique protein found in TME3 and KU50 were 64 and 58 proteins. At the same time, the similarity protein of cassava TME3 and Kasetsart 50 were 346 proteins. The results show that differential protein patterns of cassava resistant and susceptible varieties maybe involve to the level of cassava mosaic disease resistance. For this proteomic information the breeders could apply them as genetic markers for select the resistance variety in the future.

คําสําคัญ : โปรติโอมิคส์ มันสําปะหลังพันธุ์ต้านทานและอ่อนแอ โรคใบด่างมันสําปะหลัง

Keywords: Proteomic, Resistance and commercial variety, Cassava mosaic disease

42

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 41

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

43

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 42


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 03 OPB-03

การศึกษาจีโนมเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่พบในประเทศไทย ธิติมา จินตกานนท์1,3 ไพเราะ ขวัญงาม2 จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์1,3 วิชัย โฆสิตรัตน1,2,3 และ สุจินต์ ภัทรภูวดล1,2,3 1

ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน จ.นครปฐม 73140 3 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษา และวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900 2

บทคัดย่อ โรคขอบใบแห้งของข้าว (Bacterial leaf blight of rice) เป็นโรคที่สร้างความเสียหายต่อ ผลผลิตข้าวทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โดยมีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (XOO) จากการรวบรวมเชื้อ XOO ในพื้นที่ปลูกข้าวจํานวน 11 จังหวัดของ ประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ถึงปี พ.ศ. 2561 และจัดกลุ่มปฏิกิริยาความรุนแรงของเชื้อ X. oryzae pv. oryzae จํานวน 114 ไอโซเลท บนข้าวสายพันธุ์คู่แฝดที่มียีนเดี่ยวที่ต้านทานโรคต่อโรค ขอบใบแห้งจากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ จํานวน 11 สายพันธุ์ สามารถจัดเชื้อ XOO ได้ 30 สาย พันธุ์ (pathotype) จากนั้นคัดเลือกตัวแทนเชื้อ XOO ในแต่ละ pathotype เพื่อเป็นตัวแทนของเชื้อ XOO ในประเทศไทยสําหรับนําไปวิเคราะห์จีโนม โดยนํามาสกัดดีเอ็นเอด้วยชุดสกัดสําเร็จรูป Presto™ Mini gDNA Bacteria Kit นําตัวอย่างจีโนมิกดีเอ็นเอที่สกัดได้ส่งไปวิเคราะห์จีโนมกับบริษัท Vishuo Biomedical (Thailand) Ltd. และ Novogene Leading Edge Genomic Service & Solution และวิเคราะห์จีโนมของเชื้อเปรียบเทียบกับข้อมูลจีโนม XOO สายพันธุ์ SK2-3 (XOO-SK23) ที่เป็นเชื้อจากประเทศไทยที่ได้ตีพิมพ์ไว้ในฐานข้อมูล National Center for Biotechnology Information (NCBI) มี NCBI accession number คือ NZ_CP019515 จากการวิเคราะห์จีโนม ตัวแทนของเชื้อทั้ง 30 pathotypes มีเปอร์เซ็นต์ลําดับนิวคลิโอไทด์ของจีโนมเหมือนกับเชื้อ XOOSK2-3 มากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ มีจํานวน Single-nucleotide variant ตั้งแต่ 2221 จนถึง 12019 ตําแหน่ง และ Insertion–deletions variation อยู่ระหว่าง 132-433 ตําแหน่ง โดยข้อมูลจีโนมของ เชื้อสายพันธุ์เหล่านี้สามารถนําไปพัฒนาเป็นเครื่องมือในการตรวจติดตามการระบาดของเชื้อในระดับ สายพันธุ์ (pathotype) และค้นหายีนต้านทานโรคที่สามารถควบคุมเชื้อนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 03 OPB-03

Whole genome sequencing of Thai Xanthomonas oryzae pv. oryzae Thitima Chintaganon1,3, Pairoh Khwanngam2, Jutatape Watcharachaiyakup1,3, Wichai Kositratana1,2,3 and Sujin Patarapuwadol1,2,3 1

Center for Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140 2 Department of plant Pathology, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140 3 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology: (AG-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900

ABSTRACT Bacterial leaf blight disease (BLB) caused by Xanthomonas oryzae pv. oryzae (XOO) is one of the most serious disease of rice production worldwide. A total of 114 isolates of XOO collected from 11 provinces from 2008 to 2018 in Thailand and race classification on the 11 near-isogenic rice lines with a Xa gene were classified into 30 pathotypes. 30 strains of XOO representing each pathotype were selected for whole genome sequencing. Genomic DNA of XOO was extracted using the Presto™ Mini gDNA Bacteria Kit. The genome sequence was determined with Illumina Hi Seq approach by Vishuo Biomedical (Thailand) Ltd. and Novogene Leading Edge Genomic Service & Solution. Reference genome of Thai’s XOO -SK2-3 which NCBI accession number is NZ_CP019515 was used for genome comparison. The result showed the representative of each pathotype have a genome mapping percentage of over 95 percent. Single-nucleotide variant (SNV) is between 2221 to 12019 and Insertion– deletions variation (indels) is between 132- 433. The genome data of this major XOO pathotypes will lead to the development of tools for real-time monitoring of XOO pathotypes and determining disease resistance genes for efficient control this disease. Keywords: Bacterial leaf blight disease, Xanthomonas oryzae pv. oryzae, Genome analysis

คําสําคัญ : โรคขอบใบแห้งของข้าว Xanthomonas oryzae pv. oryzae จีโนม

44

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 43

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

45

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 44


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 04 OPB-04

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 04 OPB-04

เชื้อ Phytophthora palmivora จากแหล่งปลูกทุเรียนที่สําคัญในประเทศไทยมีการ ต้านทานต่อสารกําจัดเชือ้ ราในอัตราสูง

High rates of fungicide resistance found in Phytophthora palmivora isolated from major durian cultivation areas in Thailand

อุมาพร ศิริวฒ ั นกุล1,2 สุภาวดี เพชรขจร3 และ วิษุวัต สงนวล3

Umaporn Siriwattanakul1,2 Supawadee Phetkhajone3 and Wisuwat Songnuan3

1

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 10400 2 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สํานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 10900 3 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร 10400

บทคัดย่อ โรครากเน่าโคนเน่าที่มีสาเหตุจากเชื้อ Phytophthora palmivora ก่อให้เกิดความเสียหาย แก่พืชเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น ทุเรียน ยางพารา และปาล์มน้ํามัน สามารถทําให้ต้นพืชตายได้อย่าง รวดเร็วโดยเฉพาะในเวลาที่ฝนตกชุกและความชื้นสูง การควบคุมโรคที่นิยมคือการใช้สารฆ่าเชื้อรา การใช้สารเคมีในปริมาณมากและเป็นระยะเวลานานส่งผลให้เชื้อราสามารถต้านทานต่อสารเคมีได้ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษาความสามารถในการต้านทานต่อสารฆ่าเชื้อราของเชื้อ P. palmivora ที่ก่อโรครากเน่าโคนเน่าในสวนทุเรียนที่สําคัญในประเทศไทย ในการศึกษานี้สํารวจและ แยกเชื้อ P. palmivora ก่อโรคจากสวนทุเรียนในจังหวัดนนทบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และชุมพร เพื่ อ นํ า มาทดสอบระดั บ ความต้ า นทานต่ อ สารฆ่ า เชื้ อ ราเมทาแลกซิ ล ฟอสฟอนิ ก แอซิ ก ฟอส อีทิลอะลูมินัม และเทอราคลอ ผลการศึกษาพบว่าที่ระดับความเข้มข้นแนะนํา (800 – 1,000 ppm) เชื้อราร้อยละ 98.34 ต้านทานต่อเมทาแลกซิล และเมื่อเพิ่มความเข้นข้นของเมทาแลกซิลให้สูงขึ้นก็ไม่ สามารถควบคุมเชื้อราที่มีความต้านทานต่อเมทาแลกซิลได้ นอกจากนี้เชื้อราร้อยละ 38.75 ต้านทาน ต่อฟอสฟอนิ กแอซิก เชื้อราร้อยละ 6.25 ต้านทานฟอสอีทิล อะลูมินัม และไม่มีเชื้อราที่สามารถ ต้านทานต่อเทอราคลอได้ และเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารฟอสฟอนิกแอซิก และฟอสอีทิลอะลูมินัม เป็นสองเท่าสามารถควบคุมเชื้อราได้ทั้งหมด สรุปได้ว่าความเข้าใจเกี่ยวกับการต้านทานสารฆ่าเชื้อรา Phytophthora เพื่อการเฝ้าระวังและการควบคุมการระบาดของเชื้อสายพันธุ์ที่มีความต้านทานสูง และลดความสูญเสียผลผลิตทุเรียน คําสําคัญ : ทุเรียน โรครากเน่าโคนเน่า สารฆ่าเชื้อรา เชื้อราไฟทอปธอรา

1

Department of Biotechnology, Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok 10400 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology: (AG-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900, Thailand 3 Department of Plant Science, Faculty of Science, Mahidol University, Bangkok 10400

2

ABSTRACT Rot disease caused by Phytophthora palmivora is an important problem in several economic crops, including durian, rubber tree, and oil palm. The outbreak of Phytophthora disease can quickly cause the death of trees, especially during rainy and high humidity condition. The most popular method to control Phytophthora infection is fungicide application. However, inappropriate application of fungicide e.g. high concentration, frequency, and long period may cause the development of resistant pathogen. Therefore, the purpose of this study was investigated the resistance to fungicides of P. palmivora caused durian rot diseases in major durian cultivation in Thailand. In this study, the sample of durian disease was surveyed and isolated P. palmivora from durian cultivation in Nonthaburi, Rayong, Chanthaburi, Trat and Chumphon. P. palmivora were investigated resistance level to various fungicides metalaxyl, phosphonic acid, fosethyl aluminum, and terraclor. The result showed that at recommended concentration of each fungicide (800 - 1,000 ppm), 98.34% of P. palmivora isolates resisted to metalaxyl. When increasing the concentration of metalaxyl, it cannot control the metalaxyl resistant isolates. In addition, 38.75% of P. palmivora isolates showed resistance to phosphoric acid, 6.25% resistance to fosethyl aluminum and there was no P. palmivora isolate that could resistance to terraclor. Moreover, when doubling the concentration of phosphoric acid and fosethyl aluminum, it can completely control all P. palmivora isolates. In conclusion, understanding of Phytophthora fungicide resistance leads to surveillance control of outbreaks of highly resistant isolates and reduce the loss of durian production. Keywords: durian, rot disease, fungicide, Phytophthora palmivora

46

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 45

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

47

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 46


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 05 OPB-05

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 05 OPB-05

ประสิทธิภาพของน้ําหมักเปลือกมังคุดต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคใบติดในทุเรียน

Efficacy of mangosteen pericarp bio-extract on Rhizoctonia solani causing leaf blight disease of durian

สุกัญญา บุญยงค์1 และ มณีรัตน์ คูหาพิทักษ์ธรรม2

Sukanya Boonyong1 and Maneerat Koohapitagtam2

1

สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาบูรพา บางแสน ชลบุรี 20131 2 สาชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี จันทบุรี 22170

บทคัดย่อ ทุเรียนเป็นพืชที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจในภาคตะวันออกของประเทศไทย งานวิจัยนี้มี จุดประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของน้ําหมักเปลือกมังคุดต่อการยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคใบติดในทุเรียน ในสภาพห้องปฏิบัติการ การทดสอบมีทั้งหมด 8 กรรมวิธี คือ ใช้น้ําหมักเปลือกมังคุดที่ความเข้มข้น 0.25, 0.50, 1.0, 2.0, 4.0, และ 5.0% v/v เปรียบเทียบกับสารเคมีกําจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ที่ความเข้มข้น 750 ppm และอาหาร Potato Dextrose Agar (PDA) ทําการทดสอบด้วยวิธี poisoned food technique ผลที่ได้พบว่าน้ําหมัก เปลือกมังคุดที่ความเข้มข้น 5% v/v สามารถยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา R. solani ได้ 100% เทียบเท่ากับการใช้สารเคมีกําจัดเชื้อราไพราโคลสโตรบิน ที่ความเข้มข้น 750 ppm คําสําคัญ : ประสิทธิภาพ น้ําหมักเปลือกมังคุด ทุเรียน โรคทุเรียน โรคใบติดของทุเรียน

1

Division of Biological Sciences, Faculty of Science, Burapha University, Bangsaen, Chon Buri 20131 Division of Agricultural Biotechnology, Faculty of Science and Arts, Burapha University, Chantaburi Campus, Chantaburi 22170

2

ABSTRACT Durian is economically important crop in the East of Thailand. The aim of this research was to study the efficiency of mangosteen pericarp bio-extract to inhibit mycelial growth of Rhizoctonia solani, a causal agent of leaf blight disease in durian in vitro. There were 8treatments including mangosteen pericarp bio-extract concentrated at 0.25, 0.50, 1.0, 2.0, 4.0, and 5.0% v/v compared to 750 ppm pyraclostrobin and Potato Dextrose Agar (PDA). The poisoned food technique was used to perform and the result clearly showed that mangosteen pericarp bio-extract concentrated at 5.0% v/v could inhibit mycelial growth of R. solon by 100% as well as 750 ppm pyraclostrobin. Keywords: efficacy, mangosteen pericarp bio-extract, durian, durian disease, leaf blight disease of durian

48

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 47

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

49

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 48


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 06 OPB-06

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPB - 06 OPB-06

ฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียของ Zinc Oxide Nanoparticles ในการยับยั้ง Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองของคะน้า

Antibacterial effect of Zinc Oxide Nanoparticles on Xanthomonas campestris pv. campestris, cause of black rot of Chinese kale

ศุภิสรา ศรีโพธิ์งาม สุพจน์ กาเซ็ม และ ติยากร ฉัตรนภารัตน์

Supisara Sripo-ngam Supot Kasem and Tiyakhon Chatnaparat

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

การต้านทานสารปฏิชีวนะและสารเคมีในแบคทีเรียสาเหตุโรคพืช เป็นปัญหาสําคัญที่นําไปสู่ การหาทางเลือกใหม่ในการควบคุมโรคพืช Zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) ซึ่งเป็นสารอนิ นทรีย์ที่จัดอยู่ในกลุ่ม generally recognized as safe (GRAS) ถูกนํามาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม ที่หลากหลายรวมทั้งการยับยั้งแบคทีเรีย ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของ ZnO NPs ในการควบคุมโรคขอบใบทองที่เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. campestris (Xcc) โดยศึกษาผลของพื้นที่ผิวสัมผัสของ ZnO NPs ต่อการควบคุมเชื้อ Xcc ทดสอบ ค่า Minimum Inhibitory Concentration (MIC) และ Minimum Bactericidal Concentration (MBC) เพื่อหาค่าความเข้มข้นต่ําสุดที่เหมาะสมในการยับยั้งแบคทีเรีย และตรวจสอบกลไกการยับยั้ง แบคทีเรียของ ZnO NPs ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ Epifluorescence รวมถึงผลต่อการแสดงออกของ ยีนที่เกี่ยวข้องกับการก่อโรค พบว่า ZnO NPs ที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมาก (46, 33 และ 52 m2/g) มี ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียมากกว่าอนุภาคที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสน้อย โดยมีค่า MIC และ MBC เท่ากับ 62.5, 125, 125 และ 2000, 4000, 4000 μg/ml ตามลําดับ แสดงให้เห็นว่า ความสามารถของ ZnO NPs ในการยับยั้ง Xcc ขึ้นอยู่กับพื้นที่ผิวสัมผัส และพบว่ากลไกของ ZnO NPs ในการยับยั้งแบคทีเรีย คือ 1) เซลล์เกิดความเสียหายทางกายภาพ และ 2) ส่งผลต่อยีนที่ เกี่ยวข้องกับการก่อโรค โดยลดการแสดงออกของยีน hrpB และ hrpF ซึ่งเป็นยีนที่เกี่ยวข้องกับ Type III secretion system จากนั้นนําข้อมูลที่ได้มากําหนดชนิดของ ZnO NPs และอัตราการใช้ที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงในอัตราที่ต่ํามาควบคุมโรคขอบใบทองของคะน้า เพื่อเป็นทางเลือก ใหม่ในการควบคุมโรคพืชแบบปลอดภัยต่อไป

Antibiotic and drug resistance of bacterial plant pathogens is the critical problems. This situation leading to the development of safety alternative strategies to control bacterial plant pathogens. Nanoparticles are an alternative ways to utilized in plant disease control. Zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs) is an inorganic compound and listed as a generally recognized as safe (GRAS) material are used in many applications. Thus, the aim of this study was to investigate the antibacterial activity of ZnO NPs against Xanthomonas campestris pv. campestris (Xcc), the causal agent of black rot disease of Brassica plants. The effect of surface area of ZnO NPs against Xcc will be determined. Minimum Inhibitory Concentration (MIC) and Minimum Bactericidal Concentration (MBC) values of ZnO NPs against Xcc will be investigated. The mechanism of ZnO NPs on the bacterial cells morphology will be observed under epifluorescence microscope. Then, the effect of ZnO NPs on the expression of pathogenicity genes will be analyzed by qRT-PCR analysis. The results showed that ZnO NPs with high surface area are more effective than low surface area. Their antibacterial activities of ZnO NPs with high surface area (46, 33 and 52 m2/g) against Xcc were indicated with MIC and MBC of 62.5, 125, 125 and 2000, 4000, 4000 μg/ml, respectively. These results suggested that the antibacterial activity of ZnO NPs against Xcc was dependent with surface area of the ZnO NPs. The antibacterial mechanism studies indicated that 1) physical injury occurred to the cell membrane and 2) ZnO NPs is reduced expression levels of T3SS representative genes, hrpB and hrpF of Xcc. The data will provide proper use and application of ZnO NPs to control black rot disease. Our studies expect that ZnO NPs could be good candidates for use as an alternative to chemical in plant disease control.

คําสําคัญ : นาโนซิงค์ออกไซด์ การยับยั้งแบคทีเรีย โรคขอบใบทองของคะน้า

Keywords: Zinc oxide nanoparticles (ZnO NPs), antibacterial activity, black rot of Chinese kale

50

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 49

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

51

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 50


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPA - 01 OPA-01

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPA - 01 OPA-01

ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็มในการส่งเสริมการเจริญเติบโตและ ควบคุมโรคสําคัญของคะน้า

Efficacy of Salt Tolerant Bacterial Strains for Enhance Plant Growth and Controlling Important Disease of Chinese Kale

พินิจ รืน่ ชาญ1 ปริยานุช จุลกะ2 อรอุมา เพียซ้าย1 และ สุพจน์ กาเซ็ม1*

Pinit Reunchan1 Pariyanuj Chulka2 Onuma piasai1 and Supot Kasem1

1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ 10900 2 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพ 10900 * agrsupot@ku.ac.th

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University Bang Khen, Bangkok 10900 1 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture, Kasetsart University Bang Khen, Bangkok 10900 *agrsupot@ku.ac.th

บทคัดย่อ

ABSTRACT

แบคทีเรียหลายชนิดที่มีแหล่งที่อยู่อาศัยในสภาวะกดดันรวมถึงสภาวะดินเค็มจะมีคุณสมบัติที่ ดีในการเจริญแข่งขันและผลิตสารออกฤทธิ์ชีวภาพหลายชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อพืช งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือกแบคทีเรียจากดินเค็มที่มีคุณสมบัติส่งเสริมการเจริญเติบโตและควบคุมโรค สําคัญของคะน้า แบคทีเรียจํานวน 23 จาก 43 ไอโซเลตที่แยกจากดินเค็มพื้นที่คุ้งบางกระเจ้าสามารถ เจริญบนอาหาร NB ผสม 10% NaCl (w/v) ได้ดี และมี ๓ ไอโซเลตแสดงกลไกการเจริญแข่งขัน (TK และ K3) และผลิตสารทุติยภูมิ (KN) ยับยั้งการเจริญของเชื้อโรคพืช 3 ชนิด คือ Xanthomonas campestris pv. campestris, Pectobacterium carotovorum subsp.carotovorum และ Alternaria brassicicola สาเหตุโรคขอบใบทอง เน่าเละ และใบจุดคะน้าตามลําดับ การทดสอบใน สภาพโรงเรือนพบว่ากรรมวิธีคลุกเมล็ดร่วมกับราดดิน 5 ครั้งด้วยแบคทีเรียไอโซเลต K3 สามารถ ส่งเสริมการเจริญเติบโตคะน้าได้ดีที่สุด รองลงมาคือ KN และ TK ซึ่งมีค่า growth parameter เท่ากับ 53.63, 50.00 และ 48.99 ตามลําดับ การคลุกเมล็ดร่วมกับราดดิน 3 ครั้งและพ่นใบ 3 ครั้ง ด้วยแบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลตสามารถลดความรุนแรงของโรคสําคัญของคะน้าได้ดีทัดเทียมกันและ ดีกว่าการใช้สารเคมี และแบคทีเรียทั้ง 3 ไอโซเลตสามารถตรึงไนโตรเจน ละลายฟอสฟอรัส และผลิต Indol-3 acetic acid (IAA) ในอาหารทดสอบได้ การศึกษาโดยวิธีการมาตรฐานและ 16S rDNA sequencing ระบุได้ว่าแบคทีเรียไอโซเลต TK เป็น Bacillus cereus ในขณะที่ไอโซเลต KN และ K3 เป็น B. amyloliquefaciens

Many bacterial strain living in pressure conditions including saline soil exhibited a good colonization and produce various benefit bioactive compounds for plant. The objective of this study is to screen bacterial strain from saline soil that have potential on plant growth promotion and control important disease of Chinese kale. The twenty three out of forty three bacterial isolates from saline soil collected from Bang Krachoa area could grow well in NB plus 10% NaCl (w/v). The three isolate showed mechanism as competitions (TK and K3) and secondary metabolites production (KN) to suppress growth of 3 plant pathogens, Xanthomonas campestris pv. campestris, Pectobacterium carotovorum subsp. carotovorum and Alternaria brassicicola, the causal of black rot, soft rot and leaf spot disease of Chinese kale, respectively. Under greenhouse experiment, seed treatment plus 5time soil drenching with bacteria isolate K3 was the most effective on plant growth promotion, follow by isolate KN and TK with growth parameter at 53.63, 50.00 and 48.99, respectively. Seed treatment together with 3 time soil drenching and 3 time foliar spray with each strain showed similar effective to reduced 3 diseases severity and better than chemical application. These three bacterial isolate were exhibited potential of N-fixation, phosphate solubilization, and Indol-3 acetic acid (IAA) production in tested medium. The standard methods and 16S rDNA sequencing identified isolate TK as Bacillus cereus whereas isolate KN and K3 as B. amyloliquefaciens.

คําสําคัญ : แบคทีเรียทนเค็ม โรคสําคัญของคะน้า กลไกการส่งเสริมการเจริญเติบโตพืช กลไกการ ควบคุมโรค

Keywords: salt tolerant bacteria, Disease of ChineseKale, plant growth promoting mechanism, disease control mechanism

52

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 51

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

53

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 52


การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครัชาติ 14 “ เกษตรแม่ า �ก้เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

OPA - 02 OPA-02

การจําแนกโรคขอบใบแห้งและใบไหม้ของข้าวโดยใช้การวิเคราะห์ภาพถ่าย เตชินท์ วรสิทธิ1์ ธีระ ภัทราพรนันท์2 ธีรยุทธ์ ตู้จินดา3 จินตนา อันอาตม์งาม1 วสิน สินธุภิญโญ2 กรรณทิพย์ กิรติรัตนพฤกษ์2 พิชญกาญจน์ เต็มนิรันรัตน์2 อภิชน กิจวิมลรัตน์2 ศิวดล เสถียรพัฒนากูล4 ดวงเพ็ญ เจตน์พิพัฒนพงษ์4 และ สุจินต์ ภัทรภูวดล1 1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปทุมธานี 12120 3 ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปทุมธานี 12120 4 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม 73140

การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครั ชาติ 14 “ เกษตรแม่ า ก้�เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งทีครั ่ 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

OPA - 02 OPA-02

Identification of rice bacterial blight and rice blast Using Image Processing Techniques Teaychin Worasit1 Teera Phatrapornnant2 Theerayut Toojinda3 Jintana Unartngam1 Wasin Sinthupinyo2 Kantip Kiratiratanapruk2 Pitchayagan Temniranrat2 Apichon Kitvimonrat2 Siwadol Sateanpattanakul4 Duangpen Jetpipattanapong4 and Sujin Patarapuwadol1

2

บทคัดย่อ ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย ที่มีพื้นที่เพาะปลูกมากกว่า 50 ล้านไร่ การแพร่ระบาด ของโรคพื ช ทํ า ให้ คุ ณ ภาพและผลผลิ ต ข้ า วลดลง เช่ น โรคขอบใบแห้ ง มี ส าเหตุ จ ากแบคที เ รี ย Xanthomonas oryzae pv. oryzae เข้าทําลายข้าวได้ตั้งแต่ระยะกล้าจนถึงระยะออกรวง ทําให้ผล ผลิตลดลงถึงร้อยละ 50 และโรคไหม้ที่เกิดจากรา Pyricularia oryzae ทําให้ผลผลิตลดลงตั้งแต่ร้อยละ 0.4-100 การเข้าถึงแหล่งข้อมูลเพื่อวินิจฉัยโรคให้ถูกต้องเพื่อนํามาสู่การป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคพืช ได้อย่างรวดเร็วยังมีข้อจํากัดหลายประการ จึงนําเทคโนโลยีที่พัฒนาจากเทคนิคการประมวลผลเชิงภาพ (Image Processing Techniques) โดยใช้ภาพถ่ายลักษณะอาการโรคมาประยุกต์ในการวินิจฉัยโรคข้าว ให้ถูกต้องและรวดเร็ว แต่เทคโนโลยีนี้จําเป็นต้องอาศัยภาพอาการของโรคจํานวนมากเพื่อการวินิจฉัยโรค ที่แม่นยํา งานวิจัยนี้จึงพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันเพื่อถ่ายภาพโรคข้าวและจัดทําฐานข้อมูลเก็บรวบรวม ภาพถ่ายอาการโรคข้าว โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านโรคพืชเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องของภาพถ่าย แล้วใช้ ภาพถ่ายเป็นสื่อในกระบวนการเรียนรู้ของระบบปัญญาประดิษฐ์ (Machine Learning) ในการ วินิจฉัยโรคข้าว งานวิจัยนี้ได้พัฒนาต้นแบบจากภาพถ่ายอาการโรคข้าว ได้แก่ โรคไหม้และขอบใบแห้ง จํานวน 5,000 ภาพต่อโรค โดยระบุตําแหน่งของอาการโรคในภาพร่วมกับเทคนิค Faster RCNN (Faster-Region based Convolutional Neural Network ) จากการทดสอบการระบุตําแหน่งอาการ โรคในภาพพร้อมกับจําแนกชนิดโรค พบว่าระบบสามารถจําแนกโรคทั้งสองด้วยค่าความแม่นยําร้อยละ 99 เทคนิคดังกล่าวจึงสามารถนํามาพัฒนาวิธีการวินิจฉัยโรคข้าวชนิดอื่นด้วยภาพและพัฒนาโมบายแอ พลิเคชันเพื่อการวินิจฉัยโรคข้าวด้วยภาพต่อไป

คําสําคัญ : โรคขอบใบแห้งของข้าว โรคไหม้ของข้าว การวินิจฉัยโรคข้าวด้วยใช้การวิเคราะห์ภาพถ่าย Machine Learning Mobile application

54

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 53

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture Kamphaengsaen, Kasetsart University Kamphaengsaen Campus, Nakhon Pathom 73140 2 National Electronics and Computer Technology Center, National Science and Technology Development Agency, Pathum Thani 12120 3 National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, National Science and Technology Development Agency, Pathum Thani 12120 4 Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering Kamphaengsaen, Kasetsart University Kamphaengsaen Campus, Nakhon Pathom 73140

Abstract Rice is the main economic crop of Thailand with more than 50 million hectares of rice growing areas. Plant diseases epidemic is one of the factor that decrease its quality and yield. For instance, Bacterial Blight disease caused by Xanthomonas oryzae pv. oryzae which can destroy the rice from the seedlings period to the rice grains period, the yield can be reduced up to 50 percent while the Rice Blast disease caused by Pyricularia oryzae caused yield loss from 0.4-100 percent. Rapid and accurate rice diseases diagnosis that leading to prevent and protect of plant diseases stills have many limitations. Therefore, the technology which developed from the Image Processing Technique is applied to diagnose the rice diseases through images of the diseases symptoms. However to obtain a large number of disease images and the high level of diagnostic accuracy, we developed the mobile application for plant diseases image collecting and develop rice disease image bank. Disease images will be approved by plant pathologists and images will be used in Machine Learning Process for plant diseases diagnosis. This research has develop the prototype by using 5,000 pictures of Bacterial Blight disease and Rice Blast disease each in training by specify the areas of disease in the picture and using Faster RCNN (Faster-Region based Convolutional Neural Network) in the classification. The result shows that Fast RCNN can be used to diagnostic both of diseases at the 99 percent accuracy. Thus, this technique can be used with other rice diseases and leading to develop mobile application for rice diseases diagnosis based on image processing in the near future.

Keywords: Bacterial blight, Rice blast, Image Processing Techniques, Machine Learning, Mobile application 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

55

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 54


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPA - 03 OPA-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OPA - 03 OPA-03

การควบคุมโรคใบขาวแบบบูรณาการในพื้นที่ปลูกอ้อย บริษัท น้ําตาลมิตรลาว จํากัด (สปป.ลาว)

Integration control of white leaf disease in sugarcane area of Mitr Lao Co., Ltd.

พีรญา กลมสอาด1 มานุวัตร ตินตะรสาละ ณ ราขสีมา1 เริ่มพงษ์ คลังภูเขียว2 วรินทร จารย์คูณ1 วิฑูรย์ บุญเกิด1 ยิ่งยศ ตันสมรส1 ประพัฒน์ พันปี1 ปรัขญา สว่างมณีเจริญ1 สิริวรรณ โคตรโสภา1 และ Laurent Soulard1

Peeraya Klomsa-ard1 Manuwat Tintarasara na ratchaseema1 Rermpong Clangpukeao2 Varinthon Jarnkoon1 Witoon Boonkerd1 Yingyos Tonsomros1 Prapat Punpee1 Pratchya Swangmaneecharern1 Siriwan Kodsopa1 and Laurent Soulard1

1

บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด 399 ม. 1 ถ.ชุมแพ-ภูเขียว ต.โคกสะอาด อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ 36110 2 บริษัท น้ําตาลมิตรลาว จํากัด เลขที่ 111 หน่วยที่ 10 บ้านแก้งแฮด เมืองไซบูลี แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

บทคัดย่อ พื้นที่ปลูกอ้อย บ.มิตรลาว ได้รับความเสียหายจากการระบาดของโรคใบขาว เป็นระยะเวลา มากกว่า 10 ปี พบโรคใบขาวเฉลี่ยในอ้อยปลูก 5-15% และในอ้อยตอ 15-50% โดยเฉพาะในอ้อยตอ ไม่สามารถไว้ตอได้ สร้างความเสียหายเป็นมูลค่า 90-100 ล้านบาทต่อปี บ.มิตรผลวิจัยพัฒนาอ้อย และน้ําตาล จํากัด ร่วมกับ บ.น้ําตาลมิตรลาว จํากัด ได้จัดทําโครงการการควบคุมโรคใบขาวแบบ บูรณาการในพื้นที่มิตรลาว ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมการระบาดของโรคใบขาว โดยนําเทคโนโลยี การควบคุมโรคใบขาวร่วมกับระบบการจัดการแปลง เริ่มตั้งแต่ การควบคุมโรคที่ติดมากับท่อนพันธุ์ อ้อย, การควบคุมแมลงพาหะโดยใช้วิธีกล, การอบรมให้ความรู้แก่ชาวไร่ ให้มีความรู้ในการป้องกัน และกําจัดโรคใบขาว และการติดตามเฝ้าระวังการระบาดของโรคใบขาว จากการดําเนินกิจกรรมการควบคุมโรคใบขาวข้างต้น ทําให้ลดการแพร่กระจายของเชื้อจาก ท่อนพันธุ์ในพื้นที่ และลดประชากรแมลงพาหะได้มากกว่า 50%, ชาวไร่มีความรู้ความเข้าใจในการ ป้องกันและกําจัดโรคใบขาว, การติดตามเฝ้าระวังการระบาด โดยจัดทําแผนที่การระบาด สามารถ ควบคุมการระบาดได้ทันเวลา ส่งผลให้ภาพรวมการระบาดลดลง พบโรคใบขาวเฉลี่ยในอ้อยปลูก 12% และอ้อยตอ 3-4% เพิ่มการไว้ตอได้มากกว่า 50% ของพื้นที่ ผลผลิตในอ้อยเพิ่มสูงขึ้นเฉลี่ย 1-2 ตันต่อไร่ คิดเป็นมูลค่าที่เพิ่มขึ้น 300 ล้านบาทต่อปี คําสําคัญ : โรคใบขาว การควบคุมแบบบูรณาการ มิตรลาว

1

Mitrphol Sugar Cane Research Center Co., Ltd. 399 Moo 1 Chumpae-Phukieo Road, Khoksa-at, Phukieo, Chaiyaphum 36110 Thailand 2 Mitr Lao Sugar Co., Ltd.111 Unit 10, Kenghet Village, Xaiburi District, Savannakhet Provice, Lao PDR.

ABSTRACT The outbreak of white leaf disease was found in 5-15 % and 15-50 % in planting cane and ratoon cane respectively in sugarcane planting area of Mitr Lao Co., Ltd more than 10 years. Especially with ratoon cane, over 90-100 million baht has been correspondent for the losses each year due to this disease. The cooperation between Mitr Phol Sugarcane Research Center Co., Ltd and Mitr Lao Co., Ltd. The Integration control of white leaf disease project was cooperation between Mitr Phol Sugarcane Research Center Co., Ltd and Mitr Lao Co., Ltd for control outbreak of white leaf disease by used integrated technology including cleaning seed cane, control insect vector, survey/training of sugarcane farmer and monitoring or control epidemic of disease. All of the activities used control white leaf disease were reducing the pathogen from seed cane, reducing insect vector more than 50%, the sugarcane famer have a better understanding of the prevention/elimination, monitoring of white leaf disease and makes epidemic mapping. The perspective outbreak of white leaf disease was reducing in 1-2% of planting cane and 3-4% of ratoon cane, increase the sugarcane stumps more than 50%, and increased total yield around 1-2 ton per rai, over 300 million baht per year has been representing an increase in value. Keywords: white leaf disease, Integration control, Mitr Lao

56

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 55

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

57

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 56


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWB - 01 OWB-01

ชีววิทยาของ Asystasia gangetica (L.) T. Anderson วัชพืชที่สําคัญของประเทศไทย จรัญญา ปิน่ สุภา วิไล อินทรเจริญสุข อุษณีย์ จินดากุล เทอดพงษ์ มหาวงศ์ ธัญชนก จงรักไทย และ เอกรัตน์ ธนูทอง

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWB - 01 OWB-01

Biology of Asystasia gangetica (L.) T. Anderson the important weed of Thailand Jarunya Pinsupa Vilai Intarajaroensuk Aussanee Chindakul Terdphong Mahawong Tanchanok Jongrukthai and Akekart Tanutong

กลุ่มวิจัยวัชพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพมหานคร 10900

Weed Science Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 Thailand

บทคัดย่อ

ABSTRACT

วัชพืช Asystasia gangetica (L.) T. Anderson หรือมีชื่อไทยเรียกว่า บาหยา เป็นวัชพืชที่ สําคัญใน ยางพารา ปาล์มน้ํามัน สับปะรด และไม้ผล เป็นต้น การศึกษาข้อมูลทางชีววิทยาจะเป็น ข้อมูลพื้นฐานสําคัญในการหาแนวทางการควบคุมและป้องกันกําจัดที่เหมาะสมในพื้นที่ทําการเกษตร ต่อไป ดําเนินการทดลอง ในเรือนทดลองและห้องปฏิบัติการ กลุ่มวิจัยวัชพืช ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2559 - ตุลาคม พ.ศ. 2561 การศึกษาชีววิทยาของต้น บาหยา (Asystasia gangetica (L.) T. Anderson) ประกอบด้วย การศึกษาวงจรชีวิต การเจริญเติบโต การขยายพันธุ์ ศักยภาพการผลิต เมล็ด และอิทธิพลของระยะเวลาต่อการงอกของเมล็ด ผลการศึกษา พบว่า บาหยา เป็นวัชพืชอายุ ข้ามปี สามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งเมล็ดและลําต้น หลังจากเมล็ดงอกประมาณ 1 สัปดาห์ มีใบจริงเป็นใบ เดี่ยวออกตรงข้าม และมีการเจริญเติบโตทางด้านใบและลําต้นอย่างรวดเร็ว สร้างเมล็ดที่ระยะ 7 สัปดาห์หลังงอก และหลังจากดอกบาน 2-3 สัปดาห์ เมล็ดสุกแก่ และในช่วง 15 สัปดาห์หลังงอก ต้นบาหยาติดผลมากที่สุด จากนั้นในช่วง 19 สัปดาห์หลังงอก การเจริญเติบโตลดลงทั้งทางด้านลําต้น ใบ การสร้างผลและเมล็ดลดลง การขยายพันธุ์ ด้วยเมล็ด พบว่า เมล็ดอยู่บนผิวดิน มีเปอร์เซ็นต์ความ งอกสูงถึง 92.8 เปอร์เซ็นต์ หากเมล็ดอยู่ในระดับความลึกของดิน 15 เซนติเมตร เมล็ดไม่สามารถงอก ได้ เช่นเดียวกับส่วนของลําต้น

Asystasia gangetica (L.) T. Anderson (common name in Thai “Baya”) is one of the potential weeds in Thailand. This weed plays pivotal problems on rubbers, oilpalms, pineapples, and fruit crops across the country. The study of its biology is mandatory, since understanding the basic information leads to suitable prevention as well as effectiveness in control management on agricultural areas in the long run. The study was implemented in both a green house and a laboratory of the Weed Science group from October 2017 – October 2018. The biological study of A. gangetica included the observation of life cycles, plant growths, propagations, seed productions, and effect of times on seed emergences. The results showed that A. gangetica is a perennial weed and can propagate by both seeds and stems. One week after seed germination, the plant had first opposite true leaves, after that the vegetative growth grew very rapidly. The seeds were produced at 7 weeks after seed germination and developed to mature seeds at 2-3 weeks after blooming. Maximum fruits of A. gangetica were obtained 15 weeks after seed germination. Subsequently at 19 weeks after seed germination, the vegetative growth diminished as well as fruits and seeds. For seeds propagation, the study showed that the seeds on the surface soil provided high germination up to 92.8 percent. Neither seeds nor stems were able to germinate at 15 cm. deep in the soil.

คําสําคัญ : ชีววิทยา บาหยา

Keywords: Biology, Asystasia gangetica (L.) T. Anderson

58

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 57

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

59

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 58


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWB - 02 OWB-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Effect of Nicosulfuron to Pre-commercial Field Corn Hybrids and Inbred Lines

ผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอนต่อข้าวโพดลูกผสมก่อนการค้าและสายพันธุ์แท้ สดใส ช่างสลัก1 สราวุธ รุ่งเมฆารัตน์2 ประกายรัตน์ โภคาเดช1 และ รังสิต สุวรรณมรรคา2

Sodsai Changsaluk1 Sarawut Rungmekharat2 Prakayrat Phocadate1 and Rungsit Suwanmonkha2

1

ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30320 2 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร 10900

บทคัดย่อ สารนิโคซัลฟูรอนสามารถควบคุมวัชพืชได้ดีแต่มีผลกระทบต่อผลผลิตในข้าวโพดไร่บางพันธุ์ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอน (nicosulfuron 6% W/V OD) ต่อผลผลิตของข้าวโพดไร่ลูกผสมพันธุ์ก่อนการค้าและสายพันธุ์แท้ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ แปลงทดลองไร่สุวรรณ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ดําเนินการระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงพฤศจิกายน พ.ศ.2561 วางแผนการทดลองแบบ RCB มี 2 ซ้ํา จํานวนทรีทเม้นท์ 40 พันธุ์ก่อนการค้า และ 34 สายพันธุ์แท้ ตามลําดับ โดยพ่นนิโคซัลฟูรอนร่วมกับอาทราซีน อัตรา 160+300 กรัม/ไร่ เมื่อข้าวโพด อายุ 3 สัปดาห์หลังปลูก พบว่ามีวัชพืชที่ขึ้นมากในแปลงได้แก่ แห้วหมู (Cyperus rotundus L.) หญ้าโขย่ง (Rottboellia cochinchinensis L.), ผักยาง (Euphorbia heterophylla L.) และผัก ปลาบ (Commelina benghalensis L.) สารนิโคซัลฟูรอนมีประสิทธิภาพควบคุมวัชพืชได้ระดับดี มาก ตั้ ง แต่ 94–96 เปอร์ เ ซ็ น ต์ และไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ ผลผลิ ต ของพั น ธุ์ ก่ อ นการค้ า KSX5819 KSX5908 KSX5911 KSX5916 KSX5918 KSX6009 KSX6010 KSX6011 KSX6013 KSX6017 KSX6019 KSX6020 KSX3021 KSX3022 KSX6104 KSX6105 KSX6106 KSX6107 KSX9108 KSX6110 KSX6112 KSX6113 KSX9919 KSX339 KSX7328 และ KSX4452 ซึ่งให้ผลผลิตระหว่าง 1,202 – 2,134 กิโลกรัมต่อไร่ และสายพันธุ์แท้ Ki47 Kei1710 Kei1712 Kei1713 Kei1714 Kei1716 Kei1717 Kei1719 Kei1720 Kei1721 Kei1722 Kei1723 Kei1801 Kei1702 Kei1803 Kei1804 Kei1805 Kei1806 และ Tzi6 ซึ่งให้ผลผลิตระหว่าง 248-1,039 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ทําให้ ผลผลิตของพันธุ์ก่อนการค้า KSX5731 ต่ําสุด 305 กิโลกรัมต่อไร่ โดยทําให้ต้นข้าวโพดเสียหายสูงถึง 83.3 เปอร์เซ็นต์ และทําให้สายพันธุ์แท้ Ki27 และ Ki57 มีต้นเสียหาย 100 เปอร์เซ็นต์ ไม่มีผลผลิต ส่วนสายพันธุ์แท้ Ki48 Ki59 Kei314 Kei420 Kei421 Kei1519 Kei1608 Kei1711 Kei1715 มีต้น เสียหายสูง ตั้งแต่ 50-83.3 เปอร์เซ็นต์ คําสําคัญ : สารนิโคซัลฟูรอน การกําจัดวัชพืช ข้าวโพดไร่ พันธุ์ก่อนการค้า สายพันธุ์แท้

OWB - 02 OWB-02

1

National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Klangdong, Pakchong, Nakhon Ratchasima 30320 2 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

ABSTRACT The nicosulfuron was gave good control weed, but its effects to some corn hybrids. The objective was to study on the efficiency of nicosulfuron (6% W/V OD) applied as mixed with atrazine (90% WG) 160+300 g/rai, to control weed and its effects on yield of 40 pre-commercial hybrids cultivar and 34 inbred lines were employed in this experiment. The trial was laid out in RCBD, composed of 2 replications, 40 and 34 treatments, during July – November 2018 on Suwan Farm, Pak Chong district, Nakhon Ratchasima province. The results revealed that purple nutsedge (Cyperus rotundus L.), Itchgrass (Rottboellia cochinchinensis Lour.), wild poinsettia (Euphorbia heterophylla L.) and tropical spiderwort (Commelina benghalensis L.) were major weeds in the field. The application of nicosulfuron show very high efficiency on weed control, 94-96%, which was not affected to grain yield of pre-commercial hybrids cultivar; KSX5819, KSX5908, KSX5911, KSX5916, KSX5918, KSX6009, KSX6010, KSX6011, KSX6013, KSX6017, KSX6019, KSX6020, KSX3021, KSX3022, KSX6104, KSX6105, KSX6106, KSX6107, KSX9108, KSX6110, KSX6112, KSX6113, KSX9919, KSX339, KSX7328, KSX4452. They gave grain yield in the range of 1,202–2,134 kg/rai, and it was not effect to inbred lines; Ki47, Kei1710, Kei1712, Kei1713, Kei1714, Kei1716, Kei1717, Kei1719, Kei1720, Kei1721, Kei1722, Kei1723, Kei1801, Kei1702, Kei1803, Kei1804, Kei1805, Kei1806 and Tzi6 of yield during 2481,039 kg/rai, but its effected to KSX5731 which gave the lowest yield of 305 kg/rai, and high plant injury of 83.3%, while Ki27 and Ki57 had no yield and gave plant injury of 100%. Ki48, Ki59, Kei314, Kei420, Kei421, Kei1519, Kei1608, Kei1711 and Kei1715 gave high plant injury in the range of 50-83.3%. Keywords: Nicosulfuron, Weed Control, Field corn, Pre-commercial, Inbred lines

60

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 59

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

61

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 60


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 01 OWA-01

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 01 OWA-01

การจัดการวัชพืชแบบผสมผสานในไร่อ้อย

Integrated Weeds Management in Sugarcane

ปรัชญา เอกฐิน ยุรวรรณ อนันตนมณี และ จรรยา มณีโชติ

Pruchya Ekkathin Yurawan Anantanamanee and Chanya Maneechote

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development office, Department of Agriculture Chatuchak Bangkok 10900

บทคัดย่อ

Abstract

อ้อยเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทยมีพื้นที่รวม 1.6 ล้านไร่ วัชพืชทําให้ผลผลิอ้อย เสียหาย 10-75% ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระบาด แม้ว่าการใช้สารกําจัดวัชพืชปัจจุบันใช้กัน อย่างแพร่หลายในประเทศไทยแต่การเลือกชนิดของสารที่ไม่ตรงกับชนิดของวัชพืชหรือสารบางชนิดที่ ใช้มาเป็นเวลานาน เช่น อะทราซีนและอามีทรีนทําให้การควบคุมวัชพืชไม่ดีในหลายพื้นที่ การศึกษา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้วิธีจัดการวัชพืชแบบผสานที่มีประสิทธิภาพและลดต้นทุน โดยแบ่งเป็น 2 การทดลอง 1 ทดสอบสารกําจัดวัชพืชคู่ผสมในอ้อย วางแผนแบบ RCB 4 ซ้ํา 16 วิธี และ การทดลอง 2 การจั ด การวั ช พื ช แบบผสมผสานเที ย บกั บ วิ ธี กํ า จั ด วั ช พื ช ของเกษตรกรทํ า การทดลองใน จ. สุพรรณบุรี และกาญจนบุรี ผลการทดลอง พบว่า สารคูผ่ สม indaziflam+sulfentrazone อัตรา 12+150 g ai/ไร่ ควบคุมวัชพืชได้ดีที่ 90-120 วัน หลังพ่นสาร จึงนํามาใช้ร่วมกับการจัดการวัชพืช แบบผสมผสานในไร่อ้อยในการทดลองที่ 2 เปรียบเทียบกับวิธีการกําจัดวัชพืชของเกษตรกรและ ต้นทุนในการกําจัดวัชพืช พบว่า การใช้สารคู่ผสม indaziflam+sulfentrazone ร่วมกับวิธีการใช้รถ พรวนระหว่างร่องอ้อยที่ 3 เดือนหลังปลูกอ้อยและพ่นสาร paraquat ที่ 4 เดือนหลังปลูกอ้อยมี ประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืช ได้ดีอีกทั้งยังมีต้นทุนในการกําจัดวัชพืชต่อไร่เพียง 815 บาท ซึ่งวิธี เกษตรกรมีต้นทุน 1420 บาท ดังนั้นการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานที่ดีและมีประสิทธิภาพ จึงจะ เป็นวิธีการที่ดีในการผลิตอ้อย

Sugarcane is one of major economic crops in Thailand with total area of 1.6 m ha. Annually, weed infestations cause yield loss in sugarcane by 10-75% depending on the severity of infestation. To date, pre-emergence herbicide application becomes widely used in Thailand, however, old herbicides i.e. atrazine and ametryn gave poor weed control in many areas. The objectives of this study (i) aimed to find a combination of herbicides showing more effective control under field conditions and (ii) integrated with mechanical and cultural practices in farmers’ field. Experiments have sixteen treatments with four replicates were arranged in RCB The results showed that indaziflam+sulfentrazone at the rate of 12+150 g ai/rai, gave an excellent weed control for 90-120 days. Secondly, indaziflam+sulfentrazone treatments were separately integrated with mechanical methods and paraquat at 4 mounts after planted in one farmer’s field and It was confirmed effective than framer practice In addition, The cost of weeds control is only 815 baht/rai and farmers practices have a cost of 1,420 baht/rai Hence, effective herbicides together with mechanic control would be appropriated method for sugarcane production

คําสำคัญ : การจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน สารกําจัดวัชพืช อ้อย ต้นทุนในการกําจัดวัชพืช

Keywords: integrated weed management, herbicide, sugarcane, cost for weed management, imazapic

62

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 61

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

63

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 62


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 02 OWA-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Comparison of PRE herbicides effect on the growth and crop injury of sweet corn

การเปรียบเทียบผลกระทบของสารป้องกันกําจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีต่อการ เจริญเติบโตและความเสียหายของข้าวโพดหวาน 1

OWA - 02 OWA-02

Praiwan Kittisukprasrert1 and Apirat Bundit1*

1*

ไพรวรรณ กิตติสุขประเสริฐ และ อภิรัฐ บัณฑิต

1 1

ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 *Corresponding author: apirat.b@cmu.ac.th

บทคัดย่อ สารป้องกันกําจัดวัชพืชแบบก่อนงอกที่มีประสิทธิภาพเป็นองค์ประกอบสําคัญของการจัดการ วัชพืชแบบผสมผสานในข้าวโพดหวาน ซึ่งสารแต่ละชนิดจะมีประสิทธิภาพแตกต่างกัน ดังนั้น จึง วางแผนการทดลองแบบ CRD เพื่อพิจารณาการตอบสนองของข้าวโพดหวานต่อการใช้สารป้องกัน กําจัดวัชพืชแบบก่อนงอก และประสิทธิภาพการป้องกันกําจัดวัชพืชของ สาร atrazine อัตรา 270 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร diclosulam อัตรา 12.6 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร indaziflam อัตรา 10 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide อัตรา 9.6 + 9.6 กรัมสาร ออกฤทธิ์ต่อไร่, สาร pendimethalin อัตรา 198 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ และสาร sulfentrazone อัตรา 115 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ ผลการทดลองพบว่า สารป้องกันกําจัดวัชพืชแบบก่อนงอกส่วน ใหญ่ส่งผลกระทบต่อ การงอก น้าหนักแห้ง และความเป็นพิษ ของต้นกล้าข้าวโพดหวานไม่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสําคัญที่ 14 วันหลังการใช้สาร ยกเว้นการใช้สาร diclosulam และสาร sulfentrazone มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตและมีความเป็นพิษมากกว่า นอกจากนี้ การศึกษาประสิทธิภาพการป้องกัน กําจัดวัชพืชที่ 14 วันหลังการใช้สาร พบว่า จํานวนและน้ําหนักแห้งของวัชพืชไม่มีความแตกต่างกัน ทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับการกําจัดวัชพืชด้วยมือ ดังนั้น ผลการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า สาร ป้องกันกําจัดวัชพืชแบบก่อนงอกทุกชนิดสามารถควบคุมวัชพืชได้ไม่แตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบกับ กรรมวิธีควบคุม อย่างไรก็ตาม การใช้สาร diclosulam และสาร sulfentrazone มีผลเสียหายต่อ ข้ า วโพดหวานมากกว่ า ดั ง นั้ น การใช้ ส าร atrazine, สาร indaziflam, สาร isoxaflutole/cyprosulfamide และสาร pendimethalin จึงมีศักยภาพที่เหมาะสมในการป้องกัน กําจัดวัชพืชสําหรับข้าวโพดหวาน

Department of Plant and Soil Sciences, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200 * Corresponding author: apirat.b@cmu.ac.th

ABSTRACT Effective pre-emergence (PRE) herbicides are key components of integrated weed management in sweet corn, each herbicides are vary in their efficiency. Thus, the experiment was laid out as a completely randomized design (CRD) to determine the sensitivity of sweet corn to the PRE applied and weed control efficacy of atrazine at 270 g a.i./rai, diclosulam at 12.6 g a.i./rai, indaziflam at 10 g a.i./rai, isoxaflutole/cyprosulfamide at 9.6 + 9.6 g a.i./rai, pendimethalin at 198 g a.i./rai and sulfentrazone at 115 g a.i./rai. The results showed that, most PRE applied were not significant different on germination, dry weight and phytotoxic of sweet corn seedlings at 14 days after application (DAA), except for the application of diclosulam and sulfentrazone had an inhibitory effects on the growth and more toxicity. In addition, the weed control efficacy at 14 DAA was investigated. It was found that, the number and dry weight of weeds were not significant when compared with hand weeding. Therefore, the results of this study indicate that weeds can be controlled with all PRE herbicides application when compared with those control treatments. However, diclosulam and sulfentrazone applied PRE were more injurious to sweet corn. Therefore, the application of atrazine, indaziflam, isoxaflutole/cyprosulfamide and pendimethalin are potential for weed control in sweet corn. Keywords: crop injury, efficiency, PRE herbicides, sweet corn, weed control efficacy

คําสําคัญ : ความเสียหายของพืชปลูก ความมีประสิทธิภาพ สารป้องกันกําจัดวัชพืชแบบก่อนงอก ข้าวโพดหวาน ประสิทธิภาพการป้องกันกําจัดวัชพืช

64

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 63

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

65

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 64


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 03 OWA-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 03 OWA-03

ประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารกําจัดวัชพืช ประเภทใช้กอ่ นวัชพืชงอก เพื่อกําจัดวัชพืชในสวนมะม่วง

Efficacy of Glyphosate and Pre-emergence Herbicides Tank Mixed for Broad Spectrum Weed Control in Mangoes Plantation

ภัทร์พิชชา รุจริ ะพงศ์ชัย และ คมสัน นครศรี

Phatphitcha Rujirapongchai and Komson Nakonsri

กลุ่มวิจัยวัชพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Weed Science Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ ปัญหาการจัดการวัชพืชในพื้นที่ปลูกมะม่วงขนาดใหญ่ โดยเฉพาะการผลิตมะม่วงในฤดูฝน คือ การงอกใหม่ของวัชพืชอย่างรวดเร็ว ทําให้เกิดการจัดการวัชพืชหลายครั้ง เกษตรกรจะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการจัดการวัชพืชเพิ่มขึ้น เป็นการสิ้นเปลือง เวลา ค่าใช้จ่าย และแรงงาน ดังนั้นการใช้สาร กําจัดวัชพืชน่าจะเป็ นวิธีที่ สามารถกํ าจัดวัชพืชที่งอกแล้วและควบคุ มวั ชพืชที่ยังไม่งอกได้อย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ควบคุ ม วั ช พื ช ได้ น านยิ่ ง ขึ้ น ดั ง นั้ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องงานวิ จั ย นี้ เพื่ อ ศึ ก ษา ประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารกําจัดวัชพืชประเภทก่อนงอกต่อการกําจัดวัชพืชใน มะม่วง ดําเนินการทดลองระหว่างเดือนตุลาคม 2557-กันยายน 2558 ที่แปลงเกษตรกร อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี วางแผนการทดลอง แบบ RCBD มี 4 ซ้ํา 11 กรรมวิธี ได้แก่ การพ่นสาร glyphosate + diuron อัตรา 288+400 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + flumioxazin อัตรา 288+30 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + indaziflam อัตรา 288+12 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + penoxsulam อัตรา 288+10.0 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + oxyfluorfen อัตรา 288+50 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + acetochlor อัตรา 288+300 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + pendimethalin อัตรา 288+330 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate + imazpic อัตรา 288+40 กรัมสารออกฤทธิ์ต่อไร่ glyphosate อัตรา 336 กรัมสาร ออกฤทธิ์ต่อไร่ พบว่าการพ่นสารคู่ผสมระหว่างสาร glyphosate + diuron glyphosate + indaziflam และ glyphosate + flumioxazin มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชประเภทใบแคบ และใบกว้างได้ดี ทําให้น้ําหนักแห้งของวัชพืชน้อยกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ และยังสามารถควบคุมวัชพืชได้ ถึง 3 เดือน อีกทั้งไม่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของมะม่วง คําสําคัญ : สวนมะม่วง สารกําจัดวัชพืช วัชพืช ไกลโฟเซต

ABSTRACT The big problem of weed control in huge mango orchards especially in rainy season is the rapidly emerge of new weeds. It’s more cost and labor in weed management. However, it is doubtful whether or not using post and pre-emergence herbicides together as post-emergence during this period could effectively control weeds. Therefore, the effective herbicides to extend the duration of control weed emergence and no effected on plant emergence should be recognized. Therefore, the objective of this research was to investigate the effect of herbicides application on weed control in Mangoes Plantation. The field experiments were conducted at Mueang district Kanchanaburi Province, during October 2014 – September 2015. The experiment laid out in RCB, composed with 4 replications, 11 treatments. The treatment were 1) glyphosate + diuron, 2) glyphosate + flumioxazin, 3) glyphosate + indaziflam, 4) glyphosate + penoxsulam, 5) glyphosate + oxyfluorfen, 6) glyphosate + pendimethalin, 7) glyphosate + acetochlor, 8) glyphosate + imazpic, 9) glyphosate, 10) hand weeding and 11) no weeding. The rates of herbicide application of treatments 1-9 were 288+400, 288+30, 288+12, 288+10.0, 288+50, 288+300, 288+330, 288+40 and 336 g(ai.)/rai. it was found that spraying with the mixture of glyphosate +diuron, glyphosate + indaziflam and glyphosate + flumloxazin were the effective mixtures to control narrow and broad leaf weeds and getting the lower dry weight of weeds than others. Including they had the duration of weed controlling for 3 months so the weed was emerged later than others then they were not effected the mango growth. Keywords: Mangoes Plantation, herbicides, Weeds, glyphosate

66

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 65

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

67

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 66


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 04 OWA-04

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 04 OWA-04

ผลของการใช้สารกําจัดวัชพืชผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟในข้าวนาหว่านน้ําตม ที่มีผลต่อหญ้าข้าวนก

Efficacy of herbicide and insecticide mixture for control Echinochloa crus-galli (L.) T. Beauv.

ยุรวรรณ อนันตนมณี ธีรทัย บุญญะปะภา และ ปรัชญา เอกฐิน

Yurawan Anantanamanee Teerathai Boonyaphapa and Pruchya Ekkathin

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

เกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้สารกําจัดวัชพืชแบบพ่นหลังวัชพืชงอกผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟ ในนาข้าว ผสมฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน เพื่อประหยัดต้นทุน ซึ่งอาจมีผลต่อประสิทธิภาพสาร จากการ สั ม ภาษณ์ เ กษตรกรที่ ป ลู ก ข้ า วในพื้ น ที่ ภ าคกลาง จํ า นวน 150 ราย พบว่ า มี เ กษตรกรถึ ง 77.3 เปอร์เซ็นต์ ที่มีพฤติกรรมการใช้สารกําจัดวัชพืชประเภทพ่นหลังวัชพืชงอกผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟ ฉีดพ่นในครั้งเดียวกัน ให้เหตุผลว่า การใช้สารกําจัดวัชพืชผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟในนาข้าวเป็นการ ลดต้นทุนในการผลิต และประหยัดเวลาในการปฏิบัติงาน เกษตกรกลุ่มนี้ยังคงปฏิบัติเช่นเดิมต่อไป เพราะไม่พบว่าการใช้สารแบบผสมมีผลกระทบต่อต้นข้าว และทําให้ประสิทธิภาพในการกําจัดวัชพืช และเพลี้ยไฟด้อยลง ผลการทดลองพบว่า การใช้สารกําจัดวัชพืชผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟยังคงมี ประสิทธิภาพในการกําจัดหญ้าข้าวนกได้ในระดับดี ที่ระยะ 15 และ 30 วันหลังพ่นสาร และไม่มีความ เป็นพิษต่อต้นข้าว ยกเว้นกรรมวิธีการพ่นสาร propanil ซึ่งข้าวจะมีอาการใบไหม้เล็กน้อย เป็นอาการ เป็นพิษของสารกําจัดวัชพืช propanil การใช้สารกําจัดวัชพืชผสมกับสารกําจัดเพลี้ยไฟในนาข้าวมีผล ทําให้จํานวนตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยไฟน้อยกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับ กรรมวิธีไม่พ่นสาร ซึ่งหากเกษตรกรยังคงต้องการปฏิบัติเช่นเดิม จําเป็นต้องมีการจัดอบรม และให้ ความรู้เรื่องของการใช้สารอย่างถูกต้องปลอดภัย และหลักของการผสมสารให้ถูกต้อง

The data from farmers interview were developed and disseminated to 150 farmers from 3 province in the center of Thailand. The result show 77.3% of farmer were apply herbicide mixing with insecticide. In farmers reason, herbicide and insecticide mixing are reduce cost of production and timesaving. Farmers are still and keep going to apply herbicide plus insecticide for control weed and Thrips. in paddy field because did not affect to herbicide efficacy for weed control and efficacy of insecticide control on Thrips., according to the result of the experiment after applied herbicide and insecticide mixing show the moderately to good efficacy (visual rating) for control Echinochloa crus-galli (L.) P. Beauv and no phytotoxic on rice except treatment of insecticide plus propanil are moderately to severely toxic but the injury based on effect of herbicide. In addition, the result show number of Thrips in juveniles and adult stage after application at 7 and 14 days are significantly less than untreated control.

คําสําคัญ : สารกําจัดวัชพืช สารกําจัดเพลี้ยไฟ สารผสม

68

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 67

Keywords: Herbicide, Insecticide, Pesticide tank mix

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

69

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 68


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

OWA - 05 OWA-05

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Development of Mechanical Weeder and Fertilizer Attached Walking Tractor for Cassava

การพัฒนาเครื่องมือกําจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสําหรับมันสําปะหลัง วุฒิพล จันทร์สระคู1 ศักดิ์ชัย อาษาวัง1 วรรธนะ สมนึก1 อนุชิต ฉ่ําสิงห์2 และ สุพัตรา ชาวกงจักร3

Wuttiphol Chansrakoo1 Sakchai Arsawang1 Wantana Somnuak1 Anuchit Chamsing2 and Supattra Chawkongjuk3

1

2

ศูนย์วิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแก่น กรมวิชาการเกษตร, ขอนแก่น 40000 กลุ่มวิจัยวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยว สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ 10900 3 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาฬสินธุ์ กรมวิชาการเกษตร, กาฬสินธุ์ 46120

บทคัดย่อ การผลิตมันสําปะหลังในขั้นตอนการกําจัดวัชพืชต้องใช้เวลา แรงงานคนมาก และมีต้นทุนการ กําจัดวัชพืชประมาณ 16 เปอร์เซ็นต์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาเครื่องมือกําจัดวัชพืชพร้อมใส่ ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตามสําหรับไร่มันสําปะหลังทดแทนการใช้แรงงานคนในการกําจัดวัชพืชและการให้ ปุ๋ย ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) ต้นกําลังรถไถเดินตามขนาด 9 แรงม้า และล้อเหล็กแบบหน้าแคบ 2) ชุดโครงไถจานผาลคู่ ขนาด 18 นิ้ว และล้อคัดท้าย 3) ถังบรรจุและอุปกรณ์กําหนดปริมาณการให้ปุ๋ย ทดสอบสมรรถนะการทํางานในไร่มันสําปะหลังอายุประมาณ 2 เดือน ระยะห่างระหว่างแถว 110-120 เซนติเมตร ในเขตพื้นที่ จ.กาฬสินธุ์ และ จ.อุบลราชธานี ผลการทดสอบพบว่า ความสามารถในการ ทํางาน 1.26-1.70 ไร่/ชั่วโมง ประสิทธิภาพการกําจัดวัชพืช 86.12-92.97% อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามัน เชื้อเพลิง 0.33-0.56 ลิตร/ไร่ และอัตราการให้ปุ๋ยเฉลี่ย 50 กิโลกรัม/ไร่ จุดคุ้มทุน 89.33 ไร่/ปี และ ระยะเวลาคืนทุน 2.46 ปี คําสําคัญ : การกําจัดวัชพืช รถไถเดินตาม มันสําปะหลัง

OWA - 05 OWA-05

1

Khonkaen Agricultural Engineering Research Center, Deparment of Agriculture, Khonkaen 40000 Reseach Group Postharvest Engineering, Agricultural Engineering Research Institute, Deparment of Agriculture, 10900 3 Kalasin Agricultural Research and Development Center, Deparment of Agriculture, Kalasin 46120

2

ABSTRACT Cassava production in the weeding process requires a huge of labor, and the cost of weeded control is about 16 percent. The aim of this research to developing the equipment for weeding and fertilizing with a walking tractor for a cassava field. Among of them comprise of 3 parts: 1) the power of walking tractor with 9 HP and narrow steel wheels, 2) frame plow, 2 plate size 18 inch and wheel steer, 3) tanks and equipment determine the amount of fertilizer. Performance testing of cassava plantation for about 2 months. The distance between rows 110-120 cm, in the area Kalasin and Ubon Ratchathani. The results were showed that worked at capacity 1.261.70 rai/h., efficiency 86.12-92.97%, fuel consumption rate 0.33-0.56 liters/rai and the average fertilizer rate of 50 kg/rai. The break-even point was 89.33 rai/year and the payback period was 2.46 years. Keywords: Weeding, Walking Tractor, Cassava

70

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 69

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

71

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 70


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 01 PEB-01

การศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini (Diptera: Tephritidae) ร่วมกับการใช้เทคนิค Morphometric ในตัวเต็มวัย ยุวรินทร์ บุญทบ ชมัยพร บัวมาศ เกศสุดา สนสิริ จอมสุรางค์ ดวงธิสาร และ สิทธิสิโรดม แก้วสวัสดิ์ สํานักวิจัยพัฒนาการอารักพืช กรมวิชากากรเกษตร กรุงเทพ 10900

บทคัดย่อ

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 01 PEB-01

Taxonomy of fruit fly larvae in Tribe Dacini (Diptera: Tephritidae) and using Morphometric Technique in adults Yuvarin Boontop Chamaiporn Buamas Kessuda Sonsiri Jomsurang Duangthisan and Sitisarodom Kaewsawat Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok, Thailand, 10900

ABSTRACT

แมลงวันผลไม้เผ่า Dacini เป็นแมลงศัตรูของพืชเศรษฐกิจและเป็นแมลงศัตรูพืชกักกันที่ สํ า คั ญ ตั ว อ่ อ นแมลงวั น ผลไม้ ส ร้ า งความเสี ย หายให้ กั บ การนํ า เข้ า และส่ ง ออกผั ก ผลไม้ ทั่ ว โลก อี ก ทั้ ง มี ค วามยากในการจํ า แนกชนิ ด ด้ ว ยลั ก ษณะสั ณ ฐานวิ ท ยาภายนอก การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เพื่ อ ศึ ก ษาอนุ ก รมวิ ธ านตั ว อ่ อ นแมลงวั น ผลไม้ ร่ ว มกั บ เทคนิ ค มอร์ โ ฟเมตริ ก เพื่ อ ช่ ว ยจํ า แนก ชนิดแมลงวั นผลไม้เผ่ า Dacini ให้ ถูกต้องแม่นยํา และรวดเร็วมากขึ้น โดยรวบรวมตัวอ่อน และตั ว เต็ ม วั ย จากทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคของประเทศไทย พร้ อ มทั้ ง จั ด ทํ า แนวทางตรวจวิ นิ จ ฉั ย ตั ว อ่ อ น แมลงวันผลไม้ในเผ่า Dacini จํานวน 6 ชนิด ได้แก่ B. correcta, B. dorsalis, B. latifrons, B. umbrosa, Z. cucurbitae และ Z. tau ซึ่งจากการศึกษามอร์โฟเมตริก ปีกแมลงวันผลไม้ 10 ชนิด ได้แก่ B. carambolae, B. cilifera, B. correcta, B. dorsalis, B. latifrons, B. umbrosa, B. tuberculata, B. zonata, Z. cucurbitae และ Z. tau พบว่าขนาดเซนทรอยด์ มีความความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P > 0.05) โดยพบว่า B. latifrons มีขนาด เซนทรอยด์เล็กที่สุด (5.533 ± 0.401) และ B. tuberculata มีขนาดเซนทรอยด์ใหญ่ที่สุด (6.377 ± 0.306) จากการศึกษารูปร่างของปีกด้วยวิธี Canonical variate analysis สามารถใช้ความแตกต่าง ของรูปร่างปีกเพื่อแยกสกุล Zeugodacus ออกจากสกุล Bactrocera ได้อย่างชัดเจน อีกทั้งรูปร่าง ปีกของแมลงวันผลไม้ในสกุลเดียวกันมีความคล้ายคลึงกันมากกว่าแมลงวันต่างสกุล การศึกษาครั้งนี้ ถือได้ว่าเป็นรายงานการศึกษาครั้งแรกของประเทศไทย สําหรับใช้เป็นแนวทางตรวจวินิจฉัยจําแนก ชนิดแมลงวันผลไม้เผ่า Dacini ที่ง่าย สะดวก และประหยัดเวลา อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาด้านชีว โมเลกุลเพื่อจําแนกความแตกต่างในระดับชนิดของแมลงวันผลไม้เพิ่มเติมต่อไปในอนาคต

Dacini fruit fly which are of prime economic and quarantine importance in the world. Larvae infested into fruit and cause serious problem about importing and exporting around the word. Species identification at larvae stages is difficult by morphological characteristics. Traditional taxonomy and morphometric technique for species identification is carried out for the precision and efficiency. The goal of this research to obtain the taxonomic character of dacine fruit flies larvae and information about wing morphometric. Collecting survey were done on many kind of fruit orchards and lure trapping all regions in Thailand. Six of dacine fruit flies larvae were re-described: Bactrocera correcta, B. dorsalis, B latifrons, B. umbrosa, Zeugodacus cucurbitae and Z. tau. A dichotomous key was prepared to enable rapid identification of larvae by using a combination of morphological features. Additionally, wing morphometrics were studied from 10 species: of B. carambolae, B. cilifera, B. correcta, B. dorsalis, B. latifrons, B. umbrosa, B. tuberculata, B. zonata, Z. cucurbitae and Z. tau. Centroid sizes differed significantly among sampled species (P > 0.05). Centroid size of B. latifrons were smallest (5.533 ± 0.401 mm) and B. tuberculata were largest (6.377 ± 0.306 mm). Canonical variate analysis of the dataset based on the 10 species. Analysis revealed a clear pattern in which species of Zeugodacus clustered together and were clearly separated from the cluster comprising species of Bactrocera. This study has provided a simplified identification guide for initial morphological diagnosis of third larval stages. However, further molecular analysis is needed to clarify the distinction among other species.

คําสําคัญ : ตัวอ่อน แมลงวันผลไม้ เซนทรอยด์ รูปร่างปีก

Keywords: larvae, fruit fly, centroid, wing shape

72

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 71

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

73

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 72


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 02 PEB-02

Taxonomy of mango leafhoppers (Hemiptera: Cicadellidae) in Thailand

เกศสุดา สนศิริ จารุวัตถ์ แต้กุล ยุวรินทร์ บุญทบ สุนดั ดา เชาวลิต อิทธิพล บรรณาการ และ ชมัยพร บัวมาศ

Kessuda Sonsiri Charuwat Taekul Yuvarin Boontop Sunadda Chaowalit Chamaiporn Buamas and Ittipon Bannakan

บทคัดย่อ เพลี้ยจักจั่นมะม่วง (Hemiptera: Cicadellidae) เป็นแมลงศัตรูพืชที่สําคัญของมะม่วง สร้าง ความเสียหายโดยการดูดกินน้ําเลี้ยงจากยอดอ่อน และช่อดอก ทําให้ดอกแห้งและร่วง ติดผลน้อย หรือไม่ติดผล หากมีการระบาดรุนแรงจะทําให้ผลผลิตลดลง 80 - 100 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากเพลี้ย จักจั่นในกลุ่มนี้มีรูปร่างลักษณะที่คล้ายคลึงกันยากแก่การจําแนกชนิด วัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ ทราบชนิด เขตการแพร่กระจาย พร้อมจัดทําแนวทางการวินิจฉัย เพื่อเป็นข้อมูลจัดทํารายชื่อแมลง ศัตรูพืชและวิเคราะห์ความเสี่ยงแมลงศัตรูพืช ในการนําเข้าและส่งออกผลผลิตทางการเกษตรรวมทั้ง เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาด้านกีฏวิทยาทุกสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการระหว่างเดือนตุลาคม 2559 ถึง มิถุนายน 2562 จากการศึกษาโดยการสํารวจและเก็บรวบรวมตัวอย่างเพลี้ยจักจั่นศัตรู มะม่วงจากแปลงปลูกพืชทั่วภูมิภาคของประเทศไทย นํามาจําแนกชนิดตามหลักอนุกรมวิธาน และใช้ แนวทางวินิจฉัยตาม Fletcher (2009) และ Knigh (2010) พบเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วงจํานวน 5 สกุล 10 ชนิด ได้แก่ Amrasca splendens Ghauri, Amritodus atkinsoni (Lethierry), Amritodus sp., Idioscopus clypealis (Lethierry), I. nagpurensis (Pruthi), I. nitidulus (Walker), I. clavosignatus Maldonado Capriles, I. chumphoni Hongsaprug, Smita robusta Dworakowska และ Manggneura reticulate Ghauri ซึ่งเพลี้ย จักจั่นสกุล Amritodus เป็นการรายงานครั้งแรกในประเทศไทย และชนิดที่เป็นศัตรูสําคัญของมะม่วง ได้แก่ I. clypealis, I. nagpurensis และ I. nitidulus ทั้งนี้ได้บรรยายลักษณะทางสัณฐานวิทยา เขตการ แพร่กระจาย และแนวทางการวินิจฉัย (Key to species) ของเพลี้ยจักจั่นมะม่วงที่ได้สํารวจพบในครั้ง นี้ไว้ด้วยแล้ว คําสําคัญ : เพลี้ยจักจั่น อนุกรมวิธาน Cicadellidae Hemiptera

74

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

อนุกรมวิธานเพลีย้ จักจั่นศัตรูมะม่วง (Hemiptera: Cicadellidae) ในประเทศไทย

กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 73

PEB - 02 PEB-02

Entomology and Zoology Division, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture

ABSTRACT Mango leafhoppers are major pests in mango. Nymphs and adults of the leafhoppers puncture and suck the sap from tender shoots, inflorescence and leaves of mango tree, which cause non-setting of flowers and dropping of immature fruits, If severe outbreaks are found, the yield will be reduced 80 – 100 percent. Mango leafhoppers have a similar shape and character, which they are difficult identify to species. The objective of this study is to gain better insight in the identification at species level as well as distribution of the mango leafhoppers in Thailand. The results are used in a pest list and pest risk analysis program for the import-export agricultural products. A survey and collecting were implemented from October 2016 – June 2019 on the mango crops across the country. The insect samples were examined based on classical taxonomy and identification to the species level followed Fletcher (2009) and Knigh (2010). The result revealed that 5 genus 10 species were found comprising, Amrasca splendens Ghauri, Amritodus atkinsoni (Lethierry), Amritodus sp., Idioscopus clypealis (Lethierry), I. nagpurensis (Pruthi), I. nitidulus (Walker), I. clavosignatus Maldonado Capriles, I. chumphoni Hongsaprug, Smita robusta Dworakowska and Manggneura reticulate Ghauri. Amritodus is considered new to the genus records in Thailand. I. clypealis, I. nagpurensis and I. nitidulus are most common and destructive species of hoppers, which cause heavy damage to mango crops. The species descriptions and the key to species are presented. Keywords: Mango leafhopper, Taxonomy, Cicadellidae, Hemiptera

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

75

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 74


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 03 PEB-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 03 PEB-03

ความหลากหลายของแมลงศัตรูพชื และแมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่ําปลี ระหว่างการใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานและการใช้สารเคมีกําจัดแมลง

Diversity of insect pests and natural enemy insects in cabbage crops between integrated pest management and insecticide uses

ั น์ เถาธรรมพิทักษ์ วรนาฏ โคกเย็น เบญจคุณ แสงทองพราว และ จารุวฒ

Woranad Khokyen Banjakhun Sangtongproaw and Jaruwat Thowthampitak

ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

กะหล่ําปลีเป็นผั กที่ นิยมปลูกเพื่ อในใช้ การบริ โภค แมลงศัตรูของกะหล่ําปลี มีหลายชนิ ด เกษตรกรมี การใช้สารเคมีกําจัดแมลงไม่ถูกวิธีและใช้มากเกินความจําเป็น ทําให้เกิดอันตรายต่อ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและ แมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล่ําปลีที่มีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) และมีการใช้ สารเคมีกําจัดแมลง (CHEM) ต. คีรีราษฎร์ อ. พบพระ จ. ตาก มี 2 พื้นที่ คือ พื้นที่ติดป่า (NF) และ พื้นที่ติดถนน (NR) โดยใช้กับดักกาวเหนียวสีเหลืองดักจับแมลง ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2558 – เดือนกันยายน 2559 พบว่า แปลง NF-IPM พบแมลงมากที่สุด 7 อันดับ 35 วงศ์ ส่วนแปลง NRCHEM พบแมลงน้อยที่สุด 8 อันดับ 31 วงศ์ ค่าดัชนีความหลากหลายในแปลง NF-IPM มีค่ามากที่สุด เท่ากับ 2.15 ขณะที่แปลง NR-CHEM มีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ 1.82 ในแปลง NF-CHEM มีค่าความ สม่ําเสมอของชนิดแมลงมากที่สุดเท่ากับ 0.63 ส่วนแปลง NF-IPM และ NR-IPM มีค่าความคล้ายคลึง ของชนิดแมลงมากที่สุด ทั้ง 4 แปลงมีสัดส่วนของแมลงศัตรูพืชมากกว่าแมลงศัตรูธรรมชาติและแมลง อื่นๆ แมลงศัตรูพืชที่พบมาก คือ เพลี้ยอ่อน (Aphididae) เพลี้ยไฟ (Thripidae) และแมลงวันหนอน ชอนใบ (Agromyzidae) แมลงศัตรูธรรมชาติที่พบมากได้แก่ แตนเบียนแอนเซอติด (Encyrtidae) และแตนเบียน บราโคนิด (Braconidae) กลุ่มแมลงอื่นๆ ที่พบมากได้แก่ แมลงวันหลังค่อม (Phoridae) สรุปได้ว่า แปลงปลูกกะหล่ําปลีที่มีการจัดการแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสานทําให้แมลงมี ความหลากหลายมากกว่าแปลงที่ใช้สารเคมีกําจัดแมลงเพียงอย่างเดียว

Cabbage is a favor vegetable for consumption. There are many species of insect pests in cabbage. Farmers use insecticides with incorrect practices and over dosage that are harmful to consumers and environment. The objective of this study was to investigate diversity of insect pests and natural enemy insects in cabbage crops between integrated pest management (IPM) and insecticide (CHEM) using in Khiri Rat Sub-district, Phop Phra District, Tak Province. Two areas were determined that include near forest area (NF) and near road area (NR). Yellow sticky trap was used for insect capturing on November 2015- September 2016. The results show that NF-IPM area found the highest species of insects in 7 Orders, 35 Families and NRCHEM area found the lowest species of insects in 8 Orders, 31 Families. In NF-IPM area showed the highest diversity index (2.15) while NR-CHEM showed the lowest (1.82). Species evenness in NF-CHEM area was highest (0.63). The similarity index in NF-IPM and NR-IPM areas were highest. The percentage of insect pests in all areas was more than natural enemy insects and other insects. The insect pests found in largest number were aphids (Aphididae), thrips (Thripidae) and leaf miners (Agromyzidae). For natural enemy insects were encyrtid wasps (Encrytidae) and braconid wasps (Braconidae) and other insect group was humpacked flies (Phoridae). The conclusion, the cabbage crops with integrated pest management was demonstrated species diversity more than crops that used only chemical control.

คําสําคัญ : ผัก ดัชนีความหลากหลาย อําเภอพบพระ จังหวัดตาก กับดักกาวเหนียวสีเหลือง

Keywords: Vegetable, Species diversity index, Phop Phra District, Tak Province, Yellow sticky trap

76

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 75

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

77

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 76


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 04 PEB-04

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 04 PEB-04

ความหลากชนิดของแมลงวันผลไม้ในแปลงรวบรวมพันธุ์กีวใี นพื้นที่สถานีเกษตรหลวง อินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่

Species Diversity of Fruit fly in Kiwifruit Orchard in The Royal Agricultural Station Inthanon, Chiang Mai Province

สรายุทธ ปิตตาระเต รัตนาภรณ์ หมายหมั้น และ พัชรินทร์ ครุฑเมือง

Sarayut Pittarate Rattanaporn Maimun and Patcharin Krutmuang

ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่

Department of Entomology and Plant Pathology, faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai

บทคัดย่อ

ABSTRACT

แมลงวันผลไม้ เป็นแมลงศัตรูสําคัญทางเศรษฐกิจในไม้ผล มีรายงานการระบาดเป็นอย่างมาก ในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ หน่วยวิจัยขุนห้วยแห้ง อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจ ติดตามการระบาดของแมลงวันผลไม้ และศึกษาชีววิทยาของ แมลงวันผลไม้ที่พบเข้าทําลายในกีวี่ ก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยวางกับดักฟีโรโมนแบบ แผ่นกาวเหนียวสีเหลือง วางสุ่มแบบเป็นระบบ (systematic random sampling) ภายในพื้นที่ 1,317 ตารางเมตร ในช่วงเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562 ผลการศึกษาพบว่ากับดัก กาวเหนียว สามารถดึงดูดแมลงวันผลไม้ได้ทั้ง 2 เพศ โดยในแต่ละเดือนมีสัดส่วนเพศของแมลงที่ติด กับดักแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ นอกจากนี้ในจํานวนของแมลงที่ติดกับดักยังพบแมลงวันผลไม้ใน สกุล Bactrocera จํานวน 5 ชนิด ได้แก่ B. dorsalis, B. tau, B. scutellaris, B. zonata และ B. nigrotibialis พบสกุล Acroceratitis จํานวน 1 สกุล แต่ยังไม่ทราบชื่อชนิด และพบแมลงวันผลไม้ที่ ไม่ทราบสกุลและชนิด ให้เป็น Unknown A 1 ชนิด มากไปกว่านั้นเดือนพฤศจิกายน มีค่าเฉลี่ยของ ประชากรแมลงวันผลไม้มากที่สุด คือ 35.58±3.00 ตัวต่อกับดัก ซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 20.52 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 92.82 เปอร์เซ็นต์ และเดือนกุมภาพันธ์มีค่าเฉลี่ยของประชากร แมลงวั นผลไม้ น้ อยที่สุด ที่อุณ หภู มิเ ฉลี่ ยเท่ากับ 17.64 องศาเซลเซี ยส ความชื้นสัม พัท ธ์ 78.24 เปอร์เซ็นต์ ผลการศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานแก่นักวิจัยและเกษตรกรในการพยากรณ์ช่วงการ ระบาด และใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกกรรมวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการบริหารจัดการเพื่อลด ความเสียหายจากแมลงวันผลไม้ศัตรูกีวีบนพื้นที่โครงการหลวงและพื้นที่สูงต่อไป

Fruit fly is one of the economically important on fruit plants, especially in kiwifruit which is becoming popular of Thai people. Severe damage in kiwifruit orchard were report in Royal Agricultural Station Inthanon at khun Huai Haeng, Chom Thong District, Chiang Mai Province. The objective were to study monitoring of insect number when the outbreak occurred to pre-harvest and post-harvest in kiwifruit orchard, biological study and identification of fruit fly from kiwifruit were found damage. Sample was collected from Royal Agricultural Station Inthanon at Khun Huai Haeng during October 2018 to February 2019 by using yellow sticky pheromone traps and trapping by systematic random sampling methods within an area of 1,317 square meters. The results showed that the traps attracted both sexes of fruit flies, which was significantly different in each month. The traps was found 5 species of fruit flies; Bactrocera dorsalis, B. tau, B. scutellaris, B. Zonata, and B. nigrotibialis. One family of Acroceratitis could not identify the species that called unknown species in this experiment. More than that, the highest population of fruit fly was caught at 35.58 ± 3.00 insect per trap in November 2018 (20.52oC, 92.82% RH), and the lowest populations of fruit fly was in February 2019 (17.64oC, 78.24% RH). The results of this study will provide database for researchers and farmers in predicting the outbreak occurred. Finally, the study can be applied in management fruit fly to reduce damage on kiwifruit orchard pest in highland and Royal Project Foundation.

คําสําคัญ : Bactrocera แมลงวันผลไม้ กับดักฟีโรโมน ความหลากชนิด

Keywords: Bactrocera, Fruit fly, Pheromone trap, Species diversity

78

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 77

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

79

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 78


การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครัชาติ 14 “ เกษตรแม่ า �ก้เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PEB - 05 PEB-05

การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครั ชาติ 14 “ เกษตรแม่ า ก้�เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งทีครั ่ 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

การประยุกต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการจําแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium spp. ที่เป็นศัตรูพชื กักกันแบบรวดเร็ว

Rapid Identification of Quarantine Pest Species of Genus Tribolium spp. Based on DNA barcoding

นพรัตน์ บัวหอม1 นางสาวชลธิชา รักใคร่2 นางสาวชนินทร ดวงสอาด2 นางช่อทิพย์ ศัลยพงษ์1 นายอิทธิพล บรรณการ2 และ นายมนตรี ธนรส1

Nopparat Buahom1 Chonticha Rakkrai2 Chanintorn Doungsa – ard2 Chortip Salyapongse1 Ittipon Bannakan2 and Montri Tanaros1

1

สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร 2 สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

PEB - 05 PEB-05

1

Office of Agricultural Regulation, Department of Agriculture Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture

2

บทคัดย่อ

ABSTRACT

มอดแป้ง (Flour beetle) สกุล Tribolium เป็นแมลงศัตรูพืชกักกันที่สําคัญ แต่เนื่องจาก มอดแป้งมีขนาดเล็ก บางชนิดมีรูปร่างลักษณะใกล้เคียงกัน การจําแนกชนิดด้วยลักษณะทางสัณฐาน วิทยาเพียงอย่างเดียวจึงค่อนข้างยาก โดยเฉพาะตัวอย่างที่ไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ หรืออยู่ไม่อยู่ใน ระยะตัวเต็มวัย การทดลองนี้ดําเนินการระหว่าง ปี 2559 - 2561 โดยนําตัวอย่างแมลงศัตรูโรงเก็บที่ รวบรวมได้จากโรงสีข้าวระหว่างการตรวจประเมินผู้ผลิตและแปรรูปข้าวส่งออกไปจีน และด่านตรวจ พื ช ท่ า เรื อ กรุ ง เทพ จํ า นวน 103 ตั ว นํ า มาจํ า แนกชนิ ด ด้ ว ยลั ก ษณะทางสั ณ ฐานวิ ท ยา พบว่ า ประกอบด้ ว ย 4 ชนิ ด คื อ มอดแป้ ง ชนิ ด T. castaneum มอดฟั น เลื่ อ ย (Oryzaephilus surinamensis) ด้ ว งงวงข้ า วโพด (Sitophilus oryzae) ด้ ว งถั่ ว เขี ย ว (Callosobruchus maculatus) และมีตัวอย่างบางส่วนไม่สามารถจําแนกได้ เนื่องจากไม่อยู่ในสภาพสมบูรณ์ จากนั้น นําตัวอย่างของแมลงศัตรูโรงเก็บทั้ง 4 ชนิด และตัวอย่างที่ไม่สามารถจําแนกได้ จํานวน 24 ตัว มา สกัดดีเอ็นเอ เพิ่มปริมาณยีน COI ด้วยเทคนิค PCR ตรวจวิเคราะห์ลําดับนิวคลีโอไทด์กับฐานข้อมูล GenBank พบว่าผลการจําแนกชนิดตรงกับลักษณะทางสัณฐานวิทยา และตัวอย่างที่ไม่สามารถระบุ ชนิดได้ คือ มอดแป้งชนิด T. castaneum ผลการวิเคราะห์ ML - tree ได้ยืนยันความถูกต้องของ การจําแนกชนิดด้วยเทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด โดยพบว่าลําดับนิวคลีโอไทด์ของตัวอย่างแมลงศัตรูโรง เก็บทั้ง 4 ชนิด อยู่ใน clade เดียวกันกับลําดับนิวคลีโอไทด์จากฐานข้อมูล GenBank โดยมอดแป้ง ชนิด T. castanuem และชนิด T. fremani มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมใกล้เคียงกัน และได้นํา ลําดับนิวคลีโอไทด์ที่ได้ส่งไปยังฐานข้อมูล GenBank (No. MK649848 – MK649857)

Flour beetles of the genus Tribolium are important quarantine pests. Because Tribolium individuals is small and similar in morphological characteristics for some species, especially damaged samples and non – adults state, it is difficult to identify base on external characteristics alone. The study carried out molecular identification, using mtDNA COI gene, during 2016 – 2018. We collected 103 stored – product pest individuals from rice mills during the on – site inspection of rice production and processing enterprises for exporting to China and Bangkok port plant quarantine station, and identified base on external morphological characteristics, the results showed that the individuals consisted of 4 species of pest, including T. castaneum, Oryzaephilus surinamensis, Sitophilus oryzae and Callosobruchus maculatus, and some individuals could not identified cause damaged. We applied molecular identification on 24 samples from 4 species individuals and damaged individuals, through DNA extraction, PCR amplification, sequencing and sequences alignment in GenBank. Results of two identification techniques are consistent, sequences similarity is highly at 98.94% above, and the damaged sample is T. castaneum. Phylogenetics analysis based on Maximum Likelihood method using K2P parameter further verified the molecular identification results above. Each species are in the same clade to the species got from GenBank. Genetics relationship between T. castaneum and T. freemani are very close, and conformed to previous studies. We submitted nucleotide sequences of 4 species to GenBank, accession numbers are MK649848 – MK649857. Therefore, the study can provide technical reference and support to rapid identification of other pests, which can provide convenience in release of plants and plant products consignments in entry - exit inspection and quarantine, and can also be a basis of population genetics study.

คําสําคัญ : มอดแป้ง การจําแนกชนิดแบบรวดเร็ว กักกันพืช ดีเอ็นเอบาร์โค้ด

80

Keywords: Flour beetle, Rapid Identification, Plant Quarantine, DNA barcoding 12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 79

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

81

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 80


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 06 PEB-06

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 06 PEB-06

ชีววิทยาและผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ Chartocerus hyalipennis และ Prochiloneurus insolitus ต่อแตนเบียน Anagyrus lopezi

Biology and Effect of Hyperparasitoids, Chartocerus hyalipennis and Prochiloneurus insolitus on Parasitoid, Anagyrus lopezi

เสาวลักษณ์ แก้วเทวี เบญจคุณ แสงทองพราว และ อัญชนา ท่านเจริญ

Saowaluck Kaewtawee Banjakhun Sangtongproaw and Anchana Thancharoen

ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

เพลี้ยแป้งมันสําปะหลังสีชมพูเป็นแมลงศัตรูที่สําคัญของมันสําปะหลังและทําให้มันสําปะหลัง แสดงอาการผิดปกติและผลผลิตลดลง แตนเบียนที่ใช้ในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสําปะหลังสีชมพูคือ Anagyrus lopezi (Santis) แต่ในธรรมชาติพบว่ามีแตนเบียนไฮเปอร์ซึ่งเบียนแตนเบียน A. lopezi อีกทอดหนึ่ง งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงประชากรของแตนเบียนไฮเปอร์ C. hyalipennis และ P. insolitus ในแปลงปลูกมันสําปะหลัง ต.ห้วยบง อ.ด่านขุนทด จ. นครราชสีมา จํานวน 9 แปลง ระหว่างเดือนกรกฎาคม 2561 ถึงกุมภาพันธ์ 2562 และศึกษาชีววิทยา และผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ทั้ง 2 ชนิดต่อแตนเบียน A. lopezi ในห้องปฏิบัติการภาควิชา กีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า เพลี้ยแป้งมันสําปะหลังสีชมพู และแตนเบียนไฮเปอร์ C. hyalipennis และ P. insolitus มีจํานวนมากที่สุดในเดือนพฤศจิกายน ส่วนแตนเบียน A. lopezi พบมากที่สุดในเดือนกันยายน เปอร์เซ็นต์การเบียนในสภาพแปลงของ P. insolitus มากกว่า C. hyalipennis ในทุกเดือน วงจรชีวิตของ C. hyalipennis และ P. insolitus ตั้งแต่ไข่จนถึงตัวเต็มวัยเท่ากับ 11.10±0.26 และ 11.45±0.15 วัน ตามลําดับ อายุขัยของ C. hyalipennis และ P. insolitus เพศเมียเมื่อเลี้ยงด้วยสารละลายน้ําผึ้งเท่ากับ 20.8±3.72 และ 13±1.53 วัน ตามลําดับ ส่วนเพศผู้ของ C. hyalipennis เท่ากับ 21±2.79 วัน เปอร์เซ็นต์การเบียน ของ C. hyalipennis และ P. insolitus ในห้องปฏิบัติการเท่ากับ 60.41±4.77 และ 37.50±2.23 ตามลําดับ เมื่อปล่อยทั้ง 2 ชนิดพร้อมกันทําให้เปอร์เซ็นต์การเบียนลดลงเหลือ 39.63±1.66 และ 28.08±1.40 ตามลําดับ สรุปได้ว่า แตนเบียนไฮเปอร์ C. hyalipennis และ P. insolitus มีผลทาง ลบต่อแตนเบียน A. lopezi

The pink cassava mealybug is an important insect pest of cassava that caused abnormal growth and yields decreasing. The parasitoid used for controlling of pink cassava mealybug is A. lopezi. In the field, it was found that hyperparasitoids parasitized A. lopezi. The aims of this study were to determine the population dynamic of C. hyalipennis and P. insolitus in 9 cassava plantations at Huai Bong subdistrict, Dankhunthot district, Nakhon Ratchasima Province during July 2018-February 2019 and to study the biology and effect of two hyperparasitoids on A. lopezi in laboratory of Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University. The results shown that the highest number of pink cassava mealy bug, C. hyalipennis and P. insolitus were found on November while A. lopezi was found on September. The parasitism percentage in fields of P. insolitus was more than C. hyalipennis in all months. The life cycle of C. hyalipennis and P. insolitus from egg to adult stage were 11.10±0.26 and 11.45±0.15 days, respectively. The longevity of female C. hyalipennis and P. insolitus when fed with honey solution were 20.8±3.72 and 13±1.53 days, respectively and 21±2.79 days in male of C. hyalipennis. The parasitism rate of C. hyalipennis and P. insolitus in laboratory were 60.41±4.77 and 37.50±2.23, respectively. The parasitism rate was decreased when released two hyperparasitoids together, 39.63±1.66 in C. hyalipennis and 28.08±1.40 in P. insolitus. The conclusion, C. hyalipennis and P. insolitus had negative effect on A. lopezi

คํ า สํ า คั ญ : มั น สํ า ปะหลั ง เพลี้ ย แป้ ง มั น สํ า ปะหลั ง สี ช มพู ตํ า บลห้ ว ยบง จั ง หวั ด นครราชสี ม า เปอร์เซ็นต์การเบียน

82

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 81

Keywords: Cassava, Pink cassava mealybug, Huai Bong sub-district, Nakhon Ratchasima, Parasitism rate

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

83

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 82


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 07 PEB-07

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 07 PEB-07

การตรวจสอบเอกลักษณ์ของกลุ่มสารที่มีฤทธิ์ในการควบคุมแมลงในสารสกัดบัวตอง ด้วยเทคนิคทีแอลซีสมรรถนะสูง

High-performance Thin-layer Chromatography (HPTLC) Screening for Insecticidal Compounds of Extracts from Tithonia diversifolia

พจนีย์ หน่อฝัน้ ณัฐพร ฉันทศักดา ธนิตา ค่ําอํานวย ศิริพร สอนท่าโก และ ธิติยาภรณ์ อุดมศิลป์

Poachanee Norfun Nattaporn Chanthasakda Thanita Kham-amnouy Siriporn Sornthako and Thitiyaporn Udomsilp

กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Agricultural Production Sciences Research and Development Division, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ การใช้สารสกั ดจากพืชเป็นทางเลือกหนึ่งที่ส ามารถนํามาใช้ในการป้ องกั นแมลงศัตรูพืช ทดแทนการใช้สารเคมี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากบัว ตองที่มีฤทธิ์ในการควบคุมหนอนใยผัก (Plutella xylostella L.) โดยทําการสกัดใบบัวตองด้วยตัวทํา ละลาย 3 ชนิ ด ได้ แ ก่ เ ฮกเซน ไดคลอโรมี เ ทน และเมทานอล จากนั้ น นํ า สารสกั ด ไปทดสอบ ประสิทธิภาพต่อหนอนใยผักในห้องปฏิบัติการโดยวิธีจุ่มใบ (Leaf dipping method) พบว่าสารสกัด จากบัวตองที่สกัดด้วยเมทานอลมีผลต่ออัตราการตายของหนอนใยผักมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 55.0 % เมื่อนําสารสกัดหยาบเมทานอลไปแยกส่วนสกัดด้วยวิธีคอลัมน์โครมาโทกราฟีสามารถแยกได้ 8 ส่วนสกัด (F1-F8) จากการทดสอบประสิทธิภาพต่อหนอนใยผักของแต่ละส่วนสกัดพบว่าส่วนสกัดที่ 5 (F5) มีผลต่ออัตราการตายของหนอนใยผักมากที่สุดเฉลี่ย 72.5 % ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของ ส่วนสกัดดังกล่าวด้วยเทคนิคทีแอลซีสมรรถนะสูง (HPTLC) ข้อมูลเอกลักษณ์โครมาโทกราฟีพบว่าสาร สกัดบัวตองที่มีฤทธิ์ต่อหนอนใยผักมีองค์ประกอบทางเคมีเป็นสารกลุ่มเทอร์พีนอยด์ จากการศึกษา ครั้งนี้สามารถสรุปได้ว่าสารสกัดจากใบบัวตองที่สกัดด้วยเมทานอลมีองค์ประกอบทางเคมีที่มีศักยภาพ ในการควบคุมหนอนใยผักได้ดีซึ่งน่าจะมีการนําไปขยายผลเพื่อใช้ในการป้องกันกําจัดแมลงศัตรูพืช ต่อไป คําสําคัญ : บัวตอง สารสกัดจากธรรมชาติ หนอนใยผัก ทีแอลซีสมรรถนะสูง ลายพิมพ์องค์ประกอบ ทางเคมี

ABSTRACT The use of plant extracts could be an alternative method to the conventional insecticides for pest control. The current study is based on the screening of the chemical composition of Tithonia diversifolia extracts in controlling of the diamondback moth larvae (Plutella xylostella L.). Leaves of Tithonia diversifolia were extracted with hexane, dichloromethane, and methanol. Investigation of Tithonia diversifolia leaf extracts on the mortality rate of diamondback moth was conducted in the laboratory by using the leaf dipping method. Manipulative data showed that methanol crude extract of Tithonia diversifolia gave the highest mortality rate at 55 %. The methanol crude extract was further fractionated by column chromatography. Eight fractions (F1-F8) were collected and tested against diamondback moth larvae. The results showed that fraction F5 displayed the highest mortality rate on diamondback moth at 72.5 %. The study of chemical constituents of the fractions was measured by high-performance thin-layer chromatography (HPTLC) technique. The HPTLC fingerprint profiles showed that the extracts composed of a majority of the terpenoids compounds. The results suggested that methanolic leaf extract of Tithonia diversifolia has the potential for development as a botanical insecticide and should be applied further for preventing and getting rid of insect pest. Keywords: Tithonia diversifolia, botanical insecticide, Plutella xylostella L., HPTLC, chemical fingerprint

84

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 83

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

85

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 84


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 08 PEB-08

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 08 PEB-08

สัตว์ขาข้อทีม่ ีบทบาทเป็นผู้กินพืชและผู้ล่าในพืช 4 ชนิดในสกุล Passiflora

Herbivorous and predatory arthropods in four Passiflora plants

ชิษณุพงศ์ พานเทียน1,2 และ ชัชวาล ใจซื่อกุล2

Chitsanuphong Phanthian1,2 and Chatchawan Chaisuekul2

1

สาขาสัตววิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330 ศูนย์ความเป็นเลิศทางกีฏวิทยา: ชีววิทยาของผึ้ง ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงและไร ภาควิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330

2

1

Zoology Program, Department of Biology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok 10330 Center of Excellence in Entomology: Bee Biology, Biodiversity of Insects and Mites, Department of Biology, Faculty of Science, Chulalongkorn University, Bangkok 10330

2

บทคัดย่อ

ABSTRACT

พืชในสกุล Passiflora นับว่าเป็นพืชต่างถิ่นที่ได้รับการนําเข้ามาเพาะปลูกอย่างแพร่หลายใน ประเทศไทยในปัจจุบันเพื่อเป็นพืชให้ผลและพืชประดับ แต่มีการศึกษาที่รายงานถึงสัตว์ขาข้อที่ใช้พืช ในสกุลนี้เพียงเล็กน้อย ทั้งในส่วนของสัตว์ขาข้อกินพืชและสัตว์ขาข้อผู้ล่าที่ใช้พืชในสกุลนี้ การศึกษานี้ จึงมีเป้าหมายเพื่อสํารวจความหลากหลายของสัตว์ขาข้อที่พบในพืชในสกุล Passiflora ได้แก่ Passiflora foetida (พืชป่า), P. edulis (พืชให้ผล), P. x alato-caerulea และ P. x coccineacaerulea (พืชประดับ) ในแปลงขนาด 1x1 ตารางเมตร ห่างจากกัน 1 เมตรแบบสุ่ม ทั้งหมด 8 ซ้ํา ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดสระบุรี ในช่วงเดือนมีนาคม–ธันวาคม 2561 ผลการศึกษา พบกลุ่มสัตว์ขาข้อที่คล้ายคลึงกันในพืชทั้ง 4 ชนิด โดยพบสัตว์ขาข้อกินพืชจํานวน 32 วงศ์จาก 8 อันดับ โดยกลุ่มที่พบมากที่สุดคือหนอนผีเสื้อในวงศ์ Nymphalidae โดยเฉพาะชนิด Acraea terpsicore จํานวน 7,194 ตัวและมวนในวงศ์ Pyrrhocoridae จํานวน 1,366 ตัว และพบสัตว์ขาข้อ ผู้ล่าจํานวน 14 วงศ์จาก 9 อันดับ โดยกลุ่มที่พบมากที่สุดคือ แมงมุมในวงศ์ Oxyopidae ทั้งหมด 136 ตัว และ P. foetida มีความหลากหลายของสัตว์ขาข้อผู้ล่าและสัตว์ขาข้อกินพืชมากที่สุด (H’ = 1.291 และ 1.050 ตามลําดับ) จากการศึกษานี้พบว่าสัตว์ขาข้อที่สามารถใช้ P. foetida ที่เป็นพืชป่า สามารถปรับตัวเพื่อใช้พืชชนิดอื่นที่เป็นพืชทางการเกษตรได้ โดยเฉพาะหนอนผีเสื้อ A. terpsicore ที่ กิน P. foetida เป็นพืชอาหาร ซึ่งข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สําหรับการจัดการแมลงศัตรูพืชบนพืชสกุล Passiflora

Plants in genus Passiflora are exotic plants that have been imported and cultivated in in Thailand as fruit crop plants and ornamental plants, but the information of diversity of arthropods, both herbivorous and predatory arthropods, on Passiflora plants are limited, Therefore, this study aimed to assessed the diversity of arthropods on four Passiflora plants, including Passiflora foetida (a wild plant), P. edulis (a fruit crop plant), P. x alato-caerulea (an ornamental plant) and P. x coccinea-caerulea (an ornamental plant). Each plant species was planted in 1x1 m2 plot. Plots were arranged randomly in line formation for 8 replications in area of Chulalongkorn University: Center of learning network for the region, Saraburi province. Arthropods were collected biweekly from March to December 2018. The collected arthropods were counted and identified to the family level. Arthropod community in all four plants were similar. From 32 families in 8 orders of herbivorous arthropods found in the four plants, the most abundant herbivorous arthropods were caterpillars in family Nymphalidae, especially caterpillars of Acraea terpsicore at a total of 7,194 individuals, and true bug in family Pyrrhocorridae at a total of 1,366 individuals. From 14 families in 9 orders of predatory arthropods, the most abundant predatory arthropods were spiders in family Oxyopidae at a total 136 individuals. Passiflora foetida had the highest Shannon-Wiener diversity index (H’) = 1.2914 for predatory arthropods and (H’) = 1.0498 for herbivorous arthropods, respectively. In conclusion, arthropods found in this study that can utilize wild plant, P. foetida, may adapt to utilize other Passiflora species that are crop plants and ornamental plants, especially caterpillars of A. terpsicore that originally consumed P. foetida as host plants. This study provides some necessary information for pest management on Passiflora plants.

คําสําคัญ : พืชต่างถิ่น การจัดการศัตรูพืช พืชสวนให้ผล ไม้ดอกประดับ พืชกลุ่มกะทกรก

Keywords: exotic plants, pest management, fruit crop plant, ornamental plant, passion vines

86

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 85

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

87

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 86


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 09 PEB-09

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 09 PEB-09

ฤทธิ์สัมผัสตายของสารสกัดยาสูบ (Nicotiana tabacum Linnaeus) ต่อ ไรแมงมุมสองจุด (Tetranychus urticae Koch)

Contact Toxicity Activity of Tobacco Extract (Nicotiana tobacum Linnaeus) on Two-Spotted Spider Mite (Tetranychus urticae Koch)

วสันต์ ตฤณธวัช และ วนิดา อ่วมเจริญ

Wasan Trintawat and Wanida Auamcharoen

ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ การใช้สารเคมีสังเคราะห์กําจัดแมลงก่อให้เกิดผลเสียต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม การศึกษาครั้ง นี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์สัมผัสตายของสารสกัดยาสูบต่อไข่และตัวเต็มวัยของไรแมงมุมสอง จุด ซึ่งอาจเป็นแนวทางในการนําสารสกัดยาสูบไปใช้ควบคุมไรศัตรูพืชแทนการใช้สารเคมีสังเคราะห์ ยาสูบจากไส้บุหรี่ 3 ชนิด ได้แก่ GUDANG GARAM ชนิดร้อน MINNA ชนิดร้อน และ GUDANG GARAM ชนิดเย็น ถูกนํามาสกัดด้วยตัวทําละลายอินทรีย์ 3 ชนิด ได้แก่ Hexane, Methylene chloride และ Methanol ใช้วิธีการแช่ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 4 วัน สารสกัดยาสูบทุกชนิดถูกนํามา ทดสอบฤทธิ์สัมผัสตายต่อไรโดยวิธีการพ่นโดยตรง ผลพบว่าสารสกัดหยาบ Hexane จากยาสูบ GUDANG GARAM ชนิดเย็น, GUDANG GARAM ชนิดร้อน และMINNA ชนิดร้อน ที่ความเข้มข้น 5% ออกฤทธิ์สัมผัสตายสูงสุดต่อไข่ไร โดยเป็นสาเหตุให้ไข่ไรไม่ฟัก 91.6, 76.2 และ 70.2% ตามลําดับ ที่เวลา 7 วันหลังการทดสอบ สารสกัดหยาบยังมีฤทธิ์สัมผัสตายสูงสุดต่อไรตัวเต็มวัย ทําให้ ไรตาย 97.8, 97.2 และ 81.1% ตามลําดับ ที่เวลา 3 วันหลังจากการทดสอบ สารสกัดเฮกเซนจาก ยาสูบ GUDANG GARAM ชนิดร้อน, MINNA ชนิดร้อน และ GUDANG GARAM ชนิดเย็น ที่ความ เข้มข้น 3% ทําให้ไข่ไรไม่ฟัก 51.7, 30.4 และ 18.7% ตามลําดับ ที่เวลา 7 วันหลังการทดสอบ ในขณะที่สารสกัดยาสูบ GUDANG GARAM ชนิดร้อน และ MINNA ชนิดร้อน ที่ความเข้มข้น 3% ฆ่า ไรตัวเต็มวัยตาย 100% ที่เวลา 1 วันหลังจากการทดสอบ ส่วนสารสกัดยาสูบ GUDANG GARAM ชนิดเย็น ที่ความเข้มข้น 1% ฆ่าตัวเต็มวัยไรตาย 100% ที่เวลา 3 วันหลังจากการทดสอบ คําสําคัญ : สารสกัดยาสูบ ไรแมงมุมสองจุด การควบคุมไร GUDANG GARAM MINNA

ABSTRACT Using synthetic insecticides cause harm to humans and environment. In this study, the objective was to study the contact toxicity activity of tobacco extracts on eggs and adults of two-spotted spider mites. The results from this study may guide to use tobacco extracts for controlling pest mites instead of synthetic chemicals using. The 3 cigarette tobacco types, GUDANG GARAM (type hot), GUDANG GARAM (type cool) and MINNA (type hot) were extracted with 3 organic solvents, hexane, methylene chloride and methanol by maceration method at room temperature for 4 days. All tobacco extracts were tested contact toxicity activity on mite by direct spray method. The results showed that hexane crude extract from GUDANG GARAM (type cool), GUDANG GARAM (type hot) and MINNA (type hot) at 5% (w/v) concentration induced the highest contact toxicity activity on mite eggs by causing 91.6, 76.2 and 70.2% unhatched eggs of mites, respectively. The extracts also caused the maximum contact toxicity activity on adult mites by inducing 97.8, 97.2 and 81.1% mite mortality, respectively at 3 days after treatment. The hexane crude extracts from GUDANG GARAM (type hot), MINNA (type hot) and GUDANG GARAM (type cool) at 3% (w/v) concentration appeared 51.7, 30.4 and 18.7% of unhatched egg of mites, respectively at 7 days after treatment where hexane crude extracts from GUDANG GARAM (type hot) and MINNA (type hot) at 3% (w/v) concentration killed 100% of adult mites 1 day after treatment and GUDANG GARAM (type cool) at 1% concentration killed mite adults 100% at 3 days after treatment. Keywords: Tobacco extract, Tetranychus urticae, mite control, GUDANG, GARAM, MINNA

88

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 87

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

89

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 88


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 10 PEB-10

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 10 PEB-10

ประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง (Steinernema carpocapsae) ที่มีต่อ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae)

Efficacy of an entomopathogenic nematode (Steinernema carpocapsae) against the fall armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae)

ลัทธพล เหมือนตา นิยาภรณ์ ขวัญเกตุ รัตนาวดี อ่อนวงษ์ และ อธิราช หนูสีดาํ

Ratapol Muanta Niyaporn Khanket Rattanawadee Onwong and Atirach Noosidum

ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) จัดเป็นแมลงศัตรูที่ สําคัญทางเศรษฐกิจของข้าวโพดและพืชอื่นๆ ทั่วโลก ปัจจุบันแมลงศัตรูพืชชนิดนี้ได้แพร่ระบาดใน ประเทศไทยและสร้างความเสียหายกับผลผลิตทางการเกษตรเป็นอย่างมากในหลายพื้นที่ งานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลงผลิตภัณฑ์การค้า (Steinernema carpocapsae, NEMA DOA®) ที่มีต่อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดวัย 3 ในห้องปฏิบัติการและ โรงเรือนทดลอง โดยหยดสารแขวนลอย S. carpocapsea ความเข้มข้น 0 25 50 100 200 และ 400 IJs/หนอน 1 ตัว ลงบนอาหารเทียมและให้หนอนกิน ผลการศึกษาพบว่า S. carpocapsea ความเข้มข้น 200-400 IJs/หนอน 1 ตัว ทําให้หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดวัย 3 มีค่าการตายอยู่ ระหว่าง 88-100 เปอร์เซ็นต์ หลังการทดสอบที่เวลา 72 ชั่วโมง และเมื่อลดความเข้มข้นของ S. carpocapsea ลงเป็น 25-50 IJs/หนอน 1 ตัว จะทําให้หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดวัย 3 มีค่าการ ตายไม่เกิน 70 เปอร์เซ็นต์ ค่าความเข้มข้นของ S. carpocapsea ที่ทําให้หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด วัย 3 ตาย 50 เปอร์เซ็นต์ (LC50) และ 90 เปอร์เซ็นต์ (LC90) มีค่าเท่ากับ 13 และ 166 IJs/หนอน 1 ตัว ตามลําดับ การศึกษาในโรงเรือนทดลองโดยการพ่นสารแขวนลอย S. carpocapsea บนต้น ข้าวโพดอายุ 10 วัน ที่มีหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดวัย 3 เข้าทําลาย พบว่า S. carpocapsea ความ เข้มข้น 1250 IJs/หนอน 1 ตัว มีความเสียหายบนใบพืชที่เกิดจากการเข้าทําลายของหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุดน้อยที่สุด (8.33 เปอร์เซ็นต์) รองลงมาเป็น S. carpocapsea ความเข้มข้น 400 IJs/ หนอน 1 ตัว (14.50 เปอร์เซ็นต์) ซึ่งทั้งคู่มีค่าแตกต่างกับชุดควบคุม (22.50 เปอร์เซ็นต์) อย่างมี นัยสําคัญ คําสําคัญ : หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง ข้าวโพด การควบคุมโดยชีววิธี

ABSTRACT The fall armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) is a serious economically insect pest of maize and various plants worldwide. This insect currently distributes and also causes high damage to agricultural products in many parts of Thailand. The objective of this work was to study the efficacy of a commercial entomopathogenic nematode (Steinernema carpocapsae, NEMA DOA®) against the 3rd instar of S. frugiperda under laboratory and greenhouse conditions. A drop of S. carpocapsea suspension at the rates of 0 25 50 100 200 and 400 IJs/insect larva applied on to an artificial diet for insect feeding. The results showed the S. carpocapsea at the rate of 200-400 IJs/insect larva killed the 3rd instar of S. frugiperda for 88-100% at 72 hours after application while S. carpocapsea at the rate of 25-50 IJs/ IJs/insect larva killed the 3rd instar of S. frugiperda less than 70%. The 50% lethal concentration (LC50) and 90% lethal concentration (LC90) for S. carpocapsea against the 3rd instar of S. frugiperda were 13 and 166 IJs/insect larva, respectively. The greenhouse experiment was done by sprayed S. carpocapsea suspensions on to 10 day-old maize plant with having 3rd instar of S. frugiperda. Treatment of S. carpocapsea at the rate of 1250 IJs/ IJs/insect larva had the lowest plant damage (8.33%), followed by treatment of S. carpocapsea at the rate of 400 IJs/ IJs/insect larva (14.50%) and both treatments were all significantly different to control treatment (22.50%). Keywords: fall armyworm, entomopathogenic nematode, maize, biological control

90

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 89

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

91

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 90


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 11 PEB-11

ประสิทธิภาพของสารรมอีโคฟูม (ECO2FUME) ในการป้องกันกําจัดเพลี้ยแป้งมังคุด (Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae)) ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ รังสิมา เก่งการพานิช ภาวินี หนูชนะภัย พณัญญา พบสุข และ ศรุตา สิทธิไชยกุล

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 11 PEB-11

Efficiency of ECO2FUME to control Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae) Duangsamorn Suthisut Rungsima Kengkanpanich Pavinee Noochanapai Pananya Pobsuk and Saruta Sittichaiyakul

กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพ 10900

Post-harvest and Processing Research and Development Division, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

การใช้ ส ารรมเป็ น วิ ธี ที่ ใ ช้ กั น ทั่ ว ไปในการกํ า จั ด แมลงศั ต รู พื ช หลั ง การเก็ บ เกี่ ย วในมั ง คุ ด โดยสารรมที่นิยมใช้คือสารรมเมทิลโบรไมด์ แต่เนื่องจากสารรมชนิดนี้มีข้อจํากัดในการใช้ ดังนั้น สาร รมอีโคฟูมจึงเป็นอีกทางเลือกในการนํามาใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว วัตถุประสงค์ของ งานวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ พื่ อ ศึ ก ษาอั ต ราและระยะเวลาที่ เ หมาะสมในการกํ า จั ด เพลี้ ย แป้ ง มั ง คุ ด (Pseudococcus cryptus Hempel) (Hemiptera: Pseudococcidae) โดยการทดลองดําเนินการ ที่ ห้ องปฏิ บั ติ การของกลุ่ มวิ จั ยและพั ฒนาเทคโนโลยี หลั งการเก็ บเกี่ ยวพื ชไร่ กองวิ จั ยและพั ฒนา วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร ระหว่างตุลาคม 2558-กันยายน 2561 ผลการ ทดลองพบว่าสารรมอีโคฟูมที่อัตรา 7 และ 70 กรัม/ลูกบาศก์เมตร นาน 2 ชั่วโมง สามารถกําจัดเพลี้ย แป้งมังคุดระยะตัวอ่อนและระยะตัวเต็มวัยได้ โดยที่สารรมอีโคฟูมในอัตราและระยะเวลาเดียวกันนี้ไม่ สามารถกําจัดเพลี้ยแป้งระยะไข่ได้ ดังนั้น ระยะไข่ของเพลี้ยแป้งมังคุดเป็นระยะที่ทนทานต่อสารรมอีโค ฟูมได้มากกว่าเพลี้ยแป้งมังคุดระยะอื่น จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่า ไข่เพลี้ยแป้งมังคุดอายุ 7 วัน มี ความอ่อนแอต่อสารรมอีโคฟูมมากกว่า ไข่เพลี้ยแป้งมังคุดอายุ 1 วัน อย่างไรก็ตาม สารรมอีโคฟูมอัตรา 210 กรัม/ลูกบาศก์เมตร นาน 24 ชั่วโมง ไม่สามารถกําจัดไข่เพลี้ยแป้งมังคุดได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น อัตราและระยะเวลาที่เหมาะสมของสารรมอีโคฟูมในการกําจัดระยะไข่เพลี้ยแป้งมังคุดจําเป็นต้องศึกษา เพิ่มเติม

The fumigation method basically uses for controlling contaminated-insect pests in mangosteens. The well-known fumigant is methyl bromide. However, the methyl bromide is limited to use. Therefore, eco2fume could be used as an alternative fumigant to control insect pests after harvesting. The aim of this study was to investigate the concentration and time period of eco2fume to control mealybug; Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae). The experiments were run under laboratory condition at Postharvest Technology on Field Crops Research and Development Group, Postharvest and Processing Research and Development Division, Department of Agriculture. The experiment was implemented from October 2015 to September 2018. The results have shown that eco2fume concentration of 7 and 70 g/m3 for 2 h can completely eradicate nymphs and adults of P. cryptus, respectively. Whereas, P. cryptus eggs were not controlled in the same concentration. Then, mealy bug eggs were more tolerant to eco2fume than other stages and 7 days-old eggs were more susceptible to eco2fume than 1 day-old eggs. However, the highest dose of 210 g/m3, 24h from this experiment did not completely control the eggs. Therefore, the appropriate dosage of eco2 fume needs further study.

คําสําคัญ : สารรม อีโคฟูม เพลี้ยแป้งมังคุด

Keywords: Fumigant, ECO2FUME, Pseudococcus cryptus

92

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 91

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

93

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 92


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 12 PEB-12

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 12 PEB-12

การติดตามการระบาดของแมลงดําหนาม และแนวโน้มการทําความเสียหายต่อผลผลิต ข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี

Outbreak Surveillance of Rice Hispa and a Tendency of Causing Rice Crop Losses

จินตนา ไชยวงค์ พลอยไพลิน ธนิกกุล ปกรณ์ เผ่าธีระศานต์ และ ธนดล ไกรรักษ์

Jintana Chaiwong Ploypirin Thanikkul Pakorn Paoteerasarn and Tanadol Kairak

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ

แมลงดําหนาม (rice hispa, Dicladispa armigera (Olivier)) เป็นแมลงศัตรูข้าวอันดับรอง และพบการระบาดเป็นครั้งคราว จากรายงานในอดีต พบการระบาดในปี 2475, 2527 และ 2541 ที่ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา นครปฐม สุ พ รรณบุ รี และชั ย นาท หลั ง จากนั้ น ไม่ พ บรายงานการระบาด จนกระทั่งปี 2561 พบความเสียหายในนาข้าวที่จังหวัดสุพรรณบุรี สิงห์บุรี และชัยนาท นอกจากนี้ จากการสอบถามเกษตรกรอําเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า เมื่อประมาณปี 2558 เป็นต้น มา พบการเข้าทําลายของแมลงดําหนามทุกฤดูปลูก ด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการดําเนินงานวิจัยนี้ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อติดตามการระบาดของแมลงดําหนามในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งจะใช้เป็นข้อมูลใน การเตรียมรับสถานการณ์ หากเกิดการระบาดอย่างรุนแรงในอนาคต ดําเนินการ 2 ฤดูปลูก ในเดือน กันยายน 2561 ถึงเดือนมีนาคม 2562 จากการศึกษาในฤดูนาปรัง 1/2562 พบตัวเต็มวัยของแมลงดํา หนามเข้าทําลายในข้าวระยะแตกกอถึงตั้งท้อง (49-65 วัน) จากนั้น ประชากรลดลงจนถึงไม่พบเลย พบมากในช่วงต้นเดือนกันยายนถึงกลางตุลาคม ส่วนในฤดูนาปรัง 2/2562 พบตัวเต็มวัยของแมลงดํา หนามเข้าทําลายในข้าวระยะแตกกอจนถึงระยะออกรวง (47-91 วัน) โดยพบมากในช่วงเดือนมีนาคม นอกจากนี้ ได้มีการสุ่มเก็บตัวอย่างไข่ หนอน และดักแด้ของแมลงดําหนาม พบการเบียนของแตน เบียนไข่ Trichogramma spp. แตนเบียนหนอน Bracon sp. และแตนเบียนดักแด้ Trichomalopsis sp. ในอัตราสูง โดยเฉพาะแตนเบียนไข่ Trichogramma spp. และแตนเบียน หนอน Bracon sp. ที่มีแนวโน้มมีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมแมลงดําหนาม คําสําคัญ : ตัวเบียน การระบาดเป็นครั้งคราว ฤดูนาปรัง นาข้าว

Division of Rice Research and Development, Rice Department, Chatuchak, Bangkok 10900 Tel. 0-2579-7559 ext. 5202

ABSTRACT Rice hispa, Dicladispa armigera (Olivier) is a minor pest of rice that which occasionally found in rice fields. Previous reports mentioned the outbreak of rice hispa occurred in 1932, 1984, and 1998 at Chachoengsao, Nakhon Pathom, Suphan Buri and Chainat provinces but no further outbreak reports were found. Surprisingly, outbreaks were found again in Chachoengsao, Suphan Buri and Chainat province in 2018 and the information collected from farmers in Si Prachan District, Suphan Buri provinces referred the continuous outbreaks on every crop since 2015 to till date. Current research has been conducted with purpose to study outbreak surveillance of rice hispa in Suphan Buri province and the data will be helpful to deal with any outbreak situations in the future. Our study has conducted in two crops seasons in between September 2018 to March 2019. Our findings revealed that, adult rice hispa destroyed the rice plants at tillering to booting stage (49-65 days after sowing; DAS) in the second dry season 2019. Later on, their population has decreased to normal at ripening stage. The most rice hispa were found in between September to midOctober in 2018. However, in the second dry season 2019 March, adult rice hispa destroyed again the rice plants at tillering to ripening stage (47-91 days after sowing; DAS) in huge. We randomly collected some samples of rice hispa eggs, nymphs and pupa along with high rate of parasites in addition. Our further study showed that, they are mostly ingested by egg parasitoid Trichogramma spp, larva parasitoid Bracon spp., and pupa parasitoid Trichomalopsis spp. Keywords: parasite, occasionally outbreak, dry season, rice field.

94

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 93

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

95

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 94


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEB - 13 PEB-13

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Bird Pest Species and Damage Assessment in Chiang Rai Province’s Rice Fields

นกศัตรูข้าวและการประเมินความเสียหายในนาข้าว จังหวัดเชียงราย ทัสดาว เกตุเนตร1 อุรัสยาน์ ขวัญเรือน2 ฉัตรชัย บุญแน่น2 และ ชนาธิป สุธงษา2 1

ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900 ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900

2

บทคัดย่อ การศึกษาเรื่องนกศัตรูข้าวและความเสียหายในนาข้าว จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบความหลากชนิด ความหนาแน่น การใช้ประโยชน์พื้นที่ และความเสียหายที่เกิดจากนกศัตรูข้าว ดําเนินการเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2559 – พฤศจิกายน 2561 โดยใช้วิธีการสํารวจตามจุด กําหนด (point counts) จํานวน 10 จุดสํารวจ ใน 10 อําเภอของจังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบ นกศัตรูข้าว จํานวน 9 ชนิด ได้แก่ นกกระติ๊ดขี้หมู (scaly-breasted munia, Lonchura punctulata) นกกระติ๊ดตะโพกขาว (white-rumped munia, L. striata) นกกระจอกบ้าน (eurasian tree sparrow, Passer montanus) นกกระจอกตาล (plain-backed sparrow, P. flaveolus) นกกระจอกใหญ่ (house sparrow, P. domesticus) นกกระจาบธรรมดา (baya weaver, Ploceus philippinus) นกเขาชวา (zebra dove, Geopelia striata) นกเขาใหญ่ (spotted dove, Spilopelia chinensis) และนกพิราบป่า (rock pigeon, Columba livia) โดยสกุลนกกระติ๊ดพบเป็นชนิดเด่น พบ เข้าทําลายข้าวสูงสุดในระยะน้ํานมถึงระยะก่อนเก็บเกี่ยว (ความหนาแน่นเฉลี่ย 5.9 ตัวต่อไร่) โดย ช่วงเวลาที่พบนกศัตรูข้าวมีความหนาแน่นสูงสุด คือช่วง 17.00 - 17.30 น. (8.8 ตัวต่อไร่) การ ประเมินความเสียหายจากนกศัตรูข้าว พบความเสียหายเฉลี่ยในฤดูนาปรัง และฤดูนาปี ร้อยละ 3.59 และ 4.08 ตามลําดับ ความหนาแน่นของนกศัตรูข้าวมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันในระดับปาน กลางกับร้อยละความเสียหายในนาข้าว (rs = 0.603, P = 0.038, n = 12) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถใช้ เป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้ในการวางแผนป้องกันกําจัดนกศัตรูข้าวให้มีประสิทธิภาพและส่งผลกระทบต่อ ระบบนิเวศน้อยที่สุดต่อไป คําสําคัญ : นาข้าว นกศัตรูข้าว การประเมินความเสียหาย จังหวัดเชียงราย

PEB - 13 PEB-13

Thasdaw Katenate1 Urassaya Kuanruen2 Chatchai Boonnan2 and Chanathip Suthongsa2 1

Prachin Buri Rice Research center, Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900 2 Chiang Rai Rice Research center, Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900

ABSTRACT The objectives of this study were to investigate the species diversity, density, habitat use and also to assess the damage level on rice by birds in Chiang Rai province. A point count method was applied to survey birds in 10 sites from February 2016 to November 2018. The results showed that 9 bird pest species were found in the study sites including scaly-breasted munia, Lonchura punctulata, white-rumped munia, L. striata, eurasian tree sparrow, Passer montanus, plain-backed sparrow, P. flaveolus, house sparrow, P. domesticus, baya weaver, Ploceus philippinus, zebra dove, Geopelia striata, spotted dove, Spilopelia chinensis and rock pigeon, Columba livia. The genus Lonchura was dominant bird pests in rice field during milky until pre-harvesting stages (5.9 birds/rai). The highest recorded density of bird pest was found around 17.00 17.30 p.m. (8.8 birds/rai). The rice crops can be damaged by birds at approximately 3.59% in dry season and 4.08% in wet season. The correlation analysis showed that bird density was moderately correlated with the damage level in rice field (rs = 0.603, P = 0.038, n = 12). The results could be used as the basic data for planning efficient control of bird pest with the minimal impact on ecosystem. Keywords: rice fields, bird pests, damage assessment, Chiang Rai Province

96

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 95

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

97

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 96


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 01 PEA-01

อิทธิพลของทิศทางลมต่อการแพร่ระบาดของโรคใบด่างมันสําปะหลังโดยแมลงหวี่ขาว กิ่งกาญจน์ เสาร์คาํ 1 ชัยโรจน์ ใหญ่ประเสริฐ2 นวลนภา เหมเนียม3 สุกัญญา ฤกษ์วรรณ3 ศิริกาญจน์ หรรษาวัฒนกุล4 จุฑาทิพย์ ถวิลอําพันธ์3 และ วันวิสา ศิริวรรณ์3 1

ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140 2 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช 80160 3 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 4 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ โรคใบด่างมันสําปะหลัง ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava mosaic virus สายพันธุ์ Sri Lankan (SLCMD) พบครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จังหวัดรัตนคีรี ไวรัสแพร่กระจายโดย ท่อนพันธุ์และมีแมลงหวี่ขาวยาสูบ (Bemisia tabaci) งานศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ สภาพอากาศที่อาจจะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของแมลงหวี่ขาวยาสูบ วิธีการศึกษาได้ทําการดาวน์โหลด ข้อมูลกระแสลมจากฐานข้อมูลออนไลน์ขนาดใหญ่ (Big data, https://www.wunderground.) เพื่อ ทํา การวิ เ คราะห์ ทิศ ทางและความแรงของกระแสลมในรูป ของกราฟโครงข่ า ยใยแมงมุ ม ที่ แ สดง ค่าความถี่กับทิศทางของกระแสลมจากช่วง พ.ศ. 2541- ปัจจุบันมาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลชีววิทยา ของแมลงหวี่ขาวยาสูบและข้อมูลการสํารวจโรคฯ บริเวณพื้นที่ตะเข็บชายแดนประเทศไทยที่ติดกับ ประเทศกัมพูชาใน พ.ศ. 2561-2562 ผลการสํารวจพบโรคฯ แพร่ระบาดใน 5 จังหวัด ได้แก่ ปราจีนบุรี, ศรีสะเกษ, สุรินทร์, สระแก้ว และชลบุรี ซึ่งเกิดจากแมลงหวี่ขาวเป็นพาหะนําโรค แมลง หวี่ขาวสามารถเคลื่อนที่ได้ประมาณ 7 กิโลเมตรต่อวงจรชีวิต เฉลี่ยคิดเป็น 100 กิโลเมตรต่อปี และมี ความเร็วในการเคลื่อนที่ประมาณ 3.22 กิโลเมตรต่อชั่วโมง กราฟโครงข่ายใยแมงมุมชี้ให้เห็นว่า กระแสลมส่วนใหญ่มีทิศไปทางตะวันตกเฉียงใต้ ส่วนความเร็วของกระแสลมสูงสุดมักเกิดขึ้นในช่วงที่มี พายุ เช่น การเกิดพายุในมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันตกมีโอกาสเกิดขึ้นเฉลี่ย 10-15 ครั้งต่อปี ซึ่งเป็น ปัจจัยสําคัญที่เสริมการเคลื่อนที่ของแมลงพาหะ แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2543-2561 ไม่พบพายุที่พัดผ่าน จากประเทศกัมพูชามาประเทศไทย ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่าการเกิดเคลื่อนที่ของแมลงพาหะใน ประเทศไทยอาจได้รับอิทธิพลมาจากทิศทางของกระแสลมเป็นหลัก ซึ่งพยากรณ์การแพร่เคลื่อนที่ของ แมลงหวี่ขาวอาจจะมีแนวโน้มไปในทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสลมคือทิศตะวันตกเฉียงใต้ คําสําคัญ : โรคใบด่างมันสําปะหลัง แมลงหวี่ขาวยาสูบ (Bemisia tabaci) กระแสลม ฐานข้อมูล ออนไลน์ขนาดใหญ่ (Big data)

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 01 PEA-01

Influence of wind direction to cassava mosaic disease outbreak by whitefly Kingkan Saokham2 Chairote Yaiprasert2 Nuannapa Hemniam1 Sukanya Roekwan1 Sirikan Hunsawattanakul3 Jutathip Thawinampan1 and Wanwisa Siriwan1 1

Center of Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Nakhon Pathom 73140 2 Walailak University, Nakhon Si Thammarat 80160 3 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 4 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

ABSTRACT Cassava mosaic disease cause by Cassava mosaic virus stain Sri Lankan (SLCMD). Cassava mosaic disease (CMD) was first reported in Southeast Asia at Ratanakiri Province. SLCMD is naturally transmitted by cutting material and whitefly (Bemisia tabaci). The objective of study is conducting the influence of weather affect to the whitefly movement. The procedures of this study downloaded the wind data from big data (Big data, https://www.wunderground.) for analyzing radar chart of wind direction and speed which presented the frequency of wind direction from 1998present. The wind information was analyzed with whitefly biology and the CMD surveillance where survey took place in Prachin Buri, Sisaket, Surin, Sa Kaeo and Chon Buri province. Those province were found CMD infected by whitefly. The whitefly movement ability is approximately 7 kilometers per life cycle which average is 100 kilometers per year. Their movement have average speed approximately 3.22 kmph. Based on the radar chart show the most wind direction was going to the southwest. The maximum of wind speed usually occurs during storms such as the occurrence of storms in the Western Pacific Ocean has an average 10-15 times a year. It is an important factor that can speed up of whitefly movement. There have no report that, Cambodia was hit by storms and passed to Thailand since 2000 until 2018. Therefore, the possibility of the whitefly spread in Thailand may be influence by the direction of the wind. The prediction of whitefly outbreak may tend to be in the wind direction in the Southwest. Keywords: Cassava mosaic disease, Whitefly (Bemisia tabaci), Wind direction Big dat

98

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 97

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

99

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 98


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 02 PEA-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 02 PEA-02

แนวโน้มและความสัมพันธ์ของศัตรูข้าวและผลผลิตของแปลงนาข้าวพันธุ์ กข61 ฤดูนาปีและนาปรังภายใต้สภาพนาชลประทาน

Trend and Correlation of Rice pests RD61 on Wet and Dry season under Irrigated Lowland Rice Fields

ศุภลักษณา หล่าจันทึก1 สุกัญญา อรัญมิตร1 สุภาวดี ฤทธิสนธิ1์ สุนสิ า คงสมโอษฐ์1 ปวีณา เข้มประเสริฐ1 ติณณภพ เชิงเทิน1 และ สิทธ์ ใจสงฆ์2

Suphalaksana lachanthuek1 Sukanya Arunmit1 Supawadee Rittison1 Sunisa Kongsom-od1 Parweena Khemparsert1 Tinnapop Churngturn1 and Sith Jaisong2

1

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 2 ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง อ.เมือง จ.พัทลุง 93000

บทคัดย่อ การระบาดของศัตรูข้าวเป็นปัญหาสําคัญต่อการผลิตข้าว พื้นที่ปลูกข้าวแต่ละที่มีระบบ นิเวศไม่เหมือนกันทําให้ชนิดของศัตรูข้าวแตกต่างกัน ฉะนั้นวิธีการป้องกันกําจัดศัตรูข้าวจึงมีความ แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่หรือฤดูกาล ดังนั้นจึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเสียหายจากศัตรูข้าว และผลผลิตข้าว โดยสํารวจแปลงนาเกษตรกรและวิเคราะห์ ความสัม พันธ์ ด้วยวิธีการ principle component analysis จํานวน 50 แปลง ที่ปลูกข้าวพันธุ์ กข61 อําเภอเมืองสุพรรณบุรี และอําเภอ ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี ฤดูนาปีและนาปรัง ปี 2560-2561 พบว่า ในฤดูนาปรังจํานวนชนิด ของศัตรูข้าวมากกว่าฤดูนาปี ฤดูนาปรังพบการระบาดของโรคเมล็ดด่างมีความสัมพันธ์กับโรคใบจุดสี น้ําตาลและโรคใบขีดสีน้ําตาล ฤดูนาปีความสัมพันธ์ของโรคเมล็ดด่างก็ยังสอดคล้องกับฤดูนาปรัง และ การระบาดของโรคใบขีดโปร่งแสงมีความสัมพันธ์กับโรคขอบใบแห้ง แนวโน้มของผลผลิตข้าวในฤดูนา ปรัง พบว่า มีทิศทางผกผันกับการระบาดของแมลงบั่วและอาการยอดเหี่ยว ฤดูนาปี พบว่า มีทิศทาง ผกผันกับการระบาดของหนอนห่อใบ ความสัมพันธ์ทั้งในเชิงบวกหรือลบสามารถนํามาวิเคราะห์การ ระบาดของศัตรูข้าวและใช้เป็นแนวทางในการป้องกันกําจัดศัตรูข้าวที่สําคัญต่อการผลิตข้าว และ เพื่อให้การป้องกันกําจัดโรคมีประสิทธิภาพ ควรป้องกันกําจัดโรคเมล็ดด่างและโรคใบขีดสีน้ําตาล ควบคู่กัน ฤดูนาปรังควรเน้นการป้องกันกําจัดแมลงบั่วและหนอนกอ ส่วนฤดูนาปีควรเน้นการป้องกัน กําจัดหนอนห่อใบ เพราะการระบาดของศัตรูข้าวเหล่านี้มีความสัมพันธ์เชิงลบอย่างชัดเจนกับผลผลิต ข้าว คําสําคัญ : กข61 แนวโน้ม ความสัมพันธ์ ความเสียหายจากศัตรูข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี

1

Division of Rice Research and Development, Rice Department, Chatuchak, Bangkok 10900 2 Phatthalung Rice Research Center, Mueang, Phatthalung 93000

ABSTRACT Rice pest outbreaks are important problems of rice production. Ecologies of different rice paddy fields are varied, which reveal various forms of rice pests and outbreaks. Therefore, rice pest management plans are dependent on different areas based on their own problem. This study was to determine the correlations between pest injuries and yield. Surveys of rice pest injuries and yields were conducted in farmers’ fields. Data were analyzed by principle component analysis. Pest injuries were surveyed in 50 RD61planted field in two districts; Muang Suphan Buri District and Si Prachan District, at Suphan Buri Province in the wet and dry season during in 2017-2018. The results showed that kinds of pests were higher in the dry season more than wet season. The correlation of rice pests and yield revealed that. Incidences of dirty panicle, brown spot, and narrow brown spot were highly correlated in the dry season; moreover, in wet season dirty panicle incidences were also associated with brown spot incidences, and incidences of bacterial leaf streak are positively correlated with bacterial leaf blight incidences. The trend of yield in the dry season is negatively correlated with incidences of rice gall midge and deadheart caused by stem borer. Whereas, in the wet season yields were inversely correlated with rice leaffolder incidences. All in all, the correlations of rice pests and yields were be able to develop as a guideline for improvement of an area-based pest management program. the results of this study point that to prevent the dirty panicle disease effectively required to synchronically control narrow brown spot. To minimize yield gap, in the dry season, incidences of rice gall midge, stem borer are suppressed, whereas in the wet season incidences of rice leaffolders are needed to control because of they are negatively correlated with rice yields.

Keywords: RD61, trend, correlation, nice pest injuries, Suphan Buri province

100

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 99

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

101

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 100


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 03 PEA-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 03 PEA-03

ศึกษาชนิดและปริมาณของหนูในพื้นที่นาข้าวที่มีการล้อมรั้วร่วมกับการใช้ลอบดักหนู ในจังหวัดสุพรรณบุรี

Type and Rat Population in Rice Fields Using Trap Barrier System (TBS) at Suphanburi Province.

ทัสดาว เกตุเนตร1 ปรัชญา แตรสังข์2 และ อุรัสยาน์ ขวัญเรือน3

Thasdaw Katenate1 Prachya Traesang2 and Urassaya Kuanruen3

1

ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900 2 สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าวแห่งชาติ กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900 3 ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ การศึ ก ษาชนิ ด และปริ ม าณหนู ใ นพื้ น ที่ น าข้ า วที่ มี ก ารล้ อ มรั้ ว ร่ ว มกั บ การใช้ ล อบดั ก หนู ดําเนินการในพื้นที่ ตําบลรั้วใหญ่ อําเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ในฤดูการปลูกข้าวปี 2559 โดยใช้ แปลงนาข้าวพันธุ์ กข41 ขนาด 5 ไร่ จํานวน 1 แปลง หลังจากหว่านข้าวดําเนินการล้อมรั้วผ้าใบและ ติดตั้งลอบดักหนู จํานวน 18 ลอบ ทําการตรวจความเรียบร้อยของผ้าใบพลาสติกและเก็บหนูออกจาก ลอบทุกวัน ผลการศึกษาพบว่า ในพื้นที่ปลูกข้าวที่ทําการศึกษาครั้งนี้ พบหนูนาตั้งแต่ข้าวระยะกล้า ไป จนถึงระยะก่อนเก็บเกี่ยว โดยพบหนูศัตรูข้าวติดในลอบดักหนูตลอดฤดูปลูก จํานวน 127 ตัว ชนิดของ หนูที่พบในลอบดักหนูมี 5 ชนิด ได้แก่ หนูนาใหญ่ (Rattus argentiventer) 58 เปอร์เซ็นต์ หนูนาเล็ก (Rattus losea) 27 เปอร์เซ็นต์ หนูท้องขาวบ้าน (Rattus rattus) 10 เปอร์เซ็นต์ หนูพุกใหญ่ (Bandicota indica) 4 เปอร์เซ็นต์ และหนูหริ่งนาหางยาว (Mus caroli) 1 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ พบสัตว์ผู้ล่าหนูติดเข้าในลอบดักหนูด้วย ได้แก่ งูชนิดต่างๆ ตัวเงินตัวทอง และตะกวด คําสําคัญ : การล้อมรั้วร่วมกับการใช้ลอบดักหนู ปริมาณหนู นาข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี

1

Prachin Buri Rice Research center, Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900 2 Thailand Rice Science Institute, Rice Department, Bangkok 10900 3 Chiang Rai Rice Research center, Division of Rice Research and Development, Rice Department, Bangkok 10900

ABSTRACT In this study, type and rat population in rice field using trap barrier system (TBS) were surveyed at Rua Yai, Suphanburi province in dry season 2016. 0.8 hectares of rice field, installation of the TBS. The TBS was plastic fence with multiple - capture live rat traps inserted intermittently at its base. 18 multiple - capture live rat traps were placed in the interior side at the base of the fence. Rat catches through the multiple - capture live rat traps placed inside the TBS. The plastic material checked for holes and traps were monitored daily. The results showed a total of 127 rats were collected. The majority of rats species from rice field were Rattus argentiventer, Rattus losea, Rattus rattus, Bandicota indica and Mus caroli, respectively. Furthermore, There are lots of predators in the traps such as snakes, water monitor (Varanus salvator) and tree monitor (Varanus bengalensis). Keywords: trap barrier system (TBS), rat population, rice field, Suphanburi province

102

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 101

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

103

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 102


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 04 PEA-04

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 04 PEA-04

เซนทารี/ฟลอร์แบค และ ไดเพล/แบคโทสปิน สารชีวภัณท์กําจัดแมลง: ศัตรูธรรมชาติ ของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด Spodoptera frugiperda (J.E. Smith)

Xentari/Florbac and Dipel/Bactospeine Biological Insecticides: The Natural Enemy of Spodoptera frugiperda (J.E. Smith)

เดเนียล ซอมมิค1 และ วันชัย รัตนเดชากุล2

Daniel Zommick1 and Wanchai Rattanadechakul2

1

ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท วาเลนท์ ไบโอซายน์ แอลแอลซี, ลิเบอร์ตี้วิลล์, อิลลินอยส์, สหรัฐอเมริกา 2 ผู้จัดการฝ่ายธุรกิจ บริษัท ซูมิโตโม เคมิคัล (ประเทศไทย) จํากัด ชั้น 35 ห้อง 3505 อาคารเอ็กเชนทาวเวอร์, 388 ถนนสุขุมวิท, แขวงคลองเตย, เขตคลองเตย, กรุงเทพฯ 10110

1

Business Strategy Development Manager Valent BioSciences LLC, Libertyville, IL, USA Business Manager Sumitomo Chemical (Thailand) Co.,Ltd., Level 35 Unit 3505 Exchange Tower, 388 Sukhumvit, Klongtoey, Klongtoey, Bangkok 10110

2

บทคัดย่อ

ABSTRACT

สารชีวภัณท์กลุ่ม Bacillus thuringiensis subsp. aizawai และ kurstaki ได้วางจําหน่าย มาหลายทศวรรษในชื่อการค้า เซนทารี®/ฟลอร์แบค® และ ไดเพล®/แบคโทสปิน® ตามลําดับ เพื่อใช้ ป้องกันกําจัดหนอนผีเสื้อ รวมทั้งหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm (FAW) Spodoptera fruiperda (J.E. Smith)) Bacillus thuringiensis หรือ บีที มีกลไกเฉพาะในการเข้า ทําลายลําไส้ส่วนกลางของหนอน ทําให้หนอนผีเสื้อหยุดการกินทันที ต่างจากสารกําจัดแมลงทั่วไปที่ มักจะเข้าทําลายเพียงเป้าหมายเดียว เซนทารี®/ฟลอร์แบค® และ ไดเพล®/แบคโทสปิน® ประกอบด้วย โปรตีนสารพิษ (cry-toxin protein) 4 ชนิด ที่มีความเฉพาะเจาะจงในการจับ receptor ในลําไส้ส่วนกลางของหนอนต่างกัน คุณสมบัติดังกล่าวสามารถชนะความต้านทานของ หนอนต่อการใช้โปรตีนสารพิษชนิดเดียว บีทีเป็นสารกําจัดแมลงชนิดเดียวที่มีเป้าหมายเข้าทําลาย ระบบทางเดินอาหารลําไส้ส่วนกลางจึงเป็นองค์ประกอบสําคัญสําหรับจัดการความต้านทานแมลง ศัตรูพืชแบบผสมผสานโดยเฉพาะหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด นอกจากนี้ บีทีมีความปลอดภัยต่อ แมลงที่เป็นประโยชน์ แมลงผสมเกสร หลังพ่นบีทีผลผลิตสามารถเก็บเกี่ยวในเวลาอันสั้น ผู้ใช้สามารถ เข้าทํางานในแปลงปลูกได้โดยปลอดภัย ด้วยคุณสมบัติของบีทีซึ่งมีกลไกการออกฤทธิ์ต่างจากสาร กําจัดแมลงทั่วไปและเป็นที่ยอมรับด้านความปลอดภัย ดังนั้น บีที เซนทารี®/ฟลอร์แบค® และ ได เพล®/แบคโทสปิน® จึงได้รับการขึ้นทะเบียนมากกว่า 60 ประเทศทั่วโลก ใช้เป็นสารกําจัดแมลงหลัก เพื่ อ ป้ อ งกั น กํ า จั ด หนอนกระทู้ ข้ า วโพดลายจุ ด ในสหรั ฐ อเมริ ก าตอนใต้ บราซิ ล และ ทั่วภาคพื้นยุโรป รวมทั้งเอเชีย

The Bacillus thuringiensis subsp. aizawai and kurstaki strains sold under the trade names XenTari®/Florbac® and Dipel®/Bactospeine®, respectively, have been used for decades to reliably manage Lepidopteran pests, including Fall Armyworm (FAW) Spodoptera frugiperda (J.E. Smith). Bt has a unique mode of action which causes immediate feeding cessation by targeting the Lepidopteran midgut. Unlike traditional insecticides that only affect a single target site, XenTari®/Florbac® and Dipel®/Bactospeine® contain four distinct cry-toxin proteins that can bind to different receptor sites in the larval midgut to overcome tolerance to any single toxin protein. Since Bt is the only insecticide to target the midgut it is an essential component of an integrated resistance management program against this devastating pest. Finally, Bt has an unsurpassed safety profile having no impact on beneficial insects, pollinators or workers and giving them the shortest preharvest and re-entry intervals allowed. With their unique mode of action and safety profile the Bt strains in XenTari®/Florbac® and Dipel®/Bactospeine®are registered in over 60 countries worldwide and have become a staple in Armyworm management in the southern USA, Brazil and across Europe and Asia.

คําสําคัญ : บีที โปรตีนสารพิษ กลไกการออกฤทธิ์ ความปลอดภัย ขึ้นทะเบียน

104

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 103

Keywords: Bacillus thuringiensis, cry-toxin protein, mode of action, safety, register

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

105

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 104


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 05 PEA-05

ประสิทธิภาพเชื้อแบคทีเรียและสารฆ่าแมลงในการป้องกันกําจัดหนอนกระทู้ผักในพริก สมศักดิ์ ศิรพิ ลตั้งมั่น และ สุภราดา สุคนธาภิรมณ์ ณ พัทลุง สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อได้ชนิดสารฆ่าแมลงและอัตราการใช้ที่มีประสิทธิภาพป้องกัน กําจัดหนอนกระทู้ผักในพริก การศึกษาประสิทธิภาพเชื้อแบคทีเรีย และสารฆ่าแมลงในการป้องกัน กําจัดหนอนกระทู้ผักในพริก ทําการทดลองที่แปลงเกษตรกร อําเภอท่าม่วง และอําเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2560 - มิถุนายน 2561 วางแผนการทดลองแบบ randomized complete block มี 4 ซ้ํา 10 กรรมวิธี ได้แก่ กรรมวิธีพ่น Bacillus thuringiensis subsp aizawai, emamectin benzoate 1.92%EC, lufenuron 5%EC, methoxyfenozide 24 SC, indoxacarb 15%EC, spinetoram 12%SC, deltamethrin 3%EC, chlorantraniliprole 5.17%SC และ chlorfenapyr 10%SC เปรียบเทียบกับกรรมวิธีไม่ใช้สารฯ ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีพ่น indoxacarb 15%EC, chlorantraniliprole 5.17%SC, chlorfenapyr 10% SC, emamectin benzoate 1.92%EC, spinetoram 12%SC, methoxyfenozide 24 SC, lufenuron 5%EC, deltamethrin 3%EC และ Bacillus thuringiensis subsp aizawai มีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดหนอนกระทู้ผักในพริก และพบแมลงศัตรูธรรมชาติหนอนกระทู้ผัก 1 ชนิด คือ มวนพิฆาต (Stink bug: Eocanthecona furcellata (Wolff)) คําสําคัญ : เชื้อแบคทีเรีย สารฆ่าแมลง หนอนกระทู้ผัก พริก

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 05 PEA-05

Efficacy of bacteria and insecticides for controlling common cutworm: Spodoptera litura (Fabricius) in chili Somsak Siripontangmun and Suprada Sukonthabhorom na Pattalung Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture

ABSTRACT The purpose of this research was to obtain effective insecticides and their recommended rates to control common cutworm (Spodoptera litura (Fabricius)) damaging chili. A study on the efficacy of bacteria and insecticides for controlling common cutworm: S. litura (Fabricius) in chili, was conducted on farmer’s fields in Ta Muang and Ta Maka district, Kanchanaburi province during November, 2017-June, 2018. The trial was a randomized complete block design with 4 replicates and 10 treatments namely, spraying of Bacillus thuringiensis subsp aizawai, emamectin benzoate 1.92%EC, lufenuron 5%EC, methoxyfenozide 24%SC, indoxacarb 15%EC, spinetoram 12%SC, deltamethrin 3%EC, chlorantraniliprole 5.17%SC, chlorfenapyr 10%SC and non-treated control. The results revealed that indoxacarb 15%EC, chlorantraniliprole 5.17%SC, chlorfenapyr 10%SC, emamectin benzoate 1.92%EC, spinetoram 12%SC, methoxyfenozide 24%SC, lufenuron 5%EC, deltamethrin 3%EC and Bacillus thuringiensis subsp aizawai were effective for controlling common cutworm and found 1 species of natural enemy, Stink bug : Eocanthecona furcellata (Wolff) in the trials. Keywords: bacteria, insecticides, common cutworm, chili

106

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 105

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

107

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 106


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 06 PEA-06

การพัฒนาสารชีวภัณฑ์กาํ จัดแมลงศัตรูผักสายพันธุ์ไทยสําหรับ การผลิตพืชผักปลอดสารเคมีอย่างยั่งยืน 1

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Development of Bio pesticide to Control Vegetable Insect Pest for Sustainable Organic Vegetable Production Patcharin Krutmuang1 and Malee Thungrabeab2*

2

พัชรินทร์ ครุฑเมือง และ มาลี ตั้งระเบียบ 1

ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลําปาง

2

บทคัดย่อ ผักเป็นอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ปัจจุบันผักที่ใช้บริโภคทั้งในประเทศ พบสารเคมี ปนเปื้อนจํานวนมาก การใช้เชื้อรากําจัดแมลง เป็นทางเลือกใหม่ที่จะทดแทนการใช้สารเคมีให้กับ เกษตรกรได้ มีการคัดเลือกเชื้อรากําจัดแมลงจํานวน 2 สกุล คือ Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae ผสมกับวัสดุเลี้ยงเชื้อ 6 ชนิดเช่น ข้าวจ้าว ข้าวสาลี ข้าวสาลีผสมยีสต์ เกล็ดขนมปัง และเกล็ดขนมปังผสมยีสต์ เพื่อการพัฒนาเป็นสูตรสําเร็จชีวภัณฑ์ และได้ศึกษาผลของ สารเสริมประสิทธิภาพ ที่ประกอบด้วย สารพา สารเพิ่มประสิทธิภาพ สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน และสารป้องกันแสงอุลตร้าไวโอเลต ต่อการมีชีวิตของเชื้อรา ที่ความเข้มข้น 1 และ 3% เก็บผลการ เก็บรักษาเป็นเวลา 6 เดือน ผลการศึกษาหา shelf life ในแป้งข้าวจ้าว ข้าวสาลีเชื้อ B. bassiana สดมีอายุอยู่ได้อย่างน้อย 2 เดือน และได้ศึกษาผลของสารเสริมประสิทธิภาพ ที่ประกอบด้วย สารพา สารเพิ่มประสิทธิภาพ สารป้องกันการจับตัวเป็นก้อน และสารป้องกันแสงอุลตร้าไวโอเลต ต่อการมี ชีวิตของเชื้อรา พบว่า B. bassiana ตอบสนองดีกว่า M. anisopliae ส่วน sodium alginate และ Trissiloxane ethoxylates มีผลต่อ B. bassiana ยับยั้งการเจริญเติบโตของเส้นใย สําหรับ aminobenzoic acid ยับยั้งการเจริญเติบโตของเส้นใยสูง ตามด้วย oxybenzone และ trissiloxane ethoxylates ได้คัดเลือกสูตรสําเร็จมาจํานวน 2 สูตร ได้แก่ สูตรที่ 1 B. bassiana + bentonite+zinc oxide +sodium alginate +aluminium silicate ควบคุมเพลี้ยอ่อนกะหล่ําได้ดี และ สูตรที่ 2 M. anisopliae +MCC + zinc oxide +sodium alginate +cellulose ทําลายด้วง เต่าแตง ได้ดีกว่าวิธีอื่น ๆ ทั้งสองสูตรไม่มีผลกับใบพืช คําสําคัญ : สารเสริมประสิทธิภาพ B. bassiana M. anisopliae อายุการเก็บรักษา

PEA - 06 PEA-06

1

Department of Entomology and Plant Pathology, faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna Lampang 52000

2

ABSTRACT Vegetables are important food item for life as it contain vitamin, minerals and fiber which essential to health but locally and exported vegetables are now contaminated by insecticide. Use of fungus as insecticide for controlling insect pests can be a new alternative than chemicals. Insecticide containing fungi has advantages such as destroying cuticle of insect which hinders the growth of insect. The objectives was to make effective bio-insecticide for controlling vegetable insects and pest by using fungi. Two types of fungi: B. bassiana and M. anisopliae and 6 types of cultured media: rice, wheat, wheat mixed with yeast, bread crumbs and bread crumbs mixed with yeast were used. Two levels of auxiliary substances: 1% and 3% conc. were used that contains anti-clotting and anti-ultraviolet substances: sodium alginate, trissiloxane ethoxylates, aminobenzoic acid, oxybenzone and zinc oxide. All media was observed for more than 6 months. Results showed that shelf life of B. bassiana can last for 2 months in rice and wheat flour media whereas M. anisopliae was longest in rice medium. For auxiliary substance B. bassiana was higher than M. anisopilae at 1% conc. But at 3% conc. the substances had no effect on both fungi. Sodium alginate and trissiloxane ethoxylates had a negative effect on B. bassiana fungus. Zinc oxide had no effect on germination of fungal spores. Aminobenzoic acid inhibits the growth of fungi followed by oxybenzone and trissiloxane ethoxylates. Two formulas: Bentonite + zinc oxide + sodium alginate + aluminum silicate and MCC + zinc oxide + sodium alginate + cellulose that was used in cucumber and cauliflower. Both formula didn’t show any abnormalities on tested crops. Formula 1 was more effective in cauliflower whereas formula 2 in cucumber. It is recommended to use the formula at proper rate. Keywords: Auxiliary substances, B. bassiana, M. anisopliae, Shelf life

108

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 107

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

109

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 108


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 07 PEA-07

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 07 PEA-07

การควบคุมหอยและทากศัตรูพชื ในสวนลองกองเพื่อการส่งออก

Snails and Slugs Pests Control in Exporting Long kong

ปราสาททอง พรหมเกิด1 ชูชาติ วัฒนวรรณ2 ทรงทัพ แก้วตา1 วรินทร ชูช่วย3 และ สุรพล วิเศษสรรค์4

Prasarttong Promkerd1 Chuchat Watthanavan2 Tongtup Kaewta1 Warinthon Chouchouy3 and Suraphon Visetson4

1

กลุ่มกีฏและสัตววิทยา สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ กองวิจัยและพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 3 กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร กรุงเทพฯ 4 ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ

2

บทคัดย่อ หอยและทากศัตรูพืชมักติดไปกับช่อผลลองกองที่ส่งขายต่างประเทศทําให้เสียหายส่งออก ไม่ได้ จึงทําการควบคุมประชากรหอยและทากในสวนลองกองของเกษตรกร ได้แก่การควบคุมแบบวิธี ผสมผสาน 4 แปลง เปรียบเทียบกับแปลงเกษตรกรควบคุมเอง ขนาดแปลงละ 5 ไร่ ที่อําเภอมะขาม จังหวัด จันทบุรี โดยสํารวจประชากรหอยและทากในสวนลองกองทุกเดือนด้วยตารางสุ่มขนาด 1 ตารางเมตร พบ หอยดักดานCryptozona siamensis หอยเจดีย์เล็กLamellaxis gracillis ทากกล้วยตาก Semperura siamensis หอยสาริกา Sarika resplendens ทากเล็บมือนาง Pamarion siamensis และบนต้นลองกองพบหอยหางดิ้นน้อย Durgella levicula หอยกระสวยใหญ่สยาม Giardia siamensis หอยขมิ้นใหญ่ Amphidromus atricallosus เป็นต้น ทําการทดลอง 2 ปีติดกัน(2560 – 2561) ช่วงระหว่างมีผลผลิตได้หว่านเหยื่อพิษเมทัลดีไฮด์ 2 ครั้ง ให้ทั่ว และ รอบๆแปลง บนต้นลองกองพ่น สารสกัดกากเมล็ดชาน้ํามัน1 ครั้ง พบหอยและทากเฉลี่ย 1.81 – 4..2 และ 0.43 – 2.93 ตัวต่อตารางเมตร ตามลําดับ ส่วนแปลงเกษตรกรควบคุมเองมีหอยเฉลี่ย8.76 - 18.98 และ 7.93 - 10.68 ตัวต่อตาราง เมตร ตามลําดับ สุ่มเก็บช่อผลลองกอง100 ช่อ ในแปลงควบคุมแบบผสมผสานทุกแปลง ไม่พบหอยและทาก ศัตรูพืช ส่วนแปลงเกษตรกรควบคุมเอง พบหอยและทากที่ช่อผล 5 และ 3 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ หลังจาก เก็บผลลองกองแล้ว ช่วงเดือนกรกฎาคม ถึง เดือนกันยายน พบว่าแปลงทดลองทุกแปลงมีประชากรหอยและ ทากเพิ่มขึ้นทั้งชนิดและปริมาณเพราะไม่มีการควบคุมและมีฝนตก ดังนั้นจะต้องควบคุมหอยและทาก ต่อเนื่องจนถึงฤดูแล้ง และมีค่าสารกําจัดหอยต่อแปลงต่อปี เป็นเงิน 230 และ 130 บาท ตามลําดับ คําสําคัญ : เมทัลดีไฮด์ กากเมล็ดชาน้ํามัน การควบคุมแบบผสมผสาน

1

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 2 Post-Harvest and Products Processing Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 3 Plant Protection Promotion and Soil –Fertilizer Management Division, Department of Agricultural Extension, Bangkok 4 Faculty of Science, Faculty of Science, Kasetsart University, Bangkok

Abstract Problem of Snails and Slugs Pests were accompanied the Long kong exporting. The study on Snails and Slugs Pests Control in Long Kong garden in Makham, Chantaburi. The plot sizes of ease experimental were prepared 5 rai for comparison between Integrated Pest control (IPC) 4 plots and Farmer control 1 plot. The exploration of snails and slugs in 1 square metre every month found Crytozona siamensis, Lamellaxis gracillis, Semperura siamensis, Sarika resplendens, Pamarion siamensis and on the Long Gong tree found Durgella levicula, Giardia siamensis and Amphidromus africallosus etc. The experiment for two years. The snails and slugs were eliminate in 2 times between of the output by sow metaldehyde poison bait all of rai and outside and spray tea seed extracted 1 time for elimination snails and slugs on Long Kong tree. After treated, the snails and Slugs numbers were averaged 1.81 – 4.2 and 0.43-2.93 per square metre respectively and Farmer control average 8.76 – 18.98 and 7.93 – 10.68 per square metre respectively. The Long Kong harvesting, we random 100 bouquet of Long Kong in 4 Integrated pest control all not found snails and slugs in bouquet of Long Kong and Farmer control found snails and slugs 3 and 5 percentage. After harvesting between July to September found snails and slugs increase type and quantity all of rai for experimental because no control and rainy. So the more control snails and slugs when found snails increase still dry season. Farmer control found snails and slugs increase because no control and elimination it. In term of the expense of molluscicide in ease Integrated Pest Control (IPC) about 230 and 130 bath per year, respectively. Keywords: metaldehyde, tea seed powder, Integrated Pest Control

110

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 109

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

111

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 110


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PEA - 08 PEA-08

การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครัชาติ 14 “ เกษตรแม่ า �ก้เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PEA - 08 PEA-08

การใช้ระบบภูมิสารสนเทศในการศึกษาความหนาแน่นและช่วงการระบาด ของแมลงวันผลไม้ในพีช้

Using GIS Study on Seasonality of the Fruit Fly (Diptera: Tephritidae) on Peach in Royal Project Areas

เผ่าไท ถายะพิงค์1 ศุภชัย นาคะพันธ์2 และ ไพศาล จีฟ้ 3ู

Paothai Thayaping1 Supachai Nakapan2 and Phaisarn Jeefoo3

1

แผนกงานศูนย์อารักขาพืช มูลนิธิโครงการหลวง 2 ภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 สาขาภูมิสารสนเทศศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา

บทคัดย่อ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System: GIS) เป็นระบบที่สามารถ นํามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาด้านการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน แมลงวันผลไม้เป็นแมลงศัตรูพืช ที่มีการระบาดยาวนานพบทําลายในพืชเศรษฐกิจ เช่น มะม่วง ชมพู่ และพืชเมืองหนาวเช่น พี้ช พลับ และบ๊วย ซึ่งเป็นปัญหาในการผลิตและจําหน่ายในพื้นที่ของมูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่ โดย ทําการศึกษาข้อมูลในระหว่าง เดือน มกราคม 2560- มิถุนายน 2562 โดยวางกับดักแบบ Steiner traps จํานวน 30 กับดัก ใน 5 แปลง ในพื้นที่ปลูกพี้ชจํานวน 208 ไร่ ในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอิน ทนนท์ วางกับดักใช้สารล่อเมทิลยูจีนอลผสมกับสารฆ่าแมลงแขวนไว้ใต้ทรงพุ่ม เก็บตัวอย่างแมลงใน กับดักทุก 15 วัน แล้วมาตรวจสอบชนิดและบันทึกปริมาณแมลงวันผลไม้จากนั้นนําข้อมูลที่ได้มา วิเคราะห์การระบาดด้วยระบบ GIS นําเสนอข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อนําไปใช้ในการจัดการแมลงวันผลไม้ แบบผสมผสาน พบว่า แมลงวันผลไม้ชนิด Bactrocera dorsalis พบมากที่สุดจํานวน 217.2± 16.1 ตัว/กับดัก/วัน ในเดือน มิถุนายน 2561 ซึ่งเป็นช่วงที่ติดผลและเก็บเกี่ยว และพบน้อยที่สุดจํานวน 3±1.5 ตัว/กับดัก/วัน ในเดือน มกราคม 2561 ซึ่งเป็นช่วงติดดอกและติดผลขนาดเล็กและพบว่า จํานวนประชากรของ B. dorsalis มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับอุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณน้ําฝน และ ระยะการเจริญเติบโตของพี้ช อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 เมื่อนําข้อมูลมาศึกษาเชิงพื้นที่และ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสร้างแผนที่การกระจายและความแปรผันของแมลงวันผลไม้ในพื้นที่ สามารถนําไปใช้ในการตัดสินใจในการควบคุมแมลงวันผลไม้แบบผสมผสาน (IPM) ให้แม่นยํายิ่งขึ้น และลดการทําลายของแมลงวันผลไม้ต่อไป คําสําคัญ : แมลงวันผลไม้ พี้ช จํานวนประชากร ภูมิสารสนเทศ การจัดการแบบผสมผสาน

1

Plant Protection Center, Royal Project Foundation Department of Physics and Materials Science, Faculty of Science, Chiangmai University 3 Geographic Information Science, School of Information and Communication Technology, University of Phayao 2

ABSTRACT Fruit flies are a pest for mango roseapple and temperate fruit such as peach plum persimmon and apricot are production. Studies on population dynamics of fruit flies outbreak in peach plots in Royal Project Foundation areas in Chiang Mai, Thailand was proceeded out during 2017-2019 which was based on numbers of flies trapped in Steiner traps with methyl eugenol trap and insecticide. The traps were hung firmly on the peach tree branch at 1.5 m. height from the ground. 30 traps were hung on 5 peach plots in 208 Rai at Royal Project agriculture station Inthanon, Jomthong Chiang Mai. Data analyses at the 5% significance level. The results showed that population of Bactrocera dorsalis that trapped had high number, 217.2± 16.1 (fruit flies/trap/day) during June 2017 followed by May, 2017 peach in harvesting time. The fruit fly population had low during January to February, 2018 (3±1.5 fruit flies /trap/day) peach in fruiting stage. Populations of B. dorsalis were significant positively correlated with temperature humidity and rainfall. The spatial patterns of B. dorsalis were largely distributed around ripening or ripe fruit. The results give relevant insights into pest management B. dorsalis be distributed differently identification of hot spots through monitoring would allow localization of populations. Based on our results, a more precise IPM strategy could represent a more effective approach to B. dorsalis in Royal Project Foundation areas. Keywords: Fruit flies, peach, population, GIS, IPM

112

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 111

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

113

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 112


การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครั ชาติ 14 “ เกษตรแม่ า ก้�เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PPB - 01 PPB-01

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

การตอบสนองกระบวนการป้องกันตัวเองของพืชใน Arabidopsis thaliana โดยสาร ระเหยจากเชื้อรา Trichoderma sp. PSU-P1

Plant Reponses to Volatile Organic Compounds Emitted by Trichoderma sp. PSU-P1 in Arabidopsis thaliana

ปริศนา วงค์ลอ้ ม1 และ อนุรักษ์ สันป่าเป้า2

Prisana Wonglom1 and Anurag Sunpapao2

1

คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ป่าพะยอม พัทลุง 93210 ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ สงขลา 90110

2

บทคัดย่อ เชื้อรา Trichoderma สร้างสารระเหย (volatile compounds) ที่มีคุณสมบัติต้านเชื้อรา และกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชได้หลายชนิด อย่างไรก็ตามผลของสารระเหยจาก Trichoderma ในด้านการกระตุ้นการตอบสนองของพืชโดยเฉพาะการกระตุ้นกลไกการป้องกันตัวเอง (defense mechanism) ยังมีการศึกษาอยู่น้อย งานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของสารระเหยที่ปลดปล่อยออกมาจาก เชื้อ Trichoderma sp. PSU-P1 ต่อกระบวนการป้องกันตัวเองของพืชต้นแบบ Arabidopsis thaliana โดยการวิเคราะห์กิจกรรมของเอนไซม์ peroxidase (POD) และเอนไซม์กลุ่มย่อยผนังเซลล์ ของเชื้อรา (cell wall degrading enzymes) ชนิด chitinase (CHI) และ -1,3-glucanase (GLU) ผลการทดลองพบว่าต้น A. thaliana ที่ได้รับสารระเหยมีกิจกรรมของเอนไซม์ CHI, GLU และ POD สูงกว่าต้นที่ไม่ได้รับสารระเหย นอกจากนี้ยังพบว่าต้นที่ได้รับสารระเหยมีปริมาณ peroxide สูงกว่า ต้นที่ไม่ได้รับสารระเหย เมื่อย้อม hydrogen peroxide (H2O2) เนื่อเยื่อต้น A. thaliana ด้วย 3’3diamenobezidine (DAB) พบว่าต้น A. thaliana ที่ได้รับสารระเหยย้อมติดสีน้ําตาลแดง (reddish brown) ของ H2O2 ส่วนชุดควบคุมย้อมไม่ติดสี จากการทดลองแสดงให้เห็นว่าสารระเหยจากเชื้อรา Trichoderma sp. PSU-P1 กระตุ้นกิจกรรมของเอนไซม์ที่กลุ่มย่อยผนังเซลล์ของเชื้อรา CHI และ GLU ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการย่อยสลาย (lysis) เชื้อราสาเหตุโรคพืชที่รุกรานเข้ามาในเซลล์พืช นอกจากนี้กิจกกรรมของ POD ปริมาณ peroxide และ H2O2 ที่สะสมในเนื้อเยื่อของต้น A. thaliana อาจจะเกี่ยวข้องกับกระบวนการ lignification เพื่อเสริมสร้างผนังเซลล์ของพืชให้แข็งแรง ขึ้นโดยเป็นปราการด่านแรกในการป้องกันตัวเองของพืช คําสําคัญ : กิจกรรมเอนไซม์ สารระเหย การป้องกันตัวเอง การย้อมเซลล์

114

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 113

PPB - 01 PPB-01

1

Faculty of Technology and Community Development, Thaksin University, Phatthalung Campus, Pa Payom, Phattalung 93110 2 Department of Pest Management, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Hatyai, Songkhla 90110

ABSTRACT Trichoderma sp. produces volatile organic compounds (VOCs) display antifungal activity and promote plant growth ability. However, effect of VOCs on induction plant defense mechanism is rarely study. This research aimed to clarify effect of VOCs from Trichoderma sp. PSU-P1 in inducing defense response in plant model Arabidopsis thaliana by analyzing the activity of defense related enzyme, peroxidase (POD) and cell-wall degrading enzymes, chitinase (CHI) and ß-1,3glucanase (GLU). The result showed A. thaliana exposed to VOCs gave enzyme activities of those enzymes (CHI, GLU and POD) significantly higher than that of control. Total peroxide content in VOCs treated A. thaliana was detected higher than that of control. DAB (3’3-diamenobezidine) staining revealed reddish brown of H2O2 on VOCs treated A. thaliana, whereas in control was no color change. Based on result in this study, VOCs emitted by Trichoderma sp. PSU-P1 induce defense response in A. thaliana by activating activity of cell wall degrading enzymes which involved in fungal cell wall lysis. Furthermore, high activity of POD, peroxide content and H2O2 accumulated in A. thaliana may associate with cell wall stiffening, resulting in strong primary barrier of plant defense against fungal pathogen. Keywords: Enzyme activity, volatile compounds, plant defense, staining

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

115

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 114


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 02 PPB-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 02 PPB-02

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ Pichia sp. ในปุ๋ยอินทรียช์ ีวภาพต่อ การส่งเสริมการเจริญและการยับยั้งโรคผักกวางตุ้ง

Comparative efficacy of Pichia sp. in organic biofertilizer on growth stimulation and disease inhibition of Choy Sum (Brassica Rapa)

สิรีธร แสงเพ็ง1 ณัฐวดี ไกลศรี1 คนึงกานต์ กลั่นบุศย์1 และ ตันติมา กําลัง2

Sireethon Sangpheng1 Nutthawadee Klaisree1 Khanungkan Klanbut1 and Tantima Kumlung2

1

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

2

1

King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Thailand Institute of Scientific and Technological Research

2

บทคัดย่อ จากการทดสอบประสิทธิภาพในด้านการส่งเสริมการเจริญและการยับยั้งเชื้อราก่อโรคใน ผักกวางตุ้งของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพสองสูตรที่ใช้หัวเชื้อยีสต์ต่างประเภทกันในการผลิต พบว่าผักกวางตุ้ง ที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพสูตรที่ 1 (ใช้หัวเชื้อยีสต์สดในการผลิต) มีน้าหนักสด 1.47 ± 0.56 กรัม ในขณะที่ผักกวางตุ้งที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพสูตรที่ 2 (ใช้หัวเชื้อยีสต์แห้งในการผลิต) มีน้าหนัก สด 0.36 ± 0.16 กรัม นอกจากนี้ยังพบว่าปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพสูตรที่ 1 สามารถลดความรุนแรงของโรค ที่เกิดจากเชื้อ Fusarium oxysporum, Fusarium solani และ Sclerotium rolfsii ได้ดีกว่าปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพสูตรที่ 2 และเมื่อนํายีสต์สายพันธุ์ Pichia sp. ซึ่งเป็นยีสต์ที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ชีวภาพทั้งสองสูตร มาทดสอบคุณสมบัติในด้านการส่งเสริมการเจริญของพืช พบว่า Pichia sp. มี ความสามารถในการละลายฟอสเฟต โดยมี ค่ า ดั ช นี ก ารละลายฟอสเฟตเฉลี่ ย เท่ า กั บ 3.95 มี ความสามารถในการผลิ ต ไซเดอโรฟอร์ และยั ง สามารถผลิ ต กรดอิ น โดล-3-แอซิ ติ ก ได้ 42.75 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และเมื่อทดสอบคุณสมบัติในด้านการยับยั้งเชื้อราก่อโรคด้วยวิธี Dual culture technique พบว่ายีสต์ Pichia sp. สามารถยับยั้งเชื้อ F. oxysporum และ F. Solani ได้ 48.77 และ 50.31 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ และยังพบว่ายีสต์มีค่ากิจกรรมของเอนไซม์เบต้า1-3 กลูคาเนส และค่ากิจกรรมของเอนไซม์ไคติเนสเฉลี่ยเท่ากับ 3.61 - และ 4.64 - ยูนิตต่อมิลลิลิตร ตามลําดับ คําสําคัญ : ปุย๋ อินทรีย์ชีวภาพ การส่งเสริมการเจริญพืช การยับยั้งเชื้อราก่อโรค ยีสต์ Pichia sp.

ABSTRACT The effective testing of growth enhancer and Fungal disease inhibition in Choy Sum (Brassica Rapa) of two organic biofertilizers using different types of yeast found that, Brassica Rapa had been growing by using organic biofertilizer formula 1 (fresh yeast ) and had fresh weight of 1.47 ± 0.56 g. while had been using organic biofertilizer formula 2 (active dry yeast) had a fresh weight of 0.36 ± 0.16 g. In addition, it was found that the organic biofertilizer formula 1 could reduce the severity of diseases caused by Fusarium oxysporum, Fusarium solani and Sclerotium rolfsii rather than organic biofertilizer formula 2. The abilities of plant growth promoting substances, found that Pichia sp. which was the yeast used in the production of both organic biofertilizers had the ability to dissolve phosphate with the average phosphate solubility index of 3.95, capable of producing siderophore and could also produce indole-3-acetic acid 42.75 mg/ml. Fungal disease inhibition test by Dual culture technique; Pichia sp. could inhibit F. oxysporum and F. Solani by 48.77 and 50.31 %, respectively. It was also found that this yeast had the activity of β-1,3-glucanase enzyme activity and chitinase enzyme activity averaged 3.61×10-4 and 4.64×10-4 units/ml, respectively. Keywords: Organic biofertilizers, Growth stimulation, Disease inhibition, Pichia sp.

116

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 115

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

117

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 116


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 03 PPB-03

ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่แยกได้จากบริเวณรอบรากต้นกะเพรา (Ocimum sanctum Linn.) ในการยับยั้งเชื้อราและแบคทีเรียก่อโรคพืช วราภรณ์ สุทธิสา สุรศักดิ์ ขันคํา ภาณินทร์ญดา ไชยคาม พุทธพร เลาหพิบูลรัตนา และ วราพร รวมสุข ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กันทรวิชัย มหาสารคาม 44150

บทคัดย่อ การควบคุมโรคพืชมีอยู่หลายวิธี แต่วิธีที่เกษตรกรนิยมใช้คือการใช้สารเคมี ซึ่งเป็นอันตราย ต่อเกษตรกร ผู้บริโภค รวมถึงแมลง และจุลินทรีย์ที่อาศัยในแหล่งธรรมชาติ และมีการปนเปื้อนสะสม ก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ กั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ เป็ น การลดปั ญ หาดั ง กล่ า ว การวิ จั ย นี้ จึ ง ได้ ทํ า การทดสอบ ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่คัดแยกได้จากบริเวณรอบรากต้นกะเพราในการยับยั้งเชื้อรา Fusarium oxysporum สาเหตุโรคเหี่ยว และเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. citri สาเหตุโรคแคงเกอร์ โดยวิธี dual culture พบว่าเชื้อแบคทีเรียไอโซเลต RsOs002 สามารถยับยั้งเชื้อ X. campestris pv. citri ได้ดีที่สุดในระดับสามบวก และไอโซเลต RsOs004 สามารถยับยั้ง F. oxysporum ได้ดีที่สุดที่ร้อยละ 13.22 การทดสอบผลของสารกรองเชื้อ RsOs002 ต่อการยับยั้งการ เจริญของเชื้อ F. oxysporum พบว่าสามารถยับยั้งการเจริญของเส้นใยได้ดีเมื่อเปรียบเทียบกับ กรรมวิธีควบคุม และสามารถยับยั้งการงอกของโคนิเดียเชื้อราได้ร้อยละ 57 แต่สารกรองเชื้อไม่มีผล ต่อการยับยั้งการเจริญของ X. campestris pv. citri เมื่อทดสอบด้วยวิธี poison plate การจําแนก ชนิดของ RsOs002 เบื้องต้นด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาพบว่ามีความใกล้เคียงกับเชื้อแบคทีเรีย สกุล Bacillus คําสําคัญ : การส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช บาซิลลัส โรคเหี่ยว

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 03 PPB-03

Efficiency of antagonistic bacteria isolated from basil rhizosphere (Ocimum sanctum Linn.) on inhibiting of fungus and bacterium plant pathogens Waraporn Sutthisa Surasak Khankhum Phaninyada Chaiyacam Phuttaporn Laohaphiboonrattana and Waraporn Ruamsuk Department of Biology, Faculty of Science, Mahasarakham University, Kantarawichai, Mahasarakham 44150

ABSTRACT Several control methods of plant pathogens have been attempting to perform to be the best practice for an integrated pest management. However, most farmers still require the use of chemicals which usually harmful to themselves and consumers, and subsequent effect on a number of insects and microorganisms living in the environment. The accumulation of chemical contaminant is significantly affecting environments. To reduce such problem, this study was established to obtain the potential antagonists, which were isolated from basil (Ocimum sanctum Linn.) rhizosphere and were tested against Fusarium oxysporum, the causal agent of wilting, and Xanthomonas campestris pv. citri, the causal agent of canker, with dual culture method. The result found the bacterial isolate RsOs002 was expressed the highest growth inhibition to X. campestris pv. citri, while the isolate RsOs004 was inhibited the growth of F. oxysporum at 13.22 percentage. The culture filtrate of RsOs002 was significantly inhibited the mycelial growth of F. oxysporum compared to the control method. This culture filtrate was also inhibited the conidial germination of tested pathogenic fungus at 57 percentages. The poison plate test using RsOs002 culture filtrate was not found an effect on the growth of X. campestris pv. citri. Morphological identification of the bacterium RsOs002 revealed that it was closely related to the genus Bacillus. Keywords: plant growth promoting, Bacillus, wilt disease

118

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 117

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

119

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 118


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 04 PPB-04

การจําแนกชนิดแบคทีเรียสาเหตุโรคใบแห้งของหอม ทิพวรรณ กันหาญาติ ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล บูรณี พัว่ วงษ์แพทย์ รุ่งนภา ทองเคร็ง และ กาญจนา ศรีไม้ กลุ่มวิจัยโรคพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ ดํ า เนิ น การเก็ บ ตั วอย่ า งโรคใบแห้ ง ของหอมจากแหล่ง ปลู ก หอมและฟื้ น ฟูเ ชื้ อ แบคที เ รี ย Xanthomonas sp. สาเหตุโรคใบแห้งของหอมที่เก็บรักษาไว้ในแหล่งเก็บเชื้อของกลุ่มวิจัยโรคพืช เพื่ อ จํ า แนกชนิ ด ให้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ปั จ จุ บั น ตั้ ง แต่ เ ดื อ นตุ ล าคม 2559 – กั น ยายน 2561 พบว่ า เชื้ อ แบคทีเรียสาเหตุโรคมีลักษณะโคโลนีกลม ขอบเรียบ ผิวมัน สีเหลือง การพิสูจน์โรคตามวิธีการของ Koch สามารถทําให้เกิดอาการของโรคบนหอมแดง หอมแบ่ง และหอมหั วใหญ่ได้ ผลการศึกษา ลักษณะทางสัณฐานวิทยา คุณสมบัติทางสรีรวิทยาและชีวเคมีของเชื้อแบคทีเรีย พบว่าเป็นแบคทีเรีย แกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน สามารถเคลื่อนที่ได้ เจริญในสภาพที่มีอากาศ เจริญได้ในอาหารที่มีเกลือ 4% สามารถผลิตเอนไซม์ catalase และ pectinase แต่ไม่ผลิตเอนไซม์ oxidase, nitrate reductase, arginine dihydrolase และ urease เชื้อสามารถย่อย gelatin, casein, esculin, cellulose, Tween 80 และแป้งได้ สามารถสร้าง H2S และเจริญบนอาหาร YPGA ที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส แต่ไม่เจริญที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส สร้างกรดจาก cellobiose lactose และ glycerol ได้ แต่เชื้อไม่สร้าง indole และไม่สร้างเม็ดสีเรืองแสงบนอาหาร King’s B การวิเคราะห์ ลําดับนิวคลีโอไทด์บางส่วนของยีน 16S rDNA พบว่าจัดอยู่ในกลุ่มของเชื้อ Xanthomonas spp. การจําแนกชนิดของเชื้อด้วยวิธี multilocus sequence analysis (MLSA) จากยีน dnaK, fyuA, gyrB และ rpoD รวมทั้งข้อมูลคุณสมบัติทางชีวเคมีและสรีรวิทยาของเชื้อแบคทีเรีย สามารถระบุได้ว่า เชื้อแบคทีเรียสาเหตุโรคใบแห้งของหอมมีคุณสมบัติใกล้เคียงกับเชื้อ X. axonopodis pv. Allii

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 04 PPB-04

Identification of the Bacteria Causes Leaf Blight Disease on Allium Tippawan Kanhayart Nuttima Kositcharoenkul Buranee Puawongphat Rungnapha Thongkreng and Kanchana Srimai Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT The experiment was conducted to isolate and identify the causal agent of leaf blight on onion during October 2016 – September 2018. A yellow bacterium was consistently isolated from the affected leaves. Pathogenicity test revealed that the bacterium was able to cause leaf blight symptom on shallot, multiplied onion and onion, and allowed reisolation of the inoculated bacterium from the infected leaves. For the physiological and biochemical properties, bacteria were gram-negative, rodshaped, motile, aerobic, tolerate 4% NaCl concentration, positive for catalase and pectinolytic activity. Does not produce oxidase, nitrate reductase, arginine dihydrolase and urease. Hydrolyses gelatin, casein, esculin, starch, cellulose and Tween 80, produces H2S from cysteine, grow on YPGA at 35oC but not at 40oC and produce acid from cellobiose, lactose and glycerol while negative for indole production and fluorescent pigments are not observed on King’s B medium. Phylogenetic analysis based on partial 16S rDNA sequences, the BBO isolates were grouped into Xanthomonas spp. Further investigation based on multilocus sequence analysis (MLSA) by using concatenated phylogenies produced from multiple loci of house–keeping genes, dnaK, fyuA, gyrB and rpoD all BBO isolates were resemble of X. axonopodis pv. allii. Keywords: onion, leaf blight, identification

คําสําคัญ : หอม โรคใบแห้ง จําแนกชนิด

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 120

120

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 119

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

121


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 05 PPB-05

การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันกําจัดโรคราน้ําค้างในชาโยเต้ ทิวา บุบผาประเสริฐ1 พจนา ตระกูลสุขรัตน์2 ธัญพร งามงอน3 และ วิทยา ทองอินทร์3 1

สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 3 ศูนย์วิจัยเกษตรทีส่ ูงเพชรบูรณ์ เขาค้อ เพชรบูรณ์ 67270

2

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 05 PPB-05

Study on Some Fungicides Efficacy to Control Downy Mildew Disease in Chayote Thiva Bubpaprasert1 Photchana Trakunsukharat2 Thunyaporn Ngamngon3 and Witthaya Thongin3 1

บทคัดย่อ ชาโยเต้ มีโรคราน้ําค้างสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis เป็นโรคพืช สําคัญที่ระบาดทําความระบาดอย่างรุนแรงเช่นเดียวกับพืชตระกูลแตงชนิดอื่น สภาพที่อุณหภูมิต่ําใน เวลากลางคืนและอุณหภูมิสูงในเวลากลางวัน เป็นสภาวะที่เหมาะสมต่อการเกิดอาการและพัฒนาการ ของเชื้อสาเหตุ การป้องกันกําจัดโดยการใช้สารป้องกันกําจัดโรคพืชในปัจจุบัน ยังไม่มีคําแนะนําที่ให้ ใช้ควบคุมราน้ําค้างที่เกิดบนชาโยเต้โดยตรง ดังนั้นการทดสอบหาสารป้องกันกําจัดโรคราน้ําค้างที่เกิด กั บ ซาโยเต้ จึ ง มี ค วามจํ า เป็ น เพื่ อ ใช้ เ ป็ น คํ า แนะนํ า ในการป้ อ งกั น กํ า จั ด และวิ ธีก ารใช้ ส ารที่ มี ประสิทธิภาพให้กับเกษตรกร การทดสอบประสิทธิภาพสาร ดําเนินการทดลองที่แปลงทดลอง ศูนย์วิจัยเกษตรที่สูงเพชรบูรณ์ อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ระหว่างเดือนมีนาคม–เมษายน 2561 และ เดือนกุมภาพันธ์–มีนาคม 2562 วางแผนการทดลองแบบ RCB จํานวน 4 ซ้ํา 5 กรรมวิธี คือ cymoxanil + mancozeb 8%+64% WP, metalaxyl 25% WP, dimethomorph 50% WP และ fluopicolide+ fosetyl-aluminium 4.4% +66.7% WG เปรียบเทียบกับกรรมวิธีไม่ใช่สาร (พ่นน้ําเปล่า) ผลการทดลองพบว่าทุกกรรมวิธีพ่นสารทดลองสามารถควบคุมการระบาดโรคได้ดีกว่า กรรมวิธีควบคุมที่ไม่พ่นสาร กรรมวิธีที่พ่นด้วย dimethomorph 50% WP อัตรา 20 กรัม/น้ํา 20 ลิตร มีประสิทธิภาพในการควบคุมการระบาดของโรคราน้ําค้างในชาโยเต้ดีที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับ กรรมวิธีพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดโรคพืชอื่น โดยเชื้อสาเหตุไม่แพร่ระบาดถึงใบยอด แผลจะแห้งเป็นสี น้ําตาล ไม่มีการแพร่กระจายของแผลเพิ่มขึ้น ในการทดลองครั้งนี้ไม่พบความเป็นพิษของสารทดลอง ต่อพืช คําสําคัญ : โรคราน้ําค้างของพืชตระกูลแตง การควบคุมโรคด้วยสารเคมี สารป้องกันกําจัดเชื้อรา

Horticulture Research Institute, Department of Agriculture, Bangkok 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 3 Phetchabun Highland Agricultural Research Center, Khaokho, Phetchabun 67270

2

ABSTRACT Downy mildew disease is the severe plant disease of Chayote same as other plants in Cucurbitaceae family. Low temperature conditions at night and high temperatures during the daytime was a favorable condition for the occurrence of symptoms and development of the cause fungus. There were no the current recommendation for directly control in chayote. Therefore it is necessary to study effective fungicides and use as a effective control guide to recommend for farmers. Efficacy of four fungicides, cymoxanil + mancozeb 8%+64% WP, metalaxyl 25% WP, dimethomorph 50% WP , fluopicolide+ fosetyl-aluminium 4.4% +66.7% WG and control (water spraying), was tested at Phetchabun Highland Agricultural Research Center, during March to April 2018 and repeated in February to March 2019 again. Each of tested fungicides was sprayed four times at an interval of 7 days following appearance of the disease symptoms. All the tested fungicides were been effective in controlling this downy mildew disease. Dimethomorph 50% WP (20 mg/ 20 L of water) was the most effective in controlling the disease severity. This spray treatment showed no increase in the spread of disease and symptoms to top leaves. Former lesions were dry and not enlarge. No phototoxicity to plants could be found in both experiments. Keywords: downy mildew of Cucurbitaceae family, chemical control, fungicide

122

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 121

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

123

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 122


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 06 PPB-06

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 06 PPB-06

ประสิทธิภาพของสารไบโอแอคทีฟอิลิซิเตอร์ต่อการแสดงออกของยีนที่สามารถกระตุ้น ความต้านทานโรคในถั่วเหลือง

Efficiency of Elicitor for Induced Resistance Gene Expression againt Disease in Soybean

ศุภลักษ์ สัตยสมิทสถิต พรนิภา ถาโน และ ฉันทนา คงนคร

Supalak Sattayasamitsathit Pornipa Thano and Janana Kongnakorn

1

ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก วังทอง พิษณุโลก 65130

บทคัดย่อ ถั่วเหลืองเป็นพืชที่อ่อนแอต่อการเข้าทําลายของเชื้อสาเหตุโรคพืชหลายชนิด เช่น เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส และไส้เดือนฝอย โรคถั่วเหลืองสามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโต การจัดการให้ ถั่วเหลืองไม่เป็นโรคหรือจัดการให้พืชปลอดภัยจากการเข้าทําลายโดยเชื้อโรคโดยการส่งเสริมให้พืช ต้านทานต่อการเข้าทําลายของเชื้อโรคจากการใช้สิ่งไม่มีชีวิตมากระตุ้นเพื่อการสร้างระบบป้องกัน ตนเองจึงเป็นแนวทางการจัดการโรคแนวทางหนึ่ง ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงศึกษาประสิทธิภาพของสารไบโอ แอคทีฟอิลิซิเตอร์ต่อการแสดงออกของ PRยีนที่สามารถกระตุ้นความต้านทานโรคในถั่วเหลือง ได้แก่ กรดแจสโมนิก และ เอทิลอะซิเตท เพื่อใช้ฉีดพ่นถั่วเหลืองในระยะ R1 พบว่ากรดจัสโมนิกที่ความ เข้มข้น 90 พีพีเอ็ม สามารถเพิ่มระดับการแสดงออกของยีน PR-4 สูงสุดโดยมากกว่าชุดควบคุมถึง 3.14 เท่า ในขณะที่เอทิลอะซิเตท ความเข้มข้น 6,000 พีพีเอ็ม สามารถเพิ่มระดับการแสดงออกของ ยีน PR-10 สูงสุดโดยมากกว่าชุดควบคุมถึง 7.38 เท่า แต่ไม่ส่งเสริมการแสดงออกของยีน PR-4 คําสําคัญ : สารไบโอแอคทีฟอิลิซิเตอร์ การแสดงออกของยีน ความต้านทานโรค ถั่วเหลือง

124

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 123

1

Phitsanulok Seed Research and Development Center, Wangthong, Phitsanulok 65130

ABSTRACT Soybean is susceptible to the destruction of many plant pathogens such as fungi, bacteria, viruses and nematodes. Soybean disease can be found at all stages of growth. The management of soybeans disease or the plants are safe from infestation by pathogen. By inducing plants to resistance to pathogens by using bioactive elicitors is a way of managing diseases. Therefore, this research investigated the effectiveness of bioactive elicitors in the expression of PR-genes that can stimulate disease resistance in soybeans, such as jasmonic acid and ethyl acetate, for spraying soybean in the R1 stage of growth, it was found that the concentration of 90 ppm jasmonic acid was able to increase the expression of the PR-4 gene by up to 3.14 times higher than the control, while ethyl acetate concentration of 6,000 ppm can increase the level of gene expression PR-10 by up to 7.38 times more than the control, but does not promote expression of PR-4. keywords: bioactive elicitor, gene disease resistance, espression, soybean

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

125

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 124


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 07 PPB-07

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 07 PPB-07

ผลของสารไดเมโทมอร์ฟ 50% W/V SC และเมทาแลกซิล 25% WP ในการควบคุม เชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียนหมอนทอง ในห้องปฏิบตั ิการและเรือนทดลอง

Effect of dimethomorph 50% W/V SC and metalaxyl 25% WP for controlling Phytophthora palmivora causing root and stem rot of Monthong durian in laboratory and greenhouse

เรวัฒ เพียซ้าย1,2* เนตรนภิส เขียวขํา1 และ อรอุมา เพียซ้าย1

Rawat Piasai1,2* Netnapis Khewkhom1 and Onuma Piasai1

1

2

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ, 10900 บริษัท อดามา (ประเทศไทย) จํากัด. 127/33 อาคารปัญจธานี ทาวเวอร์. ชั้น 28 ถนนนนทรี แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 *Corresponding author: e-mail address: rawat.pi@ku.th

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 Adama (Thailand) Ltd. 127/33 Panjathani Tower Bl. 28th floor, Nonsi Rd, Chongnonsi, Yannawa, Bangkok 10120 *Corresponding author: e-mail address: rawat.pi@ku.th

บทคัดย่อ

ABSTRACT

ทุเรียนหมอนทองเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมในไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรครากเน่า โคนเน่าเป็นปัญหาที่สําคัญในการผลิตทุเรียนในประเทศและส่งออก วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อ ศึกษาผลของสารไดเมโทมอร์ฟ 50% W/V SC และ สารเมทาแลกซิล 25% WP ในการควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าของทุเรียน ทดสอบสารป้องกันกําจัดเชื้อรา ทั้งสองชนิดในห้องปฏิบัติการโดยวิธี detached leaf และในเรือนทดลองโดยวิธีราดดิน วางแผนการ ทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จํานวน 7 กรรมวิธี 10 ซ้ํา ได้แก่ กรรมวิธี ใช้สารไดเมโทมอร์ฟ ความเข้มข้น 1, 1.5, 2 และ 2.5 มิลลิลิตรต่อน้ํา 1 ลิตร เปรียบเทียบกับกรรมวิธี ใช้สารเมทาแลกซิล 25% WP ความเข้มข้น 4 กรัมต่อน้ํา 1 ลิตร และกรรมวิธีในชุดควบคุมแบบปลูก เชื้อ P. palmivora และไม่ปลูกเชื้อ P. palmivora ผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการและในเรือน ทดลองให้ผลสอดคล้องกัน โดยพบว่าสารไดเมโทมอร์ฟ 50% W/V SC ทุกความเข้มข้น มี ประสิทธิภาพในการควบคุมเชื้อรา P. palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียนได้ดีกว่าสารเม ทาแลกซิล 25% WP และกรรมวิธีในชุดควบคุมแบบปลูกเชื้อ P. palmivora อย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติ

Monthong durian is one of the most famous fruit in Thailand and South-East Asia. Root and stem rot disease is the serious problem in durian production for domestic and export. The objectives of this research were studied the effect of dimethomorph 50% W/V SC and metalaxyl 25% WP for controlling Phytophthora palmivora causing root and stem rot of Mon-thong durian. Both fungicides were conducted for controlling P. palmivora in laboratory using detached leaf method as well as soil drenching method in greenhouse. Completely Randomized Design (CRD) was designed in the experimental with 7 treatments and 10 replications per treatment inculding dimethomorph at 1, 1.5, 2 and 2.5 ml/L compare with metalaxyl 4 g/L, positive control with P. palmivora and negative control without P. palmivora. The result revealed that all treatments of dimethomorph could control P. palmivora causing root and stem rot of durian better than and significant when compare with metalaxyl 4.0 g/L and positive control with P. palmivora.

คําสําคัญ : ทุเรียน ไดเมโทมอร์ฟ เมทาแลกซิล ไฟทอปธอรา พาล์มิโวรา โรครากเน่าโคนเน่า

Keywords: durian, dimethomorph, metalaxyl, Phytophthora palmivora, root and stem rot disease.

126

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 125

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

127

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 126


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 08 PPB-08

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 08 PPB-08

การแสดงออกของโปรตีนอ้อยที่ต้านทานต่อโรคใบขาว

Gene Expression of Sugarcane for Resistant of White Leaf Disease

ลาวัลย์ กลัดสุวรรณ จิรวัฒน์ ประสิทธิ์สม กนกวรรณ สว่าง สิริวรรณ์ โครตโสภา และ พีรญา กลมสะอาด*

Lawan Kladsuwan Chirawat Prasitsom Kanokwan Sawang Siriwan Kodsopa and Peeraya Klomsa-ard*

ศูนย์นวัตกรรมและการวิจัย มิตรผล 399 หมุ่ 1, ถ.ชุมแพ-ภูเขียว, ต.โคกสะอาด อ.ภูเขียว จ.ชัยภูมิ, 36110

Mitrphol Innovation and Research Center, Mitr Phl Group, 399 Moo 1 Chumphae-Phukiao Rd., Khoksa-at, Phu Khiao Chaiyaphum, 36110

บทคัดย่อ ศึกษาการแสดงออกของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องการทําลายจากเชื้อไฟโตพลาสมา สาเหตุโรคใบขาวอ้อยและความต้านทานอ้อย (PR-protein) โดยการนําอ้อยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุ์ที่ มีแนวโน้มต้านทาน (UT-15) และพันธุ์อ่อนแอ (KK3) ที่อายุ 4 เดือน มาปลูกเชื้อใบขาวโดยการ ถ่ายทอดจากแมลงพาหะ หลังจากปลูกเชื้อ 1 เดือน นําอ้อยแต่ละพันธุ์ไปตรวจสอบโปรตีนที่เกี่ยวข้อง กับการปกป้องการทําลายจากเชื้อโรค และความต้านทาน พบว่าในอ้อยพันธุ์ต้านทาน เกิดการกระตุ้น การแสดงออกของยี นที่ เกี่ ย วข้อ งกั บ การปกป้อ งการทํา ลายของเชื้ อโรค ได้แ ก่ phenylalanine ammonia lyase (PAL), peroxidase (POX) และ lipoxygenase-4 (LOX) ตลอดจนกระตุ้นให้ ยีนอ้อยสร้างภูมิต้านทานโรคโดยผลิตโปรตีนปฏิสัมพันธ์การเกิดโรค (PR-protein) รวม 3 ชนิด คือ PR-2, PR-4 และPR-6 ซึ่งพืชใช้สารเหล่านี้ยับยั้งการพัฒนาการของเชื้อโรคในช่วงที่มีการชักนําให้เกิด โรค ผลการทดลองดังกล่าวยังสัมพันธ์กับปริมาณเชื้อไฟโตพลาสมาในอ้อยแต่ละพันธุ์ที่นํามาตรวจด้วย วิธีเชิงปริมาณ quantitative real time PCR (qPCR) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสายพันธุ์เชื้อและพันธุ์พืช ซึ่งเป็นผลข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้สามารถนําไปใช้เป็นกลยุทธ์ในการคัดเลือกพันธุ์อ้อยที่ ต้านทานต่อโรคใบขาวได้อย่างถูกต้อง แม่นยํา

คําสําคัญ : โปรตีนปฏิสัมพันธ์การเกิดโรค โรคใบขาวอ้อย phenylalanine ammonia lyase (PAL) peroxidase (POX) lipoxygenase-4 (LOX)

128

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 127

ABSTRACT Expressed defense related protein of phytoplasma, the causal agent of white leaf disease was studies by used four months of sugarcane seedling from tissue culture including moderate resistance cultivar (UT-15) and susceptible cultivar (KK3). Each cultivar was inoculated phytoplasma by insect vector transmitted. The results showed that the proteome of sugarcane resistant cultivar after inoculated one month expressed various defense related protein including phenylalanine ammonia lyase (PAL), peroxidase (POX), and lipoxygenase-4 (LOX) also showed enhanced expression of PR-2, PR-4, and PR-6. According to quantitative of phytoplasma in each sugarcane cultivar when measured with quantitative real time PCR (qPCR). The interaction between phytoplasma and sugarcane based on gene for gene relationship. It provides insight into breeding strategies for white leaf disease resistance. Keywords: Pathogenesis-related (PR) proteins, white leaf disease, phenylalanine ammonia lyase (PAL), peroxidase (POX), lipoxygenase-4 (LOX)

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

129

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 128


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 09 PPB-09

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 09 PPB-09

การประเมินความต้านทานของพันธุ์อ้อยต่อโรคแส้ดําในการปรับปรุงพันธุ์

Smut Resistant Evaluation of Breeding Program

กนกวรรณ สว่าง ลาวัลย์ กลัดสุวรรณ สิริวรรณ์ โคตรโสภา มานุวัตร ตินตะรสาละ ณ ราชสีมา และ พีรญา กลมสอาด

Kanokwan Sawang Lawan Kladsuwan Siriwan Kodsopa Manuwat Tintarasaranaratchaseema and Peeraya Klomsa-ard

บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด 399 ม. 1 ถ. ชุมแพ-ภูเขียว ต. โคกสะอาด อ. ภูเขียว จ. ชัยภูมิ 36110

Mirt Phol Sugarcane Research Center. 399 Moo 1 Chumpae-Phkieo Road, Khoksa-at, Phukeio, Chaiyaphum 36110

บทคัดย่อ

ABSTRACT

ประเมินความต้านทานในอ้อยลูกผสมของ บริษัท มิตรผลวิจัย พัฒนาอ้อยและน้ําตาล จํากัด ชุดปี 2009 และชุดปี 2014 รวมพันธุ์เปรียบเทียบ จํานวน 14 สายพันธุ์ โดยการตรวจสอบเส้นใยของ เชื้อรา Ustilago scitaminea ในเนื้อเยื่อเจริญปลายยอดอ้อย clone ต่างๆ ที่ได้รับการปลูกเชื้อด้วย วิธี pin prick ที่ตาอ้อย บ่มเชื้อนาน 1 คืน ก่อนนําไปปลูกในถุงดํา ตรวจสอบการสร้างแส้จนครบอายุ 2 เดือน และตัดตาที่ไม่พบการสร้างแส้เอาเนื้อเยื่อเจริญปลายยอดของอ้อยมาย้อมสีด้วย Tryphan blue ตามวิธีของ Sinha และคณะ, 1982 และตรวจสอบเส้นใยใต้กล้องจุลทรรศน์ มีพันธุ์ตรวจสอบ ต้านทาน คือ พันธุ์อู่ทอง 3 และ K84-200 พันธุ์ตรวจสอบอ่อนแอ คือ พันธุ์มาร์กอส พบว่า สามารถ แบ่งปฏิกิริยาความต้านทานออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มต้านทาน (ไม่พบการสร้างเส้นใยและสร้าง แส้) จํานวน 2 สายพันธุ์ 2) กลุ่มต้านทานปานกลาง (พบเฉพาะเส้นใย) จํานวน 7 สายพันธุ์ 3) กลุ่ม ค่อนข้างอ่อนแอ (พบการสร้างเส้นใยมากกว่า 50% แต่ไม่พบการสร้างแส้) จํานวน 3 สายพันธุ์ และ 4) กลุ่มอ่อนแอ (พบเส้นใยหนาแน่นและพบการสร้างแส้) จํานวน 2 สายพันธุ์ สําหรับพันธุ์ตรวจสอบ ต้านทานและอ่อนแอแสดงปฏิกิริยาความต้านทานตรงตามลักษณะพันธุ์โดยพบการสร้างแส้และเส้นใย ตามการประเมินปฏิกิริยาที่ได้มีผู้ทําไว้ จากการประเมินความต้านทานของพันธุ์อ้อยต่อโรคแส้ดําใน การปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เทคนิคการย้อมสี พบว่า ปฏิกิริยาความต้านทานมีความสอดคล้องกับพันธุ์ ตรวจสอบต้านทานและอ่อนแอ ดังนั้น วิธีการนี้จึงเป็นวิธีการตรวจสอบที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ทําให้สามารถคัดเลือกพันธุ์อ้อยได้ดี หรือคัดเลือกพันธุ์ต้านทานเป็นพ่อแม่พันธุ์ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลา พื้นที่ แรงงาน และการจัดการแปลงต่างๆ

Sugarcane Hybrids of Mitr Phol Sugarcane Research Center series MPT 2009 and MPT 2014 were evaluated for smut resistance. The number of varieties tested were 14. For one-bud cutting of each variety were inoculated with smut spore (Ustilago scitaminea) by pin prick method, incubated overnight in plastic bag, then transplanted (1 bud/bag). Smut whips symptom of each clone were recorded for 2 months. Cane with no whip were cut and then detected for smut hyphae in apical meristematic regions by staining technique. The result indicated reaction which may divide into 4 groups, 1) resistance (no hyphae found and no whip formation) 2) moderately resistance (only hyphae found) 3) moderately susceptible (hyphae found more than 50% and no whip formation) 4) susceptible (dense hyphae found and few whip formation). Resistant and susceptible check showed the expected reaction as the precious work. Smut resistant evaluation would be facilitating by the technique this experiment undertaken since it reduces time, land, labor consumed. Keywords: Smut, Smut resistance evaluation

คําสําคัญ : โรคแส้ดํา การประเมินความต้านทานของพันธุ์อ้อยต่อโรคแส้ดํา

130

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 129

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

131

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 130


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 10 PPB-10

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 10 PPB-10

การกระจายตัวของ pathotype ของเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่ พบระบาดในจังหวัดสุพรรณบุรีปี พ.ศ. 2561

Geographic Distribution of pathotype of Xanthomonas oryzae pv. oryzae in Suphanburi Province in 2018

จารุวี อันเซตา1 คนึงนิจ ศรีวิลัย1 ธีรยุทธ์ ตู้จินดา2 และ สุจนิ ต์ ภัทรภูวดล1

Jaruvee Ancheta1 Kanuengnij Srivilai1 Theerayut Toojinda2 and Sujin Patarapuwadol1

1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปทุมธานี 12120

2

บทคัดย่อ เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (XOO) มีความหลากหลายทาง พันธุกรรมสูง มีระบาดของโรค เป็นประจํา สร้างความเสียหายต่อผลผลิตข้าวอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน ข้อมูลการสํารวจการระบาดและข้อมูลการแพร่กระจายของสายพันธุ์เชื้อ (pathotype) ยังจํากัดและ ไม่ครอบคลุมแหล่งผลิตข้าวที่สําคัญ งานวิจัยนี้จึงทําการสํารวจและศึกษาการกระจายตัวสายพันธุ์เชื้อ X. oryzae pv. oryzae สาเหตุโรคขอบใบแห้ง ในพื้นที่ปลูกข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 4 อําเภอ ช่วงปี พ.ศ. 2561 จํานวน 46 แปลง แยกเชื้อสาเหตุของโรคได้จํานวน 626 ไอโซเลท คัดเลือกตัวแทน แต่ละแปลงจํานวน 128 ไอโซเลท ทดสอบปฏิกิยาการเกิดโรคกับสายพันธุ์ข้าวคู่แฝด (NILs) ที่มียีน ต้านทานเดี่ยวต่อโรคนี้จากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ จํานวน 11 สายพันธุ์ สามารถจัดกลุ่มเชื้อได้ 30 pathotype โดยประชากรเชื้อกลุ่มใหญ่จัดอยู่ใน Pathotype19 (SSSRRSSSSRS) ความถี่สูงสุดที่ 30.47% กลุ่มรองลงมาคือ Pathotype 20 (SSSRRSSSSSS) 28.13% ขณะที่ข้าวที่มียีน xa5 มีความ ต้านทานแบบกว้างต่อเชื้อ XOO นํามาทดสอบได้ 32.57 % รองลงมาได้แก่ xa7 (30.28%) xa14 (16.79%) และxa21 (9.67%) ข้อมูลในการสํารวจการระบาดของโรคและชนิดของสายพันธุ์เชื้อ ได้ เก็บเป็นฐานข้อมูลระบบข้อมูลโรคข้าวที่พัฒนาขึ้น (http://158.108.207.4/webrice4/) ซึ่งนํามา เชื่อมโยงกับข้อมูลพันธุ์ข้าว ข้อมูลสภาพอากาศ เพื่อพยากรณ์การเกิดโรค และสร้างเป็นแผนที่การ ระบาดของโรคขอบใบแห้งและการกระจายตัวของเชื้อสายพันธุ์ต่าง ๆ เพื่อช่วยการตัดสินใจของนัก ปรับปรุงพันธุ์และเกษตรกรในการเลือกพันธุ์ข้าวที่เหมาะสมต่อการปลูกในแต่ละพื้นที่ ที่มีการระบาด ของเชื้อ XOO ต่างสายพันธุ์ และควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ คําสําคัญ : Xanthomonas oryzae pv. oryzae Pathotype สุพรรณบุรี

132

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 131

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture Kamphaengsaen, Kasetsart University Kamphaengsaen Campus, Nakhon Pathom 73140 2 National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, National Science and Technology Development Agency, Pathum Thani 12120

ABSTRACT Xanthomonas oryzae pv. oryzae (XOO), the causal agent of Bacterial leaf blight with high genetic diversity and epidemic of rice diseases every year causing crop failure in rice crops. The epidemiological survey data and pathotype spread data are still limited and do not cover important rice production sources. In 2018, this research explores and studies the distribution of X. oryzae pv. oryzae is to investigaes 128 isolates were obtained from rice growing areas in Suphanburi province.There were grouped into 30 pathotypes based on the disease reaction to 11 near-isogenic lines (NILs) which different on resistance genes (R) namely Xa1, Xa3, Xa4, xa5, Xa7, xa8, Xa10, Xa11, xa13, Xa14 and Xa21. The analysis revealed that pathotype19 (SSSRRSSSSRS) and pathotype 20 (SSSRRSSSSSS) were dominated from the others at the percentage of 30.47 and 28.13, respectively. Near-isogenic line with xa5 was found to be highly resistant to majority isolates of XOO (32.57%), the next were Xa7 (30.28%), Xa14 (16.79%) and Xa21 (9.67%). Data on epidemic of rice diseases in Suphanburi province has been collected into a database of developed rice disease information systems (http://158.108.207.4/webrice4/). Bringing together rice information, weather information to forecasting the diseases and created an epidemic map to help the decision of the breeders and farmers to choose the right rice varieties for planting in each area that has an outbreak of XOO species and control the diseases effectively. Keywords: Xanthomonas oryzae pv. oryzae, Pathotype, Suphanburi Province

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

133

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 132


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 11 PPB-11

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 11 PPB-11

ไพรเมอร์ที่จําเพาะเจาะจงในการตรวจสอบเชื้อ Xanthomonas perforans

Specific Primer for Detection of Xanthomonas perforans

ชัญญานุช กอรักงาม1,2 จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์1,2 สุจินต์ ภัทรภูวดล3 และ วิชัย โฆสิตรัตน1,2

Chanyanut Korakngam1,2 Jutatape Watcharachaiyakup1,2 Sujin Patarapuwadol3 and Wichai Kositratana1,2

1

ศูนย์เทคโนโลยีชวี ภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กําแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สํานักงานพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900 3 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงเสน นครปฐม 73140

2

บทคัดย่อ โรคใบจุดมะเขือเทศ (Bacterial leaf spot of tomato; BLS) มีสาเหตุจากเชื้อ Xanthomonas vesicatoria, X. euvesicatoria, X. perforans และ X. gardneri (Jones et al., 2004) จากรายงานของ สันติพงศ์ และคณะ (ยังไม่ตีพิมพ์) พบว่าเชื้อ 7 ไอโซเลทที่ระบุว่าเป็น X. perforans จากการจั ด จํ า แนกด้ ว ยลั ก ษณะทางสรี ร วิ ท ยาและชี ว เคมี เทคนิ ค multi-locus sequence analysis และการวิเคราะห์สายวิวัฒนาการ โดยเชื้อดังกล่าวให้ผลลบกับการตรวจสอบ ด้วยเทคนิค PCR ด้วยไพร์เมอร์ที่จําเพาะระดับสปีชีส์ Bs-XpF และ Bs-XpR ที่จําเพาะต่อเชื้อ X. perforans ออกแบบโดย Koenraadt et al. (2009) แสดงให้เห็นว่าไพรเมอร์ที่นํามาใช้ในการ ตรวจสอบดังกล่าวไม่สามารถตรวจสอบเชื้อ X. perforans ในประเทศไทยได้ การศึกษานี้มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเทคนิค PCR ในการตรวจสอบเชื้อ X. perforans โดยทําการออกแบบไพร์ เมอร์จากการเปรียบเทียบลําดับเบสของยีน Phosphoesterase ของเชื้อสาเหตุโรคใบจุดมะเขือเทศ แต่ละสปีชีส์ สามารถออกแบบไพร์เมอร์ Xp-seF เพื่อทําปฏิกิริยาคู่กับไพร์เมอร์ Xp-InR1 หรือ XpseR ทดสอบการทําปฏิกิริยา PCR พบว่าเฉพาะคู่ไพร์เมอร์ Xp-seF และ Xp-InR1 สามารถทํา ปฏิกิริยา PCR ให้ผลบวกกับเชื้อทั้ง 7 ไอโซเลท รวมทั้งดีเอ็นเอชุดควบคุมเชื้อ X. perforans NCPPB 4321 (สายพันธุ์อ้างอิง) และสายพันธุ์ NCPPB 4322 แสดงให้เห็นว่าไพร์เมอร์ที่ออกแบบในการ ทดลองนี้สามารถนํามาใช้เป็นไพร์เมอร์สําหรับตรวจสอบเชื้อ X. perforans ได้ คําสําคัญ : โรคใบจุดในพริก โรคใบจุดในมะเขือเทศ การออกแบบไพรเมอร์ วิธีการตรวจสอบเชื้อ สาเหตุโรค

134

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 133

1

Center for Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Kamphaeng Sean Campus, Nakhon Pathom 73140 2 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology (AG-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900 3 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Sean, Kasetsart University, Kamphaeng Sean Campus, Nakhon Pathom 73140

ABSTRACT Bacterial leaf spot (BLS) of tomato caused by Xanthomonas vesicatoria, X. euvesicatoria, X. perforans และ X. gardneri (Jones et al., 2004). Report of Sitthitanasin et al. (unpublished data) found that 7 isolates are identified as X. perforans, determined by using phenotypic and biochemical analysis, multi-locus sequence analysis and phylogenetic analysis. However, negative PCR reactions from 8 isolates were shown with species-specific primer (Bs-XpF and Bs-XpR ) for X. perforans designed by Koenraadt et al. (2009). This suggests that these primers cannot use to detecting X. perforans in Thailand. This study aims to develop PCR primer for detecting X. perforans. The primers were designed from phosphoesterase gene alignment with each species of tomato leaf spot disease bacteria. We designed XpSeF primer to react with the Xp-InR1 primer or Xp-seR primer for using in PCR detection. The result of PCR reaction found that only the Xp-seF and Xp-InR1 primer pairs were positive for 7 isolate and positive control DNA of X. perforans NCPPB 4321 (type strain) and NCPPB 4322. It shows that the primer designed in this study can be used as a primer for detecting X. perforans. Keywords: Bacterial leaf spot of chili, Bacterial leaf spot of tomato, primer design, pathogen detection

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

135

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 134


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 12 PPB-12

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 12 PPB-12

การสํารวจโรคและการศึกษาการกระจายตัวของสายพันธุ์เชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ในจังหวัดเชียงรายในปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2561

Disease survey and Geographical distribution of pathogenic races of Xanthomonas oryzae pv. oryzae in Chiang Rai province during 2016- 2018

ไพเราะ ขวัญงาม1,2 มัชฌิมา สังข์วรรณะ1 นุชจรินทร์ จังขันธ์1,3 จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์4,5 และ สุจินต์ ภัทรภูวดล1,4,5*

Pairoh Khwanngam1,2 Matchima Sangwanna1 Nootjarin Jungkhun1,3 Jutatape Watcharachaiyakup4,5 and Sujin Patarapuwadol1,4,5*

1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงเสน นครปฐม 73140 2 สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพฯ 10900 3 กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพฯ 10900 4 ศูนย์เทคโนโลยีชวี ภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กําแพงแสน นครปฐม 73140 5 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สํานักงานพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ

โรคขอบใบแห้งเกิดจากเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae (XOO) ทําความเสียหาย ให้กับข้าว การใช้พันธุ์ต้านทานเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการจัดการโรค ในประเทศไทยพบว่า เชื้อ XOO มีความหลากหลายของเชื้อที่เข้าทําลายข้าวที่ยีนต้านทานโรคขอบใบแห้งได้ซึ่งจําเป็นต้อง เข้าใจในความหลากหลายของประชากรเชื้อในการนําพันธุ์ต้านทานไปใช้ให้มีประสิทธิภาพ การศึกษา ครั้งนี้ เก็บตัวอย่างโรค 18 อําเภอของจังหวัดเชียงรายช่วงกันยายนถึงพฤศจิกายน ในปี พ.ศ.2559 – 2561 จํานวน 661 แปลง พบเชื้อ XOO เกือบทุกอําเภอยกเว้นแม่ฟ้าหลวงและเวียงแก่น ในข้าว 20 พันธุ์ ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข10 กข14 กข15 กข49 สันป่าตอง 1 ข้าวญี่ปุ่น ไรซ์เบอรรี่ ปทุมธานี 1 ข้าวเหนียว หอมนิล พิษณุโลก 2 แม่โจ้ 2 เหนียวแดง เหนียวอุบล เหนียวเขี้ยวงู ธัญสิริ นทร์ ข้าวก่ํา และข้าวเจ้าพื้นเมือง นํามาแยกเชื้อสาเหตุโรคได้ 5,554 ไอโซเลท คัดเลือกมาทดสอบ ปฏิกิริยาการเกิดโรคกับสายพันธุ์ข้าวคู่แฝด (NILs) จากสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ 97 ไอโซเลท จําแนกสายพันธุ์เชื้อได้ 25 Reactions โดยเชื้อกลุ่มใหญ่จัดอยู่ใน Pathotype 14 (SSSSSSSRRSS) 20.62% รองลงมาคือ Pathotype 5 (SSSRRSSSSSS) 15.46% และ Pathotype 7 (SSSRSSSSSSS) 12.37% อําเภอที่พบ race มากคือ พาน เชียงแสน และแม่สาย ข้าวที่มียีน Xa13 มีความต้านทานต่อเชื้อ XOO ที่นํามาทดสอบได้ 21.92% รองลงมาคือ Xa11 (16.44%) และ Xa21 (13.70%) ข้ อมู ลการสํารวจได้ บันทึ ก ผ่านโมบายแอพลิเคชั่ นและเก็บเป็นฐานข้อมูล ที่พัฒนาโดย ภาควิ ช าโรคพื ช คณะเกษตร กํ า แพงแสน (http://158.108.207.4/webrice4/index.php) ซึ่ ง สามารถสืบค้นและนํามาจัดทําแผนที่การระบาดของโรคได้ คําสําคัญ : โรคขอบใบแห้งของข้าว Xanthomonas oryzae pv. oryzae race เชียงราย

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140, Thailand. 2 Field and Renewable Energy Crops Research Institute, Department of Agriculture, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok 10900 3 Rice Department Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok 10900 4 Center for Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140, Thailand. 5 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology (AG-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900

Abstract Bacterial leaf blight (BLB) disease caused by Xanthomonas oryzae pv. oryzae (XOO) is one of the most devastating disease of rice. Deployment of host resistance is the only effective means of BLB management However, XOO exists in different races with diverse reactions on different resistance genes. Thus it is essential to understand the diversity of contemporary XOO population to deploy appropriate resistance genes in rice fields. In this report, 661 rice fields of 18 districts of Chiang rai province were sampled from September to November during 2016-2018. Bacterial leaf blight disease was found in 16 out of 18 districts but no disease was found in Mae Fah Luang and Wiang Kan. The diseases was found in twenty rice varieties include KDML 105 RD6 RD10 RD14 RD15 RD49 San-pah-tawng 1 Khao Yipun Riceberry Pathumthani 1 Glutinous rice Hom-nin Rice Phitsanulok 2 Mae Jo 2 Red Glutinous rice Niaw Ubol Niaw Kiaw Ngoo Thunya-sirin Black rice and Khao Jow. Physiological race was determined in 97 selected strains of X. oryzae pv. oryzae by inoculation to near-isogenic International Rice-Bacterial Blight rice lines (NILs). These strains were separated into 25 pathotypes. The majority of strains (20.62%) grouped into pathotype 14 (SSSSSSSRRSS), Pathotype 5 (SSSRRSSSSSS) 15.46% and Pathotype 7 (SSSRSSSSSSS) 12.37% respectively. xa5 resistant gene shown board spectrum of resistant to XOO followed by Xa13 (21.92%) Xa11 (16.44%) and Xa21 (13.70%). Data of disease survey was recorded in a KURdis Database (http://158.108.207.4/webrice4/index.php) developed by Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University.

Keywords : Bacterial leaf blight, Xanthomonas oryzae pv. oryzae, race, Chiang Rai

136

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 135

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

137

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 136


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 13 PPB-13

การจัดจําแนกเชื้อ Xanthomonas spp. สาเหตุโรคใบจุดในมะเขือเทศและพริก จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์1,2 สันติพงศ์ สิทธิธนสิน3 ชัญญานุช กอรักงาม1,2 ทิพวรรณ กันหา ญาติ4 ณัฎฐิมา โฆษิตเจริญกุล4 สุจินต์ ภัทรภูวดล3 และ วิชัย โฆสิตรัตน1,2 1

ศูนย์เทคโนโลยีชวี ภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กําแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สํานักงานพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900 3 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงเสน นครปฐม 73140 4 กลุ่มวิจัยโรคพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพ 10900

2

บทคัดย่อ เชื้ อ แบคที เ รี ย สาเหตุ โ รคใบจุ ด ในมะเขื อ เทศและพริ ก เกิ ด จากเชื้ อ Xanthomonas vesicatoria, X. euvesicatoria, X. perforans และ X. gardneri (Jones et al., 2004) การใช้ เทคนิควิเคราะห์ลําดับนิวคลีโอไทด์ของกลุ่มยีน (Multilocus sequencing typing; MLST) เป็น เทคนิคที่นํามาใช้ในการจัดจําแนกเชื้อแบคทีเรีย การศึกษาของ Roach et al. (2004) พบว่าลําดับนิ วคลีโอไทด์บางส่วนของยีน ATP synthase subunit beta (atpD) เป็นยีนหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์ ลําดับนิวคลีโอไทด์ของกลุ่มยีนของเชื้อในกลุ่มนี้ และยังสามารถใช้แยกเชื้อ X. euvesicatoria และ X. perforans ออกจากกันได้ ในการศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อจัดจําแนกเชื้อ Xanthomonas spp. สาเหตุโ รคใบจุ ดในมะเขื อ เทศและพริ ก ที่ แ ยกได้ ใ นประเทศไทย โดยการตรวจสอบลั ก ษณะทาง สรีรวิทยาและเคมีบางประการ การเกิดโรค การตรวจสอบเบื้องต้นด้วยเทคนิค PCR ด้วยไพร์เมอร์ที่ จําเพาะต่อเชื้อทั้ง 4 ชนิด (Koenraadt et al., 2009) และลําดับนิวคลีโอไทด์บางส่วนของยีน atpD พบว่าเชื้อทดสอบเป็นแกรมลบ ไม่สร้าง urease ไม่รีดิวไนเตรทเป็นไนไตรท ไม่เจริญในอาหารที่มี เกลือ 5% สร้าง xanthomonadin เทคนิค PCR ด้วยไพร์เมอร์จําเพาะระดับสปีชีส์ให้ผลปฏิกิริยา จําเพาะกับเชื้อในแต่ละสปีชีส์ยกเว้นไพร์เมอร์ที่จําเพาะกับเชื้อ X.perforans ไม่สามารถจับกับเชื้อใน การทดลองนี้ การจัดจําแนกด้วยลําดับนิวคลีโอไทด์บางส่วนของยีน atpD พบว่าเชื้อส่วนใหญ่ที่แยก จากพริกจัดจําแนกเป็นเชื้อ X. euvesicatoria และเชื้อที่แยกได้จากมะเขือเทศจัดจําแนกเป็นเชื้อ X. perforans คําสําคัญ : atpD Xanthomonas euvesicatoria Xanthomonas perforans มะเขือเทศ พริก

138

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 137

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 13 PPB-13

Classification of Xanthomonas spp. Causing Bacterial Spot of Tomato and Pepper Jutatape Watcharachaiyakup1,2 Santipong Sitthitanasin3 Chanyanut Korakngam1,2 Tippawan Kanhayart4 Nuttima Kositcharoenkul4 Sujin Patarapuwadol3 and Wichai Kositratana1,2 1

Center for Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Kamphaeng Sean Campus, Nakhon Pathom 73140 2 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology (AG-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900 3 Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Sean, Kasetsart University, Kamphaeng Sean Campus, Nakhon Pathom 73140 4 Plant Pathology Research group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT Bacterial leaf spot of tomato and chili is caused by Xanthomonas vesicatoria, X. euvesicatoria, X. perforans and X. gardneri (Jones et al., 2004). Multilocus sequencing typing; MLST is using to classification of bacteria. Roach et al. (2004) have been found partial sequence of ATP synthase subunit beta (atpD) gene which using for MLST of these bacteria, capable differentiation X. euvesticatoria and X. perforans clades. This study aim to classification of Xanthomonas spp. causing bacterial leaf spot collected in Thailand. Methods were using composing with physiological and biochemical, pathogenicity, PCR with species-specific primer (Koenraadt et al., 2009) and partial sequence of atpD gene. All bacteria is gram negative, negative result for urease, nitrate reduction, no growth in medium contain 5% NaCl, catalase positive and produce xanthomonadin. PCR with species-specific primer amplify specific with each species except X. perforans which cannot amplify to Thailand collected sample. Based on partial DNA sequencing of atpD, most chili isolated bacteria classify as X. euvesicatoria where as tomato isolated bacteria classify as X. perforans. Keywords: atpD, Xanthomonas euvesicatoria, Xanthomonas perforans, tomato, chili

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

139

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 138


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 14 PPB-14

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 14 PPB-14

ประสิทธิภาพของสารกําจัดเชื้อราในการควบคุมเชื้อ Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะม่วง

Efficacy of Fungicides to Control Colletotrichum gloeosporioides Causal Agent of Mango anthracnose Disease

อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช1 เทพชัย เทพช่วยสุข2 และ วีระศักดิ์ ลิขติ มั่นชัย2

Udomsak Lertsuchatavanich1 Thepchai Thepchuasook2 and Veerasak Likitmanchai2

1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ 10900 บริษัท อดามา (ประเทศไทย) จํากัด แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

2

1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkhen, Bangkok 10900 2 ADAMA Thailand Ltd., Chong nontri, Yannawa, Bangkok 10120

บทคัดย่อ โรคแอนแทรคโนสของมะม่วงจากเชื้อ Colletotrichum gloeosporioides เป็นโรคที่มี ความสําคัญที่ให้ผลผลิตมะม่วงเสียหายเป็นจํานวนมากในแต่ละปี โดยการควบคุมโรคแอนแทรคโนส ด้วยสารกําจัดเชื้อราเป็นวิธีการที่เกษตรกรนิยมใช้ แต่สารกําจัดเชื้อรานั้นมีกลไกการทํางานที่แตกต่าง กั น ทํ า ให้ ก ารควบคุ ม นั้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ แ ตกต่ า งกั น และเพื่ อ ลดปั ญ หาการดื้ อ ยาของเชื้ อ C. gloeosporioides งานทดลองนี้ได้ทําการทดสอบการควบคุมเชื้อ C. gloeosporioides ที่แยกได้จาก ผลมะม่วงที่ปลูกใน อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา กับสารป้องกันกําจัดเชื้อรา Frac group 3 และ 11 ด้วยเทคนิค poison food media ผลการทดลองพบว่าสาร propiconazole+prochloraz (Frac group 3+3) อัตรา 5-15 cc ต่อ น้ํา 20 L กับสาร difenoconazole+propiconazole (Frac group 3+3) อัตรา 15 cc ต่อ น้ํา 20 L สามารถควบคุมเชื้อ C. Gloeosporioides ได้ดีที่สุดโดย สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ 100% รองลงมาได้แก่ azoxystrobin+tebuconazole (Frac group 11+3) อัตรา 15 cc ต่อ น้ํา 20 L สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ 93.10% ส่วน azoxystrobin (Frac group 11) เป็นสารที่มีประสิทธิภาพต่ําที่สุดสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อได้ 24.14% ซึ่งผลการทดลองนี้แสดงให้เห็นถึงความต้านทานของเชื้อ C. gloeosporioides สารกําจัด เชื้อรา azoxystrobin (Frac group 11) นําไปสู่การแนะนําการหลีกเลี่ยงการใช้สารกําจัดเชื้อราเชื้อมี ความต้านทาน คําสําคัญ : มะม่วง โรคแอนแทรคโนส Colletotrichum gloeosporioides สารชีวภาพ

ABSTRACT Anthracnose disease of mango caused by Colletotrichum gloeosporioides that causes serious losses to mango fruits annually. Most farmer control anthracnose disease with fungicide application. Fungicides have different mode of action (MOA) that specific for control fungi and use in disease management program to delay fungicide resistance development of C. gloeosporioides. This experiment determine efficacy of fungicides in Frac group of 3 and 11 to control C. gloeosporioides isolated form Pak Chong District, Nakhon Ratchasima with poison food media technique. Results showed that propiconazole+prochloraz (Frac group 3+3) rate 5-15 cc per 20 L of water and difenoconazole+propiconazole (Frac group 3+3) rate 15 cc per 20 L of water gave the highest growth inhibition at 100%. azoxystrobin+tebuconazole (Frac group 11+3) rate 15 cc per 20 L of water gave lower growth inhibition at 93.10%. Azoxystrobin (Frac group 11) gave the lowest growth inhibition at 24.14% and these results showed that C. gloeosporioides isolated form Pak Chong District was resistance to azoxystrobin (Frac group 11). This data will be useful for resistance risk management of C. gloeosporioides in the future. Keywoeds: mango, anthracnose, Colletotrichum gloeosporioides, fungicide

140

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 139

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

141

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 140


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 15 PPB-15

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 15 PPB-15

การคัดเลือกเชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ควบคุมเชื้อรา Colletotrichum capsici สาเหตุโรคแอนแทรกโนสพริก

Screening of Antagonistic Yeast for Controlling Chili Anthracnose disease Caused by Colletotrichum capsica

ยุวดี ชูประภาวรรณ สุภาวดี แก้วระหัน และ สมชาย คําแน่น

Yuwadee chupraphawan Supawadee kaewrahun and Somchai khamnan

ศูนย์วิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรีย์แห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190

National Biological Control Research Center, Lower Northeastern Regional Center, Ubon Ratchathani University, Ubon Ratchathani Province 34190

บทคัดย่อ

ABSTRACT

เก็บรวบรวมเชื้อยีสต์จากดิน ใบไม้ในป่า ดินรอบราก ใบและ ผลพริกที่เป็นและไม่เป็น โรคแอนแทรกโนส รวมทั้งจากผักผลไม้เป็นโรค ในพื้นที่ 7 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้รวมทั้งสิ้น 500 ไอโซเลท ประเมินการเป็นเชื้อปฏิปักษ์ต่อเชื้อ Colletotrichum capsici CC-1 ด้วยวิธี dual culture test คัดเลือกเชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ที่ยับยั้งเชื้อรา C. capsici CC-1 ได้สูงสุด จํานวน 5 ไอโซเลท (81.8 - 85.3%) นําไปทดสอบการควบคุมโรคแอนแทรกโนสบนผลพริกขี้หนูผล ใหญ่ พันธุ์หัวเรือ โดยวิธี Detached fruit technique ด้วยเซลล์แขวนลอย (5x108 เซลล์/มิลลิลิตร) และน้ําส่วนใส (supernatant) ของยีสต์ปฏิปักษ์เปรียบเทียบกับสารเคมี เบนโนมิล และ แมนโคเซบ ผลการทดสอบ พบว่าเซลล์แขวนลอยและน้ําส่วนใสเชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ไอโซเลท SSR1R1 ควบคุมการ เกิดโรคดีที่สุด ผลพริกเกิดโรค 14.1 และ 16.8% ตามลําดับ ใกล้เคียงกับประสิทธิภาพสารเคมีเมนโค เซบ (14.2%) ตรวจสอบประสิทธิภาพยีสต์ปฏิปักษ์การยับยั้งการงอกสปอร์เชื้อก่อโรคภายใต้กล้อง จุลทรรศน์ พบว่าเชื้อยีสต์ SSR1R1 ยับยั้งการงอกสปอร์เชื้อรา C . capsici CC-1 ได้ 67.09% และ ตรวจพบเซลล์ยีสต์ SSR1R1 เคลื่อนที่เข้าหาเส้นใยเชื้อก่อโรค C. capsici CC-1 และเกาะเป็นกลุ่ม หนาแน่นบนเส้นใยเชื้อราก่อโรคภายใน 48 ชั่วโมง การทดสอบการควบคุมโรคแอนแทรกโนสพริก ขี้หนูผลพันธุ์หัวเรือในสภาพโรงเรือน พบว่าเชื้อยีสต์ SSR1R1 ยับยั้งการเกิดโรคแอนแทรกโนสบนผล พริกได้ดี พบผลพริกไม่เป็นโรคแอนแทรกโนส 89.1% ส่วนสารเคมีเมนโคเซบ มีผลพริกไม่เป็นโรค 91.4% และนําเชื้อยีสต์ SSR1R1 มาจําแนกเชื้อในระดับชนิดด้วยเทคนิคทางชีวโมเลกุล พบว่าเป็น เชื้อ Cryptococcus laurentii

Five hundred of yeast isolates were collected from forests soil, rhizoshere soil, and leaf and fruits which are free from and infected with anthracnose diseases, including fruits and vegetables decay in 7 provinces of the Lower Northeast of Thailand. These isolates were screened for in vitro against Colletotrichum capsici CC1 (CC-1), using the dual culture method. Five antagonistic yeast isolates, which are the most effective inhibitors for mycelial growth of the pathogens (81.8-85.3%), were selected for evaluation of the biological control anthracnose disease with detached fruit technique by yeasts cell suspension (5x108 cell/ml) and yeast supernatant, being compared with 2 fungicides, benomyl and mancozeb. The results indicated lowest anthracnose disease incidence caused C. capsici CC-1 was found on cell suspension and supernatant of yeast SSR1R1 isolate espectively, by 14.1 and 16.8% respectively, which not different statistically to macozeb (14.2%) The inhibition of spore germination of C. capsici CC-1 was observed under microscope using yeast cell SSR1R1 isolate. The result showed that antagonistic yeast cell SSR1R1 isolate was able to inhibit spore germination of C. capsici CC-1 about 67.09%. The attachment was also observed between antagonistic yeast cells of C. capsici CC-1. The result showed strong attachment capability of antagonistic yeasts SSR1R1 to hyphae of C. capsici CC-1 was observed under 48 hrs. The green house experiment indicated that antagonistic yeast SSR1R1 can reduced anthracnose disease incidence caused C. capsici CC-1 by 89.1% while 91.4% was found on mancozeb treatment. The antagonistic yeast SSR1R1 isolate was identified into species by biochemical methods, the isolate was identified as Cryptococcus laurentii

คําสําคัญ : โรคแอนแทรกโนสพริก เชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ การควบคุมโดยชีววิธี

Keywords: anthracnose disease, antagonistic yeast, biological control

142

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 141

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

143

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 142


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 16 PPB-16

ประสิทธิภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีสต่อเชื้อราสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริก ปิลันธนา ฐาปนพงษ์วรกุล* ชนากานต์ รัตนศักดิ์ชัยชาญ จิราพร แสงต๊ะ และ มณิการ์ ตรึกตราครบุรี ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 *

Corresponding author: pilunthana.t@cmu.ac.th

บทคัดย่อ เชื้อรา Colletotricum gloeosporioides เป็นสาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริกและพืชผล ทางการเกษตรหลากหลายชนิดทําให้เกิดการสูญเสียของผลผลิต งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพการยับยั้งของเชื้อแอคติโนมัยซีสเอนโดไฟต์ Streptomyces sp. PE06, CT18 และ CT20 ต่อเชื้อรา Colletotrichum gloeosporiodes สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริก จากการ ทดลองด้วยวิธี dual culture พบว่า PE06, CT18 และ CT20 ยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อราก่อ โรคได้ 45.14, 39.58 และ 26.39% ตามลําดับ ซึ่งแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบ กับเชื้อ Bacillus subtilis (53.82%) เมื่อทดสอบการสร้างสารระเหยยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อรา ก่อโรค ด้วยวิธี sealed plate ที่เวลา 120 ชั่วโมง พบว่า CT20, CT18 และ PE04 สามารถยับยั้งการ เจริญของเส้นใยเชื้อราก่อโรคได้ 64.17, 31.67 และ 30% ตามลําดับ ซึ่งสูงกว่าเชื้อ B. subtilis (28.75%) อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยไม่มีการสัมผัสโดยตรงระหว่างเชื้อราและเส้นใยของ Streptomyces sp. PE06, CT18 and CT20 ในคู่จานอาหารทดสอบ จากนั้นตรวจสอบปริมาณการ สร้างสปอร์ของเชื้อราก่อโรค พบว่า CT20 มีเปอร์เซ็นต์ยับยั้งการสร้างสปอร์สูงสุด 94.93 รองลงมา คือ CT18 และ PE06 ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเชื้อ Streptomyces sp. CT20 มีประสิทธิภาพ ยับยั้งการเจริญของเชื้อรา C. gloeosporiodes ได้ดีบนพื้นฐานของกิจกรรมการต้านจุลชีพและ สามารถลดปริมาณการสร้างสปอร์ของเชื้อราก่อโรคได้ในสภาพห้องปฏิบัติการ การค้นพบนี้เป็นการ ช่วยเพิ่มข้อมูลของเชื้อแอคติโนมัยซีสที่สําคัญเพื่อใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ คําสําคัญ : แอนแทรคโนส Colletotrichum gloeosporiodes ฤทธิ์ต้านเชื้อรา Streptomyces sp. sealed plate

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 16 PPB-16

Efficiency of Actinomycetes Against Phytopathogenic Fungus of Chilli Anthracnose Pilunthana Thapanapongworakul* Chanakarn Ratanasakchaicharn Jiraporn Sangta and Manika Truektrakronburi Department of Entomology and Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200 * Corresponding author: pilunthana.t@cmu.ac.th

ABSTRACT Phytopathogenic fungus Colletotricum gloeosporioides is a cause of disease on chilli and wide varieties of agricultural crops resulting in yield loss. This study aimed to test the efficacy of endophytic Streptomyces sp. PE06, CT18 and CT20 against chilli anthracnose disease pathogen Colletotrichum gloeosporiodes. The results suggested that Streptomyces sp. PE06, CT18 and CT20 inhibited mycelial growth of C. gloeosporiodes with 45.14, 39.58 and 26.39% respectively, by dual culture assay, significantly different from Bacillus subtilis’s results (53.82%). The antifungal activity of the volatile-producing Streptomyces sp. PE06, CT18 and CT20 was investigated by sealed plate assay. The results showed that the volatiles generated by these isolates effectively inhibited mycelial growth of C. gloeosporiodes with 64.17, 31.67 and 30%, respectively, which were significantly higher than B. subtilis. No direct contact was observed between the fungus and mycelium of Streptomyces sp. PE06, CT18 and CT20 in a double-dish chamber. Then, the numbers of spore formation in pathogenic fungus were inspected; CT20 had the highest spore formation inhibition percentage of 94.93, followed by CT18 and PE06. The present study suggested that volatile organic compounds (VOCs) from the mycelium of Streptomyces sp. CT20 were effective against the growth of C. gloeosporiodes. in vitro based on antimicrobial activity of mycelial growth and sporulation reduction. These findings have contributed to the body of knowledge on agriculturally important actinomycetes. Keywords: anthracnose, Colletotrichum gloeosporiodes, antifungal activity, Streptomyces sp., sealed plate

144

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 143

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

145

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 144


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 17 PPB-17

2

2

ทิวา บุบผาประเสริฐ ธารทิพย ภาสบุตร พจนา ตระกูลสุขรัตน์ และ ลัดดาวัลย์ อินทรสังข์

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPB - 17 PPB-17

Study on Some Fungicides to Growth of Causing Fungus of Pepper Anthracnose Disease

การศึกษาผลของสารป้องกันกําจัดเชื้อราบางชนิดต่อการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรค ใบจุดของพริกไทย 1

1

1

สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

2

Thiva Bubpaprasert1 Tharntip Bhasabutra2 Photchana Trakunsukharat2 and Laddawan Insung1 1

Horticulture Research Institute, Department of Agriculture, Bangkok 10900 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

2

บทคัดย่อ

ABSTRACT

อาการโรคใบจุ ด ในพริ ก ไทย ทํ า ให้ ใ บพริ ก ไทยเกิ ด แผลจุ ด ขนาดใหญ่ ใบร่ ว ง และตาย โดยเฉพาะในสภาพอากาศที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นและปริมาณน้ําฝนมาก จึงได้ทําการเก็บรวบรวมตัวอย่าง พริกไทยพันธุ์ซาราวัคและซีลอนเป็นโรคใบจุดจากแหล่งปลูกในจ.จันทบุรี ระยอง พิษณุโลก และ เพชรบูรณ์ ระหว่างปี พ.ศ. 2559–2560 นํามาแยกหาเชื้อสาเหตุโรค และศึกษาผลของสารป้องกัน กําจัดเชื้อราบางชนิดต่อการเจริญของเชื้อในห้องปฏิบัติการและการควบคุมโรคในสภาพโรงเรือน เพื่อ หาชนิดสารและอัตราที่เหมาะสมสําหรับนําไปใช้เป็นคําแนะนําในการควบคุมการระบาดของโรคใน พื้นที่ปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ ผลการศึกษาจําแนกเชื้อสาเหตุโรคได้เป็นเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides คัดเลือกเชื้อราจํานวน 2 ไอโซเลทแยกจาก อ.นายายอาม และ อ.เขาคิชฌกูฏ จ. จันทบุรี มาทดสอบด้วยวิธี Poisoned food technique โดยเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อพีดีเอผสมด้วย สารป้องกันกําจัดโรคพืชที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน วางแผนการทดลองแบบ CRD 5 ซ้ํา มีกรรมวิธีคือ สารป้องกันกําจัดโรคพืช 5 ชนิด ที่ความเข้มข้น 6 ระดับคือ 500, 1,000, 1,500, 2,000, 2,500 และ 3,000 ppm เปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุมไม่ผสมสาร พบว่า prochloraz 45% W/V EC ทุกความ เข้มข้นสามารถการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา C. gloeosporioides ได้ดีที่สุด เช่นเดียวกับการใช้ prochloraz 45% W/V EC อัตรา 20 มล./น้ํา 20 ลิตรสามารถควบคุมการเกิดโรคใบจุดได้ในสภาพ โรงเรือน

Anthracnose symptoms of pepper appear many severe disease spots on leaves. Many plants loss their leaves and die, mainly spread in climatic conditions with higher temperatures and greater rainfall. Therefore to studying the cause agent, infected leaves sample of Sarawak and Ceylon pepper varieties from Chantaburi, Rayong, Phitsanulok and Phetchabun provinces were collected during year 2016-2017 and diagnosis. Some fungicides were tested both in laboratory and nursery for used as effective control chemicals recommendation in the growing area. Anthracnose causing fungus was identified as Colletotrichum gloeosporioides. By Poisoned food technique, 2 isolates of fungi from Na Yai Am and Kitchakut district in Chantaburi were selected for fungicide efficacy testing in laboratory. They were cultured on PDA mixing with different concentration levels of fungicides. The experimental design of the CRD with 5 replications, 5 fungicides and 6 levels of concentration (500, 1,000, 1,500, 2,000, 2,500 and 3,000 ppm) were tested. Cultured fungus on PDA without fungicide was used as compare (or control) treatment. The result showed that all concentration levels of prochloraz 45% W/V EC could inhibit C. gloeosporioides growth in laboratory condition. Same as in the nursery condition, prochloraz 45% W/V EC 20 ml/20 L of water was the best effective fungicide in controlling disease in test plants.

คําสําคัญ : โรคใบจุดของพริกไทย โรคแอนแทรคโนสของพริกไทย สารป้องกันกําจัดเชื้อรา

Keywords: anthracnose of pepper, Colletotrichum gloeosporioides, fungicide

146

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 145

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

147

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 146


การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครัชาติ 14 “ เกษตรแม่ า �ก้เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PPA - 01 PPA-01

การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครั ชาติ 14 “ เกษตรแม่ า ก้�เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งทีครั ่ 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PPA - 01 PPA-01

ประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดเชื้อราในการควบคุมโรคราสนิม สาเหตุจากเชื้อ Puccinia allii Rud. ในกุยช่าย

Efficacy of Fungicides for Control Garlic Chives Rust Disease Caused of Puccinia allii Rud.

นพพล สัทยาสัย วรางคนา โชติเศรษฐี และ หทัยภัทร เจษฎารมย์

Noppon Sathayasai Warangkana Chotsetthee and Hataipat Jessadarom

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development Office Department of Agriculture

บทคัดย่อ

Abstract

โรคราสนิมของกุยช่าย สาเหตุจากเชื้อ Puccinia allii Rud. เป็นโรคที่สําคัญที่ทําให้คุณภาพ และผลผลิตของกุยช่ายลดลง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดและอัตราของสารป้องกันกําจัดเชื้อ ราที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคราสนิมของกุยช่าย ดําเนินการทดสอบแปลงของเกษตรกร อ.ด่าน มะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี ในเดือน กุมภาพันธ์ - มีนาคม และ พฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2561 วาง แผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้ํา 10 กรรมวิธี ได้แก่ กรรมวิธีพ่นสาร chlorothalonil 50% SC อัตรา 30 มิลลิลิตร, sulfur 80% WP อัตรา 30 กรัม, mancozeb 80% WP อัตรา 40 กรัม, difenoconazole 25% EC อัตรา 15 มิลลิลิตร, pyraclostrobin 25% EC อัตรา 15 มิลลิลิตร, azoxystrobin 25% W/V EC อัตรา 10 มิลลิลิตร, difenoconazole 15% EC + Propiconazole 15% EC อัตรา 20 มิลลิลิตร, Triadimefon 20% EC อัตรา 10 มิลลิลิตร และ propiclonazole 25% EC อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้ํา 20 ลิตร เปรียบเทียบกับกรรมวิธีพ่นน้ําเปล่า พบว่า สาร azoxystrobin 25% W/V EC มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคดีที่สุด โดยมีความรุนแรงของโรคน้อยที่สุดไม่ถึง 10 เปอร์เซ็นต์ เมื่อฉีดพ่นทุก 5 วันหลังพบโรค จํานวน 3 ครั้ง (ก.พ.-มี.ค. ) และ 4 ครั้ง(พ.ย.-ธ.ค.) มีต้นทุน 158 – 197.5 บาท/ไร่/การพ่น 1 ครั้ง รองลงมาคือสาร propiclonazole 25% EC, difenoconazole 15% EC + Propiconazole 15% EC และ pyraclostrobin 25% EC ตามลําดับ มีต้นทุน 134.4 - 168, 86.4 - 10 และ 174 - 217.5 บาท/ไร่/การพ่น1 ครั้ง ตามลําดับ ดังนั้น เมื่อพบการระบาดของโรคควรฉีดพ่นสารป้องกันกําจัดโรคพืชที่มีประสิทธิภาพ ทุกๆ 5 วัน จํานวน 4 ครั้ง และควรฉีกพ่นทุก 10 - 20 วัน เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรค

Garlic chives rust disease caused by Puccinia allii Rud. is the major problem of garlic chives which reduces both its quality and yield. The purpose of this research was to study the efficacy of fungicides and their application rates for controlling rust disease on garlic chives. This experiment was conducted on farmer's orchard at Danmakhamtia district, Kanchanaburi province, during February - March and November - December 2018. The experiment was designed in RCB with 10 treatments and 4 replications. The treatments were the applications chlorothalonil 50% SC at the rate 30 ml, sulfur 80% WP at the rate 30 g, mancozeb 80% WP at the rate 40 g, difenoconazole 25% EC at the rate 15 ml, pyraclostrobin 25% EC at the rate 15 ml, azoxystrobin 25% W/V EC at the rate 10 ml, difenoconazole 15%EC + Propiconazole 15% EC at the rate 20 ml, Triadimefon 20% EC at the rate 10 ml and , propiclonazole 25% EC at the rate 15 ml/ 20 L of water, while the control treatment was spray water. The results indicated that the application of azoxystrobin 25% W/V EC was the most effective for controlling rust disease which the least percentage disease severity, less than 10 percent after spray the 3rd (February March) and 4th (November - December) times when spray every 5 day while discover disease with cost of 158 – 197.5 baht/rai/application. The application of propiclonazole 25% EC, difenoconazole 15% EC + Propiconazole 15% EC, pyraclostrobin 25% EC were moderately effective for controlling rust disease which the percentage disease severity with cost of 134.4 - 168, 86.4 - 10 and 174 - 217.5 baht /rai/application respectively. When found outbreak rust disease on garlic chives should spray effective fungicide every 5 day for 4 times and spray every 10 - 20 days to prevent disease.

คําสําคัญ : ประสิทธิภาพ สารป้องกันกําจัดโรคพืช โรคราสนิมกุยช่าย กุยช่าย

Keywords: efficacy, fungicide, garlic chives rust disease, garlic chives

148

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 147

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

149

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 148


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 02 PPA-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคพืชบางชนิดต่อการแพร่ระบาดของ โรคราสนิมขาวในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน

Efficiency Test of Some Fungicides to Control White Rust of Chinese Water Morning Glory in Seed Production Field

พจนา ตระกูลสุขรัตน์1 ทนงศักดิ์ สุวรรณวงศ์2 และ อรณิชชา สุวรรณโฉม2

Photchana Trakunsukharat1 Thanongsak Suwannawong2 and Onnitcha Suwanchom2

1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย กรมวิชาการเกษตร อ.ศรีสําโรง จ.สุโขทัย 64120

2

บทคัดย่อ Albugo ipomoea-panduratae เป็นเชื้อราสาเหตุโรคราสนิมขาวของพืชวงศ์ผักบุ้งหลาย ชนิด ในแปลงปลูกผักบุ้งจีนเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์มักประสบปัญหาการระบาดของโรคนี้อยู่เสมอ วิธี ป้ อ งกั น กํ า จั ด ที่ เ กษตรกรนิ ย มกั น คื อ ใช้ ส ารเคมี ป้ อ งกั น กํ า จั ด โรค แต่ คํ า แนะนํ า การใช้ ส ารที่ มี ประสิทธิภาพที่เป็นปัจจุบันยังขาดข้อมูลที่ได้จากงานทดลองจริง ดังนั้นจึงได้ทําการศึกษาหาชนิดของ สารที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดโรคสําหรับใช้เป็นคําแนะนําการใช้สารที่ถูกต้อง โดยทําการ ทดลองจํานวน 2 แปลง คือที่ ตําบลบ้านนา และ ตําบลคลองตาล อําเภอศรีสําโรง จังหวัดสุโขทัย ระหว่างเดือนมิถุนายน – กันยายน 2560 และเดือนตุลาคม 2561–กุมภาพันธ์ 2562 วางแผนการ ทดลองแบบ RCB จํานวน 4 ซ้ํามี 9 กรรมวิธี คือกรรมวิธีพ่นสารทดลอง จํานวน 8 ชนิด และกรรมวิธี พ่นน้ําเปล่าเป็น กรรมวิ ธีควบคุ ม โดยทุ ก กรรมวิธีที่ พ่นสารทดลองปลู กโดยใช้เ มล็ดพันธุ์คลุกด้วย metalaxyl 35% ES 3.5 มิลลิลิตร/เมล็ด 1 กิโลกรัม ยกเว้นกรรมวิธีควบคุม พ่นทุก 7 วัน จํานวน 4 ครั้งเมื่อเริ่มพบการระบาดของโรค ผลการทดลองทั้ง 2 แปลงให้ผลสอดคล้องกันคือ ทุกกรรมวิธีพ่น สารทดลองมีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดโรคราสนิมขาวดีกว่ากรรมวิธีควบคุมพ่นน้ําเปล่า และ สารป้องกันกําจัดโรคพืชที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการทดลองครั้งนี้คือ cyazofamid 40% W/V SC อัตรา 6 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร รองลงมาคือ metalaxyl–M + mancozeb 4%+64% WP อัตรา 30 กรัม/น้ํา 20 ลิตร ส่วนสารที่มีต้นทุนการใช้น้อยที่สุดคือ hexaconazole 5% W/V SC อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร ในการทดลองครั้งนี้ไม่พบความเป็นพิษของสารทดลองต่อพืช คําสําคัญ : การควบคุมโรคด้วยสารเคมี ราสนิมขาวผักบุ้งจีน สารป้องกันกําจัดเชื้อรา

PPA - 02 PPA-02

1

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 Sukhothai Research and Development Center, Department of Agriculture, Sukhothai 64120

ABSTRACT Albugo ipomoea-panduratae is the causing agent of white rust disease of many plants in Convolvulaceae family. This disease usually dispread in many Chinese water morning glory seed production areas. To control this disease, most Thai farmers use fungicides. But the current-used fungicide information did not come from the experiment. In the study and selection of some fungicides and use as effective control chemicals recommendation, the efficacy field trial of those fungicides were done in Tambon Klongtan and Tambon Banna, Srisamrong, Sukhothai province during June–September 2017 and October 2018–February 2019. With RCB design of 4 replication and 9 treatments (8 fungicides and water spraying as control), seedlings were planted with seed dressing by metalaxyl 35% ES 3.5 ml/ 1 kg of seed (except for control treatment) and spraying every 7 days for 4 times when the beginning of disease dispread. The experiment in 2 locations appeared the same result. All of fungicide application had controlled disease better than water spraying. The best effective fungicide for controlling were cyazofamid 40% W/V SC (6 ml/ 20 L of water) and metalaxyl–M + mancozeb 4%+64% WP (30 g/20 L of water), respectively. Hexaconazole 5% W/V SC (20 ml/20 L of water) had the least application cost compared to those test fungicides. All plant in this experiment could not be found phototoxic symptom. Keywords: chemical control, white rust of Chinese water spinach, fungicide

150

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 149

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

151

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 150


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 03 PPA-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 03 PPA-03

ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคราสนิมของถั่วเหลือง สาเหตุจากเชื้อรา Phakopsora pachyrhizi

Efficacy of Some Fungicides for Control Phakopsora pachyrhizi the causal Agent of Soybean Rust

ชนินทร ดวงสอาด1 สุทธิณี ลิขิตตระกูลรุ่ง2 มะโนรัตน์ สุดสงวน1 พิมพ์นภา ขุนพิลึก3 พรพิมล อธิปญ ั ญาคม4 สุณีรัตน์ สีมะเดือ่ 1 และ อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว1

Chanintorn Doungsa-ard1 Suttinee Likhittragulrung2 Manorat Sudsanguan1 Pimnapa Khunpilueg3 Pornpimon Athipunyakom4 Suneerat Srimadua1 and Amonrat Kitjaideaw1

1

กลุ่มวิจัยโรคพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กลุ่มพัฒนาการตรวจสอบพืชและปัจจัยการผลิต สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1 3 ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน 4 สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

2

บทคัดย่อ โรคราสนิม เป็นปัญหาสําคัญที่ส่งผลกระทบต่อของการปลูกถั่วเหลือง โรคนี้มักระบาดในฤดูฝน ในเขตพื้นที่ปลูกบริเวณภาคเหนือตอนบน ทําให้เกิดความเสียหายต่อปริมาณและคุณภาพของผลผลิต เมล็ดถั่วเหลืองที่ได้มีคุณภาพต่ํา เพื่อได้สารป้องกันกําจัดโรคพืชที่มีประสิทธิภาพ และอัตราการใช้ที่ เหมาะสม ในการป้องกันกําจัดโรคราสนิมถั่วเหลือง จึงทําการทดลองประสิท ธิภาพสารป้องกันกําจัด โรคราสนิมของถั่วเหลืองที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Phakopsora pachyrhizi วางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้ํา 7 กรรมวิธี โดยทําการทดลอง 2 ครั้ง ณ แปลงทดลอง ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ ต.หนอง หาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ โดยทําการทดลองครั้งที่ 1 ระหว่างเดือน มีนาคม ถึง กันยายน 2560 และครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน ธันวาคม 2560 ถึง เมษายน 2561 จากผลการทดลองทั้งสองครั้ง ให้ผลที่ สอดคล้องกันคือ tebuconazole 25% W/V EW อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร และ cyperconazole 10% W/V SL อัตรา 80 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร มีประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัด โรคราสนิมของถั่วเหลืองได้ดี พบระดับความรุนแรงของโรคน้อยกว่ากรรมวิธีพ่นสารทดสอบชนิดอื่น รวมถึงกรรมวิธีควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ สามารถใช้เป็นสารแนะนําในการป้องกันกําจัดโรครา สนิมของถั่วเหลืองที่มีสาเหตุจาก เชื้อรา P. pachyrhizi โดยมีต้นทุนการพ่นสาร 34.00 และ 9.20 บาท/20 ลิตร หรือ 204 และ 55 บาท/ไร่ ตามลําดับ จากการทดลองไม่พบผลกระทบของสารป้องกัน กําจัดต่อพืชทดสอบ คําสําคัญ : ราสนิมถั่วเหลือง Phakopsora pachyrhizi ถั่วเหลือง โรคราสนิม

1

Plant Pathology Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture 2 Office of Agricultural Research and Development Region 1, Department of Agriculture 3 Chiangmai Field Crops Research Center, Field and Renewable Energy Crops Research Institute, Department of Agriculture 4 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture

ABSTRACT Soybean rust disease, caused by Phakopsora pachyrhizi, is one of the most severe diseases of soybean, especially in the main production area in the northern part of Thailand. The quantity and quantity of soybean had a significantly damage by this disease. To control the outbreak of this disease, this study was conducted to determine the efficacy of fungicides to control soybean rust disease caused by Phakopsora pachyrhizi. The RCB had been designed for the experimental plan with seven treatments and each of the treatments consisted of four replications. The two experiments were conducted on soybean plantation located in Chiangmai Field Crop Research Center Nong Han sub-district, San Sai district, Chiangmai province, but in different seasons. The first experiment was done from March 2016 to September 2017 and the second one was done from December 2017 to April 2018. Both experiments showed the congruent results that tebuconazole 25% W/V EW with rate of use at 10 ml/20 liter of water and cyperconazole 10% W/V SL with rate of use at 80 ml/20 liter of water. Tebuconazole and cyperconazole presented the better results in controlling the soybean rust fungi by having the lower rate of disease severity with a significantly of differentiation among treatments. The cost of use those two fungicides were 34.20 and 9.20 THB/20 liters solution of fungicide or 204 and 55 THB/Rai, respectively. The abnormal or toxic symptoms due to the fungicide had not been found based on these experiments. Keywords: fungicides, Phakopsora pachyrhizi, soybean, rust disease

152

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 151

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

153

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 152


การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครัชาติ 14 “ เกษตรแม่ า �ก้เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PPA - 04 PPA-04

การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครั ชาติ 14 “ เกษตรแม่ า ก้�เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งทีครั ่ 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PPA - 04 PPA-04

ผลการใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงของเชื้อรา Trichoderma virens และ T. harzianum ในการป้องกันกําจัดโรคกาบใบแห้งและการให้ผลผลิตข้าว

Effectiveness of Wettable-Powder-Bioproducts of Trichoderma virens and T. harzianum in Controlling of Sheath Blight and Yielding of Rice

จินันทนา จอมดวง และ สุมาฬี พรหมรุกขชาติ

Jinantana Jomduang and Sumalee Phromrukachat

สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ. ลําปาง 52000

Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang 52000

บทคัดย่อ

ABSTRACT

การเกิดโรคทําให้ผลผลิตข้าวเสียหาย เชื้อราสกุล Trichoderma ได้รับความสนใจและมี รายงานว่าสามารถป้องกันกําจัดโรคของข้าวได้ การวิจัยครั้งนี้เพื่อทดสอบชีวภัณฑ์ขนิดผงของเชื้อรา Trichoderma virens และ T. harzianum ในการป้องกันกําจัดโรคกาบใบแห้งของข้าวที่เกิดจาก เชื้อรา Rhizoctonia solani รวมถึงการให้ผลผลิตของข้าว ดําเนินการทดสอบในกระถางทดลองโดย ใช้ข้าวพันธุ์ กข. 7 ผลการทดสอบ พบว่า การใช้ชีวภัณฑ์คลุกเมล็ดพันธุ์ข้าวอัตราร้อยละ 1 ของ น้ําหนักเมล็ด เปรียบเทียบกับการคลุกด้วยสารเคมีกําจัดรา mancozeb ตามอัตราแนะนําและ กรรมวิธีควบคุมซึ่งไม่คลุกใด ๆ ให้เปอร์เซ็นต์การงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าวไม่แตกต่างทางสถิติ แต่ให้ จํานวนต้นข้าวต่อกอมากกว่าและแตกต่างทางสถิติ การพ่นต้นข้าวด้วยชีวภัณฑ์อัตรา 50 และ 80 กรัมต่อน้ํา 20 ลิตรหรือสารเคมี mancozeb ตามอัตราแนะนํา โดยเริ่มพ่นเมื่อข้าวอายุได้ 30 วัน พ่นจํานวน 5 ครั้ง ทุก 7 วัน เปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุมซึ่งไม่พ่นใด ๆ พบว่า การพ่นชีวภัณฑ์ให้ จํานวนรวงต่อกอมากกว่าการพ่นสารเคมีและกรรมวิธีควบคุมอย่างแตกต่างทางสถิติ ให้น้ําหนักเมล็ด ข้าวเปลือกต่อกระถางใกล้เคียงกับสารเคมี แต่มากกว่ากรรมวิธีควบคุมและแตกต่างทางสถิติ ซึ่งชีว ภัณฑ์ T. virens อัตรา 80 กรัมต่อน้ํา 20 ลิตรให้น้ําหนักเมล็ดข้าวเปลือกสูงสุด สําหรับการเป็นโรค กาบใบแห้ง พบว่า ชีวภัณฑ์และสารเคมีช่วยให้เป็นโรคน้อยกว่ากรรมวิธีควบคุมอย่างแตกต่างทางสถิติ การพ่นสารเคมีพบโรคที่คะแนน 1.20 ซึ่งน้อยที่สุด การพ่นชีวภัณฑ์พบโรคที่คะแนน 2.00 – 2.20 ส่วนกรรมวิธีควบคุมพบโรคที่คะแนน 2.90 ซึ่งมากที่สุด

Disease outbreak can cause losses on rice yield. The antagonistic fungus, Trichoderma, was reported showing efficacy in controlling of several rice diseases. This research was aimed to evaluate effectiveness of the wettable-powderbioproducts of T. virens and T. harzianum in controlling of sheath blight, caused by Rhizoctonia solani, and yielding of rice. Pot trial was carried out using rice variety RD 7. Results showing that seed dressing with those two bioproducts at 1% by seed weight as compared to the fungicide, mancozeb, at recommendation rate and the control (non-treated) treatment gave similar percentage of seed germination but significant higher numbers of tillers per plant. Spraying the 30-day-old rice plants, at 7-day-interval, continued spraying for 5 times, with those two bioproducts at 50 and 80 g per 20 L. of water or mancozeb at recommendation rate and compared to the control (non-spraying) treatment showed interesting results. It was found that spraying with bioproducts provided significant higher numbers of panicles per plant than spraying with mancozeb or the non-spraying treatment. Grain yield (weight per pot) also was significant higher than the non-spraying treatment but similar to mancozeb spraying. Highest grain yield derived from spraying with T. virens wettable powder at 80 g per 20 L. of water. In addition, spraying with bioproducts and mancozeb significantly decreased sheath blight occurrence as compared to the nonspraying treatment. Spraying with mancozeb showed least disease occurrence, scoring at 1.20. Spraying with bioproducts showed disease occurrence at scoring 2.002.20. While, the non-spraying treatment showed highest disease occurrence, scoring at 2.90.

คําสําคัญ : ข้าว โรคกาบใบแห้ง เชื้อราไรซ็อกโทเนีย เชื้อราไตรโคเดอร์มา แมนโคเซบ

Keywords: rice, sheath blight, Rhizoctonia, Trichoderma, mancozeb

154

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 153

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

155

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 154


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 05 PPA-05

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

Severity of Cassava Mosaic Disease in Resistance and Commercial Varieties by Grafting

การแสดงอาการของโรคใบด่างมันสําปะหลังในมันสําปะหลังพันธุ์ต้านทานและ พันธุ์การค้าด้วยวิธีเสียบยอด นวลนภา เหมเนียม1 กิ่งกาญจน์ เสาร์คํา2 สุกัญญา ฤกษ์วรรณ1 ศิริกาญจน์ หรรษาวัฒนกุล3 จุฑาทิพย์ ถวิลอําพันธ์1 และ วันวิสา ศิริวรรณ์1 1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 2 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140 3 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

PPA - 05 PPA-05

Nuannapa Hemniam1 Kingkan Saokham2 Sukanya Roekwan1 Sirikan Hunsawattanakul3 Jutathip Thawinampan1 and Wanwisa Siriwan1 1

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900 2 Center of Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Nakhon Pathom 73140 3 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

โรคใบด่างมันสําปะหลังเป็นโรคอุบัติใหม่ของประเทศไทย ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส Srilankan cassava mosaic virus ทําให้ใบพืชด่างเหลืองเสียรูปทรง ผลผลิตลดลง 80-100% ปัจจุบันข้อมูล การพัฒนาอาการของโรค ชีววิทยาของเชื้อไวรัสค่อนข้างจํากัด วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การพัฒนาอาการของโรคใบด่าง ฯ ในพันธุ์ต้านทานและพันธุ์การค้าด้วยวิธีการเสียบยอดบนต้นตอต้น มันสําปะหลังที่เป็นโรค โดยทําการเปรียบเทียบทั้งหมด 7 สายพันธุ์ ประกอบด้วยพันธุ์ต้านทาน TME3 และพันธุ์การค้า 6 สายพันธุ์ คือ CMR-89, เกษตรศาสตร์ 50, ระยอง 11, ห้วยบง 60, ห้วยบง 80 และห้วยบง 90 จากนั้นเปรียบเทียบระดับความรุนแรงของโรคอ้างอิงจาก Sseruwagi และคณะ (2004) โดยตรวจดูอาการที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 สัปดาห์หลังจากการเสียบยอด และนํามาตรวจสอบ ด้วยเทคนิค Polymerase chain reaction โดยใช้ไพรเมอร์ที่จําเพาะต่อยีน AC1 ผลการศึกษาพบว่า หลังจากเสียบยอด 6 สัปดาห์ พันธุ์ระยอง 11 แสดงอาการของโรคอยู่ในระดับ 4 (susceptible) รองลงมาคือ พันธุ์ CMR-89, เกษตรศาสตร์ 50, ห้วยบง 60, ห้วยบง 80 และห้วยบง 90 มีความ รุนแรงระดับ 3 (tolerant) และพันธุ์ TME 3 แสดงอาการของโรคอยู่ในระดับ 2 (moderately resistance) นอกจากนี้พบว่าพันธุ์ระยอง 11 เริ่มแสดงอาการเมื่อสัปดาห์ที่ 2 มีความรุนแรงระดับ 2 และสัปดาห์ที่ 3, 4, 5 และ 6 มีความรุนแรงระดับ 4 ซึ่งแตกต่างจากพันธุ์ TME3 ที่เริ่มมีการแสดง อาการในสัปดาห์ที่ 3 และตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3, 4, 5 และ 6 มีความรุนแรงระดับ 2 เมื่อนําตัวอย่างใบ ของแต่ละพันธุ์มาตรวจสอบด้วยเทคนิค PCR พบว่าทุกตัวอย่างมีขนาดแถบดีเอ็นเอตรงกับ Positive

Cassava mosaic disease is emerging disease in Thailand. It causes by Srilankan cassava mosaic virus. The symptoms of Cassava mosaic disease are mosaic on leaf bending deformation and reduced 80-100% yield loss. In the currently information about symptom development and viral biological have been limited. The objective of this study to understand the severity of resistance (TME3) and commercial varieties (CMR-89, KU 50, Rayong 11, Huai Bong 60, Huai Bong 80 and Huai Bong 90) by grafting using infected plants as a stock. The severity assessment method according to Sseruwagi et.al (2004). The symptom severities were recorded at 2, 3, 4, 5 and 6 week after grafting. After that the samples were detected by Polymerase chain reaction with specific primer to AC1 gene. After grafting 6 weeks, the results show, Rayong 11 was susceptible variety (level 4) and followed by CMR-89, KU 50, Huai Bong 60, Huai Bong 80 and Huai Bong 90 were tolerant (level 3). TME3 was moderately resistance (level 2). Moreover, the symptom of infected Rayong 11 appeared in the second week after grafting which the severity at level 2 while, the resistance variety TME3, the symptoms show in third week after grafting and the severity at level 2. The leaf samples of each varieties were detected by PCR technique. The result show all symptomatic plants had DNA band similar size with positive control.

คําสําคัญ : ไวรัสใบด่างมันสําปะหลัง ความรุนแรงของโรค พันธุ์ต้านทานและพันธุ์การค้า

Keywords: Srilankan cassava mosaic virus (SLCMV), Symptom severity, Resistance and commercial varieties

156

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 155

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

157

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 156


การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครัชาติ 14 “ เกษตรแม่ า �ก้เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งที่ครั 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

PPA - 06 PPA-06

การประชุ มวิชาการอารั ขาพืงชาติ ชแห่งครั ชาติ 14 “ เกษตรแม่ า ก้�เกษตรกรไทย าวนําเกษตรกรไทย การประชุ มวิชาการอารั กขาพืชกแห่ ้งทีครั ่ 14้งที“่ เกษตรแม่ นยำ� ก้นายํวนำ ” ”

ประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคแอนแทรคโนสของมันสําปะหลัง

Efficacy of Fungicides to Control Anthracnose of Cassava

อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว1 และ สายชล แสงแก้ว2

Amonrat Kitjaideaw1 and Saichon Sangkaew2

1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 4 นครราชสีมา 30340

2

บทคัดย่อ โรคแอนแทรคโนสของมันสําปะหลัง เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides f.sp. manihotis เป็นโรคที่สําคัญญโรคหนึ่ง หากเข้าทําลายมันสําปะหลัง อายุ 3-6 เดือน จะรุนแรง มาก ทําให้ต้นตายได้ จึงควรทําการศึกษาประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคแอนแทรคโนส เพื่อเป็น ทางเลือ กให้แ ก่เ กษตรกรในการจัด การโรคนี ้ใ นแปลงมัน สํ า ปะหลัง วางแผนการทดลองแบบ Randomized complete block 3 ซ้ํา 7 กรรมวิธี ได้แก่ สาร azoxystrobin 25% W/V SC 10 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร สาร difenoconazole 25% W/V EC 20 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร สาร hexaconazole 5% W/V SC 20 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร สาร prochloraz 45% W/V EC 20 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร สาร copper oxychloride 85% WP 80 กรัม/น้ํา 20 ลิตร สาร mancozeb 80% WP 50 กรัม /น้ํา 20 ลิตร เทีย บกับน้ําเปล่า พบว่า แปลงที่ 1 สาร difenoconazole 25% W/V EC มีดัชนีการเกิดโรคน้อยที่สุด (36.67 เปอร์เซ็นต์) และน้อยกว่า น้ําเปล่าอย่างมีนัยสําคัญ (40.22 เปอร์เซ็นต์) แปลงที่ 2 สาร hexaconazole 5% W/V SC สาร prochloraz 45% W/V EC และ copper oxychloride 85% WP มีดัชนีการเกิดโรคน้อยกว่า (36.22 37.33 และ 37.33 เปอร์เซ็นต์ ตามลําดับ) อย่างมีนัยสําคัญกับน้ําเปล่า (42.89 เปอร์เซ็นต์) โดยมีต้นทุนการพ่นสารอยู่ระหว่าง 46.80-278.40 บาท/ไร่ และตลอดการทดลองไม่พบอาการเกิด พิษ (Phytotoxicity) ของสารป้องกันกําจัดโรคต่อมันสําปะหลัง คําสําคัญ : มันสําปะหลัง โรคแอนแทรคโนส เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides f.sp. manihotis สารป้องกันกําจัดโรคพืช

PPA - 06 PPA-06

1

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 Nakhonratchasima Research and Development Center, Office of Agricultural and Development Region 4, Nakhonratchasima 30340

2

ABSTRACT Cassava anthracnose disease caused by Colletotrichum gloeosporioides f.sp. manihotis is an important disease. The disease that destroys cassava, aged 3-6 months, can be very severe, causing the tree to die. Therefore, the efficacy test of fungicides in order to control anthracnose of cassava should be studied for an alternative to farmers in managing this disease in plantation. In this experiment, Randomized Completely Block Design (RCB) with three replications and seven treatments. The treatments included azoxystrobin 25% W/V SC 10 ml./20 liters of water, difenoconazole 25% W/V EC 20 ml./20 liters of water, hexaconazole 5% W/V SC 20 ml./20 liters of water, prochloraz 45% W/V EC 20 ml./20 liters of water, copper oxychloride 85% WP 80 g./20 liters of water, mancozeb 80% WP 50 g./20 liters of water and non-fungicide spraying treatment (water). The first trial was found that, the disease index percentages showed significant difference in difenoconazole 25% W/V EC 20 ml./20 liters of water was 36.67 while the disease index percentage in control fungicide was 40.22. The second trial was found that, the disease index percentages showed significant difference in treatments sprayed with three fungicides: hexaconazole 5% W/V SC 20 ml./20 liters of water, prochloraz 45% W/V EC 20 ml./20 liters of water and copper oxychloride 85% WP 80 g./20 liters of water were 36.22, 37.33 and 37.33 respectively while the disease index percentage in control fungicide was 42.89. The cost of spraying is between 46.80-278.40 Baht /rai. All fungicides have no phytotoxicity to cassava. Keywords: Cassava, Anthracnose Disease, Colletotrichum gloeosporioides f.sp. manihotis Fungicide

158

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 157

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

159

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 158


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 07 PPA-07

ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคพืชบางชนิดในการป้องกันกําจัด โรคสแคปขององุ่นที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Sphaceloma ampelinum ในสภาพแปลงทดลอง

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 07 PPA-07

Efficacy Test of Some Fungicides to Control Grape Scap Causing by Sphaceloma ampelinum in Field Trial

พจนา ตระกูลสุขรัตน์ สุณรี ตั น์ สีมะเดื่อ และ พรพิมล อธิปัญญาคม

Photchana Trakunsukharat Suneerat Seemadua and Pornpimon Athipunyakom

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900

บทคัดย่อ

ABSTRACT

อาการโรคสแคปสามารถเกิดได้ทุกส่วนขององุ่นโดยเฉพาะส่วนที่แตกใหม่ สาเหตุเกิดจากเชื้อ รา Sphaceloma ampelinum โรคแพร่ระบาดได้ดีในสภาพร้อนชื้นที่มีฝนตกชุกขณะที่องุ่นกําลัง แทงยอดอ่อนใบอ่อน ออกดอกหรือติดผลอ่อน วิธีป้องกันกําจัดที่นิยมกันมากคือการใช้สารเคมี ดังนั้น การศึกษาเพื่อหาชนิดของสารที่มีประสิทธิภาพ และอัตราที่เหมาะสมในการป้องกันกําจัดโรคสแคป สําหรับใช้เป็นคําแนะนําการใช้สารที่ถูกต้อง จึงเป็นเรื่องที่มีความสําคัญต่อกระบวนการผลิต โดยทํา การทดลองระหว่างเดือนกันยายน–ตุลาคม 2561 ที่สวนองุ่นใน จ.สมุทรสาคร และจ.ราชบุรี วาง แผนการทดลองแบบ RCB จํานวน 4 ซ้ํา มี 8 กรรมวิธี คือพ่นด้วยสารป้องกันกําจัดโรคพืช 7 ชนิด และกรรมวิธีพ่นน้ําเปล่าเป็นกรรมวิธีควบคุม พ่นสารทุก 7 วัน จํานวน 4 ครั้งเมื่อเริ่มพบการระบาด ของโรค ผลการทดลองทั้ง 2 แปลงเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ กรรมวิธีพ่นด้วย chlorothalonil 75% WP อัตรา 20 กรัม/น้ํา 20 ลิตร, difenoconazole 25% W/V EC อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร และ pyraclostrobin 25% W/V SC อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตรประสิทธิภาพในการ ป้องกันกําจัดโรคดีที่สุด ซึ่งสารที่มีต้นทุนการใช้ที่น้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบระหว่างสารทั้ง 3 ชนิด คือ chlorothalonil 75% WP อัตรา 20 กรัม/น้ํา 20 ลิตร ในการทดลองครั้งนี้ไม่พบความเป็นพิษของ สารทดลองต่อพืช

Scab symptoms appear on many parts of grape plants especially young parts. Fungus Sphaceloma ampelinum is the causing agent. It attacks and causes severe damage during developing period of new shoots and leave, flower forming and new fruit producing. Warm and wet climate in rainy duration is favored environmental condition to disease dispread. Most control method is chemical application. Therefore, the use of effective fungicides and appropriate rate should be studied and tested to control disease in field trial condition and use as a beneficial recommendation for control this disease. The efficacy tests were done during September–October 2019 in vineyard in Samutsakorn and Ratchaburi province with RCB design of 4 replication and 8 treatments (7 fungicides and water spraying as control) by spraying every 7 days for 4 times when the beginning of disease dispread. The experiment showed the best effective results are chlorothalonil 75% WP (20 g/20 L of water), difenoconazole 25% W/V EC (10 ml/20 L of water) and pyraclostrobin 25% W/V SC (20 ml/20 L of water). To compare application cost of 3 fungicides use, the least cost spraying was spray treatment with chlorothalonil 75% WP (20 g/20 L of water). No phototoxicity to plants could be found in this experiment.

คําสําคัญ : การควบคุมโรคด้วยสารเคมี สแคปองุ่น สารป้องกันกําจัดเชื้อรา

Keywords: chemical control, grape scab, fungicide

160

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 159

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

161

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 160


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 08 PPA-08

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 08 PPA-08

การควบคุมเชื้อรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุโรคใบไหม้ของสตรอเบอรีที่ต้านทานต่อ สารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมโดยใช้เชื้อปฏิปักษ์แอกติโนไมซีส

Control of Carbendazim-resistant Pestalotiopsis sp. Causing of Strawberry Leaf Blight Using Antagonistic Actinomycetes

วรุตม์ ใจปิน ธีรนัย โพธิ และ สรัญยา วัลยะเสวี*

Waroot Jaipin Teeranai Poti and Sarunya Valyasevi

ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 * Corresponding author: sarunyav@gmail.com

Department of Entomology and Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200 * Corresponding author: sarunyav@gmail.com

บทคัดย่อ สารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมจัดเป็นสารในกลุ่ม methyl benzimidazole carbamates (MBCs) ที่มีการนํามาใช้ในการป้องกันกําจัดโรคพืชที่หลากหลาย การลดลงของ ประสิทธิภาพของสารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมในการควบคุมโรคพืชจัดเป็นปัญหาหนึ่งที่ สํ า คั ญ ในการเกษตร การศึ ก ษานี้ จึ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ประเมิ น ความต้ า นทานของเชื้ อ รา Pestalotiopsis sp. สาเหตุของโรคใบไหม้ของสตรอเบอรีต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิม และทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อแอกติโนไมซีสที่แยกจากตัวอย่างดินจากอุทยานแห่งชาติสุเทพ-ปุย จํานวน 6 ไอโซเลท ได้แก่ NSP1, NSP2, NSP3, NSP4, NSP5 และ NSP6 ในยับยั้งการเจริญของเชื้อ รา Pestalotiopsis sp. จากการประเมินความต้านทานต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อรา พบว่า เชื้อรา Pestalotiopsis sp. ทุกไอโซเลทจัดอยู่ในกลุ่มที่ต้านทานต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิม ระดับสูง (highly resistance; HR) เมื่อทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อแอกติโนไมซีสในการยับยั้งการ เจริญเส้นใยของเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ด้วยวิธี dual culture พบว่า เชื้อแอกติโนไมซีสมี ประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญของเส้นใยเชื้อราอยู่ในช่วง 74.35-86.66% นอกจากนี้พบว่าอาหารเหลว เลี้ยงเชื้อแอกติโนไมซีสที่ไม่กรองเชื้อออก (non filtrated culture; NF) และอาหารเหลวเลี้ยงเชื้อ แอกติโนไมซีสที่กรองเอาเชื้อออก (filtrated culture; F) มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการงอกของ สปอร์เชื้อรา Pestalotiopsis sp. และมีผลชะลอการงอกของ germ tube โดยมีประสิทธิภาพเด่นชัด ในช่วงต้นของการทดสอบ อย่างไรก็ตามอาหารชนิด NF มีประสิทธิภาพสูงกว่าอาหารชนิด F ในทุก ช่วงเวลาของการทดสอบ

ABSTRACT Carbendazim, a member of methyl benzimidazole carbamate fungicides (MBCs), have been wildly used to control several plant diseases. The reduction of carbendazim efficiency to control the plant disease has been considered as a major problem in agriculture. This study aimed to determine carbendazim-resistant Pestalotiopsis sp. causing strawberry leaf blight and test the efficiency of six actinomycetes, NSP1, NSP2, NSP3, NSP4, NSP5, and NSP6, isolated from the Doi Suthep-Pui National Park to control Pestalotiopsis sp. From the determination of the carbendazim resistance, all isolates of Pestalotiopsis sp. are classified to highly resistant to carbendazim (HR). Testing the efficiency of actinomycetes to control the mycelial growth of Pestalotiopsis sp. by dual culture method found that actinomycetes have control efficiency range from 74.35-86.66%. Furthermore, the non-filtrated culture (NF) and filtrated culture (F) showed spore germinating inhibition and effected to germ tube length by delaying germ tube germination with outstanding efficiency at the beginning of the test. However, NF culture showed higher efficiency than F culture at every time of the test. Keywords: strawberry, Pestalotiopsis, carbendazim, resistance, actinomycetes

คําสําคัญ : สตรอเบอรี Pestalotiopsis คาร์เบนดาซิม เชื้อต้านทาน แอกติโนไมซีส

162

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 161

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

163

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 162


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 09 PPA-09

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 09 PPA-09

ประสิทธิภาพของสารชีวภาพในการควบคุมโรคเหี่ยวจากเชื้อแบคทีเรียของมะเขือเทศ ที่เกิดจากเชื้อ Ralstonia solanacearum

Efficacy of Biopesticides to Control Bacterial Wilt Disease of Tomato Caused by Ralstonia solanacearum

นันทิชา มารักษา และ อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช

Nanticha Maraksa and Udomsak Lertsuchatavanich

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ 10900

Department of Plant Pathology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkhen, Bangkok 10900

บทคัดย่อ โรคเหี่ยวจากแบคทีเรียของมะเขือเทศมีสาเหตุมาจากเชื้อ Ralstonia solanacearum ซึ่ง สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงกับมะเขือเทศในพื้นที่เขตร้อนและเขตกึ่งร้อน วัตถุประสงค์การทดลอง เพื่อทดสอบประสิทธิภาพสารชีวภาพในการควบคุมโรคเหี่ยวจากแบคทีเรียของมะเขือเทศที่เกิดจาก เชื้อ R. solanacearum ในห้องปฏิบัติการและโรงเรือนปลูกพืชทดลอง จากผลการทดสอบ ประสิทธิภาพสารชีวภาพด้วยวิธี Paper Disc Diffusion Method พบว่า สารชีวภาพ Phytocure 80% WP อัตรา 3 g ต่อน้ํา 20 L มีประสิทธิภาพสูงสุดโดยมีรัศมีการยับยั้งเท่ากับ 2.21 cm. การ ทดสอบประสิทธิภาพการควบคุมโรคภายใต้โรงเรือน พบว่าสารชีวภาพ Phytio 80% WP + Grenex 80% WP อัตรา 30 g + 30 g ต่อน้ํา 20 L และ Phytocure 80% WP อัตรา 30 g ต่อน้ํา 20 L มี ประสิทธิภาพในการยับยั้งการเกิดโรคสูงที่สุด โดยมีเปอร์เซ็นต์การเกิดโรคอยู่ที่ 33.34 % เท่ากัน และ พบว่า สารชีวภาพ Phytio 80% WP + Grenex 80% WP อัตรา 30 g + 30 g ต่อน้ํา 20 L มี ค่าเฉลี่ยประชากรของเชื้อ R. solanacearum ต่ําที่สุดอยู่ 0.96x103 CFU/ดิน 1 g คําสําคัญ : มะเขือเทศ โรคเหี่ยวจากแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum สารชีวภาพ

ABSTRACT Bacterial wilt disease of tomato is caused by Ralstonia solanacearum which caused severe damaged of tomato in tropical and subtropical areas. The objective of this experiment to evalulate the efficacy of biopesticides for control bacterial wilt disease of tomato caused by R. solanacearum in laboratory and greenhouses. Efficiency of biopesticides testing by paper disc diffusion method and results showed that biopesticide Phytocure 80% WP 30 g per 20 liters of water gave the highest inhibition zone at 2.21 cm. Bacterial wilt disease control in greenhouses was determine with 1 month of tomato seedling, the results showed that biopesticide Phytio 80%WP +Grenex 80%WP 30g + 30g per 20 liters of water and Phytocure 80% WP at 30g per 20 liters of water gave the highest effective disease control which have 33.34% disease incidence. R. solanacearum population in soil have been determined weekly until 1 month after inoculation. Treatment of Phytio 80%WP + Grenex 80%WP at 30g + 30g per 20 liters of water has the lowest population than other treatments at 0.96x103 CFU and 1.20x103 CFU per 1 g of soil Keywords: Tomato, Bacterial wilt disease, Ralstonia solanacearum, biopesticides

164

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 163

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

165

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 164


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 10 PPA-10

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PPA - 10 PPA-10

ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคใบจุดตาเสือของเผือกสาเหตุจากเชื้อรา Phytophthora colocasiae Rac.

Efficacy of Some Fungicides for Control Taro Leaf Blight Disease Caused by Phytophthora colocasiae Rac.

ั ญาคม2 สุณีรัตน์ สีมะเดื่อ1 อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว1 พจนา ชนินทร ดวงสอาด1 พรพิมล อธิปญ ตระกูลสุขรัตน์1 มะโนรัตน์ สุดสงวน1 สุทธิณี ลิขิตตระกูลรุ่ง3

Chanintorn Doungsa-ard1 Pornpimon Athipunyakom2 Suneerat Srimadua1 Amonrat Kitjaideaw1 Potchana Trakulsukrat1 Manorat Sudsanguan1 and Suttinee Likhittragulrung3

1

กลุ่มวิจัยโรคพืช สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช 2 ผู้เชี่ยวชาญ สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช 3 กลุ่มพัฒนาการตรวจสอบพืชและปัจจัยการผลิต สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 1

บทคัดย่อ โรคใบจุดตาเสือ (Leaf blight) ของเผือกสาเหตุจากเชื้อรา Phytophthora colocasiae Rac. เป็นโรคที่รุนแรงที่สุดของเผือกที่พบในประเทศไทยและในต่างประเทศ โรคนี้เริ่มระบาดเมื่อมีฝน ตกและอากาศชุ่มชื้น ถ้ามีฝนตกหนักและติดต่อกันหลายๆ วัน โรคจะระบาดอย่างรวดเร็ว เพื่อได้สาร ป้องกันกําจัดโรคพืชที่มีประสิทธิภาพ และอัตราการใช้ที่เหมาะสม ในการป้องกันกําจัดโรคใบจุด ตาเสือของเผือก จึงทําการทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันกําจัดโรคใบจุดตาเสือของเผือกสาเหตุจาก เชื้อรา P. colocasiae โดยวางแผนการทดลองแบบ RCB 4 ซ้ํา 7 กรรมวิธี โดยทําการทดลอง 2 ครั้ง ณ แปลงปลูกเผือกของเกษตรกรในพื้นที่ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ โดยทําการทดลองครั้ง ที่ 1 ระหว่างเดือน ธันวาคม 2559 ถึง มกราคม 2560 และครั้งที่ 2 ระหว่างเดือน ธันวาคม 2560 ถึง มกราคม 2561 จากการทดลองให้ผลที่สอดคล้องคือ pyraclostrobin 25% W/V EC อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร และ ethaboxam 10.4% W/V SC อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้ํา 20 ลิตร มี ประสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดโรคใบจุดตาเสือเผือกได้ดี โดยมีระดับความรุนแรงของโรคน้อยกว่า กรรมวิธีพ่นสารทดสอบชนิดอื่น รวมถึงกรรมวิธีพ่นน้ําเปล่าอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ สามารถใช้เป็น คําแนะนําในการป้องกันกําจัดโรคใบจุดตาเสือเผือกที่มีสาเหตุจากเชื้อรา P. colocasiae มีต้นทุน การพ่นสาร 63.20 และ 13.00 บาท/20 ลิตร หรือ 379 และ 78 บาท/ไร่ ตามลําดับ จากการทดลอง ไม่พบผลกระทบของสารป้องกันกําจัดต่อพืชทดสอบ คําสําคัญ : ใบจุดตาเสือ สารป้องกันกําจัดโรคพืช เผือก Phytophthora colocasiae

1

Plant Pathology Research Group, Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture 2 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture 3 Office of Agricultural Research and Development Region 1, Department of Agriculture

ABSTRACT Taro leaf blight, caused by Phytophthora colocasiae Rac., is one of the most severe diseases of taro in Thailand and overseas. The disease outbreak often found in rainy season or at high humidity environment. To control the outbreak of this disease, this study was conducted to determine the efficacy of fungicides to control taro leaf blight disease caused by P. colocasiae. The RCB had been designed for the experimental plan with seven treatments and each of the treatments consisted of four replications. The two experiments were conducted on taro plantation located in Nong Han sub-district, San Sai district, Chiangmai province, but in a different time. The first experiment was done from December 2016 to January 2017 and the second experiment was done from December 2017 to January 2018. Both experiments showed the congruent results that pyraclostrobin 25% W/V EC with rate of use at 20 ml/20 liter of water and ethaboxam 10.4% W/V SC with rate of use at 10 ml/20 liter of water presented the highly significant results in controlling the severity of the taro leaf blight disease caused by P. colocasiae. The cost of application pyraclostrobin 25% W/V EC and ethaboxam 10.4% W/V SC were 63.20 and 13.00 THB/20 liters solution of fungicide or 379 and 78 THB/Rai, respectively. The abnormal or toxic symptoms due to the fungicide had not been found based on these experiments. Keywords: fungicides, Phytophthora colocasiae, taro, taro leaf blight

166

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 165

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

167

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 166


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PWA - 01 PWA-01

ผลของสาร paraquat ต่อการเจริญเติบโต และการรอดชีวิต ในคะน้าและผักบุ้งจีน ธนากร โสโท1 พิษณุ เอ้กระโทก1,2 และ สันติไมตรี ก้อนคําดี1,2* 1

สาขาวิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 ศูนย์วิจัยอ้อยและน้ําตาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 * Corresponding author: gsanti@kku.ac.th

2

บทคัดย่อ การวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาการเจริ ญ เติ บ โตของคะน้ า และผั ก บุ้ ง จี น เมื่ อ ได้ รั บ สารละลายฮอกแลนด์ผสมกับสาร paraquat อัตราต่างๆ ในสภาพการปลูกพืชไร้ดิน ซึ่งไม่เกิดขึ้นจริง ในสภาพปลูกพืชปกติ โดยทําการทดลองระหว่างเดือนมกราคม - พฤษภาคม 2562 ณ หมวดพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จํานวน 5 ซ้ํา แบ่งออกเป็น 2 งานทดลอง งานทดลองที่ 1 คือการ เปรียบเทียบผลของสาร paraquat ต่อการรอดชีวิต และการเจริญเติบโตของคะน้า และงานทดลองที่ 2 คือการเปรียบเทียบผลของสาร paraquat ต่อการรอดชีวิต และการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีน เมื่อ ได้รับน้ําที่ผสมสาร paraquat ในอัตราต่างๆ ได้แก่ 0.0, 0.001, 0.01, 0.1, 1.0 และ 10.0 ppm ผล การทดลองพบว่า สาร paraquat อัตรา 0.0 ppm ถึง 10.0 ppm ส่งผลให้คะน้าและผักบุ้งจีนมี เปอร์เซ็นต์การรอดชีวิต จํานวนใบ และความสูง แตกต่างกันทางสถิติ หลังได้รับสาร paraquat 7 วัน โดยสาร paraquat อัตรา 0.0 ppm ถึง 0.1 ppm ทําให้พืชทั้งสองชนิดมีการเจริญเติบโตปกติ แต่ สาร paraquat อัตรา 1.0 ppm ทําให้ความสูงของพืชทั้งสองชนิดชะงักการเจริญเติบโต ในขณะที่ สาร paraquat อัตรา 10.0 ppm ส่งผลให้คะน้าและผักบุ้งจีนมีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตลดลงเท่ากับ 0.00 เปอร์เซ็นต์ จํานวนใบของคะน้าและผักบุ้งจีนลดลงเท่ากับ 0.57 และ 0.82 ใบต่อวัน ตามลําดับ และความสูงลดลง เท่ากับ 1.44 และ 4.94 เซนติเมตรต่อวัน ตามลําดับ แต่อย่างไรก็ตาม ควรมีการ ทดสอบหาปริมาณของสาร paraquat ที่อาจจะถูกดูดซึมในพืชทั้งสองชนิดว่าในแต่ละอัตรามีปริมาณ ของสาร paraquat ที่ถูกดูดซึมหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด คําสําคัญ : การปนเปื้อน สารกําจัดวัชพืช สารตกค้างในพืชผัก ความเป็นพิษของสารกําจัดวัชพืช

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PWA - 01 PWA-01

The Effect of Paraquat on Growth and Survival in Kale and Water Convolvulus Thanakorn Soto1 Phitsanu Aekrathok1,2 and Santimaitree Gonkhamdee1,2* 1

Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University 40002 Northeast Thailand Cane and Sugar Research Center, Khon Kaen University 40002 * Corresponding author: gsanti@kku.ac.th

2

ABSTRACT This research aims to study the growth of kale and water convolvulus when receiving Hoagland solution mixed with paraquat at various rates under hydroponics conditions which does not actually occur in normal planting conditions. The experiment was conducted between January and May 2019 at the Agronomy Division, Faculty of Agriculture Khon Kaen University. The experimental design was a Completely Randomized Design (CRD) with 5 repetitions, which were divided into 2 experiments. The first experiment was to compare the effect of paraquat on seedling survival and growth of kale. The second experiment was to compare the effect of paraquat on seedling survival and growth of water convolvulus when receiving water mixed with paraquat at various rates i.e. 0.0, 0.001, 0.01, 0.1, 1.0 and 10.0 ppm. The results indicated that paraquat at the rates of 0.0 ppm to 10.0 ppm, resulting in kale and water convolvulus having seedling survival percentage, number of leaf and height increment, statistically significant at 7 days after paraquat application. However, paraquat at the rates of 0.0 ppm to 0.1 ppm, made both kale and water convolvulus grew normally and did not show toxicity symptoms, but paraquat at 1.0 ppm caused both plants to be retarded in growth but still survived. While the rate of 10.0 ppm resulted in kale and water convolvulus having seedling survival percentage down to zero, leaves of kale and water convolvulus decreased by 0.57 and 0.82 leaf/day respectively, height of kale and water convolvulus decreased by 1.44 and 4.94 centimeters/day respectively. However, more studies should be made to quantity the amount of the chemicals uptaken by both kinds of plant from each treatment. Keywords: Contamination, herbicide, residues in vegetables, toxicity

168

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 167

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

169

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 168


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PWA - 02 PWA-02

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PWA - 02 PWA-02

การประเมินความทนทานของสารกําจัดวัชพืชประเภทหลังงอกและ การฟื้นตัวของอ้อยพันธุ์ต่างๆ

Evaluated of Post-Emergence of Herbicide Tolerance and Toxicity of Different Sugarcane Varieties.

สันติไมตรี ก้อนคําดี1,2* และ นิดานุช ปรปักพ่าย1,2

Santimaitree Gonkhamdee1,2* and Nidanuch Porapagpai1,2

1

สาขาวิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 * Corresponding author: gsanti@kku.ac.th 2 ศูนย์วิจัยอ้อยและน้ําตาลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 * Corresponding author: gsanti@kku.ac.th

Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, KhonKaen University 40002 * Corresponding author: gsanti@kku.ac.th 2 Northeast Thailand Cane and Sugar Research Center, KhonKaen University 40002 * Corresponding author: gsanti@kku.ac.th

บทคัดย่อ

ABSTRACT

เกษตรกรนิยมใช้สารกําจัดวัชพืชประเภทหลังงอกในการกําจัดวัชพืช แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ สารกําจัดวัชพืชในอัตราที่สูงกว่าอัตราที่แนะนําในบรรจุภัณฑ์ ซึ่งอาจจะทําให้อ้อยบางพันธุ์ชะงักการ เจริญเติบโตได้ ดังนั้นวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อทดสอบความทนทานของอ้อยพันธุ์ต่างๆ ต่อสาร กําจัดวัชพืชประเภทหลังงอก โดยดําเนินการทดลองในอ้อยปลูก ณ หมวดพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ระหว่างเดือนมีนาคม 2559 ถึงเดือนมีนาคม 2560 แบ่งเป็น 2 งานทดลอง การทดลองที่ 1 ศึกษาสาร ametryn และการทดลองที่ 2 ศึกษาสาร paraquat ทั้งสอง การทดลอง วางแผนการทดลองแบบ Split plot in Randomized complete block design (RCBD) จํานวน 4 ซ้ํา โดย Main plot คือ พันธุ์อ้อย จํานวน 3 พันธุ์ ได้แก่ ขอนแก่น 3, LK92-11 และ K93-219 วิธีการกําจัดวัชพืช 3 กรรมวิธี เป็น Sub plot ได้แก่ 1) การกําจัดวัชพืชด้วยมือ 2) สารกําจัดวัชพืชตามอัตราแนะนํา และ 3) สารกําจัดวัชพืช 2 เท่าของอัตราแนะนํา ผลการทดลอง พบว่า อ้อยพันธุ์ขอนแก่น3 มีความทนทานต่อสาร ametryn และ paraquat มากที่สุด เนื่องจาก สามารถฟื้นตัวได้เร็วกว่าอ้อยพันธุ์อื่นๆ การใช้สาร ametryn ทําให้อ้อยฟื้นตัวได้เร็วกว่าการใช้สาร paraquat และการใช้สารอัตราสูงกว่าอัตราแนะนําทําให้อ้อยมีความเป็นพิษมากกว่าการใช้สารอัตรา แนะนํา 1.28 เท่า

Post-emergence herbicides are widely used in weed control by sugarcane farmers. However, farmers usually spray herbicides at the concentrations higher than the recommended rate which may be toxic to some sugarcane varieties and affect their growth and yield. There fore the purpose of this study was to evaluate the tolerance of three sugarcane varieties namely KK3, LK92-11 and K93-219 to 2 postemergence herbicides, ametryn and paraquat. The experiment was conducted at Faculty of Agriculture Khon Kaen University, Khon Kaen province, from March 2016 to March 2017, which were separated into 2 experiments. The first experiment was the study of ametryn, the second experiment was the study of paraquat. The experimental design was the same for both studies i.e. a Split plot in Randomized complete block design with four replications. The main plots were varieties i.e. KK3, LK92-11 and K93-219, the sub plots were three weed control methods i.e. 1) hand weeding 2) herbicides at recommended rate and 3) herbicides at double recommended rate. The results showed that KK3 was resistant to both ametryn and paraquat due to its ability to recover faster than the other sugarcane varieties. The use of ametryn made sugarcane to have faster recovery than the use of paraquat. The use of herbicides at the concentrations higher than the recommended rate resulted in sugarcane having more toxicity symptom by 1.28 times.

คําสําคัญ : การเกิดพิษ วิธีการควบคุมวัชพืช ametryn paraquat

1

Keywords: toxicity, weed control, ametryn, paraquat

170

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 169

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

171

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 170


มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PWA - 03 PWA-03

มวิชกาการอารั กขาพื ชแห่ครั งชาติ “ เกษตรแม่ ก้าวนํ าเกษตรกรไทย”” การประชุมวิการประชุ ชาการอารั ขาพืชแห่ งชาติ ้งที่ครั14้งที“่ 14 เกษตรแม่ นยำ�นยํก้าาวนำ �เกษตรกรไทย

PWA - 03 PWA-03

ผลของการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานต่อประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช ในการผลิตพริก

Effect of Integrated Weed Management on Weed Control Efficiency in Chili Production

สิริชัย สาธุวิจารณ์1 ทิพย์ดรุณี สิทธินาม2 และ ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ3

Sirichai Sathuwijarn1 Tipdarunee Sittinam2 and Prachatipat Pongpinyo3

1

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 2 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรกาญจนบุรี กาญจนบุรี 71000 3 กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

บทคัดย่อ วัชพืชเป็นศัตรูพืชหลักของการผลิตพริก ที่ลดปริมาณและคุณภาพของผลผลิต วัตถุประสงค์ ของการทดลองนี้เพื่อศึกษาผลของการจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน ต่อประสิทธิภาพการควบคุม วัชพืช ดําเนินการทดลองระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 – ตุลาคม 2561 ณ ศูนย์วิจัยและ พัฒ นาการเกษตรกาญจนบุ รี ใน 2 ฤดู วางแผนการทดลองแบบ RCB จํานวน 9 กรรมวิธี 4 ซ้ํ า ประกอบด้วย pendimethalin 264 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ ร่วมกับคลุมฟางข้าวและกําจัดวัชพืชด้วย มือ alachlor 336 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ ร่วมกับคลุมต้นข้าวโพดและกําจัดวัชพืชด้วยมือ คลุมแปลง ด้วยฟางข้าวตามด้วย haloxyfop-P-methyl 20 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ และกําจัดวัชพืชด้วยมือ คลุม แปลงด้วยต้นข้าวโพดตามด้วย fluazifop-P-butyl 24 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ และกําจัดวัชพืชด้วยมือ คลุมด้วยพลาสติกร่วมกับกําจัดวัชพืชด้วยมือ pendimethalin 264 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ ตามด้วย haloxyfop-P-methyl 20 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ และกําจัดวัชพืชด้วยมือ alachlor 336 กรัมสาร ออกฤทธิ์/ไร่ ตามด้วย fluazifop-P-butyl 24 กรัมสารออกฤทธิ์/ไร่ และกําจัดวัชพืชด้วยมือ การ กําจัดวัชพืชด้วยมือ และไม่กําจัดวัชพืช บันทึกข้อมูลประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืช ความเป็นพิษต่อ พืชปลูก การเจริญเติบโต ปริมาณผลผลิต ต้นทุนการจัดการวัชพืช รวมทั้งตรวจสอบปริมาณสารกําจัด วัชพืชที่ตกค้างในผลผลิตพริกด้วย HPLC-MS/MS ผลการทดลอง พบว่า การควบคุมวัชพืชทุกรรมวิธี มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชได้ดี ไม่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริก ให้ ผลผลิตระหว่าง 520.05 - 869.40 กิโลกรัม/ไร่ กรรมวิธีที่พ่นสารกําจัดวัชพืชไม่พบการตกค้างใน ผลผลิต ส่วนต้นทุนการจัดการวัชพืช พบว่า การพ่นสาร pendimethalin ตามด้วย haloxyfop-Pmethyl และกําจัดวัชพืชด้วยมือ มีตน้ ทุนต่ําสุด คําสําคัญ : การควบคุมวัชพืช สารกําจัดวัชพืช วัสดุคลุมดิน สารตกค้าง HPLC-MS/MS

1

Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900 2 Kanchanaburi Agricultural Research and Development Center, Kanchanaburi 71000 3 Agricultural Production Science and Research and Development Division, Department of Agriculture, Bangkok 10900

ABSTRACT Weed is a major cause of yield reduction in chili production. The objective of this experiment was to study the efficiency of Integrated Weed Management (IWM) for controlling weeds in chili plantations. IWM for controlling weeds was conducted in Kanchanaburi Agricultural Research and Development Center during November 2016 – October 2018 in two seasons. The treatments were arranged in a Randomized Complete Block (RCB) with nine treatments and four replications. Treatments consisted of IWM i.e. pendimethalin 264 g ai/rai + rice straw as mulch followed by hand weeding, alachlor 336 g ai/rai + corn straw as mulch followed by hand weeding, rice straw as mulch followed by haloxyfop-P-methyl 20 g ai/rai followed by hand weeding, corn straw as mulch followed by fluazifop-P-butyl 24 g ai/rai followed by hand weeding, black plastic mulch followed by hand weeding, pendimethalin 264 g ai/rai followed by haloxyfop-P-methyl 20 g ai/rai followed by hand weeding, alachlor 336 g ai/rai followed by fluazifop-P-butyl 24 g ai/rai followed by hand weeding, hand weeding and untreated control. Data recording of the experiment i.e. visual evaluation of weed control efficiency, phytotoxicity, plant growth, yield and cost including herbicide residues in the chili product were determined using HPLC-MS/MS. The results found that all weed management treatments were effective to control weeds without crop injury, do not effect growth and yield, with production between 520.05 - 869.40 Kg/rai. Herbicide residue was not detected in chili products from treated blocks. The lowest cost IWM treatments were pendimethalin followed by haloxyfop-P-methyl followed by hand weeding. Keywords: weed control, herbicide, mulching material, herbicide residues, HPLCMS/MS

172

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 171

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

173

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี 172


คณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14

174

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

175


176

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

177


ผู้สนับสนุนการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 14 1. ระดับ Platinum (100,000 บาท) 1.1 บริษัท เอฟเอ็มซี เอจี (ประเทศไทย) จํากัด 1.2 บริษัท คอเทวาอะกริไซแอนส์ จํากัด 1.3 บริษัท วาเลนท์ ไบโอซายน์ จํากัด (Valent Bio Sciences Co. Ltd.) 2. ระดับ Gold (75,000 บาท) 2.1 บริษัท เจียไต๋ จํากัด 2.2 บริษัท อริสต้า ไลฟ์ซายน์ (ประเทศไทย) จํากัด 2.3 บริษัท ไอ ซี พี ลัดดา จํากัด 3. ระดับ Silver (50,000 บาท) 3.1 บริษัท โกลบอล ครอปส์ จํากัด 3.2 บริษัท คร็อพ ซายน์ จํากัด 3.3 บริษัท เคมแฟค จํากัด 3.4 บริษัท ซาโกร (ประเทศไทย) จํากัด 3.5 บริษัท โซตัส อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด 3.6 บริษัท ที.เจ.ซี. เคมี จํากัด 3.7 บริษัท ไทย อะโกรเทรด จํากัด 3.8 บริษัท บาก้า จํากัด 3.9 บริษัท เมเจอร์ฟาร์ คอร์ปอเรชั่น จํากัด 3.10 บริษัท ศรีพงษ์พันธุ์กุลจํากัด 3.11 บริษัท อดามา (ประเทศไทย) จํากัด 3.12 บริษัท เอส.วี. การเกษตร จํากัด 3.13 บริษัท แอ็กโกร (ประเทศไทย) จํากัด 4. Bronze (20,000 บาท) 4.1 บริษัท นูโปรครอป จํากัด 4.2 บริษัท บีเอเอสเอฟ (ไทย) จํากัด 4.3 บริษัท ไบเออร์ไทย จํากัด 4.4 บริษัท ป.เคมีเทค จํากัด 4.5 บริษัท ศูนย์ห้องปฏิบัติการและวิจัยทางการแพทย์และการเกษตรแห่งเอเซีย จํากัด 4.6 บริษัท สหายเกษตรเคมีภัณฑ์ จํากัดสหายเกษตร 4.7 บริษัท เอสทีม อินเตอร์เทรด จํากัด 5. อื่นๆ 5.1 บริษัท เทพวัฒนา จํากัด 30,000 บาท 5.2 บริษัท เอส แอนด์ พี ฟอร์มูเลเตอร์ จํากัด 10,000 บาท 5.3 บริษัท มิตรสมบูรณ์ จํากัด 5,000 บาท 5.4 บริษัท เอราวัณเคมีเกษตร จํากัด 5,000 บาท 5.5 บริษัท เอเลฟองเต้อโกรเคมิคอล จํากัด 5,000 บาท

178

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 5.11 5.12

สมาคมอารักขาพืชไทย สมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทย สมาคมนักโรคพืชแห่งประเทศไทย สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย สมาคมคนไทยธุรกิจเกษตร บริษัท เทพวัฒนา จํากัด บริษัท เอฟเอ็มซี เอจี (ประเทศไทย) จํากัด

40,000 บาท 40,000 บาท 40,000 บาท 40,000 บาท 40,000 บาท ป้ายกระเป๋าและป้ายชื่อพร้อมสายคล้อง เสื้อโปโลคณะกรรมการ

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

179


180

12–14 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมดุสิตธานีหัวหิน จังหวัดเพชรบุรี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.