สูจิบัตร การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 14

Page 1

การประชุมวิชาการ อารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 14

The 14th National Plant Protection Conference วันที่ 12–14 พฤศจิกายน พ.ศ.2562 ณ โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี

“เกษตรแม่นย�ำ ก้าวน�ำเกษตรไทย”


สูจิบัตร วันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2562 16.00 – 18.00 น.

ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม (Lobby)

วันอังคาร ที่ 12 พฤศจิกายน 2562

ห้องรอยัลดุสิต 08.00 – 09.00 น.

ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม

09.00 – 09.45 น.

พิธีเปิดการประชุม และมอบรางวัล บุคคลดีเด่นประกาศผล ประกวดภาพถ่าย

โดย ฯพณฯ อ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรีในรัชกาลที่ 9 09.45 – 10.30 น.

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง นโยบายการอารักขาพืช

โดย ปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ 10.30 – 10.45 น.

พัก – รับประทานอาหารว่างและ เครื่องดื่ม

1


10.45 – 11.30 น.

บรรยายพิเศษ เรื่อง “Understanding Multiple Reduced Risk Strategies and Their Role In Thai Farming”

โดย Dr. Michael Braverman

11.30 – 12.15 น.

บรรยายพิเศษ เรื่อง “Precision Agriculture in Asia”

โดย Mr. David Frabotta

12.15 – 13.00 น.

พัก – รับประทานอาหารกลางวัน

วันอังคาร ที่ 12 พฤศจิกายน 2562

ห้องเขาวัง การน�ำเสนอผลงานภาคบรรยาย (กีฏวิทยา) ประธาน

ดร.มานิตา คงชื่นสิน

เลขานุการ

ดร.พัชรีวรรณ จงจิตเมตต์

13.00 – 13.20 น. OEB–01 ความแตกต่างทางสัณฐานวิทยา ของผีเสื้อหนอนกระทู้ สกุล Spodoptera Guenée, 1852 (Lepidoptera: Noctuidae) ชนิดทีม่ คี วามส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ในประเทศไทย

2

อาทิตย์ รักกสิกร


13.20 – 13.40 น. OEB–02 การจ�ำแนกชนิดแมลงวันผลไม้ ศัตรูพืชในกลุ่ม Bactrocera dorsalis complex (Diptera: Tephritidae) ด้วยลักษณะทางพันธุกรรม ในประเทศไทย ยุวรินทร์ บุญทบ 13.40 – 14.00 น. OEB–03

การศึกษาความเป็นพืชอาศัย: ความสามารถในการเข้าท�ำลาย ของแมลงวันทองใน แก้วมังกรเนื้อแดง ปวีณา บูชาเทียน

14.00 – 14.20 น. OEB–04 ศึกษาชนิดไรแมงมุมทีเ่ หมาะสม ในการเพาะเลี้ยงด้วงเต่า ตัวห�้ำสตีธอรัส Stethorus pauperculus (Weise) (Coleoptera: Coccinellidae) อัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล 14.20 – 14.40 น.

พัก – รับประทานอาหารว่าง และเครื่องดื่ม

3


ประธาน

นายพิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์

เลขานุการ

นางสาวปวีณา บูชาเทียน

14.40 – 15.00 น. OEB–05 ชีววิทยาและศักยภาพของ ไรตัวห�้ำ Amblyseius swirskii (Athias–Henriot) ในการก�ำจัดเพลี้ยไฟในห้อง ปฏิบัติการและโรงเรือน อทิติยา แก้วประดิษฐ์ 15.00 – 15.20 น. OEB–06

อนุกรมวิธานและเขตการ แพร่กระจายแมงมุมแม่ม่าย ในประเทศไทย วิมลวรรณ โชติวงศ์

15.20 – 15.40 น. OEB–07

ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง กลุ่มกลไกการออกฤทธิ์ต่างๆ ในการป้องกันก�ำจัดเพลี้ยไฟ เมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย ศรีจ�ำนรรจ์ ศรีจันทรา

15.40 – 16.00 น. OEB–08

4

รูปแบบการใช้สารฆ่าแมลง แบบหมุนเวียนกลุ่มกลไก การออกฤทธิ์เพื่อป้องกัน ก�ำจัดเพลี้ยไฟเมล่อน (Thrips palmi Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย ศรีจ�ำนรรจ์ ศรีจันทรา


16.00 – 16.20 น. OEB–09

การทดสอบประสิทธิภาพ ของสารฆ่าแมลงชนิดต่างๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟฝ้าย (Thrips palmi Karny) ที่ท�ำลายกล้วยไม้ในห้อง ปฏิบัติการ สุภราดา สุคนธาภิรมณ์ ณ พัทลุง

16.20 – 16.40 น. OEB–10 ความเป็นพิษของอีโคฟูม ที่มีต่อด้วงถั่วเขียว Callosobruchus maculatus F. และด้วง ถั่วเหลือง Callosobruchus chinensis L. (Bruchidae: Coleoptera) สิรีธร โพธิกัน

5


ห้องเขาหลวง การน�ำเสนอผลงานภาคบรรยาย (โรคพืช) ประธาน

นางวิชชุดา รัตนากาญจน์

เลขานุการ

ดร.ชนินทร ดวงสอาด

13.00 – 13.20 น. OPB–01

บทบาทของโมเลกุลในการ ยับยั้งระบบ type III secretion ของแบคทีเรีย สาเหตุโรคใบจุดนูนถั่วเหลือง เอกชัย ขวัญบัว

13.20 – 13.40 น. OPB–02

การศึกษาโปรติโอมิคส์ของ มันส�ำปะหลังพันธุ์ต้านทาน และอ่อนแอต่อโรคใบด่าง มันส�ำปะหลัง สุกัญญา ฤกษ์วรรณ

13.40 – 14.00 น. OPB–03 การศึกษาจีโนมเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่พบในประเทศไทย ธิติมา จินตกานนท์

6


14.00 – 14.20 น. OPB–04 เชื้อ Phytophthora palmivora จากแหล่งปลูก ทุเรียนทีส่ ำ� คัญในประเทศไทย มีการต้านทานต่อสารก�ำจัด เชื้อราในอัตราสูง อุมาพร ศิริวัฒนกุล 14.20 – 14.40 น.

พัก - รับประทานอาหารว่าง และเครื่องดื่ม

ประธาน

ดร.พรพิมล อธิปัญญาคม

เลขานุการ

นางสาวมะโนรัตน์ สุดสงวน

14.40 – 15.00 น. OPB–05 ประสิทธิภาพของน�้ำหมัก เปลือกมังคุดต่อการยับยั้ง การเจริญของเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคใบติดในทุเรียน สุกัญญา บุญยงค์ 15.00 – 15.20 น. OPB–06 ฤทธิ์การต้านเชื้อแบคทีเรียของ Zinc Oxide Nanoparticles ในการยับยั้ง Xanthomonas campestris pv. campestris สาเหตุโรคขอบใบทองของคะน้า ศุภิสรา ศรีโพธิ์งาม

7


15.20 – 15.40 น. OPA–01

ประสิทธิภาพของแบคทีเรียทนเค็ม ในการส่งเสริมการเจริญเติบโต และควบคุมโรคส�ำคัญของคะน้า พินิจ รื่นชาญ

15.40 – 16.00 น. OPA–02

การจ�ำแนกโรคขอบใบแห้งและ ใบไหม้ของข้าวโดยใช้การ วิเคราะห์ภาพถ่าย เตชินท์ วรสิทธิ์

16.00 – 16.20 น. OPA–03

การควบคุมโรคใบขาวแบบ บูรณาการในพื้นที่ปลูกอ้อย บริษัท น�้ำตาลมิตรลาว จ�ำกัด (สปป.ลาว) พีรญา กลมสอาด

8


ห้องรอยัลดุสิต 2 16.40 – 18.00 น.

เสนอผลงานภาคแผ่นภาพ

Out Door (สนามหญ้าริมทะเล) 18.30 – 19.00 น.

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “บริบท BCG และอุปสงค์การวิจัยนวัตกรรมเกษตร แม่นย�ำ”

โดย นายสัตวแพทย์ ยุคล ลิม้ แหลมทอง อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และ อดีตรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ 19.00 – 22.00 น.

Show case / งานเลี้ยงเย็น

9


วันพุธ ที่ 13 พฤศจิกายน 2562

ห้องเขาวัง การน�ำเสนอผลงานภาคบรรยาย (กีฏวิทยา) ประธาน

ผศ.ดร.เยาวลักษณ์ จันทร์บาง

เลขานุการ

นางสาวอัจฉราภรณ์ ประเสริฐผล

09.00 – 09.20 น. OEB–11

การศึกษาศักยภาพการก่อ โรคในหนูศัตรูพืชและการเพิ่ม ปริมาณของค็อคซิเดียโปรโตซัว ในล�ำไส้ (Apicomplexa: Eimeriidae) จากหนูศัตรูพืช สกุล Rattus และ Mus ที่พบ ในประเทศไทย วิชาญ วรรธนะไกวัล

09.20 – 09.40 น. OEA–01 การศึกษาระยะห่างที่เหมาะสม ในการใช้เหยื่อพิษโปรตีนใน รูปแบบกับดักส�ำหรับการ ป้องกันก�ำจัดแมลงวันทองพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในพริก กรกต ด�ำรักษ์

10


09.40 – 10.00 น. OEA–02

ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุ โรคแมลงในการควบคุม แมลงวัน ผลไม้ ปิยธิดา สนิท

10.00 – 10.20 น. OEA–03

ผลของเชื้อราสาเหตุโรคแมลง ต่ออัตราการตาย และการแพร่ กระจายตัวในประชากร แมลงวัน ผลไม้ กมลรัตน์ สุวรรณไชศรี

10.20 – 10.40 น.

พัก – รับประทานอาหารว่าง และเครื่องดื่ม

ประธาน

นายสุเทพ สหายา

เลขานุการ

นางสาวอทิติยา แก้วประดิษฐ์

10.40 – 11.00 น. OEA–04

การเปลี่ยนแปลงการระบาด ของแมลงด�ำหนามมะพร้าว ในเกาะสมุย จ. สุราษฎร์ธานี วลัยพร ศะศิประภา

11.00 – 11.20 น. OEA–05

การทดสอบประสิทธิภาพสารเคมี และการศึกษาผลตกค้างของ สารเคมีที่ฉีดเข้าต้นเพื่อป้องกัน ก�ำจัดหนอนหัวด�ำในมะพร้าว น�้ำหอม และมะพร้าวน�้ำตาล พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์

11


11.20 – 11.40 น. OEA–06

ผลของสารฆ่าแมลงชนิดต่างๆ ต่อการตายของเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis Hood) ที่ท�ำลายมะม่วงในแหล่งปลูก ส�ำคัญ สุภราดา สุคนธาภิรมณ์ ณ พัทลุง

11.40 – 12.00 น. OEA–07

การพ่นสารโดยอากาศยาน ไร้คนขับ (UAV) ในการป้องกัน ก�ำจัดหนอนกระทูข้ า้ วโพดลายจุด (Spodoptera frugiperda (J.E. Smith, 1797)) พิเชฐ เชาวน์วัฒนวงศ์

12.00 – 12.20 น. OEA–08 ออกแบบและพัฒนาคาน หัวฉีดแบบใช้แรงลมช่วย (air–assisted boom sprayer) ในการป้องกันก�ำจัด เพลีย้ ไฟข้าว; Stenchaetothrips biformis ในนาข้าว ยุทธนา เครือหาญชาญพงค์ 12.00 – 13.00 น.

พัก – รับประทานอาหารกลางวัน

12


วันพุธ ที่ 13 พฤศจิกายน 2562

ห้องเขาหลวง การน�ำเสนอผลงานภาคบรรยาย (วัชพืช) ประธาน

นางจันทร์เพ็ญ ประคองวงศ์

เลขานุการ

นางสาวอุษณีย์ จินดากุล

09.00 – 09.20 น. OWB–01 ชีววิทยาของ Asystasia gangetica (L.) T. Anderson วัชพืชที่ส�ำคัญของประเทศไทย จรัญญา ปิ่นสุภา 09.20 – 09.40 น. OWB–02 ผลกระทบของสารนิโคซัลฟูรอน ต่อข้าวโพดลูกผสมก่อนการค้า และสายพันธุ์แท้ สดใส ช่างสลัก 09.40 – 10.00 น. OWA–01 การจัดการวัชพืชแบบผสมผสาน ในไร่อ้อย ปรัชญา เอกฐิน 10.00 – 10.20 น. OWA–02

การเปรียบเทียบผลกระทบของ สารป้องกันก�ำจัดวัชพืชแบบ ก่อนงอกที่มีต่อการเจริญเติบโต และความเสียหายของ ข้าวโพดหวาน อภิรัฐ บัณฑิต

13


10.20 – 10.40 น.

พัก – รับประทานอาหารว่าง และเครื่องดื่ม

ประธาน

ผศ.ดร.สันติไมตรี ก้อนค�ำดี

เลขานุการ

นายเทอดพงษ์ มหาวงศ์

10.40 – 11.00 น. OWA–03

ประสิทธิภาพของสาร glyphosate ผสมกับสารก�ำจัด วัชพืชประเภทใช้ก่อนวัชพืชงอก เพื่อก�ำจัดวัชพืชในสวนมะม่วง ภัทร์พิชชา รุจิระพงศ์ชัย

11.00 – 11.20 น. OWA–04

ผลของการใช้สารก�ำจัดวัชพืช ผสมกับสารก�ำจัดเพลี้ยไฟใน ข้าวนาหว่านน�้ำตมที่มีผลต่อ หญ้าข้าวนก ยุรวรรณ อนันตนมณี

11.20 – 11.40 น. OWA–05 การพัฒนาเครือ่ งมือก�ำจัดวัชพืช และใส่ปุ๋ยแบบติดรถไถเดินตาม ส�ำหรับมันส�ำปะหลัง วุฒิพล จันทร์สระคู 12.00 – 13.00 น.

พัก – รับประทานอาหารกลางวัน

14


ห้องรอยัลดุสิต 13.00 – 13.20 น.

Biopesticide

โดย Mr. Daniel Zommick

13.20 – 13.40

Enabling Farmers towards Sustainable Crop Production

โดย สมศักดิ์ สมานวงศ์

13.30 – 15.30 น.

เสวนาเรื่อง “เกษตรแม่นย�ำ ก้าวน�ำเกษตรไทย” รศ.ดร.สุตเขตต์ นาคะเสถียร ดร.ปกรณ์ เพ็ชรประยูร อ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา ด�ำเนินรายการโดย คุณเปรม ณ สงขลา

15.30 – 16.00 น.

พัก – รับประทานอาหารว่างและ เครื่องดื่ม

16.00 – 17.00 น.

สรุปผลการจัดประชุมมอบรางวัล ผลงานวิจัยดีเด่นและพิธีปิดการประชุม

15


วันจันทร์ ที่ 14 พฤศจิกายน 2562 08.00 – 18.00 น.

ทัศนศึกษา

ผลงานภาคแผ่นภาพ PEB–01

การศึกษาอนุกรมวิธานตัวอ่อนแมลงวัน ผลไม้เผ่า Dacini (Diptera: Tephritidae) ร่วมกับ การใช้เทคนิค Morphometric ในตัวเต็มวัย ยุวรินทร์ บุญทบ

PEB–02

อนุกรมวิธานเพลี้ยจักจั่นศัตรูมะม่วง (Hemiptera: Cicadellidae) ในประเทศไทย เกศสุดา สนศิริ

PEB–03

ความหลากหลายของแมลงศัตรูพืชและ แมลงศัตรูธรรมชาติในแปลงปลูกกะหล�่ำปลีระหว่าง การใช้การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานและ การใช้สารเคมีก�ำจัดแมลง วรนาฏ โคกเย็น

PEB–04

ความหลากชนิดของแมลงวัน ผลไม้ในแปลงรวบรวม พันธุ์กีวีในพื้นที่สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ สรายุทธ ปิตตาระเต

16


PEB–05

การประยุกต์ใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ดในการ จ�ำแนกชนิดของมอดแป้งสกุล Tribolium spp. ที่เป็นศัตรูพืชกักกันแบบรวดเร็ว นพรัตน์ บัวหอม

PEB–06 ชีววิทยาและผลกระทบของแตนเบียนไฮเปอร์ Chartocerus hyalipennis และ Prochiloneurus insolitus ต่อแตนเบียน Anagyrus lopezi เสาวลักษณ์ แก้วเทวี PEB–07

การตรวจสอบเอกลักษณ์ของกลุ่มสารที่มีฤทธิ์ ในการควบคุมแมลงในสารสกัดบัวตองด้วยเทคนิค ทีแอลซีสมรรถนะสูง พจนีย์ หน่อฝั้น

PEB–08

สัตว์ขาข้อที่มีบทบาทเป็น ผู้กินพืชและผู้ล่าในพืช 4 ชนิดในสกุล Passiflora ชิษณุพงศ์ พานเทียน

PEB–09 ฤทธิ์สัม ผัสตายของสารสกัดยาสูบ (Nicotiana tabacum Linnaeus) ต่อไรแมงมุมสองจุด (Tetranychus urticae Koch) วสันต์ ตฤณธวัช PEB–10

ประสิทธิภาพของไส้เดือนฝอยศัตรูแมลง (Steinernema carpocapsae) ที่มีต่อหนอนกระทู้ ข้าวโพดลายจุด, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) ลัทธพล เหมือนตา

17


PEB–11 ประสิทธิภาพของสารรมอีโคฟูม (ECO2FUME) ในการป้องกันก�ำจัดเพลีย้ แป้งมังคุด (Pseudococcus cryptus Hempel (Hemiptera: Pseudococcidae)) ดวงสมร สุทธิสุทธิ์ PEB–12

การติดตามการระบาดของแมลงด�ำหนาม และแนวโน้มการท�ำความเสียหายต่อผลผลิตข้าว จังหวัดสุพรรณบุรี จินตนา ไชยวงค์

PEB–13

นกศัตรูข้าวและการประเมินความเสียหายในนาข้าว จังหวัดเชียงราย ทัสดาว เกตุเนตร

PEA–01

อิทธิพลของทิศทางลมต่อการแพร่ระบาดของ โรคใบด่างมันส�ำปะหลังโดยแมลงหวี่ขาว กิ่งกาญจน์ เสาร์ค�ำ

PEA–02

แนวโน้มและความสัมพันธ์ของศัตรูข้าวและผลผลิต ของแปลงนาข้าวพันธุ์ กข61 ฤดูนาปีและนาปรัง ภายใต้สภาพนาชลประทาน ศุภลักษณา หล่าจันทึก

PEA–03

ศึกษาชนิดและปริมาณของหนูในพื้นที่นาข้าว ที่มีการล้อมรั้วร่วมกับการใช้ลอบดักหนูใน จังหวัดสุพรรณบุรี ทัสดาว เกตุเนตร

18


PEA–04 เซนทารี / ฟลอร์แบค และ ไดเพล / แบคโทสปิน สารชีวภัณท์ก�ำจัดแมลง: ศัตรูธรรมชาติของ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) เดเนียล ซอมมิค PEA–05

ประสิทธิภาพเชื้อแบคทีเรียและสารฆ่าแมลง ในการป้องกันก�ำจัดหนอนกระทู้ผักในพริก สมศักดิ์ ศิริพลตั้งมั่น

PEA–06

การพัฒนาสารชีวภัณฑ์กำ� จัดแมลงศัตรูผกั สายพันธุไ์ ทย ส�ำหรับการผลิตพืชผักปลอดสารเคมีอย่างยั่งยืน พัชรินทร์ ครุฑเมือง

PEA–07

การควบคุมหอยและทากศัตรูพืชในสวนลองกอง เพื่อการส่งออก ปราสาททอง พรหมเกิด

PEA–08

การใช้ระบบภูมสิ ารสนเทศในการศึกษาความหนาแน่น และช่วงการระบาดของแมลงวัน ผลไม้พี้ช เผ่าไท ถายะพิงค์

PPB–01

การตอบสนองกระบวนการป้องกันตัวเองของพืชใน Arabidopsis thaliana โดยสารระเหยจากเชื้อรา Trichoderma sp. PSU-P1 ปริศนา วงค์ล้อม

19


PPB–02

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ Pichia sp. ในปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพต่อการส่งเสริมการเจริญและ การยับยั้งโรคผักกวางตุ้ง สิรีธร แสงเพ็ง

PPB–03 ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ที่แยก ได้จากบริเวณรอบรากต้นกะเพรา (Ocimum sanctum Linn.) ในการยับยั้งเชื้อราและแบคทีเรีย ก่อโรคพืช วราภรณ์ สุทธิสา PPB–04

การจ�ำแนกชนิดแบคทีเรียสาเหตุโรคใบแห้งของหอม ทิพวรรณ กันหาญาติ

PPB–05

การศึกษาประสิทธิภาพของสารป้องกันก�ำจัด โรคราน�้ำค้างในชาโยเต้ ทิวา บุบผาประเสริฐ

PPB–06

ประสิทธิภาพของสารไบโอแอคทีฟอิลิซิเตอร์ต่อ การแสดงออกของยีนที่สามารถกระตุ้น ความต้านทานโรคในถั่วเหลือง ศุภลักษ์ สัตยสมิทสถิต

PPB–07

ผลของสารไดเมโทมอร์ฟ 50% W/V SC และ เมทาแลกซิล 25% WP ในการควบคุมเชื้อรา Phytophthora palmivora สาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า ของทุเรียนหมอนทองในห้องปฏิบัติการและ เรือนทดลอง เรวัฒ เพียซ้าย

20


PPB–08

การแสดงออกของโปรตีนอ้อยทีต่ า้ นทานต่อโรคใบขาว ลาวัลย์ กลัดสุวรรณ

PPB–09

การประเมินความต้านทานของพันธุ์อ้อยต่อ โรคแส้ด�ำในการปรับปรุงพันธุ์ กนกวรรณ สว่าง

PPB–10

การกระจายตัวของ pathotype ของเชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ที่พบระบาด ในจังหวัดสุพรรณบุรีปี พ.ศ. 2561 จารุวี อันเซตา

PPB–11

ไพรเมอร์ที่จ�ำเพาะเจาะจงในการตรวจสอบเชื้อ Xanthomonas perforans ชัญญานุช กอรักงาม

PPB–12

การส�ำรวจโรคและการศึกษาการกระจายตัวของ สายพันธุ์เชื้อ Xanthomonas oryzae pv. oryzae ในจังหวัดเชียงรายในปี พ.ศ. 2559 ถึง พ.ศ. 2561 ไพเราะ ขวัญงาม

PPB–13

การจัดจ�ำแนกเชื้อ Xanthomonas spp. สาเหตุโรคใบจุดในมะเขือเทศและพริก จุฑาเทพ วัชระไชยคุปต์

PPB–14

ประสิทธิภาพของสารก�ำจัดเชื้อราในการควบคุมเชื้อ Colletotrichum gloeosporioides

สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของมะม่วง อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช

21


PPB–15

การคัดเลือกเชื้อยีสต์ปฏิปักษ์ควบคุมเชื้อรา Colletotrichum capsici สาเหตุโรคแอนแทรกโนสพริก ยุวดี ชูประภาวรรณ

PPB–16

ประสิทธิภาพของเชื้อแอคติโนมัยซีสต่อเชื้อรา สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริก ปิลันธนา ฐาปนพงษ์วรกุล

PPB–17

การศึกษาผลของสารป้องกันก�ำจัดเชื้อราบางชนิด ต่อการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดของพริกไทย ทิวา บุบผาประเสริฐ

PPA–01

ประสิทธิภาพสารป้องกันก�ำจัดเชื้อราในการควบคุม โรคราสนิมสาเหตุจากเชื้อ Puccinia allii Rud. ในกุยช่าย นพพล สัทยาสัย

PPA–02

ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช บางชนิดต่อการแพร่ระบาดของโรคราสนิมขาว ในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีน พจนา ตระกูลสุขรัตน์

PPA–03 ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันก�ำจัดโรคราสนิม ของถั่วเหลืองสาเหตุจากเชื้อรา Phakopsora pachyrhizi ชนินทร ดวงสะอาด

22


PPA–04 ผลการใช้ชีวภัณฑ์ชนิดผงของเชื้อรา Trichoderma virens และ T. harzianum ในการป้องกันก�ำจัด โรคกาบใบแห้งและการให้ผลผลิตข้าว จินันทนา จอมดวง PPA–05

การแสดงอาการของโรคใบด่างมันส�ำปะหลังใน มันส�ำปะหลังพันธุ์ต้านทานและพันธุ์การค้าด้วยวิธี เสียบยอด นวลนภา เหมเนียม

PPA–06

ประสิทธิภาพสารป้องกันก�ำจัดโรคแอนแทรคโนส ของมันส�ำปะหลัง อมรรัชฏ์ คิดใจเดียว

PPA–07

ทดสอบประสิทธิภาพสารป้องกันก�ำจัดโรคพืช บางชนิดในการป้องกันก�ำจัดโรคสแคปขององุ่นที่มี สาเหตุจากเชื้อรา Sphaceloma ampelinum ในสภาพแปลงทดลอง พจนา ตระกูลสุขรัตน์

PPA–08

การควบคุมเชื้อรา Pestalotiopsis sp. สาเหตุ โรคใบไหม้ของสตรอเบอรีที่ต้านทานต่อสารป้องกัน ก�ำจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมโดยใช้เชื้อปฏิปักษ์ แอกติโนไมซีส วรุตม์ ใจปิน

23


PPA–9

ประสิทธิภาพของสารชีวภาพในการควบคุมโรคเหี่ยว จากเชื้อแบคทีเรียของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อ Ralstonia solanacearum นันทิชา มารักษา

PPA–10 ทดลองประสิทธิภาพสารป้องกันก�ำจัดโรคใบจุดตาเสือ ของเผือกสาเหตุจากเชื้อรา Phytophthora colocasiae Rac. ชนินทร ดวงสะอาด PWA–01

ผลของสาร paraquat ต่อการเจริญเติบโต และ การรอดชีวิต ในคะน้าและผักบุ้งจีน ธนากร โสโท

PWA–02

การประเมินความทนทานของสารก�ำจัดวัชพืช ประเภทหลังงอกและการฟื้นตัวของอ้อยพันธุ์ต่างๆ สันติไมตรี ก้อนค�ำดี

PWA–03

ผลของการจัดการวัชพืชแบบผสมผสานต่อ ประสิทธิภาพการควบคุมวัชพืชในการผลิตพริก สิริชัย สาธุวิจารณ์

24


สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทรศัพท์ : 0 2561 5431 โทรสาร : 0 2561 5334 เบอร์มือถือ : 09 7234 1571 Website : www.ppc14th.com Line ID : tcpa2019 E–mail : plantprotection1462@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.