พลเมืองภิวัฒน์ ปฏิรูปประเทศไทยด้วยพลังชุมชนท้องถิ่น

Page 1


พลเมืองภิวัฒน์

ปฏิรูปประเทศไทยด้วยพลังชุมชนท้องถิ่น เลขมาตรฐานประจำ�หนังสือ: 978-616-329-033-5 บรรณาธิการอำ�นวยการ ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ สำ�นักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผู้จัดการ เนาวรัตน์ ชุมยวง บรรณาธิการ อาทิตย์ เคนมี กองบรรณาธิการต้นฉบับ วีรพงษ์ สุนทรฉัตราวัฒน์ / อภิรดา มีเดช / อารยา คงแป้น / กฤตพจน พงศ์ถิรประสิทธิ์ / บุญชัย แซ่เงี้ยว ช่างภาพ สุภัทร อ่อนราษฎร์ / กฤตพจน พงศ์ถิรประสิทธิ์ บรรณาธิการศิลปกรรม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย ศิลปกรรม กีรตรีพร ทับทวี พิสูจน์อักษร คีรีบูน วงษ์ชื่น สถานที่ติดต่อ สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 โทรสาร 0 2343 1551 www.thaihealth.or.th จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย สำ�นักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำ�นัก 3) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ดำ�เนินการผลิต เปนไท พับลิชชิ่ง โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine.org waymagazine@yahoo.com


สารบัญ

สมพร ใช้บางยาง ประธานคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

10

เอ็นนู ซื่อสุวรรณ รองประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

12

ธวัชชัย ฟักอังกูร ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

14

สุวรรณี คำ�มั่น ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

26

มุกดา อินต๊ะสาร กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

28

สุรินทร์ กิจนิตย์ชีว์ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

30

แพทย์หญิงประนอม คำ�เที่ยง กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

32

16

สุวรรณวิชช์ เปรมปรีดิ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองโรง อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

34

นายแพทย์ประทีป ธนกิจเจริญ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

18

อนุศาสน์ ทองเหมือน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองโรง อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

36

สิน สื่อสวน กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

20

38

โชคชัย ลิ้มประดิษฐ์​์ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

22

สวัสดิ์ กันจรัตน์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองสาหร่าย อำ�เภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี

24

ธรรมศักดิ์ ฤทธิ์แดง นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลหลักเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดราชบุรี

40

ผศ.ลักขณา เติมศิริกุลชัย กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.


เรณู เล็กนิมิต นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบางคนที อำ�เภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

42

อาจินต์ กิตติพล นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลกะเฉด อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง

64

ธีรศักดิ์ พานิชวิทย์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหม้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

44

นริศ กิจอุดม นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลวังใหม่ อำ�เภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี

66

สุภาภร จิราณิชชกุล รองนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหม้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

46

ประวิทย์ หนูเชื้อเรียง นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลชากไทย อำ�เภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

68

เกรียงไกร ทวีกาญจน์ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลหนองพลับ อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

48

เรวัต นิยมวงศ์ รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลชากไทย อำ�เภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

70

ฐิติพงศ์ ศักดิ์ชัยสมบูรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลท่างาม อำ�เภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

50

สุชาติ จิตมุ่งมโนธรรม นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบางปิด อำ�เภอแหลมงอบ จังหวัดตราด

72

ชินวุฒิ อาศน์วิเชียร หัวหน้าส่วนสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำ�บลท่างาม อำ�เภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

52

มณฤดี ศรีคุณ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลบางปิด อำ�เภอแหลมงอบ จังหวัดตราด

74

54

นิลภา จิระรัตนวรรณะ ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการ เพื่อการจัดการเครือข่ายภาคกลางตะวันออก

76

ทวีป จูมั่น อดีตนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวไผ่ อำ�เภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี

56

กนกศักดิ์ ดวงแก้วเรือน นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ทา อำ�เภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่

78

พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี ผู้จัดการโครงการนครปฐมผาสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

58

ขยัน วิพรหมชัย นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลอุโมงค์ อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�พูน

80

ผศ.หทัยชนก บัวเจริญ ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการ เพื่อการจัดการเครือข่ายภาคกลางตะวันตก

82

สมชาย จันธรรมาพิทักษ์ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลบ้านซ่อง อำ�เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

60

สมศักดิ์ สุริยะเจริญ ปลัดเทศบาลตำ�บลอุโมงค์ อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�พูน

62

นพดล ณ เชียงใหม่ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว อำ�เภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

84

สุรเชษฐ์ ศรีระษา ปลัดเทศบาลตำ�บลบ้านซ่อง อำ�เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา


อุบล ยะไวทย์ณะวิชัย ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว อำ�เภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

86

ทองม้วน พันธุรี นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสมอแข อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

108

บุญทิตย์ เมืองซื่อ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านต๋อม อำ�เภอเมือง จังหวัดพะเยา

88

ไพโรจน์ เงินแจ้ง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสมอโคน อำ�เภอบ้านตาก จังหวัดตาก

110

สุพจน์ ยานะผูก นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลวังชิ้น อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

90

ประเจตน์ หมื่นพันธ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลนาบัว อำ�เภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก

112

จ.ส.อ.ปฏิพล จอมดวง ปลัดเทศบาลตำ�บลวังชิ้น อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

92

ปัญญา ชาญชาติวีระ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโมโกร อำ�เภออุ้มผาง จังหวัดตาก

114

อภิสิทธิ์ จันทร์โอภาส นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลผาบ่อง อำ�เภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

94

ศักดา กิ่มเกิด นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ่อแร่ อำ�เภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท

116

สมชาย วงษ์จันทธนพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองปอน อำ�เภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน

96

บรรจง ยัพวัฒนา นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลแม่หล่าย อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

118

แดนชัย บุลมาก นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโป่งงาม อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

98

สุเทพ สุมณฑกุล รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลแม่หล่าย อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

120

สุริยัน แพรสี ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการแผนสุขภาวะชุมชน และเครือข่ายภาคเหนือตอนบน (ล้านนา)

100

ธาดา อำ�พิน นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลอุทัยเก่า อำ�เภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

122

จักร์กรี จริยาจินดาเสถียร นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลจันทิมา อำ�เภอลานกระบือ จังหวัดกำ�แพงเพชร

102

สัญญา ฟักเขียว ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลอุทัยเก่า อำ�เภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

124

สุชาติ แดงทองดี นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลวังหลุม อำ�เภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

104

มานพ ยะเขียว นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ปะ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก

126

ณรงค์ศักดิ์ คำ�ภูมี ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลวังหลุม อำ�เภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

106

สุเทพ เรืองชัยเสรีพงษ์ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลเก้าเลี้ยว อำ�เภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

128


ไฉน ก้อนทอง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดงมูลเหล็ก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

130

ขนิษฐา นันทบุตร 152 ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

จินตศักดิ์ แสงเมือง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลไกรนอก อำ�เภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย

132

ก้าน กุณะวงษ์ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลนาอ้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเลย

154

วิศาล วิมลศิลป์ นักวิชาการด้านสาธารณสุข ตำ�บลไกรนอก อำ�เภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย

134

เนตรชนก ภาคำ� รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลนาอ้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเลย

156

ประพจน์ เพียรพิทักษ์​์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลคลองน้ำ�ไหล อำ�เภอคลองลาน จังหวัดกำ�แพงเพชร

136

ฤทธิรงค์ ซองศิริ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลเหล่าใหญ่ อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

158

จ.ส.อ.นรินทร์ กลิ่นพ่วง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลประดู่งาม อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

138

พรพรรณ แก้วคำ�ภา ปลัดเทศบาลตำ�บลเหล่าใหญ่ อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

160

พงษ์เทพ ชัยอ่อน นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหาดสองแคว อำ�เภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

140

ไพรวัลย์ โลมรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดงอีจาน อำ�เภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรีรัมย์

162

ธีรศักดิ์ สนแย้ม 142 เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลหาดสองแคว อำ�เภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์​์

ประจวบ เสงี่ยมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

164

ผจญ พูลด้วง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลคอรุม อำ�เภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

144

ว่าที่ร้อยตรีสิริพงษ์ ชูชื่นบุญ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

166

นัยนา ศรีเลิศ นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนตำ�บลคอรุม อำ�เภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

146

สาคร พลซื่อ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลบุ่งเลิศ อำ�เภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด

168

ชยภรณ ดีเอม ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการ เพื่อการจัดการเครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง

148

แก้ว ยิ่งวงค์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลป่าโมง อำ�เภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

170

ทัศนีย์ วีระกันต์ ผู้จัดการแผนงานส่งเสริมการพัฒนาระบบ เพื่อสุขภาวะของเกษตรกรและความเข้มแข็ง ของชุมชนและสังคม

150

ทัศน์พงศ์ ตนกลาย นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลทมอ อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์

172


ไสว จันทร์เหลือง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร

174

ศรีเภา รุจิพัชรกุล นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลเกาะกลาง อำ�เภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่

196

วณิษฐา ธงไชย หัวหน้าส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธรร

176

สินธพ อินทรัตน์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลท่าข้าม อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

198

200

เทพฤทธิ์ บัวโรย นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกจาน อำ�เภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

178

ผศ.ณชพงศ จันจุฬา ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการ เพื่อการจัดการเครือข่ายภาคใต้

รัชชัช ศิลาบุตร ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกจาน อำ�เภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

180

โกเมศร์ ทองบุญชู 202 หัวหน้าโครงการพัฒนาระบบ และโครงข่ายการจัดการภัยพิบัติด้วยพลังสังคมพื้นที่ภาคใต้

ธีระพล กลางประพันธ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลพิมาน อำ�เภอนาแก จังหวัดนครพนม

182

พ.ต.ท.สุรชัย เทศวงศ์ ประธานสภาเทศบาลตำ�บลเขมราฐ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี

184

สุรวุฒิ ยุทธชนะ นักวิชาการชุมชนท้องถิ่น เทศบาลตำ�บลเขมราฐ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี

186

ธัญญา แสงอุบล ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการเพื่อการจัดการ เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเนือ

188

โสภณ พรหมแก้ว นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลขุนทะเล อำ�เภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

190

สอนไชยา ภูดีทิพย์ รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลขุนทะเล อำ�เภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

192

สมพร โบบทอง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ่อแสน อำ�เภอทับปุด จังหวัดพังงา

194


คำ�นำ�

กับคำ�ถามที่ว่า ทำ�ไมจึงต้อง ให้ความสำ�คัญกับ ‘พลังพลเมือง’ คำ � ตอบสั้ น ๆ แบบกำ � ปั้ น ทุ บ ดิ น ... เพราะประเทศไทยเป็นของพลเมือง ทุกคน

ซ้ำ�ร้ายกว่านั้น เมื่อผู้แทนปวงชน

ประชาธิปไตย บางทีเราอาจต้องย้อน

ที่ได้มาซึ่งอำ�นาจกลับเป็นฝ่ายทำ�ลาย

กลั บ ไปมอง ณ จุ ด เริ่ ม ต้ น ในระดั บ

โอกาสและความไว้วางใจที่ประชาชน

ปัจเจก โดยเริ่มที่ตัวของประชาชนเอง

หยิบยื่นให้เสียเอง โดยใช้อำ�นาจนั้น

โจทย์ สำ � คั ญ ของการพั ฒ นา

เพือ่ แสวงประโยชน์สว่ นตนและพวกพ้อง

ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น คื อ ทำ � อย่ า งไรให้

จริงอยู่ที่ว่าในระบบการบริหาร

เมิ น ความทุ ก ข์ ร้ อ นของประชาชน

ประชาชนเกิดความตระหนักถึงสิทธิ

ราชการแผ่นดินระดับประเทศ เรามี

ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ถู ก ละเลยและผลั ก ไส

และหน้าที่ของตน ไม่ดูดายต่อปัญหา

ผู้ แ ทนปวงชนที่ ไ ด้ รั บ ฉั น ทามติ จ าก

ให้ไปอยู่ชายขอบของการพัฒนา

พร้ อ มจะยกระดั บ ตนเองให้ ก้ า วไป

กระบวนการเลือกตั้งมาทำ�หน้าที่เป็น

เมื่อหนทางข้างหน้าคับแคบและ

สู่ ค วามเป็ น พลเมื อ งที่ มี สิ ท ธิ์ มี เ สี ย ง

ปากเป็ น เสี ย งแทนพี่ น้ อ งประชาชน

ตี บ ตั น ผลลั พ ธ์ ที่ ต ามมาจึ ง มี อ ยู่ 2

เท่าเทียมกัน มีส่วนร่วมคิด ร่วมลงมือ

โดยมี ข้ า ราชการเป็ น เสมื อ นแขนขา

ทาง หนึ่ง-เกิดปฏิกิริยาสะท้อนกลับ

ทำ � และร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบ โดยไม่ ต้ อ ง

ทำ�หน้าที่แปรนโยบายไปสู่ภาคปฏิบัติ

ในลักษณะต่อต้าน ตอบโต้ด้วยความ

ฝากความหวังไว้กับใครคนใดคนหนึ่ง

จากส่ ว นกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าค ไป

รุ น แรง สอง-กรุ ย ทางใหม่ โ ดยคงไว้

อีกต่อไป

จนถึ ง ระดั บจั ง หวั ด และท้ อ งถิ่ น แต่

ซึ่งกรอบกติกาประชาธิปไตยอันเป็น

เมื่ อ พิ จ ารณาจากสภาพข้ อ เท็ จ จริ ง

หลั ก การขั้ น พื้ น ฐานที่ เ ราต่ า งยึ ด ถื อ

ที่ ป รากฏอยู่ ก็ เ ป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ แ ล้ ว ว่ า

เป็นข้อตกลงร่วมกัน

นี่คือภารกิจสำ�คัญที่มาพร้อมกับ ความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่ แม้พลเมืองจะเป็นหน่วยที่เล็ก

ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมากลไกนี้

หากเป็นผูเ้ จริญแล้วย่อมไม่เลือก

ที่ สุ ด ของสั ง คม แต่ ห ากได้ รั บ การ

ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ

ทางเดิ น ที่ ห นึ่ ง เพราะนอกจากจะ

ขัดเกลาด้วยเบ้าหลอมของจิตสำ�นึก

ของประชาชนได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง และ

ไม่ นำ � พาไปสู่ ท างออกที่ เ ป็ น ไปตาม

สาธารณะแบบเดียวกันย่อมเกิดเป็น

เท่าเทียมแม้แต่น้อย และนับวันสังคม

ครรลองแล้ว ยังก่อให้เกิดวังวนของ

พลังขึ้นได้ เมื่อจุดเล็กๆ จุดหนึ่งเชื่อม

ชนบทกั บ สั ง คมเมื อ งก็ ยิ่ ง แปลกแยก

ปัญหาที่ไม่สิ้นสุด

ต่อไปยังอีกจุดหนึ่ง ย่อมเกิดเป็นเส้น

ต่อกันมากขึ้นเรื่อยๆ

ห า ก ยั ง เ ชื่ อ มั่ น ใ น ร ะ บ อ บ

สายโยงใย ก่อเกิดเป็นเครือข่ายความ


ร่วมมือที่จะแผ่กิ่งก้านสาขากว้างขวาง

กล่าวมาทบทวนและปรับใช้กับพื้นที่

วันที่ประชาชนเหยียดหลังขึ้นตรงและ

ออกไปทั้ ง ในระดั บ หมู่ บ้ า น ชุ ม ชน

ของตน ที่สำ�คัญต้องมีความกล้าหาญ

ลุกยืนด้วยขาของตน เมือ่ นัน้ กระแสลม

ตำ�บล กระทั่งกลายเป็นพลังมหาศาล

ที่จะคืนอำ�นาจให้แก่ประชาชน

จะเปลี่ยนทิศ

ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงสังคมได้ ในที่สุด

เมื่ อ ท้ อ งถิ่ น และประชาชนให้ ความไว้เนื้อเชื่อใจกัน เปิดโอกาสให้

หั น มาพิ จ ารณาปั ญ หาความ

ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง

ขั ด แย้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในบ้ า นเมื อ งตลอด

ย่อมส่งผลให้งานพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

หลายทศวรรษทีผ่ า่ นมา ปฏิเสธไม่ได้วา่

เจริญรุดหน้า เพราะพลังพลเมืองคือ

สาเหตุ ห นึ่ ง มาจากการบริ ห ารแบบ

ตัวแปรสำ�คัญทีจ่ ะชีข้ าดถึงความสำ�เร็จ

รวมศูนย์ จากการที่ภาครัฐส่วนกลาง

หรือล้มเหลว

กอดกุมอำ�นาจไว้แต่เพียงผู้เดียว โดย

กุ ญ แจของความสำ � เร็ จ อยู่ ใ น

ไม่คายอำ�นาจไปยังท้องถิ่นและภาค

มื อ ผู้ นำ � ท้ อ งถิ่ น แล้ ว ขอเพี ย งเปิ ด ใจ

ส่ ว นต่ า งๆ ให้ ร่ ว มบริ ห ารจั ด การ

ให้กว้าง ฟังเสียงของประชาชน และ

และร่วมรับผิดชอบ ฉะนั้นเมื่อความ

ยอมรับในศักยภาพของชุมชน เพื่อให้

ขัดแย้งปะทุถึงจุดหนึ่ง ทุกปัญหาจึง

เขาเหล่านั้นได้มีโอกาสกำ�หนดชะตา

พุ่งกลับไปยังใจกลางของผู้ถืออำ�นาจ

ชีวิตตนเอง

อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

เส้ น ทางของการพั ฒ นาชุ ม ชน

เช่ น เดี ย วกั น ในการบริ ห าร

ท้องถิ่นด้วยพลังพลเมือง มิใช่เส้นทาง

จัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่

ใหม่ที่เราไม่รู้จักคุ้นเคย หากแต่เพียง

ท่ า มกลางความชุ ล มุ น วุ่ น วายของ

ถู ก เบี ย ดบั ง มานานด้ ว ยอำ � นาจของ

สถานการณ์บ้านเมืองเช่นนี้แล้ว ผู้นำ�

ผู้ ป กครองที่ ก ดทั บ ให้ ป ระชาชนเป็ น

ท้ อ งถิ่ น สมควรที่ จ ะนำ � บทเรี ย นดั ง

เพียงผู้ใต้ปกครอง แต่เมื่อถึงวันหนึ่ง...

ดวงพร เฮงบุณยพันธ์

ผู้อำ�นวยการสำ�นักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


10

สมพร ใช้บางยาง

ประธานคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ในโลกสมัยใหม่ การมีส่วนร่วม เป็นสิ่งสำ�คัญมาก โดยเฉพาะในประเทศ ที่กำ�ลังพัฒนา ซึ่งต้องอาศัยทรัพยากร บุคคลตั้งแต่ระดับฐานรากในการช่วย พัฒนาประเทศให้ก้าวหน้า ไม่ใช่อยู่ที่ รัฐบาล ไม่ใช่อยู่ที่สภาผู้แทนราษฎร หากอยู่ที่พี่น้องประชาชนเอง ในฐานะ ที่เป็นเจ้าของอำ�นาจอธิปไตย

ถึงบทบาทของตัวเองเสียก่อน ท้องถิน่ ต้องตระหนักให้ได้วา่ การสร้างความเป็นพลเมือง คือหน้าที่ของหน่วยงานภาครัฐ เพราะนี่คือพื้นฐานของการ หากมองให้ ลึ ก ลงไปถึ ง สิ่ ง ที่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ การ พัฒนาชุมชนท้องถิ่นนั้น จะเห็นว่ารากของปัญหาเกิดขึ้น ตั้งแต่ระดับโครงสร้างและนโยบายของรัฐ ด้วยเหตุที่รัฐ ไม่มีนโยบายที่จะส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักพึ่งพาตนเอง ไม่ ส่งเสริมให้เกิดพลังของพลเมือง รวมถึงประเด็นเรื่องการ กระจายอำ�นาจ และหลักการความเป็นประชาธิปไตย ซึ่ง ประเทศไทยยังขาดแคลนสิ่งเหล่านี้อยู่ ในความคิดของผม บทบาทการทำ�งานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นไม่จำ�เป็นต้องรอนโยบายจากเบื้องบน ไม่ตอ้ งรองบประมาณ แต่สงิ่ สำ�คัญคือ ท้องถิน่ ต้องตระหนัก

พัฒนาประชาธิปไตย และเป็นเส้นทางของการกระจาย อำ�นาจในที่สุด ผู้บริหารท้องถิ่นต้องสวมจิตวิญญาณของ ผู้ นำ � ประชาธิ ป ไตย เพื่ อ สร้ า งพลั ง พลเมื อ งในพื้ น ที่ ข อง ตนเอง สิ่งนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นการสร้างพื้นฐานของชุมชน ท้องถิ่นให้เข้มแข็งก็ว่าได้ หลักประชาธิปไตยเบื้องต้น นอกจากจะมุ่งเน้นให้ พี่น้องประชาชนมีสิทธิ์มีเสียงเท่าเทียมกัน ยังต้องคำ�นึงถึง กระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็น เจ้าของร่วมกัน รับรู้ปัญหาของชุมชนร่วมกัน เพื่อจะได้ช่วย กันคิด ช่วยกันแก้ ช่วยกันตรวจสอบและตัดสินใจ จนเมื่อ ภารกิจนั้นสำ�เร็จลุล่วงตามเป้าหมาย พี่น้องประชาชนก็จะ


11

เกิดความภาคภูมิใจ เพราะทุกคนได้

มุ่งมั่นต่อไป เพียงแต่ต้องใส่พลังของ

หั ว ใจของการสร้ า งประชา-

เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อน

จิตวิญญาณความเป็นพลเมืองให้กับ

ธิ ป ไตยจึ ง ต้ อ งเริ่ ม ต้ น จากการสร้ า ง

ฉะนั้นชุมชนท้องถิ่นต้องตระหนักใน

ประชาชนให้เข้มข้นมากยิ่งขึ้น

คน ยกระดับประชาชนไปสู่ความเป็น

เรื่ อ งนี้ ใ ห้ ม าก และถื อ เป็ น ภารกิ จ ที่

ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว เมื่ อ ความเป็ น

พลเมืองที่มีศักยภาพ ที่สำ�คัญคือต้อง

สำ�คัญ แม้จะไม่ได้กำ�หนดไว้เป็นกฎ

พลเมืองในทุกท้องถิ่นสามารถก่อรูป

ตระหนักรู้ ตระหนักคิด และจัดการ

ระเบียบ แต่ทุกคนต้องทำ�ความเข้าใจ

ได้ เมื่อนั้นพี่น้องประชาชนทุกคนก็จะ

ตนเองเป็น

ในหลักการพื้นฐานนี้

สำ�นึกรู้ในสิทธิและหน้าที่ของตนเอง รู้

ในโลกสมัยใหม่ การมีส่วนร่วม

การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นต้องไม่

ถึงการมีส่วนร่วม รู้ว่าสิ่งไหนทำ�แล้ว

เป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ มาก โดยเฉพาะใน

ตกอยูภ่ ายใต้กรอบข้อจำ�กัดทีเ่ คร่งครัด

ดี กระทั่งรู้ว่าต่อไปต้องเลือกคนดีๆ

ประเทศที่กำ�ลังพัฒนา ซึ่งต้องอาศัย

แต่ ต้ อ งมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ กล้ า

เข้ า ไปทำ � หน้ า ที่ ผู้ นำ � เพราะผู้ นำ � ที่ ดี

ทรัพยากรบุคคลตั้งแต่ระดับฐานราก

ทำ � ในสิ่ ง ใหม่ ๆ ที่ ดี ก ว่ า การสร้ า ง

ย่ อ มคื น อำ � นาจให้ กั บ ประชาชน ให้

ในการช่วยพัฒนาประเทศให้ก้าวหน้า

ประชาธิ ป ไตยก็ เ ช่ น เดี ยวกั น มั น คื อ

ทุ ก คนดู แ ลตนเองได้ ดู แ ลชาติ บ้ า น

ไม่ใช่อยู่ที่รัฐบาล ไม่ใช่อยู่ที่สภาผู้แทน

บทบาท คือหน้าที่ ทุกท้องถิ่นทำ�ได้

เมืองได้ โดยผ่านกลไกตัวแทน

ราษฎร หากอยู่ที่พี่น้องประชาชนเอง

จากการที่ ไ ด้ ล งไปสั ม ผั ส พื้ น ที่

ในฐานะที่เป็นเจ้าของอำ�นาจอธิปไตย

หลายแห่ ง ผมมองเห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพ

ต ร า บ ใ ด ที่ เ จ้ า ข อ ง อำ � น า จ

อั น ที่ จ ริ ง เท่ า ที่ ไ ด้ รั บ รู้ ม า ใน

ต่ า งๆ มากมายของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น

อธิปไตยทำ�ตัวไม่เข้มแข็ง หรือคิดว่า

หลายท้ อ งที่ ท้ อ งถิ่ น ก็ ไ ด้ ดำ � เนิ น การ

หลายแห่งมีประชาชนเข้ามามีบทบาท

ตนเป็นเพียงราษฎรธรรมดา ยอมสยบ

ตามหลั ก การนี้ อ ยู่ ก่ อ นแล้ ว เพี ย ง

สำ�คัญในการจัดการตนเอง อาทิ การ

อยู่ใต้อำ�นาจผู้ปกครอง จะถูกลิดรอน

แต่ อ าจยั ง ไม่ ไ ด้ ต ระหนั ก ว่ า สิ่ ง นี้

จัดการขยะและสิ่งแวดล้อม การสร้าง

สิ ท ธิ อ ย่ า งไรก็ ไ ม่ ร้ อ นใจ เพราะคิ ด

คือจะเป็นกระบวนการสำ�คัญที่จะส่ง

สวัสดิการชุมชน สถาบันการเงิน และ

ว่ า ไม่ ใ ช่ ห น้ า ที่ ข องตน ตราบนั้ นการ

ผลต่ อ ความเข้ ม แข็ ง ของระบอบ

การสร้างสุขภาวะที่ดีของชุมชน รวม

พัฒนาก็จะไม่เกิด

ประชาธิ ป ไตย ฉะนั้ น หลายพื้ น ที่

ถึงเรื่องการตรวจสอบการทำ�งานของ

ที่ ดำ � เนิ น การในเรื่ อ งนี้ อ ยู่ ก็ ข อให้

ท้องถิ่น

ทันทีโดยไม่ต้องรอใคร ไม่ต้องรอคอย งบประมาณ


12

เอ็นนู ซื่อสุวรรณ

รองประธานกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

การที่เราพยายามรื้อฟื้นพลังพลเมือง เพราะเราเชื่อมั่นว่าชาวบ้านมีศักยภาพมากพอ ที่จะดูแลตัวเองได้ เพียงแต่รัฐมักไม่ เปิดโอกาสให้เขาได้คิด ได้ทำ� ได้รับผิดชอบ ชีวิตของเขาเอง ทุกอย่างถูกครอบ ไว้ที่ส่วนกลางหมด ฉะนั้นเราจึงพยายาม ค้นหาพลเมืองที่มีหัวไวใจสู้ กล้าแหวกกรอบที่ครอบงำ�ความคิดอยู่

ดั้งเดิมและภูมิปัญญาของตัวเอง รอรับแต่การอุปถัมภ์จาก ภาครัฐ การที่ เ ราพยายามรื้ อ ฟื้ น พลั ง พลเมื อ ง เพราะเรา เชื่อมั่ นว่ า ชาวบ้ า นมี ศัก ยภาพมากพอที่จ ะดู แ ลตั ว เองได้ คำ�ว่า ‘พลเมือง’ แปลตรงตัวก็คือ กำ�ลังของเมือง แต่

เพี ย งแต่ รั ฐ มั ก ไม่ เ ปิ ด โอกาสให้ เ ขาได้ คิ ด ได้ ทำ � และได้

เนื่องจากภาครัฐไม่ได้สนใจเรื่องเหล่านี้เท่าที่ควร มอง

รั บ ผิ ด ชอบชี วิ ต ของเขาเอง ซึ่ ง ทุ ก อย่ า งถู ก ครอบไว้ ที่

ประชาชนเป็นเพียงราษฎรหรือผู้ถูกปกครองที่ต้องคอย

ส่วนกลางหมด ฉะนั้นเราจึงพยายามค้นหาพลเมืองที่มี

รับประโยชน์จากผู้ปกครอง ซึ่งเป็นเรื่องที่ผิด

หัวไวใจสู้ พร้อมทีจ่ ะกล้าแหวกกรอบทีค่ รอบงำ�ความคิดอยู่

เมือ่ ก่อนคนไทยอยูก่ นั เป็นชุมชนมานานแล้ว สามารถ

หากย้อนกลับไปดูประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม จะพบ

ช่ ว ยเหลื อ ตั ว เองได้ ดี ต ามสมควร แต่ เ มื่ อ ถึ ง ยุ ค สมั ย ของ

ว่าชาวบ้านมีการช่วยเหลือพึ่งพากัน ทำ�ให้สังคมอยู่เย็น

การล่าอาณานิคม ทำ�ให้ประเทศไทยต้องเปลี่ยนระบบการ

เป็นสุข สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี แต่การทำ�เกษตรสมัยใหม่

ปกครองเป็นแบบรวมศูนย์ เพื่อที่จะรวมพลังต่อสู้กับศัตรู

มักเอาความรวยเป็นที่ตั้ง เห็นแต่ประโยชน์ส่วนตน คน

ภายนอก แต่ ปัจ จุ บั น ยุคสมัย ได้เ ปลี่ย นไปแล้ว การรวม

สมัยก่อนสอนให้เราเคารพพระแม่โพสพ พระแม่ธรณี และ

ศูนย์อำ�นาจยิ่งทำ�ให้ชาวบ้านอ่อนแอ กระทั่งละเลยวิถีชีวิต

พระแม่คงคา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาที่สอนให้คนไม่ทำ�ลายดิน


13 ไม่ทำ�ลายน้ำ� แต่วิธีคิดสมัยใหม่กลับ

มีฝ่ายราชการเป็นตัวกลาง ให้ชาวนา

ก็ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภารกิ จ ของภาครั ฐ ให้

มองว่าเป็นเรื่องโบราณล้าสมัย เราจึง

ได้มีสิทธิ์มีเสียงมากขึ้น เพราะที่ผ่าน

น้อยลง ดังสุภาษิตจีนที่ว่า ยิ่งวักน้ำ�

พบว่าชาวนายุคปัจจุบันหลงไปตาม

มาเราไม่ เ คยถามชาวนาเลยว่ า เขา

ออกไป น้�ำ จะยิง่ ไหลเข้ามา ผูม้ อี �ำ นาจ

กระแส และรั ฐ บาลทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย ก็

อยากได้อะไร และในคณะกรรมการ

ยิ่งอยู่ในตำ�แหน่งสูงเท่าไร ยิ่งต้องรู้จัก

มั ก สร้ า งนิ สั ย ให้ ช าวนารอรั บ ความ

นโยบายข้าวแห่งชาติก็ไม่มีชาวนาเป็น

ให้มากกว่าจะไปกอบโกย

ช่วยเหลือจนเคยชิน

ตัวแทนอยู่ในนั้นแม้แต่คนเดียว

หากเรากระจายอำ�นาจแล้วคอย

ตั ว อย่ า งใกล้ ตั ว ที่ กำ � ลั ง เป็ น

ไม่ ใ ช่ แ ค่ โ ครงการจำ � นำ � ข้ า ว

หนุนเสริมเขาในส่วนที่ขาด โอกาสที่

ปัญหาอยู่ เช่น โครงการรับจำ�นำ�ข้าว

โครงการอื่ น ๆ ก็ เ ช่ น กั น ชาวบ้ า น

จะเกิดความล้มเหลวคงมีไม่มาก ผม

ทำ�ให้ชาวนาหลงเชื่อว่ารัฐบาลจะช่วย

ควรมีสิทธิ์รับรู้ มีสิทธิ์คิด มีสิทธิ์พูด

มี ห ลั ก ในการกระจายอำ � นาจอยู่ 3

ชีวิตเขาได้ แต่ท้ายที่สุดกลับเป็นการ

ทำ � ไมพลเมื อ งระดั บ ฐากรากที่ เ ป็ น

ข้ อ หนึ่ ง -ปั ญ หาต้ อ งสะท้ อ นมาจาก

ทำ�ลายพลังความเข้มแข็งของชาวนา

ชาวไร่ชาวนาจึงต้องลำ�บากกว่าผู้อื่น

ชุ ม ชน ชุ ม ชนต้ อ งตระหนั ก ว่ า เรื่ อ ง

จนหมดสิ้น แทนที่จะให้ชุมชนชาวนา

ทั้ ง ที่ เ ขาเป็ น กระดู ก สั น หลั ง ของชาติ

นั้นๆ ว่าเป็นปัญหาของเขาและอยาก

แต่ละท้องถิ่นตัดสินใจด้วยตัวเองว่า

แต่ ทำ � ไมกระดู ก จึ ง ผุ ก ร่ อ นเหลื อ

แก้ไข สอง-ประชาชนต้องช่วยกันหา

จะเลือกวิธีจำ�นำ� หรือจะใช้วิธีประกัน

เกิน ฉะนั้น ทำ�อย่างไรจึงจะเกิดการ

วิธีแก้ปัญหานั้นด้วยตนเอง สาม-เมื่อ

ราคา หรือจะเลือกไม่ทำ�ทั้ง 2 อย่าง

แบ่ ง สรรปั น ส่ ว นที่ เ ป็ น ธรรม คิ ด ถึ ง

ประชาชนตระหนักได้แล้ว รัฐต้องเกื้อ

แล้วหันมาผลิตและทำ�ตลาดด้วยตัวเอง

ผลประโยชน์ส่วนรวม แทนที่จะคิดถึง

หนุนให้เกิดแผนงานภาคปฏิบตั เิ พือ่ ให้

ในห่วงโซ่การผลิตข้าวประกอบ

แต่ ป ระโยชน์ เ ฉพาะกลุ่ ม ซึ่ ง รั ฐ ควร

เกิดผลสัมฤทธิ์จริง

ด้วย 3 ตัวละครหลักคือ ผู้ส่งออกจะ

มีหน้าที่จัดเวทีให้ทุกฝ่ายมีโอกาสเข้า

ได้ผลประโยชน์มากสุด รองลงมาคือ

มาจัดการร่วมกัน

หากทำ � ทั้ ง 3 ข้ อ นี้ ไ ด้ อ ย่ า งไม่ ฉาบฉวย ทำ�ด้วยความจริงใจ ผมเชื่อ

โรงสี ส่วนชาวนารับผลประโยชน์น้อย

ทำ � อย่ า งไรประชาชนจึ ง จะมี

ว่าจะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ผู้ให้ก็ให้

สุด ซึ่งน่าประหลาดมาก ชาวนาทำ�นา

อำ�นาจเพิ่มขึ้น ในเมื่อรัฐยังไม่จริงใจ

อย่างรู้ถึงคุณค่าของการให้ ผู้รับก็รับ

4 เดือน ได้เงินน้อยกว่าโรงสีซงึ่ ทำ�งาน

กระจายอำ � นาจก็ ก ระจายแบบไม่

อย่ างมี ศัก ดิ์ ศรี ไม่ ได้ แบมื อขออย่ าง

4 อาทิตย์ โรงสีทำ�งาน 4 อาทิตย์ ได้

เต็มใจ งบประมาณตามที่กำ�หนดใน

เดียว ผลเชื่อว่าจะเกิดพลังพลเมือง

เงินน้อยกว่าผู้ส่งออกซึ่งทำ�งาน 4 วัน

รั ฐ ธรรมนู ญ ก็ ใ ห้ บ้ า งไม่ ใ ห้ บ้ า ง การ

ขึ้นได้แน่นอน

มันกลับตาลปัตรไปหมด แต่ถ้าให้ผู้

กระจายอำ�นาจที่ถูกที่ควรต้องใช้วิธี

มีส่วนได้เสียทั้งหมดมานั่งคุยกัน จัด

สอนเขา ให้ความรู้เขา เพื่อที่วันหนึ่ง

แบ่งผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม โดย

เขาจะลุกขึ้นมาดูแลตัวเองได้ สุดท้าย


14

ธวัชชัย ฟักอังกูร

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ทำ�ไมเราจึงต้องหันมาให้น้ำ�หนักกับคำ�ว่าพลเมืองให้มาก เหตุเพราะเรามีความคิดพื้นฐานว่า ถ้าประชาชนมีความเป็น พลเมืองมากขึ้น ย่อมรู้สึกรักและหวงแหนบ้านเกิดเมืองนอน ของตน และอยากเห็นการพัฒนาในทางที่ดีขึ้น เมื่อทุกคนมีความรักและความหวงแหนในชุมชนท้องถิ่น สามัญสำ�นึกที่จะเกิดขึ้นตามมาคือ ความคาดหวังที่จะทำ�ให้ ชุมชนของตนเองเป็นชุมชนที่ดี น่าอยู่น่าอาศัยไปจนถึงรุ่นลูก รุ่นหลาน สิ่งนี้เองที่ทำ�ให้เกิดการร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมแก้ปัญหา ทำ�อย่างไรก็ได้ ให้เขามีส่วนร่วมในความเป็นเจ้าของ ซึ่งโครงการตำ�บลสุขภาวะตอบสนองต่อ หลักการนี้ได้ ฉะนั้น คำ�พูดที่ว่าชุมชนสามารถเปลี่ยนแปลงประเทศได้ คนในชุมชน สามารถปฏิรูปประเทศได้ จึงเป็นคำ�กล่าวที่ไม่เกินเลยความจริง เริ่มจากระดับ ชุมชน จากนั้นก็จะขยายตัวไปสู่ระดับจังหวัด และระดับประเทศ การจะทำ�ให้ประชาชนเกิดความมั่นใจในตัวเองว่า เขามีคุณค่า มีความ สำ�คัญ มีความสามารถทีจ่ ะแก้ไขปัญหาเองได้ ต้องอาศัยกระบวนการเรียนรูแ้ ละ ประสบการณ์ ซึง่ โครงการตำ�บลสุขภาวะได้ตอบโจทย์ในเรือ่ งนีแ้ ละได้พสิ จู น์แล้ว ว่าประชาชนทำ�ได้จริง


15 การจะทำ�ให้ประชาชนเกิดความมั่นใจในตัวเองว่า เขามีคุณค่า มีความสำ�คัญ มีความสามารถที่จะแก้ไข ปัญหาเองได้ ต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้และประสบการณ์ ซึ่งโครงการตำ�บลสุขภาวะได้ตอบโจทย์ ในเรื่องนี้และได้พิสูจน์แล้วว่าประชาชนทำ�ได้จริง

ห ล า ย ปี ใ ห้ ห ลั ง เ กิ ด ค ว า ม

ล่าง แต่ต้องการให้น้ำ�หนักกับคนข้าง

งานของท้องถิ่นได้มากมาย ท้องถิ่น

เปลี่ ย นแปลงขึ้ น อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด ใน

ล่างมากขึ้น เพื่อปลูกจิตสำ�นึกให้เขา

เพียงแต่จัดเวทีให้เขามาร่วมกันระดม

แต่ ล ะชุ ม ชนมี ศู น ย์ เ รี ย นรู้ ที่ เ กิ ด จาก

ได้ ต ระหนั ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ของตนเอง ใช้

สมอง เพื่ อ นำ � ไปสู่ แ ผนแม่ บ ทและ

ภูมิปัญญาของเขาเอง ซึ่งภูมิปัญญานี้

พลังของตนให้เกิดประโยชน์เต็มที่ เรา

นโยบายสาธารณะ จากนั้นจึงจัดสรร

เป็นทุนที่เขามีอยู่เดิมมาแต่ไหนแต่ไร

อยากกระตุ้นให้เขาเกิดความรู้สึกว่า

ทรั พ ยากรไปตามช่ อ งทางนั้ น ๆ ซึ่ ง

เพี ย งแต่ ภ าครั ฐ อาจไม่ เ คยไปค้ น หา

ถึงแม้ผลจากการพัฒนาจะลงมาไม่ถึง

จะสอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ

หรือเห็นความสำ�คัญ แต่สิ่งที่ สสส.

ชุมชนท้องถิ่น แต่เขาก็ยังมีขีดความ

ประชาชนมากกว่า และด้วยวิธคี ดิ เช่นนี้

ทำ�คือ เข้าไปค้นหาศักยภาพของเขา

สามารถในการช่วยเหลือตัวเองอยู่

จึ ง จะเป็ น แก่ น แท้ แ ละรากฐานของ

ผ่านการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และนำ� สิ่งที่เรียนรู้ไปปฏิบัติให้เกิดผลสำ�เร็จ

หากถามว่ามีอุปสรรคใดบ้างต่อ

ประชาธิปไตยอย่างแท้จริง

การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง คำ�ตอบ

เราเป็นสังคมที่มีรูปแบบสวยหรู

ในประวั ติ ศ าสตร์ ช าติ ไ ทย เรา

คือ การกระจายอำ�นาจ ทุกวันนีอ้ �ำ นาจ

แต่ไม่มีวิถีของความเป็นประชาธิปไตย

ใช้วิธีการพัฒนาจากบนสู่ล่างมาเป็น

ยั ง กระจายไปถึ ง แค่ อ งค์ ก รปกครอง

ไร้ซง่ึ จิตวิญญาณของความเป็นประชา-

เวลายาวนาน โดยมุ่ ง เน้ น ในเรื่ อ ง

ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ทั้ ง ที่ ต ามหลั ก การ

ธิ ป ไตย เราขาดหลั ก การอยู่ร่ว มกั น

โครงสร้างพื้นฐานหรือถาวรวัตถุเป็น

แล้ ว ท้ อ งถิ่ น ต้ อ งส่ ง ต่ อ อำ � นาจไปยั ง

ด้วยหลักเหตุหลักผล ขาดการรับฟัง

หลั ก แต่ เ มื่ อ ถึ ง ยุ ค สมั ย หนึ่ ง ที่ ถ นน

ชุ ม ชน องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น

ความคิดเห็นซึง่ กันและกัน แต่หากเมือ่

หนทาง เขื่ อ น น้ำ � ไฟ พร้ อ มหมด

ต้ อ งมี ห น้ า ที่ อำ � นวยความสะดวก

ใดที่ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น สามารถเดิ น ตาม

แล้ ว เราต้ อ งหั น มาพั ฒ นาจากล่ า ง

ประสานงาน ระดมความคิ ด จาก

หลักการกระจายอำ�นาจทีถ่ กู ทีค่ วรแล้ว

ขึ้นบนบ้าง เพื่อให้เขาเหล่านั้นได้ใช้

ประชาชน แล้วเปิดโอกาสให้เขาได้มา

เมื่อนั้นสังคมประชาธิปไตยจึงปรากฏ

ภูมิปัญญาในการพึ่งพาตนเอง

ร่วมคิดและร่วมทำ�ในสิ่งที่เขาถนัด

กระบวนการประชาธิปไตยควรต้องอยู่

แนวคิดของตำ�บลสุขภาวะไม่ได้

หากท้องถิน่ สามารถดึงศักยภาพ

ในทุกลมหายใจ และต้องไม่มองข้าม

เป็นการขัดขวางการพัฒนาจากบนสู่

ของชุมชนออกมาได้ จะช่วยแบ่งเบาภาระ

ชุมชนท้องถิน่ ซึง่ เป็นฐานรากของสังคม


16

สุวรรณี คำ�มั่น

ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

มู ล นิ ธิ ส ถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาประเทศตามปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง เป็นสถาบันที่นำ�ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาทุกด้าน การพัฒนาคนเป็นต้นทุนที่สำ�คัญสำ�หรับชุมชนท้องถิ่น หากมีทรัพยากรมนุษย์ในสาขาต่างๆ อันเป็นสาขาทีป่ ระเทศต้องการ คนเหล่านัน้ ก็สามารถสร้างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจได้ เพราะฉะนั้นคำ�ว่าพลเมืองก็คือ ใครก็ตามที่เป็นประชากรที่สามารถสร้างพลังบวกให้กับประเทศ ทั้งนี้ พลังบวก ต้องเกิดจากความรู้และคุณธรรม ซึ่งความรู้ไม่ได้หมายความว่าต้องเรียนจบ ปริญญาเอกเสมอไป แต่เป็นการใฝ่เรียนใฝ่รู้ ข้อจำ�กัดของการพัฒนาชุมชนเป็นเรื่องของโอกาสในการเข้าถึงความรู้ของ คนในชุมชน เพราะโอกาสการเข้าถึงความรู้และข่าวสารของคนในชุมชนยังมี น้อยกว่าคนในเมืองด้วยเหตุปัจจัยหลายอย่าง เช่น ทุกวันนี้ความรู้มักมากับสื่อ สมัยใหม่ ซึง่ บางคนในชุมชนก็ใช้อนิ เทอร์เน็ตไม่เป็น หรืออินเทอร์เน็ตยังเข้าไม่ถงึ หมู่บ้าน ถึงแม้จะมีวัยรุ่นที่ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้เป็น แต่เขาไม่ได้ใช้เพื่อหาความรู้


17

การพัฒนาคนเป็นต้นทุนที่สำ�คัญสำ�หรับชุมชนท้องถิ่น หากมีทรัพยากรมนุษย์ในสาขาต่างๆ อันเป็นสาขา ที่ประเทศต้องการ คนเหล่านั้นก็สามารถสร้างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจได้ ฉะนั้น คำ�ว่าพลเมืองก็คือ ใครก็ตามที่เป็นประชากรที่สามารถสร้างพลังบวกให้กับประเทศได้

ให้ตัวเอง ตรงนี้จึงเป็นการขาดโอกาส

ที่ ย กตั ว อย่ า งให้ เ ห็ น อย่ า งนี้

โครงการเครือข่ายตำ�บลสุขภาวะ

เพราะเราไปเจอการคิดรูปแบบนี้ใน

ทำ�ให้ชุมชนท้องถิ่นทำ�งานในลักษณะ

ต่ อ มาคื อ เรื่ อ งโลกทั ศ น์ ข อง

หลายๆ ที่ บางแห่งเขามีแหล่งเรียนรู้

บูรณาการ มีการเชื่อมโยงโดยการเอา

คนในชุ ม ชนอาจจะแคบหรื อ ตกเป็ น

รอบ อบต. แต่ไม่สามารถตอบได้ว่า

คนเป็นตัวตั้ง เพราะการจัดการชุมชน

เบี้ยล่างของการโฆษณาชวนเชื่อจาก

แหล่ ง เรี ย นรู้ เ หล่ า นั้ น สามารถสร้ า ง

ท้ อ งถิ่ น จะต้ อ งอาศั ย การบู ร ณาการ

โทรทัศน์ วิทยุ ทำ�ให้เขาอาจจะหลง

ความสุขให้ชุมชนได้อย่างไร ตรงนี้ก็

ทุ ก ภาคส่ ว น ไม่ ใ ช่ เ ฉพาะงานชุ ม ชน

ไปในทุนนิยมก็เป็นได้ ทั้งๆ ที่ในอดีต

เป็นประเด็นที่เราต้องเข้าใจว่าทั้งหมด

เข้มแข็งเพียงอย่างเดียว

คนในชุ ม ชนจะอยู่ กั น อย่างมีศักดิ์ศรี

ทั้งปวงขึ้นอยู่กับทุนมนุษย์

อันใหญ่หลวงของชุมชนต่างจังหวัด

ที่สำ�คัญต้องทำ�ให้แหล่งเรียนรู้

อยู่ดีมีสุข ไม่ได้เอาเงินเป็นตัวตั้ง แต่

เราต้ อ งเข้ า ใจว่ า ถ้ า ชุ ม ชนจะ

เป็นประโยชน์กับชุมชนมากที่สุด ให้

ทุกวันนี้ทุกคนจะคิดว่าต้องมีเงินก่อน

พัฒนาตัวเองให้เข้มแข็งก่อนอื่นก็ต้อง

เขาสามารถพัฒนาตัวเองได้จากแหล่ง

ถึงจะสามารถทำ�สิ่งต่างๆ ได้

รู้ จั ก ตั ว เอง รู้ จั ก ชุ ม ชนอย่ า งถ่ อ งแท้

เรียนรู้นั้นๆ ทั้งยังต้องเก็บข้อมูลเพื่อ

หัวใจสำ�คัญของการพัฒนาชุมชน

ในทุกมิติ ต้องรูว้ า่ มีทนุ มนุษย์อยูม่ ากแค่

เป็นฐานของการพัฒนาความก้าวหน้า

ปั จ จุ บัน ทั้ง ภาครั ฐ และองค์ ก รหลาย

ไหน และทรัพยากรมนุษย์ท่เี ป็นภาระ

และความอยู่ ดี มี สุ ข ของชุ ม ชน สิ่ ง นี้

แห่งก็พยายามที่จะเข้าไปสร้างแหล่ง

ของของชุ ม ชน เช่ น คนแก่ ติ ด เตี ย ง

จะทำ � ให้ รู้ ว่ า เรามี ค วามสุ ข แค่ ไ หน

เรี ย นรู้ ใ นชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น แต่ บ างครั้ ง

คนพิ ก าร เด็ ก เกเร มี จำ � นวนเท่ า ไร

เราจัดการชุมชนได้มากแค่ไหน ต้อง

ก็ อ าจยั ง ไม่ เ พี ย งพอที่ จ ะสามารถ

เพราะก่ อ นที่ จ ะเป็ น ชุ ม ชนจั ด การ

ปรับปรุงเพิ่มเติมส่วนใด ตรงนี้จึงเป็น

จัดการตนเองได้ มันอาจเป็นเพียงแค่

ตนเองได้ก็ต้องรู้ข้อมูลจากทุกคนใน

ส่ ว นสำ � คั ญ ของการใช้ ข้ อ มู ล ในการ

กายภาพ เพราะยังไม่ได้เรียนรู้อะไร

ชุมชน และจัดการปัญหาตามสภาพ

พัฒนาและแก้ปัญหา

จริงๆ

ของชุมชน


18

นายแพทย์ประทีป ธนกิจเจริญ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ปัญหาวิกฤติของประเทศที่นำ�ไปสู่ความขัดแย้งและการ เผชิญหน้า เกิดจาก 3 สาเหตุหลักด้วยกัน หนึง่ -ความเหลือ่ มล้�ำ ระหว่างคนจนกับคนรวย ชนบทกับเมือง รากหญ้ากับชนชั้นนำ� สอง-ความไม่เป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงทรัพยากร ที่ดิน น้ำ� ระบบบริการสุขภาพ ทำ�ให้เกิดความแตกต่างระหว่างชนชั้นในการเข้าถึง ทรัพยากรเหล่านี้ สาม-การใช้อำ�นาจรัฐที่เกินขอบเขตและมีสองมาตรฐาน ปัญหาเหล่านี้สั่งสมมานานและในอดีตที่ผ่านมาก็ได้มีความพยายามที่จะ แก้ไข ทั้งการปฏิรูปประเทศครั้งใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 5 การเปลี่ยนแปลงการ ปกครองปี 2475 การกระจายความเจริญไปยังภูมิภาคในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ แต่นั่นก็ยังเป็นการปฏิรูปจากบนสู่ล่าง แม้จะประสบความสำ�เร็จระดับ หนึ่ง แต่ก็ก่อให้เกิดปัญหาช่องว่างความเหลื่อมล้ำ�ระหว่างคนจนกับคนรวย หลังจากนั้นมาได้มีการปฏิรูปครั้งใหญ่อีกหลายหน ตั้งแต่กรณี 14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519 หรือแม้กระทั่งเหตุการณ์พฤษภา 2535 ซึ่งเป็นการ ลุกฮือขึ้นของชนชั้นกลางที่ต้องการเรียกร้องความเป็นธรรมในเรื่องต่างๆ แต่


19 กระบวนการเคลื่อนไหวของพลเมืองในระดับรากหญ้าที่เห็นชัดเจนในช่วงหลังก็คือ การสร้างประชาคม สร้างสมัชชา ไม่ว่าจะเป็นสมัชชาสุขภาพ สมัชชาปฏิรูปประเทศ และบางกลุ่มอาจไปไกลถึงขั้นมีการกำ�หนด ธรรมนูญในระดับพื้นที่ของตน ทั้งหมดนี้สะท้อนถึงความต้องการของประชาชนในการที่จะเข้ามา เป็นเจ้าของประเทศร่วมกัน

ท้ า ยที่ สุ ด แล้ ว ก็ เ ป็ น การกำ � หนดโดย

มาเป็นเจ้าของประเทศร่วมกัน หรือ

เพือ่ ให้ประชาชนคนยากคนจนและคน

ชนชั้นนำ�

มี ส่ ว นร่ ว มในการกำ � หนดนโยบาย

ชนบทมีโอกาสเข้าถึงบริการสุขภาพ

อย่างไรก็ดี กระบวนการปฏิรูป

สาธารณะที่ มี ผ ลต่ อ ตนเองและต่ อ

อย่ า งเท่ า เที ย มมากขึ้ น และลดช่ อ ง

เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี

ประเทศชาติ ตั้งแต่นโยบายสาธารณะ

ว่ า งในความแตกต่ า งของกองทุ น

ขึ้น จากเดิมที่กำ�หนดจากข้างบนลง

ว่าด้วยการเข้าถึงอำ�นาจ การควบคุม

สุขภาพ ไม่วา่ จะเป็นกองทุนสวัสดิการ

สู่ข้างล่าง โดยเริ่มเกิดกระบวนการมี

ผู้ ใ ช้ อำ � นาจ และแนวทางการแก้ ไ ข

ข้าราชการ กองทุนประกันสังคม และ

ส่ ว นร่ ว มของภาคประชาชนมากขึ้ น

ปัญหาคอรัปชั่น รวมถึงการกระจาย

กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่ก่อให้เกิดการ

อำ � นาจให้ อ งค์ ป กครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น

พร้ อ มกั น นี้ ก็ มี ค วามพยายามที่ จ ะ

เรี ย นรู้ ร่ ว มกั น ของคนในสั ง คม สิ่ ง นี้

และให้ชุมชนมีบทบาทในการบริหาร ขยายการบริการในระดับปฐมภูมิให้มี

เองที่ เ ป็ น ความหมายของคำ � ว่ า พลั ง

จั ด การตนเองมากขึ้ น นอกจากนี้ ประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงการสร้าง

พลเมือง

ยังมีการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับนโยบาย ระบบสุขภาพชุมชนโดยให้ท้องถิ่นเข้า

กระบวนการเคลื่ อ นไหวของ

สาธารณะด้านการศึกษา การเข้าถึง

พลเมื อ งในระดั บ รากหญ้ า ที่ เ ห็ น

ทรั พ ยากร การสร้ า งหลั ก ประกั น

สิง่ เหล่านีล้ ว้ นเป็นการขับเคลือ่ น

ชั ด เจนในช่ ว งหลั ง ก็ คื อ การสร้ า ง

สุ ข ภาพ การสร้ า งหลั ก ประกั น ทาง

โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน และ

ประชาคม สร้างสมัชชา ไม่ว่าจะเป็น

สังคม และหลักประกันทางเศรษฐกิจ

แสดงให้เห็นถึงทิศทางการเคลื่อนไหว

สมัชชาสุขภาพ สมัชชาปฏิรูปประเทศ

ในประเด็นด้านสุขภาพก็มีการ

ของพลังพลเมืองที่มีความตื่นตัวและ

และบางกลุ่มอาจไปไกลถึงขั้นมีการ

เคลื่อนไหวใหญ่เช่นเดียวกัน อาทิ การ

มีความรู้สึกเป็นเจ้าของประเทศร่วม

กำ�หนดธรรมนูญในระดับพื้นที่ของตน

สร้างหลักประกันสุขภาพ การสร้าง

กั น ซึ่ ง กระบวนการเช่ น นี้ จ ะนำ � ไปสู่

ทั้ ง ห ม ด นี้ ส ะ ท้ อ น ถึ ง ค ว า ม ธรรมนู ญ สุ ข ภาพ ซึ่ ง มุ่ ง เน้ น ในเรื่ อ ง

การเปลี่ ย นแปลงตามเป้ า หมายได้

ต้องการของประชาชนในการที่จะเข้า

การกระจายการเข้าถึงบริการสุขภาพ

มามีบทบาทมากขึ้น

ในท้ายที่สุด


20

เราต้องจัดความสัมพันธ์กันใหม่

สิน สื่อสวน

ให้ทุกภาคส่วนเป็น ‘หุ้นส่วน’

กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ในการพัฒนาประเทศ ไม่ใช่มองแค่ว่า ประชาชนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะต้อง ถูกพัฒนา ถ้ามองว่าเขาเป็นกลุ่มปัญหา แล้วต้องไปแก้ปัญหาให้เขา นั่นยิ่งทำ�ให้ เขาอ่อนแอ ยิ่งแก้ยิ่งกด กดให้เขา มีอำ�นาจลดน้อยถอยลง

‘พลเมื อ ง’ คื อ ผู้ ที่ มี ส่ ว นสำ � คั ญ ในการสร้ า งความ เปลี่ยนแปลงของสังคม และเครื่องมือที่จะจุดประกายให้เกิด การตื่นตัว ตระหนักรู้ถึงความเป็นพลเมือง อย่างแรกคือข้อมูล ข่าวสาร เพือ่ ให้เขาได้รบั รูถ้ งึ ความเปลีย่ นแปลงของโลกปัจจุบนั เห็ น บทเรี ย นความสำ � เร็ จ และล้ ม เหลวจากที่ ต่ า งๆ และมองเห็ น ถึ ง ทิ ศ ทาง ข้างหน้า เครื่องมือตัวที่สองคือ การมีเวทีให้เขาได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งจะทำ�ให้เกิด การเชือ่ มโยง ลำ�พังอาศัยแค่ขอ้ มูลข่าวสารอย่างเดียวคงไม่พอ ต้องมีการเชือ่ มโยง แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน เพราะจะช่วยให้เขามั่นใจในตัวเองมากขึ้น และ มองข้อมูลอย่างรอบด้านมากขึ้น เครื่องมือขั้นที่สาม กระบวนการสร้างจิตสำ�นึก ข้อมูลเป็นแค่ ‘การรับรู้’ ขณะที่สำ�นึกคือ ‘การมีทัศนะ’ ต่อข้อมูลเหล่านั้น เราสร้างสำ�นึกได้หลายวิธี ทั้งวิธีสนทนาแลกเปลี่ยน จัดประชุม จัดเวที เพื่อให้เกิดกระบวนการตั้งคำ�ถาม ทั้งนี้ เพื่อให้เขาเข้าใจว่าข้อมูลทั้งหลายเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร เชื่อมโยง


21 ระหว่างชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนกับ

อย่างไรบ้าง ประการแรกเริ่มต้นจาก

ไม่กี่ปีที่ผ่านมา เราจะเห็นคำ�ว่า ‘การ

โครงสร้างสังคมอย่างไร มีผลกระทบ

การเปลี่ยนวิธีคิด ต้องเลิกมองว่าตน

จั ด การตนเอง’ ถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มา

ถึงกันอย่างไร เพราะ ณ วันนี้ปัญหา

เป็นผู้มีอำ�นาจ ต้องเปลี่ยนบทบาทมา

ขับเน้นมากขึ้น

เชิงโครงสร้างได้กระทบมาถึงตัวเขา

เป็น ผู้เอื้ออำ�นวยให้ประชาชนจัดการ

แล้ว

ตนเองให้ได้มากที่สุด

คำ � เหล่ า นี้ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น จาก กลไกรั ฐ แต่ เ ป็ น กระบวนการที่ มี

เครื่องมือที่สี่ กระบวนการสร้าง

ถัดมาเราต้องจัดความสัมพันธ์

ปฏิ สั ม พั น ธ์ โ ยงใยกั น จากเมื่ อ ก่ อ น

แนวร่วม เพราะลำ�พังคนเพียงไม่กี่คน

กันใหม่ ให้ทุกภาคส่วนเป็น ‘หุ้นส่วน’

เน้นแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ในจุดเล็กๆ

อาจไม่ มี พ ลั ง มากพอที่ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด

ในการพั ฒนาประเทศ ไม่ ใ ช่ ม องแค่

แต่ ณ วันนี้เน้นการแก้ปัญหาที่โยงเข้า

การเปลี่ยนแปลง การสร้างเครือข่าย

ว่าประชาชนเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะ

กั บ โครงสร้ า งมากขึ้ น เพราะปั ญ หา

และการรวมกลุ่ ม จะทำ � ให้ เ กิ ด พลั ง

ต้องถูกพัฒนา ถ้ามองว่าเขาเป็นกลุ่ม

ทั้ ง หลายมั น เป็ น ปั ญ หาเชิ ง ระบบ

มากขึ้น

ปั ญ หา แล้ ว ต้ อ งไปแก้ ปั ญ หาให้ เ ขา

แนวทางการแก้ไขจึงออกมาเป็นการ

กระบวนการเปลี่ ย นแปลงใน

นั่ น ยิ่ ง ทำ � ให้ เ ขาอ่ อ นแอ ยิ่ ง แก้ ยิ่ ง กด

แก้ ก ฎหมาย การแก้ น โยบาย การ

เชิ ง รู ป ธรรมต้ อ งขยั บจากปั จ เจกขึ้ น

กดให้เขามีอำ�นาจลดน้อยถอยลง ถ้า

ใช้ ม าตรการการเงิ น การคลั ง การ

ไปสู่ ร ะดั บ กลุ่ ม ก่ อ นจะเข้ า สู่ ร ะดั บ

จัดความสัมพันธ์ใหม่ เปลี่ยนกิจกรรม

เสริมความเข้มแข็งให้กับองค์กรชุมชน

ขบวนการ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การเชื่ อ มโยง

เปลี่ยนรูปแบบการสนับสนุน เปลี่ยน

สิ่ ง เหล่ า นี้ เ องที่ ผ มมองว่ า เป็ น ความ

และการถ่ายเทถึงกัน ซึ่งจะทำ�ให้การ

ระบบงบประมาณ เราจะเดินไปด้วย

ก้าวหน้าของภาคพลเมือง ยิ่งในช่วงนี้

แก้ปัญหาเป็นระบบมากขึ้น

กันได้

อาจเรี ย กว่ า เป็ น ระยะ ‘เขย่ ง ก้ า ว

การรวมตั ว เป็ น ขบวนการจะ

ตลอด 30 ปี ที่ ผ มทำ � งานด้ า น

สร้ า งพลั ง แห่ ง การต่ อ รอง และต้ อ ง

ชุมชน สิ่งที่เห็นคืองานพัฒนาชุมชน

ผมคิ ด ว่ า ภาคประชาชนใน

ก้าวไปให้ถึง ‘พลังแห่งการเรียกร้อง

ท้ อ งถิ่ น มี ค วามก้ า วหน้ า เป็ น ลำ � ดั บ

อนาคตมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียว

ที่แท้จริง’ ซึ่งเป็นพลังที่เกิดจากภายใน

โดยในยุคแรกนั้นจะมุ่งเน้นเรื่องความ

กั บ ประเทศอื่ น ๆ ทั่ ว โลก ที่ ก ระแส

และไม่ละเลยปัญหาเชิงโครงสร้างที่

ร่วมมือเป็นหลัก หมายถึงให้ชาวบ้าน

ชุมชนท้องถิ่นร้อนแรงขึ้น สนับสนุน

คนทั่วไปอาจมองว่าเป็นเรื่องไกลตัว

มาร่วมมือกับรัฐ แต่รัฐก็ยังเป็นตัวตั้ง

ให้มีการกระจายอำ�นาจโดยยังยึดโยง

พลั ง แห่ ง การเรี ย กร้ อ งที่ แ ท้ จริ ง เป็ น

และชาวบ้านเป็นเพียงผู้ถูกปกครอง

ความเป็นชาติอยู่ ซึ่งนาทีนี้เรากำ�ลัง

พลังที่เกิดจากความเชื่อมั่นและการ พึ่งตนเอง หน่วยงานภาครัฐควรต้องขยับตัว

ยุคต่อมาราว 20 ปีที่แล้ว เริ่ม ปรากฏคำ � ว่ า ‘การมี ส่ ว นร่ ว ม’ โดย ยึดชุมชนเป็นแกนหลัก และในระยะ

กระโดด’ ก็ว่าได้

อยู่ในห้วงเวลาของการเปลี่ยนแปลง


22

โชคชัย ลิ้มประดิษฐ์ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

หากเอ่ยถึงพลังพลเมือง ผมนึกถึงสภาผู้นำ�หมู่บ้านหนอง กลางดง ซึง่ เป็นกลไกการมีสว่ นร่วมของประชาชน จากจุดเริม่ ต้น เล็ ก ๆ ภายในหมู่ บ้ า นหนึ่ ง ก็ ไ ด้ ข ยายไปยั ง หมู่ บ้ า นข้ า งเคี ย ง กระทั่งครอบคลุมทั้งตำ�บลศิลาลอย และในที่สุดก็กลายเป็น สภาผู้นำ�ชุมชน ก่ อ นจะพู ด ถึ ง โครงสร้ า งของสภาผู้ นำ � ชุ ม ชน คงต้ อ งย้ อ นภาพให้ เ ห็ น โครงสร้างของสภาผู้นำ�หมู่บ้านก่อน สภาผู้นำ�หมู่บ้าน ประกอบด้วย สมาชิกใน หมู่บ้านตามกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น กลุ่มชาวไร่ชาวนา กลุ่มแรงงาน กลุ่มเยาวชน กลุ่ม ผู้สูงอายุ รวมทั้งหมด 14 กลุ่ม คนเหล่านี้เป็น ผู้นำ�ธรรมชาติที่ได้รับการ ยอมรับจากชุมชน ตัวแทนของแต่ละกลุ่มจะรู้ความต้องการและปัญหาของเขา เมื่อคนเหล่านี้เข้าสู่เวทีของการพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่างผู้นำ�ท้องที่และท้องถิ่น จึงนำ�ไปสู่การกำ�หนดทิศทางในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นร่วมกัน ในการประชุมประจำ�เดือนของสภาผู้นำ� ตัวแทนแต่ละกลุ่มมานั่งสรุป ข้อมูลกันว่า ในรอบเดือนที่ผ่านมามีปัญหาอะไรตกค้าง และเราจะวางกติกาใน


23

กระบวนการประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบต้องเปิดโอกาสให้ทุกคนมีบทบาทร่วมกันในการ เสนอทางออก เปลี่ยนบทบาทจากประชาชนธรรมดาให้เป็นพลเมืองที่มีสิทธิ์มีเสียง ให้ทุกคนลุกขึ้นมาช่วยกันคิด ช่วยกันทำ�

การแก้ไขอย่างไร ซึ่งสภาผู้นำ�จะร่วม

นายก อบต. เพื่อช่วยกัน ผลักดันให้

หมู่ บ้ า น ขณะที่ ส ภาผู้ นำ � จะจั ด ทำ �

กั น ร่ า งแผนปฏิ บั ติ กำ � หนดทิ ศ ทาง

เกิดโครงสร้างสภาผู้นำ�ตำ�บล

ร่ า งนโยบายและทำ � ประชาพิ จ ารณ์

การพั ฒ นาและการของบประมาณ

โครงสร้ า งของสภาผู้ นำ � ตำ � บล

สอบถามชาวบ้านอีกครั้งว่าเห็นด้วย

ประกอบด้วย ผู้นำ�โดยตำ�แหน่ง 3 คน

กับทิศทางในการใช้จ่ายหรือไม่ หาก

อีกเวทีหนึ่งที่จัดคู่ขนานกัน ชาว

สมาชิก อบต. 2 คน และตัวแทนของ

ชาวบ้ า นมี ข้ อ เสนอที่ ดี ก ว่ า นั้ น สภา

บ้ า นจะมาประชุ ม กั นว่ า เห็ น ด้ ว ยกั น

ชาวบ้านในแต่ละหมู่บ้าน 2 คน ซึ่ง

ผู้นำ�ก็จะนำ�ไปปรับแก้จนเป็นที่พอใจ

ข้อเสนอและมติของสภาผู้นำ�หรือไม่

สภาผู้นำ�หมู่บ้านจะเป็นผู้คัดเลือก

แก่คนส่วนใหญ่ สุดท้ายร่างงานต่างๆ

สนับสนุนจาก อบต.

หากไม่เห็นด้วยก็สามารถซักค้านท้วง

การเกิ ด ขึ้น ของสภาผู้นำ� ตำ � บล

ติง ซึ่งเราถือว่าสิ่งนี้คือกระบวนการ

เกีย่ วข้องกับการตรวจสอบติดตามการ

ประชาธิปไตยสมบูรณ์แบบที่ทุกคนมี

ทำ�งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่

กระบวนการนี้ทำ�ให้ทุกคนรู้สึก

บทบาทร่วมกันในการเสนอทางออก

โดยตรง ทั้งในเรื่องงบประมาณของ

เป็ น เจ้ า ของชุ ม ชน สามารถมี ส่ ว น

เปลี่ยนบทบาทจากประชาชนธรรมดา

อบต. การจั ด สรรเงิ น สนั บ สนุ น ใน

ร่วมกำ�หนดทิศทางการแก้ปัญหาของ

ให้ เ ป็ น พลเมื อ งที่ มี สิ ท ธิ์ มี เ สี ย ง ให้

โครงการต่างๆ เพื่อให้คนทุกหมู่บ้าน

ตัวเอง จากเดิมที่คนในหมู่บ้านชุมชน

ทุกคนลุกขึ้นมาช่วยกันคิด ช่วยกันทำ�

ได้รบั รูร้ ว่ มกันว่า งบประมาณประจำ�ปี

เป็นเพียงประชาชนที่ไร้ปากเสียง แต่

ของแต่ละหมู่บ้านมีจำ�นวนเท่าไร

วันนี้สภาผู้นำ�ได้ปลุกทำ�ให้พวกเขาตื่น

ห ลั ง จ า ก มี ส ภ า ผู้ นำ � ทั้ ง 9 หมู่บ้านในตำ�บลศิลาลอย เราจึง ยก

จ า ก นั้ น ตั ว แ ท น ข อ ง แ ต่ ล ะ

ระดับไปสู่สภาตำ�บล โดยให้ผู้นำ�ทั้ง 9

หมู่บ้านจะนำ�เรื่องกลับเข้าที่ประชุม

หมู่บ้านเป็นตัวแทนในการพูดคุยกับ

สภาผู้นำ�หมู่บ้าน เพื่อจัดทำ�แผนของ

ก็ถูกส่งผ่านสมาชิก อบต. นำ�เข้าบรรจุ เป็นวาระงบประมาณของ อบต.

ขึ้นมาเป็นพลเมืองเต็มตัว


24

ผศ.ลักขณา เติมศิริกุลชัย กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ความเป็นพลเมืองเริ่มที่ปัจเจก เพราะหากไม่เริ่มที่ตัวเอง ไม่เริ่มจากหัวใจของคน ไม่สนใจที่จะเรียนรู้อย่างจริงจัง เรา ก็ไม่สามารถพัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที่ ความเป็น พลเมืองจึงต้องเริ่มที่ปัจเจกแล้วจึงเกิดการรวมกลุ่มกันเพื่อแก้ ปัญหา เพราะปัจเจกเพียงคนเดียวไม่มีพลังมากพอ ที่ผ่านมาประเทศไทยเติบโตมาพร้อมกับระบบเจ้าขุนมูลนาย ใครให้เรา มาแค่ไหน เราก็พอใจอยู่แค่นั้น สิ่งนี้ทำ�ให้ผู้รับไม่กล้าวิพากษ์ผู้ให้ แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าความสัมพันธ์นี้จะต้องเกิดความขัดแย้งเสมอไป เพียงแต่เราต้องรู้ เท่าทัน แล้วจัดกลไกเพื่อตรวจสอบและพัฒนาไปอย่างโปร่งใส นี่คือจุดที่สำ�คัญ ในการพัฒนาประเทศไทย การมอบอำ�นาจให้ประชาชนจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากประชาชนไม่มี ความเป็นตัวของตัวเอง แม้กระทั่งในเรื่องการซื้อสิทธิ์ขายเสียง โดยเฉพาะ ในระดับการเมืองท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็น ผู้ใหญ่บ้าน นากยก อบต. ทั้งที่จริงแล้ว คนเหล่านีอ้ าสาเข้ามาทำ�งาน ประชาชนต้องจ้างเขาทำ�งาน แต่ท�ำ ไมคนเหล่านีต้ อ้ ง


25

ที่ผ่านมาประเทศไทยเติบโตมาพร้อมกับระบบเจ้าขุนมูลนาย ใครให้เรามาแค่ไหน เราก็พอใจอยู่แค่นั้น สิ่งนี้ทำ�ให้ผู้รับไม่กล้าวิพากษ์ผู้ให้ ฉะนั้นเราต้องรู้เท่าทัน แล้วจัดกลไก เพื่อตรวจสอบและพัฒนาอย่างโปร่งใส นี่คือจุดที่สำ�คัญในการพัฒนาประเทศไทย

เอาเงินนั้นมาซื้อเสียงของประชาชน

แล้วกลไกรอบๆ ตัวของเขานั้นทำ�งาน

ภาคประชาชนในแนวราบ ซึ่ ง เปิ ด

ใช่หรือไม่ว่า คนเหล่านี้เอาเงินมาให้

อย่ า งไร จะตรวจสอบนั ก การเมื อ ง

โอกาสให้ประชาชนจากชุมชนแห่งอื่น

เราเพื่อให้เราเลือกเขาเข้ามาทำ�งาน

เหล่ า นี้ อ ย่ า งไร เพราะชาวบ้ า นเป็ น

เข้ า มาเรี ย นรู้ ชุ ม ชนที่ มี บ ทเรี ย นการ

หลังจากนั้นก็จะเป็นการถอนทุนคืน

ผู้เสียภาษีจ้างคนเหล่านี้มาทำ�งานให้

ทำ�งานที่ประสบผลในองค์ประกอบที่

ฉะนั้น ถ้าชาวบ้านเข้าใจเรื่องเหล่านี้

ประชาชน

ทำ�ให้ชุมชนเข้มแข็ง เป็นการศึกษา

ก็ จ ะมี ศั ก ดิ์ ศ รี ข องตนเองและเกิ ด

เ ค รื อ ข่ า ย ตำ � บ ล สุ ข ภ า ว ะ มี

แนวราบคื อ ศึ ก ษาจากชาวบ้ า นด้ ว ย

กระบวนการคัดสรรชุมชนในการเข้า

กันเอง ศึกษาจากของจริง เป็นองค์

ในระบบโครงสร้างบ้านเมืองของ

ร่วมเป็นเครือข่าย โดยผู้นำ�ชุมชนจะ

ความรู้ ที่ เ กิ ด จากการปฏิ บั ติ เกิ ด

เรามีการทุจริตตั้งแต่ ส.ส. ส.จ. ซึ่งเป็น

ต้องมีความมุง่ มัน่ ในการทำ�งานพัฒนา

จากการลองผิดลองถูก แล้วแบ่งปัน

พรรคพวกเดียวกับ อบต. และ อบจ.

และสามารถจั ด ตั้ ง แหล่ ง เรี ย นรู้ ใ น

ประสบการณ์ กั น ไม่ จำ � เป็ น ต้ อ งมี

จุดสำ�คัญคือทำ�อย่างไรให้ประชาชน

ชุมชนตนเองได้ องค์ประกอบในการ

ดอกเตอร์มาสอน ชาวบ้านเรียนรู้ได้

มี จิ ต สำ � นึ กว่ า คนเหล่ า นี้ น อกจากจะ

คัดสรร เช่น มีการบริหารจัดการที่ดี

จากการปฏิบัติจริง การแลกเปลี่ยน

ต้องมีความรู้ความสามารถแล้ว ต้อง

มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้

เรียนรู้ทำ�ให้ชุมชนไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่

มีความซื่อสัตย์ด้วย พลเมืองต้องรู้ว่า

ในแง่ ห นึ่ ง โครงการเครื อ ข่ า ย

มันทำ�ให้ชุมชนพัฒนาตัวเองอยู่ตลอด

เขามี สิ ท ธิ อ ะไรบ้ า ง หน้ า ที่ คื อ อะไร

ตำ�บลสุขภาวะคือ การจัดการศึกษา

กระบวนการตรวจสอบ

เวลา


26

พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ในกระบวนการกระจายอำ �นาจนั้ น ผมมองว่ า มี ค วาม เชื่อมโยงกับความเป็นพลเมืองโดยตรง อำ�นาจในที่นี้คือการ กระจายหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยตั้งอยู่บนฐานความเชื่อว่า ชุมชนนั้นมีศักยภาพในการจัดการตนเอง มีศักยภาพในการคิด มีเกณฑ์ในการตัดสินใจต่างๆ สามารถทำ�กิจกรรมด้วยการร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วม รับประโยชน์ การกระจายอำ�นาจจึงเป็นการให้โอกาสแก่ชุมชนได้แสดงศักยภาพ ออกมา โครงการตำ�บลสุขภาวะเป็นหนึง่ ในกลไกทีเ่ ปิดโอกาสให้ชมุ ชนได้แสดงออก ให้ชุมชนได้ค้นหาศักยภาพของตนเอง ที่ผ่านมาพิสูจน์แล้วว่าชุมชนท้องถิ่น สามารถริเริ่มสร้างสรรค์โครงการต่างๆ ขึ้นมาได้ดีทีเดียว และสามารถภูมิใจได้ ว่าสิ่งนี้เกิดจากการมีส่วนร่วม ชุมชนบางแห่งไปไกลถึงขนาดเป็นชุมชนที่มีการ บริหารจัดการอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ก็เพราะมีชุมชนท้องถิ่นอื่นๆ ให้ศึกษาเปรียบเทียบได้ ยกตัวอย่างที่แม่ฮ่องสอน ซึ่งเป็นจังหวัดปิด เพราะการคมนาคมไม่สะดวก แต่


27

วันนี้ชุมชนท้องถิ่นหลายแห่งเริ่มกลับมาให้ความสำ�คัญกับวัฒนธรรม เกิดการผูกโยง วัฒนธรรมเข้ากับเรื่องของจริยธรรม นำ�องค์ความรู้ท้องถิ่นเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจของ ชุมชน พยายามสืบทอดวัฒนธรรมให้กลายเป็นเศรษฐกิจ ซึ่งการรักษาวัฒนธรรม ให้เข้มแข็งยังสามารถต้านทานแรงกดดันจากภายนอกได้

ภายใต้ข้อจำ�กัดด้านคมนาคม เราเห็น

ภายนอกได้ดี

มีลักษณะเป็นชุมชนนิยม อำ�เภอนิยม

ได้ว่าเขาเริ่มกลับมาให้ความสำ�คัญกับ

เมื่อมีการสร้างเครือข่ายตำ�บล

วัฒนธรรม เกิดการผูกโยงวัฒนธรรม

สุ ข ภาวะ ทำ � ให้ เ กิ ด กระบวนการ

เข้ า กั บ เรื่ อ งของจริ ย ธรรม นำ � องค์

ทำ�งานที่เป็นระบบมากขึ้น จะเห็นว่า

เมื่ อ ชุ ม ชนหนึ่ ง มองเห็ น โอกาส

ความรู้ท้องถิ่นเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ

มีผู้นำ�ใหม่ๆ เกิดขึ้นมากมาย ผู้นำ�ใน

ของการพัฒนาจากชุมชนอีกแห่งหนึ่ง

ของชุ ม ชน เขาพยายามสื บ ทอด

ที่นี้มิได้หมายถึงระดับผู้บริหารเท่านั้น

เขาก็สามารถเข้าไปค้นหาสิ่งดีๆ จาก

วั ฒ นธรรมให้ ก ลายเป็ น เศรษฐกิ จ

แต่ อ าจเป็ น ผู้ นำ � ทางความคิ ด ผู้ นำ �

ที่อื่นมาปรับปรุงชุมชนตนเองได้ เกิด

และการรั ก ษาวั ฒนธรรมให้ เ ข้ ม แข็ ง

ในการจัดการ ซึ่งจะเป็นแรงบันดาลใจ

กระบวนการเรี ย นรู้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

ก็ ส ามารถต้ า นทานแรงกดดั น จาก

ให้กับคนในชุมชนต่อไปได้

กระบวนการเรี ย นรู้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

ภายนอกได้

แต่ปัจจุบันเกิดการแลกเปลี่ยนซึ่งกัน และกันได้เป็นอย่างดี

อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ห็ น ชั ด เจนจาก

เป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ จ ะเป็ น พื้ น ฐานใน

ประเทศญี่ ปุ่ น เป็ น ประเทศที่ มี

โครงการเครือข่ายตำ�บลสุขภาวะคือ

การจัดการตนเอง เพราะหากคนใน

วั ฒ นธรรมเข้ ม แข็ ง เมื่ อ ประสบภั ย

เกิดการหนุนเสริมซึ่งกันและกัน เกิด

ชุมชนไม่รู้ว่าข้างนอกเป็นไปอย่างไร

พิ บั ติ น านาชนิ ด เขาก็ ส ามารถฟื้ น

มิติใหม่ เกิดความคิดใหม่ๆ สิ่งหนึ่งที่

ก็จะไม่รู้วิธีการที่จะไปตอบโต้กับการ

ประเทศได้เร็ว สังเกตได้ว่าประเทศ

เห็นชัดเจนคือชุดความคิด วิธีคิดของ

เปลี่ยนแปลงที่เกิดจากข้างนอกได้

ที่ มี ทุ น ท า ง สั ง ค ม เ ห ล่ า นี้ มั ก

ชุมชนที่เปลี่ยนไป ซึ่งเดิมทีนั้นชุมชน

สามารถปรับตัวรับแรงกระแทกจาก

ท้องถิ่นหลายแห่งในประเทศไทยมัก


28

ถ้าทุกเครือข่ายได้เข้ามา

มุกดา อินต๊ะสาร

แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันก็จะเกิดบทเรียน

กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

และองค์ความรู้ที่กลั่นมาจากการ ปฏิบัติการจริงของชุมชนท้องถิ่น หากเราใช้เวลาอีกสักนิด ประเทศไทยก็จะงดงามในแบบที่ เราอยากเห็น ซึ่งทุกพื้นที่จะมีจุดเด่น ที่เข้มแข็งแตกต่างกัน

การทีช่ มุ ชนแห่งใดแห่งหนึง่ จะสามารถทำ�ให้คนในชุมชนเข้ามา มีสว่ นร่วมได้ ก่อนอืน่ ต้องเริม่ ทีต่ วั เองก่อน ทุกคนต้องมีศกั ดิศ์ รี เท่าเทียมกัน นอกจากนี้ เรื่องคุณภาพชีวิตที่ไม่ได้รับการดูแล เอาใจใส่ยังเป็นความทุกข์พื้นฐานของเขา เพราะฉะนั้นเรา จึงต้องเรียนรู้ว่าทุกข์ของชุมชนคืออะไร และหาทางออกร่วมกัน เพราะปัญหา ทุกอย่างมีทางออกเสมอ โดยเฉพาะเมื่อเรานำ�หลักธรรมมาประยุกต์ใช้กับการ ชีวิตของเรา สิ่งนี้เองที่จะทำ�ให้ทุกคนในชุมชนลุกขึ้นมาจัดการตนเอง และทำ�ให้ทุกคน มีส่วนร่วมในการจัดการความทุกข์เหล่านี้ร่วมกัน แต่กระบวนการนี้ต้องค่อยเป็น ค่อยไป ยกตัวอย่างธนาคารหมูบ่ า้ นทีต่ �ำ บลดอกคำ�ใต้ เริม่ แรกมีสมาชิกเพียง 14 คน แต่ตอนนี้ 90 เปอร์เซ็นต์ของคนในหมูบ่ า้ น เข้ามาร่วมโครงการธนาคารเกือบ หมดแล้ว ธนาคารหมู่ บ้ า นของชุ ม ชนดอกคำ � ใต้ ไ ด้ เ ชื่ อ มโยงกั บ สำ � นึ ก ความเป็ น พลเมืองของคนในชุมชน ถ้าเรามองว่าความเป็นพลเมืองคือความเป็นเจ้าของ


29

เป็นหุ้นส่วน ธนาคารหมู่บ้านจึงเป็น

ดูแลทุกข์สุขของชาวบ้าน ผู้นำ�ท้องที่

ปฏิ บั ติ ก ารจริ ง ของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น

รูปลักษณะหนึ่งที่ทำ�ให้เห็นว่าเมื่อเขา

ไม่มงี บ แต่มคี วามศรัทธาจากชาวบ้าน

ถ้ า ห า ก เ ร า ใ ช้ เ ว ล า อี ก สั ก นิ ด

มี เ งิ น เขาก็ เ อาไปใส่ ขั น สลุ ง เพื่ อ ให้

ซึ่ ง ผู้ ท่ี จ ะเข้ า มาช่ ว ยเหลื อ ด้ า นงบ

ประเทศไทยในแบบที่ เ ราอยากเห็ น

ผู้ อื่ น ที่ เ ดื อ ดร้ อ นได้ ห ยิ บ ยื ม ไปใช้

ประมาณคือคนทีก่ มุ นโยบายสาธารณะ

ก็ จ ะงดงามมาก แต่ ไ ม่ ไ ด้ ง ดงาม

ท้ายที่สุดการทำ�งานทุกอย่างเราต้อง

นั่ น ก็ คื อ ท้ อ งถิ่ น ดั ง นั้ น ทุ ก ภาคส่ ว น

แบบพิมพ์เขียว ซึ่งหมายถึงทุกพื้นที่

นึกถึงคนอื่นด้วย ไม่ใช่เพียงนึกถึงแต่

ต้องประสานเข้าด้วยกัน

เหมือนกัน แต่ทุกพื้นที่จะมีจุดเด่นที่

กลุ่มเรา ต้องเปิดพื้นที่และให้โอกาส

ในพื้นที่มีการเปิดเผยข้อมูลการ

แก่ทุกคน นี่คือการจัดการวิธีคิดของ

ใช้งบประมาณทั้งหมดให้ประชาชนได้

เครื่ อ งมื อ ที่ โ ครงการเครื อ ข่ า ย

ชาวบ้าน โดยการให้เขาร่วมคิดกันเอง เรา

รับรู้ และให้ชาวบ้านเข้ามาทำ�งานร่วม

ตำ � บลสุ ข ภาวะได้ ส่ ง ต่ อ ให้ ชุ ม ชนมี

ไม่ตอ้ งไปชีน้ �ำ แต่เป็นการแนะแนวทาง

นับว่าเป็นการบริหารจัดการที่ดีมาก

มากมาย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การ

และเรียนรู้ร่วมกัน

ยกตัวอย่างชุมชนหนึ่งมีปัญหาเรื่องน้ำ�

เก็บข้อมูลจากการปฏิบัติการจริงใน

องค์ ก รท้ อ งถิ่ น ควรมี บ ทบาท

ไม่พอใช้ ชาวบ้านก็เสนอว่าอยากจะ

พื้นที่ รวมถึงมีการวิจัยชุมชน รวมถึง

มากในการพั ฒ นาชุ ม ชน เพราะ

ทำ�ฝาย ท้องถิ่นก็จะเข้าไปช่วยในการ

กระบวนการที่ สำ � คั ญ คื อ การรวม

ท้องถิ่นเป็นตัวแทนของชาวบ้าน ต้อง

จัดสรรงบ แต่จะไม่ไปชี้นำ�ว่าชาวบ้าน

กลุ่ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยในระดั บจั ง หวั ด

เข้ า มาทำ � งานและนำ � เอานโยบาย

ต้องทำ�แบบนั้นแบบนี้ แต่จะใช้วิธีให้

นอกจากนี้ ยังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

สาธารณะที่มาจากชาวบ้านไปใช้ ซึ่ง

ชาวบ้านร่วมกันคิด ร่วมกันทำ� ถ้าทำ�

ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากประสบการณ์ จ ริ ง ซึ่ ง

ตรงนี้ นั บว่ าเป็ น การกระจายอำ � นาจ

แบบนี้ได้ในทุกๆ ที่ ก็จะทำ�ให้ชุมชน

ชาวบ้ า นไม่ ค่ อ ยเก็ บ หรื อ จดบั น ทึ ก

กระจายการมี ส่ ว นร่ ว มสู่ ชุ ม ชน ให้

สามารถจัดการตนเองได้

ความรูไ้ ว้ ทำ�ให้คนรุน่ ใหม่ๆ ไม่ทราบว่า

เข้มแข็งแตกต่างกัน

เขาจั ด การเรื่ อ งงบประมาณในการ

ปัจจุบนั สสส. สำ�นัก 3 ได้เข้ามา

รากของความรู้ ที่ แ ท้ จริ ง นั้ น คื อ อะไร

บริการสาธารณะ ขณะเดียวกัน เราก็

ทำ�งานเรื่องชุมชนท้องถิ่น มีเครือข่าย

แต่กระบวนการของ สสส. สำ�นัก 3

ให้ผู้ใหญ่บ้าน กำ�นัน เป็น ผู้นำ� ซึ่งทุก

กว่า 2,000 ตำ�บล มีเวทีระดับจังหวัด

ทำ�ให้ชุมชนเห็นข้อมูล เห็นข้อเท็จจริง

ส่วนที่ว่ามานี้ควรจะทำ�งานขับเคลื่อน

ระดับภาค ถ้าทุกเครือข่ายได้เข้ามา

และนำ�ข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ได้อย่างมี

ไปด้วยกัน

แลกเปลีย่ นเรียนรูก้ นั ก็จะเกิดบทเรียน

ประสิทธิภาพ

ผู้นำ�ท้องที่อย่างกำ�นัน มีหน้าที่

และองค์ ค วามรู้ ที่ จ ะกลั่ น จากการ


30

สุรินทร์ กิจนิตย์ชีว์

กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

‘พลเมือง’ เป็นคำ�คำ�หนึ่งที่มีความหมาย ซึ่งคำ�แต่ละคำ� ล้วนมีนัยยะซ่อนไว้ในตัวเอง สมัยก่อนเราใช้คำ�ว่า ‘ราษฎร’ ซึ่ง หมายถึงคนที่อยู่ฐานล่างของสังคมและเป็นผู้ถูกปกครองอย่าง ที่เรียกกันว่า ‘ไพร่บ้าน’ อันหมายถึงคนที่ถูกปกครองในแนวดิ่ง ทั้งนี้ แม้ถ้อยคำ�ในสมัยปัจจุบันจะเปลี่ยนไป แต่วิธีคิดและแนวคิดนั้นยังเหมือน เดิม คำ�ว่า พลเมือง มีนัยสำ�คัญคือการเป็นพละกำ�ลังของเมือง ในการแสดง บทบาทและการกำ�หนดทิศทางการพัฒนาบ้านเมือง ในส่วนนี้ประชาชนทุกคน ต้องมีส่วนร่วม เพราะเขามีความสำ�คัญเท่าๆ กับคนอื่น ทั้งนี้ การพัฒนาประเทศนั้นเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ไม่สามารถทำ�ได้ โดยเอกเทศ เพราะเราโยงกับโลกาภิวัตน์ โยงกับประชาคมอาเซียน เราจึงต้อง ให้พลเมืองเข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจว่าการพัฒนาประเทศรูปแบบต่างๆ ชุมชน ท้องถิ่นของเขาควรจะมีลักษณะแบบใด พลเมืองอาจเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ประเด็น


31

พลเมืองต้องเรียนรู้ว่าหากจะให้ประเทศพัฒนาไปได้นั้น เขาต้องพัฒนาเชิงเทคนิควิธี เชิงกิจกรรม หรือเชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งในแง่ของยุทธศาสตร์นั้นอาจต้องเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ หรือเปลี่ยนแปลง โครงสร้างทางอำ�นาจใหม่ ให้คนที่อยู่ระดับล่างเป็นผู้ที่มีบทบาทสำ�คัญในการพัฒนาฐานรากให้ยั่งยืน

ใดประเด็นหนึ่ง เพราะปกติคนทุกคน

พลเมื อ งต้ อ งเรี ย นรู้ ว่ า หากจะให้

สังคมต้องมีการปฏิสมั พันธ์กนั

ย่อมไม่ได้มีความสามารถในทุกเรื่อง

ประเทศพัฒนาไปได้นนั้ เขาต้องใช้การ

ในแนวราบ ต้องมีความเสมอภาค

อยู่แล้ว บางคนอาจจะถนัดเรื่องการ

พัฒนาเชิงเทคนิควิธี เชิงกิจกรรม หรือ

และเคารพศักดิ์ศรีซึ่งกันและกันใน

สื่อสาร บางคนถนัดในการเป็น ผู้นำ�

เชิงยุทธศาสตร์ ซึง่ ในแง่ของยุทธศาสตร์

ด้ า นสิ ท ธิ เ สรี ภ าพ ด้ า นการเมื อ ง

หรือบางคนถนัดเรื่องการเกษตร เรื่อง

นั้ น อาจต้ อ งเปลี่ ย นแปลงทั้ ง ระบบ

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม วั ฒน ธ ร ร ม

ธุรกิจ ซึง่ พวกเขาทัง้ หมดต้องมีสว่ นร่วม

ยกตั ว อย่ า งเรื่ อ งการเปลี่ ย นแปลง

สิ่ ง แวดล้ อ ม สุ ข ภาพ การศึ ก ษา

ในการพัฒนาประเทศ

เชิงโครงสร้าง เช่น การเปลี่ยนแปลง

ทั้งหมดนี้ต้องไปด้วยกัน

บทบาทหน้าที่ที่สำ�คัญอีกอย่าง

โครงสร้ า งทางอำ � นาจใหม่ โดยการ

ทุ ก วั น นี้ มี ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ไม่ กี่

คือ การประเมินตัวเองของประชาชน

ปรับให้ส่วนบนต้องเอื้อให้ส่วนล่าง ให้

แห่ ง ที่ ทำ � แผนแม่ บ ทจากล่ า งสู่ บ น

ว่ามาถูกทางหรือไม่ หลงประเด็นหรือ

คนที่ อ ยู่ ร ะดั บ ล่ า งเป็ น ผู้ ที่ มี บ ทบาท

คนข้างล่างต้องมีแผนของตัวเองว่า

เปล่ า ทั้ ง นี้ การประเมิ น มั น ก็ ต้ อ งดู

สำ�คัญในการพัฒนาฐานรากให้ยั่งยืน

จะทำ�อะไรเพือ่ ตอบโจทย์ปญ ั หาของ

สถานการณ์ ดูผลลัพธ์ ผลจากความ

คำ � ว่ า ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ที่ สสส.

ตน การกำ�หนดแผนนั้นไม่สามารถ

เปลี่ยนแปลง และผลกระทบที่เกิดขึ้น

สำ � นั ก 3 เข้ า ไปทำ � งานอยู่ ทุ กวั น นี้

ทำ�ได้ด้วยคนเพียงคนเดียว ในตำ�บล

ว่าเป็นอย่างไร พลเมืองยังต้องรู้สิทธิ

เขามีพนื้ ทีเ่ ป็นรูปธรรม ทัง้ ระดับตำ�บล

จึ ง ต้ อ งมี ส่ ว นร่ ว มในการวางแผน

และหน้าที่ของตัวเอง ซึ่งต้องเกิดจาก

ระดับเทศบาล ระดับ อบจ. ซึ่ง สสส.

ร่วมกัน

การขวนขวายเรียนรู้

จะรู้ ปั ญ หาในทุ ก ระดั บ อย่ า งใกล้ ชิ ด

ในส่วนของกระบวนการเรียนรู้

การพัฒนาจึงตอบโจทย์ในพื้นที่


32

แพทย์หญิงประนอม คำ�เที่ยง กรรมการบริหารแผน คณะที่ 3 สสส.

ความเป็นพลเมืองมีความเชือ่ มโยงกับการทำ�งานในระบบ สุขภาพหรือไม่ แม้ทั้ง 2 เรื่องนี้อาจไม่ได้เชื่อมโยงโดยตรง แต่ เราสามารถสร้างความเป็นพลเมืองได้จากระบบสุขภาพ เพราะ งานด้านสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นตัวเจ้าหน้าที่หรือตัวอาสาสมัคร สาธารณสุขทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ทีช่ มุ ชนท้องถิน่ ล้วนใช้การทำ�งานโดยกระบวนการพัฒนา ความคิด สร้างความคิด ให้ชุมชนคิดดี นำ�ปัญหามาหาคำ�ตอบ และมีวิธีคิดที่จะ แก้ปัญหาของตัวเองและของชุมชน ตรงนี้เองที่เป็นวิธีคิดเดียวกับการพัฒนาพลเมือง หากพลเมืองสามารถ ค้นหาปัญหาของตัวเองในพื้นที่ และสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในชุมชนในการแก้ ปัญหาร่วมกันได้ การทำ�งานในลักษณะนี้จึงถือได้ว่าเป็นพลังพลเมืองอย่างหนึ่ง เราจะบอกเจ้าหน้าที่หรือ อสม. ตลอดว่า หากสามารถพัฒนากระบวนการ คิดให้เกิดขึ้นได้ในระดับปัจเจกและระดับครอบครัวหรือชุมชน ก็จะสามารถ ต่อยอดพัฒนาในเรื่องอื่นๆ ได้ ซึ่งประเด็นสุขภาพเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและสามารถ พัฒนาได้ง่าย เพราะสามารถคุยกันในชุมชนได้ไม่ยาก


33

หากพลเมืองสามารถค้นหาปัญหาในพื้นที่ของตัวเอง และสามารถเข้ามามีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาร่วมกันได้ การทำ�งานในลักษณะนี้จึงถือได้ว่าเป็นพลังพลเมือง หากสามารถพัฒนากระบวนการคิดให้เกิดขึ้นได้ในระดับปัจเจก ระดับครอบครัว และชุมชน ก็จะสามารถพัฒนาต่อยอดไปยังเรื่องอื่นๆ ได้

โครงการเครื อ ข่ า ยตำ � บลสุ ข -

ร่วมใจกันในเรื่องใดเรื่องหนึ่งก็จะเกิด

แต่ละชุมชนนั้นมีปัญหาต่างกัน

ภาวะถือว่าได้สร้างผลกระทบเชิงบวก

กระบวนการคิดร่วมกัน ลงความเห็น

เราจะนำ�กระบวนการทำ�งานเข้าไปให้

ต่ อ ชุ ม ชน เพราะในอดี ต อาจยั ง ไม่ มี

ร่วมกัน และทำ�ร่วมกันได้ดี เมือ่ เครือข่าย

พวกเขา และให้เขาค้นหาปัญหาของ

กระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมอย่าง

ตำ � บลสุ ข ภาวะได้ ส่ ง ต่ อ เครื่ อ งมื อ ที่

ตัวเองให้ได้ ซึ่งก็จะเกิดการปรับปรุง

แท้จริง แต่เมื่อเราได้พูดคุยกับคณะ

เป็นกระบวนการนี้ไปสู่ชุมชน ทำ�ให้

พั ฒ นาในเรื่ อ งต่ า งๆ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ

ทำ�งานของ สสส. ทำ�ให้เราได้ความรู้

ชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด

ปัจเจก ครอบครัว ชุมชน จังหวัดและ

เพิ่ ม ขึ้ น ได้ วิ ธี ก ารทำ � งานใหม่ ๆ ที่ สามารถทำ�ให้ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง

หัวใจสำ�คัญในการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นคือ การศึกษา ซึ่งมิได้หมายถึง

ยั ง มี อี ก หลายๆ ประเด็ น ที่

การศึกษาในระบบแต่เพียงอย่างเดียว

สามารถนำ � มาใช้ ง านได้ นอกเหนื อ

ในส่ ว นนี้ เ ราต้ อ งรู้ ว่ า จะทำ � อย่ า งไร

จากประเด็ น สุ ข ภาพ อย่ า งเช่ น

ให้ ก ารศึ ก ษาหรื อ สิ่ ง ที่ ป ระชาชนได้

ประเด็นเรื่องการออม เรื่องการค้นหา

เรี ย นรู้ นั้ น สามารถนำ � กลั บ มาใช้

องค์ความรู้ต่างๆ ในชุมชน จุดนี้หาก

พั ฒ นาตำ � บลอย่ า งไรได้ บ้ า ง จะใช้

ประชาชนหรือพลเมืองเข้ามาร่วมมือ

กระบวนการใดในการแก้ไขปรับปรุง

ในระดั บ ประเทศ ทุ ก อย่ า งเกิ ด จาก สิ่งเล็กๆ เข้ามาเชื่อมโยงกัน


34

สุวรรณวิชช์ เปรมปรีดิ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองโรง อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

การเป็นพลเมืองที่ดีนั้น คนแต่ละคนจะต้องรับรู้ถึง ผลกระทบในเรื่องต่างๆ ที่ตนเองได้รับ และลุกขึ้นมา แก้ไขเพื่อจะดำ�รงซึ่งความถูกต้อง ความเสมอภาค ความยุติธรรม ให้มีอยู่ในชุมชนนั้น เมื่อชุมชนสามารถ แก้ไขปัญหาได้เองก็จะเกิดพลัง เกิดความสงบสุข และนำ�ไปสู่การเป็นชุมชนน่าอยู่

กระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาชนนำ�ไป สู่การสร้างเสริมพลังพลเมือง ผ่านการเรียนรู้ การรวมกลุ่ม ในการทำ�งาน ให้ชมุ ชนรูจ้ กั เสียสละ มีจติ อาสามากขึน้ ผมคิดว่า ในเรื่องการรวมกลุ่มทำ�กิจกรรมร่วมกัน ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี ที่จะทำ�ให้พลเมืองมีความเข้มแข็ง การเป็นพลเมืองทีด่ นี นั้ คนแต่ละคนจะต้องรับรูถ้ งึ ผลกระทบในเรือ่ งต่างๆ ที่ตนเองได้รับ และลุกขึ้นมาแก้ไขเพื่อจะดำ�รงซึ่งความถูกต้อง ความเสมอภาค ความยุติธรรม ให้มีอยู่ในชุมชนนั้น เมื่อชุมชนสามารถแก้ไขปัญหาได้เองก็จะเกิด พลัง เกิดความสงบสุข และนำ�ไปสู่การเป็นชุมชนน่าอยู่ ในฐานะผู้นำ�ท้องถิ่น ผมเชื่อว่าการคืนอำ�นาจให้ชุมชนคือจุดมุ่งหมายหลัก เพราะท้องถิ่นคือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด ท้องถิ่นจึงควรเป็นต้นแบบ การกระจายอำ�นาจให้ประชาชนก่อน ฉะนัน้ ผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะต้องทำ�ให้เห็นว่าการกระจายอำ�นาจเป็นเรื่องสำ�คัญที่จะทำ�ให้ท้องถิ่นนั้น พัฒนาไปได้ ที่ผ่านมาอำ�นาจยังถูกรวบไว้ที่ผู้นำ�เสียเป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะ


35

นโยบายสำ � คั ญ ๆ รวมถึงเรื่อ งความ

เหลือแค่ครึ่งตัน

ป่าคืออะไร ฉะนั้นเมื่อคนในชุมชนรู้ว่า

โปร่งใสก็ต้องแสดงให้ประชาชนเห็น

สำ � หรั บ ลั ก ษณะเด่ น ของพื้ น ที่

ต้องพึ่งป่า เราจึงต้องมีการรักษาป่า

มีกระบวนการให้ประชาชนมีส่วนร่วม

ตำ � บลหนองโรง เรามี ค วามอุ ด ม

และยังมีการขยายพื้นที่ป่าเพิ่มมากขึ้น

มี ก ระบวนการตรวจสอบอย่ า งเป็ น

สมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและ

จากเดิมมี 1,000 กว่าไร่ ปัจจุบันเพิ่ม

รูปธรรม

สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยเฉพาะ ‘ป่ า ชุ ม ชน’

เป็น 20,000 กว่าไร่

กระบวนเหล่านี้เป็นเรื่องสำ�คัญ

ซึ่งตำ�บลของเราได้ขับเคลื่อนเรื่องป่า

ในอดี ต นั้ น คนในตำ � บลอาจยั ง

ที่ผ่านมาประชาชนมักมองว่าปัญหา

ชุมชนจนกลายเป็นอัตลักษณ์ประจำ�

ไม่เห็นความสำ�คัญของป่า ยังมีการ

ในชุมชนต้องให้ท้องถิ่นเป็น ผู้แก้ ซึ่ง

ตำ�บล เพราะป่าทำ�ให้ทุกชีวิตดำ�เนิน

ลั ก ลอบตั ด ไม้ แผ้ ว ถาง รุ ก ล้ำ � แต่

เป็ น ความคิ ด เห็ น ที่ อ าจจะผิ ด ทาง

ต่อไปได้ ป่าทำ�ให้เกิดกลุ่มอาชีพ เกิด

หลังจากมีนายทุนเข้ามาบุกรุกพื้นที่

เพราะแท้ จ ริ ง แล้ ว ปั ญ หามั น เกิ ด ใน

จิตอาสา เกิดการเรียนรู้ ป่าช่วยรักษา

สาธารณะ ทำ�ให้ชาวบ้านรวมตัวกันขับ

ชุ ม ชน ชุ ม ชนก็ ต้ อ งช่ ว ยกั น แก้ โดย

ความชุ่มชื้น ผลิตอากาศบริสุทธิ์ ป่า

ไล่ จนท้ายที่สุดนายทุนก็ต้องล่าถอย

ท้องถิ่นจะเป็น ผู้เชื่อมโยงและกำ�หนด

เป็นแหล่งซับน้ำ�ฝน เป็นหลังคาของ

ไป แม้คนในชุมชนจะต้องเสียชีวิตไป

วางแนวทางให้ ฉะนั้นกระบวนการมี

หมู่บ้าน ป่าเป็นที่เรียนรู้ของเด็กและ

เกือบ 10 คน แต่ก็ถือเป็นชัยชนะของ

ส่วนร่วมต่างๆ ต้องอาศัยการทำ�ความ

เยาวชน มี ทั้ ง สมุ น ไพรและอาหาร

ชาวบ้านที่สามารถทวงคืน ผืนป่ากลับ

เข้ า ใจกั บ คนในท้ อ งถิ่ น ให้ ม าก และ

การกิน จนกล่าวได้ว่าป่าเป็นซูเปอร์-

คืนมาได้

ปัญหาส่วนใหญ่สามารถจัดการได้ดว้ ย

มาร์เก็ตของคนในชุมชน

ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ป ระจั ก ษ์ ว่ า เรา

จากแนวคิดที่ต้องการปลูกฝังให้

สามารถฟื้นฟูป่าหลังจากถูกนายทุน

ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม เช่น การ

คนเห็นความสำ�คัญของป่า จึงเกิดเป็น

รุกล้�ำ จนเกือบโล่งเตียนจนกลับมาเป็น

จัดการขยะ ถ้าชุมชนช่วยกันเก็บ ช่วย

โครงการ ‘ปลูกต้นไม้ในใจคน’ ซึ่งใน

ป่าที่อุดมสมบูรณ์ และยังขยายพื้นที่

กันคัดแยก และนำ�ขยะมาทำ�ให้เป็น

ที่สุดพื้นที่ตำ�บลหนองโรงจึงไม่มีการ

ป่าไปทั่วทั้ง 17 หมู่บ้าน ในที่สุดป่าก็

ประโยชน์ ปั ญ หานี้ ก็ จ ะเบาบางลง

ลัก ลอบตัดไม้ทำ �ลายป่ า นี่ คื อความ

เกิดทั่วทั้งตำ�บล ทั้งยังสามารถชักชวน

แน่นอน แทนที่ อบต. จะต้องเก็บขยะ

สำ�เร็จในการสร้างจิตสำ�นึกของชุมชน ตำ�บลข้างเคียงให้มาร่วมเป็นเครือข่าย

วันละ 3 ตัน หากมีการคัดแยกอาจจะ

ทำ�ให้ชาวบ้านทุกคนรูว้ า่ ประโยชน์ของ

คนในท้องถิ่นของเราเอง

รักษาและฟื้นฟูป่าอีกด้วย


36

อนุศาสน์ ทองเหมือน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองโรง อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี

ในความหมายของ ‘พลเมือง’ กินความมากกว่าคำ�ว่าญาติ พี่น้อง เพราะการเป็นพลเมืองนอกจากจะต้องมีสำ�นึกต่อญาติ พี่น้องหรือพรรคพวกของตนแล้ว ยังต้องมีสำ�นึกรับผิดชอบต่อ สังคมส่วนรวมด้วย ด้วยเหตุที่ตำ�บลหนองโรงมีลักษณะความเป็นเครือญาติค่อนข้างสูง ฉะนั้น การสร้างการมีส่วนร่วมของคนชุมชน องค์ประกอบแรกที่เรามองคือ ความเป็น เครือญาติ ขณะเดียวกัน ชาวบ้านหนองโรงส่วนใหญ่มักเชื่อถือในตัว ผู้นำ�สูง ฉะนั้น การสร้างการมีส่วนร่วมของพลเมืองจึงต้องอาศัยทั้งความเป็นเครือญาติ และความน่าเชื่อถือของผู้นำ�มาประกอบกัน ในกระบวนการทำ�งานเราเริ่มต้นด้วยการแจ้งผ่านผู้นำ� จากนั้นจะผ่านลง ไปยังเครือญาติ เพราะทั้ง 17 หมู่บ้านของหนองโรงมีความเป็นเครือญาติกัน แทบทั้งสิ้น สามารถเชื่อมโยงถึงกันได้หมด อีกส่วนคือการลงพื้นที่ปฏิบัติงานจริงของข้าราชการท้องถิ่น โดยเจ้าหน้าที่ อบต. ที่ประจำ�อยู่ทุกหมู่บ้านจะช่วยเป็นผู้สื่อสารระหว่าง อบต. กับชาวบ้านได้


37

ในความหมายของ ‘พลเมือง’ กินความมากกว่าคำ�ว่าญาติพี่น้อง เพราะการเป็นพลเมืองนอกจากจะต้องมี สำ�นึกต่อญาติพี่น้องหรือพรรคพวกของตนแล้ว ยังต้องมีสำ�นึกรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวมด้วย

ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการประสานงาน

ท้องถิ่นแทบจะไม่มีเลย แต่หลังจาก

ถ้าเปิดโอกาสให้ท้องถิ่นมีโอกาส

หรือนัดหมายให้ชาวบ้านมาร่วมแสดง

ปี 2539 เมื่ อ มี ก ารยกฐานะ อบต.

ดูแลตัวเองภายใต้งบประมาณทีม่ อี ยู่ ผม

ความคิดเห็นในเรื่องใด นอกจากนั้น

เป็ น เทศบาล มี ก ารปรั บ สุ ข าภิ บ าล

เชื่อว่าท้องถิ่นทำ�ได้ เราแค่ไปเติมเต็ม

ยังถือเป็นการสื่อสารสองทาง เพราะ

เป็นเทศบาล จะเห็นว่าชาวบ้านได้รับ

เล็ ก น้ อ ย เพราะคนในชุ ม ชนเขามี

ไม่ใช่แค่ส่งข่าวสารไปถึงชาวบ้านเพียง

บริการจากท้องถิ่นมากขึ้น ถ้าเทียบ

ศั ก ยภาพในตั ว เองอยู่ แ ล้ ว ตั ว อย่ า ง

อย่างเดียว แต่มีการรับฟังเสียงของ

เป็ น เปอร์ เ ซ็ น ต์ อ าจมากถึ ง กว่ า 80

ความสำ � เร็ จ ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ของตำ � บล

ชาวบ้านด้วย

เปอร์เซ็นต์

หนองโรงคือ การจัดการป่าชุมชน ซึ่ง

จริ ง ๆ แล้ ว แนวคิ ด กระจาย

ขณะเดียวกัน เหตุผลหนึ่งที่รัฐ

เริ่ ม ต้ น จากคนในชุ ม ชนที่ มี ค วามรั ก

อำ�นาจสู่ท้องถิ่นอาจฟังดูสวยหรู และ

อ้างว่ายังไม่สามารถกระจายอำ�นาจ

และหวงแหนป่า ภาครัฐเพียงเข้ามา

ในตั ว บทกฎหมายก็ ร ะบุ ชั ด อยู่ แ ล้ ว

ให้ทอ้ งถิน่ ได้อย่างเต็มที่ เพราะท้องถิน่

หนุ น เสริ ม และจั ด ระบบในภายหลั ง

เพียงแต่โอกาสของท้องถิ่นที่จะได้รับ

มี ก ารทุ จ ริ ต คอรั ป ชั่ น แต่ อั น ที่ จ ริ ง

ดังนัน้ ต้องถือว่าชาวบ้านสามารถจัดการ

การกระจายอำ�นาจจริงๆ อาจจะยัง

หน่วยงานกำ�กับดูแลอย่างกระทรวง

เองได้โดยทีไ่ ม่ตอ้ งพึง่ พาภาครัฐเลย

ไม่เกิดขึ้น

มหาดไทยเองก็ ว างกรอบในการ

นี่ อ าจเป็ น แนวคิ ด หนึ่ ง ที่ ทำ � ให้

ถ้าย้อนกลับไปมองในช่วงก่อนปี

ป้ อ งกั น ทุ จ ริ ต คอรั ป ชั่ น ไว้ แ ล้ ว โดย

อบต.หนองโรง ตั ด สิ น ใจเข้ า ร่ ว ม

2539 หรือก่อนที่จะให้ความสำ�คัญ

การให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการตรวจ

โครงการตำ � บลสุ ข ภาวะ เพราะเรา

กั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะ

สอบ ดังนั้นช่องทางต่างๆ ที่จะสกัด

มองเห็นว่าพื้นฐานของชุมชนค่อนข้าง

เห็นว่าโอกาสของชาวบ้านหรือคนใน

การทุจริตจึงมีอยู่แล้ว

แข็งแรงและสามารถเติบโตต่อไปได้


38

สวัสดิ์ กันจรัตน์

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองสาหร่าย อำ�เภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี

บทบาทของ อบต. มีหน้าที่ในการบริหารจัดการ ทรัพยากรในชุมชนที่มีอยู่อย่างจำ�กัดให้เกิด ประโยชน์สูงสุด แต่ในภาคปฏิบัติมักจะต้องเป็นไป ตามกรอบที่ทางราชการกำ�หนด ทำ�ให้ขาดอิสระ หากไม่มีหนังสือสั่งการ ไม่มีระเบียบลงมา ก็ทำ�ไม่ได้ เมื่อถูกตีกรอบเช่นนี้แล้วเราก็เหมือนบอนไซ ทีไ่ ม่รจู้ กั โต กลายเป็นต้นไม้แคระแกร็นอยูใ่ นกระถาง ไม่เพียงพอ ชาวบ้านจะต้องรวมตัวกันเพื่อให้เกิดอำ�นาจ ต่อรอง เรียกร้องให้หน่วยงานชลประทานจัดสรรน้ำ�มาให้ หรือถ้ามีปัญหาแมลงศัตรูพืชระบาดในนาหรือแปลงเกษตร ชาวบ้านก็ต้องมานั่งคุยกัน เพื่อจะร่วมคิด ร่วมทำ� แล้วหา ‘พลเมือง’ คือคนที่จะมาเป็นกำ�ลังขับเคลื่อนงานใน ทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ให้บรรเทาหรือหมดไป ชุมชนท้องถิน่ ทัง้ หมด ไม่วา่ ใครก็สามารถทำ�หน้าทีน่ ไี้ ด้ อาจ

เมื่ อ ประชาชนรวมตั ว กั น พู ด คุ ย กั น ทำ � ให้ เ กิ ด

จะเป็นภาครัฐ ท้องที่ ท้องถิน่ หรือประชาชน แต่ขอให้ค�ำ นึง

ปฏิ สั ม พั น ธ์ เกิ ด ความคุ้ น เคย การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้

ถึงประโยชน์ส่วนรวม มีจิตสาธารณะ เราถือว่านั่นคือกำ�ลัง

ถ่ายทอดแนวคิดซึง่ กันและกัน ด้วยบรรยากาศของวงเสวนา

สำ�คัญหรือเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ

อย่างไม่เป็นทางการนี้เองที่ช่วยให้เราพูดจาภาษาเดียวกัน

วิถีชุมชนของเราเป็นชุมชนเกษตรกรรม สิ่งที่จะเกิด

และร่วมกันลงมือแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้

พลังขับเคลื่อนของความเป็นพลเมืองก็คือ การร่วมมือกัน

พื้นฐานของชาวตำ�บลหนองสาหร่ายมีความเป็นเครือ

จัดการวิกฤติหรือปัญหาที่มีผลกระทบต่อชุมชน โดยเฉพาะ

ญาติ กลมเกลียวเหนียวแน่น คนในพื้นที่จะเรียกว่า ‘เหล่า’

เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ เช่น ทำ�นา แหล่งน้ำ�

เดียวกัน ทำ�ให้คุยกันง่ายขึ้น ปัญหาทางสังคมก็ลดน้อยลง


39 เดิมบทบาทของ อบต. จะมีหน้าที่

เป็ น หลั ก จะไม่ ม องแค่ ตั ว เอง เมื่ อ

และขับเคลื่อนให้เป็นพลังพร้อมๆ กัน

ในการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรใน

ลงมือทำ�กิจกรรมใดเราจะทำ�ในสิ่งใด

เปรี ย บได้ กั บ ดอกไม้ ที่ มี ห ลาก

ชุ ม ช น ที่ มี อ ยู่ อ ย่ า ง จำ � กั ด ใ ห้ เ กิ ด

ทีช่ มุ ชนได้รบั ประโยชน์สงู สุด ชุมชนจะ

สี ต่างพันธุ์ ต่างถิ่นกำ�เนิด แต่ถ้าคน

ประโยชน์สูงสุด แต่ในภาคปฏิบัติมัก

กลายเป็นตัวตั้งของทุกกิจกรรม ทำ�ให้

รู้จักเอามาร้อยรวมกันก็จะกลายเป็น

จะต้องเป็นไปตามกรอบทีท่ างราชการ

เรามองเห็นเป้าหมายร่วมกัน

มาลัยที่สวยงาม เช่นเดียวกัน ชุมชน

กำ � หนด ทำ � ให้ ข าดอิ ส ระ หากไม่ มี

จุ ด แ ข็ ง ข อ ง ห น อ ง ส า ห ร่ า ย

ท้องถิ่นของเรา 4 องค์กรหลักที่ว่านั้น

หนังสือสั่งการ ไม่มีระเบียบลงมา ก็

ประกอบไปด้วย 4 องค์กรหลักในพืน้ ที่

เราจะร้อยเรียงกันอย่างไรให้เป็นเนื้อ

ทำ�ไม่ได้ เมื่อถูกตีกรอบเช่นนี้แล้วเรา

ของเรา หนึ่ง-ท้องที่ คือ กำ�นัน ผู้ใหญ่

เดียวกันได้ ซึ่งชาวหนองสาหร่ายได้

ก็ เ หมื อ นบอนไซที่ ไ ม่ รู้ จั ก โต กลาย

บ้ า น เป็ น ผู้ นำ � ที่ ผ่ า นกระบวนการ

ลงมือทำ�ให้เห็นแล้ว

เป็นต้นไม้แคระแกร็นอยู่ในกระถาง

อาสาเพื่อมาทำ�งานรับใช้ชุมชน สอง-

ทุกคนที่เข้ามามีส่วนร่วมกับเรา

หลังจากที่เราใช้หลักการบริหาร

ท้องถิ่น อบต. ทั้งฝ่ายบริหารและสภา

จะเกิดความรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ

จั ด การท้ อ งถิ่ น แบบมี ส่ ว นร่ ว มและ

สาม-ภาครัฐ เรามี ค รู มี ห มอ มี โรง-

มีความรักในชุมชนท้องถิ่น เมื่อได้เข้า

หลักธรรมาภิบาล เรามีการกระจาย

พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล (รพ.

มาทำ�งานร่วมกัน ทุกคนยิ้มได้ ทุกคน

อำ � นาจ มี ป ระชาคมหมู่ บ้ า น มี ก าร

สต.) เกษตรตำ � บล พั ฒนากรตำ � บล

เป็นสุข

ทำ � แผนจากล่ า งสู่ บ น โดยให้ ชุ ม ชน

ปศุสตั ว์ต�ำ บล ซึง่ เป็นหน่วยงานภาครัฐ

วันนี้ทุกคนสวมเสื้อโลโก้หนอง

เข้ามามีส่วนร่วมในหลายภารกิจ เมื่อ

ในพื้ น ที่ ข องเรา และสี่ - ประชาชน

สาหร่ า ยด้ ว ยความภู มิ ใ จ เพราะ

เป็นเช่นนี้แล้วเราก็เหมือนได้ออกจาก

รวมทั้ ง เอกชนในพื้ น ที่ ไม่ ว่ า จะเป็ น

เรามองเห็ น พั ฒ นาการและความ

กระถางและเติบโตอย่างอิสระ

ผู้ประกอบการ โรงสี โรงงาน เราจะ

เปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ที่ สำ � คั ญ คื อ

ผลจากการทำ � งานลั ก ษณะนี้

มีการพบปะพูดคุยกันในลักษณะของ

ทุกคนมีสว่ นร่วม สามารถยกระดับจาก

ทำ�ให้เราพบว่าสามารถเติบโตได้เร็ว

เวที ส าธารณะต่ า งๆ อย่ า งไม่ เ ป็ น

การเป็นประชาชนขึ้นมาเป็นพลเมือง

ขึ้ น มี พ ลั ง มากขึ้ น เพราะรากของ

ทางการเป็นประจำ�ทุกเดือน

แม้ อ าจจะยั ง ไม่ 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์

เราไม่ ถู ก จำ � กั ด พื้ น ที่ อ ยู่ ใ นกระถาง

เมื่ อ ได้ พู ด คุ ย กั น บ่ อ ยๆ ทำ � ให้

แต่เราก็จะต่อยอดและขับเคลื่อนไป

เราสามารถชอนไชหาอาหารได้เ ต็ม

เกิ ด ความคุ้ น เคย ทุ ก คนได้ มี โ อกาส

เรื่ อ ยๆ เพื่ อ จะยื น ให้ ไ ด้ ด้ ว ยตั ว เอง

ที่ อบต.หนองสาหร่ า ย จึ ง ถื อ คติ ว่ า

แสดงความคิ ด เห็ น แลกเปลี่ ย นกั น

และท้ายทีส่ ดุ สิง่ นีจ้ ะนำ�ไปสูก่ ารปฏิรปู

อำ�นาจเป็นของชุมชน

จากนั้ น เป้ า หมายก็ จ ะเด่ น ชั ด ขึ้ น มา

ประเทศไทยที่แท้จริง ผมว่าเราเดินมา

ถ้าทุกคนมีหวั ใจอาสาเหมือนกัน

เราจะไม่ทำ�งานแบบแยกส่วน แต่จะ

ถูกทางแล้ว

แล้วก็จะมองเห็นประโยชน์ของชุมชน

บูรณาการทุกงานให้เป็นเรื่องเดียวกัน


40

ธรรมศักดิ์ ฤทธิ์แดง

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลหลักเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดราชบุรี

ในอดีตนั้นคำ�ว่า ‘ประชาชน’ เป็นคำ�พื้นๆ ทั่วไปที่เรา ได้ยินได้ฟังกัน แต่ ณ วันนี้เรามีคำ�ว่า ‘พลเมือง’ ซึ่งหมายถึง การที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและมีจิตสำ�นึกต่อส่วนรวม ถ้าเราทำ�ให้ประชาชนทุกคนมีจิตสำ�นึก มีจิตศรัทธา ยินดีที่จะ ช่วยเหลือสังคมโดยไม่มีค่าตอบแทน สิ่งนี้จะทำ�ให้เกิดพลังพลเมืองขึ้นมาได้ ขั้นแรกของกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมที่เราทำ�คือ การให้ความรู้กับ ประชาชน ทั้งในเรื่องข้อมูลข่าวสารต่างๆ รวมถึงงานของเทศบาลที่ประชาชน ส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าเป็นเรื่องที่ทำ�อะไรได้ง่ายๆ แต่บางครั้งด้วยหลักของการใช้ งบประมาณต่างๆ อาจมีระเบียบขั้นตอนอยู่มาก ทำ�ให้ไม่สามารถตอบสนอง ประชาชนได้ในทันที เราได้ให้ความรู้กับชุมชนว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องมีการทำ� แผนพัฒนา 3 ปี ต้องดูแลจัดสรรเรื่องงบประมาณ เรื่องเทศบัญญัติ มีขั้นมีตอน อย่างไร ก่อนจะนำ�งบออกมาใช้ เพื่อให้ประชาชนเกิดความเข้าใจ


41

ในอดีตนั้นคำ�ว่า ‘ประชาชน’ เป็นคำ�พื้นๆ ทั่วไปที่เราได้ยินได้ฟังกัน แต่ ณ วันนี้เรามีคำ�ว่า ‘พลเมือง’ ซึ่งหมายถึงการที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและมีจิตสำ�นึกต่อส่วนรวม ถ้าเราทำ�ให้ประชาชนทุกคน มีจิตสำ�นึก ยินดีที่จะช่วยเหลือสังคมโดยไม่หวังค่าตอบแทน สิ่งนี้จะทำ�ให้เกิดพลังพลเมืองขึ้นมาได้

ขั้นต่อไป เมื่อให้ความรู้แล้วเรา

รู้ ใ นสิ่ ง ที่ เ ขาอยากจะทำ � เขาก็ จ ะมี

มีปญ ั หาเช่นกัน บางคนพร้อมทีจ่ ะช่วย

ก็ทดลองว่า ถ้าเทศบาลจะอุดหนุนให้

ความพร้อม และถ้าคนทั้งชุมชนเห็น

บางคนพร้ อ มที่ จ ะทำ � บางคนก็ เ สี ย

ชุมชนละ 30,000 บาท แต่ขอให้ไป

ด้วย ทุกสิ่งทุกอย่างก็จะง่าย ลดความ

สละ แต่ก็มีบางคนที่ไม่ทำ�งาน หรือ

ร่วมกันคิดมาว่าอยากจะทำ�โครงการ

ขัดแย้งต่อกัน

กระทั่ ง คนที่ อ อกมาวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์

อะไร แล้ ว เสนอมายั ง เทศบาล

ลั ก ษณะพื้ น ฐานของตำ � บล

ก็ยังมีส่วนช่วย เพราะอย่างน้อยเขา

เทศบาลจะอุดหนุนเงินลงไปให้ เมื่อ

หลักเมือง เป็นชุมชนชนบทผสมกับ

ก็ ทำ � ให้ เ ราได้ รู้ ว่ า สิ่ ง ทำ � ไปอาจจะ

ให้ประชาชนลองคิดเอง ทำ�เอง นั่น

ชุ ม ชนเมื อ ง วิ ธี ก ารทำ � งานในแต่ ล ะ

ยั ง ไม่ ส มบู ร ณ์ ทำ � ให้ เ ราได้ ป รั บ ปรุ ง

ก็คือการเปิดโอกาสให้เขามีส่วนร่วม

ชุมชนจึงมีความแตกต่างกัน แน่นอนว่า

การทำ�งานให้เป็นไปในทิศทางที่คน

และมีโอกาสที่จะทำ�สิ่งต่างๆ ที่ชุมชน

ชุมชนในเมืองอาจจะให้ความร่วมมือ

ส่วนใหญ่ยอมรับ

เขาต้องการจริงๆ

ไม่มากเท่าที่ควร แต่สำ�หรับชุมชนที่

ก้ า ว ต่ อ ไ ป ข อ ง เ ร า ม อ ง ไ ป

กุญแจแห่งความสำ�เร็จคือ การ

อยู่รอบนอกเมื่อเราชักชวนเขามาร่วม

ถึ ง ประเด็ น ที่ ว่ า ทำ � อย่ า งไรจะให้

ทำ�ให้ประชาชนได้รู้จักคิด ทดลองทำ�

กิจกรรมกับทางเทศบาล เขาก็พร้อม

ประชาชนอยู่ ดี มี สุ ข เรามองไปที่

มีส่วนร่วม หากเทศบาลเห็นว่าสิ่งไหน

ที่จะมา ผมเห็นว่าตรงจุดนี้เราต้องให้

การส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง พื้ น ที่

ทำ�แล้วดีก็จะสนับสนุนส่งเสริม

ความสำ�คัญในรายละเอียด เพื่อที่จะ

หลักเมืองมีลักษณะเด่นคือ กิจกรรม

แยกแยะและสนองความต้องการของ

ไหว้พระ 9 วัด เมื่อเราสนับสนุนให้มี

คนในชุมชนให้ได้มากที่สุด

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมก็สามารถ

ที่ ผ่ า นมาเราพยายามลงไปใน ชุมชน เมือ่ จะจัดโครงการหรือกิจกรรม ใด เทศบาลจะเป็นฝ่ายให้ข้อมูลและ

อุปสรรคเป็นเรื่องธรรมดาของ

ชักชวนให้ชาวบ้านมาร่วมไม้ร่วมมือ

การทำ�งาน แม้กระทั่งคณะกรรมการ

มาปรึกษาหารือกัน เมื่อเราให้ความ

ประจำ�ชุมชน ชุมชนละ 10-12 คน ก็

ดึงดูดคนเข้ามาในพื้นที่ได้ และคนใน ชุมชนก็จะได้รับประโยชน์ร่วมกัน


42

เรณู เล็กนิมิต

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบางคนที อำ�เภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

พลังพลเมืองคือส่วนสำ�คัญต่อการพัฒนาประเทศชาติ แต่ก่อนจะไปถึงภาพใหญ่เช่นนั้น พลังท้องถิ่น ต้องเกิดขึ้นก่อน ผู้บริหารต้องไม่กลัวว่าประชาชน จะฉลาด เราต้องให้เขาฉลาด เพราะถ้าคนมีคุณภาพ ความยั่งยืนจะเกิดแก่พื้นที่เอง

ต่อกัน เวลามาช่วยกันทำ�งานจะลงแรงลงเงินคนละเล็ก คนละน้อย แบ่งกันกินแบ่งกันใช้ พื้นที่ส่วนใหญ่ยังเป็นสวน มะพร้าว ตัง้ รกรากกันใกล้น�้ำ ยังคงมีความเป็นวิถดี งั้ เดิมอยู่ พลั ง พลเมื อ งต้ อ งเกิ ด จากการมี ส่ ว นร่ ว มของ ประชาชน ผ่านการตระหนักรู้ รัก หวงแหนสิ่งที่ตัวเองเป็น เจ้าของ และถ้าจะสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง จำ�เป็นต้องมีความ เข้าใจกันระหว่างท้องที่ ประชาชน ทุกภาคส่วนเข้ามาเพื่อ ขับเคลื่อนไปสู่ความสำ�เร็จที่ได้ร่วมกันตั้งเป้าหมายไว้ การขั บ เคลื่ อ นพลั ง พลเมื อ งของตำ � บลบางคนที ใ น เวลานี้ หลักสำ�คัญมาจากจิตอาสา ซึ่งจิตอาสานี้เกิดขึ้นเอง มีอยู่ในชุมชนมานานแล้ว ก่อนที่ผู้บริหารชุดปัจจุบันจะเข้า มา เรียกว่ามีของดีอยู่แล้ว คนที่นี่พื้นฐานมีน้ำ�ใจเอื้อเฟื้อ

กิจกรรมที่โดดเด่นก็มีเรื่องของการลงแขกลงคลอง ซึ่งจิตอาสาทำ�กันมานานแล้ว ตอนที่ผู้บริหารชุดนี้เข้ามาก็ จัดการต่อยอด ทำ�กันเดือนละครั้ง เวียนหมู่บ้านกันไป คน จากทุกหมู่บ้านมาช่วยกัน เสร็จแล้วก็ทำ�กับข้าวเลี้ยงกัน ซึ่ง ตรงนีช้ ว่ ยสร้างความสัมพันธ์ของคนในชุมชนได้ดี เมือ่ มีงาน อะไร เราก็ได้รับอานิสงส์จากส่วนนี้ รวมพลง่าย ทุกคนมีใจ มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ที่ สำ � คั ญ ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ รื่ อ งลงแขกลงคลองเท่ า นั้ น ยั ง มี กิจกรรมซ่อมบ้านให้ผยู้ ากไร้ โดยเรามีวสั ดุอปุ กรณ์ ชาวบ้าน ที่ มี ใ จอาสาเข้ า ไปซ่ อ มให้ โ ดยไม่ คิ ด ค่ า แรง งานบุ ญ


43 งานกุ ศ ลคนที่ นี่ ก็ ล งแรงลงเงิ น เสมอ

ศักดิ์ศรีเป็นเรื่องสำ�คัญ เพราะตอนนี้

โครงสร้างในพื้นที่ เช่น ประเด็นเรื่อง

ช่วยกันคนละนิดละหน่อย ซึ่งพื้นฐาน

พืน้ ทีม่ อี �ำ นาจทุนเข้ามา จึงจำ�เป็นต้อง

เด็ก ผู้สูงอายุ สุขภาพ ทุกคนสามารถ

เรื่ อ งความมี น้ำ � ใจแก่ กั น ตลอดจน

เสริมสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้น

เข้ามาร่วมพูดคุยและบอกกับเรา เพื่อ

การดูแลชีวิตความเป็นอยู่พื้นฐานของ

เราเชื่อว่า พลังพลเมืองจะเป็น

หาทางออกร่วมกันในทุกหมู่บ้าน ทุก

ประชาชนให้ดี ล้วนเป็นรากฐานสำ�คัญ

ส่วนสำ�คัญต่อการพัฒนาประเทศชาติ

เวทีที่เราจัดขึ้นก็เพื่อต้องการความคิด

ต่อการพัฒนาพลังพลเมือง

แต่ ก่ อ นจะไปถึ ง ภาพใหญ่ ข นาดนั้ น

ของประชาชน ให้เขาจัดลำ�ดับความ

จุดแข็งของที่นี่ นอกจากความ

พลังท้องถิ่นต้องเกิดขึ้นก่อน ผ่านการ

สำ � คั ญ เอง เป็ น ผู้ กำ � หนด เรี ย กร้ อ ง

เอื้ อ เฟื้ อ เผื่ อ แผ่ ยั ง มี เ รื่ อ งของความ

ให้ ค วามรู้ ตระหนั ก รู้ ผู้ บ ริ ห ารต้ อ ง

สิทธิของตัวเอง เราเป็นสื่อกลางที่รับ

ร่ ว มมื อจากท้ อ งที่ ท้อ งถิ่น ที่สามารถ

ไม่กลัวว่าประชาชนจะฉลาด เราต้อง

ข้ อ เสนอที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบไป

เข้ า ถึ ง ประชาชนผ่ า นการลงพื้ น ที่

ให้เขาฉลาด เพราะถ้าคนมีคุณภาพ

ดำ � เนิ น การ ซึ่ ง หลายเรื่ อ งเขาก็ ต้ อ ง

พู ด คุ ย จึ ง มี ค วามเข้ า ใจและมี ค วาม

ความยั่งยืนจะเกิดแก่พื้นที่เอง ฉะนั้น

มาช่ ว ยเราอี ก นี่ คื อ สิ่ ง ที่ ทำ � ให้ พ ลั ง

สัมพันธ์ที่ดีกับคนในชุมชนเสมอมา

ทำ�อย่างไรให้เขาสามารถเอาตัวรอด

พลเมืองเกิดขึ้น

น่ า เสี ย ดายที่ เ ราทำ � งานเยอะ ประชาชนเองก็ลงแรงให้เยอะ แต่สิ่งที่

บนวิ ถี ท างที่ ถู ก ควร สอดรั บ กั บ โลก ทุนนิยมที่คุกคามพื้นที่เช่นทุกวันนี้

นอกจากนี้ เรายั ง เข้ า ร่ ว มกั บ เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

เราบอกออกไปข้างนอกนั้นน้อยมาก

ทุ ก วั น นี้ เ ราพยายามยื น ด้ ว ย

ในการพัฒนาขับเคลื่อนตำ�บลท้องถิ่น

เมื่ อ เที ย บกั บ สิ่ ง ที่ เ ราทำ� และมีเ รื่อ ง

ตัวเอง การกระจายอำ�นาจอย่างเต็ม

น่าอยู่ โดยเวลานีเ้ ราได้องค์ความรูแ้ ละ

ของการพัฒนาตัวเอง ด้วยพื้นฐานที่

รูปแบบนั้น เราคงยังไม่หวังถึง เพราะ

สามารถพัฒนาบุคลากร จากชาวบ้าน

เป็นชุมชนชนบท อยู่อย่างเรียบง่ายมา

ที่ผ่านมากระจาย แต่เป็นการกระจาย

ธรรมดาขึน้ เป็นวิทยากรมากถึง 60 คน

เสมอ หลายๆ ครั้งเขาจะรอผู้บริหาร

ที่ไม่จริงใจเท่าไร รัฐยังมีการแทรกแซง

ทัง้ ยังสร้างอาชีพในพืน้ ทีใ่ ห้เกิดขึน้ ทำ�ให้

มาตอบความต้ อ งการ รอนโยบาย

ทั้งในเรื่องงบประมาณและการจัดการ

เขาไม่ต้องออกไปข้างนอก และเมื่อมี

ประชานิยมจากรัฐบาล เราจำ�เป็นต้อง

เหมื อ นเขายั ง หวงอำ � นาจตรงนี้ อ ยู่

คนมาดูงาน ความที่ชุมชนเรามีความ

ปรับเปลี่ยนทัศนคติในจุดนี้ใหม่ ด้วย

ฉะนั้น เราคิดเพียงแค่ทำ�อย่างไรให้

เอื้อเฟื้อ มีนำ้�ใจ มีความเป็นเจ้าบ้าน

การให้ความรู้ เสริมทักษะ เพื่อให้เขา

ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมจัดการ

ที่ดี ทำ�ให้ทุกคนไม่ลังเลที่จะออกมา

สามารถพึ่งพาตัวเองได้ และปลูกฝัง

ท้องถิ่นตัวเองผ่านทุนและศักยภาพที่

ต้อนรับ ช่วยงานกันทัง้ เด็ก ผูส้ งู อายุ คน

เรื่ อ งความรั ก ความภู มิ ใ จที่ มี ต่ อ

เรามีและสามารถจัดสรรได้

วัยทำ�งาน ต่างเข้ามาลงแรง ซึง่ เรามองว่า

ท้องถิ่น ซึ่งโดยส่วนตัวเวลานี้ คิดว่า

ทุกวันนี้ เราทำ�ประชาคมเพื่อให้

น้ำ� ใจแบบสั ง คมชนบทพื้น บ้ า นเรานี่

เรื่องความรักความภูมิใจนี้ ตลอดจน

ประชาชนเสนอประเด็นต่อการจัดการ

แหละทีส่ ร้างพลังพลเมืองของบางคนที


44

ธีรศักดิ์ พานิชวิทย์

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหม้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี

ประเทศไทยเป็นประชาธิปไตย หลักสำ�คัญคือประชาชน เป็นผู้มีอำ�นาจโดยแท้จริง และต้องตระหนักถึง ความเป็นเจ้าของ แต่ที่ผ่านมาประชาชนมักคิดว่า รัฐเป็นผู้มีอำ�นาจมาโดยตลอด ทั้งที่ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม เหล่านี้ล้วนเป็นของพวกเขา

สิง่ แรกทีต่ อ้ งเข้าใจก่อนคือประเทศไทยเป็นประชาธิปไตย หลักสำ�คัญคือประชาชนเป็นผู้มีอำ�นาจโดยแท้จริง ดังนั้นนิยาม ของพลั ง พลเมื อ งคื อ ประชาชนต้ อ งตระหนั ก ถึ ง ความเป็ น เจ้าของ และต้องแสดงพลังของความเป็นเจ้าของนั้น เพราะที่ผ่านมาประชาชน เชื่อว่ารัฐเป็น ผู้มีอำ�นาจมาโดยตลอด ทั้งที่ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม เหล่านี้ล้วนเป็นของพวกเขา แต่ด้วยระบบความเชื่อที่ว่ารัฐเป็น ผู้มีอำ�นาจ ก็ทำ�ให้เราขาดการดูแลใส่ใจ และยึดติดกับสภาพเดิมๆ เสมอมา ท้องถิ่นก็เช่นกัน วันนี้ตำ�บลบ้านหม้อได้เสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในหลายมิติ ด้วยกัน โดยพยายามวางแนวคิดและปลูกฝังข้อมูลลงไปว่า อบต.บ้านหม้อ เป็น ของประชาชนทุกคน ให้มองเราเป็นเสมือนเครื่องมือตัวหนึ่งที่คุณจะใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อชีวิตความเป็นอยู่ เพราะเราย้ำ�เสมอว่า ชาวบ้านคือเจ้าของ อบต. ที่แท้จริง


45 มาว่ากันที่มิติแรก เราพยายาม

ในเรื่องของคน ตำ�บลบ้านหม้อเป็น

สร้างการมีส่วนร่วมโดยยึดหลักคิดว่า

ตำ�บลที่มีความเป็นเมืองสูง หลายคน

ในส่ ว นของการทำ � งานร่ ว มกั บ

ตั ว แทนไม่ ค วรคิ ด แทน ดังนั้น เราจึง

ยั ง ติ ด กั บ ภาพที่ อบต. เป็ น หน่ ว ย

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่

ลงไปฟังความคิดเห็นของประชาชน

บริการที่ต้องตอบสนองความต้องการ

นั้ น ก็ เ ข้ า มาหนุ น เสริ ม เพราะเป็ น

ผ่านโครงการ ‘หนึ่งเย็นหนึ่งซอย’ ซึ่ง

ผ่ า นการหยิ บ ยื่ น ให้ โ ดยอั ต โนมั ติ มี

อาหารสมองให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร ให้ กั บ

เป็นการพบปะที่ไม่เป็นทางการ ว่าง

ความเชื่ อ ว่ า จะต้ อ งได้ สิ่ ง นั้ น สิ่ ง นี้

ประชาชน จากเดิมที่เราเห็นในชุมชน

เมื่อไรก็พูดคุยกับชาวบ้านให้มากที่สุด

อันนี้เราจึงพยายามสร้างความรู้เรื่อง

ของเรา เราได้เห็นมากขึน้ ทำ�ให้ความรู้

เก็ บ ข้ อ มู ล ปั ญ หา แนวทางความ

การปกครองท้องถิ่นอย่างที่ได้กล่าว

ไม่หยุดนิ่ง ชาวบ้านเองก็มีองค์ความรู้

ต้องการมาจัดทำ�เป็นข้อบัญญัติ

มาแล้ว

เพิ่มขึ้น

ทำ�งานด้วยกันอย่างสอดคล้อง

ส่วนมิตทิ สี่ องคือ การสร้างความ

เราเชื่อว่าพลังพลเมืองสามารถ

เราทำ � งานมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

เข้าใจ ทำ�อย่างไรที่จะให้เขารู้ว่าเขา

เปลี่ยนท้องถิ่นได้และเปลี่ยนประเทศ

ยาวนาน ภาพฝันทั้งหลายนั้นมี แต่

เป็นเจ้าของ และเขามีหน้าทีท่ มี่ ากกว่า

ได้ด้วย เพราะคนถือเป็นฐานและเป็น

สิ่ ง ที่ ย ากคื อ การเปลี่ ย นทั ศ นคติ ข อง

การไปเลือกตั้ง ดังนั้นเราจึงเน้นไปที่

ทุนของประเทศ ถ้าคนรู้จักรับรู้ข้อมูล

ประชาชนต่ อ โครงสร้ า งของระบบ

การสร้างองค์ความรู้เรื่องการปกครอง

ข่าวสาร สามารถตกผลึกเป็นแนวคิด

อุปถัมภ์ โครงสร้างการบริหารประเทศ

ท้องถิ่น ทั้งเรื่องระเบียบการบริหาร

ผ่านกระบวนการของเหตุผล ตลอดจน

จะทำ�อย่างไรให้ประชาชนขึ้นมาเป็น

ราชการท้องถิ่น งบประมาณ ไปจนถึง

รู้ ห น้ า ที่ ข องตั ว เอง แต่ วั น นี้ พ ลั ง

ผู้นำ�ตนเอง เพราะนั่นคือสัญลักษณ์

เรื่องการตรวจสอบ

พลเมืองยังอ่อนอยู่ เพราะยังใช้สิทธิ

ของพลังพลเมืองอย่างหนึ่ง ดังนั้นเรา

ตำ � บลบ้ า นหม้ อ มี จุ ด แข็ ง ตรงที่

เหนื อ ความเป็ น หน้ า ที่ คื อ รั บ รู้ สิ ท ธิ

จำ� เป็นต้องร่วมสร้างจิตสำ�นึกใหม่ ให้

เราเป็ น องค์ ก รที่ นำ � ประชาชนเป็ น

แต่ไม่ทำ�หน้าที่ โครงสร้างแบบนี้เองที่

เขารู้หน้าที่ ควบคู่ไปกับสิทธิ มีการ

ตั ว ตั้ ง เปิ ด โอกาสให้ กั บ ประชาชน

ยังทำ�ให้พลเมืองยังไม่มีพลังเท่าที่ควร

กำ �หนดเป้ า หมาย เพราะความตื่ นรู้

อย่างเต็มทีใ่ นการเข้ามาร่วมขับเคลือ่ น

หากประเมินอย่างเป็นกลางใน

ตรงนี้จะนำ�ความยั่งยืนมาสู่พื้นที่เรา

ตำ�บล ผ่านการให้ความรู้ ผ่านการสร้าง

วันนี้ บ้านหม้อได้รับความร่วมมือราว

ประชาชนของเราให้เป็นคนที่เท่าทัน

65 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ตลอดระยะเวลาที่

เราไม่เคยกลัวทีป่ ระชาชนฉลาด เพราะ

ผูบ้ ริหารชุดนีท้ �ำ งานมา 16 ปี เราค่อน

การที่ ป ระชาชนฉลาดนั้ น หมายถึ ง

ข้ า งพอใจ เพราะไม่ ง่ า ยเลยกว่ า จะ

ว่าเราสามารถทำ�งานได้ดีขึ้น

เปลี่ยน กว่าจะถ่ายทอดความรู้ให้เขา

ขณะเดียวกัน เราก็ยังมีจุดอ่อน

เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ให้สทิ ธิและหน้าที่

ด้วย


46

สุภาภร จิราณิชชกุล

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านหม้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ่

การเป็นพลเมือง คือการที่เราต้องรู้บทบาทหน้าที่ของ ตนเอง ในพื้นที่ของเรานั้น เราจะมีหน้าที่อย่างไรบ้าง พื้นที่เรา มีกฎกติกาอย่างไร เราก็ต้องมาร่วมกันสร้าง ร่วมกันทำ� ส่วนใหญ่กระบวนการมีส่วนร่วมในพื้นที่บ้านหม้อ เราจะ เน้นการพูดคุยกันเป็นกลุม่ ย่อย เนือ่ งจากพืน้ ทีข่ องตำ�บลบ้านหม้อทัง้ 6 หมู่ เป็น พืน้ ทีเ่ มืองกึง่ ชนบท โดยหมู่ 1-3 จะยังเป็นพืน้ ทีช่ นบทค่อนข้างมาก ส่วนหมู่ 4-6 จะเป็นชุมชนเมือง 100 เปอร์เซ็นต์ การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ถ้าเป็นพื้นที่ชุมชนเมืองอาจจะได้รับความ ร่วมมือไม่มากนัก ฉะนั้นในการทำ�งานเราจึงต้องเข้าถึงพื้นที่จริงๆ ด้วยการลง ไปสัมผัสตามซอยย่อยๆ ไปเคาะประตูบ้าน จึงจะได้รับความร่วมมือจากชุมชน มากขึ้น การมีส่วนร่ ว มของชาวบ้ า นถื อเป็ นสิ่ ง สำ �คั ญ อั นดั บ ต้ นๆ ของหลั ก การ กระจายอำ�นาจ เรามีข้อสังเกตอยู่ว่าบ่อยครั้งที่มีการนัดประชุมกับชาวบ้าน


47

การเป็นพลเมือง คือการที่เราต้องรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง ในพื้นที่ของเรานั้นจะมีกฎ กติกาอย่างไร เราก็ต้องมาร่วมกันสร้าง ร่วมกันทำ� ซึ่งการมีส่วนร่วมของชาวบ้าน ถือเป็นสิ่งสำ�คัญอันดับต้นๆ ของหลักการกระจายอำ�นาจ

อย่างเป็นทางการ ชาวบ้านมักจะไม่

จะส่ ง ผลดี ต่ อ พื้ น ที่ แ ละคนในชุ ม ชน

บ้ า นหม้ อ ถื อ ว่ า ชุ ม ชนของเราอยู่ ใ น

ค่ อ ยกล้ า แสดงความคิ ด เห็ น ขณะที่

อย่างไร เขาก็จะให้ความร่วมมือกับเรา

เกณฑ์ที่ดี มีความพร้อมที่จะพัฒนา

เวลาเราจั ด กิ จ กรรมเปิ ด พื้ น ที่ ดู จ ะ

เพิ่มมากขึ้น ปัญหาใดที่เขาสามารถ

มี จิ ต อาสาที่ อ ยากทำ � ประโยชน์ เ พื่ อ

เป็นช่องทางที่ทำ�ให้เขาสามารถพูดคุย

จะจั ด การกั น เองได้ ก็ ใ ห้ เ ขาช่ ว ยกั น

ส่วนรวม

สื่ อ สารกั บ เราได้ ม ากกว่ า ทำ � ให้ ไ ด้

กำ�หนดแนวทางแก้ไข ออกแบบกติกา

จากการที่ อบต. ได้เข้าไปคลุกคลี

ฟังเสียงสะท้อนและความต้องการที่

กันเอง โดย อบต. จะเป็น ฝ่ายหนุน

ใกล้ ชิ ด กั บ ชุ ม ชน ผลตอบรั บ จาก

แท้จริงของประชาชน

เสริม แต่หากเรื่องไหนที่เกินกำ�ลังที่

ชาวบ้านก็คือ เขาเริ่มกล้าที่จะเดินเข้า

ชาวบ้านจะจัดการได้ อบต. ก็จะเข้าไป

มาหา อบต. กล้าที่จะเสนอความเห็น

ช่วยกระตุ้นหรือเริ่มต้นให้เขาก่อน

กล้าทีจ่ ะอาสา จากทีเ่ มือ่ ก่อนชาวบ้าน

จากการพู ด คุ ย กั บ ชาวบ้ า น ทำ�ให้เราพบว่าสภาพปัญหาในแต่ละ พื้นที่ไม่เหมือนกัน เราจึงต้องทำ�ความ

ในบางพื้ น ที่ ที่ ป ระชาชนมี ก าร

ไม่ มี ค วามคุ้ น เคยกั บ อบต. แต่

เข้าใจในเบื้องต้นกับเขา ให้เขาได้รับรู้

รวมตั ว กั น และสามารถทำ � กิ จ กรรม

ณ ปัจจุบันเริ่มเกิดความเปลี่ยนแปลง

สภาพปัญหาของตนเอง เมื่อเขาเห็น

ร่ ว มกั น ได้ อ ยู่ แ ล้ ว อบต. ก็ เ พี ย งแค่

ในทิศทางที่ดีขึ้น

ว่าปัญหาหรือการมีส่วนร่วมของเขา

หนุนเสริม ซึ่งในภาพรวมของตำ�บล


48

เกรียงไกร ทวีกาญจน์

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลหนองพลับ อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

การขับเคลื่อนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นความหวัง ทีส่ �ำ คัญมาก เพราะพลังการมีสว่ นร่วมจะทำ�ให้เราสามารถช่วย กันแก้ปัญหาในชุมชน ช่วยกันนำ�เสนอแผนพัฒนาชุมชน และ นำ�ไปสู่การจัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการมีส่วนร่วมของเทศบาลตำ�บลหนองพลับ หรือเรียกภาษา ชาวบ้านว่า ‘สภาผู้นำ�’ ได้รับการจดแจ้งเป็นสภาองค์กรชุมชนอย่างเป็นทางการ โดยสภาผู้นำ�ของเราได้มาจากคนในชุมชนทั้ง 7 แห่ง ซึ่งแต่ละชุมชนจะคัดเลือก ตัวแทนเข้ามาแห่งละ 5 คน ผลพวงของการดำ�เนินการเรื่องการมีส่วนร่วมของชุมชนคือ ‘สมาชิกสภา ผู้นำ�’ เกินครึ่งหนึ่งเป็นคนที่ไม่ได้ลงคะแนนให้ผม แต่นั่นไม่ใช่ปัญหา เพราะคติ ในการทำ � งานของผมคื อ เมื่ อ ได้ รั บ เลื อ กเข้ า มาแล้ ว ผมมี ห น้ า ที่ ดู แ ลทุ ก คน ปรากฏว่า คนที่ไม่เคยคุยกัน เจอหน้าก็ไม่พูดไม่จา เลือกตั้งทีไรก็อยู่คนละข้าง แต่ ณ วันนี้ คนกลุม่ นีก้ ลับเข้ามาช่วยเหลือดูแลชุมชนมากขึน้ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นคน ไฟแรง กล้าพูด กล้าคัดค้าน นี่ถือเป็นเรื่องที่ดีมาก เพราะถ้าเขานั่งวิจารณ์อยู่กับ


49

อย่าคิดว่าทุกคนต้องรักนายกฯ ไม่จำ�เป็นเลย เพราะนายกฯ ไม่ได้อยู่ยงคงกระพัน ฉะนั้น ไม่ว่าใครก็ตาม ที่มานั่งเก้าอี้ผู้บริหารจะต้องรับเอาโครงสร้างที่เราทำ�กันมาขับเคลื่อนต่อไป เพราะเราทุกคน เป็นเจ้าของชุมชน ผู้บริหารก็มีหน้าที่ต้องทำ�ประโยชน์เพื่อส่วนรวม

บ้านมันก็ไม่เกิดประโยชน์ แต่เมื่อเขา

ทัศนคติให้เขามาร่วมพัฒนาชุมชนไป

ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมอะไรก็ตาม

เข้ามาแสดงความคิดเห็น ทำ�ให้เราเริม่

ในแนวทางเดียวกันได้โดยไม่เลือกฝ่าย

เมื่อได้รับการเสนอเข้าไปในสภาผู้นำ�

รู้ข้อมูลว่าคนในชุมชนคิดและต้องการ

เมื่ อ มี โ อกาสได้ พู ด คุ ย กั น ผม

ก็จะมีตัวแทนนำ�ข้อมูลต่างๆ จากที่

จะบอกสมาชิกในชุมชนเสมอว่า เวที

ประชุมออกไปขับเคลื่อนต่อในชุมชน

อย่าคิดว่าทุกคนต้องรักนายกฯ

สภาผู้นำ�ไม่ใช่เวทีธรรมดาๆ ที่เราคุย

ขณะเดียวกันก็นำ�ข้อมูลความต้องการ

ไม่จ�ำ เป็นเลย เพราะนายกฯ ไม่ได้อยูย่ ง

กั น แต่ มั น เป็ น โรงเรี ย นที่ จ ะช่ ว ยให้

ความเดื อ ดร้ อ น สะท้ อ นกลั บ มายั ง

คงกระพั น ฉะนั้ น ไม่ ว่ า จะเป็ น ใคร

เราได้ฝึกฝนเรียนรู้เรื่องการเมืองการ

ทีป่ ระชุม ซึง่ ทำ�ให้เราได้ทบทวนปัญหา

ก็ตามที่มานั่งเก้าอี้ผู้บริหารก็ต้องรับ

ปกครอง การดูแลชุมชน แล้วทุกคนก็

อยู่เสมอ

เอาโครงสร้างที่เราทำ�กันมาขับเคลื่อน

เข้ามาเรียนได้โดยไม่ต้องเสียเงิน อันนี้

สิง่ หนึง่ ทีผ่ มชูเป็นประเด็นสำ�คัญ

ต่ อ ไป ผมจะพู ด เสมอว่ า เราทุ ก คน

ถือว่ามีคุณค่ามาก โดยเฉพาะเด็กและ

จากวันนั้นถึงวันนี้ ผมบอกกับทุกคน

เป็นเจ้าของชุมชน ผู้บริหารก็มีหน้าที่

เยาวชนที่เ ข้ามาประชุ ม กั บ สภาผู้ นำ�

ว่ า เทศบาลหนองพลั บ ไม่ ใ ช่ ข อง

ต้องทำ�ประโยชน์เพื่อส่วนรวม นี่คือ

เราจะพยายามเน้นย้ำ�ให้เขารู้จักคิด

ผม ไม่ ใ ช่ ข องปลั ด แต่ เ ป็ น ของทุ ก

ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั ว่า คนทีเ่ คยคิดต่าง

และเตรียมพร้อมไว้ว่า อนาคตชุมชน

คน ฉะนั้ น ต้ อ งกล่ า วย้ำ � เตื อ นเสมอ

กั บ เรา เดี๋ ย วนี้ เ ขาก็ สื่ อ สารกั บ เรา

ท้องถิ่นจะต้องอยู่ในมือเขา ตอนนี้จึง

ว่าทุกคนเป็นเจ้าของ ต้องให้เกียรติ

มากขึ้ น และเขายอมรั บว่ า เมื่ อ ก่ อ น

เป็ น โอกาสที่ เ ขาจะได้ ดู ข องจริ ง เลย

ประชาชน ให้เขาใหญ่กว่าเรา ให้คิด

เคยคิ ด อี ก อย่ า งหนึ่ ง นี่ เ ป็ น อี ก สิ่ ง

ว่า คนรุ่นนี้เขาบริหารงานกันอย่างไร

เสมอว่าทุกคนเป็นเจ้าของตัวจริง

หนึ่งที่ผมภาคภูมิใจที่สามารถเปลี่ยน

ขับเคลื่อนกันอย่างไร

การเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง


50

ฐิติพงศ์ ศักดิ์ชัยสมบูรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลท่างาม อำ�เภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

‘พลเมือง’ คือคนที่มีความรับผิดชอบ มีจิตอาสา มีความ คิดดีๆ ร่วมกัน และ ‘พลังพลเมือง’ จะนำ�มาสู่การเปลี่ยนแปลง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นได้อาจต้องเจอบทเรียนจากความ เจ็บปวด เจอวิกฤติและผลกระทบขึ้นกับชุมชนตนเอง จึงจะ ทำ�ให้เกิดความรู้สึกร่วมของชุมชนนั้นๆ และหันมาร่วมมือกันแก้ไขปัญหา การเปลี่ยนแปลงนั้นจะต้องถูกขับเคลื่อนจากคนกลุ่มน้อยที่มองเห็นถึง ปัญหาในอนาคต จากนั้นจึงลงมือทำ�จนกระทั่งได้รับการยอมรับจากคนส่วน ใหญ่ เมื่อคนในชุมชนเห็นพ้องต้องกัน เขาก็จะค่อยๆ เปลี่ยนชุมชนของเขาเอง แต่สังคมในชุมชนจะเปลี่ยนแปลงแบบรวดเร็วเกินไปไม่ได้ ไม่เช่นนั้นจะเกิดแนว ต้านขึ้นทันที สิง่ ทีจ่ ะกลายมาเป็นโอกาสของตำ�บลท่างาม เริม่ ต้นจากวิกฤติกอ่ นทัง้ สิน้ คน ท่างามต้องประสบภัยน้ำ�ท่วมซ้ำ�ซาก แต่นำ�้ ท่วมก็ช่วยให้ทุกคนหันมาร่วมมือกัน และค่อยๆ แก้ปัญหากันไป โดยชาวบ้านสามารถที่จะใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับภัยพิบัติ ทุกคนสามารถปรับตัวเข้ากับภัยธรรมชาติได้ ท้องถิ่นเองก็มีเครื่องไม้เครื่องมือ


51

จากประสบการณ์ในการทำ�งาน เรามักจะพบคนอยู่ 3 จำ�พวก พวกแรกคือ ไม่ว่าเราพูดอะไร เขาก็พร้อมจะไปกับเรา พวกที่สอง รอดูท่าทีก่อน ถ้าเห็นว่าดีก็จะไปด้วย พวกที่สามคือ คนที่คิดแย้งตลอด ซึ่งความท้าทายก็คือ ทำ�อย่างไรให้คนทั้ง 3 กลุ่ม สามารถกระโดดเข้าหากันได้

เตรี ย มรั บ มื อ ป้ อ งกั น ภั ย ไว้ ค่ อ นข้ า ง

จากประสบการณ์ในการทำ�งาน

กับข้าราชการส่วนกลางเกินไป เราจึง

เรามักจะพบคนอยู่ 3 จำ�พวก พวกแรก

จำ � ต้ อ งเริ่ ม เปลี่ ย นแปลงวิ ธี คิ ด ตั้ ง แต่

อบต.ท่ า งาม พยายามที่ จ ะ

คือ ไม่วา่ เราพูดอะไร เขาก็พร้อมจะไป

คนของท้ อ งถิ่ น เปลี่ ย นแนวคิ ด ของ

กระจายอำ � นาจลงไปสู่ ห มู่ บ้ า น ถ้ า

กับเรา พวกที่สอง รอดูท่าทีก่อน ถ้า

ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น และการนำ � เสนอ

ชาวบ้านไม่สามารถจัดการได้เอง จึง

เห็นว่าดีกจ็ ะไปด้วย พวกทีส่ ามคือ คน

นโยบายต่างๆ จะต้องสอดคล้องกับ

จะเป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน

ที่คิดแย้งตลอด ซึ่งความท้าทายก็คือ

ความต้องการของท้องถิ่น และเน้นให้

ท้องถิน่ ในการเข้าไปสนับสนุนช่วยเหลือ

ทำ�อย่างไรให้คนทั้ง 3 กลุ่ม สามารถ

คนในชุมชนรู้จักช่วยเหลือตนเอง ลด

แต่ ถ้ า ท้ อ งถิ่ น ยั ง จั ด การไม่ ไ ด้ ก็ ต้ อ ง

กระโดดเข้าหากันได้

การพึ่งพารัฐ

ครบถ้วน

เสนอขอความร่วมมือไปยังหน่วยงาน

ที่ผ่านมาเราจะทำ�ให้ทุกคนเห็น

เป้ า หมายข้ า งหน้ า ของตำ � บล

ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือภาคีเครือข่าย

ว่า สิ่งที่เราจินตนาการนั้นไม่ใช่แค่ฝัน

ท่ า งาม เรากำ � หนดทิ ศ ทางไว้ ว่ า จะ

ที่มีอำ�นาจหน้าที่ มีกำ�ลังทรัพย์ และมี

เราไม่ได้พูดแล้วทำ�ไม่ได้ แต่สามารถ

ต้องเป็นเมืองน่าอยู่ ผู้คนมีความสุข

งบประมาณ

ทำ�สำ�เร็จและทำ�ได้จริง สามารถขับ

มีความรู้รักสามัคคี มีอาหารการกิน

จุดแข็งของตำ�บลท่างาม ในส่วน

เคลื่ อ นตำ � บลไปสู่ ค วามเข้ ม แข็ ง สู่

สมบู ร ณ์ มี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต

ของผู้บริหารพวกเราค่อนข้างสามัคคี

ความยั่ง ยืนได้จริง เราต้องทำ�ให้ทุก

และทรัพย์สิน ไม่มีมลพิษ ไม่มุ่งเน้น

มีความคิดสอดคล้องเห็นไปในทิศทาง

คนเชื่อใจให้ได้ว่า เราจริงใจในการแก้

แต่เพียงความเจริญด้านวัตถุ แต่ยึด

เดี ย วกั น ยึ ด ประชาชนเป็ น ที่ ตั้ ง ไม่

ปัญหา การขับเคลื่อนงานจึงจะเดิน

ทางสายกลางในการดำ�รงชีวิต และ

ขั ด แข้ ง ขั ด ขากั น แม้ จ ะมี ค วามเห็ น

ต่อได้

ที่ สำ � คั ญ การเปลี่ ย นแปลงภายนอก

แย้งในบางเรื่อง แต่ก็สามารถทำ�งาน ร่วมกันได้ด้วยดี

อย่างไรก็ดี พื้นที่ตำ�บลท่างามก็ ยังมีอุปสรรคหลายเรื่อง เรายังยึดติด

จะต้ องสั ม พั นธ์ กั บ การเปลี่ ย นแปลง ภายใน


52

ชินวุฒิ อาศน์วิเชียร

หัวหน้าส่วนสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำ�บลท่างาม อำ�เภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

พลเมืองคือคนที่อยู่ร่วมกันในชุมชน และต้องมีส่วนร่วม คิด ร่วมทำ� เป็นภาคประชาชนโดยแท้ ซึ่งการจะสร้างพลเมือง เช่นนั้นได้ต้องเริ่มต้นจากกลไกการมีส่วนร่วม กลไกที่ว่านี้เกิดขึ้นด้วยการให้ประชาชนเข้ามาร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมรับ ผลประโยชน์กบั เรา เพือ่ สร้างความรูส้ กึ เป็นเจ้าของ เมือ่ เขารูส้ กึ เป็นเจ้าของ เขาก็จะ อยากพัฒนาสิ่งนั้นๆ ให้ดีขึ้น โดยกระบวนการทำ�งานอาจเริ่มต้นจากการทำ�ให้ดู เป็นตัวอย่าง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน ต้องทำ�ให้เห็นว่าเราบริสุทธิ์ ใจ และมีความโปร่งใส จากนั้นในขั้นตอนต่อไปจะต้องไปชักชวนให้ผู้คนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย กระบวนการจิตอาสา พูดอีกอย่างคือ ต้องทำ�ให้เขาเห็นว่าสิ่งที่เขากำ�ลังทำ�อยู่ นั้นมีประโยชน์ต่อส่วนรวมอย่างไร ไม่ใช่ทำ�เพื่อตนเองเท่านั้น เพราะถ้าหวังว่า ตนเองจะได้รับประโยชน์ทุกครั้งก็จะมองไม่เห็นส่วนรวม


53

เมื่อประชาชนร่วมมือกันทำ�งาน โดยผ่านกระบวนการทำ�ซ้ำ� ทำ�บ่อยๆ เขาจะรู้สึกว่า มันคือชีวิตของเขา เขาจะทำ�งานอย่างมีความสุข ได้รับเกียรติ และพร้อมจะเข้าร่วม ในทุกกิจกรรม หน่วยงานท้องถิ่นต้องให้การสนับสนุนเสมอต้นเสมอปลาย ทำ�ให้เขาเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธา

เมื่ อ ประชาชนมาร่ ว มมื อ กั น

เราต้ อ งการให้ เ ขาเรี ย นรู้ ไ ด้

ประโยชน์อย่างไร ฉะนั้น ทุกคนต้อง

ทำ � งาน โดยผ่ า นกระบวนการทำ � ซ้ำ �

ด้ ว ยตนเอง หน่ ว ยงานท้ อ งถิ่ น ต้ อ ง

มาร่วมกันทำ�งาน ไม่ใช่คอยวิจารณ์อยู่

ทำ � บ่ อ ยๆ เขาจะรู้ สึ ก ว่ า มั น คื อ ชี วิ ต

ให้การสนับสนุนเสมอต้นเสมอปลาย

แต่ข้างหลัง

ของเขา เขาจะทำ�งานอย่างมีความสุข

ทำ�ให้เขาเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธา

ปั จ จุ บั น ก า ร เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้

ได้รับเกียรติ และพร้อมจะเข้าร่วมใน

ฉะนั้น ถ้าประชาชนจะเดินไปด้วยกัน

ประชาชนตำ � บลท่ า งามได้ เ ข้ า มามี

ทุกกิจกรรม ยกตัวอย่างเช่น กองทุน

กับท้องถิ่นก็ต้องเชื่อใจซึ่งกันและกัน

ส่วนร่วมในการบริหารจัดการตนเอง

สวัสดิการชุมชน ประชาชนทุกคนทีเ่ ป็น

อุ ป สรรคการทำ � งานที่ ผ่ า นมา

มี ค วามคื บ หน้ า อยู่ ไ ม่ น้ อ ย ซึ่ ง การ

หุ้ น ส่ ว นของกองทุ น นี้ ส ามารถกู้ เ งิ น

แม้ จ ะมี ปั ญ หากั บ ตั ว บุ ค คลในบาง

พัฒนาต้องใช้เวลา การแก้ไขปัญหา

กองทุนไปลงทุนประกอบอาชีพได้ ซึ่ง

เรื่อง แต่ก็ไม่ถึงขั้นขัดแย้ง เรียกว่าเป็น

ไม่มีหลักปฏิบัติเป็นสูตรสำ�เร็จ แต่เรา

กองทุนก็คอื การเป็นหุน้ ส่วนทางสังคม

ความไม่เข้าใจกัน ในช่วงแรกเริ่มอาจ

อยากให้ประชาชนทุกคนมองเห็นว่า

ซึง่ เป็นรากฐานของการมีสว่ นร่วม เพือ่

เกิดการตั้งคำ�ถาม เกิดคำ�วิจารณ์ ซึ่ง

สิ่ ง ที่ เ ขากำ � ลั ง ทำ � อยู่ เ ป็ น การทำ � งาน

จะขยับไปสู่เป้าหมายที่แท้จริง นั่นคือ

เราก็ แ ก้ ปั ญ หานั้ น ด้ ว ยการ ‘ทำ � ให้ ดู

เพื่อประโยชน์ของชุมชนเอง

ชุ ม ชนสามารถจั ด การตนเองได้ แ ละ

บอกให้รู้ ไปดูร่วมกัน’ เพื่อสื่อสารให้

ช่วยกันดูแลเงินกองทุนให้งอกเงย

เขาเข้าใจตรงกันว่าสิ่งที่ทำ�นั้นจะเกิด


54

หากทุกตำ�บลมาร่วมมือกันทำ�ในสิ่งดีๆ

ทวีป จูมั่น

ย่อมจะเป็นพลังเปลี่ยนแปลงประเทศได้

อดีตนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวไผ่ อำ�เภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี

ลำ�พังนายก อบต. คนเดียวอาจทำ�ไม่ได้ ต้องกระจายอำ�นาจให้ทุกคนเข้ามาช่วยกัน ตำ�บลน่าอยู่จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัย การทำ�งานเป็นทีม ณ วันนี้ ต้องปลุกให้ชาวบ้านลุกขึ้นมาจัดการตัวเองให้ได้ นั่นคือทางรอดของประเทศไทย

‘พลเมือง’ ในความคิดผมคือ คนที่กล้าคิด กล้าทำ� กล้า ตั ด สิ น ใจ ส่ ว นวิ ธี ก ารสร้ า งพลเมื อ งลั ก ษณะนี้ ขึ้ น มา จาก ประสบการณ์การเป็นนายก อบต. เราเริ่มด้วยการ ‘เปิดปาก’ เพื่อสร้างกลไกการมีส่วนร่วม ท้องถิ่นมีหน้าที่กระตุ้นให้ประชาชนรู้จักตัวตนของเขาเองว่ามีศักยภาพ แค่ไหนอย่างไร และให้เขาบอกเล่าสภาพปัญหาที่เป็นอยู่ จากนั้นท้องถิ่นต้องจับ ประเด็นให้ได้วา่ เขาต้องการอะไร เพือ่ จะได้รบี เข้าไปหนุนเสริมให้เขาลุกขึน้ มาแก้ ปัญหานั้นด้วยตนเอง เมื่อทำ�ได้ดังนี้ ประชาชนก็จะเกิดความมั่นใจขึ้นได้ว่า เขา สามารถตัดสินใจได้ เขาสามารถคิดได้ เขาสามารถทำ�ได้ ดังเช่นการจัดการปัญหาภัยแล้งในชุมชน ท้องถิ่นมีหน้าที่เพียงให้เขาบอก เล่าปัญหาออกมา เช่น มีการแย่งกันสูบน้ำ� ทำ�ให้น้ำ�ไม่เพียงพอ จากนั้นเราจึง ให้เขาช่วยกันคิดหาวิธีการแก้ไข จนในที่สุดก็เกิดกติกาจากฝ่ายประชาชนขึ้น เอง กลายเป็นข้อตกลงร่วมกันในการรับมือกับภัยแล้ง ขณะที่ท้องถิ่นเป็นฝ่าย ดูแลกติกา รักษากฎระเบียบ คนไหนเล่นนอกกติกา เราต้องลงไปพูดไปคุยให้


55

เข้าสู่ระบบ อย่างนี้เรียกว่าใช้พลังของ

กันเอง ถ้า อบต. ไปทำ�เองทั้งหมด ก็

รู้สึกถึงการทำ�หน้าที่เป็นนายก อบต.

พลเมืองในการแก้ไขปัญหา

จะเป็นการปิดกั้นโอกาสของชาวบ้าน

เพื่ อจะสร้ า งนายกฯคนใหม่ ที่ เ ข้ า ใจ

อีกกรณี เช่น การจัดการพื้นที่

โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องเปิดโอกาสให้

เรื่องท้องถิ่นมากขึ้น

บริ เ วณคลองชลประทาน ซึ่ ง พื้ น ที่

ฝ่ายที่สนับสนุนการเมืองต่างขั้วได้เข้า

การก้าวสูก่ ารเป็นตำ�บลสุขภาวะ

ดังกล่าวมีเกษตรกรใช้ประโยชน์จาก

มาแสดงความคิดเห็นด้วย ถึงแม้เขา

ถึงแม้จะเป็นความสำ�เร็จเพียงจุดหนึ่ง

แหล่ ง น้ำ � อยู่ ป ระมาณ 4 กลุ่ ม คื อ

จะเป็นเสียงข้างน้อย แต่ก็ต้องเคารพ

แต่ จุ ด เล็ ก ๆ นี้ ก็ ส ามารถที่ จ ะเป็ น

กลุ่มคนทำ�นา กลุ่ม ผู้เลี้ยงสัตว์ กลุ่ม

ในเสียงของเขา

จุดเปลีย่ นของสังคมได้ จะเห็นว่าผลจาก

คนหาปลา และกลุ่มผู้ปลูกผักบุ้ง แต่

อุ ป สรรคในการบริ ห ารจั ด การ

การทำ � งานของตำ � บลหั ว ไผ่ ไ ด้ ทำ � ให้

เกิดปัญหาขัดแย้งทะเลาะกัน ท้องถิ่น

ของตำ�บลหัวไผ่มีไม่มากนัก แต่อาจมี

เกิดตำ�บลลูกข่ายตามมาถึง 60 แห่ง

ก็ จ ะเข้ า ไปชั ก ชวนให้ ทุ ก ฝ่ า ยมาพู ด

อยู่บ้าง เช่น เรื่องการประชาสัมพันธ์

สามารถทำ � งานแก้ ไ ขปั ญ หาให้ กั บ

คุ ย กั น ให้ เ ขาสร้ า งกติ ก าร่ ว มกั น

บางครั้งอาจไปไม่ถึงชาวบ้าน

ชาวบ้านได้ในหลายๆ พื้นที่

และเคารพในกติ ก านั้ น ให้ เ กี ย รติ

ผมเป็นนายก อบต.หัวไผ่ 3 สมัย

ห า ก ทุ ก ตำ � บ ล ม า ร่ ว ม มื อ

ซึ่ ง กั น และกั น จนกระทั่ ง ทุ ก ฝ่ า ยได้

แต่สมัยที่ 3 ได้ลาออกจากตำ�แหน่ง

กั น ทำ � ในสิ่ ง ดี ๆ ย่ อ มจะเป็ น พลั ง

ใช้ ป ระโยชน์ จ ากคลองชลประทาน

เสียก่อน แม้จะมีเสียงเรียกร้องให้ผม

เปลี่ยนแปลงประเทศได้ ลำ�พังนายก

ร่วมกัน ทำ�ให้เกิดสังคมอยู่เย็นเป็นสุข

กลับไปทำ�งานรับใช้ประชาชนอีก ซึ่ง

อบต. คนเดี ย วอาจทำ � ไม่ ไ ด้ ต้ อ ง

และเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน

ถ้ า เป็ น ไปได้ สิ่ ง ที่ ผ มอยากทำ � ที่ สุ ด

กระจายอำ�นาจให้ชาวบ้านทุกคนเข้า

หากพูดถึงแนวทางการกระจาย

ก็คือการสร้าง ‘เครือข่ายนายกฯ’ ผม

มาช่วยทำ�กัน เพราะตำ�บลน่าอยู่จะ

อำ � นาจจากท้ อ งถิ่ น ไปสู่ ป ระชาชน

วางแผนไว้ ว่ า จะชั ก ชวนคนที่ ส นใจ

เกิดขึน้ ได้ตอ้ งอาศัยการทำ�งานเป็นทีม

ผมใช้วิธี ‘กระจายงาน กระจายเงิน

การเมื อ งท้ อ งถิ่ น ในแต่ ล ะหมู่ บ้ า น

ณ วันนี้ ต้องปลุกให้ชาวบ้านลุกขึ้นมา

และกระจายอำ � นาจ’ งานบางอย่าง

อย่างน้อยหมู่บ้านละ 5-10 คน มา

จัดการตัวเองให้ได้ นัน่ คือทางรอดของ

ท้องถิ่นไม่จำ�เป็นต้องไปทำ�เอง แต่ให้

นั่งพูดคุยแลกเปลี่ยนกันในเรื่องการ

ประเทศไทย

ช่ ว ยบ้ า นช่ ว ยกั น จั ด การ ตรวจสอบ

พั ฒนาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ของเรา ให้ เ ขา


56

พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี

เราพบว่ามีคนเก่งอยู่จำ�นวนไม่น้อย

ผู้จัดการโครงการนครปฐมผาสุก มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

แต่ความเก่งของเขาถูกจำ�กัดอยู่ในวงแคบๆ ไม่มีโอกาสนำ�ไปขยายผลหรือเกื้อกูล ให้กับคนอื่นๆ ในตำ�บล ฉะนั้นเราจึงเข้าไปช่วย จัดระบบ จัดกระบวนการ จัดเวทีให้คนต่างๆ เหล่านี้ ได้มาพูดคุยกัน เพื่อให้เกิดความคิดใหม่ๆ ในการพัฒนา

วิธีการทำ�งานของเราอาจจะต่างไปจากองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในฐานะสถาบันอุดมศึกษา เราจะมุ่งเน้นในเรื่อง การหนุ น เสริ ม และขั บ เคลื่ อ นพลั ง ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด นครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อนำ�ไปสู่ ‘เครือข่ายร่วมสร้าง ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่’ ซึ่งขณะนี้ครอบคลุมทั่วทั้งจังหวัด 20 ตำ�บล และอีก 20 ตำ�บลรอบนอก บริบทของจังหวัดนครปฐมเป็นสังคมเกษตรกึ่งเมืองกึ่งชนบท ส่วนใหญ่ คนนครปฐมประกอบอาชีพเกษตรกร ซึง่ ยังมีความเกือ้ กูลกัน มีการพึง่ พาอาศัยกัน และมีศักยภาพในตนเอง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการพัฒนางานอาชีพด้านการเกษตร การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และการดูแลสุขภาพคนในชุมชน คณะทำ�งานของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมได้เล็งเห็นถึงศักยภาพตรงนี้ ของแต่ละชุมชน เราจึงผลักดัน หนุนเสริม ต่อยอด ซึ่งอันที่จริงชาวบ้านได้ริเริ่ม ทำ�กันอยู่ก่อนแล้ว เพียงแต่เราเข้าไปจัดระบบการทำ�งานเพื่อส่งเสริมให้มีการ ขยายผลเพิม่ เติมมากขึน้ เวทีการแลกเปลีย่ นเรียนรูท้ เี่ ราจัดขึน้ ก็เป็นกระบวนการ


57

เริม่ ต้นทีท่ �ำ ให้เขาสามารถก้าวต่อไปได้

ดอนตู ม เมื่ อ ปี 2556 มี โ รงงาน

อย่างเดียว ฉะนั้นชาวบ้านจึงพยายาม

เนื่ อ งจากนครปฐมเป็ น เมื อ ง

หล่อยางเข้ามาตั้งในพื้นที่ ทำ�ให้เกิด

ลุกขึ้นมาปกป้องตนเองทุกรูปแบบ

เกษตรกรรม เราจึ ง เห็ น ว่ า การทำ �

มลภาวะ เกิ ด เขม่ า ควั น พิ ษ จากการ

เรื่ อ งของการทำ � แผนพั ฒ นา

เกษตรเพื่ อ สุ ข ภาพเป็ น ทางเลื อ ก

เผายางรถยนต์ กระทบต่อบ้านเรือน

ชุ ม ช น ห รื อ ก า ร ทำ � ข้ อ บั ญ ญั ติ ง บ

หนึ่ ง เกษตรปลอดภั ย ก็ เ ป็ น อี ก ทาง

และสิ่งแวดล้อม ชาวบ้านจึงรวมตัว

ประมาณประจำ � ปี องค์ ก รปกครอง

เลือกหนึ่ง หรือจะข้ามขั้นไปถึงเกษตร

กัน 300-400 คน เพื่อคัดค้านการตั้ง

ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ต่ า งๆ ก็ เ ริ่ ม ยอมรั บ ใน

อินทรีย์ก็สามารถทำ�ได้ ซึ่งทั้งหมดนี้

โรงงานนี้และชี้ให้เห็นว่าเกิดมลภาวะ

ศักยภาพและทุนของตำ�บลมากขึ้น ไม่

เป็ น แนวคิ ด ที่ เ ราชั ก ชวนให้ ช าวบ้ า น

ขึ้ น จริ ง ๆ ในที่ สุ ด โรงงานก็ ต้ อ ง

ว่าจะเป็นทุนทางปัญญา ทุนทางสังคม

ช่วยกันทำ�

ปิ ด เพราะไม่ ส ามารถทำ � มาตรฐาน

มีการดึงคนดี คนเก่ง เข้ามามีส่วนร่วม

สิ่งแวดล้อมได้

ในการพัฒนาตำ�บลมากยิ่งขึ้น

สิ่ ง ที่ เ ห็ น ในภาพรวมวั น นี้ คื อ ชุ ม ชนมองเห็ น ศั ก ยภาพและทุ น ที่ มี

อี กตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น ที่ ตำ � บ ล ทุ่ ง

หลายๆ พื้นที่ที่เราได้ไปเห็น เรา

อยู่ ใ นตำ � บลตั ว เองมากยิ่ ง ขึ้ น คนใน

ขวาง อำ�เภอกำ�แพงแสน ซึ่งมีบริษัท

พบว่ามีคนเก่งอยู่จำ�นวนไม่น้อย แต่

ชุ ม ชนเริ่ ม ตระหนั ก ว่ า โครงการนี้ น่ า

น้ำ � มั น เข้ า มาขุ ด เจาะหาแหล่ ง ก๊ า ซ

ความเก่ ง ของเขาถู ก จำ � กั ด อยู่ ใ นวง

จะเป็นประโยชน์ต่อคุณภาพชีวิตของ

ธรรมชาติ ชาวบ้ า นจึ ง ลุ ก ขึ้ น มาต่ อ

แคบๆ ไม่มีโอกาสนำ�ไปขยายผลหรือ

คนในชุมชนเอง และช่วยกันออกแบบ

ต้าน มีการติดป้ายประท้วงทั่วตำ�บล

เกื้อกูลให้กับคนอื่นๆ ในตำ�บล หาก

กิ จ กรรม ส่ ว นเราเป็ น เพี ย งตั ว ช่ ว ย

ว่า ชาวทุ่งขวางขอคัดค้านการขุดเจาะ

เป็นเมื่อก่อนนี้จะสังเกตได้ว่า ท้องถิ่น

ชักชวนให้เขามาร่วมคิด แล้วกิจกรรม

ทรัพยากรธรรมชาติในตำ�บล

กับชุมชนไม่มีการพูดคุยเชื่อมประสาน

เหล่านี้ก็ค่อยๆ พัฒนาเป็นโครงการ

ตำ�บลหนองงูเหลือมและตำ�บล

กันเท่าทีค่ วร ฉะนัน้ เราจึงเข้าไปช่วยใน

อย่างเป็นรูปธรรม ช่วยให้การทำ�แผน

ห้วยหมอนทอง ก็เป็นอีกสองตำ�บลที่

เรือ่ งของการจัดระบบ จัดกระบวนการ

พั ฒ นาตำ � บลเริ่ ม มี ทิ ศ ทางที่ ชั ด เจน

ประกาศตัวเองว่าจะเป็นตำ�บลสีเขียว

จั ด เวที ใ ห้ ค นต่ า งๆ เหล่ า นี้ ไ ด้ ม า

เหมือนกับว่าชาวบ้านเกาถูกที่คันมาก

โดยชาวบ้านมีมติรว่ มกันว่า หนึง่ -ไม่ให้

พูดคุยกัน เพื่อให้เกิดความคิดใหม่ๆ

ขึ้น

มีโรงงานต่างๆ เข้ามาตัง้ ในพืน้ ที่ สอง-

ในการพัฒนา

ตัวอย่างการมีส่วนร่วมที่อำ�เภอ

อยากให้ เ ป็ น ตำ � บลที่ ทำ � การเกษตร


58

ผศ.หทัยชนก บัวเจริญ

ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการเพื่อการจัดการ เครือข่ายภาคกลางตะวันตก

หน้าที่ของเราคือทีมสนับสนุนวิชาการ ซึ่งจะเข้าไปหนุน เสริมให้ทุกภาคส่วนเกิดกระบวนการเรียนรู้ที่จะทำ�งานร่วม กัน พูดง่ายๆ คือเป็นทีมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยเรา จะเป็น ผู้สรุปข้อมูลของการเรียนรู้เพื่อช่วยให้คนในชุมชนได้ รับรู้ข้อมูลและสภาพปัญหาของตนเอง จากนั้นจะนำ�เสนอผลที่เกิดขึ้นจากการ ทำ�งานให้เขาได้เห็น ได้ตระหนัก และเป็นกำ�ลังในการขับเคลือ่ นเวทีของพลเมือง ความเป็นพลเมืองจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมและการสร้างการ รับรู้ให้เขาตระหนัก สิ่งที่เห็นได้ชัดคือ การมีจิตอาสา พลเมืองที่มีคุณภาพต้อง พร้อมอาสาที่จะทำ�ทุกเรื่อง ต้องมีความรักในการทำ�งานเพื่อส่วนรวม มีความ รู้สึกเป็นเจ้าของ รักในถิ่นฐานบ้านเกิดตนเอง อยากเห็นในพื้นที่ของตนเองมีการ เติบโตอย่างยั่งยืน คนทุกคนในทุกพื้นที่ล้วนมีความเป็นพลเมืองเหมือนกัน แต่ความเด่นชัด ในความเป็นพลเมืองอาจแตกต่างกัน มีจุดเด่นที่แตกต่างกัน โดยพื้นที่ที่ได้รับ เลือกเข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานความเป็นพลเมืองสูง แต่ปัญหา


59

หากจะทำ�ให้การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นเกิดความต่อเนื่อง พลังของพลเมืองจะต้องเข้มแข็งกว่าพลังทางการเมือง หลายพื้นที่เราพบว่า แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้บริหาร แต่ด้วยภาคองค์กรชุมชนที่มีความเหนียวแน่นเข้มแข็ง เมื่อรวมกลุ่มกันแล้วก็สามารถผลักดันจนฝ่ายการเมืองยอมรับที่จะสานต่อ

ที่ พ บคื อ เมื่ อ ไหร่ ที่ มี ก ารเมื อ งหรื อ

เหนียวแน่นเข้มแข็ง เมื่อรวมกลุ่มกัน

ใช้ได้จริงในชุมชน หรืออาจจะต้องมี

นโยบายของการเมืองท้องถิ่นเข้ามา

แล้ ว ทำ � ให้ ส ามารถผลั ก ดั น จนฝ่ า ย

การปรับวิธีคิดของสถาบันการศึกษา

เกี่ ยวข้ อง ก็ อาจจะส่ งผลกระทบต่อ

การเมืองยอมรับที่จะสานต่อโครงการ

โดยศู น ย์ เ สริ ม สร้ า งการเรี ย นรู้ วิ จั ย

ความต่อเนื่องในการพัฒนาความเป็น

สำ � หรั บ แนวทางการทำ � งานใน

ชุมชนท้องถิ่นจะพยายามดึงศักยภาพ

พลเมืองในพื้นที่ หรืออาจเรียกได้ว่า

อนาคต ทีมสนับสนุนวิชาการมุ่งหวัง

ของสถาบันการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือ

เป็ น สาเหตุ สำ � คั ญ ก็ ว่ า ได้ ทำ � ให้ ก าร

ที่ จ ะเป็ น หน่ ว ยเชื่ อ มโยงและพั ฒนา

งานพั ฒ นาชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ให้ ม ากขึ้ น

ทำ�งานไม่ยั่งยืน แม้คนในพื้นที่จะเริ่ม

คนและชุมชนให้ได้มากยิ่งขึ้น ต้องมี

และจะช่วยให้การขับเคลือ่ นของชุมชน

มีความเป็นจิตอาสา แต่กระบวนการ

การเชื่อมร้อยงานวิชาการกับสถาบัน

ท้องถิ่นเดินหน้าได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ทำ � งานจริ ง ๆ อาจจะยั ง ขั บ เคลื่ อ น

การศึ ก ษาให้ เ กิ ด การบู ร ณาการร่ ว ม

ไม่ ไ ด้ เพราะนโยบายไม่ เ อื้ อ ความ

กันมากขึ้น

ไม่เข้าใจของผู้บริหารท้องถิ่นก็ทำ�ให้

สถาบั น บริ ก ารวิ ช าการต้ อ ง ทำ�ความเข้าใจในธรรมชาติของความ

สิ่ ง ที่ เ ราอยากเห็ น คื อ ภาพ

เป็ น ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ให้ ม าก เพื่ อ จะ

ของสถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ

ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานของภาค

หากจะทำ � ให้ ก ารพั ฒนาชุ ม ชน

ธรรมชาติของชุ ม ชน เพราะทุ กวั นนี้

วิชาการ สถาบันการศึกษาจำ�เป็นต้อง

ท้ อ งถิ่ น เกิ ด ความต่ อ เนื่อ ง พลังของ

ภาควิ ช าการกั บ ภาคปฏิ บั ติ จ ริ ง ใน

พัฒนาคนให้สามารถกลับไปต่อยอด

พลเมื อ งจะต้ อ งเข้ ม แข็ ง กว่ า พลั ง

พื้ น ที่ อ าจยั ง ไม่ ห ลอมรวมเป็ น เนื้ อ

การทำ�งานของชุมชน สามารถตอบ

ทางการเมื อ ง หลายพื้ น ที่ เ ราพบว่ า

เดียวกัน ดังนั้น เราต้องทบทวนกันว่า

โจทย์ที่แท้จริงของชุมชนท้องถิ่นได้

แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงตัว ผู้บริหาร

ทำ � อย่ า งไรให้ สิ่ ง ที่ เ ป็ น องค์ ค วามรู้

แต่ ด้ ว ยภาคองค์ ก รชุ ม ชนที่ มี ค วาม

ในสถาบั น การศึ ก ษาสามารถนำ � ไป

กระบวนการนี้แผ่วลงได้เช่นกัน


60

สมชาย จันธรรมาพิทักษ์ นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลบ้านซ่อง อำ�เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

เราจะทำ�อย่างไรให้ประชาชนรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของ บ้ า น เจ้ า ของชุ ม ชนของเขา ให้ เ ขาตระหนั ก รู้ ปั ญ หา ความ ต้องการ ตลอดจนเห็นแนวทางการแก้ไขด้วยตัวของเขาเอง นั่นคือพลังพลเมืองในความคิดของผม ที่ตำ�บลบ้านซ่องนั้น เราพยายามผลักดันการมีส่วนร่วมของประชาชนมา โดยตลอด ผ่านการให้ความรู้ประชาชน ทั้งเรื่องแนวทางการพัฒนาแต่ละด้าน บทบาทหน้าที่ของประชาชน นอกจากนี้ยังให้ประชาชนได้รู้ข้อมูลของพื้นที่ ได้รับรู้งบประมาณ จำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งทำ � ให้ เ ห็ น เป็ น ตั ว อย่ า ง โดยเฉพาะ ในเรื่องของความโปร่งใส ความจริงใจ และความเป็นธรรม ชุมชนเรามีคนเยอะ มีปัญหาความต้องการที่รอการตอบสนอง ซึ่งอาจส่งผลต่อเรื่องพลังพลเมือง แต่ทุกอย่างจำ�เป็นต้องดำ�เนินการอย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยตัวอย่างหนึ่งที่เรา ได้ส่งเสริมคือการทำ�ประชาคมเพื่อรับทราบถึงความต้องการของชาวบ้าน เรียง ลำ�ดับตามความสำ�คัญ เมื่อได้ปัญหาตลอดจนความต้องการมาจากชุมชนแล้ว


61

ที่ตำ�บลบ้านซ่อง ผู้บริหารจะไม่คิดแทนประชาชน ประชาชนต้องออกมาบอกความต้องการ ของตัวเองว่า อยากเห็นตำ�บลพัฒนาไปอย่างไร เพราะผู้บริหารเข้ามาแล้วก็จากไปตามวาระ แต่อำ�นาจที่แท้จริงต้องเป็นของประชาชนที่จะเป็นผู้กำ�หนดชีวิตตนเอง

เทศบาลจะมาพิ จ ารณาและเปิ ด ให้

เราตั้งคำ�ถามอยู่เสมอว่า จะทำ�

ตั ว เอง เห็ น หน้ า ที่ ข องพลเมื อ ง

รับทราบ เพราะอย่างที่รู้กันดีว่า งบ

อย่ า งไรให้ เ ขาเห็ น ความสำ � คั ญ ของ

ประโยชน์จะตกแก่ชมุ ชน และเลยไปถึง

ประมาณของท้องถิ่นมีจำ�นวนจำ�กัด

ตั ว เอง เพราะที่ นี่ ผู้ บ ริ ห ารจะไม่ คิ ด

ประเทศชาติด้วยเช่นกัน นั่นคือสิ่งที่

โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับความต้องการ

แทน ประชาชนต้องออกมาเพื่อบอก

เราอยากเห็น

ของประชาชน

ความต้องการของตัวเอง ต้องออกมา

นอกจากนี้ ตำ � บลบ้ า นซ่ อ งยั ง

ความเข้ ม แข็ ง ของบ้ า นซ่ อ งคื อ

เพื่อบอกว่าอยากเห็นตำ�บลพัฒนาไป

ได้รับโอกาสในการร่วมงานกับเครือ

การให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในทุก

อย่างไร ซึ่งตรงนี้สอดรับกับหลักการก

ข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ซึ่ง

เรื่อง เพราะเขาคือผู้ใช้ประโยชน์จริงๆ

ระจายอำ � นาจคื น ให้ กั บ ประชาชน

เข้ามาช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับ

ท้องถิ่นมีหน้าที่แค่เป็น ผู้เติมเต็มและ

เพราะเราอธิ บ ายเสมอว่ า ผู้ บ ริ ห าร

เรา เปิ ด โลกทั ศ น์ ใ ห้ กั บ ทั้ ง ผู้ บ ริ ห าร

จั ด สรรให้ ง านเกิ ด ขึ้ น จะเห็ นว่ า ใน

เข้ามาแล้วก็จากไปตามวาระ อำ�นาจ

และประชาชนในการได้ไปร่วมเรียนรู้

ชุมชนตอนนี้เราสร้างกระบวนการมี

ที่ แ ท้ จ ริ ง เป็ น ของประชาชน ฉะนั้ น

และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับชุมชน

ส่ ว นร่ ว มผ่ า นการให้ ข้ อ มู ล ข่ า วสาร

ไม่ว่างานในส่วนใด ประโยชน์ที่ยั่งยืน

ท้ อ งถิ่ น อื่ น ๆ ซึ่ ง เป็ น การกระตุ้ น

อย่างรอบด้าน เพื่อกระตุ้นให้พวกเขา

ขึ้นอยู่กับประชาชน

พวกเราไปในตัว นับเป็นโอกาสที่เปิด

เข้ า ร่ ว ม แม้ ต อนนี้ เ ราได้ ป ระชาชน

ในวันนีเ้ ราพยายามทำ�ให้พวกเขา

มากกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ก็ถือว่ายัง

รักบ้านเมือง หวงแหน และพิทกั ษ์บา้ น

น้อย

ของเขา ถ้าเขาเห็ นความสำ �คั ญของ

ให้พลังของบ้านซ่องได้เบ่งบานมากขึน้


62

สุรเชษฐ์ ศรีระษา

ปลัดเทศบาลตำ�บลบ้านซ่อง อำ�เภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

พลังพลเมืองมีความสำ�คัญอย่างยิ่ง ทุกคนต้องเข้ามาช่วยกันแก้ไขปัญหา ทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ คนหนุ่มคนสาว ทุกสาขาอาชีพ เพราะทุกเรื่องล้วนเป็นหน้าที่ของทุกคน ยิ่งชาวบ้านพึ่งตัวเองได้มาก การพัฒนาชุมชนก็จะไปได้เร็ว พลังพลเมืองมีความสำ�คัญ ทุกคนต้องเข้ามาช่วยกันแก้ไข ปัญหา ทั้งเด็ก ผู้สูงอายุ คนหนุ่มคนสาว ทุกสาขาอาชีพ เพราะ ทุกเรื่องล้วนเป็นหน้าที่ของทุกคน จำ�เป็นต้องเข้ามาร่วมด้วย ช่วยกันดูแล ตำ�บลบ้านซ่องมีการขับเคลื่อนพลังพลเมืองผ่านเวทีประชุมประจำ�เดือน ซึง่ จะมีทกุ เรือ่ งทุกประเด็น ไล่ตงั้ แต่ปญ ั หาเด็ก ผูส้ งู อายุ เกษตร ยา สุขภาพ ฯลฯ เพื่อให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนและแก้ปัญหาของชุมชน ถ้าหากส่วนไหนชุมชนสามารถจัดการกันเองได้กส็ ามารถดำ�เนินการได้ทนั ที หาก เกินกำ�ลังก็ค่อยส่งให้เป็นหน้าที่ของเทศบาลต่อไป ทุกวันนี้กระบวนการมีส่วนร่วมของคนในตำ�บลบ้านซ่องยังมีไม่มากเท่าที่ ควร ขณะที่คนที่เข้ามาก็ยังเห็นภาพคนละภาพกับชุมชน ทำ�ให้เกิดการตั้งถาม ถึงความยั่ง ยืน ชุมชนจึงจำ�เป็นต้องตั้งขบวนกันใหม่ในการเข้ามาร่วมกันคิด ร่วมกันทำ� เพื่อร่วมรับประโยชน์ร่วมกันบนวิถีทางที่ถูกต้องและยั่งยืน


63

นอกจากนี้ คนจำ � นวนหนึ่ ง ยั ง

หน้าที่สังเกตการณ์และดูแล บทบาท

ปัจจัยหนุนเสริมพลังพลเมืองอีก

คิ ด ว่ า ชุ ม ชนของตั ว เองมี ค วามเป็ น

หลักต้องอยู่ที่ประชาชนในการเข้ามา

ประการคือการทำ�งานร่วมกับเครือข่าย

ประชาธิปไตยแล้ว เพราะมีการเลือกตัง้

จัดสรร บริหารทรัพยากรของพื้นที่ให้

ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ซึ่งเป็น

ผู้แทนเข้ามาบริหารงานแทน ทีนี้เขา

เป็นประโยชน์กับตัวเขามากที่สุด

ทั้งแรงจูงใจและแรงบันดาลใจที่ช่วย

จะรู้ ห รื อ ไม่ ว่ า หน้ า ที่ ข องตั ว เองยั ง

วันนีท้ อ้ งถิน่ มีการกระจายอำ�นาจ

ให้ ค นตระหนั ก มากขึ้ น ทั้ ง ช่ ว ยเปิ ด

ไม่จบแค่นั้น ทำ�อย่างไรให้คนชุมชน

มากขึ้น บทบาทที่ท้องถิ่นจำ�เป็นต้อง

โลกทัศน์ให้เห็นว่า แม้แต่ในตัวอำ�เภอ

ตระหนั ก รู้ สามารถพึ่ ง พาตนเอง

ชั ด เจน กำ � หนดทิ ศ ทางจากบริ บ ท

เดียวกันยังมีความแตกต่าง การได้ขึ้น

เพราะชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง คื อ ชุ ม ชนที่

ของเรา โดยผ่านประชาชนของเราที่

เป็ น แม่ ข่ า ยทำ � ให้ ไ ด้ รู้ ปั ญ หาในเรื่ อ ง

สามารถพึ่ ง พาตนเองได้ โดยมี ฝ่ า ย

ได้รับการเสริมความรู้ เพราะตำ�บล

โครงสร้างตำ�บล หลายที่ประชาชนยัง

บริหารคอยทำ�หน้าที่สนับสนุน

บ้านซ่องต้องการให้ประชาชนสามารถ

ไม่ตระหนักรู้ หลายทีผ่ บู้ ริหารยังคิดว่า

ตำ � บลบ้ า นซ่ อ งพยายามจะให้

พึ่ ง ตั ว เองได้ นี่ เ ป็ น สิ่ ง สำ � คั ญ ไม่ ใ ช่

ทุกเรื่องคือความรับผิดชอบของตัวเอง

ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วม เพราะเขา

เพราะฝ่ายบริหารอยากสบาย แต่เรา

ขณะเดี ย วกั น ก็ ไ ด้ เ ห็ น ชุ ม ชนที่

คือเจ้าของทุกสิ่ง ตั้งแต่อำ�นาจ ไปจน

มองเห็ น ร่ ว มกั นว่ า ยิ่ ง ชาวบ้ า นพึ่ ง

ประสบความสำ � เร็ จ ในเรื่ อ งของการ

ประโยชน์ ที่ พึ ง จะได้ จะเห็ นว่ า เป็ น

ตัวเองได้มาก การพัฒนาชุมชนก็จะ

สร้างการมีส่วนร่วม มีการเติบโตของ

เรื่องของหน้าที่ อย่างผู้บริหารก็เช่น

ไปได้เร็ว ยิ่งในวันนี้การเปลี่ยนแปลง

การตื่นรู้ ซึ่งนับเป็นทุนทางสังคม ยัง

กั น ต้ อ งตอบให้ ไ ด้ ว่ า หน้ า ที่ ข องเรา

สังคมใหญ่ทำ�ได้ยาก โดยเฉพาะสังคม

ไม่ นั บ รวมถึ ง องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ การ

คื อ อะไร การบริ ก าร คุ ณ ภาพชี วิ ต

เมือง แต่ของเราเป็นสังคมชุมชนขนาด

รวบรวมอย่ า งเป็ น ระบบ มองเห็ น

ที่ ดี เป็ น เรื่ อ งของเราก็ จริ ง แต่ ไ ม่ ใ ช่

เล็ ก ถ้ า เราสามารถผลั ก ดั น ให้ ค น

และจับต้องได้ในเชิงประจักษ์ นำ�มาสู่

ด้วยการหยิบยื่น เราจำ�เป็นต้องสร้าง

กลุ่ ม เล็ ก ๆ นี้ ส ามารถเดิ น หน้ า ด้ ว ย

การจัดทำ�ข้อมูลของตำ�บลเรา ได้เห็น

การตระหนักรู้ในเรื่องของความเป็น

ตั ว เอง เชื่ อ ว่ า แม้ จ ะเป็ น พลั ง เล็ ก ๆ

จุดอ่อนจุดแข็ง กลายเป็นว่าเราได้เห็น

พลเมืองให้เด่นชัด ตอนนี้ที่ชัดที่สุดก็

แต่ก็สามารถนำ�พาการเปลี่ยนแปลง

ตัวเองผ่านคนอื่น ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีและ

คือเวทีชุมชน ซึ่งผู้บริหารจะคอยทำ�

สังคมในภาพรวมไปในทางที่ดีขึ้นได้

ให้ประโยชน์กับตำ�บล


64

อาจินต์ กิตติพล

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลกะเฉด อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง

พลั ง พลเมื อ งนั้ น เป็ น เรื่ อ งของสำ � นึ ก ต่ อ การมองเห็ น แนวทางการพัฒนา อันเป็นเงื่อนไขที่ทำ�ให้ตำ�บลเข้าสู่ความ สำ�เร็จ พลเมืองหนึ่งคนหมายถึงความเข้มแข็งของคนคนนั้น แต่หากมีหลายคนย่อมหมายถึงความเข้มแข็งของชุมชนด้วย ซึง่ หากทุกภาคส่วนมีพลังนี้ก็จะเป็นแรงขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนา ตำ�บลของเราเป็นตำ�บลเกษตรกรรม เน้นไปที่พืชสวน โดดเด่นก็มีผลไม้ และที่เพิ่มเติมเข้ามาก็คือยางพารา กับอีกส่วนหนึ่งคือภาคอุตสาหกรรม โดย มีประชากรราว 5,000 คน ไม่รวมประชากรแฝง ทุกเดือนจะมีการประชุม ทั้ง ส่วนการปกครอง ผู้อำ�นวยการ 4 โรงเรียน ข้าราชการเกษียณอายุ ผู้อำ�นวยการ โรงพยาบาลศูนย์ตำ�บล ผู้นำ�กลุ่มหรือแหล่งเรียนรู้ มาร่วมกันคิด ปรึกษาหารือ เพื่อนำ�ไปสู่การปรับใช้ในทั้งตำ�บล ที่นี่เราให้ชาวบ้านคิด อบต. คอยนำ�ปฏิบัติ ที่กะเฉดจะมีเวทีการประชุมระดับตำ�บลในทุกเดือน ขณะเดียวกัน ก็ยัง มีการประชุมระดับกลุ่ม เช่น การประชุมผู้สูงอายุ การประชุมหมู่บ้าน เพื่อรับ ทราบความต้องการ ตลอดจนปัญหาในพื้นที่ โดยทางฝ่ายบริหารจะจัดสรรหรือ


65

การพัฒนาชุมชนก็ดี การพัฒนาประเทศก็ดี จำ�เป็นต้องอาศัยพลังพลเมืองในการขับเคลื่อน ให้เกิดการพัฒนา สร้างผลกระทบในด้านดีให้เกิดกับชุมชน วันนี้กล้าพูดได้ว่า ตำ�บลกะเฉด เป็นแบบอย่างที่ดีในการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน

แก้ ปั ญ หาให้ ใ นทั น ที เพราะแต่ ล ะ เดือนจะมีเรื่องใหม่ๆ เข้ามาเสมอ

สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน

ในอนาคตเราอยากให้ ทุ ก ครั ว

วั น นี้ เ ราประเมิ น แล้ ว ว่ า ฝ่ า ย

เรือนเข้ามามีส่วนร่วมในการกำ�หนด

ตำ � บลกะเฉดมี จุ ด แข็ ง ในเรื่ อ ง

บริหารได้คืนอำ�นาจให้ประชาชนแล้ว

ทิ ศ ทางในการพั ฒ นาตำ � บล เรามี

การเสริมสร้างการมีส่วนร่วม เราเปิด

กว่ า 80 เปอร์ เ ซ็ น ต์ โดยโครงการ

ปัจจัยที่พร้อมคอยเกื้อหนุนอยู่แล้ว ไม่

โอกาสให้ชาวบ้านได้เข้ามาเป็นส่วน

ทุ ก โครงการอยู่ ใ นการรั บ รู้ หรื อ

ว่าจะเป็นจิตอาสา อาสาสมัคร กลุ่ม

หนึ่งในการบริหารจัดการชุมชน โดย

ประชาชนเองเป็ น ผู้ จั ด สรรขึ้ น มา

อาชีพ และแหล่งเรียนรู้

ฝ่ายบริหารจะทำ�หน้าที่อำ�นวยความ

ประชาชนที่นี่เป็น ผู้บริหาร อบต. ทำ�

ในการทำ � งานกั บ องค์ ก รอิ ส ระ

สะดวกให้ ส่วนในเรื่องของจุดอ่อนนั้น

หน้าที่เป็นแค่พี่เลี้ยง โครงการที่เป็น

อืน่ ก็มเี ครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่

เป็นเรื่องของเวลาที่ไม่ตรงกัน บางคน

รูปธรรม ได้แก่ โครงการส่งเสริมอาชีพ

น่าอยู่ ซึ่งทางเครือข่ายนี้มีหลักสูตร

อาจต้องพลาดเวทีประชุมกลุ่มไป แต่

โครงการผู้ สู ง อายุ ซึ่ ง ชาวบ้ า นช่ ว ย

มีการถอดบทเรียนอย่างเป็นขั้นเป็น

ตราบที่ เ ขารู้ ห น้ า ที่ จุ ด อ่ อ นก็ ไ ม่ ใ ช่

กันจัดสรรขึ้นมา หรือถ้ามองในเรื่อง

ตอน ทำ � งานอย่ า งเป็ น ระบบ เพื่ อ

ปัญหา

ของพื้นที่ ภาคตะวันออกกับโรงงาน

สอนเพื่อนเครือข่ายที่เข้ามาร่วมแลก

การพัฒนาชุมชนก็ดี การพัฒนา

อุ ต สาหกรรมเป็ น สิ่ ง ที่ แ ยกขาดกั น

เปลีย่ นเรียนรู้ อบต.กะเฉด ก็ได้รบั การ

ประเทศก็ ดี จำ � เป็ น ต้ อ งอาศั ย พลั ง

ไม่ได้ ในตำ�บลกะเฉดก็เช่นกัน ดังนั้น

หนุนเสริมแหล่งเรียนรู้ ทำ�ให้สิ่งที่เคย

พลเมืองในการขับเคลื่อนให้เกิดการ

โรงงานทุกโรงงานที่ข้องแวะกับพื้นที่

มี อ ยู่ ไ ด้ รั บ การจั ด แต่ ง อย่ า งเข้ า รู ป

พั ฒนา สร้ า งผลกระทบในด้ า นดี ใ ห้

ตำ � บลกะเฉดจะต้ อ งผ่ า นประชาคม

เข้ า รอยจนเป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี และยั ง

เกิดกับชุมชน วันนีก้ ล้าพูดได้วา่ ตำ�บล

เปิดเผยข้อมูลถึงผลได้ผลเสีย แล้วช่วย

ช่ ว ยให้ ชุ ม ชนเกิ ด การพั ฒนา เพราะ

กะเฉดเป็นแบบอย่างที่ดีในการเสริม

กันตัดสินใจ

ชาวบ้านได้เข้ามาร่วมกันทำ�งาน


66

นริศ กิจอุดม

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลวังใหม่ อำ�เภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี

ประชาชนแบ่ ง เป็ น 3 ระดั บ คื อ ประชาชน พลเมื อง ราษฎร ทุ ก คนมี บ ทบาทหน้ า ที่ เราอยากให้ ช าวบ้ า นเขา ตระหนักถึงหน้าที่ สิทธิ ในความเป็นเจ้าของตัวตนของเขาเอง มากกว่าจะไปตามหรือเลียนแบบ เป็นพลังที่เกิดขึ้นจากการ ตระหนักว่าเขาเป็นเจ้าของภารกิจในชุมชนร่วมกัน เราพยายามปลูกฝังให้ชาววังใหม่ตระหนักกันตั้งแต่เด็ก ซึ่งเปรียบเสมือน ไม้อ่อนดัดง่าย โดยเน้นให้เด็กรู้จักตัวตนของตัวเอง รู้จักครอบครัว ตลอดจน หน้าที่ บทบาท ให้เขารู้จักช่วยครอบครัวเสมือนเป็นภาระความรับผิดชอบ ซึ่งถ้า เขาช่วยครอบครัวตัวเอง และเห็นผลของการทำ�ความดีนนั้ มันจะนำ�ไปสูก่ ารช่วย เหลือคนอื่นๆ ด้วยใจที่รู้จักผิดชอบ ตำ�บลวังใหม่เราพยายามร่วมมือกันทุกฝ่าย โดยทางฝ่ายบริหารต้องการให้ ประชาชนได้ตระหนักรู้ตัวเอง และได้รู้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันการแตกแยก ทุกวันนี้เราเชื่ออย่างหนึ่งว่า คนวังใหม่มีจิตสำ�นึกดี ยังยึดโยงกับสังคมเครือญาติ แต่การขาดความรู้ การตกเป็นเครื่องมือของวัฒนธรรมบริโภคนิยมยังคงต้อง


67

พลเมืองทุกคนมีบทบาทหน้าที่ พลังพลเมืองจะเกิดขึ้นได้ด้วยการตระหนักว่า เขาเป็นเจ้าของภารกิจในชุมชนร่วมกัน เราพยายามปลูกฝังให้ชาววังใหม่ตระหนักถึงหน้าที่นี้ตั้งแต่วัยเด็ก ให้เขารู้จักรับผิดชอบต่อตนเองและครอบครัว ซึ่งผลของการทำ�ความดีนั้นจะนำ�ไปสู่การช่วยเหลือคนอื่นๆ ต่อไป

ได้รับการแก้ไข

ความเป็นบริโภคนิยม รักความสะดวก

ตำ � บลวั ง ใหม่ เราอยากเห็ น เยาวชน

การจะเกิ ด พลั ง พลเมื อ งได้

สบาย ไม่ค่อยตระหนักรู้ ซึ่งกลุ่มคน

ห่ า งไกลปั จ จั ย เสี่ ย ง ทั้ ง บุ ห รี่ สุ ร า

นั้ น ขึ้ น กั บ ปั จ จั ย อย่ า งเช่ น การรู้ จั ก

ที่ จ ะได้ รั บ ผลกระทบมากที่ สุ ด คื อ

เกม ผ่านการสร้างสำ�นึกของความมี

ตัวเอง เมือ่ ตัวเองเข้มแข็ง ไม่ตอ้ งคิดตาม

เยาวชน จึ ง จำ � ต้ อ งระดมกำ � ลั ง เพื่ อ

จิตอาสาให้กับเยาวชน ปลูกฝังให้เขา

เขา หรือตามค่านิยมที่ส่งทอดออกมา

สร้ า งความรู้ อั น เป็ น เกราะป้ อ งกั น

รู้ จั ก ตั ว เองตั้ ง แต่ ยั ง เด็ ก ให้ เ ขารู้ ว่ า

ผ่ า นสื่ อ ถ้ า เรามี ป ระชาชนแบบ

ที่ ดี ที่ สุ ด ให้ เ ขา แทรกสิ่ ง นี้ เ ข้ า ไปใน

ตัวเองคือเจ้าของตำ�บล เป็นส่วนหนึ่ง

นี้ จำ � นวนมาก พลั ง ของการพั ฒ นา

โรงเรียน ครู ผูบ้ ริหารชุมชน ผูป้ กครอง

ในการขับเคลื่อนพัฒนาตำ�บล

ในทางดี จ ะเกิ ด ขึ้ น แน่ น อน ทำ � อะไร

ต้องร่วมด้วยช่วยกัน

ก็สามารถทำ�ได้ ผลักดันอะไรก็ประสบ

ทุกวันนี้ กระบวนการสร้างพลัง

ผู้ บ ริ ห ารตำ � บลวั ง ใหม่ ไ ม่ เ คยมี

พลเมื อ งของตำ � บลวั ง ใหม่ ยั ง ได้ รั บ

นโยบาย เราเอานโยบายของ

การเสริมหนุนจากการทำ�งานร่วมกับ

ตอนนี้ จุ ด แข็ ง ของวั ง ใหม่ คื อ

ประชาชนมาทำ�งาน กระจายอำ�นาจ

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่

การที่คนยังเกาะกันเป็นกลุ่ม และให้

ให้เขาตัดสินใจ ร่วมคิด ทำ� ตรวจสอบ

ซึง่ เข้ามากระตุน้ ท้องถิน่ ทัง้ ในเรือ่ งองค์

ความสำ � คั ญ กั บ การเดิ น ไปข้ า งหน้ า

ในทุกโอกาสทุกเวที ด้วยกระบวนการ

ความรู้ การพัฒนาบุคลากร ตลอดจน

ของชุมชน เมื่อเขามีใจ เราก็สามารถ

พบปะ ทั้ ง ยั ง ดึ ง แกนนำ � ชาวบ้ า นมา

งบประมาณทีเ่ ข้ามา ทัง้ หมดล้วนนำ�มา

ดำ � เนิ น การจั ด ระบบให้ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม

ตั้งเป็นอนุกรรมการ มีส่วนร่วมในการ

ประยุกต์ใช้กบั สิง่ ทีท่ อ้ งถิน่ มีอยู่ นับเป็น

ประสิทธิภาพ

จัดทำ�แผน

ทิ ศ ทางที่ ดี สามารถตอบโจทย์ ก าร

ความสำ�เร็จ

ส่ ว นที่ ยั ง น่ า เป็ น ห่ ว งคื อ ภาวะ

สำ � หรั บ ทิ ศ ทางในอนาคตของ

สร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในพื้นที่


68

ประวิทย์ หนูเชื้อเรียง นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลชากไทย อำ�เภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

พลังพลเมืองคือพลังที่สร้างสุขภาวะภายในพื้นที่ โดย อาศัยการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ในการกำ�หนดแผน พัฒนาชุมชน ซึง่ ทางตำ�บลชากไทยพยายามอย่างยิง่ ทีจ่ ะปลูกฝัง แนวคิดของพลังพลเมือง เพื่อให้ชาวบ้านมีความรู้ความเข้าใจ และรู้ว่าตนเองคือพลังสำ�คัญหนึ่งที่จะช่วยขับเคลื่อนตำ�บลไปพร้อมกัน ทั้ง ชาวบ้าน ผู้นำ�ชุมชน ปราชญ์ ตลอดจนทุนทางสังคมอื่นๆ จุดเด่นของตำ�บลชากไทยอยู่ที่พลเมือง เรามีผู้นำ�ชุมชน ตลอดจนผู้นำ� กลุ่มต่างๆ ที่มีความเข้มแข็ง ต่างรู้ภาระหน้าที่และเป็นฟันเฟืองหนึ่งในการดึง ประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมกับงานในชุมชน ทั้งในงานประชุมระดับหมู่บ้าน ระดับตำ�บล ตลอดจนมีผู้นำ�แหล่งเรียนรู้ที่เข้มแข็ง ทั้ง 28 ฐานสามารถจัดการ ตัวเอง ร่วมกับนักวิชาการตำ�บลและสมาชิกกลุ่ม สิ่งเดียวที่อาจจะเป็นอุปสรรคสำ�หรับเราก็คือ ปัญหาเรื่องความเข้าใจ ซึ่ง ทางตำ�บลพยายามสร้างและเสริมความรู้ให้กับตำ�บล เพราะเราเชื่อว่าพลัง พลเมืองคือรากฐานของการพัฒนาตำ�บล และถ้าตำ�บลมีพลเมืองที่เข้มแข็ง


69

ตำ�บลชากไทยพยายามที่จะปลูกฝังแนวคิดของพลังพลเมือง เพื่อให้ชาวบ้านเกิด ความตระหนักว่าตนเองคือพลังสำ�คัญที่จะช่วยขับเคลื่อนตำ�บลไปพร้อมๆ กัน เพราะเราเชื่อว่าพลังพลเมืองคือรากฐานของการพัฒนาตำ�บล หากตำ�บลมีพลเมืองที่เข้มแข็ง ผลลัพธ์ก็จะตกแก่ประเทศชาติด้วยเช่นกัน

ผลลัพธ์ก็จะตกไปที่ประเทศชาติด้วย คื อ การทำ � ประชาคมระดั บ ตำ � บลใน

ฉลาด รู้ จั ก ตั ว เอง มี ค วามต้ อ งการ

เช่นกัน

ทุ ก เดื อ น เพื่ อ นำ � มาสู่ แ ผนพั ฒ นา

อยากพั ฒ นาตั ว เอง เพื่ อ สร้ า งพลั ง

ชุมชน เรื่องใดที่เป็นวาระเร่งด่วนจะ

พลเมืองอันจะแปรเปลี่ยนไปสู่ความ

ผลักดันให้ออกเทศบัญญัติต่อไป

เจริญที่ยั่งยืนของตำ�บล

ทางฝ่ายบริหารมองว่า เป้าหมาย ของการสร้างชุมชนเข้มแข็ง คือต้องให้ ประชาชนรู้จักตัวเอง เคารพในสิทธิ

นอกจากในส่วนของผูน้ �ำ ชาวบ้าน

การทำ � งานร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ย

ของตัวเอง และเคารพการมีอยู่ของผู้

แล้ว ตำ�บลชากไทยยังมี อสม. ทุกหมูบ่ า้ น

ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ถือเป็น

อืน่ ขณะเดียวกัน มีโจทย์ตามมาอีกข้อ

มีกลุ่มจิตอาสา ที่ทำ�งานร่วมกับชุมชน

โอกาสของชุ ม ชน เพราะให้ แ นวคิ ด

ด้วยว่า เราจะต้องให้พลเมืองเหล่านี้

โดยจะเน้นไปที่งานด้านสุขภาพเป็น

หลักคิด ตลอดจนมีกจิ กรรมทีเ่ ชือ่ มโยง

มีรายได้สามารถเลี้ยงปากท้องตัวเอง

หลัก เพราะอย่างในกรณีของ อสม.

ประชาชนกับตำ�บลเพิ่มมากขึ้น ผ่าน

และครอบครัวได้

นั้ น จะต้ อ งเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของคณะ

นโยบายสาธารณะ และในเรื่องของ

กรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ

การสร้างอาชีพจากกลุ่มวิสาหกิจครัว

ประจำ�ตำ�บลด้วย

เรือนต่างๆ ไปจนถึงการทำ�โฮมสเตย์

พื้ น ที่ ข องตำ � บลชากไทยเป็ น พื้นที่เกษตรกรรม ส่วนใหญ่ปลูกผล ไม้ การสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มจึ ง ต้ อ ง

ในอนาคตก็ ห วั ง ว่ า เราจะ

เกิดสังคมการทำ�งานที่ต้องก้าวไปด้วย

คำ�นึงถึงเรื่องเวลา อย่างเรามีการทำ�

สามารถสร้ า งความเข้ า ใจให้ กั บ

กัน โดยมีเป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา

ประชาคมทุกหมู่บ้าน เพื่อให้ชาวบ้าน

ประชาชนในพื้นที่ได้ ทั้งวัตถุประสงค์

ที่เน้นความยั่งยืน

ทั้ ง หมดได้ ม าร่ ว มหารื อ เสนอแผน

ตลอดจนเป้าหมายที่จำ�เป็นต้องรู้ร่วม

พัฒนาหมู่บ้าน จากนั้นก็จะมีเวทีใหญ่

กั น ที่ สำ � คั ญ คนของชากไทยจะต้ อ ง


70

เรวัต นิยมวงศ์

รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลชากไทย อำ�เภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี

ตำ�บลชากไทยมีจุดแข็งคือ ประชาชนมีความ เป็นหนึ่งเดียว เรามีความเป็นพลเมืองชากไทย ที่พร้อมจะผลักดันประเทศไทยให้ก้าวไปข้างหน้า ท้องถิ่นพยายามกระตุ้นให้เขาตระหนักรู้ว่า ทุกเรื่องคือเรื่องของเขา ทุกสิ่งที่ทำ�ล้วนกระทบ ต่อชีวติ ความเป็นอยู่ ฉะนัน้ ต้องเข้ามาเป็นส่วนหนึง่ แล้วเดินไปด้วยกัน พลังพลเมืองคือการที่คนตระหนักรู้ถึงความเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมรับผิดชอบ ตลอดจนความคิดที่อยากจะ เห็นชุมชนที่ตัวเองอาศัยพักพิงมีการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น ชากไทยมี ก ระบวนการสร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว ม เพื่ อ ให้ ทุ ก คนรู้ สึ ก ถึ ง ความเป็ น เจ้ า ของ ไม่ ว่ า พื้ น ที่ จ ะทำ � อะไร หรื อ ต้ อ งการตั ด สิ น ใจในเรื่ อ งใด ทุกคนต้องเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง เราพยายามให้เขารักษาสิทธิของตัวเอง และไม่ พยายามแสดงให้เห็นว่า ผู้แทนที่เขาเลือกเข้ามาตัดสินใจแทนเขาหมด ซึ่ง ณ ตอนนี้ ตำ�บลชากไทยมีเวทีพูดคุยระดับหมู่บ้าน และมีเวทีใหญ่ที่ใช้สรุปปัญหา รวมถึงรวบรวมแนวความคิดในการจัดทำ�แผน ในเวทีเล็กจะมีเจ้าหน้าที่เข้าไปนั่งฟังเพื่อเก็บข้อมูล โดยมีการพูดคุยอย่าง ต่อเนื่อง เพราะถ้าไม่ทำ�เช่นนี้ เราจะรู้แค่ความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐาน หรือปัญหาเฉพาะหน้าเท่านั้น การพูดคุยต่อเนื่องจะทำ�ให้เห็นความต้องการ ระยะยาว ซึ่งจะนำ�ไปสู่ความยั่งยืนด้านชีวิตความเป็นอยู่มากกว่า


71

นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารคุ ย ในกลุ่ ม

ชากไทยมองว่าการทำ�ให้ทุกคน

ตระหนัก รู้สิทธิ์รู้เสียง ด้วยการให้เขา

เช่น การพูดคุยในกลุ่มผู้สูงอายุ ซึ่งเขา

เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มเป็ น เรื่ อ งสำ � คั ญ

เห็นภาพอย่างง่ายที่สุด เช่น ในเรื่อง

จะมาคุยกันถึงเรื่องคุณภาพชีวิตความ

เพราะการเดินไปข้างหน้า เราอยาก

ของงบประมาณบริหารจัดการ สมมุตวิ า่

เป็ น อยู่ มี เ รื่ อ งของผู้ สู ง อายุ ติ ด บ้ า น

ให้ ช าวบ้ า นเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ น ทั้ ง ใน

เรามีงบก้อนหนึง่ ปรับปรุงถนน แต่เรามี

ติ ด เตี ย ง นี่ เ ป็ น กระบวนการบริ ห าร

เรื่องของการกำ�หนดทิศทาง อาจจะ

8 หมู่บ้าน ผู้บริหารจะมาตัดสินใจว่า

จั ด การแบบกลุ่ ม โดยมี เ จ้ า หน้ า ที่

เริ่มสร้างสำ�นึกภายในครอบครัว เพื่อ

เอางบมาลงที่หมู่บ้านใดหมู่บ้านหนึ่ง

เข้าไปสนับสนุนดูแล ปัญหาหรือความ

สร้างสายใยส่งผ่านมาถึงชุมชน อยาก

เช่ น นั้ น คงไม่ ดี แ น่ แต่ ต้ อ งมาคุ ย กั น

เคลือ่ นไหวจะได้รบั การหยิบยกเพือ่ นำ�

ให้ เ ขาตระหนั ก รู้ ว่ า ทุ ก เรื่ อ งคื อ เรื่ อ ง

ด้วยเหตุผล เห็นความจำ�เป็นเร่งด่วน

ไปสู่เวทีใหญ่อีกครั้ง

ของเขา ทุกสิ่งที่ทำ�ล้วนตกกระทบต่อ

เพราะอย่างที่บอก มันเป็นของพวก

ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ฉะนั้ น ต้ อ งเข้า มา

เขาทั้งนั้น เราแค่เข้ามาเป็นสื่อกลาง

ตำ�บลชากไทยมีจุดแข็งคือ ผ่าน การหล่อหลอมเป็นหนึ่งเดียว เป็นการ

เป็นส่วนหนึ่ง แล้วเดินไปด้วยกัน

นอกจากนี้ การทำ�งานร่วมกับ

ขับเคลื่อนโดยตำ�บลไปเองได้ เพราะ

เราตั้งเป้า ว่ า จะต้ องคื นอำ �นาจ

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่

พวกเรามีความเป็นพลเมืองชากไทย

การบริ ห ารให้ กั บ ประชาชน 100

ก็ ช่ ว ยให้ ตำ � บลพั ฒ นาอย่ า งก้ า ว

ที่พร้อมจะผลักดันประเทศไทยให้ก้าว

เปอร์เซ็นต์ หากแต่ต้องค่อยเป็นค่อย

กระโดด เรามีเวทีการจัดการความรู้

ไปข้างหน้า

ไป เพราะตอนนี้ชาวบ้านส่วนหนึ่งยัง

ร่วมกัน การได้ไปศึกษาดูงานทำ�ให้ได้

ขณะเดี ย วกั น ต้ อ งทำ � ความ

คิดว่าผู้บริหารคือผู้นำ� มีหน้าที่บริหาร

เห็นของดี ซึ่งสามารถนำ�มาปรับใช้กับ

เข้าใจว่า พื้นที่ตำ�บลชากไทยคือสังคม

ชุ ม ชนแทนเขา จึ ง จำ � เป็ น ต้ อ งสร้ า ง

พืน้ ทีไ่ ด้เลย ทัง้ ยังช่วยสร้างความร่วมมือ

เกษตรกรรม ดั ง นั้ น กระบวนการมี

ความเข้ า ใจในจุ ด นี้ ใ หม่ กระนั้ น ณ

ร่ ว มใจผ่ า นกิ จ กรรมที่ เ ปิ ด โอกาส

ส่วนร่วมที่เราหวังไว้ร้อย มันไม่ได้เต็ม

เวลานี้ เรากล้าพูดได้ว่ากระบวนการ

ให้ ช าวตำ � บลเข้ า ร่ ว ม ใน 3 ปี ที่ เ รา

ร้อย การที่เราสร้างเวทีพูดคุยให้เขา

มี ส่ ว นร่ ว มของตำ � บลชากไทยนั้ น

อยู่ ได้ ร่ ว มทำ � งานกั บ เครื อ ข่ า ย เรา

ก็คงไม่ตอบโจทย์คนทั้งหมด แต่หาก

มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์

เปลี่ยนแปลงเยอะ ล้วนไปในทางที่ดี

ทำ�ได้ ก็อยากให้ชาวชากไทยทุกคนเห็น

ตอนนี้ เ ราพยายามสร้ า งการ

และที่สำ�คัญเรามีพลเมืองมากขึ้นจาก

ตรงนี้เป็นหน้าที่หนึ่ง โดยเราพยายาม

มี ส่ ว นร่ ว มเพิ่ ม ขึ้ น โดยให้ เ ขาเข้ า ใจ

การเข้ า ไปมี ส่ ว นร่ ว มกั บ การทำ � งาน

ไม่ให้เขารูส้ กึ ว่าตรงนีเ้ ป็นภาระ

กระบวนการทำ � งาน สร้ า งให้ เ ขา

ของตำ�บล


72

สุชาติ จิตมุ่งมโนธรรม

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบางปิด อำ�เภอแหลมงอบ จังหวัดตราด

พลังพลเมืองในความคิดผมคือ พลังการร่วมมือร่วมแรง ร่วมใจในการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับชุมชน เห็นแก่ประโยชน์ ของส่วนรวมเป็นที่ตั้งมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ตำ � บลบางปิ ด มี ก ารบริ ห ารจั ด การแบบมี ส่ ว นร่ ว ม ซึ่ ง เป็นส่วนหลักในการสร้างพลังพลเมืองของเรา โดยเรามีการพบปะพูดคุยกันถึง ปัญหาต่างๆ ของตำ�บล ผ่านเวทีประชาคมเดือนละ 1 ครั้ง โดยทุกหมู่บ้านมา รวมกันที่จุดนัดหมาย ถ้าหมู่บ้านไหนกำ�ลังมีปัญหาเร่งด่วน เราก็จะเข้าไปที่นั่น มีประชาชนเป็นกำ�ลังสำ�คัญ มี อบต. อำ�เภอ ตำ�รวจ ส่วนฝ่ายปกครองเข้าไป หนุนเสริม นอกจากนี้ยังมีเรื่องของตัวกิจกรรม ตัวอย่างเช่น หมู่ที่ 8 บ้านพรงสน ซึ่งมี การจัดการแยกขยะ ลดเสีย่ งลดโรค การออกกำ�ลัง โดยให้ประชาชนเข้ามาคุยกัน ถึงสิ่งที่ต้องการปรับแก้ แล้วนำ�ไปสู่การปรับใช้ในที่สุด ที่สำ�คัญยังมีเรื่องของตลาดนัดชุมชน ที่เป็นการร่วมมือกันระหว่าง อบต. กับประชาชน ในการจัดสรรพื้นที่ใช้ประโยชน์ให้กับกลุ่มที่ปลูกพืชปลอดสารเคมี


73

พลังพลเมือง คือพลังของการร่วมแรงร่วมใจในการสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้กับชุมชน เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้งมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ถ้าท้องถิ่น เปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วม การทำ�งานทุกอย่างก็จะดำ�เนินไปด้วยความเข้าใจ ระหว่างฝ่ายบริหารกับประชาชน

ได้ เ ข้ า มาใช้ พ้ื น ที่ ใ นการกระจาย

ปัญหาเลย ทุกอย่างดำ�เนินด้วยความ

ให้เห็นถึงความเข้มแข็งของพลเมือง

สิ น ค้ า เรี ย กว่ า เป็ น ตลาดนั ด สี เ ขี ย ว

เข้าใจร่วมกันระหว่างฝ่ายบริหารกับ

ในพื้ น ที่ ตลอดจนความจริ ง ใจของ

ที่มีรากฐานมาจากความร่วมมือของ

ประชาชน

ฝ่ า ยบริ ห ารที่ ไ ม่ ต้ อ งการยึ ด ตั ว เอง

ประชาชนที่ ป ลู ก พื ช ปลอดสาร และ

ส่ ว นเรื่ อ งที่ ยั ง น่ า เป็ น ห่ ว ง คื อ

เป็นศูนย์กลางของอำ�นาจ ซึ่งขณะนี้

การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ของ อบต.

เรื่องของความคิด หลายคนยังกังวล

เวทีประชาคมคือศูนย์กลางในการแก้

เพราะเห็นว่าเป็นสิ่งดีที่ควรได้รับการ

ถึงเรื่องของต้นทุน ทั้งเวลา การลงแรง

ปัญหาทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ

ต่อยอด

ความเป็ น จิ ต อาสายั ง ไม่ เ กิ ด อย่ า ง

ด้านอื่นๆ ครบถ้วน

ส่วนในเรื่องของ อสม. จิตอาสา

ครอบคลุม อันนี้เป็นความจริงที่ต้อง

นอกจากนี้ ยังมีการเข้ามาของ

เรามีอยูใ่ นพืน้ ที่ โดยทำ�งานกันเป็นกลุม่ ยอมรับในทุกพื้นที่

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่

ในหมู่บ้านหนึ่งจะมีมากกว่า 10 คน

เมื่อ ก่อ นเราไม่ คิ ด ทำ �เรื่ องพลั ง

ที่ช่วยหนุนเสริมในการสร้างและผลัก

ผลั ด เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นดู แ ลคนใน

พลเมื อ ง แต่ เ มื่ อ ได้ ทำ � แล้ ว ก็ ทำ � ให้

ดันพลังพลเมืองในพื้นที่ตำ�บลบางปิด

หมู่บ้าน ทั้งการออกเยี่ยม รณรงค์ให้

ประชาชนรู้หน้าที่ของตัวเอง ได้เห็น

เ พ ร า ะ เ ป็ น ส่ ว น สำ � คั ญ ที่ ช่ ว ย ใ ห้

ความรู้ และงานด้านสาธารณสุขต่างๆ

ประโยชน์ที่จะได้รับ คืออย่างน้อยเรา

ประชาชนของเราได้ เ กิ ด ความคิ ด

ของตำ�บล

รู้ว่า ประชาชนเป็น ผู้ได้รับประโยชน์

ความรู้ จนสร้ า งสรรค์ สิ่ ง ดี ๆ ที่ เ ป็ น

จริงๆ เราก็เช่นเดียวกัน

ประโยชน์ ผ่ า นกระบวนการเรี ย นรู้

ทีน่ เ่ี ด่นในเรือ่ งของการมีสว่ นร่วม เป็นหลัก ยิ่งถ้าเราเปิดโอกาส มีการ

การกระจายอำ�นาจของเราตอนนี้

ประสานงานที่ดี และสามารถเข้าถึง

อาจไม่ เ ต็ ม ที่ เ ท่ า ที่ ค วร แต่ ก ารทำ �

ใจประชาชนได้ การทำ�งานแทบไม่มี

ประชาคมก็เป็นปัจจัยสำ�คัญที่แสดง

ร่วมกันในเครือข่าย


74

มณฤดี ศรีคุณ

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลบางปิด อำ�เภอแหลมงอบ จังหวัดตราด

ณ วันนี้ ผู้บริหารของตำ�บลบางปิด ได้เปิดโอกาส เต็มที่ให้กับประชาชน เราไม่เคยมองว่าอำ�นาจตรงนี้ เป็นของตัว หากยึดเสมอว่าประชาชน เป็นคนเลือกผู้บริหาร เป็นเจ้าของอำ�นาจที่แท้จริง เราพยายามคืนอำ�นาจนี้ให้ประชาชน เข้ามาช่วยกันบริหารจัดการ พลังพลเมืองคือ การที่คนกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งมีแนวคิดใน การทำ�ประโยชน์เพื่อส่วนรวม มาร่วมทำ�กิจกรรมเพื่อสร้างการ เปลีย่ นแปลงในเชิงบวกให้กบั ชุมชนทีต่ นอาศัยอยู่ อย่างทีต่ �ำ บล บางปิดนัน้ ประชาชนมีส�ำ นึกของความเป็นพลเมืองทีด่ ี ร่วมมือ ร่วมแรงและร่วมใจในสาธารณประโยชน์ของตำ�บล ที่บางปิดนั้น ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร อันมีทั้งนายก อบต. กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชน ทั้งหมดล้วนมีความเท่าเทียม ต่างเป็นพลเมืองของบางปิด โดยที่นี่ มีการผลักดันพลังพลเมืองผ่านเวทีประชาคม ซึ่งเป็นเวทีที่ทุกคนมารวมกัน เพื่อ พูดคุยตลอดจนรับฟังเรือ่ งราวทีเ่ ป็นปัญหา หรือความต้องการของประชาชน อัน จะนำ�ไปสู่การตอบสนองทั้งในรูปแบบข้อบัญญัติ ตลอดจนการลงมือแก้ปัญหา ต่อไป ต้องยอมรับว่า จุดแข็งของบางปิดคือการที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการ ฝ่ายตัวแทนบริหารได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก ประชาชนในพื้นที่ หรือกระทั่งการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


75

อื่นๆ ในยามที่เรียกหาความร่วมมือ

ไม่จบ เพราะต้องเข้ามาช่วยเราบริหาร

พูดคุยกันในประชาคม บอกกล่าวเลย

กระนั้นในจุดแข็งนี้ก็ยังมีจุดอ่อน ด้วย

จัดการด้วย

ว่า ทาง อบต. ได้รับงบประมาณใน

ประชาชนส่วนหนึ่งยังประสบปัญหา

บางปิดมี 3 เวทีให้ประชาชนเข้า

ส่วนนีแ้ ละต้องนำ�มาทำ�อะไรบ้าง ทัง้ นี้

เรื่องความยากจน ขาดโอกาส ดังนั้น

มา เริ่มตั้งแต่เวทีประชาคม ซึ่งจัดทำ�

เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชน

ประชาชนกลุ่ ม นี้ จ ะยึ ด ว่ า ครอบครั ว

ในระดับหมู่บ้าน ไปจนถึงระดับตำ�บล

จากกลุ่ ม เล็ ก ๆ ขยายสู่ ก ลุ่ ม ใหญ่

ต้ อ งมาก่ อ น และมุ่ ง ทำ � กิ น มากกว่ า

โดยในระดับหมู่บ้านนั้นนำ�โดยผู้ใหญ่

ทั้งตำ�บลในที่สุด

จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร

บ้ า น คณะกรรมการหมู่ บ้ า น และ

คนบางปิดเข้ามามีส่วนร่วมมาก

จัดการตำ�บล

ชาวบ้ า น เพื่ อ รั บ ฟั ง ปั ญ หาของชาว

ขึ้ น จากการที่ มี เ ครื อ ข่ า ยร่ ว มสร้ า ง

โดยแท้ จ ริ ง แล้ ว พลั ง พลเมื อ ง

บ้ า นอยู่ เ สมอ จากนั้ น จะมี เ วที ใ หญ่

ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ มีการแลกเปลี่ยน

มี ค วามสำ � คั ญ มากต่ อ การพั ฒ นา

ระดั บ ตำ � บลที่ จ ะดึ ง เรื่ อ งทั้ ง หมดเข้ า

องค์ ค วามรู้ ผ่ า นการศึ ก ษาดู ง าน

ตำ�บล ยิ่งหากเราสามารถรวมคนให้

มาพิ จ ารณา เรื่ อ งใดเร่ ง ด่ ว นที่ สุ ด

ประชาชนที่ไม่เคยเข้าร่วมกับ อบต.

เป็นหนึ่งเดียวแล้ว ไม่ว่าจะมีปัญหา

เรื่องใดทำ�ได้ก่อน เวทีต่อมาคือเวที

เลย ก็เข้ามามีส่วนในงานมากขึ้น ผ่าน

อะไร หรื อ แนวทางการพั ฒนาแบบ

ประชารวมใจ เป็นเวทีทุกภาคส่วนที่มี

แหล่งเรียนรู้ ตลอดจนโฮมสเตย์ทไี่ ด้รบั

ไหน ก็สามารถขับเคลือ่ นไปได้โดยง่าย

การดึ ง ทั้ ง ภายในและภายนอกเข้ า

การยกระดั บ ให้ เ ป็ น ระบบระเบี ย บ

ยิ่ ง ถ้ า พลั ง พลเมื อ งเล็ ก ๆ นี้ มี ค วาม

ร่ ว ม และอี ก เวที ห นึ่ ง คื อ เวที ป ระชา

เพื่อต้อนรับเพื่อนเครือข่ายที่เข้าร่วม

เข้มแข็ง ผลสัมฤทธิ์ก็จะตกสู่ประเทศ

พิจารณ์ ซึ่งจะมีในกรณีที่ อบต. จะ

แลกเปลี่ยน

ชาติด้วยเช่นกัน

ดำ�เนินโครงการใดก็ตามทีม่ ผี ลกระทบ

วันนี้บางปิดเคลื่อนที่ไปได้ด้วย

ณ วันนี้ ผู้บริหารของบางปิด ได้

ต่ อ ความเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชน เพื่ อ ให้

การมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วน แม้การ

เปิดโอกาสเต็มที่ให้กับประชาชน ด้วย

ประชาชนได้รับรู้ และร่วมแสดงความ

บริหารจัดการจริงๆ จะมีลักษณะของ

เราไม่ เ คยเห็ น อำ � นาจตรงนี้ เ ป็ น ของ

คิดเห็นว่าชอบไม่ชอบโครงการนั้น

ตั ว แทน แต่ เ ราก็ พ ยายามให้ ค วาม

ตัว หากยึดเสมอว่าประชาชนเป็นคน

นอกจากนี้ เรายังมีเพือ่ นเครือข่าย

เลือกผูบ้ ริหาร เป็นเจ้าของอำ�นาจทีแ่ ท้

ร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ที่เข้ามา

จริง เราพยายามคืนส่วนนี้ และย้ำ�ว่า

ทำ�งานร่วมกัน ตอนแรกคนบางปิดก็

เลือกตั้งแล้วหน้าที่ของประชาชนยัง

ไม่เข้าใจ แต่ทางฝ่ายบริหารก็น�ำ เรือ่ งนี้

รู้ สร้างสำ�นึกของความเป็นพลเมือง ในพื้นที่แห่งนี้


76

นิลภา จิระรัตนวรรณะ

ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการเพื่อการจัดการเครือข่ายภาคกลางตะวันออก

การสร้างพลังพลเมืองในชุมชนท้องถิน่ ต้องเริม่ ต้นด้วยการ ช่วยให้ชุมชนมีความเข้าใจในตัวตนของเขาเองมากขึ้น และเกิด ความภาคภูมใิ จในสิง่ ทีเ่ ขามี ในฐานะนักวิชาการซึง่ เป็นคนนอก เมื่อได้เข้าไปคลุกคลีในพื้นที่ทำ�ให้ได้เห็นจุดเด่นและศักยภาพ ของแต่ละชุมชนชัดเจนขึ้น โดยนักวิชาการจะช่วยชี้ให้เขามองเห็นตนเอง เพื่อให้ เขาดึงศักยภาพของตนขึ้นมาให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนัน้ นักวิชาการยังช่วยชีแ้ นะช่องทางทีป่ ระชาชนจะสามารถพัฒนา ตนเองขึ้นไปเรื่อยๆ โดยมีเครื่องมือประเมินและชี้วัดผลลัพธ์จากกระบวนการ เพื่อให้เขามองเห็นว่า สิ่งที่เขากำ�ลังทำ�อยู่นั้นจะนำ�ไปสู่คำ�ตอบอะไรได้บ้าง และ เป็นประโยชน์สำ�หรับตัวเขาและชุมชนในระยะยาวอย่างไร เมื่อเราลงพื้นที่แต่ละครั้งจะเป็นการทำ�หน้าที่หนุนเสริม ช่วยให้เขาได้เห็น ความเชื่อมโยงของกิจกรรมต่างๆ ที่ทำ�อยู่มากขึ้น เพราะสิ่งที่เขาเป็นอยู่นั้นคือ วิถีชีวิตปกติจนทำ�ให้เขาเองอาจมองข้ามไป เช่น กลุ่มอาชีพผลิตขนมทองม้วน ชาวบ้ า นอาจไม่ ไ ด้ รู้ สึ ก ว่ า การทำ � ทองม้ ว นจะมี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การพั ฒนา


77

บทบาทของนักวิชาการเป็นเพียงผู้ชี้แนะเพื่อให้ชาวบ้านฉุกคิด ช่วยจุดประกาย ให้เขาพัฒนาในสิ่งที่เขามีเป็นทุนเดิมอยู่แล้วให้เกิดการพัฒนาไปในทิศทางที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น อาจกล่าวได้ว่า ทุกพื้นที่ล้วนมีพลังของตนเอง แต่จะมากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับ โอกาสและการสนับสนุนของท้องถิ่น

คุ ณ ภาพชี วิ ต อย่ า งไร เกี่ ย วข้ อ งกั บ

นัดหมาย หรือบางคนอาจมีความเชื่อ

สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของ

สภาพแวดล้อมทางสังคมอย่างไร แต่

มั่ น ในเรื่ อ งจิ ต อาสาดู แ ลผู้ ป่ ว ย เขา

ประชาชน ผลตอบรับที่ได้ก็คือ ยิ่งจัด

เมื่อเราชี้ให้เขาเห็นถึงความเกี่ยวโยงที่

ก็ พ ร้ อ มจะอุ ทิ ศ ตนให้ กั บ งานนั้ น ๆ

กระบวนการเหล่ า นี้ ใ ห้ เ ป็ น ระบบได้

ร้อยรัดกันก็ทำ�ให้เขาเกิดความผูกพัน

อย่างเต็มกำ�ลัง ซึ่งหากพลังเหล่านี้ถูก

มากเท่าไหร่ ประชาชนก็จะตระหนัก

ดั ง นั้ น บทบาทของนั ก วิ ช าการจึ ง

ขับเน้นออกมาก็จะเกิดภาพที่ชัดเจน

ในพลังของตนว่าหลายเรื่องเป็นสิ่งที่

เป็นการพูดคุยแนะนำ�เพือ่ ให้เขาฉุกคิด

มากขึ้น

เขาสามารถจัดการกันเองได้ แทนทีจ่ ะ

หรือช่วยจุดประกายให้เขาพัฒนาในสิง่

จากการที่ ไ ด้ มี โ อกาสสั ม ผั ส

ที่เขามีเป็นทุนเดิมอยู่แล้วให้เกิดการ

ความเป็นพลเมืองในแต่ละพื้นที่ อาจ

พัฒนาไปในทิศทางที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น

กล่ า วได้ ว่ า ทุ ก พื้ น ที่ ล้ ว นมี พ ลั ง ของ

พลั ง พลเมื อ งจะเกิ ด ขึ้ น ได้ ถ้ า

ความเป็ น พลเมื อ งจะเข้ ม แข็ ง

ตนเอง เพียงแต่จะมากหรือน้อยก็ขึ้น

ทำ � ให้ ป ระชาชนค่ อ ยๆ ซึ ม ซั บ เรื่ อ ง

มากน้ อ ยแค่ ไ หนอาจวั ด ได้ ที่ ค วาม

อยู่ กั บ โอกาสและการสนั บ สนุ น ของ

กระบวนการมีสว่ นร่วม ซึง่ ต้องใช้เวลา

สามัคคีของคนในชุมชนเอง ซึง่ อันทีจ่ ริง

ท้องถิ่น

บ่ ม เพาะ เริ่ ม ต้ น จากจุ ด เล็ ก ๆ ด้ ว ย

ยกปัญหาทุกอย่างให้เป็นหน้าทีอ่ งค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด

ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ชุ ม ชนมี อ ยู่ แ ล้ ว แต่ อ าจมี

ณ วั น นี้ ก ารเมื อ งท้ อ งถิ่ น มี

การเปลี่ยนวิธีคิดของแต่ละคน ต้อง

ลักษณะทีต่ า่ งกันออกไป ยกตัวอย่างเช่น

บทบาทสูง ผู้บริหารหรือผู้นำ�องค์กร

ตอกย้ำ�และฝึกฝนอย่างต่อเนื่องจึงจะ

ชาวบ้านกลุม่ หนึง่ มีความเลือ่ มใสศรัทธา

ปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนสำ�คัญที่จะ

เกิดความยั่งยืน

ในพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง ทุกครัง้

ช่วยยกระดับของพลังพลเมือง ขณะ

เมื่อ ทางวั ด จั ด กิ จ กรรมใด ชาวบ้ า น

เดียวกัน ภาคนักวิชาการก็เป็นส่วนหนึง่

ก็ จะไปร่ ว มไม้ ร่ วมมื อ กัน โดยไม่ต้อ ง

ที่ จ ะช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การต่ อ ยอด


78

กนกศักดิ์ ดวงแก้วเรือน

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ทา อำ�เภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่

ที่ผ่านมาความหวังของประชาชนถูกฝากไว้ กับการปฏิรูปทางการเมืองมา 10 กว่าปี ความหวังถูกวางไว้บนมือของนักการเมือง ผู้แทนราษฎร ถึงวันนี้เราต้องคิดใหม่ ว่าการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนต้องเริ่มต้นจากประชาชน

‘พลเมื อ ง’ คื อ พี่ น้ อ งประชาชนทุ ก คน ในความเป็ น พลเมืองนอกจากจะสามารถดูแลตัวเองได้แล้ว ก็ยังต้องดูแล ครอบครัวได้ และสนใจเรื่องของส่วนรวม มีจิตสาธารณะ ช่วย งานสังคม ช่วยออกความคิดเห็นในเรือ่ งต่างๆ และยินดีออกมา ช่วยกันทำ�งานสาธารณะด้วยความแข็งขัน ตำ�บลแม่ทาตั้งอยู่ในเขตป่า พื้นที่โดยรอบหมู่บ้านจึงถูกประกาศให้เป็น ทรัพย์สินของกรมป่าไม้ ดังนั้นชาวบ้านจึงไม่กล้าเข้าไปก้าวก่ายในพื้นที่สงวน เหล่านั้น แต่หากมองย้อนกลับไปในอดีต ชาวบ้านจะมองว่าสิ่งที่อยู่รอบตัวล้วน เป็นของเขา เขาจึงร่วมมือร่วมใจกันดูแลทรัพยากรเหล่านั้นอย่างเต็มกำ�ลังความ สามารถ ฉะนั้นสิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องปฏิบัติคือ การปรับเปลี่ยนวิธี คิดใหม่ โดยให้ชาวบ้านเป็นผู้มีส่วนสำ�คัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรดังที่เคยเป็น มา เพราะที่ผ่านมาชาวบ้านมักถูกภาครัฐปลูกฝังความคิดว่า ทุกเรื่องเป็นหน้าที่ ของผู้อื่น หาใช่เรื่องของตัวเอง


79

การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร

นี้เองจะเป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการ

โอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับ

ท้องถิน่ ทุกวันนี้ แม่ทามีพนื้ ที่ 70,000

เปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทาง

ตำ � บลอื่ น ๆ และนำ � กลั บ มาพั ฒ นา

ไร่ แต่เป็นพื้นที่ป่าสงวนกว่า 60,000

ทีด่ ไี ด้ในภายภาคหน้า เพราะทีผ่ า่ นมา

ต่อยอดในชุมชนตัวเอง

ไร่ และเป็นพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์เพียง

ความหวังของประชาชนถูกฝากไว้กับ

ในอนาคตเรามุ่งหวังให้ชาวบ้าน

5,000 ไร่ ซึง่ ในความเป็นจริงชาวบ้าน

การปฏิรูปทางการเมืองมา 10 กว่าปี

สามารถดูแลตนเองได้ และต้องสร้าง

กว่า 5,000 ชีวิตในตำ�บลแม่ทาล้วน

ความหวังถูกวางไว้บนมือของนักการ

ทุ นทางสั ง คมของตนเองขึ้ นมาให้ ไ ด้

มีความจำ�เป็นต้องเข้าไปใช้ประโยชน์

เมื อ ง ผู้ แ ทนราษฎร แต่ เ มื่ อ ภาค

โดยการส่งเสริมให้คนในตำ�บลเข้ามามี

จากป่า ฉะนั้นเราจึงต้องมีการบริหาร

การเมื อ งเริ่ ม เข้ ม แข็ ง แต่ ป ระชาชน

บทบาทในการดูแลกันเองมากขึ้น เช่น

จัดการทรัพยากรที่ดี ให้ชาวบ้านช่วย

และชุมชนท้องถิ่นกลับอ่อนแอ ดังนั้น

หมอ ครู พระสงฆ์ ไปจนถึงปราชญ์

กั น ดู แ ลรั ก ษา ช่ ว ยกั น อนุ รั ก ษ์ และ

จึงไม่มีทางที่นักการเมืองจะสามารถ

ชาวบ้าน

ทำ�ให้พวกเขาสามารถใช้ประโยชน์จาก

เปลี่ยนแปลงประเทศได้ เพราะการ

การจั ด การภายในชุ ม ชนใน

ป่าควบคู่ไปกับการไม่ทำ�ลาย

เปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืนต้องเริ่มต้นจาก

อนาคตข้ า งหน้ า เราคาดหวั ง ว่ า จะ

ประชาชน

สามารถร่างกฎระเบียบของชุมชนขึ้น

สำ�หรับกิจกรรมต่างๆ ทีช่ าวบ้าน สามารถเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ

หลังจากที่เราเข้าร่วมโครงการ

มาเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของเราเอง

ทำ�งาน เช่น การสร้างถนน การสร้าง

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่ และหากมองไปไกลกว่านั้นเราจะต้อง

ฝาย ซึง่ งานเหล่านี้ อบต. ไม่จ�ำ เป็นต้อง

ตำ�บลแม่ทาก็สามารถบริหารจัดการ

ร่ ว มกั นวางผั ง ชุ ม ชนในระยะ 10 ปี

ว่าจ้างผู้รับเหมาเลย แต่จะให้ชาวบ้าน

งานต่างๆ ได้อย่างเป็นระบบระเบียบ

เพื่อเป็นจุดกำ�หนดว่าบ้านเรือนจะอยู่

ลงมื อ ลงแรงกั น เอง เพื่ อ ให้ พวกเขา

มากขึ้น และยังทำ�ให้เราเริ่มทบทวน

จุดใด พืน้ ทีเ่ กษตรจะอยูใ่ นละแวกไหน

รู้ สึ ก ถึ ง ความเป็ น เจ้ า ของ โดยการ

ว่าจะหาจุดสื่อสารกับชาวบ้านอย่างไร

เพื่อให้การพัฒนาขับเคลื่อนตำ�บลเป็น

ทำ�งานจะมุ่งเน้นในการใช้งาน ใช้เงิน

ทั้ ง ยั ง สามารถสร้ า งแหล่ ง เรี ย นรู้

ไปอย่างยั่งยืนและเกิดรูปธรรม

ใช้คน ให้เหมาะสมกับเรื่องนั้นๆ

ในชุมชนเพื่อเป็นจุดถ่ายทอดความรู้

พลังความมีส่วนร่วมของชุมชน

ให้ กั บ ชาวบ้ า น นอกจากนั้ น ยั ง เปิ ด


80

ขยัน วิพรหมชัย นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลอุโมงค์ อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�พูน

คำ�ว่า ‘พลังพลเมือง’ ในความหมายของตำ�บลอุโมงค์ คือ การทำ�ให้ประชาชนรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของชุมชน ให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการดูแลชุมชน และร่วมกันสร้างให้เกิดพลังที่มา จากชาวบ้านอย่างแท้จริง ก่อนอื่นต้องบอกว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมีหน้าที่ในการดูแล คนในชุมชนให้มีสุขภาพที่ดีทั้งกายและใจ ทั้งยังต้องสร้างสังคมที่ดี สิ่งแวดล้อม ที่ดี สร้างรากฐานครอบครัวให้อบอุ่น และทำ�งานร่วมกับภาคีทุกภาคส่วนได้ โดยไม่เลือกปฏิบัติ ซึ่งการดำ�เนินงานของตำ�บลอุโมงค์ถือว่าประสบความสำ�เร็จ จนกลายเป็นแม่แบบให้ตำ�บลอื่นนำ�ไปเป็นแบบอย่าง เช่น โครงการเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการปลูกที่กิน กินที่ปลูก ลดรายจ่าย โครงการออมบุญวันละบาท เป็นต้น สำ � หรั บ โครงการออมบุ ญ ฯ ขณะนี้ เ รามี ส มาชิ ก ประมาณ 7,200 คน โครงการนี้เป็นกิจกรรมที่ทำ�ให้คนรู้จักเก็บออมเงิน เพื่อนำ�เงินออมส่วนนั้นมา แปรเป็นสวัสดิการชีวิตของชาวบ้านเอง ณ วันนี้เรามีเงินในกองทุนประมาณ


81

การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นสำ�หรับผม ความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน ต้องมีความสำ�คัญเท่าเทียมกัน ไม่มีใครเสียงดังกว่าใคร

8,000,000 บาท ทั้งนี้ ตำ�บลอุโมงค์ยังมีโครงการ จิตอาสา สังคมไม่ทอดทิ้งกัน หรือที่

นอกจากจะทำ � ให้ ผู้ สู ง อายุ ไ ด้ ค วาม

กั น เสนอแนวทางขึ้ น มา ทั้ ง นี้ อบต.

รู้ ยังทำ�ให้พวกเขาได้ใช้เวลาว่างทำ�

ยังทำ�งานร่วมกับตัวแทนจากสภาเด็ก

กิจกรรมร่วมกัน

และเยาวชน และตัวแทนผู้สูงอายุ ซึ่ง

เรี ย กกั นว่ า ‘กลุ่ ม อาสาสมั ค รปั น สุ ข

สำ�หรับกลไกในการรับฟังเสียง

คนตำ�บลอุโมงค์’ ซึ่งสมาชิกกลุ่มจะมี

ของประชาชน ตำ�บลเรามีการจัดแผน

หน้าที่ในการช่วยเหลือดูแลผู้ที่ตกทุกข์

ชุ ม ชน มี ก ารทำ � ประชาคมกั บ ชุ ม ชน

ในอนาคต อบต.อุโมงค์ จะผลักดัน

ได้ยาก ผู้ที่ลำ�บาก ผู้ที่เจ็บป่วย จนถึง

ให้ชาวบ้านมีสว่ นร่วมในเรือ่ งต่างๆ เพือ่

ให้ เ กิ ด โครงการ ‘การเมื อ งสี ข าว’

ขณะนี้สามารถรวบรวมสมาชิกได้กว่า

รับฟังข้อเสนอร้องเรียนของชาวบ้าน เพราะจะเห็นได้ว่าวิกฤติการเมืองที่

90 คน

ตั ว อย่ า งการมี ส่ ว นร่ ว มในการเสนอ

เกิ ด ขึ้ น ทุ กวั น นี้ ล้ ว นเกิ ด จากซื้ อ สิ ท ธิ์

ในด้ า นการดู แ ลผู้ สู ง อายุ เ รา

ข้อคิดเห็นจากชาวชุมชนส่วนใหญ่จะ

ขายเสี ย ง ซึ่ ง ทำ � ให้ ค นซื่ อ มื อ สะอาด

มี โ ครงการ ‘โรงเรี ย นดอกซอมพอ’

เป็นเรือ่ งโครงสร้างพืน้ ฐาน ซึง่ ชาวบ้าน

ที่ไม่มีเงิน หมดโอกาสเข้ามาทำ�งาน

(ดอกไม้ ที่ ผู้ สู ง อายุ มั ก นำ � มาทำ � บุ ญ

จะช่ ว ยกั น จั ด ลำ � ดั บ ความสำ � คั ญ ว่ า

ดังนัน้ เราจึงต้องระดมสมองช่วยกันคิด

ไหว้พระ) โดยจะเปิดโอกาสให้คนแก่

ควรสร้างถนนเส้นไหนก่อนหรือหลัง

หลักสูตรว่าจะสามารถสื่อสารออกไป

คนเฒ่ า ได้ เ ข้ า มาเรี ย นรู้ ร่ ว มกั น การ

สร้างสะพานตรงจุดใด ควรจะจัดการ

ให้ชาวบ้านตระหนักถึงความเสียหาย

เรี ย นการสอนจะมุ่ ง เน้ น ในเรื่ อ งการ

วางท่ อ ระบายน้ำ � เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หา

จากการซื้ อ สิ ท ธิ์ ข ายเสี ย งหรื อ ความ

ดูแลสุขภาพตนเอง ทำ�อย่างไรไม่ให้

น้ำ�ท่วมอย่างไร หรือแม้แต่เรื่องการ

อันตรายของนโยบายประชานิยมได้

เจ็ บ ป่ ว ย ประโยชน์ ข องโครงการนี้

แก้ ปั ญ หายาเสพติ ด ชาวบ้ า นก็ ช่ ว ย

อย่างไร

ทำ�ให้ความเห็นจากทุกภาคส่วนได้รับ ความสำ�คัญเท่าเทียมกัน


82

สมศักดิ์ สุริยะเจริญ

ปลัดเทศบาลตำ�บลอุโมงค์ อำ�เภอเมือง จังหวัดลำ�พูน

‘พลเมือง’ คือผู้ที่มีความรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระ จัดการตนเองได้ สามารถช่วยเหลือสังคมได้อย่างมีเหตุผล และ ช่วยเหลือผู้อื่นโดยเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมบนพื้นฐานของ ความถูกต้อง การสร้ า งพลั ง ให้ พ ลเมื อ ง เราต้ อ งสร้ า งกระบวนการเรี ย นรู้ ข องภาค ประชาชนให้มากขึ้นในทุกๆ กิจกรรมเพื่อยกระดับความรู้ความเข้าใจของชาว บ้านให้การรู้จักเสียสละ ทำ�งานเพื่อส่วนรวม และมีบทบาทในการแก้ไขปัญหา ทั้งของตัวเองและของหมู่บ้าน ตำ�บลอุโมงค์สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนผ่านกระบวนการ เรียนรู้ เช่น ในเรื่องการจัดการขยะ เราจะให้ความรู้กับชาวบ้านว่าขยะมีก่ีชนิด ต้องคัดแยกอย่างไร หลังจากนั้นจึงให้เขาจัดการขยะด้วยตัวเอง ด้วยเหตุนี้จึง ทำ�ให้เรากลายเป็นชุมชนที่สามารถจัดการขยะเองได้ และนับเป็นการสร้างพลัง ให้กับชาวบ้าน ให้เขารู้ว่าจะจัดการปัญหาอย่างไร ซึ่งกระบวนการนี้เรียกได้ว่า เป็นการพัฒนาคนที่ยั่งยืน เพราะชาวบ้านรู้จักแก้ปัญหาด้วยตนเอง


83

การปฏิรูปเป็นเป้าหมายหลักของการทำ�งาน เพียงแต่ชาวบ้านต้องตระหนักว่า เขามีสิทธิในเรื่องใด และรู้ว่ากลไกอำ�นาจรอบตัวเขาทำ�งานอย่างไร เมื่อรู้แล้ว เขาจะเข้ามามีบทบาทอย่างแน่นอน

พลั ง ของพลเมื อ งนี้ จ ะทำ � ให้

ให้คนในชุมชนของเรามีกระบวนการ

ว่ า จะเอาไปทำ � อะไร เขาจะขอเวลา

คนในชุ ม ชนสามารถพั ฒนาท้ อ งถิ่ น

หลั ก ๆ อยู่ 4 ประการ คื อ อบรม

กลับไปช่วยกันระดมความคิดกันก่อน

ของตั ว เองให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า และ

ดูงาน ประชุมระดมความคิด จัดเวที

ว่าจะนำ�เงินส่วนนั้นไปพัฒนาจุดไหน

สามารถผนึกกำ�ลังเพื่อเปลี่ยนแปลง

ให้ความรู้ เราใช้ 4 กิจกรรมข้างต้น

เมื่อได้ข้อสรุปที่เป็นเอกฉันท์ พวกเขา

ประเทศต่อไปได้ เพราะการปฏิรปู เป็น

ในการพั ฒ นาคนในตำ � บล เพื่ อ ยก

จึงจะมารับเงินงบประมาณสนับสนุน

เป้าหมายหลักของการทำ�งาน เพียง

ระดับความรู้แก่เขาเหล่านั้น

จากเรา

แต่ต้องรู้ว่าชาวบ้านของเรายืนอยู่ใน

นับตัง้ แต่การเริม่ ต้นพัฒนาจนถึง

ในมุ ม มองของผมเชื่ อ ว่ า การ

ระดับไหน เมื่อรู้แล้วเราต้องยกระดับ

ปัจจุบัน ชาวชุมชนมีกระบวนความคิด

พัฒนามันต้องไม่มีท่ีทางสิ้นสุด และ

ให้เขาพัฒนาตนเองขึ้นไปเรื่อยๆ

ต่ า งไปมาก สมั ย ก่ อ นเมื่ อ เรามี ง บ

ต้องยกระดับขึน้ ไปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะมี

ผลจากการเข้ า ร่ ว มเครื อ ข่ า ย

ประมาณลงไปสู่ ชุ ม ชน ชาวบ้ า นจะ

ความพร้อมเต็มพืน้ ที่ สิง่ นัน้ จะเกิดขึน้ ได้

ตำ�บลสุขภาวะ ทำ�ให้เราได้แลกเปลีย่ น

ถามก่อนเลยว่าเขาจะได้เงินเท่าไร แต่

ก็ด้วยพลังของพลเมืองเอง

ความรู้ กั บ ชุ ม ชนตำ � บลอื่ น ๆ ได้ เ ห็ น

หลังจากเกิดการพัฒนาวิธีคิด ทุกวันนี้

แบบอย่างที่จะนำ�มาปรับใช้กับพื้นที่

เมื่อเราจะจัดสรรงบให้ชาวบ้าน พวก

ของตั ว เอง ทั้ ง นี้ การพั ฒนาความรู้

เขาจะยังไม่รับในทันที เพราะยังไม่รู้


84

นพดล ณ เชียงใหม่

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว อำ�เภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

‘พลเมือง’ คือพีน่ อ้ งประชาชนทีม่ สี ทิ ธิม์ เี สียงในเรือ่ งต่างๆ และสามารถใช้สิทธิ์ของตัวเองอย่างเต็มที่ ซึ่งพลเมืองเหล่านี้ สามารถดึงพลังของตนเองเพือ่ ใช้ในงานพัฒนาชุมชนท้องถิน่ ได้ และในอนาคตพี่น้องประชาชนต้องมีบทบาทในการขับเคลื่อน กิจกรรมต่างๆ ได้ดว้ ยตัวเอง และสามารถเสนอข้อคิดเห็นทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ งาน พัฒนาชุมชนท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่ ต้องยอมรับว่า ที่ผ่านมาชาวบ้านมักถูกผู้นำ�ครอบงำ�ทางความคิด โดยให้ ประชาชนทำ�ตามคำ�สั่ง แต่ไม่เปิดโอกาสให้พวกเขาได้แสดงความคิดเท่าที่ควร นั่นจึงทำ�ให้ความต้องการที่แท้จริงของชาวบ้านไม่ได้รับการเหลียวแล ฉะนั้น หากต้องการสร้างพลังพลเมือง คนในชุมชนทุกคนต้องมีส่วนช่วยในการระดม ความคิดเพื่อกำ�หนดสิ่งที่พวกเขาต้องการ และร่วมกันเดินหน้าทำ�งานให้เกิด ผลสัมฤทธิ์เพื่อพัฒนาชุมชนต่อไป กลไกการมีสว่ นร่วมของคนในตำ�บลดอนแก้ว อบต. ของเราจะไม่เข้าไปชีน้ �ำ ความคิดของชาวบ้าน แต่จะให้ชาวบ้านคิดและเสนอขึ้นมาว่าสิ่งที่เขาต้องการ


85

ที่ผ่านมาชาวบ้านมักถูกผู้นำ�ครอบงำ�ทางความคิด โดยให้ประชาชนทำ�ตามคำ�สั่ง แต่ไม่เปิดโอกาสให้พวกเขาได้แสดงความคิดเท่าที่ควร นั่นจึงทำ�ให้ความต้องการ ที่แท้จริงของชาวบ้านไม่ได้รับการเหลียวแล

คืออะไร ต้องการให้องค์กรปกครอง

การสื่ อ สารของตำ � บลดอนแก้ ว จะ

ร่วมกันทำ�ให้สังคมน่าอยู่ เพื่อทุกคน

ส่ ว นท้ อ งถิ่น ช่ ว ยเหลื อ ในด้านใดบ้าง

เป็ น การสื่ อ สารสองทาง เราจะไม่

จะสามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข

โดยเฉพาะประเด็นทีเ่ ราไม่ควรมองข้าม

ยั ด เยี ย ดความคิ ด ให้ ช าวบ้ า นอย่ า ง

ในแง่ ข องการทำ � งานร่ ว มกั บ

เช่ น ปั ญ หาด้ า นสุ ข ภาพ การศึ ก ษา

เดียว แต่จะให้เขาเป็น ผู้เสนอเองด้วย

องค์กรอิสระ หลังจากตำ�บลดอนแก้ว

และสิ่งแวดล้อม เพราะเป็นปัญหาที่

เช่น โครงการตรวจหาสารพิษในเลือด

ได้เข้าร่วมโครงการกับ สสส. ก็ส่งผลดี

อยู่ใกล้ตัว ซึ่งที่ผ่านมาถือได้ว่าอัตรา

เกษตรกร ซึ่งก็เป็นโครงการที่ชาวบ้าน

ต่อท้องถิ่นเป็นอย่างมาก เพราะ สสส.

การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในตำ�บล

ช่ ว ยเสนอขึ้ น มา ส่ ว นเราในฐานะ

เข้ า มาช่ ว ยกระตุ้ น การทำ � งานของ

ดอนแก้ ว เป็ น ไปในทิ ศ ทางที่ ดี โดย

องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะมีหน้าที่

ชุมชน ทำ�ให้การทำ�งานเป็นแบบแผน

50 เปอร์เซ็นต์ของคนในชุมชนล้วนมี

สนับสนุนงบประมาณ

มากขึน้ เช่น เข้ามาช่วยจัดระเบียบการ

ส่วนร่วมในการทำ�งาน

การมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ นี้

เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งบางครั้ง

เครือ่ งมือหนึง่ ทีท่ �ำ ให้เราสามารถ

จะทำ�ให้ชาวบ้านรูจ้ กั หน้าทีข่ องตนเอง

เราอาจมองข้ามไปหรือมีวิธีจัดการที่

ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของ

มากขึ้ น และร่ ว มสร้ า งชุ ม ชนให้ เ ข้ ม

ยังไม่ดีพอ อีกทั้งช่วยเปิดโอกาสให้คน

คนในชุมชนได้อย่างเข้มแข็งคือ การ

แข็ง แต่หากถามว่าเราต้องพัฒนาไป

ตำ�บลดอนแก้วได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ประชาสัมพันธ์ องค์กรปกครองส่วน

ไกลจนถึ ง ขั้ น เปลี่ ย นแปลงทุ ก อย่ า ง

จากตำ�บลอืน่ ๆ เพือ่ นำ�ความรูเ้ หล่านัน้

ท้ อ งถิ่ น ต้ อ งสามารถสื่ อ สารออกไป

เลยหรือไม่ คำ�ตอบคือเราคงไม่หวัง

มาพัฒนาตำ�บลของเราต่อไป

ให้ ช าวบ้ า นรั บ รู้ และการสื่ อ สารนั้ น

ว่ า จะต้ อ งไปไกลถึ ง ขนาดนั้ น เพี ย ง

ต้ องไม่ เ ป็ น การสื่ อ สารทางเดียว ซึ่ง

แต่เราแค่เปลี่ยนแปลงตัวเองให้ดีและ


86

อุบล ยะไวทย์ณะวิชัย

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแก้ว อำ�เภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

‘พลเมื อ ง’ คื อ ผู้ มี จิ ต สาธารณะ อยากช่ ว ยเหลื อ ผู้ อื่ น เมื่อเห็น ผู้อื่นมีทุกข์ อยากให้เขาพ้นทุกข์ โดยไม่ได้คิดถึงแต่ ประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้อง การเป็นพลเมืองทีด่ ตี อ้ งมีความรับผิดชอบ รูว้ า่ หน้าทีข่ องตน คืออะไร มีระเบียบวินยั ยึดถือกติกาของชุมชน เพราะหากตนเองไม่มวี นิ ยั เสียแล้ว จะไปสร้างวินัยให้ส่วนรวมคงไม่ได้ เราต้องปลูกฝังความเป็นพลเมืองตั้งแต่วัยเด็ก ต้องสอนให้เขารับผิดชอบ ดูแลตัวเองได้ เริ่มตั้งแต่เรื่องเล็กๆ ในกิจวัตรประจำ�วัน เช่น การเข้าแถวต่อคิว หรือแม้กระทัง่ การถอดรองเท้าหน้าห้องเรียน เมือ่ เขาเติบใหญ่กจ็ ะเป็นพลเมืองที่ มีคุณภาพ จะเห็นได้ว่าตำ�บลดอนแก้วของเรามุ่งเน้นในเรื่องเด็กและเยาวชน เรา มีกลุ่มจิตอาสารุ่นเยาว์หลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็น อปพร.น้อย อสม.น้อย อย.น้อย นักสืบสายน้ำ� อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นต้น พลังของคนตัวเล็กๆ เหล่านี้จะแปรเป็นพลังมหาศาลได้หากมีการรวม ตัวกัน เริ่มจากหน่วยย่อยที่สุดคือครอบครัว ชุมชน ท้องถิ่น กระทั่งขยายไปสู่


87 คนตำ�บลดอนแก้วของเรากล้าพูด กล้าแสดงออก มีความคิดสร้างสรรค์ มีการพัฒนา สิ่งนี้คือพื้นฐานสำ�คัญที่จะเป็นจุดเปลี่ยนประเทศไทย ยุคสมัยปัจจุบันประชาชนไม่ได้งอมืองอเท้า เขาสามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง โครงการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในตำ�บลดอนแก้วเกือบ 90 เปอร์เซ็นต์ล้วนมาจากประชาชน

ระดับภาคและระดับชาติ เพราะความ

ได้ แต่ชุมชนท้องถิ่นยุคใหม่ เราอาศัย

ประชาชน มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่

เข้มแข็งย่อมเกิดขึ้นจากฐานราก การ

ทุนหรือศักยภาพในชุมชนที่มีอยู่เดิม

ท้องถิ่นช่วยคิดให้

พั ฒนาประเทศจะดำ � เนิ น ไปได้ ด้ ว ย

ออกมาใช้ใ ห้เ กิ ด ประโยชน์ ไม่ ว่ า จะ

ทิศทางในอนาคต เรายังคงมอง

ความมั่นคงหากชุมชนมีพลังเข้มแข็ง

เป็นเรื่องคุณภาพชีวิต ความปลอดภัย

หาวิ ธี ก ารที่ จ ะกระจายอำ � นาจไปสู่

ประเทศไม่ล่มจมอย่างแน่นอน

สุขภาพ การศึกษา ฯลฯ

ประชาชนให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด ในแต่ ล ะ

การปลู ก จิ ต สำ � นึ ก ความเป็ น

ณ ปัจจุบัน ประชาชนจะไม่เป็น

หมู่บ้านต้องตั้งคณะทำ�งานขึ้นมา โดย

พลเมือง ต้องทำ�ให้ประชาชนรู้สึกถึง

ผูร้ อ้ งขอ แต่จะเป็นผูเ้ สนอความคิดเห็น

ท้ อ งถิ่ น จะจั ด สรรงบประมาณลงไป

ความเป็ น เจ้ า ของร่ ว มกั น กิ จ กรรม

ขึ้ น มาเอง ทุ ก วั น นี้ ป ระชาชนเก่ ง มี

ตามความต้องการของแต่ละกลุม่ จาก

ใดๆ ก็ตามทีเ่ ขากำ�ลังทำ�อยูน่ น้ั ต้องทำ�

ความรู้ สามารถเป็นวิทยากรท้องถิ่น

นั้ น ก็ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องเขาที่ จ ะใช้ จ่ า ย

ด้วยใจรัก เมื่อเกิดความรักและความ

ได้ เท่านั้นยังไม่พอ เขายัง ยกระดับ

ง บ ป ร ะ ม า ณ นั้ น เ พื่ อ ก า ร พั ฒน า

ผู ก พั น ก็ จ ะเกิ ด ความหวงแหน เกิ ด

ขึ้นมาเป็นนักวิชาการท้องถิ่นอีกด้วย

หมู่บ้านของตนเอง

ความรู้ สึ ก เป็ น เจ้ า ของโดยอั ต โนมั ติ

สามารถเสนอโครงการเองได้

ก่อนที่จะไปถึงจุดนั้น สิ่งสำ�คัญ

และเมื่ อ เขามี ส่ ว นร่ ว มในการแก้ ไ ข

ค น ตำ � บ ล ด อ น แ ก้ ว ข อ ง เ ร า

ที่สุดคือต้องปลูกฝังเรื่องความซื่อสัตย์

ปัญหานั้นได้สำ�เร็จ เขาก็จะเกิดความ

กล้ า พู ด กล้ า แสดงออก มี ค วามคิ ด

สุ จ ริ ต อย่ า ให้ เ กิ ด ปั ญ หาทุ จ ริ ต ใน

ภาคภูมิใจและรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของ

สร้ า งสรรค์ มี ก ารพั ฒ นา สิ่ ง นี้ คื อ

ชุมชน ซึ่ง ณ เวลานี้ตำ�บลดอนแก้วมี

ความสำ�เร็จนั้นด้วย

พื้ น ฐานสำ � คั ญ ที่ จ ะเป็ น จุ ด เปลี่ ย น

ความเข้มแข็งอย่างมากในการต่อต้าน

รูปแบบการปกครองในอดีตนั้น

ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ยุ ค ส มั ย ปั จ จุ บั น

การทุ จริ ต คอรั ป ชั่ น เงิ น ทุ ก บาททุ ก

ทุกอย่างล้วนสั่งการลงมาจากข้างบน

ประชาชนไม่ ไ ด้ ง อมื อ งอเท้ า เขา

สตางค์จะต้องลงไปสู่การพัฒนาเพื่อ

รัฐบาลเป็น ผู้ให้มาโดยตลอด ขณะที่

สามารถอยู่ ไ ด้ ด้ ว ยตั ว เอง โครงการ

ประโยชน์ส่วนรวมอย่างแท้จริง

ท้ อ งถิ่ น ต้ อ งรอให้ ส่ ว นกลางจั ด สรร

ต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในตำ � บลดอนแก้ ว

งบประมาณลงมาจึ ง จะดำ � เนิ น การ

เกื อ บ 90 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ล้ ว นมาจาก


88

บุญทิตย์ เมืองซื่อ

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านต๋อม อำ�เภอเมือง จังหวัดพะเยา

‘พลเมือง’ คือประชาชนทีเ่ ป็นทุนทางสังคม เป็นทรัพยากร สำ�คัญในการพัฒนาท้องถิ่น ที่ตำ�บลบ้านต๋อมเราสร้างพลังของ พลเมืองโดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม และมีแนวคิดในการ จัดการตนเอง อันดับแรกของการจัดการตนเองของชาวตำ�บลบ้านต๋อมคือ การจัดการ และพัฒนาศักยภาพภายในครอบครัวของตัวเองก่อน เพราะครอบครัวเป็น รากฐานสำ�คัญที่ต้องมีความเข้มแข็งและอบอุ่นจึงจะสามารถพัฒนาในระดับ ต่อไปได้ ด้านกลไกการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เราจะใช้วิธีพบปะพูดคุย เพื่อให้ ทุกคนได้บอกเล่าถึงปัญหาต่างๆ และช่วยกันเสนอแนวทางแก้ไข ซึ่งจุดนี้จะเน้น หนักในด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ไม่ใช่เน้นเฉพาะเรื่องการอบรม เพราะหาก อบรมอย่างเดียว ชาวบ้านก็ได้รับเพียงความรู้ แต่พวกเขาจะไม่มีโอกาสได้เสนอ ความคิดเห็น ทั้งนี้ แนวทางการเรียนรู้ของตำ�บลบ้านต๋อม ยังมีศูนย์พัฒนาครอบครัว


89

ประชาชนเป็นทุนทางสังคม เป็นทรัพยากรสำ�คัญในการพัฒนาท้องถิ่น ที่ตำ�บลบ้านต๋อมเราสร้างพลังของพลเมืองโดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม และมีแนวคิดในการจัดการตนเอง

ระดับตำ�บล ศูนย์เรียนรู้อาชีพ ศูนย์

จำ�นวนการบริโภคลดลงไปเรื่อยๆ

จุ ด นี้ จ ะเป็ น การสร้ า งให้ เ ยาวชนเข้ า

เรี ย นรู้ ส ภาเด็ ก และเยาวชน สภา

โครงการดั ง กล่ า วนอกจากจะ

วั ฒนธรรม และยั ง มี ก ลุ่ ม ผู้ สู ง อายุ ที่

เจาะจงไปที่งานศพแล้ว ยังนำ�ไปใช้

เข้ามารวมกลุ่มกันทำ�กิจกรรม ทั้งใน

ในงานแข่ ง ขั น กี ฬ าของชาวบ้ า นอี ก

นอกจากนี้ เรายังได้ทำ�งานร่วม

ด้านการฝึกอาชีพและการดูแลสุขภาพ

ด้ ว ย เพราะงานประเภทนี้ มั ก จะมี

กั บ สสส. ซึ่ ง ช่ ว ยทำ � ให้ เ รารู้ จั ก การ

ตนเอง ขณะนี้ กิ จ กรรมล่ า สุ ด ของ

เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ม าเป็ น ส่ ว น

มองประเด็ น ปั ญ หาและหาแนวทาง

ตำ�บลบ้านต๋อมคือ โครงการงดเหล้า

ประกอบ เช่ น ใช้ ใ นการปลุ ก เร้ า

การแก้ไขในหลายระดับ ไม่ว่าจะเป็น

ในงานศพ เพราะสถานการณ์ล่าสุด

อารมณ์ของกองเชียร์ ดังนั้นเราจึงจัด

ประเด็นระดับเล็กๆ ตั้งแต่ปัญหาการ

จั ง หวั ด พะเยาถู ก ยกเป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง

งานกี ฬ าต่ อ ต้ า นสุ ร าและยาเสพติ ด

ดื่มแอลกอฮอล์ จนถึงประเด็นใหญ่ๆ

ของการดื่ ม เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์

เพื่ อ กระตุ้ น ให้ ทุ ก ภาคส่ ว นได้ เ ห็ น

อย่างเรื่องสิ่งแวดล้อมในชุมชน

ชุมชนของเราจึงคิดกันว่าจะแก้ปัญหา

วิธีการทำ�งานของเรา

นี้ด้วยวิธีใด ซึ่งหลังจากผ่านการระดม

ถึงและตระหนักถึงเรื่องเหล่านี้ได้มาก ที่สุด

การร่วมกันแก้ปัญหาเหล่านี้จะ

นอกจากนี้ เรายังมีโครงการด้าน

เป็นการสร้างพลังให้คนและชุมชนมี

เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน ช่ ว ยเพิ่ ม รายได้ ใ ห้

ความเข้มแข็ง ทุกคนต้องรู้ถึงหน้าที่

ผลจากการรณรงค์ ง ดเหล้ า ใน

กับชาวบ้าน มีกิจกรรมการลดปัญหา

ของตั ว เองจึ ง จะสามารถใช้ ช่ ว ยกั น

งานศพ ทำ � ให้ ปั จ จุ บั น สถานการณ์

ครอบครั ว แตกแยก และกิ จ กรรม

ปฏิรูปประเทศกันต่อไป เพราะความ

ของนั ก ดื่ ม เริ่ ม เปลี่ ย นไปในทางที่ ดี

ส่งเสริมจริยธรรมประเพณีแก่เด็กและ

เข้มแข็งในภาพใหญ่ต้องเริ่มจากความ

สามารถเห็ น ผลในเชิ ง ประจั ก ษ์ ค่ า

เยาวชน ให้เด็กเหล่านีห้ นั กลับมาเรียนรู้

เข้มแข็งในจุดเล็กๆ

ใช้จ่ายในเรื่องแอลกอฮอล์ลดลง ซึ่งใน

ตนเอง รูจ้ กั การวางตัวในการคบเพือ่ น

อนาคตข้างหน้าเราจะพยายามทำ�ให้

ต่างเพศ การแต่งกายที่เหมาะสม ซึ่ง

ความคิดโครงการนี้จึงเกิดขึ้นมา


90

สุพจน์ ยานะผูก

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลวังชิ้น อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

‘พลเมือง’ คือพี่น้องประชาชนในชุมชนท้องถิ่นที่มีส่วน ร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง ตลอดจนมี จิตใจอาสาร่วมด้วยช่วยกันในการทำ�งานเพื่อส่วนรวม ซึ่งการ สร้างพลังพลเมืองของตำ�บลวังชิ้น เราจะทำ�งานครอบคลุม ทุกช่วงวัย ตั้งแต่วัยเด็ก เยาวชน วัยทำ�งาน ตลอดจนผู้สูงอายุ ยกตัวอย่างวัยเด็ก เราจะพัฒนาเขาโดยการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชน ให้ เขามีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้ห่างไกลจากอบายมุขต่างๆ และปลูกฝัง ให้เขากล้าคิด กล้าแสดงออก และมีจติ สาธารณะ เพือ่ ในวันข้างหน้าเด็กๆ เหล่านี้ จะได้สานงานพัฒนาชุมชนต่อไป ด้านกลไกการมีส่วนร่วมของคนในตำ�บลวังชิ้น เราจะเอาพื้นที่เป็นตัวตั้ง และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับชาวบ้านทำ�งานร่วมกัน ให้ทุกฝ่ายเข้ามา มีสว่ นร่วม และเรายังมีการจัดกิจกรรม ‘ลานคนวัง’ ซึง่ มีลกั ษณะเป็นถนนคนเดิน ให้ชาวบ้านนำ�สินค้าพื้นบ้านไปจำ�หน่าย มีกิจกรรมของเด็กและเยาวชนในการ แสดงความสามารถบนเวที และมีการจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรูเ้ พือ่ ระดมความคิด


91

การพัฒนาที่จะยั่งยืนได้นั้น สิ่งสำ�คัญที่เราต้องตั้งคำ�ถามคือ ทำ�อย่างไร ให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุด จะพัฒนาเด็กและเยาวชนให้เขาเป็นคนดี และก้าวขึ้นมาเป็นกำ�ลังสำ�คัญต่อไปอย่างไร

ของชาวบ้านในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อ

ธนาคารขยะนั บ ตั้ ง แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา

รวมนั้น หากภายในท้องถิ่นสามารถ

ให้เขาได้มีส่วนร่วม ช่วยคิด ช่วยทำ�

ซึ่งถือได้ว่าเป็นการพลิกวิกฤติให้เป็น

พัฒนาและขับเคลื่อนทุกภาคส่วนไป

จนเกิดทุนทางสังคม

โอกาส

พร้อมๆ กันได้ ก็จะส่งผลให้เกิดพลัง

ในเรื่องของแหล่งการเรียนรู้ เรา

ทุกวันนี้ประชาชนมีการรวมตัว

มี โ ครงการ ‘ลานวั ด ลานบุ ญ ’ เป็ น

กันทำ�กิจกรรมของกลุ่มตนเองกันมาก

กิจกรรมที่ทำ�ให้คนทุกช่วงวัยได้มีส่วน

ขึ้ น เรามี กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนซึ่ ง

การพัฒนาที่จะยั่งยืนได้นั้น สิ่ง

ร่วมในการส่งเสริมพระพุทธศาสนา

เป็ น กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ให้ ช าวบ้ า นนำ �

สำ�คัญที่เราต้องทำ�คือ ทำ�อย่างไรให้

และยังมีแหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการ

เงินมาฝากเข้ากองทุน โดยทางองค์กร

คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมได้มาก

ภัยพิบัติที่เข้มแข็ง ซึ่งเป็น ผลพวงจาก

ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะสบทบเงิ น

ทีส่ ดุ จะส่งเสริมแหล่งเรียนรูใ้ ห้เข้มแข็ง

การรั บ มื อ เหตุ อุ ท กภั ย ครั้ ง ใหญ่ เ มื่ อ

ช่วยเหลือเข้าไป 100 เปอร์เซ็นต์ ซึ่ง

ต่ อ ไปอย่ า งไร จะพั ฒ นาเด็ ก และ

ปลายปี 2554

เงิ น ส่ ว นนี้ จ ะนำ � ไปช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ น

เยาวชนให้ เ ขาเป็ น คนดี มี คุ ณ ภาพ

ในช่ ว งที่ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ น้ำ � ท่ ว ม

สมาชิกในกองทุน เช่น กรณีสมาชิก

ห่ า งไกลจากอบายมุ ข ได้ จ ากวิ ธี ไ หน

ทุกคนในชุมชนช่วยเหลือกันและกัน

เจ็ บ ป่ ว ยจะได้ รั บ ค่ า รั ก ษาพยาบาล

และจะส่ ง เสริ ม อาชี พ ให้ ทุ ก คนใน

เป็นอย่างดี แต่ปัญหาที่ตามมาหลังน้ำ�

เบื้องต้นวันละ 200 บาท แต่ไม่เกิน

หมู่บ้านเพื่อให้เขาเป็นทุนทางสังคม

ลดคือ ขยะกองใหญ่ที่ถูกพัดมาจากที่

10 วัน แต่หากเสียชีวิตจะได้เงินช่วย

ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคตได้อย่างไร

ต่างๆ ชาวบ้านจึงระดมกำ�ลังกันช่วย

เหลือ 2,000 บาท เป็นต้น

กันเก็บกวาด และริเริ่มแนวคิดการตั้ง

การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในภาพ

ที่ยิ่งใหญ่ หรืออาจนำ�ไปสู่การปฏิรูป ประเทศต่อไปได้


92

จ.ส.อ.ปฏิพล จอมดวง

ปลัดเทศบาลตำ�บลวังชิ้น อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

‘พลเมือง’ คือผู้ที่มีสิทธิ์ มีเสียง มีส่วนร่วมที่จะช่วยคิด ช่วยทำ� ช่วยตัดสินใจ และช่วยสร้างประโยชน์ ซึ่งการสร้างให้ เกิดพลังของพลเมืองนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้อง กระตุ้ น ให้ ป ระชาชนเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการคิ ด ร่ ว มกั น ทำ � กิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อชุมชน เมื่อชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วม พวกเขาก็จะรู้สึกได้ถึงความเป็นเจ้าของ จุดนี้เองที่จะทำ�ให้เกิดพลังในการ ช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล กั น และมี ใ จที่ จ ะเข้ า มาทำ � งานให้ สั ง คม เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น การพัฒนาสิ่งต่างๆ ให้เจริญด้วยดี กลไกการมี ส่ ว นร่ ว มและการเสนอข้ อ คิ ด เห็ น ของชาวตำ � บลวั ง ชิ้ น เรา สามารถทำ�ได้หลายวิธี ไม่ว่าจะเป็นการจัดเวทีประชาคมที่เรียกกันว่า ‘ลานคน วัง’ ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนกลางสำ�หรับการทำ�กิจกรรมของคนในตำ�บล ยกตัวอย่าง ในทุกๆ วันพฤหัสบดีสุดท้ายของเดือน ลานคนวังจะถูกจัดให้เป็นถนนคนเดิน หรือที่เรียกกันว่า ‘กาดคนวัง’ ภายในงานจะจัดกิจกรรมให้ชาวบ้านมาร่วมกัน ออกร้านจำ�หน่ายสินค้าด้านการเกษตร รวมถึงมีกจิ กรรมการแสดงด้านประเพณี


93

พลังพลเมืองจะเกิดขึ้นได้ต้องเริ่มจากการปฏิรูปตัวเองก่อน อย่างน้อยต้องรู้ว่า หน้าที่ของตัวเองคืออะไร และต้องมีวินัยในตัวเองด้วย เพราะสิ่งสำ�คัญในการปฏิรูป คือความมีวินัย

วัฒนธรรม เพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชน

และเยาวชน ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและ

ซึ่งต้องกระตุ้นเตือนตั้งแต่วัยเด็กและ

ได้แสดงความสามารถ

สาธารณสุข ส่งผลให้คนในตำ�บลได้รบั

เยาวชน เพื่อให้พวกเขาเป็นทรัพยากร

การดู แ ลจากแหล่ ง เรี ย นรู้ เ หล่ า นี้

ในการพัฒนาท้องถิ่นต่อไป

นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมลานคนวัง สัญจรทีเ่ ปิดโอกาสให้ก�ำ นัน ผูใ้ หญ่บา้ น

ไปในตัว

ในอนาคตข้างหน้า ตำ�บลของเรา

ปลั ด ตำ � บล ได้ ม าพบปะชาวบ้ า น

หลังจากที่เราเข้าร่วมโครงการ

กำ � หนดทิ ศ ทางการพั ฒ นาเพื่ อ ก้ า ว

ทุกๆ เดือน วัตถุประสงค์เพือ่ การรับฟัง

กับ สสส. ทำ�ให้เรารูจ้ กั ตัวตนของตัวเอง

สู่ ก ารเป็ น ท้ อ งถิ่ น ก้ า วหน้ า อย่ า ง

เสี ย งสะท้ อ นของชุ ม ชนต่ า งๆ และ

มากขึน้ เพียงแต่เรายังดึงศักยภาพของ

ยั่งยืน พยายามพัฒนาให้เติบโตแบบ

เข้ า ไปขอความร่ ว มมื อจากชาวบ้ า น

ประชาชนออกมาได้ไม่เต็มที่ ซึ่ง สสส.

ขั้นบันได ก่อนหน้านี้คนวังชิ้นไม่ได้รับ

ในการขับเคลื่อนพัฒนาตำ�บล

ก็จะเข้ามาช่วยเหลือในการจัดระบบ

โอกาสในการมี ส่ ว นร่ ว มหรื อจั ด การ

และสร้างกระบวนการทำ�งาน

ตนเองเท่าที่ควร เพราะฉะนั้นการจะ

จุ ด แข็ ง อย่ า งหนึ่ ง ของตำ � บล วั ง ชิ้ น คื อ คนในตำ � บลมี น้ำ � ใจต่ อ กั น

พลังพลเมืองจะเกิดขึน้ ได้ตอ้ งเริม่

พัฒนาให้ยั่ง ยืนเราต้องเน้นให้คนใน

เห็ น ได้ จ ากแหล่ ง การเรี ย นรู้ ช มรม

จากการปฏิรูปตัวเองก่อน อย่างน้อย

ชุมชนรู้สึกเป็นเจ้าของและมีส่วนร่วม

ผู้สูงอายุกล้าอาสา คนในชมรมนี้จะ

ต้องรูว้ า่ หน้าทีข่ องตัวเองคืออะไร และ

ในการพัฒนา

เข้าไปช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่ต้องมีการ

ต้ อ งมี วิ นั ย ในตั ว เองด้ ว ย เพราะสิ่ ง

ร้องขอ และยังมีแหล่งเรียนรู้ด้านเด็ก สำ � คั ญ ในการปฏิ รู ป คื อ ความมี วิ นั ย


94

อภิสิทธิ์ จันทร์โอภาส

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลผาบ่อง อำ�เภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน

‘พลเมื อ ง’ คื อ ประชาชนทุ ก คนที่ มี ส่ ว นร่ ว มในการ ขับเคลื่อนให้เกิดสิ่งๆ ต่างในชุมชนหรือท้องถิ่นของตนเอง การ จะสร้างพลังของพลเมืองเราต้องรับรู้ถึงปัญหาของพวกเขา ก่อน ต่อมาจึงกำ�หนดแผนเพื่อหาแนวทางแก้ไข โดยใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเป็นตัวขับเคลื่อน และใช้สื่อประชาสัมพันธ์เป็นเครื่องมือ ในการกระจายข่าว รวมถึงสร้างเวทีระดมความคิดเพือ่ ปลูกจิตสำ�นึกในทุกๆ เรือ่ ง ในการรับฟังปัญหาของชาวบ้าน เราจะใช้รูปแบบการตั้งเวทีประชาคม หมู่บ้าน และเวทีอื่นๆ ตามศูนย์ผู้สูงอายุและตามกิจกรรมงานประเพณีต่างๆ ในแง่ของการทำ�งาน เราจะให้ชาวบ้านร่วมกันคิดโครงการเพื่อนำ�มาเสนอ ของบประมาณหรืออุปกรณ์ เพือ่ ให้โครงการเหล่าสามารถแก้ปญ ั หาในแต่ละด้าน ของชุมชน อย่างเช่นเรื่องสุขภาพ การศึกษา สาธารณสุข อาชีพ ทั้งนี้ การกระ จายอำ�นาจให้แก่ประชาชนให้เขามีส่วนร่วมในการบริหารท้องถิ่น จะช่วยให้เกิด ความโปร่งใสในการใช้งบประมาณ เพราะประชาชนจะสามารถตรวจสอบการ ใช้เงินขององค์กรท้องถิ่นได้


95

ต้องกระจายอำ�นาจให้ประชาชนอย่างเต็มรูปแบบ เพราะที่ผ่านมาอำ�นาจมักถูกยึดกุม ไว้ที่ส่วนบน แต่ไม่ได้ตกมาถึงพี่น้องประชาชน และต้องยอมรับว่าความอ่อนแอของชาวบ้าน เกิดจากนโยบายประชานิยมของรัฐเองด้วย

จุ ด แ ข็ ง ข อ ง ตำ � บ ล ผ า บ่ อ ง อยู่ ท่ี ก ารตั้ ง กติ ก าร่ ว มกั น ของทุ ก

พื้ น ที่ ต้ น น้ำ � มี ก ารอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ์ ป ลา

ยังมีการสร้างรายได้และลดรายจ่ายให้

ธรรมชาติ

คนในท้องถิ่น ให้เขาช่วยเหลือตนเอง

หมู่บ้า น เช่ น การป้ อ งกั น ปั ญ หายา

ผลจากการเข้ามาร่วมเป็นเครือข่าย

จั ด การตนเองโดยใช้ ห ลั ก เศรษฐกิ จ

เสพติ ด การป้ อ งกั น การทำ � ลาย

ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ทำ�ให้การพัฒนา

พอเพียงเป็นแกน ซึ่งเราต้องพัฒนา

ทรัพยากรธรรมชาติ การป้องกันภัย

พลังพลเมืองในตำ�บลผาบ่องเกิดการ

ให้เต็มรูปแบบต่อไปเพื่อให้พวกเขาได้

ธรรมชาติ เรือ่ งเหล่านีเ้ ราจะจัดการดูแล

เปลี่ยนแปลงมากขึ้น เช่น การบริหาร

เป็นกำ�ลังหลักในการพัฒนาท้องถิ่น

กันเองโดยให้คณะกรรมการหมู่บ้าน

จัดการความต้องการในชุมชน การใช้

ในอนาคต

และองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น

ความสามารถของผู้นำ�ตามธรรมชาติ

อี ก ประการคื อ ต้ อ งกระจาย

ได้ทำ�งานร่วมกัน

โดยมีการค้นหาภูมิปัญญาของปราชญ์

อำ�นาจให้ประชาชนอย่างเต็มรูปแบบ

จุดแข็งอีกประการหนึง่ ของตำ�บล

ชาวบ้าน และนำ�มาถ่ายทอดให้ชาว

เพราะที่ผ่านมา อำ�นาจมักถูกยึดกุม

เราคือ เรือ่ งของทรัพยากรธรรมชาติ ดิน

บ้ า นคนอื่ น ๆ ได้ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ เพื่ อ

ไว้ที่ส่วนบน แต่ไม่ได้ตกมาถึงพี่น้อง

น้ำ� ป่า ซึ่งเราจัดการดูแลทรัพยากร

รักษาไว้ซึ่งภูมิปัญญาเก่าแก่

ประชาชน และต้องยอมรับว่าความ

เหล่ า นี้ โ ดยให้ ช าวบ้ า นเป็ น คนดู แ ล

การพั ฒ นาในอนาคต ตอนนี้

กันเอง เช่น การบวชป่า การสร้างฝาย

เราจั ด ให้ มี ก ารพั ฒ นาอาชี พ ในด้ า น

อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารสร้ า งกติ ก าการห้ า ม

ต่างๆ มีการฝึกอบรมและมีคนคอย

ตัดไม้ และมีกิจกรรมการปลูกป่าใน

ดูแลติดตามประเมินผล นอกจากนีเ้ รา

อ่อนแอของชาวบ้าน เกิดจากนโยบาย ประชานิยมของรัฐเองด้วย


96

สมชาย วงษ์จันทธนพงษ์

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลเมืองปอน อำ�เภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน

งานพัฒนาความเป็นพลเมืองที่เราทำ�อยู่นั้นได้รับความ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งท้องที่ ท้องถิ่น และชุมชน ตำ�บล เมืองปอนมีการรวมตัวกันโดยใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อประสาน เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว เราจะไปแก้ปัญหากันตรงนั้น ทุกๆ เดือนเรา จะมีประเพณีท้องถิ่นของแต่ละกลุ่มชน ทั้งชาวไทยใหญ่ กระเหรี่ยง มีทั้งนับถือ พุทธ คริสต์ นับถือผีก็ยังมี แต่เราก็อยู่กันด้วยความถ้อยทีถ้อยอาศัย ผมเป็นกำ�นันมาตั้งแต่ปี 2536 อยู่ในพื้นที่มาตลอด ความขัดแย้งไม่เคยมี เพราะเรามีแกนนำ�ธรรมชาติ แกนนำ�ทางศาสนา คอยไกล่เกลี่ย นี่คือสิ่งสำ�คัญ ส่วนวิธีการดึงคนเข้ามามีส่วนร่วมนั้นเราอาศัยบุคลากรทั้งจากโรงเรียน คณะครู สถานีอนามัย โรงพยาบาล ทหารในพื้นที่ ผ่านระบบการบริหารจัดการแบบมี ส่วนร่วม ทุกครั้งที่มีการประชุมสภาจะมีถ่ายทอดเทปบันทึกภาพให้ชาวบ้านได้รู้ ว่า เราทำ�อะไรบ้าง ในรายการก็จะมีการให้ความรู้ด้านต่างๆ เช่น เรื่องสุขภาพ และการสร้างความเข้าใจในโครงการตำ�บลสุขภาวะของ สสส. ว่าโครงการนี้


97

สิง่ ทีผ่ มยึดถือในการทำ�งานเพือ่ ชุมชน ผมบอกตัง้ แต่แรกทีเ่ ข้ามารับตำ�แหน่งเลยว่า เป้าหมายสูงสุดต้องอยู่ที่ชาวบ้าน

จะช่วยทำ�ให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง

ขึ้น ซึ่งบางคนอยากรู้ว่า อบต.ทำ�อะไร

ผมไปถามว่ า ต้ อ งการสิ่ ง ใดเพิ่ ม เติ ม

อย่างไร ต้องการความร่วมมืออย่างไร

บ้ า ง ตรงกั บ ที่ ช าวบ้ า นเคยเสนอไว้

คำ � ตอบที่ ไ ด้ รั บ คื อ ยั ง ไม่ จำ � เป็ น ถ้ า

มีงบประมาณเท่าไหร่ มีหน่วยงานใด

หรือไม่ งบสมดุลกับงานหรือไม่ เรา

ต้องการจะบอกเอง นีค่ อื ความเข้มแข็ง

เกี่ยวข้องบ้าง และประโยชน์จะตกอยู่

จะมีรายงานประจำ�ปี เผยแพร่ลงใน

ของชาวบ้านอย่างแท้จริง ไม่ต้องรอ

กับใคร

เว็บไซต์ ประชาชนทัว่ ไปก็สามารถดูได้

คำ�สัง่ ลงมาจากเบือ้ งบน ทุกคนตระหนัก

ทุกองค์กรในชุมชนเราทำ�งานไป

ส่ ว น อุ ป ส ร ร ค เ รื่ อ ง ข อ ง ง บ

พร้อมๆ กัน ทั้งโรงเรียน วัด อนามัย

ประมาณ ผมบอกกับชาวบ้านเสมอ

บทบาทของเราเพี ย งเป็ น ผู้

ท้องถิ่น แน่นอนว่าในช่วงแรกนั้นอาจ

ว่า อย่าเอาเงินเป็นตัวตั้ง ให้ยึดความ

ประสานงานกับหน่วยงานภายนอก

ยังไม่ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้าน

สามัคคี ถ้าเราเอาเงินเป็นตัวตั้ง แก้

ส่วนทาง สสส. เองก็เข้ามาเสริม ช่วย

เท่าที่ควร แต่พอเราลงพื้นที่บ่อยขึ้น

ปั ญ หาเท่ า ไหร่ ก็ ไ ม่ จ บสิ้ น บางแห่ ง

จัดให้มีระบบระเบียบต่างๆ มากขึ้น

ก็ จ ะเกิ ด แกนนำ � คนใหม่ ๆ มี ค ณะ

ได้งบเป็นแสน ซื้อหมดทุกอย่าง ผล

ในอนาคตผมอยากให้ ชุ ม ชนเติ บ โต

กรรมการของแต่ ล ะหมู่ บ้ า น คณะ

สุดท้ายก็พัง ผมดีใจมากที่ชาวบ้านมี

แบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ก้าวกระโดด

กรรมการตรวจสอบ คณะกรรรมการ

ความคิดแบบนีไ้ ด้ ไม่ตอ้ งไปพึง่ ใคร ไม่

ที่สำ�คัญต้องอยู่ร่วมกับบนความแตก

พัฒนา คณะกรรมการตรวจรับ ทำ�ให้

ทำ�ลายต้นทุนที่เรามีอยู่

ต่างทางวัฒนธรรมให้ได้ ต้องยิง่ เคารพ

รู้ถึงความเป็นพลเมืองของตัวเอง

ชาวบ้านรู้ถึงกระบวนการทำ�งานและ

สำ � หรั บ คำ � ว่ า ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง

ความโปร่ ง ใส ส่ ว นจะเห็ น ด้ ว ยหรื อ

ผมยกตั ว อย่ า งกลุ่ ม แปรรู ป ผลผลิ ต

สิ่งที่ผมยึดถือในการทำ�งานเพื่อ

ไม่ อ ย่ า งไร ทุ ก อย่ า งต้ อ งจบที่ ก าร

ทางการเกษตรที่ ช าวบ้ า นเขาคิ ด

ชุมชน ผมบอกตั้งแต่แรกที่เข้ามารับ

ประชาคม ซึ่งจะมีการประเมินทุกปี

กันเอง ทำ�กันเอง ตั้งแต่ทำ�มาไม่เคย

ตำ�แหน่งเลยว่า เป้าหมายสูงสุดต้อง

เครื่ อ งมื อ สำ � คั ญ ที่ ทำ � ให้ ภ าคี

ขอเงินจาก อบต.เลย รวมกลุ่มกันเอง

อยู่ที่ชาวบ้าน ผมเข้ามาเป็นคนรับใช้

ต่ า งๆ เหล่ า นี้ เ ข้ า มาร่ ว มกั บ เราคื อ

ประมาณ 26 คน วัตถุดิบต่างๆ ก็ซื้อ

ไม่ได้เข้ามาเป็นเจ้านาย ใครมีปัญหา

การประชาสัมพันธ์ ทำ�ให้คนรับรู้มาก

กันเอง มีการแบ่งหุ้น บางผลกำ�ไร พอ

มาได้ทุกเมื่อ

ซึ่งกันและกัน


98

แดนชัย บุลมาก

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโป่งงาม อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย

ในทุกเขตพื้นที่ ทั้งในระดับหมู่บ้าน ตำ�บล ประเทศ ล้วน มีพลเมืองเป็นกำ�ลังสำ�คัญ แต่พลเมืองเหล่านี้จะมีพลังและ ศักยภาพแค่ไหนนั้นต้องขึ้นอยู่กับว่าได้รับการส่งเสริมมากน้อย เพียงใด การจะบ่มเพาะพลังพลเมืองขึ้นมาได้ต้องเริ่มสร้างตั้งแต่วัยเด็กไปจนถึง วัยผู้ใหญ่ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของเราพยายามส่งเสริมปลูกฝังให้เขา ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้มากที่สุดเท่าที่เขาจะรับได้ เครื่องมือสำ�คัญที่ อบต.โป่งงาม นำ�มาใช้ก็คือ ‘ศูนย์ประสานพลังแผ่นดิน ตำ�บลโป่งงาม’ ซึ่งเป็นกลไกในการสร้างการมีส่วนร่วม ศูนย์ประสานงานแห่งนี้ ประกอบด้วย ‘เบญจภาคีทั้ง 5’ ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องที่ ท้องถิ่น และ ที่สำ�คัญสุดคือภาคประชาชน ภายใต้การทำ�งานของศูนย์ฯ แห่งนี้จะมีการจัดประชุมร่วมกันอย่างน้อย เดือนละครั้ง โดยเน้นเป้าหมายหลัก 3 ประการคือ ทุก ฝ่ายต้องมาร่วมคิด ร่วมทำ� และร่วมสร้าง ดังคำ�พระที่ว่า หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ สัปปุริสธรรม 7


99

ในอนาคต อบต.โป่งงาม มุ่งมั่นที่จะสร้างพลังคน สร้างความเชื่อมั่นในศักยภาพของตน เริ่มตั้งแต่เด็กและเยาวชนไปจนถึงผู้หลักผู้ใหญ่ ให้ทุกฝ่ายได้มาร่วมคิด ร่วมทำ� และร่วมสร้าง เราเชื่อว่าแนวทางนี้จะเป็นพลังของการปฏิรูปประเทศได้

ถ้าเราหมั่นประชุมกัน ช่วยกันระดม

สร้างการมีส่วนร่วม สร้างการปฏิบัติ

แล้วท้องถิ่นจะต้องบริหารจัดการเอง

พลังสมอง งานทุกอย่างก็จะเดินหน้า

หน้าที่ตามบทบาทหน้าที่ของตน

ทัง้ หมด แต่ท่ี อบต.โป่งงาม เราจะชวน

ไปด้วยกัน

ตั ว อย่ า งเช่ น การสร้ า งถนน

ให้ชาวบ้านมาช่วยกันดูแลตรวจสอบ

ร่ ว มคิ ด หมายถึ ง ทุ ก คนในที่

นอกจากจะมี ง บประมาณสนั บ สนุ น

รวมถึ ง ติ ด ตามการปฏิ บั ติ ก ารของ

ประชุ ม จะต้ อ งมาระดมพลั ง สมอง

จากท้ อ งถิ่ น แล้ ว ชุ ม ชนยั ง สามารถ

พนักงาน อบต. เพือ่ ให้ทอ้ งถิน่ สนองตอบ

เสนอแนวคิด แนวทาง ช่วยกันวิพากษ์

จัดการกันเองได้ ด้วยการระดมกำ�ลัง

ความต้ อ งการประชาชนอย่ า งเต็ ม ที่

วิ จ ารณ์ จนกระทั่ ง ได้ ข้ อ สรุ ป ในการ

คนในชุมชนเข้ามาร่วมกันสร้าง ร่วม

ไม่ ถื อ ยศถื อ ศั ก ดิ์ ซึ่ ง อาจกล่ า วได้ ว่ า

แก้ไขปัญหา

กันออกแรง จัดซื้อเฉพาะวัสดุก่อสร้าง

ศู น ย์ ป ระสานพลั ง แผ่ น ดิ น ตำ � บล

ร่ ว มทำ � หมายถึ ง หลั ง จากได้

เท่ า ที่ จำ � เป็ น ซึ่ ง ช่ ว ยประหยั ด งบ

โป่งงาม คือกลไกขับเคลื่อนกิจกรรม

ข้อสรุปแล้ว ทีป่ ระชุมจะมีมติมอบหมาย

ประมาณไปได้มาก โดยเงินส่วนต่าง

ทุกอย่างในตำ�บล

ให้ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ

ที่เหลืออยู่นั้น ทางท้องถิ่นยังสามารถ

รับไปดำ�เนินการ โดยท้องถิ่นจะเป็น

นำ�ไปสนับสนุนในด้านอื่นต่อไปได้

ในอนาคต อบต.โป่งงาม มุ่งมั่น ที่จะสร้างพลังคน สร้างความเชื่อมั่น

พีเ่ ลีย้ งคอยให้การสนับสนุน ทัง้ ในด้าน

นอกจากนั้ น ในการบริ ห าร

ในศั ก ยภาพของตน เริ่ ม ตั้ ง แต่ เ ด็ ก

งบประมาณ ความรู้ เครื่ อ งมื อ และ

จั ด การงบประมาณ ท้ อ งถิ่ น ก็ เ ปิ ด

และเยาวชนไปจนถึงผู้หลักผู้ใหญ่ ให้

วัสดุอุปกรณ์

โอกาสให้ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ ม าประชุ ม

ทุกฝ่ายได้มาร่วมคิด ร่วมทำ� และร่วม

ร่ ว มสร้ า ง หมายถึ ง การสร้ า ง

ที่ศูนย์ฯ แห่งนี้ ได้ร่วมกันเสนอวิธีการ

สร้าง เราเชื่อว่าแนวทางนี้จะเป็นพลัง

บรรทัดฐาน สร้างความยั่ง ยืนในเชิง

บริ ห ารจั ด การว่ า ทำ � อย่ า งไรจึ ง จะ

ของการปฏิรูปประเทศได้

แนวคิ ด เน้ น ให้ ทุ ก คนรู้ จั ก เสี ย สละ

เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งโดยทั่วไป


100

สุริยัน แพรสี

ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการแผนสุขภาวะชุมชน และเครือข่ายภาคเหนือตอนบน (ล้านนา)

หัวใจของความสำ�เร็จในการพัฒนาคน ต้องเริ่มจากการจัดการความรู้ ต้องสร้างเวที การแลกเปลี่ยนความคิด ต้องสร้างโอกาส สร้างเครือ่ งมือ ต้องมีขอ้ มูล และมีพน้ื ทีใ่ ห้ชาวบ้าน ได้แสดงศักยภาพ เพราะบางคนมีความรูอ้ ยูก่ บั ตัว แต่ไม่มีพื้นที่ให้แสดงออก

‘พลเมือง’ คือคนที่รู้ร้อนรู้หนาวกับปัญหาในทุกระดับ รู้ว่าปัญหานั้นเป็น ส่วนหนึง่ ในความรับผิดชอบของตัวเอง การสร้างพลังพลเมืองเราต้องทำ�ให้ชาวบ้าน เห็นปัญหาและประโยชน์ร่วมกัน สร้างให้ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ซึ่ง วิธีการที่จะปลูกจิตสำ�นึกให้คนในชุมชนเกิดความรู้สึกร่วมกัน อันดับแรกผู้นำ� ต้องทำ�ให้เห็นเป็นตัวอย่าง ต้องสร้างปรากฏการณ์ให้ชาวบ้านเห็นเป็นรูปธรรม และเชิญชวนพวกเขาเข้ามามีส่วนร่วม กลไกการมีสว่ นร่วมสามารถทำ�ได้หลายวิธี ทัง้ การพูดคุยกันซึง่ หน้า ภายใต้ เวทีแลกเปลีย่ นความคิด และการประชาคมภายในหมูบ่ า้ น ซึง่ พลังการมีสว่ นร่วม ของคนในชุมชนนี้จะให้ท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง และพลังเมืองเหล่านี้จะเป็น


101

ฐานรากในการพั ฒนาชุมชนท้อ งถิ่น

ไม่มีพื้นที่ให้แสดงออก ก็ไม่ทำ�ให้เกิด

โครงการนั้ น ต้ อ งสะดุ ด หยุ ด ลง ไม่

ของตัวเอง และพัฒนาประเทศชาติไป

การพัฒนาแต่อย่างใด

สามารถขับเคลื่อนงานได้ต่อ แต่นั่น

ในทางที่ดีได้อย่างแน่นอน

ในภาพรวมของเครือข่ายล้านนา

ก็เป็นการชี้วัดได้เช่นเดียวกันว่า หาก

ยกตัวอย่างการพัฒนาของตำ�บล

นอกจากจะพั ฒ นาด้ ว ยตั ว เองแล้ ว

พื้นที่ใดประสบปัญหาเช่นนี้ นั่นแปล

ดอนแก้ว จุดแข็งของคนที่นั่นคือ การ

ยังมีแนวโน้มเข้มแข็งขึ้น เพราะรู้จัก

ว่ า ฐานของการพั ฒ นาถู ก ผู ก ติ ด อยู่

มีผู้นำ�ที่โปร่งใส มีความอดทนและมี

กระบวนการทำ�งานอย่างเป็นระบบ

กั บ ตั ว ผู้ นำ � ไม่ ไ ด้ ติ ด อยู่ กั บ ตั ว ของ

วิสัยทัศน์ที่ดี ที่สำ�คัญอีกประการคือ

เช่น ในเรื่องการจัดการความรู้ ก่อน

ประชาชนเอง ฉะนั้ น ประชาชนเอง

ผู้นำ�ยึดถือในหลักประชาธิปไตย การ

หน้านี้ใครมีความรู้อยู่กับตัวก็เสมือน

จึงต้องมีความเข้มแข็งสามัคคี ต่อให้

มี ส่ ว นร่ ว มในประชาธิ ป ไตยของคน

กับรู้อยู่คนเดียว ไม่สามารถถ่ายทอด

มี ก ารเปลี่ ย นผู้ นำ � กี่ ค รั้ ง ก็ ไ ม่ ไ ด้ ส ร้ า ง

ดอนแก้วจึงมีสูงมาก จุดนี้เองที่ทำ�ให้

ให้ ใ ครได้ แต่ เ มื่ อ เราจั ด ระบบการ

ปัญหาแต่อย่างใด

ชาวบ้านมีความเชือ่ มัน่ ในตัวผูน้ �ำ และ

เรียนรู้ใหม่ อาศัยข้อมูลในเชิงวิชาการ

แนวทางในการพัฒนาพลังคนให้

ทำ�ให้เขาพร้อมที่จะเข้ามามีส่วนร่วม

เป็นฐานมากขึ้น ทำ�ให้สามารถใช้ทุน

ยั่งยืนนั้นต้องประกอบไปด้วย ‘5 นัก’

ในการพัฒนา

และศักยภาพในการขับเคลื่อนตำ�บล

คือ นักบริหาร นักสื่อสาร นักวิชาการ

ต่ อ มาคื อ การสร้ า งจิ ต อาสาใน

ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เช่น ปราชญ์

นักจัดการข้อมูล และนักประสานงาน

ทุ ก ๆ แหล่ ง เรี ย นรู้ ซึ่ ง จิ ต อาสาเป็ น

ชุมชนที่มีความรู้เรื่องสมุนไพร พัฒนา

รวมทั้งผลักดันโครงการที่มีอยู่ขณะนี้

1 ใน 4 เสาหลักของการพัฒนาของ

ตั ว เองให้ ส ามารถเผยแพร่ ค วามรู้

ให้ เ ข้ า ไปอยู่ ใ นรู ป แบบของแผนงาน

ตำ�บลดอนแก้ว 4 เสาหลักที่ว่านั้นก็

นั้ น ไปสู่ ช าวบ้ า นโดยทั่ ว ไปได้ ทำ � ให้

ระยะยาวให้ได้ เช่น บางโครงการต้อง

คือ องค์การบริหารส่วนตำ�บล หน่วย

ภู มิ ปั ญ ญานั้ น เกิ ด ถ่ า ยทอดไปสู่ ค น

ไม่จบแค่ 3 ปี แต่จะต้องอยู่รอดตลอด

ราชการ ประชาชน และอาสาสมัคร

รุ่นใหม่

ไป ต้ อ งมี ค นมาสานต่ อ เพื่ อ สร้ า ง

นอกจากนี้ หั ว ใจของความ

อย่างไรก็ดี การพัฒนาพลังคน

สำ�เร็จในการพัฒนาคนก็ต้องเริ่มจาก

ย่ อ มเป็ น เรื่ อ งธรรมดาที่ ต้ อ งพบ

การจัดการความรู้ ต้องสร้างเวทีการ

อุปสรรค หากมองภาพกว้างส่วนมาก

แลกเปลี่ยนความคิด ต้องสร้างโอกาส

จะมีอปุ สรรคในเรือ่ งการเปลีย่ นแปลงผู้

สร้ า งเครื่ อ งมื อ ต้ อ งมี ข้ อ มู ล และมี

ตัวนำ� โดยเฉพาะเมื่อผู้บริหารท้องถิ่น

พื้ น ที่ ใ ห้ ช าวบ้ า นได้ แ สดงศั ก ยภาพ

คนใหม่ ไ ด้ รั บ เลื อ กตั้ ง เข้ า มา มั ก ไม่

เพราะบางคนมีความรู้อยู่กับตัว แต่

สานต่อโครงการเดิมที่มีอยู่แล้ว ทำ�ให้

ประโยชน์และพัฒนาให้ถึงที่สุด


102

จักร์กรี จริยาจินดาเสถียร นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลจันทิมา อำ�เภอลานกระบือ จังหวัดกำ�แพงเพชร

การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ อบต.จันทิมา ค่อน ข้างมีความเป็นปึกแผ่น ถ้าเรามองในระดับการรวมกลุ่มของ ชาวบ้านจัดว่าอยู่ในระดับเข้มข้น ยกตัวอย่างกลุ่มอาชีพต่างๆ ในตำ�บลจันทิมาจะมีการรวมตัวของชาวบ้านหลายกลุ่ม แต่ละ กลุ่ ม จะทำ � กิ จ กรรมตามความต้ อ งการของตนเอง และภายในกลุ่ ม ยั ง มี ก าร กระจายอำ�นาจไปยังกลุ่มคนที่ยังไม่เข้มแข็ง พวกเขาชักชวนเพื่อนเข้ามารวมตัว กัน จึงขยายกลายเป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้น ในฐานะผู้บริหารท้องถิ่น เราต้องการให้ประชาชนมีบทบาทต่อองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้มากที่สุด ให้พวกเขามีความคิดความอ่านเป็นของตัวเอง เราเปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็นของพวกเขา ฟังว่าพวกเขามีปัญหาอะไร เมื่อ พวกเขานำ�เสนอปัญหาขึ้นมา ฝ่ายบริหารจะนำ�ปัญหานั้นไปปรับปรุงแก้ไข เราร่วมมือกับองค์กรภายนอก เช่น สสส. สำ�นัก 3 ซึ่งเข้ามายกระดับเรื่อง คุณภาพชีวิตของผู้คนในชุมชน ทำ�ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในชุมชน ทุก


103

เราต้องการให้ประชาชนมีความคิดความอ่านเป็นของตัวเอง เราเปิดโอกาสรับฟังความคิด เห็นของพวกเขา ฟังว่าพวกเขามีปัญหาอะไร เมื่อพวกเขานำ�เสนอปัญหาขึ้นมา ฝ่ายบริหารจะนำ�ปัญหานั้นไปปรับปรุงแก้ไข

วันนี้กลุ่มกิจกรรมที่มีการรวมตัวกัน

ของเขาคืออะไร สร้างความเข้มแข็งให้

ผมมองว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก เพราะมี

นั้ น เกิ ด จากความคิ ด ความต้ อ งการ

เขา แล้วเขาก็จะไปชักจูงคนในชุมชน

คนนอกพื้นที่เข้ามาศึกษาตำ�บลของ

ของพวกเขาเอง ซึ่งต่างจากเมื่อก่อน

ตั้งกลุ่มของเขาเอง ผมมองว่าตอนนี้

เรา ทำ � ให้ เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นเรี ย น

ตำ�บลจันทิมามีความเข้มแข็งขึ้นมาก

รู้ ทุกครั้งที่มีการแลกเปลี่ยนจะก่อให้

มีความเป็นตัวของตัวเองมาก

เกิดสิ่งใหม่ๆ ขึ้นมา และถูกนำ�มาปรับ

การพัฒนาชุมชนให้มีความเข้ม แข็ ง ผมมองว่ า หั ว ใจสำ � คั ญ คื อ การ เปิดโอกาสให้ชาวบ้านมีโอกาสได้คิด

เชื่อไหมว่าบริษัทห้างร้านที่เข้า

ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่เรา

และได้ทำ� เราในฐานะท้องถิ่นมีหน้า

มาในพื้ น ที่ โ ดยไม่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ถี

ต้ อ งยอมรั บ ว่ า การเข้ า ร่ ว ม

ที่ รั บ ไปปฏิ บั ติ ห รื อ ให้ ก ารสนั บ สนุ น

ชุมชนจะถูกชาวบ้านต่อต้านออกจาก

โครงการตำ�บลน่าอยู่ ทำ�ให้ชาวบ้าน

ท้องถิ่นต้องให้ข้อมูลแก่ประชาชน ให้

ชุมชน การเข้ามาประชาสัมพันธ์ของ

ได้รับข้อมูลมากขึ้น และเมื่อชาวบ้าน

พวกเขามองเห็ น ถึ ง ความเป็ น ไปได้

บริ ษั ท เหล่ า นี้ จึ ง ค่ อ นข้ า งล้ ม เหลว

เล็งเห็นประโยชน์ พวกเขาก็ตนื่ ตัวและ

ของชุ มชนว่าจุดเด่ นของเราคืออะไร

เพราะชาวบ้านไม่เอาด้วย

ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

ตรงนี้จะช่วยทำ�ให้เขารู้ข้อมูล เราแจ้ง

การเข้ า มาของเครื อ ข่ า ยร่ ว ม

ข่าวสารข้อมูลกับเขาว่าขอบเขตสิทธิ

สร้างชุมชนน่าอยู่ของ สสส. สำ�นัก 3

มากขึ้น


104

สุชาติ แดงทองดี นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลวังหลุม อำ�เภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

โจทย์สำ�คัญของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในวันนี้คือ ทำ� อย่างไรให้พลเมืองมีความรับผิดชอบต่อชุมชน มีความคิดเป็น ของตัวเอง เพราะที่ผ่านมาโครงสร้างอำ�นาจยังเป็นการสั่งการจากบนลงล่าง ทำ�ให้คนส่วนใหญ่คิดว่าธุระไม่ใช่ เพราะเป็นหน้าที่ของรัฐจัดการให้หมด ดังนั้น จะทำ�อย่างไรให้ชาวบ้านในชุมชนเกิดจิตสำ�นึกตรงนี้ คำ�ตอบแรกก็คงหนีไม่พ้น การเริ่มต้นจากตัวเอง ตัวอย่างง่ายๆ เรือ่ งหนึง่ ก็คอื สมมุตใิ นพืน้ ทีแ่ ห่งหนึง่ มีเศษขยะอยูก่ องหนึง่ ถ้าเป็นพลเมืองที่ดีเขาจะเก็บไปทิ้งทันที เขาจะไม่คิดว่านี่คือหน้าที่ของเทศบาล ความเป็นพลเมืองที่ดีจึงมีลักษณะเช่นนี้ พื้นที่ของตำ�บลวังหลุมไม่ได้อยู่ในพื้นที่ชลประทาน ประชากรส่วนใหญ่ทำ� เกษตรกรรม อาศัยน้ำ�ฝนเป็นหลัก ปัญหาก็คือตำ�บลวังหลุมเกิดปัญหาภัยแล้ง ท้องถิ่นพยายามแก้ไขโดยนำ�ประปาส่วนภูมิภาคเข้าไป แหล่งน้ำ�ธรรมชาติก็มี


105

ทำ�อย่างไรให้พลเมืองมีความรับผิดชอบต่อชุมชน มีความคิดเป็นของตัวเอง เพราะที่ผ่านมาโครงสร้างอำ�นาจยังเป็นการสั่งการจากบนลงล่าง ทำ�ให้คนส่วนใหญ่ คิดว่าธุระไม่ใช่ จะทำ�อย่างไรให้ชาวบ้านในชุมชนเกิดจิตสำ�นึกตรงนี้ คำ�ตอบแรกก็คงหนีไม่พ้นการเริ่มต้นจากตัวเอง

ข้อจำ�กัด เพราะเกิดสภาวะแปรปรวน

อบต.วั ง หลุ ม จึ ง หยิ บ ยกเรื่ อ ง

ตำ �บลสุ ข ภาวะทำ �ให้ ตำ �บลวั ง หลุ ม

การจัดการทรัพยากรน้ำ�เพื่อเป็นแบบ

ได้รับประโยชน์หลายด้าน แต่สิ่งที่

ด้วยเหตุนี้ ตำ�บลวังหลุมจึงต้อง

อย่ า งให้ ช าวบ้ า นเล็ ง เห็ น ถึ ง ความ

ชาวบ้ านได้ รั บ อย่ า งเป็ นรู ป ธรรมก็

สร้างฝายเก็บกักน้ำ� เพราะชาวบ้าน

จำ � เป็ น ในการมี ส่ ว นร่ ว ม เพราะทุ ก

คือ งบประมาณจากภายนอกที่เพิ่ม

มองเห็นร่วมกันว่าเรื่องนี้ไม่ใช่ปัญหา

คนเป็นเกษตรกรเหมือนกันหมดและ

เข้ามาหนุนเสริมการพัฒนา เพราะ

ของใครคนใดคนหนึ่ ง สิ่ ง นี้ จึ ง ทำ � ให้

จำ�เป็นต้องใช้น้ำ� ชาวบ้านจึงตระหนัก

องค์กรท้องถิ่นได้งบประมาณจำ�กัด

การบริหารจัดการแหล่งน้ำ�ได้รับการ

ว่ า สิ่ ง นี้ มี ผ ลต่ อ การหาอยู่ ห ากิ น ของ

การเข้ า มาของงบประมาณจาก

ประสานกันตัง้ แต่ตน้ น้�ำ กลางน้�ำ และ

เขา ขณะเดี ย วกั น ในฐานะองค์ ก ร

ภายนอกจึ ง ช่ ว ยให้ อ งค์ ก รท้ อ งถิ่ น

ปลายน้ำ� โดยแต่ละชุมชนจะประสาน

ท้องถิ่นเราต้องให้ความรู้และแนะนำ�

ทำ�งานได้ราบรื่นขึ้น

แจ้ ง ข้ อ มู ล กั น เมื่ อจะเปิ ด และปิ ด น้ำ �

พืชที่ใช้น้ำ�น้อยสำ�หรับเป็นทางเลือก

เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขัดแย้งกันกับคน

และทางออกในฤดูแล้ง

ทางธรรมชาติ

แต่ละพื้นที่

การเข้ า ร่ ว มโครงการเครื อ ข่ า ย


106

ณรงค์ศักดิ์ คำ�ภูมี

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลวังหลุม อำ�เภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร

ถ้าพูดถึงนิยามความเป็นพลเมือง ผมมองว่าความรับผิด ชอบต่อพื้นที่ที่ตนอยู่เป็นสิ่งสำ�คัญ หากไม่มีจิตสำ�นึกว่าพื้นที่ หรือชุมชนเป็นบ้านของตนเสียแล้ว การทำ�ประโยชน์ให้ชุมชนก็ คงไม่เกิด จิตสำ�นึกความเป็นเจ้าของจึงสำ�คัญที่สุด ถ้าคุณไม่มี สำ�นึกความเป็นเจ้าของ คุณก็จะรอคอยผู้อื่นมาพัฒนาให้ การ เป็นประชาชนในตำ�บลวังหลุม คุณไม่สามารถแบมือขอได้อย่างเดียว คุณต้อง ร่วมทำ�ด้วย เพราะนี่คือบ้านของคุณ ที่ตำ�บลวังหลุม เดิมทีเราดูแลเรื่องโครงสร้างพื้นฐานเป็นหลัก แต่ที่ผ่านมา เราเริ่มมองเห็นแล้วว่าเรื่องโครงสร้างพื้นฐานมันไม่ใช่ปัจจัยสำ�คัญเท่าใดนัก สิ่ง ที่ต้องมาดูกันจริงจังคือเรื่องคุณภาพชีวิตและสุขภาวะ ซึ่งต้องทำ�ให้เป็นนโยบาย ฉะนั้นการที่จะผลักดันให้เรื่องการพัฒนาสุขภาวะที่ดีเป็นนโยบายของ อบต. ก็ ต้องให้ความสำ�คัญเรื่องคน การพัฒนาคนต้องชักชวนให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม แล้วเขาจะสะท้อน ปัญหาของเขาว่ามีปัญหาอะไร เขาจะเริ่มคิดเพื่อมาหาทางออกร่วมกัน


107

ผมมองว่า ‘ประชาคม’ เป็นคำ�ศัพท์ที่นักวิชาการใช้ แต่ในความเป็นจริงชาวบ้านเขานั่งพูดคุยกันอยู่แล้ว ไม่ว่างานบวช งานบุญ งานแต่ง มันคือพื้นที่ในการพูดคุยหรือวิพากษ์วิจารณ์ปัญหา ผมคิดว่าจะเป็นประโยชน์หากเราฟังและนำ�มาใช้ โดยไม่ต้องยึดติดว่าจะเป็นทางการหรือไม่

ผมมองว่า ’ประชาคม’ มันเป็น

ได้ว่าเมื่อมีการจัดงานที่เป็นทางการ

การที่ ชุ ม ชนใดชุ ม ชนหนึ่ ง จะ

คำ�ศัพท์ที่นักวิชาการใช้ แต่ในความ

ชาวบ้านมักไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดง

สามารถจัดการตนเองได้นั้น ผมมอง

เป็ น จริ ง ชาวบ้ า นเขานั่ ง พู ด คุ ย กั น ถึ ง

ความเห็น แต่หากเป็นเวทีเล็กๆ เขา

ว่ า คนในชุ ม ชนมี ส่ ว นสำ � คั ญ ถ้ า เขา

ปัญหาอยู่แล้ว ทั้งในวงข้าวหรือในงาน

จะกล้าพูด แล้วเราจะนำ�เอาประเด็น

สำ � นึ ก ว่ า นี่ คื อ บ้ า นของเขาแล้ ว เขา

บุ ญ ต่ า งๆ ฉะนั้ น ผมมองว่ า รู ป แบบ

จากตรงนั้นมากำ�หนดเป็นแผนปฏิบัติ

รักบ้าน มันก็จะเกิดการร่วมกันแก้ไข

ของประชาคมอาจไม่จำ�เป็นต้องเป็น

ได้

ชุมชนจัดการตนเองคือประชาชนที่มี

ทางการ

ในฐานะฝ่ายบริหาร เป้าหมาย

ความตระหนักในสิทธิแล้วเข้ามาช่วย

ในชุ ม ชนชนบท ไม่ ว่ า งานบวช

ปลายทางของเราคื อ การพั ฒนาคน

กัน ไม่ใช่ปล่อยให้ฝ่ายบริหารท้องถิ่น

งานบุญ งานแต่ง คือพืน้ ทีใ่ นการพูดคุย

ซึ่งก็คือการที่ปัญหาของคนคนหนึ่งได้

แก้ ไ ขแต่ เ พี ย งฝ่ า ยเดี ยวโดยไม่ มี ก าร

หรื อวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ปั ญ หาในชุ ม ชน

รับการแก้ไข สิ่งที่เราจะทำ�ได้อย่างมี

ตรวจสอบ

ผมคิ ด ว่ า หากท้ อ งถิ่ น นำ � ประเด็ น ที่

ประสิทธิภาพก็คือการมอบอำ�นาจให้

ทีต่ �ำ บลวังหลุม เราพยายามสร้าง

เกิดจากพื้นที่ตรงนั้นมาผลักดันเป็น

ประชาชน ให้เขามีอำ�นาจในการนำ�

จิ ต สำ � นึ ก ของคน ที่ ผ่ า นมานโยบาย

นโยบายก็ จ ะตอบสนองได้ ต รงกั บ

เสนอปัญหา ร่วมหาวิธีการแก้ปัญหา

ของภาครัฐเป็นไปในลักษณะจากบน

ปัญหา

ไม่ใช่ว่าฝ่ายบริหารเป็นคนผูกขาดการ

ลงล่ า ง ซึ่ ง ไม่ ต รงกั บ ความต้ อ งการ

สิ่ ง ที่ เ ราได้ จ ากการพู ด คุ ย ของ

แก้ปัญหาทั้งหมด การมอบอำ�นาจให้

ของชุมชน ณ วันนี้ต้องคิดใหม่ ต้อง

ชาวบ้านอย่างไม่เป็นทางการ จะเป็น

ประชาชนคือการที่ประชาชนมีอำ�นาจ

ให้ชุมชนร่วมคิด ชุมชนจำ�เป็นต้องมี

ข้อมูลที่ตรงไปตรงมามากกว่าการจัด

ในการตั ด สิ น ใจอย่ า งแท้ จ ริ ง ผ่ า น

นักคิด กล้าที่จะนำ�เสนอปัญหา และ

ประชุ ม เป็ น รู ป แบบทางการ สั ง เกต

รูปแบบที่เป็นรูปธรรม

กล้าที่จะวิจารณ์


108

ทองม้วน พันธุรี

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสมอแข อำ�เภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

การเป็นพลเมืองคือการมีจิตสำ�นึก มีสำ�นึกที่จะสร้างสิ่ง ดีๆ ให้กับชุมชนท้องถิ่น ตั้งแต่สมัยโบราณมาจนถึงปัจจุบัน เรา มีพลเมืองเหล่านี้อยู่ในชุมชนของเรามาโดยตลอด ปัจจุบันการ ปลูกจิตสำ�นึกเป็นสิ่งสำ�คัญ เพราะสภาพแวดล้อมที่ต้องดิ้นรน ทำ�มาหากิน ความเป็นพลเมืองอาจจะเจือจางหายไป การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเป็นหัวใจสำ�คัญในการสร้าง ความเป็นพลเมือง ที่ตำ�บลสมอแข เราใช้วิธียกย่องบุคคลที่มีความเสียสละ และผลักดันให้เขาเป็นแกนนำ� ซึ่งคนเหล่านี้มักมีบุคลิกเฉพาะตัว เขาเป็น ผู้นำ� ธรรมชาติ คนเหล่านี้มีความคิดเป็นของตัวเอง มีความแน่วแน่ มีอุดมการณ์ที่จะ ทำ�สิ่งดีๆ ให้ชุมชนท้องถิ่น สำ�หรับประชาชนทั่วไป หากมีผู้นำ�ธรรมชาติในลักษณะที่กล่าวมานี้ เขาจะ เกิดศรัทธาและเห็นคล้อย จากนั้นเขาก็พร้อมจะให้การสนับสนุน หากประเด็น ที่ผู้นำ�ตามธรรมชาตินำ�เสนอนั้นสอดคล้องกับความต้องการของเขา เขาก็พร้อม จะอาสามาช่วยกันทำ�งาน


109

ทุกวันนี้ประชาชนมีแนวคิดและรู้เท่าทันผู้ปกครองหมดแล้ว ถ้าเมื่อไหร่ผู้บริหารเห็นแก่ตัว ทำ�ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เขาสามารถตัดสินใจได้เองว่าผู้บริหารคนนี้ไม่เข้าท่าแล้ว

ในฐานะผู้บริหารท้องถิ่น ดิฉัน

ชอบของผู้บริหาร ถ้าเมื่อไหร่ผู้บริหาร

จากการเข้าร่วมเครือข่ายตำ�บล

มองว่าการมอบอำ�นาจแก่ประชาชนมี

เห็นแก่ตัว ทำ�ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง เขา

สุ ข ภาวะทำ � ให้ ตำ � บลสมอแขของ

ความจำ�เป็นมาก เพราะชาวบ้านบาง

สามารถตั ด สิ น ใจได้ เ องว่ า ผู้ บ ริ ห าร

เรามี ก ารจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ระบบ

คนอาจมีความคิดดีๆ แต่ไม่มีอำ�นาจ

คนนีไ้ ม่เข้าท่าแล้ว แล้วเขาก็จะไม่เลือก

ข้อมูลเหล่านี้สำ�คัญมาก เพราะทำ�ให้

ในการตัดสินใจ หรืออาจจะติดขัดข้อ

เข้ามาเป็นผู้บริหารอีก

ชุมชนรู้ว่าอะไรคือจุดอ่อนและจุดแข็ง

จำ � กั ด เรื่ อ งงบประมาณ ทางออกก็

ชุ ม ช น เ ข้ ม แ ข็ ง เ ป็ น ชุ ม ช น ที่

ระหว่ า งที่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ประชาชนก็ ไ ด้

คือ การหาวิธีในการแก้ปัญหาซึ่งมีอยู่

สามารถจัดการตัวเองได้โดยบางครั้ง

รับประโยชน์ สิ่งนี้ทำ�ให้พวกเขารู้จัก

หลากหลายแนวทางมาก ตอนนี้ท้อง

บางคราวแทบไม่ต้องใช้งบประมาณ

ตัวเอง

ถิน่ เปิดโลกทัศน์กว้างออกไปมาก และ

เลย ชาวตำ � บลสมอแขดำ � เนิ น ชี วิ ต

สามารถจัดการตัวเองได้ดีภายใต้ข้อ

ตามทฤษฎี เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เรา

จำ�กัดเชิงโครงสร้างที่เป็นอยู่

รู้ จั ก ตั ว เอง รู้ จั ก ความเปลี่ ย นแปลง

ทุกวันนี้ประชาชนมีแนวคิดและ

ของโลก เราสามารถนำ�พาชุมชนของ

รู้ เ ท่ า ทั น ผู้ ป กครองหมดแล้ ว สิ่ ง ที่

เราให้ก้าวหน้าต่อไปได้ท่ามกลางการ

ประชาชนอยากเห็นก็คือความรับผิด

เปลี่ยนแปลงของกระแสโลก


110

ไพโรจน์ เงินแจ้ง

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสมอโคน อำ�เภอบ้านตาก จังหวัดตาก

สังคมบ้านนอกโดยพื้นฐานอยู่กันแบบช่วยเหลือเกื้อกูล กั น ความเป็ น พลเมื อ งจึ ง หมายถึ ง การที่ ทุ ก คนคำ � นึ ง ถึ ง ประโยชน์สาธารณะ กำ�หนดทิศทางของส่วนรวม โดยมีท้องถิ่น หรือ อบต. เป็นตัวประสานในการพัฒนาชุมชน ในสังคมไทยปัจจุบัน การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นเรื่องจำ�เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะประชาชนรากหญ้า เพราะเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง ในขั้นตอน การพัฒนาชุมชนท้องถิ่น พี่น้องประชาชนต้องเข้ามามีส่วนร่วมทุกกระบวนการ เพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของทุกคน ข้อมูลข่าวสารเป็นสิ่ง จำ�เป็น ท้องถิ่นจึงพยายามจะเป็นกระบอกเสียงในการช่วยกระจายข่าวสาร ไม่ ว่าจะเป็นการทำ�แผนแม่บท การแจ้งข่าวให้ทราบถึงสิทธิและหน้าที่ของชาวบ้าน ในกระบวนการพัฒนา ซึ่งเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ในอดีตชาวบ้านถูกชี้นำ�มาโดยตลอด แต่มาตอนหลัง อบต.สมอโคน เปิด เวทีให้พี่น้องเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เมื่อมีเวทีให้เขาได้พูด ได้ระบาย ก็เหมือน เขายกภูเขาออกจากอก เหมือนเขาอึดอัดมานานที่ไม่มีโอกาสได้แสดงความคิด


111

เมื่อก่อนนั้นการพัฒนาเรื่องหนึ่งเรื่องใดก็ตาม ผู้มีอำ�นาจมีส่วนอย่างมากในการตัดสินใจ หรือผูกขาดอำ�นาจไว้กับตัวเอง แต่การพัฒนาในยุคปัจจุบันจะประสบความสำ�เร็จได้ ก็ต่อเมื่อทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วม

เห็น แม้ประชาชนบางส่วนจะมีการ

เหล่านี้เป็นสิ่งสำ�คัญในการบริหาร

นวัตกรรมใหม่ๆ ในการบริหารจัดการ

ศึกษาน้อย แต่พวกเขาก็มีความรู้ มี

เมื่ อ ก่ อ นนั้ น การพั ฒ นาเรื่ อ ง

ทำ�ให้เกิดเส้นทางใหม่ๆ ทีจ่ ะนำ�พาเรา

ประสบการณ์ พอมีโอกาสแสดงความ

หนึ่งเรื่องใดก็ตาม ผู้มีอำ�นาจมีส่วน

ไปสู่สิ่งที่คาดหวังได้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง

คิดเห็นก็จะทำ�ให้ฝ่ายบริหารได้รับรู้ใน

อย่างมากในการตัดสินใจหรือผูกขาด

การเกษตร การดำ�รงชีวิต สุขภาพ สิ่ง

สิ่งที่ไม่เคยได้ถูกนำ�เสนอ

อำ�นาจไว้กับตัวเอง แต่การพัฒนาใน

เหล่านี้ทำ�ให้ชุมชนได้รับการถ่ายทอด

การมอบอำ � นาจให้ ป ระชาชน

ยุคปัจจุบันจะประสบความสำ�เร็จได้

อย่างเป็นกระบวนการ

เป็ น เรื่ อ งสำ � คั ญ เพราะหากองค์ ก ร

ก็ต่อเมื่อทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วน

ท้องถิ่นไม่ทำ�เช่นนั้นก็จะไม่รู้ความคิด

ร่วม ที่ตำ�บลสมอโคนจึงพยายามเชื้อ

หรือข้อมูลพืน้ ฐานของชาวบ้าน เครือ่ งมือ

เชิ ญทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มาร่ ว มทำ � ร่ ว ม

ที่สำ�คัญในการพัฒนาชุมชนไปสู่ชุมชน

คิดในทุกกระบวนการ และร่วมรับผล

จัดการตนเองคือการแสดงความคิด

ประโยชน์ รวมถึงมีการประเมิน ผลว่า

เห็ น เพราะบางครั้ ง เราอาจละเลย

สิ่งที่เราทำ�กันมานั้นมันเกิดผลอย่างไร

ความเห็นของเสียงส่วนน้อยที่มีคุณค่า

การเข้าร่วมเป็นเครือข่ายตำ�บล

การเปิ ด ใจรั บ ฟั ง เสี ย งเล็ ก เสี ย งน้ อ ย

สุขภาวะ ทำ�ให้ตำ�บลสมอโคนได้รับ


112

ประเจตน์ หมื่นพันธ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลนาบัว อำ�เภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก

เรียนตามความจริง การพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในอดีตที่ ผ่านมาเป็นเหมือนการขีดกรอบให้ชาวบ้านเป็นเพียงประชาชน ทำ � ให้ พวกเขาไม่ รู้ ห น้ า ที่ ข องตั ว เอง รอรั บ แต่ ก ารช่ ว ยเหลื อ เพียงอย่างเดียว แต่วันนี้ผมกล้าพูดได้ว่าชาวบ้านมีความเป็น พลเมืองขึน้ แล้ว พวกเขาเป็นพลเมืองทีร่ หู้ น้าทีข่ องตนเอง ในกระบวนการพัฒนา ชุมชนตำ�บลนาบัวชาวบ้านมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมประเมินผล สิ่งเหล่านี้เป็น หน้าที่ของพลเมืองในตำ�บลของเรา เราสร้างความเป็นพลเมืองโดยเริ่มจากตัวผู้นำ� ไม่ว่าจะเป็น ผู้นำ�ทางการ อย่างกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. คนเหล่านี้ต้องมีความเป็นพลเมืองก่อน ขณะเดียวกัน เราก็มีผู้นำ�แบบไม่เป็นทางการ เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน แกนนำ�กลุ่ม ต่างๆ ซึ่งพวกเขามีจิตใจที่อยากพัฒนาหมู่บ้านชุมชน พวกเราพัฒนาคนเหล่านี้ ขึ้นจนเป็นผู้นำ�ที่มีจิตอาสา เราพยายามรวบรวมคนเหล่านี้ให้ได้มากที่สุด ในฐานะฝ่ายบริหาร ผมคิดว่าศักยภาพของชุมชนนาบัวมีความพร้อมอยูแ่ ล้ว แต่ปัญหาคือโครงสร้างอำ�นาจ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ โดยเฉพาะงบประมาณ


113

เมื่อบริบทของแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน แต่สิ่งที่ออกมาจากภาครัฐกลับกำ�หนดมา แบบตายตัว บางครั้งทำ�ให้เราไม่สามารถปฏิบัติได้ ทางออกก็คือ เราต้องคิดนอกกรอบ ถ้าสิ่งที่ทำ�นั้นเกิดประโยชน์แก่พี่น้องประชาชนก็ต้องทำ�

ซึ่ ง มี ก รอบในการใช้ จ่ า ยที่ บี บ รั ด ไม่

แก่พี่น้องประชาชนก็ต้องทำ� เพียงแต่

สุขภาวะคืออะไร สิง่ ทีเ่ ปลีย่ นจากหน้ามือ

สอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของแต่ ล ะพื้ น ที่

อย่าทำ�ในสิ่งที่เลยเถิดจนเกินกรอบ

เป็นหลังมือก็คือ คนอย่างผู้เฒ่าผู้แก่

เมื่ อ บริ บ ทของแต่ ล ะพื้ น ที่ ไ ม่ เ หมื อ น

หากจะทำ � ให้ ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง

หรื อ เยาวชนที่ พู ด ไม่ เ ป็ น นำ � เสนอ

กั น แต่ สิ่ ง ที่ อ อกมาจากภาครั ฐ กลั บ

ชาวบ้านต้องกล้าเสนอปัญหา กล้าทีจ่ ะ

ไม่เป็น ตอนนี้พวกเขาสามารถสื่อสาร

กำ�หนดมาแบบตายตัว บางครั้งทำ�ให้

วิพากษ์วิจารณ์ โดยท้องถิ่นต้องสร้าง

ถ่ า ยทอดความรู้ ข องเขาได้ อ ย่ า ง

เราไม่สามารถปฏิบัติได้ ทางออกก็คือ

บรรยากาศให้ เ ขากล้ า คิ ด กล้ า พู ด

คล่องแคล่ว จากชาวบ้านธรรมดาที่

เราต้องคิดนอกกรอบ

พู ด ได้ ทุ ก เรื่ อ ง แม้ ว่ า เขาจะพู ด ผิ ด

จับไมค์แล้วขาสั่น

ปั จ จุ บั น มี ผู้ นำ � และผู้ บ ริ ห ารใน

ก็ ต้ อ งปล่ อ ย ตำ � บลนาบั ว ของเรามี

การเข้ามาของโครงการเครือข่าย

พื้นที่ใกล้เคียงกันและมีความคิดไปใน

เวทีวิชาการชาวบ้าน ซึ่งจัดมา 17 ปี

ตำ � บลสุ ข ภาวะ ทำ � ให้ พ วกเขาได้ รั บ

ทิศทางเดียวกันมารวมตัวกันจับกลุ่ม

แล้ว โดยให้ชาวบ้านขึ้นมานำ�เสนอว่า

การฝึกฝนจนคล่องแคล่ว ต้องเข้าใจ

พูดคุย หาวิธีการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

หมู่บ้านมีผลงานอะไร และสุดท้ายเขา

ก่อนว่า คนเหล่านี้เขาเป็นนักปฏิบัติ

ของตนเอง พวกเรามีข้อตกลงกันว่า

จะพูดถึงความต้องการของหมู่บ้านว่า

ไม่เคยมีทักษะการพูด แต่ระยะหลัง

หากจะทำ�เรื่องนอกกรอบก็ต้องทำ�ให้

ต้องการพัฒนาในเรื่องใด

มานี้พวกเขาสามารถถ่ายทอดความ

เหมือนกัน พูดตรงๆ อะไรจะเกิดก็

ถามว่าประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม

ต้องเกิด ถ้าสิ่งที่ทำ�นั้นเกิดประโยชน์

จากการเข้ า ร่ ว มเครื อ ข่ า ยตำ � บล

รู้และประสบการณ์ออกมาเป็นคำ�พูด จนเห็นภาพเป็นรูปธรรม


114

ปัญญา ชาญชาติวีระ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโมโกร อำ�เภออุ้มผาง จังหวัดตาก

ตำ�บลโมโกรมีทั้งคนไทยพื้นราบ กะเหรี่ยง ม้ง เพราะ ฉะนั้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเราต้องเข้าใจว่า ใน ชุ ม ชนของเรามี วั ฒ นธรรมที่ ห ลากหลาย การฟั ง เสี ย งของ ชาวบ้านว่าเขาต้องการอะไรเป็นสิ่งสำ�คัญ โดยท้องถิ่นไม่ได้ไป กำ�หนดหรือครอบงำ� แต่ให้ชาวบ้านเสนอมา ในฐานะฝ่ายบริหาร การใช้งบประมาณเพือ่ ดำ�เนินกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ไม่ได้หมายความว่านายก อบต. มีอำ�นาจตัดสินใจทุกอย่างในกิจกรรมของชุมชน แต่จะมีการการประชาคมหมู่บ้านเพื่อฟังเสียงสะท้อนรอบด้านว่าอะไรที่จะเป็น ประโยชน์ต่อสาธารณะ ประโยชน์นี้จะครอบคลุม ผู้คนที่มีความหลากหลาย ในตำ�บลโมโกร สำ�หรับตำ�บลของเรา ผมให้ความสำ�คัญเรื่องการศึกษา งบประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ของตำ�บลโมโกรถูกใช้ไปในเรื่องการศึกษา ซึ่งเป็นการมอบอำ�นาจให้ ประชาชนตั้งแต่เด็ก การศึกษาคือจุดอ่อนของชุมชนโมโกรมาแสนนาน ที่ผ่าน มาท้องถิ่นหรือส่วนราชการไม่ค่อยเปิดโอกาสทางการศึกษาให้ชาวบ้าน ภาครัฐ


115

ผมเกิดปี 2517 ซึ่งเป็นคนรุ่นแรกที่จบปริญญาตรี คนที่อายุมากกว่าผม ล้วนไม่ได้เรียนหนังสือ ความหวังของชุมชนโมโกรจึงตกที่คนรุ่นใหม่ เราจึงต้องเน้น ความสำ�คัญกับการศึกษา การศึกษาจะทำ�ให้ชุมชนพึ่งพาอาศัยตนเอง จะรอแต่ภาครัฐหรือหน่วยงานราชการไม่ได้

ทำ�เพียงแค่นำ�สิ่งของมาให้ ซึ่งไม่ตรง

หลั ง จากที่ อบต.โมโกร ก่ อ ตั้ ง

กันตั้งกลุ่มสตรีเพื่อสิ่งแวดล้อม เป้า

ความต้องการ ภาครัฐภาคราชการให้

โรงเรี ย นขึ้ น มาในชุ ม ชน ผลที่ ต าม

หมายของกลุ่มมุ่งไปที่การมีส่วนร่วม

โดยที่ไม่ถามว่าชุมชนต้องการอะไร

มาคื อ ค่ า นิ ย มของผู้ ป กครองเปลี่ ย น

ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของชุมชน

หากประเมิ น เรื่ อ งการเข้ า มามี

ไป แต่เดิมที่ผู้ปกครองไม่นิยมส่งลูก

จากการทำ � งานมา 4-5 ปี ปั จ จุ บั น

ส่ ว นร่ ว มเพื่ อ นำ � เสนอปั ญ หา รวม

ไปเรียน แต่วันนี้นิยมส่งลูกเข้าเรียน

กลุ่มนี้ก็ประสบความสำ�เร็จเป็นอย่าง

ถึ ง การวิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ข องชาวบ้ า น

มากขึ้ น โดยเฉพาะชาวม้ ง ท้ อ งถิ่ น

ดี ตั ว ชี้ วั ด คื อ หน่ ว ยงานต่ า งๆ เริ่ ม

ตำ � บลโมโกร ผมคิ ด ว่ า อาจยั ง น้ อ ย

เราพยายามชี้ ใ ห้ เ ห็ นว่ า ถ้ า ไม่ มี ก าร

เห็นความสำ�คัญของกลุ่ม โดยที่ไม่มี

อยู่ เปอร์ เ ซ็ น ต์ ก ารจบการศึ ก ษาก็

ศึกษา ทุกอย่างจะไม่พัฒนา ปัจจุบัน

งบประมาณจากที่อื่นเลย แต่ ณ วันนี้

ถือว่าน้อย ผมเกิดปี 2517 ซึ่งเป็น

ผู้ปกครองจึงส่งลูกเข้าโรงเรียนเพิ่มขึ้น

มี ค นนำ � เงิ น งบประมาณเข้ า มาให้

คนรุ่นแรกที่จบปริญญาตรี คนที่อายุ

100-200 เปอร์เซ็นต์

เพราะเห็นถึงความตั้งใจของกลุ่ม นี่

มากกว่ า ผมล้ ว นไม่ ไ ด้ เ รี ย นหนั ง สื อ

ชุมชนเข้มแข็งคือชุมชนที่พึ่งพา

ความหวังของชุมชนโมโกรจึงตกที่คน

อาศั ย ตนเอง จะรอแต่ ภ าครั ฐ หรื อ

รุ่นใหม่ เป็นเหตุให้ชุมชนโมโกรต้อง

หน่วยงานราชการไม่ได้ ที่ตำ�บลโมโกร

เน้นความสำ�คัญกับการศึกษา

จึงมีชาวบ้านกลุ่มหนึ่ง พวกเขารวมตัว

คือตัวอย่างความเข้มแข็งของชุมชน


116

ศักดา กิ่มเกิด

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ่อแร่ อำ�เภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท

การทำ�อะไรก็แล้วแต่จะต้องมีผู้นำ�ท้องถิ่นและผู้นำ�ท้องที่ ประสานงานกัน รวมทัง้ รับฟังความคิดเห็นจากพีน่ อ้ งประชาชนในพืน้ ทีว่ า่ เขาต้องการอะไร โดยที่ ผู้นำ�ต้องไม่ไปคิดแทนหรือทำ�แทนชาวบ้านทั้งหมด แล้วเราจะนำ�ปัญหานั้นมา พูดคุยกันว่าท้องถิ่นของเราต้องการอะไร ทั้งเรื่องโครงสร้างพื้นฐานและการ พัฒนาคุณภาพชีวิต เราทุกฝ่ายต้องมานั่งพูดคุยเพื่อหาแนวทางการพัฒนาใน ทิศทางเดียวกัน ข้อมูลพื้นฐานของตำ�บลเป็นสิ่งสำ�คัญมากสำ�หรับการบริหารจัดการ ผมใน ฐานะผู้บริหารที่มีโอกาสได้ไปประชุม ได้ไปเปิดโลกทัศน์ และเปลี่ยนเรียนรู้กับ ตำ�บลต่างๆ เมื่อกลับมายังพื้นที่ของตนเองก็ต้องมีการถ่ายทอดความรู้ให้คนใน


117

‘การวิจัยชุมชน’ เป็นการนำ�เอาหลักวิชาการมาใช้ศึกษา สภาพปัญหาของชุมชนท้องถิ่น ทำ�ให้ชุมชนรู้จักต้นทุนของตัวเอง เมื่อรู้ต้นทุนของตัวเองแล้ว เราจึงรู้ว่าอะไรคือสิ่งที่เหมาะสมกับเรา อะไรที่ไม่เหมาะสมกับเรา แล้วก็มุ่งหน้าพัฒนาไปในทิศทางนั้น

ชุมชนฟัง เพื่อให้เขารับรู้ว่าเหตุการณ์

เมื่อก่อนชุมชนบ่อแร่ค่อนข้างต่างคน

อีกสิ่งที่สำ�คัญและเป็นเครื่อง

ข้างนอกเป็นอย่างไร อีกช่องทางหนึ่ง

ต่างอยู่ แต่หลังจากเข้าร่วมเป็นเครือ

มื อ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชนคื อ

เราก็ อ าศั ย หอกระจายข่ า ว ซึ่ ง เป็ น

ข่ายตำ�บลสุขภาวะทำ�ให้ชาวบ้านรู้จัก

เครื่องมือที่เรียกว่า ‘การวิจัยชุมชน’

เหมือนแหล่งกระจายความรู้จากโลก

การรวมกลุ่ม เพราะเห็นแล้วว่าพลัง

ซึ่งเป็นการนำ�เอาหลักวิชาการมาใช้

ภายนอกไปสู่ระดับหมู่บ้านชุมชน

พลเมื อ งมี ส่ ว นสำ � คั ญ แค่ ไ หนในการ

ศึกษาสภาพปัญหาของชุมชนท้องถิน่

ในความคิ ด เห็ น ของผม ชุ ม ชน

พั ฒนา ผลจากการรวมตั ว ยั ง ทำ � ให้

ทำ � ให้ ชุ ม ชนรู้ จั ก ต้ น ทุ น ของตั ว เอง

เข้ ม แข็ ง ก็ คื อ ชุ ม ชนที่ รู้ จั ก ช่ ว ยเหลื อ

เกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสาร เกิดการ

เมื่อรู้ต้นทุนของตัวเองแล้ว เราจึง

ตนเอง พึง่ พาตัวเอง เป็นชุมชนทีม่ กี าร

ประสานงานระหว่างท้องถิน่ กับชาวบ้าน

รู้ ว่ า อะไรคื อ สิ่ ง ที่ เ หมาะสมกั บ เรา

ปรึกษาหารือกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน

สะดวกขึ้น

แล้วก็มุ่งหน้าพัฒนาไปในทิศทางนั้น


118

บรรจง ยัพวัฒนา

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลแม่หล่าย อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

ผมในฐานะผู้บริหารท้องถิ่นมีความเชื่อมั่นว่า ต่อไปในภายภาคหน้าไม่ว่าประเทศไทยจะประสบ วิกฤติร้ายแรงแค่ไหน หากคนในชุมชนมีความ ตื่นตัว รู้รับผิดชอบต่อหน้าที่ และมีจิตสำ�นึกของ พลเมืองที่ดี ชุมชนท้องถิ่นของเราก็จะอยู่รอดได้

ยุทธศาสตร์ส�ำ คัญในการพัฒนาของตำ�บลแม่หล่าย ตัง้ อยู่ บน 6 ฐานคิด คือ หนึง่ -การยึดมัน่ ในหลักธรรมาภิบาล สอง-การ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย สาม-การมีส่วนร่วม ของภาคประชาชน สี่-การนำ�ยุทธศาสตร์มาสู่ภาคปฏิบัติอย่าง เป็นรูปธรรม ห้า-การน้อมนำ�หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นพื้นฐาน ในการขับเคลื่อนทุกกิจกรรม และหก-การดำ�เนินการในเชิงรุก ภายใต้หลักของ การเข้าใจ เข้าถึง และเป็นที่พึ่งให้กับชุมชนได้ อย่างไรก็ตาม การขับเคลื่อนงานพัฒนาของตำ�บลแม่หล่ายจะเดินหน้าไป ไม่ได้เลย หากไม่ได้รับความร่วมมือจากทั้ง 4 ภาคี คือ ท้องถิ่น ท้องที่ ชุมชน และภาคีเครือข่าย ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่และหน่วยงานภายนอก ซึ่ง ทั้ง 4 ภาคีเหล่านี้ต้องเดินหน้าไปพร้อมๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ‘พลังพลเมือง’ ซึ่งถือเป็นกำ�ลังสำ�คัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของเราให้เป็นตำ�บลน่าอยู่ ซึ่ง ทางเทศบาลตำ�บลแม่หล่ายตระหนักถึงความสำ�คัญในจุดนี้ โดยพยายามส่งเสริม


119

ให้คนในชุมชนดึงศักยภาพของตนเอง

ชาวบ้านได้เรียนรู้จากประสบการณ์

ออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

จริง จนเกิดความเชื่อมั่นในศักยภาพ

จุ ด แข็ ง ของตำ � บลแม่ ห ล่ า ยคื อ

ของตนเองในที่สุด

และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นั บ จ า ก อ ดี ต สู่ ปั จ จุ บั น เ ร า สามารถพูดได้ว่า ตำ�บลแม่หล่ายเกิด

เรามี ทุ น ทางสั ง คมที่ เ ข้ ม แข็ ง ไม่ ว่ า

บทบาทขององค์ ก รปกครอง

ความเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีเกิน

จะเป็ น ทุ น ทางภู มิ ปั ญ ญา ทุ น ทาง

ส่วนท้องถิ่นจะทำ�หน้าที่เป็น ผู้ให้การ

กว่าที่คาด อย่างน้อยที่สุดชุมชนวันนี้

บุคลากร และทุนทางทรัพยากรที่มีอยู่

สนั บ สนุ น ส่ ว นการดำ � เนิ น กิ จ กรรม

ก็เกิดความตืน่ ตัวในความเป็นพลเมือง

ในท้องถิ่น ซึ่งโจทย์ที่ท้าทายมีอยู่ว่า

ทั้งหมดเป็นหน้าที่ของภาคประชาชน

มีจิตสำ�นึกต่อส่วนรวมมากยิ่งขึ้น

เราจะพัฒนาทุนที่มีอยู่นี้ให้เกิดดอก

ซึ่ ง ที่ ผ่ า นมาภาคประชาชนได้ แ สดง

ตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรมคือ เมื่อปี

ออกผลได้อย่างไร คำ�ตอบก็คอื ต้องให้

ให้เห็นแล้วว่า พวกเขาสามารถต่อยอด

2555 ตำ�บลแม่หล่ายมีแหล่งเรียนรู้

ชาวบ้านลงมือทำ�ด้วยตนเอง ภายใต้

และพัฒนากิจกรรมของตนเองได้ ทั้ง

22 แหล่ง แต่มาถึงวันนี้เราสามารถ

หลั ก คิ ด ที่ ว่ า ‘สื บ สานภู มิ ปั ญ ญา

ยังสามารถยกระดับขึ้นมาเป็นแหล่ง

พัฒนาและขยายแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่

พึ่งพาตน ขับเคลื่อนชุมชนท้องถิ่นสู่

เรียนรู้ต้นแบบให้กับตำ�บลต่างๆ เข้า

เพิ่มขึ้นเป็น 47 แหล่ง หรือเกินกว่า

ตำ�บลสุขภาวะ’

มาศึกษาดูงานได้

100 เปอร์เซ็นต์ สิ่งนี้สะท้อนได้อย่าง

ที่ ผ่ า นมาเรามี ก ารจั ด กิ จ กรรม

กิ จ กรรมส่ ว นใหญ่ ข องตำ � บล

ประกวด ‘หมู่ บ้ า นน่ า อยู่ ’ อย่ า งต่ อ

แม่หล่ายจะเน้นหนักในเรื่องการดูแล

เนื่ อ งมาตั้ ง แต่ ปี 2548-2552 ซึ่ ง

สุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ โดย

ด้วยศักยภาพของประชาชนเช่น

กิ จ กรรมเหล่ า นี้ เ องที่ ทำ � ให้ เ กิ ด การ

เฉพาะการดู แ ลผู้ สู ง อายุ เนื่ อ งจาก

นี้ ผมในฐานะผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น จึ ง มี

บ่ ม เพาะแกนนำ � ระดั บ หมู่บ้า น และ

ในพื้ น ที่ เ ทศบาลตำ � บลแม่ ห ล่ า ยมี

ความเชื่อมั่นว่า ต่อไปในภายภาคหน้า

แต่ละหมูบ่ า้ นก็มกี ารพัฒนาแหล่งเรียน

ผูส้ งู อายุเป็นจำ�นวนมาก เราจึงพยายาม

ไม่ ว่ า ประเทศไทยจะประสบวิ ก ฤติ

รู้ของตนเองขึ้นมา อันเป็นจุดเริ่มต้น

สร้างโอกาสในการพบปะพูดคุย แลก

ร้ายแรงแค่ไหน หากคนในชุมชนมีความ

ของการรวมกลุ่มการทำ�งานของคนใน

เปลี่ยนเรียนรู้ ฟื้นฟูสุขภาพ และร่วม

ตื่น ตั ว รู้รับ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ และมี

ชุ ม ชนเอง แหล่ ง เรี ย นรู้ เ หล่ า นี้ จึ ง

กิจกรรมตามความสนใจ รวมถึงมีการ

จิตสำ�นึกของพลเมืองทีด่ ี ชุมชนท้องถิน่

เปรียบเสมือนห้องเรียนชุมชน ทำ�ให้

ส่งเสริมอาชีพผูส้ งู อายุเพือ่ สร้างรายได้

ของเราก็จะอยู่รอดได้

ชัดเจนว่า ภาคประชาชนมีความตื่นตัว มากแค่ไหน


120

สุเทพ สุมณฑกุล

รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลแม่หล่าย อำ�เภอเมือง จังหวัดแพร่

สังคมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างรวดเร็ว ถ้าชุมชน ปรั บ ตั ว เองไม่ ทั น ชุ ม ชนไม่ จั ด การตนเองก็ อ าจทำ � ให้ ชุ ม ชน หลงทิศ ถ้าชุมชนหลงทิศปัญหาสังคมก็จะตามมา โดยเฉพาะ เยาวชนรุ่นลูกรุ่นหลานจะหลงทิศทางไปมาก การที่ชุมชนหนึ่งจะมีเข้มแข็งได้ต้องประกอบไปด้วย 4 มิติ คือ กาย จิต ปัญญา และสังคม โดยองค์กรท้องถิ่นต้องฝึกคนให้สามารถพึ่งพาตัวเองได้ เช่น การน้อมนำ�เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้เพื่อให้ชุมชนเกิดความยั่งยืน การสร้างชุมชนท้องถิ่นให้เป็นตำ�บลน่าอยู่น่าอาศัยต้องประกอบด้วยหลาย ภาคี โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นภาคีหลัก มีภาคประชาชน และมี หน่วยงานภายนอกมาร่วมมือกัน สิ่งเหล่านี้สามารถทำ�ให้เกิดกระบวนการเรียน รู้ เกิดกระบวนการแลกเปลีย่ นซึง่ กันและกัน ทำ�ให้ชาวบ้านมองเห็นว่าหากชุมชน มีความเข้มแข็งมันจะพัฒนาไปได้อีกไกล การรวมกลุ่ ม กั น ของชาวบ้ า นก็ เ ป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น เช่ น กลุ่ ม อาชี พ กลุ่ ม


121

ถามว่าก่อนหน้านี้ชุมชนแม่หล่ายอยู่กันอย่างไร ถ้าพูดแบบเข้าใจให้ง่ายๆ ก็อยู่กันตามประสาชาวบ้าน แต่ปัจจุบันชาวบ้านได้นำ�หลักวิชาการไปผสมผสาน ในสิ่งที่เขาทำ�อยู่ ชุมชนวันนี้มีความเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีอย่างเห็นได้ชัด

เศรษฐกิจชุมชน กลุ่มสวัสดิการ โดย

ภายนอกทีเ่ ข้ามาเติมเต็มในสิง่ ทีช่ มุ ชน

ใหม่ๆ ในการดูแลสุขภาพขึ้นมาอย่าง

เฉพาะในด้านสังคมเราพยายามที่จะ

ขาด และทำ�ให้เกิดความเปลี่ยนแปลง

หลากหลาย มีอาสาสมัครเข้ามาดูแล

จั ด ระเบี ย บสั ง คมให้ มี ก ติ ก าร่ ว มกั น

ในชุ ม ชน โดยชาวบ้ า นมี ก ารแลก

ด้านต่างๆ ทั้งในเรื่องอาหารการกิน

ซึ่งตำ�บลแม่หล่ายให้ความสำ�คัญต่อ

เปลี่ ย นความรู้ กั น มากขึ้ น และการ

การเกษตร ทัง้ หมดนีเ้ ป็นสิง่ ทีช่ มุ ชนได้

ผู้สูงอายุ เพราะสังคมไทยกำ�ลังเข้าสู่

แลกเปลี่ยนกันในลักษณะนี้จะทำ�ให้

เรียนรู้และซึมซับ

สังคมผู้สูงวัย การที่ประชาชนสามารถ

สังคมเปิดกว้างมากขึ้น ทำ�ให้พวกเขา

พึง่ พาตัวเองได้และมีการเกือ้ กูล ผูส้ งู อายุ

ได้สามัคคีกันยิ่งขึ้น

ถามว่าก่อนหน้านีช้ มุ ชนแม่หล่าย อยู่ กั น อย่ า งไร ถ้ า พู ด แบบเข้ า ใจ

ก็จะได้รับการดูแลที่ดี เกิดเป็นสังคม

นวั ต กรรมที่ ตำ � บลแม่ ห ล่ า ยได้

ให้ง่ายๆ ก็อยู่กันตามประสาชาวบ้าน

สวัสดิการ สิ่งเหล่านี้จะนำ�ไปสู่ความ

รั บ จากการเข้ า ร่ ว มโครงการตำ � บล

แต่ปัจจุบันชาวบ้านได้นำ�หลักวิชาการ

ยั่ ง ยื น และเกิ ด กระบวนการที่ ทำ � ให้

สุขภาวะคือ ความสามารถในจัดการ

ไปผสมผสานในสิ่ ง ที่ เ ขาทำ � อยู่ เช่ น

ประชาชนหั น มาดู แ ลตั ว เองทั้ ง เรื่ อ ง

ตนเองได้ในแต่ละหมู่บ้าน เช่น เมื่อ

การผลิตปุ๋ยไว้ใช้เอง การเพิ่มมูลค่าให้

เศรษฐกิจและสังคม

เกิดโรคไข้เลือดออกระบาด ชาวบ้าน

กับผลผลิต การทำ�การตลาด ซึ่งชุมชน

โครงการตำ � บลสุ ข ภาวะของ

จะช่วยกันหามาตรการในการป้องกัน

วันนีม้ คี วามเปลีย่ นแปลงในทิศทางทีด่ ี

สสส. สำ � นั ก 3 ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยงาน

และรักษา รวมถึงมีการผลิตนวัตกรรม

อย่างเห็นได้ชัด


122

ธาดา อำ�พิน

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลอุทัยเก่า อำ�เภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

ตำ�บลอุทัยเก่าไม่ได้เป็นของคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของ ทุกคน ตำ�บลอุทัยเก่าไม่ได้เป็นของนายกฯ หรือกำ�นัน ทุกคน ที่ เ กิ ด ในตำ � บลอุ ทั ย เก่ า ล้ ว นเป็ น เจ้ า ของ ฉะนั้ น ทุ ก คนต้ อ ง ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ� ร่วมกันแสดงออก ร่วมกันนำ�เสนอ แล้ว ช่วยกันพัฒนาให้ต�ำ บลเราอยูด่ มี สี ขุ ให้คนมีงานทำ� ให้คนมีการศึกษา นีค่ อื หน้าที่ ของทุกคน ตำ�บลอุทัยเก่ามีเวทีที่เปิดโอกาสให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการคิดหาหนทาง พัฒนาชุมชน คือเวทีที่เรียกว่า ‘สภากาแฟ’ เป็นเวทีประชุมประจำ�เดือน ซึ่งเป็น ที่มาของการจัดทำ�ข้อบัญญัติตำ�บล ทุกคนในชุมชนจะมีส่วนร่วม ไม่จำ�เป็นต้อง เป็น ผู้นำ�หรือปราชญ์ชาวบ้าน ทุกคนสามารถนำ�เสนอแผนว่าปีนี้หรือปีหน้าเรา จะทำ�อะไร ทุกคนแสดงออกได้หมด ความเป็ น พลเมื อ งจะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ เ ลยหากท้ อ งถิ่ น ไม่ ส ร้ า งเวที ใ ห้ เ ขา แสดงออก เมื่อท้องถิ่นให้โอกาส เขาจะเกิดความภาคภูมิใจ ใครเก่งเรื่องไหนเขา จะแสดงออกเรื่องนั้น ทำ�ให้การพัฒนามีมิติที่หลากหลาย


123

ตำ�บลอุทัยเก่าไม่ได้เป็นของใครคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของทุกคน ตำ�บลอุทัยเก่า ไม่ได้เป็นของนายกฯ หรือกำ�นัน ทุกคนที่เกิดที่นี่ล้วนเป็นเจ้าของ ฉะนั้นทุกคนต้องร่วมกันพัฒนาให้ตำ�บลของเราอยู่ดีมีสุข

การบริหารชุมชนจะต้องเข้าถึง

เวทีอนื่ ๆ เช่น ศูนย์คอมมูนติ ี้ เซ็นเตอร์

จำ�เป็นต้องเริ่มจากการสร้างคนกลุ่ม

ปั ญ หาชุ ม ชนอย่ า งแท้ จ ริ ง ไม่ ใ ช่ ว่ า

หรือ ‘ศาลาสร้างสุข’ ซึง่ ทุกคนสามารถ

เล็กๆ ขึ้นมาก่อน แล้วเป้าหมายที่เรา

ท้องถิ่นกับท้องที่มานั่งคุยกันแล้วร่าง

เข้ามาแสดงความเห็นได้ เป็นศูนย์ที่

อยากไปถึงจึงจะปรากฏให้เห็นเอง

ข้ อ บั ญ ญั ติ กั น ขึ้ น มาเอง เพราะยั ง มี

เราสร้ า งไว้ ใ ห้ ค นมาเขี ย นขึ้ น ป้ า ยว่ า

โครงการเครือข่ายตำ�บลสุขภาวะ

ความคิดเห็นที่หลากหลายจากกลุ่ม

อยากทำ�อะไรหรือต้องการพัฒนาแก้

เป็นอีกเวทีหนึ่งที่สำ�คัญ เป็นเวทีที่มี

คนต่างๆ ในชุมชน ซึ่งเขาไม่มีโอกาส

ปัญหาเรือ่ งอะไร แล้วจัดตัง้ กลุม่ กันขึน้

การร่วมมือกับคนภายนอก ซึ่งตำ�บล

ได้ เ ข้ า มาแสดงออก ท้ อ งถิ่ น จึ ง ต้ อ ง

มา โดยท้องถิ่นจะนำ�ข้อมูลจากกลุ่ม

อุทัยเก่ามีตำ�บลลูกข่ายอีก 60 แห่ง

เดินออกไปหา ไปสร้างเวทีในชุมชน

ต่างๆ ไปทำ�เป็นแผนพัฒนาตำ�บล

แต่ ล ะแห่ ง ต่ า งมี ศั ก ยภาพมากมาย

จึ ง จะได้ ค วามคิ ด เห็ น ที่ ห ลากหลาย

ในฐานะผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น เรา

เขามาเอาของดีจากเรา เราก็เอาของดี

เพราะการพั ฒ นาที่ ผ่ า นมาเรามี แ ต่

ต้ อ งดู ว่ า เรื่ อ งไหนสำ � คั ญ ก่ อ นหลั ง

จากเขา เป็นการแลกเปลี่ยนกัน ทำ�ให้

ถนน ไฟฟ้า ประปา มีแต่โครงสร้าง

ตำ�บลอุทัยเก่าไม่เน้นเรื่องโครงสร้าง

ชุมชนท้องถิ่นมีแนวทางที่หลากหลาย

พื้นฐาน แต่คุณภาพชีวิตของคนไม่เคย

พื้นฐานมากนัก งบประมาณท้องถิ่น

ในการพัฒนา แล้วสิ่งดีๆ ก็จะเกิดขึ้น

ถู ก พู ด ถึ ง ความยากจนที่ อ ยู่ ใ นชี วิ ต

จะทุ่ ม ให้ กั บ เรื่ อ งคุ ณ ภาพชี วิ ต การ

พวกเขาไม่ได้ถูกพูดถึง

ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมวัฒนธรรม ส่ง

นอกจากนี้ ตำ�บลอุทัยเก่ายังมี

เสริมความเป็นประชาธิปไตย ท้องถิ่น


124

สัญญา ฟักเขียว

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลอุทัยเก่า อำ�เภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี

การสร้ า งความเป็ น พลเมื อ งในชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น มี อ ยู่ 2 ลักษณะ คือ กระบวนการสร้างความเป็นพลเมืองฝ่ายแนวคิด หรื อ นโยบาย อี ก ลั ก ษณะหนึ่ ง คื อ สถานการณ์ เ อื้ อ ให้ เ กิ ด พลเมือง เช่น เหตุการณ์ภัยพิบัติ เป็นต้น สำ�หรับตำ�บลอุทัยเก่ามีต้นทุนเดิมคือ อุปนิสัยมีส่วนร่วมของชาวบ้าน ซึ่ง สั่งสมมาจากวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมการมีส่วนร่วมต่อชุมชนท้องถิ่นแบบ ดั้งเดิม ขณะเดียวกัน ผู้นำ�อย่างเป็นทางการหรือผู้นำ�ตามธรรมชาติก็มีการเปิด พื้นที่แลกเปลี่ยนความคิดกัน กระทั่งตกผลึกมาจนถึงทุกวันนี้ ในฐานะท้องถิ่น เราไม่อาจพูดได้ว่า ลักษณะการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนเป็น ผลมาจาก การดำ�เนินการของ อบต. แต่น่าจะเกิดจากการหล่อหลอมทางวัฒนธรรมนาน มาแล้ว หน้าที่ของฝ่ายบริหารท้องถิ่นคือการทำ�งานเชิงนโยบาย สัดส่วนในการ พัฒนาชุมชนขององค์กรท้องถิ่นมีเพียงส่วนหนึ่ง หมายความว่าท้องถิ่นไม่ควร ทำ�ตัวเป็นเจ้าภาพจัดการทุกอย่าง แน่นอนว่าการเริ่มต้นต้องมาจากผู้นำ� แต่ทุก


125

ถ้าชุมชนเข้มแข็ง พลเมืองในชุมชนจะไม่มองว่าการพัฒนาหรือแก้ปัญหาเป็นหน้าที่ของ อบต. เพียงฝ่ายเดียว อบต. เป็นแค่หน่วยราชการหน่วยหนึ่งเท่านั้น การขับเคลื่อนมันต้องไปด้วยกัน ทั้ง 4 ภาคี คือ ภาคประชาชน ท้องที่ ท้องถิ่น และภาครัฐ

ภาคส่วนต้องมาร่วมกำ�หนดกิจกรรม

จากมติ ข องประชาชนในพื้ น ที่ โดย

เคลื่ อ นไปตามเป้ า หมายที่ ท้ อ งถิ่ น

แล้วใช้มติของที่ประชุมเป็นกลไกการ

ประชาชนต้องการให้ อบต. เป็นแกน

กำ � หนด แต่ ห ลั ง จากที่ ตำ � บลอุ ทั ย

ตัดสินใจ โดยองค์กรท้องถิ่นเป็นเพียง

นำ � ดำ � เนิ น การในเรื่ อ งนี้ จากนั้ น เรา

เก่ า เข้ า ร่ ว มเป็ น เครื อ ข่ า ยตำ � บลสุ ข -

ผู้ดูแลพื้นที่

จึงให้แกนนำ�หมู่บ้านละ 10 คน มา

ภาวะ ไม่ว่าจะเป็นผู้นำ�ท้องที่ ท้องถิ่น

หลักการบริหารของ อบต.อุทัย

ร่วมกันเป็นเจ้าภาพ ซึ่งการบูรณะศาล

และภาครัฐ ต่างก็ได้เข้ามาเรียนรู้ใน

เก่ า พยายามจะมอบอำ � นาจให้ แ ก่

เจ้ า พ่ อ ตากสิ น ไม่ ไ ด้ พึ่ ง งบประมาณ

พื้นที่ของเรา คนในชุมชนก็ถูกกระตุ้น

ประชาชน ทุ ก ภาคส่ ว นจะต้ อ งเข้ า

ของ อบต. เลย อบต. เป็ น เพี ย งผู้

จากการคนจากที่ ภ าคี ต่ า งๆ เข้ า มา

มาร่ ว มกั น ยกตั ว อย่ า งเช่ น ในขณะ

ประสาน จั ด สถานที่ ใ นการประชุ ม

ศึกษาดูงานในพื้นที่ของเรา แล้วชื่นชม

นี้ ตำ � บลอุ ทั ย เก่ า กำ � ลั ง ทำ � โครงการ

และเป็นสื่อกลางให้ภาคประชาชนเข้า

ยกย่ อ งว่ า พวกเราว่ า มี ข องดี ทำ � ให้

สภากาแฟ ซึ่งจะหมุนเวียนไปแต่ละ

ร่วมนำ�เสนอรูปแบบของการก่อสร้าง

ประชาชนภาคภูมิใจและตระหนักว่า

หมู่บ้าน เดือนละครั้ง เพื่อให้ผู้นำ�หรือ

บู ร ณะ เพราะทุ ก คนมี ค วามเคารพ

ในชุมชนตนเองนั้นมีต้นทุนที่ดีและน่า

แกนนำ�ชุมชนได้ออกมามาพบปะพูด

พระเจ้าตากสิน อบต. ไม่ได้จ่ายเงินใน

หวงแหน

คุยอย่างไม่เป็นพิธีการ แล้ว อบต. จะ

การก่อสร้างเลยสักบาทเดียว เพราะ

ถ้ า ชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง พลเมื อ งใน

นำ�ข้อมูลตรงนี้เข้าสู่กระบวนการแก้

อาศัยพลังชุมชนมาร่วมแรงร่วมใจกัน

ชุ ม ชนจะไม่ ม องว่ า การพั ฒ นาหรื อ

ปัญหา ไม่ใช่ว่า อบต. จะเป็นฝ่ายแก้

ต้ อ งยอมรั บ ว่ า ในอดี ต นั้ น การ

แก้ปัญหาเป็นหน้าที่ของ อบต. เพียง

ปัญหาเพียงฝ่ายเดียว แต่ต้องคัดเลือก

ขั บ เคลื่ อ นงานพั ฒ นาชุ ม ชน อบต.

ฝ่ายเดียว อบต. เป็นแค่หน่วยราชการ

ผู้นำ�ที่ชำ�นาญในแต่ละด้านเข้ามาร่วม

อุ ทั ย เก่ า จะดำ � เนิ น การเองตาม

หน่วยหนึ่งเท่านั้น การขับเคลื่อนมัน

บริหารจัดการ

อำ � นาจที่ มี โดยไม่ มี ภ าคี ภ ายนอก

ต้องไปด้วยกันทั้ง 4 ภาคี คือ ภาค

ขณะนี้ อบต.อุทัยเก่า มีโครงการ

เ ข้ า ม า ร่ ว ม ทำ � ใ ห้ ช า ว บ้ า น ไ ม่

ประชาชน ท้องที่ ท้องถิ่น และภาครัฐ

บู ร ณะศาลพระเจ้ า ตากสิ น ซึ่ ง เกิ ด

กระตื อ รื อ ร้ น ไม่ มี แ รงบั น ดาลใจขั บ


126

มานพ ยะเขียว

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแม่ปะ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก

ตำ�บลแม่ปะเป็นตำ�บลขนาดใหญ่ แต่ข้อดีก็คือประชาชน ในชุ ม ชนล้ ว นเป็ น เครื อ ญาติ กั น บรรพบุ รุ ษ ของเราได้ ส ร้ า ง จิตสำ�นึกมานานแล้วตั้งแต่สมัยที่ยังไม่มี อบต. จึงง่ายที่จะดึง ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ การสร้างพลเมืองของ อบต.แม่ปะ คือการชักชวนผู้นำ�จากทุกภาคส่วนมา ร่วมกันคิด แม้กระทัง่ การร่างงบประมาณ เพือ่ ให้การพัฒนาเป็นไปความต้องการ ของประชาชนอย่างแท้จริง โดยตำ�บลแม่ปะตระหนักถึงการพัฒนาคน จึงเกิด กิจกรรม ‘อสม.จูเนียร์’ ซึ่งเป็นการปลูกฝังจิตสำ�นึกในการช่วยเหลือผู้อื่นตั้งแต่ เด็กและเยาวชน ในวันข้างหน้า แม้ตำ�บลแม่ปะจะไม่มีนายกฯ คนนี้ หรือเปลี่ยนตัวนายกฯ คนใหม่ แต่ในชุมชนยังมีคณะกรรมการหมู่บ้านที่เข้มแข็งมาก ใครทำ�ไม่ดี คนใน ชุมชนก็จะมีการตรวจสอบแบบ ผู้นำ�ที่ไม่ดีก็อยู่ไม่ได้ ฉะนั้นถ้าผู้นำ�คนใหม่ ยอมรับในศักยภาพของชุมชนก็จะเกิดการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ในการบริหารชุมชนท้องถิ่น ผู้นำ�จะต้องแจกจ่ายบทบาทหน้าที่ไปยังกลไก


127

ความเข้มแข็งของชุมชนแม่ปะวัดได้จากการตัดสินใจของคณะกรรมการหมู่บ้าน หากมีโรงงานอุตสาหกรรมจะเข้ามาตั้งในพื้นที่แม่ปะ ต้องผ่านคณะกรรมการก่อน กลไกเช่นนี้สะท้อนถึงความต้องการหรือไม่ต้องการของชาวบ้านอย่างแท้จริง

ต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชน ให้ชุมชนมีส่วน

ท้องถิ่นทำ�หน้าที่เพียงหนุนเสริม

ไม่ได้รับการอนุมัติเงินกู้ เพราะผู้ใหญ่

ร่วมรับผิดชอบในแต่ละด้าน โดยจะมี

ชาวบ้ า นให้ เ ข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ

บ้ า นเล่ น พรรคเล่ น พวก ผมก็ เ สนอ

คณะกรรมการหมู่บ้านเป็นตัวหลักใน

พัฒนา นำ�เสนอปัญหาความเดือดร้อน

ให้ เ ขารวมกลุ่ ม กั น เข้ า ไปยกมื อ ในที่

การนำ�เสนอทิศทางการพัฒนามายัง

โดยการทำ � ประชาคม โดยมี ค ณะ

ประชุม เราต้องรวมกลุ่มกัน ไม่อย่าง

องค์ ก รท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี ผู้ ใ หญ่ บ้ า นทำ �

กรรมการหมู่ บ้ า นเป็ น หั ว ใจของการ

นั้นจะเสียเปรียบ

หน้าที่ประธาน และประกอบด้วย ผู้

พัฒนาชุมชน แม้การเล่นพรรคเล่นพวก

ห ลั ง จ า ก เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร

ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. อสม.

จะเป็นอุปสรรค แต่เราสร้างจิตสำ�นึก

เครื อ ข่ า ยตำ � บลสุ ข ภาวะ ทำ � ให้

และประชาชนทุกภาคส่วน

ให้ ช าวบ้ า นรู้ สึ ก เป็ น เจ้ า ของชุ ม ชน

โครงการดีๆ เกิดขึ้นในชุมชน ทุกครั้ง

ความเข้มแข็งของชุมชนแม่ปะวัด

ถ้ า ชาวบ้ า นละเลยปล่ อ ยให้ ค ณะ

ที่ ไ ด้ มี โ อกาสไปศึ ก ษาดู ง านที่ ตำ � บล

ได้จากการตัดสินใจของคณะกรรมการ

กรรมการไม่กี่คนตัดสินใจ ชาวบ้าน

อื่น หากเราเห็นว่าเขาทำ�ดี เราก็นำ�

หมู่บ้าน หากมีโรงงานอุตสาหกรรม

เองก็จะเสียผลประโยชน์ ฉะนั้นชาว

มาปรับใช้ในชุมชนของเรา โดยชุมชน

จะเข้ามาตั้งในพื้นที่ตำ�บลแม่ปะ ต้อง

บ้านต้องเข้าร่วมประชุมจึงจะมีมีสิทธิ

แม่ปะได้เรียนรู้วิธีการจัดการขยะ การ

ผ่านการตัดสินใจจากคณะกรรมการ

มีเสียง

จัดสวัสดิการชุมชน ซึง่ เป็นผลพวงจาก

หมู่ บ้ า นก่ อ น กลไกเช่น นี้สะท้อ นถึง

องค์ ก รท้ อ งถิ่ น สนั บ สนุ น ให้

ความต้องการหรือไม่ต้องการของชาว

ชาวบ้ า นรวมกลุ่ ม กั น กรณี ก องทุ น

บ้านอย่างแท้จริง

หมู่ บ้ า น มี ค นมาร้ อ งเรี ย นผมว่ า เขา

การเข้าร่วมในเครือข่ายตำ�บลสุขภาวะ ทำ�ให้เกิดการแบ่งปันความรู้


128

สุเทพ เรืองชัยเสรีพงษ์

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลเก้าเลี้ยว อำ�เภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์

ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นในชุมชน เราต้อง ไม่ไปจัดการปัญหาให้เขาแต่ฝ่ายเดียว แต่ขอให้เขาลุกขึ้นมาร่วมมือกัน จากนั้นก็เชิญทุกฝ่ายเข้ามาพูดคุย ตั้งคณะกรรมการขึ้นมา สุดท้าย ก็นำ�ไปสู่ภาคปฏิบัติ

‘พลเมือง’ คือบุคคลและบุคลากรในพื้นที่มีการสร้างสรรค์ สามารถนำ�เสนอแนวคิดความเห็นให้แก่กันและกันได้ งาน ต่างๆ ที่เทศบาลทำ�จะต้องคำ�นึงถึงเป้าหมายความต้องการของชาวบ้านเป็น หัวใจหลัก ต้องมาจากความต้องการของชาวบ้านจริงๆ จากชีวิตความเป็นอยู่ จริงๆ เช่น การจัดการขยะ สิ่งแวดล้อม สุขภาพ สวัสดิการ ฯลฯ สิ่งที่เทศบาลทำ�มาโดยตลอดคือ การทำ�ประชาคม ซึ่งมีอยู่ 2 ส่วนคือ การ ทำ�ประชาคมหมู่บ้านและประชาคมเมือง ในระดับหมู่บ้านจะมีการจัดเวทีย่อย เพื่อให้แต่ละชุมชนได้แสดงความเห็นอย่างทั่วถึง เช่น อาศัยพื้นที่วัดเป็นลาน กิจกรรม คนทีม่ าทำ�บุญก็จะมีโอกาสได้เข้าร่วมประชุมด้วย และเราก็ได้ใช้โอกาส ตรงนี้ในการชี้แจงว่า เทศบาลได้ทำ�งานอะไรไปแล้วบ้าง เปิดโอกาสให้คนใน ชุมชนได้นำ�เสนอแนวคิดบ้าง ทำ�ให้เราได้รับรู้ข้อมูลทางตรง ข้อมูลเหล่านีจ้ ะถูกบันทึกและกลัน่ กรองเพือ่ นำ�ไปเสนอต่อสภาเทศบาล ซึง่


129

จุดนี้คือความจำ�เป็นอย่างยิ่ง เพราะนี่

ชุมชนเข้มแข็งในแนวคิดของผม

มีแผนขัน้ ตอนอย่างไร ซึง่ เราจะไปโทษ

คือการให้คนในชุมชนได้แสดงบทบาท

คือ การมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ

ชาวบ้ า นก็ ไ ม่ ไ ด้ เพราะนั่ น คื อ ความ

หน้าที่ ซึ่งองค์กรภาครัฐจะต้องดูแล

เมื่ อ ก่ อ นองค์ ก รภาครั ฐ ชอบคิ ด และ

เคยชินกันมา จนกระทัง่ เราเริม่ อธิบาย

ทั้ ง นี้ ชาวบ้ า นต้ อ งดู แ ลตั ว เองให้ ไ ด้

จัดการให้หมด ซึ่งบางครั้งอาจถูก แต่

กับชาวบ้านว่า ทุกคนต้องเข้ามาคุยกัน

ก่อน นี่คือความเป็นพลเมือง ไม่ใช่ว่า

บางครั้งก็ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์

ทำ�ประชาคมเมือง ประชาคมหมู่บ้าน

มัวแต่คิดจะได้จากผู้ปกครองหรือรอ

อย่างที่ตำ�บลเก้าเลี้ยว การจราจรใน

นี่คือบันไดขั้นแรกของการแก้ไขปัญหา

รับการตอบสนองอย่างเดียว สิง่ เหล่านี้

ตลาดค่อ นข้างจอแจ ถ้ า ไปสั่ ง ให้ จัด

ต่างๆ ซึ่งทำ�ให้ชาวบ้านมีทัศนคติที่ดี

คือสิ่งที่เราพยายามผลักดันอยู่ เพื่อ

ระเบียบแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดก็จะเกิด

ขึ้น คงเหลือแค่บางส่วนที่ยังยึดติดอยู่

ให้ประชาชนได้รู้ว่าชุมชนของเขาจะ

ความไม่พอใจจากชาวบ้าน แต่ถ้าเรา

กับการทำ�มาหากิน และผลักปัญหา

ต้องเดินไปในทิศทางไหน โดยองค์กร

เอาวิถีของชุมชนมาแก้ปัญหา ให้พวก

ให้ เ ป็ นเรื่ องของคนอื่ น แต่ เ ราก็ ต้ อง

ท้องถิ่นของเราจะทำ�หน้าที่หนุนเสริม

เขาช่วยกันเสนอความคิด เกิดการมี

อดทนในการเข้าไปพูดคุยกับเขา

ในสิ่งที่ขาด

ส่วนร่วม ทำ�ให้เทศบาลไม่ตอ้ งไปขัดแย้ง

เมื่อโครงการตำ�บลสุขภาวะจาก

กั บ ชาวบ้ า น ส่ ว นที่ เ หลื อ เราก็ เ พี ย ง

สสส. เข้ามาในพื้นที่ ทุกอย่างเปลี่ยน

เข้าไปเสริมและสร้างให้เท่านั้นเอง

ไปมาก จากเดิมที่ชาวบ้านเคยอยู่แบบ

การคื น อำ � นาจสู่ ป ระชาชนนั้ น ผมมองว่า ประชาชนยังไม่รู้ว่าตัวเอง มีอำ�นาจ ตรงนี้ต้องทำ�ให้พวกเขารู้สึก

การมี ส่ ว นร่ ว มตรงนี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น

ทำ � มาหากิ น ของตั ว เองไป ไม่ เ ข้ า ใจ

ถึ ง การมี ส่ ว นร่ วมในการทำ� งานด้าน

ได้คือ ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้นแล้ว เราต้อง

ในสิ่งที่เราทำ� ระยะหลังพวกเขาเริ่ม

ต่างๆ แต่ถ้ามีการชี้นำ�เมื่อไหร่ หรือ

ไม่ไปจัดการปัญหาให้เขา แต่ขอให้เขา

เข้ า ใจเนื้ อ หางานของเรามากขึ้ น มี

สั่งให้เดินไปทิศนั้นทิศนี้ นี่คือการปิด

ร่วมมือกัน จากนัน้ ก็เชิญทุกฝ่ายเข้ามา

การตั้ ง กลุ่ ม ต่ า งๆ เกิ ด กระบวนการ

กรอบแนวความคิดของคนในท้องถิ่น

พูดคุย ตั้งคณะกรรมการขึ้น สุดท้ายก็

เรียนรู้ การวางระบบ นี่คือการขุดเอา

เป็นการตัดตอนความคิด แล้วเราจะ

นำ�ไปสู่ภาคปฏิบัติ

แก่นแท้ของความเป็นประชาธิปไตย

เจอปัญหาตลอด เพราะจะไม่มีความ

การมีส่วนร่วมของประชาชนเกิด

สนุกในการร่วมแสดงความคิด ทำ�ได้

จากหลายปัจจัย ในอดีตนั้นชาวบ้าน

ไม่นานก็จะต้องล้มไป แต่ถ้าเมื่อไหร่

จะเอาปัญหามาให้อย่างเดียว แต่ไม่รู้

ทีท่ กุ คนมีสว่ นร่วมก็จะเกิดความยัง่ ยืน

ว่าระบบการทำ�งานเป็นอย่างไร ต้อง

แบบมีส่วนร่วมมาใช้เป็นหลักพื้นฐาน ของชีวิตจริง


130

ไฉน ก้อนทอง

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดงมูลเหล็ก อำ�เภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์

เมือ่ ปัญหาต่างๆ ในชุมชนได้รบั การสนองตอบ ด้วยการมีส่วนร่วมของพวกเขา ชาวบ้านก็จะเห็นถึงความสำ�คัญของการ เป็นพลเมือง เริ่มมีจิตสำ�นึกเพื่อส่วนรวม เริ่มรู้ว่านี่คือหน้าที่ของทุกคนในชุมชน ไม่ใช่ของใครคนใดคนหนึ่ง สำ�หรับคำ�ว่า ‘พลเมือง’ เราต้องย้อนกลับไปดูวิถีชีวิต ของคนในชนบทที่ ผ่ า นมา สั ง คมชนบทจะเชื่ อ ฟั ง ผู้ นำ � เป็ น ส่วนใหญ่ ผู้นำ�ว่าอย่างไรก็อย่างนั้น ยอมรับในอำ�นาจของผู้นำ� แต่หลังจากเรามีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นมา สิ่งที่เรา จำ�เป็นต้องสร้างคือ การทำ�ให้ประชาชนมีความเป็นพลเมืองมากขึ้น นั่นคือสร้าง กระบวนการมีส่วนร่วม กล้าแสดงออก ณ เวลานี้เราต้องเอาปัญหาที่แท้จริง เอาความคิดความอ่านของคนใน ชุมชน เพือ่ มาพัฒนาต่อยอดให้เกิดความเป็นชุมชนเข้มแข็ง เมือ่ เราดึงพวกเขาเข้า มาได้ การพัฒนาอย่างแท้จริงก็จะเกิดขึน้ ต้องสร้างความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ เพือ่ ให้รวู้ า่ ท้องถิ่นพร้อมที่จะรับฟังปัญหา ตำ�บลดงมูลเหล็กเริ่มต้นงานพัฒนาที่ตัวผู้นำ�ก่อน เราออกไปไปพบปะกับ พีน่ อ้ งประชาชน จัดทำ�แผนชุมชน ครัง้ แรกๆ ทีเ่ ราเข้าไปชาวบ้านเต็มใจมาเข้าร่วม แต่ยังไม่กล้าแสดงความคิดเห็น อายบ้าง กลัวพูดผิดบ้าง หรือเป็นอย่างที่บอก ไปคือจะเชื่อฟังผู้นำ�มากกว่า เราจึงต้องเสนอไปว่า อยากได้ยินได้ฟังปัญหาจาก


131

ปากของพี่น้องประชาชนอย่างแท้จริง

ต้องขอขอบคุณ สสส. สำ�นัก 3

จากการที่ สสส. เข้ า มาช่ ว ย

พอเราได้สิ่งที่พวกเขานำ�เสนอ

ที่ มี ส่ ว นเข้ า มาช่ ว ยพั ฒ นาตำ � บลเรา

เราพั ฒนา ทำ � ให้ เ รารู้ จั กตั ว เองมาก

อย่างเช่นเรื่องถนนหนทางที่ยังสร้าง

ต้องอย่าลืมว่าคนในชนบทนั้นโอกาส

ขึ้ น ทำ � ให้ เ รามี ก ารจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล

ไม่ ทั่ ว ถึ ง เราก็ นำ � มาจั ด ทำ � เป็ น แผน

ที่ จ ะได้ ไ ปแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ใ นพื้ น

ชุ ม ชนอย่ า งเป็ น ระบบและลงลึ ก ถึ ง

พัฒนาตำ�บล สุดท้ายก็ทำ�ให้ชาวบ้าน

ที่อื่นๆ ยังน้อยมาก ไหนจะเรื่องงบ

รายละเอี ย ด ซึ่ ง ข้ อ มู ล ตรงนี้ จ ะเป็ น

ได้รู้ว่า สิ่งที่พวกเขานำ�เสนอมานั้นได้

ไหนจะเรื่องที่ชาวบ้านเองต้องทำ�มา

ประโยชน์ ต่ อ ชุ ม ชน และจะช่ ว ยชี้

ถูกนำ�เข้าสู่กระบวนการอย่างไร

หากิน ดังนั้น การที่มีกลุ่มคนเข้ามา

ทางในการแก้ปัญหาได้ ยกตัวอย่าง

ช่วยพัฒนาในด้านต่างๆ จึงทำ�ให้เกิด

เช่ น เมื่ อ ก่ อ นนี้ เ ราจะรู้ เ พี ย งแค่ ว่ า

องค์ความรู้ใหม่ๆ ขึ้น

หมู่บ้านนี้เป็นหมู่บ้านยากจน แต่พอมี

เมื่อปัญหาต่างๆ ในชุมชนได้รับ การสนองตอบ ชาวบ้านก็จะเห็นถึง ความสำ�คัญของการเป็นพลเมือง เริ่ม

สสส. นำ�องค์ความรู้จากที่อื่นๆ

กระบวนการจัดการข้อมูลใหม่ ทำ�ให้

มีจิตสำ�นึกเพื่อส่วนรวม เริ่มรู้ว่านี่คือ

ที่ประสบความสำ�เร็จมาแลกเปลี่ยน

เรารู้เพิ่มว่าเขาจนอย่างไร จนเพราะ

หน้าที่ของทุกคนในชุมชน ไม่ใช่ของ

เรียนรู้กับเรา เราไม่เคยทราบมาก่อน

อะไร ซึ่งจะนำ�ไปสู่การแก้ปัญหาอย่าง

ใครคนใดคนหนึ่ง

เลยว่า ท้องถิ่นอื่นๆ มีการพัฒนากัน

ตรงจุด

นโยบายการกระจายอำ � นาจสู่

อย่างไร ทิศทางไหน ตรงนี้ถือว่าเป็น

ประโยชน์ อี ก ประการหนึ่ ง ของ

ท้ อ งถิ่ น ตั้ ง แต่ ปี 2539 นั้ น เราพบ

ประโยชน์อย่างยิ่ง เราไม่จำ�เป็นต้อง

การยกระดับชุมชนให้สามารถจัดการ

ว่าปัญหาทั้งหมดเกิดขึ้นจากการรวม

เลียนแบบทั้งหมด แต่เอาสิ่งดีๆ มา

ตนเองได้คือ อย่างน้อยที่สุดชาวบ้าน

ศู น ย์ อ ยู่ ที่ ส่ ว นกลาง วั น ดี คื น ดี มี ง บ

ปรับใช้ให้เหมาะสมกับตัวเรา

เองก็ได้มีโอกาสสะท้อนปัญหาต่างๆ

จากจังหวัด จากอำ�เภอ ลงไปทำ�ถนน

องค์ประกอบที่สำ�คัญในการเป็น

จากมุมมองของตนเอง ได้เรียนรู้จาก

หนทาง ซึ่งงบเหล่านี้บางทีมันไม่ตรง

ชุ ม ชนจั ด การตนเองได้ นั้ น คื อ เรื่ อ ง

ประสบการณ์ของตัวเอง โดยไม่ต้อง

กับความต้องการของพี่น้องประชาชน

ของทุน ทุนในที่นี้คือ สิ่งดีๆ ที่มีอยู่

รอการพัฒนาจากศูนย์กลาง

อย่ า งแท้ จริ ง ซึ่ ง หากมี ก ารกระจาย

ภายในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นคน สังคม

อำ�นาจสู่ท้องถิ่นแล้ว ปัญหาทุกข้อจะ

วัฒนธรรม การช่วยเหลือเกื้อกูล สิ่ง

เกิดจากความต้องการของพี่น้องอย่าง

เหล่ า นี้ จ ะช่ ว ยให้ เ ราแก้ ไ ขปั ญ หาใน

แท้จริง

ภาพใหญ่และภาพย่อยได้อย่างครบถ้วน


132

จินตศักดิ์ แสงเมือง

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลไกรนอก อำ�เภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย

‘พลังพลเมือง’ คือการมีส่วนร่วมของคน ในตำ�บลทุกรุ่นทุกวัยในการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ในการจัดการบ้านของตัวเอง เราพยายามดึงคนที่ ออกไปข้างนอกให้กลับมาอยู่บ้าน โดยเฉพาะคนหนุ่มคนสาวที่มีแรงในการพัฒนา

และพวกเขาคือกุญแจสำ�คัญ เพราะมีเวลาและมีใจในการ เข้าร่วมมากที่สุด ยังมีโครงการวัยใสใส่ใจทำ�ดี เพื่อตอบจุดอ่อนในเรื่อง การมีส่วนร่วมของคนวัยทำ�งาน ซึ่งเป็นการดึงเด็กมาทำ� พลังพลเมืองคือการมีส่วนร่วมของคนในตำ�บลทุกรุ่น ทุกวัย ในการเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการบ้านของ ตัวเอง ให้ดำ�เนินไปสู่เป้าหมายที่พวกเขาร่วมกำ�หนดขึ้น

กิจกรรมโดยมีผู้ปกครองมาเข้าร่วม อย่างน้อยเดือนละครั้ง จะต้องมี มิเช่นนั้นกลุ่มคนทำ�งานจะห่างจากชุมชนไป ขณะที่อาสาสมัครกับจิตอาสาในพื้นที่ตำ�บลไกรนอก

ทุ ก วั น นี้ ตำ � บลไกรนอกได้ เ สริ ม สร้ า งพลั ง พลเมื อ ง

นั้นค่อนข้างมีความเข้มแข็งมาก ทำ�งานเชิงรุก โดยมี อผส.

ผ่านกิจกรรมหลายอย่างของตำ�บล เช่น โครงการจูงลูก

หรื อ อาสาสมั ค รดู แ ลผู้ สู ง อายุ มี แ ม่ อ าสา ซึ่ ง กลุ่ ม นี้ จ ะ

จูงหลานเข้าวัด ที่ช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ของผู้สูงอายุ

ทำ�งานร่วมกับโรงพยาบาลศูนย์ตำ�บล ขณะที่ในส่วนของ

กับเด็กๆ ซึ่งอาจเห็นว่านี่เป็นมิติในแง่สังคมมากกว่า แต่

อปพร. จะทำ�งานร่วมกับชุมชนเป็นหลัก ไม่ว่าจะงานอะไร

ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า มันคือการสร้างพลังการมีส่วนร่วมของ

กลุ่มนี้สามารถเรียกรวมตัวได้ง่าย

เด็กและผู้สูงอายุ ซึ่งถ้าดูจากโครงสร้างจำ�นวนประชากรใน

จุดแข็งของตำ�บลไกรนอกคือ สามารถทำ�งานกับทุก

พื้นที่ไกรนอกแล้ว จะเห็นจำ�นวนคนสองกลุ่มนี้ค่อนข้างสูง

ภาคส่วนได้อย่างราบรื่น ทั้งทางอำ�เภอ จังหวัด องค์กร


133

อย่างกระทรวงการพัฒนาสังคมและ

สมัครเข้าไปปลูกฝังให้ความรู้ การใช้

ความมั่ น คงของมนุ ษ ย์ ผู้ นำ � ท้ อ งที่

สมุนไพรอย่างว่านรางจืดขับล้างของ

เช่นนั้นการคืนอำ�นาจให้พวกเขา

ท้องถิ่น ขณะเดียวกันยังสามารถรวม

เสีย ทั้งยังจัดจ้างหาวิทยากรที่มีความ

ยังมีปัญหาหลายอย่าง เด็กก็คงเด็ก

คนในชุมชนได้ตำ�บลหนึ่ง เพราะเรามี

น่ า เชื่ อ ถื อ ที่ มี ค วามสามารถในการ

ไป ผู้ สู ง อายุ ส่ ว นใหญ่ ก็ มี ปั ญ หาโรค

แกนนำ�ที่ค่อนข้างเข้มแข็ง โดยเฉพาะ

จูงใจมาให้ความรู้

ประจำ�ตัว ดังนั้นยังคงมีความจำ�เป็น

สูงอายุเป็นหลัก

ระบบดู แลสุ ข ภาพชุ ม ชนที่ตำ� บลไกร

ถ้าประชาชนยังมีปัญหากับเรื่อง

ต้องหยิบยื่นให้พวกเขาก่อน นำ�เขาไป

นอกสามารถเป็นตัวอย่างให้กบั ทีอ่ น่ื ได้

การทำ�กิน มีปัญหาเรื่องสุขภาพ เชื่อ

ก่อน ค่อยๆ พัฒนาเสริมความรู้พวก

ข ณ ะ ที่ ข้ อ อ่ อ น ข อ ง เ ร า คื อ

ว่าการพัฒนาพลังพลเมืองก็ทำ�ได้ยาก

เขา พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่

ประชากรในวัยทำ�งานนั้นไม่มีเวลาให้

อาจจะต้องเริ่มจากจุดนี้ก่อน ให้เขา

ในพื้นที่ให้ดีขึ้น อยากเห็นคนกลับมา

ชุมชน ซึ่งอย่างที่กล่าวไปแล้วคือจะได้

ตระหนักรู้ในเรื่องของการทำ�กินที่ถูก

อยู่บ้าน คนหนุ่มคนสาวที่มีแรงในการ

ประชากรกลุม่ เด็กและผูส้ งู อายุทง้ั หมด

ที่ควร บนวิถีทางที่ยั่งยืน

พัฒนา น่าจะเป็นประโยชน์กับชุมชน

นอกจากนี้ยังสะท้อนผ่านอาชีพ คน

เราพยายามทำ � ประชาคมต่ อ

ไกรนอกส่วนใหญ่ทำ�นา ทำ�มากถึงปี

เนื่ อ ง โดยช่ ว งปี ง บประมาณจะมี

ตำ � บลเราโชคดี ที่ ไ ด้ รั บ โอกาส

ละ 3 ครัง้ จึงมีเรือ่ งของการใช้สารเคมี

ประชาคมใหญ่ ระหว่ า งปี เ ราจะมี

จากหน่ ว ยงานอื่ น ๆ เราได้ ทุ น จาก

เข้ามา เกิดปัญหาสารพิษตกค้าง และ

ประชาคมหมู่ บ้ า น เวี ย นเป็ น หมู่ ๆ

พมจ. ได้ทุนจาก สสส. ซึ่งทำ�งานเป็น

ยังมีเรื่องของการเผาฟางข้าว ซึ่งสร้าง

ไป แต่ละครั้งนอกจากผู้บริหาร ก็จะ

เครือข่ายใหญ่ มีการแบ่งปันองค์ความ

มลพิษด้วย ที่สำ�คัญส่วนใหญ่ยังคงใช้

มีหน่วยบริการอย่างปศุสัตว์ เกษตร

รู้ระหว่างตำ�บลทั่วประเทศ ของดีของ

วิธเี ชือ่ ปุย๋ เชือ่ ยากับทางร้านค้า เป็นหนี้

อาสาสมัครลงไปด้วย

เด่นที่ไปดูงานมาสามารถนำ�มาปรับ

เป็นสินให้ตอ้ งหาไปจ่ายคืน ทีก่ ล่าวมานี้

ได้มาก

ทุกวันนี้ สิ่งสำ�คัญยังคงเป็นเรื่อง

ใช้ในพื้นที่ได้ ทั้งยังเข้ามาช่วยในเรื่อง

ขององค์ความรู้ เราพยายามพัฒนา

ของการพัฒนางานอย่างเป็นระบบ มี

การทำ � นาแบบนั้ น กระทบกั บ

ให้ประชาชนไกรนอกมีความรู้ เอาแค่

การจัดการองค์ความรู้ที่เป็นระเบียบ

สุขภาพ เห็นได้ชัดจากข้อมูลของโรง

เรื่องการทำ�กิน การดูแลสุขภาพก่อน

และยังช่วยพัฒนาบุคลากรในตำ�บล

พยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตำ � บลว่ า มี

พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ให้ดี

ให้สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ไปให้

ผู้ ป่ ว ยที่ มี ส ารพิ ษ ตกค้ า งในร่ า งกาย

ดึงคนที่ออกไปกลับมาอยู่บ้าน เพราะ

กับที่อื่นๆ ได้

มาก โดยตอนนี้เราพยายามให้อาสา

อย่างที่กล่าวไปเวลานี้ เราได้เด็กกับผู้

ล้วนเป็นปัญหาสัง่ สม


134

วิศาล วิมลศิลป์ นักวิชาการด้านสาธารณสุข ตำ�บลไกรนอก อำ�เภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย

ภาพรวมของตำ�บลไกรนอก เรามองว่าทุกคนคือพลเมือง แล้วใช้แนวความคิดว่าจะดึงพลเมืองทั้งหมดเข้ามามีบทบาท หรือมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและขับเคลื่อนระบบสุขภาพ อย่างไร เมื่อก่อนคนไกรนอกจะไม่สนใจอะไรทั้งสิ้น อยู่กันไป อย่างนั้น เราใช้เวลาดำ�เนินงานอยู่ 5 ปี ในการดึงศักยภาพของคนในชุมชนออก มา โดยการเริ่มลงพื้นที่ทั้ง 8 หมู่บ้านของตำ�บลไกรนอก เพื่อพูดคุย แนะนำ� ให้ ความรู้อย่างต่อเนื่อง ยกตัวอย่างเช่น เรื่องการควบคุมโรคไข้เลือดออก เมื่อก่อนที่นี่มีผู้ป่วยเป็น ไข้เลือดออกกันมาก เพราะประชาชนขาดความรูเ้ กีย่ วกับบทบาทหน้าทีข่ องตัวเอง ในการมีส่วนร่วมป้องกันและควบคุมการเกิดโรค เขาจะรอแต่เจ้าหน้าที่ อสม. เข้ามาช่วยดูแลให้ เมื่อเราทราบปัญหานี้แล้วทำ�ให้ตัดสินใจได้ว่า ต่อจากนี้การ ควบคุมลูกน้ำ�ยุงลายของคนในชุมชนต้องเป็นหน้าที่ของเจ้าของบ้านเอง ตรงนี้เราใช้เวลาอยู่ 3 ปี ตอนนั้น อสม. ก็ติงว่าถ้าเกิดโรคระบาดจะทำ� อย่างไร เราก็เลยบอกว่า หน้าที่ของเราคือการให้คำ�แนะนำ�และมอบอุปกรณ์


135

เรื่องการเลือกตั้ง เราไม่ต้องไปชี้นำ�หรือแจกเงินแล้วบอกให้เขาไปเลือกคนไหน เพราะเขาไม่เอา สิ่งนี้เป็นผลพลอยได้จากการที่เราทำ�ให้ประชาชนมีความรู้ รู้จักรับผิดชอบ

กำ�จัดลูกน้ำ�ยุงลายแก่เขา แต่เรื่องการ

เป็นแกนหลักในการจัดการขยะและ

ด้ ว ยการตรวจเจาะเลื อ ดให้ เ ขา ซึ่ ง

ใส่ทราย คว่ำ�โอ่งนั้น แต่ละบ้านต้อง

สิ่งแวดล้อม มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดย

ก็ พ บว่ า 99 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องคนไกร

ทำ�ด้วยตัวเอง เขาจะได้ตระหนักว่า

อัตโนมัติหลังจากผ่านการฝึก ฝนกับ

นอกมีสารเคมีตกค้างในเลือด เราก็

สิ่งเหล่านี้รอให้คนอื่นมาทำ�แทนไม่ได้

เรื่องอื่นๆ มาแล้ว เพราะถ้าปล่อยให้

ถามชาวบ้านว่าแล้วเราจะทำ�อย่างไร

ต้องรู้จักจัดการด้วยตนเอง จะเห็นได้

หมู่บ้านสกปรกเวลาที่มีคนนอกเข้ามา

กันต่อไปดีหากไม่อยากตายด้วยโรค

ว่ า นี่ คื อ การใช้ ค วามเป็ น พลเมื อ งให้

เยี่ยมชม เขาก็จะรู้สึกอับอาย

มะเร็ง เขาก็บอกว่าคงจะต้องหันมาทำ�

เกิดประโยชน์ ชี้ให้ชาวบ้านเห็นข้อดี

ประเด็ น ต่ อ มาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ

ของการดู แ ลชุ ม ชนและบ้ า นของเขา

ความเป็นพลเมืองก็คอื การคืนอำ�นาจ

วิ ธี ก ารเหล่ า นี้ ส่ ง ผลไปถึ ง การ

ด้วยตนเองก่อนเท่าทีส่ ามารถจะทำ�ได้

สู่ประชาชน ทุกครั้งที่มีการประชามติ

ดำ � รงชี วิ ต ด้ า นอื่ น ของเขาด้ ว ย ยก

จากนั้ น เรื่ อ งอื่ น ๆ เช่ น การ

กันในชุมชน เราจะให้ชาวบ้านเป็นคน

ตั ว อย่ า งง่ า ยๆ เช่ น เรื่ อ งการเลื อ ก

พั ฒ นา การดู แ ลชุ ม ชนก็ จ ะตามมา

กำ�หนดประเด็นปัญหากันเอง เราจะ

ตั้ง เราไม่ต้องไปชี้นำ�หรือแจกเงินแล้ว

เพราะเมื่อเริ่มดูแลครอบครัวตัวเองได้

ไม่ไปบอกเขาว่าหมู่บ้านเรามีปัญหา

บอกให้เขาไปเลือกคนไหน เพราะเขา

แล้วก็มโี อกาสจะขยายแนวคิดดังกล่าว

อย่ า งนั้ น อย่ า งนี้ แต่ จ ะให้ ข้ อ มู ล กั บ

ไม่เอา สิ่งนี้เป็นผลพลอยได้จากการที่

ออกไปได้ ก ว้ า งขึ้ น ตั ว อย่ า งต่ อ มา

เขา เช่น ทำ�ไมคนไกรนอกจึงมีอัตรา

เราทำ�ให้ประชาชนมีความรู้ รูจ้ กั รับผิด

คือ เมื่อก่อนชุมชนไกรนอกจะมีขยะ

การตายด้วยโรคมะเร็งสูง เพื่อที่เขา

ชอบ ทำ�ให้เขาเชื่อในศักยภาพของการ

เยอะมาก เพราะมีตลาดนัด แต่เมื่อ

จะได้ชว่ ยกันวิเคราะห์สาเหตุ จนชาวบ้าน คิดและตัดสินใจด้วยตัวเอง ดังนั้นจะ

มี โ ครงการเครื อ ข่ า ยร่ ว มสร้ า งชุ ม ชน

ค้นพบเองว่าในพื้นที่มีการใช้สารเคมี

เห็นได้ว่าความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน

ท้องถิ่นน่าอยู่ก็กระตุ้นให้เกิดแนวคิด

ทำ�การเกษตรเยอะ ส่วนเราก็จะเป็น

คือหัวใจสำ�คัญของการกระตุ้นให้เกิด

รั ก บ้ า นเกิ ด เกิ ด โฮมสเตย์ ซึ่งกลาย

ฝ่ายยืนยันสนับสนุนสิ่งที่เขาเสนอมา

การใช้สิทธิความเป็นพลเมือง

เกษตรอินทรีย์


136

ประพจน์ เพียรพิทักษ์​์

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลคลองน้ำ�ไหล อำ�เภอคลองลาน จังหวัดกำ�แพงเพชร

การสร้างคนให้เป็นพลเมือง หมายถึง การที่เราจะต้อง พัฒนาคนในท้องถิ่นให้มีความรู้ความสามารถ เพื่อที่จะสร้าง ภาวะผู้นำ�ให้เกิดขึ้นในทุกกลุ่ม ตั้งแต่เด็กเยาวชน ประชาชน ผู้ สูงอายุ ไปจนถึงกลุม่ องค์กรทีท่ �ำ งานให้กบั ตำ�บลคลองน้�ำ ไหล ซึง่ การสร้างความ มีจติ อาสาให้กบั ประชาชนเป็นปัจจัยสำ�คัญทีส่ ดุ ในการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง และ ทำ�ให้เกิดการพัฒนาชุมชนไปสู่ความยั่งยืนในโอกาสต่อไป ต้องยอมรับว่า การพัฒนาต่างๆ โดยส่วนใหญ่ขับเคลื่อนไปได้ด้วยผู้นำ� ท้องที่ คือ กำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น สารวัตรแพทย์ พัฒนาสังคมจังหวัด ศูนย์สงเคราะห์ ต่างๆ และหน่วยงานภาคเอ็นจีโอ เข้ามาช่วยขับเคลื่อน โดยการให้ความรู้กับ ประชาชนในท้องถิ่น เพื่อที่จะสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่พลเมือง มากขึ้น เราต้องมองว่า การพัฒนาระดับประเทศไม่ประสบความสำ�เร็จเพราะ เหตุใด แล้วมันจะย้อนกลับมาสู่คำ�ถามที่ว่า เราสร้างพลเมืองในท้องถิ่นให้มี ศักยภาพเพียงพอหรือยัง


137

ผมเชื่อว่าเมื่อพี่น้องประชาชนในหมู่บ้านเริ่มมีความเข้าใจในสิ่งที่เรากำ�ลังพยายามทำ� ก็จะก่อให้เกิดการรวมพลังของคนที่มีจิตอาสามากขึ้นจนกลายเป็นพลเมืองที่มีศักยภาพ และนี่คือสิ่งที่จะนำ�ประเทศไทยไปสู่ความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน

สิ่ ง ที่ เ ราผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ขึ้ น ใน

ขึ้นจนกลายเป็นพลเมืองที่มีศักยภาพ

ที่จะนำ�ผู้คนที่มีจิตอาสาลงไปดูแลใน

ชุมชนคลองน้�ำ ไหลคือ การเพิม่ จำ�นวน

และนี่คือสิ่งที่จะนำ�ประเทศไทยไปสู่

พื้นที่ รวมถึงใช้ข้อมูลนั้นมาเป็นแผน

คนที่มีจิตอาสาให้มากขึ้น เพราะผู้นำ�

ความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน

งานในการพัฒนาท้องถิ่นและนำ�มาสู่

ในแต่ละภาคส่วนคงไม่สามารถเข้าถึง

เมือ่ ตำ�บลของเราได้เข้าร่วมเครือ

ต้ น ตอของปั ญ หาในท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ า ง

ข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ก็ยิ่ง

สิ่งที่ผมคาดหวังอยากให้เกิดขึ้น

ทั่ ว ถึ ง ดั ง นั้ น การสร้ า งจิ ต อาสาให้

ทำ�ให้เกิดการขยายองค์ความรู้เพิ่มขึ้น

ในตำ�บลคลองน้ำ�ไหล คือ 1.กระบวน

เกิดการกระจายตัวเข้าไปทั่วทั้ง 28

ทั้งในเรื่องกระบวนการ วิชาการ โดย

ที่ทำ�ให้เกิดความรับผิดชอบและสร้าง

หมู่บ้าน จะทำ�ให้เกิดบุคคลต้นแบบ

เฉพาะเรื่ อ งการใช้ ข้ อ มู ล ที่ ทำ � ให้ เ รา

ครอบครัวของตนเองให้เข้มแข็ง 2.ทำ�

หรือผู้นำ�ที่จะสามารถหยิบยกประเด็น

เข้าใจประเด็นปัญหาต่างๆ ซึ่งอาจจะ

อย่างไรให้เกิดความรักความสามัคคี

ปัญหาในแต่ละหมู่บ้านขึ้นมาแก้ไขได้

ยังไม่เคยถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึง เช่น

ในชุมชน และ 3.ชุมชนต้องสามารถ

ผมเชื่ อว่ า เมื่ อ พี่ น้ อ งประชาชน

จำ�นวนของเด็กที่ยังไม่ได้เรียนหนังสือ

กำ�หนดเป้าหมายและวิถีทางที่จะนำ�

ในหมู่ บ้ า นเริ่ ม มี ค วามเข้ า ใจในสิ่ ง ที่

เด็กที่ถูกพ่อแม่ทอดทิ้ง ผู้ป่วยติดเตียง

ไปสู่การเป็นชุมชนน่าอยู่ในอนาคตได้

เรากำ�ลังพยายามทำ� ก็จะก่อให้เกิด

ผู้สูงอายุที่ไ ม่มี ค นดู แ ล ฯลฯ เมื่ อได้

อย่างยั่งยืน

การรวมพลังของคนที่มีจิตอาสามาก

ทราบข้อมูลเหล่านี้แล้ว เราสามารถ

การทำ�ข้อบัญญัติงบประมาณได้


138

จ.ส.อ.นรินทร์ กลิ่นพ่วง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลประดู่งาม อำ�เภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

คำ�ว่า ‘พลเมือง’ ในความหมายของผม ต้องเป็นทั้งคน ดี มีศีลธรรม มีส่วนร่วมกับกิจกรรมอื่นๆ ในชุมชน นอกเหนือ ไปจากอาชีพที่ทำ�ในแต่ละวัน สามารถเข้ามาพัฒนาสังคมร่วม กัน เรียกได้ว่ามีจิตอาสา จิตสาธารณะ ทำ�ให้กิจการต่างๆ ของ สังคมนั้นพัฒนาไปสู่ทิศทางที่ดีขึ้น ในพื้นที่ของผมนั้น คนที่มีความเป็นพลเมืองที่กล่าวถึงนั้นมีทั้งเกิดขึ้นเอง หรือเรียกว่าผู้นำ�ตามธรรมชาติ และคนที่เราสร้างขึ้น ซึ่งการสร้างนี้เราต้องทำ� ตั้งแต่พวกเขายังเยาว์วัย ปลูกฝังให้ร่วมกับเราตั้งแต่สภาเด็กและเยาวชน สำ�หรับบุคคลทั่วไปเราจะมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งชมรมผู้สูงอายุ อาสาสมัคร หรื อ อื่ น ๆ อี ก มากมายที่ จ ะทำ � ให้ ค นที่ มี จิ ต อาสาอยู่ แ ล้ ว ได้ รั บ การเสริ ม เติ ม ขุมกำ�ลังทางสมอง เพือ่ จะนำ�ไปต่อยอดสูก่ ารพัฒนาชุมชนของตัวเองให้เกิดความ เจริญอย่างยั่งยืน สิ่งสำ�คัญที่สุดอย่างหนึ่งในการพัฒนางานเหล่านี้อยู่ที่ตัว ผู้นำ� กล่าวคือ ต้องมีคณ ุ ธรรมประจำ�ใจ ไม่แบ่งพรรคแบ่งพวก ต้องสร้างจิตอาสาให้เกิดกับตัวผู้


139

ผมเองมาจากการเลือกตั้งของพี่น้องประชาชน นั่นเพราะผมฟังเสียงชาวบ้าน ชาวบ้านเลือกเราแล้วมีความสุข การตัดสินใจทุกอย่างต้องเกิดจาก ความต้องการของชาวบ้าน ไม่ใช่ไปสั่งบังคับบัญชาให้พวกเขาทำ�อย่างที่เราต้องการ

นำ�ให้ได้ เพื่อที่จะนำ�แนวคิดดีๆ ทุก

เรื่ อ งวั ฒ นธรรมจึ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ

ผมเองมาจากการเลือกตั้งของ

อย่างไปพัฒนาต่อยอดให้กับคนอื่นๆ

หนึ่ ง ในการช่ ว ยลดความแตกแยก

พี่น้องประชาชน นั่นเพราะผมฟังเสียง

ในชุมชน

ดั ง กล่ า วได้ ตรงจุ ด นี้ อ าจต้ อ งอาศั ย

ชาวบ้าน ชาวบ้านเลือกเราแล้วมีความ

เรื่ อ งประเพณี ต่ า งๆ ในชุ ม ชน

บ้าน วัด โรงเรียน ที่ต้องจัดกิจกรรม

สุข การตัดสินใจทุกอย่างต้องเกิดจาก

บางอย่ า งอาจสู ญ หายไปตามกาล

อยู่ตลอด จัดให้สอดคล้องกันไป แล้ว

ความต้องการของชาวบ้าน ไม่ใช่ไป

เวลา ตรงนี้ต้องรื้อฟื้นคืนมา เพราะ

ดึ ง ให้ ค นในชุ ม ชนเข้ า มาร่ ว มอย่ า ง

สั่งบังคับบัญชาให้พวกเขาทำ�อย่างที่

ประเพณีในแต่ละท้องถิ่นนั้นจะเป็น

สม่ำ�เสมอ คนทุกวัยทุกเพศต้องเข้า

เราต้องการ ดังนั้น ผู้นำ�ต้องพยายาม

ศูนย์รวมจิตใจให้คนแต่ละคนเข้ามา

มาร่วมด้วย

ทำ�ตัวเองให้มีศักยภาพ ต้องฟังเสียง

ร่วมกันทำ�กิจกรรมด้วยความเต็มใจ

นอกจากนี้ เราต้องจัดให้มีเวที

ประชาชน ต้องไม่เอาความคิดของตน

วัฒนธรรมอันดีงามนี้ ส่วนหนึ่ง

หมู่ บ้ า น เวที ป ระชาคม เราต้ อ งทำ �

เป็นเป็นใหญ่ โดยไม่คิดถึงคนอื่นๆ ไม่

จะเป็ น ตั ว ประสานไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความ

ตรงนี้ เพราะนี่คือช่องทางหนึ่งในการ

คิดถึงเสียงที่ชาวบ้านเลือกมา

แตกแยกในสังคม เพราะแน่นอนว่า

เปิดโอกาสให้ชาวบ้านได้เข้ามามีส่วน

สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมดก็คือ ภาพ

ระบอบประชาธิ ป ไตยมั น ต้ อ งมี ก าร

ร่วม โดยการเสนอความคิดเห็น เสนอ

เล็ ก ๆ ที่ เ ราจะช่ ว ยกั น ปฏิ รู ป สั ง คม

แข่งขัน แข่งกันหาเสียง ซึ่งเป็นเรื่อง

ปั ญ หาต่ า งๆ แล้ ว ปั ญ หาเหล่ า นี้ จ ะ

ท้องถิ่น จนในที่สุดพลังของพลเมือง

ธรรมดา ตั้งแต่หาเสียงระดับเล็กๆ ไป

ถูกนำ�ไปแก้ไขและจะส่งผลให้ชุมชน

ก็ จ ะส่ ง ผลไปถึ ง การพั ฒนาในระดั บ

จนถึงการเมืองในภาพใหญ่ การทำ�งาน

เข้มแข้งอย่างแท้จริง

ประเทศได้


140

พงษ์เทพ ชัยอ่อน นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหาดสองแคว อำ�เภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

บุคลิกของชาวตำ�บลหาดสองแควเป็นคนตรงๆ กล้าที่ จะวิพากษ์วิจารณ์ ดังนั้น การเป็นพลเมืองโดยธรรมชาติมัน จะมีอยู่ในตัว ทุกคนมีการแสดงความคิดเห็น มีการแชร์ปัญหา แล้วก็นำ�ปัญหาเหล่านี้ไปสู่กระบวนการแก้ไข เพื่อจะได้พัฒนา ชุมชนของเราต่อไป ความเข้มแข็งที่เกิดขึ้นนี้ต้องผ่านกระบวนการหล่อหลอม ไม่เช่นนั้นก็จะ เหมือนกับในอดีตคือ ชาวบ้านจะเชื่อฟังผู้ปกครองเพียงอย่างเดียว หรือคิดว่า ผูป้ กครองจะต้องทำ�ทุกเรือ่ ง ซึง่ ทำ�ให้เกิดการแก้ปญ ั หาทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการ ของชาวบ้านจริงๆ คนที่เป็น ผู้นำ�เอง แม้จะทำ�งานเก่งแค่ไหน แต่ถ้าต้องแบกรับภาระไว้ที่ ตนเองอยู่ฝ่ายเดียวก็จะเกิดความเหนื่อยล้า และจะนำ�มาซึ่งการไร้ความคิด สร้างสรรค์ในการคิดงาน ในการประสานงาน ในการทำ�กิจกรรมทุกอย่างในการ พัฒนาชุมชนของตัวเอง นับตั้งแต่ที่ผมเข้ามาสู่ถนนการเมือง ผมมองเห็นปัญหาเหล่านี้และเคย


141

ถ้าเราไม่สร้างให้เกิดความเป็นพลเมือง การติดตามประเมินผลในกิจกรรมต่างๆ ของท้องถิ่นก็จะไม่เกิดขึ้น ชาวบ้านจะไม่สนใจว่าใครจะทำ�อะไร ถ้าเมื่อไหร่ที่เกิดการคอรัปชั่นขึ้น มันก็จะไม่มีคนคอยตรวจสอบถ่วงดุล

ประสบกั บ ตั ว เองด้ ว ยซ้ำ � บางที เ รา

นอกเหนื อ จากการทำ � ความ

ปั ญ หาที่ ม าจากเสี ย งเรี ย กร้ อ งของ

คิ ด ว่ า ดี แต่ เ มื่ อ มั น ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น จาก

เข้าใจกับชาวบ้านแล้ว คนที่อยู่ใกล้ชิด

ชาวบ้าน เมือ่ เป็นเช่นนีแ้ ล้วกระบวนการ

ความต้องการของชาวบ้านและเกิดข้อ

ตัวเรา หรือเจ้าหน้าที่ของท้องถิ่นเอง

พัฒนาชุมชนก็เกิดความติดขัด

ผิดพลาดขึน้ มา เราก็ตอ้ งรับผิดชอบแต่

ตรงนี้ ผ มเห็ น ว่ า สำ � คั ญ คื อ เราต้ อ ง

ท้ อ ง ถิ่ น ต้ อ ง คื น อำ � น า จ ใ ห้

เพี ย งผู้ เ ดี ย ว ตรงนี้ ไ ปโทษชาวบ้ า น

ทำ�ความเข้าใจกับทีมงานของเรา ให้

ประชาชน ให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว ม

ก็ไม่ได้ เพราะแต่ไหนแต่ไรมาเราไม่ได้

เกิดความเป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกัน เพื่อ

เป็นเจ้าของงบประมาณ ผมจะบอก

ปลูกฝังให้พวกเขามีความเป็นพลเมือง

มุ่งมั่นทำ�งานอย่างมีพลัง

เลยว่าปีนี้มีงบเท่าไหร่ แจกแจงอย่าง

ถ้าเราไม่สร้างให้เกิดความเป็น

ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเรานำ�เอา

ละเอี ย ด ตรงนี้ จึ ง ทำ � ให้ เ กิ ด ความ

พลเมือง การติดตามประเมิน ผลใน

ปัญหาของประชาชนมาเสนอต่อสภา

โปร่งใส ผมทำ�งานสบาย เพราะเรา

กิ จ กรรมต่ า งๆ ของท้ อ งถิ่ น ก็ จ ะไม่

อบต. เพื่อขอจัดสรรงบประมาณ ถ้า

ให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่แรก

เกิดขึ้น ไม่สนใจว่าใครจะทำ�อะไร ได้

คนของเราไม่เข้าใจ ปัญหามันก็เกิด

จนถึ ง ขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ย ซึ่ ง จะนำ � มาสู่

ประโยชน์ก็ดีไป แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่เกิด

ขึ้น เกิดการถกเถียงไม่เข้าใจกัน โดย

การเป็นชุมชนเข้มแข็งต่อไป

การคอรัปชั่นขึ้น มันก็จะไม่มีคนคอย

เอาความเห็นของตัวเองเป็นใหญ่ ทัง้ ๆ

ตรวจสอบถ่วงดุล

ที่ ปั ญ หาที่ เ รานำ � มาสู่ ที่ ป ระชุ ม เป็ น


142

ธีรศักดิ์ สนแย้ม เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำ�บลหาดสองแคว อำ�เภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์​์

ในความเห็นของผม ลักษณะของความเป็นพลเมืองคือ การรับผิดชอบหน้าที่ของตนเอง หน้าที่ของประชาชนคนหนึ่งที่ เกิดมาแล้วต้องทำ�มากกว่าไปกังวลเรื่องสิทธิที่ตัวเองจะได้รับ เพราะปัจจุบันคนเรามักจะเรียกร้องเรื่องสิทธิมากกว่าหน้าที่ที่ ตัวเองจะต้องจัดการ หน้าที่ของพลเมืองหาดสองแควคือ การเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการตำ�บลตัวเอง เพราะหาดสองแควไม่ใช่ของผู้บริหารหรือผู้นำ�คนใดคนหนึ่ง แต่เป็นของคนทั้งตำ�บลหาดสองแคว ที่ผ่านมาเราจะกระตุ้นให้เกิดแนวคิดการ เข้ามามีส่วนร่วมผ่านกิจกรรมในการทำ�งาน โดยจะให้ความสำ�คัญต่อปราชญ์ ชาวบ้าน ผู้สูงอายุ และทุกคน พูดให้เข้าใจง่ายๆ คือ เราไม่ปิดกั้นโอกาสในการ เข้ามาร่วมกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายเดียวกันหรือฝ่ายตรงข้ามที่ไม่สนับสนุน การเลือกตั้งของเรา แต่เราใช้ความเป็นคนบ้านเดียวกัน เป็นคนลาวเวียงจันทน์ เหมือนกันในการดึงคนเข้ามา แล้วก็ใช้วิธีบอกต่อในเรื่องการทำ�งาน เมือ่ เราเข้ามาทำ�งานแล้ว ก็ควรตัดประเด็นการแข่งขันทางการเมืองออกไป


143

ถ้าเราไม่สร้างให้เกิดความเป็นพลเมือง การติดตามประเมินผลในกิจกรรมต่างๆ ของท้องถิ่นก็จะไม่เกิดขึ้น ชาวบ้านจะไม่สนใจว่าใครจะทำ�อะไร ถ้าเมื่อไหร่ที่เกิด การคอรัปชั่นขึ้น มันก็จะไม่มีคนคอยตรวจสอบถ่วงดุล

ต้องให้ความเสมอภาคในการทำ�งาน

ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น น่ า อยู่ ทำ � ให้ เ กิ ด การ

นำ � ประเด็ น นี้ ม าเป็ น อุ ป สรรคสำ � คั ญ

ของทุกภาคส่วน เพราะสุดท้ายแล้ว

ส่ ง เสริ ม พลั ง พลเมื อ งที่เ ป็ น รู ป ธรรม

เราสามารถใช้งบเท่าที่มีได้ โดยอาศัย

ทุกคนก็ยังเป็นคนบ้านเดียวกัน แนว

มากขึ้น จากเมื่อก่อนที่แต่ละคนอยูก่ นั

ความร่วมมือของชาวบ้านมาร่วมกัน

ความคิ ด นี้ จำ � เป็ น กั บ โลกสมั ย ใหม่

แบบกระจัดกระจาย ไม่เคยนำ�ความคิด

ออกแรง องค์ ก รภายในมี ส่ ว นร่ ว ม

มาก เพราะปัจจุบันการเมืองเข้าไปมี

มาแบ่งปันกัน แต่ปจั จุบนั สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ ในการพัฒนาให้สำ�เร็จก่อน แล้วงบ

อิทธิพลกับคนทุกคน อย่างเช่นตอนนี้

ถูกนำ�มาใช้งานได้จริง เรารู้ว่าเราจะ

ที่คนถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝัก ฝ่าย ถ้า

ต้องทำ�งานอย่างไร เก็บสำ�รวจข้อมูล

หัวใจของการทำ�ให้ชาวบ้านเข้า

รวมกันไม่ได้ ประเทศชาติก็ไม่เจริญ

อย่างไร ใช้เครื่องมือชนิดไหนในการ

มามีส่วนร่วมก็คือ ความเป็นน้ำ�หนึ่ง

ทัง้ ทีจ่ ริงแล้วความคิดของฝ่ายตรงข้าม

ขับเคลื่อน และสามารถค้นหาจุดเด่น

ใจเดี ย วกั น เพราะคนในชุ ม ชนเป็ น

อาจจะมีมากกว่าฝ่ายเดียวกับเราด้วย

จุ ด ด้ อ ยในการทำ � งาน ทั้ ง หมดนี้ ถื อ

เชื้อสายลาวเวียงจันทน์เหมือนกัน เรา

ซ้ำ � ถ้ า เรารวมตั ว กั น ได้ การพั ฒนา

เป็ น นวั ต กรรมหนึ่ ง ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด

จึงใช้วัฒนธรรมและภูมิปัญญาตรงนี้

ประเทศก็จะขยายไปได้ไกลกว่าที่ควร

การพัฒนามากขึ้น

เป็นพื้นฐานของการพัฒนา

จะเป็นในปัจจุบัน ต้องยอมรับว่าเครือข่ายร่วมสร้าง

แม้ ว่ า ข้ อ จำ � กั ด ของการพั ฒ นา คืองบประมาณที่น้อยนิด แต่เราไม่ได้

ประมาณจะตามมาเอง


144

ผจญ พูลด้วง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลคอรุม อำ�เภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

ที่ ตำ � บลคอรุ ม ของเราประกอบด้ ว ยผู้ ค นหลากหลาย วั ฒ นธรรม มี ทั้ ง วั ฒ นธรรมล้ า นนา ล้ า นช้ า ง สุ โ ขทั ย ลาว เวียงจันทน์ แต่สงิ่ ทีย่ ดึ โยงผูค้ นทีม่ คี วามหลากหลายให้สามารถ อยู่ร่วมกันได้อย่างเป็นปึกแผ่นก็คือ ประวัติศาสตร์ ผู้คนในตำ�บลคอรุมทุกคนล้วนให้ความเคารพนับถือ ‘พระยาพิชัยดาบหัก’ ท้องถิ่นของเราจึงนำ�เอาประวัติศาสตร์มาเชื่อมโยงกับการสร้างพลังพลเมือง ดึงคนที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมมารวมตัวกันทำ�กิจกรรมหรือออกแบบ กิจกรรมทีเ่ ปิดกว้าง เพราะทุกคนต่างถือว่าตนล้วนเป็นลูกหลานพระยาพิชยั ดาบ หัก จึงอยู่ร่วมกันได้โดยใช้ประวัติศาสตร์เป็นศูนย์กลาง พระยาพิชยั ดาบหักเป็นบุคคลในประวัตศิ าสตร์ทมี่ ลี กั ษณะเด่นคือ การเป็น คนดี เป็นคนใจเด็ดเดี่ยว มีความเสียสละสูง ท่านมาสู้รบกับพม่าที่วัดขวางชัยภูมิ ในพื้นที่ตำ�บลคอรุม ท่านตัดศีรษะข้าศึกมารวมไว้ที่วัดเอกา ซึ่งแต่เดิมชื่อตำ�บล คอรุมคือ ‘คอรวม’ ต่อมาจึงเรียกเพี้ยนเป็น ‘คอรุม’ แล้วดาบของท่านก็มาหักอยู่ ที่นี่ ที่ตำ�บลคอรุม


145

‘เพชรคอรุม’ คืออาสาสมัครที่สละเวลาของตนเองเพื่อเข้ามาผลักดันให้เกิดกิจกรรมใน ชุมชน และเป็นแกนนำ�ที่ทำ�หน้าที่ขยายองค์ความรู้ให้กับชุมชน ถ่ายทอดความรู้ไปยังคน อีกรุ่นหนึ่ง ซึ่งวันข้างหน้าคนรุ่นนั้นก็จะก้าวขึ้นมาเป็นเพชรคอรุมรุ่นต่อไป สิ่งนี้เราเรียกว่า กระบวนการสร้างคน

ที่ เ ล่ า มาทั้ ง หมดก็ เ พื่ อ ต้ อ งการ

ระบบตามหลักวิชาการ สืบเสาะราก

นำ�ที่ทำ�หน้าที่ขยายองค์ความรู้ให้กับ

จะสะท้ อ นลั ก ษณะเด่ น ของพระยา

เหง้ า ประวั ติ ศ าสตร์ ท้ อ งถิ่ น ของเรา

ชุมชน ถ่ายทอดความรู้ไปยังคนอีกรุ่น

พิ ชั ย ที่ ช าวคอรุ ม ล้ ว นยึ ด เป็ น แบบ

ค้นหาต้นทุนที่ชุม ชนเรามี เชื่อมโยง

หนึ่ง ซึ่งวันข้างหน้าคนรุ่นนั้นก็จะก้าว

อย่ า ง ซึ่ ง พระยาพิ ชั ย เปรี ย บเหมื อ น

ภาพในอดีตตั้งแต่คนรุ่นอดีตมาจนถึง

ขึน้ มาเป็นเพชรคอรุมรุน่ ต่อไป สิง่ นีเ้ รา

สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ลู ก หลานชาวคอรุ ม

ยุคปัจจุบัน เพื่อให้คนในชุมชนได้เห็น

เรียกว่า กระบวนการสร้างคน

พยายามดำ�เนินรอยตาม โดยเฉพาะ

ภาพรวมว่า ที่ผ่านมาเราได้พัฒนาไป

อบต.คอรุ ม เชื่ อ มั่ น ว่ า หั ว ใจ

ความดีและความเข้มแข็งของท่าน

ในทิศทางใด มีเรื่องไหนบ้างที่เราทำ�

สำ�คัญของการคืนอำ�นาจแก่ประชาชน

อย่างไรก็ดี แม้สำ�นึกความเป็น

สำ�เร็จ เรื่องไหนบ้างที่ล้มเหลว แล้ว

คือ การทำ�ให้ประชาชนรับรู้กลไกการ

พลเมื อ งของคนตำ � บลคอรุ ม จะมี อ ยู่

หาข้อตกลงร่วมกันว่า อนาคตเราจะ

ทำ�งานของเครือข่ายที่อยู่รอบตัวเขา

ในตั ว คนทุ ก คน แต่ ก็ ยั ง ไม่ ส ามารถ

เดินทางไหนต่อ

ทั้งภาครัฐ ท้องที่ ท้องถิ่น และสิทธิท่ี

แสดงออกมาเป็ น พลั ง ได้ โจทย์ ข อง

ข้อสรุปเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ด้วย

เขามี ประกอบกับการให้ความรู้ในเชิง

เราคือทำ�อย่างไรให้สำ�นึกความเป็น

การทำ � เวที ป ระชาคม เรามี แ กนนำ �

วิชาการอย่างเป็นระบบ เมื่อเรามอบ

พลเมืองกระจายไปทั่วทั้งตำ�บลและ

แต่ละชุมชนซึ่งสืบทอดกันมารุ่นต่อรุ่น

สิ่งเหล่านี้มอบให้เขาจนเกิดความเข้ม

เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นงาน

แกนนำ�เหล่านีเ้ ราเรียกว่า ‘เพชรคอรุม’

แข็งแล้ว วันหนึ่งเขาจะกล้าคิด กล้า

พัฒนาชุมชน

เพชรคอรุมคืออาสาสมัครที่สละ

ในการพั ฒนาชุ ม ชน ตำ � บลคอ

เวลาของตนเองเพื่อเข้ามาผลักดันให้

รุ ม จะใช้ วิ ธี ก ารเก็ บ ข้ อ มู ล อย่ า งเป็ น

เกิดกิจ กรรมในชุ ม ชน และเป็ นแกน

ตัดสินใจด้วยตัวเอง


146

นัยนา ศรีเลิศ นักพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนตำ�บลคอรุม อำ�เภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์

การเป็นพลเมืองคือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมดีๆ ของชุมชม สังคม การคิดดี พูดดี ทำ�ดี คือสำ�นึกความเป็น พลเมือง ตำ�บลคอรุมจะเน้นการสร้างสำ�นึกต่อการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นการทำ�แผนพัฒนาชุมชน การ ประชาคม เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชน ทั้งเด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ เข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมต่างๆ ของ อบต. อันที่จริงแล้วความเป็นพลเมืองเป็นเรื่องของจิตสำ�นึก แต่ละคนน่าจะมี จิตสำ�นึกที่ดีอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าสภาพแวดล้อมที่เขาอยู่จะเอื้ออำ�นวยให้เขาได้ แสดงออกมากน้อยแค่ไหน เพราะถ้าสิ่งดีๆ ที่เขาคิดมันขัดต่อสภาพแวดล้อม หรือแนวคิดหลักของชุมชน เขาก็อาจเลือกที่จะเก็บความคิดนั้นไว้เงียบๆ อันที่ จริงคนแบบนี้มีอยู่ในทุกชุมชน เพียงแต่ขึ้นอยู่กับว่าคนที่คิดไม่ดีจะมามีอำ�นาจ เหนือคนที่เขาอยู่นิ่งๆ หรือเปล่า ถ้าเป็นเช่นนั้นก็ควรกระตุ้นเขาบ่อยๆ ให้เขา ออกมาเรียกร้องสิทธิที่เขาควรจะได้รับบ้าง โครงการเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ มีส่วนสำ�คัญในการสร้าง


147

ท้องถิ่นมีหน้าที่ต้องกระตุ้นให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะ และประสบการณ์ เมื่อเขาเข้มแข็งถึงจุดหนึ่ง เขาก็จะรู้ว่าสิทธิเสรีภาพที่แท้จริงของตนเองคืออะไร

ความเป็นพลเมือง อย่างน้อยก็ทำ�ให้

การขับเคลื่อนงานพัฒนาชุมชน และ

เป็นอยู่ ฉะนั้น เราควรต้องมุ่งสร้าง

เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน เกิด

ในระดับปัจเจกบุคคลอย่างเช่น กำ�นัน

การศึกษาหรือสร้างการเรียนรู้ให้เขา

กิจกรรมต่างๆ ให้เราได้ทำ�ร่วมกัน แม้

ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าหน้าที่ อบต. หรือนัก

ก่อน ก่อนที่จะคืนอำ�นาจให้เขา เพื่อ

จะไม่ใช่กิจกรรมหลัก แต่เมื่อมีคนเข้า

วิชาการโครงการ ทุกคนต่างก็พร้อม

ให้เขาสามารถใช้อำ�นาจนั้นได้อย่างมี

มาดูแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชนของเรา

รับประสบการณ์ในการเรียนรู้และเปิด

ประสิทธิผล

ก็ทำ�ให้เราได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความ

โลกกว้างสำ�หรับตัวเอง มิใช่แค่ทำ�งาน

ท้ อ งถิ่ น มี ห น้ า ที่ ต้ อ งกระตุ้ น ให้

รู้กันมากขึ้น จนเจ้าหน้าที่แทบจะไม่

ไปตามหน้าที่ ตามหนังสือสั่งการ แต่

ประชาชนเกิดการเรียนรู้ เกิดทักษะ

ต้องไปก้าวก่ายเลย ซึ่งแตกต่างจาก

ทุกคนทำ�งานด้วยจิตสำ�นึกที่เกิดขึ้น

และประสบการณ์ เมื่อเขาเข้มแข็งถึง

เมื่ อ ก่ อ นที่ จ ะต้ อ งมี ก ารขอร้ อ งหรื อ

มาโดยไม่รู้ตัว

จุดหนึ่งเขาก็จะรู้ว่าสิทธิเสรีภาพที่แท้

จ่ายเบี้ยเลี้ยงให้กับชาวบ้านที่มาเข้า

จากพลั ง ของพลเมื อ งนี้ เ องจะ

จริงของประชาชนคืออะไร ประชาชน

ร่วมประชุม แต่ทุกวันนี้พวกเขายินดี

เชื่ อ มโยงไปถึ ง แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ การ

มีศักยภาพในการจะใช้อำ�นาจแค่ไหน

มารวมตัวกัน เพราะมีความรู้สึกเป็น

คื น อำ � นาจสู่ ป ระชาชน ดิ ฉั น คิ ด ว่ า

อย่างไร ถ้าประชาชนรับรู้ในจุดนี้แล้ว

เจ้าของ

ป ร ะ ช า ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ ยั ง ไ ม่ รู้ ด้ ว ย

เราก็จะเชือ่ มัน่ ได้วา่ ประชาชนสามารถ

นั่ น เป็ น สิ่ ง ที่ ก ระตุ้ น ให้ เ ขาหั น

ซ้ำ � ว่ า อำ � นาจที่ ต นเองจะได้ รั บ คื อ

ที่จะใช้อำ�นาจที่ได้รับมาอย่างถูกต้อง

มาสนใจที่ จ ะมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรม

อะไร คนรากหญ้ า ไม่ ฝั ก ใฝ่ ที่ จ ะรั บ

เหมาะสม

ต่ า งๆ มากขึ้ น ดั ง นั้ น ความเป็ น

รู้ เหมือนได้อำ�นาจมาแล้วเขาก็ไม่รู้

พลเมื อ งเป็ น สิ่ ง จำ � เป็ น มากสำ � หรั บ

จะใช้ มั น อย่ า งไร นี่ คื อ สภาพจริ ง ที่


148

ชยภรณ ดีเอม ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการเพื่อการจัดการเครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง

ศูนย์ประสานงานภาคเหนือตอนล่างมีภารกิจสำ�คัญใน การสร้างจิตสำ�นึกให้เกิดขึ้นกับคนในพื้นที่ รวมทั้งนักวิชาการ และผู้บริหาร การส่ ง เสริ ม การเป็ น พลเมื อ งนั้ น ต้ อ งทำ � ควบคู่ กั บ การ สร้างการมีส่วนร่วม การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งในช่วงหลังๆ ที่ผ่านมา เราได้มีส่วนเข้าไปร่วมกับท้องถิ่นมากขึ้น เครือข่ายนักวิชาการของเราได้เข้าไป ช่วยเรื่องการส่งเสริมให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ตำ�บลแม่ข่ายไหนมีงาน แม่ข่ายอื่นๆ ก็จะเข้ามาร่วมด้วย ส่วนตำ�บลลูกข่ายที่กระจายตัวอยู่ในพื้นที่ภาค เหนือตอนล่างก็จะเข้าร่วมด้วยความเสียสละ กิจกรรมที่เป็นรูปธรรม อาทิ การเข้าไปพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในพื้นที่ต่างๆ ถ้าตำ�บล เอ เป็นแม่ข่าย ก็จะมีตำ�บล บี ซี และดี มาเข้าร่วม อย่างเช่นเมื่อครั้ง ที่เราเข้าไปในช่วงที่บางพื้นที่กำ�ลังประสบภัยพิบัติ เครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง ก็พร้อมใจกันเข้าช่วยเหลืออย่างมีจิตสำ�นึก ทั้งในเรื่องของงบประมาณ สิ่งของ และการลงแรงในการช่วยทำ�ความสะอาด เก็บกวาด ฟื้นฟูพื้นที่


149

พลเมืองสามารถเป็นใครก็ได้ เป็นตัวบุคคล เป็นกลุ่ม เป็นตำ�บล หรือเป็นคนเล็กคนน้อย ขอให้มีใจ มุ่งมั่นทำ�งานโดยไม่มุ่งแสวงผลประโยชน์ส่วนตน

การจะเป็นชุมชนเข้มแข็งได้นั้น แต่ละพื้นที่ก็มีองค์ประกอบแตกต่าง

มาเพื่อจะนำ�เสนออย่างเป็นรูปธรรม

ตัวบุคคลซึ่ง ยังมีทัศนคติว่าธุระไม่ใช่

ได้

บางกิจกรรมจึงไม่ได้รับความร่วมมือ

กันไป บางแห่งมีผู้นำ�เข้มแข็ง บางแห่ง

อี ก ส่ ว นคื อ งานสนั บ สนุ น งาน

ภาคประชาชนเข้มแข็ง ทั้งนี้ ทุกองค์

ของ สสส. สำ�นัก 3 เช่น การพัฒนา

ประกอบจะต้ อ งเดิ น ไปพร้ อ มๆ กั น

‘5 นัก’ คือ นักวิชาการ นักบริหาร นัก

อย่างไรก็ตาม ระยะต่อมาเมื่อ

บางแห่งผู้นำ�คิด แต่ผู้ปฏิบัติไม่ทำ�ตาม

จัดการ นักจัดการข้อมูล รวมถึงนัก

มีการทำ�งานที่เป็นรูปธรรมชัดเจนขึ้น

มันก็ไม่เกิดผล

สื่อสารชุมชน เพื่อให้เกิดการต่อยอด

พวกเขาจะไม่มองแค่ประโยชน์ที่จะได้

การทำ�งานของคนในพื้นที่ได้

รับกลับไป แต่เขายังได้มิตร ได้รับการ

ศูนย์สนับสนุนวิชาการระดับภาค

เพราะมองว่าเป็นเรือ่ งเสียเวลา ไม่เกิด ประโยชน์ต่อตัวเอง

ทุกแห่งจะทำ�หน้าที่เหมือนกันคือ เป็น

โดยส่ ว นตั ว เห็ น ว่ า พลเมื อ ง

ต่ อ ยอดความรู้ ทำ � ให้ เ รามี แ นวร่ ว ม

ตัวกลางในการประสานระหว่าง สสส.

สามารถเป็ น ใครก็ ไ ด้ เป็ น ตั ว บุ ค คล

มากขึ้น ถ้าให้ประเมินศักยภาพของ

กั บ พื้ น ที่ เ ครื อ ข่ า ย โดยมี กิ จ กรรมที่

เป็นกลุ่ม เป็นตำ�บล หรือเป็นคนเล็ก

ภาคเหนือตอนล่างในการไปสู่ชุมชน

ทำ � ร่ ว มกั น คื อ งานเชิ ง ประเด็ น การ

คนน้อ ย ขอให้ มี ใ จทำ �โดยไม่ ห วั ง ผล

เข้มแข็ง อาจเรียกได้ว่ามีความพร้อม

เรียนรู้ของเด็กและเยาวชน ทำ�หน้าที่

ตอบแทน ทำ�แล้วมีความสุข เอาพื้นที่

เกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ในทุกด้าน ทั้ง

สนั บ สนุ น ด้ า นวิ ช าการ สร้ า งกลไก

ของตนเองเป็นตัวตั้ง ส่วนข้อจำ�กัดนั้น

ในด้ า นความรู้ สึ ก เป็ น เจ้ า ของท้ อ งที่

ต่างๆ ให้งานในพื้นที่ได้ถูกขับเน้นขึ้น

ในระยะแรกๆ อาจจะติดขัดที่ระดับ

การพัฒนาคน และการมีส่วนร่วม


150

ทัศนีย์ วีระกันต์ ผู้จัดการแผนงานส่งเสริมการพัฒนาระบบ เพื่อสุขภาวะของเกษตรกรและความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม

คำ�ว่า ‘พลเมือง’ แฝงด้วยนัยยะของความรับผิดชอบ การ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน การพยายามทำ�หน้าที่ของตัวเองให้ดี ที่สุด ในโลกสมัยใหม่การสร้างความเป็นพลเมืองเป็นสิ่งสำ�คัญ เพราะนีค่ อื หน่วยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ของสังคม เพราะถ้าเราพูดถึงสังคม ประเทศ สังคมโลก มันกว้างเกินไป แต่หากเราเริ่มจากการสร้างพลเมืองให้เข้ม แข็งจะทำ�ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในชุมชนท้องถิ่นและสังคมได้ สังคมไทยในปัจจุบันต้องสร้างความเข้มแข็งในเรื่องอาหารและการเกษตร ไม่มีใครอยากกินข้าวบนน้ำ�ตาของชาวนาอีกต่อไป การทำ�ให้ราคาอาหารต่ำ� เพื่อแลกกับอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว มันก่อให้เกิดปัญหากับเกษตรกรมา นาน รวมถึงเกิดปัญหาต่อคุณภาพชีวิตของผู้บริโภค และโยงไปถึงความสัมพันธ์ ระหว่างคนในสังคม ประเด็นของการสร้างอาหารปลอดภัย เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงกับความเป็น พลเมืองในหลายมิติ เพราะอาหารปลอดภัยเกีย่ วพันตัง้ แต่ในระดับชุมชนเอง เริม่ ตั้งแต่การทำ�เกษตรกรรมแบบยั่งยืน ไม่ใช้สารเคมี ทำ�อย่างไรให้การเกษตรไม่ไป


151

พลังพลเมืองเป็นสิ่งที่เกิดจากคนทุกคน เราต้องสร้างความเปลี่ยนแปลง ต้องการคิดถึงส่วนรวมในสังคม สิ่งที่เราทำ�ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อผู้อื่นในทางร้าย เป็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้าง เพื่อให้เกิดสังคมที่เป็นธรรม

กระทบกับสิ่งแวดล้อม ทำ�อย่างไรให้

เรื่อ งราคาที่ เ ป็ นธรรมก็ เ ช่ นกั น

ว่าการทำ�เกษตรไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องมี

คนด้ อ ยโอกาส คนที่ มี ฐ านะยากจน

ไม่ เ พี ย งแต่ จ ะต้ อ งเป็ น ธรรมกั บ ตั ว

ต้นทุน เกษตรกรต้องการคุณภาพชีวิต

สามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยเหล่า

เกษตรกรแล้ว ยังหมายรวมถึงคนยาก

ที่ดีเหมือนๆ กับทุกคนในสังคม และ

นั้นด้วย นี่คือสิ่งที่ผูกโยงกับความเป็น

คนจนด้วย คนเข้าถึงอาหารได้น้อยลง

ตัวเกษตรกรเองก็ต้องเข้าใจว่า อาหาร

พลเมือง ฉะนั้นทุกคนต้องตระหนัก

เรามีตัวเลขผู้ขาดสารอาหารกว่า 10

นั้นสำ�คัญต่อสุขภาพของผู้บริโภคด้วย

ในหน้าที่ ไม่คดิ แต่จะผลิตอาหารเพียง

ล้านคน และตัวเลขนี้ก็สูงขึ้นทุกปี

อย่างเดียว โดยไม่คำ�นึงถึงด้านอื่นๆ

ในการเปลี่ยนแปลงสิ่งหนึ่งสิ่งใด

สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ สุ ด คื อ การสร้ า ง

นั้น เราต้องการความร่วมมือจากทุก

จิต สำ� นึก ให้ทุก คนตระหนั กว่ า พลั ง

ฝ่าย งานทุกงานไม่สามารถทำ�เพียง

ถ้าเกษตรกรไม่สนใจผูบ้ ริโภค ใส่

พลเมื อ งเป็ น สิ่ ง ที่ เ กิ ด จากคนทุ ก

ลำ�พังได้ ต้องมีความรู้และองค์ความ

สารเคมีเท่าไหร่ก็ได้เพื่อให้ได้ผลผลิต

คน เราต้องสร้างความเปลี่ยนแปลง

รู้จากภายนอกที่จะเข้ามาหนุนเสริม

ปริมาณมากๆ โดยไม่สนใจเรื่องพิษ

ต้ อ งการคิ ด ถึ ง ส่ ว นรวมในสั ง คม สิ่ ง

คนในชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ถามว่ า ตลาดสี

ภั ยที่ จ ะตามมา แต่ คำ � นึงถึงปริมาณ

ที่เราทำ�ต้องไม่ส่งผลกระทบต่อผู้อื่น

เขียวจำ�เป็นไหม กองทุนต่างๆ จำ�เป็น

ผลผลิตและราคาที่สูงเท่านั้น ถ้าคิด

ในทางร้าย เป็นการเปลี่ยนแปลงใน

ไหม ทำ�อย่างไรให้คนที่ไร้ที่ดินทำ�กิน

เช่นนี้ก็จะเกิดผลกระทบต่อผู้บริโภค

เชิงโครงสร้าง เพื่อให้เกิดสังคมที่เป็น

สามารถเข้าไปใช้ที่สาธารณะเพื่อปลูก

ทั้ ง สั ง คม ฉะนั้ น เราจึ ง จำ � เป็ น ต้ อ งมี

ธรรม

สร้างผลผลิตได้ เรื่องเหล่านี้คือสิ่งที่

ไม่คิดเรื่องความเป็นธรรม

การเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้าง เรา

ภารกิ จ เร่ ง ด่ ว นในวั น นี้ คื อ ทำ �

ต้องตระหนักว่า ลูกหลานเราจะกิน

อย่ า งไรให้ ผู้ ค นเข้ า ใจถึ ง ปั ญ หาใน

อะไร ทุกอย่างมันมีนัยยะแฝงอยู่

ท้องถิ่นที่ตัวเองอยู่ ให้ผู้บริโภคเข้าใจ

เราต้องพิจารณาให้ดี


152

ขนิษฐา นันทบุตร ผู้อำ�นวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ศวช.) คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ในฐานะนักวิชาการ เราทำ�งานที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นอยู่ 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นการให้ชุมชนได้เรียนรู้เรื่อง ทุนทางสังคมและศักยภาพของตนและท้องถิ่น หรือการศึกษา เชิงชาติพันธุ์วรรณา เมื่อเราทำ�งานเรื่องชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง ถ้าเราสามารถช่วยให้พวกเขารู้ว่าพื้นที่ของตัวเองนั้นมีศักยภาพอะไรบ้างก็จะ ทำ�ให้งานสัมฤทธิ์ผลได้ง่าย รวมถึงมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้นเรื่อยๆ เหมือนเป็นการ ทวีคูณศักยภาพให้มากขึ้น ซึ่งต่างจากการลงไปให้ความช่วยเหลืออย่างเดียว แบบนั้นจะไม่ได้ผลเท่าที่ควร หลังจากนั้นคนในชุมชนจะต้องลงมือทำ�เอง เรียนรู้เอง ต้องค้นหาว่ามีคนดี คนเก่งอยู่ที่ไหน เรียนรู้ว่ากลุ่มต่างๆ ในพื้นที่ทำ�กิจกรรมใด ประเด็นใด ทำ�แล้ว เกิดผลด้านบวกกับสมาชิกอย่างไร หรือเกิดผลดีต่อชาวบ้านคนอื่นๆ อย่างไร ท้ายที่สุดถ้าเกิดประโยชน์ต่อชาวบ้านก็จะเกิดผลดีต่อชุมชนด้วย ทั้งหมดนี้จะ เป็นเครื่องมือที่ช่วยตอบโจทย์ได้ว่า ท้องถิ่นจะสามารถทำ�งานกับกลุ่มบุคคล เหล่านี้อย่างไร


153

ทำ�ไมชุมชนท้องถิ่นจึงต้องทำ�วิจัยชุมชนด้วยตนเอง คำ�ตอบง่ายๆ คือ คนนอกพื้นที่จะไม่รู้ถึงปัญหาในชุมชน ไม่เข้าใจปัญหาของคุณได้ดีเท่าตัวคุณเอง

อี ก ส่ ว นหนึ่ ง คื อ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้

ท้องถิ่นจึงต้องทำ�เอง คำ�ตอบง่ายๆ

ซึ่งวัตถุดิบก็นำ�มาจากข้อมูลที่ได้จาก

สำ�หรับสร้างกระบวนการเรียนรูป้ ญ ั หา

คือ คนนอกพื้นที่จะไม่รู้ถึงปัญหาใน

เครื่องมือดังกล่าวนั้นเอง ซึ่งจะเป็น

ของตนเอง โดยเราจะเข้าไปดูข้อมูล

ชุมชน ไม่เข้าใจ เราจึงต้องผลักดันให้

ตั ว ช่ ว ยให้ นั ก วิ ช าการทำ � งานง่ า ยขึ้ น

ตัง้ แต่ระดับบุคคล ครัวเรือน กลุม่ และ

เกิดเครือ่ งมือ 2 อย่างนี้ คือ กระตุน้ ให้

เพราะอยู่ๆ จะให้ลงมือทำ�เลยไม่ได้

ชุมชนทั้งหมด ดูว่าสถานะของชุมชน

ชาวบ้านรู้ปัญหาตนเอง และเกิดการ

ต้องมีแนวทางให้ก่อน

เป็นอย่างไร มีปัญหาอะไร ประชากร

เรียนรู้วิธีแก้ปัญหา

มีกี่กลุ่ม ปัญหาที่เกิดแต่ละกลุ่มเป็น

องค์ความรู้ทางวิชาการเหล่านี้

สำ�หรับนักวิชาการเรามีการสร้าง

จะช่วยให้เกิดการสร้างพลังพลเมือง

เครือข่ายเชื่อมร้อยกัน เพราะเราเชื่อ

สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ในพื้นที่ของ

เมื่อเรานำ�ส่วนนี้ไปเชื่อมกับส่วน

ว่านักวิชาการสามารถเข้าไปช่วยจัด

ตัวเองได้ ทำ�ให้ชาวบ้านเรียนรู้ปัญหา

แรกก็จะทำ�ให้เรามองเห็นปัญหาและ

วางระบบเก็ บ ข้ อ มู ล ช่ ว ยออกแบบ

และแก้ไขกันเอง พึ่งตนเองได้มากขึ้น

ทางแก้ เช่น หมู่บ้านเรามีผู้สูงอายุอยู่

กระบวนการเรียนรู้ และช่วยประเมิน

ฉะนัน้ ความเป็นพลเมืองก็คอื เมือ่ เห็น

2,000 คน ในจำ�นวนนี้เจ็บป่วยอยู่

ทิ ศ ทางว่ า สิ่ ง ที่ ทำ � นั้ น ใช้ ง านได้ จ ริ ง

ปัญหาจะต้องตระหนักได้ว่า ปัญหา

กับบ้าน 200 คน แล้วจะส่งใครไปช่วย

หรือไม่

เป็ น ของเราทุ ก คน เมื่ อ เห็ น ทุ น ทาง

อย่างไรบ้าง

ดูแลได้บ้าง กลุ่มอาสาสมัคร ชมรมผู้

ที่ ผ่ า นมาเราได้ จั ด ทำ � คู่ มื อ ขึ้ น

สังคมก็จะรู้ว่า เราสามารถทำ�สิ่งใดได้

สูงอายุ หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุข

มาสำ�หรับนักวิชาการ อาทิ คู่มือนัก

บ้าง ภายใต้หลักพื้นฐานคือชุมชนต้อง

ภาพตำ � บล คนพวกนี้ จ ะไปช่ ว ยกั น

วิ ช าการชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น คู่ มื อ พั ฒ นา

พึ่งตนเองให้ได้มากที่สุด

อย่างไร เป็นต้น

โครงการ คู่มือการทำ�วิจัย คู่มือการทำ�

คำ � ถามต่ อ มาคื อ ทำ � ไมชุ ม ชน

หลักสูตร รวมประมาณ 6-7 ชุดคู่มือ


154

การตระหนักในความเป็นพลเมืองที่ดีก็คือ

ก้าน กุณะวงษ์

ทำ�อย่างไรให้คนในชุมชนท้องถิ่น

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลนาอ้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเลย

รู้ร้อน รู้หนาว รู้ปัญหาของตนเอง มีส่วนร่วมใน การคิดและหาแนวทางแก้ไขปัญหา จะดูดายไม่ได้ ที่สำ�คัญคือต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความเกรงกลัวต่อความชั่วหรือสิ่งที่ไม่ดีงาม อย่าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น ในชุมชมท้องถิ่นของเรา

ตำ � บลนาอ้ อ ของเราเป็ น ชุ ม ชนเก่ า แก่ ก ว่ า 450 ปี มี ขนบธรรมเนียมประเพณีทป่ี ฏิบตั สิ บื ต่อกันมาเนิน่ นาน หล่อหลอม ให้ทกุ คนเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ฉะนัน้ ชุมชนของเราจึงมีความ กลมเกลียวเหนียวแน่น มีความเอือ้ อาทรต่อกัน พึง่ พาอาศัยกัน ได้ นี่คือจุดแข็งเรา สิ่งที่เทศบาลตำ�บลนาอ้อมุ่งมั่นก็คือ ทำ�อย่างไรที่จะรักษาจุดแข็งของเรา ให้คงอยู่และสืบสานต่อไปยังคนรุ่นหลังได้ เราจึงกำ�หนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า ชาว เทศบาลตำ�บลนาอ้อจะต้องตระหนักในความเป็นพลเมืองทีด่ ี มีขดี ความสามารถ มีสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ การตระหนั ก ในความเป็ น พลเมื อ งที่ ดี ก็ คื อ ทำ � อย่ า งไรให้ ค นในชุ ม ชน ท้องถิ่นของเรารู้ร้อน รู้หนาว รู้ปัญหาของตนเอง ทุกคนต้องรับรู้ร่วมกันและช่วย กันสะท้อนปัญหา จากนั้นต้องมีส่วนร่วมในการคิดและหาแนวทางแก้ไขปัญหา จะดูดายไม่ได้ เพราะเราอยูร่ ว่ มกัน นอกจากนีต้ อ้ งมีจติ สาธารณะทีจ่ ะทำ�เพือ่ ผูอ้ น่ื ที่ สำ � คั ญ คื อ ต้ อ งมี ค วามซื่ อ สั ต ย์ สุ จริ ต โดยเฉพาะเรื่ อ งการบริ ห ารเงิ น


155

งบประมาณต้ อ งให้ ทุ ก คนรั บ รู้ แ ละ

และท้ายที่สุดต้องสามารถปฏิสัมพันธ์

กระจายงบประมาณมั ก เป็ น ไปตาม

ร่วมกันรับผิดชอบ ทุกคนต้องมีความ

กับองค์กรภายนอก สามารถประสาน

ความต้องการของผู้มีอำ�นาจ นั่นก็คือ

เกรงกลัวต่อความชั่วหรือสิ่งที่ไม่ดีงาม

กับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องได้

ส.ส. ซึ่งเกี่ยวพันกับเรื่องฐานคะแนน

อย่าปล่อยให้สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในชุม

หากทุ ก คนตระหนั ก ในความ

เสี ย ง ก่ อ ให้ ไ ม่ เ กิ ด ความเป็ น ธรรม

ชมท้องถิ่นของเรา และสุดท้ายคือต้อง

เป็นพลเมืองที่ดี รู้จักพัฒนาขีดความ

ในแต่ ล ะพื้ นที่ หรื อบางพื้ นที่ อาจได้

ส่งเสริมคนดี

สามารถ สังคมของเราย่อมจะเติบโต

เพียงเศษเสี้ยวของงบประมาณที่ลงมา

ในการทำ � งานของเราจะเปิ ด

ไปในทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น แน่ น อน และจะ

นี่คือจุดอ่อนอย่างหนึ่งของการบริหาร

โอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามีส่วนร่วม มี

นำ�ไปสู่สังคมสุขภาวะที่ทุกคนมีความ

บ้ า นเมื อ ง แต่ ห ากมี ก ารกระจาย

การตั้งคณะกรรมการชุมชน ชุมชนละ

สุขร่วมกัน

งบประมาณไปยั ง ท้ อ งถิ่ น โดยตรง

10 คน และมีตัวแทนจากกลุ่มองค์กร

กล่ า วโดยหลั ก การแล้ ว แผน

และเปิ ด โอกาสให้ พี่ น้ อ งประชาชน

ต่ า งๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น สภาผู้ นำ � องค์ ก ร

ปฏิ บั ติ ง านของเทศบาลต้ อ งขึ้ น เกิ ด

ร่ ว มบริ ห ารจั ด การตนเองย่ อ มเกิ ด

ชุ ม ชน กลุ่ ม ชมรมต่ า งๆ และกำ � นั น

จากความร่ ว มมื อ ของ 3 ภาคส่ ว น

ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง กว่ า เพราะชุ ม ชน

ผู้ใหญ่บ้าน โดยจัดประชุมร่วมกันทุก

ส่ ว นหนึ่ ง มาจากการประชาคมกั บ

ท้ อ งถิ่ น ย่ อ มรู้ ดี ว่ า ความต้ อ งการที่

เดื อ นในนามของคณะอนุ ก รรมการ

พี่น้องประชาชนเพื่อจัดทำ�แผนแม่บท

แท้จริงของตนเองคืออะไร

การพัฒนาเทศบาล เพื่อที่จะกำ�หนด

ชุ ม ชน โดยยึ ด ความต้ อ งการของ

ถ้ า ภาครั ฐ ไม่ ห วงอำ � นาจไว้ กั บ

ลำ�ดับความสำ�คัญเร่งด่วนของปัญหา

ประชาชนเป็นหลัก อีกส่วนหนึ่งเป็น

ตนเอง ความเปลี่ ย นแปลงจะเกิ ด

บทบาทของเทศบาลจะ

แนวนโยบายของฝ่ายบริหารที่ให้ไว้กับ

ขึ้ น ได้ โ ดยธรรมชาติ ทุ ก วั น นี้ พี่ น้ อ ง

สนั บ สนุ น ให้ พี่ น้ อ งประชาชนพั ฒนา

ประชาชนก่อนจะเข้ามารับตำ�แหน่ง

ประชาชนตื่ น ตั ว ขึ้ น มากและมี ค วาม

ขีดความสามารถ รู้จักคิด ริเริ่ม และ

และอีกส่วนคือการผนวกเข้ากับแนว

รู้ สึ ก ถึ ง ความเป็ น เจ้ า ของประเทศ

แบ่ ง ปั น ความรู้ กั น เพราะความคิ ด

นโยบายระดับจังหวัดและระดับชาติ

ร่วมกัน ฉะนั้นทิศทางการพัฒนาใน

แต่ ล ะคนย่ อ มไม่ เ หมื อ นกั น ไม่ ค วร

ซึ่งต้องสอดคล้องในทิศทางเดียวกัน

อนาคตต้องเริ่มจากฐานรากคือชุมชน

มี ใ ครผู ก ขาดความคิ ด นอกจากคิ ด

อย่ า งไรก็ ดี อุ ป สรรคของการ

ท้องถิ่น หากทุกคนตระหนัก มีส่วน

เป็ น ก็ ต้ อ งทำ � เป็ น ด้ ว ย โดยอาศั ย

พัฒนาชุมชนท้องถิ่นคือ ความจริงใจ

ร่วม และลงมือทำ�จริงๆ ประเทศไทย

กระบวนการทำ � งานแบบกลุ่ ม เพื่ อ

ของภาครัฐในการกระจายอำ�นาจและ

จะก้ า วหน้ า ไปไกลและสั ง คมจะอยู่

ฝึ ก ฝนทั ก ษะให้ ชุ ม ชนจั ด การตนเอง

งบประมาณ เนื่องจากที่ผ่านมาการ

ร่วมกันได้อย่างมีความสุข


156

เนตรชนก ภาคำ�

รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลนาอ้อ อำ�เภอเมือง จังหวัดเลย

ผูเ้ ป็นพลเมือง คือผูท้ มี่ คี วามรับผิดชอบ อย่างน้อยต้องรับ ผิดชอบต่อตนเอง และต้องเผื่อแผ่ไปถึงคนอื่นด้วย นั่นคือต้อง มีความรับผิดชอบต่อสังคม เพราะหากเราอยู่ในสังคมที่ทุกคน ขาดความรับผิดชอบ คงเป็นสังคมแบบตัวใครตัวมัน เมื่ อ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบแล้ ว ก็ ต้ อ งเป็ น พลเมื อ งที่ ส นั บ สนุ น คนดี ด้ ว ย หมายความว่า ถึงแม้จะมีความรับผิดชอบมากขนาดไหน แต่ถ้าไปอยู่กับคนไม่ดี หรือสนับสนุนคนไม่ดี ก็จะทำ�ให้สังคมเราไม่น่าอยู่ ชุมชนท้องถิ่นอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆ แต่ถ้าจะไปให้ถึงปลายทางจะต้องทำ� ควบคูไ่ ปกับนโยบายระดับมหภาคจึงจะเดินหน้าไปได้อย่างเข้มแข็ง ถ้าประชาชน ลงมือทำ�เพียงฝ่ายเดียว โดยทีห่ น่วยงานอืน่ ไม่ขานรับ ไม่ตอบสนอง กิจกรรมนัน้ ก็จะไปได้ไม่ไกล ดังนั้นต้องอาศัยพลังจากทุกเครือข่ายขับเคลื่อนไปพร้อมๆ กัน การดึงภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม ต้องเริ่มต้นจากร่วมคิด ร่วมกัน กำ�หนดทิศทาง จากนัน้ จึงช่วยกันทำ� ช่วยออกแบบ ให้ทกุ คนรูส้ กึ ร่วมเป็นเจ้าของ ความคิด เมื่องานสำ�เร็จก็จะเกิดความภาคภูมิใจ และหากไม่สำ�เร็จ ทุกคนก็ต้อง


157

ถ้าทุกสังคมมีพลังของพลเมืองเป็นพื้นฐาน สังคมนั้นจะเกิดความเปลี่ยนแปลง โดยอัตโนมัติ เมื่อก่อนเรื่องนี้คงเป็นแค่จินตนาการ แต่จินตนาการจะเป็นจริงได้ ถ้าเราทุกคนช่วยกันทำ� หากทุกที่ทุกแห่งช่วยกันทำ� ในไม่ช้าจะกลายเป็นพลังอันยิ่งใหญ่

ร่วมรับผิดชอบ นั่นคือกระบวนการมี

กระทั่งต้องออกแสวงหาความรู้ด้วย

จินตนาการจะเป็นจริงได้ถ้าเราทุกคน

ส่วนร่วมในทุกขั้นตอน

ตนเอง แต่ ทุ ก วั น นี้ ผู้ นำ � ประเมิ น คน

ช่วยกันทำ� หากทุกทีท่ กุ แห่งช่วยกันทำ�

ใ น อ ดี ต นั้ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร

รากหญ้าต่ำ�ไป เพราะคนรากหญ้าคือ

ในไม่ช้าจะกลายเป็นพลังอันยิ่งใหญ่

ของประชาชนในพื้ น ที่ มั ก เป็ น เรื่ อ ง

คนส่วนใหญ่ของประเทศ ถ้าผู้นำ�มอง

หากเราเลือกคนที่ดี ส่งเสริมคน

โครงสร้างพื้นฐาน แต่ระยะหลังความ

ว่ า พวกเขาเป็ น คนด้ อ ยโอกาส เป็ น

ดี มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเองและ

ต้ อ งการของประชาชนก็ เ ปลี่ ย นไป

ผู้ มี ก ารศึ ก ษาน้ อ ย จะปฏิ บั ติ ต่ อ เขา

สั ง คม ให้ เ ข้ า มาทำ � งาน จะช่ ว ยให้

ตามสภาพสังคม ประชาชนต้องการ

อย่างไรก็ได้ นัน่ หมายถึงกำ�ลังดูถกู เขา

งานนั้นบรรลุผลได้ เช่นเดียวกับงาน

การฝึกอาชีพและการพัฒนาคุณภาพ

ตั้งแต่เริ่มแรก ฉะนั้น ตัวของผู้นำ�เอง

พัฒนาชุมชนท้องถิ่น ทุกพื้นที่ตำ�บล

ชีวิตมากขึ้น

จะต้องเปลี่ยนมุมมองวิธีคิด ต้องให้

ควรแข่ ง กั น ทำ � ความดี แ ละพั ฒนาให้

ความสำ�คัญกับชุมชนท้องถิ่นมากกว่า

เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ สิ่งนี้จะเป็น

ที่เป็นอยู่

พลังสร้างสรรค์ได้ ลองนึกภาพว่าถ้า

ความต้ อ งการที่ เ ปลี่ ย นไปเช่ น นี้ สะท้อนได้ว่าประชาชนมีความรับ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเองมากขึ้ น ชาวบ้ า น

ถ้าทุกสังคมมีพลังของพลเมือง

ไม่ ไ ด้ ม องแค่ เ รื่ อ งโครงสร้ า งพื้ น ฐาน

เป็ น พื้ น ฐาน สั ง คมนั้ น จะเกิ ด ความ

แต่ เ ขาต้ อ งการพั ฒนาศั ก ยภาพของ

เปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติ เมื่อก่อน

ตน ต้องการโอกาส ต้องการความรู้

เรื่ อ งนี้ ค งเป็ น แค่ จิ น ตนาการ แต่

ทุกตำ�บลมีความสุขทุกพืน้ ที่ บ้านเมือง เราจะน่าอยู่ขนาดไหน


158

ทุกวันนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ฤทธิรงค์ ซองศิริ

ยังถูกกำ�หนดให้ปฏิบัติตามคำ�สั่ง

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลเหล่าใหญ่ อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

จากเบื้องบน ทำ�ให้ไม่มีอิสระ ในการบริหารจัดการตนเอง เช่นเดียว กับงบประมาณที่ลงมาก็มักกระจุกอยู่ที่ใด ที่หนึ่ง ซึ่งก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม หากรัฐมีความจริงใจก็ต้องกระจายอำ�นาจ ให้ได้ตามที่กฎหมายกำ�หนด

เทศบาลตำ � บลเหล่ า ใหญ่ ขั บ เคลื่ อ นงานพั ฒ นาชุ ม ชน ท้องถิ่นโดยคำ�นึงถึงหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน เพราะ เรามีบทเรียนแล้วว่าการที่ท้องถิ่นจะดำ�เนินการเรื่องใด ถ้าไม่มี ความร่วมมือของชุมชนแล้ว ความสำ�เร็จก็จะเกิดขึ้นได้ยาก หรือไม่เกิดความยั่งยืน การที่เรามีโอกาสได้เข้าร่วมเครือข่ายตำ�บลสุขภาวะ มีส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้ เกิดความร่วมมือร่วมใจกันของคนในชุมชนในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ เขามีอยูก่ อ่ นแล้วให้มคี วามสัมฤทธิผ์ ลมากยิง่ ขึน้ เพราะประชาชนเข้าใจในบริบท หรือแนวทางในการพัฒนาตนเอง เทศบาลได้สนับสนุนให้ประชาชนพัฒนาความสามารถของตนเอง รวม ถึงอำ�นวยความสะดวกในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเงินทุนก็ดี เรื่องความรู้ ก็ดี วัสดุอุปกรณ์ก็ดี เราพยายามส่งเสริมสนับสนุนมาโดยตลอดเท่าที่สถานะ ด้านการเงินการคลังขององค์กรปกครองท้องถิ่นจะเอื้ออำ�นวย แต่จะสำ�เร็จตาม วัตถุประสงค์มากน้อยแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับความพร้อมของคนในชุมชนนั้นเอง


159

ผมคิ ด ว่ า ประชาชนทุ ก วั น นี้

ประสบความสำ�เร็จด้วยตนเอง เพราะ

รั ฐ บาลกลางมิ ไ ด้ ใ ห้ อำ � นาจในการ

สามารถที่จะคิดเป็น ทำ�เป็น มีความ

สิ่งนี้จะทำ�ให้เขาเกิดความภาคภูมิใจที่

บริหารจัดการท้องถิ่นอย่างที่บัญญัติ

เข้าใจและมีความรู้มากขึ้น เพราะเขา

ได้ลงมือทำ�

ไว้กฎหมาย

ได้เปิดประสบการณ์ใหม่ๆ จากการ

ผมต้องขอย้ำ�อีกครั้งว่า บทบาท

ทุ ก วั น นี้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว น

แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากตำ�บลอื่นๆ ซึ่ง

ของเทศบาลตำ�บลเหล่าใหญ่เป็นเพียง

ท้ อ งถิ่ น ยั ง ถู ก กำ � หนดให้ ป ฏิ บั ติ ต าม

หลายเรื่ อ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ วิ ถี ชี วิ ต ของ

ผู้อยู่เบื้องหลังความสำ�เร็จ คอยช่วย

คำ � สั่ ง จากเบื้ อ งบน ทำ � ให้ ไ ม่ มี อิ ส ระ

เขาโดยตรง โดยเฉพาะชาวบ้านส่วน

เหลือประคับประคอง คอยให้ความ

ในการบริหารจัดการตนเองเท่าที่ควร

ใหญ่ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทุก

รู้ แ ละชี้ แ นะ แต่ ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น ผู้ ชี้ นำ � หรื อ

ส่งผลให้ไม่สามารถตอบสนองความ

คนต่ า งก็ ใ ห้ ค วามสนใจที่ จ ะเข้ า ร่ ว ม

กำ�หนดกฎเกณฑ์ให้เขาทำ�ในสิ่งที่เขา

ต้องการของพี่น้องประชาชนในพื้นที่

กิจกรรม เพื่อจะได้นำ�เอาความรู้นั้น

ไม่ได้เป็นผู้เสนอ ที่สำ�คัญความสำ�เร็จ

ได้ ขณะเดียวกัน งบประมาณที่ลงมา

มาพั ฒ นาผลผลิ ต และคุ ณ ภาพชี วิ ต

จะเกิดขึ้นได้ก็ขึ้นอยู่กับความเป็นปึก

ก็มักกระจุกอยู่ที่ใดที่หนึ่งซึ่งก่อให้เกิด

ความเป็นอยู่ของตนเองให้ดียิ่งขึ้น

แผ่นของประชาชนเอง

ความไม่เป็นธรรม

สิ่ ง ที่ เ ทศบาลตำ � บลเหล่ า ใหญ่

ผมเชื่ อ ว่ า ประชาชนทุ ก วั น นี้

หากรัฐมีความจริงใจที่จะพัฒนา

พยายามผลั ก ดั น คื อ ทำ � อย่ า งไรจึ ง

มี ศั ก ยภาพเพี ย งพอที่ จ ะขั บ เคลื่ อ น

สั ง คมตั้ ง แต่ ร ะดั บ ฐานราก จะต้ อ ง

จะเกิดกระบวนการพัฒนาคนให้เกิด

กิ จ กรรมของเขาให้ สำ � เร็ จ ลุ ล่ ว งตาม

กระจายอำ�นาจให้ได้ตามที่กฎหมาย

จิตสำ�นึกต่อสาธารณะ ทำ�อย่างไรจึง

วัตถุประสงค์ได้ เพียงแต่ ณ ปัจจุบัน

กำ � หนดอย่ า งจริ ง จั ง ทั้ ง อำ � นาจใน

จะเกิดจิตอาสาที่อยากเข้ามาร่วมทำ�

อาจมีปัญหาเรื่องปัจจัยสนับสนุน โดย

การบริ ห ารและงบประมาณ ซึ่ ง จะ

กิจกรรมเพื่อสังคม ทำ�อย่างไรให้ชาว

เฉพาะปัญหาเรื่องการกระจายอำ�นาจ

ทำ�ให้ท้องถิ่นบริหารจัดการได้ราบรื่น

บ้านเห็นความสำ�คัญในการมีส่วนร่วม

จากรั ฐ บาลกลางไปยั ง ท้ อ งถิ่ น ทุ ก

มากกว่าที่เป็นอยู่ เพราะท้องถิ่นรู้ว่า

โดยให้ เ ขารู้ สึ ก มี ค วามเป็ น เจ้ า ของ

วันนี้ยังไม่ใช่การกระจายอำ�นาจที่แท้

พี่น้องประชาชนต้องการอะไร

รู้ สึ ก สำ � นึ ก ในหน้ า ที่ ร่ ว มกั น รั บ ผิ ด

จริง ทั้งในระดับ อบจ. อบต. เทศบาล

ชอบ และขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ให้

ทุกพื้นที่ต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า


160

พรพรรณ แก้วคำ�ภา

ปลัดเทศบาลตำ�บลเหล่าใหญ่ อำ�เภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์

ตำ�บลเหล่าใหญ่มุ่งเน้นการบริหารจัดการด้วยหลักการมี ส่วนร่วมระหว่างชุมชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในตำ�บล ของเรามีแหล่งเรียนรู้ที่โดดเด่นที่สามารถเป็นแม่แบบให้กับ ตำ�บลอื่นๆ เข้ามาศึกษาเรียนรู้ได้ก็คือ โครงการไทยเหล่าใหญ่ ห่วงใยผู้ด้อ ยโอกาส ซึ่ ง โครงการนี้ เ กิ ด จากการที่ แ กนนำ �ชุ ม ชนและเทศบาล เห็ น พ้ อ งต้ อ งกั นว่ า ผู้ สู ง อายุ ผู้ ป่ ว ย และผู้ พิ ก าร เป็ น กลุ่ ม ที่ ยั ง ขาดผู้ ดู แ ล ขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการของรัฐ เราจึงจัดทำ�โครงการนีข้ นึ้ เพือ่ ช่วยเหลือผูท้ ี่ ประสบปัญหาเหล่านี้ เมือ่ แรกเริม่ เราได้รบั งบประมาณสนับสนุนจาก สสส. เป็นการเปิดโอกาสให้ คนในชุมชนได้เข้ามามีสว่ นช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน แสดงน้�ำ ใจต่อกัน ซึง่ ปัจจุบนั เป็น สิ่งที่หาได้ยากในสังคมไทย ฉะนั้นจึงต้องช่วยกันรื้อฟื้นความสามัคคีกลมเกลียว ในหมู่บ้านชุมชน และปลูกฝังแนวคิดให้คนในชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน มีตัวอย่างเล็กๆ ของครอบครัวหนึ่งที่มีพ่อตาบอด ส่วนลูกสาวป่วยเป็น จิตเวช ไม่สามารถดูแลกันเองได้ เมื่อเกิดโครงการนี้ขึ้นทำ�ให้มีจิตอาสาเข้าไป


161

ปัญหาชุมชนต้องแก้ไขด้วยคนในชุมชน โดยมีหน่วยงานภาครัฐและเทศบาล ร่วมให้การสนับสนุน จึงจะเกิดเป็นพลังชุมชนท้องถิ่นและเกิดประโยชน์ต่อประชาชน ส่วนรวม เพราะลำ�พังหน่วยงานท้องถิ่นเองอาจไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลยหากทุกคนไม่มี ‘ใจ’

ช่วยเหลือดูแลใกล้ชิดมากขึ้น รวมทั้ง

ตั ว อย่ า งเหล่ า นี้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น

ทีม อสม. และเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล

ว่า ปัญหาชุมชนต้องแก้ไขด้วยคนใน

ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันเข้าไปดูแล

ชุ ม ชน โดยมี ห น่ ว ยงานภาครั ฐ และ

เมื่อคนในชุมชนเกิดความตื่นตัว

เริ่มต้นจากการเยียวยาฟื้นฟูลูกสาว

เทศบาลร่ ว มให้ ก ารสนั บ สนุ น จึ ง

และตระหนักต่อปัญหาก็จะเกิดพลัง

จากอาการป่วยจิตเวชให้สามารถกลับ

จะเกิ ด เป็ น พลั ง ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และ

ที่ จ ะลุ ก ขึ้ น มาขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยตนเอง

มามี ชี วิ ต ในสั ง คมได้ ต ามปกติ และ

เกิดประโยชน์ต่อประชาชนส่วนรวม

จากเดิมหน่วยงานท้องถิน่ เป็นผูต้ ดั สิน

หลังจากนั้นเธอจึงสามารถช่วยเหลือ

เพราะลำ�พังหน่วยงานท้องถิ่นเองอาจ

ใจแทนประชาชนแทบทุกเรื่อง แต่ ณ

ดู แ ลพ่ อ ได้ ต่ อ ไป จนปั จ จุ บั น สภาพ

ไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง

วันนี้ประชาชนจะต้องลุกขึ้นมาคิดเอง

ความเป็ น อยู่ ข องครอบครัวเริ่มดีขึ้น มาก นอกจากนี้ยังมีอีกหลายกรณีที่ คนในชุมชนได้รว่ มมือกัน เช่น การช่วย

ไม่ ว่ า มาจากหน่ ว ยงานใดก็ ส ามารถ ทำ�งานร่วมกันได้

สิ่ ง เหล่ า นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ เ ลย

และลงมื อ ทำ � ด้ ว ยตนเอง การแก้ ไ ข

หากทุกคนไม่มี ‘ใจ’ ซึ่งจะทำ�ให้การ

ปัญหาต่างๆ จึงจะประสบผลสำ�เร็จ

ขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ของตำ�บล

ต้องยอมรับว่าทุกวันนี้แต่ละชุมชนมี

เหล่าใหญ่สามารถดำ�เนินไปได้ด้วยดี

ความเข้มแข็งในตัวเอง เพียงแต่เราจะ

เหลื อ ผู้ สู ง อายุ ที่ ถู ก ทอดทิ้ ง ไร้ ญ าติ

‘ใจ’ ในที่นี้คือ การมีจิตสำ�นึกต่อ

ขาดมิตร โดยมีชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียง

ชุมชน รับฟังความคิดเห็น ผู้อื่น และ

ไปเยี่ยมเยียนให้กำ�ลังใจซึ่งกันและกัน

เปิดกว้างให้ทุกคนได้เข้ามามีส่วนร่วม

เปิดใจและเปิดโอกาสให้แก่กันหรือไม่


162

ไพรวัลย์ โลมรัตน์

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดงอีจาน อำ�เภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรีรัมย์

ปัจจุบันในพื้นที่ อบต.ดงอีจาน มีแหล่งเรียนรู้ทั้งสิ้น 28 แห่ง ซึ่งจัดตั้งโดยชุมชน บริหารจัดการโดยชุมชน และเป็น รูปแบบของการทำ�งานแบบมีสว่ นร่วมของคนในพืน้ ทีเ่ อง ความ สำ�เร็จในการทำ�งานเกิดขึ้นได้ด้วยพลังของจิตอาสาที่มีความ ปรารถนาดีต่อบ้านเกิดเมืองนอนของตนเอง แม้วา่ ผมเองจะเพิง่ รับตำ�แหน่งนายก อบต. ดงอีจาน ได้เพียงไม่นาน แต่ผม ก็ตัดสินใจที่จะให้ตำ�บลของเราเข้าร่วมและสานต่อโครงการตำ�บลน่าอยู่ เพราะ เชื่อมั่นว่าโครงการดังกล่าวจะช่วยสร้างความสามัคคีให้กับคนในตำ�บล และลด ความขัดแย้งระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับประชาชน ซึ่งแต่เดิมนั้น มักเกิดความไม่เข้าใจกันระหว่างชาวบ้านกับการทำ�งานของ อบต. หากมีการประสานความร่วมมือระหว่างชุมชนกับท้องถิ่นมากขึ้น โดยเปิด โอกาสให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนในการบริหารจัดการตนเอง จะเป็นการลดภาระ แก่ อบต. ได้ เพราะประชาชนย่อมรู้ปัญหาของตนเองดีที่สุด อีกทั้งเป็นการสร้าง ประสบการณ์และการเรียนรูก้ ระบวนการทำ�งานอย่างเป็นระบบให้แก่ชาวบ้านเอง


163 ในฐานะนายก อบต. เมื่อเกิดปัญหาผมจะไม่นั่งทำ�งานในห้องแอร์ แต่จะใช้วิธีเดิน ไปถามชาวบ้าน ไม่ว่าจะเรื่องเล็กหรือเรื่องใหญ่ แต่ละเดือนๆ ผมจะออกไปพบปะพี่น้อง ประชาชนจนครบทั้ง 13 หมู่ เพื่อรับฟังเสียงของคนที่ทุกข์ร้อนจริงๆ โดยเอาปัญหาของชาวบ้านเป็นศูนย์กลาง

ในกระบวนการสร้างการมีส่วน

เป็ น ศู น ย์ ก ลาง เพื่ อจะได้ จั ด สรรงบ

ประสิทธิผลมากกว่าการที่เรากำ�หนด

ร่วมนั้น ทุกๆ 2 เดือน อบต. จะจัดให้

ประมาณไว้ ต อบสนองปั ญ หานั้ น ได้

นโยบายจากบนสู่ล่าง สิ่งนี้เองที่เรียก

มีการประชุมแบบบูรณาการ เริ่มจาก

อย่างตรงจุด

ว่าการกระจายอำ�นาจ

ทำ�ประชาคมในแต่ละหมู่บ้าน เพื่อให้

ตั ว ผมเองได้ รั บ ความไว้ ว างใจ

ขณะเดียวกัน การกระจายอำ�นาจ

แต่ละหมู่บ้านสะท้อนความต้องการ

จากประชาชนที่เลือกเข้ามาเป็นนายก

จากรัฐบาลกลางมาสู่ท้องถิ่นยังทำ�ได้

และเรียงลำ�ดับความสำ�คัญของปัญหา

อบต. ฉะนั้นการตัดสินใจใดๆ จึงต้อง

ไม่เต็มที่ งบประมาณยังติดค้างอยู่ที่

ไม่วา่ จะเป็นปัญหาเร่งด่วนเฉพาะหน้า

ยึดประโยชน์ประชาชนเป็นที่ตั้ง หาก

ระดับจังหวัด ทำ�ให้ท้องถิ่นไม่มีความ

ไปจนถึงการแก้ปัญหาระยะยาว

ท้ อ งถิ่ น เป็ น ผู้ ตั ด สิ น ใจเองทั้ ง หมด

คล่องตัวเท่าที่ควร จึงอยากเรียกร้อง

ในฐานะที่ ผ มเป็ น นายก อบต.

โดยที่ไม่สอบถามความต้องการของ

ว่าหากรัฐมีความจริงใจต่อปัญหานี้ก็

เมื่อเกิดปัญหาผมจะไม่นั่งทำ�งานใน

ประชาชนเลย การแก้ ปั ญ หาก็ จ ะ

ควรถ่ายโอนอำ�นาจและงบประมาณ

ห้องแอร์ แต่จะใช้วิธีเดินไปถามชาว

ไม่ ถู ก จุ ด งบประมาณที่ ทุ่ ม ลงไปก็

ให้ท้องถิ่นอย่างเต็มที่มากขึ้น

บ้าน ไม่ว่าจะเรื่องเล็กหรือเรื่องใหญ่

จะสู ญ เปล่ า ฉะนั้ น โครงการใดๆ

ผมเชื่อว่ า ถ้ า ทำ � ได้ เ ช่ น นี้ ต่ อ ไป

แค่ ไ หนก็ ต าม แต่ ล ะเดื อ นๆ ผมจะ

ก็ตามหากมีการพูดคุยทำ�ความเข้าใจ

ประชาชนจะสามารถตรวจสอบการใช้

ออกไปประชุมหมู่บ้าน ไปพบปะกับ

กั บ ประชาชนอย่ า งทั่ ว ถึ ง ก็ จ ะเกิ ด

งบประมาณได้งา่ ยยิง่ ขึน้ เพราะท้องถิน่

พีน่ อ้ งประชาชนจนครบทัง้ 13 หมู่ เพือ่

ประโยชน์ แ ละช่ ว ยลดความความ

อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด การใช้

รับฟังเสียงของคนทีท่ กุ ข์รอ้ นจริงๆ

ขัดแย้งลงได้

เงินแต่ละบาทแต่ละสตางค์ก็จะได้รับ

ผมมีหลักในการบริหารว่า ก่อน

ผลจากการรั บ ฟั ง เสี ย งสะท้ อน

ที่จะตัดสินใจทำ�โครงการใดๆ จะต้อง

ของประชาชน ทำ�ให้เราสามารถนำ�

สอบถามความเห็นจากชาวบ้านก่อน

มาแปรเป็ น แผนปฏิ บั ติ ข อง อบต.

เสมอ โดยเอาปั ญ หาของชาวบ้ า น

ได้ ม ากกว่ า 90 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ซึ่ ง มี

การตรวจสอบเข้มข้นยิ่งขึ้น การทุจริต โกงกินก็จะลดน้อยลง


164

ประจวบ เสงี่ยมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

ผูบ้ ริหารท้องถิน่ ทุกคนทีไ่ ด้รบั เลือกตัง้ หรืออาสาเข้ามาทำ� หน้าที่ตรงนี้ ล้วนมีความปรารถนาดีที่จะพัฒนาท้องถิ่นของตน ให้เข้มแข็ง คำ�ว่าเข้มแข็งมีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น ความ รู้และทักษะในการประกอบอาชีพ ซึ่งความสามารถของแต่ละ ชุมชนอาจมีไม่เท่ากัน ฉะนั้นหากผู้บริหารท้องถิ่นสามารถส่งเสริม ผลักดันให้ ประชาชนรู้จักพัฒนาตนเองขึ้นได้ก็จะยิ่งเป็นการเพิ่มความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน เพราะหน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่นคือการรับใช้พี่น้องประชาชนให้เขาสามารถ ขับเคลื่อนกิจกรรมของตนเองได้ ภารกิจพื้นฐานของผู้บริหารท้องถิ่นคือ การอำ�นวยความสะดวกในงาน บริการและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ให้เป็นไปตามข้อกำ�หนดของรัฐ นอกเหนือ จากนี้ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้บริหารแต่ละคนว่าจะมีความสามารถแค่ ไหนที่จะผลักดันนโยบายสาธารณะที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนโดยรวม สำ�หรับ อบต.บักได จะมุ่งเน้นให้ชุมชนอยู่ดีกินดี สังคมมีความสุข โดย พยายามเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ในการประกอบอาชี พ โดยเฉพาะในด้ า น


165

อบต. มีหน้าที่สนับสนุนองค์ความรู้และชี้ให้เขามองเห็นปัญหา เมื่อประชาชนเข้าใจ ปัญหาก็จะเกิดจิตสำ�นึก ที่สำ�คัญประชาชนต้องเป็นผู้นำ�ไปปฏิบัติและจัดการกันเอง เพราะถ้าหวังพึ่งพาหน่วยงานภาครัฐเพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้ผล ฉะนั้นจึงต้องปลูกฝังให้ประชาชนรู้จักพึ่งพาตนเอง

เกษตรกรรม เพื่อจะเพิ่มกำ�ไรและลด

พี่น้องประชาชน โดย อบต. มีหน้าที่

เป็ น แรงบั น ดาลใจให้ กั บ ชุ ม ชนอื่ น ๆ

ต้ น ทุ น การผลิ ต แต่ ส ภาวะปั จ จุ บั น

สนับสนุนองค์ความรู้และชี้ให้เขามอง

ต่อไป

ราคาผลผลิ ต ยั ง ไม่ ดี เ ท่ า ที่ ค วร สวน

เห็นปัญหา เมื่อประชาชนเข้าใจปัญหา

ทุ กวั น นี้ ท้ อ งถิ่ น ทำ � หน้ า ที่ เ พี ย ง

ทางกั บ ต้ น ทุ น การผลิ ต ค่ า แรง ค่ า

ก็จะเกิดจิตสำ�นึก ที่สำ�คัญประชาชน

กำ�กับดูแลและชี้แนะ ขณะที่ชาวบ้าน

ปุ๋ ย เคมี เราจึ ง พยายามสร้ า งความ

ต้ อ งเป็ น ผู้ นำ � ไปปฏิ บั ติ แ ละจั ด การ

เองก็ ตื่ น ตั ว กั น มากขึ้ น และพยายาม

รู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ยวกั บ การทำ � เกษตร

กันเอง เพราะถ้าหวังพึ่งพาหน่วยงาน

ปรับตัวเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

แบบยั่งยืน เช่น การใช้ปุ๋ยชีวภาพ การ

ภาครัฐเพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้ผล

ของสังคม ขณะเดียวกัน กลไกราชการ

แปลงขยะเป็นปุ๋ย จนเกิดเป็นโครงการ ฉะนั้นจึงต้องปลูกฝังให้ประชาชนรู้จัก

ก็ ต้ อ งปรั บ ตั ว ให้ ม ากกว่ า ที่ เ ป็ น อยู่

ธนาคารขยะ โดยให้ชาวบ้านมาร่วม

เพราะทุ ก วั น นี้ ท้ อ งถิ่ น ไม่ มี อำ � นาจ

พึ่งพาตนเอง

กลุ่ ม กั น และบริ ห ารจั ด การขยะด้ ว ย

ผ ม เ ชื่ อ มั่ นว่ า ถ้ า ขั บ เ ค ลื่ อ น

เป็นของตนเองเท่าที่ควร แม้ผู้บริหาร

ตนเอง สิ่ ง นี้ ทำ � ให้ เ กิ ด กระบวนการ

แนวคิ ด ในการพึ่ ง พาตนเองให้ ก ว้ า ง

ท้องถิ่นจะมาจากการเลือกตั้งโดยตรง

เรียนรู้และเกิดจิตสำ�นึกสาธารณะใน

ขวางออกไป ชุมชนก็จะน่าอยูน่ า่ อาศัย

ของคนในพื้นที่ แต่สุดท้ายอำ�นาจใน

การทำ�งานเพื่อชุมชน

แต่การเปลี่ยนแปลงต้องค่อยเป็นค่อย

การกำ�กับดูแลกลับรวมศูนย์อยู่ที่ส่วน

ปัจจัยที่จะทำ�ให้การขับเคลื่อน

ไปและใช้ เ วลาในการเรี ย นรู้ เมื่ อ มี

กลาง ทำ � ให้ ส ายการบั ง คั บ บั ญ ชามี

โครงการประสบความสำ�เร็จจำ�เป็น

ชุมชนหนึ่งเริ่มทดลองทำ�และประสบ

หลายขัน้ ตอนและเป็นอุปสรรคต่อการ

อย่างยิ่งที่ต้องได้รับความร่วมมือจาก

ความสำ � เร็ จ ก็ จ ะเกิ ด การซึ ม ซั บ และ

พัฒนาชุมชนท้องถิ่น


166

ว่าที่ร้อยตรีสิริพงษ์ ชูชื่นบุญ

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลบักได อำ�เภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์

การสร้างความเป็นพลเมืองในชุมชนตำ�บลบักได ท้องถิ่น ของเรามองว่าความเป็นพลเมืองต้องเริ่มต้นจากการมีจิตอาสา ที่จะเข้ามาทำ�งานให้กับหมู่บ้านตำ�บล คนที่มีจิตอาสาจะมี 2 ลักษณะ คือ จิตอาสาที่ไม่เป็นทางการ เช่น ในหมู่บ้านตำ�บลมี งานบุญงานประเพณี ชาวบ้านจะอาสามาช่วยงานคนละไม้ละมือ ซึ่งชาวตำ�บล บักไดส่วนใหญ่ล้วนมีจิตสำ�นึกเช่นนี้อยู่แล้ว อีกกลุ่มหนึ่งคือ จิตอาสาที่เป็นทางการ เป็นจิตอาสาที่มาจากการจัดตั้ง โดยภาครัฐ เช่น อสม. อปพร. หรืออาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ซึ่งอาสา สมัครเหล่านี้จะทำ�งานเฉพาะด้าน และบางครั้งก็อาจเป็นปัญหา เพราะเรามอง จิตอาสาแบบแยกส่วน ว่านี่คือภารกิจของ อสม. นี่ไม่ใช่ภารกิจของฉัน การจัดการระบบจิตอาสา ควรขยายให้งานอาสาครอบคลุมทุกมิติของชีวิต คนคนหนึ่งสามารถเป็นจิตอาสาในเรื่องใดก็ได้ โดยไม่เกี่ยงว่าจะอยู่ในขอบเขต หน้าที่ของตนหรือไม่ ซึ่งตำ�บลบักไดอาจยังไปไม่ถึงขั้นนั้น เรายังมองแบบแยก ส่วนว่า หากเป็น อสม. ก็ทำ�หน้าที่สาธารณสุขเพียงอย่างเดียว หากเป็น อปพร.


167

ที่ผ่านมาเราเคยชินกับคำ�ว่ากระจายอำ�นาจสู่ท้องถิ่น ในความหมายของการ ถ่ายโอนภารกิจจากกระทรวง ทบวง กรม มาให้ท้องถิ่น แต่กระบวนการที่เครือข่าย ตำ�บลสุขภาวะกำ�ลังขับเคลื่อนนั้น เรามุ่งที่จะกระจายอำ�นาจจากท้องถิ่นไปสู่ชุมชน เพื่อคืนอำ�นาจให้กับประชาชนอย่างแท้จริง

ก็ ต้ อ งดู แ ลความมั่ น คงปลอดภั ย อย่างเดียว

กระทบในระดับตำ�บลได้

สุ ข ภาวะทำ � ให้ เ รามี เ ครื่ อ งมื อ ในการ

กระบวนการที่ เ ครื อ ข่ า ยตำ � บล

จั ด เก็ บ ฐานข้ อ มู ล ชุ ม ชน ระบบจะ

ที่ ผ่ า นมาเราเคยชิ น กั บ คำ � ว่ า

สุขภาวะกำ�ลังขับเคลื่อนคือ การคืน

ประมวลผลให้ เ ห็ น ภาพระดั บ ตำ � บล

กระจายอำ�นาจสู่ท้องถิ่น ซึ่งในความ

อำ � นาจให้ ท้ อ งถิ่ น จั ด การตนเอง นี่

และหมู่บ้าน สิ่งสำ�คัญในการจัดฐาน

หมายของคนทั่ ว ไปคื อ การถ่ า ยโอน

คื อ การปฏิ รู ป ประเทศไทยที่ แ ท้ จ ริ ง

ข้อมูลนี้มีฐานคิดหลักคือ ชุมชนต้อง

อำ�นาจ ถ่ายโอนภารกิจจากกระทรวง

การให้ ชุ ม ชมจั ด การตนเองจะทำ � ให้

เป็น ผู้ทำ�เอง ใช้เอง และมีความเป็น

ทบวง กรม มาให้ท้องถิ่น คือ อบจ.

ชุมชนเข้มแข็ง อบต. และภาคราชการ

เจ้าของ

อบต. เทศบาล แต่กระบวนการที่เครือ

เป็นเพียงผู้หนุนเสริมในด้านวิชาการ

การที่ ชุ ม ชนเป็ น เจ้ า ของข้ อ มู ล

ข่ายตำ�บลสุขภาวะกำ�ลังขับเคลื่อนนั้น

ความรู้ แต่คนที่เป็นพระเอกตัวจริงคือ

ทำ�ให้ผู้นำ�ชุมชนสามารถเข้าถึงข้อมูล

เรามุ่งที่จะกระจายอำ�นาจจากท้องถิ่น

ชุมชน คือท้องที่ เพราะเขาอยูใ่ นพืน้ ที่

ได้ตลอดเวลา หากผู้ใหญ่บ้านเห็นว่า

ไปสู่ชุมชน เป็นการคืนอำ�นาจให้กับ

ข้ า ราชการต้ อ งลดบทบาทลงเหลื อ

ข้อมูลในหมู่บ้านไม่ถูกต้องก็สามารถ

ประชาชน

เพียงหนุนเสริม นี่คือการคืนอำ�นาจให้

ให้ ฝ่ า ยจั ด เก็ บ ไปตรวจสอบข้ อ มู ล

ท้องถิ่นจัดการตนเอง

ซึ่ ง จะเป็ น การสอบทานข้ อ มู ล อี ก ชั้ น

สิ่ ง ที่ เ ครื อ ข่ า ยตำ � บลสุ ข ภาวะ ลงมือทำ�อยู่ ณ ขณะนี้ เป็นงานที่เน้น

ถ้าทุกหมูบ่ า้ นจัดการตนเองได้ ก็

หนึ่ ง และยั ง สามารถนำ � ข้ อ มู ล นี้ ไ ป

ให้คนในชุมชนได้มีการรวมกลุ่มกันทำ�

จะยกระดับขึ้นไปสู่ตำ�บล สู่อำ�เภอ ใน

ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการทำ � งานได้ นี่ คื อ

กิจกรรมต่างๆ หนุนเสริมให้ประชาชน

ที่สุดก็เป็นจังหวัดที่จัดการตนเองได้

เครือ่ งมือทีโ่ ครงการเครือข่ายตำ�บลสุข

มีสำ�นึกใหม่ของการเป็นพลเมือง ให้

ทุกวันนี้ท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังไม่มี

เขาเห็นคุณค่าในสิ่งที่เขาทำ� แม้สิ่งที่

ฐานข้อ มูลของตั ว เอง ไม่ รู้ จั กตั ว เอง

เขาทำ�จะเป็นสิ่งเล็กน้อย แต่ก็ส่งผล

ซึง่ การเข้าร่วมโครงการเครือข่ายตำ�บล

ภาวะเข้ามาหนุนเสริมการทำ�งานของ ท้องถิ่นได้ดีมาก


168

สาคร พลซื่อ

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลบุ่งเลิศ อำ�เภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด

พื้นฐานของชาวตำ�บลบุ่งเลิศมีความรักความสามัคคีใน ชุมชน ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายท้องถิ่น ท้องที่ และฝ่ายข้าราชการ ทำ�ให้คนในชุมชนมีความพร้อมในการพัฒนาตนเองอย่างเป็น ระบบ จุดเด่นคือมีการรวมกลุ่มเป็นรูปธรรม เช่น กลุ่มทอผ้า กลุ่มอนุรักษ์วัฒนธรรมภูไท แต่จุดอ่อนคือความรู้และประสบการณ์อาจยังไม่ เพียงพอ ทางเทศบาลจึงพยายามหนุนเสริมให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการ เชิญนักวิชาการมาอบรมให้ความรู้และการไปศึกษาดูงานในตำ�บลอื่นๆ หลังจากมีโครงการตำ�บลสุขภาวะในพื้นที่ตำ�บลบุ่งเลิศ ทำ�ให้มีส่วนช่วย กระตุ้นให้คนในชุมชนหันมารวมกลุ่มอาชีพต่างๆ กันมากขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิต สร้างรายได้ และยืนด้วยตัวเอง ผลจากการรวมกลุ่มยังทำ�ให้เกิดอำ�นาจในการ ต่อรองกับหน่วยงานอื่นๆ ได้ดีกว่าการต่างคนต่างทำ� สะท้อนให้เห็นว่ายิ่งมีการ รวมตัวของพลังพลเมืองก็ยิ่งก่อให้เกิดพลังชุมชน ซึ่งเป็นแบบอย่างของความ เข้มแข็งในระดับฐานราก กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของตำ�บลบุ่งเลิศ เริ่มต้นจากบุคลากรที่


169 ในอดีตชาวบ้านมักต้องพึ่งพาอาศัยภาครัฐหรือหน่วยราชการ แต่ ณ ปัจจุบัน สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไปมาก พวกเขาพยายามรวมตัวกัน โดยไม่หวังพึ่งระบบ ราชการเพียงอย่างเดียว ฉะนั้นต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนได้คิดและลงมือทำ� ด้วยตัวเอง แม้จะสำ�เร็จบ้าง ล้มเหลวบ้าง แต่ก็ถือเป็นการเริ่มต้น

เป็น ผู้นำ�ชุมชนและเป็นศูนย์รวมจิตใจ

ภาคส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปราชญ์

ขาดเหลือประการใดทางเทศบาลก็จะ

ให้แก่ชาวบ้าน เช่น พระสงฆ์ ปราชญ์

ชาวบ้ า น ผู้ นำ � ชุ ม ชน กำ � นั น ผู้ ใ หญ่

จัดงบอุดหนุนให้อีกส่วนหนึ่งเพื่อให้

ชาวบ้าน ซึ่งสามารถที่จะหลอมรวม

บ้าน หมออนามัย โรงเรียน วัด เพือ่ ให้

กิจกรรมของชุมชนดำ�เนินไปได้อย่าง

คนในชุมชนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

ทุกฝ่ายรับรู้ปัญหาร่วมกัน และมาเข้า

ราบรื่น เช่น กองทุนวันละบาท ทาง

หากเอ่ยปากขอความร่วมมือในเรื่อง

ร่วมเป็นกรรมการวางแผนการพัฒนา

เทศบาลได้ตั้งงบประมาณช่วยเหลือ

ใด ชาวบ้านก็พร้อมทีจ่ ะอาสาออกแรง

ตำ�บลของเราไปพร้อมๆ กัน

ทุกปี ปีละ 50,000 บาท และอนาคต

ใ น ฐ า น ะ ที่ ผ ม เ ป็ น น า ย ก

กระบวนการรับฟังความคิดเห็น

จะเพิ่มเป็นปีละ 100,000 บาท เพื่อ

เทศมนตรี เห็ น ได้ ชัด ว่าคนในชุมชน

และการมี ส่ ว นร่ ว มถื อ เป็ น ขั้ น ตอน

เป็นขวัญกำ�ลังใจให้กับกลุ่มที่มีความ

ให้ ก ารตอบสนองกั บ หน่ ว ยงาน

สำ�คัญอย่างยิ่ง เพราะช่วยให้เทศบาล

ตั้งใจในการทำ�งาน

ราชการเป็นอย่างดี เพราะประชาชนมี

มองเห็นสภาพปัญหาที่แท้จริงชัดเจน

จะเห็ น ได้ ว่ า ในอดี ต ชาวบ้ า น

ความรู้สึกรักและหวงแหนชุมชนท้อง

มากขึ้น เมื่อทราบปัญหาทั้งหมดแล้ว

มักต้องพึ่งพาอาศัยภาครัฐหรือหน่วย

ถิ่น ไม่ว่าจะมีโครงการหรือกิจกรรม

จึ ง นำ � มาสู่ แ ผนปฏิ บั ติ เ พื่ อจั ด สรรงบ

ราชการ แต่ ณ ปัจจุบันสถานการณ์

ใด ประชาชนก็พร้อมที่จะร่วมมือและ

ประมาณรองรับ ทั้งแผนระยะ 3 ปี

เปลี่ยนแปลงไปมาก พวกเขาพยายาม

สามารถดำ�เนินการเองได้ ส่วนทาง

และ 5 ปี

รวมตั ว กั น โดยไม่ ห วั ง พึ่ ง ระบบ

เทศบาลจะคอยเป็ น พี่ เ ลี้ ย งอยู่ เ บื้ อ ง

ขณะเดี ย วกั น การรวมกลุ่ ม

ราชการเพียงอย่างเดียว ฉะนั้นต้อง

หลั ง รวมถึ ง ช่ ว ยประชาสั ม พั น ธ์ ส่ ง

ในแต่ ล ะชุ ม ชนก็ มี ค วามเป็ น อิ ส ระ

เปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนได้ คิ ด และ

เสริมให้เกิดการขยายความร่วมมือไป

ประชาชนสามารถกำ � หนดรู ป แบบ

ลงมือทำ�ด้วยตัวเอง แม้จะเป็นกลุ่ม

ยังพื้นที่ใกล้เคียง

การจั ด การด้ ว ยตนเอง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่

เล็กๆ สำ�เร็จบ้าง ล้มเหลวบ้าง แต่ก็

แนวทางการทำ�งานของเทศบาล

จะมีการจัดตั้งเงินกองทุนหมุนเวียน

ถือเป็นพลังของการเริ่มต้น ซึ่งผมเชื่อ

ก่อนทีจ่ ะกำ�หนดแผนนโยบายใดๆ จะ

ภายในกลุ่ ม พร้ อ มกั บ ตั้ ง กรรมการ

มั่นว่าสิ่งนี้จะนำ�มาซึ่งความภาคภูมิใจ

ต้องมีการระดมความเห็นจากตัวแทน

ขึ้ น มาช่ ว ยกั น ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบ หาก

ของชุมชนท้องถิ่น


170

แก้ว ยิ่งวงค์

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลป่าโมง อำ�เภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

ชีวิตของชาวตำ�บลป่าโมง หน้าฝนทำ�นา หน้าแล้งปลูก ผัก สภาพความเป็นอยู่เรียบง่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ มีพืชผักสวนครัว ไว้กินเองในครัวเรือน เมื่อถึงเวลาขัดสนก็แบ่งปันกันในชุมชน เป็นการพึ่งพาอาศัยแบบญาติพี่น้อง สิ่งนี้หล่อหลอมให้ตำ�บล ของเราเกิดความร่วมมือร่วมใจที่ดี เมือ่ ชาวบ้านเสร็จงานจากไร่นาก็จะมีเวลาว่างมารวมกลุม่ ทำ�กิจกรรมกัน มี ทั้งกลุ่มทอเสื่อกก สานตะกร้า ทอผ้าไหม เป็นรายได้เสริมเลี้ยงชีพ ซึ่งทาง อบต. ป่าโมง จะเข้าช่วยเหลือดูแลทุกกลุ่ม ทั้งให้ทุนสนับสนุน ให้ความรู้ทางวิชาการ เพื่อเพิ่มพูนทักษะในการประกอบอาชีพ เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ ทุกๆ เดือนจะมีบคุ ลากรของเทศบาลอออกไปตรวจเยีย่ มความคืบหน้าของ กิจกรรมแต่ละกลุ่ม และหาวิธีส่งเสริมให้ชาวบ้านเข้มแข็งยิ่งขึ้น หากมีกิจกรรม หรือโครงการใดทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ชุมชน อบต.ป่าโมง ก็พร้อมจะสนับสนุน หาก ขาดแคลนหรือต้องการความช่วยเหลือในด้านใดก็ประสานขอความช่วยเหลือมายัง อบต.ได้ โดยเราจะรับฟังเสียงเรียกร้องของพีน่ อ้ งประชาชนเพือ่ จะสนองให้ตรงจุด


171

อันที่จริงตำ�บลของเรายังมีคนอีกจำ�นวนมากที่พร้อมจะเข้ามาเป็นจิตอาสา แต่ขาดโอกาส ที่จะแสดงศักยภาพ หากมีผู้หยิบยื่นโอกาสนั้นให้ ผมเชื่อว่าเขาพร้อมที่จะทำ�ได้ทันที โดยท้องถิ่นสามารถปล่อยมือให้ชาวบ้านทำ�เองได้ เพียงแต่ต้องมีคนนำ�ทาง

ทุ ก เสี ย งของชาวบ้ า นมี ค วาม

ขั บ เคลื่ อ นงานของตำ � บลให้ ป ระสบ

เรายังมีคนอีกจำ�นวนมากที่พร้อมจะ

หมาย เสี ย งของประชาชนต้ อ งเป็ น

ความสำ � เร็ จ ลำ � พั ง เจ้ า หน้ า ที่ แ ละ

เข้ามาเป็นจิตอาสา แต่ขาดโอกาสที่

ใหญ่ ถ้าเดือดเนื้อร้อนใจ อบต.จะต้อง

บุคลากรของ อบต. คงไม่สามารถทำ�

จะแสดงศักยภาพ แต่หากมีผู้หยิบยื่น

ช่ ว ยปั ด เป่ า ความทุ ก ข์ ย ากนั้ น โดย

แทนชาวบ้านได้ทุกเรื่อง ฉะนั้นต้อง

โอกาสนั้นให้ ผมเชื่อว่าเขาพร้อมที่จะ

อาศัยกระบวนการประชาคมหมู่บ้าน

ให้เขาเป็น ผู้ลงมือทำ�เอง เมื่อประสบ

ทำ�ได้ทันที ซึ่งงานบางอย่างท้องถิ่น

และอี ก วิ ธี ก ารหนึ่ ง คื อ การชั ก ชวน

ความสำ�เร็จก็จะเกิดความภาคภูมิใจ

สามารถปล่อยมือให้ชาวบ้านทำ�เองได้

ให้ชาวบ้านเข้ามาร่วมแก้ปัญหาของ

จิ ต อาสาเหล่ า นี้ ถื อ เป็ น กำ � ลั ง

เขาเอง ส่งเสริมให้เขาจัดตั้งกลุ่ม ตั้ง

สำ � คั ญ ยิ่ ง มี ค นจำ � นวนมากก็ ยิ่ ง เกิ ด

สำ�หรับแนวทางในอนาคต ผม

คณะกรรมการในชุ ม ชนรั บ ผิ ด ชอบ

พลัง สิบหัวย่อมดีกว่าหัวเดียว และ

อยากมุ่ ง เน้ น ให้ แ ต่ ล ะกลุ่ ม ทำ � ในสิ่ ง

กันเอง บริหารจัดการกันเอง ขาดตก

พลั ง ของพลเมื อ งยั ง ช่ ว ยแบ่ ง เบา

ที่ ตั ว เองเชี่ ย วชาญ เช่ น กลุ่ ม ผู้ ป ลู ก

บกพร่องตรงไหนก็ขอให้บอก แต่หาก

ภารกิจของท้องถิน่ ลงไปได้มาก ณ วันนี้

ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ก็ ต้ อ งทำ � อย่ า ง

เกินขอบเขตอำ�นาจของ อบต. ทางเรา

ทุ ก คนเกิ ด ความตื่น ตั ว อยากมี ส่ว น

ชำ � นาญและมี ทั ก ษะ ส่ ว นกลุ่ ม ไหน

ก็จะเชื่อมประสานไปยังหน่วยงานที่

ร่ ว ม ทุ ก คนรู้ห น้ า ที่ข องตั ว เอง หาก

ถนัดเรื่องอะไรก็ต้องมุ่งมั่นทำ�สิ่งนั้น

เกี่ยวข้องได้

พบเห็นสิง่ ไหนทีข่ ดั หูขดั ตาก็มาช่วยกัน

ต่ อ ไปและพั ฒนาให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น แล้ ว วั น

แก้ไข เพราะอยากให้ชุมชนของตัวเอง

หนึ่งผลของความเพียรพยายามนั้นจะ

พัฒนา

ปรากฏให้เห็นเอง

หั ว ใจสำ � คั ญ คื อ เราพยายาม สร้ า งจิ ต อาสาให้ ม ากขึ้ น เพราะจิ ต อาสามีส่วนสำ�คัญอย่างมากที่จะช่วย

ในความเป็นจริงแล้ว ตำ�บลของ

เพียงแต่ต้องมีคนนำ�ทาง


172

ทัศน์พงศ์ ตนกลาย

มีข้อสังเกตว่า กลุ่มที่ภาครัฐเข้าไปจัดตั้ง ให้ส่วนใหญ่แล้วมักไปไม่รอด อยู่ได้แค่

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลทมอ อำ�เภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์

ชั่วครั้งชั่วคราว ต่างจากกลุ่มที่ชาวบ้าน จัดตั้งกันขึ้นมาเอง ส่วนใหญ่ค่อนข้างจะ ยั่งยืน เพราะเขามีความรู้ความเข้าใจ ในปัญหาของตนเอง ขณะที่ภาครัฐเอง อาจยังไม่รดู้ ว้ ยซ้�ำ ว่าคนในพืน้ ทีต่ อ้ งการอะไร

อาชีพหลักของชาวทมอคือเกษตรกรทำ�นา เราทำ�นาโดย พึ่งพาธรรมชาติอย่างเดียว ไม่มีระบบชลประทาน ถ้าปีไหนฝน ดี ชาวนาก็ได้ผลผลิตดี ถ้าปีไหนฝนฟ้าไม่เป็นใจ ผลผลิตที่ได้ก็ ไม่ดีไปด้วย ด้วยอาชีพหลักเราเป็นเกษตรกร เราจึงจำ�เป็นต้องมีการรวมตัวเป็นกลุ่ม เป้าหมายเพือ่ ให้พนี่ อ้ งเกษตรกรมีพลังต่อรอง โดยเฉพาะการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ต่างๆ รวมทั้งเพื่อหาหนทางสร้างอาชีพทางเลือก เพราะลำ�พังการทำ�นาอย่าง เดียว ไม่อาจจะช่วยให้ความเป็นอยู่หรือคุณภาพชีวิตดีขึ้น มีแต่เพิ่มภาระหนี้สิน ขึ้นทุกปีๆ สำ�หรับกลุ่มที่มีการรวมตัวกันค่อนข้างเข้มแข็ง เช่น กลุ่มเกษตรธรรมชาติ ตำ�บลทมอ กลุ่มเกษตรอินทรีย์ กลุ่มปศุสัตว์อินทรีย์ ซึ่งหันมาใช้ระบบการผลิต แบบธรรมชาติ ลดการพึ่งพาสารเคมี ทำ�ให้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น และยัง ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตของเรา จากเดิมที่เน้น ผลิตเพื่อจำ�หน่ายให้ได้ เงินมากๆ โดยไม่ได้คำ�นึงถึงความปลอดภัยต่อผู้บริโภค


173

การบริ ห ารจั ด การภายในกลุ่ ม

อย่างไร ขณะที่ภาครัฐเองอาจยังไม่รู้

สิ่งสำ�คัญ แต่จะมีสักกี่คนที่จริงใจและ

เกษตรกรจะประกอบด้ ว ยคณะ

ด้ ว ยซ้ำ � ว่ า คนในพื้ น ที่ ต้ อ งการอะไร

ทุ่มเต็มที่ให้กับฐานรากเหล่านี้ ดังนั้น

กรรมการซึ่งเป็นตัวแทนชาวบ้านเข้า

เพราะระบบที่สั่งการจากเบื้องบนมัก

หน้าที่ของผู้บริหารท้องถิ่นจึงต้องดูแล

มาทำ�งานร่วมกัน เกิดการเรียนรู้วิธี

จะไม่มองไม่เห็นสภาพความเป็นจริง

พี่น้องประชาชนในพื้นที่ของตนเองให้

การทำ � งานอย่ า งเป็ น ระบบ ซึ่ ง กลุ่ ม

ของแต่ละชุมชนท้องถิ่น

ใกล้ชิดมากขึ้น ส่งเสริมให้เขายืนอยู่ได้

เหล่านี้ดำ�เนินกิจกรรมกันมานาน โดย

อย่างไรก็ตาม ใช่วา่ ชุมชนท้องถิน่

ด้วยลำ�แข้งของตัวเอง ขณะเดียวกัน

อบต.ทมอ จะไม่เข้าไปแทรกแซงจน

ทุ ก แห่ ง จะสามารถลุ ก ขึ้ น มาจั ด ตั้ ง

หากผู้บริหารกำ�หนดนโยบายที่มีแต่

ทำ�ให้เขาเสียกระบวนการ เราเพียงแต่

กลุ่มของตนเองขึ้นมาได้ เพราะจุดเริ่ม

ให้มากเกินไป โดยที่ประชาชนเป็น ผู้

ไปให้การสนับสนุน ส่งเสริม เพราะ

ต้นจะต้องเกิดจากการทำ�ความเข้าใจ

รอรับเพียงอย่างเดียวก็จะไม่เกิดความ

กลุ่ ม เหล่ า นี้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง เป็ น ทุ น

ระหว่างประชาชนด้วยกัน ต้องมีความ

ยั่งยืน

เดิม อบต.ทมอ เพียงเข้าไปช่วยเหลือ

คิ ด เห็ น ที่ ต รงกั น ก่ อ นจึ ง จะสามารถ

ผมเชื่ อ มั่ นว่ า พลั ง พลเมื อ งจะ

ด้านความรู้ เช่น การศึกษาดูงาน การ

รวมกลุ่มได้ และหากบริหารจัดการได้

เป็นจุดเปลี่ยนสำ�คัญของประเทศไทย

อบรม หรื อ สนั บ สนุ น วั ต ถุ ดิ บ และ

ดี มีประสิทธิภาพ สามารถลดรายจ่าย

ถึงแม้วันนี้อาจจะเป็นเพียงกลุ่มเล็กๆ

ปัจจัยการผลิต

เพิม่ รายได้จริง ก็จะได้รบั ความร่วมมือ

แต่ถ้าไม่มีการเริ่มต้นก็จะไม่มีโอกาส

จากสมาชิกกลุ่มมากขึ้น

เติบโต ทีส่ �ำ คัญพลังของภาคประชาชน

มีข้อสังเกตบางประการว่า กลุ่ม ที่ภาครัฐเข้าไปจัดตั้งให้ส่วนใหญ่แล้ว

ต้ อ ง ย อ ม รั บ ว่ า ก า ร พั ฒ น า

จะเติ บ โตไม่ ไ ด้ ถ้ า ขาดแรงสนั บ สนุ น

มักไปไม่รอด อยู่ได้แค่ชั่วครั้งชั่วคราว

ชุมชนต้องเริ่มจากฐานราก แต่ทุกวัน

ของภาครั ฐ ที่ ส อดคล้ อ งในทิ ศ ทาง

ต่างจากกลุม่ ทีช่ าวบ้านจัดตัง้ กันขึน้ มา

นี้ ฐ านรากประเทศไทยยั ง ไม่ มั่ น คง

เดี ย วกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น นโยบายของ

เอง ส่วนใหญ่ค่อนข้างจะยั่งยืน เพราะ

เพราะรัฐมุ่งแต่จะให้ความสำ�คัญกับ

จังหวัดก็ดี นโยบายของรัฐก็ดี ซึ่งเป็น

เขามีความรู้ความเข้าใจในปัญหาของ

ส่ ว นกลางหรื อ สั ง คมระดั บ บนก่ อ น

สิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยค้ำ � จุ น กลุ่ ม องค์ ก รภาค

ตนเอง เขาทราบดีว่าจะแก้ปัญหานั้น

แม้ภาครัฐจะรู้ดีว่าชุมชนฐานรากคือ

ประชาชนเหล่านี้ให้ยืนหยัดอยู่ได้จริง


174

ไสว จันทร์เหลือง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร

ศรีฐานเป็นชุมชนท้องถิ่นขนาดใหญ่ ประชาชนมีความ สามั ค คี สู ง คนที่ นี่ มั ก ไม่ ค่ อ ยออกไปทำ � งานต่ า งถิ่ น แต่ จ ะ ปักหลักทำ�มาหากินอยูท่ บ่ี า้ นเกิด เพราะสภาพเศรษฐกิจค่อนข้าง ดี มีความเข้มแข็งเป็นลำ�ดับต้นๆ ของจังหวัดก็ว่าได้ คนศรีฐานเชื่อมั่นในตัวผู้นำ� ตรงนี้เป็นจุดแข็งของศรีฐาน ทั้งผู้นำ�ท้องที่ อย่างกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยเฉพาะผู้นำ�ทางศาสนาซึ่งท่านเป็นเกจิอาจารย์ชื่อ ดังสายปฏิบัติกรรมฐาน จะเป็นผู้เชื่อมประสานให้ชุมชนมีพลังสามัคคีแน่นแฟ้น ยิ่งขึ้น ไม่ว่าหลวงตาจะเอ่ยปากอะไร ชาวบ้านก็พร้อมจะขันอาสา เพราะมี ความศรัทธาและเลื่อมใส หากทางวัดมีการจัดกิจกรรมหรืองานบุญประเพณีใด ก็ตาม ทุกคนในชุมชนก็พร้อมจะมาร่วมไม้ร่วมมือกัน สิ่งนี้ทำ�ให้เกิดจิตอาสาโดย ธรรมชาติ กระทั่งคนต่างถิ่นต่างพื้นที่ยังอดแปลกใจไม่ได้ว่า ทำ�ไมชาวศรีฐานจึง สามารถจัดงานใหญ่ขนาดนี้ได้สำ�เร็จ ทำ�ให้เป็นแบบอย่างแก่ตำ�บลข้างเคียงได้ เมื่อชาวบ้านเชื่อมั่นในตัวผู้นำ� ผู้นำ�จึงต้องปฏิบัติตัวให้เป็นแบบอย่าง ถ้า ผู้นำ�พูดแล้วไม่ทำ� ชาวบ้านก็จะไม่เชื่อถือ ผมและเจ้าหน้าที่ อบต. จึงยึดหลักใน


175

อยากฝากไปถึงรัฐบาลกลางว่า อย่าให้ความหวังกับชาวบ้านมากนัก แต่ขอให้ช่วย หาหนทางให้คนรากหญ้าบ้านนอกอย่างเราได้พึ่งพาตัวเอง ส่งเสริมให้ชาวบ้าน ได้ใช้สติปญ ั ญาและกำ�ลังของเขาเอง เพราะการหยิบยืน่ ความช่วยเหลือให้มากเกินไป ต่อไปอนาคตลูกหลานของเราก็จะพึ่งพาแต่รัฐ โดยไม่รู้จักทำ�อะไรเอง

การทำ�งานว่า เราต้องพูดจริง ทำ�จริง

หวั ง ให้ ผู้ อื่ น คอยช่ ว ยเหลื อ ประชา

เอง เพราะถูกปลูกฝังค่านิยมนี้ไปแล้ว

เพื่อพิสูจน์ความจริงใจให้ชาวบ้านเห็น

นิ ย มจึ ง ทำ � ให้ สั ง คมเป็ น ทุ ก ข์ ทำ � ให้

สุดท้ายชาวบ้านก็ต้องขายที่ทำ�กิน ไป

เพราะหากผู้นำ�ทำ�ไม่ได้ แล้วชาวบ้าน

ประเทศไทยอ่อนแอ และในที่สุดก็ไป

เป็นแรงงานรับจ้าง หรือเช่าที่เขากิน

จะเชื่อถือได้อย่างไร

ไม่ ร อด ฉะนั้ น ผมจึ ง มองเห็ นว่ า ถ้ า

แนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้ชุมชน

กระนั้นก็ตาม ทาง อบต.เองก็คง

ส่ ง เสริ ม ให้ ค นในชุ ม ชนสามารถขั บ

เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ คือการย้อนกลับ

ไม่สามารถตอบสนองความต้องการ

เคลื่อนกิจกรรมของตนเองได้โดยไม่

ไปสูว่ ถิ ชี วี ติ แบบดัง้ เดิม ทีต่ �ำ บลศรีฐาน

ของชาวบ้านได้ทั่วถึงทั้งหมด เพราะ

ต้องพึ่งพาระบบราชการมากนัก งาน

ผมมุ่ ง เน้ น ไปที่ เ รื่ อ งเกษตรยั่ ง ยื น

ต้องอยู่ภายใต้กรอบระเบียบราชการ

นั้นก็จะสำ�เร็จลุล่วงได้ง่ายดายกว่า

เพราะเป็นพื้นฐานของการดำ�รงชีวิต

บางครั้งทำ�ให้ไม่อาจใช้อำ�นาจตัดสิน

ผมอยากฝากไปถึ ง ส่ ว นกลาง

ก่อนหน้านี้ผมเองก็เคยต่อต้านเกษตร

ใจได้ เ อง เพราะต้ อ งผ่ า นความเห็ น

และรัฐบาลกลางว่า อย่าให้ความหวัง

อินทรีย์ เพราะมันล่าช้าไม่ทันใจ แต่

ชอบจากหน่วยงานเบื้องบน สิ่งนี้เอง

กับชาวบ้านมากนัก แต่ขอให้ช่วยหา

พอถึ ง จุ ด หนึ่ ง ผมรู้ สึ ก ว่ า ชาวบ้ า นใช้

ที่เป็นอุปสรรคของการบริหารท้องถิ่น

หนทางให้คนรากหญ้าบ้านนอกอย่าง

สารเคมี กั น มากจนเกิ น ไปแล้ ว ทุ ก

ขณะเดี ยวกั น การทำ � งานภาย

เราได้พงึ่ พาตัวเอง ส่งเสริมให้ชาวบ้าน

วั น นี้ ผ มจึ ง หั น มาทำ � เกษตรอิ น ทรี ย์

ใต้ ก ารรั บ คำ � สั่ ง จากส่ ว นกลาง บาง

ได้ใช้สติปัญญาและกำ�ลังของเขาเอง

เอง เพราะถ้าจะทำ�ให้ชุมชนเข้มแข็ง

ครั้ ง ยั ง เป็ น การซ้ำ � เติ ม ให้ ป ระชาชน

ในการทำ�มาหากิน เพราะการหยิบยื่น

ได้ก็ต้องเริ่มจากตรงนี้ สิ่งที่พระบาท

อ่อนแอ ดังเช่นนโยบายประชานิยม

ความช่ ว ยเหลื อ ให้ ช าวบ้ า นมากเกิ น

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชดำ�ริ

บางโครงการเป็ น การส่ ง เสริ ม ให้

ไป ต่อไปอนาคตลูกหลานของเราก็จะ

ไว้ถูกต้องแล้วคือ เศรษฐกิจพอเพียง

ประชาชนไม่ รู้ จั ก พึ่ ง พาตนเอง และ

พึ่งพาแต่รัฐบาล โดยไม่รู้จักทำ�อะไร


176

วณิษฐา ธงไชย

หัวหน้าส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำ�บลศรีฐาน อำ�เภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธรร

ร่องรอยการปลูกสร้างสำ�นึกรักบ้านเกิดของชาวศรีฐาน อาจย้อนกลับไปได้ในปี 2535 หลังเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ สมัยนั้นคนในชุมชนเริ่มตื่นตัวทางการเมืองมากขึ้น มีการจัด เวทีประชาคมเพื่อสอบถามความคิดเห็นของส่วนรวมในเรื่อง ต่างๆ เพราะประชาชนเริ่มเข้าใจถึงคำ�ว่าสิทธิพลเมืองกันมากขึ้น ช่วงเวลาเดียวกันนัน้ เองก็มผี นู้ �ำ ทางความคิดอย่างคุณโจน จันได เกษตรกร ผู้เป็นต้นแบบของการพึ่งพาตนเอง ซึ่งพยายามวางแนวคิดและชักนำ�ชาวบ้านให้ มาร่วมทำ�กิจกรรมด้านการพึ่งตนเอง จนเกิดเป็นกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ กลุ่ม เกษตรอินทรีย์ ที่ดำ�เนินงานต่อเนื่องมาจนทุกวันนี้ ต่อมาในปี 2545 เกิดกลุ่มกิจกรรมในชุมชนมากมายหลายกลุ่ม ประกอบ กับหน่วยงานภายนอกได้เข้ามาสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน ช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ หมอนขิดของชุมชน กระทั่งว่าหากมีการประกวดระดับประเทศ จังหวัดยโสธร จะต้องเลือกศรีฐานไปเป็นตัวแทน หมอนขิดเป็น ผลงานความภาคภูมิใจอีกอย่างหนึ่งของคนศรีฐาน เป็นทั้ง


177

สังคมศรีฐานไม่เคยชินกับความรุนแรง การเดินขบวน ฟ้องร้อง เพราะคนศรีฐาน มีการพูดคุยกัน ให้เกียรติซึ่งกันและกัน ทุกปัญหาจะต้องมีการประชุมหารือร่วมกัน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด และช่วยลดปัญหาความขัดแย้งในชุมชนลงได้ อาชี พ หลั ก และอาชี พ เสริ ม มี ผู้ ค น

ในชุมชน ทุกวันนี้จึงมีคนหนุ่มคนสาว

สิ่งแวดล้อม ความสะอาด รองลงมา

จากต่ า งพื้ น ที่ แ วะเวี ย นเข้ า มาชมมา

รุน่ ใหม่ๆ เข้ามาทำ�งานการเมืองชุมชน

คือปัญหาครอบครัว ไปจนถึงยาเสพ

อุดหนุนอย่างต่อเนือ่ ง ทำ�ให้คนศรีฐาน

กันมากขึ้น

ติด เอดส์ และปัญหาท้องในวัยเรียน

เกิดความรักและหวงแหนในภูมปิ ญ ั ญา

สังคมศรีฐานไม่เคยชินกับความ

เนื่องจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลง

รุนแรง การเดินขบวน ฟ้องร้อง เพราะ

ไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งทุกภาคส่วนต่าง

จุดรวมใจสำ�คัญของคนศรีฐาน

คนศรีฐานมีการพูดคุยกัน ให้เกียรติ

ก็ พ ยายามแก้ ไ ขปั ญ หาในจุ ด นี้ โดย

คื อ ความศรั ท ธาในหลวงตาองค์

ซึ่ ง กั น และกั น อย่ า งเช่ น เมื่ อ ครั้ ง ที่ มี

พยายามใช้จุดแข็งที่เรามีอยู่มาสร้าง

เดียวกัน ทุกคนมีศูนย์รวมใจให้เกาะ

การสร้ า งอาคารศู น ย์ ส ามวั ย ให้ แ ก่ ผู้

จิตสำ�นึกที่ดีและรู้จักบาปบุญคุณโทษ

เกี่ยว เชื่อมร้อยคนศรีฐานให้เป็นอัน

สูงอายุ เด็ก และคนวัยทำ�งาน คนใน

อาจพู ด ได้ ว่ า ความสำ � เร็ จ

หนึ่งอันเดียวกัน เมื่อหลวงตาพาทำ�

ตำ�บลจะต้องมีการประชุมหารือร่วม

ของตำ � บลศรี ฐ านไม่ ไ ด้ เ กิ ด จากการ

กิจกรรมใด ไม่ว่าจะเป็นการระดมเงิน

กั นว่ า ควรดำ � เนิ น การอย่ า งไรจึ ง จะ

สนับสนุนของผู้นำ�เพียงฝ่ายเดียว แต่

ทุนหรือขออาศัยแรงงาน คนศรีฐานก็

เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ ส่ ว นรวมมากที่ สุ ด

ต้องอาศัยความร่วมมือของประชาชน

ช่วยเหลือกันด้วยดีมาตลอด เพราะมี

ขณะเดียวกัน ผู้นำ�ท้องถิ่นและผู้นำ�ใน

หรือชุมชน งานทุกอย่างจึงจะสำ�เร็จ

ความสำ�นึกดี เชื่อมั่นในเรื่องบาปบุญ

ชุมชนก็เปิดกว้างรับฟังความคิดเห็น

ราบรื่ น ด้ ว ยดี ที่ สำ � คั ญ ต้ อ งกระตุ้ น

จึงสร้างกิจกรรมดีๆ ขึน้ มาได้งา่ ย พลัง

จากทุกฝ่าย ไม่ยึดเอาอำ�นาจตนเอง

ให้ประชาชนรู้จักตัวเอง รู้ว่าทุนของ

พลเมืองของศรีฐานจึงมีพื้นฐานหลัก

เป็ น ที่ ตั้ ง ทำ � ให้ ช่ ว ยลดปั ญ หาความ

ชุมชนคืออะไร และดึงสิ่งนั้นออกมาใช้

มาจากความเชื่อและศรัทธา

ขัดแย้งในชุมชนลงได้

ให้เป็นประโยชน์ เราจำ�เป็นจะต้องพูด

บ้านเกิดของตนเองไปโดยไม่รู้ตัว

อีกด้านหนึ่ง ศรีฐานได้พยายาม

อย่ า งไรก็ ต าม แม้ ใ นภาพรวม

ซ้ำ�เรื่องนี้บ่อยๆ เพื่อตอกย้ำ�ให้ชุมชน

สร้ า งผู้ นำ � รุ่ น ใหม่ ขึ้ น มา โดยผ่ า น

ตำ � บลศรี ฐ านจะค่ อ นข้ า งมี ค วาม

มองเห็นคุณค่าของตน จึงจะเกิดความ

กระบวนการอบรม ศึกษาดูงาน แลก

เข้ ม แข็ ง แต่ ใ ช่ ว่ า จะไม่ มี ปั ญ หา

ฮึกเหิม และอยากทีจ่ ะทำ�สิง่ ดีๆ ต่อไป

เปลี่ยนเรียนรู้ทั้งจากนอกชุมชนและ

ปัญหาอันดับหนึ่งของชุมชนคือเรื่อง


178

เทพฤทธิ์ บัวโรย นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกจาน อำ�เภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

การเป็นพลเมืองต้องรู้จักรับผิดและรับชอบ รู้หน้าที่ของ ตน พึ่งตนเองได้ ดังปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ในหลวงทรง สอนไว้ จากประสบการณ์ ข องตำ � บลโคกจาน เราพั ฒนาพลั ง พลเมืองจากสร้างหมู่บ้านต้นแบบ เริ่มจากหมู่บ้านหนึ่งในชุมชน ซึ่งมีขนาดไม่ ใหญ่โตนัก แต่สามารถจัดการตนเองได้ ในหมู่บ้านนั้นได้มีการจัดตั้งกลุ่มต่างๆ ขึ้นมาหลายสิบกลุ่ม แต่ละกลุ่มช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เช่น กลุ่มโรงสีนำ�ข้าวของ ชุมชนมาเข้ากลุ่ม เมื่อได้แกลบ ได้รำ� ก็ขายให้แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงหมูในราคาที่ ถูกกว่าตลาด ส่วนแกลบก็นำ�ไปทำ�ปุ๋ยให้แก่เกษตรกรกลุ่มปลูกเผือก รวมทั้งมี การจัดตั้งธนาคารข้าว ทำ�ให้ทรัพยากรทุกอย่างหมุนเวียนกันภายในชุมชน จน กระทั่งหมู่บ้านนี้ได้รับรางวัลอันดับหนึ่งจากการประกวดหมู่บ้านระดับจังหวัด เราเริม่ ต้นจากจุดนีด้ ว้ ยการสร้างหมูบ่ า้ นต้นแบบ เพือ่ ให้ชมุ ชนหรือหมูบ่ า้ น อื่นหยิบยืมแนวทางไปปรับใช้ ส่วนกลุ่มที่ยังล้มลุกคลุกคลานอยู่ เราก็ต้องช่วย ประคับประคองด้วยการให้ความรู้และประสบการณ์


179 หากต้องการให้ชาวบ้านเข้มแข็งจริง หน่วยงานท้องถิ่นต้องไม่ไปทำ�แทนชาวบ้าน แต่อาจเพียงแค่หนุนเสริมอยู่เบื้องหลัง เมื่อประชาชนได้เรียนรู้ด้วยตนเองเช่นนี้แล้ว จึงจะวิวัฒน์ไปสู่ความเป็นพลเมือง สามารถแบ่งเบาภาระท้องถิ่นได้ แบ่งเบาภาระประเทศชาติได้ กิจกรรมส่วนใหญ่ทจี่ ะขับเคลือ่ น

สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น เราจะอยู่ ย าก

ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น ในเวลานี้ บ างท่ า น

ไปข้ า งหน้ า ได้ ต้ อ งอาศั ย กำ � ลั ง ของ

เพราะจะเกิดการแข่งขันกันมาก เรา

จบการศึ ก ษาถึ ง ระดั บ ปริ ญ ญาโท

ประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วม เราต้อง

จึ ง ต้ อ งกระตุ้ น คนของเราให้ พั ฒ นา

ปริญญาเอก บางท่านเติบโตมาจาก

ค้ น หาวิ ธี ก ารที่ จ ะทำ � ให้ พวกเขาเป็ น

ตนเองเพื่อเตรียมตัวรับมือ จะนิ่งเฉย

สายข้าราชการประจำ� บางท่านเป็น

พลเมื อ งผู้ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ พึ่ ง พา

อยู่อย่างเดิมไม่ได้อีกแล้ว

ผู้หลักผู้ใหญ่ที่มีความรู้ความสามารถ

ตัวเองได้โดยไม่อาศัยรัฐมากจนเกิน

รัฐบาลกลางต้องกระจายอำ�นาจ

ท้ อ งถิ่ น ในขณะนี้ มี พ นั ก งานบริ ห าร

ไป ถ้าเราทำ�ได้ ปัญหาต่างๆ ก็จะลด

ให้รัฐบาลท้องถิ่น และต้องกระจาย

งานเรื่องต่างๆ เป็นจำ�นวนมาก มาก

น้อยลง

อย่างแท้จริง งบประมาณต้ องลงไป

พอที่จะตัดสินใจได้เองโดยไม่ต้องรอ

ประเด็ น สำ � คั ญ ที่ เ ราค้ น พบคื อ

ยังท้องถิ่นเต็มเม็ดเต็มหน่วย เพราะ

คำ�สั่งจากส่วนกลาง

หากต้องการให้ชาวบ้านเข้มแข็งจริง

เมื่อไม่มีงบประมาณ การขับเคลื่อนก็

ทุ ก วั น นี้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ เ ริ่ ม

หน่ ว ยงานท้ อ งถิ่ น ต้ อ งไม่ ไ ปทำ � แทน

ย่อมจะติดขัด หลายครั้งหลายคราวที่

เข้ า ใจถึ ง กระบวนการทำ � งานของ

ชาวบ้าน แต่อาจเพียงแค่หนุนเสริมอยู่

เบื้องบนใช้งบประมาณไปทำ�กิจกรรม

องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มากขึ้ น

เบื้องหลัง เมื่อประชาชนได้เรียนรู้ด้วย

ที่ไม่เกิดประโยชน์ และไม่ได้มาจาก

และท้องถิ่นเองก็รู้ความต้องการของ

ตนเองเช่นนีจ้ งึ จะวิวฒ ั น์ไปสูค่ วามเป็น

ความต้องการของชุมชนเลย ทำ�ให้งบ

ประชาชนมากขึน้ ดังนัน้ จึงควรมีอสิ ระ

พลเมือง สามารถแบ่งเบาภาระท้องถิน่

ประมาณนั้นสูญเปล่าโดยใช่เหตุ

ในการตั ด สิ น ใจเชิ ง นโยบายร่ ว มกั น

ได้ แบ่งเบาภาระประเทศชาติได้

กั บ คำ � พู ด ที่ ไ ด้ ยิ น ได้ ฟั ง กั น มา

ระหว่างท้องถิ่นกับชุมชน ซึ่งแตกต่าง

ผมเชื่ อ มั่ นว่ า ถ้ า เราแก้ปัญ หาที่

นานว่ า ส่ ว นกลางยั ง ไม่ ก ระจาย

จากในอดี ต ที่ ป ระชาชนจะต้ อ งเป็ น

ฐานราก เสริมสร้างพลเมืองให้เข้มแข็ง

อำ � นาจเต็ ม ที่ เพราะยั ง ไม่ ไ ว้ ใ จท้ อ ง

ฝ่ายรับเพียงอย่างเดียว ฉะนั้นถึงเวลา

ประเทศก็ จ ะเปลี่ ย นแปลงในทางที่

ถิ่น หรือมองว่าชาวบ้านยังไม่พร้อม

แล้วที่ทุกอย่างจะต้องเปลี่ยน

ดี ขึ้ นได้ หากไม่ ปรั บ ตัวเสีย ตั้งแต่วัน ผมอยากบอกอย่างนี้นะครับว่า หน่วย นี้ อีกไม่นานเมื่อประเทศไทยต้องเข้า

งานท้องถิ่นตั้งขึ้นมา 14-15 ปีแล้ว


180

รัชชัช ศิลาบุตร ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลโคกจาน อำ�เภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี

การสร้างฐานรากของสังคมให้แข็งแรง เราอาจต้องย้อน กลับไปดูที่กิจกรรมต่างๆ ในชุมชนท้องถิ่น ถ้าท้องถิ่นเข้มแข็ง ประเทศชาติ ก็ จ ะเข้ ม แข็ ง ด้ ว ย ตั ว อย่ า งที่ เ ห็ น เป็ น รู ป ธรรม คือ ห่วงโซ่การผลิตอาหาร ถ้าท้องถิ่นพร้อมใจกัน ผลิตอาหาร ที่ปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมีกำ�จัดศัตรูพืช ผลผลิตนั้นก็จะกระจายไปทั่วประเทศ ทำ�ให้ผู้บริโภคชั้นบนสุดได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยด้วย การเมืองก็เช่นกัน ถ้าชาวบ้านร่วมแรงร่วมใจกันไม่ซอื้ สิทธิข์ ายเสียง ก็จะส่ง ผลให้เกิดความโปร่งใสในภาพรวมระดับประเทศเช่นกัน ฉะนัน้ พลังชุมชนจึงเป็น พลังของคนรากหญ้าและเป็นพลังบริสุทธิ์อย่างแท้จริง ในอดีตมักมีคำ�พูดอยู่ว่า หน่วยงานปกครองมักคิดแทนชาวบ้านแทบทุก เรื่อง หรือแม้กระทั่งสั่งให้คิด สั่งให้ทำ� แต่ปัจจุบันไม่ควรเป็นเช่นนั้นอีกต่อไป เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีการปรับตัวเข้าหาประชาชน ท้องถิ่นจะ คิดแทนไม่ได้ ทำ�แทนไม่ได้ ต้องผลักดันให้ประชาชนช่วยคิดด้วย ขณะเดียวกัน ท้องถิ่นก็ยังต้องฟังนโยบายจากเบื้องบนอยู่ เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของ


181

ในอดีตมักมีคำ�พูดอยู่ว่า หน่วยงานปกครองมักคิดแทนชาวบ้านแทบทุกเรื่อง หรือแม้กระทั่งสั่งให้คิด สั่งให้ทำ� แต่ปัจจุบันไม่ควรเป็นเช่นนั้นอีกต่อไป องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องปรับตัวเข้าหาประชาชน จะคิดแทนไม่ได้ ทำ�แทนไม่ได้ ต้องผลักดันให้ประชาชนช่วยคิดด้วย

กลุ่มจังหวัด เพียงแต่เราต้องเอามา

รากหญ้ า มาก เพราะข้ อ มู ล ข่ า วสาร

ผมเชื่ อ ว่ า พลั ง ชุ ม ชนจะสร้ า ง

ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่

จะช่วยให้เขามีโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น มี

ความเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมได้ แต่

ตำ � บ ล โ ค ก จ า น ข อ ง เ ร า ใ ช้

ความรู้มากขึ้น และรู้ว่าโลกทุกวันนี้

อาจต้ อ งใช้ เ วลา ท้ อ งถิ่ น เป็ น เพี ย ง

หลั ก การบริ ห ารโดยเริ่ ม ต้ น จาก

ไปถึงไหนแล้ว เขาจะไม่นิ่งดูดายอีก

ผู้ จุ ด ประกายให้ เ ขาเกิ ด การเรี ย นรู้

กระบวนการประชาคม ให้ ช าวบ้ า น

ต่อไป

เหมือนเราจุดเทียนขึ้นมาสักเล่มหนึ่ง

ได้ แ สดงความคิ ด เห็ น และเสนอใน

ท้องถิ่นของผม ผมมั่นใจได้เลย

คงไม่อาจให้สว่างได้มากนัก แต่หาก

สิ่งที่เขาต้องการ เพื่อเป็นการเกาให้

ว่าค่อนข้างมีความเสมอภาค ชาวบ้าน

มีการสร้างระบบเครือข่ายการเรียนรู้

ถู ก ที่ คั น ฉะนั้ น ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น จะ

มีบทบาทสูงมาก เพราะเขาตระหนัก

ให้ขยายตัวมากยิ่งขึ้น แสงสว่างก็จะ

ต้ อ งคอยผลั ก ดั น ให้ เ ขาคิ ด เป็ น ทำ �

แล้วว่าต่อไปนีเ้ ขาจะต้องเป็นผูก้ �ำ หนด

ปรากฏขึน้ ทุกหนทุกแห่ง วันนีช้ าวบ้าน

เป็น โดยใช้กระบวนการปลูกจิตสำ�นึก

ทิศทางการบริหารชุมชนท้องถิ่นของ

เริ่ ม เรี ย นรู้ วิ ธี ก าร รู้ ห ลั ก การบริ ห าร

สร้างทัศนคติที่ตรงกัน อย่างเช่นการ

เขาได้เอง ชาวบ้านมีสิทธิที่จะเสนอ

จัดการ รู้ความหมายและคุณค่าของ

สร้างคำ�ขวัญประจำ�หมู่บ้าน เพื่อเป็น

แผนพั ฒ นาต่ า งๆ ได้ ด้ ว ยตนเอง

จิตอาสา และรูว้ า่ สุดท้ายแล้วสิง่ ทีพ่ วก

ค่านิยมให้ชาวบ้านได้ซึมซับเข้าไปใน

สามารถเข้ า ร่ ว มกระบวนการตรวจ

เขาช่ ว ยกั น ทำ � จะส่ ง ผลอะไรต่ อ ส่ ว น

จิตสำ�นึก

สอบการทำ�งานของ อบต. ได้เอง โดย

รวมและลูกหลานของเขาในอนาคต

ทุกวันนี้มีเครื่องมือหลายชนิดที่

มีการส่งตัวแทนของชุมชนเข้ามาเป็น

ข้างหน้า

จะช่วยให้ชาวบ้านตื่นตัว โดยเฉพาะ

กรรมการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง

การให้ข้อมูลข่าวสารซึ่งจะมีผลต่อคน

หรือการตรวจรับพัสดุต่างๆ


182

ธีระพล กลางประพันธ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลพิมาน อำ�เภอนาแก จังหวัดนครพนม

การสร้างความเข้มแข็งของตำ�บลพิมานเริ่มต้นจากการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชน ราวปี 2549-2550 โดยการ สนับสนุนจากนักวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครมาให้ ความรู้กับพี่น้องประชาชน จากนั้นเราก็เริ่มพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ใน ชุมชน ฝึกปรือผู้คนให้สามารถนำ�เสนอเรื่องราวต่างๆ ในชุมชนแก่นักท่องเที่ยว จากการค้นหาจุดเด่นที่มีอยู่เดิมในชุมชน เพื่อจะดึงมาเป็นทรัพยากรการ ท่องเทีย่ ว ทำ�ให้เราได้คน้ พบว่า แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงคือตัวตนของเรา และ เป็นวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน เราจึงใช้หลักคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นจุดเน้นด้าน การท่องเที่ยว เราพัฒนาให้พิมานเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเรียนรู้ ให้นักท่องเที่ยวเลือก ได้ว่าจะพักในที่ส่วนตัวหรือพักกับชุมชนในรูปแบบโฮมสเตย์ โดยจะมีวิทยากร ชุมชนให้ความรูแ้ ก่นกั ท่องเทีย่ วด้วย ซึง่ ในหมูบ่ า้ นหลายแห่งจะมีการจัดฝึกอบรม คนในชุมชน สามารถต้อนรับนักท่องเที่ยวเองได้ และดำ�เนินการเองแทบทุกขั้น ตอน ช่วยแบ่งเบาภาระของ อบต.ได้ จากเมื่อก่อนเราต้องไปช่วยเหลือเขาในทุก


183

กิจกรรมหรือโครงการต่างๆ จะยั่งยืนได้ ต้องเริ่มจากตัวบุคลากรที่มีศักยภาพ ซึ่งก็คือพี่น้องประชาชนทั้งหมดในพื้นที่ เมื่อทุกคนมีความรักและหวงแหน ชุมชนท้องถิ่น ก็จะเกิดพลังที่จะลุกขึ้นมาพัฒนาถิ่นฐานบ้านเกิดของตนเอง และสุดท้ายประโยชน์ทั้งหลายก็จะตกแก่คนทั้งตำ�บล

กระบวนการ ทุกวันนี้ชาวบ้านเข้มแข็ง

รู้ถึง 28 แห่ง กระจายตัวไปทั่วตำ�บล

เครื่องมือการสร้างความร่วมมือ

ขึ้น อบต.ก็สบายขึ้น ท้องถิ่นเพียงแค่

มีชาวบ้านเข้าร่วมโครงการโฮมสเตย์

ของชาวพิมานคือการประชุม เราจะ

ไปหนุ น เสริ ม ในส่ ว นที่ เ ขายั ง ขาดอยู่

มากถึง 50-60 หลัง และมีกลุ่มที่ทำ�

ใช้เวทีนี้เพื่อปรึกษาหารือกันทุกเดือน

เท่านั้น

หน้ า ที่ จั ด เลี้ ย งอาหารเพิ่ ม เป็ น 4-5

โดยมี ทั้ ง นายก อบต. กำ �นั น ผู้ ใ หญ่

หมู่บ้าน ทำ�ให้ความร่วมมือจากคนใน

บ้าน พระสงฆ์ ครูอาจารย์ รวมทั้งเชิญ

ชุมชนขยายตัวมากขึ้นเรื่อยๆ

ภาคี ต่ า งๆ ให้ เ ข้ า มาร่ ว มประชุ ม กั น

ที่ ผ่ า นมามี ห น่ ว ยงานเข้ า มาใช้ บริ ก ารชุ ม ชนของเราเพื่ อ เป็ น สถาน ที่จัดอบรมต่างๆ ทำ�ให้เกิดการแลก

ทุ ก วั น นี้ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มา

เปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั บ ตำ � บลอื่ น ๆ ต่ อ มา

เรี ย นรู้ ที่ ตำ � บลพิ ม านอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง

เราจึงให้ความสำ�คัญกับประเด็นเรื่อง

ทำ�ให้เราต้องพัฒนาเรื่องกฎระเบียบ

ผลจากการพั ฒ นาด้ า นการ

การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรป่ า ไม้ ม ากขึ้ น

ต่างๆ มากขึ้น ใส่ใจเรื่องความสะอาด

ท่องเทีย่ วของ อบต.พิมาน ทำ�ให้เราได้

โดยมีสำ�นักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่

ความสวยงาม ความเป็ น ระเบี ย บ

เรียนรู้ว่า กิจกรรมหรือโครงการต่างๆ

6 นครพนม เข้ามาให้ความรู้เรื่องการ

เรียบร้อย การดูแลบ้านของตัวเอง ไป

จะยั่งยืนได้ ต้องเริ่มจากตัวบุคลากร

ดูแลป่า การทำ�ป่าชุมชน ขณะเดียวกัน

จนถึงการจัดการเสียงรบกวนที่สร้าง

ที่มีศักยภาพ ซึ่งก็คือพี่น้องประชาชน

ก็ได้รับความช่วยเหลือจาก ธกส. ใน

ความรำ�คาญให้กับชุมชน เราจัดเวที

ทั้งหมดในพื้นที่ที่ให้ความร่วมมือด้วย

การริเริ่มทำ�โครงการธนาคารต้นไม้

พูดคุยกันบ่อยขึ้น สื่อสารกันมากขึ้น

ดีเสมอมา เมื่อทุกคนมีความรักและ

เราพั ฒนาไปไกลจนถึ ง ขั้ น ที่ ว่ า

เพราะสิ่งนี้เป็นหน้าเป็นตาของชุมชน

หวงแหนชุมชนท้องถิ่น ก็จะเกิดพลัง

สามารถสร้างหลักสูตรการท่องเที่ยว

ถ้าเกิดปัญหาหรือเรื่องไม่เข้าใจกันขึ้น

ที่จะลุกขึ้นมาพัฒนาถิ่นฐานบ้านเกิด

เชิงเรียนรู้ และสามารถจัดอบรมให้แก่

เราจะหยิบปัญหานั้นขึ้นมาพูดคุยกัน

ของตนเอง และสุ ด ท้ า ยประโยชน์

ผู้ที่สนใจได้ ซึ่งขณะนี้เรามีแหล่งเรียน

ในที่ประชุม

ทั้งหลายก็จะตกแก่คนทั้งตำ�บล

ทั้งหมดนี้ทำ�ให้เกิดกระบวนการมีส่วน ร่วมในทุกภาคส่วน


184

ชาวเขมราฐถือคติว่า ผู้ที่แข็งแรงกว่า

พ.ต.ท.สุรชัย เทศวงศ์

ต้องดูแลผู้ที่อ่อนแอกว่า เป้าหมาย

ประธานสภาเทศบาลตำ�บลเขมราฐ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี

ของเราคือ การมุ่งสู่สังคมไม่ทอดทิ้งกัน ในอนาคตจะต้องเพิ่มจำ�นวนจิตอาสา ให้ครอบคลุมทั่วถึงทุกหมู่บ้าน จิตอาสา เหล่านี้คือคนที่พร้อมจะอุทิศตนเพื่อผู้อื่น โดยไม่หวังผลตอบแทน หากสามารถ รวมกลุ่มกันได้มากขึ้นก็จะยิ่งเกิดพลัง

ชาวเขมราฐถือคติว่า ผู้ที่แข็งแรงกว่าต้องดูแลผู้ที่อ่อนแอ กว่า ซึ่งพลังของการช่วยเหลือซึ่งกันและกันนี้จะเกิดขึ้นได้ต้อง มาจากประชาชนทุกหมู่เหล่ามาร่วมมือกัน รวมกลุ่มกัน ในการ แสดงความคิดเห็น เพื่อพัฒนาบ้านเมือง ในพื้นทีต่ ำ�บลเขมราฐของเรามีทั้งการรวมกลุ่มพัฒนาอาชีพ กลุ่มเศรษฐกิจ ชุมชน กลุ่มกองทุนสวัสดิการ กลุ่มช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส นอกจากนี้ยังรวมถึง กลุ่มทางวัฒนธรรมที่พยายามอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยมีปราชญ์ชาวบ้าน และผู้สูงอายุเป็นแกนหลัก กว่าจะรวมตัวเป็นกลุ่มก้อนที่ชัดเจนเช่นนี้ได้ ต้องเริ่มจากกระตุ้นให้เขา ค้นหาความถนัดของตนเอง ใครมีความรู้ความสามารถในเรื่องใดก็นำ�มาแลก เปลี่ยนกัน หรืออาจเริ่มต้นจากปัญหาใกล้ตัวของเขา และให้เขาช่วยกันคิดหา ทางแก้ โดยให้ทุกคนช่วยกันแสดงความคิดเห็น ส่วนทางเทศบาลจะสนับสนุน ด้วยการพาไปศึกษาดูงานในพื้นที่ตำ�บลที่เป็นต้นแบบ เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับบริบทชุมชนของตนเอง


185

จุ ด เน้ น ของเราในการพั ฒ นา

ดูแลรักษาสุขภาพ การออกกำ�ลังกาย

สามารถรวมกลุ่มกันได้มากขึ้นก็จะยิ่ง

ตำ�บลให้น่าอยู่คือ เรื่องการดูแลผู้สูง

และการรั บ ประทานอาหารให้ ถู ก

เกิดพลัง

อายุ เพราะปัจจุบันจำ�นวนผู้สูงอายุ

สุขลักษณะ และออกไปเยี่ยมเยียนผู้

ในชุมชนมีมากขึ้น บางคนไม่มีผู้คอย

สูงอายุอย่างสม่ำ�เสมอ

วิ ธี ก ารทำ � งานของเรา ทาง เทศบาลจะมี ห น้ า ที่ ป ระสานความ

ดูแลช่วยเหลือ และส่วนใหญ่ฐานะก็

เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง เ ร า คื อ ก า ร

ร่ ว มมื อ กั บ กำ � นั น ผู้ ใ หญ่ บ้ า น รวม

ไม่ดีเท่าที่ควร ลูกหลานต้องออกไป

มุ่ ง สู่ สั ง คมที่ ไ ม่ ท อดทิ้ ง กั น โดยใน

ถึ ง กรรมการชุ ม ชน เพื่ อ ให้ ทุ ก ฝ่ า ย

ทำ�งาน จำ�เป็นต้องปล่อยให้ผู้สูงอายุ

อนาคตจะต้ อ งเพิ่ ม จำ � นวนจิ ต อาสา

มาร่วมกันคิดว่าจะมีโครงการพัฒนา

อยู่ที่บ้านตามลำ�พัง จุดนี้จึงทำ�ให้ชาว

ให้ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ถึ ง ทุ ก หมู่ บ้ า น ทำ �

คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของเราให้

เขมราฐพัฒนาคนขึ้นมาเป็นจิตอาสา

อย่างไรให้ผเู้ ฒ่าผูแ้ ก่มชี วี ติ ในบัน้ ปลาย

ดีขึ้นอย่างไรบ้าง โดยใช้กระบวนการ

เพื่ อ มาทำ � งานช่ ว ยเหลื อ สั ง คม รวม

อย่างมีความสุข และทำ�ให้ลูกหลาน

ประชาคมหมู่บ้าน สอบถามความคิด

ทั้งมีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ เพื่อให้

มองเห็ น คุ ณ ค่ า ในตั ว ของผู้ สู ง อายุ

เห็ น อย่ า งรอบด้ า น เพื่ อ นำ � มากลั่ น

มีกิจกรรมทำ�ร่วมกันและเป็นการใช้

เหล่านั้น

กรองเป็นแผนปฏิบัติงาน จากนั้นจึง

เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ก่อให้เกิด

ปั จ จุ บั น อาสาสมั ค รชมรมผู้ สู ง

ให้ ช าวบ้ า นตั้ ง คณะกรรมการขึ้ น มา

อายุของเรามีอยู่ทั้งสิ้น 54 คน และ

ดู แ ล ฉะนั้ น ในทุ ก ขั้ น ตอนจะต้ อ งได้

จิ ต อาสาเหล่ า นี้ คื อ คนที่ พ ร้ อ ม

มี อสม. รับผิดชอบประจำ�ทั้ง 8 ชุมชน

รับความเห็นชอบจากคนในพื้นที่ก่อน

จะอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ผู้ อื่ น โดยไม่ ห วั ง ผล

ชุมชนละ 6-7 คน สิ่งที่ท้าทายก็คือ

และร่วมกันคิดว่าเราจะทำ�อะไร

ตอบแทน รวมทั้ ง มี อสม. ทำ� งานคู่

ทำ�อย่างไรจึงจะบ่มเพาะจิตสำ�นึกให้

สิ่งสำ�คัญคือ ทุกคนต้องเข้ามา

ขนานกัน แต่ละทีมจะลงพื้นที่สำ�รวจ

กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ ใ ห้ ม าเข้ า ร่ ว ม

ร่ ว มมื อ กั น หากไม่ ร วมตั ว กั น แล้ ว

เจาะลึกทุกครัวเรือนว่ามีบ้านไหนบ้าง

เป็นอาสาสมัคร เพราะต้องยอมรับว่า

งานนั้นก็มักจะสำ�เร็จได้ยาก แต่หาก

ที่ ต้ อ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ดู แ ล จาก

ฐานะทางเศรษฐกิจของคนภาคอีสาน

ชาวบ้านรวมตัวกันได้ ต่อให้ล้มเหลว

นั้ น จึ ง แบ่ ง ที ม งานกระจายกำ � ลั ง รั บ

ยังไม่ดีเท่าที่ควร ทุกคนต่างก็มีภาระ

อย่ า งไรก็ ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ข อง

ผิ ด ชอบในแต่ ล ะหมู่ บ้ า น ส่ ว นใหญ่

ทำ�งานหาเช้ากินค่ำ� ฉะนั้นคนที่จะเข้า

การเรียนรู้

จะเป็นการดูแลเบื้องต้น เช่น ตรวจ

มาทำ�งานเพื่อส่วนรวมเช่นนี้จึงต้องมี

วั ด ความดั น ให้ คำ � แนะนำ � เกี่ ย วกั บ

จิตใจที่เสียสละอย่างแท้จริง และหาก

ความรักใคร่สามัคคีกัน


186

สุรวุฒิ ยุทธชนะ นักวิชาการชุมชนท้องถิ่น เทศบาลตำ�บลเขมราฐ อำ�เภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี

ในยุคปัจจุบนั ชาวบ้านต้องปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของผู้นำ� เพียงฝ่ายเดียวไม่ได้ เพราะนั่นคือ หน้าที่ของพลเมืองทุกคน เช่นเดียวกับ คำ�ว่า ‘ประชาธิปไตย’ ซึง่ มิได้มคี วามหมาย แค่การหย่อนบัตรเลือกตั้ง แล้วยกอำ�นาจนั้นให้กับผู้แทนทั้งหมด แต่ประชาธิปไตยต้องเกิดจาก การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย

จากประสบการณ์ตรงในการทำ�งานภายใต้โครงการ

ที่สังคมไทยกำ�ลังจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งไม่มีหน่วยงาน

ตำ�บลสุขภาวะ ทำ�ให้เชื่อมั่นว่าแนวคิดและวิธีการดังกล่าว

ใดให้ความสำ�คัญและทำ�งานเชิงรุกในประเด็นนีอ้ ย่างจริงจัง

เดิ น มาถู ก ทางแล้ ว และตรงตามเป้ า หมายในการที่ จ ะ

แต่ เ ราพยายามชี้ ใ ห้ เ ห็ นว่ า ในอนาคตเราจะต้ อ งประสบ

พัฒนาชุมชนท้องถิ่นของเราให้เป็นตำ�บลน่าอยู่ น่าอาศัย

กับปัญหานี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อให้ทุกคนรู้จักเตรียม

และทำ�ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข เพราะเป็นการขับเคลื่อน

ความพร้อมในการรับมือกับสิ่งที่กำ�ลังจะเกิดขึ้น เพราะเป็น

นโยบายสาธารณะที่ครอบคลุมในทุกมิติตั้งแต่เกิดจนตาย

ปัญหาที่ใกล้ตัวของชุมชนท้องถิ่นมากที่สุด

แนวทางการทำ�งานที่ผ่านมาเป็นการหยิบยกประเด็น

การเผชิ ญ หน้ า กั บ ปั ญ หาเหล่ า นี้ จำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่

ปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตมาแก้ไขเสียแต่วนั นี้ โดยไม่ตอ้ ง จะต้ อ งอาศั ย ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น ของประชาชน จึ ง รอให้ปญ ั หานัน้ เกิดขึน้ ก่อน ตัวอย่างทีเ่ ห็นชัดทีส่ ดุ ก็คอื การ

จะก่ อ เกิ ด เป็ น พลั ง ชุ ม ชน แต่ อุ ป สรรคอย่ า งหนึ่ ง ที่ พ บก็


187

คื อ ในระดั บ ปั จ เจกบุ ค คลหรื อ ตั ว

ตัวผู้นำ�หรือผู้บริหารท้องถิ่น โครงการ

หมายเพี ย งแค่ ก ารหย่ อ นบั ต รลง

ชาวบ้านเองอาจไม่เข้าใจหรือมองไม่

นี้ ก็ จ ะต้ อ งดำ � เนิ น การต่ อ ไปได้ อ ย่ า ง

คะแนนเลือกตั้งแล้วยกอำ�นาจนั้นให้

เห็นปัญหาทีเ่ ป็นรูปธรรม ซึง่ ประชาชน

ราบรื่ น โดยการขั บ เคลื่ อ นของพลั ง

กั บ ผู้ แ ทนทั้ ง หมด แต่ ป ระชาธิ ป ไตย

ที่ตื่นตัวและเข้าใจถึงปัญหามีเพียงแค่

ชุมชนเอง

คื อ การมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ฝ่ า ย ไม่ ใ ช่

ไม่กี่กลุ่ม แม้กระทั่งหน่วยงานท้องถิ่น

ที่ ผ่ า นมาความร่ ว มไม้ ร่ ว มมื อ

ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของใครคนใดคน

เองก็ยงั คิดไม่ได้ เพราะเข้าใจว่าปัญหา

ของคนในชุมชนอาจยังไม่ทั่วถึงมาก

หนึ่ ง ฉะนั้ น ทำ � อย่ า งไรให้ ป ระชาชน

ยังมาไม่ถึง และเมื่อถึงเวลานั้นอาจจะ

นัก ตัวอย่างเช่นหากมีการตั้งโครงการ

เกิดความตื่นตัวและพัฒนาศักยภาพ

สายเกินไปแล้ว ถ้าเปรียบไปก็เหมือน

ดูแลสุขภาพขึน้ มาสักโครงการหนึง่ แต่

ของตนเองให้สูงขึ้น เพื่อจะได้มาช่วย

‘ไม่เห็นโลงศพ ไม่หลั่งน้ำ�ตา’ เมื่อไม่

มีบางคนที่ไม่เคยป่วยและไม่เคยเข้า

กันพัฒนาบ้านเมืองของเราให้น่าอยู่

เห็ น ปั ญ หาจึ ง ทำ � ให้ ข าดวิ สั ย ทั ศ น์ ใ น

มาใช้บริการเลย จึงมองไม่เห็นความ

น่าอาศัย

การทำ�งาน

สำ � คั ญ ของโครงการนี้ และมองไม่

ความหมายของคำ�ว่าศักยภาพ

อย่างไรก็ตาม การพัฒนาชุมชน

เห็นว่าคนอื่นๆ ในชุมชนได้ประโยชน์

ในที่นี้คือ ประชาชนต้องตระหนักถึง

ท้ อ งถิ่ น ตามแนวทางของโครงการ

อย่างไร แต่เขาอาจจะเห็นประโยชน์ก็

ความเป็นพลเมือง ต้องพึงระลึกไว้ว่า

ตำ�บลสุขภาวะนี้ หากจะให้สำ�เร็จและ

ต่อเมื่อวันหนึ่งญาติพี่น้องของเขาป่วย

สิ่งที่เราทำ�ไม่ใช่เพื่อตัวเราเท่านั้น แต่

ยั่งยืนได้ต้องอาศัยเครื่องมือบางอย่าง

และได้รับการดูแลจากโครงการนี้ ซึ่ง

เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของบ้ า นเมื อ งและ

ในการขยายแนวคิดนีอ้ อกไปสูก่ ารรับรู้

ตรงนี้ยังเป็นปัญหาหลักในระดับการ

ของพี่น้องประชาชนด้วยกัน

ของผู้คนในชุมชนให้กว้างขวางยิ่งขึ้น

รับรูข้ องประชาชนทีย่ งั ไม่ขยายวงกว้าง

สิ่งที่ต้องขบคิดเพิ่มเติมก็คือ ทำ�

เท่าที่ควร

ขอยืนยันอีกครั้งว่า การพัฒนา ชุมชนให้เป็นตำ�บลน่าอยู่ต้องเริ่มต้น

อย่างไรแนวคิดในการพัฒนาชุมชนไป

โลกปั จ จุ บั น เปลี่ ย นแปลงไป

จากความเป็ น พลเมื อ ง ไปสู่ ชุ ม ชน

สู่ตำ�บลสุขภาวะจึงจะเกิดความยั่งยืน

อย่างรวดเร็ว เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วชาว

ตำ�บล และเชื่อมโยงไปสู่ความเข้มแข็ง

และรุ ก คื บมากขึ้ น ฉะนั้ น ต้ อ งอาศั ย

บ้ า นเองก็ จำ � เป็ น ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี

ของประเทศชาติ เพราะหากไม่มีก้าว

เครื่องมืออีกชนิดหนึ่ง นั่นก็คือ ‘งาน

คิดด้วยเช่นกัน จะปล่อยให้เป็นหน้าที่

แรกย่อมไม่มีก้าวที่สอง

ประชาสั ม พั น ธ์ ’ ซึ่ ง ต้ อ งเน้ น หนั ก ให้

ของผู้นำ�เพียงฝ่ายเดียวไม่ได้อีกต่อไป

มากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ ผลั ก ดั น ให้ ผู้ บ ริ ห าร

เพราะนัน่ คือหน้าทีข่ องพลเมืองทุกคน

ท้องถิน่ และคนในชุมชนมองเห็นความ

เช่นเดียวกับความหมายของคำ�

สำ�คัญร่วมกัน และหากมีการเปลี่ยน

ว่ า ‘ประชาธิ ป ไตย’ ซึ่ ง มิ ไ ด้ มี ค วาม


188

ธัญญา แสงอุบล ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการเพื่อการจัดการเครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเนือ

หากย้อนกลับไปมองประวัติศาสตร์ของการอยู่ร่วมกันใน ชุมชนก่อนจะมีการปกครองสมัยใหม่เข้ามา จะเห็นได้ว่าเรา เคยอยู่กันแบบช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน แต่หลังจากมีการปกครองแบบใหม่ซึ่งกำ�หนดให้ชุมชนต้องมี กำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นตัวแทนของชุมชน นั่นจึงทำ�ให้ชาวบ้านถูกลดบทบาทให้ เป็นเพียงผู้รอคอยความช่วย รอคอยคำ�สั่ง และทำ�ให้การเรียนรู้บทบาทหน้าที่ ตามธรรมชาติของความเป็นพลเมืองมีอัตราลดลง ดังนั้น เราจึงพยายามฟื้นฟูความเป็นพลเมืองในชุมชนท้องถิ่นด้วยการ ค้นหาวิธีการทำ�งานร่วมกัน เพื่อทำ�ให้คนในสังคมกลับมามีความเกื้อกูลต่อกัน และสร้างการกลไกลการมีสว่ นร่วม ให้เขาร่วมกันคิด ร่วมกันลงมือทำ� และทำ�งาน นอกเหนือจากกรอบนโยบายของราชการ โดยยึดเอาพื้นฐานของปัญหาในแต่ละ พื้นที่เป็นหลัก การสร้างพลังให้พลเมืองของชุมชนมีความสำ�คัญอย่างมาก เพราะจะ ทำ�ให้พวกเขาไม่ต้องรอคอยคำ�สั่ง แต่จะเกิดการเรียนรู้และเข้าใจด้วยตัวเองว่า


189

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องให้ความสำ�คัญกับเสียงของพี่น้องประชาชน นอกจากจะรับฟังเสียงของคนส่วนมากแล้ว ต้องไม่ละทิ้งเสียงของคนส่วนน้อย เพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการทำ�งานได้อย่างเต็มที่

ทุกคนมีสิทธิที่จะเข้ามามีส่วนร่วมใน

ที่สามารถจัดการตัวเองได้อย่างเป็น

เขาสามารถจัดการได้ทุกอย่าง ทั้งยัง

การพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น แต่ ทั้ ง นี้ อ งค์ ก ร

รูปธรรม เช่น ตำ�บลบ้านยาง อำ�เภอ

สามารถสร้างประโยชน์ให้แก่หมู่บ้าน

ปกครองส่วนท้องถิ่นก็ต้องทำ�ให้เห็น

เมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ ซึง่ ตำ�บลดังกล่าว

ด้วยมือของพวกเขาเอง ส่งผลให้ชมุ ชน

เป็นรูปธรรมที่จับต้องได้เสียก่อน เพื่อ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความ

เกิดความเข้มแข็ง เกิดการเรียนรู้และ

เป็บแบบแผนให้ชาวบ้านเข้าใจได้ว่า

สำ � คั ญ กั บ เสี ย งของพี่ น้ อ งประชาชน

ได้รับประสบการณ์ตรง

วิธีการทำ�งานเช่นนี้เรียกว่าการมีส่วน

เป็นอย่างมาก นอกจากจะรับฟังเสียง

เป้าหมายของเราในอนาคตคือ

ร่วม

ของคนส่วนมากแล้ว ก็ไม่ละทิ้งเสียง

จะต้องทำ�ให้พลเมืองตระหนักว่าพลัง

การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

ของคนส่วนน้อย จึงทำ�ให้ประชาชน

ของเขามีความสำ�คัญอย่างไร และจะ

ทำ � ได้ ไ ม่ ย าก ประการแรก ภาครั ฐ

ทุกคนสามารถเข้ามามีสว่ นร่วมในการ

สร้างกลไกการทำ�งานร่วมกันได้ด้วย

หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้อง

ทำ�งานได้อย่างเต็มที่

วิธีใด ทั้งยังต้องชูธงของคำ�ว่า ‘พลัง

ออกแบบกระบวนการทำ�งานที่มีส่วน

หลายที่หลายแห่งเราพบว่า ชาว

พลเมือง’ ให้เป็นคำ�ที่มีคุณค่า มีความ

ร่วม ต้องฟังเสียงของประชาชน เพราะ

บ้านสามารถจัดการกันเองได้โดยไม่

หมาย สามารถเข้าใจได้ง่ายสำ�หรับ

เท่าที่ผ่านมาวิธีการทำ�งานของภาครัฐ

ต้ อ งขอความช่ ว ยเหลื อ จากองค์ ก ร

ทุกช่วงวัย โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน

หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่

ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ตั ว อย่ า งเช่ น

ซึ่งจะเป็นกำ�ลังสำ�คัญในรุ่นต่อไป เพื่อ

ได้รับฟังเสียงของภาคประชาชนเท่าที่

โครงการปลูกผักรอบหมู่บ้าน ซึ่งเป็น

สร้างให้เด็กเหล่านี้มีความรู้และนำ�ไป

ควร เพราะฉะนั้นหัวใจที่สำ�คัญที่สุด

โครงการที่คนในชุมชนช่วยกันระดม

ปฏิบัติ กระบวนการทั้งหมดนี้จะนำ�

ของการสร้างการมีสว่ นร่วมคือ การรับ

ทุนกันเอง ลงมือทำ�ด้วยตัวเอง และ

มาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในประเทศของ

ฟังข้อเสนอจากทุกภาคส่วน

ทำ�โดยไม่รอภาครัฐ ผลจากโครงการ

เราต่อไป

ยกตัวอย่างตำ�บลในภาคอีสาน

นี้ จึ ง ทำ � ให้ ช าวบ้ า นมองเห็ นว่ า พวก


190

โสภณ พรหมแก้ว

นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลขุนทะเล อำ�เภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

ชุมชนท้องถิ่นต้องลับอาวุธที่เรามีอยู่ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ต้องทำ�ให้ ทุกคนเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรามี ในอนาคตเราจำ�เป็นต้องสร้าง การมีส่วนร่วมให้เต็มพื้นที่ รวมถึงปลุกสำ�นึกที่มีต่อชุมชน ว่านี่เป็นบ้านของพวกเขาทุกคน

พลั ง พลเมื อ งคื อ แรงบั น ดาลใจที่ เ กิ ด จากพลั ง ในท้ อ งถิ่ น ในการร่ ว มกั น ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อสร้างท้องถิ่นให้มีความยั่งยืน มาร่วมสร้างสุข ที่ขุนทะเล เพื่อให้ขุนทะเลเป็นเมืองน่าอยู่ ขุนทะเลมีการสร้างการมีส่วนร่วมในหลายมิติที่ได้รับการขับเคลื่อนไป พร้อมกัน จากอัตลักษณ์ที่มีอยู่ให้เป็นระบบกิจกรรมร่วมระหว่างคนในชุมชนทั้ง 12 หมู่บ้าน เพื่อให้ก่อเกิดแนวคิดในการพัฒนาตำ�บลไปสู่ความสำ�เร็จผ่านการ ทำ�ประชาคมร่วมกัน เราทำ�ประชาคมเพื่อกำ�หนดจุดยุทธศาสตร์ พัฒนาต่อยอดและหนุนเสริม ตลอดจนถอดบทเรียนตำ�บลของตัวเอง ประเมินจุดแข็งของเรา ใช้ภูมิปัญญา


191 เข้ามาร่วมพูดคุย โดยทำ�ทุกหมู่บ้าน

วันนีก้ ารกระจายอำ�นาจเป็นการ

ให้ครอบคลุมทั่วถึงทุกหมู่บ้าน ทำ�งาน

ทีละหมู่ ทั้งยังมีเวทีรวมของเทศบาล

กระจายอำ�นาจที่ไม่จริงใจ ทุกอย่าง

ร่วมกันทัง้ ผูน้ �ำ ท้องถิน่ ปราชญ์ชาวบ้าน

ตำ�บลขุนทะเล ซึ่งทุกคนจะมีโอกาส

กระจุกอยู่ที่ส่วนกลาง ซึ่งการรวมไว้

ผู้สูงอายุ ประชาชน และเยาวชน ซึ่ง

เข้าร่วมตรงนี้อีกครั้ง อันเป็นช่วงตอน

เช่ น นั้ น จะทำ � ให้ เ กิ ด ความเหลื่ อ มล้ำ �

เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา

ที่ข้อมูลทั้งหลายที่ผ่านการพูดคุยใน

ยกตัวอย่างเช่นงบประมาณ ท้องถิ่น

เ ค รื อ ข่ า ย ยั ง ช่ ว ย เ ติ ม เ ต็ ม

กลุ่มเล็กได้ตกผลึกออกเป็นชุดความ

ควรได้ 100 แต่ได้จริงเพียง 25 ขณะ

องค์ ค วามรู้ ลั บ อาวุ ธ ที่ เ รามี ใ ห้ มี

คิด และเมื่อได้ร่วมแลกเปลี่ยนก็จะมี

ที่ ภ ารกิ จ ที่ ท้ อ งถิ่ น จะต้ อ งทำ � นั้ น มี

ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งทำ�ให้คน

การประเมินความสำ�คัญเร่งด่วนเพื่อ

มากมาย ที่สาหัสไปกว่านั้น ในส่วน

หั น กลั บมารู้ จั ก คุ ณ ค่ า ของสิ่ ง ที่ เ รามี

เข้าสู่แผนพัฒนาชุมชนต่อไป

ที่รัฐจัดสรรมาให้ยังมีการระบุให้จ่าย

อย่างความเป็นวิถีพื้นบ้าน ความเป็น

ตามเงื่อนไข ทั้งเบี้ยผู้สูงอายุ อาหาร

พลเมืองของชุมชน และรักษาสมดุล

กลางวันเด็กเล็ก ผู้ป่วยโรคเอดส์

ระหว่างธรรมชาติที่เรามีกับที่เราใช้

จุ ด แข็ ง ของตำ � บลขุ น ทะเลคื อ เรามี ภ าวะผู้ นำ � ที่ ค่ อ นข้ า งสู ง โดยมี ปราชญ์ชาวบ้านมากมาย แหล่งเรียนรู้

การทำ � ประชาคมแต่ ล ะครั้ ง จะ

ในอนาคตเราจำ � เป็ น ต้ อ งสร้ า ง

มีความเข้มแข็ง เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย

มีการพิจารณางบประมาณตรงนี้ นำ�

การมี ส่ ว นร่ ว มให้ ไ ด้ เ ต็ ม พื้ น ที่ ด้ ว ย

แต่ละแหล่งมีผลสำ�เร็จเป็นของตัวเอง

เข้าเทศบัญญัติ มีการกำ�หนดรายจ่าย

การสำ � นึ ก ความรั ก ที่ มี ต่ อ ชุ ม ชนว่ า

ทำ � งานสอดคล้ อ งกั บ ท้ อ งถิ่ น ที่ ช่ ว ย

ประจำ� ในเรื่องโครงสร้างพื้นฐานซึ่ง

นี่ เ ป็ น บ้ า นของพวกเขาทุ ก คน โดย

หนุนเสริม ทั้งในเรื่องงบประมาณและ

อย่างไรเสียก็หนีไม่พ้น เราให้ทุกคน

เวลานี้ น อกจากกระบวนการอย่ า ง

กำ�ลัง

รู้ข้อมูล ให้เข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบ

ประชาคม หรื อ กิ จ กรรมผ่ า นแหล่ ง

ขณะเดี ย วกั น ขุ น ทะเลก็ กำ� ลั ง

โจทย์ ค วามจำ � เป็ น สู ง สุ ด มิ เ ช่ น นั้ น

เรียนรู้ที่เราทำ�ร่วมกับเครือข่าย ก็ยัง

เผชิ ญ กั บ โลกาภิ วั ต น์ ซึ่ ง ส่ ง ผลให้

แล้ ว อาจจะเกิ ด ปั ญ หาได้ เพราะงบ

มี เ รื่ อ งของเสี ย งตามสาย ซึ่ ง จะพบ

ประชาชนบางกลุ่ม หยิบยกข้อ มูลมา

ประมาณที่ได้ อย่างไรก็ไม่เพียงพอกับ

กับชาวบ้านทุกวันในเวลา 12.05 น.

หักล้าง ตั้งคำ�ถามต่อภูมิปัญญาที่เรามี

ความต้องการของคนในพื้นที่

เ พื่ อ ป ร ะ ก า ศ ข่ า ว ส า ร ร า ช ก า ร

อยู่ว่าจะสอดรับกับชีวิตในโลกปัจจุบัน

การเข้ า ร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ยร่ ว ม

ปีงบประมาณประกาศให้รับทราบว่า

และช่วยให้ด�ำ รงอยูไ่ ด้จริงหรือไม่ ทัง้ ยัง

สร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ทำ�ให้เขาเริ่ม

มีเท่าไร ประชาชนรับรู้ และเตรียมเข้า

มีอีกด้านในประเด็นภาวะผู้นำ� ด้วย

เห็นถึงการทำ�งาน กิจกรรมที่เข้ามามี

ร่วมหารือ ทั้งยังมีเรื่องราวเพื่อให้เขา

หลายคนใช้ เ งิ น เป็ น ปั จ จั ย ไม่ ไ ด้ ยึ ด

ส่วนเกื้อหนุนการสร้างความเข้มแข็ง

รู้สึกอบอุ่นและภูมิใจที่ได้อาศัยอยู่ใน

เอาแนวคิดหรือทุนดั้งเดิมที่เรามีอยู่มา

ของตำ�บล ผ่านกระบวนการในหลาก

บ้านเกิดของพวกเขา

บูรณาการให้เกิดประสิทธิภาพแก่ชมุ ชน

หลายมิติ โดยพยายามกระจายออกไป


192

สอนไชยา ภูดีทิพย์

รองนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลขุนทะเล อำ�เภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช

คำ�ว่าพลังพลเมืองนัน้ ฟังดูยงิ่ ใหญ่ อย่างเมือ่ ก่อนชาวบ้าน ก็ยงั เป็นชาวบ้านธรรมดา แต่พอมีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่ ทำ�ให้เกิดการเห็นการรู้ มีการแลกเปลี่ยนไปดูงาน ทำ�ให้ เกิดการพัฒนาเป็นพลังพลเมืองที่ร่วมกันขับเคลื่อนตำ�บล เมื่ อ ก่ อ นนี้ เ ราไม่ มี ข้ อ มู ล เชิ ง ประจั ก ษ์ ขาดการบริ ห าร จัดการข้อมูล แต่การได้ไปเห็นได้เรียนรู้จากเครือข่าย ทำ�ให้เรามาประกอบสร้าง ข้อมูลเชิงประจักษ์ของเราเอง กลายเป็นเครื่องมือที่เราสามารถนำ�มาใช้ และ ต่อยอดได้ โดยส่วนตัวคิดว่า พลังพลเมืองจะเกิดอย่างเข้มแข็ง พวกเขาจำ�เป็นต้องมี ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่สามารถใช้เรียนรู้ได้ ประเมินได้ การไม่มีข้อมูลนั่นหมายถึง ความอ่อนแอของปัญญา เพราะถ้ามัวแต่สนใจสิ่งภายนอกโดยไม่ตระหนักรู้ เรา จะถูกครอบงำ�ด้วยทุน เป็นเครื่องมือของระบบทุนไปโดยปริยาย ก่อนเข้าสู่ตำ�บลสุขภาวะ เรามีการถอดแผนแม่บทชุมชน ทุกหมู่บ้านมีแผน ของเขาเชื่อมโยงกับ อบต. เขาอยากได้อะไร หนุนเสริมอาชีพด้านไหน โครงการ สุขภาวะทำ�หน้าที่เข้ามาเชื่อมระหว่างบทเรียนของแหล่งเรียนรู้กับแผนแม่บท


193

เครือข่ายตำ�บลสุขภาวะทำ�ให้เราได้เห็นทุนทางสังคมและภูมิปัญญาของตำ�บล นำ�ไปสู่เป้าหมายต่อไปว่า เราจะทำ�อย่างไรให้ชุมชนมีความยั่งยืน ฉะนั้นประชาชน จำ�เป็นต้องมีข้อมูลเชิงประจักษ์ที่สามารถนำ�มาพัฒนาและต่อยอดได้ เพราะการไม่มีข้อมูลนั่นหมายถึงความอ่อนแอทางปัญญา

ทำ�ให้ได้เห็นทุนและปัญญาของตำ�บล

อีกตัวอย่างหนึ่งนอกเหนือจาก

ดิ้นรนเพื่อให้ได้มา อย่างวันนี้งบของ

นำ �ไปสู่ ก ารตั้ ง คำ � ถามและเป้าหมาย

การใช้ขอ้ มูล คือหมูท่ ี่ 10 บ้านนาทอน

ขุนทะเลมีจำ�กัด ถ้าของทางเทศบาล

ต่ อ ไปว่ า เราจะทำ � อย่ า งไรให้ ชุ ม ชน

บริหารจัดการตนเองโดยใช้เงินกำ�ไร

ไม่พอ ผู้บริหารก็ทำ�เรื่องไปที่ อบจ.

มีความยั่งยืน

จากกองทุ น หมู่ บ้ า น มี ก ารบริ ห าร

เราพยายามหาทางออก โดยมี

วั น นี้ ตำ � บลขุ น ทะเลมี ก ารนำ �

จั ด การโดยคณะกรรมการ จ่ า ยคื น

ประโยชน์ของชุมชนเป็นที่ตั้ง

ข้อมูลมาปรับใช้เข้ากับการทำ�งานใน

ประโยชน์ ใ ห้ กั บ สมาชิ ก งบดุ ล ต้ อ ง

การเข้ า ร่ ว มกั บ เครื อ ข่ า ยร่ ว ม

พื้ น ที่ เป็ น ส่ ว นสนั บ สนุ น ที่ มี ค วาม

รั บ รองโดยคณะกรรมการกองทุ น

สร้ า งชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น น่ า อยู่ ก็ เ ช่ น กั น

สำ � คั ญ ในการสร้ า งพลั ง พลเมื อ งใน

หมู่บ้านของอำ�เภอ

นายกเทศบาลไม่ ไ ด้ ตั ด สิ น ใจลำ � พั ง

พื้นที่ เพราะฉะนั้นจะเรียกว่าทุนทาง

ทุ ก วั น นี้ ขุ น ทะเลพยายามที่ จ ะ

แต่เป็นการรู้โดยทั่วกัน และเล็งเห็น

ปัญญาเป็นจุดแข็งของตำ�บลเราก็ได้

กระจายอำ � นาจไปให้ ถึ ง ประชาชน

ประโยชน์ ข องชุ ม ชน อย่ า งเพื่ อ น

ส่วนในเรื่องของข้อด้อยเรา ก็ต้องมาดู

ผูเ้ ป็นเจ้าของ เรามีประชุมประจำ�เดือน

เครือข่ายที่มาร่วมเรียนรู้กับขุนทะเล

กันที่เรื่องของคนอีก ซึ่งต้องยอมรับว่า

เพื่อนำ�ข้อมูลต่างๆ มาร่วมกันตกผลึก

ทำ�ให้คนขุนทะเลเกิดรายได้ ได้เห็น

มีส่วนหนึ่งที่ยังอาศัยในลักษณะของ

ต่อ ด้วยตัง้ ใจตอบรับต่อความต้องการ

คนขุ น ทะเลมาร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น ใน

ปัจเจก บ้างก็รู้ แต่ไม่ทำ� ต้องรอจนมี

ของประชาชน แม้ บ างเรื่ อ งจะมา

การบริ ก ารเพื่ อ น ซึ่ ง เป็ น ภาพที่ น่ า

ปัญหาเกิดกระทบกับตัวจึงเข้ามา

สรุ ป ที่ เ รื่ อ งโครงสร้ า งพื้ น ฐาน เราก็

ประทับใจยิ่ง


194

สมพร โบบทอง

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ่อแสน อำ�เภอทับปุด จังหวัดพังงา

คนในชุมชนมีความคิดดี ร่วมด้วยช่วยกันพัฒนา มีความ ปรองดอง เข้ ม แข็ ง นั่ น คื อ พลั ง พลเมื อ งในแบบของตำ � บล บ่อแสน โดยที่ตำ�บลตอนนี้เราพยายามผลักดันให้คนรุ่นใหม่ เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื่อนชุมชนมากขึ้น ตำ�บลบ่อแสนมีการสร้างพลังพลเมืองผ่านการรณรงค์เรื่องการให้ชาวบ้าน ทีม่ คี วามอยูด่ กี นิ ดี ได้ออกไปเยีย่ มคนไข้ คนทีม่ ปี ญ ั หาทางครอบครัว หนีส้ นิ ภาระ ต่างๆ ทั้งนี้ เพราะเราอยากเห็นสังคมที่ปรองดองและเข้าใจถึงความแตกต่าง ระหว่างกัน ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยหยิบยื่นไมตรีจิตให้แก่กัน ที่นี่ประกอบด้วยไทยมุสลิมถึง 80 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ ส่วนที่เหลือคือ ไทยพุทธ แต่ตรงนี้ไม่ใช่ปัญหาเลย เราสามารถอยู่ร่วมกันได้เป็นอย่างดี อย่างผม เป็นอิสลาม แต่ในฐานะผู้บริหาร เวลามีงานบุญทางพุทธศาสนาเราก็ไปเข้าร่วม เพราะเราอยากให้เขาเห็นว่า แม้ผู้บริหารจะเป็นอีกศาสนา แต่ก็ไม่เคยละเลย ความสำ�คัญของคนอีกกลุ่มศาสนา ซึ่งเป็นกลุ่มที่เล็กกว่าในพื้นที่ นอกจากนี้ ผู้บริหารยังมีการพบปะประชาชนทุกหมู่บ้าน เพื่อถามความ


195

ตำ�บลบ่อแสนประกอบด้วยไทยมุสลิมถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือคือไทยพุทธ แต่ตรงนี้ไม่ใช่ปัญหาเลย เราสามารถอยู่ร่วมกันได้เป็นอย่างดี เพราะเราเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับเราเต็มร้อย ทำ�ให้สังคมเกิดความปรองดอง และเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างกัน

คิดเห็น พูดคุยแลกเปลี่ยนซึ่งสาระอัน

จุ ด แข็ ง ของเรา เขาอยากได้ อ ะไร

ประชาชนเราได้ทำ� จากการได้ไปเห็น

นำ�มาสู่การบริหารชุมชนต่อไป ขณะ

ต้องการอะไร สามารถเดินเข้ามาบอก

และร่วมเรียนรู้ เป็นการพัฒนาคนของ

เดียวกัน ในทุกวันศุกร์ซงึ่ เป็นวันพบปะ

ผ่านเวทีหมู่บ้าน ผ่านเวทีทางศาสนา

เราอีกทางหนึ่ง และพื้นฐานของคน

ของคนมุสลิม เราก็ใช้โอกาสตรงนี้คุย

หรื อ ผ่ า นการพบกั น ในโอกาสต่ า งๆ

บ่อแสนที่ชอบแบ่งปัน การทำ�งานร่วม

กั บ พวกเขา พยายามให้ ตั ว เองเป็ น

ด้วยสังคมชนบทนัน้ เล็กมาก การเข้าถึง

กับเครือข่ายจึงเป็นการแสดงให้เห็นถึง

ส่ ว นหนึ่ ง ของสั ง คม เป็ น ประชาชน

ของผู้บริหารกับประชาชนก็ทำ�ได้ง่าย

การต่อยอดของพลังพลเมืองในพื้นที่

เหมือนกัน ไม่มีตำ�แหน่ง ณ ที่ตรงนั้น

ขณะที่จุดอ่อนของตำ�บลเรายัง

ในอนาคตเรามีภาพทีช่ ดั เจนของ

ที่ สำ � คั ญ เราไม่ เ คยหมกเม็ ด ใน

เป็ น เรื่ อ งของการเมื อ ง คนยั ง คิ ด ถึ ง

อุดมคติ หากแต่ความจริงมีแนวทาง

เรื่องของข้อมูล เรามีการทำ�ประชาคม

เรื่ อ งการแข่ ง ขั น บางคนอยากได้

ที่ ส วยงามเช่ น นั้ น ไหม ต้ อ งยอมรั บ

เปิ ด กว้ า งให้ ป ระชาชนเข้ า มาเสนอ

หน้ า ตา บ้ า งยั ง ติ ด กั บ การที่ รั ฐ ชอบ

ว่าคงไม่ เพราะทุกวันนี้มีเรื่องเข้ามา

ความคิดเห็น อย่างโครงการของ สสส.

แจก จึงคาดหวังว่าเราต้องแจกด้วย

ให้ ไ ด้ แ ก้ กั น โดยตลอด โดยเฉพาะ

เราชี้แจงให้ชาวบ้านรับทราบก่อนที่จะ

จึงพยายามแก้โดยการนำ�อาสาสมัคร

สถานการณ์ แ บ่ ง แยกสี เ สื้ อ ทางการ

ลงนามข้อตกลง และให้พวกเขาเข้า

เจ้าหน้าที่ ผู้นำ�ศาสนาจากเมืองหลวง

เมื อ งที่ ก ระทบมาถึ ง ตำ � บลบ่ อ แสน

มาตรวจสอบเราด้วย กล้าพูดได้เลย

เข้ า ไปพู ด ในพื้ น ที่ เพื่ อ ฟื้ น ฟู แ ละให้

และกลายเป็ น ปั ญ หามากในเวลานี้

ว่า เราเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามี

หลักคิดที่ดีในการใช้ชีวิตร่วมกัน

เราอยากให้ ค นที่ นี่ ใ จเย็ น กั บ เรื่ อ งนี้

ส่วนร่วมกับเราเต็มร้อย

การเข้ า มาของเครื อ ข่ า ยร่ ว ม

ทุ ก วั น นี้ ช าวบ้ า นในตำ � บลของ

สร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่นั้นช่วยหนุน

เราเข้ามามีส่วนร่วมมาก ซึ่งนับเป็น

เสริ ม เราอี ก ทางหนึ่ ง เปิ ด โอกาสให้

ยอมรับเรื่องการคิดต่าง ดีกว่ายอมรับ ที่จะอยู่อย่างแตกแยกแบ่งพวก


196

ศรีเภา รุจิพัชรกุล

พลังพลเมืองต้องเริ่มจากท้องถิ่น

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลเกาะกลาง อำ�เภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่

ไล่ไปสู่องค์กรที่ใหญ่ขึ้นคือ อำ�เภอ จังหวัด ประเทศชาติ เรามองว่า เด็กและเยาวชนเป็นกำ�ลังสำ�คัญ เขาจำ�เป็นต้องได้รับความรู้ เพื่อให้มีความเข้มแข็งและเท่าทัน เมื่อเขาเติบโตเป็นผู้ใหญ่ บทบาท ที่เขามีต่อสังคมก็จะใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ ส่วนตัวแล้วพลังพลเมืองเป็นเรื่องของคนที่มีจิตอาสาใน การมาช่วยกันดูแลสังคม ชุมชน โดยตระหนักรู้ว่าเป็นหน้าที่ ของตนเองด้วย กระนั้นเราต้องยอมรับว่า วันนี้พลังพลเมืองยัง ไม่สมบูรณ์ ด้วยปัจจัยอย่างการเมือง ซึ่งเป็นประเด็นร้อนแรง เราจึงต้องพยายามผสานความร่วมมือในพื้นที่ ยิ่งในพื้นที่เราเป็นพื้นที่ที่มีคน นับถือศาสนาอิสลามมากกว่า 95 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น ผู้นำ�อย่างโต๊ะอิหม่าม ก็เป็นส่วนที่สำ�คัญยิ่งที่ต้องประสานไปยังกลุ่มอื่นๆ ทั้งกลุ่มการบริหาร อนามัย โรงเรียน ตำ�บลเกาะกลางมีการสร้างพลังพลเมืองอยู่แล้ว อาทิ กลุ่มเพื่อน หมู่ที่ 2 ซึ่งมารวมตัวกันเพื่อเอาปัญหาของชุมชนมาวิเคราะห์ ทั้งในเรื่องของยาเสพติด การทะเลาะเบาะแว้ง โดยเป็นเวทีของพวกเขา ซึ่งเรามองว่าเป็นเรื่องที่ดี เพราะ หากไม่มีการพูดคุย จะมีปัญหาในการขับเคลื่อน นอกจากนี้ เรายังมี ‘เวทีโกปี๊’ เอาเงินมาหยอดกระปุกในลักษณะลงขันกัน กินกาแฟ ซึ่งเป็นลักษณะของคนภาคใต้ หรือที่เคยได้ยินกันชินหูว่า สภากาแฟ


197

การทำ�แบบนี้มีข้อดีตรงที่บรรยากาศ

เมื่ อ เขาเติ บ โตเป็ น ผู้ ใ หญ่ บทบาท

ค่อนข้างผ่อนคลาย เป็นกันเอง ทุกคน

ที่ เ ขามี ต่ อ สั ง คมก็ จ ะใหญ่ ขึ้ น เรื่ อ ยๆ

กระบวนการจั ด การของเรา

รู้สึกเท่าเทียมและไม่ลังเลที่จะแสดง

โดยวันนี้สิ่งที่ อบต. กำ�ลังทำ� อย่าง

ล้วนตอบโจทย์ในเรื่องของการสร้าง

ความคิดเห็นของตัวเอง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เราสร้างศูนย์ให้

พลังพลเมือง แต่สิ่งที่พุ่งเป้าสำ�คัญใน

ในวั น นี้ จุ ด แข็ ง ของตำ � บลเกาะ

มีความสวยงามเหมือนปราสาท เพื่อ

ตอนนี้ก็เห็นจะเป็นเรื่องการสร้างพลัง

กลางถู ก ขั บ เน้ น ด้ ว ยกิ จ กรรมใน

ให้ เ ด็ ก อยากเข้ า มา ให้ เ ขาใส่ ชุ ด ที่ มี

เยาวชน เราต้ อ งการคนกลุ่ ม นี้ เ พื่ อ

พืน้ ที่ ซึง่ จัดขึน้ บ่อยครัง้ อย่างงานทุง่ ทะเล

ความทันสมัย เนคไท กระโปรงลาย

เป็นกำ�ลังสำ�คัญในอนาคต ฉะนั้นเขา

อั น นี้ ถื อ เป็ น งานใหญ่ ที่ เ ป็ น การ

สก็อต เพราะเราต้องยอมรับว่าชนบท

ต้องมีความคิด มีเหตุผล อยากเห็น

อนุรักษ์ป่า เป็นการรวมพลังพลเมือง

บ้านเรามีความต่างจากเมืองมาก เรา

เขาเคารพความถูกต้อง ต้องสามารถ

เพื่ อ เทิ ด ทู น แด่ ใ นหลวง นำ � เด็ ก และ

อยากให้เด็กรู้สึกอยากเข้ามา รู้สึกว่า

คิดแยกแยะ นามสกุลเดียวกันไม่ได้

เยาวชนในพื้นที่ สภาเด็ก กลุ่มแม่บ้าน

เขาก็มีเหมือนกัน ขณะเดียวกัน เรื่อง

หมายความว่าจะต้องถูกเสมอไป ทุก

อสม. กำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น ผูส้ งู อายุ เรียก ของการศึกษาเราก็พยายามพัฒนาให้

วันนี้สังคมล่อแหลมเพราะแนวคิดของ

ว่ า ทุ ก ภาคส่ ว นมาร่ ว มกั น ทำ � ให้ ง าน

ระบบอุปถัมภ์ เราต้องสร้างโรงเรียน

ประสบความสำ�เร็จ

ดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ ตำ � บลเกาะกลางเด่ น เรื่ อ งการ

ไปตามความจำ�เป็นและเหมาะสม

ประชาธิปไตย เพื่อให้เขาคิดด้วยหลัก

ส่วนจุดอ่อนอย่างที่กล่าวไปแล้ว

กระจายอำ�นาจเสมอมา เรากล้าพูด

ว่า ยังคงเป็นเรื่องของการเมือง เพราะ

ตรงนี้ เพราะทุกครัง้ ทีผ่ า่ นการเลือกตัง้

ขณะเดียวกัน ตำ�บลเกาะกลาง

ยังมีเรื่องของความชอบ ความไม่ชอบ

เราย้ำ�เสมอว่า หน้าที่ของทุกคนยังไม่

ยังมีการทำ�งานร่วมกับเครือข่ายร่วม

ซึ่งส่งผลสู่ความร่วมมือในงานต่างๆ

จบแค่นั้น คุณต้องเข้ามาดูแลการใช้

สร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ซึ่งเข้ามามี

ของส่วนรวม ซึ่งจำ�เป็นต้องก้าวผ่าน

อำ�นาจของเรา ดูว่าเราทำ�งานจริงไหม

บทบาทในการให้องค์ความรู้และการ

จุดนี้ไปให้ได้

ได้ ผ ลดี กั บ ชุ ม ชนตามเป้ า ไหม แม้

จัดการ จากการทำ�งานเป็นเครือข่าย

พลังพลเมืองต้องเริม่ จากท้องถิน่

กระทั่งในเรื่องของงบประมาณ นายก

ทำ�ให้ชุมชนได้เห็นได้รู้มากขึ้นจากการ

ไล่ ไ ปสู่ อ งค์ ก รที่ ใ หญ่ ขึ้ น คื อ อำ � เภอ

อบต. ก็ไม่มีสิทธิ์ เราถือว่าประชาชน

ไปศึกษาดูแลกับเพื่อนเครือข่าย และ

จังหวัด ประเทศชาติ โดยเรามองว่าเด็ก

เป็นสมาชิกของ อบต. พวกเขามีอ�ำ นาจ

นำ � กลั บมาพั ฒนาต่ อ ยอดชุ ม ชนของ

เป็นกำ�ลังสำ�คัญ เขาจำ�เป็นต้องได้รับ

ในสภาท้ อ งถิ่ น เปิ ด โอกาสให้ เ ขา

ตัวเองต่อไป

ความรู้ เพื่อให้เขาเข้มแข็งและเท่าทัน

เข้ามาพูดคุยและจัดสรรงบประมาณ

เหตุผลเท่านั้น


198

สินธพ อินทรัตน์

นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลท่าข้าม อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ในยุคปัจจุบันเราจำ�เป็นต้องรู้เท่าทัน สังคมบริโภคนิยม ถ้าประชาชน มีการตื่นรู้ ดำ�รงตนอย่างเท่าทันต่อโลก ไม่หลงไปกับค่านิยมด้านวัตถุอย่างเกินงาม มีหัวใจที่พร้อมจะทำ�ประโยชน์ ผมเชื่อว่า สิ่งนี้จะยกระดับจากชาวบ้านสู่การเป็น พลเมืองอย่างเต็มตัว

พลั ง พลเมื อ งคื อ การที่ ป ระชาชนตื่ น รู้ ทั น เหตุ ก ารณ์ บ้านเมือง ตั้งแต่ระดับชุมชนไปจนถึงระดับประเทศ ยิ่งในยุค ปัจจุบัน จำ�เป็นต้องรู้เท่าทันโลกที่อยู่ในสังคมบริโภคนิยม ซึ่ง ถ้าประชาชนมีการตื่นรู้ ดำ�รงตนอย่างเท่าทันต่อโลก ไม่หลงไป กับค่านิยมด้านวัตถุอย่างเกินงาม เสริมด้วยหัวใจที่พร้อมจะทำ�ประโยชน์ เชื่อว่า สิ่งนี้จะยกระดับจากชาวบ้านสู่การเป็นพลเมืองอย่างเต็มตัว ที่ ผ่ า นมาตำ � บลท่ า ข้ า มได้ ดำ � เนิ น การสร้ า งพลั ง พลเมื อ งผ่ า นประเด็ น นโยบายสาธารณะ ซึ่งโดยหลักการและผลลัพธ์โดยภาพรวมล้วนตอบโจทย์เรื่อง การสร้างพลังพลเมือง ยกระดับการมีส่วนร่วมของคนในตำ�บลมากขึ้น อย่างที่เด่นๆ ของตำ�บลเราคือเรื่องการจัดการขยะ เดิมทิ้งลงถัง เทศบาล จัดเก็บ อบต. เผา เราได้สร้างการตื่นรู้โดยการทำ�ให้ชาวบ้านเห็นคุณค่าของขยะ แยกแยะส่วนไหนมีประโยชน์นำ�ไปใช้ต่อ ส่วนไหนเปลี่ยนเป็นเงินได้ คือถ้าเขา ได้เรียนรู้ ผลลัพธ์ก็เกิดขึ้นกับตัวเขา และเกิดขึ้นกับชุมชนที่อยู่อาศัยด้วย นี่เป็น ตัวอย่างหนึ่งสะท้อนให้เห็นความเชื่อมโยงอันเกิดจากองค์ความรู้และการตื่นรู้


199 ของคน ซึ่งมีคุณค่ามาก

ชุ ม ชน คื อ อย่ า งน้ อ ยในภาพความ

ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ หาก

จุดแข็งของตำ�บลท่าข้ามคือ เรา

ขัดแย้ง ประชาชนจำ�เป็นต้องตระหนักรู้

แต่ ต้ อ งเริ่ ม จากท้ อ งถิ่ น ที่ ต้ อ งตื่ น รู้

เป็ น สั ง คมเครื อ ญาติ สั ง คมดั้ ง เดิ ม

และสามารถประเมินเพือ่ รับหรือไม่รบั

ก่อน เมื่อท้องถิ่นเข้มแข็งจากหลายๆ

สามารถคุยกันได้ทุกหลังคาเรือน แม้

สิ่งหนึ่งสิ่งใดเข้ามา โดยเขาต้องคำ�นึง

ที่ ม ารวมกั น ก็ ยิ่ ง เป็ น พลั ง ที่ ยิ่ ง ใหญ่

จะมี ก ลายพั น ธุ์ ไ ปตามโลกทุ น นิ ย ม

ถึงผลที่จะเกิดกับส่วนรวมด้วย

ซึ่ ง เราเองได้ รั บ การเสริ ม กำ � ลั ง จาก

บ้ า ง แต่ เ ที ย บสั ด ส่ ว นแล้ ว ยั ง ไม่ ถึ ง

ทุกวันนี้ตำ�บลท่าข้ามสร้างการ

องค์ ก รอิ ส ระอื่ น ๆ ภายนอกพื้ น ที่

กั บ ส่ ง ผลกระทบต่ อ สั ง คมเดิ ม มาก

บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม โดยให้

อย่างการเข้ามาของเครือข่ายร่วมสร้าง

นั ก และเรายั ง มี ค นรุ่ น ใหม่ ที่ เ ข้ า มา

ชาวบ้านเข้ามาวางแผนร่วมกัน เสนอ

ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่นั้นก็มีส่วนสำ�คัญ

เป็ น กำ � ลั ง ด้ ว ยเป็ น กลุ่ ม คนที่ มี แ รง

แนวทางที่ มี ผ ลต่ อ ชี วิ ต ความเป็ น อยู่

ในการพั ฒนาพลั ง พลเมื อ ง ทั้ ง ยั ง มี

มีกำ�ลัง เราจึงเสริมความรู้ให้พวกเขา

ของพวกเขาเองทุ ก ด้ า น ทั้ ง สั ง คม

เป้าประสงค์ที่อยากให้ชุมชนท้องถิ่น

ทั้ ง พยายามฟื้ น ฟู ข นบชุ ม ชนดั้ ง เดิ ม

เศรษฐกิจ การเมือง โดยเราพยายาม

อยู่ดีมีความสุข เครือข่ายนำ�มาซึ่งการ

ของเรา สร้างสมดุลให้เกิดขึ้นกับพื้นที่

สร้างขึ้น ผ่านแกนนำ� ให้เป็นทัพหน้า

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมศักยภาพคน

ขณะที่จุดอ่อนของตำ�บลท่าข้าม

ในการนำ� เสริมสร้างความรู้ เพื่อสร้าง

พิการ เข้ามาสร้างรายได้สร้างอาชีพ

ก็ คื อ ความเป็ น เมื อ ง เราตั้ ง อยู่ ข อบ

การเปลี่ยนแปลงสำ�นึกของความเป็น

จั ด ระบบองค์ ค วามรู้ ใ นชุ ม ชนให้ มี

เมืองก็จริง แต่อิทธิพลจากการสื่อสาร

พลเมือง

ประสิทธิภาพ

ที่รุกเข้ามาอย่างหนัก ได้ตอกย้ำ�ภาพ

ขณะเดียวกั น องค์ ก รปกครอง

ที่สุดแล้วไม่ว่าจะเป็นการสร้าง

ของสังคมบริโภคนิยม ซึ่งหลายคนติด

ส่วนท้องถิน่ ต้องสรุปบทเรียนของตัวเอง

อาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิตความ

กับดัก มองเป็นเรื่องของความภูมิฐาน

เพื่ อ นำ � สู่ ก ารแก้ ปั ญ หา ตลอดจน

เป็นอยู่ ทั้งหมดล้วนสอดคล้องไปใน

ตรงนี้ ถ้ า เกิ น เลยไปจะส่ ง ผลกระทบ

พัฒนาชุมชนไปตามเป้าหมายที่วางไว้

ทิศทางเดียวกับการสร้างพลังพลเมือง

กั บ วิ ถี ค วามเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชน เรา

โดยมี ก ารพั ฒ นาพลเมื อ งที่ ต้ อ งทำ �

เพราะหากจะให้เขาเข้มแข็ง ชีวติ ความ

อยากให้ประชาชนรู้จักตัวเองมากขึ้น

ควบคู่ กั น ไป เพราะทุ ก วั น นี้ พ ลั ง ที่

เป็นอยู่เขาต้องดีก่อน ทุกวันนี้เราเปิด

วัฒนธรรมของตัวเอง สภาพแวดล้อม

ว่ายังมีไม่มากนัก คนยังไม่ตระหนัก

เวที ใ ห้ ป ระชาชนได้ รู้ ข้ อ มู ล จากฝ่ า ย

ของตัวเอง เพื่อที่จะอยู่โดยไม่ทำ�ลาย

เท่าที่ควรถึงสิทธิและหน้าที่ของตัวเอง

บริหาร ให้เขาเสนอ วิจารณ์ และเรา

ให้สิ้นสูญ

การเมืองแบบผูแ้ ทนไม่ใช่แค่การเลือกตัง้

ก็ตอบรับทุกคำ�วิจารณ์ เรื่องใดแย่ก็

การสร้ า งพลั ง พลเมื อ งจึ ง ให้

หากแต่รวมถึงการเข้ามาร่วมตรวจสอบ

ต้องปรับแก้ เรื่องใดดีต้องได้รับการ

ความสำ�คัญกับส่วนนี้ การเรียนรู้เพื่อ

ดูแลผลประโยชน์ของตัวเองต่อไปด้วย

ต่อยอดพัฒนา

ให้เขาเห็นคุณค่าของตัวเอง ครอบครัว

ก า ร ป ฏิ รู ป พ ล เ มื อ ง นี้ เ ป็ น


200

ผศ.ณชพงศ จันจุฬา

พลังพลเมือง คือวิถีทางความคิด

ผู้จัดการศูนย์สนับสนุนวิชาการเพื่อการจัดการเครือข่ายภาคใต้

และการปฏิบัติเพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงเส้นทาง การพัฒนาให้เป็นไปตามที่ชุมชนต้องการ เป็นสำ�นึกที่แสดงถึงความต้องการ ที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง ผลักดันให้เกิด การพัฒนาในทุกระดับ ด้วยความตื่นรู้ ถึงสถานะของพลเมืองที่มีอยู่ในตนเอง

พลังพลเมือง คือวิถีทางความคิดและการปฏิบัติเพื่อที่จะ เปลี่ยนแปลงเส้นทางการพัฒนาให้เป็นไปตามที่ชุมชนต้องการ เป็นสำ�นึกที่แสดงถึงความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง ผลักดันให้เกิดการพัฒนาในทุกระดับ ด้วยความตื่นรู้ถึงสถานะ ของพลเมืองที่มีอยู่ในตนเอง หน้าที่หลักของศูนย์ประสานงานคือ การเชื่อมประสานนโยบายและแผน สุขภาวะสู่การปฏิบัติ เพื่อขับเคลื่อนและดูแลการทำ�งานของผู้จัดการโครงการให้ ดำ�เนินการสอดรับกับแผน วิถีการเปลี่ยนแปลงของภาคใต้ ทุกคนเห็น ผลประโยชน์ ผู้คนประกอบ ด้วยอัตลักษณ์ของคนภาคใต้ ใช้ความคิดพินิจพิจารณาทุกขั้นตอน จะพบว่า ในจำ�นวนตำ�บลเครือข่ายนั้น ภาคใต้เป็นภาคที่ขับเคลื่อนไปได้ยากที่สุด เพราะ ด้วยปัจจัยเรื่องของคน คือถ้าแผนและนโยบายของชุมชนสุขภาวะสามารถมา บรรจบกับพื้นความคิดเดิมก็สามารถไปได้ ถ้าเข้ากันไม่ได้ คนรู้สึกว่าไปเปลี่ยน ความเป็นเขา หรือขัดต่อความคิดความเชื่อก็ไม่สามารถไปได้ ทั้งยังต้องไม่ลืมว่า


201

ภาคใต้เป็นภาคที่มีต้นทุนสูงในหลาย

อย่างน้อยเราเป็นคนในพื้นที่เรา

ท้องถิ่นน่าอยู่นับว่าช่วยได้มาก เพราะ

เรื่อง ถ้าเราเอาเรื่องของความอยู่ดีกิน

รู้ดีว่า การจะหยิบยื่นสิ่งใดที่เป็นเรื่อง มีองค์ความรู้อยู่แล้ว เหลือแค่วิธีการ

ดีเป็นตัวชี้วัด การหนุนแผนสุขภาวะ

ของความคิดให้คนภาคใต้จะต้องทำ�

อย่างคนภาคใต้เห็นอย่างนี้ เวลาบอก

เข้าไปก็อาจไม่ตอบสนองกับบางพื้นที่

ด้วยความระมัดระวัง เราไม่อาจคาดหวัง

อะไร เขาทำ � แต่ ทำ � ด้ ว ยวิ ธี ก ารและ

ตำ � บลที่ เ ด่ น ๆ เรื่ อ งของพลั ง

ให้เขาเปลี่ยนเลยเหมือนคนที่อื่น ต้อง

ความคิ ด ของเขา ส่ ว นตกสำ � เร็ จ จะ

พลเมือง ก็มีตำ�บลปริก อำ�เภอสะเดา

ให้เขาพิจารณาและปรับเอาทีละน้อย

มากหรือน้อยก็ขึ้นอยู่กับการผ่องถ่าย

จังหวัดสงขลา ที่นี่มีความชัดเจนใน

ค่อยเป็นค่อยไป

ความรู้จากแม่ข่ายไปสู่ลูกข่าย เราต้อง

กลุ่มแม่บ้าน สตรี มีการทำ�กิจกรรม

ในส่ ว นของผู้ บ ริ ห ารในภาคใต้

พยายามสร้างแม่ข่ายที่แข็งและมีใจใน

ร่วมกันอย่างแข็งขัน เป็นโมเดลหนึ่งที่

นั้น มองผิวเผินอาจเห็นว่าการเมือง

การถ่ายทอด เพราะจริงๆ แล้ว แม่ขา่ ย

แสดงให้เห็นว่า เราสามารถทำ�ได้

รุนแรง แต่กไ็ ม่ได้แสดงออกในลักษณะ

ก็เป็นข้อต่อความรูท้ ต่ี อ่ มาจากท่อใหญ่

รบราฆ่าฟัน โดยผู้บริหารภาคใต้เข้าใจ

อีกที จึงต้องให้แน่ใจว่าแม่ข่ายมีความ

คนทั่ ว ไปจะมองว่ า ภาคใต้ มี

ความหลากหลายของศาสนา ซึ่งอาจ เรื่องการกระจายอำ�นาจเป็นอย่างดีว่า

เข้มแข็งและมีความพร้อมจริงๆ

เป็ น อี ก ปั จ จั ย ที่ ทำ � ให้ ง านขั บ เคลื่ อ น

คืออะไร บทบาทภาวะผู้นำ�ค่อนข้าง

เวลานี้ศูนย์ประสานงานภาคใต้

ไม่ ร าบรื่ น ตรงนี้ ต้ อ งบอกเลยว่ า ไม่

ชัด เขารู้ว่าจะจัดการอย่างไรเพื่อให้

พยายามสร้างความเข้าใจให้กับตำ�บล

จริ ง ตรงกั น ข้ า มศาสนาเข้ า มาเป็ น

เกิดการยอมรับ และกระจายอำ�นาจ

ในเครือข่ายที่ศูนย์ดูแลอยู่ ให้เขาได้

ส่ ว นหนุ น เสริ ม เสี ย อี ก หลายตำ � บล

คืนประชาชน

เข้ า ใจเป้ า หมายของเราที่ อ ยากเห็ น

ที่ เ ราเข้ า ไปมี สั ด ส่ ว นของไทยมุ ส ลิ ม

อี ก ฟั น เฟื อ งหนึ่ ง ที่ สำ � คั ญ คื อ

การแบ่งปันองค์ความรู้นั้นเกิดขึ้นใน

มากกว่าไทยพุทธในแบบทีเ่ รียกว่าเกิน นักวิชาการตำ�บล เราเห็นว่าการขับ

ภูมิภาค ซึ่งประโยชน์ตรงนี้จะเกิดขึ้น

ครึ่ ง ไปเยอะ ซึ่ ง กลุ่ ม ไทยมุ ส ลิ ม จะมี

เคลื่อนนั้นต้องผ่านงานวิชาการ ผ่าน

ได้ ก็ ต้ อ งอาศั ย พลั ง พลเมื อ งเข้ า มา

การรวมกลุ่มกันเป็นประจำ� เข้ามัสยิด

ความคิด ตัวกลางจึงอยู่ที่นักวิชาการ

เป็นส่วนสำ�คัญ พลังอันเกิดจากการ

มีความเป็นหนึ่งเดียวอันเนื่องมาจาก

ตำ � บล ดั ง นั้ น คำ � ถามของเราคื อ ทำ �

ตระหนักรู้

กิจกรรมและความเชื่อทางศาสนา ถ้า

อย่างไรให้นักวิชาการตำ�บลสามารถ

พวกเขาเห็นว่าสิ่งที่เข้าไปในชุมชนนั้น

ถ่ า ยทอดองค์ ค วามรู้ ที่ มี อ ยู่ ล งไปใน

เป็นประโยชน์ การสร้างพลังจะเกิด

พื้นที่ได้

ขึ้นได้

การมีเครือข่ายร่วมสร้างชุมชน


202

โกเมศร์ ทองบุญชู

หัวหน้าโครงการพัฒนาระบบและโครงข่ายการจัดการ ภัยพิบัติด้วยพลังสังคมพื้นที่ภาคใต้

การจัดการภัยพิบัติจะทำ�ไม่ได้เลยหากไม่มี สำ�นึกความเป็นพลเมือง ฉะนั้น ประชาชนต้องตระหนักว่าภารกิจเหล่านี้ เป็นหน้าที่ของคนทุกคน ไม่ใช่ทำ�เพราะถูกบังคับ อาสาสมัครนั้นไม่มีตำ�แหน่ง ไม่มีเงินเดือน แต่เป็นเรื่องของใจที่อยากอาสาเข้ามาทำ�งาน

คำ � ว่ า ‘พลเมื อ ง’ ดู ค ล้ า ยเป็ น คำ � ใหม่ ซึ่ ง จริ ง ๆ แล้ ว ก็ คื อ กระบวนการการทำ �งานที่ เ กิ ด จากการมี ส่ว นร่ ว ม นี่ คื อ คุณสมบัติหลักของคำ�ที่ดูคล้ายคำ�ใหม่นี้ ซึ่งต้องเริ่มตั้งแต่ร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วม ติดตาม ไปจนถึงร่วมประเมิน ผล และการที่ทุกคนจะมีส่วนร่วมได้นั้นต้องมี สำ�นึกความเป็นเจ้าของพื้นที่ ถ้าขาดตรงนี้ไปก็ไม่สามารถดำ�เนินงานให้ครบ องค์ประกอบได้ จากนั้นเราต้องค่อยๆ พัฒนางาน ยกระดับความคิดคน ค่อยๆ เรียนรู้ อย่าคิดว่าสิ่งที่ตนเองรู้นั้นมากพอแล้ว เราต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา นี่คือ ภาพรวมของคำ�ว่าพลเมือง สำ�หรับภารกิจของผมคือเรื่องการจัดการภัยพิบัติ มันเกี่ยวอย่างไรกับ การเป็นพลเมือง แน่นอน ถ้าเราไม่มีสำ�นึกความเป็นพลเมือง การจัดการเรื่อง ภัยพิบตั ยิ อ่ มจะทำ�ไม่ได้เลย โดยเฉพาะอย่างยิง่ งานอาสาสมัคร ต้องปลูกฝังเรือ่ งนี้


203

ให้มาก ภั ย พิ บั ติ คื อ สิ่ ง ที่ อุ บั ติ ขึ้ น ตาม ธรรมชาติ ที่ผ่านมาเรามองข้ามกลไก

การพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย รวมไป

การส่งเสริมให้มีกิจกรรมเสริมรายได้

ถึงสภาพจิตใจให้พร้อมในการทำ�งาน

เป็นต้น

อยู่ตลอดเวลา

ประการสำ � คั ญ คื อ การเรี ย นรู้

ความร่วมมือด้านนี้ เพราะมองว่าไม่ใช่

คนทำ�งานภัยพิบัติมิได้มีหน้าที่

แลกเปลี่ยนระหว่างคนต่างภูมินิเวศน์

หน้ า ที่ ข องตั ว เอง คิ ด ว่ า เป็ น หน้ า ที่

จัดการเรื่องภัยพิบัติเพียงอย่างเดียว

เช่น คนที่สร้างบ้านเรือนอยู่บนภูเขา

หน่วยงานนั้นหน่วยงานนี้ แต่เมื่อเกิด

เพราะหลักการทำ�งานด้านนี้มีอยู่ 3

จะต้องฝึกการขับเรือให้เป็น และคน

ความรุ น แรงครอบคลุ ม พื้ น ที่ ก ว้ า ง

ประการคื อ ก่ อ นเกิ ด เหตุ ขณะเกิ ด

ริมทะเลก็ตอ้ งสามารถไปช่วยเหลือคน

ขวาง ถ้าเรายังคิดแบบเดิมอยู่ก็จะยิ่ง

เหตุ และหลังเกิดเหตุ ดังนั้นจะต้อง

ที่ติดอยู่บนภูเขาได้ เพราะการเกิดภัย

ก่อให้เกิดความเสียหายทวีคูณขึ้นไป

มีการวางแผนทุกขั้นตอน ต้องสำ�รวจ

พิบัติ มันกินวงกว้างมากกว่าท้องถิ่น

อีก

จุดเสี่ยงภัยต่างๆ ที่เราคาดว่าจะเกิด

ของตนเอง

ดั ง นั้ น กระบวนการทำ � งานจะ

เพื่อเป็นการป้องกันล่วงหน้า รวมถึง

คนทั่วไปมีจิตอาสาอยู่แล้ว แต่

ต้องร่วมกันทำ�ทั้งตัวอาสาสมัครและ

การวางแผนระยะยาว เช่น การจัดตั้ง

สิ่งสำ�คัญคือเราต้องมอบกระบวนการ

พี่ น้ อ งประชาชน รวมถึ ง ผู้ ป ระสบ

กองทุนพิบัติเพื่อใช้ในยามฉุกเฉิน

เรี ย นรู้ ที่ ถู ก ต้ อ ง ต้ อ งเปลี่ ย นวิ ธี คิ ด

ภัย และทุกองค์กรที่เกี่ยวข้องต้องเข้า

สุดท้ายคือ การจัดทำ�ระบบฐาน

ใหม่ ว่ า ภั ย พิ บั ติ เ ป็ น ปั ญ หาที่ ทุ ก คน

มาร่ ว มมื อ กั น ต้ อ งมี ค วามรู้ สึ ก เป็ น

ข้อมูลที่จะเชื่อมประสานกับหน่วยงา

ต้ อ งร่ ว มกั น รั บ มื อ และแก้ ไ ข เราจั ด

เจ้าของ ต้องตระหนักว่าภารกิจเหล่านี้

นอื่ น ๆ นั่ น คื อ ภารกิ จ ของเครื อ ข่ า ย

เวทีพูดคุยเรื่องเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง

เป็นหน้าที่ของคนทุกคน ไม่ใช่ว่าทำ�

จั ด การภั ย พิ บั ติ พื้ น ที่ ภ าคใต้ ที่ เ ราทำ �

เพื่ อ ให้ ป ระชาชนทั่ ว ไปมองเห็ น ถึ ง

เพราะถูกบังคับ อีกอย่างคือการเป็น

กันอยู่ ฉะนั้น คำ�ว่าพลเมืองจะเกิด

สถานการณ์ ภั ย พิ บั ติ แ ละผลกระทบ

อาสาสมัครนัน้ ไม่มตี �ำ แหน่ง ไม่มเี งินเดือน

พลังขึ้นขึ้นได้ก็ด้วยความเสียสละของ

ทีจ่ ะเกิดกับเขา เมือ่ มีความรูแ้ ล้วก็ตอ้ ง

แต่เป็นเรื่องของใจที่อยากอาสาเข้ามา

พวกเราทุกคน

มีข้อมูลว่าพื้นที่ของเขาอยู่ในจุดเสี่ยง

ทำ�งาน

สิ่งสำ�คัญที่สุดคือ การวางระบบ

ภัยหรือไม่ มิเช่นนั้น จะไม่มีแรงจูงใจ

ตั ว อาสาสมั ค รเองต้ อ งพั ฒ นา

ดูแลอาสาสมัคร เพราะงานอาสาสมัคร

ในการเข้ามาร่วม ทั้งหมดที่กล่าวมานี้

ศักยภาพของตนอยูเ่ สมอ ไม่วา่ จะเป็น

เป็ น เรื่ อ งของจิ ต อาสา ถ้ า พวกเขา

จะทำ�ให้เกิดพลังชุมชนที่เข้มแข็งขึ้นใน

เรื่องของการวางแผน การจัดทำ�ข้อมูล

มากันแล้วไม่มีระบบดูแลที่ดีพอก็จะ

บั้นปลาย

การใช้เครื่องไม้เครื่องมือ แม้กระทั่ง

เกิดความทดท้อในการทำ�งานได้ เช่น



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.