บ้านซ่อง

Page 1



ºŒÒ¹«‹Í§ เรื่องและภาพ สันติสุข กาญจนประกร


Healthy Planet สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู บานซอง เรื่องและภาพ สันติสุข กาญจนประกร ออกแบบปกและรูปเลม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-7374-56-7 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพและเผยแพรโดย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2298 0500 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพครั้งที่ 1

พฤษภาคม 2555


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com




¤Ó¹Ó ทามกลางกระแสวิกฤติเศรษฐกิจโลกครัง้ ใหญเปน ประวัติการณในรอบหลายสิบป ทำใหเกิดการตั้งคำถาม วาวิกฤตินีจะ ้ ใหญขึน้ อีกเพียงใด จะยืดเยือ้ ขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะสงผลกระทบตอสังคมไทยชุมชนหมูบานไทย มากนอยเพียงใด ความวิตกดังกลาวอาจจะไมเกิดขึน้ เลย หาก ปจจุบัน ชุมชน หมูบาน ไทย ไม ถูก ลาก เขา สู ระบบ การผลิตเพื่อขาย นัก วิชา การ หลายๆ ทาน ได วิเคราะห ถึง ระบบ เศรษฐกิจ ของ ประเทศไทย วา ใน ระบบ ทุนนิยม ยัง คง มี อี ก ระบบ ดำรง อยู ใน ลั ก ษณะ คู ขนาน นั่ น คื อ ระบบ เศรษฐกิจชุมชนหรืออาจจะกลาวเปนศัพทสมัยใหมไดวา ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง ใน อดี ต ชุ ม ชน หมู บ า น จะ มี วิ ถี ชี วิ ต ที่ เรี ย บ ง า ย เนนความพอเพียง มีครอบครัวเปนหนวยการผลิต การ ชวยเหลือซึ่งกันและกันมีน้ำใจเปนพื้นฐานของชีวิต มี พิ ธี ก รรม ต า งๆ เป น ระบบ การ จั ด การ ใน ชุ ม ชน และ ใหความสำคัญของบรรพบุรุษ ผูเฒาผูแก ครอบครัว ตอ มา หลัง จาก รัฐ และ ระบบ ทุนนิยม ได เขาไป มี อิทธิพลตอชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม


ทำใหชาวบานมีรายจายทีเป ่ นตัวเงินมากขึน้ เพียงเทานัน้ ยังไมพอ สิ่งที่ทำลายความเขมแข็งของชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเขาไปถายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมูบาน ยิ่ง รัฐ และ ทุน เขาไป กอบโกย มาก เทาไร ชุมชน หมูบานไทยยิ่งประสบความออนแอ คำพูดดังกลาวไมใช คำพูดลอยๆ ที่ไมมีหลักฐานรองรับ หากแตเมื่อกวาดตา ไปทัว่ แผนดินไทย หลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากวา 40 ป จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชน ไมประสบปญหาความยากจน ไมประสบปญหาสิง่ แวดลอม หรือไมประสบปญหาสุขภาพ จาก สถานการณ ดัง กลาว ถึง เวลา แลว หรือ ยัง ที่ สังคม ไทย ควร กลับ มา เนน การ พัฒนา ที่ ไม มอง แต มิติ ประสิทธิภาพ การสรางมูลคาและกำไรหรือการตลาด ดานเดียว แต ควรจะเปน เพื่อ ประโยชน ของชุมชนและ สังคม เราไมควรลดทอนผูคนลงไปเปนเพียงตัวเลข หาก ควร เปน เพื่อ สง เสริม ศักยภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย คำตอบสำหรับคำถามขางตนนี้ คงจะตองชวยกัน คนหา ไมวาจะใชระยะเวลานานเทาไร คณะผูจัดทำ


10 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

นานมาแลว ตำบล สงบๆ ตำบล หนึ่ง ใน อำเภอ พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา นาม ‘บานซอง’ เคยเลื่องระบือวา เปนถนนแหงการลำเลียงโคกระบือจากถิน่ อีสานเพือ่ การ คาขายใหคนแถบภาคตะวันออก หลับตานึก ภาพคลาสสิกนายฮอยไลตอนวัวพรอม ฝุนฟุงกระจายเปนฉากหลังก็ผุดวาบ ในคืนวันเหลานั้น ขุนซอง-กำนันคนแรกของตำบล สองรัศมีผูน ำพาชาวบาน มุงหนาสูความเจริญตามลำดับ ไมนานมานี้ ลูก หลาน ขุน ซอง ไม ได ตอน รับ การ มา เยือน ของ เหลา นาย ฮอ ยอีก แลว แต ใช วา ตำบล เล็กๆ แหง นี้ จะ เงียบเหงาหาวหวอด ตรงขาม ตำบลบานซองนับเปน แหลงแลกเปลี่ยนเรียนรูสำคัญที่ตำบลอื่นๆ จำตองผาน หากปรารถนาใหพื้นที่ของตนเองเปนตำบลสุขภาวะ ทำไม จึง เปน เชน นั้น นอกจาก ผูนำ มี วิสัย ทัศน ผูตาม  มีทัศนคติกวางไกล แลวอะไรอีก ถึงทำใหงานพัฒนา ของทองถิ่นนี้เจริญกาวหนา เรามีคำตอบ

11


12 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

01 ÃÙŒ¨Ñ¡ºŒÒ¹«‹Í§

บานซองแบงการปกครองออกเปน 14 หมูบ า น มี ประชากรทั้งสิ้นประมาณ 9,980 คน มีครัวเรือนทั้งสิ้น 3,289 ครัวเรือน ประชาชนใชชีวิตอยูรวมกันดวยความ รักความสามัคคี มีความโอบออมอารีตอกันโดยไมมีการ แบงแยกเชือ้ ชาติและศาสนา ประชาชนในตำบลบานซอง มีความหลากหลายในดานชาติพันธุ ประชากรบางสวน

13


14 ºŒÒ¹«‹Í§

ไดแก หมูที่ 5 บานหัวกระสังข หมูที่ 10 บานหัวกระสังขเกา และหมูที่ 12 บานหวยปลีก เปนกลุมประชากร ที่ใชภาษาพวน ซึ่งเปนภาษาถิ่นของชาวไทยพวน โดย มีการสันนิษฐานวายายถิ่นฐานมาจากนครเวียงจันทน ประเทศลาว ประชาชนสวนใหญนับถือพุทธศาสนา แตมีความ แตก ตาง ทาง ดาน ประเพณี วัฒนธรรม บาง อยาง เชน ประเพณีบุญกลางเดือน 3 ในสวนของกลุมชาวไทยพวน ชาวบานจะทำบุญดวยการเผาขาวหลามเพื่อนำไปถวาย พระและแจกใหแกเพื่อนบาน ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ของทุกป เปนตน สวนประเพณีวัฒนธรรมอื่นๆ เปนเชน เดียวกับประเพณีวัฒนธรรมไทยทั่วไป สภาพ ทั่วไป ของ ตำบล บาน ซอง มี พื้นที่ ประมาณ 68.89 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 43,052 ไร มีจุด พิกดั ตัง้ อยูทาง  ทิศเหนือของอำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา มีระยะทางจากทีว่ าการอำเภอพนมสารคาม ไปตามทางหลวงแผนดินหมายเลข 319 (พนมสารคาม – ปราจีนบุร)ี เปนระยะทาง 14 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ กับพื้นที่ใกลเคียง คือ ทิศเหนือมีเขตติดตอกับ ตำบล โคกไทย อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ทิศใตมีเขต ติดตอกับ ตำบลทาถาน อำเภอพนมสารคาม จังหวัด ฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออกมีเขตติดตอกับ ตำบลเขาหินซอน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก มีเขตติดตอกับ ตำบลหนองยาว อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ลั ก ษณะ พื้ น ที่ ตำบล บ า น ซ อ ง เป น พื้ น ที่ ราบ ลุ ม รอยละ 95 ของพื้นที่ทั้งหมดเปนพื้นที่ทางการเกษตร ประชากร สวน ใหญ ประกอบ อาชีพ เกษตรกรรม พืช ที่ ปลูกมากที่สุดคือ ขาว รองลงมาคือการทำไร เชน มันสำปะหลัง ถั่วเหลือง นอกจากนั้นมีการประกอบอาชีพ ่ น เลีย้ งสัตว เชน สุกร ไก โดยมีการเลีย้ งแบบโรงเรือนทีเป ระบบปด เพื่อแกปญหากลิ่นรบกวนจากมูลสัตว ตำบล บาน ซอง อยู ใน เขต การ ปกครอง เทศบาล ตำบลบานซอง ไดรับการยกฐานะจากองคการบริหาร สวน ตำบล ขนาด เล็ก เปน เทศบาล ตำบล เมื่อ ป 2551 เปนองคกรหลักในพื้นที่ที่มีหนาที่รับผิดชอบในการดูแล แกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ โดยทำงานรวมกับ องคกรหลักอื่นๆ ในพื้นที่ ไดแก องคกรทองถิ่น องคกร ภาค ประชาชน และ องคกร ภาค รัฐ อื่น ทั้ง ใน และ นอก พื้นที่ โดยมีเปาหมายเพื่อยกระดับชีวิตความเปนอยูของ ประชาชนใหดีขึ้น

15


16 ºŒÒ¹«‹Í§

áËÅ‹§àÃÕ¹ÃÙŒ ã¹¾×é¹·Õè

à·ÈºÒÅμӺźŒ Ò¹«‹Í§ ÍÓàÀ;¹ÁÊÒäÒÁ ¨Ñ§ËÇÑ´©ÐàªÔ§à·ÃÒ จัจังงหหหวัววัดป ดั ปรา ราาจีจจี​ีนบ นบุรี

ËÁÙ‹·Õè 7

6

ËÁÙ‹·Õè 6 8

ËÁÙ‹·Õè 12

6

7

1

ËÁÙ‹·Õè 2 ËÁÙ‹·Õè 10 ËÁÙ‹·Õè 4 11

9

10

ËÁÙ‹·Õè 5

13 ËÁÙ‹·Õè 11

14 15

ËÁÙ‹·Õè 8

16

ËÁÙ‹·Õè 8 ËÁÙ‹·Õè 13

17

ตำบลทาถาน ตำบลเกาะขนุน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

17

01 การบริหารจัดการตำบลแบบโปรงใส

02 03 04 05 06 4 ËÁÙ‹·Õè 3 8

คลอง

3

07 08 09 10

ตตำำบล บลเข บลเข เขาห าหินซซออน  น

11 12 13 14 15 16 17

และมีสวนรวม / การพัฒนาศักยภาพ ของคนในตำบล / วิทยุชุมชน / คลัง ปญญาผูสู งอายุ / อาสาสมัครปองกันภัย ฝายพลเรือน(อปพร.) / กองทุน หลักประกันสุขภาพ กลุม อาสาสมัครดูแลผูสู งอายุ (อผส.) / กลุมอาสาสมัครดูแลผูพิการ(อพมก.) กลุมเห็ดฟาง กลุมไมดอกไมประดับ ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานธารพูด วิสาหกิจชุมชนกลุมธารทิพย (ขาวกลองและผลิตภัณฑ) กลุมวิสาหกิจชุมชนมิตรสัมพันธ กลุมเครดิตยูเนี่ยน โรงเรียนวัดหัวกระสังข (โรงเรียนพอเพียง) ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยี การเกษตร ศูนยการเรียนรู ไทย – พวน กลุมอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) กลุมวิสาหกิจชุมชนขาว ตำบลบานซอง (ปุยอินทรียอัดเม็ด) กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต หมูที่ 9 ศูนยสังคีตศิลป ประจำตำบลบานซอง สถานบันจัดการเงินทุนชุมชน บานหนองสองหอง กลุมเพลงพื้นบาน


18 ºŒÒ¹«‹Í§

02 àÊŒ¹·Ò§¡ÒþѲ¹Ò เสนทางการพัฒนาของเทศบาลตำบลลบานซอง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา มีประวัติความ เปนมาเมื่อ 30 ปที่ผานมา ประมวลคราวๆ ไดดังนี้ ชวงระยะเวลากอนป 2520 เปนชวงการพัฒนา ในการจัดตัง้ ตำบล สวนใหญเปนการพัฒนาดานโครงสราง พื้นฐาน การกอสรางถนน สะพาน และการพัฒนาดาน สาธารณูปโภค

ª‹Ç§ÃÐËÇ‹Ò§»‚ 2520 – »‚ 2540 เปนการพัฒนา ในชวงกอนการจัดตัง้ เปนองคการบริหารสวนตำบล ซึง่ ใน ชวงระยะเวลานี้ ไดรับการสงเสริมการพัฒนาจากองคกร ภาครัฐ ไดแก กรมพัฒนาชุมชน ซึ่งมีการพัฒนาสืบเนื่อง มาจากปญหาความเดือดรอนเรื่องความเปนอยูทั้งดาน วิถีชีวิต ที่ทำกิน ดานการศึกษา และดานสุขภาพ จึงมี การจัดตั้งศูนยพัฒนาเด็กเล็ก การจัดตั้งกลุมไทยอาสา ปองกันชาติ เพื่อสรางจิตสำนึกความรักชาติ อันสืบเนื่อง มาจากการขยายพื้นที่ของพรรคคอมมิวนิสต การพัฒนา ภายใตโครงการแผนดินธรรมแผนดินทอง จนหมูที่ 6 บานหัวกระพี้ และ หมูที ่ 7 บานธารพูดไดรับรางวัลชนะเลิศ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

อันดับที่ 1 เมื่อป 2526 »‚ 2528 เริ่มมีการจัดตั้งศูนย ศสมช. เพื่อใหบริการ ดานสุขภาพแกประชาชน มีการรวมกลุม กันจัดตัง้ ธนาคาร จัดการชุมชนบานหนองสองหอง เนือ่ งจากประชาชนขาด แหลงเงินทุน »‚ 2539 ชาวนาถูกแทรกแซงราคาขาวโดยพอคา คนกลาง จึง รวม กลุม กัน จัด ตั้ง กลุม ขาว กลอง ทำให สามารถกำหนดราคาขาวไดเอง มีเงินปนผลใหแกสมาชิก จนไดรับรางวัลตำบลพัฒนาดีเดนระดับภาค และในชวง ปนี้ สภาตำบลยกฐานะเปนองคการบริหารสวนตำบล ปฏิบัติ งาน ตาม บทบาท หนาที่ ของ องคการ บริหาร สวน ตำบล เนนการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนควบคูกับ การพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน สนับสนุนงบประมาณ เพือ่ พัฒนากลุม อาชีพ และเริม่ มีการพัฒนาในดานตางๆ เชน เริ่ม มี การ จัด ทำ แผน พัฒนา ตำบล มี งบ ประมาณ ในการบริหารจัดการกลุมและองคกรตางๆ ดำเนินการ บริหารจัดการน้ำโดยการ มีสวนรวมของชาวบาน การ เฝาระวังปญหายาเสพติดระบาดในพืน้ ที่ เกิดอาสาสมัคร ตำรวจบาน การอนุรักษเพลงพื้นบานใหคนรุนหลังได สืบทอด เกิดกลุมเพลงพื้นบาน การพัฒนากลุมอาชีพ

19


20 ºŒÒ¹«‹Í§

ตางๆ กลุม อาชีพมีความเขมแข็งและมีความหลากหลาย ในการดำเนินกิจกรรม เชน กลุมรองเทาแตะ เปนตน

ª‹Ç§ÃÐËÇ‹Ò§»‚ 2540 – »‚ 2551 เปนชวงของการ พัฒนาภายใตองคการบริหารสวนตำบลบานซอง ซึ่งมี ฐานะเปนองคการบริหารตำบลขนาดเล็ก เปนชวงทีมี่ การ จัดทำแผนตำบล ซึ่งที่มาของแผนตำบลมาจากนโยบาย รัฐบาล ปญหาของพืน้ ที่ และความตองการของประชาชน ทั้งนี้ เพื่อ เปนการ พัฒนา คุณภาพ ชีวิต และ เพิ่ม ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน »‚ 2541 เกิดกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตหมู 9 เนื่องจากภาวะหนี้สิน และไมมีทุนประกอบอาชีพ เกิด การขยายกลุมอาสาสมัครตำรวจบาน จากการที่ตำรวจ บานรุนแรกปฏิบัติงานไดไมเต็มประสิทธิภาพเนื่องจาก เปน ผูสูงอายุ เกิดการขยายแนวรวมกลุมใหมที่เปนวัย หนุมสาว ฝกทักษะการใชอาวุธเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติหนาที่ »‚ 2542 มี การ ส ง เสริ ม ด า น อาชี พ การเกษตร เนื่องจากประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกิดเปนศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ประจำตำบลบานซอง »‚ 2543 พระครูโสภณวิริยานุยุต และพอวงค วิลาศรี จัด ตั้ง ศูนย ศึกษาสงเคราะห (ศูนย สังคีต ศิลป)เพื่อ ให เยาวชนเขารวมกิจกรรมกับศูนยสังคีตศิลปและสืบทอด ภูมิปญญาดานดนตรีไทย »‚ 2544 สำนักงานกองทุนเพือ่ สังคม (SIF) สนับสนุน การจัดตัง้ วิทยุชุมชน ตามแนวทางของรัฐธรรมนูญ 2540 อบต.บานซองจึงสนับสนุนใหมีสถานีวิทยุชุมชน ตั้งคณะ กรรมการบริหารสถานีวิทยุชุมชน และใชวิทยุชุมชนเปน สื่อกลางในการจัดทำแผนแมบทชุมชน »‚ 2546 เกิดปญหาวิกฤติเศรษฐกิจ ปญหาดาน สังคม ครอบครัวแตกแยก ปญหาดานสุขภาพอนามัย ของ ประชาชน จึง มี การ จัด ตั้ง กลุมเครดิตยูเนี่ยน บาน หัวกระพี้ เกิดอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย (อพม.) จัดตัง้ ศูนยพัฒนาครอบครัวและชุมชน ตำบลบานซอง เพื่อประสานงานและสนับสนุนการแก ปญหาครอบครัว นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งศูนยเรียนรู ไทยพวน เนื่องจากชาวบานไทยพวนและ อบต.บานซอง ตองการอนุรักษประเพณีของชาวไทยพวน ใหเปนแหลง

21


22 ºŒÒ¹«‹Í§

ศึกษาดูงานดานศิลปวัฒนธรรมของชาวไทยพวน »‚ 2548 จากปญหาการวางงาน และวิกฤติเศรษฐกิจ ประชาชน มี ราย ได นอย มี หนี้ สิน จึง เกิด การ รวม ตัว กัน ของ กลุม แม บาน ตัด เย็บ เสื้อผา และ เกิด กลุม ขยาย พันธุพืช (ไมดอกไมประดับ) จนมีรายได และเปนแหลง เรียนรูของกลุมเยาวชน นอกจากนี้ยังมีการดำเนินการ โครงการเยาวชนตานภัยยาเสพติด งานมหกรรมไทยพวน เรื่องสื่อกับวัฒนธรรม »‚ 2549 เริ่มรวบรวมขอมูลและจัดตั้งคลังปญญา ผูสูงอายุ กลุมเย็บผาขอจดทะเบียนเปนวิสาหกิจชุมชน เพื่อประชาสัมพันธยกระดับสินคา เนื่องจากเจอปญหา เรือ่ งระบบชลประทาน ตนทุนการผลิตสูง ทีด่ นิ เสือ่ มโทรม เกิดคลังปญญาผูสูงอายุ กลุมเย็บผาไดรับรางวัล OTOP 3 ดาว และกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวหอมมะลิ (ผลิตปุย อินทรียอัดเม็ด) »‚ 2550 เปนปที่มีการพัฒนากลุมอาชีพ โดยกลุม ตัด เย็บ เสื้อผา เขา รวม ทำ ประชาคม เพื่อ ขอ จักร เย็บ ผา และ อาคาร ที่ทำการ กลุม กลุม ปลูก ผัก บาน หนอง หวา ไปดูงานการเพาะเห็ดฟางจากอำเภอสนามชัยเขต กลับมา


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

รวมกลุม เพือ่ เพาะเห็ดฟาง และเนือ่ งจาก พ.ร.บ.อาสาสมัคร ป อ งกั น ภั ย ฝ า ย พลเรื อ น จึ ง มี การ อบรม อาสา สมั ค ร ปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) นอกจากนี้ยังมีการ จั ด ตั้ ง ศู น ย สั ง คี ต ศิ ล ป เพื่ อ จั ด กิ จ กรรม ด า น ส ง เสริ ม คุณธรรมแกเด็กและเยาวชน

ª‹Ç§ÃÐËÇ‹Ò§»‚ 2551 – »˜¨¨ØºÑ¹ เปนชวงระยะเวลา ที่ อบต.บาน ซอง ยก ฐานะ เปน เทศบาล ตำบล บาน ซอง จึงเปนชวงที่มีการพัฒนาเพิ่มความครอบคลุมในการแก  ปญหาทีมี่ การเปลีย่ นแปลงตามวิถชี​ี วติ ความเปนอยูของ ประชาชน และเปนการตอยอดการพัฒนาเพื่อยกระดับ ชีวิต ความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ไดแก »‚ 2551 เปนชวงของการพัฒนายกระดับดานสุขภาพ อนามัย ดาน การ ศึกษา และ เทศบาล ตำบล บาน ซอง เขารวมในโครงการหลักประกันสุขภาพตำบล จึงมีการ ดำเนิน การ พัฒนา สถานี อนามัย บาน ซอง และ สถานี อนามัยบานหนองหวา โดยการเพิ่มศักยภาพการดูแล สุขภาพ ประชาชน มี การ พัฒนา ศักยภาพ อาสา สมัคร สาธารณสุขประจำหมูบาน (อสม.) และเกิดกองทุนหลัก ประกันสุขภาพตำบล สำหรับการศึกษามีการดำเนินการ พัฒนา ยก ระดับ ศูนย พัฒนา เด็ก เล็ก ทำให ศูนย พัฒนา

23


24 ºŒÒ¹«‹Í§

เด็กเล็กบานธารพูดผานการรับรองมาตรฐานศูนยพัฒนา เด็กเล็กนาอยูระดั  บดีมาก และไดรับการคัดเลือกเปนศูนย พัฒนาเด็กเล็กนาอยูระดับยอดเยี่ยม และไดรับรางวัล ศู น ย พั ฒนาเด็ ก เล็ ก ดี เ ด น ขนาดเล็ ก นอกจาก นี้ ยั ง มี การ ดำเนิน การ เพื่อ แก ปญหา ตางๆ ที่ เกิด ขึ้น โดย การ จัดตั้งศูนยสรางสุข ซึ่งเปนศูนยบริการทางสังคมแบบมี สวนรวม »‚ 2552 มีการพัฒนาตอยอดงานในหลายๆ ดาน ได แ ก การ ร ว ม งาน กั บ สสส. จั ด ทำ สื่ อ ชุ ม ชน เกิ ด สื่ อ สุขภาวะชุมชน ประชุมจัดทำแผน สปสช. เกิดแผนทีทาง ่ เดิน ยุทธศาสตรกองทุน สปสช. จัดกิจกรรมภายใน ศสมช. โดยนำ อสม. ไปดูงาน โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร และมีการพัฒนารูปแบบการใหบริการโดยนำยาสมุนไพร มา เปน ทาง เลือก ใน การ รักษา โรค ให แก ผู ปวย พัฒนา กลุม ตัด เย็บ เสื้อผา จน เปน แหลง เรียน รู ให เยาวชน และ คนทัว่ ไป เกิดการตอยอดการดำเนินงานของอาสาสมัคร ดูแลผูสูงอายุและผูพิการ เกิดคณะกรรมการ 9 คน และ อาสาสมัคร 94 คน »‚ 2553 เขารวมโครงการตำบลสุขภาวะ และไดรับ งบประมาณสนับสนุนจาก สสส. มีการดำเนินงานตอยอด


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

หลายดาน เพื่อใหเปนตำบลนาอยู และเปนแหลงเรียนรู สุขภาวะชุมชน เกิดการขยายงาน ไดแก งานอาสาสมัคร เยี่ยมบานผูปวย งานพัฒนาฐานขอมูลตำบล ขยายศูนย สรางสุข เปน 4 ศูนย จากทีม่ าและเสนทางการพัฒนาของตำบลบานซอง แสดง ให เห็น ถึง เหตุ ปจจัย ที่มา ของ การ บริหาร จัดการ ทองถิน่ ของเทศบาลตำบลบานซองมาจากปจจัย 3 ประการ ไดแก 1. ปญหาของพื้นที่ 2. นโยบาย และ 3. ความ ตองการของประชาชนในพื้นที่

25


26 ºŒÒ¹«‹Í§

03 à§Ô¹¼Ø´ÃÒÇ´Í¡àËç´


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ปาย หนา บาน หลัง นั้น บรรจุ ตัว อักษร ‘ติด อาวุธ ทางปญญา’ เราถามเจาของบาน บัญชา ฉานุ ถึงความหมาย ชายกลางคนพูดจาคลองแคลวเฉลยวา ใครก็ตามถาตัง้ ใจ จริง เขามาเรียนรูที่นี่ รับรองได กลับออกไปไมมีจน พูด ใหชัดๆ มีปญญา ไมมีจน ชาวบานที่นี่ รวมตัวกันภายใตนาม ‘กลุมวิสาหกิจ ชุมชนเห็ดและผักปลอดสารพิษบานหนองหวา’ โดยมี บัญชาเปนฟนเฟองสำคัญ มีงานหลักๆ คือการปลูก ‘เห็ด ฟาง’ รวมถึงมีการรวมแรงรวมใจในการถายทอดความรู ใหกันและกัน สำคัญสุด เห็ดที่อื่นจะราคาตกอยางไร แต ผลผลิตของสมาชิกทีนี่ มี่ การประกันราคา หนาชืน่ ตาบาน กันถวนหนา “เราปลูกเห็ดฟางอยางเดียว ปลูกดีที่สุด ใชพื้นที่ นอย มีรายไดตลอด ขั้นตอนการผลิตใชเวลาแค 15 วัน ตอจาก นั้น เก็บ ตอ เนื่อง ได อีก 10 กวา วัน แตละ รอบ ทำเงินใหเราต่ำๆ 5,000 บาท นี่แคโรงเรือนเดียว ถา เราทำได 8-10 โรง ก็จะมีหลายไดไมต่ำกวา 40,000-50,000 บาท แตการดูแลรักษาอาจ ยากกวาเห็ดชนิดอืน่ หนอย เพราะตองมีอบไอ น้ำ ไมเหมือนเห็ดถุง” กอนหนานั่งลงคุยกันในศาลาที่ บัญชา ฉานุ

27


28 ºŒÒ¹«‹Í§

มีลมพัดบางๆ บัญชาพาเราเดินเขาโรงเพาะนี้ ออกโรง เพาะโนน เพื่อเขาไปดูผลผลิตที่เกิดจากการใชปญญา เห็ดขาวๆ อวบๆ แยมหนาใหเห็น เห็ดสดๆ นี่ถาไดตัด ไปใสตมยำ หรือผัดน้ำมันหอย คงอรอยพิลึก “การรวมตัวของพวกเราเริม่ ตนจริงๆ เมือ่ ป 2548 ชวง นั้น มี โครงการ ของ เทศบาล คือ โครงการ แก ปญหา ความยากจน โดยมีเกษตรตำบลแนะนำวาให รวมสมาชิกมาปลูกผักปลอดสารดวยกัน เขา มี ที่ ท าง เอา ไว ให เรา ใช ประโยชน ไดงบประมาณ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

29


30 ºŒÒ¹«‹Í§

มา ตอมาประมาณป 2549 ธนาคารขายที่ตรงนั้นไป สมาชิกก็ตองกลับมาประกอบอาชีพที่บานเหมือนเดิม “คราว นี้ เรา มา ตั้ง โจทย กัน จาก ปญหา พื้นที่ ที่ เรา ประสบ วาคราวนี้ตองทำอะไรที่ใชพื้นที่นอย และสราง ความ ยั่งยืน ให ได ชวง นั้น เรา เลี้ยง หมู กัน มา กอน เลย ปรับปรุง ตรง นั้น มา เปน โรง เรือน เพาะ เห็ด ประมาณ ป 2550 จากสมาชิกแรกเริ่ม 12 คน ก็ขยายเปน 30 คน ชวงนั้นยังไมมีความรูมาก ก็ไปหาความรูจากพื้นที่อื่นๆ ที่ปลูกกันมากอน ลองผิดลองถูกไป แลวเอาไปสงลูกคา “พอป 2551 เริม่ มีสมาชิกเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เราคิดคน สูตรของตัวเองไดแลว จากที่เคยใชปาลม ก็เปลี่ยนมาใช เปลือกมันสำปะหลังในการปลูกแทน เพราะแหลงมันอยู ใกลชุมชนเรา ใชแทนกันไดดีกวาดวย ป 2552 จากกลุม ปลูกผัก เราก็ไปจดชื่อใหม เปนกลุมวิสาหกิจชุมชนเห็ด และผักปลอดสารพิษบานหนองหวา จึงเริม่ ตัง้ กฎระเบียบ ขอบังคับตางๆ เพือ่ ความมีระเบียบเรียบรอย มีการระดม ทุนเพิ่ม เวลาจะสมัครสมาชิกเสียเงิน 100 บาท ไดหุน 1 หุน คาเอกสาร 20 บาท” อยางที่กลาววาราคาเห็ดที่นี่ไมงอพอคาคนกลาง เพราะพวกเขาตกลงกันแลววา จะทำเห็ดคุณภาพ ดังนัน้ ราคาก็ตองไดดีสมน้ำสมเนื้อ “ประมาณป 2553 มีการประกันราคาใหสมาชิก


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

กิโลกรัมละ 55 บาท ตอนนี้ราคา 70 บาทแลว พอมา ป 2554 มีการฝกใหสมาชิกรูจักการออม พอมาสงเห็ด ตองออมเงินไว และเอาเงินเขาสนับสนุนกลุม ดวย ตอนนี้ สมาชิก 141 คน จำนวนคนในตำบลเราเยอะที่สุดแลว เครือขายนอกตำบลก็ยังมีอีก” บัญชา ยืนยันวา ปลูก เห็ด สามารถ ทำ เปน อาชีพ หลักอยางเดียวได ตอนนี้สมาชิกวาครึ่งก็ประกอบอาชีพ นี้อยางเดียว “คนของเราประมาณ 50 เปอรเซ็นตทำเปนอาชีพ หลักอยางเดียวเลย ปจจัยที่เราตองคำนึง ตองระวัง ถา เปนกลุมเราแทบไมมี เพราะมีราคาประกันใหแกสมาชิก ทุกคน เวลาเอามาขายให ทางกลุม แลว จะมีพอ คา ซึ่ง เปน สมาชิก กลุม เรา มารับซื้ออีกที ตลาดเรา ก็หาให สมาชิกแคตั้งใจ เพาะ ก็ พอ เรา ประกัน ความ เสี่ ย ง ให แทบ ทุ ก ด า น กลุ ม เรา เป น คน กำหนด ราคา ให พ อ ค า ไม ใ ช ให เขา มา กำหนด เห็ดของเราเปนเห็ดโรง-

31


32 ºŒÒ¹«‹Í§

เรือนทั้งหมด มีระบบควบคุมสินคาดานการเกษตร ของ มีคุณภาพ ตรวจสอบไดหมด “คุณภาพเห็ดดูที่สี น้ำหนัก ขนาดของดอก จริงๆ กระบวนการผลิตทัง้ หมดนัน่ แหละ ไปซือ้ เชือ้ มาจากไหน เพาะอยางไร เราไปทีอื่ น่ เขาเพาะกลางแจง ขายไดแคกิโล ละ 50 บาทเทานั้น ของเรา 70 เห็ดบานที่อื่นไดกิโลละ 20 บาท เราประกันให 40 บาท เห็ดเล็กที่อื่น 30 บาท ของเราประกันให 55 บาท เราไมอยากใหพอคามาเอา เปรียบเกษตรกรอีกตอไป” กติกาทุกอยางผานการระดมจากหลายหัว ตางคน ตางมาแชรความคิด การพัฒนาจึงไมมีหยุดนิ่ง “ทุ ก อย า ง เกิ ด จาก ที่ คณะ กรรมการ ช ว ย กั น คิ ด


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ประชุมกัน เราคุยกันทุกเดือนในหมูกรรมการ สมาชิก ก็คุยกันอีก ไมมีหมดเรื่องคุย คุยเรื่องตลาดใหมๆ บาง คุยเรื่องทำไมบานนั้นปลูกไมคอยขึ้น เราชวยกันแกไป เอาเทคนิคของแตละคนมาแชร อยางชวงนี้ เปลือกมัน สำปะหลังไมพอ เราก็มานั่งคุยกัน วาจะใชวีธีแบบไหน จะเขาไปคุยกับโรงงาน รถขนมันของเราไมตองไปรอคิว เปนการแชรความเห็นกัน เอางายๆ อยางวันนีสมาชิ ้ กจะ มาสงเห็ดประมาณ 3 โมงเย็น ทุกวัน นั่นหมายถึงปญหา ใหมๆ มีมาคุยกันอีกแลว มากันเปน 100 คน ขอมูลเรา ไมมีปดบังกัน” ทางกลุม นีเน ้ นมากเรือ่ งการรวมตัวกัน และแนะนำ ใหพื้นที่อื่นๆ ที่ตองการลองปลูกเห็ด รวมตัวกันใหติด “อยางของเรา จะเขามา ตองมาสมัครเปนสมาชิก กอน เนนมาก ตองทำเปนกลุม จะไดชวยพยุงกันไป ที่ เอามาคือทะเบียนบาน บัตรประชาชน แลวก็คาสมัคร เงินทุนสรางโรงเรือน 1 หอง ประมาณ 30,000 บาท ปลูกไดเลย คืนทุนเร็วนะ สมาชิกที่ทำกันจริงๆ ผลิตกัน ออกมา หองหนึ่งเกือบ 20,000 บาท ทำสัก 3 เดือน คืน ทุน โรง เรือน ตอน นี้ เรา ให สราง แบบ เดียวกัน หมด ระบบ ตัวเลข ตางๆ จะ ได เหมือน กัน เปน มาตรฐาน เดียวกันหมด กวาง 5 เมตร ยาว 8 เมตร “เวลาคนมาเรียนรูกับเรา เขาอยากรูเรื่องทำกัน

33


34 ºŒÒ¹«‹Í§

เปนกลุมนี่เเหละ พอทำแลวมันดูดี คนในชุมชนไดมา พบปะ กัน มี การ ชวย เหลือ กัน สมาชิก ทุก คน ยอมรับ หลายคนปลูก เราไมเคยคิดวาเปนคูแขงกัน มันสงเสริม กัน ใครมาดูงานทีนี่ ่ เราบอกหมด ใหไปทำแบบกลุม อยา ทำโดดๆ เอาจริงๆ นะ เวลาทำเปนกลุม พอคาไมชอบ ถามวาทำไม เพราะเขากดราคาเราไมได อยางชวงนี้เห็ด เยอะ ราคามันจะถูก ชวงที่ผานมา เห็ดนอย ราคาตลาด ก็ยังถูก แสดงใหเห็นอะไรละ” อยางที่เขากลาว พอคาคนกลางที่มาซื้อเห็ดจาก กลุม ตองตกลงกันภายใตขอตกลงทีเป ่ นธรรมกับทุกฝาย ไมใชพอคารวย เกษตรกรจนเหมือนทีผ่ านมา บัญชาบอก วากลุม ของเขา ไมวาสถานการณเห็ดในประเทศตกต่ำแค ไหน ก็ยังจะขายไดราคา อยางชวงนี้ เขายอมรับวากลุม


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ขาดทุน 2,000-3,000 บาท ตอรอบซื้อ แตดวยประกัน ใหสมาชิกแลว ก็ตองเฉลี่ยๆ ไป พอเห็ดราคาขึ้น คอยถัว เฉลีย่ ตอนรายไดงามๆ รับเห็ดไมต่ำกวา 3 ตันตอวัน เปน ตัวเงินคือ 200,000-300,000 บาทตอวัน “ตัวพอคาเองก็บุกเบิกมาพรอมๆ กับเรา ตอนแรก เราทำ ตองเอาไปสงเอง ไปถึงมือแมคาพอคาก็โดนกด ราคา บอกเห็ดเปยกตัด 5 บาท พอดีเราไปเจอพอคา คนหนึ องววาเราทำเป คนหนึ่งที่มมอง เราทำเปนกลุม มารับเองดีกวา เริ่มตั้งแต 20 กิโลกรัม มาตอนนี้ เขาไดวันละ 1 ตันกวา เราเลื รายหลักเลย พอคาคนอืน่ เขา เราเลือกเป กเปนรายหลั มาแบบจร มาแบบจร เราบอกว เราบอกวาไมไไดด พอคาตองเปนสมาชิก เราด ารออมด เราดวย มีกการ ออมดวย ออมกิ ออมกิโลละบาท ปทีผ่ านมา รวมเงิ รวมเงินได 18,000 บาท” กลับมาที โลแกนติติดอาวุธทางปญญา มาที่สสโลแกน “คุณเขามาศึกษากลุม เรา จะมีมีความ ควา รูติ ดกลับไป ขอใหเขา จะ มาเเรียน รู เถอะ มัน ทำให มา ชีวิตดีขึ้นจริง มีหลายคน มาก เราไดรับคำขอบคุณ มา เร เรา เอง ก็ ดีใจ บางที สง ปลาเค็ ปลา เค็ม มา ให จาก ตรัง สราง ใจไไดมาก ทางกลุมเราเอง กำลังใจ

35


36 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ก็มีชัดเจนที่ฐานะเปลี่ยนไปเลย แรกๆ ลมลุกคลุกคลาน เดีย๋ วนี้ สงลูกจบปริญญา เราตัง้ เปนอาจารยของกลุม แลว ถือวาประสบความสำเร็จ “ผมวาเรื่องอาชีพ คนเรายังมองไมออกวาตัวเอง ควรทำอะไร มันหลากหลายมาก ถามวาคุณทำเห็ด ทำ อยูกับบาน ไมตองไปทำงานโรงงาน พอแมลูกอยูดวย มันก็มีความสุข ทำเห็ดสัก 10 หอง มีรายไดไมต่ำกวา 50,000 บาท การเลือกอาชีพ ผมมองวาตองเลือกจาก ศักยภาพของตัวเรา ความพรอม เรื่องเห็ดนี่ ลึกๆ แลว ผมเชือ่ วาชาวบานซองเองยังไมรขู อมูลเทาไหรเลย รูแค  มี กลุมนี้อยู เราจึงตองทำเปนโมเดลไว” ตอไปในอนาคต ทางกลุมมองไปถึงการทำใหเปน แหลงทองเที่ยวเชิงเกษตร

37


38 ºŒÒ¹«‹Í§

“เราจะพัฒนาไปเรือ่ ยๆ สวนการทำ ตลาด มองไปทีอิ่ นเดีย เปนแบบอบแหงแลว สงไป นีมาเลเซี ่ ยเชิญใหเราไปเปดขายดวย แตปญหาหลักๆ ของเราคือเรื่องตัวเชื้อ เรายังตองซื้ออยู ซึ่งตอนนี้เทศบาลใหเงิน เรามาเพือ่ ผลิตเองแลว จากนัน้ จะเปดกลุม เปนทางการ สวนตลาดในประเทศ ก็สงเขา พัทยา ชลบุรี ตลาดคลองเตย สำโรง อีกเรือ่ ง คื อ เรา ขอ งบ จาก เทศบาล เพื่ อ ทำตั ว บรรจุ ภั ณ ฑ ใหม เป น แพ็ ค เกจ สวยงาม เพื่อยกระดับเห็ดของเรา เราจะสรางให ติ ด ตลาด มี บรรจุ ภั ณ ฑ หลายๆ อย า ง พูดงายๆ อยูนิ่งไมได ตองพัฒนาตลอด คณะกรรมการตองชวยกัน”


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

39


40 ºŒÒ¹«‹Í§

¤Ø³»ÃÐ⪹ ¢Í§àËç´¿Ò§ นอกจากเห็ดฟางจะเปนยอดแหงอาหารเพื่อสุขภาพ คน ตองการ ลด น้ำ หนัก ควร บริโภค เห็ด ชนิด นี้ ยัง มีธา ตุ ตัวสำคัญที่จำเปนตอรางกายหลายอยาง ซึ่งหาไดไมงายนัก ในพืชผักชนิดอื่นๆ ที่สำคัญคือไขมันต่ำ แคลอรีนอย และไมมีคลอเรสเตอรอล แรธาตุหลักมีครบถวน ทั้ง คารโบไฮเดรต แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก วิตามินบี 1 บี 2 และซี อีกทัง้ ยังมี ซีลิเนียมกับโพแทสเซียม ซึง่ ซีลิเนียมเปนสาร ตานมะเร็ง สวนอยางหลังนั้นชวยลดความดันโลหิตไดอยาง ยอดเยีย่ ม นอกจากนัน้ ยังมีโปรตีนสูงและมีกรดอะมิโนตางๆ ทีร่ างกายมนุษยตองการในปริมาณพอสมควร ประโยชนทาง ยาของเห็ดฟาง นอกจากมีสารปองกันการเจริญเติบโตของ เซลลมะเร็ง ยังชวยตานไวรัสและแกไขหวัดไดดวย ทางแพทยแผนโบราณยังจัดใหเปนเภสัชวัตถุ ที่ มี รส หวาน เย็น ชวย บำรุง รางกาย ชวย ยอย อาหาร บำรุง โลหิต บำรุง กำลัง บำรุง ตับ แกรอนใน แกช้ำใน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

41

เมนูงายๆ ของเห็ดฟาง ก็คือยำรสแซบ แคเตรียม เห็ดฟาง 15 ดอก เนื้อหมูสับรวนสุก 1/4 ถวย หอมแดงซอย 1/2 ถวย พริกขี้หนูแดงหรือเขียวซอย 9 เม็ด สะระแหนเด็ดใบ 1/2 ถวย ตนหอมหั่นทอน 1 ตน ผักชีหั่นทอน 1 ตน สวนน้ำยำ ก็เตรียม น้ำปลา 3 ชอนโตะ น้ำมะนาว 4 ชอนโตะ น้ำตาลทราย 2 ชอนชา กระเทียมแกะเปลือก ซอยตามขวาง 1 ชอนโตะ วิธีเลือกเห็ดฟาง ควรใช ดอกตูมมาทำยำ เพราะเนื้อแนน มีรสหวาน วิธีลางใหเห็ดขาวนากิน ก็ใหลางทั้งดอกในน้ำแกวงสารสม แลวลางน้ำเปลากอนทำยำ


42 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

04 ¢ŒÒÇÊÌҧÊØ¢ พวงมาลัยหลากสีหอยแขวนอยูบนเครื่องสีขาวใน โรงไมหลังนั้น ชาวนาในตำบลบานซองอาจเปนชาวนาสวนนอย ที่ยังยึดถือความเชื่อโบราณบางอยาง เชน พวกเขาและ เธอยังไหวแมโพสพทุกครั้ง เมื่อรวงทองผุดกระจายเต็ม สายตาในแปลงนา อาจดูเกาและเชย แต สำรวย ศรีเกษม เจาของ โรงสีหลังนั้น บอกวาทำแลวสบายใจ และของบางอยาง

43


44 ºŒÒ¹«‹Í§

ไมเห็นจำเปนตองเดินตามโลกสมัยใหมไปเสียทุกอยาง ระบบการผลิตที่เนน ขาย ขาย และขายอยางสมัยใหม นิยม พาชีวิตเกษตรกรพังมาแลวนักตอนัก เปนหนี้จาก ตนทุนการผลิตเพราะใชปุยเคมีนั่นหนึ่ง อีกหนึ่งสำคัญ คือการทำลายลางธรรมชาติรอบตัว ‘กลุมวิสาหกิจชุมชนกลุมธารทิพย ขาวกลองและ ้ เห็นถึงการ ผลิตภัณฑ’ เปนตัวอยางของแหลงเรียนรูที ชี่ ให รวมกลุมกันของเกษตรกรในหมูบานธารพูด ตำบลบาน ซอง มีการแปรรูปขาวและเพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑใน หลายลักษณะ ไดแก การผลิตขาวกลอง ขาวซอมมือ ขาว สมุนไพร การทำขนมจากแปงขาวกลอง การทำน้ำขาว กลอง ขาวเกรียบสมุนไพร และการทำน้ำขาวกลองงอก นอกจากนียั้ งมีการระดมเงินออม เพือ่ รวบรวมเงิน ของสมาชิกสำหรับใชเปนทุนในการดำเนินกิจกรรมตางๆ และเปดโอกาสใหสมาชิกไดกูยืมเงินโดยคิดดอกเบี้ยใน อัตราต่ำ และเมื่อดำเนินกิจกรรมครบรอบป จะมีการ ปน ผลกำไรใหแกสมาชิก ตลอดจนการแบงปน ผลกำไร บางสวนเพื่อสาธารณประโยชน พรอมกันนี้ยังไดมีการ จัดสวัสดิการสำหรับสมาชิก ซึ่งมีความครอบคลุมตั้งแต เกิดจนกระทั่งเสียชีวิต การพัฒนาวิสาหกิจชุมชนของกลุม เริ่มตนตั้งแตป 2539 เปนตนมา โดยเริ่มจากกลุมเกษตรกรในหมูบาน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

สำรวย ศรีเกษม

ธารพูด หมูที ่ 7 นำโดยสำรวย พรอมดวยสมาชิกอีก 4 คน ซึ่งเดิมเปนสมาชิกในกลุมแมบานที่เคยเขารับการอบรม ในการ ฝกทำขนมไทย แตเนื่องจากไมไดรับความนิยม จึงยุติการทำขนม ตอมาจึงไดรวมกลุมกันผลิตขาวกลอง อินทรีย ไว จำหนาย และ เพื่อ เพิ่ม มูลคา ของ ผลิตภัณฑ ตลอดจนลดปญหาการขายขาวเปลือกซึง่ ขณะนัน้ ประสบ ปญหาราคาขาวตกต่ำ อีก ทั้ง ยัง ชวย ให เกษตรกร ผู ผลิต ขาว สามารถ มี อำนาจในการกำหนดราคาขาวไดเอง เพราะในระยะที่ ผานมา การกำหนดราคาขาวขึ้นอยูกับพอคาคนกลาง เปนหลัก ซึง่ ทำใหเกษตรกรผูผลิ  ตขาวไดรับความเดือดรอน เปนอยางมาก

45


46 ºŒÒ¹«‹Í§

“เราเห็นขาวราคาถดถอย” สำรวยวา เบือ้ งหนาเธอ มีผลิตผลแปรรูปจากขาววางมากมาย แตละหอ นาชิม นาลิม้ ลอง “ขาวหอมมะลิกับพืน้ เมือง ราคาไลเลีย่ กันมาก เมื่อกอนพื้นเมืองถังละ 20 บาท หอมมะลิ 23 บาท เรา มานึกวาทำยังไง ใหขาวหอมมะลิราคาดีขึ้น เลยหันมา รวมตัวกันกับชาวนา การมาเขากลุม เราลำบากหนอย คือ ตองทำตามกฎ ขาวตองปลอดเคมี คนสนใจตองตัดสินใจ กอนวา จะคุมทุนไหม แตการคุมหรือไม มันอยูที่ตัวเรา มากกวา อีกอยาง เราอยากฆาชีวติ คนอื่นไปดวยไหมกับ สารพิษ เพราะยามันคางในเม็ดขาว “กลุม เรา ซื้อ ขาว จาก สมาชิก ให ราคา สูง กวา ทอง ตลาดเกวียนละ 2,000 บาท คือเราตองทำใหคุมกับคน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ทีจะ ่ เลิกทำนาเคมี ปแรกให 9,000 บาท เหนือกวาตลาด นิดหนอย จนปทีแล ่ วให 15,000 บาท จากในทองตลาด 12,000 เราอยูได เพราะมันถัวเฉลี่ยจากการแปรรูป ดวย ที่สำคัญ คือความสุข คนกินไมตองกินเคมี คนทำ ก็ไมโดนเคมี” นกยามสายสงเสียงรองเริงรา บรรยากาศการพูด คุยรื่นรมย สำรวยแกะหอขาวเกรียบสมุนไพรสีสวยให เราชิม “ถามวาชาวนาเปนหนีอยู ้  พลิกมาปลูกเคมีเลยได ไหม คงทำไมได แคตองคอยๆ ลดลง ทำแปลงเล็กๆ กอน คิดดูนะ แปลงหนึ่ง เราใชขาวเปลือกแค 15-20 กิโลกรัม แตแปลงเคมี ตองใชถึง 40 กิโลกรัม มันจะไมเปลือง ไดยังไง ตอนนี้ชาวนาหันมาทำแบบเราเยอะ ซึ่งปแรก มันอาจไมไดอะไรเลย บอกตามตรง ตัวเองไมไดทำนา อยางเดียว มีเลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว ปลูกผักอะไรไป “ยังเชื่อมโยงกับทางเขาหินซอน ซึ่งเปนโครงการ พระราชดำริ เชน เรื่องดิน หรือพาคนไปอบรมเรื่องทำ ของใชตัง้ แตเทายันศีรษะ กลุม เราหันมาหมักปุย ใชกันเอง เกือบหมด ทางเทศบาลก็แจกถังมาให เขาหินซอนก็ให กากน้ำตาลมา ถาสนใจจริงๆ ชาวนาก็ไมตองมีรายจาย อะไรเทาไหร ทำปลอดสารงายกวาเคมีดวย ไมตองไปดู ระยะพนยา คนที่ใชเคมี มันติดความตอเนื่อง เหมือนคน

47


48 ºŒÒ¹«‹Í§

เปนโรคจิตชนิดหนึ่ง ถาไมใสเคมี กลัวขาวไมดี” เหมือนโรคจิตชนิดหนึ่ง ประโยคนี้เลนเอาสะอึก มิใชนอย ไมมีความเห็น เลือกกันเอาเองแลวกัน อยาก เปนเหมือนที่สำรวยกลาวหรือไม “คนทำนาอยาโลภ คนเดียวอยากทำทีละ 200300 ไร คนอื่นก็ไมมีที่จะทำ ปญหาคือ เราจัดระเบียบ กันไมได คำถามคือ ทำเยอะ มันไดเยอะจริงหรือเปลา แลวคนจำพวกนี้ สอนยาก ยังคิดอยูวันยันค่ำวา ตัองทำ เยอะๆ ไมคิดวาทำนอยแลวไดเยอะ ทำแคพอกิน เอา งายๆ คนทีแปลง ่ ติดกัน พืน้ ทีเท ่ ากัน ของเขาไดขาว 800 ถัง เราได 650-700 ถัง แตตนทุนเราอยูที่ 1,200 ของ เขาตกอยูที่ไรละ 2,400-2,500 บาท แลวก็ตองเสี่ยง เอายาไปโรย” เธอยกตัวอยางหดหูวา คนรูจักคนหนึ่ง กอนปที่ จะเสียชีวิต สำรวยไปเตือนแลววาจะเกิดมะเร็งจากการ พนยา เขาเถียง ไมเชื่อ “ไมนานก็ตาย ไปตรวจทีเปนขั้นสุดทายแลว อยู ไดอีกแค 8 เดือน เวลาเราปลูกนาติดกันกับคนใชสาร เรามีคันนากันน้ำเขาไมใหมาลง มีปากันเวลาฉีดสารพิษ มันตองมีแนวกัน สวนการตอยอดตางๆ เราประชุมกัน อยางขาวเกรียบ ไปเจอเด็กนักเรียนกินแตขนมที่ผงชูรส เยอะ มาปรึกษากัน ทำตัวไหนใหมีประโยชน เราทำจาก


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

“คน อื่ น คิ ด ว า ทำ นา แล ว จะ มี อะไร เหนื่อย แต เวลา เรา เกี่ยว ขาว กำ รวง แลว น้ำ หนัก ดี นั่ น คื อ ความ สุ ข ที่ สุ ด ความ สุ ข ของ คน แตก ต า ง กั น บาง คน มี เงิ น เยอะ ถึ ง สุ ข ไป ใช ใน ช ว ง ทาย มีความสุขถึง 10 ปหรือเปลา ก็ไมรู” ปลายขาวกิโลกรัมละ 10 กวาบาท ก็เปนสินคาโลละ เปนรอย” “ทำไมยังยึดประเพณีเกาๆ อยางการไหวแมโพสพ” เราสงสัย ทามกลางยุคสมัยใหมกินลาม “ประเพณีไหวแมโพสพ เราเองยังทำอยู ทำตอน ออกพรรษา กอนขาวออกรวงเต็มตัว สมัยโบราณบอกวา แมจะหิวของเปรีย้ วของหวาน สมสูกลูกไม ถัว่ งา เราก็เอา ไปเลี้ยง แตเดี๋ยวนี้ชักเลิกทำกันแลว บางคนทำนาตลอด ไมรูจะทำชวงไหน สวนใหญคนทำขาวนาปถึงจะทำกัน เรา ทำ เพื่อ ความ สบายใจ ของ เรา ทำ นา แลว ลำบาก ใจ

49


50 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

จะ ไป ทำ เพื่อ อะไร ทำ นา ตอง มี ความ สุข คิด วา อาชีพ เกษตรกรนี่แหละ มีความสุขที่สุด ไดเลี้ยงคนอื่นดวย “คนอืน่ คิดวา ทำนาแลวจะมีอะไร เหนือ่ ย แตเวลา เราเกี่ยวขาว กำรวงแลวน้ำหนักดี นั่นคือความสุขที่สุด ความสุขของคนแตกตางกัน บางคน มีเงินเยอะถึงสุข ไปใชในชวงทาย มีความสุขถึง 10 ปหรือเปลาก็ไมรู เจอ ดอกเตอรหลายคนมาเรียนกับเรา เมื่อกอนเขาคิดอยาง เดียววาจะเรียนสูงเพื่อชนะคนอื่น พอหันมุมกลับ มัน เหมือนเบ็ด กลับมามองพื้นราบแทน คืนชีวิตสูดิน” ไม ตาง จาก ที่ เกษตรกร คิด จะ สง ลูก เรียน ใน เมือง หวังใหเปนเจาคนนายคน “ไม ตอง ตาก แดด เหมือน พอ แม เรา เอง ก็ สง ลูก เรียน มีอยูคนหนึ่งไปทำรัฐวิสาหกิจ ในขณะคนอื่นยังทำ นา ทำนามันเหนือ่ ยแคกีเดื ่ อน 2-3 เดือน ทีเหลื ่ อเราก็มา แปรรูปขาย สบายๆ ไปเปนขาราชการ พนักงานบริษัท มีวันหยุดเทาไหร อยางเรา จะหยุดวันไหนก็ได (หัวเราะ) แดด รอน เห รอ แดด รอน ก็ เขา รม สิ มี อะไร ให ทำ ใน รม เยอะแยะ เราทำนา ยังมีเวลาไปดูเรื่องผูสูงอายุ หรืองาน อื่นๆ อีกหลายงาน” ขาวที่ทางกลุมปลูกอยู สำรวยบอกวา ทั้งนิ่มและ หอม เลยตั้งชื่อวาขาวมะลิแดง “ตอนไดมาใหมๆ เรียกวาขาวราชมงคล คือตน

51


52 ºŒÒ¹«‹Í§

ตำนาน พระราชทาน ป 2537 แต สาย พันธุ จริงๆ คือ กุหลาบ แดง มี สาร ตาน มะเร็ง เยื่อ หนา กวา ขาว ขาว ไฟเบอรมากกวา รักษาความดัน เบาหวานลดได ตอง กินนานๆ นะ รักษาสุขภาพตัวเองดวย ไมใชกินขาวปา แลวกินเหลาไปดวย (หัวเราะ)” ทายๆ ของบทสนทนา เราคุยกันเรื่องหนักๆ “อันตราย ของ คน ทำ นา คือ ลูก หลาน ไม ทำ ตอ นี่คือจุดเปลี่ยนเลย ถาไมมีคนทำตอยอด นาเราเองได จากบรรพบุรุษ ที่ทำนาใหลูกใหหลาน ตอนนี้ ที่มันแพง แลว ชั่วชีวิตเราซื้อนาใหลูกไมได ตองรักษาของเกาไวให ถาเขาไมทำ เราก็ขุดบอเลี้ยงปลาไว ปลูกอยางอื่นแทน เลีย้ งวัว เลีย้ งหมูไปตามเรือ่ ง เชือ่ เถอะ ตอไปคนไทยตอง ทำเกษตร อีกหนอยเปนประชาคมอาเซียนแลว ภาษา เราก็พูดสูลาวไมได การทำเกษตรสิ คือชีวิต คืออนาคต ตองพัฒนาเครื่องมือเครื่องไมกันตอไป ไมตองทำแบบ โบราณหรอก” กอนจากกัน สำรวยใหขาวเกรียบมาลองชิม 2-3 ถุง เคี้ยวเพลินจริงๆ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

53


54 ºŒÒ¹«‹Í§

»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁÊÓàÃ稢ͧ¡ÅØ‹Á¸Ò÷ԾÂ

1.การใชขอมูลเปนฐานในการดำเนินงาน ผลจากการที่แกนนำและสมาชิกกลุมไดมีการ เรียนรูขอมูลตางๆ ในหลายลักษณะ ไดแก การมีเวทีแลก เปลี่ยนเรียนรูประชุมประจำเดือนเกี่ยวกับการจัดการภาระ หนี้สิน รวมทั้งการทำบัญชีครัวเรือนเพื่อใหเห็นถึงรายรับ และรายจายของสมาชิกกลุม ทำใหแกนนำและสมาชิก สามารถกำหนดแนวทางและวางแผนการดำเนินกิจกรรม ตางๆ ที่ตรงกับปญหามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีการเรียนรู ความตองการของผูบริโภคเกี่ยวกับการปรับปรุงรสชาติ ของน้ำขาวกลอง ชวยใหสามารถนำไปใชในการพัฒนา ผลิตภัณฑน้ำขาวกลองใหตรงกับความตองการ อีกทั้งยังมี การใชเครื่องหมายรับรองคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ ทั้งในสวนของเครื่องหมาย Q ที่รับรองพื้นที่การผลิต ขาวกลองอินทรีย และการใชเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ สินคา OTOP ระดับ 4 ดาว เพื่อเปนขอมูลสำหรับผูบริโภค ในการตัดสินใจเลือกซื้อสินคาของกลุมธารทิพย


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

2.การสรางการมีสวนรวม การดำเนินกิจกรรมของกลุมธารทิพย ไดเปด โอกาสใหสมาชิกมีสวนรวมในการดำเนินกิจกรรมตางๆ ชวยใหเกิดการแลกเปลี่ยนและถายทอดประสบการณ รวมกัน ตลอดจนกอใหเกิดการสรางความรวมมือและ ชวยเหลือกันเองภายในกลุม สรางความรูสึกเปนเจาของ รวมกัน เชน การจัดการปญหาดานการเงิน โดยใชเวที การประชุมประจำเดือนและการประชุมประจำป ซึ่งทำให สมาชิกไดมีการแลกเปลี่ยนประสบการณเพื่อหาแนวทาง ในการแกไขปญหาตางๆ ที่มีความเปนไปไดและสอดคลอง กับความตองการ การรวมกิจกรรมการแปรรูปขาวกลอง และการทำผลิตภัณฑขาวกลองโดยสมาชิกที่มีความ ชำนาญเปนผูสอนและถายทอดประสบการณไปยังสมาชิก ที่สนใจและตองการเรียนรู ทำใหเกิดการเรียนรูเกี่ยวกับ ขั้นตอน วิธีการ และกระบวนการในการผลิตที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ในสวนของการแปรรูปขาวกลอง อินทรียและการทำผลิตภัณฑจากขาวกลอง จำเปนตอง ใชเงินทุนในการซื้อวัตถุดิบ จึงมีการระดมหุนจากสมาชิก และมีการออมทรัพยเพื่อใหสมาชิกเกิดความรูสึกรวม ในการเปนเจาของ อีกทั้งยังสงผลใหสมาชิกไดรับประโยชน จากผลกำไร ในรูปของการปนผลประจำป และการไดรับ สวัสดิการจากกลุม

55


56 ºŒÒ¹«‹Í§

3.ผูนำที่มีศักยภาพ การดำเนินกิจกรรมกลุมจำเปนตองอาศัยผูนำที่มี ศักยภาพและความพรอมในหลายดาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง การรวมกลุมซึ่งมีการออมทรัพย และการจัดตั้งเปนกองทุน จำเปนตองมีผูนำที่มีความซื่อสัตย มีความโปรงใส และ ยุติธรรมในการดำเนินงาน เพื่อใหการดำเนินงานตางๆ สามารถตรวจสอบได และสรางความมั่นใจใหแกสมาชิก เพื่อใหกลุมสามารถเพิ่มจำนวนสมาชิกไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ในสวนของการแปรรูปขาวกลองอินทรียและการ ทำผลิตภัณฑขาวกลองเพื่อการจำหนาย จำเปนที่จะตอง อาศัยผูนำที่มีศักยภาพในดานความคิดสรางสรรค เพื่อ สรางผลิตภัณฑใหมๆ เพื่อตอบสนองความตองการของ ผูบริโภคและชวยในการขยายตลาดใหมากยิ่งขึ้น


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

57


58 ºŒÒ¹«‹Í§

05 μÑ´¼ŒÒ Ë‹Á㨠บานเล็กๆ หลังนัน้ เปนทีรวม ่ ของคนหลายวัย ตาง คนตางขะมักเขมนกับการงานตรงหนาของตัว เมื่อยก กลองขึ้นถาย บางคนเขินอาย ดวยไมคุนชิน ไมใชคนกรุง ที่พรอมอวดทาสวยๆ ลงเว็บโซเชียลเน็ตเวิรค


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

“วัตถุประสงคจริงๆ ของเราคือการสราง อาชีพใหคนในชุมชน” เครือวรรณ จันทศรี กลาว พลางยกเสื้อ ยกขาวของที่ทำจากผาเหลือใช ให เรา ชม มี ทั้ง ที่ รอง แกว ที่ ใส กระดาษ ชำระ แตละอยาง หนาตานารัก อาชีพที่เธอพูดถึง คือการตัดเย็บเสื้อผา โดยมีการรวมกลุมกันในนาม ‘วิสาหกิจชุมชน กลุมมิตรสัมพันธ’ ความหมายของชื่อกลุมคือ การเปนเพือ่ น เปนมิตร และมีความสัมพันธทีดี่ ตอกัน “เรารับตัดเย็บงานทุกประเภท เสื้อยืด เสื้อกีฬา เอี๊ยมเด็กอนุบาล ผาฝาย ผาไหม เสื้อ

เครือวรรณ จันทศรี

59


60 ºŒÒ¹«‹Í§

พนักงานตางๆ ทีเกี ่ ย่ วกับผา ทางกลุม เราทำหมด เศษผา เหลือก็มาทำเปนที่ใสทิชชูบาง สวนที่เหลือจากทำที่คลุม โตะจีน ก็มาทำที่รองจาน รองแกวได ไมทิ้ง ใชหัวคิด ประดิษฐเอง เสื้อผาก็ทำตามสั่ง เนื่องจากงบประมาณ กลุมเรามีนอย จะมาทำขายโชวแบบที่อื่นมันลำบาก เรา ตองประมาณตนทุนกำไร แลวบอกลูกคาที่จะมาสั่ง วา ตกลงราคานีได ้ ไหม ถาได อยางนัน้ ก็ซือ้ ผามาทำเลย หรือ เราเองก็มีผาใหเลือก” เครือวรรณเลาใหฟงวา เดิมทีเธอเปนวิทยากรของ ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด และของ กศน. “ทีนมี​ี้ คนมาขอทำงานกับเรา แตถาฝมอื ยังไมดีพอ มันทำไมได เลยคิดตั้งกลุมเพื่อฝกฝมือคน ตอนแรกมีแค 15 คนเอง ใชเงินทุนสวนตัว ไมไดกูที่ไหนเลย เดิมทีทำ กันบนบานเลย แตบานมันเกามาก พอกิจการไปดวยดี สมาชิกเพิ่มเปน 62 คน มีลูกคาเพิ่มขึ้น เลยประชุมใน กลุม กอน แลวไปประชาคมหมูบ า น วาจะทำรานใหม ครัง้ แรกเปนเรือนไมไผ เปดสอนคนในพื้นที่ “เรียน เสร็จ ไม มา ทำงาน กับ เรา ก็ ไม เปนไร จะ ไปเขาโรงงานเราก็ฝกให เรียนฟรี มีอุปกรณใหดวย ป หนึ่งเปด 2-3 ครั้ง สอนจักรนะ แตเราไมสอนสรางแบบ เพราะเราไมมีเวลามากขนาดนั้น ปจจุบันก็ยังตองการ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

61


62 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

63


64 ºŒÒ¹«‹Í§

ฝกอาชีพ เปน อยางแรก ไม คิด เรื่อง กำไร มาก ที่อื่นเราก็เคยไปสอน อยางผูตองขัง หญิง โรงเรียน ตชด. ใหความรูกับคน เรียน พอผลผลิตทำเสร็จ ก็เอาไปให คนจนตกทุกขไดยาก ถือวาเปนการ ชวยไปเปนทอดๆ” ลูกคา ของ กลุม มี ทั้งคน ใน และ คนนอก “เปนคนในพื้นที่บาง กลุมตางๆ ที่ เทศบาล สนับสนุน อยู เทศบาล เอง ก็ สั่ง โรง พยาบาล สั่ง บาง เพื่อ ใช คลุม อุปกรณ ทางการแพทยตางๆ อีกอันคือถุงมือทีช่ วย ไมใหผูป วยดึงสายยาง สวนลูกคาขางนอก


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ก็ เป น แบบ ปาก ตอปาก ลูกๆ ของ สมาชิกในกลุมก็เลาให คนนอก พื้นที่ ฟง วา เรา มี ราน ตัด เสื้อ กลุม ตัด เสื้อ เขา รู วา งาน ของ เรา ฝมือ ดี โดย ดู จาก ฝ เข็ม 11 ฝ เข็ม ตอ 1 นิ้ว รูปทรง ตะเข็บ รายละเอียด เรียบรอยหมด เนียน แตสั่งนอยก็ราคา สูง หนอย สั่ง เยอะ เรา ซื้อ ผา ยก ไม ได ราคาก็ถูกลง”

65


66 ºŒÒ¹«‹Í§

ถาม ว า ทุ ก วั น นี้ กลุ ม อยู ได ด ว ย ตัวเองไหม พูดงายๆ อยูแบบไมตองขอ เงินอุดหนุนจากทางเทศบาล เพราะวานา จะเปนหนทางที่ยั่งยืนกวา “เปนเงินหมุนเวียนในกลุม ไมเคย กู มีบางที่เทศบาลสนับสนุนเรื่องอุปกรณ เมื่อ กอน เชา จักร เพราะ ยัง ซื้อ ทั้งหมด ไม ได เริ่ม แรก มี ทุน แค 50,000 บาท การทำธุรกิจอยางนี้ นอยไป พอกำไรเรา ก็ซื้อของเพิ่ม ทยอยๆ กันไป “สวนสมาชิกกลุมที่มาเย็บผา เรา จายเดือนละครั้ง แตเบิกกอนได เบิกเทา ที่ทำไป เราแบงทำเปนแผนก ใครความ สามารถเยอะหนอย ก็อยูแผนกที่ทำยาก เขาไหล เขาคอ เขาแขน ก็ตีราคาแลวเฉลีย่ ใหกันไป สิ้นปก็มีปนผลใหสมาชิก ตอนนี้ มีทัง้ หมด 75 คน บางคนไมทำงานกับเรา แตยินดีรวมชวยสรางอาชีพใหคนในชุมชน ลงเงิน หลายหมูบ า นในบานซองเลยนะ ก็ ปนผลให”


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

67


68 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

06 »Ø‰ÂÍÑ´àÁç´ Å´μŒ¹·Ø¹¡ÒüÅÔμ ลานโลงใตหลังคานัน้ กลาดเกลือ่ นไปดวยวัตถุกอน กลมสีดำเล็กๆ ลึกเขาไปดานใน ชายหญิง 2 คนกำลัง ตั้งหนาตั้งตาผลิตวัตถุนั้นอยู เขาและเธอกำลังทำปุยอัดเม็ด “ใชปุยเม็ดแบบนี้ ลดตนทุนการ ผลิตไปกวาครึ่ง จากสมัยกอน จริงๆ ทำปุยหมักใชเองก็ได แตอยางนี้มัน สะดวกกวา ราคาไมแพง ปลอดสารพิษ กระสอบหนึ่ง ประมาณ 250 บาท ใสไดทุกอยาง ตนไม มันสำปะหลัง

69


70 ºŒÒ¹«‹Í§

พืชสวน ขาวนี่เปนหลัก เราเปดขายมาก็ไมไดตองการ กำไรอะไรมากมาย แคอยากชวยเหลือพี่นองเกษตรกร มากกวา” ถอยคำขางตนเปนของ สมบัติ รัตวงษ เลขานุการ กลุม วิสาหกิจ ชุมชน ขาว ตำบล บาน ซอง-ปุย อินทรีย อัด เม็ด กลุม วิสาหกิจชุมชนขาวตำบลบานซอง-ปุย อินทรีย อัดเม็ด หมูที ่ 14 มีทีม่ าจากการพัฒนากลุม วิสาหกิจขาว หอมมะลิตำบลบานซองเดิม จากสถานการณปญหาดาน การเกษตรในตำบลบานซองประเด็นตนทุนการผลิตสูง “ระบบ ชลประทาน มัน ไม เอื้อ ตอ การ เพาะ ปลูก ดินเสื่อมคุณภาพ นโยบายกระทรวงเกษตรฯ สนับสนุน กลุมเกษตรกรในพื้นที่ลดปจจัยการ ผลิต และสงเสริม ให ลด การ ใช สาร เคมี เพื่อ ลด ตนทุน การ ผลิต และ รักษา สภาพดิน จากกระบวนการพัฒนากลุมวิสาหกิจชุมชน ขาวตำบลบานซอง ที่มีผลผลิตเปนขาวหอมมะลิบรรจุ ถุงสงจำหนายในและนอกพื้นที่ ปรับเปลี่ยนเปนการทำ ปุยอินทรียอัดเม็ด” โดย การ มี สวน รวม ของ เทศบาล ตำบล บาน ซอง เกษตรตำบล และกลุม แกนนำภาคประชาชนผานกระบวน จั ด ทำ แผน จั ด รู ป แบบ การ ดำเนิ น งาน ตาม บท บา ท บูรณาการงานรวมกับงานอื่น สรางเครือขาย ไดขอสรุป


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

71

สมบัติ รัตวงษ

การดำเนินงานรูปแบบใหม เกิดกลุมกองทุนที่ขับเคลื่อน ใหเกิดการดูแลชวยเหลือกันโดยมีผูเกี่ยวของคือผูไดรับ ผล ประโยชน และผู ได รับ ผลก ระ ทบ ไดแก เกษตรกร แกนนำกลุม และประชาชนทั่วไป กลุม วิสาหกิจชุมชนขาวตำบลบานซองทีมี่ การปรับ เปลี่ยนผลิตภัณฑมาเปนการผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด เพื่อ ใหสมาชิก/ผูได  รับผลกระทบจากการดำเนินการของกลุม


72 ºŒÒ¹«‹Í§

เกิดผลลัพธที่ตองการใน 5 ประเด็นไดแก 1.เกิดระบบ การผลิตปุยอินทรียอัดเม็ด 2.ลดปญหาตนทุนการผลิต ของกลุม เกษตรกร 3.ลดปญหาและผลกระทบจากการใช สารเคมีในการเกษตร 4.แกนนำที่มีความชำนาญเฉพาะ ดานการผลิตและนำใชปุยอินทรียอัดเม็ด และ 5.สมาชิก มีสวัสดิการเมื่อเจ็บปวย และเสียชีวิต “เราไปดูงานที่สุพรรณฯมา เห็นเครื่องทำแบบนี้ เราก็ซื้อเครื่องมาตก 3 แสนกวาบาท การบำรุงรักษาก็ ใชชางแถวบานเรา เรานำมาพัฒนาเรื่อยๆ สูตรตอนแรก ทางกรมวิชาการเกษตรคิดให แลวเราก็มาเพิ่มในสวนที่ เหมาะสมกับพื้นที่เรา ขี้วัว ขี้หมู ตอนนี้ ไดรับการรับรอง มาหมดแลว อยางที่บอก ใชปุยแบบนี้สะดวกกวา มันไป ไดทั้งแปลงตอนหวาน เพราะมีลักษณะเปนเม็ด ตอนนี้ ใสกระสอบขาย บรรจุเอง ทำเองทุกอยาง” ลูกคาคือเกษตรกรและชาวนาชาวไรละแวกนั้น “ขายตันละ 5,200 บาท ในกลุมนะ นอกกลุม 6,200 บาท ทุกปเราจะประชุมแลวสั่งกันเลย เพื่อจะได รูวาปนี้มียอดออรเดอรเทาไหร” เขายืนยันวา ใชแลว ผลิตผลคุณภาพดี ไมมีโม “ที่ บอก คุ ณ ภาพ ดี คื อ ข า ว จะ งาม เขี ย ว ทน แข็งแรง ถาใชเคมี เดี๋ยวก็มีโรคโนนนี่ ปุยของเราไมมีเคมี มีแคบางตัวทีใส ่ เพือ่ ใหปน เม็ดไดเทานัน้ ทีอื่ น่ ขายเหมือน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

เรา แตไมมีตราแบบเรา เราทำเพื่อใหเปนสัญลักษณ คน ซื้อไปใชขางนอกก็จะรูวาเปนของเรา กันคนเอาไปขาย ขางนอกแลวขายแพงกวาเราดวย เพราะจะรูกันวา ถา ยี่หอนี้ ตองราคาเทานี้ ทั้งยังลดปญหาและผลกระทบจากการใชสารเคมี ในการเกษตร จากสภาพปญหาของตำบลบานซอง ไดแก ดินเสื่อมสภาพ การใชสารเคมี ตนทุนการผลิตสูง การ จัดตั้งกลุมผลิตปุยสนับสนุนเขาระบบการทำการเกษตร ของสมาชิกกลุมในตำบลบานซอง มีกระบวนการนำใช ่ ดจากการ วิเคราะห และปรับปรุงเปรียบเทียบผลลัพธทีเกิ ใชปุยโดยแกนนำทำใหสามารถประชาสัมพันธ เกิดการ

73


74 ºŒÒ¹«‹Í§

ยอมรับในคุณภาพ และใชปุยอินทรียอัดเม็ดแทนปุยเคมี “เกษตรกรในกลุม ตอนนี้ 245 ราย จากแรกเริม่ ไม กี่คน ตอนนี้ลงตัวแลว มีปญหาแคกำลังผลิตนอย เครื่อง เล็ก ความตองการมาก อยากไดเครื่องอบดวย เพราะใช  ตาย วิธตาก ี หนาฝนทำไมได โดนแดดก็ไมได จุลนิ ทรียจะ ตองใชผึ่งอยางเดียว 3 วัน” นอกจาก นี้ ทาง กลุม ยัง มี การ ให สมาชิก หยิบ ยืม เมล็ดพันธุขาวอีกดวย “เราเปนกลุม ผลิตขาว ถึงไดมีเมล็ดพันธุขาวให


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

เกษตรกรไดยืม 10 ถัง เราเอาดอกเบี้ย 2 ถังตอ ป แลวก็กระจายใหคนอืน่ เรือ่ ยๆ เปนการกระจาย พันธุ เพื่อเกษตรกรเพื่อนเราไดมีพันธุขาวที่ดีไป ปลูก เพราะเวลาหวานซ้ำซาก มันจะกลาย ไมดี ครั้งที่ 6 นี่เริ่มกลายแลว เราบอกใหเขาตัดแตง อยางดี เพื่อเก็บเมล็ดพันธุคืนเรา “ชาวนาที่นี่ไมถึงกับยากจน มีบาง คนที่ จนคือไมมีที่ทำกิน นี่คือปญหาใหญ ตองเชาทำ นา อยางปน้ำทวม คาเชาไมมีใหแนนอน เผลอๆ เจาของก็เอาที่นาคืนอีก เราคิดวาประกันราคา ขาวดีกวาจำนำ ไมอยางนั้น ไปถึง บอกเราขาว เต็มแลวอยางเดียว “อีกอยางที่ สำคัญ คือ เรื่อง น้ำ เพราะ ไมมี ระบบชลประทาน นี่คือปญหาหนักเลย ตองรอ ฝนอยางเดียว ปไหนไมตก เรียบรอย น้ำมาก็ทวม ไมมีที่ระบาย ไมมีคลองสงน้ำ พึ่งพาธรรมชาติ ลวนๆ มีสระขุดบาง แตก็แคพอแกขัด บางทีมี งานโครงการพระราชดำริมาชวย แตก็ไมไดทุกคน เฉลี่ยๆ กันไป”

75


76 ºŒÒ¹«‹Í§

¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂÒ¡Ãà§Ô¹áÅСͧ·Ø¹ ¢Í§¡ÅØ‹Á»Ø‰ÂÍÑ´àÁç´ 1.หุนของสมาชิก - เกิดจากการระดมหุนของสมาชิกเปน เงินโดยกำหนดราคาหุนละ 100 บาท สมาชิกตองมีหุน ไมนอยกวา 1 หุน ปจจุบันมีจำนวน 943 หุน รวมเปนเงิน 943,000 บาท สำหรับใชเปนกองทุนหมุนเวียนและเปน เกณฑการปนผลคืนสมาชิก นอกจากนั้นใชเพื่อสนับสนุน กิจกรรมเทศบาล/ชุมชน /โรงเรียนและสวนราชการ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

2.อาคารและเครื่องจักร - ปจจุบันศูนยเรียนรูปุย อินทรียอัดเม็ด กลุมวิสาหกิจชุมชนขาวตำบลบาน ซอง มีอาคารสำหรับดำเนินการจำนวน 2 หลังติดกัน ซึง่ อาคารหลังใหญไดซือ้ ตอจากกลุม ขาวหอมมะลิหมู ที่ 14 ซื้อตอจากกลุมขาวหอมมะลิหมูที่ 14 โดยใช งบประมาณจากกลุม วิสาหกิจชุมชนขาวตำบลบานซอง จำนวน 200,000 บาท สำหรับอาคารอเนกประสงค (โรงตากปุย ) ไดรับงบประมาณสนับสนุนจากเทศบาล ตำบลบานซอง 560,000 บาท สวนเครื่องจักรในการ ผลิตมูลคา 280,000 บาท ใชเงินจากกลุมวิสาหกิจ ชุมชนขาวตำบลบานซอง 3.เงินกองทุนหมุนเวียน - ปจจุบันศูนยเรียนรูปุย อินทรียอัดเม็ด มีเงินทุนหมุนเวียนในบัญชีเงินฝาก ประมาณ 1,100,000 บาท เพื่อ การ จัด ซื้อ/จัดหา วัตถุดิบ ผลิตปุย และการสั่งซื้อปุยยูเรีย สำหรับการ บริการสมาชิกตอป

77


78 ºŒÒ¹«‹Í§

07 ¾Ñ¡¤Ø¡Ѻ¹Ò¡à·ÈÁ¹μÃÕ หลังจากคุยกับแกนนำกลุมทำปุยอินทรียอัดเม็ด เราเก็บขอสงสัยเรื่องปญหาทรัพยากรน้ำไปถาม สมชาย จันธรรมาพิทักษ นายกเทศมนตรีตำบลบานซอง ชนิด ไมถามไมหายคัน นายกฯ ในชุดเสือ้ ยืด กางเกงยีนสลุยๆ ตอบคำถาม ดวยทาทีเปนกันเอง “อยางที่คุณไปคุยมา น้ำคือปญหาใหญ เราไมมี ี นำ้ ผาน ในระยะใกล เราจะ ระบบชลประทานผาน ไมมแม เชื่อมโยงประปามาใหชาวบาน อีกเรื่องของการขุดแหลง น้ำเพิ่ม สวนสุดทายคือเชื่อมจากตัวประปาในอำเภอ” สมชายตอบคำถามดวยสีหนายิ้มแยม ปญหามีไว แก ไมไดมีไวแบก ทำใหเรานึกถึงคำพูดของใครบางคน วาการเลือกตั้งที่นี่ นายกฯสมชายไรคูแขงอยางสิ้นเชิง “ทำงานในเทศบาลมา 11 ป อยางแรกคือเราโชคดี ตรงที่ไมมีความแตกแยกของคนในชุมชน การเมืองการ ปกครองที่นี่สามัคคีกันดี เปนน้ำหนึ่งใจเดียวกัน การทำ อะไรที่เปนประโยชนสวนรวมของชาวบาน มันจึงเดินไป ในทิศทางเดียวกัน การคิดอะไร ตองใหชาวบานรวมคิด ดวย สงตัวแทนหลักๆ มา เจาอาวาสแตละวัด นิมนต


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

สมชาย จันธรรมาพิทักษ

79


80 ºŒÒ¹«‹Í§

มาไดก็ทำ งานของเราจึงมีพลัง สนุกตรงนี้ ไดแกปญหา ตางๆ ใหชาวบาน บรรเทาความเดือดรอนใหได แมไม ทั้งหมด กลับไปมีรอยยิ้ม เรื่องไหนทำไมได ชาวบานก็ จะเขาใจวาเพราะอะไร” 11 ป มีความเปลี่ยนแปลงใดที่เขาภูมิใจที่สุด “การทำงานแลวเกิดความสนุกคือสิ่งที่ชอบ นี่คือ เรื่องวิเศษมาก ทำงานแลวไมมีความขัดแยง แตเราไม เคยเอาความไววางใจตรงนี้มาหาประโยชนนะ แกนนำ ทุกคนตองปฏิบัติอยางโปรงใส การทำใหเกิดมาตรฐาน ของความไมแตกแยก ไมทุจริต นี่คือความภูมิใจของเรา “อีกอยาง คือคนของเรา เราพยายามปลูกฝงคน รุนใหมที่มีโอกาสคุย พบปะ เราบอกใหรักทองถิ่นตัวเอง ทุกอยางเปนเจาของรวมกัน เด็กคนนี้เปนวาที่ นายกฯ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

“เปนวาที่กำนัน มันไมใชเปนเร่ืองยาก หรอื เปนเรอื่ งเหนอื ความคาดหมาย เมอื่ กอน ผมก็เปนแคเด็กชายสมชายมากอน อยากให ทุกคนมีสวนรวมชวยกัน เรม่ิ จากในครัวเรอื น กอน คอยๆ ทำไป มันก็ดีขึ้นเรื่อยๆ”

คนนั้นเปนวาที่กำนัน มันไมใชเปนเรื่อง ยาก หรือเปน เรือ่ งเหนือความคาดหมาย เมือ่ กอน ผมก็เปนแคเด็กชาย สมชายมากอน อยากใหทุกคนมีสวนรวมชวยกัน เริม่ จาก ในครัวเรือนกอน คอยๆ ทำไป มันก็ดีขึ้นเรื่อยๆ” พื้นที่ บาน ซอง ถือ เปน แหลง เรียน รู ที่ หัว บันได ไม เคยแหง แขกมาเยือนไมเวนแตละวัน เรื่องนี้ สมชายมี มุมมองนาสนใจ “ตรงไหนที่มีคนมาดูงานเยอะๆ ควรระวังไวบาง หวกเรามัวแตตอนรับแขก อาจไมมีเวลามาตรวจสอบ ตัวเอง ทำใหงานพัฒนาของตัวเองสะดุดลง งานพัฒนา ไมเกิดขึน้ อยางตอเนือ่ ง ไมมเวลา ี คิดงานสรางสรรค ไมมี เวลาคิดนวัตกรรมใหมๆ ไมมีการทบทวนงานเกา “ในทางตรงขาม แงดี การที่เราไดมีโอกาสไปแลก

81


82 ºŒÒ¹«‹Í§

เปลี่ยนเรียนรูในพื้นที่อื่นๆ ก็เปนการเพิ่มพูนองคความรู ใหแกตัวเรา ดังนั้น เราตองรักษาสมดุลใหดี อยางตอนนี้ เรารับแขกมาก งานในโครงการแทบไมไดแตะ ซึง่ ตัวผมเอง กำลังคิดทบทวนอยู “ในแงของการมาแลกเปลี่ยนเรียนรู สวนที่เราได คือเรื่องของการไดเพื่อน ไดเครือขาย เชื่อมโยงกัน ได องคความรูตางๆ ของแตละที่ ซึ่งมันโดดเดนกันไปตาม แตละทองถิ่น แตถาเราไมมีเวลามาทำ สิ่งเหลานี้ก็สูญ เปลาอยูดี” “กิจกรรม แบบ ไหน ที่ เทศบาล บาน ซอง เต็มใจ สนับสนุน” เราถาม “เชน กลุมปลูกเห็ด พวกเขาอยากตอยอด มีกลุม จริง ดำเนินการจริง มีตัวตนจริง อยากทำเชื้อเห็ดเอง มา ของบจากเทศบาล อยางนี้เราให หรือกลุมตัดเย็บเสื้อผา ทำจริง มีรายไดจริง สรางอาชีพไดจริง ยังขาดจักรเย็บ เสื้อผา อยางนี้สงเรื่องมา ตั้งใจทำจริง สามารถตอยอด ได ให เรา ไป เติม เต็ม หรือ กลุม ปุย เครื่องจักร ไม พอ โรงเรือนไมพอ เราก็อนุมัติใหไป” กอนออกจากหองนายกฯ เราจิบกาแฟดำรอนๆ ควันฉุย “ที่เราทำงานกันมา” สมชายกลาว “อยางนอยๆ ใน ตำบล ของ เรา เกิด แหลง เรียน รู มี บาน พัก โฮม สเตย


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

เกิดการเชื่อมโยงกันมากขึ้น ไดมาพูดคุย รูจักกันมากขึ้น กลมเกลียวกัน คนรูจ กั การทำงานของกลุม อืน่ ๆ สามารถ ดัดแปลงมาใชกับกลุมของตัวได ไดรูจักของดีในตำบล ตัวเองอยางครบถวน ไดสรางคน สรางนักวิชาการทองถิน่ นักคิด นักจัดการ ทำใหรูวาเรามีคนเกงอยู” สุดทายคือการไดทองโลกกวาง “ไมใชวาบานเราดีแลว ไมออกไปดูคนอืน่ ลองออก ไปสิ แลวจะรูวา เรายังดอยกวาคนอื่นในหลายดาน”

83


84 ºŒÒ¹«‹Í§

¹âºÒÂËÅÑ¡æ ¢Í§¾×é¹·Õ躌ҹ«‹Í§ 1. เทศบาลตำบลบานซอง ยกฐานะจากองคการ บริหารสวนตำบลเมื่อป 2551 ไดดำเนินการพัฒนา ตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล และพระราช บัญญัติขั้นตอนการกระจายอำนาจรัฐฯ ที่กำหนด ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นคือเทศบาลตำบล จัดบริการดานตางๆ ใหแกประชาชนในพื้นที่ 2. การจัดการบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม มีการจัดตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดลอม ประกอบดวย ผูบริหารเทศบาล สภาเทศบาล ปราชญชาวบาน สถานีอนามัย สาธารณสุขอำเภอ สาธารณสุขจังหวัด ดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในชุมชน เทศบาลกำหนดหลักเกณฑมาตรฐาน ในการกอสรางฟารมเลี้ยงสัตว ประเมินติดตามการ กอสรางฟารมเลี้ยงสัตว และใหคำปรึกษาการ ทำโรงเลี้ยงสัตวแบบปด เปนตน 3. การบริหารจัดการน้ำใหเพียงพอตอการอุปโภค และบริโภค


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

4. การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น โดยมีการจัดตั้ง ศูนยอนุรักษไทยพวน การจัดตั้งกลุมอนุรักษเพลง พื้นบาน 5. การจัดการศึกษาอบรม ฝกอาชีพตามความ เหมาะสมและความตองการของทองถิ่น โดย เทศบาลตำบลบานซองสนับสนุนการจัดตั้งกลุม อาชีพตางๆ ไดแก กลุมเห็ดฟาง กลุมวิสาหกิจ ชุมชนขาวหอมมะลิ (ปุยอินทรียอัดเม็ด) กลุมเย็บผา กลุมสตรี เปนตน 6. การจัดบริการสาธารณประโยชน การดูแล คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยการจัดตั้งศูนย พัฒนาครอบครัวและชุมชนตำบลบานซอง จัดตั้ง ศูนยประสานงานที่สถานีอนามัยบานซอง และมี กิจกรรมการพบปะกันที่หมู 7 7. การสรางการมีสวนรวมของชุมชน โดยการ จัดตั้งสภาตำบล กลุมบริหารจัดการตำบลแบบ มีสวนรวมและการพัฒนาศักยภาพทุนทางสังคม

85


86 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

07 ºÒ§¤ÃÑ駡Òáٌ ¡çÁÔ ãª‹¡ÒÃÊÌҧ˹Õé

87


88 ºŒÒ¹«‹Í§

สหกรณออมทรัพยของชาวบานซองสวยที่สุดแหง หนึ่งในโลก ไมมีพื้นหินออน ไมมีเสาโรมัน หรือประตู อัลลอย ด หนาตา อัปลักษณ มองไปไกลๆ โนน เปน ทองนา เสียงนกนานาพันธุรองรับคลายประชาสัมพันธ แลวจะไมใหบอกวาสวยไดอยางไร มหันศักดิ์ ศรีสมบัติ ชายกลางคนผิวกรานแดดซึง่ เปนหัวแรงหลักเลาใหฟงวา แรกเริม่ พวกเขารวมกลุม กัน ทำกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตในป 2528 เนื่องจากมี การประกวดหมูบาน ถาไมทำ จะไมเขาเกณฑประกวด มีการบริหารโดยรับเงินฝากจากสมาชิกอยางเดียว ถึงป มีปนผลใหสมาชิก “เงินมันก็ไมโตสักที ตอมาป 2541 เศรษฐกิจไมดี ดอกเบีย้ ธนาคารไมดี ปนผลใหสมาชิกไมคุม คา สมาชิกก็ ถอนปดบัญชีจนเหลือแค 50 คน เหลือพวกคณะกรรมการ ทัง้ นัน้ ป 2543 ผมไปเจอผูจั ดการสหกรณเครดิตยูเนีย่ น เพื่อนครูของฉะเชิงเทรา ซึ่งเคยเปนครูสอนผมอยู เขารู วาเรามีกลุม เลยชักชวนใหเขาไปเปนกลุมสมทบกับเขา เพราะลักษณะมันคลายกัน แตการใหสวัสดิการ กลุม เครดิตดีกวา การบริหารจัดการคลองตัวกวา “เรา มา นั่ง คุย กับ สมาชิก ถา เรา ไป อยู กับ เครดิต ยูเนีย่ นมันดีกวา มีการคุม ครองหนี้ คุม ครองหุน คุม ครอง เมื่อเราเสียชีวิต หนี้ก็ไมตองใช ไดอีกเทาตัวจากหุน เรา


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

จึงเปลี่ยนจากกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต มาเปนกลุม เครดิตยูเนี่ยน ก็ประชาสัมพันธใหสมาชิกเกาๆ กลับมา ชวย กัน ดู วา พรอม หรือ ยัง เมื่อ พรอม แลว จึง ตั้ง เปน กลุม สมทบของชุมนุมสหกรณเครดิตยูเนีย่ นแหงประเทศไทย จำกัด เมือ่ ป 2546 สมาชิกเริม่ เขามาเรือ่ ยๆ จนเดีย๋ วนี้ มี 700 คน” พอมีการฝากเงินจากสมาชิก ก็ปลอยเงินดังกลาว ใหกู แลวคิดดอกเบี้ย เพื่อความงอกเงย มหันศักดิ์ ศรีสมบัติ

89


90 ºŒÒ¹«‹Í§

“เพื่อ ให เงิน มัน โต ขึ้น เรื่อยๆ สมาชิก ก็ได เงิน ไป ลงทุน ปลูกบาน ดูแลเรื่องหนี้นอกระบบ เอาไปปลดหนี้ ทางกลุมยังมีจัดสวัสดิการ เมื่อเสียชีวิตให 2,000 บาท ถา 7 ปขึ้นไปให 5,000 บาท แตงงานให 1,000 บาท บวชให 1,000 บาท เกิดให 1,000 บาท เรียกวาเปนขวัญ เปนกำลังใจใหกันและกัน เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2555 จึงมาจัดตัง้ เปนสหกรณ เมือ่ เปนแลว ความเชือ่ ถือ ความ เขมแข็งจะมากขึ้น สหกรณจังหวัดเอง ก็จะมาชวยดูแล เรื่องการเงินการบัญชี ใหเกิดความโปรงใสเปนธรรม” ถาม ถึง กฎ เกณฑ การ ตั้ง เปน สหกรณ ม หัน ศักดิ์ อธิบายวา จัดตั้งตองมีสมาชิกอยางนอย 100 คน ซึ่ง ทางบานซองจัดไป 143 คน ครั้นพอเปนนิติบุคคลแลว สมาชิกจะเกิดความรูสึกมั่นคงกวา “สมาชิกใหมตองเขาอบรม 1 วัน เพื่อใหรูแนวทาง ปฏิบัติ หุนเราตั้งไวหุนละ 10 บาท 1 คนตองไมต่ำกวา 10 หุน ถามากหุน การคุมครองมันก็เยอะขึ้น อายุแรก เกิดถึง 55 ป คุมครอง 100 เปอรเซ็นต สวนเงินฝาก มีฝากพิเศษกับฝากสามัญ ฝากสามัญเบิกถอนไดตาม ปกติเหมือนธนาคาร เงินปนผลรอยละ 4 ฝากพิเศษเรา กำหนดไววาตองฝาก 10,000 บาท และตองครบ 1 ป ถึงจะถอนได ใหเงินปนผลรอยละ 5 สวนหุนรอยละ 6 เงินกูเก็บรอยละ 12 แตถาสงดี ไมบิดพลิ้ว ไมผิดเวลา


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

“การกูทำใหเกิดหนี้ก็จริง แตถา กูไปแลวทำประโยชน เงินมันก็หมุน กลับมา เราเนนวา เงินมันเหมือน มีชีวติ ถาใชไมถูก มันก็ไมอยูกั บเรา”

ถึงสิ้นปมีเฉลี่ยคืนดอกเบี้ยใหรอยละ 6” สวนหลักการกู ตองเขาเปนสมาชิกผาน 6 เดือน ไปแลว จึงกูได 2 เทาของทุนเงินหุน “พอ 1 ป 3 เทา พอ 5 ป ได 5 เทา 6 ป กูได 6 เทา แตไมเกิน 150,000 บาท ใชคนค้ำประกัน 2 คน เปนสมาชิกดวยกัน ถากู 5 แสน 6 แสน ก็ตองใชหลัก ทรัพย เรียกวากูพิเศษ ไดแก บาน ที่ดิน รถยนตไมได ตอนนี้เราไถถอนหนี้นอกระบบใหสมาชิกไปก็เยอะ บาน ที่จะโดนยึดเราก็ชวยมา” “ถากูแลวไมมีเงินใชคืนละ” เราสงสัยขอนี้จริงๆ “คนค้ำก็ตองรับผิดชอบ แตตอนนี้ยังไมปรากฏวา คนค้ำรับผิดชอบไมได สวนใหญแลว มีกรณีผิดเวลาบาง

91


92 ºŒÒ¹«‹Í§

แตไมใชคืนยังไมมี มีอยูรายเดียวเปนเงินไมมาก 5,000 บาท ซึ่งคนค้ำรับผิดชอบใชแทน สิ้นป เราก็ซื้อของขวัญ ไปใหคนค้ำ เปนกำลังใจใหสำหรับสมาชิกที่รับผิดชอบดี เมื่อที่ประชุมใหญสหกรณเห็น ก็รูสึกวาเราทำใหสมาชิก มีความอยูดีกินดีมีสุข ปากตอปาก ก็มีสมัครเขามาใหม เรื่อยๆ” “มีโทรตามจิกไหม เหมือนหนี้บัตรเครดิต” เรารุก ตอ “ไมมี” เขายืนยัน “วันเสารแรกของเดือนทุกคน ตองมาสงพรอมกัน ถาไมมา ผิด 1 เดือนตัด 50 บาท ภายในเดือนไมเปนไร เรามีกรรมการติดตามคอยตรวจ ่ ไวจริงไหม ถาไมทำ คราว สอบดวย วากูไป  ทำอยางทีบอก หลังก็พิจารณายากขึน้ การกูทำให  เกิดหนีก็้ จริง แตถากูไป  แลวทำประโยชน เงินมันก็หมุนกลับมา เราเนนวา เงินมัน เหมือนมีชีวิต ถาใชไมถูก มันก็ไมอยูกับเรา “ที่มากูก็หลายอาชีพ ไมใชแคเกษตรกรอยางเดียว แต หลักๆ ก็ คือ การเกษตร ตอน นี้ เรา วาง โครงการ ทำ สำนักงานไวดวย ก็ที่วางๆ ไกลๆ โนนแหละ” พูดจบ เขาหันไปชี้ที่โลงๆ เย็นตาดานหลัง “ที่ดิน ทีบอก ่ วาซือ้ ไวทำสำนักงาน จะมีการจัดสรรใหสมาชิกซึง่ ไมมที​ี อยู ่  ใหล็อคละ 50 ตารางวา เพือ่ ใหคนมีรายไดนอย ปลูกบาน เงินทั้งหมดก็ของกลุม สวนที่เหลือกูชุมนุม


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ใหญมา ทีปลด ่ หนีนอก ้ ระบบใหเขา บางทีก็ตองทำแบบนี้ รอย ละ 5 เรา ก็ มา ปลอย รอย ละ 12 ใช สวน ตาง เอา ตอนนี้ปลดไป 30 คนแลว คนที่เปนหนี้ธนาคาร บางที ก็ถอนมาเปนหนี้เราแทน เพราะมีประกันความเสี่ยงให ถาเสียชีวิต ลูกหลานก็ไมตองใชตอ มีโฉนดมีอะไรมาค้ำ ไว เราก็คืน แบบสามัญไมมีโฉนดก็ตัดไปเลย ทางชุมนุม ใชแทน” ที่เขาบอกวา เปนนิตบิ ุคคล ถาจะลมหรือเลิกมัน ยากกวา เพราะอะไร “ขึน้ อยูกั บการบริหาร กรรมการนีสำคั ่ ญ เจาหนาที่ เปนปจจัย หมายถึงเรือ่ งการทุจริตนัน่ แหละ ซึง่ จริงๆ มัน ก็เปนทุกกิจการ ไมวาหางรานอะไร ถาคิดไมดี มันก็ลม หมด เปนญาติ เปนพี่นอง มากูตองไดกอน ไมใช เรา ตองพิจารณาอยางเปนธรรม ดูพฤติกรรมคน มีประธาน มีคณะกรรมการ เลขา มานั่งพิจารณากันใหครบ มากูนี่ ทำมาหากินไหม สวนใหญไดทัง้ นัน้ มันไมเหมือนธนาคาร ทัว่ ไป นีคื่ อการกลัน่ กรองของเรา วากูไป  แลว จะใชคืนเรา ได มันยากที่จะลม เพราะมีการตรวจสอบ ชวยกันดูแล”

93


94 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

08 àÊÕ§ÊÒÁѤ¤ÕÁÕ ã¹ÍÒ¡ÒÈ

95


96 ºŒÒ¹«‹Í§

“ถาเปนวิทยุธุรกิจ มันถูกคายเพลงใหญๆ จับจอง ไปหมดแลว เปนสื่อขนาดใหญ เงินมากอน” เปนเสียง จริงจังของ เดชา คชเลิศ ผูประสานงานและวิทยากรของ  เทศบาล สถานีวิทยุชุมชนพนมสารคาม ซึง่ สถานีตัง้ อยูใน ตำบลบานซอง บนแผนพับที่เดชามอบให ปรากฏขอความสั้นๆ ‘เปาหมายของการสรางสือ่ สีขาวเพือ่ ชุมชน กระบอกเสียง ชาวบาน บนพื้นฐานของความถูกตอง สั้น กระชับ แตครอบคลุมนิยามที่วิทยุชุมชนควร เปน ชื่อก็บอก วิทยุชุมชน ถาไมเพื่อชุมชน แลวจะเพื่อ แมวที่ไหน ไอที่ฟงๆ กันอยู แอบโฆษณายาหนาขาวบาง หิน มหัศจรรยบาง ยากระชับความสาวบาง เดชาบอกวา นั่น มันแอบแฝงทั้งนั้น วิทยุชุมชนขนานแท ตองไมยึดถือเงิน เปนหลัก แตตองเนนที่สาระ และประโยชนของชาวบาน เมื่อไหรที่มีเรื่องเงิน เรื่องคาโฆษณามาครอบงำ เดชา รับรองวา รายการดีๆ ถูกเบียดบังหมดแน ไมไดฟงกัน หรอก เอฟเอ็ม 103.75 สถานีวิทยุชุมชนพนมสารคาม เกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุมคนที่ตองการจัดทำสื่อใน รูปแบบของวิทยุชุมชน จากการรวมตัวในระดับชุมชน และ เครือขาย 8 จังหวัดภาคตะวันออก ที่เรียกวา สมาพันธ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

เดชา คชเลิศ

วิทยุชุมชนภาคตะวันออก และระดับประเทศที่เรียกวา สหพันธวิทยุชุมชนแหงชาติ มีการตอสูเพื่อใหไดมาซึ่งสิทธิของภาคประชาชน ตามรัฐธรรมนูญป 2540 วาดวยเสียงของภาคประชาชน รอยละ 20 ดำเนินการในรูปแบบความเปนวิทยุชุมชนที่เปน เนื้อแท ไมมุงหวังเพื่อการแสวงหาผลกำไร อีกทั้งยังเปน จุดปฏิบตั การ ิ เพือ่ การเรียนรูโดย  แท บุคคลหรือหนวยงาน ใด ก็สามารถเขามาเรียนรูได  เปนการเปดโอกาสใหคนใน ชุมชน และยังเนนเนื้อหาสาระจากรายการตางๆ “ที่นี่อาจแตกตางจากที่อื่น” เดชากลาว

97


98 ºŒÒ¹«‹Í§

“เนื่ อ งจาก เรา เป น คน ขั บ เคลื่ อ น มา ตั้ ง แต ยุ ค แรก ใน รัฐธรรมนูญ มาตรา 40 บอก วา มี คลื่น ที่ เปน สาธารณประโยชนอยู จริงๆ คลื่นแบงออกเปน 3 สวน ขาราชการสวนหนึ่ง ธุรกิจสวนหนึ่ง ภาคประชาชนอีก สวนหนึ่ง เริ่มแรกผมไปประชุมกับคณะกรรมการจาก รามคำแหงบาง ธรรมศาสตรบาง ที่กรุงเทพฯ อาจารย คนหนึง่ บอกวา 20 เปอรเซ็นตของภาคประชาชนมันกำลัง หายไปนะ ทำไมหาย หายไปแบบไหน “ภาครัฐก็เปนตำรวจ ทหาร อะไรไป อาจารยคนนัน้ ก็ใหแตละจังหวัดไปคุยกัน วาถาเราจะเคลื่อนสวนของ เรา หลัก การ ของ วิทยุ ชุมชน คือ อะไร หลัง จาก คุย กัน ชัดเจนในป 2543 สรุปวา วิทยุชุมชนตองแตกตางจาก วิทยุธุรกิจ”


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСÃ

ที่วาตางคือ 1.ไมมีโฆษณา 2.ไมแสวงหาผลกำไร 3.การเงินไมเขามาเกี่ยวของ “ตองเปนสื่อสาธารณะที่เขาออกงาย ถาธุรกิจนี่ ตองซื้อ เวลา ซื้อ ตารางการออกอากาศ เราตองทำให องคกรชุมชนชาวบานเขาถึงงาย การจัดรายการไมตอง คำนึงถึงเรื่องเรตติ้ง ถามีเหตุเดือดรอน เหตุฉุกเฉินตอง เขาไปจัดรายการไดเลย ใชประชาสัมพันธเรื่องดีๆ ของ ชุมชน เชน อาสาสมัครมาจัดรายการ เราก็ไดแฟนกลุมนี้ ฟง พีน่ องกลุม ไทยพวนจัดรายการ เราก็ไดกลุม นีฟ้ ง กลุม ออมทรัพยจัด เราก็ไดกลุม นีฟ้ ง พระมาจัด พระทานก็ฟง รัศมี ก็ไปไมไกล วิทยุชุมชน ตองจัดรายการตามความ ตองการของชุมชน” มาพูดถึงเรือ่ งผังรายการกันบาง ถึงเปนวิทยุชุมชน งายๆ บานๆ เรื่องผัง ก็ตองมีระบบระเบียบ ตาสีตาสา จัดได แตถาเมาสุรามา ลิ้นรัว อยางนี้ก็ไมไหว “ตองมีตารางเวลา อยางรายการของอาสาสมัคร กับของอนามัย มันอาจคลายกัน ถาเราไมจัดตารางเวลา มันจะซ้ำซอน คนฟงจะเบือ่ อยาลืม เราอยูได  เพราะชุมชน ชวย กัน สนับสนุน เรา ใช คณะ กรรมการ ใช คน ที่ จะ จัด รายการ นัง่ ประชุมกันกอน เวลาไหนใครรับผิดชอบอะไร เชน พระ จะมานั่งจัดตอนตี 5 มันไมสมควรอยูแลว “ทีนี่ เรา ่ ทำขอตกลงกัน ขณะนีเป ้ ดอยูที ่ 8.00 น. ถึง

99


100 ºŒÒ¹«‹Í§

15.00 น. แตละระหวางวัน ถาใครไมมา ติดภารกิจ เรา ก็เปดสปอตที่เปนสาธารณประโยชน เพลง 2 แง 3 งาม หามเด็ดขาด มันละเอียดออน เราเปดมาปที่ 10 แลวยัง อยูได ทั้งที่ถูกสื่อกระแสหลักพยายามเบียดรุก” เดชาเลาวา เคยสงจดหมาย 200 ฉบับ ไปสอบถาม ความเห็นชาวบาน ชอบหรือชังอยางไร “มีสงคืนมา 176 ฉบับ เราก็มาคัดดู ชวงนั้นเปน รายการ คนรูจักคน รายการเพื่อนหญิง และคุยเฟอง เรื่อง สปสช. ที่คนชอบ ตอนหลัง สสส. ก็มาถอดบทเรียน เพราะวิทยุชุมชนขนานแทจริงๆ มันจะหาไมไดอีกแลว ผม ชวยกันรางกฎหมาย ทำมาเรื่อย ตอนนั้นภาคตะวันออก มีแค 12 สถานี แบบที่ไมแสวงหาผลประโยชนจริงๆ ทั่ว ประเทศ มี 100 สถานี เทานั้น เอง หลายๆ แหง แอบแฝงโฆษณา สมมุติมีบริษัทหนึ่งทำคายเพลง ลงทุน 300,000 บาท บอกไมโฆษณาหรอก แตสงเพลงให เปดเฉพาะคายตัวเอง อยางนี้ก็จบแลว เปนวงจรที่เรา พยายามตอตาน” ถามีเรือ่ งเดือดรอนเรงดวน ตองการกระจายความ รับรูในวงกวาง ก็ตองมีเครือขาย “เรา จะ ช ว ย ส ง เคส ต า งๆ ให สื่ อ โทรทั ศ น ภาค ประชาชนที่ระยอง ในกรณีมีเรื่องเรงดวน อยางสื่อชอง เอ็นบีทีมาถายทำปญหาตางๆ ไปบอยมาก เปนเรื่องที่


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 101

เราสงขาวไป อยางนี้ มันจะไดผลในวงกวางมากกวา สื่อ ในชุมชนจริงๆ ถาเปนเรื่องการอยูดีมีสุขของคนในตำบล เรามีอาสาสมัครตางๆ จัดรายการ มีการแนะนำเรื่อง สุขภาพตางๆ” ณ ขณะนี้ รัศมีการสงของวิทยุชุมชนที่นี่ ไมเกิน 30 กิโลเมตร “ถามวาอยูไดอยางไร คาไฟฟาเราขึ้นอยูกับทาง เทศบาล เทศบาล ให เงิน อุดหนุน สื่อ ป หนึ่ง ประมาณ 40,000 บาท แต ไม ได หมายความ ว า เรา ต อ ง ไป รับ ใช นักการ เมือง แค เวลา มี กิจกรรม อะไร เรา ก็ ชวย ประชาสัมพันธให แลวก็มีเงินสนับสนุนจากหนวยงาน ตางๆ หลักๆ คือ การหนุนจากกลุมองคกรพื้นที่ เชน กลุมออมทรัพย กลุมเครดิตยูเนี่ยน อะไรพวกนี้ และอีก ตัวคือ การทอดผาปาหรือการจัดงานประจำป ก็แบงๆ กัน ไป แชรไปสวนคาใชจายในการซอมเครือ่ ง แตทีต่ องใหคือ ชางเทคนิคที่ดูแลเสียง เพราะตองนั่งประจำ” ไมถามเรื่องนี้ไมได ทำงานกับสื่อ คุมสื่อ แลวเรื่อง การเมืองกีฬาสีละ บริหารอยางไร “ทีนี่ ไม ่ มเหลื ี องแดงนะ ไมรุนแรง เหมือนตอนเลือกตัง้ นายกฯ ที่นี่ก็ไมมีปญหา เราเปดโอกาสใหทุกคายถาจะ เขามาจัดรายการ ไมปดกั้น เพราะนักการเมืองก็เปน ประชาชนคนหนึง่ เหมือนกัน แตการเขามา ตองเปนธรรม


102 ºŒÒ¹«‹Í§

จัดสรรเวลาใหเทากัน ไมมใคร ี ไดเปรียบเสียเปรียบ ถามา คนเดียว ยาก การปน หัวไมมี อยางมากแคสปอตเชิญชวน ไปใชสิทธิเลือกตั้ง อยางนี้เราชวยเหลือได แตประเภท บอกตองเลือกนาย ก นาย ข ที่นี่ไมเอา “อยางทีบอก ่ ตัวนายกเทศมนตรีทีนี่ ่ ไรคูแข  งขันมา ตั้งแตไหนแตไรแลว แลวเขาเองก็ไมเคยพูดเชียรตัวเอง ผานวิทยุชุมชนเลย นักการเมืองที่นี่สปริตดี ชาวบานเอง ก็เปนเกราะกำบังใหเราดวย เราทำงานใหชาวบานอยูแล  ว ไฟไหมที่ไหนเราออกอากาศให รถชนที่ไหน เราก็ออก ให “เรามีจรรยาบรรณรวมกัน ผมถึงพูด วาวิทยุชุมชน แทๆ หายาก ธุรกิจ ไดงบประมาณจากโนนนี่ตลอด ที่นี่ ก็มีเคยมาติดตอ ใหเดือนละ 15,000 บาท ใหเปดแต เรื่องของพรรคโนนพรรคนี้ แตเรามีกติกาชัดเจน ยืนอยู บนหลักการมาเปน 10 ป ตองยืนอยางนี้ไปตลอด จริงๆ จุดแรกของภาคตะวันออกคือวิทยุที่บางสระเกา เมื่อป 2543 ของเราเปนแหงที่ 2 แตตอนนี้ทางนั้นลมไปแลว เนือ่ งจากมีปญหาเรือ่ งคาใชจาย กระแสไฟเอย เรือ่ งคนเอย ี น บางคนก็ทอ ถอยออกไป คือแรกๆ มีใจ ตอมาพอไมมเงิ ไมมคน ี จัด วิทยุกระแสหลักใหคาตอบแทนเยอะ ก็ไป ของ เราก็มีชวงเกือบไมไหว”


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 103

“ต อ ง เป น ส่ือ สา ธาร ณะ ที่ เข า ออก งาย ถาธุรกจิ นีต่ องซอื้ เวลา ซอื้ ตารางการ ออกอากาศ เราตองทำใหองคกรชุมชน ชาว บ า น เข า ถึ ง ง า ย การ จั ด รายการ ไม ตอง คำนึง ถึง เร่ือง เรต ติ้ง ถา มี เหตุ เดื อ ด ร อ น เหตุ ฉุ ก เฉิ น ต อ ง เข าไป จั ด รายการไดเลย ใชประชาสัมพันธเรื่องดีๆ ของชุมชน” ไมไหวที่วา ก็เรื่องนักจัดรายการยายไปอยูสถานี ใหญๆ “ตอน นี้ คน ที่ จัด รายการ ทอง ถิ่น ใน แปดริ้ว เปน นักจัดเกาของเราทั้งนั้น สวนที่ยังมีใจ ก็กลับมาชวยจัด รายการที่นี่ เอาเงินเดือนมาชวยเหลือเราบาง พูดงายๆ วาเราเปนนักปน นักรองบันทึกแผนเสียงก็มาจากที่นี่ หลายคน กอย กาญจนา ชุมพล ศรีราชา ซึ่งอยางที่บอก ออกไปแลว บางคนก็ยอนกลับมาดูเรือลำเกา นี่คือชวง ปญหา


104 ºŒÒ¹«‹Í§

“บางคนหาเชากินค่ำ มาจัดรายการแบบนีอยู ้ ไม  ได เราทำไมเหมือนทีอื่ น่ ดวย กอนจัดตัง้ เราทำเวทีประชาคม ในทุกหมูบาน คนไมพรอมจริงๆ ก็จะไมเขามา สิ่งหนึ่งที่ เราทำใหคนในองคกรคือประกันชีวติ อุบตั เิ หตุ เงินเหลานี้ ก็มาจากการจัดงานตางๆ ตอนนี้คนจัดการรายการของ เราจาก 30 คน เหลือประมาณ 20 คน บางคนไปตั้ง สถานีเอง บางคนมีภารกิจ” “ปญหาหนักอื่นๆ คงเปนชวงของการปรับระบบ ตางๆ ตอนสิ้นป ถาเราไมนิ่งเรื่องคาโฆษณา มัวกังวล วาทำไมเราไมเก็บคาโฆษณาใหเปนงานเปนการ โฆษณา กับประชาสัมพันธตางกันนะ ถาเราจะประชาสัมพันธงาน หนึ่งงานใด นั่นอีกเรื่อง” “เก็บเงินเมื่อไหร วิทยชุมชนพัง?” เราสงสัย “เสีย ครับ หลัก การ เสีย หมด ดนตรี ไทย ที่ เด็กๆ เคยเอามาเลนในหองสง ก็จะถูกซื้อเวลา แลวเบียดให หายไป มีการแยงเวลา ยิง่ ไปกวานัน้ จะเปนทาสของการ เงิน เครื่องดื่มมึนเมา กินแลวหนาใส อะไรมากมาย ถา ผูบริหารไมมีใจตรงนี้ เปไปแลว วิทยุชุมชนไมมีใครเปน เจาของ ทุกคนมีสิทธิรวมกัน เวลามีปญหา ตองจบใน เวทีประชุม” เขาเดินพาชมหองจัดรายการ เล็กๆ บานๆ แตดู ซื่อและมันดี


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 105

“ความสนุกของการทำงาน คือทำใหคนที่ไมเคยรู อะไร ไดรู ก็เหมือนหนังสือของ สสส. ที่ลงเรื่องราวดีๆ ในชุมชน แตหนังสือพิมพอื่น เลมใหญๆ ลงแตขาวยิง กันตาย ขาวอะไรก็ไมรู วิทยุชุมชนที่แท ตองเสนอเรื่อง ในชุมชน ใหคนไดรับรูเรื่องราวของตัวอง รูเรื่องที่ควรรู จึงสามารถแสดงความคิดเห็นได” เอาหูฟงมาสวม เดชาบอกวา การสื่อสารสำคัญ ไมเชื่อดูตอนรัฐประหาร รัฐประหาร! “สังเกตได เวลามีรัฐประหาร สื่อจะโดนยึดกอน ระฆังจะดังไมดัง ถาไมมีสื่อชวย ไปไมรอด สื่อเองมันก็ มีหลายอยาง สื่อมุงกำไร กับสื่อเพื่อประชาชน ถาทำได ดีๆ วิทยุชุมชนของที่นี่มันเกิดขึ้นจากความตองการทาง ธรรมชาติ ถาตองเปลี่ยน ปรับปรุง มันก็เปนแคเรื่องของ เครื่องสง เรื่องนักจัดรายการ เรื่องจริยธรรม ถาเราไมฝก ทักษะบางชนิด การพูดการจามันสำคัญ นอกนั้นก็เปน เรื่องการสงขาวสาร ตองมีทั้งสองทาง ทั้งจากเรา และ รับจากผูฟง คนฟงเหมือนคนตาบอด มองไมเห็นเรา คน  ตู พูดออกไปอยางไรใหกระจาง ของอยางนีมั้ น จัดก็อยูใน ตองคอยๆ พัฒนากันไป เราทำอยูทุกป”


106 ºŒÒ¹«‹Í§

áͺ´ÙÃÐàºÕº¹Ñ¡¨Ñ´ÃÒ¡Òà นอกจากการดำเนินงานของสถานี ตองเปนไปอยางอิสระ ไมถูกแทรกแซงจากผูมี อิทธิพล ผังรายการ ขาว ขอความตางๆ ตอง ถูกพิจารณาอยางรอบคอบ คณะกรรมการอยู ในวาระ 2 ป และหากเกิดความผิดใด คณะ กรรมการตองถูกพิจารณาใหออก 2 ใน 3 คน คนที่อยูหนาไมค ก็มีขอระวังตางๆ ดังนี้


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 107

1. เปดเพลงไดไมเกิน 8 เพลงใน 1 ชั่วโมง 2. การเปดเพลง ไมอนุญาตใหพูดชื่อสถาน ประกอบการใดเปนผูสนับสนุน 3. หามเปดเพลงเสียดสีสังคม 4. การออกอากาศงานบริการตางๆ เจาภาพ ตองแจงลวงหนา และตองเก็บเอกสาร หลักฐานทุกอยางไว 5. การรับนักจัดรายการใหม ตองอยูในการ รับรูของผูบริหาร 6. รายการที่ออกอากาศตองมีเนื้อหาสาระ 60 เปอรเซ็นต


108 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 109

09 ¾Ô¾Ô¸Àѳ± ä·Â¾Ç¹

วากันวา พิพธิ ภัณฑกับหองสมุดเปนสถานทีสำคั ่ ญ ถาอยากใหลูกหลานของเรามีระดับสติปญญาดี ไมรูหรอกวา ชาวบานซองรูเรื่องนี้ไหม แตพวกเขา มีพิพิธภัณฑเปนของตัวเอง ซ้ำยังเปนพิพิธภัณฑที่รวม ความ นา สนใจ ของ ชน พื้น ถิ่น เกา แก อยาง ชาว ไทย พวน เอาไว นาสนใจจริงๆ ที่มาที่ไปของชาวไทยพวน ชาวบานเลาใหฟงวา ปูย า ตายายยายมาจากเวียงจันทน ตอนสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีอาชีพทำนา พอคนไทยถางปามาใกลๆ คนพวนกลัว ก็ขยับหนีไป ตอนนี้มีชาวไทยพวนมากที่บานหัวกระสังข “เทาทีรู่ ม า ก็ไมมประวั ี ตวิ าทะเลาะอะไรกันกับคน


110 ºŒÒ¹«‹Í§

ไทย คนพวนเขาไดทุกที่ ลักษณะชอบอยูแบบถอยทีถอย อาศัย กลมกลืน ไมเคยมีปญหา” ชาวบานบางคนวา นายกเทศมนตรีบานซองบอกวา เขาเกิดทีนี่ ่ ก็ตอง รักษาวัฒนธรรมบางอยางเอาไวใหลูกหลาน “อยางพิพิธภัณฑ ก็ที่ผมบอกไป ผมเกิดที่นี่ ภาษา ไทยพวนก็พูดได มาคิดวาทำอยางไร ใหคนพวนมีจุดศูนย รวมดานจิตใจ หนึ่ง...เรื่องภาษา สอง...ของดีที่มีตามบาน คนพวน ซึ่งเราไดรับการมอบมารวบรวมไวโชว และคอย กระตุน ใหเขาทำกิจกรรมตางๆ ไมอยากใหแคเปดเฉพาะ ตอนคนมาดูงาน นานๆ ปดฝุนสักที อยางนี้ไมเอา เรารู วาทุกคนก็มีภาระการงานตัวเอง แตตรงนี้ตองบริหารให ดี ตองคิดตอกันวาทำอยางไรไมใหตายไปจากที่เราสราง ไวแลว ลูกหลานของเรา มีอะไรจะทำไดบาง อยากให เราชวยสนับสนุนตรงไหน การละเลนคนพวน หรืออะไร ก็วามา มารวมกิจกรรมกัน มาถักหมวกบาง อะไรบาง” ประเพณี ที่ นา สนใจ ของ ไทย พวน คือ ประ เพณี ่ บานสืบทอดกันมาตัง้ แตบรรพบุรษุ ซึง่ เกิดจาก ฮีบา น ทีชาว ความเชื่อ ความศรัทธาของชาวบานที่ตองการใหคนใน หมูบานไดอยูรวมกันอยางสงบสุข โดยชาวไทยพวนทุก หลังคาเรือนจะทำกระทงหนาวัว และปนคน โค กระบือ มา สุนัข ไก ขาวดำ ขาวแดง ใสในกระทง ชวยกันหาหญาคามาถักเปนเปยตอๆ กัน ยาว


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 111


112 ºŒÒ¹«‹Í§

ประมาณ 30-40 วา เพื่อนำมาลอมรอบหมูบาน แลว นำ หญา คา และ กระทง หนา วัว นี้ มา รวม กัน บริเวณ พิธี ศาลปูตา ทำบายศรีปากชาม สูขวัญหลักบานหลักเมือง ทำบายศรีพุมสูขวัญชาวบาน จากนั้นนำหญาคาซึ่งได ทำพิธีแลวไปลอมรอบหมูบาน นำกระทงไปวางไวตาม แยกตางๆ หรือทางสามแพรงของหมูบาน เปนการสงผี สงเคราะหรายออกจากหมูบาน


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 113

ประเพณีฮีบาน หรือประเพณีลอม หญาคานี้จะปฏิบัติกันในวันอังคาร เดือน 6 เป น ประจำ ทุ ก ป ซึ่ ง เป น ประเพณี ที่ เกาแกและคงเหลือที่ตำบลบานซองเพียง แหงเดียวในประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีประเพณีตางๆ อีก มากมาย เชน ลงแขกเกี่ยวขาว บุญขาวจี่ ทานขาวเมา บุญขาวหลาม ในวันสงกรานต จะ มี การ ลำพวน บายศรี พระ สวน ใหญ ไทย พวน มี ความ เป น อยู อย า ง ง า ยๆ มี ความสามัคคี เกื้อกูลกัน ซื่อสัตย ยึดมั่นใน ศาสนา ปฏิบตั ใน ิ ขนบธรรมเนียมประเพณี อยางเครงครัด


114 ºŒÒ¹«‹Í§

เบญจ พร แซ ตั้ง และ พนม สม วงษ สอง สาว ใหญ สาย เลื อ ด ไทย พวน เล า ถึ ง เรือ่ งราวตางๆ ดวยความภูมใิ จ เรา คุย กันทา มก ลาง เครื่อง ใช โบราณของชาวพวน ไลไปตั้ง แต สิ่ ง ของเล็ ก ๆ อย า ง พวก ลอบ กระบุง ไปจนถึงใหญๆ อยางเกวียน “ ศ า ล ปู ต า เ ป น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ชาว ไทย พวน นับถือ และ ยัง มี เจา พอ ใหญ ของหมูบาน ชาวไทยพวนที่นี่ นับถือ ผี นับถือ มา ตั้งแต ปู ยา ตา ยาย จะ ไป อยู ไหน ต อ ง มี ศาล อยางศาลประจำของเรา ใคร ผาน ไป มา ตอง ยกมือ ไหว ไป ทาง ไกล ก็ ตอง ยกมือ ไหว นึกถึง ให ชวย รักษา เรา ทำ ไร ทำนา ฟาฝนคะนองก็จะนึกถึง เบญจพร แซตั้ง และ พนม สมวงษ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 115

เรียกหา ความเชือ่ ของเราเรือ่ งผี ถึงขวบ ปก็ตองมีพิธีกรรม “เราอนุรักษมาตั้งแตปูยาตายาย แลว บอกวางมงายก็ไมอาย เพราะมัน เปนความเชือ่ ของเรา อยากใหลูกหลาน สืบสาน เราเชื่อผี นับถือผี ก็ไหวของเรา


116 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 117


118 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 119


120 ºŒÒ¹«‹Í§

นับถือกันทั้งหมูบาน ไมอายหรอก งานบวชงานอะไร ก็ ตองมาไหวเจาพอที่นี่กอน สวนภาษาพูด เหนอหวานมา ทางไทย เหมือนเหนือ ไมเหมือนทางลาว “ที่ตั้งพิพิธภัณฑตรงนี้ขึ้น เรากลัววัฒนธรรมของ เราสูญหาย ประเพณีของเราอยางที่บอก ถึงปตองทำ ทุกครั้ง ชาวบาน เทศบาล ก็รวมตัวกัน รวมเงินเพื่อมา สรางอะไรตางๆ ของใชที่ไมใชแลว ก็เอามาไวเพื่อใหคน ไดมาศึกษา มาดู เวลามีพิธี คนไมนอยลง เยอะขึน้ ดวยซ้ำ ทั้งหมูบานมารวมเปน 100 คน มีเอานักเรียนมาดู ทาง จังหวัดก็มาดู “ถาวัฒนธรรมพวนหายไปจะเปนอยางไร ยังมอง ไมออก แตเราก็พยายามอนุรักษไว ถาหายไปคงเสียใจ ขนาดรางทรงอายุจะ 100 แลว ยังทำใหเราอยู เปนคนใน หมูบานที่เคารพนับถือ เด็กรุนใหมๆ ก็ไมเคยไดยินนะที่ บอกวาไมเชือ่ พอเราบอกใหเขานับถือ นับถือแลวเปนคน ดี การมีศาลก็เพื่อใชขอพร กราบไหว มีบางที่ไปโรงเรียน แลวพูดพวนจะถูกเพื่อนลอ” สนทนาเสร็จ ทองเริ่มรอง เจาถิ่นอาสา พาไปหา อะไรรับประทาน ทริปนี้ เราอิ่มเอมกับเรื่องราวของชาว บานซองจริงๆ


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 121

ÃÙŒÅÖ¡ÍÕ¡¹Ô´àÃ×èͧªÒǾǹ พวน (Phuen, Puen) เปนคำที่เรียกกลุมชน ที่ตั้งถิ่นฐานอยูในแควนเชียงขวางหรือบริเวณที่ราบสูง ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มีอาณาเขตติดตอกับญวน ไดชื่อวาพวน เพราะเชียงขวาง มีแมน้ำสายสำคัญไหลผานพื้นชื่อแมน้ำพวน ชาวพวนนิยมตั้งถิ่นฐานสรางที่ทำกินบริเวณลุม แมน้ำ ชาวไทยพวนพูดไดทั้งภาษาไทยกลาง และภาษา ไทยพวน โดยใชภาษาไทยกลางพูดกับคนตางถิ่น แตพูด ภาษาไทยพวนกับกลุมชนเดียวกัน ภาษาพูดของไทยพวน มีสำเนียงไพเราะ แตกตางจากภาษาพูดของลาวเวียงที่มี สำเนียงสั้นๆ หวนๆ ภาษาเขียนของไทยพวนเดิมใชอักษรไทยนอย จารลงในใบลาน เชน นิทานพื้นบาน เพื่อใชอานในงานพิธี ตางๆ เชน งานงันเฮือนดี อยูกรรม หรือเทศนในงานบุญ ตางๆ และใชอักษรธรรมจารลงในใบลานที่เปนเรื่องราว เกี่ยวกับธรรมะ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ในป 2465 ไดตราพระราชบัญญัติ ประถมศึกษาขึ้นและบังคับใชทั่วประเทศ ชาวไทยพวน จึงไดศึกษาภาษาไทยอยางจริงจัง อีกทั้งสนับสนุนใหบุตร หลานศึกษาภาษาไทยกันมากขึ้น เพราะเปนสิ่งจำเปนตอ การดำรงชีวิตในสังคม และวัฒนธรรมจากในเมือง การแตงงานกับคนภาษาอื่น ทำใหเกิดการผสม


122 ºŒÒ¹«‹Í§

ผสานดานภาษาทำใหอักษรไทยนอยและอักษรธรรมลด ความสำคัญลง ไมมีการสืบทอดภาษาเขียนสูชนรุนหลัง ผูมีความรูเรื่องภาษาเขียนและภาษาถิ่นเริ่มหมดไปจาก สังคม ในปจจุบันมีผูที่สามารถอานใบลานไดนอยมาก บานเรือนของชาวพวนเปนเรือนสูง ใตถุนเรือนใช ทำประโยชนหลายอยาง เชน ทำคอก วัวควาย เลาเปดไก ตั้งเครื่องสำหรับผูกหูกทอผา หลังคาทรงมะนิลาหันหนาไป ทางทิศตะวันตก ไมเครื่องบนผูกมัดดวยหวาย และหลังคา มุงดวยหญาคา ถาเปนบานผูมี ฐานะดีจะมุงดวยกระเบือ้ งไม เรียกวา ไมแปนเก็ดหรือกระเบื้องดินเผา พื้นและฝาเรือน ปูดวยกระดาน ไมไผสีสกุ สับแผออกเปนแผนๆ เรียกวา ฟาก ฤกษในการปลูกคือเวลาเชา การปลูกเรือนจะ เสร็จในวันเดียวประมาณ 5-6 โมงเย็น ตอจากนั้นจะเปน หนาทีของ ่ ฝายหญิง บางพวกทำเลาไก เตาไฟ การขึน้ บานใหม เจาของบานตองหาบสิ่งของขึ้นไป ไดแก ไซหัว หมู แห ไมคอน สิ่ว และหอก หญิงชาวพวนสูงวัยนิยมนุงซิ่นดำ คาดแถบแดง ตอจากนั้นจะมีคนถือเสื่อ ที่นอน หมอน มุง ถาดขาวตมขนมหวาน สำหรับทำขวัญเรือน เมื่อญาติ พี่นองมาพรอมหนา ก็เริ่มทำพิธี สูขวัญเรือน ตามประเพณี การนอนเรือนใหมจะตองมีคนนอนใหครบทุกหอง เปนเวลา 3 คืน คืนที่ 4 เจาบานจะตองจัดทำขาวตม ขนมหวานเลี้ยงดูญาติพี่นองที่มานอนเปนเพื่อน เมื่อเจาบานจัดบานเสร็จคนที่จะเขาออกหองนอนได ตองเปนคนในครอบครัวเทานั้น


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 123


124 ºŒÒ¹«‹Í§

¡ŽÇÂàμÕëÂǻҡËÁŒÍ ¢Í§´ÕàÁ×ͧ¾¹ÁÏ

มาเที่ยวบานซอง จะขาไป หรือขากลับ ไมควรพลาดลิ้มชิมรสอาหารเด็ดอยาง กวยเตี๋ยว ปากหมอ ในตัวตลาดพนมสารคาม รานหาไมยาก เลี้ยวรถเขาตัวอำเภอ เห็นอยู สองขางทางแนนอน จุดเดนของอาหารชนิดนี้ คือแมคาจะตัก น้ำแกงใสถวย โดยใสสวนประกอบตางๆ ที่เรา โปรดปราน เชน กระดูกหมู ขาไก ฯลฯ แลวปรุงรส ตามใจชอบเผ็ดหวานอยางไร จากนั้น จึงทำปากหมอ รอนๆ ใสถวยเรียงไปตามทิศทางการนั่งของลูกคา ที่ลอมเปนวงบนเกาอี้เตี้ยๆ มี ไสใหเลือกสารพัด อิ่มเมื่อไหร ก็บอกคนทำ สนุกสนาน อิ่ม อรอย แถมเพลินตาไปกับลีลาแมคาที่แสนวองไว


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 125


126 ºŒÒ¹«‹Í§


ÊѹμÔÊØ¢ ¡ÒÞ¨¹»ÃСà 127



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.