Healthy Planet : สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู
ºÒ§ÃСÓ
ºÒ§ÃÐ¡Ó àÃ×èͧáÅÐÀÒ¾: µÔ³ ¹ÔµÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ
Healthy Planet : สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู
ชุมชนเหลานี้อาจจะไมมีหาดสีขาวทอดยาว ทะเลไมใสจัด แถมยังไมมีตลาดโบราณรอยป แตนอกเหนือจากความสุขในวันนี้แลว สิ่งที่พวกเขามีอีกแนๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราใหเปนไป แบบไหน ลองเดินตามเราเขาไปชมตัวอยางสาธิต ไดจากหนังสือที่มีคำนิยามแปลกๆ อยูสักหนอย ของหนังสือเลมนี้ เปน Healthy planet ที่บงบอกลักษณะสุขภาวะที่ดี ของชุมชน เปนสุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู เปนหนังสือทองเที่ยวเชิงเรียนรูวิธีการสรางความสุข ของคนในชุมชน
บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
เรื่องและภาพโดย ติณ นิติกวินกุล
Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ บางระกำ ชีวิตปลอดภัย เรื่องและภาพ ติณ นิติกวินกุล เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 978-616-7374-10-9 บรรณาธิการอำนวยการ
ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ
สำนักสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2298 0500 ต่อ 1707 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th พิมพ์ครั้งที่ 1
กรกฎาคม 2553
ดำเนินการผลิตโดย
เปนไท พับลัชชิ่ง โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com
คำนำ เมื่อไม่นานมานี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยวที่ไหน สักแห่ง เรามักจะมีจินตนาการด้านดีเกี่ยวกับสถานที่ ทีเ่ รากำลังจ ะไป...ทะเลสฟี า้ ใส หาดทรายทอดยาวสขี าวจดั ภูเขาเขียวครึม้ ห มอกโรยเรีย่ ย อดไม้ อาหารทอ้ งถนิ่ ร สชาติ แปลกลิ้นแต่ถูกปาก ชาวบ้านจิตใจดีหาบคอนตะกร้า ฉีกยิ้มบริสุทธิ์ต้อนรับนักท่องเที่ยว ฯลฯ เมื่อเร็วๆ นี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยวที่ไหน สักแห่ง เรามักพกพาอารมณ์โหยหาอดีต ก่อนลงมือ ค้นหาข้อมูลพิกัดตำบลเป้าหมายที่จะพาเราพบ...อาคาร บ้านเรือนยุคคุณปู่คุณย่า ตลาดเก่าแก่ กาแฟโบราณ ของเล่นส งั กะสี ขนมกนิ เล่นห น้าต าเชยๆ แต่อ ร่อย เพราะ ปรุงแต่งด้วยรสชาติอ ดีต ฯลฯ จินตนาการและความคาดหวังทำนองนี้ บางทีก็ สมดังใจ แต่หลายครั้งก็คลาดเคลื่อนไปจากภาพที่เคย คิดเอาไว้ คลาดเ คลื่ อ นเ พราะข้ อ เ ท็ จ จริ ง ห ลายป ระการ เปลี่ยนไป แล้วท กุ ว นั น ี้ เรายงั ม จี นิ ตนาการและอารมณ์ค วาม
รู้สึกชนิดใดอีก เมื่อคิดถึงการท่องเที่ยวศึกษาบ้านเมือง ของเราเอง ความจริงมีอยู่ว่า ปัจจุบันนี้ชุมชนทุกตำบลหย่อม ย่านในประเทศไทยลว้ นกำลังเปลีย่ นไป และกแ็ น่นอนวา่ ความเปลี่ยนแปลงที่ว่าน ี้ หาได้มีแต่ค วามหมายเชิงล บ หลายปี ที่ ผ่ า นม า ผู้ ค นใ นชุ ม ชุ น ร ะดั บ ต ำบล หลายต่อหลายแห่งในประเทศของเรา ได้อาศัยต้นทุน ทรัพยากรเดิมเท่าที่ชุมชนมี ผนวกกับอ อกแรงขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง สร้างสรรค์ชุมชนที่พวกเขาเป็นเจ้าของให้ เป็นชุมชนที่สามารถผลิตความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี ป้อนกลับคืนสู่วิถีชีวิตของสมาชิกในชุมชนด้วยกันเอง คนเล็กคนน้อยเหล่านี้ลงมือทำมานาน หลายแห่ง ประสบความสำเร็จในระดับน ่าอ ิจฉา แต่เราจะอจิ ฉาได้อ ย่างไร ถ้าไม่ได้ไปสมั ผัสจ บั ต อ้ ง และมองเห็นด้วยตาร้อนๆ ของเราเอง ชุมชนเหล่านี้อาจจะไม่มหี าดสีขาวทอดยาว ทะเล ไม่ใสจัด แถมยังไม่มตี ลาดโบราณร้อยปี แต่น อกเหนือจ ากความสขุ ในวนั น แี้ ล้ว สิง่ ท พี่ วกเขา มีอีกแน่ๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราให้เป็นไป แบบไหน ลองเดินตามเราเข้าไปชมตัวอย่างสาธิตได้จาก หนังสือเล่มนี้ คณะผู้จัดทำ
8
บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
01 คำถามหนึ่งสำหรับก ารมีชีวิตท ี่ปลอดภัยคืออะไร หากถามนกั โภชนาการ คำตอบกอ็ าจจะคอื การกนิ อาหารร้อน กินอาหารสุกๆ ที่สะอาด การล้างมือจนเป็น
ติณ นิติกวินกุล
นิสยั ฯลฯ ถ้าห นั ไปถามนกั การศาสนา เราอาจได้ค ำตอบ ในทำนองว่า จงทำบุญ สร้างกุศลอยู่ตลอด หากถาม นักกฎหมาย คำตอบที่ได้ยินอ าจจะคือ ทำตามกฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อื่น ฯลฯ ถามยามรักษาความปลอดภัย คำตอบที่อาจจะได้รับก็คือ จอดในที่ควรจอด หนหนึ่ง ผมเคยถามคนตดิ ต งั้ เสาอากาศโทรทัศน์ คำตอบของชา่ ง อาวุโสคนนั้นก็คือ ให้ติดตั้งสายดิน หลายคนอาจให้มุม มอง อาจเลือกนิยามหรือ สรรหาคำตอบให้ตัวเองและตอบไปตามทัศนคติของตน แต่สำหรับคนที่บางระกำแล้ว ชีวิตป ลอดภัยข องพวกเขา ก็คือ… ตำบลบางระกำ ตัง้ อ ยูท่ างทศิ ใต้ข องอำเภอบางเลน ระยะห่างจากอำเภอบางเลน ประมาณ 20 กิโลเมตร ทางรถยนต์ทสี่ ะดวกที่สุดจากกรุงเทพฯ คือขับรถ ไปเองโดยใช้เส้นถนนบรมราชชนนี ตรงไปพุทธมณฑล เมื่อถึงสะพานข้ามแยกให้สังเกตป้ายศาลายาไว้ ซึ่งป้าย จะอยูต่ รงกลางตดิ ก บั ป า้ ยเลีย้ วซา้ ยไปทางดา้ นหน้าพ ทุ ธ- มณฑลและเลี้ยวขวาเป็นทางกลับร ถ ตรงไปปา้ ยศาลายา สะพานขา้ มแยกโค้งๆ เบือ้ งหน้า จะพาลงหน้ามหาวิทยาลัยม หิดล วิทยาเขตศาลายา (ซึ่ง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพุทธมณฑล) จากนั้นให้เลี้ยวซ้าย มีป า้ ยบอกทางไปบางเลน ขับต รงไปประมาณ 3 กิโลเมตร
9
10 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
เมื่อเข้าเขตอำเภอบางเลนแล้วให้เลี้ยวขวาตรงทางแยก สถานีตำรวจภูธรพุทธมณฑล(ทางซ้ายมือคือประตูทาง เข้ามหาวิทยาลัยมหิดลอีกทางหนึ่ง) จากนั้นก็ขับตรง ตลอดไม่ต้องเลี้ยวเป็นระยะทางประมาณ 17 กิโลเมตร ถึงทางแยกแรกมีทางเลี้ยวขวา ท่านไม่ต้องเลี้ยว ให้ขับตรงไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตรมีทางแยก ตรงนี้ให้ เลีย้ วซา้ ยจะเห็นป า้ ย ‘ยินดีต อ้ นรับเข้าส เู่ ขตตำบลลำพญา’ ซึง่ เป็นท างแยกเลียบคลอง ให้เลีย้ วเข้าไปแล้วข บั ต ามทาง ประมาณ 3 กิโลเมตรจะมีสะพานข้ามแม่น้ำท ่าจีนให้ขับ ข้ามกจ็ ะเข้าเขตตำบลบางระกำ มีท ที่ ำการองค์การบริหาร ส่วนตำบลบางระกำอยู่ทางลงสะพานพอดี
ติณ นิติกวินกุล
ที่ทำการ อบต. ตั้งอยู่ในเขตวัดสุขวัฒนาราม ในเขตพื้นที่หมู่ 8 ที่ดิน ผืนนี้ได้รับการบริจาคที่ดินจาก เจ้าอาวาสให้จัดสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2539 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2539 องค์การบริหารสว่ นตำบลบางระกำจดั เป็นอ งค์การ บริ ห ารส่ ว นต ำบลข นาดเ ล็ ก มี พื้ น ที่ รั บ ผิ ด ช อบ 15 หมู่บ้าน ประมาณ 30 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 20,000 ไร่ โดยลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแ ม่น้ำ ท่าจ นี ไหลผา่ น แบ่งต ำบลออกเป็นส องฝงั่ ค อื ฝัง่ ต ะวันต ก และฝั่งตะวันออก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นสีเขียว มีความ อุดมสมบูรณ์ มีอ าณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ จรดตำบลลำพญา ตำบลคลองนกกระทุง ตำบลบางปลา ทิศใต้ จรดตำบลบางแก้วฟ้า ตำบลบางพระ อำเภอนครชัยศรี ทิศต ะวันอ อก จรดตำบลนราภริ มย์ ตำบลคลองโยง อำเภอพุทธมณฑล ทิศต ะวันต ก จรดตำบลบา้ นหลวง ตำบลดอนพทุ รา อำเภอดอนตูม ณ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2553 อบต.บางระกำ มีประชากรทั้งสิ้น 1,412 ครัวเรือน รวม 4,658 คน แยกเป็นชาย 2,244 คน หญิง 2,417 คน มีความ
11
01 02 03
01
02
22 03
04
10 04
11
05
06
05 15 16
07
08
17 18
06
09
10
07 08
11 12
ºŒÒ¹âÎÁÊàµÂ 01 02 03 04 05 06 07 08 09 10 11 12
บานดอกมะลิ บานปนแกว บานสวนครัว บานฝนทิพย บานสวนมะพราว บานมะกรูด บานกลวยไม บานไร บานสมุนไพรไทย บานเฟองฟา บานตนขาว บานลีลาวดี
12
14
13
09
13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23
บานกุหลาบ บานผักบุง บานตะไคร บานพุดซอน บานไขหงษ บานริมน้ำ บานรวงขาว บานจักรยาน บานผักชีหอม บานสวนผัก บานเรือนไมชายน้ำ
20 23 21
13
á¼¹·ÕèáËÅ‹§»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ºÒ§ÃСÓÊÌҧÊØ¢
18
15 12
14
14 19 16
09
13
01 ปุยชีวภาพบางระกำทำรวย 02 การจัดการขยะโรงเรียน 03 เอกลักษณไทย (กลองยาว) 04 สุขภาพองครวม/นวดแผนไทย 05 ภูมิปญญาปองกันโรค 06 กลวยไมปลอดภัย 07 ศูนย ศสมช. หมู 7 08 การจัดการขยะครัวเรือน 09 หมูบานสะอาดบางขะโมย 10 บริหารจัดการแบบมีสวนรวม/สถาบันการเงินชุมชนบางระกำ/กองทุนสวัสดิการชุมชนฯ/จิตอาสา 11 ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก/เอกลักษณไทย (อังกะลุง)/เยาวชนรักถิ่น/การจัดการขยะโรงเรียน 12 การจัดการขยะโรงเรียน 13 การจัดการน้ำชุมชน 14 ภูมิปญญาชาวนา 15 ศูนยสาธิตการตลาดหมู 11 16 พอเพียงแบบบางระกำ
14 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
หนาแน่นเฉลี่ย 150 คนต่อตารางกิโลเมตร อาชีพของ คนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะทำนา,ทำสวนทำไร่และเลี้ยง สัตว์ อาทิ ปลูกผ ักบุ้งช ายเฟือย, มะลิ, กุหลาบ, กล้วยไม้ เป็นต้น ส่วนอาชีพเสริมท ที่ ำกันม าก ได้แก่ จักสานไม้ไผ่, ทำน้ำพริก, กะปิ และอิฐ วท. (ชื่ออย่างเป็นทางการคือ อิฐประสาน เปนอิฐที่มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ นอกจาก เรียกว่าอิฐ วท. แล้วยังม ีชื่อเรียกอีกเช่น บล็อกประสาน, อิฐด ินซ ีเมนต, อิฐค งทองและอิฐด ินแดง เป็นต้น ตามแต่ ผู้ผลิตหรือแ หล่งที่มาของอิฐ) มีป มั๊ น ำ้ มันแ ละกา๊ ซ 6 แห่ง มีโรงงานอตุ สาหกรรม 1 แห่ง มีโรงผลิตน้ำประปา 1 แห่ง มี โ รงเรี ย นป ระถมศึ ก ษา 3 แห่ ง โรงเรี ย น มัธยมศึกษา 1 แห่ง ทีอ่ ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน และห้องสมุดประชาชน 5 แห่ง ปัจจุบนั (พ.ศ. 2553) มีน ายกองค์การบริหารสว่ น ตำบลชื่อ นายณัฐวัฒน์ ชั้นอินทร์งาม “ประชาชนในท้องที่ บางระกำมีความสุขพอประมาณ” นายกฯตอบด้วยท่าที อ่อนน้อม ใบหน้าเปื้อนรอยยิ้ม เท่าที่เดินทางผ่านเข้ามาในตำบลบางระกำ มอง สภาพแวดล้อมเรื่องดินน้ำ พบเห็นผู้คนตามรายทาง ได้ พูดคุยสนทนาวิสาสะแล้ว ผมเชื่อว่าชาวบ้านในท้องที่มี ชีวิตอย่างปลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
15
16 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
อย่างไรจึงเรียกได้ว่า มีช ีวิตปลอดภัยนั่นหรือ เราไปติดตามกัน
02 ณัฐวัฒน์ ชั้นอินทร์งาม นายกองค์การบริหาร ส่วนตำบล นายกฯหนุ่มคนเก่งกล่าว “ผมเชื่อว่าถ้าให้ ประชาชนรู้สึกว่าเป็นเจ้าของชุมชน เขาจะรักชุมชนของ ตัวเอง ไม่ใช่เอะอะอะไรภาครัฐหรือหน่วยงานราชการ ก็ไปทำให้ ความรักหรือความภูมิใจ ความเป็นเจ้าเข้า
ติณ นิติกวินกุล
เจ้าของจะไม่เกิด” ขณะพาผมออกพนื้ ที่ นายกฯณัฐว ฒ ั น์พ ดู ถ งึ ช มุ ชน ของตนอย่างภมู ใิ จ “ผมจะพาคณ ุ ไปกค็ อื ท นี่ คี่ รับ ตัวอย่าง ของคนในชุมชนที่ร่วมมือร่วมใจกัน ตามผมมานะครับ” ศาลาประจำหมู่บ้านครับ ที่แห่งนี้คือที่ของบ้าน บางขะโมย นายกฯณัฐวัฒน์เล่าว่า ทาง อบต. มีแนวคิด กล่าวคอื หากชาวบา้ นตอ้ งการสงิ่ ป ลูกส ร้างใด มีข อ้ แม้ว า่ ทาง อบต. จะจดั ส ร้างศาลาให้ แต่ช าวบา้ นตอ้ งเรีย่ ไรเงินซ อื้ ทีก่ นั เอง จะมเี นือ้ ทีข่ นาดเท่าใด จำนวนเงินเท่าไหร่ อบต. จะไม่เข้าไปเกี่ยวข้อง เมื่อชาวบ้านตกลงกันเสร็จสรรพ แ ล้ว ทัง้ ในเรือ่ งแบบ ขนาด รูปท รงอะไรทงั้ หมด ทาง อบต. จะออกงบประมาณจัดสร้างให้ตามแบบที่ยื่นมา “ทีเ่ ห็นน เ่ี ป็นศ าลาประจำหมูบ่ า้ นของบา้ น บางขะโมย หมู่ 1 ครับ” นายกฯบอก “อืม สวยทีเดียว ไม่น่าเชื่อ หากไม่บอกว่าคือ ศาลาฯ ผมมองไม่อ อกเลยครับ” ผมยมิ้ อ ย่างชนื่ ชม พลาง กล่าวต่อถึงความสงสัยที่ตามมา “ว่าแต่ทำไมถึงเรียก หมู่นี้ว่า บางขะโมยครับ” นายกฯยิ้ม “เท่าท ี่ฟังมาจากผู้เฒ่าผู้แก่ คือว่าเมื่อ ก่อนแถวบางขะโมยนี้ไม่ได้เป็นชุมชน เป็นทางผ่านทาง พักข องชมุ โจร บรรดาเสือน กั ปลน้ ท งั้ ห ลายเมือ่ 70-80 ป ี ก่อน หลังจากหมดบรรดาเสือแล้วมีการโยกย้ายอพยพ
17
ผู้คนมาอยูอ่ าศัย จึงม ีชื่อเรียกอย่างที่ได้ยินก ันมาจนถึงทุกวันนี้” “ดีค รับ ชือ่ เหมือนการรกั ษารากเหง้าข องเราไว้ เหมือนผมจะ ถามท่านนายกฯอยู่เหมือนกันว่าท ำไมถึงได้ชื่อว่าบ างระกำ” “ชือ่ ต ำบลนมี้ ชี อื่ ซ ำ้ ก นั ห ลายแห่งค รับ ทีพ่ ษิ ณุโลกกม็ แี ต่เป็น ชือ่ อ ำเภอบางระกำ ชือ่ อบต. บางระกำ ชือ่ เทศบาลตำบลบางระกำ ทีอ่ ยุธยากม็ ี อบต.บางระกำ อำเภอนครหลวง ทีบ่ า้ นผมนที่ มี่ าของ ชื่อก็คือว่าง่ายๆ ครับ มีต้นระกำมากในตำบลของเราโดยเฉพาะที่ วัดบางระกำหรือวัดส ุขวัฒนารามนั่นแหละครับ”
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคนนี้ เป็นคนบางระกำ แต่กำเนิด อยู่หมู่ 4 จบการศึกษาระดับปริญญาโทศิลปศาสตร-
มหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยข อนแก่น เดิมม อี าชีพร บั ร าชการตำรวจ ต่อม าลาออก มาสมัครเป็น ผู้ใหญ่บ้านที่บ้านเกิด จากนั้นเมื่อมีตำแหน่งกำนัน ว่างจึงสมัครเข้ารับการคัดเลือก ได้รับเลือกและดำรงตำแหน่ง จนกระทัง่ ต ดั สินใจเข้าร บั ส มัครเป็นน ายกฯ จนได้ร บั ค วามไว้ว างใจ จากคนในพื้นที่ “ผมให้ความสำคัญกับคนครับ คนบางระกำของเราไม่ได้ ร่ำรวย แต่ก็ไม่ได้ย ากจนจนขาดแคลน แต่เรามักขาดโอกาสหลาย อย่าง โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสทางสังคม คนพิการ ผู้สูงอายุจน กลายเป็นปัญหา เช่น ไม่มีที่ดินท ำกิน ไร้เงินทุนเพราะไม่รู้จักการ เข้าถ งึ แ หล่งเงินท นุ จึงม กั ก เู้ งินจ ากนอกระบบจนมหี นีส้ นิ ล น้ พ้นต วั พวกวา่ งงานเพราะไม่มีงานให้ท ำ นอกจากงานสวนงานไร่ พอวา่ ง งานกเ็ ล่นก ารพนัน หันเข้าหายาเสพตดิ บ า้ ง ผมไม่อ ยากให้ล กุ ลาม กลายเป็นป ญ ั หาใหญ่โตจงึ ร ว่ มกบั ส มาชกิ อบต. และผใู้ หญ่ในพนื้ ที่ พร้อมกับชาวบ้านหลายคนทหี่ ่วงใยชุมชนของเราช่วยกันคิด แรกเริ่มทำอย่างไรให้คนรู้จักพอ รู้จักใช้จ่าย นอกจาก การสร้างรายได้เพิ่มเติมและปลูกฝังความคิดเรื่องหลักเศรษฐกิจ พอเพียงของในหลวงท่าน ลำดั บ แ รกเ ราเ ริ่ ม ท ำ ‘กองทุ น ส วั ส ดิ ก ารชุ ม ชน ตำบล บางระกำ’ ครับ
20 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
03 แนวคิดของกองทุนนี้ก็คือ ‘การช่วยเหลือเกื้อกูล’ ซึ่งก็คือการช่วยเหลือโดยร่วมมือกันเองของคน ในชุมชน กล่าวคือทุกคนที่เป็นสมาชิกต้องส่งเงินออม วันละ 1 บาท เดือนหนึ่งก็จะได้ 30 บาท เงินก องทุน นี้จะนำเงินไปจัดสวัสดิการต่างๆ ช่วยเหลือสมาชิก โดย มีหลักเกณฑ์ว่าต้องออมติดต่อกันเป็นเวลา 180 วัน จึงจ ะมสี ทิ ธิไ์ ด้ร บั ส วัสดิการ ทุกค นมสี ทิ ธิส มัครออมแม้แต่ เด็กแรกเกิด สวัสดิการทไี่ด้ร ับ อาทิ เมื่อค ลอดบุตรจะได้ร ับเงิน ขวัญถ งุ 1,000 บาท กรณีเจ็บป ว่ ยจำเป็นต อ้ งพกั ร กั ษาตวั ทีโรงพยาบาลจะได้รับเงินช่วยเหลือคืนละ 100 บาท
ติณ นิติกวินกุล
ปีล ะไม่เกิน 10 คืน นอกจากนยี้ งั ส ามารถกเู้ พือ่ ก ารศกึ ษา และรักษาพยาบาลโดยไม่เสียดอกเบี้ย รายละไม่เกิน 10,000 บาท แ ละต้องชำระคืนภายใน 1 ปี หากเสียชีวิตก็จะได้รับเงินช่วยเหลือตามระยะ เวลาการออม กล่าวคือได้รับเงินช่วยเหลือตั้งแต่ 5,00020,000 บาท นอกจากนผี้ สู้ ูงอ ายุย ังได้ร ับบ ำนาญตั้งแต่เดือนละ 300-500 บาท คนด้อยโอกาส คนพิการ ผูม้ ีรายได้น้อย จะได้รับเงินช่วยเหลืออีกเดือนละ 30 บาท เด็กนักเรียนเมื่อเรียนจบแล้วจะได้รับเงินฝากคืน ทุกคน พระภิกษุและสามเณรก็มีสิทธิออมเช่นกัน ถามว่าได้รับเงินทุนจากสมาชิกเพียงอย่างเดียว คำตอบคือไม่ใช่ ทาง อบต.บางระกำสนับสนุนเงินทุนอีก ปีละ 100,000 บาท ปัจจุบนั ม สี มาชิกท งั้ ส นิ้ 2,011 คน มีค ณ ุ ส มเกียรติ สุนทรอำไพ เป็นหัวหน้าผ ู้ดูแล มีค ุณศ ศิประภา ภมรสูตร เป็นเจ้าห น้าทีป่ ระจำ มีจ ติ อ าสาอกี ห ลายทา่ นผลัดเปลีย่ น หมุนเวียนกันเข้ามาช่วยเหลือ ในเวลาเดียวกันม กี ารจดั ต งั้ ‘สถาบันก ารเงินช มุ ชน บางระกำ’ อีกด้วย โดยใช้สถานที่ตั้งเดียวกันก ับกองทุน สวัสดิการชุมชน ทีม่ าของสถาบันฯนีก้ ำเนิดม าจากโครงการกองทุน
21
22 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
หมู่บ้านละ 1 ล้านบาทของรัฐบาลในช่วงปี พ.ศ. 2544 4 ป ตี อ่ ม าจงึ ร ว่ มกนั ห ารือกั บธ นาคารเพือ่ ก ารเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธกส.) จัดตั้งสถาบันการเงินชุมชน บางระกำ ภายใต้คำขวัญที่ว่า ‘เสริมสร้าง ประหยัด พัฒนาชุมชน’ โดยเ ริ่ ม ด ำเนิ น ก ารใ นวั น ที่ 29 กั น ยายน พ.ศ. 2548 “สถาบันฯนีจ้ ะมเี ฉพาะการฝากเงินแ ละถอนเงิน ไม่มีการโอนเงินครับ” นายกฯบอก “มีดอกเบี้ยสำหรับ เงินฝ ากออมทรัพย์ 0.75 เปอร์เซ็นต์ และสำหรับเงินฝ าก ประจำ 3-12 เดือน 1 เปอร์เซ็นต์” สถาบันนี้อำนวยความสะดวกและมอบโอกาส แก่คนในชุมชนจำนวนมาก
ติณ นิติกวินกุล
04
ออกจากที่ทำการ อบต.บางระกำแล้ว ติดกันเป็น อาณาเขตวัดส ุขวัฒนาราม เราไปเยือนกันหน่อยนะครับ วัดสุขวัฒนารามเป็นวัดราษฎร์เก่าแก่ สังกัดคณะ สงฆ์ฝ า่ ยมหานกิ าย ตัง้ อ ยูร่ มิ ฝ งั่ แ ม่นำ้ น ครชัยศรี อยูท่ า้ ยสดุ ของอำเภอบางเลน เดิมทีเรียกชื่อว่า วัดบ างระกำ เข้าใจ ว่าแต่เดิมแห่งนี้มีต้นระกำมาก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2415 โดยมีคุณปจู่ ุ้ย คุณย่าเจียม สายอุบล เป็นผู้บริจาคที่ดิน สร้างวัดแห่งน ี้ ต่อมาทางวัดก ็ซื้อเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ และ ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อป ี พ.ศ. 2497 ภายในวัดม สี ถานทเี่คารพกราบไหว้แ ละท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจหลายแห่ง ในช่วงหลายปีมานี้ทางวัด
23
24 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
มีพิธีกรรมที่เด่นๆ มีผู้คนพากันมาร่วมเสมอๆ พิธีกรรมที่สำคัญคือ การ ‘ลอดโบสถ์’ การลอดโบสถ์โดยความเชือ่ แ ล้วน นั้ ถือว่าเป็นการ สะเดาะเคราะห์แ ละแก้ก รรม บ้างกเ็ ชือ่ ว า่ ป น็ การหนุนด วง เสริมบ ารมีให้ช วี ติ ด ขี น้ึ ขจัดป ดั เป่าส ง่ิ อ ปั มงคล ถอนคณ ุ ไสย มนต์ด ำ เดรัจฉานวชิ า หากลม้ ป ว่ ยเรือ้ รังร กั ษาไม่ห ายขาด เสียที หากได้มุดแล้วจะหายจากโรคภัยไข้เจ็บ ฯลฯ ทั้งหมดนี้เป็นความเชื่อเกี่ยวเนื่องและโยงใยกับพิธีลอด โบสถ์ของคนไทยจำนวนมาก
ทางเข้า
ทางเดินลอดโบสถ์ ด้านนอก
ติณ นิติกวินกุล
ทางวดั ส ขุ ว ฒ ั นารามกม็ พี ธิ กี รรมนแี้ ละมคี นแห่ก นั มาลอดโบถส์อยู่ทุกวัน ทางวัดจะเตรียมทั้งสถานที่และพิธีกรรมแสดง ปรากฏอยู่รายรอบโบสถ์ หลังเดินลอดโบสถ์สะเดาะเคราะห์แล้ว เราก็เดิน ชมกันต่อภายในวัด ทางด้านหน้าจะมีวัตถุมงคลให้เช่าบูชากัน
25
26 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ออกม าด้ า นน อกที่เห็ น เด่ น เป็ น จุ ดสั ง เกตห นึ่ ง ที่ชัดเจนก็คือ ต้นตาล ต้นตาลต้นนี้มีอายุมากกว่าร้อยปี เริ่มสร้างวัดก็มี ต้นตาลต้นนี้แล้ว หากนับอายุของวัด ต้นตาลต้นนี้ต้อง มีอายุม ากกว่า 130 ปีข ึ้นไป นอกจากนี้วัดสุขวัฒนาราม ยังมีแหล่งท่องเที่ยว พักผ่อน ได้แก่
ติณ นิติกวินกุล
27
28 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
05 พิพิธภัณฑ์วิถชี าวนาลุ่มแม่น้ำนครชัยศรี ระหว่างนี้มีหลวงพี่พระดนัยอรุณภู่ พระผู้ดูแล พิพิธภัณฑ์เข้ามาร่วมสมทบให้ความรู้พร้อมกับพี่สมร มูลท องโล่ย เจ้าหน้าที่อบต. และคนในท้องถิ่นเก่าแ ก่
ติณ นิติกวินกุล
29
30 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
พิพิธภัณฑ์นอกจากจัดเป็นนิทรรศการให้ความรู้ ด้านการทำนาแล้วยังรวบรวมเครื่องใช้ไม้สอยในการ ทำนา ทำไร่ ของแถบลุ่มน้ำนครชัยศรีหรือแม่น้ำท่าจีน ไว้ด้วย ไม่ว่าจ ะเป็นไถเดี่ยว ไถคู่ คราด ลูกทุบ แอก กา ครกกระเดือ่ ง สีฝดั และเครือ่ งทำการเกษตรอกี มากมาย ตลอดจนข้าวของเครื่องใช้เก่าแก่ ตะเกียงเจ้าพ ายุ ธนบัตร เหรียญกษาปณ์ท ั้งของไทยและต่างประเทศ ทางนายกฯณัฐวฒ ั น์กล่าววา่ การจดั ตงั้ พพิ ิธภัณฑ์ ร่วมกนั ข องชาวบา้ น ท่านเจ้าอ าวาส คนเก่าแ ก่ในทอ้ งถนิ่ ก็ด้วยหวังว่าจะเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน เกี่ยวกับการ ทำนาแบบดั้งเดิม ที่สามารถผลิตอาหารเลี้ยงชาวโลก มาได้อย่างต่อเนื่องอันหมายถึงกระบวนการเทคโนโลยี เป็นภูมิปัญญาของชาวลุ่มน้ำนครชัยศรีโดยแท้จริงไว้อีก ทางหนึ่ง
31
32 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
33
06 ออกจากพพิ ธิ ภัณฑ์แ ล้ว มองไปอกี ด า้ นหนึง่ ข องวัด กำลังจัดสร้างพิพิธภัณฑ์เรือไทยภาคกลาง มีเรือเก่าแก่ หลายสิบลำเตรียมจัดแ สดงอยู่ ถัดออกไปภายในเขตพื้นที่ของวัดเช่นเดียวกัน มี วังมัจฉา หรืออุทยานมัศยานานาพันธุ์ อยู่ภายในบริเวณ ท่าน้ำวัดสุขวัฒนาราม
ภาพมุมสูงวัดสุขวัฒนาราม ถ่ายจากสะพานข้ามแม่น้ำท่าจีน
34 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
วังปลาแห่งนี้เป็นที่อาศัยของปลานานาชนิด เช่น ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาเทพา ปลาตะเพียน ปลากด ปลาลิ้นหมา ฯลฯ ซึ่งมาอาศัยอยู่หน้าวัดมานานตั้งแต่ สร้างวัดมาใหม่ๆ และจัดให้เป็น ‘เขตอภัยทาน’ เพื่อ อนุรักษ์ไว้ให้เป็นสมบัติของอนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป ทุกวันเสาร์-อาทิตย์ นักท่องเที่ยวจะล่องเรือชม ส องฝงั่ แ ม่นำ้ ท า่ จ นี จากตลาดนำ้ ว ดั ล ำพญา ตำบลลำพญา เพื่อม าให้อาหารปลาและฟังดนตรีไทยเดิม จากนักเรียน วัดส ขุ ว ฒ ั นาราม ทีบ่ รรเลงขบั ก ล่อมนกั ท อ่ งเทีย่ ว บริเวณ ท่าน้ำวัดสุขวัฒนาราม
ติณ นิติกวินกุล
ให้อาหารปลาได้ ถุงล ะ 5 บาท หยอดและหมุน กันเอาเอง ถุงอาหารปลาจะออกมา
35
36 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
37
38 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
07 กลุ่มสตรี จัดได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสูง ทั้งในด้านงาน อาสาที่กระจายเป็นกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข กลุม่ จ ติ อ าสา กลุม่ ท ำอาหาร กลุม่ น วดแผนไทย กลุ่มผู้สูงอายุ ร้อยมาลัย ฯลฯ พี่ เพ็ ญ ศิ ริ เข็ ม ท อง นอกจากเ ป็ น ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 9 แล้วยังเป็นหัวหน้า กลุ่ ม ส ตรี อ าสาพั ฒนาบ างระกำอี ก ตำแหน่ง
ติณ นิติกวินกุล
กลุม่ ส ตรีอ าสานนั้ ม กี จิ กรรมหลายอย่าง อาทิ ด้าน การแปรรูปอ าหาร ด้านการนวดแผนไทย การทำผา้ ใยบวั การทำปลานลิ แ ดดเดียวการทำนำ้ ยาตา่ งๆ กลุม่ จ กั สาน กลุ่มไข่เค็ม กลุ่มน้ำผลไม้ กลุ่มด อกไม้จันทน์ ฯลฯ อายุนั้นไม่ได้เป็นอุปสรรคสำคัญ ตัวอย่างเช่น คุณป้าปัทมา ศรีค ัชชะ ข้าราชการบำนาญ ในฐานะหวั หน้าก ลุม่ ผ สู้ งุ อายุ ได้ก ล่าว ว่า ปลายปี 2547 ได้เชิญชวนผู้สูงอายุเข้า ร่วมอย่างสมัครใจ ไม่มกี ารบังคับ ผูส้ ูงอายุ นั้นจะต้องอายุ 60 ปีขึ้นไป ปัจจุบัน มี ป ระมาณ 200 คน ร่ ว มกั น ท ำ กิ จ กรรมกั น ใ นวั น ที่ 10 ของทุ ก เดือน ทั้งการพูดคุยไต่ถามสารทุกข์
39
40 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
สุกดิบ การออกกำลังกายร่วมกัน การตรวจสุขภาพ การ ท่องเที่ยวในที่ต่างๆ ทางกลุ่มมีการเก็บกันคนละ 20 บาท เมื่อสมาชิก ป่วยก็มีการไปเยี่ยมเยียน หากเสียชีวิตก็ร่วมกันเป็น เจ้าภาพ นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ กรรมค ละเ คล้ า ไ ปกั บ ก ลุ่ ม แ ม่บ า้ นสตรีด ว้ ยพรอ้ มๆ กัน เช่นก ารปรุงแ ละการแปรรูป อาหาร การนวด เป็นต้น โดยทาง อบต.บางระกำสนับสนุนงบประมาณ บางส่วน ทั้งต ่อกลุ่มส ตรีแ ละผู้สุงอายุ หน่วยงานราชการ อืน่ ๆ ร่วมสนับสนุนอ กี ท าง เช่น กศน., ศูนย์พ ฒ ั นาสงั คม หน่วยที่ 18 จังหวัดน ครปฐม เป็นต้น
ติณ นิติกวินกุล
08 นายกฯณัฐวัฒน์ ชั้นอินทร์งามแนะนำให้รู้จักกับ พี่สมศักดิ์ วันบรรจบ ในฐานะหัวหน้ากลุ่มโฮมสเตย์ของ บางระกำที่นี่ โฮมสเตย์คืออะไร? ตามแนวคิดนั้นโฮมสเตย์ถือว่าผู้ที่เข้ามาพัก เป็น แขกของบา้ นมใิ ช่น กั ท อ่ งเทีย่ ว นีค่ อื ห วั ใจของการพกั แ บบ โฮมสเตย์ท ี่จำต้องดำรงไว้ กล่าวอย่างงา่ ยๆ คือก ารไปพกั อ าศัยอ ยูก่ บั ช าวบา้ น นอกจากเป็นการประหยัด ใกล้แหล่งเรียนรู้ ยังเป็นการ เข้าใจวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน แนวคิดนี้เกิดขึ้นในยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ความย่อยยับ ซากปรักห ักพัง ของบ้านเรือน ความเบื่อหน่ายของ ผู้คนส่งผลให้ผู้คนเริ่มท่องเที่ยวไป ตามชนบทจากชุมชนเมือง จนเกิดสถานที่พักที่รู้จักกันดี ในปจั จุบนั อาทิ รีสอร์ท ฟาร์ม- เฮาส์ เป็นต้น สำหรั บ ใ นเมื อ งไ ทย เ ริ่ ม ต้ น จ า ก ก ลุ่ ม นั ก ท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้ามา
41
42 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ท่องเที่ยวในเมืองไทย เราคงได้ยินคำว่าเกสต์เฮาส์เป็น อย่างดี จุดเริ่มต้นมาจากสถานที่พักอย่างง่ายๆ และ ประหยัด ได้พัฒนามาเป็นการท่องเที่ยวในเชิงอนุรักษ์ ตามกระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สถานที่แรกๆ ใน เมืองไทย อาทิ หมู่บ้านคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช บ้านแม่ทา จังหวัดเชียงใหม่ (กลุ่มเกษตรทางเลือก) บ้านผู้ใหญ่วิบูลย์ เชนเฉลิม (เกษตรยั่งยืน) ปี 2539 เป็นต้นมา ได้มีการเคลื่อนไหวขึ้นในกลุ่มนักธุร กิจผู้ ประกอบการด้านการท่องเที่ยว โดยนำเสนอรูปแ บบการ ท่องเที่ยวผสมผสานระหว่าง Adventure Ecotourism และ Home Stay ปัจจุบนั ภ าครฐั ให้การสนับสนุนแ ละกระแสทต่ี ามมา ค อื ก ารทอ่ งเทีย่ วเชิงน เิ วศ (Ecotourism) ได้ร บั ค วามนยิ ม เพิ่มข ึ้น ทั้งในกลุ่มชาวไทย และชาวต่างประเทศ มีก าร จัดกิจกรรมการท่องเที่ยวในแหล่งชุมชน เพื่อการศึกษา เรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม หัตถกรรมของท้องถิ่น โดยมี Home Stay ที่มีความหมายมากกว่า เป็นที่พัก เนื่องจากเป็นรูปแบบ
ติณ นิติกวินกุล
การท่องเที่ยวอย่างหนึ่ง ซึ่ง ยึดเอารูปแบบที่พักเป็น ศูนย์กลางและจัดให้มีกิจกรรมในด้านต่างๆ ตามความ ต้องการของนักท่องเที่ยวรวมอยู่ด้วยทั้งนี้ หน่วยงานที่ สนับสนุนก ิจกรรม Home Stay กิจกรรมที่พัก Home Stay จึงเป็นทางเลือกหนึ่งของการท่องเที่ยวเชิงชุมชน หรือก ารทอ่ งเทีย่ วในชนบทเท่านัน้ ห ากจะกำหนดรปู แ บบ ของกิจกรรม ที่พัก Home Stay เป็นรูปแบบเฉพาะใน ประเทศไทย และการกำหนดชื่อเฉพาะเพื่อเป็นอิมเมจ (Image) ด้านการตลาดเช่นเดียวกับ T-House ของ ประเทศเนปาล ทุกวันนี้โฮมสเตย์จ ึงกลายเป็นชื่อเฉพาะ ของกจิ กรรมทพี่ กั ในลกั ษณะ Home Stay ในประเทศไทย ทั้งนี้เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับนักท่องเที่ยวที่จะต้อง พักร่วมกับเจ้าของบ้าน พร้อมทจี่ ะเรียนรวู้ ัฒนธรรม ผู้มาพักควรฝึกตนให้เป็นคนอยู่ง่าย รับประทาน ง่าย ปฏิบัติตามกฎระเบียบของชุมชน เคารพในสิทธิของ เจ้าของพื้นที่ และไม่ทำในสิ่งที่ขัดแย้งกับข้อปฏิบัติของ ชุมชน ไม่ลบหลู่ ความเชื่อของผู้คนในท้องถิ่น พี่สมศักดิ์ของเรากล่าวสั้นๆ ว่า “ของเรากำลังร เิ ริม่ ก นั ค รับ ทีผ่ า่ นมาเพิง่ ม มี าพกั 2 กลุ่ม เป็นกลุ่มที่มาดูงานครับ”
43
44 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
โฮมสเตย์ริมน้ำ หนึ่งในหลายหลังที่มีบริการแก่ผู้มาดูงาน มาฝึกอบรมหรือนักท่องเที่ยว คิดหัวละ 250-350 บาทต่อคืน ไม่รวมค่าอาหารหรือรวมอาหาร 1-2 มื้อ แล้วแต่ตกลงกัน
ติณ นิติกวินกุล
ติดต่อพี่สมศักดิ์ได้ที่ 086 124 0908
45
46 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
47
48 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
09 การมีชีวิตที่ปลอดภัยของคนในชุมชน วัดได้จาก อะไร สำหรับผ มแล้วอ ย่างนอ้ ยกว็ ดั ได้จ ากสถานีอ นามัย, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและระบบจิตอาสาของชุมชนนั้นๆ ที่บางระกำนี้สถานีอนามัยได้ทำงานเชิงรุก ไม่ได้ รอคนป่วย มีการออกพื้นที่ให้ความรู้ด้านข้อมูลข่าวสาร การตรวจสุขภาพประชาชนและแนะนำวิธีการป้องกัน ตั้งแต่โรคพื้นๆ ที่คนทำการเกษตรมักจะเป็นกัน อาทิ ปวดเ ข่ า ป วดข้ อ โรคไ ข้ เ ลื อ ดอ อก โรคเ บาห วาน โรคความดันโลหิตสูง
ติณ นิติกวินกุล
ผู้ น ำก ลุ่ ม ด้ า นก ารอ นามั ย แ ละอ าสาส มั ค ร สาธารณสุขคนสำคัญ คือ พี่มีชัย อรุณภ ู่ การปฏิบัตกิ ารสำคัญที่พมี่ ีชัยเรียกว่า ‘ระบบเคาะ ประตูต รวจสุขภาพ’ ทำให้เกิดผลชัดเจน ชาวบ้านได้พบ ว่าต นปว่ ยดว้ ยโรคใดกอ่ นทจี่ ะลามปามรา้ ยแรงเกินร กั ษา รวมถึงรู้จักป้องกันรักษาตัวเองอีกทางด้วย “ปีที่ผ่านมาพบคนเป็นโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้น ครับ มองทางหนึ่งเหมือนคนเราป่วยมาก แต่ม องอีกทาง ก็เพราะการลงพื้นที่พบโรคก่อนที่โรคจะมาพบเรา”
49
50 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
อีกท่านหนึ่งที่ดูแลสถานีอนามัยก็คือ พี่ชัยกฤต ยศจุฑาธิษดิ์ “เรามีการออกพื้นที่กระจายทั่วทุกหมู่ครับ เมื่อ ก่อนเราใช้ระบบตั้งรับ เดี๋ยวนี้เรารุก ออกพื้นที่พร้อมกับ ทาง อบต. เสมอ ปัญหาที่สถานีอนามัยมักพบกันก็คือ งบประมาณ เราเสนอโครงการได้แต่มักกลายเป็นว่าผิด ระเบียบ”
ติณ นิติกวินกุล
10 ระบบจติ อ าสาแทบจะกลายเป็นห วั ใจหลักข องการ พัฒนาชมุ ชนไปแล้วในทกุ ว นั น ี้ ชุมชนใดมรี ะบบจติ อ าสาที่ เข้มแ ข็งเรามักจะเห็นการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนนั้นๆ ทีบ่ างระกำนกี้ เ็ ช่นเดียวกัน เกีย่ วกบั ร ะบบจติ อ าสา ของที่นี่มีพี่ ไพรัช เส็งประชา เป็นผู้รับผ ิดชอบ ระบบจติ อ าสาทนี่ ี่ ได้แก่ท างด้าน อพปร., ด้านกภู้ ยั , ประมงอาสา, อาสาดูแลสิ่งแวดล้อม, อาสาเกษตร, อาสาดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ, อาสาพัฒนาชุมชน ฯลฯ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน “ผมว่าคนไทยเรามีจิตอาสากันในสายเลือดนะ ครับ การไหว้ว าน ร้องขอหรือไม่ต้องพูด คนไทยเราก็มัก ช่วยเหลือกันอยู่แล้ว” พีม่ ชี ยั เสริมว า่ “งานออสอมอนอ้ ย (อสม.น้อย หรือ อาสามสมัครุร่นเยาว์) ทีเ่ราทำก็ได้ผ ล เราเริ่มจากให้เด็ก 100 บาท เที่ยวไล่เก็บเศษขยะตามทางสาธารณะ ช่วง เช้าๆ เย็นๆ ของทุกวัน เมื่อได้มาก็นำมาเก็บรวบรวม แล้วนำไปขาย แบ่งกันในหมู่เด็กให้นำไปออมในกองทุน สวัสดิการ เด็กๆ สมัครกนั ม ามาก นอกจากนยี้ งั ม าสมคั ร นวดในชว่ งปดิ เทอม เราสอนให้อ ย่างนอ้ ยกไ็ ปนวดตายาย พ่อแม่ลุงป้าที่บ้านเป็น เท่ากับสมานความรักสามมัคคี ในครอบครัวอ ีกทางหนึ่ง”
51
52 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
จนทุกวันนี้เราไม่ต้องจ้างเด็กกันแล้ว เด็กๆ ต่าง ตั้งใจมากันเอง โดยเฉพาะในช่วงปิดเทอมนี้จะมีเด็กมา ร่วมกันมาก
11 ผมจงึ ถ ามไปถงึ ศ นู ย์พ ฒ ั นาเด็กเล็กท พี่ มี่ ชี ยั บ อกวา่ ได้รับรางวัลอ ันดับ 1 ของจังหวัดน ครปฐม พีช่ ยั ก ล่าวถงึ เหตุผลทศี่ นู ย์พ ฒ ั นาเด็กเล็กบ างระกำ ได้รางวัล เพราะมีหลักการทำงานที่ดี นั่นประกอบด้วย หลักการสำคัญๆ ด้านต่างๆ ดังนี้ - ด้านการวางแผน โดยการแสดงถึงภาวะผู้นำ ของผู้บริหาร ด้วยการเป็นแกนหลักในการบริหารและ ดำเนินงานร่วมกับบุคลากร เป็น ผู้ประสานงานให้กับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กำกับดูแลการดำเนินงานอย่าง
ติณ นิติกวินกุล
ต่อเนือ่ ง รวมทง้ั ส ร้างความตระหนักแ ละความรคู้ วามเข้าใจ แก่บุคลากรในการปฏิบัติงาน - ด้านการดำเนินง านตามแผน โดยการกำหนดผรู้ บั ผิดชอบในการมอบหมายภารกิจที่สอดคล้องกับความรู้ ความสามารถของผู้ปฏิบัติ การมอบหมายให้มีคณะ กรรมการประสานงานเพื่อเป็นตัวกลางในการประสาน กำกับดูแลให้ภารกิจเชื่อมโยงกันอย่างสมบูรณ์ การส่ง เสริมการทำงานเป็นทีมโดยบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม ในการกำหนดเป้าหมาย ร่วมดำเนินการ ร่วมตรวจสอบ
53
54 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
และปรับปรุงพ ัฒนางานให้เหมาะสม - ด้านการตรวจสอบและประเมินผ ล โดยการกำกับติดตามอย่างเป็นระบบ มี การนิเทศงานปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง - ด้ า นก ารนำผ ลก ารป ระเมิ น ม า ปรับปรุงให้เหมาะสมโดยการให้บุคลากร ในโรงเรียนมีส่วนร่วมและปรึกษาหารือ แก้ไขขอ้ บ กพร่องตา่ งๆ ทีพ่ บในการปฏิบตั ิ ภารกิจ เพื่อนำผลการปฏิบัติมากำหนด เป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการสถาน- ศึกษาให้ดียิ่งๆ ขึ้น
ติณ นิติกวินกุล
นอกจากนี้ความร่วมมือและแรงสนับสนุนสำคัญ นอกจากจากทาง อบต. และตวั น ายกฯณัฐว ฒ ั น์เองแล้ว “เราได้รับการสนับสนุนที่ดีจากราชภัฏนครปฐม ครับ” พี่ชัยกล่าวต่อ “โครงการที่เด่นๆ ของเราก็คือ ธนาคารของเล่น หลักก็คือให้เด็กๆ นำของเล่นมาฝาก ที่ธนาคาร ธนาคารจะหมุนเวียนให้มีการหยิบยืมไปเล่น กันต่อได้ไม่ว่าจะที่บ้านหรือที่ศูนย์ เท่ากับช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครองประหยัด คนทมี่ ีมากหรืออยากแบ่งคนอื่นเล่น ก็ ท ำได้ เล่ น เบื่ อ แ ล้ ว อ ยากเปลี่ ย นใ หม่ หรื อ เล่ น กั บ เพื่อนๆ” เห็นชวี ติ ทป่ี ลอดภัยในบางระกำหรือยงั ค รับ พีน่ อ้ ง!
55
56 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ภาพมุมกว้างอนุสรณ์สถานฯ
ติณ นิติกวินกุล
12 ชีวิตที่ปลอดภัยนั้นเราได้รับการตกทอดมาจาก บรรพบุรุษข องเราด้วย “เราไม่ควรลืมบุญคุณข องคนรุ่นก่อนเรา” นายกฯ ณัฐวัฒน์ ชั้นอินทร์งาม ก ล่าว เราจะไปที่นั่น ที่ที่นายกฯพูดถึง สถานที่ นั้นก็คือ อนุสรณ์สถานพระบิดา 3 เหล่าท ัพ
57
58 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ทางเข้า
จอมพลพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ
ติณ นิติกวินกุล
พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้า อาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
59
60 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
นอกจากนี้ยังมีพระอนุสาวรีย์ของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
อนุสรณ์ส ถานแห่งน จี้ งึ เป็นอ กี แ หล่งท อ่ งเทีย่ วหนึง่ และหวนให้ระลึกถึงบุญคุณของบรรพบุรุษ
ติณ นิติกวินกุล
13 ในความเห็นของผม ระบบเศรษฐกิจชุมชนและ สวัสดิการ คือร ากฐานของการพฒ ั นาทอ้ งถนิ่ อันห มายถงึ การพึ่งพาตนเองและดูแลกันเอง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มิใช่การลงทุนในสาธารณูปโภคพื้นฐานต่างๆ ไม่ว่าจะ สร้างถนน สร้างอาคาร ฯลฯ ในชุมชน การส่ ง เ สริ ม ใ ห้ ชุ ม ชนเ ข้ ม แ ข็ ง พึ่ ง ต นเองท าง เศรษฐกิ จ สั ง คมจ ะท ำให้ ค นไ ม่ ต้ อ งอ พยพไ ปท ำงาน ในเมืองใหญ่มากเกินไป สถาบันค รอบครัวและชุมชนจะ ฟื้นฟูความเข้มแข็งขึ้นมาใหม่ เด็ก เยาวชน ประชาชน ในชุ ม ชนไ ด้ รั บ ก ารดู แ ลแ ละมี โ อกาสพั ฒนาใ นท างที่ ดีขึ้น โดยควรจะให้ชุมชนจัดการศึกษา สาธารณสุข สวัสดิการทางสงั คมเองได้เพิม่ ข นึ้ พัฒนาเกษตรทางเลือก สาธารณสุขทางเลือก พลังงานทางเลือกที่ใช้ทรัพยากร และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพิ่มขึ้น จะช่วยพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต ป ระชาชน และท ำให้ แ นวคิ ด ป รั ช ญาเ ศรษฐกิ จ พอเพียงซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาที่เป็นประโยชน์ต่อการ อนุรักษ์สภาพแวดล้อมและการสร้างความสุขทางจิตใจ เป็นจริงได้มากขึ้น นิยามความหมายข้างต้นนี้ได้จากการตระเวน ไปตามชุมชนต่างๆ การช่วยเหลือตนเองให้ได้และมอง ทุ ก ค นคื อเพื่ อ น คื อ ค นเหมื อ นกั น จ ะท ำให้ แ นวคิ ด นี้
61
62 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ขับเคลื่อนไปได้ นี่คือการมีชีวิตที่ปลอดภัย เข้าใจทุกข์ มีความสุข ผมถ ามน าย กฯณั ฐ วั ฒน์ ว่ า “ชี วิ ต ที่ ป ลอดภั ย เริ่มต้นม าจากอะไร ในความคิดของท่าน” “อาหารครับ ทัง้ อ าหารกายและอาหารใจ อาหารใจ คือการมีธรรมะ มีศาสนาประจำใจ ส่วนอาหารกายคือ การรับป ระทานอาหารทปี่ ลอดภัยและครบ5 ห มู่ อบต.บางระกำให้ความสำคัญกับห ลักคิดนี้ ผมได้ เห็นการพึ่งพาตัวเอง ทั้งการเสริมสร้างรายได้ การปรับ ชีวิตให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนไปของสังคม ผมเห็น ชาวบา้ นและเด็กๆ สนใจการนวดแผนไทย การรอ้ ยมาลัย แม้แต่เรือ่ งไม่ย ากดงั ท ี่ ลุงสมเกียรติ สุนทรไพศาลทำมาตลอด 20 ปีก็คือ การเกษตรปลอดภัย ทำไมถึงเรียกว่าการเกษตรปลอดภัย? ลุงสมเกียรติตอบว่า “ไม่มีอาหาร ไม่มีวัตถุดิบใด ที่ปลอดภัยแท้จริงหรอก ความจริงแล้วมันต้องปนเปื้อน ไม่มากก็น้อยจากทางใดทางหนึ่ง ตั้งแต่การผลิต การ บรรจุ การขนส่ง” ลุ ง แ กห มายถึ ง ก ารเกษตรอิ น ทรี ย์ การท ำปุ๋ ย อินทรียท์ ี่เข้าใจกัน เพราะแกบอกต่อว่า “ผมเรียกของผมว่า การเกษตรปลอดภัย การทำ ปุย๋ อ นิ ทรียใ์ ห้ป ลอดภัย” ลุงส มเกียรติบ อก “ปลอดภัยต า่ ง จากสารพษิ น ะครับ คือม นั ป ลอดภัยพ อทีจ่ ะบริโภคแล้วไม่
ติณ นิติกวินกุล
เกิดโรค ไม่เป็นอันตรายต่อตัวเราและสิ่งแวดล้อม นี่คือ ความจริงสำหรับการเกษตรในพ.ศ. นี้ที่แท้จริง” ลุงสมเกียรติร่วมกับ อบต. จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงตำบลบางระกำ เริ่มจากน้ำหมักชีวภาพของลุง ที่หมักนานกว่า 1 ปีจนเป็นหัวเชื้อ ผสมลงในเม็ดปุ๋ย จากนั้นเข้าเครื่อง ผสมจนได้เป็นเม็ดออกมาใส่กระสอบ เรียกกันว่า ‘ปุ๋ยอินทรีย์บางระกำ’
63
64 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
น้ำหมักชีวภาพสูตรของลุงสมเกียรตินั้นไม่ต่าง จากน้ำห มักที่อื่นๆ โดยการนำผลไม้หรือพ ืชผักหรือเศษ อาหาร 3 ส่วน น้ำตาล 1 ส่วน น้ำ 10 ส่วน ใส่ร วมกนั ใน ภาชนะ (ขวด, ถัง) ที่มีฝาปิดสนิท อย่าให้อากาศเข้า โดย เว้นที่ว่างไว้ประมาณ 1 ใน 5 ของขวด/ถัง หมั่นเปิดฝา คลายแก๊สออกและปิดกลับให้สนิททันที วางไว้ในที่ร่ม อย่าให้ถูกแสงแดด หมักไว้ 1 ปีก็จะได้น้ำหมักชีวภาพ ซึ่งมีจุลินทรีย์ สารอินทรีย์ ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ ต่อสิ่งมีชีวิต ลุงสมเกียรติแกนำน้ำหมักที่ว่านี้ผสมลงในเม็ดปุ๋ย เข้าเครื่องผสมจนได้ทดี่ ังที่กล่าวข้างต้น “ดีสำหรับสิ่งแวดล้อมด้วยนะครับ” ลุงสมเกียรติ อธิบายต่อ “นอกจากใช้ทำปุ๋ย เอาไปใช้ซักล้างทำความ
ติณ นิติกวินกุล
สะอาดแทนสบู่ ผงซักฟอก แชมพู น้ำยาล้างจาน หรือจะ ใช้ดับกลิ่นในห้องน้ำ โถส้วม ท่อระบายน้ำก็ได้ครับ” กรณีที่ไม่ได้นำไปทำปุ๋ย ลุงแกบอกว่าหมักแค่ 3 เดือนก็พอแล้ว ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ นอกจากเป็นทางเลือกของ เกษตรกร สำหรับใช้ในการป้องกัน กำจัดศัตรูพืชโดย ไม่ต้องใช้สารเคมีแล้ว ชาวบ้านทั่วไปก็นำสูตรที่ว่านี้ไป ใช้ได้ ไม่หวงสูตรหรือครับ ผมถาม “ผมแก่แล้ว ลูกๆ โตกันหมด ผมไม่มีอะไรต้อง ห่วง” ลุงแ กกำลังบอกว่าด ้วยเหตุน ี้แกจึงอุทิศให้ ผมพยักห น้าให้ล งุ ส มเกียรติ “ไปดสู วนของผใู้ หญ่ส โุ ข
65
66 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
67
68 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
อีกคนดีกว่า แกทำสวนกล้วยไม้น่ะ” ลุงสมเกียรติว่า สวนของพสี่ ุโขอยู่ไม่ไกลจากบ้านของลุงสมเกียรติ สวนของพี่สุโขไม่ใหญ่โต พี่สุโขเป็นคนจากถิ่นอื่น เมือ่ ม าอยูท่ บี่ างระกำ ได้ร จู้ กั ป ยุ๋ ป ลอดภัยแ ละการเกษตร ปลอดภัยของลุงสมเกียรติบวกกับแนวคิดเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียงของในหลวงทา่ น พีส่ โุ ขจงึ น อกจากทำสวนเลีย้ ง ตนเองและครอบครัวแล้ว ยังเป็นวิทยากรอีกด้วย “สวนข องผ มเ ล็ ก ๆ ครั บ ไม่ ไ ด้ มี ก ำรี้ ก ำไร มากมายหรอก ทำเท่าท ี่ทำ แบ่งเมื่อมี ให้เมื่อเกิน” “มีหลักการดูแลกล้วยไม้อย่างไรครับ” ผมถาม “กล้วยไม้ส่วนใหญ่ต้องการแสงประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์” พี่สุโขตอบ ก่อนจะอธิบายเพิ่มเติม “การ บังแสงก็ใช้สแลนบังแสงชนิด 70 เปอร์เซ็นต์ ต้องการ ความชื้นสูงแต่ไม่แฉะนะครับ น้ำเป็นปัจจัยสำคัญที่สุด อย่างหนึง่ ข องการปลูกเลีย้ งกล้วยไม้ แต่เราสามารถทจี่ ะ ควบคุมป ริมาณการให้น ำ้ ได้ในรปู แ บบของการรดน้ำแ ละ การรักษาความชื้น กล้วยไม้ทุกช นิดต้องการความชื้นใน การเจริญเติบโตทแี่ ตกตา่ งกนั บางชนิดช อบความชืน้ ม าก ก็ต อ้ งใช้เครือ่ งปลูกท เี่ ก็บค วามชืน้ ได้ รดน้ำให้ช มุ่ เช่นพ วก หวาย ฟาแลนนอปซสี แต่บ างชนิดต อ้ งการความชืน้ น อ้ ย เครื่องปลูกอาจใช้ถ่านหรือไม่ต้องใส่เครื่องปลูกเลย เช่น พวกแวนดา้ ช้าง หรืออ าจจะปลูกเลีย้ งโดยใช้ต ดิ ก บั ต น้ ไม้ ขอนไม้ ซึ่งพวกนี้ได้แก่พวกเอื้องสาย เอื้องผึ้ง เอื้องคำ
ติณ นิติกวินกุล
69
70 บางระกำ ชีวิตปลอดภัย
เป็นต้น หลักการให้น้ำส่วนใหญ่จะรดทั้งต้น ในตอนเช้า ก่อน 10 โมง เพราะเวลานแี้ สงยงั ไม่แ รง ถ้าร ดสายไป น้ำ อาจจะระเหยไม่ห มด บางสว่ นขงั อ ยูต่ ามยอด ซอกใบ เมือ่ แดดส่องจะทำให้น้ำร้อน เป็นอันตรายต่อก ล้วยไม้ครับ แต่ถ้าต้นไหนกำลังให้ดอกก็จะรดเฉพาะต้นและ ราก เพราะน้ำจะไปทำให้ด อกกล้วยไม้ช ้ำและโรยเร็วขึ้น อีกอย่างหนึ่งที่สำคัญ คือน้ำจะเป็นตัวทำละลาย ปุย๋ แ ละธาตุอ าหารให้ก บั ก ล้วยไม้ด้วยเหตุน โี้ ดยทวั่ ไปแล้ว เวลาให้ปยุ๋ กล้วยไม้จะให้ในชว่ งเช้า โดยรดน้ำกล้วยไม้ให้ ต้น-ราก พอเปียก แล้วจึงค่อยรดปุ๋ย เพื่อให้กล้วยไม้ ดูดซึมปุ๋ยได้เต็มที่ ไม่ยากใช่ไหมครับ เทคนิคเล็กๆ น้อยๆ แค่นี้ก็ ทำให้ก ล้วยไม้ได้ผ ลตามใจของเราแล้ว ลองเอาไปทำตาม นี้ดูนะครับ สำหรับค นที่สนใจ” นี่คือส องบุคคลตัวอย่างของการมีชีวิตทปี่ ลอดภัย
ติณ นิติกวินกุล
บทอำลา เย็นมากแล้วตอนที่ผมจะเตรียมจากบางระกำ สิง่ ห นึง่ ท ผี่ มรบั ร ไู้ ด้ในการมาสมั ผัสว ถิ ชี วี ติ แ ละแนวคิดข อง คนบางระกำครั้งนี้ก็คือ การรู้จักป ระมาณตน ทำในสิ่งที่ ถนัด เดินหน้าในสิ่งที่สมควร ผมดมื่ น ำ้ ด มื่ ท กี่ ลุม่ ช าวบา้ นผลิตก นั ข นึ้ ม าใช้ก นั เอง จำหน่ายกันเองในราคาถูก
นีค่ อื ว ถิ ชี วี ติ แ ละการมชี วี ติ อ ยูอ่ ย่างปลอดภัยในอกี มุมม องหนึ่ง... ก่อนจะขับรถออกจากบางระกำอย่างมีความสุข ผมหันไปมองป้ายทางเข้าอีกครั้ง ชีวิตที่ปลอดภัยไม่ใช่ชีวิตตามแนวอุดมคติเลอเลิศ แต่อย่างใดเลย อยู่ที่เราจะทำหรือไม่...เท่านั้นเอง เรา ใช่ครับ ตัวเรานี่แหละ.
71
Healthy Planet : สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู
ºÒ§ÃСÓ
ºÒ§ÃÐ¡Ó àÃ×èͧáÅÐÀÒ¾: µÔ³ ¹ÔµÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ
Healthy Planet : สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู
ชุมชนเหลานี้อาจจะไมมีหาดสีขาวทอดยาว ทะเลไมใสจัด แถมยังไมมีตลาดโบราณรอยป แตนอกเหนือจากความสุขในวันนี้แลว สิ่งที่พวกเขามีอีกแนๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราใหเปนไป แบบไหน ลองเดินตามเราเขาไปชมตัวอยางสาธิต ไดจากหนังสือที่มีคำนิยามแปลกๆ อยูสักหนอย ของหนังสือเลมนี้ เปน Healthy planet ที่บงบอกลักษณะสุขภาวะที่ดี ของชุมชน เปนสุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู เปนหนังสือทองเที่ยวเชิงเรียนรูวิธีการสรางความสุข ของคนในชุมชน