คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์(ค่าย)พลเมืองเยาวชนร่วมสร้างวิถีความดี

Page 1


คู่มือ กิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)

‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’

22-27 ตุลาคม 2556 ณ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)

‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ 22-27 ตุลาคม 2556 ณ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

จัดโดย เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) บรรณาธิการอำนวยการ : รศ.ดร.ขนิษฐา นันทบุตร บรรณาธิการบริหาร : นางสาวดวงพร เฮงบุณยพันธ์ บรรณาธิการวิชาการ : อาจารย์ชยภรณ ดีเอม ผศ.ดร.หทัยชนก บัวเจริญ นายสุริยัน แพรสี นางสาวนิสา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต แหล่งข้อมูล นายวินัย เครื่องไชย พระครูสุจิณกัลยาณธรรม นางลาวัลย์ คำแสนยศ นายถวัลย์ ไชยปัญโญ นายพันธุ์ดี ชมเทพ นายรุ่งโรจน์ ใจเที่ยง นางสาวจารุพันธ์ นามะยอม ผู้นำ แกนนำ วิทยากรชุมชน ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ผู้เขียน เมนู พัฒนาเยาวชนคนดี นายอิทธิพล มาชื่น นายอิทธิพล ฟ้าแลบ นายยุทธจักร สมสมัย นางสาวปิยาภรณ์ ใจแก้ว เมนู เยาวชนคนใจดี นางวณิษฐา ธงไชย นายอิทธิศาสตร์ อิทรโชติ นางพนอ วันมูล นายวรางคณินทร์ ศรีวงค์ เมนู คนดีกับวิถีพอเพียง นายธีระพงษ์ ยอดและ นายศักดิ์สุริยา ผัดอ่อนอ้าย นางสาวภัสสร ลือชัย เมนู วัฒนธรรมดี สร้างคนดี นางบุณฑริก แช่มช้อย นางสาวกมลทิพย์ คำฟั่น นางสาวพิมพิลา นางาม นายนพรัตน์ มูลกลาง


เมนู คนดี มีอาชีพ นางสาวพยอม อินแจ้ นางสาวมัทนา ภูครองหิน นายไพโรจน์ พวงทอง นางสาวพวงนรินทร์ คำปุก เมนู คนดี สร้างชุมชนเข้มแข็ง นายศิลป์ชัย นามจันทร์ ดร.อมราพร สุรการ นายนัฐวุฒิ บุญพลี นายเกรียงไกร มโนยศ วิถีความดี MOCK UP นางสาวทัศนีย์ วีระกันต์ นายกสิวัฒน์ ไล้ทองคำ นายธีรศักดิ์ สนเเย้ม นายวิสุทธ์ มโนวงค์ นางเพ็ญพรรณ จิตตะเสนีย์ นางสาวสุกัญญา สุวรรณมณีรัตน์ นางสาวมาฆะรัตน์ อัมพรเกียรติพล การสำรวจข้อมูลพื้นฐานและศักยภาพชุมชน ผศ.ณชพงศ จันจุฬา อาจารย์ศรัณย์ลิตา โชติรัตน์ ว่าที่ร้อยตรีหญิงพวงผกา บุญรักษา นายสอนไชยา ภูดีทิพย์ นางธัญญา แสงอุบล ดร.อัลญาณ์ สมุห์เสนีโต จ่าสิบเอกปฏิพล จอมดวง คณะทำงานบริหารจัดการ อาจารย์วริยา จันทร์ขำ ดร.อุบล ยะไวท์ณะวิชัย นายเรวัต นิยมวงศ์ นายทยากร รุจนวรางกูร นางนัยนา ศรีเลิศ นายพิทยา การเร็ว นายปวัน พรหมตัน นายหฤษฎ์ พันธุ์ดี นางสาวฟาริดาห์ มามณี นางสาววรัฏฐา จิตร์อารุณ นางสาวเนตรนภา ยศนันท์ นางสาวจิราพร อันชูฤทธิ์ นายคณัสนันท์ ตระกูลไตรวงศ์ นายปคุณชัย เบญจวงศ์ นางสาวซอนย่า สนยาแหละ นางสาวณัฐกานต์ เล็กเจริญ นางสาวเกศริน อินทองหลาง นายชัชวาลย์ เพ็ชรกอง นางสาวเกศินี ทองบุญชู นางสาววิไลพร นามศรี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org


คำนำ

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ยังคงมีความมุ่งมั่น

ผลั ก ดั น และเชิ ญ ชวนให้ ‘องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ’ ได้ แ สดง บทบาทของ ‘ผู้ใหญ่ใจดี’ ที่เปิดโอกาสให้ ‘เด็กและเยาวชน’ ในพื้นที่ ได้มีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาในทุกมิติทุกด้าน เปิดพื้นที่ทางใจ และกายภาพให้เด็กและเยาวชนได้ทำกิจกรรมที่หล่อหลอมตัวเองและ เพื่อนๆ ให้เป็น ‘พลเมือง’ ที่เป็นพละกำลังของชุมชนและของสังคม แม้ว่า ผู้ใหญ่ใจดีอาจมีความคิดที่แตกต่างกันในการสนับสนุน ‘เด็กและเยาวชน’ แต่ก็มีเป้าหมายเดียวกันคือ ‘การเป็นพลเมืองที่เป็น ทุนและศักยภาพของสังคมและประเทศ’ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย) ‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ เป็นความพยายามอีกครั้ง หนึ่งที่จะสานต่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ให้ความสำคัญกับ การสร้างเด็กและเยาวชนของตนเองเป็นพลเมืองที่มีศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์อย่างเปี่ยมล้นโดย ‘ร่วมด้วยช่วยกันทำความดีให้เต็มพื้นที่’ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม ได้ใช้เรื่องการทำความดีชี้นำ ทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกหมู่บ้าน จนเกิดเป็น ‘ธนาคารความดี’ ที่ได้รับการ ยอมรับจากพลเมืองของตำบลหัวง้ม แม้ว่าจะไม่ทุกคนก็ตาม แต่ก็เป็น กระแสหลักของทิศทางการพัฒนาของตำบลหัวง้มในทุกกระบวนท่า เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ จึงได้ใช้ ‘สาระ 6 เมนูความดี’ เป็ น องค์ ป ระกอบหลั ก ในการจั ด กิ จ กรรมครั้ ง นี้ พร้ อ มๆ กั บ การมี กระบวนการสร้างแรงบันดาลใจเพื่อกระตุ้นให้เกิดความคิดที่จะไป

ขับเคลื่อนในพื้นที่ทั้งแกนนำเด็ก เยาวชน และผู้นำท้องถิ่น


คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย) พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถี ความดี ในมือของท่าน สำเร็จลุล่วงมาจนนำใช้ประโยชน์โดยผู้ร่วม กิจกรรมครั้งนี้ได้ ด้วยความร่วมมือร่วมใจอย่างแข็งขันจากศักยภาพ และทักษะของสมาชิกเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ แม้ว่า เป็นเพียง ‘คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย) พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้าง วิถีความดี’ แต่ก็ยังหวังเล็กๆ ว่า การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ คณะผู้จัด จะต้องคำนึงถึงความละเอียดลออในการออกแบบความเข้าใจกับแนวคิด และหลักการของการจัดสร้างและพัฒนาทักษะของคณะทำงานร่วมให้ เป็นศักยภาพที่นำใช้ได้ต่อไปในเรื่องอื่นๆ ดังที่เครือข่ายร่วมสร้าง ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ได้เห็นพ้องกัน คือ ‘สร้าง 1 กระทบ 10 สร้าง 10 กระทบ 100’ คล้ า ยคลึ ง กั บ คำสุ ภ าษิ ต โบราณได้ ก ล่ า วว่ า ‘ยิ ง ปื น

นัดเดียวได้นกหลายตัว’ หรือทางวิชาการใช้คำว่า ‘ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล’ นั่นเอง เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่



สารบัญ คำนำ

00

กำหนดการ

12

ส่วนที่ 1 เส้นทางการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่ม

17

ส่วนที่ 2

และแผนที่แหล่งเรียนรู้

ข้อมูลเมนูความดี ฐานเรียนรู้ 33 แนวคิดหลักการ วิธีการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์ความดีที่ได้รับ และผลการเรียนรู้

เมนูความดีที่ 1 : พัฒนาเยาวชนคนดี

เมนูความดีที่ 2 : เยาวชนคนใจดี

เมนูความดีที่ 3 : คนดีกับวิถีพอเพียง

เมนูความดีที่ 4 : วัฒนธรรมดี สร้างคนดี

เมนูความดีที่ 5 : คนดี มีอาชีพ

1. ฐานเรียนรู้ ‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’ 2. ฐานเรียนรู้ ‘ธนาคารความดี’

3. ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีน้ำใจ’ 4. ฐานเรียนรู้ ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี’ 5. ฐานเรียนรู้ ‘แกนนำดี มีจิตอาสา’ 6. ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความพอเพียง’ 7. ฐานเรียนรู้ ‘อุ้ยสอนหลาน แป๋งก๋วย ห่อเทียน’ 8. ฐานเรียนรู้ ‘คนดี เรียนรู้วิถีทำแค่’ 9. ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง’ 10. ฐานเรียนรู้ ‘ตุงมงคล สร้างชีวิตดี’ 11. ฐานเรียนรู้ ‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ 12. ฐานเรียนรู้ ‘ปลานิล กินแล้วดี’

37 41 50 56 62 71 76 85 90 101 105 109

‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 7


เมนูความดีที่ 6 : เยาวชนคนใจดี

13. ฐานเรียนรู้ ‘ควายดี มีเงินเดือน’ 14. ฐานเรียนรู้ ‘สามัคคีคือพลัง สร้างคนดี’ 15. ฐานเรียนรู้ ‘คนดี ใส่ใจสิ่งแวดล้อม’

ส่วนที่ 3 ข้อมูลวิถีความดี Mock up

แนวคิดหลักการ วิธีการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์ความดีที่ได้รับ และผลการเรียนรู้

วิถีความดี Mock up ที่ 1 : พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน พัฒนาเยาวชนคนดี

วิถีความดี Mock up ที่ 2 พลังเด็กและเยาวชน พลังชุมชนท้องถิ่นที่ยั่งยืน

1. ฐานเรียนรู้ ‘พลังงานชุมชน’ 2. ฐานเรียนรู้ ‘ขยะทองคำ’

118 122 126 133

139 143

1. กิจกรรม ‘พลังเด็กและเยาวชน...พลังชุมชนท้องถิ่น’ 151 2. กิจกรรม ‘บันไดงู Smart Young Leader’

ส่วนที่ 4 การสำรวจข้อมูลพื้นฐานและศักยภาพของชุมชน 1. ที่มาและหลักการ วัตถุประสงค์ 2. ปฏิบัติการการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลหมู่บ้าน ครัวเรือน และประชากร ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย 3. กลุ่มตัวอย่างในการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน และศักยภาพของชุมชน จำแนกตามข้อมูลหมู่บ้าน ครัวเรือน ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย 4. แผนที่หมู่บ้าน และครัวเรือน ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ส่วนที่ 5 ปัจจัยเอื้อต่อการการเรียนรู้ 1. ข้อตกลงการอยู่ร่วมกัน 2. รายการยาสามัญและวิธีการใช้ยา

แบบบันทึกเพื่อนถึงเพื่อน “รักกัน รักกัน” 8 | คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)

158 159 164

165

180 181 183


กำหนดการ

กิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย) ‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ 22 - 27 ตุลาคม 2556 ณ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เวลา กิ จกรรม วั นอังคารที่ 22 ตุลาคม 2556

13.00 น. รายงานตัว ณ Youth-CEG Command Center เป็นต้นไป (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) วั นพุธที่ 23 ตุลาคม 2556

08.00 - 08.20 น. พร้อมกัน ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 08.20 - 08.40 น. Youth-CEG Incredible 1 08.40 - 09.15 น. บอกเล่า ‘กติกา กระบวนการ’ 09.15 - 10.00 น. Opening March ‘ตุงชัยล้านนา นำพาเยาวชนสู่ถนนความดี’ 10.00 - 10.30 น. แยกกลุ่มตามสัญลักษณ์ ‘สี’ 10.30 - 12.00 น. กิจกรรม ‘สำรวจหมู่บ้านของเรา’ 12.00 - 12.50 น รับประทานอาหารกลางวัน 12.50 - 13.00 น. Youth-CEG Incredible 2

13.00 - 14.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ สีม่วง ฐานธนาคารความดี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีฟ้า ฐานคนดีมีน้ำใจ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมูท่ ี่ 3 (บ้านบวกปลาค้าว) สีเขียว ฐานคนดีมีความพอเพียง ณ วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 (บ้านบวกขอน) สีส้ม ฐานคนดีมีความรู้คู่ดนตรีพื้นเมือง ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีชมพู ฐานตุงมงคลสร้างชีวิตดี ณ อาคารฝึกอาชีพวัดกู่สูง หมู่ที่ 10 (บ้านกู่สูง) สีน้ำเงิน ฐานควายดีมีเงินเดือน ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) ‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 9


เวลา กิจกรรม 14.00 - 15.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานผู้นำดีมีคุณธรรม ณ โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 (บ้านป่าแดง) สีฟ้า ฐานฟื้นฟูภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพดี ณ วัดบ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีเขียว ฐานอุ้ยสอนหลานแป๋งก๋วยห่อเทียน ณ ห้องประชุมวัดศรีเมืองมูล หมูท่ ี่ 8 (บ้านบวกขอน) สีส้ม ฐานคนดีเรียนรู้วิถีทำแค่ ณ วัดป่าคา หมู่ที่ 2 (บ้านป่าคา) สีชมพู (1) ฐานคนดีช่วยพี่เพาะเห็ด ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ 5 (บ้านสันปลาดุก) (2) ฐานปลานิลกินแล้วดี ณ บ่อเลี้ยงปลานิล หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีน้ำเงิน ฐานสามัคคีคือพลังสร้างคนดี ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม)

15.00 - 18.00 น. (1) กิจกรรม ‘สำรวจหมู่บ้านของเรา’ (กรณีที่ข้อมูลยังไม่ครบถ้วน) (2) เรียนรู้ ‘พลังงานชุมชน’ ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) (3) รู้จัก ‘สภาเด็กและเยาวชน’ ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 18.00 เคารพธงชาติ น. 18.00 - 19.00 น. รับประทานอาหารเย็น

19.00 - 20.30 น. (1) ประชุมกลุ่มสี: สรรหาประธานและคณะกรรมการประจำกลุ่ม ดำเนินการโดย พี่เลี้ยงประจำกลุ่มสี (2) ประชุมทีมสื่อเยาวชน (ส่งตัวแทนจากแต่ละกลุ่มสี) ดำเนินการโดย กองบรรณาธิการ 20.30 น. เป็นต้นไป

กลับบ้าน: จัดการงานตามที่ได้รับมอบหมาย และทำหน้าที่ สมาชิกของครอบครัว

10 | คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)


เวลา กิจกรรม

วั นพฤหัสบดีที่ 24 ตุลาคม 2556 06.00 - 07.30 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว รับประทานอาหารเช้า และทำหน้าที่ สมาชิกของครอบครัว

07.30 - 08.00 น. เดินทางถึง ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 08.00 - 09.00 น. เคารพธงชาติ Youth-CEG Incredible 3 09.00 - 10.00 น. เดินทางสู่ ‘ฐานเรียนรู้ 6 เมนูการทำความดี’ 10.00 - 11.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ สีม่วง ฐานคนดีมีน้ำใจ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 3 (บ้านบวกปลาค้าว) สีฟ้า ฐานคนดีมีความพอเพียง ณ วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 (บ้านบวกขอน) สีเขียว ฐานคนดีมีความรู้คู่ดนตรีพื้นเมือง ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีส้ม ฐานตุงมงคลสร้างชีวิตดี ณ อาคารฝึกอาชีพวัดกู่สูง หมู่ที่ 10 (บ้านกู่สูง) สีชมพู ฐานควายดีมีเงินเดือน ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีน้ำเงิน ฐานธนาคารความดี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน)

11.00 - 12.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานฟื้นฟูภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพดี ณ วัดบ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีฟ้า ฐานอุ้ยสอนหลานแป๋งก๋วยห่อเทียน ณ ห้องประชุมวัดศรีเมืองมูล หมูท่ ี่ 8 (บ้านบวกขอน) สีเขียว ฐานคนดีเรียนรู้วิธีทำแค่ ณ วัดป่าคา หมู่ที่ 2 (บ้านป่าคา) สีส้ม (1) ฐานคนดีช่วยพี่เพาะเห็ด ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ 5 (บ้านสันปลาดุก) (2) ฐานปลานิลกินแล้วดี ณ บ่อเลี้ยงปลานิล หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีชมพู ฐานสามัคคีคือพลังสร้างคนดี ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) ‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 11


เวลา กิจกรรม สีน้ำเงิน ฐานผู้นำดีมีคุณธรรม ณ โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 (บ้านป่าแดง) 12.00 - 12.50 น รับประทานอาหารกลางวัน 12.50 - 13.00 น. Youth-CEG Incredible 4

13.00 - 14.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานคนดีมีความพอเพียง ณ วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 (บ้านบวกขอน) สีฟ้า ฐานคนดีมีความรู้คู่ดนตรีพื้นเมือง ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีเขียว ฐานตุงมงคลสร้างชีวิตดี ณ อาคารฝึกอาชีพวัดกู่สูง หมู่ที่ 10 (บ้านกู่สูง) สีส้ม ฐานควายดีมีเงินเดือน ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีชมพู ฐานธนาคารความดี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีน้ำเงิน ฐานคนดีมีน้ำใจ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 3 (บ้านบวกปลาค้าว)

14.00 - 15.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานอุ้ยสอนหลานแป๋งก๋วยห่อเทียน ณ ห้องประชุมวัดศรีเมืองมูล หมูท่ ี่ 8 (บ้านบวกขอน) สีฟ้า ฐานคนดีเรียนรู้วิถีทำแค่ ณ วัดป่าคา หมู่ที่ 2 (บ้านป่าคา) สีเขียว (1) ฐานคนดีช่วยพี่เพาะเห็ด ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ 5 (บ้านสันปลาดุก) (2) ฐานปลานิลกินแล้วดี ณ บ่อเลี้ยงปลานิล หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีส้ม ฐานสามัคคีคือพลังสร้างคนดี ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีชมพู ฐานผู้นำดีมีคุณธรรม ณ โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 (บ้านป่าแดง) สีน้ำเงิน ฐานฟื้นฟูภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพดี ณ วัดบ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) 15.00 - 16.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานคนดีมีความรู้คู่ดนตรีพื้นเมือง ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) 12 | คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)


เวลา กิจกรรม สีฟ้า ฐานตุงมงคลสร้างชีวิตดี ณ อาคารฝึกอาชีพวัดกู่สูง หมู่ที่ 10 (บ้านกู่สูง) สีเขียว ฐานควายดีมีเงินเดือน ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีส้ม ฐานธนาคารความดี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีชมพู ฐานคนดีมีน้ำใจ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 3 (บ้านบวกปลาค้าว) สีน้ำเงิน ฐานคนดีมีความพอเพียง ณ วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 (บ้านบวกขอน)

16.00 - 17.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานคนดีเรียนรู้วิถีทำแค่ ณ วัดป่าคา หมู่ที่ 2 (บ้านป่าคา) สีฟ้า (1) ฐานคนดีช่วยพี่เพาะเห็ด ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ 5 (บ้านสันปลาดุก) (2) ฐานปลานิลกินแล้วดี ณ บ่อเลี้ยงปลานิล หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีเขียว ฐานสามัคคีคือพลังสร้างคนดี ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีส้ม ฐานผู้นำดีมีคุณธรรม ณ โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 (บ้านป่าแดง) สีชมพู ฐานฟื้นฟูภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพดี ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีน้ำเงิน ฐานอุ้ยสอนหลานแป๋งก๋วยห่อเทียน ณ ห้องประชุมวัดศรีเมืองมูล หมูท่ ี่ 8 (บ้านบวกขอน) 17.00 - 18.00 น. (1) ทบทวน ‘ข้อมูลหมู่บ้านของเรา’ (2) สรุปบทเรียนตนเองและกลุ่มประจำวัน (3) เรียนรู้ ‘ฐานขยะทองคำ’ ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 18.00 เคารพธงชาติ น. 18.00 - 19.30 น. รับประทานอาหารเย็น

19.30 - 20.30 น. Youth-CEG Incredible 5 20.30 น. กลับบ้าน: จัดการงานตามที่ได้รับมอบหมาย และทำหน้าที่ เป็นต้นไป สมาชิกของครอบครัว ‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 13


เวลา กิจกรรม วั นศุกร์ที่ 25 ตุลาคม 2556

06.00 - 07.30 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว รับประทานอาหารเช้า และทำหน้าที่ สมาชิกของครอบครัว 07.30 - 08.00 น. เดินทางสู่ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 08.00 - 09.00 น. เคารพธงชาติ Youth-CEG Incredible 6

09.00 - 10.00 น. เดินทางสู่ ‘ฐานเรียนรู้ 6 เมนูการทำความดี’ 10.00 - 11.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ สีม่วง ฐานตุงมงคลสร้างชีวิตดี ณ อาคารฝึกอาชีพวัดกู่สูง หมู่ที่ 10 (บ้านกู่สูง) สีฟ้า ฐานควายดีมีเงินเดือน ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีเขียว ฐานธนาคารความดี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีส้ม ฐานคนดีมีน้ำใจ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 3 (บ้านบวกปลาค้าว) สีชมพู ฐานคนดีมีความพอเพียง ณ วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 (บ้านบวกขอน) สีน้ำเงิน ฐานคนดีมีความรู้คู่ดนตรีพื้นเมือง ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง)

11.00 - 12.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง (1) ฐานคนดีช่วยพี่เพาะเห็ด ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมูท่ ี่ 5 (บ้านสันปลาดุก) (2) ฐานปลานิลกินแล้วดี ณ บ่อเลี้ยงปลานิล หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีฟ้า ฐานสามัคคีคือพลังสร้างคนดี ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีเขียว ฐานผู้นำดีมีคุณธรรม ณ โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 (บ้านป่าแดง) สีส้ม ฐานฟื้นฟูภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพดี ณ วัดบ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีชมพู ฐานอุ้ยสอนหลานแปงก๋วยห่อเทียน ณ ห้องประชุมวัดศรีเมืองมูล หมูท่ ี่ 8 (บ้านบวกขอน)

14 | คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)


เวลา กิจกรรม สีน้ำเงิน ฐานคนดีเรียนรู้วิถีทำแค่ ณ วัดป่าคา หมู่ที่ 2 (บ้านป่าคา) 12.00 - 12.50 น. รับประทานอาหารกลางวัน 12.50 - 13.00 น. Youth-CEG Incredible 7

13.00 - 14.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานควายดีมีเงินเดือน ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีฟ้า ฐานธนาคารความดี ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) สีเขียว ฐานคนดีมีน้ำใจ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 3 (บ้านบวกปลาค้าว) สีส้ม ฐานคนดีมีความพอเพียง ณ วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 (บ้านบวกขอน) สีชมพู ฐานคนดีมีความรู้คู่ดนตรีพื้นเมือง ณ โรงเรียนหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีน้ำเงิน ฐานตุงมงคลสร้างชีวิตดี ณ อาคารฝึกอาชีพวัดกู่สูง หมู่ที่ 10 (บ้านกู่สูง)

14.00 - 15.00 น. กิจกรรมเรียนรู้ ‘6 เมนูการทำความดี’ (ต่อ) สีม่วง ฐานสามัคคีคือพลังสร้างคนดี ณ วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 (บ้านห้วยตุ้ม) สีฟ้า ฐานผู้นำดีมีคุณธรรม ณ โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 (บ้านป่าแดง) สีเขียว ฐานฟื้นฟูภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพดี ณ วัดบ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 (บ้านหนองฮ่าง) สีส้ม ฐานอุ้ยสอนหลานแป๋งก๋วยห่อเทียน ณ ห้องประชุมวัดศรีเมืองมูล หมูท่ ี่ 8 (บ้านบวกขอน) สีชมพู ฐานคนดีเรียนรู้วิถีทำแค่ ณ วัดป่าคา หมู่ที่ 2 (บ้านป่าคา) สีน้ำเงิน (1) ฐานคนดีช่วยพี่เพาะเห็ด ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 5 (บ้านสันปลาดุก) (2) ฐานปลานิลกินแล้วดี ณ บ่อเลี้ยงปลานิล หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) 15.00 - 18.00 น. (1) กิจกรรม ‘สำรวจหมู่บ้านของเรา’ (กรณีที่ข้อมูลยังไม่ครบถ้วน)

‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 15


เวลา กิจกรรม (2) รู้จัก ‘กิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กและเยาวชน’ ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) (3) สรุปบทเรียนตนเองและกลุ่มประจำวัน 18.00 เคารพธงชาติ น. 18.00 - 19.00 น รับประทานอาหารเย็น

19.30 - 20.30 น. Youth-CEG Incredible 8 20.30 น. กลับบ้าน: จัดการงานตามที่ได้รับมอบหมาย และทำหน้าที่ เป็นต้นไป สมาชิกของครอบครัว วั นเสาร์ที่ 26 ตุลาคม 2556 06.00 - 07.30 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว รับประทานอาหารเช้า และทำหน้าที่ สมาชิกของครอบครัว 07.30 - 08.00 น. เดินทางสู่ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 08.00 - 09.00 น. เคารพธงชาติ Youth-CEG Incredible 9

09.00 - 12.00 น. จัดทำหมู่บ้านในฝัน ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) ประชุม เชิงปฏิบัติการสำหรับผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ณ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม หมู่ที่ 13 (บ้านป่าส้าน) 12.00 - 12.50 น. รับประทานอาหารกลางวัน 12.50 - 13.00 น. Youth-CEG Incredible 10

13.00 - 14.00 น. นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพบเด็กและเยาวชน ณ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 14.00 - 15.00 น. นักกีฬาและกองเชียร์เตรียมความพร้อม Youth-CEG Spirit Activities ณ สนามกีฬา โรงเรียนป่าแดงวิทยา

15.00 - 17.00 น. ‘Youth-CEG Spirit Activities’ 17.00 - 18.00 น. ซ้อมการแสดงสำหรับ Youth-CEG Academy 18.00 เคารพธงชาติ น. 18.00 - 20.30 น. Youth-CEG Academy 20.30 น.

กลับบ้าน: จัดการงานตามที่ได้รับมอบหมาย และทำหน้าที่ สมาชิกของครอบครัว

16 | คู่มือกิจกรรมสร้างสรรค์ (ค่าย)


เวลา กิจกรรม วั นอาทิตย์ที่ 27 ตุลาคม 2556

06.00 - 07.30 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว รับประทานอาหารเช้า และทำหน้าที่ สมาชิกของครอบครัว 07.30 - 08.00 น. เดินทางสู่ Youth-CEG Dome (โรงเรียนป่าแดงวิทยา) 08.00 - 09.00 น. เคารพธงชาติ Youth-CEG Incredible 11 09.00 - 11.00 น. Youth-CEG Innovation Award 11.00 - 11.30น. ผู้ใหญ่ใจดีกล่าว ‘ปฏิญญาส่งเสริมสนับสนุน เครือข่ายพลังเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือสนับสนุนเครือข่าย พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี ระหว่าง องค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น กับ สำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ

11.30 - 12.00 น. ‘ปณิธานพลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน เดินทางกลับมาตุภูมิด้วยความมุ่งมั่นร่วมสร้างวิถีความดี

‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 17


เส้นทางการเรียนรู้ ของแต่ละกลุ่มสี และแผนที่ฐานเรียนรู้


ส่วนที่














ข้อมูลเมนูความดี ฐานเรียนรู้ แนวคิดหลักการ วิธีการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์ความดีที่ ได้รับ และผลการเรียนรู้


ส่วนที่


6 เมนูความดี 15 ฐานเรียนรู้ 1. เมนู พัฒนาเยาวชนคนดี 1. ผู้นำดี มีคุณธรรม 2. ธนาคารความดี

2. เมนู เยาวชนคนใจดี 3. คนดี มีน้ำใจ 4. ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี 5. แกนนำดี มีจิตอาสา

3. เมนู คนดีกับวิถีพอเพียง 6. คนดี มีความพอเพียง 7. อุ้ยสอนหลาน แป๋งก๋วย ห่อเทียน

4. เมนู วัฒนธรรมดี สร้างคนดี 8. คนดี เรียนรู้วิถีทำแค่ 9. คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง

5. เมนู คนดี มีอาชีพ 10. ตุงมงคล สร้างชีวิตดี 11. ปลานิล กินแล้วดี 12. คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด

6. เมนู คนดี สร้างชุมชนเข้มแข็ง 13. ควายดี มีเงินเดือน 14. สามัคคีคือพลัง สร้างคนดี 15. คนดี ใส่ใจสิ่งแวดล้อม


เ ม นู ที่ 1

‘พัฒนา เยาวชน คนดี’ “คุณธรรม นำการพัฒนา สร้างคุณค่าสู่เยาวชนคนดี”


เมนูที่ 1 ‘พัฒนาเยาวชนคนดี’ ประกอบด้วย 2 ฐานเรียนรู้ ดังนี้ 1) ฐานเรียนรู้ ‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’ 2) ฐานเรียนรู้ ‘ธนาคารความดี’

แนวคิดเมนู

การจัดการชุมชนเพื่อ ‘สร้างรั้วป้องกันภาวะคุกคาม’ ให้เด็กและ เยาวชนห่างไกลจากปัญหายาเสพติด การตั้งครรภ์ไม่พร้อม และการ ทำแท้ง ที่มีสาเหตุมาจากสภาพปัญหาความยากจน ผู้ปกครองขาด เวลาในการอบรมเลี้ ย งดู แ ลบุ ต รหลาน จนทำให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ชุมชนหลายด้าน ตำบลหัวง้มจึงได้หารือและพูดคุยกับทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันออกแบบและหาวิธีป้องกันและจัดการปัญหา

จนเกิดเป็นกระบวนการสร้างการเรียนรู้ที่มุ่งสู่การปลูกฝังคุณธรรมให้ กับเด็กและเยาวชน รวมถึงประชาชนในตำบล ผ่าน ‘ธนาคารความดี’ โดยมีโรงเรียนป่าแดงวิทยา เป็นกลไกขับเคลื่อนหลัก เน้นให้เด็กและ เยาวชนเข้าใจในคุณค่าของตนเองและมีภาวะผู้นำ เพื่อสร้าง ‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’ โดยใช้การจำลองสภาผู้นำประจำตำบลที่มาจากแต่ละ หมู่บ้านให้เกิดขึ้นในโรงเรียน และใช้ ‘โครงงานคุณธรรม’ ในการ แก้ไขปัญหาชุมชน

เส้นทางการพัฒนา

พ.ศ.2539 องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มได้รับการยกฐานะ

จากสภาตำบล หลังจากนั้นจึงได้ดำเนินนโยบายการพัฒนาโดยยึดคน เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา และใช้คุณธรรมนำการพัฒนา และก่อ เกิดกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง พ.ศ.2550 องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มได้ร่วมกับคณะสงฆ์ ตำบลหัวง้ม ผู้นำชุมชน ส่วนราชการ และกลุ่มประชาชน ร่วมกัน 33 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


ดำเนินงานตามโครงการต่างๆ ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้คนทำความดี เพื่ อ ถวายแก่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ เฉลิ ม พระเกี ย รติ

80 พรรษา พ.ศ.2551 โรงเรียนป่าแดงวิทยาขยายผลการดำเนินงานของ ‘ธนาคารความดีตำบลหัวง้ม’ โดยให้เด็กได้บันทึกความดีและฝาก ความดีตามแนวทางที่ตำบลได้จัดทำไว้ รวมทั้งจัดให้มีค่ายคุณธรรม โครงงานคุณธรรม และการนั่งสมาธิก่อนเข้าห้องเรียน และทำให้บ้าน วัด และโรงเรียน มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นักเรียน พ.ศ.2552-2556 องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มได้บริหารงาน และพัฒนาตำบล บนพื้นฐานตามหลักการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งเน้นให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา โดยใช้นวัตกรรม ‘ธนาคาร ความดี ’ เป็ นกลไกในการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาทุ ก ๆ ด้ า น ทำให้ องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย พ.ศ.2553 โรงเรี ย นป่ า แดงวิ ท ยาได้ ด ำเนิ นงาน จั ด กระบวน การบูรณาการให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านการพัฒนา การกิน อยู่ ดู ฟังเป็น ใช้ ปั ญ ญาและเมตตาธรรมในการเรี ย น ทำให้ เด็ ก และเยาวชนได้ ทำความดี ทุ ก วั น มี ร ะเบี ย บวิ นั ย จนเป็ น ที่ ย อมรั บ ของชุ ม ชนและ

สังคม และได้รับรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พ.ศ.2555 โรงเรี ย นป่ า แดงวิ ท ยา ได้ ข ยายเครื อ ข่ า ยโรงเรี ย น

ส่งเสริมคุณธรรมไปยังโรงเรียนบ้านหนองฮ่าง-สันหลวง โรงเรียนป่าคา โรงเรียนในตำบลดอยงามและตำบลเวียงห้าว รวมจำนวน 9 โรงเรียน และมีโรงเรียนต่างๆ ทัง้ ในและต่างจังหวัดมาศึกษาดูงาน นำไปสูก่ าร อบรมเครือข่ายคุณธรรมแก่โรงเรียนต่างๆ โดยมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนต้นแบบวิถีพุทธของ สพป.เชียงราย เขต 2 และโรงเรียนต้นแบบโรงเรียนดีประจำตำบล

37


กิจกรรมการเรียนรู้ เมนู ‘พัฒนาเยาวชนคนดี’

1. เรียนรู้การสร้างกระบวนการเรียนรู้ผ่านปฏิบัติการจริง ผ่าน ‘โครงงานคุ ณธรรม’ และกิ จ กรรมการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ใช้

คุ ณ ธรรมเป็ น พื้ น ฐาน เพื่ อ การเป็ น ผู้ น ำและพลเมื อ งที่ ดี ใ นชุ ม ชน

หลากหลายมิติ 2. เรียนรู้การออกแบบรูปธรรมความดี ผ่านกลยุทธ์การบริหาร จัดการของชุมชนท้องถิ่น ในรูปแบบของ ‘ธนาคารความดี’ โดยใช้ คะแนนความดีเป็นสิ่งจูงใจ โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ค้นหาคำตอบด้วย ตัวเองว่า ‘ความดี คืออะไร’ ‘ความดี มีจริง หรือไม่’ และ ‘ทำดี แล้ว ได้อะไร’ จากแนวคิด เส้นทางการพัฒนา และกิจกรรมของเมนูการเรียนรู้ ก่อให้เกิดการพัฒนาฐานเรียนรู้ เพื่อ ‘พัฒนาเยาวชนคนดี’ ผ่านการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ 2 ฐานเรียนรู้ คือ 1) ฐานเรียนรู้ ‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’ 2) ฐานเรียนรู้ ‘ธนาคารความดี’ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

33 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~1~ ฐานเรียนรู้

‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’ 1. แนวคิด

สถานการณ์และปัจจัยทั้งภายในและภายนอกชุมชน ทำให้เกิด ผลกระทบกับชุมชน ทั้งปัญหายาเสพติด การทะเลาะวิวาท การมั่วสุม และเพศสั ม พั น ธ์ ก่ อ นวั ย อั น ควร ทางตำบลจึ ง ได้ ห ารื อ ร่ ว มกั บ

ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งออกแบบวิ ธี ก ารป้ อ งกั น และจั ด การปั ญ หา

จนเกิดเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เรียกว่า ‘นวัตกรรมพัฒนาแกนนำดี สู่ชุมชน’ ผ่านกลไกรูปธรรมคือ ‘โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม’ ของ โรงเรียนป่าแดงวิทยา ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้ทำความดีทุกวัน

มีจิตสาธารณะทั้งในโรงเรียน นอกโรงเรียน และมีคุณธรรมจริยธรรม

ที่ส่งเสริมแนวทางในการดำเนินชีวิตที่ดี มีระเบียบวินัย เป็นที่ยอมรับ ของชุมชนและสังคม

39


2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง เพื่อเกิดจิตสำนึกและเห็นความสำคัญของการ สร้างคุณธรรม เกิดแนวคิดในการดำเนินชีวิต และการปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 2.2 ครอบครัว ลดปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับเด็กและเยาวชน ส่งเสริม

การสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว 2.3 ชุมชน ก่อให้เกิดแนวทางในการป้องกัน แก้ไขปัญหา และ ลดผลกระทบหรือพฤติกรรมเสี่ยงที่รุนแรงในสังคม

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้แนวคิดของฐานเรียนรู้ ‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’ 3.2 เรียนรู้กิจกรรม ‘โครงงานคุณธรรม’ และกิจกรรมต่างๆ ของ โรงเรียนป่าแดงวิทยา พร้อมฝึกปฏิบัติ 3.3 นำเสนอโดยตัวแทนกลุ่ม สรุปผลการเรียนรู้ การนำไปปรับ ใช้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน รวมถึงร่วมออกแบบกิจกรรมที่

ส่งเสริมคุณธรรมที่อยากให้เกิดขึ้นในชุมชน

4. วิทยากร

นางอัญชลี ไก่งาม นางนงคราญ เกษมสุข นางสาวสสิวิภา เสาวภาศรี นายสมัย สุริยะอุโมงค์

5. สถานที่

โรงเรียนป่าแดงวิทยา หมู่ที่ 6 บ้านป่าแดง ตำบลหัวง้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย

44 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


‘ผู้นำดี มีคุณธรรม’

ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามข้อสงสัย ประโยชน์ที่เกิดขึ้น (10 นาที)


บันทึกการเรียนรู้

44 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~2~ ฐานเรียนรู้

‘ธนาคารความดี’ 1. แนวคิด

การดำเนินงานของ ‘ธนาคารความดี’ ได้นำรูปแบบของธนาคาร ทั่ ว ไป และกองทุ น หมู่ บ้ า นมาเป็ นต้ น แบบในการดำเนิ นงาน เช่ น

การฝากความดี การถอนความดี สมาชิกเริ่มแรกส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม

ผู้สูงอายุ โดยมีแนวคิดหลัก คือ ‘การทำความดี สร้างค่าความเป็น คน ยามขัดสนเราให้แลกเป็นสิ่งของ’ สิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่า ‘ธนาคารความดี’ เป็นวิถีของคนตำบล หัวง้ม ก็คือ การดำเนินกิจกรรมที่มีจำนวนสมาชิกเพิ่มมากขึ้น และ เกิดความต่อเนื่องในการฝาก-ถอนความดี ส่วนการแลกความดีเป็น

สิ่งของก็พบว่า ผู้ที่ถอนความดีเพื่อแลกสิ่งของนั้นมักจะเป็นผู้ยากไร้ที่ ขาดทุนทรัพย์จริง 43


ดังนั้น การจัดตั้งธนาคารความดี จึงเป็นวิถีในการส่งเสริมให้คน ได้ทำความดีโดยไม่หวังผลตอบแทน เกิดการอุทิศตนเพื่อทำงานให้ สังคมในโอกาสต่างๆ

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง ตระหนักถึงการทำความดีเพื่อตนเอง เช่น การ

ได้ รั บ การดู แ ลเรื่ อ งสุ ข ภาพ ทำให้ สุ ข ภาพจิ ต ดี ขึ้ น และยั ง เป็ นการ

ออกกำลังกายจากกิจกรรมแห่งความดีนั้น 2.2 ครอบครัว ส่งเสริมให้คนในครอบครัวเกิดความเข้าใจกัน มากขึ้น 2.3 ชุมชน สร้างความรักความสามัคคีขึ้นในชุมชน เพราะการ ได้ทำกิจกรรมร่วมทำให้เกิดการประสานกิจกรรมระหว่างกลุ่มต่างๆ

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้ความเป็นมาและแนวคิดของ ‘ธนาคารความดี’ 3.2 การดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม 3.3 เยี่ยมชมสถานที่และบอร์ดกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่ม 3.4 สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามข้อสงสัย

พระครูสุจิณกัลยาณธรรม นายพันธุ์ดี พรหมเทศ นางแสงดาว ปินคำ นางสาวจิตติกาญจน์ เครื่องไชย นางสาวเจนจิรา วงค์จันทร์มา นายกฤษฎากร ผางคำ

4. วิทยากร

5. สถานที่

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้ม และธนาคารความดี ตำบลหัวง้ม ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย 44 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี



บันทึกการเรียนรู้

44 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


เ ม นู ที่ 2

‘เยาวชน คนใจดี’ “....เด็กดี มีน้ำใจ นำใช้ภูมิปัญญา เสริมสร้างจิตอาสา ร่วมพัฒนาสุขภาพชุมชน....”


เมนูที่ 2 ‘เยาวชนคนใจดี’

ประกอบด้วย 3 ฐานเรียนรู้ ดังนี้ 3) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีน้ำใจ’ 4) ฐานเรียนรู้ ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพที่ดี’ 5) ฐานเรียนรู้ ‘แกนนำคนดี มีจิตอาสา’

แนวคิดเมนู

‘ความจริงของชีวิต เป็นโรงเรียนที่ดีที่สุดของมนุษย์’ คือ

คำตอบที่เด็กและเยาวชนตำบลหัวง้ม ค้นพบด้วยตัวเอง จากการทำ โครงงาน ‘จิตอาสาช่วยเหลือผู้ชรา’ ในชั่วโมงเรียน พาไปสู่การค้นพบ คุณค่าและความหมายของชีวิต การสร้างจิตสำนึกเพื่อปลูกฝังให้เด็ก และเยาวชนได้ แ สดงออกถึ ง การมี ส่ ว นร่ ว มในการดู แ ลสุ ข ภาพของ ชุมชน จากแรงบันดาลใจของกลุ่มเด็ก ‘หมอน้อย คอยช่วยเหลือ’ ที่ เห็นความทุกข์จากอาการเจ็บป่วยเรือ้ รังของอุย้ ชราในหมูบ่ า้ น เด็กวัยรุน่ กลุ่มนี้จึงเสียสละเวลาในการเที่ยวเล่นช่วงวันหยุดและหลังเลิกเรียนไป ไปพุดคุยกับผู้สูงอายุและผู้ขาดโอกาส จากจุ ด เริ่ ม ต้ นของเยาวชน ‘คนดี มี น้ ำ ใจ’ เพื่ อ คลายเหงา คลายทุกข์ เกิดเป็นความคุ้นเคยเหมือนลูกหลาน นำไปสู่การเรียนรู้ และฝึกงานเพื่อเป็นลูกมือของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสุขภาพประจำ ตำบลหั ว ง้ ม จนเกิ ด ‘แกนนำคนดี มี จิ ต อาสา’ ที่ ช่ ว ยรวบรวม ระเบียนประวัติ เรียนรู้วิธีการพลิกตัวคนไข้ที่เป็นอัมพาต อัมพฤกษ์ การล้างแผล ทำแผลกดทับ เพื่อทำหน้าที่เป็น ‘หมอน้อย’ ออกเยี่ยม

ผู้สูงอายุและผู้ขาดโอกาสในชุมชน นอกจากนี้ การทำงานร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรมระหว่าง บ้าน วัด โรงเรียน หรือ ‘บ ว ร’ ได้กอ่ ให้เกิดพืน้ ทีแ่ ละกิจกรรมสร้างสรรค์ของ ชุมชนในการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน โดยเฉพาะการ ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา 44 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


เพื่อสุขภาพที่ดี’ ให้กับแกนนำจิตอาสา โดยจัดอบรมเพิ่มทักษะใน การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เรียนรู้การใช้สมุนไพรพื้นบ้าน และการ จั ด สภาพแวดล้ อ มให้ เ อื้ อ ต่ อ สุ ข ภาพ และยั ง ขยายผลความดี ข อง

แกนนำเยาวชนจาก ‘รุ่นพี่ สู่รุ่นน้อง’ อีกด้วย

เส้นทางการพัฒนา เมนู ‘เยาวชนคนใจดี’

พ.ศ.2550 จากการเยี่ยมเยือน ให้กำลังใจ และการช่วยเหลือด้าน ปัจจัยการดำรงชีวิตแก่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หรืออยู่ในภาวะติดเตียง ในลั ก ษณะเป็ นครั้ ง คราวตามความจำเป็ นความเร่ ง ด่ ว น เกิ ด เป็ น โครงการ ‘ร้อยคน ร้อยดวงใจ ร้อยความห่วงใย แด่ผสู้ งู วัยทีข่ าดแคลน’ หรือ ‘การตานตอด’ เพือ่ การดูแลอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ ง โดยกลุม่ อสม. จิตอาสา ร่วมกับพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล ตลอดจนอบรมวิธีการดูแลแก่ญาติของผู้ป่วยเพื่อให้สามารถ ดูแลต่อเองได้ พ.ศ.2551 อบต.หัวง้ม ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมโครงการ พัฒนาอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ (อผส.) ของกระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อสม. และอีกส่วนหนึ่งได้รับการ อบรมการดูแลผู้สูงอายุจาก พมจ.เชียงราย พ.ศ.2552 จากสถานการณ์ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานทีม่ แี ผลเรือ้ รัง ผูป้ ว่ ย อัมพฤกษ์ อัมพาต จากโรคความดันโลหิตสูงปรากฏให้เห็นชัดเจน จำนวนมาก จนกระทั่งมีผู้ป่วยเสียชีวิต รพ.สต.หัวง้ม จึงได้ประกาศ รับสมัครจิตอาสาจากชมรม ตำบลหัวง้ม จากทุกหมู่บ้านเวียนมาช่วย งานบริการที่ รพ.สต.ทุกวันที่เปิดให้บริการวันละ 2 คน และให้ อสม. ในแต่ละหมู่บ้านที่มีผู้ป่วยอยู่ช่วยดูแลต่อเนื่อง ทั้งการดูแลแผลและ การพื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย พ.ศ.2552 นักเรียนโรงเรียนป่าแดงวิทยา ริเริ่มโครงการส่งเสริม ให้นักเรียนรวมกลุ่มกันดำเนินกิจกรรมช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ป่วยเป็น อัมพฤกษ์ อัมพาตซึ่งอยู่ที่บ้าน โดยฝึกการปฐมพยาบาลเบื้องต้นที่ สถานีอนามัยในช่วงเช้า และลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติงานช่วยเหลือในวัน หยุดเสาร์อาทิตย์ จนได้รับรางวัลโครงงานคุณธรรมยอดเยี่ยมโล่จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

49


พ.ศ.2553 จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลหัวง้ม ส่งผลให้ ‘กลุ่ม หมอน้อย คอยอาสา’ ขยายผลการช่วยเหลือไปยังกลุ่มผู้สูงอายุที่

ช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อเป็นพี่เลี้ยงให้กับนักเรียนผู้สูงอายุที่มาเรียนใน โรงเรียน และมีส่วนร่วมในการให้บริการสุขภาพแก่นักเรียนผู้สูงอายุ จนได้รับรางวัลคุณธรรมยอดเยี่ยม โล่ประโยชน์สุขแห่งมหาชนของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พ.ศ.2554 กลุ่ม ‘หมอน้อย คอยอาสา’ ขยายผลการดำเนินงาน ไปยังรุ่นน้อง เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ และสร้างเป็นเครือข่ายการ

ดูแลผู้สูงอายุ จนได้รับรางวัลเยาวชนสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น

ของสถาบันพระปกเกล้า และรางวัลคนค้นคน อวอร์ด สาขาเยาวชน ต้นแบบจากทีวีบูรพา พ.ศ.2555 ได้จัดทำห้องอบสมุนไพร ณ วัดหนองฮ่าง โดยจัดตั้ง เป็นระบบกลุ่มและแบ่งหน้าที่ของกลุ่มสมาชิก ทำให้ศูนย์ฟื้นฟูภูมิปัญญาสุขภาพบ้านหนองฮ่างมีระบบระเบียบ และมีคุณภาพทางด้าน การบริการ พ.ศ.2556 เริ่มสำรวจประเมินจำแนกผู้พิการและผู้สูงอายุเพื่อจัด บริการสุขภาพอย่างเหมาะสมและต่อเนือ่ ง ทำให้มขี อ้ มูลกลุม่ เป้าหมาย ในการดูแลรายบุคคลอย่างเป็นระบบ โดยมีศูนย์ประสานข้อมูลการจัด บริการส่งเสริมสุขภาพผู้พิการและผู้สูงอายุตำบลหัวง้มเป็นที่จัดเก็บ ข้อมูลและส่งต่อข้อมูลการให้บริการ

กิจกรรมการเรียนรู้ เมนู ‘เยาวชนคนใจดี’

1. เรียนรู้กระบวนการจากการปฏิบัติจริง เพื่อปลูกฝังให้เด็กและ เยาวชนได้แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของชุมชน โดยผู้เรียนรู้จะได้เรียนรู้ ผ่านกิจกรรม ‘คนดี มีน้ำใจ’ โดยการสาธิต และฝึกทักษะเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพ เช่น การวัดอุณหภูมิร่างกาย (วัดไข้) การจับชีพจร การวัดความดันโลหิต การนับอัตราการหายใจ เป็นต้น รวมทั้งฝึกปฏิบัติวิธีการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุและผู้ป่วยติด เตียง ปฏิบัติการทำแผล เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อผ้า และเปลี่ยนผ้าปูที่นอน 55 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


2. ฝึ ก ปฏิ บั ติ เพื่ อ ให้ เด็ ก และเยาวชนเกิ ด ทั ก ษะในการดู แ ล

และช่วยเหลือผู้ป่วยที่ผสมผสานความรู้ทางแพทย์แผนปัจจุบันและ

ภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้าด้วยกัน ผ่านกิจกรรม ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อ สุขภาพที่ดี’ โดยการสาธิตและฝึกปฏิบัติการนวดแผนไทย และการ นวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ควบคู่กับการเรียนรู้สรรพคุณของสมุนไพร

พื้นบ้าน ห้องอบสมุนไพร และห้องนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ใช้ในการ ฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน 3. เด็กและเยาวชนปฏิบัติตนเป็น ‘แกนนำคนดี มีจิตอาสา’ โดยนำทักษะจากการฝึกปฏิบัติในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นที่ ผสมผสานความรู้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันและภูมิปัญญาท้องถิ่น ไป ปฏิบัติที่บ้านพักโฮมสเตย์ จากแนวคิด เส้นทางการพัฒนา และกิจกรรมของเมนูการเรียนรู้ ก่อให้เกิดการพัฒนาฐานการเรียนรู้ ‘เยาวชนคนใจดี’ รวม 3 ฐานเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีน้ำใจ’ 2) ฐานเรียนรู้ ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี’ และ 3) ฐานเรียนรู้ ‘แกนนำดี มีจิตอาสา’ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

51


~3~ ฐานเรียนรู้

‘คนดี มีน้ำใจ’ 1. แนวคิด

จากการรวมกลุ่มของ อสม. เพื่อสร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้ เด็กและเยาวชนได้แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของ ชุมชน และจากแรงบันดาลใจของกลุ่มเด็ก ‘หมอน้อย คอยช่วยเหลือ’ ที่ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้ป่วยติดบ้านเตียง รวมถึงผู้สูงอายุใน ตำบลหัวง้ม เด็กและเยาวชนกลุ่มนี้จึงเสียสละเวลาในการเที่ยวเล่นช่วง วันหยุดและหลังเลิกเรียนไปเรียนรู้เป็นลูกมือ และฝึกงานกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.หัวง้ม และ อสม. จนเกิด ‘แกนนำคนดี มีจิตอาสา’ ที่ช่วย รวบรวมระเบี ย นประวั ติ เรี ย นรู้ วิ ธี ก ารพลิ ก ตั ว คนไข้ ที่ เป็ น อั ม พาต

อั ม พฤกษ์ การล้ า งแผล ทำแผลกดทั บ ซึ่ ง เป็ นการพั ฒ นาทั ก ษะ

การดูแลผู้ป่วยก่อนการลงเยี่ยมบ้าน โดยทำหน้าที่เป็น ‘หมอน้อย’ 55 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


ออกเยี่ ย มผู้ สู ง อายุ แ ละผู้ ข าดโอกาสในชุ ม ชน รวมทั้ ง ร่ ว มปลู ก ฝั ง จิตสำนึกในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนให้กับเด็ก และเยาวชนต่อไป

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง มีความรู้และทักษะเบื้องต้นในการดูแลช่วยเหลือ

ผู้สูงอายุและผู้ขาดโอกาสทางสังคม ก่อให้เกิดมีความสุข และความ ภูมิใจในการมีจิตอาสา 2.2 ครอบครั ว เกิ ด ความภู มิ ใ จ ความอบอุ่ น ในครอบครั ว เยาวชนคนดี และครอบครัวผู้ป่วย 2.3 ชุมชน เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ ปลูกสำนึกจิตอาสา เกิด แหล่งเรียนรู้เยาวชนคนดีขึ้นในชุมชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 บรรยาย วิทยากรแนะนำแนวคิดของการทำกิจกรรม ‘คนดี มี น้ ำ ใจ’ พร้ อ มแนะนำแนวคิ ด ของกิ จ กรรมของ ‘แกนนำคนดี มี

จิตอาสา’ 3.2 สาธิต วิทยากรสาธิตการทำแผล การเช็ดตัว การเปลี่ยน เสื้อผ้า และเปลี่ยนผ้าปูที่นอนให้แก่ผู้ป่วยติดเตียง 3.3 ฝึกปฏิบัติ เยาวชนฝึกปฏิบัติการวัดสัญญาณชีพ การทำแผล การเช็ดตัว การเปลี่ยนเสื้อผ้า และผ้าปูที่นอน โดยเยาวชนจะได้นำ ทั ก ษะจิ ต อาสาในการดู แ ลและพั ฒ นาสุ ข ภาพไปปฏิ บั ติ ที่ บ้ า นพั ก

โฮมสเตย์

53


4. วิทยากร

นายสมพงค์ ชำหา นางยอดคำ เกษนาวา นางรำจวน เธียรเศวตตระกูล นางจันทนา ลือใจ นางรุ่งทิพย์ ทาก๋อง นางจินาภรณ์ วงค์คำ นางรัตนาภรณ์ วงค์คำ นางมณีทิพย์ ดวงจิตร นางนุชราภรณ์ ปินตาแก้ว นางอมรรัตน์ กันขัติ

5. สถานที่

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม หมูท่ ี่ 3 บ้านบวกปลาค้าว ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

55 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘คนดี มีน้ำใจ’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 30 ความดี

ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี (2 นาที) ทีมวิทยากร กล่าวต้อนรับ (3 นาที)

ผู้รับผิดชอบ พี่เลี้ยง

วิทยากรกล่าวแนะนำเรื่องสุขภาพ ● การวัดสัญญาณชีพ : วัดไข้ ความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ (15 นาที) ทีมกระบวนการแบ่งกลุม่ 4 กลุม่ ย่อยกลุม่ ละ 10 คน ให้ 20 ความดี (เวลา 20 นาที )

กลุ่ม 1 ห้องประชุมใหญ่ จับคู่ฝึกปฏิบัติ การเช็ดตัว และเปลี่ยนเสื้อผ้า ได้รับ 10 ความดี ● จับคู่ฝึกปฏิบัติ การทำแผล ได้รบั 5 ความดี ● กลุ่มฝึก ปฏิบัติการเปลี่ยน ผ้าปูที่นอน ได้รับ 5 ความดี ●

กลุ่ม 2 ห้องประชุมเล็ก จับคู่ฝึกปฏิบัติ การเช็ดตัว และเปลี่ยนเสื้อผ้า ได้รับ 10 ความดี ● จับคู่ฝึกปฏิบัติ การทำแผล ได้รบั 5 ความดี ● กลุ่มฝึก ปฏิบัติการเปลี่ยน ผ้าปูที่นอน ได้รับ 5 ความดี ●

กลุ่ม 3 ห้องตรวจ จับคู่ฝึกปฏิบัติ การเช็ดตัว และเปลี่ยนเสื้อผ้า ได้รับ 10 ความดี ● จับคู่ฝึกปฏิบัติ การทำแผล ได้รบั 5 ความดี ● กลุ่มฝึก ปฏิบัติการเปลี่ยน ผ้าปูที่นอน ได้รับ 5 ความดี ●

กลุ่ม 4 ห้องแพทย์แผนไทย จับคู่ฝึกปฏิบัติ การเช็ดตัว และเปลี่ยนเสื้อผ้า ได้รับ 10 ความดี ● จับคู่ฝึกปฏิบัติ การทำแผล ได้รบั 5 ความดี ● กลุ่มฝึก ปฏิบัติการเปลี่ยน ผ้าปูที่นอน ได้รับ 5 ความดี ●

สรุปงาน (8 นาที) ● แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ● นำทักษะไปปฏิบัติโฮมสเตย์ 55

เยาวชนกล่าวขอบคุณวิทยากร (2 นาที)


ใบงาน ฐาน ‘คนดี มีน้ำใจ’ ชื่อ-สกุล ............................................................................................... กลุ่มสี ................................................................................................... การวัดสัญญาณชี พ (10 ความดี)

อุณหภูมิร่างกาย (วัดไข้) ....... ํ°C วัด ความดันโลหิต .......... มม.ปรอท การจับชีพจร ............ ครั้ง/นาที การนับอัตราการหายใจ....... ครั้ง/นาที การทำแผล เช็ดตัวและเปลี่ยนเสื้อผ้า การเปลี่ยนผ้าปูที่นอน (5 ความดี) (10 ความดี) (5 ความดี) ลายเซ็น ลายเซ็น ลายเซ็น วิทยากร วิทยากร วิทยากร ......................... ........................... ...........................

55 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

57


~4~ ฐานเรียนรู้

‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี’

1. แนวคิด

จากปัญหาด้านสุขภาพ และการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการ ทำงานในภาคเกษตรกรรม ประกอบกับข้อมูลของ อสม. ที่ได้จากการ เยี่ยมบ้านของประชาชน ซึ่งเห็นว่าเกือบทุกบ้าน มีพืชสมุนไพรพื้นบ้าน ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ ทำให้ประชาชนในหมู่บ้านหนองฮ่าง ประชุมร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหัวง้ม จนกลายเป็น ข้ อ เสนอให้ น ำเอาสมุ น ไพรมาปรั บ ใช้ เ พื่ อ ลดปริ ม าณการใช้ ย า

แผนปัจจุบันลง เกิดเป็นศูนย์ฟื้นฟูภูมิปัญญาสุขภาพบ้านหนองฮ่างขึ้น โดยกิจ กรรมของฐานเรีย นรู้ ‘ฟื้น ฟู ภูมิ ปัญ ญา เพื่อ สุ ขภาพดี ’ ได้แก่ การฝึกปฏิบัติการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การเยี่ยมชมสวน 55 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


สมุนไพรและนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในชีวิตประจำวัน การ เยี่ยมชมห้องนวดและห้องอบสมุนไพร ซึ่งทำให้เยาวชนได้รับความรู้ ด้านสมุนไพร และเกิดทักษะในการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อเพื่อนำไป ปรับใช้ในชุมชนของตนเองต่อไป

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง มีความรู้และทักษะการนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ มีความสุขและความภูมิใจในจิตอาสา 2.2 ครอบครัว เกิดความภูมิใจ ความอบอุ่น ความสัมพันธ์ที่ดี ในครอบครัวเยาวชนและครอบครัวผู้ป่วย 2.3 ชุมชน เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ ปลูกจิตสำนึกจิตอาสา เกิด แหล่งเรียนรู้เยาวชนคนดีในชุมชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้ความเป็นมาและแนวคิดของ ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อ สุขภาพดี’ 3.2 ฝึกปฏิบัตินวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ 3.3 การเยี่ยมชมฐานเรียนรู้ 2 ฐานย่อย ได้แก่ 3.3.1 สมุนไพรและนิทรรศการเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรใน ชีวิตประจำวัน 3.3.2 ห้องนวดและห้องอบสมุนไพร 3.4 สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามข้อสงสัย และทำ

ใบงาน

4. วิทยากร

นางจรัสศรี อุ่นแก้ว นางสาวเจนจิรา ขูดสันเทียะ นางสุพร ขันตี 59


นางสาวมัตติกา นวลแพง นางจันทร์หอม ไชยยา นางสายพิกุล ถาอินทร์ นางบุญญานุช จันบุญธรรม นางลัดดา สีเขียว นางแสง จันกันธรรม นางสวาท วงค์นุเคราะห์

5. สถานที่

วัดบ้านหนองฮ่าง หมู่ 4 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

66 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘พื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 30 ความดี

ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี (2 นาที) ทีมกระบวนการแบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน

วิทยากรกระบวนการแนะนำตัว แนะนำฐาน อธิบายแนวคิด ‘การแพทย์ทางเลือก/ภูมิปัญญากับการดูแลสุขภาพ’ ‘การใช้สมุนไพรกับการนวดประเภทต่างๆ’ (6 นาที) ให้ 20 ความดี (เวลา 20 นาที )

กลุ่ม 1

กลุ่ม 2

กลุ่ม 3

กลุ่ม 4

จับคู่ฝึกปฏิบัตินวด (จรัสศรี + สายพิกุล)

จับคู่ฝึกปฏิบัตินวด (สุพร + บุญญานุช)

จับคู่ฝึกปฏิบัตินวด (สวาท + มัตติกา)

จับคู่ฝึกปฏิบัตินวด (ลัดดา + เจนจิรา)

เยี่ยมชมสมุนไพรและ นิทรรศการ (5 นาที)

เวียนฐาน (10 นาที)

เยี่ยมชมห้องนวดและ ห้องอบสมุนไพร (5 นาที) (จันทร์หอม + แสง)

สรุปงานแลกเปลี่ยนความรู้ทำใบงาน ให้ความดี 10 ความดี (เวลา 10 นาที) 61

เยาวชนกล่าวขอบคุณวิทยากร (2 นาที)


ใบงาน ฐาน ‘ฟื้นฟูภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี’ ชื่อ-สกุล ............................................................................................... กลุ่มสี ................................................................................................... ‘การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อ’ ฝึกปฏิบัติ ‘การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อเบื้องต้น’ 1. ท่านวดพื้นฐาน ไหล่ บ่า (10 ความดี) 2. ท่านวดกายภาพ แขน ขา (10 ความดี)

ลายเซ็นวิทยากร ประจำฐานเรียนรู้

‘ความรู้ คู่พืชผักสมุนไพรพื้นบ้าน’ ให้เยาวชนยกตัวอย่าง ‘พืชผักสมุนไพรพื้นบ้าน’ ในชุมชนของ ตนเองมา 1 ชนิด พร้อมทั้งอธิบายรายละเอียดสรรพคุณและการนำไป ใช้ประโยชน์ให้ชัดเจน (10 ความดี) 1. ชุมชนที่อาศัยอยู่ ..................................................................... 2. ชนิดของพืชผักสมุนไพรพื้นบ้าน ............................................. 3. สรรพคุณ ................................................................................ .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. 4. การนำไปใช้ประโยชน์.............................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. 66 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

63


~5~ ฐานเรียนรู้

‘แกนนำดี มีจิตอาสา’ 1. แนวคิด

สังคมไทยกำลังก้าวเข้าสูส่ งั คมสูงอายุ ผูส้ งู อายุในตำบลหัวง้มเองก็ อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน ต้องต่อสู้กับความเหงาจากสภาพ

การอยูค่ นเดียว และความท้อแท้สนิ้ หวัง ผูส้ งู อายุบางรายทีป่ ว่ ยติดเตียง ถูกทอดทิ้งให้นอนนานๆ ไม่ได้พลิกตัว ทำให้เป็นแผลกดทับ ตำบล

หัวง้มจึงเกิดกลุ่ม ‘หมอน้อย คอยอาสา’ เพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมการ ช่วยเหลือผู้สูงอายุให้ได้รับการพัฒนาส่งเสริมด้านสุขภาพ อารมณ์และ สังคม มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ไม่เป็นภาระ ให้แก่บุตรหลานและสังคม รวมทั้งเพื่อส่งเสริมให้เยาวชนในตำบล

มีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ รู้จักปฏิบัติตนในการเป็นสมาชิกที่ดีของ ครอบครัวและสังคม มีพฤติกรรมจิตสาธารณะหรือจิตอาสาช่วยเหลือ สังคมอย่างสร้างสรรค์ และมีจิตสำนึกรักบ้านเกิดของตนเอง

66 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


จึงเป็นที่มาของฐานเรียนรู้ ‘แกนนำดี มีจิตอาสา’ เพื่อกระตุ้นให้ เยาวชนนำความรู้ แ ละทั ก ษะจากการฝึ ก ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การดู แ ล สุขภาพเบื้องต้นจากฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีน้ำใจ’ การนวดผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ และภูมิปัญญาด้านการใช้สมุนไพรจากฐานเรียนรู้ ‘ฟื้นฟู

ภูมิปัญญา เพื่อสุขภาพดี’ ไปปรับใช้ในการดูแลช่วยเหลือผู้อื่นในชุมชน ของตนเอง

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง มีความรูแ้ ละทักษะการช่วยเหลือผูอ้ นื่ มีความสุข และความภูมิใจในจิตอาสา 2.2 ครอบครัว เกิดความภูมใิ จ ความอบอุน่ ในครอบครัวเยาวชน คนดีและครอบครัวผู้ป่วย 2.3 ชุมชน เกิดกิจกรรมสร้างสรรค์ ปลูกจิตสำนึกจิตอาสา เกิด แหล่งเรียนรู้เยาวชนคนดีในชุมชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้ความเป็นมาและแนวคิดของ ‘แกนนำดี มีจิตอาสา’ 3.2 การดำเนินกิจกรรมของกลุ่มด้านการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ ป่วยติดเตียง 3.3 การนำทักษะจิตอาสาในการดูแลสุขภาพไปปฏิบัติที่บ้านพัก โฮมสเตย์

4. วิทยากร

นายสมพงค์ ซำหา

บ้านพักโฮมสเตย์ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

5. สถานที่

65


ใบงาน ฐาน ‘แกนนำดี มีจิตอาสา’ ชื่อ-สกุล ............................................................................................... กลุ่มสี ................................................................................................... ‘การดูแลสุขภาพสมาชิกในครอบครัวของบ้านพักโฮมสเตย์’ (30 ความดี) ข้าพเจ้าขอรับรองว่า เยาวชนคนนี้ ได้นำความรู้และทักษะที่ได้ รับจากฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีนำ้ ใจ’ และ ‘ฟืน้ ฟูภมู ปิ ญ ั ญา เพือ่ สุขภาพดี’ มาปฏิ บัติที่บ้านพักโฮมสเตย์ ดังนี้ ............... 1) การวัดอุณหภูมิร่างกาย (วัดไข้) วัดความดันโลหิต จับ ชีพจร วัดอัตราการหายใจ (10 ความดี) การวัดสัญญาณชีพ อุณหภูมิร่างกาย (วัดไข้) ....... °C วัด ความดันโลหิต .......... มม.ปรอท

การจับชีพจร ............ ครั้ง/นาที การนับอัตราการหายใจ....... ครั้ง/นาที

............... 2) การทำแผล เช็ดตัวและเปลี่ยนเสื้อผ้า เปลี่ยนผ้าปูที่นอน (10 ความดี) การทำแผล เช็ดตัวและเปลี่ยนเสื้อผ้า การเปลี่ยนผ้าปูที่นอน ลายเซ็น ลายเซ็น ลายเซ็น ........................... ........................... ...........................

............... 3) การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อให้กับสมาชิกในครอบครัว บ้านพักโฮมสเตย์ (10 ความดี) ฝึกปฏิบัติ ‘การนวดผ่อนคลายกล้ามเนื้อเบื้องต้น’ 1. ท่านวดพื้นฐาน ไหล่ บ่า

ลายเซ็น

2. ท่านวดกายภาพ แขน ขา ลงชื่อ .................................................................. บ้านพักโฮมสเตย์ เลขที่ ...................................... 66 | ‘พ ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ลเมือง เยาวช น ร่ว มสรา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

67



เ ม นู ที่ 3

‘คนดีกับ

วิถีพอเพียง’

“....มีคุณธรรม นำความรู้สู่การถ่ายทอด ต่อยอดความคิด เน้นชีวิตพอเพียง ร้อยเรียงวัฒนธรรม งามล้ำประเพณี สร้างคนดีสู่สังคม....”


เมนูที่ 3 ‘คนดีกับวิถีพอเพียง’ ประกอบด้วย 2 ฐานเรียนรู้ ดังนี้ 6) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความพอเพียง’ 7) ฐานเรียนรู้ ‘อุ้ยสอนหลาน แป๋งก๋วย ห่อเทียน’

แนวคิดเมนู

บ้ า นบวกขอน นำหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งตามแนว

พระราชดำริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ มานำใช้ ในการ ดำเนินชีวิต เพื่อปลูกฝังให้คนในชุมชนพึ่งพาตนเอง ดำเนินชีวิตแบบ พอประมาณ มีคุณธรรมนำความรู้ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ นอกจากนี้

ยังได้สืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามด้วยการนำมาใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด และปลูกฝังให้เกิดการอนุรักษ์ สืบทอด ถ่ายทอดสิ่งที่ ดีงามของชุมชนให้แก่คนรุ่นหลัง เพื่อไม่ให้เลือนหายไปจากสังคมและ วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน

เส้นทางการพัฒนา

พ.ศ.2553 ‘กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านบวกขอน’ ได้รับการ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม มีการจัดทำข้อตกลง (MOU) ระหว่าง อบต.หัวง้ม กับสำนักงานพลังงานจังหวัดเชียงราย ที่จะปฏิวัติการใช้ พลังงาน และลดการใช้พลังงานในครอบครัว พ.ศ.2554 กลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงบ้านบวกขอน ได้รับการยกย่อง ให้เป็น ‘หมู่บ้านต้นแบบเครือข่าย’ ที่มีความโดดเด่นในเรื่องของ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง โดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธกส.) สาขาอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย พ.ศ.2555 กลุม่ เศรษฐกิจพอเพียงบ้านบวกขอน ดำเนินการส่งเสริม และพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นการเกษตรอย่างต่อเนือ่ ง โดยสร้างเครือข่าย การเรียนรู้เพิ่มขึ้น ตลอดจนไปศึกษาดูงานเศรษฐกิจพอเพียงในอำเภอ แม่สาย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมการดำเนินงานซึ่งกันและกัน 77 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


พ.ศ.2556 ได้รับเงินสนับสนุนงบประมาณจาก ธกส. สาขาอำเภอ พาน เพื่อนำมาจัดสรรและใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตรพอเพียง ภายในหมู่บ้าน อาทิ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ การปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงสัตว์ในชุมชน เป็นต้น เศรษฐกิจพอเพียงบ้านบวกขอน เป็นกิจกรรมทีส่ ามารถลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว และมีผลในการรักษาสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติอีกด้วย

เส้นทางการพัฒนาเมนู ‘คนดีกับวิถีพอเพียง’

กิจกรรมการเรียนรู้ เมนู ‘คนดีกับวิถีพอเพียง’ 1. เรียนรู้การสร้างนวัตกรรมเพื่อลดการใช้พลังงานของชุมชน ศึ ก ษากระบวนการทำงานของนวั ต กรรมพลั ง งานทางเลื อ ก การ ประดิษฐ์เครื่องมือที่เกิดจากวัสดุเหลือใช้ เช่น ปั่นจักรยานลดการใช้ พลังงาน รวมทั้งศึกษาการจัดสรรพื้นที่รอบบริเวณบ้านเพื่อปลูกพืช เศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดประโยชน์สูงสุด และดูการทำจักสาน และ ผลิตภัณฑ์จกั สานทีผ่ ลิตเอง ใช้เอง และนำไปจำหน่ายเพือ่ อนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรม 2. เรี ย นรู้ ก ารออกแบบรู ป ธรรมความดี ผ่ า นการลดการใช้ พลังงาน การปลูกพืชผักสวนครัว การลดค่าใช้จ่าย และการผลิต เครื่องจักสาน ให้กลายเป็นคะแนนที่วัดความดี 3. เรียนรู้วิถีชีวิตของผู้สูงอายุ คือ การทำก๋วยสลาก และการห่อ ขนมเทียน โดยใช้จากวัสดุท้องถิ่นของชุมชน เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรม ไทย โดยให้ผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการทำเป็นผู้ให้ความรู้ โดยมี คะแนนความดีจากการทดลองทำด้วยตัวเอง

71


จากแนวคิด เส้นทางการพัฒนา และกิจกรรมของเมนูการเรียนรู้ ก่อให้เกิดการพัฒนาฐานการเรียนรู้ ‘คนดี มีความพอเพียง’ ผ่านการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ 2 ฐานเรียนรู้ คือ 1) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความพอเพียง’ และ 2) ฐานเรียนรู้ ‘อุ้ยสอนหลาน แป๋งก๋วย ห่อเทียน’ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

77 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~6~ ฐานเรียนรู้

‘คนดี มีความพอเพียง’ 1. แนวคิด

บ้ า นบวกขอนสามารถนำหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไป ประยุกต์ใช้ในทุกอาชีพ แต่เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ของบ้านบวกขอนประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ตัวอย่างในการนำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จึงมุ่งเน้นที่เศรษฐกิจและวิถีชีวิตที่เกี่ยวกับ การเกษตรเป็นหลัก โดยมุ่งถึงเหตุผลของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เน้น การพึ่งพาตนเอง การรู้จักพอประมาณ การมีเหตุผลในการตัดสินใจ รู้ ว่าทำไมถึงทำ ทำอย่าง ทำแล้วจะได้อะไร ตลอดจนการสร้างภูมคิ มุ้ กัน ในตัวที่ดี คือความสามารถในการป้องกันและแก้ไขปัญหาวิกฤติ การ ยอมรั บ เทคโนโลยี รู้ เท่ า ทั นการเปลี่ ย นแปลง และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ได้อย่างสมดุล

73


2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง เพื่อเกิดจิตสำนึกในการใช้พลังงาน รู้จักพืชผัก สวนครัว ผลิตภัณฑ์จักสาน 2.2 ครอบครัว เหตุผลและที่มาของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีผล ต่ อ การสร้ า งความสั ม พั นธ์ ในครอบครั ว เกิ ด ความอบอุ่ น รั ก และ

เอื้ออาทรกันมากขึ้น 2.3 ชุมชน ก่อให้เกิดแนวทางในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เพื่อ สืบทอดวัฒนธรรมชุมชนต่อไป

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้แนวคิดของฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความพอเพียง’ 3.2 เรียนรูข้ อ้ มูลนวัตกรรมพลังงาน การปลูกพืชผักสวนครัว และ ผลิตภัณฑ์จักสาน 3.3 นำเสนอโดยตั ว แทนกลุ่ ม สรุ ป ผลการเรี ย นรู้ รวมถึ ง ทำ กิจกรรมใบงาน เพื่อนำไปปรับใช้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

4. วิทยากร

นายสมวงศ์ ศรีสันทราย นายบุญหลง จันทร์นิ่ม นายคำ ธรรมเสน นางสาวสุภาพ ศรีริ นายวิเชียร์ การินทร์ นายอิ่นแก้ว จันต๊ะภา นายมานพ ทองจำรัส นายหล้า ปินตา นางนงคราญ นันจันทร์ นางสา อุตมะดวงแจ่ม

บ้านบวกขอน หมู่ 8 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

5. สถานที่

77 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘คนดี มีความพอเพียง’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี

ทีมวิทยากร กล่าวต้อนรับ (2 นาที) ทีมกระบวนการแบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน

วิทยากรกระบวนการแนะนำตัว แนะนำฐาน อธิบายการเวียนฐาน (10 นาที) ให้ 20 ความดี (เวลา 28 นาที )

กลุ่ม 1

กลุ่ม 2

กลุ่ม 3

กลุ่ม 4

สาธิตจักรยาน สูบน้ำ (7 นาที)

ศึกษาเศรษฐกิจ พอเพียง (7 นาที)

ศึกษาเครื่อง ทำน้ำอุ่น (7นาที)

สาธิตผลิตภัณฑ์ จักสาน (7 นาที)

ใบงาน เศรษฐกิจ พอเพียง

รวมกลุ่ม ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง สรุปงานแลกเปลี่ยนความรู้ทำใบงาน ให้ความดี 10 ความดี (เวลา 8 นาที)

เยาวชนกล่าวขอบคุณ วิทยากร (2 นาที )

75


ใบงาน ฐานเรียนรู้ 6 ‘คนดี มีความพอเพียง’ ชื่อ-สกุล ...............................................................................................

กลุ่มสี ................................................................................................... คำชี้แจง ให้ผู้เรียนรู้ศึกษาความรู้ในฐานเรียนรู้ที่ 6 ‘คนดีมีความ

พอเพียง’ โดยตอบคำถามดังต่อไปนี้ (20 ความดี) 1. จักรยานสูบน้ำ ประโยชน์/การนำไปใช้................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. 2. เครื่องทำน้ำอุ่นจากปุ๋ยหมัก ประโยชน์/การนำไปใช้................................................................. .............................................................................................................. .............................................................................................................. 3. ยกตัวอย่างพืชผักสวนครัว (ภายในฐานการเรียนรู้) 1) ................................................................................................ 2) ................................................................................................ 3) ................................................................................................ 4) ................................................................................................ 5) ................................................................................................ 4. ยกตัวอย่างผลิตภัณฑ์งานจักสาน (ภายในฐานการเรียนรู้) 1) ................................................................................................ 2) ................................................................................................ 3) ................................................................................................ 4) ................................................................................................ 5) ................................................................................................ 77 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

77


~7~ ฐานเรียนรู้

‘อุ้ยสอนหลาน แป๋งก๋วย ห่อเทียน’

1. แนวคิด

ชาวบ้านในหมู่บ้านและกลุ่มผู้สูงอายุที่ตระหนักถึงคุณค่าของ

ภูมิปัญญาของคนในอดีต จึงได้รวมตัวกันใช้เวลาว่างเพื่อถ่ายทอด ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม รวมถึงวิธีการทำก๋วยสลาก วิธีการทำ ขนมเทียน การจักสานต่างๆ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ประวัติ ประเพณี และสามารถสืบทอดต่อไป

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง ทราบถึงวัฒนธรรมดั้งเดิมที่สืบทอดต่อกันมา

77 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


2.2 ครอบครัว ส่งเสริมให้คนในครอบครัวเกิดความเข้าใจกัน มากขึ้น 2.3 ชุมชน สร้างความรักความสามัคคีขึ้นในชุมชนจากกิจกรรม ที่ทำร่วมกันในชุมชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้ความเป็นมาและแนวคิดของ ‘อุ้ยสอนหลาน แป๋งก๋วย ห่อเทียน’ 3.2 การดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม 3.3 สรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซักถามข้อสงสัย และตอบ ปัญหา

4. วิทยากร

นายวัชระ ฉลองแดน นายธีรศักดิ์ จันทร์กันธรรม นายสมพล ปวงแก้ว นายถนอม พรมสิทธิ์ นายมนัส แก้วบุญปั๋น นางฟองรัตน์ คำเขียว นางวัน จันต๊ะภา นางแก้ว สมปาน นางสว่าง คำวัง นางขัน จันต๊ะภา

5. สถานที่

ห้องประชุม วัดศรีเมืองมูล หมู่ที่ 8 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

79


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘อุ้ยสอนหลาน แปงก๋วย ห่อเทียน’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 30 ความดี

เข้าห้องประชุมโรงเรียนผู้สูงอายุ​ุ เตรียมความพร้อมเยาวชน ทำความรู้จักวิทยากร (5 นาที) ทีมกระบวนการแบ่งกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน

วิทยากรแนะนำตัว แนะนำฐาน อธิบายแนวคิดฐาน (5 นาที)

กิจกรรม ‘แป๋งก๋วย’ (30 นาที) รับ 10 ความดี กิจกรรม ‘ห่อเทียน’ (30 นาที) รับ 10 ความดี

สรุปงาน และใส่ขนมเทียนลงในก๋วย ให้สมบูรณ์ ให้ความดี 10 ความดี (เวลา 8 นาที)

88 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

เยาวชนกล่าวขอบคุณวิทยากร (2 นาที )

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

81



เ ม นู ที่ 4

‘วัฒนธรรมดี สร้างคนดี’ “....วัฒนธรรมคู่คนดีหัวง้ม....”


เมนูที่ 4 ‘วัฒนธรรมดี สร้างคนดี’ ประกอบด้วย 2 ฐานเรียนรู้ ดังนี้ 8) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี เรียนรู้วิถีทำแค่’ 9) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง’

แนวคิดเมนู

‘วัฒนธรรมดี สร้างคนดี’ เป็นเรื่องของการสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี ที่มาจากความเชื่อ และสะท้อนถึงวิถีชีวิตของคนล้านนา เพื่อสร้างการเรียนรู้ ความเข้าใจในประเพณี วัฒนธรรม และเผยแพร่ ให้เด็กและเยาวชนได้สืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามต่อไป เมนู ‘วัฒนธรรมดี สร้างคนดี’ มีที่มาจากการสืบสานประเพณี การ ‘แห่แค่’ ของตำบลหัวง้ม และการอนุรักษ์ดนตรีพื้นเมืองของ โรงเรียนบ้านหนองฮ่าง ประเพณี ‘แห่ แ ค่ ’ มี ขึ้ น เพื่ อ ระลึ ก ถึ ง สมั ย พุ ท ธกาล ขณะที่ พระพุทธเจ้าได้เร่งปฏิบัติธรรมอยู่ใต้ร่มไม้ในป่าแห่งหนึ่ง ได้เกิดฝนตก ลงมาทำให้พระพุทธองค์เปียกฝน พอดีมีนายพรานเดินทางผ่านมา จึง ได้หาไม้มาสุมไฟ เพื่อช่วยให้พระพุทธเจ้าคลายจากความหนาวเย็น ร่างกายจะได้อบอุ่น เพื่อจะได้ปฏิบัติธรรมสะดวกสบายยิ่งขึ้น ต่อมา ชาวบ้านที่มาเฝ้าพระพุทธเจ้าในยามค่ำคืนก็จะหาไม้เล็กๆ มามัด

รวมกัน และได้จุดไฟเพื่อสร้างความอบอุ่นจนกระทั่งไม้มอดหมดไป ในสมัยต่อๆ มา วัดต่างๆ จึงได้ถือเอาวันเพ็ญเดือน 12 หรือ

ยี่ เป็ ง เป็ น วั น ป๋ า เวณี จุ ด แค่ และพั ฒ นารู ป แบบต่ า งๆ โดยมี ก าร ประกวดความสวยงามของแค่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างความ สามัคคี และการรู้จักทำงานร่วมกันของคนในชุมชน และ 2) เพื่อร่วม อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามให้อยู่คู่กับศาสนา และชุมชนให้คง อยู่สืบไป

88 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


เส้นทางการพัฒนา

พ.ศ.2550 องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มได้จัดงานประเพณี

แห่แค่ของตำบลเพื่อระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พ.ศ.2553 เกิ ด การรวมกลุ่ ม ดนตรี ไ ทยพื้ น เมื อ งในโรงเรี ย น

หนองฮ่าง ที่มีปราชญ์ทางด้านดนตรีพื้นเมืองอยู่ในชุมชนและได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดการเล่นดนตรีให้เด็กนักเรียน จนกระทั่ง สามารถเข้าร่วมการแข่งขันดนตรีพื้นเมืองระดับภาค ประเภทซออู้ จังหวัดเชียงราย และได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน พ.ศ.2554 คัดสรรหาวิทยากรต่างท้องถิ่นมาสอนและบรรยาย และเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางด้านดนตรีพื้นเมือง ได้รับรางวัล เหรียญทองระดับกลุ่ม (อำเภอ) และรางวัลเหรียญเงินระดับเขตของ จังหวัดเชียงราย พ.ศ.2555 เข้าร่วมการแข่งขันดนตรีพื้นเมือง จนได้รับรางวัล เหรียญทองระดับกลุ่ม (อำเภอ) เหรียญทองแดง ระดับเขต จังหวัด เชียงราย

กิจกรรมการเรียนรู้ เมนู ‘วัฒนธรรมดี สร้างคนดี’

1. นำใช้ข้อมูลความรู้ด้านวัฒนธรรมประเพณีที่มีอยู่ เผยแพร่ไป สู่กลุ่มเยาวชนที่สนใจในการทำแค่ เพื่อเป็นการสืบสานวัฒนธรรมของ ชาวล้านนาสู่คนรุ่นหลัง 2. การพัฒนาการเรียนรูโ้ ดยสอนวิธกี ารทำแค่ ด้วยการให้เยาวชน ทดลองปฏิบัติจริง 3. การเผยแพร่ความรู้เรื่องของเครื่องดนตรีพื้นเมือง เพื่อให้เด็ก และเยาวชนได้เรียนรู้และร่วมสืบสานด้านดนตรี 4. การถ่ายทอดวิธีการใช้เครื่องดนตรีพื้นเมืองแต่ละประเภท

85


จากแนวคิด เส้นทางการพัฒนา และกิจกรรมของเมนูการเรียนรู้ ได้รับการพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้จำนวน 2 ฐาน คือ 1) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี เรียนรู้วิถีทำแค่’ และ 2) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง’ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

88 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~8~ ฐานเรียนรู้

‘คนดี เรียนรู้วิถีทำแค่’ 1. แนวคิด

การจัดงานประเพณีแห่แค่ของตำบลหัวง้ม เพือ่ สืบสานวัฒนธรรม ดั้งเดิมให้คงอยู่ ในสมัยล้านนาโบราณ ชาวบ้านได้กำหนดให้มีพิธีการ แห่แค่ไม้ไผ่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดแล้วจุดถวายเป็นพุทธบูชา ในวันยีเ่ ป็ง หรือวันเพ็ญเดือน 12 อันเป็นพิธีหนึ่งในวันลอยกระทง กล่าวคือ ใน ตอนเช้าตรู่ของวันยี่เป็ง วัดทุกวัดจะมีการเทศน์มหาชาติ ตอนสายจะ มีการทำบุญตักบาตร และในตอนกลางคืนชาวบ้านจะจัดทำต้นแค่ โดยจะช่วยกันประดับตกแต่งด้วยโคมไฟหรือสิ่งต่างๆ อย่างสวยงาม แล้วตั้งขบวนแห่กันไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา ต่อจากนั้นก็จะ จุดไฟที่ต้นแค่ให้ลุกสว่างไสวไปทั่วบริเวณวัดเพื่อเป็นพุทธบูชา แล้วจึง ไปลอยกระทงเพื่อบูชาพระแม่คงคาและปล่อยเคราะห์กรรมต่างๆ ให้ ล่องลอยไปตามแม่น้ำ 87


2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง ได้เรียนรู้ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิม 2.2 ครอบครัว เด็กและเยาวชนได้ร่วมทำแค่กับครอบครัว เพื่อ นำไปร่วมกิจกรรมในวันงานประเพณียี่เป็ง สร้างครอบครัวอบอุ่น 2.3 ชุมชน เด็กและเยาวชนได้ร่วมกิจกรรมและเรียนรู้กับชุมชน ในการทำแค่ และร่วมกิจกรรมการประกวดแค่ระดับหมู่บ้าน ระดับ ตำบล และระดับอำเภอ

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้แนวคิดของฐานเรียนรู้ ‘คนดี เรียนรู้วิถีทำแค่’ 3.2 ฝึกปฏิบตั จิ ริงโดยให้ผเู้ รียนรูม้ สี ว่ นร่วมทุกกระบวนการเกีย่ วกับ การทำแค่ ประกอบด้วย การตัดไม้ไผ่ การทำฐานแค่ และการประดับ ตกแต่งให้สวยงาม 3.3 นำเสนอผลงานของกลุ่ม โดยตัวแทนกลุ่ม สรุปผลการเรียนรู้ การนำไปปรับใช้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

4. วิทยากร

พระครูสมุห์เบ็ญ อรุโณ นายประมวล ปริวรรณา นายสะอาด ฟักฟอง นายประจวบ เทพวงศ์ นายกระชุ่ม ปันธรรม นายปั๋น แก้วดา นายต๋า อินต๊ะวงค์ นายณรงค์ ชำนาญยา นายอุดม สุขแปง นางสมศรี ฟักฟอง นางสม สุภากุล

88 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


นางศิริกร จันแปงเงิน นางสมบัติ น่วมจิต นางกิ่งกาจน์ สุขแปง นางทองมา ไชยะ นางสุณีพันธ์ ไชยะ นางสมเพชร ยินดี นางแอ๋ม มหิทธิ

วัดป่าคา หมู่ 2 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

5. สถานที่

89


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘คนดี เรียนรู้ วิถีทำแค่’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี

ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี (2 นาที) วิทยากรกล่าว ต้อนรับ (3 นาที)

วิทยากรกล่าวความเป็นมาของแค่ และวิธีทำแค่ (10 นาที)

ให้ 10 ความดี (เวลา 30 นาที)

กลุ่ม 1

กลุ่ม 2

กลุ่ม 3

กลุ่ม 4

ตัดไม้ไผ่

ทำฐานแค่

ตัดกระดาษ

ตกแต่งแค่ ด้วยกระดาษสี

วิทยากรดูผลงาน / ให้เยาวชนทำกิจกรรม ให้ 10 ความดี

สรุปงาน (3 นาที)

99 |

สรุปและเยาวชนกล่าวขอบคุณ วิทยากร (2 นาที )


บันทึกการเรียนรู้

91


~9~ ฐานเรียนรู้

‘คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง’

1. แนวคิด

วงดนตรี พื้ น เมื อ ง สะล้ อ ซอซึ ง มี ค วามหมายสำคั ญ ต่ อ ชี วิ ต

คนล้านนามาแต่โบราณ เป็นเอกลักษณ์ที่แสดงออกซึ่งนิสัยใจคอของ คนล้านนาว่าเป็นคนอ่อนหวาน นุ่มนวล สุขุมและเยือกเย็น จะสังเกต ได้ว่าดนตรีของภาคเหนือมีจังหวะช้าๆ อ่อนหวาน นอกจากนั้นดนตรี พื้นเมือง ยังเป็นจุดรวมทางด้านจิตใจของคนชนบท ในช่วงของการ

พักผ่อนหย่อนคลายความเหน็ดเหนื่อยจากการทำไร่ทำนา แล้วมาร่วม กันร้องรำทำเพลง เกิดบรรยากาศที่สนุกสนาน เกิดความเข้าใจอันดี ต่อกัน เป็นผลให้เกิดความสามัคคีพร้อมเพรียงในกลุ่มคณะ อยู่กัน อย่างพี่น้องมีน้ำใจไมตรีต่อกัน ส่งผลถึงนิสัยใจคอของคนล้านนาว่า เป็นคนยิ้มแย้มแจ่มใส มีน้ำใจและรู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน จึง ถือได้ว่า การเล่นดนตรีล้านนาเป็นการพัฒนาทักษะทางด้านอารมณ์ 99 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


และจิตใจ ให้มีความสงบ และสะท้อนวิถีชีวิตของคนในสมัยก่อนได้ เป็นอย่างดี

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ตนเอง ได้เรียนรู้ประเพณีวัฒนธรรมดนตรีพื้นเมือง 2.2 ครอบครัว ช่วยสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างใน การเรียนดนตรีพื้นเมือง 2.3 ชุมชน ช่วยลดปัญหาทางสังคมของเด็กและเยาวชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 บรรยาย แนวคิดและความเป็นมาของดนตรีพื้นเมือง 3.2 สาธิต วิทยากรสาธิตการเล่นดนตรีพื้นเมืองประเภทต่างๆ 3.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิทยากรและเยาวชนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับเครื่องดนตรี 3.4 ฝึกปฏิบัติ เยาวชนร่วมร้องเพลงตามเสียงดนตรี และทำท่า ประกอบเพลง

4. วิทยากร

นายชัย สันกว๊าน นายภูศักดิ์ สมส่วน นางนิภา บุญเลิศ นางอรญา สุขมาก นายสุพจน์ เงินแก้ว นางสมพร สุขแปลง เด็กชายอนุชา จันทร์กันธรรม เด็กชายพงศกร แสนมูล เด็กชายคมสันต์ ตันผัด เด็กชายวีระพงษ์ เตจ๊ะน้อย เด็กชายพีระพัทธ โกศลเจริญพันธุ์

93


เด็กหญิงวชิราภรณ์ ตาแก้ว เด็กหญิงขวัญจิรา อินต๊ะกอก เด็กหญิงวาสนา คล่องแคล่ว

5. สถานที่

โรงเรี ย นหนองฮ่ า ง หมู่ 4 ตำบลหั ว ง้ ม อำเภอพาน จั ง หวั ด เชียงราย

99 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


‘คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี

ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี (2 นาที)

95


ใบงาน ฐาน ‘คนดี มีความรู้ คู่ดนตรีพื้นเมือง’ ชื่อ-สกุล ...............................................................................................

กลุ่มสี ...................................................................................................

ให้วาดภาพเครื่องดนตรีพื้นเมืองและตอบคำถามเกี่ยวกับเครื่อง ดนตรีชนิดนั้นๆ ข้อละ 2 ความดี (รวม 10 ความดี) ซึง

1) ทำมาจาก .............................................................................. 2) มีกี่สาย …………...……………………………………………… 3) วิธีการเล่น .........................................................................….

กลอง 1) ทำมาจาก .............................................................................. เต่งทึ้ง 2) ใช้อะไรตี……………....………………………………………….. 3) วิธกี ารเล่น .........................................................................….

99 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


สะล้อ 1) ทำมาจาก .............................................................................. 2) อุปกรณ์มีกี่อย่าง.…….......…………………………………….… 3) วิธกี ารเล่น...............................................................................

ขลุ่ย 1) ทำมาจาก .............................................................................. 2) มีกี่รู…………...…………………………………………………... 3) วิธกี ารเล่น...............................................................................

ฉิ่ง

1) ทำมาจาก .............................................................................. 2) เป็นเครื่องดนตรีชนิดใด…………………………………............ 3) วิธีการเล่น...............................................................................


บันทึกการเรียนรู้

99 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


เ ม นู ที่ 5

‘คนดี มีอาชีพ’ “...อาชีพดี รายได้ดี ชีวีมีสุข...”


เมนูที่ 5 ‘คนดี มีอาชีพ’ ประกอบด้วย 3 ฐานเรียนรู้ ดังนี้ 10) ฐานเรียนรู้ ‘ตุงมงคล สร้างชีวิตดี’ 11) ฐานเรียนรู้ ‘ปลานิล กินแล้วดี’ 12) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’

แนวคิดเมนู

การพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ ชุ ม ชน คื อ การ พัฒนาคุณภาพชีวิตและสมรรถนะของคนในชุมชนให้สามารถปรับตัว และดำรงอยู่ได้ในกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม ในตำบลหัวง้ม คนในชุมชนมีความคิดริเริ่มที่จะบริหารจัดการ ระบบเศรษฐกิ จ ในชุ ม ชนของตนเอง โดยการรวมกลุ่ ม กั น เพื่ อ ผลิ ต จำหน่าย และเพิ่มมูลค่าของสินค้าในชุมชน อาศัยกลไกการมีส่วนร่วม ผ่านการจัดเวทีประชาคม การศึกษาดูงาน แล้วนำมาปรับใช้ในการ ปฏิบัติจริง มีการเผยแพร่และต่อยอดองค์ความรู้ ก่อเกิดรายได้ใน ชุมชน ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป

เส้นทางการพัฒนา

พ.ศ.2539 จากการถูกพ่อค้าคนกลางเอารัดเอาเปรียบในเรื่อง ราคาปลา อาหารปลาราคาแพง จึ ง เข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก กั บ ชมรม ปลาทอง อำเภอพาน เพื่อรวมตัวต่อรองกับพ่อค้า ซึ่งในขณะนั้นมี สมาชิกจำนวนกว่า 30 ราย พ.ศ.2543 กลุ่มผู้เฒ่าผู้แก่ของอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ได้ ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมทางภาคเหนือให้กับประชากรของหมู่บ้านกู่สูง หมู่ที่ 10 โดยการทำตุงผ้าโปร่งลูกไม้ เป็นตุงจำพวก ปอยหลวง ตุงสิบ สองนักษัตร และตุงหัวคน ที่ใช้ในพิธีและเทศกาลต่างๆ หมู่บ้านกู่สูง จึงกลายเป็นแหล่งผลิตตุงและถ่ายทอดศิลปะพื้นบ้านจากรุ่นสู่รุ่น 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


พ.ศ.2543 เกิดวิสาหกิจชุมชนในหมู่บ้านสันปลาดุก จากอาชีพ เพาะเห็ดในครัวเรือนที่ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้น พ.ศ.2544 เกิดโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบล โดย ทาง อบต.หัวง้ม ได้จัดสรรงบให้กลุ่มตุงมงคลกู่สูง จำนวน 440,000 บาท เพื่อใช้ในการสร้างอาคารสถานที่ ณ วัดหนองฮ่าง และซื้อวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือในการทำตุง พ.ศ.2545 กลุ่มเพาะเห็ดได้รับการสนับสนุนเงินกระตุ้นเศรษฐกิจ ชุ ม ชนในการจั ด ซื้ อ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการเพาะเห็ ด เป็ น จำนวนเงิ น 136,000 บาท มีการสร้างโรงเพาะเห็ด แบ่งให้สมาชิกเก็บเห็ดออกขาย นำไปสู่การดำเนินกิจกรรมกลุ่มที่มีการพึ่งพาอาศัยกันแทนการดำเนิน กิ จ กรรมแบบปั จ เจกบุ ค คล มี ก ารรวมหุ้ น ในรู ป แบบการออมวั น ละ

1 บาท เพื่อสร้างเป็นกองทุนให้สมาชิกกู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ำ พ.ศ.2545 กลุ่ ม ตุ ง มงคลบ้ า นกู่ สู ง มี แ นวคิ ด ในการสร้ า ง

ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีขนาดเล็ก ส่งผลให้สามารถกระจายสินค้าไปยัง สถานที่สำคัญๆ ของจังหวัดเชียงราย เช่น วัดร่องขุ่น อนุสาวรีย์พ่อ

ขุนเม็งราย ฯลฯ ทำให้กลุ่มผู้ผลิตมีรายได้จากการจำหน่ายเพิ่มมากขึ้น พ.ศ.2548 องค์การบริหารส่วนตำบลหัวง้มเล็งเห็นความสำคัญ ของผลิตภัณฑ์ตุง จึงได้จัดสรรงบประมาณในการทำบรรจุภัณฑ์ให้

ทันสมัยและสะดุดตา โดยมีประวัติย่อไว้ให้ผู้คนทั่วไปได้รู้ถึงความเป็นมา พ.ศ.2554 มีการอบรมและพัฒนาการทำตุงด้วยวัสดุอุปกรณ์ ต่างๆ และรับคำแนะนำจากกรมการส่งเสริมฝีมือแรงงาน ทำให้เกิด ผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อเป็นวัตถุมงคล คือ ตู้พระตุงเงินตุงทอง และส่งให้ เป็ น วั ต ถุ บู ช าตามสถานที่ แ ละวั ด ต่ า งๆ ทั้ ง ในจั ง หวั ด เชี ย งรายและ

จังหวัดอื่นๆ พ.ศ.2555 นายถวัลย์ ไชยปัญโญ (กำนัน) และคนในชุมชนได้ไป ศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง ไร่นาสวนผสมกับพื้นที่ต้นแบบ จากนั้นได้นำกลับมาปรับใช้ โดยมีการขุดบ่อเลี้ยงปลานิล มีการรวม กลุ่มอย่างไม่เป็นทางการในการเลี้ยงปลานิลเพื่อจำหน่าย มีการขยาย องค์ความรู้ให้แก่เพื่อนบ้าน และการรวมเป็นชมรมปลานิลพาน เพื่อ สร้างกลไกต่อรองแก่พ่อค้า นอกจากนี้ ยังมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ ให้แก่เด็กและเยาวชนในพื้นที่

101


พ.ศ.2556 เพื่อการแก้ไขปัญหาสถานที่ในการบรรจุก้อนเห็ดมี ขนาดเล็ก สถานที่คับแคบ รวมทั้งอุปกรณ์และโครงสร้างอาคารชำรุด จึงอยู่ระหว่างการนำเสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจัด สร้างอาคารหลังใหม่

กิจกรรมการเรียนรู้ เมนู ‘คนดี มีอาชีพ’

1. นำใช้ข้อมูลความรู้ด้านวัฒนธรรมประเพณีที่มีอยู่ เผยแพร่ไป สู่กลุ่มเยาวชนที่สนใจในการทำตุง เพื่อเป็นการสืบสานวัฒนธรรมของ ชาวล้านนา 2. การพัฒนาการเรียนรู้ โดยศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการ แปลงวัฒนธรรมเพื่อสร้างเป็นรายได้ ตลอดจนช่องทางจำหน่ายตุง 3. เรียนรู้วิถีและวงจรเศรษฐกิจของการเลี้ยงปลานิล 4 เรียนรู้วงจรการเพราะเห็ด ผ่านการสาธิตและปฏิบัติ จากแนวคิด เส้นทางการพัฒนา และกิจกรรมของเมนูการเรียนรู้ ได้รับการพัฒนาเป็นฐานเรียนรู้จำนวน 3 ฐาน คือ 1) ฐานเรียนรู้ ‘ตุงมงคล สร้างชีวิตดี’ 2) ฐานเรียนรู้ ‘ปลานิล กินแล้วดี’ 3) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~10~ ฐานเรียนรู้

‘ตุงมงคล สร้างชีวิตดี’ 1. แนวคิด

หมูบ่ า้ นกูส่ งู ได้ทำตุงกันมาตัง้ แต่สมัยผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ แต่ตงุ ทีจ่ ดั ทำนัน้ เป็นตุงผ้าโปร่งลูกไม้ เป็นตุงตัวใหญ่ จำพวก ตุงปอยหลวง ตุงสิบสอง ราศี และตุงหัวคน เพื่อใช้ในงานเทศกาลต่างๆ จึงมีแนวคิดว่า น่าจะ ทำเป็ นของฝากเพื่ อ สร้ า งตลาดใหม่ แ ละเพิ่ ม รายได้ จึ ง ได้ ร่ ว มกั น ออกแบบตุงมงคลที่มีขนาดกะทัดรัดที่ผู้พบเห็นสามารถซื้อเป็นของ ฝากได้ ผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่นี้ทำให้สมาชิกมีรายได้เพิ่ม ขึ้นประมาณ 3,000-10,000 บาทต่อเดือน ปัจจุบันกลุ่มตุงบ้านกู่สูง มี สมาชิกจำนวน 35 คน ประกอบด้วยกลุ่มแม่บ้าน ผู้สูงอายุ คนพิการ ผูต้ ดิ เชือ้ เด็กและเยาวชน ผลิตภัณฑ์ของกลุม่ ยังทำให้เกิดการช่วยเหลือ เกื้อกูลของคนในตำบล สร้างการมีส่วนร่วมในครอบครัว และบางคน การทำตุ ง มงคลยั ง ได้ ก ลายเป็ น อาชี พ หลั ก เพื่ อ สร้ า งรายได้ ให้ กั บ ครอบครัวอีกด้วย

103


2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 เกิดการเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ 2.2 เกิดทักษะในการทำงาน 2.3 เกิดกลุ่มที่เข้มแข็ง มีสุขภาพจิตดี 2.4 ชุมชนมีอาชีพเสริม ครอบครัวมีรายได้ 2.5 เกิดกลุ่มที่เข้มแข็ง รักใคร่ กลมเกลียว - มีการสร้างงานแก่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส - มีการนำวัสดุในท้องถิ่นมาใช้

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 กล่าวต้อนรับ และการนำเข้าสู่การเรียนรู้การทำตุงมงคล 3.2 บรรยายขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม 3.3 สาธิตการประดิษฐ์ตุงพร้อมกับฝึกปฏิบัติจริง ได้แก่ ย่าม ตุง หัวคน ตุงไส้หมู 3.4 สรุปผลเรียนรู้เชิงปฏิบัติการ และคติที่แฝงในกิจกรรม

4. วิทยากร

นางนิตยา ใจเที่ยง นางศรศรี ใจเปี้ย นางลำดวน โพธิยอด นางสุทธิพร เครือฝั้น นางมาลี จิตนารินทร์ นางสายทอง ถาติ๊บ นางศิราณี โพธิยอด นางบัวเร็ว ตาแก้ว นางนิตยา กาบมูล นางปาริชาติ โพธิยอด

5. สถานที่

อาคารฝึกอาชีพ วัดกูส่ งู หมู่ 10 บ้านกูส่ งู ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


‘ตุงมงคล สร้างชีวิตดี’ ระยะเวลา 50 60 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี

วิทยากรอธิบายกิจกรรม ‘ตุงมงคล สร้างชีวิตดี’ (35 นาที)

กลุ่มละ 20 คน

สรุปกิจกรรม ประเมินให้ความดี *เกณฑ์ให้ความดี ผลิตผลงาน 3 ชิ้น รับความดี 20 ความดี (5 นาที)

105


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~11~ ฐานเรียนรู้

‘ปลานิล กินแล้วดี’ 1. แนวคิด

เกษตรกรในตำบลหัวง้ม มักจะมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ ด้วยเหตุนี้ปศุสัตว์อำเภอจึงได้ส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงปลานิลเพื่อ เป็นอาชีพเสริม โดยได้จัดอบรมให้เกษตรกรที่สนใจ เกษตรกรตำบล หัวง้ม จึงได้ปรับเปลี่ยนการประกอบอาชีพจากการทำนาเพียงอย่าง เดียว และปรับพื้นที่เป็นบ่อปลาเพื่อใช้ในการเพาะเลี้ยงปลานิล อีกทั้ง ยังได้นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง การทำ ไร่นาสวนผสมของพื้นที่ต้นแบบมาปรับใช้กับพื้นที่อีกด้วย นอกจากนี้ ยังได้รวมกลุ่มผู้เลี้ยงปลานิลเพื่อจำหน่ายอย่างไม่เป็นทางการ เพื่อ สร้างกลไกในการต่อรองราคากับพ่อค้าคนกลาง และขยายองค์ความรู้ ให้แก่เพื่อนบ้าน ตลอดจนเด็กและเยาวชนในพื้นที่ เพื่อให้เด็กและ เยาวชนได้เกิดกระบวนการเรียนรูด้ า้ นการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ และ ปลูกฝังคุณธรรมในเรื่องความอดทน การใฝ่รู้ ให้แก่เด็กและเยาวชน

107


2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 เกิดแนวคิดในการประกอบอาชีพต่างๆ 2.2 เกิดการเรียนรู้ในการรวมกลุ่ม ความสามัคคี 2.3 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความขยัน อดทน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้แนวคิดของฐานเรียนรู้ ‘ปลานิล กินแล้วดี’ 3.2 แลกเปลีย่ นเรียนรูก้ จิ กรรมต่างๆ ของกลุม่ ‘ปลานิล กินแล้วดี’ พร้อมฝึกปฏิบตั กิ ารแปรรูปปลานิลเป็นอาหารในกิจกรรม ‘เมนูจานปลา’ 3.3 นำเสนอโดยตัวแทนกลุ่ม สรุปผลการเรียนรู้ การนำไปปรับ ใช้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

4. วิทยากร

นายถวัลย์ ไชยปัญโญ นายสมิง โท๊ะป๋า นายอำไพ อุโมงค์ นายปราณี ปราบจันทร์ดี นายยุทธกิจ พันธุ์อุโมงค์ นายตา แสนใจ นางลำดวน ณ อุโมงค์ นายถนอม จางเต็ม นางศิริพรรณ กันทา นางสายทอง มณีทิพย์

5. สถานที่

บ่อเลี้ยงปลานิลของกลุ่มสมาชิก หมู่ที่ 13 ตำบลหัวง้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘ปลานิล กินแล้วดี’ ระยะเวลา 40 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี

วิทยากรกล่าวต้อนรับ และแนะนำแหล่ง (3 นาที)

วิทยากรประจำแหล่งแนะนำบรรยาย / บัตรคำ (รูปภาพ) (2 นาที)

วิทยากรอธิบาย ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ‘ปลานิล กินแล้วดี’ บรรยายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้ บัตรคำ, ถามตอบ ในประเด็น ● ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปลานิล ● ป.ปลา คุณค่ามหาศาล (30 นาที) ทีมกระบวนการแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มย่อย กลุ่มละ 10 คน

กลุ่ม 1 ลักษณะ ของปลานิล ●

กลุ่ม 2

กลุ่ม 3

การแพร่ขยายพันธ์ุ

การเจริญเติบโต

กลุ่ม 4 เมนูจากปลา

สรุปกิจกรรม ประเมินให้ความดี จากการเผาปลา ความดี 20 ความดี (3 นาที)

เยาวชนกล่าวขอบคุณวิทยากร (2 นาที)

109


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


~12~ ฐานเรียนรู้

‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ 1. แนวคิด

จากการน้ อ มนำเอาหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน

พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ มาใช้ในการดำเนินงาน กลุ่มเพาะเห็ด บ้านสันปลาดุก จึงมีแนวคิดในการก่อตั้งกลุ่มเพื่อการ บริหารจัดการ และใช้วิธีระดมความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่มเพื่อหา วิธแี ก้ปญ ั หา แล้วจึงนำมาทดลองปฏิบตั จิ นกลายเป็นวิธกี ารทีเ่ หมาะสม จนกลุ่มเพาะเห็ดได้กลายเป็นอาชีพเสริมที่สร้างรายได้ให้กับครอบครัว

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่เด็กและเยาวชน 2.2 เด็กและเยาวชนในชุมชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และ มีรายได้เสริม 2.3 เกิดการสร้างและจ้างงานในชุมชน 111


2.4 เกิดอาชีพเสริม สร้างรายได้ และส่งเสริมการพึ่งพาตนเองใน ระดับครอบครัว 2.5 เกิดพื้นที่ทำกิจกรรม เสริมสร้างความสามัคคีในชุมชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้แนวคิดของฐานเรียนรู้ ‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ 3.2 สาธิตและฝึกปฏิบัติกระบวนการเรียนรู้ในกิจกรรม ‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ 3.3 นำเสนอโดยตัวแทนกลุ่ม สรุปผลการเรียนรู้ การนำไปปรับ ใช้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

4. วิทยากร

นายสุรศักดิ์ กันทา นายสุรินทร์ พยาราช นางกัลยา พรมตัน นางผ่องใส มอยนา นายสมคิด กันทา นายดวงจันทร์ พรหมตัน นางปรานอม กันทา นางจันทร์แก้ว อิมินา นางภัทรภร ยะหมื่น นายสุรสิทธิ์ กันทา

5. สถานที่

ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 5 บ้านสันปลาดุก ตำบลหัวง้ม อำเภอ พาน จังหวัดเชียงราย

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ ระยะเวลา 40 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี

ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี วิทยากรกล่าวต้อนรับ (5 นาที)

วิทยากรอธิบาย ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ‘คนดี ช่วยพี่เพาะเห็ด’ ‘พร้อมฝึกปฏิบัติ การเพาะเห็ดในถุงพลาสติก’ (5 นาที) ทีมกระบวนการแบ่งกลุม่ 4 กลุม่ ย่อยกลุม่ ละ10 คน ใช้เวลา (20 นาที)

กลุ่ม 1

กลุ่ม 2

กลุ่ม 3

กลุ่ม 4

ผสมขี้เลื่อยกับ สูตรอาหารและ ตรวจสอบความชื้น ● บรรจุถุงก้อนเชื้อ ● นำก้อนเชื้อ ไปนึ่งฆ่าเชื้อ และ ปิดปากถุง ● ใส่หัวเชื้อเห็ด ที่เพาะในเมล็ด ข้าวฟ่าง ในก้อนเชือ้ เห็ดและปิดปากถุง ● นำก้อนเชื้อที่ถ่าย เชื้อเสร็จแล้ว ไปบ่มโรงเรือน

ผสมขี้เลื่อยกับ สูตรอาหารและ ตรวจสอบความชื้น ● บรรจุถุงก้อนเชื้อ ● นำก้อนเชื้อ ไปนึ่งฆ่าเชื้อ และ ปิดปากถุง ● ใส่หัวเชื้อเห็ด ที่เพาะในเมล็ด ข้าวฟ่าง ในก้อนเชือ้ เห็ดและปิดปากถุง ● นำก้อนเชื้อที่ถ่าย เชื้อเสร็จแล้ว ไปบ่มโรงเรือน

ผสมขี้เลื่อยกับ สูตรอาหารและ ตรวจสอบความชื้น ● บรรจุถุงก้อนเชื้อ ● นำก้อนเชื้อ ไปนึ่งฆ่าเชื้อ และ ปิดปากถุง ● ใส่หัวเชื้อเห็ด ที่เพาะในเมล็ด ข้าวฟ่าง ในก้อนเชือ้ เห็ดและปิดปากถุง ● นำก้อนเชื้อที่ถ่าย เชื้อเสร็จแล้ว ไปบ่มโรงเรือน

ผสมขี้เลื่อยกับ สูตรอาหารและ ตรวจสอบความชื้น ● บรรจุถุงก้อนเชื้อ ● นำก้อนเชื้อ ไปนึ่งฆ่าเชื้อ และ ปิดปากถุง ● ใส่หัวเชื้อเห็ด ที่เพาะในเมล็ด ข้าวฟ่าง ในก้อนเชือ้ เห็ดและปิดปากถุง ● นำก้อนเชื้อที่ถ่าย เชื้อเสร็จแล้ว ไปบ่มโรงเรือน

สาธิตและฝึกปฏิบัติการเก็บและแปรรูปเห็ด รับ 20 ความดี (8 นาที)

เยาวชนกล่าวขอบคุณวิทยากร (2 นาที)

113


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


เ ม นู ที่ 6

‘คนดี สร้างชุมชน เข้มแข็ง’ “....เยาวชน คนดี รักสามัคคี สร้างชุมชนเข้มเข็ง....”

115


เมนูที่ 6 ‘คนดีสร้างชุมชนเข้มแข็ง’ ประกอบด้วย 3 ฐานเรียนรู้ ดังนี้ 13) ฐานเรียนรู้ ‘ควายดี มีเงินเดือน’ 14) ฐานเรียนรู้ ‘สามัคคีคือพลัง สร้างคนดี’ 15) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี ใส่ใจสิ่งแวดล้อม’

แนวคิดเมนู

การพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน จำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วม และ ความร่วมมือร่วมใจหรือความสามัคคีในชุมชน ดัง่ คำขวัญทีว่ า่ ‘สามัคคี คือพลัง’ อีกทั้งยังต้องให้ความสำคัญกับการถ่ายทอดองค์ความรู้ส่งต่อ ให้เด็กและเยาวชน

เส้นทางการพัฒนา

พ.ศ.2544 เกิดการรวมกลุ่มของชาวบ้านผู้เลี้ยงควายไว้ใช้ในการ ทำนาเป็นครั้งแรก เพื่อช่วยเหลือกันในการเลี้ยง เช่น ผลัดกันไปเลี้ยง ช่วยกันหาหญ้าให้ควาย พ.ศ.2549 มีสมาชิกบางรายได้แยกตัวออกไปจากกลุ่ม เนื่องจาก ไม่เห็นด้วยกับความคิดเห็นบางเรื่อง กลุ่มจึงค่อยๆ สลายไปเลี้ยง กันเองในแต่ละบ้าน พ.ศ.2553 เกิดน้ำท่วมในหมู่บ้านห้วยตุ้ม หมู่ 11 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ซึ่งมีลักษณะพื้นที่เป็นแอ่งกระทะ พ.ศ.2554 หลังจากที่ได้รับการสนับสนุนจากเกษตรอำเภอและ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น กลุ่มผู้เลี้ยงควายได้กลับมารวมกลุ่มกันอีก ครั้ง เป็นกลุ่มอนุรักษ์ควายพื้นเมือง และขยายกลุ่มเพิ่มสมาชิกมากขึ้น จากสมาชิกจำนวน 10 คน ขยายเป็น 17 คนในปัจจุบัน มีกิจกรรมที่ หลากหลายเพื่อเพิ่มรายได้และความร่วมมือกันในกลุ่ม เช่น การนำ ควายไปย่ำนาเมื่อเริ่มต้นฤดูกาลทำนา คิดค่าใช้จ่ายคืนละ 200 บาท การผลัดเวรกันพาควายไปเลี้ยงตามทุ่งนา การนำมูลควายมารวมกัน 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


การทำปุ๋ยหมักจากมูลควายออกจำหน่าย และทำบายศรีควายทุกๆ ปี ในช่วงหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวเพื่อเป็นการขอขมาควาย เริ่มรณรงค์การปลูกต้นไม้ โดยมีแกนนำในการปลูกป่า คือ พระ-

นิรันดร์ โดยไม้ที่ปลูกในพื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นไม้ยืนต้นที่ให้ร่มเงา เช่น ต้นมะค่า ต้นประดู่ ต้นสัก ฯลฯ

กิจกรรมการเรียนรู้ เมนู ‘คนดี สร้างชุมชนเข้มแข็ง’

1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องการอนุรักษ์ควาย และการใช้ ประโยชน์จากขี้ควาย 2. การบริหารจัดการธนาคารขี้ควาย 3. สาธิตการไถนาโดยใช้ควาย 4. เกมแข่งขันทำไข่ทองคำ 5. เกมปิดตาหาไข่ทองคำ 6. เกมตักขี้ควายฝากธนาคาร 7. วิธีการปลูกต้นไม้

117


จากแนวคิด เส้นทางการพัฒนา และกิจกรรมของเมนูการเรียนรู้ ก่อให้เกิดการพัฒนาฐานเรียนรู้ ‘คนดี สร้างชุมชนเข้มแข็ง’ ผ่านการ สร้างกระบวนการเรียนรู้ 3 ฐานเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) ฐานเรียนรู้ ‘ควายดี มีเงินเดือน’ 2) ฐานเรียนรู้ ‘สามัคคี คือพลังสร้างคนดี’ และ 3) ฐานเรียนรู้ ‘คนดี ใส่ใจสิ่งแวดล้อม’ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

119


~13~ ฐานเรียนรู้

‘ควายดี มีเงินเดือน’

1. แนวคิด

ปั จ จุ บั น เกษตรกรรมที่ ใช้ ค วายไถนาและการผลิ ต แบบเกษตร อินทรีย์ได้จางหายไป เปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรในการทำนาหรือที่เรียก กันว่า ‘ควายเหล็ก’ พร้อมไปกับปุ๋ยเคมีที่เข้ามาแทนที่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ย อิ นทรี ย์ แต่ ยั ง มี ช าวบ้ า นอี ก จำนวนหนึ่ ง ที่ ยั ง เลี้ ย งควายเพื่ อ ใช้ ใ น การเกษตรอยู่ และได้ชักชวนกันจัดตั้ง ‘กลุ่มอนุรักษ์ควายพื้นเมือง’ บ้านดงเจริญ เพื่อนำมาใช้ในการทำนาและผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขี้ควาย นอกจากนี้ยังเป็นช่องทางสร้างรายได้เสริม ด้วยการนำควายที่ เลี้ยงไปรวมกันในนา เพื่อให้ควายได้เหยียบย่ำในนา ขับถ่ายกลายเป็น ปุ๋ยอินทรีย์อย่างดี ทำให้ผลผลิตที่ได้มากกว่าพื้นที่นาที่ใช้สารเคมี โดย แต่ละครั้งที่นำควายไปอยู่ในนา สมาชิกจะได้รับเงินคืนละ 200 บาท อีกทัง้ ยังสร้างรายได้จากธนาคารขีค้ วาย โดยให้สมาชิกนำขีค้ วาย 1 ถุง มาฝากธนาคารทุกเดือน เมื่อได้จำนวนที่มากพอ ธนาคารขี้ควายก็จะ นำออกขายให้กับผู้ที่สนใจเพื่อนำไปใช้เป็นปุ๋ยอินทรีย์ ลดต้นทุนในการ ทำการเกษตรกรรม 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


2. สิ่งที่ ได้จาการทำดี

2.1 ตนเอง มีทักษะในการผลิตปุ๋ยจากมูลควายและใช้ประโยชน์ จากของเสียนำมาสร้างมูลค่า 2.2 ครอบครัว สร้างรายได้ช่วยเหลือครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน 2.3 ชุมชน เกิดการรวมกลุ่มสร้างรายได้ในชุมชนเกิดเป็นแหล่ง เรียนรู้ด้านวัฒนธรรมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เรียนรู้แนวคิดของฐานเรียนรู้ ‘ควายดี มีเงินเดือน’ 3.2 เรียนรู้กิจกรรมการอนุรักษ์ควาย และการใช้ประโยชน์จากขี้ ควายของกลุ่มอนุรักษ์ควายบ้านดงเจริญพร้อมฝึกปฏิบัติการโดยจัด กระบวนการให้ผู้เรียนรู้มีส่วนร่วมในการสาธิตไถนาโดยใช้ควาย และ การฝึกปฏิบัติทำไข่ทองคำจากขี้ควาย 3.3 นำเสนอโดยตัวแทนกลุ่ม สรุปผลการเรียนรู้ การนำไปปรับ ใช้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

4. วิทยากร

นายตั๋น กองเขียว นายเมฆ แสนเพชร นายประสิทธิ์ ก๋าซ้อน นายณเรศ คำมูล นายมงคล ธรรมอุโมงค์ นายสุนทร คำมูล นางสายพิน คำมูล นายช่วย สิทธิคำ นายข่ายแก้ว ธรรมอุโมงค์ นายแก้ว ปาสำลี

5. สถานที่

วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

121


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘ควายดี มีเงินเดือน’ ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 20 ความดี

ตัวแทนเยาวชน แนะนำตัว/กลุ่มสี วิทยากรกล่าวต้อนรับ (5 นาที)

แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม (วิทยากรกระบวนการ) วิทยากรแนะนำสมาชิกให้ความรู้เรื่องควายดี มีเงินเดือนและประโยชน์จากขี้ควาย (10 นาที)

เวียนฐาน

กิจกรรมปั้นไข่ทองคำ รับ 10 ความดี (15 นาที)

กิจกรรมไถนา รับ 10 ความดี (15 นาที)

สรุปกิจกรรม (เวลา 3 นาที)

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

เยาวชนกล่าวขอบคุณ วิทยากร (2 นาที ) ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

123


~14~ ฐานเรียนรู้

‘สามัคคีคือพลัง สร้างคนดี’ 1. แนวคิด

เด็ ก และเยาวชนมี ล านกิ จ กรรมด้ า นวั ฒ นธรรมภู มิ ปั ญ ญา

เพื่อเพิ่มศักยภาพ ทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต รวมไปถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามบริบท พืน้ ที่ และเพือ่ ให้เกิดความสามัคคี ซึง่ มีดว้ ยกัน 2 ประการ คือ 1) ความ สามัคคีทางกาย ได้แก่ การร่วมแรงร่วมใจกันในการทำงาน และ

2) ความสามั ค คี ท างใจ ได้ แ ก่ การร่ ว มประชุ ม ปรึ ก ษาหารื อ เพื่ อ

แก้ปัญหา

2. สิ่งที่ ได้รับจากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง ร่วมกิจกรรมของชุมชนและหมู่คณะ ทำให้เข้าใจ และเห็นความสำคัญของการทำงานเป็นทีม 2.2 ครอบครัว สามารถนำความรู้จากกิจกรรมไปช่วยพ่อแม่ได้ 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


2.3 ชุมชน สามารถต่อยอดการทำงาน และกลายเป็นกำลังหลัก ในการสืบสานงาน สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนต่อไป

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 ฐานเรียนรู้ ‘ปิดตาหาไข่ทองคำ’ 3.2 ฐานเรียนรู้ ‘ตักขี้ควายฝากธนาคาร’ 3.3 ฐานเรียนรู้ ‘โยนขี้ควาย’

4. วิทยากร

นายตั๋น กองเขียว นายเมฆ แสนเพชร นายประสิทธิ์ ก๋าซ้อน นายณเรศ คำมูล นายมงคล ธรรมอุโมงค์ นายสุนทร คำมูล นางสายพิน คำมูล นายช่วย สิทธิคำ นายข่ายแก้ว ธรรมอุโมงค์ นายแก้ว ปาสำลี

5. สถานที่

วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

125


กิจกรรมฐานเรียนรู้:

‘สามัคคีคือพลัง สร้างคนดี ’ แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คนใช้เวลา (5 นาที)

ระยะเวลา 50 นาที ความดีที่ได้รับ 30 ความดี

แบ่งกลุ่มย่อย 4 กลุ่ม (วิทยากรกระบวนการ) กิจกรรมปิดตาหาไข่ทองคำ รับ 10 ความดี (15 นาที)

ตักขี้ควายฝากธนาคารรับ 10 ความดี (10 นาที)

โยนขี้ควายรับ 10 ความดี (10 นาที)

สรุปกิจกรรมให้ใบงานแก่เยาวชน (เวลา 7 นาที) ภารกิจต่อเนื่องปฏิบัติที่โฮมสเตย์ ปลูกต้นไม้รับ 15 ความดี

เยาวชนกล่าวขอบคุณ วิทยากร (3 นาที )

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกการเรียนรู้

127


~15~ ฐานเรียนรู้

‘คนดี ใส่ ใจสิ่งแวดล้อม’

1. แนวคิด

การส่งเสริมให้เยาวชนปลูกต้นไม้เพื่อลดภาวะโลกร้อน เป็นการ กระทำเพื่อส่วนรวม โดยได้แนวคิดมาจาก ‘โครงการปลูกต้นไม้ แด่

ผู้วายชนม์’ ของตำบลหัวง้ม ซึ่งทาง อบต.หัวง้ม ได้มอบต้นไม้มงคล เพื่อใช้ในการเคารพศพแทนพวงหรีด เป็นการสร้างขวัญกำลังใจให้กับ ญาติมิตรของผู้เสียชีวิต แล้วยังสามารถนำต้นไม้นั้นไปปลูกเพื่อระลึก ถึงคุณงามความดีของผู้เสียชีวิต ทำให้การเคารพศพมีความหมายและ มีประโยชน์มากกว่าการยกมือไหว้ศพอย่างเดียว อีกทั้งผู้อื่นยังสามารถ ได้รับประโยชน์จากต้น ดอก ผล ของต้นไม้ดังกล่าวด้วย

2. สิ่งที่ ได้รับจากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ลดปัญหา การติดยาเสพติด การมั่วสุม หรือกระทำความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น อีกทั้งยังเป็นตัวอย่างให้แก่ผู้อื่นนำไปปฏิบัติตาม 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


2.2 ชุมชน ทำให้ชุมชนหรือหมู่บ้านร่มเย็น เป็นการเพิ่มแหล่ง อาหารของสัตว์ต่างๆ ลดภาวะโลกร้อน ป้องกันการเกิดสภาวะเรือน กระจก ช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนของตนเอง สามารถป้องกัน หรือชะลอการไหลของน้ำที่ลงมาจากที่สูงหรือบนภูเขา ทำให้ปัญหา การเกิดอุทกภัย หรือน้ำท่วมน้อยลงได้

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 วิธีการและขั้นตอนการปลูกต้นไม้ 3.2 การปลูกต้นไม้

4. กิจกรรมการเรียนรู้

4.1 อธิบายเหตุผลของการปลูกต้นไม้ภายในบริเวณโบราณสถาน หรือสำนักสงฆ์ในปัจจุบัน 4.2 ทำความรู้จักกับพันธุ์ไม้ที่จะปลูก 4.3 อธิบายการปลูกต้นไม้ที่ถูกต้อง 4.4 แนะนำขั้นตอนในการปลูกต้นไม้อย่างถูกวิธี 4.5 แจกกล้าไม้เพื่อนำไปปลูกที่บ้านพัก

5. วิทยากร

5.1 นายเสถียร อุ่นแก้ว 5.2 นายนวิน อธิวันดี 5.3 นายทวีสิน อธิวันดี 5.4 นายณเรศ คำมูล 5.5 นายมงคล ธรรมอุโมงค์ 5.6 นายสุนทร คำมูล 5.7 นางสายพิน คำมูล 5.8 นายช่วย สิทธิคำ 129


5.9 นายข่ายแก้ว ธรรมอุโมงค์ 5.10 นายแก้ว ปาสำลี

6. สถานที่

วัดดงเจริญ หมู่ที่ 11 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย และบ้านพักโฮมสเตย์

7. เกณฑ์ความดีที่ ได้รับ

เกณฑ์การให้ความดี 1. การนำต้นไม้ไปปลูกที่บ้านพักโฮมสเตย์ อย่างถูกวิธี และถูกต้อง รวมความดีที่ได้รับ

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี

ความดี ที่ได้รับ 15 ความดี 15 ความดี


ใบรับรองจากโฮมสเตย์

วันที่..........เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2556 ข้าพเจ้า................................................................................................. บ้านเลขที่.............................................................................................. ขอรับรองว่า.............................................................ได้นำต้นไม้มาปลูก ที่บ้านพักโฮมสเตย์เป็นที่เรียบร้อยแล้วและได้นำดินหรือ ไข่ทองคำ ที่ ได้จากการทำกิจกรรม ฐานควายดี มีเงินเดือน และสามัคคีคือพลัง สร้างคนดี ดังนั้นจากภารกิจที่ได้รับมอบหมาย เห็นควรให้ได้รับความดี 15 ความดี เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายของ ฐานเรียนรู้ คนดีใส่ใจ สิ่งแวดล้อม ลงชื่อ.............................................................เจ้าบ้าน ลงชื่อ.............................................................พี่เลี้ยง

131


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี



ข้อมูลวิถีความดี Mock up แนวคิดหลักการ วิธีการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ เกณฑ์ความดีที่ ได้รับ และผลการเรียนรู้


ส่วนที่



วิ ถ ี ความดี Mock up ที่ 1 ‘พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน พัฒนาเยาวชนคนดี’


เมนูวิถีความดี Mock up ที่ 1 พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน พัฒนาเยาวชนคนดี แนวคิดเมนู

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และ ปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับ ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการพัฒนาและบริหารประเทศ เป็นปรัชญา ที่ชี้นำการดำเนินชีวิตในทางสายกลาง รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง ภายในภายนอก โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลก ยุคโลกาภิวัตน์ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดย เฉพาะกับเด็กและเยาวชนให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มคี วามรอบรูท้ เี่ หมาะสม ดำเนินชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพือ่ ให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และกว้ า งขวาง ทั้ ง ด้ า นวั ต ถุ สั ง คม

สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี ‘พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน’ จึงเป็นเมนูการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ ชุมชนได้นำใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงดังกล่าวมาเป็นพื้นฐานของ การดำเนินชีวิต ทั้งเพื่อการเลี้ยงชีพ และการนำทรัพยากรที่มีอยู่ใน พื้นที่มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ที่ ผ่ า นมากระบวนการเรี ย นรู้ ใ นเรื่ อ งพลั ง งานชุ ม ชน ได้ ถู ก ถ่ายทอดผ่านสือ่ ชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้เกิดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ประสบการณ์จนสามารถเกือ้ กูลระบบต่างๆ ในชุมชนได้อย่างเหมาะสม จนเกิดเป็นแหล่งเรียนรู้ต่างๆ 111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


การเรียนรู้ Mock up ‘พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน พัฒนาเยาวชน คนดี’ ตามแนวคิด ‘บ้านพอเพียง เรียนรู้ความดี วิถีชุมชนพึ่งตนเอง’ ประกอบด้วย 2 ฐานการเรียนรู้หลัก ดังนี้ (1) ฐานพลังงานชุมชน (บ่อหมักแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์ เตา

เผาถ่าน 200 ลิตร เตาย่างไร้ควัน เตาซุปเปอร์อั้งโล่เตาเศรษฐกิจ เตา แก๊สชีวมวลใช้แกลบ อาสาสมัครพลังงานชุมชน) (2) ฐานขยะทองคำ

กิจกรรมเมนูการเรียนรู้

1. ฐานพลังงานชุมชน (บ่อหมักแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์ เตาเผาถ่าน 200 ลิตร เตาย่าง ไร้คว ั น เตาซุ ป เปอร์ อั้ ง โล่ เตาเศรษฐกิ จ เตาแก๊ ส ชี ว มวลใช้ แ กลบ อาสาสมัครพลังงานชุมชน) เส้นทางการเรียนรู้ Mock up ฐานพลังงานชุมชน ประกอบด้วย 1.1 ชมคลิ ป พลั ง งานชุ ม ชน กรณี ตั ว อย่ า งในพื้ นที่ ต ำบลคลอง

น้ำไหล 1.2 เรียนรู้ ‘พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน’ บนเส้นทางการเรียนรู้ 7 ฐานกิจกรรมย่อย ประกอบด้วย (1) บ่อหมักแก๊สชีวภาพจากมูลสัตว์ (2) เตาเผาถ่าน 200 ลิตร (3) เตาย่างไร้ควัน (4) เตาซุปเปอร์อั้งโล่ (5) เตาเศรษฐกิจ (6) เตาแก๊สชีวมวลใช้แกลบ (7) อาสาสมัครพลังงานชุมชน 1.3 มีอะไรใน ‘บ่อหมักก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์’: วิธีการได้มาซึ่ง มูลสัตว์ ฟางข้าว, การผสมมูลสัตว์ ฟางข้าวกับน้ำหมัก และการนำมูล สัตว์ใส่ลงบ่อหมัก 1.4 ’น้ำหมักที่ได้มา นำไปใช้ทำอะไร’: การนำน้ำหมักและกาก จากการหมักไปใช้ในการพืชผักสวนครัว พืชเกษตร ไม้ผลและไม้ยืนต้น

139


1.5 ’คิด จด จำ คำนวณ’ จากบัญชีครัวเรือน สู่บัญชีพลังงาน 1.6 ออกแบบการจัดการพลังงานชุมชนเพื่อชุมชนของตนเอง 1.7 การจัดการพลังงานในระดับครอบครัว ชุมชน และตำบล 2. ฐานขยะทองคำ 2.1 การให้ความรู้เรื่องขยะ 2.2 การสร้างจิตอาสา (จักรยานสานฝัน) และธนาคารขยะ 2.3 ’ขยะแปลงร่าง’ การเพิ่มมูลค่าขยะเปียก (1) การทำจุลินทรีย์แห้ง (2) การทำน้ำหมักชีวภาพ 2.4’ขยะมีค่า ขยะคือทองคำ’: การคัดแยกขยะเพื่อเพิ่มมูลค่า จากแนวคิดกิจกรรมของการเรียนรู้ผ่าน Mock up ก่อให้เกิด การพัฒนาฐานการเรียนรู้ด้านการพลังงานชุมชน เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม ผ่านการเรียนรู้ 2 ฐานหลัก ของ ‘บ้านพอเพียง เรียนรู้ความดี วิถีชุมชนพึ่งตนเอง’ ได้แก่ 1) ฐานพลังงานชุมชน 2) ฐานขยะทองคำ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


การเรียนรู้ วิถีความดี Mock up 1

ฐาน ‘พลังงานชุมชน’ 1. แนวคิด

พลังงานชุมชนเพื่อชุมชน เพื่อเรียนรู้การผลิตพลังงานชุมชนจาก มูลสัตว์ แทนแก๊ส LPG ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในครัวเรือน ลดปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม และเป็ นการน้ อ มนำหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ

พอเพียงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

ระดับตนเอง สร้างความรู้ ทักษะในการพึ่งตนเอง การนำใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ สุขภาพกาย สุขภาพจิตดี รู้จัก ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดคุณค่า สร้างงาน สร้างอาชีพ และสามารถ พัฒนาตนเองให้เป็นวิทยากรและอาสาสมัครต้นแบบ ระดั บ ครอบครั ว ลดรายจ่ า ย เพิ่ ม รายได้ ใ ห้ ค รอบครั ว ลด

ความเสี่ยงการนำสารพิษสู่ร่างกาย ไม่ต้องไปหางานทำต่างจังหวัด 141


ระดับชุมชน ลดความขัดแย้งของคนในชุมชน เป็นแบบอย่างที่ดี ของคนชุ ม ชนในการนำไปปรั บ ใช้ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ข องชุ ม ชนที่

เชื่อมโยงสู่ภาคเกษตรกรรม เกิดการรวมกลุ่มและต่อยอด ขยายผล จนเกิดเป็นแบบอย่างของคนในและนอกชุมชน มีการสร้างงาน สร้าง อาชีพ สร้างความเป็นเครือข่าย และเป็นแบบอย่างการลดภาวะโลก ร้อน การประหยัดถ่าน การรักษาสุขภาพ

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 เยาวชนจัดเก็บข้อมูลการเลี้ยงสัตว์ของเจ้าของโฮมสเตย์ 3.2 เยาวชนนำมูลสัตว์ผสมน้ำลงหมักในบ่อหมัก 3.3 เยาวชนนำน้ำหมัก และกากที่ล้นออกจากการหมักไปใส่ใน พืชผักสวนครัว พืชเกษตร ไม้ผลและไม้ยนื ต้นอืน่ ๆ (กิจกรรมเศรษฐกิจ พอเพียง) 3.4 เยาวชนจดบัญชีครัวเรือนด้านพลังงาน 3.5 ออกแบบการจัดการพลังงานชุมชนเพื่อชุมชนของตนเอง

4. กิจกรรมการเรียนรู้ (30 นาที)

4.1 การจัดเก็บข้อมูลการเลี้ยงสัตว์ของชุมชน 4.2 การเก็บมูลสัตว์ผสมน้ำลงหมักในบ่อหมัก 4.3 การนำน้ำหมัก กากจากการหมักไปใช้ในพืชผักสวนครัว พืช เกษตร ไม้ผลและไม้ยืนต้นอื่นๆ 4.4 การจดบัญชีครัวเรือนด้านพลังงาน 4.5 ออกแบบการจัดการพลังงานชุมชน เพื่อชุมชนของตนเอง

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


5. วิทยากร

5.1 นายกสิวัฒน์ ไล้ทองคำ ภาพรวมกิจกรรมพลังงานของตำบลคลองน้ำไหล อาสาสมัครพลังงานทดแทน (อส.พน.) 5.2 นายวงกรต ติ๊บบุ่ง บ้านพลังงาน 5.3 นายสานุพงษ์ เพิ่มสมบัติ บ้านพลังงาน 5.4 นายจิรวัฒน์ พรมจีน เตาเศรษฐกิจ 5.5 นายณัฐนนท์ จักกระโทก บ่อหมักแก๊ส 5.6 นายประพนธ์ เพิ่มสมบัติ เตาซุปเปอร์อั้งโล่ 5.7 นายไพศาล จุลพันธ์ เตาย่างไร้ควัน 5.8 นายยุทธกิต หอมกระโทก เตาแก๊สชีวมวลใช้แกลบ 5.9 นายเฉลียว กลิ่นซ้อน เตาเผาถ่าน 200 ลิตร

6. สถานที่

โรงเรียนบ้านป่าแดง ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

7. เกณฑ์ความดีที่ ได้รับ เกณฑ์การให้ความดี 1. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมฐานเรียนรู้ด้าน พลังงานทุกฐาน

2. เยาวชนนำมูลสัตว์ผสมน้ำลงหมัก ใส่ใน บ่อหมัก

3. เยาวชนนำน้ำหมัก และกากที่ล้นออก จากการหมักไปใส่ในพืชผักสวนครัว พืช เกษตร ไม้ผลและไม้ยืนต้นอื่นๆ (กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง) 4. เยาวชนจดบัญชีครัวเรือนด้านพลังงาน 5. ออกแบบการจัดการพลังงานชุมชนเพื่อ ชุมชนของตนเอง รวมความดีที่ได้รับ

ความดี ที่ได้รับ 10 ความดี 10 ความดี 10 ความดี 10 ความดี 10 ความดี

50 ความดี

143


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


การเรียนรู้ วิถีความดี Mock up 1

ฐาน ‘ขยะทองคำ’ 1. แนวคิด

ขยะเป็นสิ่งที่ทุกคนไม่ต้องการ และทิ้งมัน แต่ขยะมีมากมาย หลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นของแข็ง ของเหลว ขยะย่อยสลายได้และย่อย สลายไม่ได้ ของทีใ่ ช้ประโยชน์ได้และทีใ่ ช้ประโยชน์ไม่ได้ ขยะจะเป็นพิษ ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม หากมีการจัดการและกำจัดที่ไม่ถูกต้อง ปัญหาขยะ ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวัน เพราะฉะนั้น การจัดการกับปัญหานี้จึงต้องเป็นการจัดการตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง ถึงปลายทาง โดยการปลูกจิตสำนึก เสริมความรู้ให้กับทุกคนเพื่อ จัดการกับขยะอย่างถูกวิธี และสร้างมูลค่าให้ขยะมีราคายิ่งขึ้น

2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง เป็นการสร้างจิตสำนึกให้ตนเอง เนื่องจากขยะ

ส่วนใหญ่มาจากตัวบุคคลทั้งนั้น ตามคำกล่าวที่ว่า “ผู้ใดก่อ ผู้นั้นต้อง เป็นผู้รับผิดชอบ”

145


2.2 ครอบครั ว ครอบครั ว เป็ น อี ก หน่ ว ยหนึ่ ง ที่ ผ ลิ ต ขยะออก

สู่ภายนอก ถ้ามีการจัดการขยะภายใน หรือคัดแยกได้ ก็จะลดปัญหา ขยะและสร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้ 2.2 ชุมชน สามารถลดงบประมาณในการจัดการขยะชุมชน ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง ชุมชนสะอาด

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 ชมวิดิทัศน์ปัญหาขยะ และวิดิทัศน์ขยะกับการคัดแยก 3.2 รับฟังการบรรยายแนวคิดและการจัดการขยะ 3.3 สาธิตการคัดแยกขยะ การทำจุลินทรีย์แห้ง การทำน้ำหมัก ชีวภาพ 3.4 ให้เยาวชนร่วมกระบวนการคัดแยกขยะ การทำจุลินทรีย์แห้ง การทำน้ำหมักชีวภาพ

4. กิจกรรมการเรียนรู้

4.1 การให้ความรู้เรื่องขยะ (5 นาที) 4.2 การสร้างจิตอาสา (จักรยานสานฝัน) และธนาคารขยะ

(5 นาที) 4.3 ‘ขยะแปลงร่าง’ การเพิ่มมูลค่าขยะเปียก (10 นาที) (1) การทำจุลินทรีย์แห้ง (2) การทำน้ำหมักชีวภาพ 4.4 ‘ขยะมีค่า ขยะคือทองคำ’: การคัดแยกขยะเพื่อเพิ่มมูลค่า (10 นาที)

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


5. วิทยากร

5.1 นายธีรศักดิ์ สนแย้ม 5.2 นายภมร สงเย็น 5.3 นายอนุสรณ์ ไชยสุวรรณ์

โรงเรียนบ้านป่าแดง ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

6. สถานที่

7. เกณฑ์ความดีที่ ได้รับ เกณฑ์การให้ความดี 1. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมฐานเรียนรู้ ‘ขยะทองคำ’

ความดี ที่ได้รับ 10 ความดี

3. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม ‘ขยะแปลง ร่าง’ การเพิ่มมูลค่าขยะเปียก (1) การทำจุลินทรีย์แห้ง (2) การทำน้ำหมักชีวภาพ

10 ความดี

10 ความดี

2. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมสร้างจิตอาสา (จักรยานสานฝัน) และธนาคารขยะ

4. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม ‘ขยะมีค่า ขยะ คือทองคำ’: การคัดแยกขยะเพื่อเพิ่ม มูลค่า 5. เยาวชนนำความรู้ด้านการจัดการขยะ ไปเผยแพร่และปฏิบัติที่บ้านพัก โฮมสเตย์ รวมความดีที่ได้รับ

10 ความดี 10 ความดี

50 ความดี

147


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


วิ ถ ี ความดี Mock up ที่ 2 ‘พลังเด็กและเยาวชน พลังชุมชนท้องถิ่นที่ยั่งยืน’

‘พลเมืองเยาวชน ร่วมสร้างวิถีความดี’ | 149


เมนูวิถีความดี Mock up ที่ 2

‘พลังเด็กและเยาวชน พลังชุมชนท้องถิ่นที่ยั่งยืน’ 1. แนวคิด

เด็กและเยาวชน...เป็นวัยที่มีพลัง เป็นกำลังสำคัญของชาติ และ เป็นพลเมืองในอนาคต จึงมีความจำเป็นที่จะต้องปลูกฝังให้เด็กและ เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ โดยเฉพาะการสร้างคุณลักษณะความ เป็นพลเมืองที่ดีให้กับเด็กและเยาวชน ซึ่งจะส่งผลให้ครอบครัวอบอุ่น และชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง รวมทั้งจะสามารถนำพาประเทศชาติไปสู่ การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตของมนุษย์ เด็กและเยาวชนเป็นองค์ประกอบอันเป็นหัวใจหลักในทุกพื้นที่ ชุมชนท้องถิ่น ดังนั้นแนวคิดการพัฒนาสภา/องค์กรเด็กและเยาวชนที่ ควรจะเป็น ควรเริ่มต้นที่ท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้อง ตระหนักและเห็นความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชน ตามแนวคิดทีว่ า่ ถ้าตำบลเข้มแข็ง อำเภอจะเข้มแข็ง เมือ่ อำเภอเข้มแข็ง จังหวัดจะเข้มแข็ง เมื่อจังหวัดเข้มแข็ง ประเทศไทยก็จะเข้มแข็ง 1 11 | ‘พล เมืองเยา วชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


2. สิ่งที่ ได้จากการทำความดี

2.1 ต่อตนเอง เด็กและเยาวชนเข้าใจในบทบาทของตนเองว่า

มีส่วนสำคัญในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น เรียนรู้การสร้างความสัมพันธ์

ทีด่ ีต่อผู้อื่น เรียนรู้และเข้าใจบทบาทและหน้าที่สำคัญของสภา/องค์กร เด็กและเยาวชน มีภาวะผู้นำ จิตอาสา เป็นพลเมืองที่ดี 2.2 ครอบครั ว เด็ ก เข้ า ใจในบทบาทหน้ า ที่ ในระดั บ ปั จ เจกบุคคลและในระดับครอบครัว ระดับชุมชน เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน

ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง สามารถลดสถานการณ์ปัญหาด้านเด็กและเยาวชน ในพื้นที่ เป็นแบบอย่างที่ดีและมีจิตอาสาในการทำงานในชุมชน

3. วิธีการเรียนรู้

3.1 ชมวิดีทัศน์การสร้างความเป็นพลเมืองดีในสภา/องค์กรด้าน เด็กและเยาวชน 3.2 เรียนรู้ ดู ชม ถาม ตอบ และรับฟังการการบรรยายจากบูธ นิทรรศการ ประเด็นแนวคิด บทบาทและความสำคัญของเด็กและ เยาวชน บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการทำงานกับเด็ก และเยาวชน บทบาทของพี่เลี้ยงในการพัฒนาเด็กและเยาวชน 3.3 แบ่งปันเล่าเรื่องแลกเปลี่ยนประสบการณ์ รูปแบบกลไกความ สำเร็จในการทำงานด้านเด็กและเยาวชนในพื้นที่ 3.4 เรี ย นรู้ รู ป แบบ Play and learn (Plern) โดยผ่ า น กระบวนการเรียนรูจ้ ากฐานการเรียนรู้ ตอบคำถาม และเล่นเกม เพือ่ วัด ระดับความเข้าใจในบทบาทและความสำคัญของเด็กและเยาวชน และ วัดความคิดเชื่อมโยงสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติ เป็นแผนการดำเนินงานในพื้นที่

151


4. กิจกรรมการเรียนรู้ แบ่งเป็น 2 กิจกรรมหลัก

กิจกรรม ‘พลังเด็กและเยาวชน...พลังชุมชนท้องถิ่น’

นำรูปแบบการทำงานของสภา/องค์กรเด็กและเยาวชนในพื้นที่ แต่ละภูมิภาค แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในการทำงานระดับพื้นที่ของ แต่ ล ะกลุ่ ม โดยเฉพาะประเด็ น ‘เด็ ก และเยาวชนมี บ ทบาทสำคั ญ อย่างไรต่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น’ โดยเฉพาะการสร้างความเข้าใจ ให้เด็กและเยาวชนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง คุณลักษณะความ เป็นพลเมืองที่ดี (15 นาที) กิจกรรม ‘บันไดงู Smart Young Leader’ เรียนรู้และเข้าใจ ประเด็นบทบาทและหน้าที่การทำงานด้านเด็ก และเยาวชน เพื่อพัฒนาให้ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง โดยเน้นการจัดตั้ง สภา/องค์กรเด็กและเยาวชนอย่างไร สภา/องค์กรเด็กและเยาวชนจัดตั้ง ขึ้ น มาทำไม ท้ อ งถิ่ นควรจะทำงานร่ ว มกั บ เด็ ก อย่ า งไร โดยมี ชุ ด กิจกรรมย่อย ได้แก่ 1) รหัสลับสายรุ้ง ประเด็น: เข้าใจสิทธิเสรีภาพควบคู่กับความ รับผิดชอบ ยอมรับความแตกต่าง เคารพสิทธิเสรีภาพของ

ผู้อื่น เคารพหลักความเสมอภาค เคารพกติกา ไม่ใช้ความ รุนแรงในการแก้ปัญหา มีจิตสาธารณะ 2) ถอดรหัส Bingo ประเด็น: บทบาทและหน้าที่การทำงาน ด้านเด็กและเยาวชน เพื่อพัฒนาให้ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง 3) ลูกโป่งหรรษา ประเด็น: สร้างคุณค่าของเด็กและเยาวชนใน การพัฒนาศักยภาพตนเอง และการสร้างการมีส่วนร่วมใน ชุมชน ผ่านกระบวนการเรียนรู้จากฐานโดยคิดเชื่อมโยงถึง บทบาทและหน้าที่ของตนเองและความสำคัญของผู้อื่น 4) ชุมชนในฝัน ประเด็น: ให้เด็กและเยาวชนสามารถกำหนด เป้ า หมาย คิ ด วางแผนการทำงานในระดั บ ปั จ เจกบุ ค คล ครอบครัวและชุมชน โดยมองเป้าหมายหรือมีภาพฝันการ ทำงานร่วมกัน เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงานด้านเด็ก และเยาวชน

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


5) ผูกเงื่อน คลายปม (ใยแมงมุม) ประเด็น: การแก้ไขปัญหา สถานการณ์ด้านเด็กและเยาวชนในระดับชุมชนท้องถิ่น ผ่าน การเรี ย นรู้ จ ากการผู ก เงื่ อ นปมปั ญ หา โดยวิ เคราะห์ จ าก สถานการณ์ ปั ญ หาด้ า นเด็ ก และเยาวชนในพื้ น ที่ และ วิเคราะห์การคลายปมเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว 6) จิ๊กซอว์เติมความคิด (ช้าง) ประเด็น: เด็กและเยาวชน เรียนรู้การทำงานเป็นระบบและเป็นทีมเวิร์ค โดยมองเป้าหมาย ร่ ว มกั น ในลั ก ษณะมองเห็ น ภาพรวมของงาน พร้ อ มทั้ ง ออกแบบการคิด วางแผน และการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งการเป็นผู้สื่อสารและผู้รับสาร

5. วิทยากร

ทีมคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทีมมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดอุบลราชธานี ทีมมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดเชียงราย

โรงเรียนบ้านป่าแดง ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

6. สถานที่ฐานการเรียนรู้

153


7. เกณฑ์ความดีที่ ได้รับ 1. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม พลังเด็กและเยาวชน... พลังชุมชนท้องถิ่น

ความดี รวม ที่ได้รับ 10 ความดี

3. เยาวชนสามารถแลก เปลี่ยนหรือยกตัวอย่างพื้นที่ การทำงานด้านเด็กและ เยาวชนของพื้นที่ตนเอง

10 ความดี

ฐานเรียนรู้ 1. พลังเด็กและ เยาวชน พลังชุมชน ท้องถิ่น 2. ฐานการเรียนรู้ รูปแบบ Play and learn (Plern) ทั้งหมด 7 ฐาน • บันไดงู Smart Young Leader • รหัสลับ สายรุ้ง • ถอดรหัส Bingo

เกณฑ์ความดี

2. เยาวชนเรียนรู้และเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ของตนเองใน การเป็นส่วนหนึ่งของการ พัฒนางานด้านเด็กและ เยาวชนในพื้นที่ โดย สามารถเล่นเกมและตอบ คำถาม เพื่อวัดระดับ ความเข้าใจ

1. เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม ฐานเรียนรู้ครบทุกฐาน

2. เยาวชนสามารถคิด วิเคราะห์เกม ถึงประโยชน์ ที่ได้จากการเรียนรู้ ในฐานกิจกรรม 3. เยาวชนเยาวชนเรียนรู้และ เข้าใจ โดยสามารถเล่นเกม และตอบคำถาม เพื่อวัด ระดับความเข้าใจ

4. เยาวชนเข้าสามารถแลก เปลี่ยนหรือยกตัวอย่างพื้นที่ การทำงานด้านเด็กและ เยาวชนของพื้นที่ตนเอง

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี

10 ความดี 30 ความดี

30 ความดี 10 ความดี 10 ความดี 10 ความดี


ฐานเรียนรู้

เกณฑ์ความดี

• ลูกโป่ง 5. เยาวชนนำความรู้โดยคิด หรรษา วางแผนด้านการพัฒนา • ชุมชนในฝัน หรือจัดตั้งสภา/องค์กรด้าน • ผูกเงื่อน เด็กและเยาวชนไปเผยแพร่ คลายปม และปฏิบัติพื้นที่ของตนเอง • จิ๊กซอว์เติม ความคิด (ช้าง) รวมความดีที่ได้รับ

ความดี รวม ที่ได้รับ 10 ความดี 70 ความดี

100 ความดี

155


บันทึกการเรียนรู้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี



การสำรวจข้อมูลพื้นฐาน และศักยภาพชุมชน


ส่วนที่


ปฏิบัติการสำรวจข้อมูลพื้นที่และศักยภาพชุมชน วันและเวลา

กิจกรรม

22 ตุลาคม 2556 ประชุมชี้แจงรายละเอียดกระบวนการ และผลลัพธ์ กิจกรรมสำรวจข้อมูลพื้นที่แก่พี่เลี้ยงประจำกลุ่ม (ช่วงค่ำ) 23 ตุลาคม 2556 10.00 - 10.10 น. 10.10 - 10.20 น. 10.20 - 10.30 น. 10.30 - 12.00 น. 15.00 - 17.00 น.

ชี้แจงปฏิบัติการสำรวจข้อมูลพื้นที่ โดย ผศ.ณชพงศ จันจุฬา ปฏิบัติการที่ 1 สำรวจข้อมูลชุมชนจากผู้นำและอุ้ย ในแต่ละหมู่บ้าน (ให้ข้อมูลภาพรวมของพื้นที่โดย กำนัน หรือ นายก อบต.) ปฏิบัติการที่ 1 (ต่อ) (ให้ข้อมูลสุขภาพตำบลโดย ผู้อำนวยการรพ.สต.) ปฏิบัติการที่ 1 (ต่อ) (ลงพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน พบผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำแหล่งเรียนรู้ ปราชญ์ชาวบ้าน) ปฏิ บัติการที่ 2 สำรวจข้อมูลครัวเรือน 13 หมู่บ้าน

26 ตุลาคม 2556

ปฏิบัติการที่ 4 การออกแบบกิจกรรมร่วมกับชุมชน และเตรียมการนำเสนอ (ต่อ) ปฏิบัติการที่ 5 นำเสนอข้อมูลพื้นฐาน 6 กลุ่ม หมู ่บ้าน (ตามกลุ่มสี) และนำเสนอกิจกรรม

24 ตุลาคม 2556 ปฏิบัติการที่ 3 การวิเคราะห์ สรุปผลและเติมเต็ม 15.00 - 17.00 น. ข้ อมูล 25 ตุลาคม 2556 ปฏิบัติการที่ 4 การออกแบบกิจกรรมร่วมกับชุมชน ยมการนำเสนอ 15.00 - 17.00 น. และเตรี

27 ตุลาคม 2556 นำเสนอผลโหวต + มอบของรางวัลกิจกรรม 09.00 - 11.00 น. สร้างสรรค์

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


การสำรวจข้อมูลพื้นฐาน และศักยภาพของชุมชน

1. ที่มาและหลักการ

สุขภาวะชุมชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ให้เข้มแข็ง ภายใต้การดำเนินงานที่ผสมผสานกระบวนการใช้ปัญหา และความต้องการของพื้นที่เป็นตัวตั้งในการแก้ปัญหา การพัฒนา อย่างมีส่วนร่วมของหลายภาคส่วน และการบูรณาการหรือสร้างงาน เชื่อมอย่างน้อยใน 4 องค์กรหลักในพื้นที่ ได้แก่ 1) องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 2) ท้องที่ 3) ภาคประชาชน และ 4) หน่วยงานภาครัฐใน พื้นที่ ผลจากการพัฒนาในแต่ละพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ได้ปรากฏหลักฐาน ที่ชี้ให้เห็นถึงระบบย่อยต่างๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันเป็นโครงข่ายการ จัดการกับประเด็นปัญหาต่างๆ ของพื้นที่ ตัวอย่างเช่น ระบบอาสา สมัคร ระบบสวัสดิการชุมชน ระบบเศรษฐกิจชุมชน ระบบการดูแล สุขภาพชุมชน ระบบการสื่อสาร ระบบความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน ระบบการเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชน ระบบอาชีพที่ปลอดภัย ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และระบบการพัฒนาผู้นำ เป็นต้น อีกทั้ง การพั ฒ นาระบบย่ อ ยดั ง กล่ า วยั ง ก่ อ ให้ เ กิ ด กระบวนการเรี ย นรู้ ทั้ ง

ในและนอกพื้นที่จนเกิดเป็น ‘ชุมชนต้นแบบ’ หรือ ‘ชุมชนแห่งการ เรียนรู้’ ดังนั้นการสนับสนุนและเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชน มีทักษะใน การรู้จักวิธีการและกระบวนการในการค้นหา จัดเก็บ วิเคราะห์ข้อมูล ทุนและศักยภาพของชุมชน/หมู่บ้าน ข้อมูลการดูแลสุขภาพ ข้อมูล ประชากร ข้อมูลสิ่งแวดล้อม ข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน ตลอดจนสามารถ สื่อสารเพื่อนำใช้ข้อมูลในการตัดสินใจร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างสรรค์ กิจกรรมหรือนวัตกรรมตามประเด็นปัญหาสำคัญของพื้นที่ จะเป็นอีก หนึ่งพลังที่สามารถขับเคลื่อนแนวคิดตำบลจัดการตัวเองได้ในที่สุด

161


2. วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนเกิดทักษะและความเข้าใจในหลักการ

และวิธีการดำเนินการวิจัยและสำรวจข้อมูลครัวเรือนและ

ชุมชนจากการลงพื้นที่ปฏิบัติจริง 2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถวิเคราะห์และนำใช้ข้อมูลเพื่อ

สร้างสรรค์กิจกรรมร่วมกับชุมชน

3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

1) เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการกับข้อมูลในพื้นที่

เรียนรู้กระบวนการทำงานเป็นทีมในการช่วยเหลือและการ

แก้ไขปัญหาของพื้นที่ 2) เกิดกระบวนการในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของ

ข้อมูล 3) ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพที่สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาชุมชน

ท้องถิ่นต่อไป

ปฏิบัติการการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน

ปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์ให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมในค่าย เด็กและเยาวชน ได้ทดลองปฏิบัติการจริงในพื้นที่ เพื่อให้เด็กและ เยาวชนมีทักษะและประสบการณ์ในการสำรวจข้อมูล การวิเคราะห์ ข้อมูล การนำใช้ข้อมูล และการออกแบบกิจกรรม ซึ่งจะเน้นให้เด็ก และเยาวชนร่วมกันสร้างความดีให้แก่ชุมชนหรือหมู่บ้านที่ตนเองได้พัก อยู่ โดยให้มีความร่วมมือและความสัมพันธ์กับผู้คนในชุมชน มีรายละเอียดดังนี้

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


การสำรวจข้อมูลพื้นฐาน (TCNAP) และศักยภาพของชุมชน (RECAP)

ปฏิบัติการย่อยที่ 1 ข้อมูลระดับชุมชน/หมู่บ้าน

ปฏิบัติการย่อยที่ 2 ข้อมูลระดับบุคคล/ครอบครัว

ปฏิบัติการย่อยที่ 3 เติมเต็มข้อมูลบุคคล ปฏิบัติการย่อยที่ 4 การออกแบบกิจกรรมร่วมกับชุมชน ปฏิบัติการย่อยที่ 5 นำเสนอผลงาน/โหวตกิจกรรม

คำชี้แจงปฏิบัติการย่อยที่ 1

สำรวจข้อมูลชุมชน

ให้ ใช้ แบบสอบถามข้ อ มู ล ชุ ด พื้ นฐาน (ระดั บ กลุ่ ม และชุ ม ชน)

ที่ จั ด เตรี ย มให้ ในการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล จากผู้ น ำชุ ม ชน ผู้ น ำท้ อ งถิ่ น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้อำนวยการ รพ.สต. และอุ้ย คำชี้แจงปฏิบัติการย่อยที่ 2

สำรวจข้อมูลครัวเรือน

ให้ใช้แบบสอบถามข้อมูลชุดพื้นฐาน (ระดับบุคคลและครอบครัว) ที่จัดเตรียมให้ ในการจัดเก็บข้อมูลจากครัวเรือนในแต่ละหมู่บ้าน

163


คำชี้แจงปฏิบัติการย่อยที่ 3

วิเคราะห์ข้อมูลและเติมเต็มข้อมูล

ให้แต่ละกลุ่มสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเติมเต็มข้อความ หรือ ข้ อ มู ล ที่ ค าดว่ า ควรเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล มี ค วามสมบู ร ณ์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น และร่วมกันวิเคราะห์ผลการสำรวจข้อมูลครัวเรือนและข้อมูลชุมชนเพื่อ หาข้อสรุปภาพรวมของพื้นที่ คำชี้แจงปฏิบัติการย่อยที่ 4 ออกแบบร่วมกับชุมชน กำหนดแนวทางการนำเสนอ ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองร่วมกับแกนนำชุมชนของหมู่บ้านที่ตน ได้ลงพื้นที่ เพื่อออกแบบกิจกรรมสร้างสรรค์จากการนำใช้ข้อมูลที่ได้ จากการสำรวจในปฏิบัติการย่อยที่ 1 และ 2 และเตรียมความพร้อม ในการนำเสนอข้อมูลพื้นที่ด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ คำชี้แจงปฏิบัติการย่อยที่ 5

นำเสนอกิจกรรม

5.1 การนำเสนอภาพรวมของชุมชน ให้ แต่ ล ะกลุ่ ม นำเสนอภาพรวมของชุ ม ชนที่ ได้ ล งพื้ นที่ ส ำรวจ ได้แก่ ข้อมูลพื้นที่ ศักยภาพในชุมชนข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลเศรษฐกิจ และสภาพปัญหาในพื้นที่ 5.2 การนำเสนอกิจกรรมสร้างสรรค์ ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรม โดยประกอบด้วย ชื่อกิจกรรม รูปแบบ กิจกรรม กระบวนการ ผู้เกี่ยวข้อง หรือหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้อง และ ผลลัพธ์ของกิจกรรม

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


ข้อมูลหมู่บ้าน ครัวเรือน และประชากร ของตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

ตำบลหัวง้ม แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน ประชากร ชาย หญิง

1 บ้านป่างิ้ว 2 บ้านป่าคา 3 บ้านบวกปลาค้าว 4 บ้านหนองฮ่าง 5 บ้านสันปลาดุก 6 บ้านป่าแดง 7 บ้านสันหลวง 8 บ้านบวกขอน 9 บ้านดงเจริญ 10 บ้านกู่สูง 11 บ้านห้วยตุ้ม 12 บ้านป่าข่า 13 บ้านป่าส้าน รวม

187 131 166 186 95 110 160 182 162 148 127 136 80 1,870

646 307 442 217 577 260 641 315 337 165 340 147 565 280 661 321 508 264 556 276 488 240 490 241 283 134 6,534 3,167

339 225 317 326 172 193 285 340 244 280 248 249 149 3,367

165


กลุ่มตัวอย่างในการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน และศักยภาพของชุมชน จำแนกตามข้อมูลหมู่บ้าน ครัวเรือน ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน ประชากร กลุ่มตัวอย่าง สีม่วง 1 บ้านป่างิ้ว 187 646 37 12 บ้านป่าข่า 136 490 29 รวมสีม่วง 323 1,136 66 สีฟ้า 5 บ้านสันปลาดุก 95 337 19 6 บ้านป่าแดง 110 340 20 8 บ้านบวกขอน 182 661 38 รวมสีฟ้า 387 1,338 77 สีเขียว 3 บ้านบวกปลาค้าว 166 577 34 รวมสีเขียว 166 577 34 สีส้ม 10 บ้านกู่สูง 148 556 32 รวมสีส้ม 148 556 32 สีชมพู 2 บ้านป่าคา 131 442 26 4 บ้านหนองฮ่าง 186 641 36 รวมสีชมพู 317 1,083 62 สีน้ำเงิน 7 บ้านสันหลวง 160 565 32 9 บ้านดงเจริญ 162 508 30 11 บ้านห้วยตุ้ม 127 488 28 13 บ้านป่าส้าน 80 283 16 รวมสีน้ำเงิน 529 1,844 106 รวมทั้งหมด 1,870 6,534 377

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


แผนที่บ้านป่างิ้ว หมู่ที่ 1 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


N

แผนที่บ้านป่าคา หมู่ที่ 2 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


แผนที่บ้านบวกค้างคาว หมู่ที่ 3 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


N

แผนที่บ้านหนองฮ่าง หมู่ที่ 4 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


แผนที่บ้านสันปลาดุก หมู่ที่ 5 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


N

แผนที่บ้านป่าแดง หมู่ที่ 6 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


แผนที่บ้านสันหลวง หมู่ที่ 7 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


แผนที่บ้านบวกขอน หมู่ที่ 8 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


แผนที่บ้านดงเจริญ หมู่ที่ 9 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


N

แผนที่บ้านกู่สูง หมู่ที่ 10 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


แผนที่บ้านห้วยตุ้ม หมู่ที่ 11 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย N


N

แผนที่บ้านป่าข่า หมู่ที่ 12 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


N

แผนที่บ้านป่าส้าน หมู่ที่ 13 ตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย


ปัจจัย เอื้อต่อการการเรียนรู้


ส่วนที่


ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน ประเด็นข้อตกลง

รายละเอียด

1. การแต่งกาย สำหรับผู้หญิง - อนุญาตให้ใส่เสื้อยืดได้ (แต่ไม่อนุญาตให้ใส่สายเดี่ยว) - อนุญาตให้ใส่กางเกงขาสั้นสามส่วน (แต่ไม่อนุญาตให้ใส่สั้นเหนือเข่า) - ไม่อนุญาตให้แต่งกายในชุดกระโปรง (ทุกประเภท) - เน้นชุดที่สวมสบายและสุภาพ สำหรับผู้ชาย - ให้แต่งกายในชุดสุภาพ

2. สุขภาพ - ให้นำยาประจำตัวติดตัวไปด้วยทุกครั้ง - กรณีเจ็บป่วย เช่น แพ้อาหาร ไข้ ไอ เหนื่อย อ่อนเพลีย ให้แจ้งบุคคลอย่างน้อย 2 คน คือ พี่เลี้ยงประจำกลุ่ม และพี่เลี้ยงจากตำบล

3. การพักบ้านพัก - ให้จัดหัวหน้าประจำบ้านพัก โฮมสเตย์ - ต้องรักษาความสะอาดทั้งในบ้าน และบริเวณบ้าน - จัดตารางเวรในกลุ่มเพื่อทำความสะอาดเช่น ห้องน้ำ ห้องนอน ที่นั่งเล่น เป็นต้น - ห้ามนำเครื่องดอง ของมึนเมา ยาเสพติด การพนัน เข้ามาในบ้านและบริเวณบ้าน - ให้ความเคารพต่อเจ้าของบ้าน (ทุกวันที่กลับ เข้าบ้านต้องมีตัวแทนรายงานให้เจ้าของบ้าน รับทราบว่าวันนี้ทำกิจกรรมอะไรบ้าง) - กรณีมีปัญหาเรื่องที่พัก ให้แจ้งบุคคลอย่างน้อย 2 คน คือพี่เลี้ยงประจำกลุ่มและพี่เลี้ยงจากตำบล 4. การเข้าร่วม - ให้ปฏิบัติตามคำชี้แจงของวิทยากร ผู้ดูแล กิจกรรมกลุ่ม หรือ หัวหน้ากลุ่ม - ควรใช้วาจาที่สุภาพในการสื่อสารระหว่างกัน

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


ประเด็นข้อตกลง

รายละเอียด

- อนุญาตให้ใช้โทรศัพท์ได้ในช่วงหลังเลิกกิจกรรม (เท่านั้น) หากไม่ปฏิบัติตามจะถูกริบไว้ที่ กองอำนวยการ - ห้ามก่อเหตุทะเลาะวิวาท (หากเกิดเหตุทาง กองอำนวยการจะมีการพิจารณาการลงโทษ อย่างเด็ดขาด) - ห้ามแสดงออกในเชิงชู้สาว - เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมต้องให้เกียรติเพื่อน เยาวชนต่างศาสนา - ห้ามนำอาวุธและของมีคมที่เป็นอันตราย ต่อร่างกายเข้าร่วมกิจกรรม 5. การใช้ห้องน้ำ ส่วนกลาง

- ห้ามสูบบุหรี่ในห้องน้ำ - ควรรักษาความสะอาดในการใช้ห้องน้ำส่วนกลาง

รายการยาสามัญ และวิธีการใช้ยา ลำดับ 1 2 3 4 5 6

รายการ

อาการที่ใช้ยา ยาเม็ด Air-X จุกแน่นท้องแก๊ส ในกระเพาะ Chropheniramine- มีน้ำมูกใส/ CPM มี ผื่นแพ้ตามร่างกาย ( Tabs) Dimenhydrami วิงเวียนศีรษะ nate บ้ านหมุน 50 mg Paracetamol ปวด/มีไข้ (500) Ponstan แก้ปวดประจำเดือน ยาน้ำ Alum milk 250 ml ปวดจุกแน่นท้อง

จำนวนยาที่ให้ 1 เม็ด 3 เวลา หลั งอาหาร 1 เม็ด 3 เวลา หลั งอาหาร 1 เม็ด 3 เวลา หลั งอาหาร

เวลามีไข้หรือปวด ห่างกัน 4-6 ชั่วโมง 1 เม็ด 3 เวลา หลังอาหาร

1 ช้อนโต๊ะ 3 เวลา หลังอาหาร

183


ลำดับ 7 8

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

รายการ M.Carminative 180 ml

อาการที่ใช้ยา ปวดจุกแน่นท้อง มี แก๊สในกระเพาะ

จำนวนยาที่ให้ 1 ช้อนโต๊ะ 3 เวลา หลั งอาหาร

ท้ อ งเสี ย ถ่ า ยเหลว/ ผสมน้ำดื่มแทนน้ำ อาเจี ยนมาก ยาแก้ไอ M tussis ไอ 1 ช้อนโต๊ะ 3 เวลาหลัง อาหาร/หรื อจิบเวลาไอ ภายนอก ยาใช้ ทาเมื ยาหม่ ่อแมลงกัดต่อย 1 ขวด อง ทาแก้ผื่นคัน คาลาไมด์โลชั่น 1 ขวด ภายนอก ยาใช้ ไม้ 1 ห่อ พันสำลี (ห่อเล็ก) ทำแผล ผ้าก็อซปิดแผล ปิดแผล 2 ห่อ ขนาด 3”x4”(Pack) พลาสเตอร์ ปิดแผล 1 อัน ทรานสปอร์ Betadine ใส่แผลสด 1 ขวด (ขวดเล็ ก ) น้ ำเกลือล้างแผล ล้ างแผลสด 1 ขวด พลาสเตอร์ปิด ปิดแผลสด 10 ชิ้น แผลสด อุปกรณ์เพิ่มเติม หน้ า กากอนามั ย ปิ ด ปากเมื อ ่ ไอ 10 แผ่น/กล่องยา ไม้พันสำลี (ห่อเล็ก) ทำความสะอาด 2 ห่อ/กล่องยา แผล ORS (ซอง)

111 | ‘พ ลเมืองเย าวชน ร่วมส รา้ งว

ถิ คี วา มด’ี


บันทึกเพื่อนถึงเพื่อน

‘รักกัน รักกัน’ เขียนบรรยายสิ่งที่ได้เรียนรู้ เช่น สิ่งที่ประทับใจ สิ่งที่จะนำไปใช้ ระหว่างที่เรียนรู้จากฐานในแต่ละฐานเรียนรู้ หรือระหว่างอยู่ที่บ้านพัก ในแต่ละวัน


บันทึกเพื่อนถึงเพื่อน

‘รักกัน รักกัน’


บันทึกเพื่อนถึงเพื่อน

‘รักกัน รักกัน’


บันทึกเพื่อนถึงเพื่อน

‘รักกัน รักกัน’


บันทึกเพื่อนถึงเพื่อน

‘รักกัน รักกัน’


บันทึก

‘กิจกรรมจิตอาสา’


บันทึก

‘กิจกรรมจิตอาสา’


เพลง ทำความดี คำร้อง/ทำนอง สุทธิพงศ์ แจ่มจำรัส

เขาบอกเอาไว้ ให้ทำดีไว้ เขาบอกกันมานมนาน ก็เหนื่อยและท้อในความดีนั้น ไม่เห็นจะดีอะไร วันคืนผ่านพ้นปล่อยไปเรื่อยเปื่อย อยู่เฉยปล่อยตัวปล่อยใจ ก็เบื่อตัวเองอยากเริ่มต้นใหม่ จะขอดีดีซักที *ให้เราทำดีสุดหัวใจ ความดีสร้างพลังใจ คิดและทำทำดีต่อไป ไม่ท้อไม่ถอยได้ดีซักวัน ลุกตื่นขึ้นมาทำความดีแล้ว ก็เจอแต่เรื่องดีดี เริ่มทำกันทำเลยตอนนี้ ชีวิตก็สุขแจ่มใส วันคืนจากนี้คือวันดีดี ทำดีแล้วน่าภูมิใจ ทำเพื่อตัวเองและคนมากมาย ทำดีให้โลกน่าอยู่ ( * ) ปลูกต้นไม้ ก็ทำความดี กวาดขยะ ก็ทำความดี เล่นกีฬา ก็ทำความดี รักสุขภาพ ก็ทำความดี ซักเสื้อผ้า ก็ทำความดี ทำกับข้าว ก็ทำความดี ขัดห้องน้ำ ก็ทำความดี ออกกำลังกาย ก็ทำความดี ทำอะไรในสิ่งดีดี เมื่อทำดีแล้วเราภูมิใจ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.