หัวไผ่

Page 1



ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

โดย วีรวรรณ ศิริวัฒน


Healthy Planet สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู หัวไผ ชุมชนเกษตรกรรม เรื่อง วีรวรรณ ศิริวัฒน ภาพ คีรีบูน ออกแบบปกและรูปเลม น้ำฝน อุดมเลิศลักษณ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-7374-16-1 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ กองบรรณาธิการ

สำนักสนับสนุนการสรางสุขภาวะในพื้นที่และชุมชน จัดพิมพและเผยแพรโดย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2298 0500 ตอ 1707 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th พิมพครั้งที่ 1

ธันวาคม 2553


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com


6

ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

7


¤Ó¹Ó เมื่อ ไม นาน มา นี้ เวลา ที่ เรา นึกอยาก จะ ไป เที่ยว ที่ไหน สัก แหง เรา มัก จะ มี จินตนาการ ดาน ดี เกี่ยว กับ สถานทีที่ เรา ่ กำลังจะไป...ทะเลสีฟาใส หาดทรายทอดยาว สี ขาว จัด ภูเขา เขียว ครึ้ม หมอก โรย เรี่ย ยอดไม อาหาร ทองถิ่นรสชาติแปลกลิ้นแตถูกปาก ชาวบานจิตใจดีหาบ คอนตะกราฉีกยิ้มบริสุทธิต์ อนรับนักทองเที่ยว ฯลฯ เมื่อเร็วๆ นี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยวที่ไหน สัก แหง เรา มัก พก พา อารมณ โหย หา อดีต กอน ลงมือ คนหาขอมูลพิกัดตำบลเปาหมายที่จะพาเราพบ...อาคาร บาน เรือน ยุค คุณ ปู คุณยา ตลาด เกา แก กาแฟ โบราณ ของเลนสังกะสี ขนมกินเลนหนาตาเชยๆ แตอรอย เพราะ ปรุงแตงดวยรสชาติอดีต ฯลฯ จินตนาการและความคาดหวังทำนองนี้ บางทีก็ สมดังใจ แตหลายครั้งก็คลาดเคลื่อนไปจากภาพที่เคย คิดเอาไว คลาด เคลื่ อ น เพราะ ข อ เท็ จ จริ ง หลาย ประการ เปลี่ยนไป แลวทุกวันนี้ เรายังมีจินตนาการและอารมณความ รูสึกชนิดใดอีก เมื่อคิดถึงการทองเที่ยวศึกษาบานเมือง ของเราเอง


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ความ จริ ง มี อยู ว า ป จ จุ บั น นี้ ชุ ม ชน ทุ ก ตำบล หยอมยาน ใน ประเทศไทย ลวน กำลัง เปลี่ยน ไป และ ก็ แน น อน ว า ความ เปลี่ ย นแปลง ที่ ว า นี้ หา ได มี แต ความหมายเชิงลบ หลาย ป ที่ ผ า น มา ผู ค น ใน ชุ ม ชุ น ระดั บ ตำบล หลายตอหลายแหงในประเทศของเรา ไดอาศัยตนทุน ทรัพยากรเดิมเทาทีชุ่ มชนมี ผนวกกับออกแรงขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง สรางสรรคชุมชนที่พวกเขาเปนเจาของให เปนชุมชนที่สามารถผลิตความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดี ปอนกลับคืนสูวิ ถีชีวิตของสมาชิกในชุมชนดวยกันเอง คนเล็กคนนอยเหลานี้ลงมือทำมานาน หลายแหง ประสบความสำเร็จในระดับนาอิจฉา แตเราจะอิจฉาไดอยางไร ถาไมไดไปสัมผัสจับตอง และมองเห็นดวยตารอนๆ ของเราเอง ชุมชนเหลานี้อาจจะไมมีหาดสีขาวทอดยาว ทะเล ไมใสจัด แถมยังไมมีตลาดโบราณรอยป แตนอกเหนือจากความสุขในวันนีแล ้ ว สิง่ ทีพวกเขา ่ มีอีกแนๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราใหเปนไป แบบไหน ลองเดินตามเราเขาไปชมตัวอยางสาธิตไดจาก หนังสือเลมนี้ คณะผูจัดทำ

9


10 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

01 ÃÐËÇ‹Ò§·Ò§ 1. หลายคนบอกวา ‘สิงหบุรี’ เปนเพียงทางผาน คน เมือง สิงห เอง ก็ บอก แกม บน “เรา มัน ดอกไม ริมทาง ไมมีใครชายตาเด็ดดม” หากจะเดินทางจากกรุงเทพฯเมืองฟาอมร ออก มาทางทิศอุดร ไมวาเปาหมายจะอยูที่ใด อาจจะเปน เชียงใหม เชียงราย หรือแหลงทองเที่ยวยอดนิยมของ คนเมืองสมัยใหม อยางปาย-แมฮอ งสอน สิงหบรุ ก็ี ยังเปน แคทางผาน-ทำไม? จะ ว า ไกล...ก็ ไม ใ ช จะ ว า ใกล . ..ก็ ไม ได อยู ใน ระยะ แล เห็น ขนาด นั้น ขับ รถยนต ขี่ รถ เครื่อง สบายๆ นั่งรถประจำทางก็ยังไมทันเมื่อย ระยะทางก้ำกึง่ ไมลำเอียงไปทางใกลหรือไกล อาจ เปนคำตอบของคำถาม ในบรรดาจังหวัดภาคกลางทั้งหมด สิงหบุรีหลุด ออกมาจากขอบปริมณฑลไมเทาไหร มีแคอยุธยากัน้ เปน พรมแดนกอนถึงเมืองหนาดานปทุมธานี แมแตคนหนุม สาววัยทำงานยังไมเสียเวลาคิดทีจะ ่ มุงหนาเขากรุงเทพฯ เพราะกลับบานไดทุกเสารอาทิตย นั่นคือหลายเหตุผล ที่ทำใหสิงหบุรี อยูชายขอบ ความ สนใจ และ เป น เพี ย ง ที่ จด บั น ทึ ก ระหว า ง ทาง

11


12 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ของใครหลายคน แตบางครั้ง ในการเดินทาง เรื่องราวไมเคยกระจุก รวมอยูที่จุดเริ่มตนหรือจุดจบ เพราะนี่ไมใชการวิ่งระยะ ไกล เสนชัยไมใชสาระสำคัญ แตเปนเรือ่ งเลาระหวางทาง ตางหาก ทีเป ่ นเนือ้ หาเติมเต็มชีวติ บนเสนทางนัน้ ใหเกิด เปนประสบการณทรงคุณคา ทางผานอยางสิงหบุรีก็มีเสนหและความหมายใน ตัวเอง 2. พูด ถึง เมือง สิงห ภาพ แรกๆ ที่ จินตนาการ แวะ พัก เห็นจะเปนวีรกรรมชาวบานบางระจัน ที่ตามตำรา เลาขานวา เปน ผู สละ ชีพ เพื่อ ชาติ ถัด ไป ไม ไกล คง เปน สมเศียร พานทอง หรือ ชาย เมืองสิงห นักรองลูกทุง


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

นามกระเดื่องระดับศิลปนแหงชาติ ผูนำชื่อบานเกิดปะ ยี่หอเปนนามสกุล เปลา...สิงหบุรีไมไดมีแคนั้น นาขาว สวน ไร หลายรอยพันไรริมสองขางทาง และความเปนชุมชนชนบท-บานนอก อาจเปนเสนหดึ งดูด ใหหลายคนตองชายตามองบาง อาจ เปน โชค ของ เมือง สิงห ภูมิคุมกัน ทาง ดาน สังคมยังปองกันกระแสทุนเอาไวได ไมปลอยใหถาถั่ง มาเร็วเกินไปจนผูคนเสียศูนย ตองหันหลังใหนาหันหนา เขาโรงงาน ทำใหสภาพสังคมบานๆ ยังคงกรุนกลิ่นชนบทอยู เหมือนที่เคยเปนมาในวันวาน อาจเปนเพราะระยะทาง สภาพสังคม หรือใจคน... ไมมีใครตอบได 3. น้ำ ทวม ไม ได ดี ไป กวา ฝน แลง เหมือน ศร คีรี ศรีประจวบ วา สิงหบุรี - พฤศจิกายน นอกฤดู แตกลิ่นฝนยังไม จางหายไป ยอดขาวยังคงถูกผืนน้ำทวมทับเสียจนคลอง กับแปลงนาแนบเปนแผนเดียวกันอยางแยกไมออก สอง ขางทางเจิ่งนองเปนบึงน้ำกวาง โลกเพี้ยน ฤดูเปลี่ยน ธรรมชาติพยศเกินควบคุม

13


14 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เรื่องนี้จับมือใครดมหาตนเหตุไมได แตน้ำตาชาวนาไหลรวมกับน้ำฝนไปแลว เขาถึงวากันวา ‘ชีวิตเกษตรกรมีพระพิรุณเปนทั้ง ศัตรูอารมณรายและสหายที่เขาใจยาก’ ยามแลงเมฆฝน มักทิง้ ทองฟาไววางเปลา แดดสองเผาชาวนาผูแหงน  หนา ออนวอนไหมเกรียม ยามฝนฟาพิโรธ น้ำหลากไหลก็พัด พาเอาชีวิตของพวกเขาไปดวย ระหวางทางจากบางกอกถึงสิงหบุรี หากเปนฤดู ขาว ออก รวง ลม จะ พัด ละออง ไอ กรุน หอม จาก ทุง ขาว มาปะทะ แตกับฤดูกาลที่ผันเปลี่ยน ธรรมชาติเริ่มตีตัว ออกหาง ยาก คาด เดา ภาพ ที่ เห็น มี เพียง เงา ของ ฟา ที่ ทอดตัวลงสะทอนน้ำ แต เรา เชื่อ วา ที่ เปา หมาย การ เดิน ทาง ของ เรา ชาวนาหัวไผคงไมมีใครนั่งดื่มกินน้ำตาเดียวดายลำพัง 4. ‘หากไมกางแผนที่ดู มิพานพบหัวไผ’ ไม ได เป น คำ พู ด ที่ เกิ น ไป นั ก แม จะ อยู ใน เขต ปกครองของอำเภอเมือง แตระยะทางก็ไมไดใกลกันชนิด ชะโงกหนาแลเห็น ใครริคิดเดินเทาจากตัวเมืองไปตำบล หัวไผ ตองทบทวน แลวตำบลหัวไผอยูตรงไหนของเมืองสิงหกัน ชุมชนเกษตรกรรมลุมแมน้ำนี้ อยูหางออกไปจาก


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ถนนใหญหลายหลักกิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 32 บางปะอิน-พยุหะคีรี เลยทางแยกเขาตัวอำเภอเมือง ออกไปสักอึดใจใหญๆ ก็จะพบปายทางเขาหัวไผอยูทาง  ขวามือ ระยะจากปากทางเขาไกลโข เราไมมองยอนตาม ทางลาดยางคดเคี้ยวทีผ่ านมา แตทางเบื้องหนาทอดยาว จนชวนสงสัยวามีอะไรรอเราอยูทีปลาย ่ ทาง สองขางถนนไมตางจากนาผืนอื่นที่ผานมา เพราะ อุทกภัยครั้งใหญ ทำใหน้ำยังคงทวมจนไมเหลือที่ไวให ยอดขาวหายใจ และ แลว เรา ก็ตาม แผนที่ มา ถึง หนา อบต.หัว ไผ แปลกใจ...ไมมีทิวแถวดงไผหรือหนอไมเหมือนที่คิดไว

15


16 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ตำบลหัวไผมีพืน้ ทีทั่ ง้ หมด ประมาณ 17.31 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 10,819 ไร เปนที่ราบลุม เรือก สวนไรนา คูคลองแหลงน้ำเกือบทั้งหมด ทำใหที่นี่ ถูก สรางใหเปนชุมชนเกษตรกรรมโดยธรรมชาติ ตำบลหัวไผ ประกอบดวย 13 หมูบาน หมูที่ 1 คลองบางกระเพียง หมูที่ 2 หัวไผ หมูที่ 3 คลองขุด หมูที่ 4 อุด หมูที่ 5 วัดขอยเหนือ หมูที่ 6 วัดขอยใต หมูที่ 7 บางกระเจ็ด หมูที่ 8 ปากคลอง หมูที่ 9 โพธิ์ชัย หมูที่ 10 สามเกลียว หมูที่ 11 วัดสามเกลียว หมูที่ 12 อาวยายเกิด หมูที่ 13 วัดขอย ชื่อ ‘หัวไผ’ นั้นมีที่มาจากสมัยกอน เกือบทุกบาน ในพื้นที่ตำบลนี้ จะมีกอไผคั่นอยูริมขอบพื้นที่ เปนรั้ว ตามธรรมชาติ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

เดิมทีหัวไผเคยอยูใน  เขตจังหวัดลพบุรี แตเนือ่ งจาก การติดตอราชการในระดับจังหวัดนั้น ประชาชนตองเดิน ทางไกลมากและยากลำบากเกินความจำเปน จึงไดยาย มาอยูใน  การปกครองของจังหวัดสิงหบุรี

17


18 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ºŒÒ¹Í‹ÒÇÂÒÂà¡Ô´ 12

คลองล

ºŒÒ¹ÊÒÁà¡ÅÕÂÇ 03

11

เขตจัดรูปที่ดิน

จังหวัดลพบุรี

ำโพธิ์ชัย

อำเภออินทรบุรี

09

ºŒÒ¹â¾¸ÔìªÑÂ

01

ียง

คลองบางกระเพ

02

04 05

ºŒÒ¹»Ò¡¤ÅͧºÒ§¡ÃÐà¾Õ§

06

01 02 10

ºŒÒ¹ÊÒÁà¡ÅÕÂÇ

ºŒÒ¹ËÑÇ伋

07 08

03

ºŒÒ¹¤Åͧ¢Ø´ ºŒÒ¹ºÒ§¡ÃÐà¨ç´ 07

09

04

10

ºŒÒ¹ÍØ´

บึงบางกระเจ็ด

ºŒÒ¹ÇÑ´¢‹Í 05 11

ตำบลโพกรวม

12

13

ºŒÒ¹ÇÑ´¢‹ÍÂ

06

ºŒÒ¹ÇÑ´¢‹ÍÂ

จังหวัดลพบุรี


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

á¼¹·ÕèªØÁª¹ËÑÇ伋 01 โรงสีรัฐภูมิ 02 อนามัยหัวไผ 03 โรงเรียนวัดสามเกลียว 04วัดสามเกลียว 05 โรงเรียนโพธิ์ชัย 06 โรงเรียนหัวไผ 07 วัดธรรมสังเวช 08 โรงเรียนอนุบาลเมืองสิงหบุรี 09 วัดตะโหนด 10 โรงเรียนวัดตะโหนด 11 โรงเรียนวัดขอย 12 วัดขอย

ËÁÙ‹·Õè

19


20 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

02 ¶Ö§μÓºÅËÑÇ伋

21


22 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

แผ นที่ นำเรา มา จนถึ ง ที่ ท ำการ อบต.หั ว ไผ ขางบึงน้ำใหญที่มีชื่อวา บึงบางกระเจ็ด อบต. ที่นี่ไมไดมีขนาดใหญโตเหมือนกับหลายที่ ที่ เ รา เคย ไป แต วั น นี้ มี คน มากมาย มารวม ตั ว กั น ที่ นี่ ใน ศาลา ขาง ที่ทำการ อบต. ดวย ความ สงสัย จึง ตอง เงี่ยหูฟง เสี ย ง ที่ แว ว มา แต ไกล จาก ห อ ง ประชุ ม เรา จับใจความไดวา นี่คือการอบรมวิทยากรจากฐานเรียนรู ต า งๆ พร อ ม ทั้ ง สมาชิ ก อบต. และ คนใน ชุ ม ชน อี ก จำนวนหนึ่ง เพราะอะไร...เรานึกวามีแตในบริษัทหรือองคกร ใหญๆ ที่ตองเรียกคนมากมายมานั่งลอมวงคุยงานกัน ในหองประชุม มารูเอาทีหลังวาหัวไผแหงนี้เปนถึงตำบลตนแบบ ดานกิจกรรมชุมชนสุขภาวะ ตองคอยเปนพี่เลี้ยงใหกับ ตำบลอื่นๆ ที่เรียกวา ‘ตำบลนอง’ อีกหลายสิบแหง แสดงวา ‘คนหัวไผ’ ตองมีการจัดการภายในชุมชน อยางเปนระบบแนนอน

ËÑÇ伋 ã¹·ÕÇÕ ใครบางคนชวนเขาไปดูดีวีดของ ี ชุมชนหัวไผ อุ-ณพล สดวกดี คือ ใครคนนัน้ ไกดนำทางของเรา ทั้งการลุยพื้นที่ และใหขอมูล


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

หนาจอ เปนบันทึกรายการทีวี และรายการขาว จาก หลาย สถานี เคย ได ลงพื้ น ที่ ม า ถ า ย ทำ รายการ ไว หลายครั้ง แสดงวาหัวไผเปนชุมชนที่ใครๆ ก็ตองเขามา ศึกษาภูมิรูหลายอยาง เราก็เชนกัน ตองอาศัยการเกริ่นนำกอนทำความ รูจักกับหัวไผอยางจริงจัง ขอมูลทัง้ หลายเคยถูกถายทอดไปสูสายตา  หลายคู หนาจอแกว บางคนถึงกับตองยึดหัวไผเปนโมเดลตัวอยาง ในการพัฒนา ทั้งที่เปนชุมชนเกษตรกรรม แตมีดี ทำให หลาย ฝาย ให ความ สนใจ จนถึง กับ ตอง เดิน ทาง มา ดู ดวยตา เปนความภาคภูมิใจในระดับชุมชนในฐานะที่เปน ‘ตนแบบ’ เราไดรับแผนบันทึกขอมูลมาหลายรายการ ผู หยิบยื่นใหย้ำชัดวาตองดู หลังเสร็จจากโปรแกรมปฐมนิเทศนกับชุมชนหัวไผ วันแรก เราไดมีโอกาสอิ่มมื้อเที่ยงรวมกับชาวบานที่ออก มาจากหองประชุม อบต. ขาวราดผัดผักกับแกงรอนๆ ทำใหตองถือชอนสอมเปนอาวุธ

Èٹ ÍÔ¹à·Íà à¹çμ ในกรุงเทพฯมีรานอินเทอรเน็ตคาเฟมากมาย ที่ หั ว ไผ ถึ ง แม ราศี ความ เป น เมื อ ง จะ ไม ได มา จั บ ชุม ชน เกษตรกรรม แห ง นี้ แต ไม ใ ช ว า ชาว บ า น จะ โบกมื อ

23


24 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ไม ต อ นรั บ เทคโนโลยี เพราะ ที่ นี่ มี ห อ ง คอมพิ ว เตอร สำหรับทองอินเทอรเน็ตหลายสิบเครื่อง ไวใหชาวบาน และเด็กๆ ไดมานั่งหาความรูใน  โลกกวาง ตกเย็นเด็กๆ ก็จะวิง่ กรูกันเขามาทีห่ องนี้ แคลงชือ่ ก็สามารถเขาใชบริการไดทันที เด็กบางคนนัง่ ดูตัวการตนู นารักอยูบน  ตักคุณพอหนาจอคอมฯ โดยทีเบื ่ ้องหลังเปน ทุงกวางและบึงน้ำใหญ ไดยนิ มาอีกวาในอนาคตทีท่ ำการ อบต.นีมี้ โครงการ จะ สราง ศูนย บริการ ใน รูป แบบ ที่ เรียก วา One Stop Sevice ‘บริการจุดเดียวจบ’ บริการรับชำระคาใชจาย ตางๆ ทั้งคาน้ำ-ไฟ โทรศัพท คาบัตรเครดิต คาบริการ สินคาตางๆ รวมทั้งจำหนายสินคาราคาถูกเพื่อบริการ สมาชิกในตำบล ไม ตอง สงสัย วา ใน อนาคต อีก ไม ไกล คน หัว ไผ ก็ ไม ต อ ง เดิ น ทาง ไกล เป น 10 กิ โ ล เพื่ อ เข า ไป ใน ตัวเมืองแลว ใคร วา ชาว บาน ใน ทุง กวาง จะ มี โลก ทัศน แคบ... ไมจริง


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

25


26 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

03 »˜ÞËÒ¤×Í·ÕèÁҢͧἹ

27


28 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ไมตางจากหลายชุมชนอื่นในประเทศ การทำนาที่ เคยเปนระบบเล็กๆ เมื่อถูกระบบเศรษฐกิจใหมลากจูง ถูลูถูกังไปตามหัวขบวนทุน ความเปนธุรกิจเขาครอบงำ ตองเนนไปทีปริ ่ มาณการผลิต ราคาขาย มากกวาคุณภาพ และวิถีเดิมๆ ของชาวนา-ปลูกขาวไวกิน คติทำมาหาเงิน ถูกนำมาใชแทนทีการ ่ ทำมาหากิน เมื่อธรรมชาติไมสามารถตามใจมนุษยไดทุกอยาง ความ ผิดเพีย้ นของฤดูกาลดินฟาอากาศ ทำใหเทคโนโลยีเขามา มีบทบาทในการเกษตรมากขึ้น ไมใชแคควายเหล็ก เครือ่ งจักรทีทำให ่ เจาทุยตัวจริง นอน เหงา จมปลัก โคลน สาร เคมี จำนวน มาก ยัง ถูก นำ มาผสมในดิน เทในน้ำ จนบงการใหขาวทั้งนาออกรวง แบบ ‘สั่งได’ ยังไมนับการทำเกษตรแบบ ‘พันธสัญญา’ ทีผู่ กขาด การใชเมล็ดพันธุ ปุย และยาฆาแมลง ทีคอย ่ ปอนสารพิษ ลงดิน พรากชีวิตไปจากชาวนาทีละนอย แตสม่ำเสมอ เทคโนโลยีเปนดาบสองคม สารเคมีทำใหผลผลิต มี มาตรฐาน แต ทำลาย ดิน น้ำ สิ่ง มี ชี วิ ตอื่นๆ ที่ เปน ประโยชนตอพืช และสิ่งแวดลอม ยังไมนับสุขภาพของ ชาวนา ซึ่งเปนผูบริโภคพิษจากเคมีภัณฑลำดับที่หนึ่ง บางมุม มันกลับเปนดาบคมเดียว ที่คมกวาเคียว เกี่ยวกอยชาวนา เกษตรกรหัวไผทำเกษตรดวยรูปแบบนี้มาซ้ำซาก


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ชานาน จน ‘นาเคมี’ แทบจะกลายเปนวิถที​ี ่ยึดปฏิบัตเป ิ น ปกติ ใครไมใชปุยเคมีเปนเรื่องแปลกประหลาด รับไมได และแลว เมื่อถึงเวลา วิถีเกาๆ ออกฤทธิ์ ทำลาย ขาว ทำรายชาวนา ใหสูญเงินเสียผลผลิต ชาวบานหัวไผก็

29


30 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เริม่ มีปญหาหนีเสือปะจระเข เกิดศึก 2 ดาน ทัง้ ธรรมชาติ และสารเคมี จาก คำ บอก เลา ของ พี่ภิญโญ บุญ ญา คม ปลัด อบต.หนุมผูอยูในหัวไผมากวา 10 ป ไดความวาชุมชน เกษตรกรรมแหงนีเคย ้ ประสบปญหามากมาย จนชาวบาน แทบจะมีชีวิตอยูกันบนความยากลำบากไมได เมื่อ มี ปญหา เกิด ขึ้น ก็ ตองหา ทาง แก อยาง เลี่ยง ไมได และดวยความที่เปนเกษตรกร ชีวิตคนทั้งตำบล ตางผูกไว ดวยกันอยางเลี่ยงไมได ทางออกจากปญหา นั้นตองอาศัยการจัดการที่ดีเทานั้น แผนการตางๆ จึง เริ่มตนขึ้น

¡ÒèѴ¡ÒêØÁª¹ เริม่ แรกกอนป 2540 ยังไมมหน ี วยงานไหน แมแต อบต. มี แต สภา ตำบล ยัง ไมมี องคการ บริหาร ทองถิ่น การร อ ง เรี ย น และ การ แก ป ญ หา จึ ง เป น ระบบ บริ ห าร ราชการแบบเกาทั้งหมด ใชลำดับขั้นตอนยาวนาน การ เดินทางของปญหานั้นใชระยะทางไกลจากชุมชนไปถึง โตะผูบริหาร เมื่อมี อบต. หรือองคการบริหารสวนตำบลเกิด ขึ้น มีฝายบริหารทำงาน มีสภาตรวจสอบ โดยชาวบานมี สวนรวม เปนฝายปกครองทองถิ่นที่มีความชัดเจน การ บริหารงานจึงงายขึ้น


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

นายก อบต.หั ว ไผ คน ป จ จุ บั น ทวี ป จู มั่ น ที่ หลายคนบอกเปนเสียงเดียวกันวา นายกฯคือมันสมอง และนักพัฒนาของคนหัวไผ นา เสียดาย ที่ การ เดิน ทาง ของ เรา สวน ทาง กับ นายกฯ ทวีป เรา เขา มา ถึง นา ยกฯ ออก ไป ติดตอ งาน ทีอ่ นื่ จึงไมไดมีโอกาสสนทนากับตนคิดเรือ่ ง ‘แผนแมบท ชุมชน’ แตนัน่ ไมไดแปลวา เราจะรูจ กั การทำงานของหัวไผ นอยลง ในสังคมประชาธิปไตยเล็กๆ แนวทางการพัฒนา ไมไดถูกผูกขาดยึดถือไวกับใครคนใดคนหนึ่ง แตอยูกับ คนหัวไผทุกคน “เวลาชาวบานมีปญหา เราจะลงไปในพื้นที่กอน เลย ไมตองรอใหชาวบานมาหา เราหาขอมูลจากราน กาแฟบาง รานกวยเตี๋ยวบาง” พีภิ่ ญโญขยายความ ในบางครั้ง เราอาจพบกลิ่นความขัดแยงเล็กนอย ของ ชาว บาน จาก วง สน ทนา เล็กๆ ที่ จะ เริ่ม โชย ‘ขาว’ ออกมา และทันใดที่ อบต. รูปญหา การคลี่คลายก็จะ ถูกดำเนินตามขั้นตอน “สมั ย ก อ น บางที เขา มอง เรา เป น เจ า นาย เป น ขาราชการ แตเดี๋ยวนี้ไมใช เราตองทำความคุนเคยกัน” จากคำพูดของพี่ภิญโญ เรายืนยันไดมั่นเหมาะวา การ ทำงาน ใน ระบบ เครือ ญาติ มี ประสิทธิภาพ ที่ ดี มาก ใน ชุมชนเล็กๆ

31


32 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

»˜ÞËÒã¹ËÑÇ伋 เมื่อประชากรกวา 90 เปอรเซ็นตเปนเกษตรกร ปญหาที่เกิดขึ้นก็หนีไมพนเรื่อง ดิน น้ำ ซึ่งผนึกกำลังเขา กับปญหาสารพิษในการเกษตร ตอยอดกลายเปนหนี้สิน จนบางครัง้ ลำพังตัวเกษตรกรเอง ไมสามารถควบคุมการ เพาะปลูกใหเปนไปตามทีคิ่ ดไดเลย เมื่อหนทางตีบตัน ปญหาในหัวไผ จึงกลายเปน ปญหา ใน หัวใจ ของ ชาว บาน ทุก คน ที่ ตอง ชวย กัน ระดม ความ คิด รวบรวม ปญหา เพื่อ หา ทางแกไข 1. น้ำ บาน ตาง จังหวัด เหมือน ที่ เราเคยเห็นกันจนชินตา ลักษณะ การ สราง บาน จะ เปน เหมือน กัน หมด ทุก ภาค มา ชา นาน คือ ยก ใตถนุ สูง เพราะน้ำทวมเปนวิถปกติ ี ของที่ราบลุม คนหัวไผรุนเกาก็สรางบาน แบบนีเหมื ้ อนกัน แตเมือ่ ธรรมชาติ เริม่ เพีย้ น แมน้ำไมทวมบาน ก็โถม ทับนาขาวจนหมด ถาถึงขั้นน้ำสูง จริงๆ ก็จะลนคลองทวมถึงใตถุน


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

บานอยูดี ชวงเวลาทีเรา ่ เดินทางไป แมจะตามหลังฤดูฝนอยู หลายสัปดาห ภาพของยอดขาวทีโผล ่ พนน้ำมาแคไมกีนิ่ ว้ ความวิปริตของฤดูกาลยังทิ้งรองรอยไวเต็มสองขางทาง ไมใชแคน้ำฟาและน้ำในคลอง บางครั้งที่ตองการ น้ำ น้ำมักไมมี ประเด็นแยงกันสูบน้ำเขานาก็เปนปญหา หนึ่ง ที่ เกิด ขึ้น ความ ยาก เข็ญ บีบ ให คน เคน เอา ความ เห็นแกตัว ออก มา การ เอา เปรียบ กัน แค โกง ระดับ ทอ

33


34 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ในการปนน้ำเขานา ก็ทำใหทะเลาะกันถึงขั้นออกอาวุธ หมัดมวยได พื้นที่เกือบทั้งตำบลหัวไผ เคยมีแมน้ำลำโพธิ์ชัย หล อ เลี้ ย ง มา เป น เวลา ยาวนาน แต หลั ง จาก ที่ ระบบ ชลประทานเริ่มเขามามีบทบาทในการจัดสรรปนน้ำให แปลงนา คลองก็ถูกทำใหแคบลง อยางที่รูกันวาระบบชลประทาน มีทั้งดานดีและ ดานเสีย ใครวามีพระพิรุณเทานั้นที่ไมเขาใจชาวนา แม ไมมี ฝน น้ำ ก็ มัก จะ มา ไม ตรง กับ เวลา ที่ ตองการ เมื่อ เกษตรกรไมสามารถใชน้ำไดอยางเปนอิสระ ปญหาเรื่อง น้ำก็ตามมา 2. ขาว เหมือนกับในพืน้ ทีอื่ น่ ๆ ทีมี่ การเกษตร ทีหั่ วไผเอง ก็ นิ ย ม ใช ปุ ย เคมี มา ก อ น เหมื อ น กั น ทั้ ง ที่ รู ถึ ง ผล เสี ย อันตราย และราคา แตทางเลือกทีมี่ จำกัดก็ตอนใหบรรดา ชาวนาเดินเขามุมอับอยางเลี่ยงไมได “เมื่อกอน ขนาดไปเหยียบตอซังขาว เทาเปนแผล ยังหายชา” พีภิ่ ญโญ เลาถึงอดีตเมือ่ ครัง้ ทีคน ่ หัวไผ ยังฝาก ชีวติ ไวกับการพึง่ พาสารเคมีในกระบวนการเพาะปลูกทำ กิน จนพิษของมันลามไปทัว่ ทัง้ นา ไมเวนแมแตตอซังขาว ทีกลาย ่ เปนดาบอาบยาพิษ แตในชวง 5 ปที่ผานมา เมื่อเกษตรอินทรยเริ่ม


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

เขามามีบทบาท สารเคมีตางๆ ก็เริ่มหายหนาหายตาไป จากทองไรทองนา เหลือเพียงบทบาทตัวประกอบในพืน้ ที่ เล็กๆ ของหัวไผเทานั้น “ขาวไรนึงได 70-80 ถังเทากับตอนใชปุยเคมี แต ตนทุนจะลดลงไปมาก” ไมใชแคชวยประหยัดเงินในกระเปาเทานั้น ขึ้นชื่อ วาวิถีอินทรีย พึ่งพิงวัสดุธรรมชาติเปนหลัก ดิน น้ำ และ สิ่งแวดลอมยอมไมถูกทำราย จนชาวบานรูสึกได 3. หนี้ ในยุคทุนเดินนำ ไมไดมีแตคนเมืองทีต่ องตามใชหนี้ บัตรเครดิต เกษตรกรก็มีหนี้สินติดตามตัวไมตางกัน เปน เรื่อง ยาก ที่ เกษตรกร ตัว เล็ก จะ แก ปม ชีวิต นี้ ได ดวยสองมือ และ ลำแขง เมื่อ เรื่อง เงิน เปน เรื่อง ที่ มี ขนาดใหญเกินตัว เรือ่ งนีจึ้ งวิง่ ทางลัดไปเปนปญหาระดับ ตำบล ขึ้นสูโตะผูบริหารทันที การทำงานของคนหัวไผ เริ่มจากการสำรวจขอมูล คาใชจายภายในครัวเรือนของประชาชน ตัง้ แตกนครัวยัน หัวนา เมื่อไดตัวเลขทั้งหมดมา ก็ทำการสรุปกันทั้งพื้นที่ ตัวเลขทีน่ าตกใจคือ แคชาวบานหัวไผตำบลเดียวมี หนีสิ้ นมากถึง 30-40 ลาน โดยมีรายไดรวมกันทัง้ หมดแค 10 ลาน ทั้งที่ประชากรมีอาชีพเกษตรกร และรับจาง มัน่ ใจไดวาหนีก้ อนใหญนัน้ ไมไดเกิดจากการผอน

35


36 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

รถเกงปายแดง บานหรู หรือโทรศัพทมือถือราคาแพง วิธแก ี ปญหาแบบลูกทุง ขัน้ แรกทีทำได ่ คือ เมือ่ มีหนี้ ก็ตองลดตนทุนในการใชชีวติ ลง เหลา บุหรี่ หวย คือปจจัย เบื้องตนที่ทำใหชีวิตบานๆ ตองมีคาใชจายเพิ่มขึ้น เมื่อรายจายลดแลว แผนแมบทจะเริ่มมุงเนนไป ที่การออม เปนที่มาของสถาบันการเงินเล็กๆ ที่ตั้งขึ้น


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ภายในชุมชน เมื่ อ ทุ ก ฝ า ย มอง เห็ น ป ญ หา เป น รู ป ธรรม การ เอา ทฤษฎี นามธรรม จาก แผน กระดาษ ลง มา ปฏิบัติ ใน สนามจริงเพือ่ แกปญหาจึงเริม่ ขึน้ ในชือ่ ‘แผนแมบทชุมชน’ ซึ่งดำเนินการรางในชวงป 2545-2547 และนำมาใช งานจริงตั้งแตนั้นมา

37


38 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

á¼¹áÁ‹º·ªØÁª¹ ขั้นตอนที่ 1 คนหาแกนนำองคกรทองถิ่น สราง ทีมงานที่จะรวมทำแผนแมบทชุมชน สรางความเขาใจ รวมกัน ผูที่เขารวมก็คือ ตัวแทนหมูบาน สมาชิก อบต. และ เจา หนา ที่ อื่นๆ ที่ เกี่ยวของ จน ได แกน นำ ระดับ หมูบาน หมูบานละ 5 คน ขั้นตอนที่ 2 จุดประกายความคิด เพื่อชวยกระตุน ใหคนหันมาใสใจชุมชนของตนเอง โดยจัดเปนเวทีพูดคุย ใหตระหนักถึงปญหา และความหวังทีจะ ่ อยูรอดรวมกัน ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาประวัติศาสตรที่มาชุมชน ให มองเห็นตัวตนและคุณคาที่แทจริงของตนเอง เกิดเปน ความผูกพันกับทองถิ่น โดยเนนไปที่คน 3 ชวงวัย คือ เด็ก ผูใหญ ผูสูงอายุ ขั้นตอนที่ 4 สำรวจรวบรวมขอมูล เพื่อเก็บขอมูล ประเด็นปญหา และศักยภาพของชุมชน ขั้นตอนที่ 5 วิเคราะหเพื่อเขาใจสถานการณ และ กำหนดอนาคตของชุมชนรวมกัน ขั้นตอนที่ 6 ยกรางแผนชุมชน มีทั้งสิ่งที่ชุมชน ทำไดเอง และตองประสานกับหนวยงานภายนอก ขั้นตอนที่ 7 ทำประชาพิจารณชุมชน ใหสมาชิก ในชุมชนรวมกันพิจารณาความเปนไปไดในการนำแผน ไปปฏิบัติ ขั้น ตอน ที่ 8 ทำ กิจกรรม ตาม แผน โดย เนน ให


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ประชาชนลงมือรวมคิดรวมทำ ขั้นตอนที่ 9 ทบทวนปรับปรุง เพราะในทฤษฎีกับ การนำไปปฏิบัติจริงอาจไมสอดคลองกันทั้งหมด ขั้นตอนที่ 10 ประเมิน ผลสรุปบทเรียน เพื่อนำ มาปรับปรุง และถอดมาเปนองคความรูถายทอดใหกับ ชุมชนอื่นตอไป ตั้งแตมีแผนแมบทออกมา ชาวบานทั้งหลายรวม ถึงพี่ปลัดภิญโญยืนยันวา ปญหากวา 70 เปอรเซ็นตของ ชาวบานไดรับการแกไข จนพวกเขาเหลานัน้ สามารถมีชีวติ ที่ดีขึ้นได เปนเพราะความรวมมือของทุกคนในชุมชน บท เรียน หนึ่ง ที่ เต็ม คุณคา นา ศึกษา คือ ชีวิต ที่ ลำบากแรนแคนของเกษตรกรในอดีต วาเหตุปจจัยใดบาง เปนสวนประกอบสรางปญหาในชุมชนขึ้นมา แผนแมบททีใช ่ การไดดีนี้ ยังแสดงใหเห็นถึงความ สัมพันธระหวางชุมชน และฝายบริหาร วา การบริหาร สังคมที่ดีนั้นตองอาศัยการทำงานรวมกัน

39


40 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

04 à¡ÉμáÃáË‹§»ÃÐà·ÈËÑÇ伋 Èٹ ෤â¹âÅÂÕ¡ÒÃà¡Éμà อุ พาเราขับรถตะลุยถนนดินฝุนคลุง ขามคลอง ไปยังศูนยเรียนรูทางการเกษตร หมูที ่ 7 โชคดีของหัวไผ เกษตรประจำตำบลไมไดมีที่นั่ง ทำงานอยูที่อาคาร อบต. เหมือนทีอื่ ่น แตเขาอยูทีนี่ ่ ขาง นาขาวกองปุย และศูนยเรียนรูทางการ  เกษตร นริน กาษร ยายโตะทำงานออกจาหองแอร ไมได เปนเพราะโผโยกยายไหน แตเปนความตั้งใจที่จะลงมา ทำงานในพื้นที่จริง ไมใชนั่งกระดิกนิ้วสั่งงานอยูบนโตะ “จาก พื้ น ที่ ทำการ เกษตร ทั้ ง หมด ของ ตำบล ประมาณ 9,300 กวาไร ทำ นา 8,966 ไร ทำ สวน 300 กวาไร แตแจงเสียหายเพราะน้ำทวม 250 ไร” เปนขอมูลตัวเลขทางการเกษตรที่แมนยำสมเปนเกษตร ประจำตำบล ศูนยเรียนรูนี้ กอตั้งขึ้ตามนโยบายของกระทรวง เกษตรและสหกรณ ในป 2546 ในระดับแรก ใหผูแทน กลุมตางๆ ในชุมชน เปนคณะกรรมการจากทุกหมูบาน และเลือกประธานมา สวนพี่นริน ก็เปนหนึ่งในกรรมการ ของศูนยนี้ เจา หนาที่ ประจำ ศูนย ก็ คือ ลูก หลาน ของ คน หัว ไผ ที่เขามาชวยทำหนาทีใน ่ งานธุรการ ดวยจิตอาสา แต


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

41


42 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ไมไดกลับบานมือเปลาเสมอไป เพราะมีคาจางบางเปน ครั้ง คราว จาก รายรับ ของ ของ โรง ปุย ปน เม็ด และ เงิน อุดหนุนกอนอื่นๆ หนาที่ประจำของศูนยนี้ถือเปนพระเอกของชุมชน ชาวนาอยางหัวไผ คือ ทุกอยางที่เกี่ยวกับการเกษตร ทั้ง จัดทำแผนพัฒนาตำบล กำหนดทิศทางการพัฒนาการ เกษตร เปนแหลงความรูทางการเกษตร ประสานงาน หนวยราชการ ไปจนถึงงานดานแจงเตือนภัยพิบัติที่จะ เกี่ยวของกับชาวนาชาวไรโดยตรง ‘ประเทศ หัว ไผ’ คือ คำ ที่ พี่ นริน ใช เรียก ขาน นาม ชุมชนเกษตรแหงนี้ มีการจาง ‘หมอดิน’ หรือนักวิชาการผูเชี  ย่ วชาญดาน ดินมาสำรวจดินเพือ่ ตรวจวัดความอุดมสมบูรณดวย “ประเทศหัวไผของผม ใชหมอดินมากทีส่ ดุ ” พีน่ ริน ยืนยัน คนปวยก็ตองมาหาหมอ เมือ่ ขาวปวย เกษตรตำบล คือแพทยที่ดี “สมั ย นั่ ง ทำงาน อยู ที่ อบต. ถ า ชาวนา มา หา ผม ผมเปรียบเหมือนหมอ โดยหลักการหมอตองอยูที่ โรงพยาบาล แตพอเขาไปหา เจาของนาคือคนเฝาไข ไป แตตัว ไมพาคนปวยไปดวย เราก็ตรวจไมถูก” รูแล  ววาทำไมพีนริ ่ นถึงมานัง่ อยูที ศู่ นยขางๆ นาขาว ในศูนยเรียนรูนี้ยังประกอบไปดวย โรงปุยอัดเม็ด


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

บอปลา โรงเห็ด โรงเพาะเชื้อราเพื่อใชแทนปุยเคมี สำหรับโครงการในอนาคต พื้นที่โลงบางสวนของ ศูนย เทคโนโลยี การเกษตร นี้ จะ กลาย เปน โรง สี ชุมชน ขนาดเล็ก เพื่อรับขาวเปลือกจากชาวนาประเทศหัวไผ มาสี โดยไมตองรอใหเถาแกจากภายนอกมารับซื้อ แววขาวมาวา ในอนาคตสิงหบุรีจะยึดเอาตรงนี้ เปนศูนยการเรียนรูทางดานเกษตรใหญโตระดับจังหวัด เลยทีเดียว จากเดิมที่มีแคโรงเรือนปุย แปลงนาทดลอง กับ อาคาร ศูนย เล็กๆ อีก ไม นาน ก็ จะ มี โรง สี ศูนย เรียน รู เศรษฐกิจพอเพียง ศูนยขาวชุมชนหัวไผเพิ่มเติม เปน ศูนยกลางความรูการเกษตรแบบครบวงจร กิจกรรมของศูนยอีกอยาง คือ ทุกวันศุกร จะมีการ รวมสมาชิกของศูนยเรียนรูทางการ  เกษตรมานัง่ พูดคุยกัน ถามไถความเปนไป รับขาวสารใหมๆ เปนโรงเรียนชาวนา ขางๆ แปลงขาวอยางแทจริง โชค ดี ที่ เรา ได มี โอกาส เห็น ติว เต อร นริน สอนวิชา เกษตรใหกับชาวนาประเทศหัวไผ ในหองเรียนกลางแจง นักเรียน หรือชาวนาทั้งหลายตางนั่งฟงหลานถกปญหา วิชาการเกษตรภาคทฤษฎีอยางตั้งใจ

43


44 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ËÑÇ伋ÎÔÇÁÑÊ เวลาผานไป เกษตรกรชาวนาหลายคนเริม่ ตาสวาง จากลัทธิปุย เคมี เพราะคิดวาผลกำไรทีได ่ มานัน้ ฉาบฉวย ดินที่ใชเพาะปลูกปวยจนยากเยียวยา ราคาของปุยเคมีก็ใชวาจะถูกๆ เสียเมื่อไหร กวา จะซื้อหามาไดก็ทำใหตนทุนการผลิตเพิ่มขึ้นไมรกีู ่เทาตัว เดีย๋ วนีชุ้ มชนไหนๆ ก็ทำปุย อินทรียใช  กัน เนือ่ งจาก มีแววรุงสดใสยั่งยืนกวา หลายคนก็ยืนยันแลววาดีจริง แมขั้นตอนการเปนไปจะเนิบชา แตนั่นคือวิถีธรรมชาติ ที่ไมจำเปนตองฝาฝนเรงเรา แถมไมทำลายดินทำราย ตัวเองอีกดวย เกษตรนรินเลาเคลาเสียงหัวเราะวา “หลายคนชอบ บอกวา ทำไมหัวไผเชิดชูโรงปุยจัง” ใช...เราก็สงสัย จึงตองให อุ พาไปหาคำตอบ วิเศษ สุขเกษม เปนผูร บั ผิดชอบโรงผลิตปุย อัดเม็ด หมู 5 ในวัยใกลๆ 30 ป เขาเปนหนึ่งในคนหนุมไมกี่คน ที่ยังยึดหัวไผเปนที่ทำกินและเรือนนอน ไมไดจากจรไป ทำงานในมหานครบางกอกอยางคนรุน ราวคราวเดียวกัน ที่ตางพากันทิ้งผืนนาใหไวคนเฒาคนแกปกดำกำเคียว เก็บเกี่ยว ตั้งแตป 2549 วิเศษเริ่มเปนคนปนปุยแหงหัวไผ โดยอาศัยทุนจัดหาเครื่องจักรเบื้องตนจาก อบต.หัวไผ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

หลังจากเริม่ ตัง้ ตัวได กำไรจากการขายปุย ก็แปรเปลีย่ นไป เปนเครื่องจักรชิ้นตอๆ มา จนตอนนี้เขามีทั้ง เครื่องบด เครื่องผสม เครื่องรอน และจานปนเม็ดปุย กาวแรกของโรงปุยตองใชคนงาน 6-7 คน เพราะ ยังไมเชี่ยวชาญดานการบริหารจัดการระบบ และยังไมมี กูรูการปนปุย แตตอนนี้แค 2 คนก็เอาอยู “มูลสัตว แรธาตุ ขี้คางคาว ขี้วัว บางสวนก็ซื้อ เพราะของเราไมม”ี วิเศษบอกสวนผสมของปุย สูตรหัวไผ ใหเราฟงคราวๆ “อยากดูปนเม็ดไหม” เหมือนรูใจ เรายังไมทันตอบ วาแลววิเศษก็ โกย สวน ผสมที่ออกมาจากโมแลวขึ้นจานปน ซึ่งมีลักษณะ เหมือนถาดแบนๆ 2 ชั้น ขนาดใหญกวาจานดาวเทียม นิดๆ วางเอียงเตรียมทำงานอยู

45


46 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เมื่อเปดสวิตช ฝุนก็เริ่มฟุงตามแรงเหวี่ยง เราตอง เบี่ยง หนา หลบ ฝุน ควัน ปุย ที่ เริ่ม ผสม ตัว กัน คลุก ไป มา วิเศษตั้งหนาตั้งตาตักวัตถุดิบใสจนเต็มถาดวงใน เคล็ดลับของปุยสูตรหัวไผอยูที่หัวพนน้ำเล็กๆ ที่ จะติดอยูทั้งวงในและวงนอก ละอองน้ำที่ถูกพนออกมา ผสมกับปุยก็คือน้ำชีวภาพนั่นเอง วิเศษเลาวา ทีแรกใชน้ำเปลา ตอมาเมื่อเริ่มมีการ ทำน้ำหมักชีวภาพ ก็เลยเปนสวนเสริมเพิ่มธาตุอาหาร ดวย เมื่อ ผง ปุย ละเอียด ถูก น้ำ ก็ เริ่ม จับ ตัว เปน กอน ภายในถาดทัง้ 2 ชัน้ จะมีทีเก ่ ลีย่ เล็กๆ สำหรับปน ใหเปน เม็ดเทาๆ กัน และเมือ่ ถาดชัน้ ในเต็ม ก็จะลนกลิง้ ออกมา ปนอีกรอบที่วงนอกโดยอัตโนมัติ จานปนทั้ง 2 ชั้นนั้น วงในจะทำหนาที่ปนปุยให เปนเม็ดไดขนาด สวนวงนอกจะทำหนาทีปนใหเม็ดนั้น มีมวลเม็ดที่แนนขึ้นไปอีก คนปนปุยอยางวิเศษ ไมไดเปนกันงายๆ เพราะ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

หากกะเวลาขั้นตอนที่ปุยปนตัวอยูในจาน ผิดพลาด ยิ่ง เม็ดปุยอยูในจานปนนานเทาไหร เม็ดจะยิ่งใหญขึ้นเอง โดยไมมีใครตั้งใจ และนั่นหมายความวาตองเอาไปบด เริ่มขั้นตอนใหมอีกครั้งหนึ่ง อุ ไกดของเราทำหนาที่วิทยากรอธิบายอยูหางๆ เพราะถาเขาใกลมากนอกจากจะคุยกันไมรูเรื่องเพราะ เสียง ครื่ อง ปน เม็ด แลว ฝุน ยัง อาจ จะ หุม ตัว เรา ให เปน สีเทาออน หลัง จาก ที่ ปุย เม็ด ลน วงนอก ออก มา แลว ก็ ถึง ขั้นตอน ที่ ตอง ใช แรง คนใน การ ตัก ปุย ที่ กลาย เปน เม็ด แลวออกจากจานผสมใสรถเข็น นำไปเขาเครื่องรอนเพื่อ กระเทาะใหเปนเม็ดจนไดขนาดเทาๆ กัน ‘ขนาด’ ที่วานี้ วิเศษอธิบายวาอางอิงจากการนำ ไปใชกับเครื่องพนยา ที่จะละลายพอดิบพอดี ไมเหลือ ตะกอนนอนกน หรืออุดตันหัวพน สวนเม็ดที่หยอนมาตรฐานไมผานเกณฑ เล็กไป หรือใหญไป ก็จะนำไปบดผสมใหมอีกครั้งหนึ่ง ไมมีทิ้ง ไวใหเสียของไปเปลาๆ “ทุกอยางทีทำ ่ ออกมาจะไมมการ ี ทิง้ เลย” เสียงใคร สักคนดังแทรกเครื่องจักร ทุกวัน วิเศษจะทำการปน ปุย ตัง้ แต 8 โมงเชา ถึง 5 โมงเย็น เบ็ดเสร็จ 1 วัน ก็ไดปุย อินทรียอัดเม็ดคุณภาพดี ออกมา 40 กระสอบ หรือ 2 ตัน มีขอแมวาถาฝนไมตก

47


48 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

แดดดี ตากปุยแหงเร็ว ถึงฝุนจะฟุงจนคนกระเจิง แตความตั้งใจก็รวมตัว กันเปนเม็ดจนได ปุย เม็ดจะเรียงตัวทับกันอยูกลาง  แจงแค 2-3 ชัว่ โมง ไมตองใหแหงมาก ใหเหลือความชื้น 60 เปอรเซ็นต เพื่อ ใหจุลินทรียมีชีวิตอยู เสร็จแลวจะถูกบรรจุใสถุงเตรียม จำหนายทันที ที่กระสอบมีชื่อยี่หอเกไก ‘หัวไผฮิวมัส’ ราคา 290 บาท สำหรับ เกษตรกร ใน หัว ไผ โดย เฉพาะ และ จะ ยัง ไมสงไปขายนอกพื้นที่ บางครั้งก็แจกฟรีกับสมาชิก 40 กวาราย เพราะนี่คือวิธีการเรียนรูของคนหัวไผ สอนให


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

รูจ กั ใชของในทองถิน่ ทีผลิ ่ ตโดยคนหัวไผเอง กอนทีจะ ่ คิด เรื่องคาขายในอนาคต ปุ ย ของ คน หั ว ไผ ก็ จะ ถู ก โรย ใน นา ของ คน หัวไผเอง “ตอนนี้ปุยของเรามีคนตองการ มาก บางทีผลิต ไมทัน” ไมใชคนนอย หรือขี้เกียจทำงาน แตวัสดุบางอยาง เชน ขี้คางคาว ที่หัวไผเองมีไมมากพอ ตองสั่งซื้อและ ขนสงมาจากชัยนาท ทำใหระยะเวลาในการทำ บางครั้ง ก็ติดขัดยืดยาว สวนคุณคาทางอาหารของปุยที่พืชจะนำไปใชนั้น รับรองโดยนักวิชาการเกษตร และหมอดิน ซึ่ง ทำการ ตรวจ คุณภาพ ของ ดิน ที่ นี่ และ ชวย พัฒนา สูตร ปุย เพื่อ ความเหมาะสมกับดินในพื้นที่หัวไผ เรียกวาเปนการทำปุยแบบ ‘วัดตัวตัด’ โรงปนปุยแบบนี้ มีอยูในหลายตำบลที่เปนชุมชน เกษตรกร แตปจจุบันเหลือเพียงไมกี่รายที่ยังคงตั้งหนา ตั้งตาทำปุยเม็ดอินทรีย เพราะหากรักจะทำเกษตรแบบ เร็วๆ จนแขงกับปุยเคมีได วิธการ ี เชื่องชาตามธรรมชาติ คงไมนาพิสมัย เมื่อไมมีใครใช พวกเขาก็จะหันกลับไปสู วิธีเดิมๆ คือ พึ่งพาสารเคมีวันยันค่ำ คนทีชอบ ่ พูดวา ‘ใชปุย อินทรียเหมื  อนเอาดินไปถม ดิน’ ยอมไมเขาใจศาสตรแหงธรรมชาติ

49


50 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ถัด จาก รั้ว โรง ปุย มี ถัง พลาสติกวาง เรียง ราย อยู หลายใบ น้ำหมักชีวภาพทัง้ จากเศษซากพืชและหอยเชอรี่ วัตถุดิบสำคัญในการปนปุยเม็ดกำลังบมตัวใหกลายเปน น้ำหมักชั้นดีสำหรับพืชผลทั้งหลาย ในทองนาหลังฤดูกาลเก็บเกี่ยว จะมีเศษฟางขาว กองกายกันเปนพะเนิน ถาเปนทีอื่ น่ วิธการ ี เผาใหสิน้ ซาก


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

เปนวิธีที่รวดเร็ว และนิยมใชกันแพรหลาย แตวิธีที่งาย บางครั้งก็มักงาย น้ำหมักนี้นอกจากจะใชเปนปุยน้ำแลว ยังใชเปนตัวยอยสลายตอฟางขาวตามธรรมชาติ “การทีเรา ่ จะไปบอกใหชาวบานเขาเปลีย่ นความคิด มาใชวิธอิี นทรียน ะ มันยาก เราตองทำใหเขาดูกอน โกหก ไมได ไมตองโฆษณา เขาเห็นวาดี ก็ใชตามๆ กันเอง” วิเศษอธิบายขั้นตอนการเรียนรูตามแบบเกษตรกร

Èٹ ¢ŒÒǪØÁª¹ËÑÇ伋 ศูนยขาวที่นี่เริ่มตนคิดกันมาตั้งแตป 2550 แต เหมือนขาวคอยฝน งบประมาณเพิ่งจะหลนลงมาจาก ฟากฟา ใหศูนยขาวไดเริ่มตั้งไข กองทุนนี้ อบต. เตรียมจัดไวซื้อพันธุขาว แตแลว แผนก็สะดุด เพราะ ‘น้ำ’ พื้นที่นากลายเปนบึงชั่วคราว โครงการก็ตองรอความหวังหลังน้ำลด “สั ญ ลั ก ษณ ประจำ กระ ทร วง เกษตรฯ เลยพระพิรุณ” คำพูดเจือสำเนียงตัดพอของพี่นริน สำหรับภาพที่วาดไว คือ การใหที่ดินกับเกษตรกร 4 ไร ตอรายเพื่อตรวจสอบพันธุขาวที่ไดมา แลวดึงศูนย สงเสริมผลิตภัณฑขาวจังหวัดชัยนาท ซึง่ มีความเชีย่ วชาญ มากกวา ใน โซน ภาค กลาง เขา มา เพื่อ อบรม เกษตรกร ประเทศหัวไผ ใหสามารถตรวจสอบความแทของพันธุ ขาว และคัดคุณภาพเองได

51


52 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ศูนยขาวนี้มีสมาชิก 40 กวาคนรวมเปนหุนสวน ดวย ในรูปแบบของสหกรณ หุนละ 100 บาท ทั้งหมด จำนวน 703 หุน ซื้อพันธุขาว อุปกรณเครื่องใชเขาศูนย และเครื่องคัดพันธุขาว พันธุขาวที่ผานการเพาะแลวนั้น อบต. ก็จะจัด งบประมาณมาซื้อเอาไวเองสวนหนึ่ง สวนที่เหลือก็ยก ใหเปนพันธุของชาวนา “ไฮไลทของประเทศหัวไผของผม เลิกกันทีนาดำ ดำคน ดำหวาน” เสียงแข็งขันเมื่อเรื่องราวเริ่มลงลึกไป ถึงระดับรากขาว ดำ คน คือ การ เพาะ กลา กอน แลว ลง ไป ดำ ในนา นาหวานก็คือหวานเมล็ดลงในนาเลย พี่ นริน พยายาม จะ สราง วัฒนธรรม ใน การ ปลูก ขาวใหมของคนหัวไผขึ้นมา ซึ่งวากันวา เปนความรูของ ปราชญชาวบานตั้งแตในอดีต คือ ‘ระบบนาโยน’ การทำนาปลูกขาวแบบดั้งเดิมมีขั้นตอนมากมาย ทั้งไถนา เตรียมดิน คราด กำจัดวัชพืช ทำเทือก ตกกลา ถอนกลา ชาวนาตองตากแดดกรำฝน หลังขดหลังแข็ง การ ทำ นา โยน ยั ง ไม เป น ที่ แพร หลาย ใน วงกวาง เพราะเกษตรกรสวนใหญยังติดกับวิธีการเดิมๆ เมือ่ ทำซ้ำๆ มาเปนระยะเวลานาน ถึงขัน้ หลายชัว่ คนก็ยาก ทีจะ ่ เปลีย่ น จนชาวนาสมัยใหมไมรขู อดีของการทำนาโยน

53


54 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

¢ŒÒǹÒâ¹ นาโยน เปนการผสมผสานระหวางการทำนาดำกับ นาหวาน นึกภาพงายๆ ก็คือ การโยนตนกลาที่เพาะไว แลวลงในแปลงนา คลายๆ การปกดำตนกลา แตไมตอง ใชเครื่องจักร หรือใชแรงงานคนนับสิบลงไปย่ำดินลุยน้ำ และวิธีการนี้ยังชวยลดปริมาณการใชเมล็ดพันธุขาว คือ ใชเพียง 4-5 กิโลกรัมตอไร ลดการใชสารเคมีกำจัดวัชพืช เพราะตนกลาขาวจะเจริญเติบโตไดเร็วกวาวัชพืช ขั้ น ตอน การ ทำ นา โยน เริ่ ม จาก การ เพาะ กล า ดวยการนำเมล็ดพันธุขาวประมาณ 4-5 กิโลกรัมแชน้ำ 1 คืน นำไปหุมเพื่อใหเมล็ดงอก จากนั้นเพาะลงในถาด พลาสติกจำนวน 50-70 ถาดตอพื้นที่ 1 ไร หรือคิดเปน พื้นที่เพาะเมล็ดประมาณ 10-15 ตารางเมตรตอไร หลังจากเพาะในถาดประมาณ 3-4 วัน ตนขาว จะงอกขึ้นมา รดน้ำทุกวันจนกวาตนกลาพรอมที่จะนำ ไปปลูก ตนกลาทีพร ่ อมจะยายปลูกประมาณ 15-20 วัน หรือมีความสูงประมาณ 3-5 นิ้ว จากนัน้ เมือ่ เริม่ โยน ระยะหางของการโยนประมาณ 20-25 เซนติเมตร การจับตนกลาหรือจับโยนตุม ตนกลา นั้นอาจใชวิธีถือถาดเพาะแลว ดึงตุมออกจากถาดเพาะ แลวโยน หรืออาจจะใชวิธีเคาะตุมตนกลาออกจากถาด เพาะ กอน นำ ใส ถัง พลาสติก แลว นำ ไป โยน ตุม กลา ในแปลงนา ทำใหตนกลาไมช้ำหรือคอหัก ขาวแตกกอ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ไดดีและรวดเร็ว แตกตางจากการปกชำทีต่ องเดินลุยลงนาไปปกชำ กลาที่เพาะไวทีละตน ขาวอาจช้ำ และคอหัก หลังจากการโยนตนกลาประมาณ 1-3 วันนำน้ำ เขาแปลงนาทันที และเพิ่มระดับน้ำขึ้นเรื่อยๆ แตตอง ไมทวมตนขาว จนระดับน้ำประมาณ 5-10 เซนติเมตร เพื่อใหน้ำเปนตัวควบคุมวัชพืช ดูแล แปลง นา จน ขาว โต คลุม พื้นที่ หรือ รักษา ระดับน้ำจนถึงระยะกอนการเก็บเกีย่ วประมาณ15-20 วัน จากนัน้ การดูแลรักษาเชนเดียวกันกับการปลูกขาวทัว่ ไป แต ผลผลิตจะมากกวา 10-30 เปอรเซ็นต

55


56 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

05 ÇÔ¶Õ ä·Â


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

กลิ่นอายวิถีคนไทยแตเดิมเปนอยางไร? คน กรุ ง เทพฯ อาจ คิ ด ว า เป น หมอก ควั น หรื อ น้ำหอมราคาแพงในหางดัง เปลา...วิถีชีวิตแบบเดิม ไมไดสูดรสกันแคทางจมูก แต กลิ่น อาย ที่ วา รับ รู สัม ผัส กัน ดวย วัตร ปฏิบัติ ความ สัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษย และมนุษยกับธรรมชาติ ดำเนินรูปแบบชีวติ ดัง้ เดิม พึง่ พา ไมกดขี่ เฆีย่ นตี ฉกฉวย ผลประโยชนกันไมลืมหูลืมตา

57


58 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

นับวัน ผาน ไป ผูคน ตาง ถาง ระยะ ความ สัมพันธ ระหวางกันออกไปเรื่อยๆ ทุกนาทีที่เข็มนาิกากระดิก เดินหนา สังคมทีเหนี ่ ยวแนนก็คอยๆ ยอยสลายตัวกลาย เปนปจเจก ที่ไมเห็นหนาเห็นหลัง อยูแบบตัวใครตัวมัน ความ หมาย ของ ความ สุข ถูก ผูก ติด อยู กับ ความ สะดวกสบาย แมฉาบฉวยแตก็เคลือบทาจิตใจคนเสียจน หยาบกราน โดยไมรตัู ว หากยอนเวลากลับได ภาพอดีตคงฉายเปนวิถเนิ ี บ ชา ไมตองวิ่งรีตาม ่ หลังคูแขงที่ชื่อ ‘เวลา’ ไดดื่มด่ำรสชีวิต อยางอิ่มเอม

ÇѲ¹¸ÃÃÁËÑÇ伋 ชาวบานหัวไผในอดีตปลูกบานเรือนอยูริมคลอง ตามธรรมชาติ เปนชุมชนเกษตรกรรมมาแตชานาน ไม สวน ใหญ ใน ชุมชน นอก เหนือจาก ไม ผล ใน สวน ก็ คือ ไผสีสุก ซึ่งขึ้นมาเองตามธรรมชาติ กับไมไผปาที่ขึ้นอยู มากมาย นั่นคือที่มาของชื่อ ‘หัวไผ’ ตามวิถชาวนา ี หาขาวในนา หาปลาในน้ำ ทุกพืน้ ที่ ทีสามารถ ่ ทำทางน้ำเขาไปได ก็จะเปนพื้นที่นาขาว และ ที่นี่เปนที่ราบลุมมีน้ำไหลผาน เกือบทั้งหมดของหัวไผ จึงเปนนาขาว และแนนอน...ขาวนั้นมีไวกินในครอบครัว


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ในน้ำและนา ตางมีปลาชุกชุม วิถีชีวิตที่เรียบงาย สมัยกอน จะออกจับปลา ทอดแหในคลอง ดักสุมในนา กันตัง้ แตเชามืด แคพอกินไดในครอบครัว ไมมใคร ี คิดเรือ่ ง การจับปลามาทำการคาขายแลกเงิน นอกจาก ใน น้ำ จะ มี ปลา แลว บรรดา ผัก ลอย น้ำ ตางๆ ก็ มี ให เก็บ กิน ไมรู หมด ทั้ง ผัก บุง ผัก กระเฉด สายบัว หลัง จาก ครอบครัว อิ่ม ทอง แลว หาก มี ขาว ปลา อาหารเหลือ ก็จะมีการเจือจุนบานใกลเรือนเคียง ประดุจ ญาติมิตร ตามแบบชุมชนแบบเกาที่ตองพึ่งพากัน

§Ò¹ºØÞ ในสังคมชนบท ที่ขาดไมไดคือการทำบุญใสบาตร ซึ่งในสังคมชนบทวัดกับบานเปนของคูกัน และอยูอยาง พึ่งพา ทั้งวันพระธรรมดา และงานบุญใหญ ก็จะเปน งานชุมนุมกันทำบุญในวัดหลายๆ แหง ตามแตบานใคร ใกลวัดไหน งานบุญทีใหญ ่ ทีส่ ดุ ของคนหัวไผ คือ งานสงกรานต ซึ่งไมไดมีแคการสาดน้ำ หรือประเพณีรดน้ำดำหัวผูใหญ เทานั้น โดยเปนการทำบุญยาวถึง 4 วัน กิจกรรมในงานสงกรานต หรือ ปใหมไทยคือ ไป ทำบุญตักบาตรที่วัด มีขนมจีนน้ำยาเปนอาหารประจำ เทศกาล ออกเยี่ยมญาติผูใหญ กอเจดียทรายทีวั่ ด และ

59


60 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

สรงน้ำพระพุทธรูป อี ก งาน ที่ มี ความ สำคั ญ ไม แพ กั น คื อ งาน บุ ญ สารท เดื อ น 10 ชาว บ า น จะ กวน ขนม กระยา สารท ขาวเหนียวแดง ทำ ขนมจีน น้ำยา ไป ทำบุญ และ แลก เปลี่ยนแจกจายกันรับประทานที่วัด แตไมวาจะเปนงานบุญไหนๆ ก็จะเต็มไปดวยผูมา  รวมงานมากมาย แตการไปรวมนัน้ ไมไดมีแคการไปรวม ดื่มกิน แตเปนการรวม ‘ชวยงาน’ อยางแทจริง ไมตอง ใสซอง ทั้งวันกอนงานที่เรียกภาษาบานๆ วาวันสุกดิบ วันงาน และวันหลังเลิกงาน

à·È¡ÒÅ¡Ô¹ÍÂÙ‹Í‹ҧä·Â ความสัมพันธกันในชุมชนแบบพี่นอง เครือญาติ เปนเอกลักษณของสังคมไทยแทๆ ที่ฝรั่งอาจไมรลึู ก แต สำหรับเราคนไทย การเรียกขานคำพี่นอง ลุงปา เปน ความสนิทชิดเชื้อที่อยูในสายเลือด ทีอื่ น่ อาจจะมีงานกาชาดเปนงานใหญประจำทุกป หัวไผก็มีงานเทศกาลประจำปชื่อ ‘กินอยูอยางไทย’ เปน สิ่งเชิดหนาชูตาเหมือนกัน งานนี้จัดมา 9 ปแลว ตั้งแต ป 2545 เปาหมายของงานใหญนี้ คือ ใหคุณคากับภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่น เพื่อหวังใชสิ่งเหลานี้ชวยเยียวยาชีวิต เปนภาพ สะทอนใหเห็นถึงความเปนจริงในวิถีชีวิตแบบชาวบาน


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ทีด่ ำรงอยูบน  พืน้ ฐานเรียบงายมาแตไหนแตไร มีประเพณี วัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณของตัวเอง แนวความคิดของนายกฯทวีป จูมั่น เนนสรางการ เรียนรู พัฒนาที่ตัวคน ผานกระบวนการทำงานรวมกัน สรางความเอื้ออาทร เพื่อยึดเหนี่ยวสังคมแบบเดิมๆ ไว ไมใหกระแสธารทุนมาพรากจากไปเร็วนัก สังคมที่ดีตองเขมแข็งตั้งแตราก “ถาทุกวันนี้ยังอยูในภาวะที่แขงขันกัน อะไรๆ ก็ มองแตการแขงขัน ไมนาจะไปสูการ  พัฒนาทียั่ ง่ ยืน” นายก ทวีปพูดไว

61


62 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เมื่อครั้งทีเริ ่ ่มคิดจะจัดงาน ทุกคนหันมองหนากัน แลวพบวา หัวไผไมไดมีใครเปนออรแกไนเซอรจัดงาน มืออาชีพ แตก็ตองมารับหนาเสื่องานใหญ 7 วัน 7 คืน ไมใชเรื่องงาย งาน ใน ครั้ ง นั้ น แม ไม สะดุ ด แต แน น อน ว า ได สอนบทเรียนอะไรหลายๆ อยางใหกับนักจัดงานแฟร มือสมัครเลนบาง อยางนอยๆ เรื่องระยะเวลา 7 วันอาจ เปนอะไรที่เกินขีดความสามารถของชาวบานธรรมดา ที่ ไมไดเนนทำการคาเพิ่มยอดขายในงานใหญ งาน กิ น อยู อย า ง ไทย จึ ง ลด เวลา เหลื อ 3 วั น ในปถัดๆ มา เดิมที งาน นี้ จะ จัด กัน ใน เดือน กันยายน แต จาก ที่ผานมา ฝนก็มารวมงานดวยโดยไมไดรับเชิญ จึงไดมี การยายชวงเวลาการจัดงานมาในเดือนพฤศจิกายน ชวง ที่อากาศกำลังเริ่มเย็นสบาย โดยจะเริ่มในปหนา 2554 กำหนดการในงานนี้ทุกปจะไมคอยตางกัน อยาง ในป 2553 นี้จะเริ่มวันที่ 3-5 กันยายน โดยจะวันแรก จะมีการประกวดผักปลอดสารพิษ การประกวดอาหาร ไทยพื้นบาน การแสดงดนตรีไทย สวนภาคกลางคืนจะ เปนพิธีเปดงาน วันที่ 4 กันยายน มีตลาดขนมไทย สวนในภาค กลางคืนชมการแสดงของ ชาย เมืองสิงห และคอนเสิรต เพลงลูกทุง


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

วันที่ 5 กันยายน กลางวันชมการแขงขันเรือ 12 ฝพาย ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กลางคืนชมดนตรีลูกทุง หุน ละครเชิด โจหลุยสและการแสดงลิเกคณะพรเทพ พรทวี ทาทางงานใหญของทีนี่ ป่ นี้ นาจะไมใชมือสมัครเลน เสียแลว

áÁ‹à¾Å§ หัวไผเคยมีแมเพลงชือ่ ดังอยู คือ แมเสนียม เทียนศรี หรือชือ่ แมเพลงเกีย่ วขาว มีประวัตเล ิ ากันวา คุณยายเสนี ยมเคยมีโอกาสไปวาเพลงเรือถวายสมเด็จพระนางเจา รำไพพรรณณี ในพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 เปนที่ภาคภูมิใจของชาวตำบลหัวไผ วากันวาคุณยายรองเพลงพืน้ บานและเพลงกลอม เด็กไพเราะมาก จนไดรับเชิญเขาวัง สวนหนึ่งของการจัดงานในครั้งนี้ ก็เพื่อเปนการ อนุ รั ก ษ ประเพณี วั ฒ นธรรม ภู มิ ป ญ ญา ท อ งถิ่ น ของ คนในตำบลหัวไผ และเปนการเชิดชูเกียรติ คุณยายเสนียม เทียนศรี ในพิธีเปดงานจะมีการแสดง แสง สี เสียง สืบสาน ตำนานคุณยายเสนียม เทียนศรี โดยขวัญจิต ศรีประจัน และไวพจน เพชรสุพรรณ ศิลปนดัง

63


64 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

11+1 ¡ÑºªÒǺŒÒ¹ºÒ§ÃШѹ อุ สง ซีดี แผน หนึ่ง มา ให เรา มีชื่อ พาด ปก ตาม หัวเรื่องนี้...คืออะไร เราเก็บงำความสงสัยไวกับตัวเองอยูนาน ถาไม เปดฟงคงไมรูวา นี่คือเพลงที่ใชประกอบชุดการแสดง เรือ่ ง ‘ศึกบางระจัน’ ในงานเทศกาลกินอยูอย  างไทย เพือ่ รำลึกเหตุการณทีวี่ รชนผูกล  าแหงบานบางระจัน จำนวน


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

11 คน + ควายของนายทองเหม็นทียื่ นรวมอนุสาวรีย ใน ฐานะที่เปนพาหนะเขารวมรบศึก ซึ่งเปรียบเสมือนวีรชน ผูกลาเชนเดียวกันอีก 1 ตัว จึงเปนที่มาของชื่อ ‘บทเพลง 11+1’ เสริฐ ชางไทย คือ ศิลปนผูประพันธบทเพลงเชิดชู วีรกรรมครั้งนี้ คนเขาใจยากอาจคิดมากตีความเปนเลขเด็ด

65


66 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

06 ÊÇÑÊ´Ô¡ÒâͧªØÁª¹

67


68 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

¡Í§·Ø¹ÊÇÑÊ´Ô¡ÒÃËÑÇ伋 ประกันสุขภาพ ชื่อนี้ไมไดมีความหมายอยูแตใน บัตรทอง หรือมีราคาแค 30 บาท ใน ระดั บ ชุ ม ชน หั ว ไผ ได เริ่ ม มี การ พั ฒนา ระบบ สวั ส ดิ ก าร ชุ ม ชน จน มี ระบบ ประกั น สุ ภ าพ เป น ของ ตัวเองได โครงการประกันสุขภาพในชุมชนนี้ เปนเรือ่ งราวสืบ เนือ่ งมาจากกองทุนหลักประกันสุขภาพของรัฐ เริม่ ตัง้ แต ป 2550 แตทีหั่ วไผมีการผนวกกำลังทรัพยของประชาชน เขาไปดวย เพื่อใหชาวบานไดรูว า การดูแลสุขภาพชุมชน ตองเปนเรื่องรวมดวยชวยกัน เพื่อใหประชาชนไดเขามา มีสวนรวมในการวางแผนจัดการสุขภาพของชุมชน การมีสวนรวมที่วา จะสมทบเงินขั้นต่ำ 20 บาท หรือเปนขาว 1 ถังตอปก็ได จนในปแรกมีกองทุนทีม่ าจาก ชาวบาน 4 หมื่นกวาบาท รวมกับเงินสมทบจากกองทุน ประกันสุขภาพของภาครัฐเปน 3 แสนกวาบาท งานหลักของโครงการดีๆ นี้จะเนนความรูความ เขาใจดานสุขภาพ วาการตอสูกับโรคภัยที่ดีที่สุดคือการ ปองกัน ไมใชการรักษา ตองมีสุขภาพดีกอน และมีสวนกองทุนสวัสดิการชุมชน สำหรับใชใน กรณีฝากครรภ ทำฟน เคลือบฟลูออไรด ไปจนถึงฟอกไต ที่ แตละ ครั้ง มี ราคา แพง หลาย พัน บาท แต กองทุน นี้ ก็ มีสว นชวยแบงเบาภาระคาใชจายให รวมไปถึงกรณีไดรบั


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

อุบัติเหตุ บาดเจ็บ หรือเสียชีวิต

ÇÒÃպӺѴ เป น ภู มิ รู มา หลาย ชั่ว อายุ คน แล ว ว า น้ ำ ช ว ย ใน การ รั ก ษา โรค ได ที่ หั ว ไผ มี ‘บ อ วารี บำบั ด ’ เป น เหมือนสปาเล็กๆ แต เดิม ที่ โรง พยาบาล หัว ไผ จะ มี ชมรม ผู สูง อายุ ลุงปา ตา ยาย กวา 300 คนใน หัวไผ จะ มา ประชุม กัน ทำกิจกรรม สวดมนตไหวพระ รองรำทำเพลงตามประสา ออกกำลังกายรำไมพลองเดือนละ 1 ครั้ง สระน้ำเล็กๆ นี้ เปนสวนขยายของกิจกรรมที่วา เพราะบางครั้งการมีกิจกรรมซ้ำซากอาจจะนาเบื่อ และ การรำไมพลอง อาจเปนงานชางสำหรับผูเฒาบางคน ทำไม ถึงเปนสระวายน้ำ คน เราเมือ่ เริม่ ทำไมถงเปนสระวายนำ คนเราเมอ สัมั ผัสั กับั คำ คำววา ‘แก’ สัญ ั ญาณ ญาณหหนึ่ง ทีจ่ ะะเริ เริม่ สังเกต ได คือ ขอเขา แและ เกตได

69


70 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เมื่อเขามีปญหา การออกกำลังกายดวยวิธอืี ่นๆ วิ่ง เตน ปนจักรยาน ก็เริ่มไมสนุก อาจมีความทรมานเจ็บปวด เรื้อรังเปนของแถม ออกกำลังกายในน้ำ คือ คำตอบทายสุด เพราะ ไมวาเราจะเคลื่อนไหวในอิริยาบถใด น้ำจะชวยรองรับ และลดแรงกระแทกกระเทือนไดมาก ทำใหไมเปนการ หักโหมทรมานสังขารมากเกินไป การเคลื่อนไหวใตน้ำนั้น มนุษยทุกคนยอมรูดีวา จะเชือ่ งชา ไมจำเปนตองใชแรงมากใหเปลือง ดวยเหตุผล ดานความหนาแนน บางคนก็ลอยตัวไดเบาสบาย “เดิมทีมันปวดขาปวดแขง พอมาเลนน้ำ ก็ดีขึน้ แต ไมใชวันสองวันนะ เลนเปนเดือน“ ลุงทวี ลูกคาบอวารี ดอนแกวรุนแรกเลาถึงสรรพคุณ ไม ใ ช แค ขา และ ลำแข ง เท า นั้ น เมื่ อ มี การ ออกกำลังกายเคลือ่ นไหว มีการเผาผลาญ สภาพรางกาย โดยรวมก็จะถูกจูนเครื่องใหมใหปกติตามไปดวย ตอนนี้ ลุงทวีรูสึกสบายมาก หลังจากโบกมือลายากินไปหลาย ขนาน ริม สระ เรา คุย กับ ผู ดูแล ถึง กิจกรรม สอน คน แก ในสระน้ำ อุ บอกวาตองอาศัยครู-เพิง่ รูว า จตุพล นครชัย คนหนุมที่เราคุยอยูดวยนี่เปนครูของลุงๆ ปาๆ จตุพลเลาวากิจกรรมในน้ำ มีทั้งการวิ่ง วายน้ำ กระโดด และเดินไปรอบสระ เพื่อใหกลามเนื้อไดทำงาน


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

การ ลง สระ ไม ได จะ ลง ไป พรอม กัน ที ละ หลาย สิบคน เพราะสระชุมชนนี้มีขนาดเล็ก 5-7 คน พรอมๆ กัน คือจำนวนที่พอดิบพอดี เหมือนการออกกำลังกายรูปแบบอื่นๆ กอนลงไป ออกแรงในสระ ก็มีการวอรมรางกายพรอมๆ กัน เปนการ ปลุกเสนสายใหรูต วั กอนลงสระ โดยครูจตุพลจะเปนผูน ำ อยูขางสระ เราสังเกตวา ในสระมีหัวพนอากาศพนน้ำวน ปรับ แรงดันไดเหมือนสระในสปาหรู ครูจตุพลอธิบายวา เปนการใชกระแสน้ำวนชวย ในการออกแรงของกลามเนื้อ ในขั้นเริ่มตนตองเดินตาม กระแสน้ำ อยากออกแรงมากก็ตองเดินทวนกระแสน้ำ แตทัง้ นีต้ องดูความเหมาะสมของรางกายแตละคน เพราะ บางคนอาจปลิวลอยไปตามกระแสน้ำจนตั้งตัวไมติด สำหรับอาการที่เปนกันทั่วๆ ไปในหมูคนแกที่มา เขาคอรสวารีบำบัดก็คือ อาการปวดตามขอ ตัง้ แตหัวไหล ลงไปยันปลายเทา ซึง่ หลายคนยืนยันวา ยิง่ ขยับใหกระดูก เขยื้อน อาการขัดของในขอก็กระเด็นหายไป “กอนนั้นลุงเดินโยเยนะ ตอนนี้ปรอเลย” ครู จตุ พล เปน คน หัว ไผ จบ วิทยาศาสตร การ กีฬา มานี่เอง ถึงไดมีหนาที่กำกับฝกสอนกิจกรรมวารีบำบัด ไดเปนอยางดี เพราะนอกจากจะตองมีควารรูทางดาน กายภาพมนุษยแลว ก็ตองมีความรูเกี่ยวกับขีดจำกัดของ

71


72 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

รางกายคนดวย เพราะลูกคาสวนใหญของที่นี่ ไมใชคน หนุมสาวกลามเนื้อแนนเหมือนในฟตเนส สระวารีบำบัดนี้ เปดบริการทุกวันธรรมดา ปดวัน เสาร-อาทิตย ไมคิดคาบริการลงสระเลยแมแตบาทเดียว เพราะเปนสวัสดิการของผูสูงอายุ ใครวางก็มาได ใคร ปวยมากก็มาบอย ไมใชแคมาอาศัยที่ของโรงพยาบาลอยู ที่นี่มีหมอ และพยาบาลคอยตรวจเช็คสุขภาพผูสู งอายุทีม่ าใชบริการ กอนเลนและหลังเลนน้ำ จะมีการตรวจสุขภาพแสดงออก มาเปนกราฟเปรียบเทียบกัน ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน ตรวจการเตนของหัวใจ ในอนาคต สระนี้จะไมไดมีแตคนแกเทานั้นที่มา วายน้ำ แตจะมีนองหนูละออนเขามารวมดวย


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

“ชาว บาน เขา เห็น มี สระ ก็ เลย ให ลูก มา หัด เรียน วายน้ำ ผมก็สอน” ใคร บาง คน พู ด ไว ‘ลู ก แม น้ ำ ต อ ง ว า ย น้ ำ เป น ทุกคน’ โครงการตอไปก็จะขยายจากงานที่เคยรองรับแต ผูสูงอายุ ไปหาศูนยเด็กเล็ก ซึ่งเด็กทีจะ ่ มาหัดวายน้ำนั้น ตองมีอายุตัง้ แตอายุ 3 ขวบขึน้ ไป และเพือ่ ความปลอดภัย จะมีอาสาสมัครชุมชนมาคอยเปนพี่เลี้ยงใหดวย

Èٹ ¾Ñ²¹Òà´ç¡àÅç¡ËÑÇ伋 ในกอไผมีหนอไม ที่หัวไผก็มีเด็ก เด็กนอยๆ ก็เหมือนหนอไมเล็กๆ ทีแทง ่ ยอดออก มา เตรียมที่จะยืนทอดสูงเปนลำตนไผตอไป ในอนาคต ไม ต า ง จาก เนอ ร ส เซอ รี หลาย แห ง ใน เมื อ ง กรุ ง

73


74 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ศูนย เด็ก เล็ก มี ไว ก็ เพื่อ แบง เบา ภาระของผูปกครอง ที่สวนใหญ เปน ชาวนา เมื่อ ตอง ไป ทำงาน กลางแจง ก็ไมมีใครดูแลเด็กๆ ครู สั ง เวี ย น พั น พั ว เล า เรื่อง ศูนย เด็ก เล็ก ที่ เปน เสมือน แหลงเพาะหนอไมของหัวไผใหฟง ทามกลางกลุมเด็กที่ไมอยูนิ่ง ที่นี่เดิมมีชื่อวาศูนยพัฒนา เด็กเล็กวัดโพธิ์ชัย ตั้งแตป 2542 ตอ มา เพื่อ ให งาย ตอ การ บริหาร งาน จึงตั้งมาเปนศูนยพัฒนาเด็กเล็กประจำตำบลหัวไผ เมื่อป 2549 อยูในบริเวณโรงเรียนวัดโพธิ์ชัย ในสถานที่ไมใหญโตขนาด 2 หองเรียนนี้ มีเด็ก 60 คน ครู 3 คน รับตัง้ แต 2 ขวบครึง่ ถึง 4 ขวบ หลังจากนัน้ เด็กก็จะ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ถูกสงไปเรียนในชั้นอนุบาลในโรงเรียนอื่นๆ แตบางครั้ง เด็กจะผูกพันกับสถานที่ ก็จะเขาเรียนที่อนุบาลโรงเรียน วัดโพธิ์ชัยตอเลยก็มี พอแมคนไหนสนใจ แคมาสมัครก็สามารถสงลูก เขามาไดเลย มีรถรับสงบริการ ไมเสียคาใชจาย ทั้งคา เลี้ยงดู คาอุปกรณ หรือแมแตคาอาหารกลางวัน และ อาหารวาง ทุกวัน เด็กๆ จะ เริ่มทยอย กัน มาตั้งแต 7 โมง ครึ่ง ทำ กิจกรรม ใน หองเรียน ทั้ง เรียน รู และ เลน จน 11โมงครึ่ง-บาย 2 ก็จะเปนชวงที่วัยซนหมดแรง ตอง กินมื้อเที่ยงและเขานอน ประมาณบาย 3 เด็กๆ ก็กลับ บาน เราไปถึงใกลตอนเที่ยง บางสวนของหองเรียนเริ่ม มีบรรยากาศเงียบงัน เพราะความงวงกำลังพาเด็กนอย เขานอน

75


76 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เนื่องจาก เปน เด็ก เล็ก ไมมี ความ จำเปน ที่ ตอง เรียนเนื้อหาวิชาการอะไร การเรียนการสอนจึงแบงเปน 6 กิจกรรมตอวัน แบงตามพัฒนาการของเด็กเล็ก และ เด็กโต ทั้งหมด จะ เปน กิจกรรม ที่ เนน เคลื่อนไหว เขา จังหวะ การมีสวนรวม ความคิดสรางสรรค แตไมตางจากชัน้ เรียนเด็กเล็กทีอื่ น่ หัวไผก็มีปญหา เรือ่ งผูปกครอง  ไมเขาใจโรงเรียน คำถามมีเขามาวา ทำไม ไมสอนวิชาการ ซึ่งเรื่องนี้ตองอธิบายกันดวยเหตุและผล ยาวนาน เพราะการศึกษาของเด็กเล็กนั้น ตองเริ่มที่การ ทำความรูจักตัวเอง สังคม จิตใจ สติปญญากอน จึงจะ กาวไปในขั้นอานออกเขียนได ที่หัวไผคณะครูของศูนยเด็กเล็กตองเปดตัวเองสู ชุมชน ตั้งเปนกิจกรรม ‘โรงเรียนพอแม’ เพื่ออบรมสราง ความ เขาใจ และ สราง ทัศนคติ ใน การ ดูแล เด็ก ให ตรง กัน และบางครั้งก็ตองใหพอแมเขามารวมทำกิจกรรม ในหองเรียนดวย เพื่อใหไดเห็นภาพการพัฒนาการของ ลูกหลานตัวเอง และเด็กคนอื่นๆ ไปพรอมกัน “พอแมเรียกรองหาการบาน แตเด็กวัยนี้ตองการ การเลน” เราไมสงสัยวาทำไมตอนนองๆ หนูๆ ตื่น เสียง เจี๊ยวจาวถึงดังอยูรอบหอง บางคาบบางเวลา เมื่อมีโอกาส ทางศูนยก็จะจัด ใหวิทยากรทองถิ่นของหัวไผ ดนตรีไทย จักสาน ซึ่งเปน แหลงเรียนรูใน  ชุมชน มาทำกิจกรรมรวมกับเด็กๆ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

77


78 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

07 ¨Ñ¡μÍ¡ÊÒ¹àÊŒ¹ ¹Ñ¡ÊÒ¹ÃØ‹¹ãËÞ‹ จากชางปนรูปบนหลังคาโบสถมาเปนชางจักสาน ฟงดูทีนี่ จะ ่ มีเรือ่ งไมนาเชือ่ เกิดขึน้ ชางทัง้ 2 แขนงนี้ ไมนาจะเปนคนเดียวกันได ลุง จำนงค กลับ ทอง เปน ชาง ปน ลวดลาย บน หลังคาโบสถมานานกวา 30 ป โดยอาชีพของลุงจำนงค ตองปนปายขึ้นที่สูงทุกวัน จนมาวันหนึ่ง แมจะไมไดตก จากหลังคาโบสถ แตแคพลัดตกจากตนไม ก็ทำใหแก ไมสามารถขึ้นไปทำงานหลังคาโบสถเหมือนเดิมไดอีก หลังจากชีวติ ตองพบกับจุดหักเห ลุงจำนงคตองอยู กับบาน แตชะตาชีวิตไมไดทำรายคุณลุงศิลปนคนนี้มาก เกินไปนัก เพราะแมของลุงจำนงค แมทุเรียน หอมจันทร ซึ่งเปนนักสานรุนเกาทำงานฝมือสานเสนหวายมานาน กวา 40 ป อาสาเปนครูสอนอาชีพใหมให เมื่อ ชีวิต คน พบ ทาง ใหม ลุง จำนงค ได ใช ความ เปนศิลปนที่บมเพาะอยูในตัวตั้งแตสมัยเปนชางปน มา ประยุกต เขา กับ งาน รูป แบบ ใหม จน ออก มา เปน งาน หัตถกรรมแสนประณีต ปจจุบันลุงจำนงคเปน ผูชวยคอยควบคุมงาน ผลิต อยูในกลุมจักสาน หมูที่ 1 บานคลองบางกระเพรียง โดยมี ปาสำรวย กลับทอง ภรรยาของลุงเปนประธาน

79


80 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ศูนยเรียนรูแหงนี้ “เรายิ่งทำละเอียด ก็ยิ่งขายได” ลุงจำนงคหยิบ ตะกราใบหนึง่ ขึน้ มาอธิบายถึงความละเอียดของลวดลาย วาหวายทีจั่ กเปนตอกเสนเล็กๆ เมือ่ นำมาทำเปนลวดลาย ยิ่งละเอียด ยิ่งทำยาก แตขายไดราคาดี งานจักสานจะเริ่มตนขึ้นจากการนำตอกไปสาน ขึ้นรูปตามหุนที่ทำไวที่ละเสน อธิบายใหเห็นภาพงายๆ ก็เหมือนการนำเสนหวายไปเรียงหอหุมรูปรางที่วางไว อยางเปนลวดลาย คลายการวัดตัวตัดเสื้อใหหุน ดวยความที่เปนชางปนเกา งานสาน ของลุงจำนงคจะมีการขึ้นหุนไมไวกอน ซึ่ง หุ น ไม นี่ เ อง ที่ ลุ ง จำนงค ต อ ง งั ด เอา ความ สามารถกนหีบมาใช เพราะหากออกแบบและ กลึงหุนไมนี่ไดรูปรางงดงามเทาไหร ทรงของ งาน สาน ที่ นำ มา ทาบ ทับ กับ หุน ก็ ยิ่ง งดงาม ตามไปดวย นอกจาก ลวดลาย ลุง จำนงค ก็ มีการ เขียนแบบไวอยางละเอียด หลายๆ ครั้ง ก็ เปนการจำแบบลายไทยมาประยุกต และแบบ ที่เขียนไวบางชิ้น ก็จะถูกนำมาสอนสมาชิก ในกลุมใหทำตาม เราสงสัยวาทำไมหวายของลุงจำนงค


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ถึงไดเสนเล็กปานนั้น เพราะในความเขาใจผิดๆ ของเรา เสนหวายมีไมเรียวเปนเครื่องเทียบเคียง แตสิ่งที่เราเห็น อยูนี่ เล็กเสียจนเหมือนเสนดายที่พันซอนทับกันไปมา จนเปนลวดลาย วิธีการทำใหหวายเสนเล็ก คือการเอาหวายมาผา เปนเสน ถาเปนคนรุนเกาอยางแมของลุงจำนงค ก็จะใช มีดแคเลมเดียว ผา เหลา ตัด ทำไดสารพัดนึก สวนสูตรของลุงจำนงค เปนชางเกาตองไวลาย แก

81


82 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ใชวิธีการแปลงรางกบไสไม เอามากลับดานหงายทอง เพิ่มเติมอุปกรณวัดขนาดเสนหวายอีกนิดหนอย ก็จะได เครื่อง จักตอก แบ บรูดปด...ไม กี่ ที หวาย ก็ จะ เหลือ เพียง เสนเล็กจิ๋ว “วิชานี้ไดมาจากโทรทัศนแวบๆ ผมก็เลยคำนวณ แลวสรางกบตาม ไมไดเอากบไปไส แตเอาหวายมาไสบน กบ” นี่คือที่มาจากความรูหนาจอแกวของลุง สำหรับงานที่ขายดีที่สุดของกลุมจักสานหมู 1 นี่ ก็คือ เชี่ยนหมาก หรือ ชุดสำรับสำหรับคนเคี้ยวหมาก


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

นั่นเอง อัน นี้ ลุง จำนงค บอกวาขายดิบขายดี จน ตองสั่งจองกันขามป “ตอน นี้ กำลั ง จะ สาน แจกั น ให ใส น้ ำ ได กำลัง ขึ้น รูป อยู” ใคร จะ คิด วา งาน สาน ที่ มี รู รอง พรุนไปหมด จะถูกทำให ใสน้ำได ทั้งหมดมีเปนรอย กวาแบบแลว ทั้งกระเปา ตะกราผสมกระเปา หรือ แมแตขันใสขาวตักบาตร และไมวางานชิ้นเล็กหรือใหญ ก็ผานการโชวตัว หรือประกวดงานฝมอื ระดับชาติมาแลว ทั้งสิ้น ชิน้ ทีทำ ่ งายทีส่ ดุ คือ กระปุกทรงกระบอกเล็กๆ แต ที่วางายนี่ก็ตองใชเวลาสานกันถึง 3 วัน ราคาอยางต่ำสุด 300 บาท อยางสูงสุด 17,000 บาท คือชุดหาบสาแหรก คานหางหงส ถาขายได จะหัก เงินเขากลุม รอยละ 3 บาท ถึงจะดูแพง แตถาเทียบกับราคาฝมือ ตัวเลขอาจ จะถูกไป รายรับที่ไดมา ชวยใหลุงจำนงคและปาสำรวยมี

83


84 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ชีวิตที่ดี สวนลูกก็ไมตองหวง เพราะลูกชายเปนวิศวกร สวนลูกสาวอีกคนก็ทำงานอยูในสายการบินใหญ กลุมนักสานรุนใหญนี้ เริ่มตั้งแตป 2544 ปจจุบัน ศูนยนี้มีสมาชิกทั้งหมด 27 คน สวนใหญเปนชาวนา หลัง จาก เสร็จ งาน นา แลว ทุก คน ก็ จะ มา นั่ง สาน งาน ที่


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

บาน ลุงจำนงค มี การ จด บันทึก ชั่วโมง การ ทำงาน ของ ทุก คนในแตละ วัน และ นี่ คือ ที่มา ของ ราคา ผลิตภัณฑ งานยากใชเวลาทำนาน ของก็แพงขึ้น แตงานละเอียดๆ แบบนีลุ้ งจำนงคบอกวา สมาชิก ตองรุน ใหญเทานัน้ เพราะเด็กๆ มือใหม ใจไมนิง่ ทำงาน หวายไมได ทุก วัน นี้ มี กลุม นัก สาน จาก ชุม ชน อื่นๆ ผลัด กัน เขามาแลกเปลี่ยนความรูกันเปนประจำ ตางคนก็ตาง ไดความรูกลับบานไปพัฒนาฝมือของตนกันถวนหนา “ความรูเรื่องจักสานนี่เรียนรูได  ตลอด ของเราเปน อยางนี้ ของทานเปนอยางนี้ คุยกันรูเรื่องเลย”

¹Ñ¡ÊÒ¹ÃØ‹¹ãËÁ‹ พน ประตู สำนัก จักสาน รุน ใหญ มา เรา ก็ ตอง ไป เหยียบเรือนนักสานรุนใหมตออีกที่หนึ่ง ในวัยประมาณ 30 กวา นักสานกลุมนี้อาจเรียก ไดวาเปนรุนลูกหลานของลุงจำนงค และแตละกลุมก็มี ของดีกันไปคนละแบบ รูปแบบงานอาจจะคลายคลึงกัน แตหากคิดจะเปรียบเทียบกันคงยาก บางครัง้ การคนหาผูเยี  ย่ มยุทธไมจำเปนตองตัดสิน ดวยการประลอง จาก ลูก หลาน ชาวนา ที่ ถูก สง ไป ร่ำเรียน หนังสือ ในเมือง ประตูของความเจริญตามวิถีสมัยอยูตรงหนา

85


86 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

แตทายที่สุด เสนทางสู บานเกิดในชนบท ก็เปน ทางเลือกสุดทาย หลังจากเรียนจบ พีพิ่ สฐิ นันทวิสาร เลือก ที่จะหันหลังใหกับเมือง กลับมา อยูบาน แต ยัง ไมมี งานทำ วันหนึ่ง มี คน ชวน ทำงานจักสาน จึงลองทำดู แลวพบวา วิ ช า แขนง นี้ เหมาะ สม กับเขาอยางที่สุด “เรา อยาก ทำ อะไรแปลกๆ ไมเหมือน คนอื่น” พี่ประภัทร ตัน เจริญ หัวหนากลุมจักสานพิพิธพัฒนา แหงหมูที ่ 13 ย้ำ ไมใชวาแคคิดได แลวจะออกมาเปนลายสวยงาม หากคน คิดไมฝกหัดเทคนิคการสานจนช่ำชองเสียกอน ลายที่คิด ไว ก็จะมีบทบาทแคในแผนกระดาษสเก็ตช บางครัง้ ลายก็มาจากดอกไม ภาพวาด ลายผาไหม หรือแมแตวอลเปเปอรติดผนัง แตทีนี่ มี่ การใชคอมพิวเตอรมาชวยในการออกแบบ ดวย ไมใชโปรแกรมเลิศหรูชั้นสูงที่ไหน แตเปนโปรแกรม


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ทำตารางบัญชีงายๆ เทานั้น ที่พี่พิสิฐ และพี่ประภัทร นำมาประยุกตใชงาน ใสลวดลายแตมสีลงตารางแทน ตัวเลข “บางทีก็พิมพตารางเปลาออกมาระบายสีดวยมือ เพราะพรินเตอรหมึกหมด ไมไดซื้อ” เรียกเสียงหัวเราะ ไดครืนใหญ ลักษณะ คลาย การ ออกแบบ ลาย เย็บ ปก ถัก รอย แขนงอื่น ตารางในกระดาษชวยใหการคิดฝนลายกลาย

87


88 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เปนจริงงายขึ้น เราไดกระดาษปกใหญมาดูเปนตัวอยาง ทุกลวดลายตางมีชื่อเปนของตัวเอง “จุดขายของเราเลยก็คือลาย ถึงรูปแบบจะคลายๆ เดิม แตลวดลายไมมีซ้ำ” ขัน้ ตอนไมจบแคนัน้ เพราะการถอดแบบไปทำจริง ไมใชเรื่องงายปานปอกกลวย ยก-ขม เปนคำศัพทจำเปนในแวดวงนักสาน สำคัญ นักหนาในการกำหนดลวดลาย เพราะการยกเสนขมเสน นั้น ตองสัมพันธกับคัมภีรลวดลายในกระดาษดวย สมาชิก หรือ ลูกกลุม จะรับงานไปทำที่บานใคร บาน มัน ไม ได มี การ เคี่ยวเข็ญ วา ตอง ยก กอง มา ทำ กัน


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

ตอหนา เพราะ เวลา วาง ของ แตละ คน อาจ ไม ตรง กัน ยกเวนตอนมีประชุม ทำกิจกรรมรวมกัน ดูลาย หรือมาใช เครื่องมือบางอยาง ทีไม ่ สามารถยกยายไปจากที่ศูนยได “จักตอกจักหวายทำกันทีบ่ าน วางเชาก็ทำเชา วาง บายก็ทำบาย” สมาชิกในกลุมมีอิสระเต็มที่ในการเลือกลวดลาย ที่แกนนำทั้งสองคิดไวให วาชอบลายไหน ก็เอาลายนั้น ไปทำไดเลย ขึ้นชื่อวางานฝมือ เมื่อทำเปนกลุม ตองมีการขาย เดิมทีกลุมหมู 13 จะฝากตำบลอื่นมาขายในงาน แสดงสินคาในกรุงเทพฯ เพราะมีปญหาเรื่องจำนวนของ สินคา เพราะเปนกลุม นักสานหัวใหมกลุมเล็กๆ ไมมี เรี่ยวแรงจะทำผลิตภัณฑเรือนรอยชิ้นไปจองบูธในงาน ใหญได แตออกงานแคไมกี่ครั้ง ก็มีลูกคาประจำจน ผลิต ไมทัน สำหรั บ ลู ก กลุ ม ไม มี พั น ธ สั ญ ญา ใดๆ ทุ ก คน สามารถออกไปหาลูกคาขายสินคาเองได ไมจำเปนตอง ผูกชะตาชีวิตนักสานไวกับกลุม เริ่ม แรก ของ การ ฝกหัด ลูก กลุม จะ เริ่ม ตน ดวย ลายไทย เปนบันไดขั้นแรก อาจใชเวลานานถึง 20 วัน กอนจะเลื่อนชั้นไปสูลายอื่นๆ ทียาก ่ ขึ้นไป ขั้นตอนการทำที่ยากที่สุด คือ การถากขอบ หรือ

89


90 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ผูกหัวแมลงวัน อธิบายกันงายๆ ดวยภาษาคนไมเปนงาน ก็คลายกับการเก็บขอบชายผาใหเรียบรอย พีพิ่ สฐิ สงตะกรา 2 ใบ มาใหลองเปรียบเทียบความ เรียบรอยของการผูกหัวแมลงวันสารภาพหมดปากเลย วา ดูไมออก “บาง ครั้ง สีห วาย ไม สม่ำเสมอ ก็ เปน ตัว กำหนด ราคาได” เราหยิบตะกราเล็กๆ ใบหนึ่งขึ้นมา ราคาของมัน 4,000 บาท ตองรีบวางเพราะกลัวหัก ราคาของผลิตภัณฑที่นี่ขึ้นอยูกับความเรียบรอย ของงานเปนหลัก งานเนี้ยบมีสิทธิ์ขายได และราคาดี กวางานหยาบ ความเรียบรอยทีว่ า ไมตองมีคุณครูหรือ กรรมการ มา คอย กะ เกณฑ ให ตั วผู ทำ เทานั้น จะ เปน ผูสรางมาตรฐานของตัวเองขึ้นมา เหลือบไปเห็นแสงทองแวบเขามาในตา เพิง่ สังเกต วา ที่นี่ไมไดจักสานกันแคหวายเทานั้น แตมีเสนโลหะ สีทองที่เราไมเคยเห็นถูกสานอยูดวย “นีคื่ อเสนลวดใยบัว ปกติใชทำงานฝมอื อืน่ บังเอิญ เดินเจอ เลยซื้อมาลองดู กลุมเราเริ่มเอามาใชจักสาน ยังไมมที​ี ่ไหนใช” คำอธิบายจากหัวหนากลุม แทนทีจะ ่ ใชดิน้ เงินดิน้ ทองมาชวย แตนีคื่ องานสาน ไมใชงานเย็บปก เสนโลหะสีทองจะถูกสานแทนหวาย ตามลวดลายที่ออกแบบมาใหมเปนพิเศษ สานยากกวา


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

เพราะบิดงองาย ใจและสมาธิเปนอุปกรณเสริมสำคัญ เหมือนสินคาอื่น พอมีสีทองๆ มูลคาของสินคา ก็จะเพิ่มขึ้น

91


92 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

93


94 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

08 âÎÁÊàμÂ

95


96 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

เราไดนามบัตรระบุชื่อ ‘บุญเสริม สิงหพลับ’ รอง ผูอำนวยการโรงเรียนอนุบาลสิงหบุรี มาจากชายใสแวน คนหนึ่ง ที่หนาที่ทำการ อบต. ตั้งแตหมดอาหารเที่ยง มื้อแรก งุนงงเล็กนอยวาเขาคือใคร คนใกลๆ สงเสียงมาบอกวา นั่นคือเจาของบาน ที่เราจะไปพักคืนนี้...ทาทางแกเปนคนพูดนอยใจดี ลุงบุญเสริม ไมไดเปนขาราชการอยางนามบัตร บอกมาสักพักแลว เนือ่ งจากเลือกเสนทาง ‘เออรลี รีไทร’ กอนจะถึงกำหนดเวลาเกษียณ จึงมีเวลาออกมาอยูกับ บานนานกวาใคร บานหลังนีอยู ้ ห างจากทีท่ ำการ อบต. มาพอสมควร แถมยังแยกไปจากถนนสายหลักอีกหลายสิบเมตร คน แปลกถิ่นแปลกที่อยางเรา ตองอาศัยคนของ อบต. ขี่ มอเตอรไซคนำทาง เรามาถึงบานของลุงบุญเสริมชวงเย็น ยังไมทันที่ ตะวันจะยอยลงหลังกอนเมฆ ทำใหโชคดีไดมีโอกาสไปนัง่ ที่ศาลาริมน้ำหลังบานลุงบุญเสริม ปาอี๊ด ภรรยาของลุงบุญเสริมที่เพิ่งกลับมาจาก โรงเรียน เลา ให เรา ฟง ขณะ ชม แสง สุดทาย ของ วัน วา ขางหลังบานนี้ จริงๆ เปนคลองเสนไมใหญมาก แตที่ เห็นเปนบึงน้ำใหญขนาดนี้ เพราะฝนที่ตกหนัก น้ำทวม ทีนา ่ ถัดออกไปจนกลายเปนบึงไปหมด


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

“ตอนขาวออกรวง ลมพัดเขามา กลิน่ หอมมาก” ปา อีด๊ พูดใหเราจินตนาการถึงขาวทีออก ่ รวงทองเต็มทองทุง แลวโชยกลิ่นละอองหอมเขามาถึงในบาน ใครไมเคยดอมดมกลิ่นขาวกลางนา คงนึกไมออก วา มันตางจากกลิ่นขาวในจานอยางไร หากไมอยากดม กลิน่ ในภาพฝนทีถู่ กสรางขึน้ มา ลองสละเวลาไปเติมเต็ม ประสบการณขางนาบางก็ไมใชเรื่องเสียหาย น อ ง เดี ย ว–อาจารย อี ก คนใน บ า น ลู ก สาว ลุ ง บุ ญ เสริ ม ยก น้ ำ แดง กั บ เค ก มา ให ที่ ศาลา ริ ม น้ ำ ... พระอาทิตยสองแสงทอง เคลาน้ำแดง...เขาทา ลุงบุญเสริมเลาวา แกมีลูกชายอีกหนึง่ คน เปนทหาร อยูที เชี ่ ยงใหม ทีบ่ านนีก็้ เลยเหลือ 3 คน พอ แม ลูก แตคนนอย ไมไดแปลวาความอบอุนจะนอยตาม

97


98 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

หลังแสงอาทิตยหมดลง ลมหนาวเริม่ มาเยือน แตขาวกับ แกงรอนๆ กับบรรยากาศรวมโตะทีแสน ่ ดี ก็ชวยหมใจเรา ใหอบอุนเหมือนอยูบาน ที่นี่รับเราเปนแขกกลุมแรก เพราะเพิ่งเขาไปรวม กับกลุม โฮมสเตยของหัวไผ แค ไม กี่ วัน ก็ได แขกเขา มา พักทันที จะเรียกแขกก็ไมถูก เพราะปาอี๊ดย้ำนักย้ำหนาวา “คิดวามาเยี่ยมบานญาติตางจังหวัดแลวกันนะ” หมา 4-5 ตัว กับแมวอีก 3 ตัว ที่บานนี้เลี้ยง ไว ก็ เปน อีก กลุม มิตร สหาย ที่ เขา มา เปน สวน หนึ่ง ของ วงสนทนาหลังมื้อเย็นแบบมนุษย รุง ขึ้น เรา พยายาม ตื่น เชา แลว แต ก็ ยัง ชา กวา เจาบาน ที่เตรียมอาหารเชาใหเราเสร็จตั้งแต 6 โมงเชา ชีวิตที่นี่ไมมีใครรีบจนวิ่งชนกันในบาน ใช...ทุกคน ออกไปทำงานนอกบาน แตไมมีความจำเปนใดที่ทำให ตอง รับ วิถี รีบ เรง มา เปน สมาชิก คน หนึ่ง ใน ครอบครัว ทุกคนยังมีเวลาจิบกาแฟ นั่งคุยกันบนโตะอาหาร ปลาแมนำ้ ทอด กับขาวมือ้ เชารสชาติเปนเลิศ แนใจ ไดวา การเดินทางของอาหารมือ้ นี้ มาจากแหลงน้ำใกลๆ นี่เอง หลังมื้อเชาปาอี๊ดตองรีบไปโรงเรียน แตยังไมลืมที่ จะจัดขนมเปยะเจาอรอยของสิงหบุรีใสถุงใหเราหิ้วกลับ ไปดวย


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹

“มาอีกนะ เราเปนญาติกันแลว” คำเชื้อเชิญในถอยร่ำลาของปาอี๊ด

99


100 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 101

9 ¼Ñ¡ºØŒ§ ¤×Í ªÕÇÔμ พูดไปใครจะเชื่อ วาผักบุงจะทำใหคนไมมีสมบัติ อะไรติดตัวเลยกลายเปนเศรษฐีเงินลานได เรายอมรับวาทีนี่ ่ มีผักบุงเยอะจริงๆ สมคำร่ำลือ ที่ ไดยิน มา กอน ลอย เกาะ กลุม เปน แพ กวาง เต็ม คลอง แตจินตนาการที่วา มีคนสรางบานบานราคาเปนลานได เพราะเก็บผักบุงขายนั้น ยังไมเชื่อสนิทใจ เรื่องจริงที่ตองวาน อุ พาไปพิสูจน เรา ขั บ รถ ผ า น ถนน เลี ย บคลอง ชลประทาน สามซาย บานหลังใหญถัดเขาไปจากริมคลองแคถนน เสนเล็กๆคั่น ผักบุง หรือ ชื่อหรูหราวาผักทอดยอด วางกองทับ กันอยูหลาย  เขง หลายกะละมัง “อันนีเพิ ้ ง่ เก็บมาเมือ่ เชา” คำบอกเลาของ พีส่ ภุ าพ ดุริยหิรัญ หลังจากเห็นเราเบิ่งตาทำหนาประหลาดใจ ราวป 2538 ในคลองชลประทานสามซาย มีผัก บุง ขึน้ เยอะมากจนรก บางทีชลประทานก็ตองตัดทิง้ หมด เพือ่ ลอกทางน้ำ พีสุ่ ภาพกับสามีเห็นวาผักบุง นอนเลนน้ำ เปนแพพืดใหญอยูเฉยๆ ก็เลยจัดการเดินลงน้ำไปเก็บ ผักบุงมาขาย “คนบาเก็บผักบุง ” บางเสียงบนดวยสำเนียงเหยียด เมื่อเห็นพี่สุภาพ ลงไปเก็บผักบุงจากในคลอง


102 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

“ทีแรกยังไมไดทำนา แฟนก็ปกเบ็ดหาปลา” พอ เริ่มเขาใกลน้ำ ก็เริ่มเห็นผักบุง...นาเก็บ เก็บ กัน สอง คน ผัว เมีย ทั้ง คลอง เปน อาชีพ เสริม จากการทำนา พอคนเริ่มทำ ก็มีคนตาม จนมีทั้งคนปลูกคนเก็บ กันเปนล่ำเปนสันทัง้ คลองสามซาย เมือ่ เนือ้ ทีผั่ กบุง ขยาย ตัวไปเรื่อย ใครตัดเหลือซากก็ทิ้งลงน้ำ ทางน้ำก็แคบลง บางทีถึงกับเอาสารเคมีฆาหญามาละลายในน้ำ หลายคน เริ่มมีปญหากัน บางทีถึงกับตองลงไมลงมือ กลุม ผูเก็  บผักบุง จึงตองถูกจัดระเบียบ โดยมี อบต. เปน คนกลาง ไม เชน นั้น ชลประทาน อาจ โดด เขา มา รวมวงไพบูลยดวย และ นั่น หมายถึงผักบุงอาจ กลายเปนอดีตของคลอง สามซาย กฎระเบียบทีออก ่ มา เพื่ อ ควบคุ ม ผั ก บุ ง และ คน เก็บ ก็ คือ หาม ฉีดยาสารเคมี ถามีการ ตัดทิง้ ใหเอาขึน้ บก และ เก็บ ได เฉพาะ หนาบาน ใครบานมัน แตการเก็บผักบุง


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 103

ใน ทาง น้ำ สาธารณะ คลอง สาม ซาย นี้ ก็ ตอง มี การ พูด คุยกับชลประทาน เพราะตามนโยบายของชลประทาน จะตองไมมการ ี ขวางทางน้ำ ตองมีการลอกคลองทุกป นำมาซึ่งขอตกลงรวมกันระหวางชลประทาน กับ กลุม ผูปลู  กผักบุง วา ตองเวนทีไว ่ ใหน้ำไหลไดอยางสะดวก ดวยการตัดผักบุง ออกบางใหไมเกะกะทางน้ำ หากไมชวย กันทำ ชลประทานจะตักผักบุงออกจากคลอง “คนอื่นตัดทิ้ง แตของเราพลิกแพลงเอา เราเฉาะ แลวก็เอายัดใต เปนปุย” เปนคุณลักษณะตามธรรมชาติของผักบุง ไมตัด ยอด ไมแตกยอด เมื่อตัดผักบุงสวนเกินออก แทนที่จะทิ้งใหลายน้ำ หรือโยนขึ้นบกเหมือนกฎวาไว พี่สุภาพจะทยอยนำเศษ ผักเหลานัน้ ยัดไวขางใตแพผักบุง หนาบาน เพือ่ ใหมันยอย สลายเปนปุย ใหกับผักรุน ตอไปทีลอย ่ กลบหนาอยู แพผักบุง


104 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

หนาบานนีถึ้ งไดงามกวาทีอื่ ่นๆ “คนอื่นเขาไมยอมทำวิธีนี้กัน เฉาะทิ้งหมด เมื่อไม ถามเราก็ไมบอกสูตร (หัวเราะ)” กวาจะเรียนรูกันมาไมใชเรื่องงาย ลองผิดลองถูก เอาซากผักบุงไปถมดินเสียก็เยอะ กิจวัตรประจำวันของครอบครัวพีสุ่ ภาพ เริม่ ตนแต เชาในนาขาว พอตกสายภารกิจผักบุงก็เริ่มขึ้น จนบาย คลอยผักบุง หลายเขงก็จะถูกนำมาตัด และแยกเปนมัดๆ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 105

ที่บาน กอนจะเอาไปสงขายตอนเย็น รายรับจากผักบุงก็ไมใชธรรมดา อาจจะราคาถูก เมื่อมองวากำละไมกี่บาท แตเปนหลายรอยกำ เงินกวา พันบาทตอวันก็ไหลเขากระเปาอยางงายดาย ทุก วัน นี้ มี กลุม ปลูก ผัก ลอย น้ำ กวา 40 หลังคา เรือน เปนผักกระเฉด 12 บาน ทีตก ่ สำรวจไมไดอยูใน รายชือ่ ของกลุม อีกเพียบ เพราะเปนการใชประโยชนจาก ทางน้ำสาธารณะ ที่ใครใครปลูก...ปลูก ใครใครเก็บ...ก็ เก็บไปเถิด ใคร หลายๆ คน ชอบ ถาม กัน นักวา ทำไม ผัก บุง หัวไผถึงงามงดจนเปนเอกลักษณประจำตำบล...คำตอบ อยูใน  กระแสน้ำ


106 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

“น้ำเราไหลตลอดเวลา ยิ่งน้ำสีนวลผักยิ่งยอดงาม น้ำใสรากจะดำ” ชีวติ คนธรรมดา ทีไม ่ มสมบั ี ตติ​ิ ดตัวเลย ทุกวันนี้ พี่ สุภาพและครอบครัวเปนหนี้ผักบุงมากมาย ทั้งบาน รถ นา เงินคาใชจาย ตางกูมา  จากธนาคารธรรมชาติในคลอง สามซายทั้งนั้น “เราไมตองลงทุนเลย เปนหนี้ธรรมชาติมาก” วากันวาบนชัน้ ของหางสรรพสินคาใหญหลายแหง มีผักบุง จากหัวไผวางนอนใสแพ็คอยู หวังวาคงมีสักมือ้ ใน หัวไผ ที่เราจะไดผักบุงใสทองบำบัดความหิว


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 107


108 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 109

10 ÍÍÁ·ÃѾ à§Ô¹ÅŒÒ¹


110 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

นี่ก็เปนอีกโครงการที่มาจากปญหา สมัยนี้มีกองทุนหมูบาน ทีบาง ่ แหงตั้งขอครหากัน วา ให ชาว บาน กู ซื้อ รถ เครื่อง แต ที่ หัว ไผ กองทุน แบบ นี้ มีตั้งแตเมื่อเกือบ 30 ปที่แลว ในนาม ‘กองทุนสัจจะ’ เงินกองทุนนี้เดินทางมานานกวา 28 ป นับตั้งแต เริ่ม สะสม เงิน บาท แรก เมื่อ ป 2525 จนถึง วัน นี้ เงิน หลักลานทีมี่ อยูก็ มาจากน้ำพักน้ำแรง และการพึงบรรจบ สลึงเปนเงินลานของชาวบานคลองขุด หมูที ่ 3 มาตลอด โดยแทบไมตองพึ่งงบประมาณรัฐ แตเริม่ ไดแคไมกีป่ ประมาณป 2529 ความสามัคคี ในชุมชนที่เคยเปนปกแผนเกิดรอยราว ความไมไววางใจ เรื่อง ‘เงินๆ ทองๆ’ เริ่มชอนไชเขามา หลายคนหันหลัง


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 111

ใหกับกองทุนจนเหลือสมาชิ มาชิก แค 29 คน ถ า เปรี ย บ เป น มนุษย กองทุน นี้ ผาน ระยะตั้งไข เดิน ลมไป ลุกไปตลอด 28 ปที่ผานมา ลุ ง สงวน กั น เผื​ื อ ก และ พีบ่ ญ ุ รอด เอีย่ มวิไล กรรมการกองทุนเปนผูเล  าเรือ่ งราว เงินลานใหฟง กองทุนเงินลานนี้ ปฏิบัติงานในรูปแบบของธุรกิจ คื อ มี ห น า ที่ เหมื อ น ธนาคาร ทั่วๆ ไป ตา ง กั น ตรง ที่ กองทุนนีตั้ ้งอยูฝ งตรงขามทุงนา รับลมกลิ่นฟางหอม ธนาคาร กองทุน เงิน ลาน แหง หมู 13 มี สมาชิก ทั้งหมด 145 คน เปนเกษตรกรลวนๆ ใครอยากเปนสมาชิกก็สามารถเปนไดเลย ไมตอง เสียอะไรสักอยาง แตตองถือสมาชิกภาพฝากเงินทุกเดือน เปนเวลา 1 ป ถึงจะมีสิทธิ์เลื่อนขั้นไปทำธุรกิจประเภท อื่นได นัน่ คือความหมายของคำวา ‘กองทุนสัจจะ’ ทุกคน ตองเคารพตัวเองเรื่องเงินฝากประจำ หรือ ‘สัจจะสะสม’ ติดตอกันครบ 12 เดือนกอนจะวากันรื่องอื่น มีมาก-ฝากมาก มีนอย-ฝากนอย ไมมีการจำกัด จำนวนเงิน สัจจะตั้งตนที่ 50 บาท ก็ตอง 50 บาท


112 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ทุกเดือนสม่ำเสมอ ไมมากนอยกวานี้ ธนาคารบานนาก็มีสมุดเงินฝากเหมือนกัน ในนั้น จะมีบันทึกธุรกรรมทางการเงินไวหมดเปนลายลักษณ อักษร เมื่อถึงเวลาฝากเงินในรอบเดือน จะมีจุดบริการ ลุงสงวนเรียก ‘คุม’ อยู 4 จุด คอยรับเงินฝากเปนราย เดือน แลวมาสงที่กองกลาง ซึ่งของป 2553 นี้ จะมี ตัวเลข ตายตัว ที่ เดือน ละ 17,700 บาท จาก สมาชิก ทั้งหมด 145 คน ตางจากฝากประจำกับแบงกใหญในเมือง ที่ตอง มีกำหนดระยะเวลาการถอน แตของธนาคารแหงหัวไผ ถาอยากจะถอนเงินก็ถอนได แตมีขอแมวาหามเกิน 20 เปอรเซ็นต ของยอดเงินทีสมาชิ ่ กมีฝากไว เชนฝากเดือน ละ 100 บาท ก็ถอนได 20 บาท เพราะตองเหลือเงิน กอนใหญไวใหสวนกลาง บริการรับฝากเงินสะสมจากสมาชิก นอกจากจะ มียอดเงินสัจจะสะสมตั้งแตกอตั้ง 2 ลานกวาบาทแลว ยังมีบริการเงินกูเหมือนธนาคารทั่วๆ ไป อยางปลาสุด มีชาวบานมากูสามัญ 1 ป ไปกวา 70 ราย เปนเงินลาน กวาบาท ธนาคาร ใหญ ยัง มี เงิน กู ให เลือก หลาย แพ็คเกจ ธนาคารออมทรัพยบานนามีกูประ  เภทอืน่ ๆ อีก เชน กูซ อื้ ปุย กูฉุกเฉิน ซึ่งเงินหลายลานที่ธนาคารมีอยูนี้ ไมไดจะ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 113

ปลอยกูกันตามสะดวก ตองผอนจายกันทั้งชาติ แตการ กูทั้งหมดเปนการกูระยะสั้นทั้งสิ้น 3 เดือนบาง 6 เดือน บาง นานที่สุดก็คือ กูสามัญ 1 ป “ชาวบานที่นี่ทำนาระยะสั้นกัน ปหนึ่งๆ ทำถึง 3 ครั้ง การกูเงินระยะสั้นๆ จึงมีบอยมาก เพราะทุก 3-4 เดือน เก็บผลผลิตครั้งหนึ่ง ก็จายเงินคืนกองทุนทีนึง” สวนดอกเบีย้ ก็ตองมีนิดหนอย เพียง 10 เปอรเซ็นต ตอป ทุกรูปแบบ พอใหกองทุนมีรายรับบาง ไมเหมือน นายทุน มหา โหด นอก ระบบ ที่ คิด 5–20 เปอรเซ็นต ตอเดือน ไม ตาง กับ ธนาคาร เอกชน ทุก ป ที่ ผาน มาธุร กิจ ของกอง ทุ น นี้ ก็ มี กำไร เฉลี่ ย แล ว ประมาณ แสน กว า บาท เงินสวนนี้ 70 เปอรเซ็นตจะถูกปนผลเขากระเปา สมาชิก สวนอีก 30 เปอรเซ็นตทีเหลื ่ อ หักเขากองทุน 10 เปอรเซ็นต เปนโบนัสคณะกรรมการ 10 เปอรเซ็นต และ กอนสุดทายเปนเงินสาธารณประโยชน 10 เปอรเซ็นต สมาชิกบางคนทีฝาก ่ มาก ฝากนาน ก็ไดปนผลปละ หลายพันบาท...ธนาคารจริงๆ ชิดซายเลย “เงิ น ก อ น นี้ เรา ก็ จะ เก็ บ ไว ให สมาชิ ก นี่ แหละ เอามากองรวมกันไว บริการสมาชิก” ลุงสงวนบอกวา เงินไมใชเรื่องที่ควรประมาท ใน ส ว น กองทุ น นี้ ยั ง มี สวั ส ดิ ก าร สงเคราะห ครอบครัว รวม อยู ดวย ถา เปน สมาชิก กลุม ออม ทรัพย


114 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

หรือเปนสมาชิกในหมูบาน ถาเสียชีวิตก็ไดเงินฌาปนกิจ หมื่นกวาบาท และหากอยูในสถานะ  สมาชิกมาเปนเวลา นาน เงินทีได ่ ก็จะมีกองทุนสงเคราะหอีกตัวบวกเพิม่ ตาม ระยะเวลา


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 115

“การ เดิ น ทาง ของกอง ทุ น นี้ ใกล เห็ น แสง สว า ง ปลายอุโมงคแลว เราหวังวาชาวบานจะไมตองไปกูเงิน นอกระบบ คนหมูบานนี้ตองกินอิ่ม นอนอุน ฝนดี” ใช...ลุงสงวนพูดไวไมผิด แสงสวางเริ่มมาแลว


116 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

11 ¨Ò¡ËÑÇ伋 ä» เมือ่ ลอรถตองหมุน ทิง้ ภาพหัวไผไวเบือ้ งหลัง ไมมี ยอดขาวหรือใครโบกมือไมร่ำลา ในหัวไผไมมรี านสะดวกซื้อ แตในความเปนชนบท ความงามอยางงายๆ หาไดสะดวกริมทุง ในน้ำมีปลา และผักบุงใหเก็บกินไมตองเสียเงิน ใครบางคนอาจมองวาชนบท คือ ที่หางไกลความ เจริญ วัดกันที่ตึกรามบานชอง ถนนตองปลอดฝุน มีราน สะดวกซื้อ หรือหางสรรพสินคาขนาดยอม สิ่งเหลานี้ กลายเปนสัญลักษณแบงความเปน เมือง-บานนอก ใครคนนั้นอาจมองความหมายของคำวา ‘เจริญ’ ผิดไป เปนสัจจธรรมที่ปฏิเสธยากวา ที่ใดมีความเจริญ ภายนอกทางวัตถุพุงขึ้นสูง ความเจริญภายในใจจะวิ่ง สวนทางกัน เปนเรื่องแปรผกผันกันอยางไมนาเชื่อ...แต ก็คือเรื่องจริงในโลก ตองทำใจกมหนารับ ใน เมื อ ง ใหญ ชี วิ ต คน ถู ก บี บ บั ง คั บ ให แก ง แย ง ดิ้นรน เอาเปรียบกัน โดยทีบาง ่ ครั้งไมมใคร ี อยากทำ แต เปนทางเดียวที่จะมีชีวิตรอดได จนใจภายในนั้นดานชา ไมสามารถแยกแยะดีชั่ว บาง คน ขวนขวาย ไขว คว า ไป ไกล บน ทาง อ อ ม คดเคี้ ย ว กว า จะ พาน พบ และ ระหว า ง ทาง นั้ น


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 117

คาธรรมเนียมเศษเหรียญตกเรี่ยรายทาง เพื่อเปนสิ่งแลก เปลีย่ นความสุขฉาบฉวย จนถึงปลายทาง เขาคนนัน้ ก็ยัง ไมแนใจวากำลังมีความสุขอยูหรือเปลา ถาม ว า ความ สุ ข อยู ตรง ไหน...อาจ อยู ที่ การ มี เงินเดือนเปนแสน มีคอนโดฯติดรถไฟฟา มีรถขับ...หรือ อาจอยูที ่การลงไปเก็บผักบุงอยางพี่สุภาพ ไมมีใครตอบได เพราะเครื่องชั่งตวงวัดความสุข นัน้ อยูภายใน  ใจ และมาตรฐานของมันไมมกระทรวง ี ไหน เขามาตั้งกฎควบคุม บาง คน อาจ พบ ว า ความ สุ ข งอกงาม ปะปน อยู ในความ ‘ธรรมดา’…ไมใชเรื่องนาตื่นเตน และนัน่ คือความ ‘เจริญ’ แบบลูกทุง คือ ใจไมเลือก ทีสุ่ ข ลำบากก็สุขได สบายก็สุขได รอนก็สุขได เย็นก็สุขได อยูหองแอรก็สุขได เกี่ยวขาวก็สุขได คนหัวไผอาจเปนสังคมชนบทที่พบวา ความสุข อยูที่หนาบาน หลังบาน ในคลอง และนาขาว เรา-ผูไปเยือน อยากเก็บเกี่ยวความเจริญแบบนั้น มาบาง


118 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

àÅ‹Ò»ÃСͺÀÒ¾


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 119


120 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

àªÕè¹ËÁÒ¡

เชีย่ นหมาก เปนภาชนะทีใช ่ สำหรับวางตลับเครือ่ ง หมาก ตลับยาเสน กระปุกปูน และซองใสพลู ซึ่งเปน สวนประกอบสำคัญในการกินหมาก แต เดิ ม คน ไทย มี วั ฒ นธรรม กิ น หมาก กั น แทบ ทุกคน ไมวาผูช ายหรือผูหญิ  งตางเคีย้ วหมากกันจนฟนดำ ปากแดง เชี่ ย น หมาก นอกจาก จะ เป น เครื่ อ ง ใช ที่ มี กั น ทุกครัวเรือน แลว ยัง เปน เสมือน ชุด รับแขก ที่ ตอง มี ติด บานไวตอนรับผูมาเยือนดวย เชี่ยนหมากที่มีลวดลาย งดงาม จึง เปน ที่ ตองการ ของ คน สมัย กอน ไม ตอง จาก อาภรณสวยๆ ตามปกติเชีย่ นหมากมักทำขึน้ จากไม ทอง ทองเหลือง เงิน และเครือ่ งเขิน เปนทรงกลมหรือหกเหลีย่ ม บางครัง้ จะมีการตกแตงลวดลายตามความนิยมทองถิน่


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 121

¨Ò¹»˜œ¹»Ø‰Â

เปนจานโลหะที่ไวสำหรับปนปุยเม็ด มีขายตาม แหลงจำหนายเครื่องมือเกษตรขนาดใหญ ชุมชนเกษตร ในตางจังหวัดเกือบทุกที่มักมีไวทำปุยอินทรียปนเม็ด จานเหล็กเสน ผานศูนยกลางประมาณ 1 เมตร กวานี้ หมุนดวยรอบคงที่ ดวยพลังงานไฟฟา หลักการ ทำงานไมตางจากเครื่องยนตมีมอเตอรทั่วๆ ไป โดยมี กำลังประมาณ 2 แรงไม ใชไฟ 220 โวลต หนาจานสามารถเอียงทำมุมมากนอยตามตองการ ประมาณ 48 องศา โดยถาเอียงมาก ปุยจะเม็ดเล็ก ได จำนวนมาก เอียงนอย ปุยจะเม็ดใหญ ไดจำนวนนอย โดย ทั่ ว ไป วั ส ดุ ที่ ใช ทำ ปุ ย จะ ต อ ง ถู บด เป น ผง ละเอี ย ด และ แห ง แต ถ า ร ว น เกิ น ไป ต อ ง มี การ เติ ม ดินเหนียวผงเพื่อยึดใหเกาะกันเปนเม็ด สวนการฉีดน้ำจากหัวฉีด ใหเริ่มฉีดน้ำเปน ฝอย เล็กทั่วๆ ไมควรฉีดใหเปยกจุดเดียวเพราะจะทำใหปุย เกาะเปนกอน


122 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ËØ‹¹¨Ñ¡ÊÒ¹

ตามวิธีของลุงจำนงค กลับทอง แหงกลุมจักสาน บานคลองบางกระเพรียง จะตองมีการกลึงหุนไมขึ้นมา ใหไดรูปทรงตามตองการ หลังจากนั้นจึงเปนวิธีการเอาหวายมาสาน โดย จะเริ่มจากสวนฐานกอน คอยๆ ไลขึ้นไป จนถึงดานบน ของ หุน ซึ่ง หมายความ วา พิมพ หุน นี้ จะ ถูก หุม ติด อยู ภายในงานสานชิ้นนั้น กลวิธีหนึ่งที่ตองใหความปราณีตมาก คือการเอา หุน พิมพ ไม นี้ ออก จาก หวาย ที่ สาน จน ได รูป แลว หุน ที่ วานี้จึงตองถูกหั่นเปนชิ้นๆ เพื่อใหงายตอการดึงออกมา ทีละชิ้น


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 123

¹éÓ·‹ÇÁ

หลังบานโฮมสเตยของลุงบุญเสริม สิงหพลับ ซึ่ง ตามธรรมดาจะเปนคลองเล็กๆ อยูติดกับศาลาเทานั้น ตนไมที่เห็นอยูไกลๆ นั้นเปนตนไมที่อยูในนาขาว หลัง จาก น้ำ ทวม ก็ กลาย เปนตน ไม บน เกาะ กลาง น้ำ ไปโดยปริยาย เพราะน้ำที่ทวมสูงลนจากคลอง ทำให เขตแดนระหวางคลองกับนานัน้ หายไป กลายเปนบึงใหญ อยางที่เห็น ความ งาม ของ พระอาทิตย ตกดิน หลัง แนว ตนไม สะทอนบึงน้ำใหญ อาจไมใชภาพที่แฝงความงามไปเสีย ทุกมุมมอง


124 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

¡ÅŒÒ¢ŒÒÇ

กล า ข า ว ที่ เตรี ย ม ไว ใน การ ทำ นา โยน ใน ถาด พลาสติกทีเพาะ ่ เมล็ดไว สัดสวนการใชงานคือ 50-70 ถาดตอพืน้ ที่ 1 ไร หรือคิดเปนพืน้ ทีเพาะ ่ เมล็ดประมาณ 10-15 ตารางเมตรตอไร ที่แปลงทดลองของศูนยเทคโนโลยีการเกษตร มี พื้นที่ เพาะ กลา ขาว ไว สำหรับ ให ชาว บาน ทำ นา โยน ได หลายไร


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 125

àËÂÕº¡ÐÅÒ

กิ จ กรรม หนึ่ง ของ กลุม ผู สู ง อายุ คื อ การ ออก กำลังกาย ซึ่งเครื่องออกกำลังกายที่เปนภูมิปญญาแบบ ไทยๆ ก็คือ การเหยียบกะลา เทคนิคเหยียบเดินบนกะลา ใชทฤษฎีกดจุดนวด ฝาเทาจากการแพทยทางเลือก โดยใชกะลามะพราวเปน ตัวชวยในการกดจุด ตามแนวคิดแพทยทางเลือกเชือ่ กันวา สามารถรักษาโรคอัมพฤกษได เพราะทำใหขาทีอ่ อนแรง กลับเดินไดสะดวกขึน้ การ เดิ น บน กะลา นั้ น ยั ง เชื่ อ ม ไป ถึ ง จุ ด ของ ฝาเทาที่เชื่อมไปถึงหัวใจ และระบบอื่นๆ ของรางกาย ไมตางจากการนวดเทา สงผลใหผูปวยที่เคยเหนื่อยงาย เปลีย่ นเปนแข็งแรง


126 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä»μÓºÅËÑÇ伋 à¢μ¡Òû¡¤Ãͧ : อำเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี เดิม ขึ้น อยู กับ ตำบล สนาม แจง อำเภอ บานหมี่ จั ง หวั ด ลพบุ รี ต อ มา มี การ จั ด ตั้ ง ตำบล ใหม โดย รวม บางสวนของ ตำบลสนามแจง บางสวนของ ตำบลโพก รวม อำเภอ เมือง จังหวัด สิงหบุรี และ ตำบล งิ้ว ราย อำเภออินทรบรุ ี จังหวัดสิงหบรุ ี เขาดวยกันเปนตำบลใหม ใหชื่อวา ‘ตำบลหัวไผ’ ¡Òá°Ò¹Ð : ไดรับการจัดตัง้ เปนองคการบริหารสวนตำบล ในป พ.ศ. 2540 ÅѡɳÐÀÙÁÔ»ÃÐà·ÈáÅзÕèμÑé§ : อยูหางจากตัวเมืองสิงหบุรี 15 กิโลเมตร ÍÒ³Òà¢μμÔ´μ‹Í : ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลโพธิ์ชัย อำเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี ทิศใต ติดกับ ตำบลบางขาม อำเภอบานหมี่ จังหวัด


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 127

ลพบุรี และ ตำบลบางมัญ อำเภอเมือง จังหวัดสิงหบุรี ทิศ ตะวัน ออก ติด กับ ตำบล มหา สอน, ตำบล บางขาม อำเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลบางมัญ, ตำบลโพกรวม อำเภอเมือง และ ตำบลงิ้วราย อำเภออินทรบุรี จังหวัด สิงหบุรี

¾×é¹·Õè·Ñé§ËÁ´ : ประมาณ 17.38 ตร.กม. หรือ 10,819 ไร พืน้ ทีเกื ่ อบทัง้ หมดเปนพืน้ ทีเกษตรกรรม ่ และทีอยู ่  อาศัย ทำใหไมมีพื้นที่ปาเหลืออยู ÊÀÒ¾´Ô¹ : มีการใชสารเคมีในการเกษตรกรรม ทัง้ สวน นา ไร จำนวนมาก ทำใหดินมีการปนเปอน áËÅ‹§¹éÓ : มีแหลงน้ำธรรมชาติ และระบบชลประทานคลอง สามซาย ไหลมาจากจังหวัดชัยนาท อยูทาง  ทิศตะวันตก ของพื้นที่ ¨Ó¹Ç¹»ÃЪҡâͧμӺŠ: จำนวนประชากรในเขต อบต. 5,130 คน


128 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

จำนวนหลังคาเรือน 1,056 หลังคาเรือน

¡ÒûÃСͺÍÒªÕ¾ : อาชีพหลัก ทำนา ทำสวน ทำไร อาชีพรอง รับจางทั่วไป อาชีพเสริม หัตถกรรมในครัวเรือน มีรายไดเฉลี่ยตอคน 48,576 บาทตอป ÈÒÊ¹Ò : ป ร ะ ช า ก ร ส ว น ใ ห ญ นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ มีวัด จำนวน 5 แหง 1. วัดธรรมสังเวช (วัดตากแดด) หมูที ่ 8 2. วัดโพธิ์ชัย หมูที ่ 10 3. วัดตะโหนด หมูที ่ 4 4. วัดขอย หมูที่ 13 5. วัดธรรมจักร (วัดสามเกลียว) หมูที ่ 11 ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ : มีโรงเรียน 5 แหง 1. โรงเรียน วัด ขอย หมู ที่ 13 เปด สอน ตั้งแต อนุบาล-มัธยมศึกษาตอนตน 2. โรงเรียนวัดตะโหนด หมูที่ 4 เปดสอนตั้งแต อนุบาล-ประถมศึกษาปที่ 6 3. โรงเรียนวัดโพธิ์ชัย หมูที่ 10 เปดสอนตั้งแต


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 129

อนุบาล-ประถมศึกษาปที่ 6 4. โรงเรียนอนุบาลเมืองสิงหบุรี หมูที ่ 8 เปดสอน ตั้งแตอนุบาล-มัธยมศึกษาตอนตน 5. โรงเรียนหัวไผ หมูที ่ 10 เปดสอนมัธยมศึกษา ตอนปลาย 6. สั ง กั ด กระทรวง สาธารณสุ ข คื อ วิ ท ยาลั ย พยาบาลบรมราชชนนีเชียงใหม

¡ÒÃÊÒ¸ÒóÊØ¢ : สถานีอนามัยประจำตำบล 1 แหง ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ : สถานีตำรวจชุมชน 1 แหง ¡ÒÃÊÒ¸ÒóٻâÀ¤¾×é¹°Ò¹ 1. เสนทางคมนาคม ถนนลาดยางสาย สิงหบุรีหั ว ไผ ระยะ ทาง 15 กิ โ ลเมตร ถนน เลี ย บคลอง ชลประทาน ระยะ ทาง 7 กิโลเมตร และ ถนน ลูกรัง เลียบคลองชลประทาน 4 กิโลเมตร 2. ศูนยโทรคมนาคม 2 แหง คือ ชุมสายองคการ โทรศัพท และสถานีโทรทัศน 1 แหง 3. มีไฟฟาใชทุกหลังคาเรือน 4. แหลงน้ำธรรมชาติ 6 แหง


130 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

5. แหลงน้ำที่สรางขึ้น เปน ฝาย 4 แหง บอน้ำ 169 แหง

@ ¨Ø´ÁØ‹§ËÁÒ¡ÒþѲ¹ÒμӺŠ1. พัฒนาการศึกษา ใหเด็กไดรับการศึกษาอยาง ทั่วถึง 2. อนุรักษฟนฟูวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น 3. การคมนาคมทางบก และทางน้ำมีความสะดวก รวดเร็ว 4. ประชาชนมีอาชีพและมีรายไดเพียงพอ 5. สิ่งแวดลอมไมเปนมลพิษ @ 12 ¤ÇÒÁÀÒ¤ÀÙÁÔ ã¨¢Í§¤¹ËÑÇ伋 1. โบราณสถานของตำบล คือ วัดเตาดำ วัดศรีโสฬส และวัดนาค 2. มีวัดที่ดี 3. มีผูนำทีเข ่ มแข็ง 4. มีกองทุนหมูบาน และกลุมสัจจะออมทรัพย 5. มีปราชญชาวบาน 6. มีชางฝมือในดานตางๆ 7. มีประเพณีวัฒนธรรมเปนของตัวเอง 8. กลุมพอเพลง แมเพลงพื้นบาน 9. มีเครื่องปนไฟมาตรฐานระดับประเทศ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 131

10. มีศูนยเด็กเล็กที่มีคุณภาพ 11. เปนตำบลตนแบบ 12. มีบึงบางกระเจ็ดเปนสถานที่พักผอน

@ áËÅ‹§·‹Í§à·ÕèÂÇã¹ËÑÇ伋 1. วัดตะโหนด เปนที่ประดิษฐานของหลวงพอ ขาว ซึ่งเปนรูปปนปรางคประดิษฐ สูง 5 เมตร สรางเมื่อ ป 2418 เปนทีเคารพ ่ ของคนทั่วไป 2. วัดโพธิ์ชัย ภายในบริเวณวัดมีลำน้ำโพธิ์ชัยผาน กลางวัด มีตนไมใหญเรียงรายรอบลำน้ำ เปนที่รมรื่น ประชาชนนิยมใชเปนสถานที่พักผอน 3. บึงบางกระเจ็ด เปนแหลงน้ำขนาดเล็ก เนื้อที่ 50 ไร รายลอมดวยตนไมขนาดใหญ เปนแหลงอนุรักษ พันธุปลา  หลายชนิด @ ¡Ò÷ӹÒẺ´Ñé§à´ÔÁ¢Í§ÊÔ§Ë ºØÃÕ การทำนาจะเริ่มตั้งแตเดิน 6 หรือเมื่อเขาฤดูฝน สวนใหญเปนการทำนาหวาน โดยจะมีการไถดะกลับหนา ดินที่ถูกตากทิ้งไวจากการทำหนาปกอน เพื่อตากดินไว อีกระยะหนึ่ง เสร็จแลวก็จะมีการไถแปเพื่อพรวนดินให รวนซุย กระบวนการตอไปคือ หวานเมล็ดขาวลงดิน กอน จะไถกลบอีกครัง้ หนึง่ ประมาณเดือน 9 ขาวก็จะเริม่ งอก


132 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ

พนดินขึ้นมา ซึ่งกิจกรรมการทำนาจะมาคูกั บคำวา ‘ลงแขก’ คือ ชาวบานจะมาชวยกันลงแรงทำกัน ไมจำกัดวาจะตองเปน ที่นาของตัวเองเทานั้น

@ »Ø‰Â»˜œ¹àÁç´ ‘ËÑÇ伋ÎÔÇÁÑÊ’ วัสดุ : แรโคโลไมท (NPK) ผสมขี้คางคาว 60 กิโลกรัม ขี้วัว 50 กิโลกรัม น้ำหมักชีวภาพ 5 กิโลกรัม ขั้นตอนการทำ : 1. เตรียมวัตถุดิบทั้งหมด 2. ปนวัตถุดิบใหละเอียดในเครื่องบด 3. ผสมวัตถุดิบใหเขากันในโม 4. ขึ้นจานปนเม็ด โดยมีน้ำชีวภาพพนผสม 5. นำไปตากแดด 6. บรรจุกระสอบ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 133


134 ËÑÇ伋 ªØÁª¹à¡ÉμáÃÃÁ


ÇÕÃÇÃó ÈÔÃÔÇѲ¹ 135



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.