เขาหัวช้าง

Page 1



เขาหัวช้าง เรื่องและภาพ : แสงจริง


Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ เขาหัวช้าง เรื่องและภาพ แสงจริง ออกแบบปกและรูปเล่ม เดือน จงมั่นคง เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ 978-616-7374-58-1 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2298 0500 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th www.punsook.org พิมพ์ครั้งที่ 1

พฤษภาคม 2555


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com


คำนำ ท่ามกลาง​กระแส​วกิ ฤติเ​ศรษฐกิจโ​ลก​ครัง้ ใ​หญ่เ​ป็น​ ประวัติการณ์ใ​น​รอบ​หลาย​สิบ​ปี ทำให้​เกิด​การ​ตั้ง​คำถาม​ ว่าว​ กิ ฤติน​ จ​ี้ ะ​ใหญ่ข​ นึ้ อ​ กี เ​พียง​ใด จะ​ยดื เ​ยือ้ ข​ นาด​ไหน และ​ วิกฤติ​นี้​จะ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สังคม​ไทย​ชุมชน​หมู่บ้าน​ไทย​ มาก​นอ้ ย​เพียง​ใด ความ​วติ ก​ดงั ก​ ล่าว​อา​จจะ​ไม่เ​กิดข​ นึ้ เ​ลย ​หาก​ปัจจุบัน​ชุมชน​หมู่บ้าน​ไทย​ไม่​ถูก​ลาก​เข้า​สู่​ระบบ​ การ​ผลิตเ​พื่อ​ขาย นัก​วิชา​การ​หลายๆ ท่าน ได้​วิเคราะห์​ถึง​ระบบ​ เศรษฐกิจ​ของ​ประเทศไทย​ว่า​ใน​ระบบ​ทุนนิยม​ยัง​คง​มี​อีก​ ระบบ​ดำรง​อยู่​ใน​ลักษณะ​คู่​ขนาน นั่น​คือ​ระบบ​เศรษฐกิจ​ ชุมชน​หรือ​อาจ​จะ​กล่าว​เป็น​ศัพท์​สมัย​ใหม่​ได้​ว่า​ระบบ​ เศรษฐกิจแ​ บบ​พอ​เพียง ใน​อดีต​ชุมชน​หมู่บ้าน​จะ​มี​วิถี​ชีวิต​ที่​เรียบ​ง่าย​เน้น​ ความ​พอ​เพียง มี​ครอบครัว​เป็น​หน่วย​การ​ผลิต การ​ ช่ ว ย​เ หลื อ ​ซึ่ ง ​กั น ​แ ละ​กั น ​มี ​น้ ำ ใจ​เ ป็ น ​พื้ น ​ฐ าน​ข อง​ชี วิ ต มี​พิธีกรรม​ต่างๆ เป็น​ระบบ​การ​จัดการ​ใน​ชุมชน​และ​ ให้​ความ​สำคัญ​ของ​บรรพบุรุษ ผูเ้​ฒ่า​ผู้​แก่ ครอบครัว ต่อ​มา​หลัง​จาก​รัฐ​และ​ระบบ​ทุนนิยม​ได้​เข้าไป​มี​ อิทธิพล​ต่อช​ ุมชน การ​ผลิต​เชิงเดี่ยว​และ​ลัทธิ​บริโภค​นิยม​


ทำให้ช​ าว​บา้ น​มร​ี าย​จา่ ย​ทเ​ี่ ป็นต​ วั เ​งินม​ าก​ขนึ้ เพียง​เท่านัน้ ​ ยัง​ไม่​พอ​สิ่ง​ที่​ทำลาย​ความ​เข้ม​แข็ง​ของ​ชุมชน​ที่​มาก​ที่สุด คือ รัฐ​และ​ทุน​ได้เข้าไป​ถ่าย​โอน​ทรัพยากร​จาก​ระบบ​ ชุมชน​หมู่บ้าน ยิ่ง​รัฐ​และ​ทุน​เข้าไป​กอบโกย​มาก​เท่าไร ชุมชน​ หมู่บ้าน​ไทย​ยิ่ง​ประสบ​ความ​อ่อน​แอ คำ​พูด​ดัง​กล่าว​ไม่ใช่​ คำ​พูด​ลอยๆ ทีไ่​ม่มี​หลัก​ฐาน​รองรับ หาก​แต่เ​มื่อ​กวาด​ตา​ ไป​ทวั่ แ​ ผ่นด​ นิ ไ​ทย หลังก​ าร​ประกาศ​แผน​พฒ ั นา​เศรษฐกิจ​ และ​สังคม​มากว่า 40 ปี จะ​มี​สัก​กี่​ชุมชน​ที่​คนใน​ชุมชน ​ไ ม่ ​ป ระสบ​ปั ญ หา​ค วาม​ย ากจน ไม่ ​ป ระสบ​ปั ญ หา​ สิ่ง​แวดล้อม หรือไ​ม่​ประสบ​ปัญหา​สุขภาพ จาก​ส​ถา​นการณ์​ดัง​กล่าว​ถึง​เวลา​แล้ว​หรือ​ยัง​ที่​ สังคม​ไทย​ควร​กลับ​มา​เน้น​การ​พัฒนา​ที่​ไม่​มอง​แต่​มิติ​ ประสิทธิภาพ การ​สร้าง​มูลค่า​และ​กำไร​หรือ​การ​ตลาด​ ด้าน​เดียว แต่​ควร​จะ​เป็น​เพื่อ​ประโยชน์​ของ​ชุมชน​และ​ สังคม เรา​ไม่​ควร​ลด​ทอน​ผู้คน​ลง​ไป​เป็น​เพียง​ตัวเลข หาก​ ควร​เป็น​เพื่อ​ส่ง​เสริม​ศักยภาพ​และ​ศักดิ์ศรี ​ความ​เป็น​ มนุษย์ คำ​ตอบ​สำหรับค​ ำถาม​ข้าง​ต้น​นี้ คงจะ​ต้อง​ช่วย​กัน​ ค้นหา ไม่​ว่า​จะ​ใช้​ระยะเวลา​นาน​เท่าไร คณะ​ผู้​จัด​ทำ


​หมี​ด รัก​เกตุ


01


10 เขาหัวช้าง

1 เกณฑ์​ตัดสิน​แพ้​ชนะ​มี​อยู่​ว่า​หาก​ฝ่าย​ใด​ฝ่าย​หนึ่งเตลิด​ เปิด​เปิง​หรือ​ออก​อาการ​ใจเสาะ​ถอย​ห่าง​คู่​ต่อสู้ ผู้​ยัง​อยู่​ คือฝ​ า่ ย​ชนะ แต่บ​ าง​กรณีผ​ แ​ู้ พ้ม​ ไิ ด้ต​ อ้ งการ​ถอย​หนีห​ าก​แต่​ สภาพ​ร่างกาย​บอบช้ำ​เกิน ​จะ​ยืน​หยัด​ต่อสู้ ลำ​ตัว​ถูก​ เขา​แหลม​โง้ง​ของ​คู่​ต่อสู้​ทิ่ม​แทง แผล​แรก​เจ้า​วัว​ยัง​คง ​ปัก​หลัก​ประหนึ่ง​นัก​มวย​พยัก​หน้า​ให้​กรรมการ​หลัง​ถูก ‘นับแ​ ปด’ เลือด​แผล​ไหล​เป็นท​ าง​ยาว...แต่ย​ งั ส​ ู้ หาก​แต่แ​ ผล​ ที่​ติดตาม​มา​อีก​หลาย​สิบ​และ​แผล​เก่า​ถูก​ซ้ำ​อยู่​อย่าง​นั้น บางที​ความ​เจ็บ​ปวด​ก็​ไม่​อนุญาต​ให้​นัก​สู้​ยืน​กราน​ความ​ ต้องการ กีฬา​ชน​ววั เ​ป็นก​ ฬี า​พนื้ เ​มือง​ถนิ่ ใ​ต้ ตาม​ถนน​หนทาง​ ใน​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัว​ช้าง​แห่ง​นี้​มี​วัว​ชน​ถูก​ล่าม​เชือก​ ยืน​กลาง​แดด หรือ​ถ้า​พูด​ภาษา​นักเลง​วัว​ชน​ก็​ต้อง​ว่า ‘กราก​แดด’ ให้​วัว​มี​น้ำ​อด​น้ำ​ทน อาหาร​หลัก​ของ​วัว​ชน​ คือห​ ญ้า แต่ต​ อ้ ง​ตดั ห​ ญ้าใ​ส่ล​ งั ห​ รือร​ าง​ให้ก​ นิ ใ​น​โรง​ววั ห​ รือ​ ทีพ่ กั ข​ อง​ววั ไม่ป​ ล่อย​ให้ก​ นิ ห​ ญ้าเ​หมือน​ววั ป​ ระเภท​ทวั่ ไป เดิม​พัน​ที่​สูง​ระดับ​เลข​หลาย​หลัก​ใน​สนาม​ชน​เป็น​เหตุ​ให้​ เพื่อน​ได้​รับ​การ​ปรนนิบัติ​ระดับ ‘วีไ​อ​พี’ มิพ​ กั เ​พือ่ น​บาง​ตวั ย​ งั ม​ อ​ี าหาร​เสริม เช่น ถัว่ เ​ขียว​ตม้ ​ กับน​ ำ้ ตาล​กรวด กล้วย​นำ้ ว้า กล้วย​หอม น้ำม​ ะพร้าว​ออ่ น ขนุน ไข่ไ​ก่ และ​ผล​ไม้อ​ นื่ ๆ สำหรับไ​ข่ไ​ก่ใ​ห้ว​ วั ช​ น​กนิ ค​ รัง้ ล​ ะ


แสงจริง

10 ถึง 15 ฟอง อาจ​จะ​เอา​ไข่​ไก่​ตี​คน​กับ​เบียร์​ดำ​ใส่​ กระบอก​กรอก​ให้​กิน​ก็​มี แต่​ถาม​นักเลง​วัวเ​ถิด​ว่า ยาม​มอง​วัวช​ น​ใน​โรง​เลี้ยง​ แล้ว​มี​ลาง​สังหรณ์​ไหม​ว่า​วัน​รุ่ง​มัน​จะ​เป็น ​ผู้​กำ​ชัยชนะ ร้อย​ทั้ง​ร้อย​ต่าง​อธิบาย​รูปร​ ่าง​ของ​มัน ว่าจ​ ะ​ต้อง​มี​รูป​ร่าง​ ประเปรียว ช่วง​ตัว​ยาว ท้อง​กิ่ว ลำ​ตัวค​ ่อน​ข้าง​หนา หลัง​ หนา​แบน คอ​สั้น​หนา​ใหญ่ ช่วง​ขา​สั้น​และ​ล่ำสัน คิ้ว​หนา ตา​เล็ก สี​ตา​ดำ ใบ​หู​เล็ก โหนก​หรือ​หนอก​สูง​ใหญ่ มี​ขวัญ​ ที่​ใต้โ​หนก​และ​กลาง​หลัง​เยื้อง​ไป​ทาง​ด้าน​หน้า เหนียง​คอ​ หย่อน​ยาน เป็นล​ กั ษณะ​ภายนอก​หรือห​ น่วย​กา้ น แต่ใ​คร​จะ​รว​ู้ า่ ​ วัว​ตัว​ไหน ‘ใจถึง’ ‘ทรหด​อดทน’ และ ‘มี​ไหว​พริบ’ ใน​การ​ ชน​ที่​ดี จนกว่าเ​จ้าว​ ัว​จะ​ถูก​จูง​เข้า​สู่​สนาม โฮม​ส เตย์ ​ห ลั ง ​ที่ ​ผ ม​พั ก ​อ ยู่ ​ติ ด ​กั บ ​บ้ า น​พั ก ​ข อง ลุง​หมี​ด รัก​เกตุ ผู้​ได้​ฉายา​อย่าง​ไม่​เป็น​ทางการ​จาก​ ลูกเขย​ว่า ‘ราชา​โค​ชน’ ลุง​หมี​ด​เลี้ยง​วัว​ชน​ไว้​กว่าสิบตัว เย็น​วัน​นั้น​ขณะ​ที่​จูง​วัว​กลับ​มา​จาก​ทุ่ง​เพื่อ​ต้อน​เข้า​โรง​วัว​ ที่​อยู่​ใต้ถุนบ​ ้าน​ยก​สูง ผม​ถาม​แก​ว่า เรา​จะ​รไู้​ด้​อย่างไร​ว่า ​วัว​ตัว​ไหน​มี​ลักษณะ​ของ​ผู้​ที่​สะกด​คำ​ว่า ‘แพ้’ ไม่เ​ป็น “ดูท​ ท​ี่ รง​ของ​มนั ว่าม​ นั เ​ข้าท​ า่ เ​ข้าท​ า​งมัย้ แต่ถ​ า้ ใ​ห้ด​ ​ู ว่าต​ วั ไ​หน​จะ​ชนะ...” เว้นเ​งียบ เหลือบ​ไป​ทาง​เจ้าว​ วั ต​ วั เ​ก่ง​ ที่​เคี้ยว​หญ้าอ​ ยู่​ใน​บ่อโ​บก​ปูน “ดู​ไม่​ออก​ร้​อก”

11


12 เขาหัวช้าง

ด้วย​วัย 60 กว่าๆ ลุง​หมี​ด​ตื่น​มาก​รีด​ยาง​ตั้งแต่​ ตี 2 ถึง ตี 6 (6 โมง​เช้า) จาก​นั้น​ก็​เป็น​ขั้น​ตอน​เก็บ​ยาง ซึ่ง​มลี​ ูก​หลาน​ช่วย ลุงห​ มี​ดมีส​ วน​ยาง​หลาย​ไร่ มีล​ ูก 8 คน แบ่ง​สวน​ยาง​ให้​ลูก​แต่ละ​คน เป็นการ​ค้ำ​ประกัน​อนาคต​ ของ​พวก​เขา ไหน​จะ​งาน​อดิเรก​อย่าง​การ ‘ปรน’ โค​ชน งาน​ของ​ลุง​หมีด​ ​จึง​เต็ม​เวลา​ทั้งว​ ัน แต่​ใบหน้าข​ อง​แก​ยัง​ดู​ เหมือน​ชาย​วัย 50 อย่าง​ไม่​น่า​เชื่อ ผม​สงสัย​ว่า​แก​อาจ​เป็น​มนุษย์​สาย​พันธุ์ ‘พี่​เบิร์ด’ วัน​เวลา​ผัน​ผ่าน​แต่​ไม่ย​ อม​แก่


แสงจริง

และ​เช่น​เดียวกัน ชาว​ตะ​โหมด​ใน​เทศบาล​ตำบล​ เขา​หัว​ช้าง​แห่ง​นี้ นาฬิกา​ชีวิต​ของ​พวก​เขา​จะ​เดิน​ไป​ใน​ จังหวะ​เดียวกัน มีว​ ถิ ช​ี วี ติ ไ​ม่แ​ ตก​ตา่ ง​กนั ตืน่ ข​ นึ้ ม​ าก​ลาง​ดกึ ทำงาน​ใน​สวน​ยาง​จวบ​รุ่ง​สาง การ​งาน​ของ​ชีวิต​ดำเนิน​ไป​ สิ้น​สุด​ไม่​เกิน​ตี 10 หรือ 10 โมง​เช้า มี​ข้อ​ต่าง​เพียง​ข้อ​เดียว​นั่น​คือ ชาว​ตะ​โหมด​ใน​ เทศบาล​เขา​หัว​ช้าง​มี​พี่​น้อง​ที่​นับถือ​ศาสนา​อิสลาม​ส่วน​ หนึ่ง มีพ​ ี่​น้อง​ที่​นับถือ​ศาสนา​พุทธ​ส่วน​หนึ่ง แต่​พวก​เขา​ก็​ เป็น​พนี่​ ้อง​เครือ​ญาติ​กัน​มา​ตั้งแต่ร​ ุ่น​บรรพบุรุษ

13


14 เขาหัวช้าง

วิถี​ชีวิต​ของ​ชาวสวน​ยางพารา​บางที​ก็​คล้าย​ชีวิต​ ของ​ค นกลาง​คื น ​ใ น​เ มื อ ง​ใ หญ่ แสงจั น ทร์ ​น ำทาง​ดั่ ง​ ดวง​อาทิตย์ เริ่มก​ าแฟ​ถ้วย​แรก​ตอน​เที่ยง​คืนด​ ้วย​การ​งาน​ ทีต​่ อ้ ง​ทำ​ตงั้ แต่ก​ ลาง​คนื ท​ า่ ม​ ลม​หนาว กาแฟ​รอ้ นๆ น่าจ​ ะ​ ช่วย​ให้ร​ า่ ง​กายก​ระ​ปรีก​้ ระ​เปร่า ใคร​จะ​กล้าเ​ถียง​ละ่ ว​ า่ การ​ ต้อง​ลุก​ขึ้น​มา​ราวๆ เที่ยง​คืน​หรือต​ ี​หนึ่งต​ ี​สอง ท่ามกลาง​ อากาศ​เย็น...เป็น​เรื่อง​ง่าย ไหน​จะ​ความ​อบอุ่น​ใต้​ผ้า​ห่ม​ ก็ยวน​ใจ​เหลือ​เกิน หาก​ใจ​ไม่​แกร่ง​ไม่​ทร​หด​จริงๆ บางที​ ก็​อาจ​ถูก​ตัดสิน​เป็น​ผู้​แพ้​ใน​สนาม​ของ​ชีวิต เมือ่ ด​ วง​อาทิตย์เ​ดินท​ าง​มา​ถงึ ท​ อ้ งฟ้าข​ อง​ตะ​โหมด วง​ชา-กาแฟ​กเ​็ ริม่ ต​ น้ ข​ นึ้ กาแฟ​แก้วท​ ส​ี่ อง​ของ​ชาวสวน​ยาง​ บาง​คน​ถูก​เติม​ให้​ร่างกาย​กระชุ่มกระชวย...คลาย​เหนื่อย แล้ว​เรื่อง​ราว​สัพเพเหระ​ก็​ถ่ายเท ผลัด​เปลี่ยน​กัน​ใน​ วง​กาแฟ​เคล้า​ควัน​จางๆ ของ​ใบ​จาก ใน​ฐานะ​คนนอก ผม​เฝ้า​มอง​พวก​เขา​ผ่าน​แก้ว​ กาแฟ​นมข้น พยายาม​ฟัง​เรื่อง​ราว​ของ​พวก​เขา​อย่าง​ยาก​ ลำบาก​เพราะ​ภาษา​สำเนียง​ปกั ษ์ใ​ต้ท​ อ​ี่ อก​จะ​เร็วพ​ อๆ กับ​ แร็พเ​ปอร์ย​ า่ น RCA แต่ร​ ะยะ​เวลา​ทพ​ี่ วก​เขา​ใช้ไ​ป​บน​โต๊ะช​ า -กาแฟ ช่าง​สวน​ทาง​กับ​ความเร็ว​ของ​การ​พูด อ้อยอิ่ง​ อ้อย​สร้อย​ราวกับว​ า่ พ​ วก​เขา​เป็นเ​ศรษฐีเ​วลา ต่อเ​มือ่ ท​ ราบ​ถงึ ​ กิจวัตร​ประจำ​วัน​ของ​พวก​เขา​ก็​ปรุโปร่ง​ว่า​เหตุ​ใด ‘เวลา’ พวก​เขา​จึง​เดิน​ช้า หาก​เทียบ​กัน​จริงๆ เวลา​ยาม​นี้​ของ​


แสงจริง

พวก​เขา​กค​็ ง​บา่ ย​คล้อย หมายความ​วา่ การ​งาน​ ของ​พ วก​เ ขา​ก ำลั ง ​จ ะ​ สิ้ น ​สุ ด ขณะ​ที่ ​ผ ม​เ พิ่ ง​ เริ่ม​ต้น วิถี​เมือง​ตื่น​เช้า​กลับ​เย็น ขณะ​ที่​พวก​เขา​ตื่น​ดึก​แต่​ ก็​ยัง​กลับ​เย็น​เช่น​วิถี​เมือง มัน​เป็น​วิถี​ชีวิต​ที่​ต้อง​ใช้​ความ​ อึด​ไม่​น้อย หาก​แต่​สิ่ง​ทดแทน​ของ​ชาว​ตะ​โหมด​ก็​คือ​ ทรัพยากรธรรมชาติท​ อี่​ ุดม​สมบูรณ์ อากาศ​ทดี่​ ี​ย่อม​ทำให้​ ร่างกาย​ดี พู ด ​แ บบ​ค นนอก การ​น อน​ตื่ น ​ขึ้ น ​ม าก​ล าง​ดึ ก​ ท่า​มกลางอา​กาศ​หนาว​เพื่อ​ลง​ไป​ใน​สวน​ยาง​ที่​ทั้ง​ชื้น​เย็น​ และ​เต็ม​ไป​ด้วย​ยุง​ลาย​ที่​ทำให้​ผิว​คัน​คะเยอ บางที​มัน​ก็​ ไม่​ต่าง​จาก​วิถี​เมือง​ใหญ่​ที่​ต้อง​ถ่างตา​แต่​เช้า​เพื่อ​เบียด​ เสียด​ผู้คน​ใน​รถ​โดยสาร​เดิน​ทาง​อย่าง​ติดขัด​ไป​ทำงาน แผ่น​หลัง​ชุ่ม​โชก​ด้วย​เหงื่อ​จาก​แดด​เช้า เมื่อ​ชีวิต​เป็น​ทั้ง​ฝ่าย ‘กระชาก’ ผ้าห่ม และ​ยัง ‘รุน​หลัง’ ให้​เดิน​หน้าส​ ู่​สวน​ยางพารา​หรือ​ถนน​แออัด มัน​ เป็นเ​รือ่ ง​ทใ​ี่ คร​บาง​คน​อาจ​ตอ้ ง​ฝกึ เ​พือ่ ใ​ห้เ​กิดค​ วาม​เคยชิน เพื่อใ​ห้ ‘อยู่​ตัว’ และ ‘เอา​อยู่’ เป็น​วิถี​ของ​มนุษย์ เหมือน​วัวช​ น​ใน​สนาม

15


แผนที่แหล่งปฏิบัติการเรียนรู้

เขาหัวช้าง

หวยไ ต

ควน

ถนนท

คลอ งโละ จ

ถนนสายบอน้ำรอน หว

อน ยน้ำร

นท

างห

๒ ข ๔๑๒ หมายเล

ลวง แผนดิน

8

๒ ๑๒

ถน

เขาพระ

วัดโหละจันกระ โรงเรียนวัดโหละจันกระ

เขาลักไก

อำเภ เขาหัวชาง

ตำบลตะโหมด


คลองโละ จัง ตำบลแมขรี

ถนน ทาง

หลวงแผนดินหม

ายเลข ๔๑

งหัวชาง

3 1

ถนนรมโพธ ิ์ ไทร -

ธิ์ ม .1 ทุงโพ

๓๗

มาย เ

ขรี  การบริหารสวน ตำ บล แม

๔๒

ทา ง

ว หล

ิน ห

นด

งแผ

ถน

เขตองค

ถนน

ก หมา

หวย แมข รี ญ ล บ ห ตำ องใ เขต คล ำบล ต ต เข

พงษ

งให ญ ค ลอ

คลองกง

โรงเรียน ประชาบำรุง

หวย เทียน

หวย

4

สาย ควน - คลอ ง นุย

ถนน คลองนุ

5 สำนักงานเทศบาล ตำบลเขาหัวชาง อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

ควนลอน

มัสยิดยีลาล

7

๔๑๒๒

โรงเรียน บานหัวชาง สถานีอนามัย บานคลองนุย มัสยิดนูรุลฮูดา

คลองน ุย

6

คลอ งตะโหมด

๒๑

ดานโล ด

ย - ควนอินนอโม

คลอ

อ น ุย -คว น ล

คลองน ถนน

ถนนทางหลวงแผนดินหมายเลข

หวยไ ต

าก

บลตะโหมด

กระ

ควนอินนอโม

12

มัสยิดนูรุลอิสลาม14 รพ.สต.บานควนอินนอโม งกระ มัสยิดสมบูรณศาสน โรงเรียนมุสลิมวิทยาโรงเรียนบานควนอินนอโม

เขาพระ

าง

หม

หวย

8

๒ ๑๒

๔๑๒๒

10

9

ลวง แผนดิน หมายเลข ๔๑ ๒

งส ม ะทอ ถนนดานโลด -เก า

11

ถนนทางห คลอ งโละ จั

ถนนทุงสบาย -เกาะทองสม

13 ควนเลี่ยม

คลองตะโ

2 หวย

ิน ห

วงแผน ด

ถนนทางหล

หมด ๔๑๒๒ เลข ย า

คลอ งแม ทุงนุน ายบาน ส นน

อ แมเ ถ

ธนาคารน้ำ สภาลานวัดตะโหมด กลุมเลี้ยงผึ้ง กลุมเพาะเห็ด ศูนยถายทอดเทคโนโลยี กลุมสมุนไพร กลุมเลี้ยงผึ้ง รานคาชุมชน


18 เขาหัวช้าง

02 กาแฟ​น ม​ถ้ ว ย​แ รก​ใ น​เช้ า ​วั น​นี้ ​ซึ่ ง ​เป็ น ​เช้ า ​แ รก​ที่ ​ผ ม​ไ ด้ ​ สัมผัส​กับ​บรรยากาศ​ของ​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัว​ช้าง เมือง​ พัทลุง มี​ผู้​ร่วม​วง​ชา-กาแฟ ดังนี้ บังซ​ ี-เอก​รัฐ สา​เหล็ม สมาชิ ก ​ส ภา​เ ทศบาล​ต ำบล​เ ขา​หั ว ​ช้ า ง บั ง ​สุ บ -ยู ​สุ บ เอียด​ฤทธิ์ รอง​นายก​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัว​ช้าง บังด​ ีนอนุชา แวว​วัน​จิต แกน​นำ​สภา​เด็ก​และ​เยาวชน ผู้​เป็น ​ลู ก เขย​ข อง​ลุ ง ​ห มี ​ด ​เ จ้ า ของ​ฉ ายา ‘ราชา​โ ค​ช น’ และ​ บัง​นิต​ร์-วิ​นิต​ร์ พล​นุ้ย คน​หนุ่ม​แห่ง​เทศบาล​ตำบล เ​ขา​หวั ช​ า้ ง ผูเ​้ ป็นเ​จ้าห​ น้าทีว​่ เิ คราะห์น​ โยบาย​และ​แผน​แห่ง​ เทศบาล​ตำบล​เขา​หัวช​ ้าง และ​หนอน​หนังสือ​รัก​การ​อ่าน ตาม​ถนน​รน​แคม​ใน​เขต​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัว​ช้าง​ มีป​ า้ ย​คทั เ​อา​ทห​์ ลาย​ปา้ ย​ซงึ่ ล​ ว้ น​ทำ​หน้าทีบ่​ ง่ บ​ อก​วถิ ช​ี วี ติ ​ ของ​ผู้คน​ที่​นี่ และ​อีก​นัย​หนึ่ง​มัน​ก็ได้​เผย​ลักษณะ​นิสัย​


แสงจริง

ใจคอ​ของ​ชาว​เขา​หัวช​ ้าง​ได้​เป็น​อย่าง​ดี มี​ป้าย​รณรงค์​ต่อ​ต้าน​การ​ขุด​ลอก​คู​คลอง ซึ่ง​แน่​ล่ะ ​ว่า​เรื่อง​นี้​จำ​ต้อง​อาศัย​ข้อมูล​มา​พูด​คุย​ให้​เห็น​ถึง​ผล​ดีผล​เสีย และ​ผลก​ระ​ทบ​ทต​ี่ าม​มา เท่าท​ ฟ​ี่ งั จ​ าก​ฝา่ ย​ชาว​บา้ น ​พวก​เขา​ต้องการ​รักษา​ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่​พวก​เขา​ ใช้สอย​มา​นมนาน และ​ที่​สำคัญ​เจ้าของ​โครงการ​อย่าง​ กรมชลประทาน​ยัง​ไม่​เคย​บอก​กล่าว​ถึง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ สิ่ง​แวดล้อม​เลย มิ​พัก​ว่าใ​น​เสียง​ต่อต​ ้าน​ยัง​มี​เสียง​ต่อ​ต้าน​ ซ้อน​ขนึ้ ม​ า​ใน​หมูช​่ าว​บา้ น เลย​เถิดเ​ป็นเ​รือ่ ง​ผล​ประโยชน์ท​ ​ี่ ปัจเจก​ต่าง​มอง​ต่าง​มุมก​ ัน อัน​เป็น​เรื่อง​ซับซ​ ้อน ขณะ​ที่​ป้าย​คัท​เอา​ท์​หนึ่ง​สะดุด​ตา เป็น​ป้าย​ที่​มี​ ข้อความ​ภาษา​อา​รบิก กำกับ​ด้วย​ภาษา​ไทย​ว่า ‘ทุก​ชีวิต​ ต้อง​ลมิ้ ร​ ส​ความ​ตาย’ สอบถาม​จาก ‘บังท​ งั้ 4’ ได้ค​ วาม​วา่

19


20 เขาหัวช้าง

ใน​เทศกาล​สงกรานต์​ของ​ทุกป​ ี ลูก​หลาน​ที่​นับถือ​ศาสนา​ อิสลาม​จะ​ทำ ‘พิธช​ี ยิ า​เราะ​กโ​ุ บร์’ ลูกห​ ลาน​จะ​มา​รวม​ตวั ก​ นั ​ร ะลึ ก ​ถึ ง ​บ รรพบุ รุ ษ ​ผู้ ​ล่ ว ง​ลั บ นั ย ​ห นึ่ ง ​เ พื่ อ ​ร ะลึ ก ​ถึ ง​ ความ​ตาย ไม่มี​ใคร​หนีพ​ ้น ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​เป็น​ชุมชน​หนึ่ง​ที่​ใช้​หลัก​ศาสนา​ นำ​ใน​การ​อยู่​ร่วม​กัน แม้ว่า​ผู้คน​ใน​ชุมชน​จะ​มี​ทั้ง​พุทธ​ และ​อิสลาม กิจกรรม​หรือก​ าร​ออกแบบ​การ​อยูร่​ ่วม​กันใ​น​ ชุมชน​แห่ง​นี้​ล้วน​ยึด​โยง​กับ​ความ​เชื่อ​ทาง​ศาสนา น่าแ​ ปลก...ดวง​อาทิตย์ย​ งั ข​ นึ้ ท​ าง​ทศิ ต​ ะวันอ​ อก​และ​ คล้อย​ต่ำ​ลง​ทิศ​ตะวัน​ตก แต่​ผม​มีเฟ​ซบุ๊ค เจ้า​หน้าที่​ใน​ เทศบาล​เขา​หัว​ช้าง​ต่าง​ก็​มีเฟ​ซบุ๊ค ไม่​ว่า​เขา​หรือ​เธอ​จะ​ นับถือพ​ ทุ ธ​หรืออ​ สิ ลาม​แต่ต​ า่ ง​กม​็ เี ฟ​ซบุค๊ บังน​ ติ ร​ -์ คน​หนุม่ ​ เอาการ​เอางาน​แห่ง​เทศบาล​เขา​หัว​ช้าง​ก็​มีเฟ​ซบุ๊ค โลก​ ในเฟ​ซบุค๊ ข​ อง​ผม​เต็มไ​ป​ดว้ ย​การ​ตงั้ ค​ ำถาม​กบั ศ​ าสนา​หลัก​ ของ​ชาติ...ศาสนา​พุทธ ที่​บอก​ว่า​น่า​แปลก​ก็​ต้อง​ชี้แจง​ว่า​ ผม​มา​จาก​โลก​ทก​ี่ ำลังป​ ริร​ า้ ว​ดว้ ย​ชดุ ค​ วาม​คดิ ท​ ข​ี่ ดั แ​ ย้งก​ นั ไม่ว​ า่ จ​ ะ​เรือ่ ง​หลักค​ ดิ ห​ ลักป​ ฏิบตั ท​ิ าง​ศาสนา ไม่ว​ า่ แ​ นวคิด​ ที่​ซัก​ค้าน​การ​ผนวก​เอา​ศาสนา​เข้าไป​อยู่​ร่วม​ปริมณฑล​ เดียว​กับ​รัฐช​ าติ​สมัย​ใหม่ หรือเ​รื่อ​งอื่นๆ แต่ช​ ุมชน​แห่ง​นี้​ ใช้​ศาสนา​นำทาง หลังก​ าแฟ​หมด​แก้ว กาน้ำช​ า​กถ​็ กู ย​ ก​จน​กน้ ก​ า​ไม่ไ​ด้​ ติดโ​ต๊ะ อย่าง​นอ้ ย​กค​็ นละ​สกั 3 แก้ว เพือ่ ล​ า้ ง​ปาก​ลา้ ง​คอ​


แสงจริง

จาก​รส​หวาน​และ​เหนียว​หนืดข​ อง​นมข้น จาก​นั้น​บัง​ทั้ง 4 พา​ผม​ไป​ยัง​โลก​อีก​ใบ...มัสยิด​ควนอิน​นอ​โม (นู​รู้​อิสลาม) มัสยิด​ควน​อินนอ​โม​ตั้ง​อยู่​หลัง​เพิง​ขาย​ชา-กาแฟ ​ริม​ถนน​สาย​แม่​ขรี-โหล๊​ะ​จัง​กระ ที่​พวก​เรา​นั่ง​ดื่ม​เมื่อ​ครู่ มัสยิดแ​ ห่ง​นี้​มี​กลไก​การ​ทำงาน​ให้ช​ ุมชน​คล้าย ‘สภา​ซู​รอ’ ใน​จังหวัด​ชายแดน​ภาค​ใต้ คือ​เป็น​มัสยิด​ที่​มี​บทบาท​นำ​ ชุมชน​สูง ให้ค​ วาม​ช่วย​เหลือ​เกื้อกูล​ชีวิตใ​น​ชุมชน มิส​ยิด​แห่ง​นี้​ก่อ​ตั้ง​เมื่อ​ปี 2478 ด้วย​เงิน​บริ​จาค​ โดย​ชาว​บา้ น​ผศ​ู้ รัทธา ปัจจุบนั ผ​ เ​ู้ ป็นโ​ต๊ะอิหม่าม​คอื หมัด สา​เหล็ม โต๊ะอิหม่าม​ทักทาย​กับ​บรรดา ‘บังท​ ั้ง 4’ ด้วย​ การ​จบั ม​ อื ก​ นั แ​ ละ​กนั ด​ ว้ ย​มอื ขวา แล้วต​ า่ ง​ฝา่ ย​ตา่ ง​วางมือ​ ขวา​นนั้ ป​ ระทับห​ น้าอก​ดา้ น​ซา้ ย​ของ​ตน สำหรับผ​ ม-ยกมือ​ ไหว้​และ​กล่าว​สวัสดี โต๊ะอิหม่าม​พยัก​หน้าแ​ ละ​ส่ง​ยิ้ม​ให้ ชีวิต​ของ​ชาว​บ้าน​ควน​อิน​นอ​โม​หมู่ 7 แห่ง​นี้ พึ่งพา​ และ​ยึด​โยง​อยู่​กับ​มัสยิด​แห่ง​นี้ “ใคร​ที่​ผิด​หลัก​ศาสนา ชาว​บา้ น​จะ​ตอ่ ต​ า้ น พวก​เรา​จะ​อยูใ​่ น​หลักศ​ าสนา​ทงั้ หมด” ดุลเ​ลาะ​ห์ สา​เหล็ม คอ​เต๊มแ​ ห่งม​ สั ยิดค​ วน​อนิ นอ​โม เป็น ผ​ บ​ู้ อก​เล่า คอ​เต๊ม – มีต​ ำแหน่งเ​ป็นเ​หมือน​รอง​โต๊ะอิหม่าม เป็น​ผู้​ขึ้น​เทศนา​ก่อน​พิธี​ละหมาด ปี 2535 มัสยิด​ได้​รับ​บริจาค​สวน​ยางพารา​จาก​ ชาว​บา้ น​ผม​ู้ จ​ี ติ ศ​ รัทธา 16 ไร่ และ​มผ​ี บ​ู้ ริจาค​สวน​ยาง​เข้าม​ า ​อีก​เรื่อยๆ จน​ทำให้​มัสยิด​มี​ราย​ได้​จาก​น้ำ​ยางพารา และ​

21


22 เขาหัวช้าง

สามารถ​บริหาร​จัดการ​ภายใน​และ​คืน​กลับ​สังคม​ชุมชน เมือ่ ศ​ รัทธา​ชาว​บา้ น​จงึ ใ​ห้ และ​พวก​เขา​กไ็ ด้ร​ บั ส​ งิ่ น​ นั้ ​กลับ​คืน มั ส ยิ ด ​ไ ด้ ​จั ด ​ตั้ ง ​ก องทุ น ​ขึ้ น ​ม า​เ พื่ อ ​ท ำ​ร ะบบ​ สวัสดิการ​ให้​ชาว​บ้าน​หมู่ 7 สวัสดิการ​ที่​ว่า​ครอบคลุม​ ชีวิต​ตั้งแต่​เกิด​จน​ตาย นอกจาก​นี้​ยัง​ให้​ทุน​การ​ศึกษา​แก่​ เด็ก​นักเรียน​ใน​ชุมชน “เรา​ให้ค​ รูเ​สนอ​ชอื่ เ​ด็กน​ กั เรียน​ขนึ้ ม​ า เด็กค​ น​ไหน​ม​ี ผล​การ​เรียน​ดี แต่ย​ ากจน ก็ใ​ห้ค​ รูเ​สนอ​ชอื่ ม​ า แล้วท​ าง​มสั ยิด​ จะ​ให้​ทุน​การ​ศึกษา ใน 1 ปี​การ​ศึกษา​จะ​มี​เด็ก​ได้​รับ​ทุน 12 คน” หมัด สา​เหล็ม ผู้​เป็น​โต๊ะอิหม่าม​บอก เมื่อ​เกิด​ภัย​พิบัติ มัสยิด​ก็​จะ​ให้​เงิน​ช่วย​เหลือ​ตาม​ หลังคา​เรือน​ทเ​ี่ สียห​ าย นอกจาก​นม​ี้ สั ยิดย​ งั ต​ งั้ ‘ศูนย์อ​ บรม​


แสงจริง

จริยธรรม’ ขึน้ ม​ า​เพือ่ ใ​ห้เ​ด็กแ​ ละ​เยาวชน​ใน​ชมุ ชน​มา​เรียน​ ใน​วนั ห​ ยุดเ​สาร์-อาทิตย์ เรียน​เนือ้ หา​เกีย่ ว​กบั ห​ ลักศ​ าสนา​ อิสลาม เด็ก​นักเรียน​ส่วน​ใหญ่​เล่า​เรียน​ใน​โรงเรียน​รัฐ​ ตาม​หลักสูตร​ของ​กระทรวง​ศึกษาธิการ​ใน​วัน​จันทร์-ศุกร์ วัน​เสาร์-อาทิตย์​พวก​เขา​และ​เธอ​ต้อง​มา​เรียน​เกี่ยว​กับ​ หลัก​ศาสนา​ที่​ศูนย์​อบรม​จริยธรรม​ที่​มัสยิด เหมือน​เด็ก​ กรุงเทพฯ ไป​เรียน​ติวเตอร์​กับอ​ า​จาร​ย์​อุ๊ นอกจาก​เด็ก​และ​เยาวชน ใน​แต่ละ​ปี​มัสยิด​จะ​จัด​ โครงการ​อบรม​มุสลิม​และ​มุ​สลี​มะห์ อบรม​และ​เน้น​ย้ำถ​ ึง​ หน้าที่​ของ​แต่ละ​ฝ่าย ถ้า​เป็น​มุสลิม​ต้อง​มี​บทบาท​หน้าที่​ อย่างไร ถ้าเ​ป็นม​ ส​ุ ลีม​ ะห์ต​ อ้ ง​มบ​ี ทบาท​หน้าทีอ​่ ย่างไร ตาม​ ความ​เข้าใจ​ใน​สังคม​เก่า​ฝ่าย​ชาย​เป็น ​ผู้นำ​ส่วน​ฝ่าย​หญิง​ รับ​หน้าที่​ปรนนิบัติ​ดูแล​ความ​เรียบร้อย​ใน​ครัว​เรือน แต่​

23


24 เขาหัวช้าง

โลก​เปลี่ยน บทบาท​หน้าทีล่​ ักษณะ​นี้​อาจ​ไม่​เป็น​แบบ​เดิม “บาง​ค รอบครั ว ผู้ ​ห ญิ ง ​ก็ ​เ ป็ น ​ฝ่ า ย​บ ริ ห าร​น ะ” โต๊ะอิหม่าม​พูด​กลั้ว​หัวเราะ แต่ไ​ม่ว​ า่ ส​ งั คม​จะ​เปลีย่ น​ไป​อย่างไร ชุมชน​เขา​หวั ช​ า้ ง ​ก็ ​ยั ง ​ค ง​เ ดิ น ​ท าง​โ ดย​มี ​ศ าสนา​น ำทาง เป็ น ก​ร อบ​ใ ห้ ​ ยึด​เหนีย่ ว ไม่​ให้​ชวี ติ ​เดิน​ไป​ตาม​แรงดึงดูด​ของ​จติ ใจ​ฝา่ ย​ตำ่ “สภา​สูงสุด​อยู่​ที่​มัสยิด กิจกรรม​หรือ​กฎ​ระเบียบ​ ใน​การ​อยู่​ร่วม​กัน​จะ​ออก​มา​จาก​มัสยิด ที่​นี่​ศาสนา​นำ​ การเมือง” คอ​เต๊ม​แห่งม​ ัสยิด​ควนอิน​นอ​โม​เล่า พีน​่ อ้ ง​มสุ ลิมใ​น​ชมุ ชน​เขา​หวั ช​ า้ ง​มศ​ี าสนา​นำทาง​ใน​ การ​ดำเนินช​ วี ติ ขณะ​พน​ี่ อ้ ง​ไทย​พทุ ธ​กไ​็ ม่ล​ ว่ ง​เกินค​ วาม​คดิ ​ความ​เชื่อ​ของ​กัน ยาม​มี​กิจกรรม​ทั้ง​สอง​ต่าง​ทำ​ร่วม​กัน หาก​แ ต่ ​ก็ ​เ คร่ ง ครั ด ​ใ น​ก าร​ที่ ​จ ะ​เ ว้ น ​ร ะยะ​ห่ า ง​ใ น​บ าง​ พิธีกรรม​ที่​อีก​ฝ่าย​ไม่​สามารถ​เข้า​ร่วม ชีวิต​ที่​นี่​มที​ ่วงทำนอง​แบบ​นี้ มี​ทง้ั ​เหมือน​และ​ตา่ ง ใช้​ความ​เข้าใจ​ใน​การ​อยู​ร่ ว่ ม​กนั ระหว่าง​เดิน​ออก​มา​จาก​มัสยิด​ควนอิน​นอ​โม ป้าย​ คัท​เอา​ท์ ‘ทุก​ชีวิต​ต้อง​ลิ้ม​รส​ความ​ตาย’ จ้อง​มอง​มา​ ทาง​เรา ปลาย​ทาง​ของ​ชวี ติ ม​ ค​ี วาม​ตาย​เป็นจ​ ดุ ส​ นิ้ ส​ ดุ ไม่ว​ า่ ​ จะ​นับถือ​พุทธ​หรือ​อิสลาม ทุก​ชีวิต​ต้อง​ลิ้ม​รส​ความ​ตาย แต่​ระหว่าง​ทาง​ต่าง​ก็​มี​ราย​ละเอียด​ปลีก​ย่อย​ต่าง​ กัน แต่​ทั้ง​สอง​ก็​มี​ปลาย​ทาง​เหมือน​กัน


แสงจริง

25


26 เขาหัวช้าง

03 วัน​หยุด​เสาร์-อาทิตย์ เด็ก​นักเรียน​ชาว​มุสลิม​ของ​ชุมชน​ เขา​หัว​ช้าง​จะ​ต้อง​ไป​เรียน​เรื่อง​ศาสนา​ที่ ‘ศูนย์​อบรม​ จริยธรรม​ประจำ​มสั ยิดบ​ า้ น​ควน​อนิ น​ อ​โม’ วิชา​ทาง​ศาสนา​ เป็น​วิชา​บังคับ​เบื้อง​ต้น​ของ​ชาว​มุสลิม เริม่ เ​รียน​ตงั้ แต่ช​ นั้ ป​ ระถม​ศกึ ษา​ปท​ี ี่ 1 – ปีท​ ี่ 6 เมือ่ ​ จบ​ประถม​ศึกษา​ปที​ ี่ 6 พวก​เขา​จะ​ได้​รับ​ประกาศนียบัตร​ จาก​จุ ฬ าราชมนตรี เป็ น ​ค ล้ า ย​ใ บ​ป ริ ญ ญา​รั บ รอง​ว่ า​ จบ​หลักสูตร​เบือ้ ง​ตน้ ทาง​ศาสนา​แล้ว ต่อจ​ าก​นใ​ี้ คร​จะ​เลือก ​เดิน​ตาม​เส้น​ทาง​ศาสนา​ก็​ขึ้น​อยู่​แต่​ใจ​ปรารถนา บาง​คน​ เรียน​ทาง​ศาสนา​ถึง​ระดับป​ ริญญา​โท-เอก ก็​มี​มากมาย ใช้​เวลา​วัน​ละ 4-5 ชั่วโมง ไป​กับ​วิชา​เทววิทยา วิชา​ นิติศาสตร์​อิสลาม วิชา​จริยธรรม วิ​ชา​อัล​กุ​รอาน วิ​ชา​ อัล​ฮะ​ดีษ (แนว​ปฏิบัติ​เบื้อง​ต้น​ของ​ท่าน​นบี) และ​วิชา​


แสงจริง

ศาสนา​ประวัติ หลักสูตร​การ​เรียน​การ​สอน​ควบคุม​โดย สมาคม​คุรุ​สัมพันธ์​อิสลาม​แห่ง​ประเทศไทย “เรื่ อ ง​ที่ ​เ ด็ ก ​จ ะ​ไ ด้ ​เ รี ย น​ล้ ว น​เ กี่ ย วข้ อ ง​กั บ ​ห ลั ก​ ศาสนา ความ​ศรัทธา-ทำไม​ตอ้ ง​ศรัทธา​พระเจ้า และ​หลัก ​ปฏิบัติ​การ​อยู่​ร่วม​กับ​ผู้​อื่น​ใน​ชุมชน” สัน เพ็ง​ปรางค์ ผู้​บริหาร​จัดการ​ศูนย์​อบรม​จริยธรรม​ประจำ​มัสยิด​บ้าน​ ควน​อิน​นอ​โม หรือ ‘ครู​ใหญ่’ บอก​พลาง​ยก​กาแฟ​นมชา​นม มา​ให้​พลาง คอ​กาแฟ​คง​หลง​รกั ช​ มุ ชน​เขา​หวั ช​ า้ ง เพราะ​ไม่ว​ า่ จ​ ะ​ เข้าบ​ า้ น​ไหน​ครัวใ​ด กาแฟ​เป็นเ​สมือน​นำ้ ร​ บั แขก ครูส​ นั ผม และ​บัง​ทั้ง 4 รวม​ถึง​เพื่อน​บ้าน​ครู​สัน​อีก 2-3 คน ต่าง​นั่ง​ รอบ​โต๊ะท​ รง​สเี่ หลีย่ ม​ผนื ผ​ า้ ต​ วั ย​ าว ตรง​หน้าข​ อง​แต่ละ​คน​ มี​ถ้วย​ชา​และ​กาแฟ​ครบ

27


28 เขาหัวช้าง

นอกจาก​กาแฟ ชาว​เขา​หวั ช​ า้ ง​ยงั ช​ อบ​สนทนา และ​ ใบ​จาก หัวใจ​ของ ‘ศูนย์​อบรม​จริย​ธร​รมฯ’ คือ การนำ​หลัก​ ศาสนา​อิสลาม​ไป​ปรับ​ใช้​ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน ศึกษา​หลัก ​คำ​สอน​ของ​พระเจ้า​เพื่อ​เข้าใจ​ถึง​สิ่ง​ที่​ตนเอง​ศรัทธา​และ​ การ​เข้าใจ​ผู้​อื่น ศาสนา​อิสลาม​จะ​เน้น​การ​แบ่งป​ ัน​เจือ​จุน​ กัน เช่น เงิน​บริจาค​ตาม​หลัก​ศาสนา​อิสลาม​ใน​ช่วง​เดือน​ รอม​ฎอน หรือ​ที่​เรียก​ว่า ‘ฟิต​เร๊าะห์’ คล้าย​กับ​ภาษี​ที่​ผู้​ บริจ​ าค​จะ​ให้ต​ าม​ฐาน​ราย​ได้ข​ อง​ตน เพือ่ แ​ บ่งป​ นั ใ​ห้เ​พือ่ น​ ที่​ยากไร้​กว่า​หรือ​เพื่อ​สาธารณ​ประโยชน์ เป็นต้น ครุ่นคิด​อยู่​ครู่ ครู​สัน​ก็​เปรย​มา​จาก​หลัง​ถ้วย​กาแฟ หลัง​ถูก​ถาม​ถึง​ความ​เปลี่ยนแปลง​ที่​มอง​เห็น ครู​สัน​บอก​ ว่า​จำนวน​เด็ก​นักเรียน​เพิ่ม​ขึ้น​กว่า​เท่า​ตัว เมื่อ​ก่อน​เด็ก​ นักเรียน​ใน​แต่ละ​ปี​มี 50 คน แต่​ปัจจุบัน​มี​เด็ก​นักเรียน​ ปี​ละ 250 คน “เด็ ก ​ส มั ย ​นี้ ​ไ ม่ ​ค่ อ ย​ส นใจ​เ รี ย น​เ ท่ า ​ส มั ย ​ก่ อ น ทุ ก ​ป ลาย​ภ าค​ก าร​เ รี ย น​จ ะ​มี ​ก าร​ส อบ​วั ด ผล เชื่ อ มั้ ​ย เด็ก 80 คน จะ​มี​เด็ก​สอบ​ตก 5 คน” ครู​สัน​บอก “หาก​มน​ี กั เรียน​สงสัยใ​น​พระเจ้า ครูม​ ว​ี ธิ บ​ี อก​กล่าว​ อย่างไร” ถาม​ด้วย​สงสัย “ศรัทธา​ใน​พระเจ้า ไม่มี​การ​สงสัย ถ้าศ​ รัทธา​แล้ว​ ก็​ไม่​สงสัย” ครู​สัน​ตอบ


แสงจริง

จาก​นั้น​วง​ชา-กาแฟ ของ​เรา​ก็​เริ่ม​แลก​เปลี่ยน​หลัง ค​รู​ใหญ่เ​ปิด​ประเด็น ‘ความ​เชื่อ​และ​ศรัทธา’ “เดีย๋ ว​นผ​ี้ ม​อยาก​รอ​ู้ ะไร​กเ​็ ข้าก​ เ​ู กิล...มีห​ มด” บังน​ ติ ร​ ์ คน​หนุ่ม​ผู้​เป็น​หนอน​หนังสือ ว่า​และ​บอก “แต่​อาจารย์​ ปริ ญ ญา เท​ว า​น ฤมิ ต ​ร กุ ล (อาจารย์​ป ระจำ​ภ าค​วิ ช า​ กฎหมาย​มหาชน คณะ​นติ ศิ าสตร์ เป็นเ​ลขาธิการ​สหพันธ์​ นิสติ น​ กั ศึกษา​แห่งป​ ระเทศไทย​ใน​เหตุการณ์พ​ ฤษภา​ทมิฬ พ.ศ. 2535) บอก​ว่า คุณ​ไม่​ต้อง​รู้​เยอะ​หรอก เพราะ​ ทุก​วัน​นี้​คน​มัน​รู้​เยอะ แต่ไ​ม่​เข้าใจ” บั ง ​นิ ต ​ร์ ​นั ก ​อ่ า น​อ้ า ง​ค ำ​ข อง ส.ศิ ว ​รั ก ษ์ (เป็ น​ นามปากกา​ของ สุ​ลักษณ์ ศิว​รักษ์ นัก​คิด​นัก​เขียน​คน​ สำคัญ​ของ​เมือง​ไทย) อีก​ว่า “ท่าน​บอก​ว่า คน​รู้มาก​แต่​ ส่วน​มาก​คน​มัก​ไม่​เข้าใจ​แก่น​แท้​ของ​มัน” “รู้​แต่​ไม่​ปฏิบัติ...” บังส​ ุ​บทีน่​ ั่ง​ข้างๆ กล่าว​เสริม “ทุก​ศาสนา​สอน​คน​ให้​เป็น​คน​ดี” บัง​ซี​กล่าว​ขึ้น​มา ​ข ณะ​ก ำลั ง ​ม วน​ใ บ​จ าก “แต่ ​ค น​พ ร้ อ ม​จ ะ​เ ป็ น ​ค น​ดี ​ หรือเ​ปล่า” “เวลา​ผม​อยู่​คน​เดียว ผม​ไม่ก​ ิน​เหล้า ทั้งๆ ทีไ่​ม่มี​ ใคร​เห็น เวลา​ทเี่​รา​อยู่​คน​เดียว​ทำไม​เรา​จึง​ไม่ห​ ยิบ​สิ่งของ​ ของ​ผู้​อื่น ทั้งๆ ทีไ่​ม่มี​ใคร​เห็น ถ้าเ​รา​จะ​ดื่มเ​หล้า​หรือ​เรา​ จะ​เอา​ของ​ผอ​ู้ นื่ ก็เ​พราะ​เรา​เชือ่ ว​ า่ พ​ ระเจ้าเ​ฝ้าม​ อง​เรา​อยู”่ บัง​นิต​รบ์​ อก​พร้อม​มอง​มา​ทาง​ผม คล้าย​อธิบาย​ให้​ฟัง

29


30 เขาหัวช้าง

“ทั้งหมด​มัน​คือ​ความ​เชื่อ เพราะ​เรา​เชื่อ​ว่าพ​ ระเจ้า​ มอง​ลง​มา​อยู่ มอง​มายังเ​รา​อยู่” ครู​สัน​บอก​ปิด​ท้าย


แสงจริง

31


32 เขาหัวช้าง


04


34 เขาหัวช้าง

04 ใน​ยาม​ค่ำคืน​ดึกดื่น​ของ​เขา​หัว​ช้าง เรา​จะ​ได้ยิน​เสียง​ สตาร์ทร​ ถ​เครือ่ ง​ดงั แ​ ว่วม​ า​จาก​บา้ น​แต่ละ​หลัง เดีย๋ ว​ดงั ม​ า​ จาก​บ้าน​หลัง​นั้น ดัง​มา​จาก​บ้าน​หลัง​นี้ ชีวิต​ที่​นี่​เริ่ม​ต้น ​ตั้งแต่​เที่ยง​คืน ตาม​จำนวน​สวน​ยาง​ของ​ผู้​ครอบ​ครอง มี​มาก​ไร่​ก็​ต้อง​ตื่น​ตั้งแต่​ดึกดื่น​เที่ยง​คืน มี​น้อย​ไร่​ตี​สอง​ตี​ สาม​ก็​ตื่นไ​ป​กรีด​ทันข​ าย​ยาม​แดด​สาย เหมือน​ที่ กนก​พงศ์ สง​สม​พนั ธุ์ นักเ​ขียน​ชาว​พทั ลุง บรรยาย​ถงึ ย​ าม​ดกึ ดืน่ ท​ ช​ี่ าวสวน​ยาง​เริม่ อ​ อก​มา​ทำงาน​วา่ ‘จะ​เห็น​ดวง​ไฟ​เคลื่อนไหว​ยิบย​ ับ​เหมือน​ฝูง​หิ่งห้อย’ วิถี​ชีวิต​คนกลาง​คืน​ของ​ชาว​เขา​หัว​ช้าง​มิได้​ดำเนิน​ ท่ามกลาง​แสง​หลาก​สหี ​รอื ​เสียง​เพลง​คกึ คัก​อกึ ทึก​ครึกโครม แต่​ดำเนิน​ไป​ด้วย​แสง​ไฟ​ยิบ​ยับ​เหมือน​แสง​ของ​หิ่งห้อย ท่ามกลาง​เสียง​หรีด​เรไร​ใน​สวน​ยาง วิถี​กลาง​คืน​ของ​ เขา​หัว​ช้าง​มิได้​ดำเนิน​ไป​บน​เส้น​ด้าย​ของ​ความ​เมามาย​ เคลิบเคลิม้ หาก​แต่เ​ป็นไ​ป​อย่าง​มส​ี ติ เพราะ​ตน้ ย​ าง​ขา้ ง​หน้า ​หมาย​ถึง​ชีวิต​ที่​ไม่​อนุญาต​ให้​พลั้ง​พลาด​หรือ​หย่อน​ยาน น้ำ​ยาง​สขี​ าว​เหมือน​น้ำ​เลี้ยง​ชีวิต หาก​เชื่อ​ว่า​ชีวิต​คือ​สิ่ง​ศักดิ์สิทธิ์ เรา​ก็​ไม่​ควร​ไป ​ล้อเ​ล่น​กับ​มัน แต่ ​เ ด็ ก ​น้ อ ย​บ าง​ค น​ที่ ​ต้ อ ง​ถ่ า ง​ขี้ ​ต า​ตื่ น ​ขึ้ น ​ม า​ขี่ ​ รถ​เครือ่ ง​พา​แม่ไ​ป​กรีดย​ าง​ตอน​ตี 1 อาจ​ตงั้ ค​ ำถาม​แบบ​พาน​


แสงจริง

หงุดหงิดใ​ห้ย​ างพารา สาเหตุท​ ำให้ต​ น​ตอ้ ง​ฝนื ต​ น่ื ใ​น​เวลา​นอน ยางพารา​มา​จาก​ไหน แล้วท​ ำไม​ต้อง​มาก​รีด​แต่​ดึก​ แต่ด​ ื่น ประมาณ​ปี พ.ศ. 2442-2444 พระ​ยา​รษั ฎา​นป​ุ ระดิษฐ์ มหิศร​ภกั ดี หรือ คอ​ซมิ บ​ ี้ ณ ระนอง เจ้าเ​มือง​ตรังใ​น​ขณะ​นนั้ ได้​นำ​เมล็ด​ยางพารา​มา​ปลูก​ที่​อำเภอ​กันตัง จังหวัด​ตรัง เป็น​ครั้ง​แรก ซึ่งช​ าว​บ้าน​เรียก​ต้น​ยาง​ชุด​แรก​นี้​ว่า ‘ต้นย​ าง​ เทศ​า’ และ​ตอ่ ม​ า​ได้ม​ ก​ี าร​ขยาย​พนั ธุย​์ าง​มา​ปลูกใ​น​บริเวณ​ จังหวัด​ตรัง และ​นราธิวาส ใน​ปี 2454 และ​นับ​จาก​นั้น​เป็นต้น​มา​ได้​มี​การ​ขยาย​พันธุ์​ปลูก​ ยางพารา ไป​ทั่วท​ ั้ง 14 จังหวัดใ​น​ภาค​ใต้ สำหรั บ ​ชุ ม ชน​ต ะ​โ หมด​ห รื อ ​เ ขา​หั ว ​ช้ า ง​แ ห่ ง ​นี้ ยางพารา​ได้ถ​ กู น​ ำ​เข้าม​ า​ประมาณ​ปี 2460 โดย​ทา่ น​ผเ​ู้ ฒ่า 2 คน ระยะ​แรก​นนั้ ย​ างพารา​ไม่ไ​ด้ร​ บั ก​ าร​ตอบ​รบั จ​ าก​ชมุ ชน​ เท่าไร เพราะ​ชาว​บ้าน​ยัง​ไม่รู้​จัก แต่​ท่าน​ผู้​เฒ่า 2 คน​ที่​ นำ​เข้าย​ างพารา​มา​สเ​ู่ ขา​หวั ช​ า้ ง​เห็นพ​ นื้ ท​ อ​ี่ นื่ ๆ ปลูกไ​ด้ผ​ ล​ดี เมือ่ ท​ า่ น​ผเ​ู้ ฒ่า 2 คน​ได้เ​ริม่ ก​ รีดย​ าง ทุกค​ น​กเ​็ ริม่ อ​ ยาก​จะ​ปลูก ผม​ฟั ง ​ป ระวั ติ ก าร​น ำ​เ ข้ า ​ย างพารา​ม า​สู่ ​ชุ ม ชน​ เขา​หัว​ช้าง​จาก​คำ​บอก​เล่า​ของ ลุง​วรรณ ขุน​จันทร์ ปราชญ์ค​ น​หนึง่ แ​ ห่งช​ มุ ชน​เขา​หวั ช​ า้ ง ก็เ​ห็นภ​ าพ​ทา่ น​ผเ​ู้ ฒ่า 2 ท่าน​ผู้​กล้า​หาญ ใน​ระยะ​เวลา 7 ปีก​ ่อน​ที่​ต้นย​ าง​พร้อม​ ผลิตน​ ำ้ ย​ าง​ให้ก​ รีดไ​ด้ ผม​อด​นบั ถือใ​น​ความ​กล้าห​ าญ​และ​

35


36 เขาหัวช้าง

ยืน​หยัด​ใน​สิ่ง​ที่​คน​อื่น​มอง​ไม่เ​ห็น​ค่า ล่วง​เข้า​สู่​ยุค​ปัจจุบัน​ ชาว​เขา​หัวช​ ้าง​เกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ม​ อี​ าชีพห​ ลักค​ ือก​ าร​ ทำ​สวน​ยางพารา ขยาย​เต็ม​พื้นที่​ใน​ตะ​โหมด ตาม​หลัก​วิชาการ​เกษตร ช่วง​เวลา​ที่​เหมาะ​สมใน​ การก​รีด​ยาง​มาก​ที่สุด​คือ ช่วง 6.00-8.00 น. เนื่องจาก​ เป็น​ช่วง​เวลา​ที่​สามารถ​มอง​เห็น​ต้น​ยาง​ได้​อย่าง​ชัดเจน​ และ​ได้​ปริมาณ​น้ำ​ยาง​ใกล้​เคียง​กับ​การก​รีด​ยาง​ใน​ตอน​ เช้า​มืด แต่​การก​รีดย​ าง​ใน​ช่วง​เวลา 1.00-4.00 น. จะ​ให้​ ปริมาณ​ยาง​มากกว่า​การก​รีด​ยาง​ใน​ตอน​เช้า​อยู่​ร้อย​ละ 4-5 ซึ่ง​เป็น​ช่วง​ทไี่​ด้​ปริมาณ​น้ำ​ยาง​มาก​ที่สุด​ด้วย ผม​ชอบ​วธิ ก​ี าร​ตงั้ ข​ อ้ ส​ งั เกต​ของ กนก​พงศ์ สง​สม​พนั ธุ์ นัก​เขียน​ผู้​เป็น​ลูก​หลาน​เมือง​พัทลุง ที่​ว่า​ต้น​ยางพารา​ เปรียบ​เหมือน​กบั บ​ ท​ทดสอบ​จาก​ธรรมชาติ ทำไม​ตอ้ ง​ตนื่ ​ มาก​รีด​แต่​ดึกดื่น ทำไม​ธรรมชาติ​จึง​ออกแบบ​ให้​น้ำ​ยาง


แสงจริง

ม​ ี​ปริมาณ​มาก​ใน​ช่วง​ตี 1-ตี 4 ซึ่ง​เป็น​ช่วง​ที่​มนุษย์​กำลัง​ หลับ​สบาย ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​มากกว่า​ครึ่ง​นับถือ​อิสลาม ที่​ ผม​ชอบ​คำถาม​ของ​กนก​พงศ์​เพราะ​มัน​สอดคล้อง​กับ​ ความ​เชื่อ​ของ​ชาว​เขา​หัวช​ ้าง​นั่นเอง พระเจ้ า​ก ำลั ง ​ท ดสอบ​เขา​ผ่ า น​บ ท​เรี ย น​ใ น​ส วน​ ยางพารา ทุก​ค่ำคืน​สอง​มือ​ของ​พวก​เขา​จึง​กระชับ​ด้าม​มีด​ มัน่ จรด​กด​คม​มดี ล​ าก​ไป​ตาม​หน้าย​ าง น้ำย​ าง​ขาว​ขน้ ไ​หล​ หยด​ลง​กะลา​รองรับท​ ม​ี่ ดั ต​ ดิ ใ​ต้บ​ ริเวณ​หน้าย​ าง ถังใ​บ​ใหญ่​ พร้อม​รบั น​ ำ้ ย​ าง​ทถ​ี่ กู ก​ วาด​จาก​กะลา ทยอย​สพ​ู่ อ่ ค้าร​ บั ซ​ อื้ ​ น้ำ​ยาง​เพื่อ​สู่​โรง​รีด​ออก​มา​เป็น​แผ่น​ยาง หาก​โลก​มี​ความ​ขยัน โลก​ก็​สร้าง​ความ​เกียจคร้าน แต่​ทำไม​เมื่อ​มี​ความ​ซื่อสัตย์ โลก​ไม่​ทำลาย​ความ​

37


38 เขาหัวช้าง


แสงจริง

คดโกง ปัญหา​หนึ่งท​ ี่​ชาวสวน​ยาง​มักป​ ระสบ​ก็​คือ ‘เทคนิค​ การ​เอา​เปรียบ’ จาก​พ่อค้า​รับ​ซื้อน​ ้ำ​ยาง บางที​เพื่อน​คิด​สูตร​หา​วิธี​ทำให้​น้ำ​ยาง​เจือ​จาง​เพื่อ​ สอย​ให้​ราคา​น้ำ​ยาง​ที่​ชาว​บ้าน​เอา​มา​ขาย​ตกต่ำ หรือ​อีก​ สารพัด​เทคนิค​ที่​ทำให้​ตนเอง​ได้​ส่วน​ต่าง​มาก​ที่สุด พูด​ให้​ เข้าใจ​ง่ายๆ ก็​คือ​เพื่อน​มี ‘ความ​ซื่อสัตย์​น้อย’ “วิธก​ี าร​ของ​พอ่ ค้าท​ ำให้ช​ าวสวน​ยาง​โดน​เอา​เปรียบ สหกรณ์​กองทุน​การ​ทำ​สวน​ยาง​บ้าน​ควน​อิน​นอ​โม จึง​ เกิด​ขึ้น​มา​เพื่อ​ทำให้​ชาวสวน​มี​ที่​มี​ทาง​เป็น​ของ​ตัว​เอง” นพรัตน์ เอียด​ตรง ประธาน​สหกรณ์ก​ องทุน​การ​ทำ​สวน​ ยาง​บ้าน​ควน​อิน​นอ​โม​บอก เริ่ม​จาก​ชาว​บ้าน​ควน​อิน​นอ​โม หมู่ 7 มอง​เห็น​ ปัญหา และ​ไม่​อยาก ‘สมาคม’ กับ​พ่อค้า​คนกลาง​ซึ่ง​มี​ อำนาจ​และ​เล่ห์​กล​ยิ่ง​กว่า ‘เดวิด คอปเปอร์ฟ​ ิลด์’ ผู้​เป็น​ นัก​มายากล​ระดับ​โลก จึง​รวม​ตัว​กัน​ตั้ง​กลุ่ม ‘สหกรณ์​ กองทุน​การ​ทำ​สวน​ยาง​บ้าน​ควน​อิน​นอ​โม’ เพื่อ​เป็นการ​ สร้าง​อำนาจ​ต่อ​รอง​กับ​พ่อค้า​คนกลาง ให้​ราคา​ยาง​ไม่ถ​ ูก​ สอย​จน​ตกต่ำ​กว่าค​ วาม​เป็น​จริง หลัก​เกณฑ์​ของ​กลุ่ม​ใน​การ​เปิด​รับ​สมาชิก​มี​อยู่​ว่า สมาชิก​แต่ละ​คน​ถือ​หุ้น​คนละ 500 บาท มีก​ าร​รวบรวม​ น้ำย​ าง​สด​จาก​สมาชิกม​ า​แปรรูปเ​ป็นแ​ ผ่นย​ าง​รม​ควันอ​ อก​

39


40 เขาหัวช้าง

สู่ตลาด​กลาง โดย​ทาง​สหกรณ์​มี​โรงงาน​ผลิต​แผ่น​ยาง ​รม​ควันเป็น​ของ​ตนเอง นอกจาก​เงินปันผล​ตาม​หนุ้ ซ​ งึ่ ส​ มาชิกจ​ ะ​ได้ร​ บั แ​ ล้ว สหกรณ์​กอง​ทุนฯ ยัง​มี​สวัสดิการ​ที่​ครอบคลุม​ชีวิต​ของ​ สมาชิกค​ อย​ชว่ ย​เหลือใ​น​ยาม​ฉกุ เฉินห​ รือไ​ม่ค​ าด​คดิ อีกท​ งั้ ​ยัง​จำหน่าย​ข้าวสาร ปุ๋ย ยา​ปราบ​ศัตรู ใน​ราคา ‘เพื่อน​แท้’ อีก​ด้วย หลัง​จาก​ชาวสวน​ยาง​นำ​น้ำ​ยาง​สด​มา​ส่ง​ที่​สหกรณ์​ กอง​ทุนฯ จาก​นั้น​ก็​เข้า​สู่​กระบวนการ​แปรรูป​แผ่น​ยาง​ รม​ควัน ผืนแ​ ผ่นย​ าง​สข​ี าว​เจิดจ​ า้ ท​ า่ มกลาง​สาย​แดด​บน​ไม้​ แขวน​แผ่นย​ าง​ใน​บริเวณ​โรง​ผลิตแ​ ผ่นย​ าง​รม​ควันข​ อง​ทาง​ สหกรณ์​กอง​ทุนฯ


กระบวนการ​ทำ​แผ่นย​ าง​สง่ ผ​ ลก​ระ​ทบ​ตอ่ ส​ ง่ิ แ​ วดล้อม​ เพราะ​ปล่อย​น้ำ​เสีย​ออก​มา แต่​ทาง​สหกรณ์​กอง​ทุนฯ ก็​พยายาม​แก้​ปัญหา​โดย​นำ​เครื่อง​ตี​น้ำ​เข้า​มา​เพื่อ​เพิ่ม​ ออกซิเจน​ใน​น้ำ และ​เพิ่ม​เสริม​ด้วย​ระบบ​การก​รอง​น้ำ​ เพื่อ​ทำให้​น้ำ​มี​คุณภาพ​ดี​ข้นึ โดย​น้ำ​ท่​ผี ่าน​การ​บำบัด​ทาง​ สหกรณ์ก​ อง​ทนุ ฯ ได้ข​ ดุ บ​ อ่ เ​ลีย้ ง​ปลา​ดกุ ไ​ว้ใ​น​บริเวณ​โรงงาน มาตรฐาน​การ​บำบัดน​ ้ำ​เสีย​ของ​โรงงาน​ผ่าน​มาตรฐาน วั ด ​จ าก​ล ม​ห ายใจ​ข อง​ป ลา​ดุ ก ​ที่ ​ยั ง ​ค ง​ส ามารถ​ แหวก​ว่าย​ได้ใ​น​น้ำ​ที่​ผ่าน​การ​บำบัด คน​งาน​ที่​ทำงาน​ใน​ส่วน​โรง​ผลิต​แผ่น​ยาง​รม​ควัน​ แห่ง​นี้​ทงั้ หมด​เป็น​ชาว​อสี าน​ท​เี่ มือ่ ​กอ่ น​มา​รบั จ้าง​กรีด​ยาง พวก​เขา​พัฒนา​ทักษะ​และ​ความ​รู้​ทั้ง​ใน​สวน​ยาง​และ​ใน​ โรงงาน​แปรรูป กระทั่งค​ น​งาน​อีสาน​ยุค​แรก​ได้​กลับ​ไป​ทำ​ สวน​ยาง​ที่​บ้าน​เกิด​เต็ม​ตัว “คนใน​พื้นที่​เรา​ไม่สู้​งาน​ใน​โรง​ผลิต” นพรัตน์​เล่า “คน​งาน​รนุ่ แ​ รก​เขา​กลับไ​ป​ทำ​สวน​ยาง​ทส​ี่ กลนคร คน​งาน​ รุน่ ​น​เ้ี ก่ง​และ​ขยัน ซือ่ สัตย์แ​ ละ​ชดั เจน เรา​กไ็ ด้แ​ ต่​เสียดาย” ถาม​เขา​ดว้ ย​สงสัย จาก​มายา​คติเ​ดิมๆ ทีเ​่ คย​ผา่ น​หู ​มา​มัก​บอก​ว่า คน​ใต้​กับ​คน​อีสาน​ไม่ถ​ ูกกัน คน​ใต้​เกลียด​ปลาร้า คน​อีสาน​เหม็น​สะตอ “ผม​ว่าม​ ัน​ไม่ใช่” นพรัตน์​ตอบ​เร็ว “ผม​ยัง​ขับร​ ถ​ไป​ ส่ง​เขา​ที่​สกลนคร​เลย”


42 เขาหัวช้าง

05 ผม​พยายาม​จนิ ตนาการ​ถงึ ช​ ว่ ง​เทศกาล​สงกรานต์ใ​น​ชมุ ชน​ เขา​หวั ช​ า้ ง เพราะ​เป็นเ​ทศกาล​ทช​ี่ าว​ไทย​สว่ น​ใหญ่จ​ ะ​ออก​ มา​เล่น​น้ำ​อย่าง​สนุกสนาน แต่​การ​เล่น​น้ำ​ใน​แบบ ‘ขอ​ ประ​แป้ง​หน่อย​นะ​ครับ’ ถือว่าผ​ ิด​หลัก​ศาสนา​อิสลาม พี่​น้อง​มุสลิม​รวม​ถึง​ผู้นำ​ทาง​ศาสนา​อิสลาม​ใน​ ชุมชน​เขา​หวั ช​ า้ ง​จงึ ห​ า​กจิ กรรม​ให้เ​ด็กแ​ ละ​เยาวชน​ทำ​เพือ่ ​ ไม่​ให้​พวก​เขา​ออก​ไป​เล่น​น้ำ​แบบ​ถึง​เนื้อ​ถูก​ตัว​กัน อีก​ทั้ง​ เมา​เหล้า​เมา​ยา “แต่​ก็​มี​ครับ คน​ที่​ไม่​ทำ​ตาม​หลัก​ศาสนา ต้อง​ ยอมรับ​ว่า​มี แต่​ถือ​เป็น​ส่วน​น้อย” บัง​นิต​รบ์​ อก เด็กก​ บั น​ ำ้ ถ​ อื เ​ป็นข​ อง​คก​ู่ นั เพือ่ น​ออก​ไป​เล่นน​ ำ้ แต่​ ตัวเ​อง​ออก​ไป​เล่นไ​ม่ไ​ด้ แบบ​นเ​้ี หมือน​กนิ ข​ อง​อร่อย​ลอ่ ต​ า​กนั ช่ ว ง​เ ทศกาล​ส งกรานต์ ​จึ ง ​เ ป็ น ​ม หกรรม​แ ข่ ง ขั น​ กีฬา​สี​ของ​เด็ก​และ​เยาวชน​มุสลิม วัน​แรก​ที่​ได้​พบ​กับ​บัง​นิต​ร์ นอกจาก​เรื่อง​หนังสือ-​


แสงจริง

หนัง​หา​แนว​วรรณกรรม​แล้ว เรื่อง​แรกๆ ที่​เรา​พูด​คุย​กัน​ ก็​คือ​เรื่อง​ยา​เสพ​ติดข​ อง​เยาวชน​เขา​หัวช​ ้าง “เดีย๋ ว​นเ​้ี ด็กม​ นั ก​ นิ น​ ำ้ ก​ ระท่อม​กนั เ​ยอะ​มาก บาง​ครัง้ ​ชาวสวน​ยาง​ต้อง​คอย​ระวัง เพราะ​พวก​นี้​มัน​จะ​มา​ลัก​เอา​ น้ำ​ยาง” บัง​นิต​รบ์​ อก อีกห​ ลาย​ครัง้ ห​ ลาย​หน หลังม​ อื้ อ​ าหาร​เทีย่ ง บรรดา​ บังท​ งั้ ห​ ลาย​ทม​ี่ บ​ี ทบาท​หน้าทีใ​่ น​เทศบาล​ตำบล​เขา​หวั ช​ า้ ง​ ต่าง​ถก​เถียง​หารือ​กัน​ถึง​ทางออก​ของ​ปัญหา​ยา​เสพ​ติด หรือ ‘น้ำ​ท่อม’ นั่นเอง พวก​เขา​อยาก​ให้​มัสยิด​เข้า​มา​เป็น​กลไก​ใน​การ​แก้​ ปัญหา บังด​ นี -อนุชา แวว​วนั จ​ ติ เป็นผ​ ห​ู้ นึง่ ท​ ส​ี่ นใจ​ปญ ั หา​ เด็ก​และ​เยาวชน และ​เป็น​แกน​นำ​สภา​เด็ก​และ​เยาวชน​ เทศบาล​ตำบล​เขา​หัวช​ ้าง ประวั ติ ​ค วาม​เ ป็ น ​ม า​ข อง​ส ภา​เ ด็ ก ​แ ละ​เ ยาวชน​

43


44 เขาหัวช้าง

เทศบาล​เขา​หวั ช​ า้ ง​ตอ้ ง​ถอื ว่าน​ า่ ส​ นใจ​มาก บังด​ นี เ​ล่าใ​ห้ฟ​ งั ​ ว่า เมื่อ​ก่อน​เขา​ขับ​รถ​ตู้​​รับจ้าง​ซึ่ง​คณะ​ทำงาน​ของ สสส. จะ​ใช้​บริการ​บัง​ดีน​โดย​ตลอด​หาก​ต้อง​เดิน​ทาง​มา​แถบ​ นครศรีธรรมราช พัทลุง และ​ตรัง จน​เมือ่ ป​ ี 2550 โครงการ​ของ สสส. ก็ห​ มด​ลง ทีมง​ าน ​จึง​ไม่​ได้​ใช้​บริการ​รถ​ตู้​ของ​บัง​ดี​นอีก แต่ “ผม​ก็​เกิด​ซึมซับ​ จาก​การ​ที่​ได้​ขับ​รถ​ให้​ทีม​งาน สสส.” บัง​ดีน​จึง​พูด​คุย​กับ​ เพื่อนๆ ว่า “พวก​เรา​ควร​ทำ​อะไร​ให้​สังคม​บ้าง​ มั้ย” ปัญหา​ยา​เสพ​ติด​ที่​แพร่​ระบาด​เข้า​มา​ภายใน​ชุมชน เด็ก​วัย​รุ่นเ​ริ่ม​เสพ​ยา​เสพ​ติด ถ้าเ​ป็น​เด็ก​แถบ​นี้ ‘น้ำ​ท่อม’ แพร่​ระบาด​มาก บัง​ดีน​จึง​เริ่ม​ตั้ง​กลุ่ม​เด็ก​และ​เยาวชน​ ใน​พื้นที่ เพื่อ​รวม​กลุ่ม​กัน​ทำ​กิจกรรม​และ​สร้าง​เวที​เพื่อ​ พบปะ​แลก​เปลี่ยน​ความ​คิด​เห็น​และ​กิจกรรม​ต่างๆ โดย​ มี​สมาคม​ครอบครัว​เข้ม​แข็ง​จังหวัด​พัทลุง​เป็น​หน่วย​งาน​ สนับสนุน​งบ​ประมาณ ใน​ปี 2552 เริม่ ก​ อ่ ต​ งั้ ศ​ นู ย์เยาวชน​สมั พันธ์ เริม่ แ​ รก​ มีส​ มาชิก 20 คน เชือ่ ห​ รือไ​ม่ว​ า่ ส​ มาชิกร​นุ่ บ​ กุ เบิกน​ เ​้ี ป็นเ​ยาวชน ​ที่​มี​ปัญหา​ยา​เสพ​ติด! โดย​ครั้ง​แรก​พา​เด็ก​ไป​เข้า​ ร่วม​ค่าย​เยาวชน​ปลอด​ยา​เสพ​ติด​ที่​สุรินทร์ “ปี ​แ รก​ผ ม​ใ ช้ ​วิ ธี ​ร ะดม​ทุ น ​จ าก​ พรรค​พวก​ทข​ี่ บั ร​ ถ​ตู้ ได้ม​ า 5 หมืน่ ก​ ว่าบ​ าท ก็ไ​ป​ กัน​รถ​ตู้ 2 คัน ขาก​ลับ​เงิน​ไม่​พอ​ค่า​อาหาร


แสงจริง

พรรค​พวก​รถ​ตท​ู้ น​่ี น่ั ​กร​็ วบรวม​เงินใ​ห้​มา​อกี 7,000 บาท” เป็นการ​ซื้อใ​จ​กัน​ระหว่าง​ผู้ใหญ่เ​พื่อ​ขับ​เคลื่อน​งาน​ ใน​ส่วน​ของ​เด็ก​และ​เยาวชน ปี 2554 เมือ่ เ​กิดเ​ป็นส​ ภา​เด็กแ​ ละ​เยาวชน​เทศบาล​ ตำบล​เขา​หวั ช​ า้ ง บังด​ นี จ​ งึ เ​ริม่ ถ​ อย​หา่ ง​ออก​มา​ดอ​ู ยูห​่ า่ งๆ ให้​เด็ก​จัดการ​กันเอง วางแผน​ทำ​กิจกรรม​กัน​โดย​ร่าง ​งบ​ประมาณ​กันเอง​แล้ว​เสนอ​ให้ผ​ ู้ใหญ่​อีก​ที “เด็ก​เขา​หัว​ช้าง​ชอบ​ปลูก​ป่า” บังด​ นี​ บ​อก “บัง​ชอบ​ คำ​นน​ี้ ะ ‘เด็กป​ ลูกป​ า่ ผูใ้ หญ่โ​ค่นส​ บิ ’ กิจกรรม​หลักข​ อง​เด็ก​ และ​เยาวชน​ลว้ น​เกีย่ วข้อง​กบั ท​ รัพยากรธรรมชาติ เพราะ​ เขา​หัว​ช้าง​มี​ป่า​ที่​สมบูรณ์ ปัจจุบัน​นี้​เด็ก​เข้าไป​มี​บทบาท​ หลาย​เรื่อง พยายาม​จะ​ผลัก​ดัน​เด็ก​เข้าไป​ฟัง​เวลา​ทาง​ เทศบาล​ตำบล​เขา​หัวช​ ้าง​มี​ประชุม” เด็ก​และ​เยาวชน​ของ​เขา​หัว​ช้าง​จะ​จัด​รายการ​วิทยุ คลื่น 100.25 MHz ช่วง ตี 4-ตี 6 (16.00น.-18.00 น.) ทุก​วัน​เสาร์-อาทิตย์ “สมัย​นี้​เด็ก​มัน​เก่ง โลก​มัน​กว้าง” บังด​ นี​ บ​อก “เด็ก​ ที่​นี่​เวลา​ไป​พูดบ​ น​เวที ไม่มรี​ ่าง​บน​กระดาษ เพราะ​มันพ​ ูด​ เท่า​ที่​มัน​ได้​ลงมือ​ทำ​จริง” สิ่ง​ที่​บัง​ดี​นภู​มิ​ใจ​ใน​ตัว​เด็ก​เขา​หัว​ช้าง​ก็​คือ เวลา​ที่​ พวก​เขา​ต้อง​ไป​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รกู้​ ับ​พื้น​ที่​อื่นๆ เด็กๆ เหล่า​นี้ “มัน​พูด​จาก​ประสบการณ์”

45


46 เขาหัวช้าง

06 น้ำ​ประปา​ใน​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​เย็น​สดชื่น เย็น...แต่​ไม่​ถึง​ กับ​หนาว​สะบั้น เย็น​สดชื่น เพราะ​เขา​หัว​ช้าง​ครอบคลุม​ พื้นที่​ที่​เป็น​ป่า​ต้นน้ำ หลัง​อาบ​น้ำ ผม​ปลุก​ตัว​เอง​อีก​ครั้ง​ด้วย​กาแฟ​ร้อน นั่ง​รอ นีม-กิตติ​ศักดิ์ รัก​เกตุ มา​รับ​ไป​เก็บ​น้ำ​ยาง​ใน​ สวน​ยาง​ของ​ครอบครัว นีม​เรียน​อยู่​ชั้น​มัธยม​ปี​ที่ 5 อีก​ไม่​กี่​เดือน​ก็​จะ​ เปิด​เทอม ใน​ช่วง​ปิด​เทอม​ภาระ​หน้าที่​อย่าง​หนึ่ง​ซึ่ง​ถือ​ เคร่งครัด​ก็​คือ เขา​ต้อง​ออก​มา​เก็บ​น้ำ​ยาง​ใน​ตอน​เช้า​ตรู่ ใน​อีก​ฐานะ​หนึ่ง นีม​เป็น​รอง​ประธาน​สภา​เด็ก​และ​


แสงจริง

เยาวชน​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัวช​ ้าง “หน้าที่​ของ​ผม​คือ​ประสาน​งาน เวลา​มี​กิจกรรม​ที่​ เกีย่ วข้อง​กบั ส​ ภา​เด็กฯ ผม​จะ​แบ่งห​ น้าทีใ​่ ห้เ​พือ่ น แต่ละ​คน​ ต้อง​มหี น้าท​ ท​ี่ กุ ค​ น” พูดจ​ บ นีม​ ห​ นั ก​ ลับไ​ป​มอง​ทาง​บน​ถนน ผม​บอ​กนีม​ว่า​ขับ​รถ​เครื่อง​สายตา​ควร​วาง​อยู่​บน​ถนน​ ตรง​หน้า แต่​เมื่อ​นีม​เรียน​จบ​จาก​ชั้น​มัธยมศึกษา เขา​ก็​ต้อง​ คอย​ดูแล​รุ่น​น้อง​ที่มา​กำกับ​ดูแล​สภา​เด็ก​และ​เยาวชน เหมือน​เป็น​พี่​เลี้ยง​คอย​ให้​น้ำ คอย​แนะนำ​ใน​ฐานะ ‘อาบ​ น้ำ​ร้อน​มา​ก่อน’

47


48 เขาหัวช้าง

กิตติ​ศักดิ์ รัก​เกตุ

แต่​หาก​ให้​ประเมิน​จาก​ระยะ​แนบ​ชิด​กับ​แผ่น​หลัง​ ระหว่าง​ซ้อน​ท้าย​รถ​เครื่อง​ของ​นีม​ไป​เก็บ​น้ำ​ยาง​ใน​สวน ผม​คิด​ว่า​เขา​ยัง​ไม่​ได้อ​ าบ​น้ำ นีม​พา​ขับ​รถ​เครื่อง​ลัด​เลาะ​ไป​บน​ทาง​ดิน เดี๋ยว ข​ นึ้ เ​นินท​ ำให้ร​ ถ​อดื เ​อือ่ ย เดีย๋ ว​ลง​เนินม​ า​อย่าง​รวดเร็ว เมือ่ ​ ถึง ‘ออฟฟิศ’ เขา​เดิน​เข้าไป​หิ้วถ​ ัง​พลาสติก มือ​อีก​ข้าง​ถือ​ แปรง​เก็บ​ยาง เดิน​ตาม​ต้น​ยาง​ที​ละ​ต้น กวาด​เอา​น้ำ​ยาง ​สี​ขาว​ลง​ถัง ทำ​แบบ​นี้​ไป​ที​ละ​ต้น​จน​ครบ​ทั้งส​ วน “จบ ม.6 ผม​คิด​ว่า​อยาก​จะ​ต่อ​สาย​อนามัย” นีม​ บอก​ขณะ​นั่ง​พัก​เหนื่อย “เพราะ​จบ​แล้ว​มัน​มี​งาน​ทำ ได้​ ทำงาน​ใกล้​บ้าน​ด้วย” “คน​หนุม่ ส​ าว​ไม่อ​ ยาก​ออก​ไป​หา​ประสบการณ์น​ อก​ บ้าน​หรือ?” “ผม​ไม่​ชอบ​ทำงาน​ใน​เมือง ชอบ​ทำงาน​ใกล้​บ้าน


แสงจริง

เหนื่อย​ก็​กลับ​มา​นอน​เล่น​อยู่​บ้าน เหมือน​อย่าง​กรีด​ยาง เรา​ทำงาน 2-3 ชั่วโมง ก็ได้​เงิน​แล้ว ผม​ไม่​ชอบ​ทำงาน​ ใน​ห้าง...” นีมห​ มาย​ถงึ โ​ลตัส บิก๊ ซ​ ี เพือ่ น​รนุ่ ร​ าว​คราว​เดียว​กบั ​ นีม​ส่วน​มาก​ออก​ไป​ทำงาน​ทหี่​ ้าง​ดังก​ ล่าว “ผม​ก็ ​ไ ป​ดู เผอิ ญ ​ไ ป​เ จอ​ต อน​ที่ ​เ พื่ อ น​ก ำลั ง ​ถู ก​ หัวหน้าด​ า่ ผม​ไม่ช​ อบ ทำ​อะไร​แล้วม​ ค​ี น​คมุ ผม​อยูส​่ วน​ยาง ​ดี​กว่า เพื่อน​ผม​ไป​ทำ 3 วันแ​ ล้วก​ลับ​มาบ​อก​ผม​ว่า ‘กู​เชื่อ ​มึง​แล้ว’ เรา​เก็บ​น้ำ​ยาง​แบบ​นี้ เรา​ควบคุม​ตัว​เอง ขยัน​ก็ ได้​มาก ขี้​เกียจ​ก็​ไม่ไ​ด้ เรา​อยาก​ไป​ดู​อะไร​ก็​ดู​ได้ อยาก​ดู​ ภูเขา​ก็​ไป​ดู” นีมช​ อบ​ฟงั เ​พลง​นอ้ ย​กว่าข​ ร​ี่ ถ​เครือ่ ง​ไป​ดภ​ู เู ขา ชอบ​ ดู​หนัง​น้อย​กว่าไ​ป​นั่ง​หย่อน​แช่​น้ำ​เย็น​ใน​น้ำตก​หม่อม​จุ้ย ถา​มนีม-มีแ​ ฟน​หรือ​ยัง?

49


50 เขาหัวช้าง

“ไม่มี​แฟน ตอน​นี้​ยัง​อยาก​สนุก​อยู่” ลอง​ประเมิน​คำ​ตอบ​ของ​นีม​ประโยค​สัก​ครู่​ให้​ดี ‘ไม่มแี​ ฟน ตอน​นี้​ยัง​อยาก​สนุก​อยู่’ มันเ​ป็นค​ ำ​ตอบ​ของ​คน​ทผ​ี่ า่ น​การ​คดิ ค​ ำนวณ​มา​แล้ว​ ว่า การ​มี​แฟน​หรือ​การ​คบหา​ดูใจ​กับ​ใคร​สัก​คน กระทั่ง​ ตกลง​ปลงใจ​ใช้​ชีวิต​คู่​มัน​ไม่ใช่​ความ​สนุก​ชนิด​เดียว​กับ​ เที่ยว​ภูเขา​เฝ้า​น้ำตก “เพื่อน​ผม​ที่​โรงเรียน บาง​คน​มี​แฟน​ตอน​อยู่ ม.3 แต่​คบ​กัน​ไม่​นาน​ก็​เลิก เหมือน​มัน​อยาก​สนุก​มากกว่า ผู้​หญิง​ก็​เป็น​หม้าย ไม่ไ​ด้​เรียน​ต่อ” สมัยท​ ย​ี่ งั เ​ป็นน​ าย​กติ ติศ​ กั ดิ์ รักเ​กตุ ธร​รม​ดาๆ สมัย​ ยังไ​ม่ไ​ด้ถ​ กู เ​รียกว่า ‘ท่าน​รอง’ นีมข​ อ​ี้ าย ไม่ก​ ล้าพ​ ดู ต​ อ่ ห​ น้า​ คน​จำนวน​มาก “แค่​หน้า​ชั้น​เรียน ใจ​ผม​ยัง​เต้น​เลย” แต่เ​มือ่ ม​ า​ทำ​หน้าที่ ‘ท่าน​รอง’ ใน​สภา​เด็กแ​ ละ​เยาว​ชนฯ ชั่วโมง​บิน​ใน​การ​พูด​ที่​มาก​ขึ้น ทำให้​ท่าน​รอง​เปลี่ยน​ไป “เวลา​ที่​เรา​ต้อง​ออก​ไป​พูด​ให้​คนใน​พื้นที่​อื่น​ฟัง เวลา​ไป​ งาน​อะไร​แบบ​นั้น ผม​ก็​ยัง​ตื่น​เต้น​อยู่ เหงื่อ​แตก แต่​พอ​ ทำ​บ่อย​เข้า​มันก​ ็​ชิน” นีม​คอนเฟิร์ม​ว่า “เด็ก​ทุก​คน​ที่มา​ทำ​กิจกรรม​กับ​ สภา​เด็กฯ จะ​พูด​เก่ง กล้า​แสดงออก​ทุก​คน ทุก​คน​จะ​ เปลี่ยน​ไป” เรื่อง​ไหน​ที่​นีม​เคย​ทำ เช่น ปลูกป​ ่า ทำ​ฝาย​กั้น​น้ำ


แสงจริง

แล้ว​ต้อง​ออก​ไป​พูด​ให้​ชุมชน​อื่น​หรือ​ผู้​หลัก​ผู้ใหญ่ ​ฟัง เขา​ไม่​ต้อง​ร่าง​บท​สุนทรพจน์​แต่​อย่าง​ใด พูด​ง่ายๆ ว่า ‘ใส่ก​ ัน​สดๆ’ “แต่ถ​ า้ เ​รือ่ ง​ไหน​ทผ​ี่ ม​ไม่เ​คย​ทำ​แล้วต​ อ้ ง​ออก​ไป​พดู ” นีมบ​ อก​ก่อน​เว้น​วรรค​ให้​รอ​ฟัง “ให้​ตาย​ก็​ไม่​พูด” ระหว่าง​ทาง​กลับ บน​ทอ้ ง​ถนน​ยาม​เช้า มีเ​รา​สอง​คน ผม​ถาม “เคย​เล่น​สง​กราน​ต์มั้ย” “ไม่​เคย​ไป​สาด​น้ำ​เขา” นี​ม​หัน​หน้า​กลับ​มา​หา​คน​ ด้าน​หลัง “แต่​ผม​ชอบ​ขรี่​ ถ​เล่น แล้ว​เรา​ก็​โดน​สาด​น้ำ​ใช่​มั้ย ไม่รู้​ว่า​มันบ​ า​ปมั้ยน​ ะ แต่​ผม​ไม่​ได้​ไป​สาด​ใคร” แดด​แรง​กล้า​ขึ้น เงา​ของ​เรา​สอง​คน​ทาบ​ทับ​พุ่ม​ไม้​ ริมท​ าง ผม​มอง​เขา​ใน​เงา​นั้น มอง​เห็น​ทั้ง​ความ​เป็น​ผู้ใหญ่​ที่​มี​ความ​คิด​รอบคอบ และ​ความ​เป็น​เด็ก​ที่​ชอบ​ขี่​รถ​ให้​คน​สาด​น้ำ แต่​เขา​เป็น​ กังวล​กลัว​บาป ไม่​บาป​หรอก ก็​นีม​ไม่​ได้​ไป​สาด​น้ำ​หรือ​ลูบ​แก้ม​ สาว​คน​ไหน

51


52 เขาหัวช้าง


แสงจริง

07

53


54 เขาหัวช้าง

ลุง​วิฑูร หนู​เสน

7 จาก​คำ​บอก​เล่า​ของ ลุง​วรรณ ขุนจ​ ันทร์ บรรพบุรุษข​ อง​ ชาว​ตะ​โหมด แบ่งป​ า่ เ​ป็น 3 โซน โซน​ที่ 1 คือ ป่าท​ เ​ี่ ป็นต้นน​ ำ้ ​ ลำธาร ไม่ใ​ห้ล​ กู ห​ ลาน​ไป​บกุ รุก เพราะ​ถา้ ป​ า่ ห​ มด​นำ้ ก​ ไ​็ ม่มี และ​การ​ทป​่ี า่ อ​ ดุ ม​สมบูรณ์ก​ ช​็ ว่ ย​รกั ษา​สตั ว์ป​ า่ ซ​ ง่ึ เ​ป็นอ​ าหาร​ ด้วย โซน​ท่ี 2 ของ​ป่า​คือ​ด้าน​หน้า​เทือก​เขา​เป็นพื้น​ราบ


แสงจริง

ให้​ทำ​ไร่​เลือ่ นลอย ปลูก​ขา้ ว โซน​ท่ี 3 ทีร่ าบ​ลมุ่ ​สำหรับ​ตั้ง​ บ้าน​เรือน ทำ​ท​น่ี า สร้าง​ศาสน​สถาน แบ่ง​ไว้​อย่าง​ชดั เจน หลังจ​ าก​ชว่ ง​เวลา 7 ปีพ​ สิ จู น์ใ​จ​ของ 2 ผูเ​้ ฒ่า ผ่าน​ไป ชาว​ตะ​โหมด​เริ่ม​ปลูก​ยางพารา​กัน​มาก​ขึ้น จน​ปัจจุบัน​ ยางพารา​คือ​ลม​หายใจ​ของ​ชาว​ตะ​โหมด​ใน​เขต​เทศบาล​ เขา​หัว​ช้าง ยางพารา​เป็นพ​ ชื เ​ศรษฐกิจ เมือ่ โ​ลก​สร้าง​ความ​ขยัน แต่ก​ ป​็ ระทาน​ความ​เกียจคร้านเช่นก​ นั พ​ ชื เ​ศรษฐกิจอ​ ย่าง​ ยางพารา​สร้าง​ราย​ได้ใ​ห้เ​กษตรกร​แต่ก​ ท​็ ำลาย​ระบบ​นเิ วศ เมือ่ ก​ ระบวนการ​ปลูกแ​ ละ​ดแู ล​ยางพารา​ได้ท​ ำลาย​หน้าด​ นิ ที่ ‘สวน​เกษตร​แนว​พุทธ: สวน​วิฑูรจ​ ำเริญ’ ตั้ง​อยู่​ บน​พื้นที่ 40 ไร่ ผู้​เป็น​เจ้าของ​ชื่อ ลุง​วิฑูร หนู​เสน เกษตรกร​ผป​ู้ ลูกส​ วน​ยางพารา และ​เจ้าของ​รางวัลล​ กู โลก​ สี​เขียว​ปี 2553 บ้าน​ของ​ลุง​ฑูร​ตั้ง​อยู่​บน​พื้นที่ 40 ไร่ ออกแบบ​ การ​ทำ​เกษตร​ใน​ลักษณะ ‘วน​เกษตร’ แบ่ง​ออก​เป็น​โซน​ อย่าง​ชัดเจน ที่​อยู่​อาศัย ประมาณ 2 ไร่ นอกจาก​ปลูก​บ้าน​อยู่​ ก็​เลี้ยง​ไก่​บ้าน​และ​ปลูก​พืช​ผัก​สวน​ครัว ป่า​ไส คือ​ป่า​ที่​เคย​ปลูก​พืช​ไร่​มา​ก่อน​แล้ว​ที่​ปล่อย​ ทิ้ง​ไว้​ให้​เป็น​ป่า จำนวน 8 ไร่ จุดป​ ระสงค์​คือ เปิด​โอกาส​ ให้พ​ นื้ ด​ นิ ท​ ย​ี่ งั เ​วียน​มา​ไม่ถ​ งึ ม​ โ​ี อกาส​พกั ปัจจุบนั ห​ ยุดก​ าร​

55


56 เขาหัวช้าง

ปลูก​พืช​ปล่อย​ให้​มี​ต้นไม้​เดิม​ที่​มี​อยู่​งอก​ขึ้น​มา​ใหม่ จน​มี​ ลักษณะ​คล้าย​กับ​ป่าเ​ดิม นา​ข้าว​จำนวน 6 ไร่ เป็นการ​ทำ​นา​อินทรีย์ ไม่ใ​ช้​ สาร​เคมี ใช้ป​ ุ๋ย​คอก​ปุ๋ยห​ มัก​ชีวภาพ ขุดบ​ ่อ​เลี้ยง​ปลา​เพื่อ​ ช่วย​กำจัด​แมลง​ศัตรู​ข้าว ล้อม​รอบ​ด้วย​บ่อ​เลี้ยง​ปลา​ จำนวน 3 ไร่ เลีย้ ง​ปลา​แบบ​ธรรมชาติ ปลา​ทเ​ี่ ลีย้ ง​สว่ น​ใหญ่​ ก็เ​ลีย้ ง​ไว้ก​ นิ เ​อง ทัง้ ป​ ลา​ดกุ ปลา​ชอ่ น ปลา​หมอ ปลา​เนือ้ อ​ อ่ น ปลา​ขี้ขม ปลา​กด ฯลฯ ป่าย​ าง มีจ​ ำนวน 4 ไร่ เป็นป​ า่ ย​ าง​เก่าท​ ม​ี่ ไ​ี ม้พ​ นื้ บ​ า้ น ​ผสม​ผสาน​แบบ​สวน​พ่อ​เฒ่า พืช​หลัก​คือ ยางพารา ส่วน​ ไม้​ยืนต้น ได้แก่ ทุเรียน สะเดา ทัง หลุมพอ ยูง ยาง ไข่​เขียว ฯลฯ พืช​ผัก​ก็​เป็น​พวก​กะพ้อ ตา​หมัด ยอด​ยา​ ยกลัง้ สมุนไพร​กม​็ ท​ี งั้ โ​สม​ไทย กระดูกไ​ก่ ชิง ม้าก​ ระทืบโ​รง หวาย​ลิง เป็นต้น ยังม​ ี​ไม้​ที่​ใช้​ใน​พิธีกรรม​ต่างๆ เช่น ชิง ใช้ใบ​กาง​ให้​เจ้า​บ่าว​ใน​พิธี​แต่งงาน ไม้​ขวัญ​ข้าว ใช้​ใน​พิธี​ จรด​พระ​นังคัล​แรกนา​ขวัญ สัตว์​ใต้ดิน​รวม​ถึง​จุลินทรีย์​ที่​ เติบโต​ตาม​ธรรมชาติ​ช่วย​ทำให้​ดิน​สมบูรณ์ จน​เกิด​เป็น​ ระบบ​นิเวศ​ป่า​ยาง​ที่​ใกล้​เคียง​กับ​ป่าธ​ รรมชาติ สวน​ยางพารา เป็นแ​ ปลง​ทเ​ี่ พิง่ ล​ ง​กล้าย​ าง​หลังจ​ าก​ ได้ร​ บั ก​ าร​สนับสนุนจ​ าก​กองทุนส​ งเคราะห์ก​ าร​ทำ​สวน​ยาง ที่​จะ​ต่าง​กับ​สวน​ยาง​ของ​คน​อื่นๆ ก็​ตรง​ที่​ว่า เมื่อต​ ้น​ยาง พารา​ครบ​อายุ​กรีด คือ 7 ปี ก็​จะ​ปล่อย​ให้​ไม้​อื่น​ขึ้นแ​ ซม


แสงจริง

แล้ว​ปล่อย​ให้​เป็น​ป่าย​ าง​ต่อ​ไป ป่าเ​ศรษฐกิจ จำนวน 11 ไร่ ปลูกก​ ระถินเ​ทพา​เพือ่ ​ ช่วย​บำรุง​ดินก​ ่อน​ทจี่​ ะ​เพาะ​ปลูก​ต่อ​ไป พื้นที่​แต่ละ​แปลง​แม้​จะ​มี​การ​ใช้​ประโยชน์​ที่​ต่าง​กัน แต่ย​ ดึ ห​ ลักเ​ดียวกันค​ อื การ​อยูร​่ ว่ ม​กนั อ​ ย่าง​เอือ้ อ​ าทร ทัง้ นี​้ ไม่​เบียดเบียน​กัน และ​ไม่​พึ่งส​ าร​เคมี อะไร​ทำให้​คน​คน​หนึ่งไ​ด้​ชื่อ​ว่าเ​ป็น ‘ปราชญ์’ อะไร​ ทำให้​เกษตรกร​คน​หนึ่งไ​ด้​รับ​รางวัลท​ าง​สิ่ง​แวดล้อม มันย​ ่อม​ต้อง​มี​เหตุ​และ​ปัจจัย หลัง​จาก​รับ​ไม้​ต่อ​ทำ​เกษตร​ต่อ​จาก​รุ่น​พ่อ​รุ่น​แม่ ลุง​วฑิ ​ูรพบ​วา่ ​สภาพ​ดนิ ​เสีย​หาย ปลูก​อะไร​ก​็ไม่​งาม และ​ เกษตรกร​กย​็ งั ค​ ง​ยากจน จึงค​ ดิ ก​ ลับไ​ป​หา​ภมู ปิ ญ ั ญา​ของ​คน​ รุ่นป​ ู่​รุ่นย​ ่า ลุง​ฑูร​ไป​ดงู​ าน​ที่​โรงงาน​ผลิตป​ ุ๋ย​อินทรีย์​ที่​ใหญ่​ ที่สุด​ใน​โลก แล้วก​ลับ​มา​ปรับใ​ช้ก​ ับส​ วน​ของ​ตนเอง เทือก​บรรทัด “เป็น​โรง​ปุ๋ย​อินทรีย์​ที่​ใหญ่​ที่สุด พวก​ใบไม้​หรือ​ ต้นไม้ท​ กุ ช​ นิดท​ ม​ี่ นั ข​ นึ้ น​ นั่ แ​ หละ มีส​ าร​อาหาร​ทงั้ ธ​ าตุห​ ลัก ธาตุร​ อง ธาตุ​เสริม มัน​ครบ​อยู่​แล้ว” ลุงว​ ิฑูรเ​ล่า พร้อม​อธิบาย​ถงึ ‘ภูมปิ ญ ั ญา​บรรพบุรษุ ’ ว่า การ​ทำ​ สวน​ของ​บรรพบุรุษ​ที่​ผ่าน​มา มี​การ​ปลูก​พืช​ผสม​ผสาน ทั้ง ทุเรียน ลางสาด สะตอ มะปราง และ​มี​การ​ตกทอด​ จาก​รุ่น​สรู่​ ุ่น โดย​ไม่​ต้อง​มใี​คร​เข้าไป​จัดการ​มาก​นัก พึ่งพา​

57


58 เขาหัวช้าง

รุกขเทวดา​ใน​การ​ดูแล​รักษา คน​เฒ่า​คน​แก่​จะ​บอก​คน​ รุน่ ​ใหม่​วา่ ต้นไม้​ตน้ ​ใหญ่​จะ​ม​รี กุ ขเทวดา​รกั ษา​อยู่ ใคร​ไป​ ทำลาย​จะ​เกิดโ​ทษ ค​ น​ตะ​โหมด​สมัยน​ น้ั เ​ชือ่ ถ​ อื ค​ ำ​บอก​เล่าน​ ้ี ไม่มใี​คร​กล้า​ตัด​ไม้​ใหญ่ “รุกขเทวดา คือ ผู้​ดูแล​ต้นไม้ ควบคุมค​ วาม​สมดุล​ ของ​ธาตุ​ทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ” ลุง​ฑู​รบ​อก “หมาย​ถึ ง ​พ ระ​ส อง-แม่ ​ส อง คื อ พระ​พ าย พระอาทิตย์ แม่ธ​ รณี และ​แม่ค​ งคา ผูท​้ ใ​ี่ ห้ค​ วาม​เจริญเ​ติบโต​ แก่ต​ น้ ไม้ ขณะ​เดียวกันต​ น้ ไม้ก​ ต​็ อ้ ง​ดแู ล​รกั ษา​ให้พ​ ระ​และ​ แม่​อยู่​ใน​ความ​สมดุล หาก​วัน​ใด​ไม่มี​ต้นไม้ พระอาทิตย์​ และ​พ ระ​พ าย จะ​ท ำร้ า ย​แ ม่ ​ทั้ ง ​ส อง เมื่ อ ​แ ม่ ​ทั้ ง ​ส อง​ ถูกท​ ำลาย รุกขเทวดา​กจ​็ ะ​อยูไ​่ ม่ไ​ด้ เมือ่ ร​ กุ ขเทวดา​อยูไ​่ ม่ไ​ด้ นั่น​หมาย​ถึง​ปัจจัย​สี่​ของ​มนุษย์​ก็​ขาดแคลน”


แสงจริง

เมื่ อ ​ก่ อ น​พื้ น ที่ ​ใ น​อ ำเภอ​ต ะ​โ หมด​เ ป็ น ​ลั ก ษณะ ‘ป่าย​ าง’ ไม่ใช่​สวน​ยาง​อย่าง​ทุก​วันน​ ี้ “ใน​ป่า​ยาง​จะ​มี​พืช​หลาก​หลาย​ชนิด ไม่ใช่​ว่า​มี​แต่​ ต้น​ยางพารา​แต่ฝ​ ่าย​เดียว เป็นค​ วาม​มั่นคง​ทาง​อาหาร มี​ สมุนไพร​ต่างๆ ซึ่ง​เป็น​พืช​ที่​เรา​ไม่​ต้อง​ไป​ซื้อ​หา​จาก​ที่​อื่น แล้วม​ ย​ี างพารา​เป็นพ​ ชื เ​ศรษฐกิจ คอย​คำ้ จุนก​ นั ไ​ป​แบบ​น”ี้ ลุง​ฑูร​เล่า ป่าย​ าง​ของ​ลงุ ฑ​ รู ปลูกพ​ ชื ห​ ลาก​หลาย​ชนิดแ​ ซม​ตาม​ พืน้ ทีว​่ า่ ง เพือ่ เ​ป็นการ​เพิม่ ป​ ยุ๋ อ​ นิ ทรียใ​์ ห้ก​ บั ด​ นิ โ​ดย​ปริยาย ซึ่ง​เอื้อ​ให้​สัตว์​หน้า​ดิน​ได้​มี​ชีวิต​อยู่​ด้วย และ​สัตว์​หน้า​ดิน​ เหล่า​นกี้​ ็​ช่วย​บำรุง​ดิน “ตาม​ห ลั ก ยางพารา​เป็ น ​พื ช ​ต้ อ งการ​แ สงแดด การ​ทเ​ี่ รา​จะ​ปลูกพ​ ชื แ​ ซม​ระหว่าง​ตน้ ย​ าง เรา​ตอ้ ง​ลง​ตน้ ย​ าง​

59


60 เขาหัวช้าง

ก่อน รอ​ให้ต​ น้ ย​ าง​โต ก่อน​สัก 3 ปีเพราะ ถ้าห​ าก​ไป​ปลูกพร้อม​ กัน พืช​อ่ืน​มัน​จะ​โต​ ก่อน​ตน้ ย​ าง ไป​บดบัง แ​ สงแดด​ของ​ตน้ ย​ าง” ลุ ง ฑู ร ​แ นะ​เ ทคนิ ค​ การ​ทำ ‘ป่า​ยาง’ “อยาก​ดู​ต้นไม้​ราคา​แสน​กว่า​บา​ทมั้ย อยาก​ดู​มั้ย” สิ้น​เสียง​ชวน ผม​กับ​บัง​นิต​ร์​เดิน​ตาม​หลัง​ลุง​ฑูร​เข้าไป​ใน​ ป่า​ยาง ไม่​ว่า​เรา​จะ​เดิน​ลึก​เข้าไป​สัก​แค่​ไหน หรือ​เรา​จะ​ ผ่าน​ต้นไม้​ชนิด​ใด ลุง​ฑูรจ​ ะ​คอย​ชี้​ชวน​ให้​ดวู​ ่าต​ ้นไม้​ชนิด​นี้​ ชื่อ​อะไร และ​มี​สรรพคุณ​อย่างไร พืช​สมุนไพร​บาง​ชนิด​ มี​คุณสมบัติ​รักษา​ชีวิต​คน​ได้ ผม​มอง​พวก​มัน​ด้วย​อาการ​ ผ่าน​เลย ด้วย​หน้าตา​ที่​มัน​เหมือน​ต้นไม้​ใบ​หญ้า​ทั่วไป แน่นอน​ถ้า​หาก​ผม​เจอ​ต้นไม้​พิษ​เพียง​ลำพัง ก็​ย่อม​ไม่รู้​ ว่า​มัน​มพี​ ิษ “พวก​นี้ ​มู ล ค่ า ​ทั้ ง ​นั้ น ​เ ลย” ลุ ง ​ฑู ร ​หั น ​ก ลั บ ​ม า บ​อก และ​ชี้​ให้​ดู​พืช​สมุนไพร​ชนิด​หนึ่ง “นี่​เขา​เรียก​ว่าน นงค์ค​ รวญ” ผม​ชอบ​คน​โบราณ​หรือ​ใคร​ก็ตาม​ที่​เป็น​คน​ตั้ง​ชื่อ


แสงจริง

​ว่ า น​ช นิ ด ​นี้ แรก​ที่ ​ ได้ยิน​ก็​พอ​เดา​ออก​ ว่ า ​ส รรพคุ ณ ​มั น ​ใ ช้ ​เพื่อ​อะไร หรือ​บำรุง ​กิ จ การ​ง าน​ใ ด​ข อง​ มนุษย์ แล้วมั​​ นเ​ป็นช​ อื่ ​ที่ ​มี ​ส่ ว น​ผ สม​ข อง​ ความ ‘โร​แ มน​ติ ก ’ คละ​เคล้า​กับ ‘อี​โร​ติก’ ฟังเพลิดเพลิน​ดี เดิน​ไป​เรื่อยๆ ลุง​ฑูร​แนะนำ ‘กำลังห​ นุมาน’ สังเกต​พืช​ทแี่​ ก​แนะนำ​ผม ก็ได้แ​ ต่พ​ ึมพำ​กับ​ตัว​เอง​ ว่า ‘สงสัย​ลุงเ​ห็น​เรา​กำลัง​หนุ่มก​ ำลัง​แน่น’ มา​ถึ ง ​ต้ น ไม้ ​ต้ น ​ล ะ​แ สน​ข อง​ลุ ง ​ฑู ร มั น ​มี ชื่ อ​ว่ า ‘ม้า​กระทืบ​โรง’ เคย​ได้ยนิ แ​ ต่ช​ า้ ง​กระทืบโ​รง ลุงเ​ล่าว​ า่ ส​ งิ คโปร์ม​ า​ขอ​ ซื้อ​แต่​แก​ไม่​ขาย ไม่​ได้​กลัว​ข้อหา ‘ขาย​ต้นไม้​ให้​ต่าง​ชาติ’ หรือ กลัว​มี ‘ผล​ประโยชน์​ทับ​ซ้อน’ แต่​หาก​ขาย​มัน​ก็​จะ​ ไม่มอี​ ยู่​ทนี่​ ี่ ที่​นี่​ยัง​ต้องการ​ให้​คน​รุ่น​หลังไ​ด้​ใช้​ประโยชน์ สวน​แห่งน​ ี้​สะท้อน​ตัวต​ น​ของ​ลุง​ฑูร​ชัดเจน ไม่ใช่ว​ ่า​ เคย​บวช​เรียน​มา​นาน​ถงึ 18 พรรษา แล้วล​ า​สกิ ขาบท​เพือ่ ​ กลับ​มา​ช่วย​พ่อ​แม่​ทำ​นา เผชิญ​หน้า​กับ​ปัญหา​คลาส​สิก ความ​ยากจน​ของ​เกษตรกร ลุง​ฑูร​เป็น​คน​เช่น​ไร สวน​ของ​

61


62 เขาหัวช้าง

แก​ก็​เป็น​เช่น​นั้น คำ​ว่า ‘พุทธ’ สำหรับ​ลุง​วิฑูร หมาย​ถึง ไม่​ว่า​เรา​ จะ​ลงมือ​ทำ​อะไร​ก็​ต้อง​ศึกษา ต้อง​รู้​ว่า​ต้นทุน​การ​ผลิต​มี​ อะไร ต้อง​ทำ​แบบ​ตื่น​รู้ ว่าเ​รา​กำลัง​ทำ​อะไร แล้วป​ ระเมิน​ สถานการณ์ ประเมิน​ตนเอง และ​ที่​สำคัญ ลุง​ฑู​รบ​อก​ว่า​


แสงจริง

คน​ปลูก​ต้นไม้ต​ ้อง​มี ‘เมตตา’ “เรา​ทกุ ค​ น​ตอ้ งการ​ความ​สขุ ถ้าเ​รา​มเ​ี มตตา เรา​กจ​็ ะ​ มีค​ วาม​สขุ ลุงก​ บั ส​ ตั ว์จ​ ะ​ไม่ก​ ลัวก​ นั เรา​เมตตา​ตอ่ ก​ นั ” เป็น​ แนวคิด​ของ ‘สวน​เกษตร​แนว​พุทธ’ ของ​ลุง​วิฑูร หนู​เสน

63


64 เขาหัวช้าง


แสงจริง

08

65


66 เขาหัวช้าง

08 ผิ ด ​จ าก​ที่ ​ค าด​ไ ว้ ​ม าก ตอน​แ รก​บั ง ​นิ ต ​ร์ ​กั บ ​ผ ม​ขั บ ​ร ถ​ ไป​รับ สม​เกียรติ บัญชา​พัฒน​ศักดิ์​ดา ที่​บ้าน​เพื่อ​ไป​ดู ‘ธนาคาร​น้ำ’ พีส่​ ม​เกียรติ​เป็น 1 ใน​ผู้​ขับ​เคลื่อน​กิจกรรม​ และ​สร้าง​การ​เรียน​รู้​เรื่อง​การ​อนุรักษ์​ทรัพยากร​น้ำ​ให้​ คนใน​ชุมชน แต่​หลัง​จาก​ที่​เดิน​ฝ่า​ดง​ป่า​ลึก​เข้า​มา​เรื่อยๆ พวก​เรา​เดินล​ ง​ทาง​ลาด​ชนั ล​ กึ ล​ ง​ไป​เรือ่ ยๆ ผม​กเ​็ ริม่ ส​ ง่ ส​ ยั ​ แล้วว​ ่า ‘ธนาคาร​น้ำ’ เข้าม​ า​ตั้งส​ ำนักงาน​ลึก​ถึง​ใน​ป่า​เชียว​ หรือ โดย​เฉพาะ​ป่าดง​ที่​เรา​กำลัง​ฝ่า​เข้าไป​เป็น​เขต​รักษา​ พันธุ์​สัตว์​ป่า เมื่ อ ​เ ดิ น ​ลึ ก ​เ ข้ า ไป​ก็ ​เ ริ่ ม ​ยิ น ​เ สี ย ง​น้ ำ ตรง​ห น้ า พวก​เราคือ​ลำห้วย​สาย​เล็ก​ขนาด​กว้าง​ไม่​เกิน 5 เมตร​ ที่​ชาว​บ้าน​เรียก​ว่า ‘ลำต​รน’ ต้นน้ำ​มา​จาก​เทือก​บรรทัด ปลาย​ทาง​คือ​ทะเลสาบ​สงขลา ผม​ถาม​เหมือน​คน​ซื่อ​เกือบ​บื้อ​ว่า ตรง​ไหน​ที่​เรียก​ ว่า​ธนาคาร​น้ำ “นี่​แหละ​ครับ” พี่​สม​เกียรติ​บอก​อย่าง​เสีย​ไม่​ได้ “นี่​เป็นส​ าขา​หนึ่ง​ของ​ธนาคาร​น้ำ” แนว​กระสอบ​ทราย​ทว​ี่ าง​ขวาง​ทาง​นำ้ ห​ รือท​ เ​ี่ รา​เรียก​ กันว​ า่ ‘ฝาย​ชะลอ​นำ้ ’ ทีอ​่ ยูต​่ รง​หน้าพ​ วก​เรา​นี้ เป็นส​ าขา​ยอ่ ย ​ของ​ธนาคาร​น้ำ ซึ่ง​ตาม​ลำห้วย​ที่​น้ำ​ไหล​ผ่าน​ไป​นั้น​จะ​มี​ จุดท​ ท​ี่ ำ​ฝาย​ชะลอ​นำ้ น​ เ​ี้ ป็นจ​ ดุ แล้วแ​ บ่งก​ ำลังค​ น​ดแู ล​หรือ​


แสงจริง

ซ่อมแซม​ฝาย ใน 1 จุด ก็ค​ ือ 1 สาขา ธนาคาร​นำ้ เ​ป็นแ​ นวคิดห​ นึง่ ใ​น​การ​เก็บอ​ อม​นำ้ และ​ การ​จดั การ​ทรัพยากร​ทท​ี่ ำ​พร้อมๆ ไป​กบั ก​ าร​ประกาศ​เขต​ ป่าช​ มุ ชน​ประมาณ 2,000 ไร่ร​ อบๆ เขา​หวั ช​ า้ ง​ทท​ี่ บั ซ​ อ้ น​กนั ​อยูก่​ ับเ​ขต​ป่าส​ งวน​แห่งช​ าติ เป็นห​ นึ่งใ​น​แผน​แม่บท​ชุมชน แนวคิด​และ​วิธี​การ​ก็​คือ​อย่าง​น้อย​ชุมชน​ก็​อยู่​อาศัย​กับ​ป่า​ เขา​ห้วย​น้ำ​ลำคลอง​และ​เรือก​สวน​ไร่​นา โดย​วธิ ก​ี าร​ทำ​ฝาย​ชะลอ​นำ้ แต่ “พวก​เรา​ตอ้ งการ​หา​ เอกลักษณ์​ให้​ชุมชน​ของ​เรา ลักษณะ​มัน​เหมือน​ธนาคาร คือ​มี​ทั้ง​การ​เก็บ ฝาก และ​ปล่อย” สม​เกียรติ​บอก ธนาคาร​น้ำ​ใน​ส่วน​เหนือ​หรือ​ต้น​ขึ้น​ไป​ก็​คือ​การ​ เก็บ​น้ำ​ไว้ “ถ้า​ไม่​ทำ​ฝาย​มัน​ก็​ไหล​ไป​ด้วย​ระยะ​เวลา​ที่​ รวดเร็ว” น้ำใ​น​สว่ น​ทล​ี่ น้ ฝ​ าย​ไป​ดา้ น​ลา่ ง​กค​็ อื ก​ าร​ปล่อย​นำ้ ​ ให้​เกษตรกร​หรือ​ชาว​บ้าน​ได้​ใช้สอย “ก็​เหมือน​ธนาคาร​ ปล่อย​ดอกเบี้ย” พี่​สม​เกียรติ​เข้าใจ​เปรียบ ธนาคาร​น้ำ​เปรียบ​เสมือน​กับ​ธนาคาร​ที่​ทำ​หน้าที่ เก็บ​เงิน ออม​เงิน และ​ปล่อย​ดอกเบี้ย แต่​ธนาคาร​น้ำ​ แตก​ตา่ ง​กบั ธ​ นาคาร​อนื่ ๆ โดย​ทวั่ ไป​คอื ธนาคาร​นำ้ ก​ ต​็ อ้ ง​ ทำ​หน้าที่​กัก​เก็บ​น้ำ ออม​น้ำ หรือ​รักษา​น้ำ และ​รักษา​ ต้นทุน​ของ​น้ำ แล้ว​จะ​ปล่อย​ดอกเบี้ย​ที่​เป็น​น้ำ​ออก​มา​ให้​ ชุมชน​ได้​ใช้​ประโยชน์​กัน​ได้​อย่าง​ยั่ง​ยืน ธนาคาร​น้ำ​ยัง​ช่วย​ชะลอ​ไม่​ให้​น้ำ​ไหล​ลง​สู่​ชุมชน​

67


68 เขาหัวช้าง

อย่าง​รวดเร็ว เมื่อ​เวลา​มี​ฝน​ตก​หนักๆ ตลอด​ยัง​ช่วย​ใน​ การ​ดัก​ตะกอน​ไม่​ให้​ลง​ไป​สู่​ทะเล ธนาคาร​นำ้ เป็นการ​บริหาร​จดั การ​นำ้ โ​ดย การนำ​เอา ภ​ มู ปิ ญ ั ญา​ของ​ทอ้ ง​ถนิ่ ม​ า​ประยุกต์ใ​ช้ ให้เ​ข้าก​ บั ส​ ภาพ​ของ​ ธรรมชาติ​ใน​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น จาก​สภาพ​ของ​ธรรมชาติ​โดย​ ทัว่ ไป​แล้วล​ กั ษณะ​ของ​พนื้ ทีไ​่ ม่ไ​ด้ส​ ม่ำเสมอ มีค​ วาม​สงู ต​ ำ่ ไ​ป​ตาม​สภาพ​ทต​ี่ งั้ และ​โครงสร้าง​ของ​เปลือก​โลก​ใน​แต่ละ​ ท้อง​ถิ่น ดัง​นั้น​เมื่อ​น้ำ​ทไี่​หล​ผ่าน​พื้นที่​ต่างๆ ก็​จะ​ลัด​เลาะ ​ไป​ตาม​ความ​ลาด​ชัน​ของ​พื้นที่ เมื่อ​มี​การ​ไหล​ติดต่อ​กัน​เป็น​เวลา​นานๆ ก็​จะ​เกิด​ เป็น​บึง​น้ำ วัง ตาม​สาย​ห้วย ลำคลอง​ต่างๆ บาง​ที่​อาจ​ จะ​มพ​ี นื้ เ​ป็นห​ นิ แ​ บบ​อา่ ง​ธรรมชาติ บาง​ทเ​ี่ กิดเ​ป็นบ​ งึ ค​ ล้าย​ น้ำตก​ก็​แล้ว​แต่​สภาพ​ของ​พื้นที่ ใน​แต่ละ​ที่​ก็​จะ​มี​ความ​ สามารถ​ที่​จะ​กัก​เก็บ​น้ำ​ได้​ไม่​เท่า​กัน และ​ระยะ​เวลา​ใน​ การ​เก็บน​ ำ้ ก​ เ​็ ช่นก​ นั อาจ​จะ​เก็บน​ ำ้ ไ​ด้ย​ าวนาน​ตลอด​ทงั้ ป​ ี ทั้งนี้​ก็​ขึ้น​อยูก่​ ับ​ใน​แต่ละ​พื้นที่ แต่​หลัก​การ​ที่​สำคัญ​ของ​ธนาคาร​น้ำ​คือ ที่​เกิด​เอง​ ตาม​ธรรมชาติแ​ ละ​ทช​ี่ มุ ชน​ได้ส​ ร้าง​ขนึ้ ม​ า จะ​เป็นการ​ชะลอ​ และ​การ​กัก​เก็บ​น้ำ​ไว้​ใน​ระดับ​หนึ่ง​เท่านั้น ไม่​ได้​ปิด​กั้น​ จน​น้ำ​ผ่าน​ไป​ไม่​ได้ ใน​บาง​ครั้ง​จาก​สภาพ​ของ​ธรรมชาติ ธนาคาร​นำ้ บ​ าง​ทม​ี่ น​ี ำ้ อ​ ยูเ​่ ฉพาะ​สว่ น​ทก​ี่ กั เ​ก็บเ​ท่านัน้ ส่วน​ ด้าน​ล่าง​ของ​ธนาคาร​น้ำ​กลับ​ไม่มี​น้ำ มอง​ดู​เหมือน​กับ​


69

แสงจริง

69


70 เขาหัวช้าง

เป็นการ​ปิด​กั้น​ไม่​ให้​น้ำ​ไหล​ลง​สู่​ด้าน​ล่าง แต่​จริงๆ แล้ว ​ใน​ขณะ​เดียวกัน​น้ำ​ก็​ยัง​มี​การ​ไหล​และ​ปลด​ปล่อย​ลง​ไป​สู่ ​ด้าน​ล่าง​อยู่​ตลอด​เวลา เพียง​แต่​เรา​มอง​ไม่​เห็น​เส้น​ทาง การ​ไหล​ผา่ น​ของ​นำ้ จึงม​ อง​วา่ การ​ทำ​ธนาคาร​นำ้ เหมือน​กบั ​ เป็นการ​ปดิ ก​ น้ั น​ ำ้ ไ​ม่ใ​ห้ไหล​ลง​สด​ู่ า้ น​ลา่ ง ความ​เป็นจ​ ริงแ​ ล้ว ​น้ำ​ยัง​คง​ไหล​อยู่​ใน​ธรรมชาติ​ตลอด​เวลา ถ้า​หาก​เรา​ลอง​ เดิน​ตาม​สายน้ำ​ลง​ไป​ดู เรา​ก็​จะ​พบ​กับ​น้ำ​หรือ​บึง​น้ำ​ที่​มี​ การ​กัก​เก็บ​เอา​ไว้​เป็น​ช่วงๆ ซึ่งแ​ สดง​ไห้​เห็น​ว่าน​ ้ำซึม​ผ่าน​


แสงจริง

ชัน้ ใ​ต้ดนิ ม​ า​ได้ ดังน​ นั้ ช​ มุ ชน​ตะ​โหมด​จงึ ไ​ด้น​ ำ​เอา​หลักก​ าร​ ทีเ​่ กิดจ​ าก​ธรรมชาติจ​ ดุ น​ ี้ มา​ดดั แปลง​ให้เ​ข้าก​ บั ภ​ มู ปิ ญ ั ญา ท้อง​ถิ่น​ของ​เรา​ทมี่​ ี​อยู่ จึง​ออก​มา​ใน​รูปข​ อง​ฝาย​กัก​เก็บ​น้ำ ที่​อยูใ่​น​พื้นทีป่​ ่าต​ ้นน้ำ​โดย​ชุมชน​ได้​ให้​ชื่อ​ว่า ธนาคาร​น้ำ ลอง​หย่อน​เท้า​แช่​ลง​ไป​น้ำ เย็น​สดชื่น ความ​โชค​ดี ข​ อง​ชมุ ชน​เขา​หวั ช​ า้ ง​กค​็ อื ม​ ค​ี วาม​อดุ ม​สมบูรณ์ท​ าง​ธรรมชาติ ​มากมาย เขา​หัว​ช้าง​เป็น​ชุมชน​ริม​เทือก​เขา​บรรทัด​และ​ ตลอด​เส้น​ทาง​สาย​ป่าบ​ อน-โหล๊ะ​จัง​กระ-กงหรา มี​น้ำตก​ งดงาม​มากมาย​ตลอด​เส้น​ทาง ธนาคาร​น้ำ​เกิด​จาก​รวม​ตัว​กัน​ของ​กลุ่ม​เครือ​ข่าย​ ของ​ชุมชน​บริเวณ​ป่าต​ ้นน้ำ คือ กลุ่มส​ ภา​ลาน​วัดต​ ะ​โหมด ดำเนิน​การ​จัด​ระบบ​ทรัพยากรธรรมชาติ​ของ​ชุมชน​ใหม่ เพื่อ​รักษา​ป่า​ต้นน้ำ​ให้​สามารถ​กัก​เก็บ​น้ำ​และ​มี​น้ำ​ใช้ได้​ ตลอด​ปี โดย​การ​ทำ​ฝาย​กั้น​น้ำ​เล็กๆ ด้วย​ภูมิปัญญา​ชาว​ บ้าน ใช้​วัสดุ​ท้อง​ถิ่น​ชะลอ​การ​ไหล​ของ​น้ำลง​สู่​ทะเลสาบ ซึ่ง​เรียก​ว่า​ธนาคาร​น้ำ

71


72 เขาหัวช้าง

หลัก​การ​บริหาร​จดั การ​นำ้ ​โดย​อาศัย​กลุม่ ​และ​กจิ กรรม​ตา่ งๆ เป็น​แนวทาง​การ​ดำเนิน​การ​คอื

1.

การ​สง่ ​เสริม​และ​จดั ​ตง้ั ​กลุม่ ​องค์กร โดย​การ​สนับสนุน​ให้​ชมุ ชน​ท​่อี ยู​่ใกล้​ กับ​พน้ื ที​ป่ า่ ​ตน้ น้ำ​หรือ​อยู​ใ่ กล้​กบั ​แหล่ง​นำ้ ได้​เห็น​ถงึ ​ความ​สำคัญ​ของ​แหล่ง​นำ้ ​ และ​ปา่ ไ​ ม้ท​ อ​่ี ยูร​่ มิ น​ ำ้ ร​ มิ ห​ ว้ ย​ตา่ งๆ แล้วจ​ ดั ต​ ง้ั ก​ ลุม่ ข​ น้ึ ม​ า ให้ช​ าว​บา้ น​ได้ค​ ดั เ​ลือก​ ตัวแทน​เข้า​มา​เป็น​คณะ​กรรมการ ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ดูแล​และ​รักษา​พ้นื ที่​ป่า​ต้นน้ำ​ท่​ีอยู่​ใน​เขต​พ้นื ที่​ของ ​ตวั ​เอง ซึง่ ​ม​กี ลุม่ ​ตา่ งๆ ได้แก่ กลุม่ ​ปา่ ​ชมุ ชน​เขา​หวั ​ชา้ ง กลุม่ ​อนุรกั ษ์​ปา่ ​ตน้ น้ำ​ ห้วย​นา-ห้วย​รเ​ู ม่น กลุม่ อ​ นุรกั ษ์ป​ า่ ต​ น้ น้ำห​ ว้ ย​ยวน กลุม่ อ​ นุรกั ษ์ป​ า่ น​ ำ้ ตก​ทา่ ช้าง กลุม่ ​อนุรกั ษ์​ปา่ ​ตน้ น้ำ​หว้ ย​มา้ ​แล กลุม่ ​นคิ ม​เกษตร กลุม่ ​เยาวชน กลุม่ ​ตน้ ​หญ้า กลุม่ ​รกั ​ตะ​โหมด กลุม่ ​พทุ ธ​บตุ ร​ฟน้ื ฟู​ปา่ ​ตน้ น้ำ การ​อนุรักษ์​และ​ป้องกัน​พ้ืนที่​ป่า​ท่ี​ยัง​สมบูรณ์​อยู่ และ​การ​ป้อง​กัน​ดูแล​ รักษา​ระบบ​นิเวศ​ของ​ป่า​ต้นน้ำ โดย​การ​ให้​แต่ละ​กลุ่ม​ท่ี​รับ​ผิด​ชอบ​ใน​แต่ละ​ พืน้ ที่ คอย​สอด​สอ่ ง​ดแู ล​พน้ื ที​ป่ า่ ​ตน้ น้ำ​ของ​ตวั ​เอง ไม่​ให้​ม​ใี คร​เข้าไป​บกุ รุก​และ​ แผ้ว​ถาง​ปา่ การ​สร้าง​จติ สำนึก​และ​การ​พฒ ั นา​ชวี ติ ​ของ​ชมุ ชน โดย​การ​สร้าง​จติ สำนึก​ ให้เ​กิดข​ น้ึ ก​ บั ค​ นใน​ชมุ ชน และ​เยาวชน​ทจ​่ี ะ​มา​เป็นค​ น​สบื ทอด และ​การ​ดแู ล​และ​ รักษา​ทรัพยากร​ของ​ชมุ ชน​ตอ่ ​ไป โดย​เฉพาะ​ทรัพยากร​นำ้ การ​สร้าง​จติ สำนึก​โดย​การ​จดั ​คา่ ย​เยาวชน​อนุรกั ษ์​สง่ิ ​แวดล้อม โครงการ​ จริยธรรม​นำ​สง่ิ แ​ วดล้อม การนำ​เด็กน​ กั เรียน​ใน​ชมุ ชน​และ​โรงเรียน​ทอ​่ี ยูใ​่ กล้เ​คียง เข้าไป​ศกึ ษา​ระบบ​นเิ วศ​ของ​ปา่ ใ​ น​สภาพ​ของ​พน้ื ทีป​่ า่ จ​ ริง นอกจาก​นแ​้ี ล้วช​ มุ ชน​ก​็ ยัง​ได้​ม​กี าร​รวบรวม และ​นำ​เอา​ภมู ปิ ญ ั ญา​ของ​ทอ้ ง​ถน่ิ มา​จดั ​ทำ​เป็น​หลักสูตร​ ท้อง​ถน่ิ ​ขน้ึ มี​หลักสูตร​ตะ​โหมด​ศกึ ษา หลักสูตร​ปา่ ​ของ​ชมุ ชน หลักสูตร​แหล่ง​ เรียน​ร​ใู้ น​ปา่ ​ชมุ ชน หลักสูตรบูรณ​า​การ​แหล่ง​เรียน​ร​ใู้ น​ปา่ ​ชมุ ชน การ​ฟ้นื ฟู​และ​พัฒนา​พ้นื ที่​ป่า​ต้นน้ำ โดย​การ​ปรับปรุง​ระบบ​นิเวศ​ของ พ​ น้ื ทีป่ า่ ต​ น้ น้ำ ส่งเ​สริมก​ าร​ปลูกพ​ ชื ก​ นิ ไ​ ด้ใ​ น​บริเวณ​พน้ื ทีร​่ มิ น​ ำ้ ชาย​คลอง ชาย​หว้ ย การ​จัด​ทำ​ธนาคาร​น้ำ การ​ทำ​ธนาคาร​น้ำ​เป็น​วิธี​การ​จัดการ​น้ำ​รูป​แบบ​ หนึง่ ​ของ​การนำ​เอา​ภมู ปิ ญ ั ญา​ทอ้ ง​ถน่ิ ​ของ​ชมุ ชน​มา​ใช้​ จึง​ม​แี นวคิด​ท​จ่ี ะ​ทำให้​มี​ น้ำ​หล่อ​เลีย้ ง​อยู​ใ่ น​ลำคลอง​หรือ​ลำห้วย​ตลอด​ทง้ั ​ปี

2.

3.

4. 5.


แสงจริง

73

การเลือกตำแหน่งจุดที่จะทำธนาคารน้ำ

1. จุดที่มีความต่างชั้นของระดับสายน้ำ 2. บริเวณพื้นที่ที่สามารถเก็บน้ำได้ในปริมาณมาก 3. บริเวณพื้นที่ที่สามารถหาวัสดุหรือนำวัสดุเข้าไปทำได้สะดวก รูป​แบบ​ของ​ธนาคาร​น้ำ ธนาคาร​น้ำ​แบบ​ชั่วคราว - ธนาคาร​น้ำ​แบบ​นี้​จะ​เป็นการ​ทำ​ธนาคาร​น้ำ​โดย ใช้ว​ สั ดุท​ ห​ี่ า​ได้จ​ าก​ชมุ ชน​หรือจ​ าก​ธรรมชาติ และ​จะ​มอี ายุก​ าร​ใช้ง​ าน​ประมาณ 1 ปี วัสดุ​ที่​นำ​มา​ใช้​อาจ​หมด​สภาพ​หรือ​ผุ​พัง​ไป ก็​จะ​มี​การ​เข้าไป​ทำ​หรือ​ซ่อมแซม​ ใหม่ วัสดุ​ที่​ใช้​ทำ เช่น ทำ​ด้วย​ไม้ไผ่ กระสอบ​ทราย การ​ถม​ดิน การ​ดับ​หิน ธนาคาร​น้ำ​กึ่ง​ถาวร - การ​ทำ​ธนาคาร​น้ำ​แบบ​นี้​จะ​มี​การนำ​ปูนซีเมนต์​เข้า​มา​ มี​ส่วน​ร่วม​ด้วย เพื่อ​ต้องการ​ความ​แข็ง​แรง​และ​คงทน​ของ​ธนาคาร​น้ำ ธนาคาร​ น้ำแ​ บบ​นจ​ี้ ะ​มอี ายุก​ าร​ใช้ง​ าน​ได้น​ าน​กว่าธ​ นาคาร​นำ้ แ​ บบ​ชวั่ คราว คือจ​ ะ​มอี ายุ​ การ​ใช้​งาน​ตั้งแต่ 1-3 ปี วัสดุ​ที่​ใช้ ปูนซีเมนต์ กระสอบ​ปุ๋ย​หรือ​กระสอบ​ใส่​ อาหาร ตาข่าย หิน ทราย ธนาคาร​น้ำ​แบบ​ถาวร - การ​ทำ​ธนาคาร​น้ำ​แบบ​ถาวร​เป็นการ​ทำ​ธนาคาร​น้ำ​ ที่​ต้องการ​ความ​แข็ง​แรง​และ​ทนทาน​มากกว่า​ธนาคาร​น้ำ​แบบ​กึ่ง​ถาวร วัสดุ​ ที่​นำ​มา​ใช้​ปูนซีเมนต์ เหล็ก​เข้า​มา​ร่วม​ด้วย ดัง​นั้น​ธนาคาร​น้ำ​ลักษณะ​นี้​จะ​ มีอายุ​การ​ใช้​งาน​ได้​นาน​กว่า​ธนาคาร​น้ำ​แบ​บอื่นๆ อายุ​การ​ใช้​งาน​ตั้งแต่ 3 ปี​ ขึ้น​ไป บริเวณ​พื้น​ที่ที่ทำ​ธนาคาร​น้ำ​แบบ​ถาวร ส่วน​ใหญ่​จะ​มี​น้ำ​ไหล​แรง​และ​ จะ​มี​ความ​กว้าง​ของ​สายน้ำ​มาก


74 เขาหัวช้าง

09 ชุมชน​เขา​หวั ช​ า้ ง​ตดิ แ​ นว​เทือก​เขา​ บรรทัด ประชาชน​อาศัย​สภาพ​ ลำน้ำ​ของ​คลอง​น้ำตก​หม่อม​จุ้ย และ​ค ลอง​น้ ำ ตก​โ ตน​ใ ต้ ​เ ป็ น ​ที่ ​ สร้ า ง​ห ลั ก ​แ หล่ ง ​ที่ ​อ ยู่ ​อ าศั ย มี ​ บ่ อ น้ ำ ​ร้ อ น ป่ า ​เ ขา​ล ำเนา​ไ พร นีเ​่ ป็นส​ ถาน​ทใ​ี่ น​ฝนั ข​ อง​หลาย​คน เป็น​สถาน​ที่​ที่​เอื้อ​ให้​ชีวิต​ดำเนิน​ ไป​อย่าง​ปลอด​โปร่ง ทรัย​พา​ยา​กร​ธรรมชาติ​จึง​ เป็น​เหมือน​ขุมทรัพย์​ของ​ชุมชน​ เขา​หั ว ​ช้ า ง เพราะ​ท รั พ ยากร ธรรมชาติ ​อ ย่ า ง​ป่ า ​แ ละ​น้ ำ ​ที่ ​ เกาะ​เกี่ยว​โยงใย​กัน​นั้น​ได้​ก่อ​ให้ เ​กิดแ​ หล่งอ​ าหาร แหล่งน​ ำ้ ส​ ำหรับ​ อุ ป โภค​บ ริ โ ภค​แ ละ​ก ารเกษตร อากาศ​ที่​ดี และ​ทสี่​ ำคัญ​อีก​อย่าง​ นั่น​คือ ‘แหล่ง​ท่อง​เที่ยว’


แสงจริง

75


76 เขาหัวช้าง

แต่ ชูส​ นิ ธุ์ ชนะ​สทิ ธิ์ นายก​เทศบาล​ตำบล​เขา​หวั ช​ า้ ง รั้ง​รีรอ​แน่นอน หาก​การ​พัฒนา​แหล่ง​ท่อง​เที่ยว​ไป​ใน​เชิง​ พาณิชย์​เต็ม​รูป​แบบ “เรา​ถอด​บท​เรียน​ไว้แ​ ล้ว สำหรับเ​รื่อง​การ​ท่อง​เที่ยว ถอด​ไป​ถอด​มา เรา​ก็​เห็น ​ผลก​ระ​ทบ​ทั้ง​ทาง​บวก​ทาง​ลบ ทาง​บวก​ก็​มี​เยอะ ทาง​ลบ​มัน​ก็​มี” นา​ยกฯ​บอก การ​เปิด​เมือง​ให้​เป็น​เมือง​ท่อง​เที่ยว​มาก​ไป​โดย​ไม่มี​ ภูมิคุ้มกัน​ใน​พื้นที่ มัน​ก็​ทำให้​วัฒนธรรม​ภายนอก​เข้า​มา​ ทำลาย​วัฒนธรรม​ภายใน เป็น​สิ่ง​ที่​นา​ยกฯ​เป็น​ห่วง “แล้ ว ​เ มื อ ง​ท่ อ ง​เ ที่ ยว​ข อง​คุ ณ ​มี ห น้ า ​ต า​อ ย่ า งไร” นา​ยกฯ​ถาม​กลับ “มี ​เ ครื่ อ ง​อ ำนวย​ค วาม​ ส ะ ด ว ก ​ใ ห้ ​ค น ​ม า ​เ ที่ ย ว ” ผม​ต อบ​ใ ห้ ​เขา​เห็ น ​ภ าพ​ข อง​ คำถาม “การ​ท่ อ ง​เ ที่ ย ว​กั บ​ ความ​สะดวก​มนั ไ​ป​ดว้ ย​กนั แต่​มัน​ต้อง​มี​ขอบเขต​นะ เช่น เรา​เน้นก​ าร​ทอ่ ง​เทีย่ ว​ เชิง​นิเวศ เชิง​วัฒนธรรม ประเด็น​ที่​ตั้ง​ไว้​คือ​การ​ ชู​สินธุ์ ชนะ​สิทธิ์


แสงจริง

ท่อง​เทีย่ ว​เชิงน​ เิ วศ​และ​วฒ ั นธรรม ฉะนัน้ ก​ าร​ทอ่ ง​เทีย่ ว​เชิง​ นิเวศ​คอื เ​รา​มา​ทอ่ ง​เทีย่ ว​หาความ​รู้ ทรัพยากรธรรมชาติท​ ​ี่ มีอ​ ยู่ การ​ทอ่ ง​เทีย่ ว​เชิงน​ เิ วศ​สงิ่ ท​ เ​ี่ รา​ตอ้ ง​ มีห​ รือจ​ ดุ ข​ าย​ของ​ เรา ถ้า​เรา​เน้น​ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่​มี​อยู่ สิ่ง​ก่อสร้าง​ก็​ ควร​มี​ขอบเขต” นา​ยกฯ​ย้ำ​ชัด สิ่ง​ที่​นา​ยกฯ​พยายาม​วาด​ภาพ​ให้​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​ ใน​ฐานะ​เมือง​ท่อง​เที่ยว คือ การ​ท่อง​เที่ยว​เชิง​วิชาการ นำ​เที่ยว​โดย​มัคคุเทศก์​ที่​มี​ความ​รู้ เรื่อง​สมุนไพร พันธุ์​พืช พันธุไ​์ ม้ “พวก​นม​ี้ นั ม​ ค​ี ณ ุ ค่าย​ งั ไ​ง มัคคุเทศก์ท​ ม​ี่ อ​ี งค์ค​ วาม​ร​ู้ แบบ​นี้​เป็น​ผู้นำ​ทาง อีก​ส่วน​คือ​มา​ชม​ธรรมชาติ​คือ​ศึกษา​ ความ​บริสุทธิ์​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติท​ เี่​รา​มี​อยู่ ไม่ใช่เ​รา​ ไป​เสริม​เติม​แต่ง​มากมาย” และ​อีก​ส่วน​ที่​สำคัญ-การ​ท่อง​เที่ยว​เชิง​วัฒนธรรม “วัฒนธรรม​ระหว่าง​ไทย​พทุ ธ-มุสลิม ทีม​่ ก​ี าร​อพยพ​ ย้าย​ถิ่น​สลับ​กัน​ไป​มา วัด​ตะ​โหมด​ตอน​นี้​เมื่อ​ก่อน​เป็น​ ชุมชน​มุสลิม บ้าน​หัว​ช้าง​เมื่อ​ก่อน​เป็น​ชุมชน​ไทย​พุทธ มี​หลัก​ฐาน​มี​พระ​มี​ที่​อยู่​ของ​สงฆ์ มี​วัตถุ​โบราณ​ใน​พื้นที่​ ที่​เขา​ไป​เจอ​ตาม​ลำคลอง ก็​เก็บ​รักษา​ไว้​อยู่​โดย​กรม​ ศิลปากร​มี​การศึกษา​ว่าม​ ัน​อยู่​ใน​ยุค​สมัยใ​ด มัน​ก็​โยง​ไป​สู่​ ประวัตศิ าสตร์แ​ ละ​โยง​ไป​สว​ู่ ฒ ั นธรรม​ทส​ี่ บื เ​นือ่ ง​ตอ่ ก​ นั ม​ า” นา​ยกฯ​หวัง​ใจ​ว่าการ​ท่อง​เที่ยว​ยัง​จะ​มา​ช่วย​แก้​ ปัญหา​ตดั ไ​ม้ท​ ำลาย​ปา่ “เพราะ​วา่ ถ​ า้ ม​ น​ี กั ท​ อ่ ง​เทีย่ ว​เข้าไป

77


78 เขาหัวช้าง

คน​ที่​จะ​ลัก​ตัด​ไม้ม​ ัน​ก็​ไม่​กล้า เพราะ​นัก​ท่อง​เที่ยว​ที่มา​มา​ จาก​ไหน​ไม่รู้ เขา​ก็​คิด​ว่า​นัก​ท่อง​เที่ยว​ที่​เห็น​อาจ​จะ​เป็น​ เจ้าห​ น้าทีป​่ ลอม​ตวั ม​ า​กไ​็ ม่รู้ เห็นน​ กั ท​ อ่ ง​เทีย่ ว​มนั ก​ ไ​็ ม่ก​ ล้า ก็​เอา​เรื่อง​การ​ท่อง​เที่ยว​เป็น​ตัวก​ ัน​การ​ทำลาย​ป่า” คน​เขา​หัว​ช้าง​คิด-พูด เกี่ยว​กับ​เรื่อง​ป่า​เรื่อง​น้ำ อาจารย์​คะนึง สหัส​ส​ธารา เสนอ​ว่า หาก​จับ​คน​ตัด​ ไม้​ทำลาย​ป่า​ได้ ไม่​ต้อง​ไป​ปรับ​ไป​จับ​เขา​ติด​คุก เพราะ “ใน​นั้น​มัน​สบาย คน​ตัด​ไม้​เท่า​ไหร่​คูณ​เป็น​นิ้ว​ให้​เขา​ปลูก​ ไม้ท​ ดแทน ถ้าป​ ลูกท​ ดแทน​ไม่ไ​ด้ก​ ค​็ ดิ เ​ป็นเ​งินอ​ อก​มา​ปรับ เพราะ​คณ ุ ต​ ดั ไ​ม้ก​ ต​็ อ้ ง​ปลูกไ​ม้แ​ ทน ไม่ใช่ต​ ดั เ​สร็จแ​ ล้วป​ รับ เงิน​ค่า​ปรับ​ก็​หาย​ไป​ไหน​ไม่รู้ ป่า​ก็​โล่ง​เตียน​อยู่​แบบ​นั้น ต้อง​ดแู ล​ตน้ ไม้ ต้อง​ปลูกต​ อ่ ถ้าไ​ม่ป​ ลูกก​ ป​็ รับใ​ห้ส​ งู ไ​ป​เลย ให้​แพง​ไป​เลย” ลอง​วิ​เคราะห์​เล่นๆ ว่า ทำไม​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​จึง​ คิด-พูด เกี่ยว​กบั ​ปา่ เ​กี่ยว​กบั น​ ำ้ อาจ​เพราะ​เขา​หวั ช​ า้ ง​เป็น​ ชุมชน​ต้นน้ำ และ​หลายๆ อำเภอ​ของ​พัทลุง​และ​สงขลา​ ล้วน​ใช้น​ ้ำ​แหล่ง​เดียว​กับ​พวก​เขา ปลาย​น้ ำ ​จ ะ​เ ป็ น ​อ ย่ า งไร ต้ น น้ ำ ​มี ​ส่ ว น​ก ำหนด​ สูง​มาก


แสงจริง

10

79


80 เขาหัวช้าง

10 เรา​จะ​ได้ยิน​เสียง​น้ำตก​ดัง​ซ่า​อยู่​ตลอด​เวลา​ที่​เข้า​มา​ใน​ บริเวณ ‘น้ำตก​ทา่ ช้าง’ อากาศ​โดย​รอบ​เย็นส​ บาย​แตก​ตา่ ง​ โดย​สนิ้ เ​ชิงก​ บั ป​ าก​ทาง​ทเ​ี่ รา​เข้าม​ า เขา​หวั ช​ า้ ง​เป็นช​ มุ ชน​ท​ี่ ร่ำรวย​ทรัพยากรธรรมชาติ ต้นทุนท​ พ​ี่ วก​เขา​มไ​ี ด้ส​ ง่ ต​ อ่ ใ​ห้​ ชีวติ พ​ วก​เขา​ได้ใ​ช้สอย ทัง้ อ​ าหาร สมุนไพร ไม้ใ​ช้สอย น้ำก​ นิ ​น้ำ​ใช้ และ​รวม​ถึง​แหล่งท​ ่อง​เที่ยว​ทาง​ธรรมชาติ แต่ก​ าร​มต​ี น้ ทุนน​ นั้ เ​ป็นเ​รือ่ ง​ทธ​ี่ รรมชาติใ​ห้ม​ า ผูค้ น​ ใน​ชุมชน​ต่าง​หาก​ที่​เป็น​เครื่อง​ชี้​วัด​ว่า ‘ของ​ขวัญ’ จาก​ ธรรมชาติ จะ​อยูก่​ ับ​พวก​เขา​ได้น​ าน​แค่​ไหน และ​มี​สภาพ​ อย่างไร ประมาณ​ปี 2547 คน​กลุ่ม​หนึ่ง​ได้​นั่ง​ดื่ม ‘น้ำเ​ย็น’ เคล้า​บท​สนทนา​กัน ทันใด​นั้น​ก็​เห็น​กลุ่ม​ควัน​ลอย​ขึ้น​มา มี​การ​เผา​ทำลาย​ป่า​มากมาย และ​มี​การ​บุกรุก​แผ้ว​ถาง​ เพิ่ม​ขึ้น​เรื่อยๆ พวก​เขา​จึง​ฉุกคิด​ว่า ‘หาก​ปล่อย​ไว้​แบบ​ นี้ ป่า​ไม่​เหลือ​แน่’ จึง​เกิด​การ​รวม​กลุ่ม​กัน​ขึ้น​มา จัด​ตั้ง​เป็น ‘ชมรม​ อนุรักษ์​น้ำตก​ท่าช้าง’ พวก​เขา​รณรงค์​ให้​ชาว​บ้าน​เห็น​ ความ​สำคัญ​ของ​ป่า​และ​น้ำ และ​จัด​กิจกรรม​โดย​ยึด​เอา​ วัน​สำคัญอ​ ย่าง​วัน​ที่ 12 สิงหาคม และ​วัน​ที่ 5 ธันวาคม เป็น​วัน​ปลูก​ป่า และ​ช่วง​เดือน​เมษายน​ของ​ทุก​ปี จะ​มี​ กิจกรรม ‘บวช​ป่า’ เพื่อ​ทำ​พิธบี​ ูชา​รุกขเทวดา


แสงจริง

เสียง​น้ำตก​ดัง​ซ่า สายลม​หอบ​เอา​ละออง​น้ำ​มา​ พรม​ใบหน้า ผม​นงั่ อ​ ยูก​่ บั ช​ าย​หนุม่ ใ​น​ชมรม​อนุรกั ษ์น​ ำ้ ตก​ ท่าช้าง พวก​เขา​เป็น​กำลัง​ส่วน​หนึ่ง​ใน​การ​จัด​กิจกรรม ‘บวช​ป่า’ หรือ ‘โครงการ​ทำบุญ​ผูก​ผ้า​บูชา​รุกขเทวดา ป่า​เขา​บรรทัด’ ทีจ่​ ะ​มี​ขึ้น​ใน​วัน​พรุ่ง​นี้ หลาย​คน​ง่วน​อยู่​กับ​การ​ผูก​สาย​สิญจน์​ที่​ขึง​สี่​ด้าน​ กับ​เสา​ต้น​กล้วย ทำ​เป็น​ตาราง​สี่​เหลี่ยม​เหนือ​ศีรษะ บาง​คน​หอบ​หิ้ว​โต๊ะ​เก้าอี้​ขึ้น​เนิน​มา​บน​ลาน​ที่​จะ​ทำ​พิธี พิธี​บวช​ป่า​ที่​จะ​มี​ขึ้น​ใน​วัน​พรุ่ง​นี้​จะ​มี​พี่​น้อง​ทั้ง​ไทย​พุทธ​ และ​ไทย​มุสลิม​เข้า​ร่วม​พิธี เขา​หัว​ช้าง​เป็น​ชุมชน 2 ศาสนา และ​ใช้​ศาสนา​ นำทาง กิจกรรม​หรือน​ โยบาย​ใน​การ​อยูร​่ ว่ ม​กนั ข​ อง​คนใน​ ชุมชน โดย​มาก​จะ​ต้อง​ออก​มา​จาก​มัสยิด​หรือ​ไม่​ก็ ‘สภา​ ลาน​วัด’ “พูดง​ า่ ยๆ เรา​สร้าง​ความ​เชือ่ ความ​ศรัทธา​ให้ค​ น​ม​ี ต่อต​ น้ ไม้” เวียง​ศกั ดิ์ วร​ศรี ประธาน​ชมรม​อนุรกั ษ์น​ ำ้ ตก​ ท่าช้าง บอก “เหมือน​บอก​ว่า ป่าผ​ ืน​นี้ ต้นไม้​เหล่า​นี้​ผ่าน​ การ​บวช​แล้ว​นะ จะ​มา​ตัดไ​ม่​ได้​นะ” วัน​พรุ่ง​นี้ บริเวณ​น้ำตก​ท่าช้าง​จะ​เป็น​ส่วน​กลาง​ใน​ การ​ทำ​พธิ บ​ี วช​ปา่ จาก​นนั้ ก​ ลุม่ อ​ นุรกั ษ์ต​ า่ งๆ ทีด​่ แู ล​ผนื ป​ า่ ​ใน​จุด​ต่างๆ จะ​นำ​ผ้า​ไป​ผูก​ให้​กับ​ต้นไม้​ใน​เขต​พื้นที่​ตน​ ต่อไ​ป

81


82 เขาหัวช้าง

9 ปี​ที่ พีเ่​วียง​ศักดิ์ ดูแล​ป่าด​ ูแล​น้ำ เขา​บอก​ว่าการ​ ดูแล​ป่า​เป็น ‘งาน​ยาก’ เพราะ​ต้อง​เสี่ยง​กับ ‘ลูกปืน’ ลูกปืน​อาจ​ทำให้​คน​มือ​ไม้​ขา​แขน​อ่อน​ยวบ คน​ตั้งใจ​ทำ​ดี​ แต่​เจอ​ลูกปืน​ขู่ เป็น​ใครๆ ก็​ท้อ แต่ “ถึง​แม้​ท้อ ผม​ก็​ ไม่​ถอย” พี่​เวียง​ศักดิ์​บอก “ผม​เคย​ถูก​ขู่...ขู่​ยิง จน​ถึง​ขั้น​ถูก​ลอบ​ยิง แต่ถ​ ึง​โดน​ ทำร้าย​ก็​ไม่​กลัว เพราะ​สิ่ง​ที่​เรา​ทำ​เรา​อนุรักษ์​ผืน​ป่า​ให้​ คน​รุ่น​หลัง​ได้​ใช้สอย คน​มัน​ตาย​ได้​หลาย​แบบ บาง​คน​ ซิ่ง​รถ​เครื่อง​แล้ว​คว่ำ​ตาย ผม​ตาย​เพราะ​อนุรักษ์​ป่า มัน​ จะ​เป็นไร​ไป” เป็น​ความ​รู้สึก​ของ​ประธาน​ชมรม​อนุรักษ์​ น้ำตก​ท่าช้าง คน​เรา​ตาย​ได้​หลาย​แบบ ถ้า​จะ​มี​ใคร​สัก​คน​ตาย​ เพราะ​ท ำ​สิ่ ง​ดี ๆ โดย​เฉพาะ​อ ย่ า ง​ยิ่ ง เมื่ อ ​เรา​อุ ทิ ศ ​ทั้ ง​ ชีวิต​เพื่อ​สิ่ง​ใด​สิ่ง​หนึ่ง คน​แบบ​นั้น​น่า​จะ​มี​สายตา​ที่​มอง​ ความ​ตาย​เหมือน​พี่​เวียง​ศักดิ์ “เคย​เข้าไป​อยู่​ใน​เมือง​หลายๆ วันม​ ั้ย” ผม​ถาม “เคย​สิ แต่​เวลา​ผม​เข้า​เมือง ผม​จะ​อึดอัด ไม่​เป็น​ ตัว​ของ​ตัว​เอง เหม็น​ควัน​รถ นอน​อยู่​นี่​สบาย​ดี นอน​กับ​ เมีย” พี่​เวียง​ศักดิ์​ยิ้ม เห็น​ฟัน​ขาว​แวววับ


แสงจริง

11

83


84 เขาหัวช้าง

11 แทบ​จะ​ทุก​คนใน​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​ที่มา​ยัง​บริเวณ​ลาน​จัด ‘พิธี​ผูก​ผ้า​บูชา​รุกขเทวดา’ บริเวณ​น้ำตก​ท่าช้าง อากาศ​ เช้าน​ ไ​ี้ ม่เ​ย็นเ​ท่าเ​มือ่ ว​ าน​เย็นท​ ผ​ี่ ม​นงั่ ค​ ยุ ก​ บั พ​ เ​ี่ วียง​ศกั ดิ์ อาจ​ เพราะ​ปริมาณ​คน​ที่​เข้า​มา​อย่าง​คับคั่ง พระ​สงฆ์-สามเณร​ต่าง​รวบ​ปลาย​จีวร​เดิน​ขึ้น​เนิน​ มา​บน​ลาน​ทำ​พธิ ี ชาว​มสุ ลิมบ​ าง​คน​ยนื ค​ ยุ ก​ บั โ​ต๊ะอิหม่าม ชาว​ชุ ม ชน​เ ขา​หั ว ​ช้ า ง​ต่ า ง​ห อบ​หิ้ ว ​ปิ่ น ​โ ตขึ้ น มา​ท ำบุ ญ​ เลีย้ ง​พระ ใคร​บาง​คน​สงสัยว​ า่ จ​ ำนวน​ปน่ิ โต​มากมาย​อย่าง​น้ี แล้ว​ตอน​กลับ​บ้าน​จะ​เจอ​ปิ่นโต​ของ​ตัวเ​อง​ไหม ‘โครงการ​ท ำบุ ญ ​ผู ก ​ผ้ า ​บู ช า​รุ ก ขเทวดา ป่ า ​เ ขา​ บรรทัด’ เป็น​กิจกรรม​ที่​กลุ่ม​อาสา​สมัคร​รักษา​ป่า​ร่วมกับ​ อำเภอ​ตะ​โหมด สภา​ลาน​วัด​ตะ​โหมด องค์กร​ปกครอง​ ส่วน​ท้อง​ถิ่น และ​การ​ปกครอง​ท้อง​ที่​ใน​ตำบล​ตะ​โหมด จัด​ขึ้น​เพื่อ​ให้​คนใน​ชุมชน​มี​โอกาส​ร่วม​ทำบุญ​และ​แผ่​ ส่วน​กุศล​ให้​กับ​รุกขเทวดา​ผู้​ดูแล​ผืน​ป่า เป็นการ​ระลึก​ถึง​ บุญค​ ณ ุ ข​ อง​ผนื ป​ า่ ท​ ห​ี่ ล่อเ​ลีย้ ง​ชวี ติ ข​ อง​คนใน​ชมุ ชน​แห่งป​ า่ ​ บรรทัด จนถึง​วัน​นี้ ก็ ​เ หมื อ น​ที่ ​พี่ ​เ วี ย ง​ศั ก ดิ์ ​บ อก ว่ า ​ก็ ​คื อ ​ก าร​ส ร้ า ง​ ความ​เชื่อ​สร้าง​ศรัทธา​ให้ค​ น​มี​ต่อ​ต้นไม้ ก็เ​หมือน​ทล​ี่ งุ ว​ ฑิ ร​ู บ​อก รุกขเทวดา คือ ผูด​้ แู ล​ตน้ ไม้ ควบคุม​ความ​สมดุล​ของ​ธาตุ​ทั้ง 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ซึ่ง​


แสงจริง

ก็​เป็น​ปัจจัย​ที่​ทำให้​ทุกช​ ีวิต​ดำรง​อยู่ จริ ง ​ไ ม่ ​น้ อ ยกั บ ​ค ำ​ก ล่ า ว​ที่ ​ว่ า ‘ชี วิ ต ​เ ป็ น ​เ รื่ อ ง​ ศักดิ์สิทธิ์’ สำหรับ ‘การ​ทำ​พิธี​ผูก​ผ้า​บูชา​รุกขเทวดา ป่า​เขา​ บรรทัด’ เป็นก​ จิ กรรม​ทจ​ี่ ดั ข​ นึ้ เ​พือ่ ร​ กั ษา​ปา่ ผ​ นื น​ เ​ี้ อา​ไว้ โดย​ ใช้​มิติ​ทาง​ศาสนา​เข้า​มา​ช่วย ภาย​ใต้​ความ​เชื่อ​ของ​พี่​น้อง​ ประชาชน หรือผ​ ท​ู้ ต​ี่ อ้ งการ​เข้าม​ า​บกุ รุกท​ ำลาย​ปา่ ห​ รือโ​ค่น​ ต้นไม้ หาก​พบ​ตน้ ไม้ต​ น้ ใ​ด ถูกผ​ กู ผ​ า้ ไ​ว้ห​ มาย​ถงึ ไ​ม้ต​ น้ น​ นั้ ​ มีจ​ ติ ว​ ญ ิ ญาณ​ของ​สงิ่ ศ​ กั ดิส์ ทิ ธิ์ หรือ รุกขเทวดา​สงิ ส​ ถิตอ​ ยู่ ทำให้ไ​ม่​กล้า​ล่วง​เกิน หรือ​ตัด​ต้นไม้ต​ ้น​นั้น ระหว่าง​ที่​พระ​สงฆ์​และ​สามเณร​ทำ​พิธี​สวด​มนต์

85


86 เขาหัวช้าง

ฝ่าย​โต๊ะอิหม่าม​และ​ชาว​มสุ ลิมก​ น​็ งั่ อ​ ยูอ​่ กี ฝ​ งั่ ห​ นึง่ พวก​เขา ​สงบ​นิ่ง​ตั้งใจ​ฟัง​บท​สวด​ของ​พระ​สงฆ์ จาก​นั้น​ทาง​ฝ่าย​ อิสลาม​ก็​เริ่ม​สวด​บท​ดอู​ า เป็นการ​ขอ​พร​จาก​พระเจ้า พวก​เขา​ทอ่ ง​บท​สวด​คนละ​ภาษา คนละ​ทว่ งทำนอง แต่​ด้วย​ความ​เชื่อ​และ​เป้าประสงค์​เดียวกัน


แสงจริง

และ​มี​ศรัทธา​ใน​ชีวิต​เหมือน​กัน ระหว่าง​ทฟ​ี่ งั บ​ ท​สวด​ของ​ทงั้ 2 ศาสนา​สอด​ประสาน​ กัน ‘ท่าน​รอง’ ของ​ผม...เจ้า​นีม ก็​เดิน​มา​สะกิด​ไหล่ แล้ว ก​ระ​ซิบ​ข้าง​หู “พี่​อยาก​ดเู​งาะ​ป่า​มั้ย” เงาะ​ป่า!?

87


12 ‘ท่าน​รอง’ กึ่ง​กระชาก​กึ่ง​จูงมือ​ผม​วิ่ง​ลง​ทาง​ลาด ไป​ยัง​ กลุม่ ค​ น​ทก​ี่ ำลังม​ งุ ด​ อ​ู ะไร​สกั อ​ ย่าง แว​กม่าน​ผคู้ น​เข้าไป​จงึ ​ พบ​ครอบครัว​หนึ่ง พวก​เขา​มสี​ ี​ผิว​ดำ​คล้ำ ผม​หยิก​หยอย​ คล้าย​ก้นหอย​ติด​แนบ​ศีรษะ ริมฝ​ ีปาก​หนา โหนก​แก้ม​สูง​ แต่​โครง​หน้า​สั้น พวก​เขา​สวม​เสื้อผ้า​เห​มือ​น​กับ​ชาว​บ้าน​ ชาว​ชุมชน​ทั่วไป เพียง​แต่เ​ก่า​มอม​กว่า ชาติพันธุข์​ อง​พวก​เขา ‘ซาไก’ ชาว​มา​นิ หรือ ซาไก ตัง้ ​ถน่ิ ฐาน​กนั ​มาก​บริเวณ​​พืน้ ที่​ ป่า​เทือก​เขา​บรรทัด​ใน​เขต​เชือ่ ม​ตอ่ ​จงั หวัด​ตรัง พัทลุง สตูล ยะลา และ​นราธิวาส ภาษา​ของ​มา​นิ จัดอ​ ยูใ​่ น​ตระกูลอ​ สั เ​ลียน (Aslian) ซึง่ เ​ป็นภ​ าษา​ใน​กลุม่ ม​ อญ-เขมร ตระ​กล​ู ออ​สโ​ตร​


แสงจริง

เอเชีย​ติก ชนก​ลุ่ม​นี้​มี​เพียง​ภาษา​พูด​ไม่มภี​ าษา​เขียน​หรือ​ ตัว​อักษร คำ​ศัพท์​ส่วน​ใหญ่​จะ​เกี่ยวข้อง​กับ​สิ่ง​แวดล้อม​ และ​ธรรมชาติ เดิมที ชาว​มา​นิ​เป็นก​ลุ่ม​ชน​ที่​มี​วัฒนธรรม​แบบ​ หา​ของ​ป่า-ล่า​สัตว์​ใน​ผืน​ป่า​ที่​อุดม​สมบูรณ์ แต่​ปัจจุบัน​นี้ ปั จ จั ย ​ข อง​ค วาม​เ ปลี่ ย นแปลง​ภ ายนอก ทั้ ง ​ท าง​ด้ า น กายภาพ​และ​สงั คม ได้เ​ปลีย่ นแปลง​ให้ช​ นก​ลมุ่ น​ ม​ี้ ล​ี กั ษณะ​ การ​ดำรง​ชีวิต เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม​ที่​มี​วิถี​ชีวิต​แบบ​ เคลื่อน​ย้าย​อพยพ​หา​ของ​ป่า-ล่า​สัตว์​แบบ​ดั้งเดิม, กลุ่ม​ หา​ของ​ป่า-ล่า​สัตว์​กึ่ง​สังคม​หมู่บ้าน, กลุ่ม​สังคม​หมู่บ้าน​ เต็ม​รูป​แบบ เป็น​สังคม​โบราณ​ใน​โลก​ศตวรรษ​ที่ 21 ครอบครัวซ​ าไก​ครอบครัวน​ เ​้ี ดินท​ าง​มา​รว่ ม​พธิ ผ​ี กู ผ​ า้ ​บูชา​รุกขเทวดา ป่าเ​ขา​บรรทัด ครอบครัวน​ ี้​ประกอบ​ด้วย​ พ่อ แม่ และ​เด็ก​หญิง​วัย​ประมาณ 12-14 ปี 4 คน และ​มี​ เจ้าต​ วั เ​ล็กว​ ยั ป​ ระมาณ 4-5 ขวบ เหน็บข​ า้ ง​สะเอว​ผเ​ู้ ป็นแ​ ม่ พวก​เ ขา​ไ ด้ ​รั บ ​สั ญ ชาติ ​ไ ทย​แ ล้ ว มี ​น ามสกุ ล ​ว่ า ‘ศรีต​ ะ​โหมด’ คนใน​ตระกูลศ​ รีต​ ะ​โหมด​จะ​อาศัยอ​ ยูบ​่ ริเวณ​ น้ำตก​ทา่ ช้าง​แห่งน​ ี้ เมือ่ ป​ ี 2553 ‘ศรีต​ ะ​โหมด’ ได้แ​ ต่งงาน​ เกี่ยว​ดอง​กับ​ซาไก​ตระกูล ‘รักษ์​ป่า​บอน’ ซึ่ง​อาศัย​อยู่​ บริเวณ​เหนือ​อ่าง​เก็บ​น้ำ​คลอง​ป่าบ​ อน เมื่อ​ก่อน​ซาไก 1 กลุ่ม จะ​อยู่​กัน​ราวๆ 50 คน แต่​

89


90 เขาหัวช้าง

สภาพ​ป่า​ไม้​ใน​ปัจจุบัน​ไม่​เอื้อ​อำ​นวย​ให้​พวก​เขา​รวม​ชีวิต​ ใน​คราว​ละ​มากๆ จึง​แบ่ง​กลุ่ม​กัน​ไป​อยู่​อาศัย​ใน​ที่ที่อุดม​ สมบูรณ์ กลุ่มล​ ะ 15-20 คน โลก​ดึกดำบรรพ์​เหลือ​พื้นที่​น้อย​เหลือ​เกิน​ใน​พื้นที่​ โลก​สมัยใ​หม่ คำ​วา่ ด​ กึ ดำบรรพ์ก​ ำลังจ​ ะ​สญ ู พ​ นั ธุ์ ณรงค์ช​ ยั สง​ไข่ ผูท​้ ำงาน​คลุกคลีก​ บั ซ​ าไก​แถบ​เขา​บรรทัดม​ า 10 กว่าป​ ี มอง​เห็นค​ วาม​เปลีย่ นแปลง​ใน​ชวี ติ ด​ กึ ดำบรรพ์ข​ อง​พวก​เขา “การ​อยู่​การ​กิน​ของ​พวก​เขา​เปลี่ยน​ไป เมื่อ​ก่อน​ อาหาร​หลักก​ ค​็ อื ข​ ดุ ม​ นั ข​ น้ึ ม​ า​เผา แต่เ​ดีย๋ ว​นเ​้ี ขา​หงุ ข​ า้ ว​กนิ ก​ นั ” สิ่ง​ที่​น่า​ตกใจ​ไม่ใช่​ว่าช​ ีวิตด​ ึกดำบรรพ์ก​ ำลัง​สูญหาย ไม่ใช่​ว่า​วิถี​ชีวิต​ของ​ซาไก​เปลี่ยน​ไป เพราะ​ชีวิต​คือ​ความ​ เปลีย่ นแปลง วิถช​ี วี ติ ค​ อื ก​ าร​เปลีย่ นแปลง​และ​ปรับเ​ปลีย่ น แต่​สิ่ง​ที่​น่า​ตกใจ​ก็​คือ​สมุนไพร​ที่​พวก​เขา​เคย​ใช้​กัน​มา​ นมนาน เริ่มเ​สื่อม​สภาพ


แสงจริง

“เมื่ อ ​ก่ อ น​ส มุ น ไพร​บ าง​ตั ว เขา​กิ น ​แ ล้ ว ​ห าย ยา​สมุนไพร​ทำ​หน้าที่​ตาม​สรรพคุณ​ของ​มัน แต่​เดี๋ยว​นี้​ สมุนไพร​ตวั เ​ดิมท​ เ​ี่ คย​กนิ เ​คย​ใช้ เขา​กนิ แ​ ล้วไ​ม่ห​ าย เพราะ​ เขา​ได้​รับ​สาร​พิษจ​ าก​อาหาร​เรา​เอา​เข้าไป​ให้เ​ขา” ปัจจุบัน ซาไก​เป็น​แหล่งเ​รียน​รเู้​รื่อง​วิถี​ชีวิต แต่ค​ น​ เรียน​รก​ู้ ม​็ กั จ​ ะ​เอา​กรอบ​คดิ แ​ ละ​ความ​เคยชินข​ อง​ตนเอง​ไป​ ครอบ เลย​เถิด​ถึง​ขั้น​มอง​ว่า ชีวิตแ​ ละ​บ้าน​ของ​พวก​เขา​ใน​ ป่า​ลึก​เป็น ‘สวน​สนุก’ “เขา​ไม่​ชอบ​นะ เวลา​ที่​คน​ขึ้น​ไป​หา​เขา​แล้ว​เข้า​ไป​ นัง่ เ​ล่นใ​น​ทบั ข​ อง​เขา ไป​จบั ข​ า้ ว​ของ​ของ​เขา ขอ​อนุญาต​เขา​ หรือย​ ัง บางที​ข้าว​ของ​เขา​เสีย​หาย” ณรงค์ช​ ัยเ​ล่า ณรงค์​ชัย​กำลัง​ทำ​หลักสูตร​การ​เรียน​ภาษา​ไทย​ให้​ ซาไก ร้อย​เรียง​เรื่อง​ราว​ของ​ซาไก​จาก​เอกสาร​เก่า​ใน​สมัย​ รัชกาล​ที่ 5 ทีเ่​คย​มกี​ าร​ศึกษา​เรื่อง​ซาไก

91


92 เขาหัวช้าง

แสง​แฟลช​สว่าง​วาบ​ไม่​หยุด​หย่อน พวก​เขา​ยืน​พิง​ โคน​ไม้​ใหญ่เ​หมือน​หลัง​ชน​ฝา สายตา​มอง​กล้อง แต่​เรียว​ ปาก​ไม่​ปริ​ยิ้ม ดวงตา​ก็​ไม่​ยิ้ม กลุ่ม​นัก​ท่อง​เที่ยว​พยายาม​ บอก​ให้​พวก​เขา​ยิ้ม บาง​คน​เข้าไป​ยืน​โพส​ท่าโ​ดย​ย่อต​ ัว​ลง​ ต่ำ​เพื่อใ​ห้​เห็น​พวก​เขา​ยืน​เป็น​ฉาก​หลัง แวว​ตา​ที่​พวก​เขามอ​งก​ล้อ​ง​เป็น​แวว​ตา​ที่​ว่าง​เปล่า​ แต่​ก็​บรรจุ​คำถาม​ไว้​ใน​นั้น เด็ก​น้อย​ที่​สะเอว​แม่​ดู​จะ​ได้​รับ​ความ​เอ็นดู​จาก​นัก​ ท่อง​เทีย่ ว​มาก​ทสี่ ดุ แต่เ​ธอ​ไม่ย​ มิ้ ห​ วั ใ​ห้แ​ ก่ใ​คร​เลย จน​นาที ​ที่​เด็ก​ชาย​คน​หนึ่ง​ซึ่ง​เดิน​แนบ​ขา​มา​กับแ​ ม่ เด็ก​น้อย​น่า​จะ เ​ป็นเ​ด็กช​ าย​ไทย​พทุ ธ เหมือน​สอง​สายตา​ประสาน​กนั ไม่ม​ี คำ​พูด คน​หนึ่ง​พูด​ภาษา​ไทย อีก​คน​พูด​ภาษา​ใน​ตระกูล​ อัสเ​ลียน เรียว​ปาก​ของ​เด็ก​น้อย​บน​สะเอว​แม่​ค่อย​ปริ​ยิ้ม​ ออก​มา เหมือน​แสงแดด​เผย​เงา เมื่อ​ปาก​ยิ้ม​ดวงตา​ก็​ ยิม้ ต​ าม เด็กช​ าย​เขินอ​ าย​กอ่ น​จะ​ยมิ้ ต​ อบ เป็นร​ อย​ยมิ้ เ​ดียว​ ที่​เด็ก​น้อย​ยิ้ม​ให้​เด็ก​ชาย มัน​อาจ​เป็น​โลก​เฉพาะ​ระหว่าง​เด็ก โลก​ทภ​่ี าษา​เป็นส​ ง่ิ ไ​ม่จ​ ำเป็น เพียง​รอย​ยม้ิ ส​ อง​รอย​ยม้ิ ​แลก​เปลี่ยน​กัน และ​ดวงตา​สอง​สายตา​ประสาน​กัน เป็น​โลก​ที่​ผู้ใหญ่​อาจ​ต้อง​พลิก​ตำรา​เรียน​รู้


แสงจริง

13 ใน​ทัศนะ​ของ อำนาจ สม​เพชร รอง​ผู้​ช่วย​ผู้ใหญ่​บ้าน หมู่ 10 ต้นย​ างพารา​กค​็ ล้ายๆ ตูเ​้ อทีเอ็ม ไม่ใช่ค​ ดิ อ​ ยาก​กด​ ก็​ต้อง​กด กด​ไป​เถอะ​หาก​ใน​บัญชี​ธนาคาร​ปราศ​จาก​เงิน กด​ให้​ตาย​เงิน​ก็​ไม่​วิ่งป​ รู๊​ด​ออก​มา ที่​เหมือน​เพราะ​ต้อง​ลงแรง​รีด​เหงื่อ​จึง​จะ​กด​เงิน​ ออก​มา​ได้ “ยางพารา​ไม่​เหมือน​กับข้าว” เขา​เกริ่น “แรง​จูงใจ​ มัน​เยอะ​กว่า...เร็ว​กว่า ไป​เก็บ​น้ำ​ยาง​ช่วง​สาย​ก็ได้​เงิน​ เลย” “ระบบ​การ​ทำ​นา​กบั ย​ าง​ไม่เ​หมือน​กนั กระบวน​การ ​ข อง​ก าร​ป ลู ก ​ข้ า ว​มั น ​ซั บ ​ซ้ อ น​ก ว่ า ต้ น ทุ น ​ก าร​ผ ลิ ต ​ก็ ​ มากกว่า” บัง​สุบ-รอง​นายก​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัว​ช้าง กล่าว​เสริม​ใน​บท​สนทนา​วง​กาแฟ​เช้า​วัน​ใหม่ “ใช่ เรา​เก็บน​ ำ้ ย​ าง​เสร็จ ได้เ​งินเ​ลย ถ้าเ​ด็กม​ นั อ​ ยาก​ ได้เ​งิน เรา​กบ​็ อก​ให้ไ​ป​เก็บย​ าง​ไป​ขาย มันแ​ ก้ป​ ญ ั ห​ า​เฉพาะ​ หน้า​ได้” อำนาจ​บอก “เหมือน​ตู้​เอทีเอ็ม” ใคร​บาง​คน​แทรก “ใช่ๆ ตูเ้​อทีเอ็ม” นอกจาก​สวน​ยางพารา​แล้ว ชาว​บ้าน​เขา​หัว​ช้าง​ยัง​

93


มี​อา​ชี​พอื่นๆ บาง​คน​ทำ​เป็น​งาน​หลัก บาง​คน​ทำ​เป็น​งาน​ เสริม บาง​คน​ทำ​เพราะ​ใจ​รัก กาแฟ​หมด​แล้ว บังส​ ุบ​เลื่อน​กาน้ำ​ร้อน​มา​ให้ พวก​ เรา​ล้าง​ปาก​ล้าง​คอ​ก่อน​จะ​เริ่มต​ ้น​วัน​ใหม่

กลุ่ม​เพาะ​เห็ดน​ างฟ้า บ้านนา​แค

เมือ่ ก​ อ่ น สุม​ ติ ร​ า แก้วถ​ าวร ทำ​สวน​ทเุ รียน ปี 2535 ย้าย​มา​ตั้ง​หลัก​ปัก​ฐาน​ที่​เขา​หัว​ช้าง จึง​เริ่ม​เลี้ยง​ไก่​ขาว เลี้ยง​มา​ถึง​รุ่นท​ ี่ 5 ก็​ตาย​เรียบ ขาดทุนไ​ป​หลาย​แสน “พีก่​ ็​ ปรึกษา​กับ​แฟน​ว่า​จะ​ทำ​อะไร​กัน​ดี น้อง​ที่​เขา​เป็น​ครู​ก็​ แนะนำ​ให้​ทำ​เห็ด ก็​เลย​ลอง​ทำ​มา​ตั้งแต่ต​ อน​นั้น” ครั้ง​แรก สุ​มิต​รา​ลงทุน ​ผลิต​เชื้อ​วุ้น 500 ก้อน ได้​กำไร​มา 3,000 กว่า​บาท ปี 2549 สุ​มิต​รา​ปรึกษา​ แฟน​อยาก​ขยับ​ขยาย​กิจการ​โรง​เพาะ​เห็ด จึง​ตัดสิน​ใจ​ จด​ทะเบียน​เป็น​รัฐวิสาหกิจ แต่ต​ ้อง​มี​จำนวน​คน 10 คน​ ขึ้น​ไป “ตอน​แรก​มี 5 คน เพราะ​ไม่มี​ใคร​กล้า​เข้า​มา กลัว​ ไม่ไ​ด้อ​ ะไร เรา​กไ​็ ป​วงิ ว​ อน​ให้ม​ า​เข้าก​ ลุม่ ก็ได้ม​ า​อกี 5 คน” ถาม​ข่าว​จาก​สุ​มิต​รา ว่า 5 คน​ที่​วิงวอน​และ​ดึง​ เข้า​มา​ตอน​นี้ ‘โอ​เคมั้ย’ สุ​มิต​รา​หัวเราะ แทน​คำ​ตอบ​ว่า​ของ​มัน​เห็นๆ กัน​ อยู่ ว่า​กำไร​จาก​การ​เพาะ​เห็ดน​ ั้น​งาม​เพียง​ใด


แสงจริง

“กำ​ไร​ดีมยั้​ ” บัง​นิต​ร์​ถาม​ขึ้น “ดี​อย่าง​แรง” สุ​มิต​ราต​อบ​อย่าง​แรง จาก​นั้น​บัง​นิต​ร์​ก็​สอบถาม​ขั้น​ตอน​การ​เพาะ​เห็ด​ นางฟ้า ด้วย​ความ​สนใจ​สว่ น​ตวั เขา​อยาก​เพาะ​เห็ดไว้ท​ บ​ี่ า้ น บัง​สนใจ​เห็ด​อย่าง​แรง การ​เพาะ​เห็ด​นางฟ้า​มี​ระบบ​การ​ผลิต​แยก​ชัดเจน​ ได้​เป็น 4 ขั้น​ตอน​ด้วย​กัน เริ่ม​จาก​การ​ผลิต​เชื้อ​วุ้น แล้ว​ การ​ทำ​หัว​เชื้อ​เห็ด การ​ผลิต​เชื้อ​ถุง​หรือ​ก้อน​เชื้อ และ​การ​ เพาะ​ให้​เกิด​เป็น​ดอก​เห็ด การ​ลงทุนจ​ ะ​มาก​ใน​ขนั้ ต​ อน​ที่ 1 - 3 ส่วน​ขนั้ ท​ ี่ 4 คือ​ การ​ผลิตด​ อก​เห็ด จะ​ทำ​ขนาด​เล็กใ​หญ่เ​ท่าใด​กไ็ ด้ ไม่ต​ อ้ ง​ ลงทุนม​ าก หรือจ​ ะ​ดดั แปลง​จาก​โรง​เรือน​ อืน่ ๆ ทีม​่ อ​ี ยูแ​่ ล้ว และ​ทว​ี่ าง​อยูม​่ า​ใช้ได้ และ​ใน​ขนั้ ต​ อน​นี้ ผูท​้ ต​ี่ อ้ งการ​เพาะ​จะ​ ทำ​ครบ​ทกุ ข​ นั้ ต​ อน​เลย​กไ็ ด้ หรืออ​ าจ​จะ​ทำ​เป็นบ​ าง​ขนั้ ต​ อน เช่น จะ​ทำ​เฉพาะ​หัว​เชื้อ​เห็ด โดย​การนำ​ก้อน​เชื้อที่​ทำ สำเร็จรูป​แล้ว​มา​เปิดอ​ อก รดน้ำ​ให้เ​กิด​ดอก​เห็ดเลย​ก็ได้ “เมื่อ​ก่อน​ตอน​เรา​ทำ​เห็ด​ใหม่ๆ ขาดทุนอ​ ย่าง​แรง” สุ​มิตร​ าบ​อก “แต่เ​มื่อ​ศึกษา​ก็​ไม่เ​คย​ขาดทุน​อีก​เลย” ธุรกิจ​ที่​ไม่​เคย​ขาดทุน​เป็น​พร​อัน​สูงสุด​สำหรับ​คน​ ทำ​มา​หากิน สักพ​ กั เ​จ้าน​ ก​ขนุ ทอง​หรือ ‘ไอ้แ​ ก้ว’ นก​ของ​พส​ี่ ม​ุ ติ ร​ า ก็​ร้อง​เพลง...เพลง​ชาติ​ไทย

95


96 เขาหัวช้าง

‘ประเทศไทย​รวม​เลือด​เนื้อ​ชาติเ​ชื้อ​ไทย’ พี่​สุ​มิต​ราบ​อก​ว่า​เจ้า​นก​ตัว​นี้​มัน​ฟัง​เพลง​ชาติ​จาก​ ใน​ทีวี และ​เวลา​ที่​มี​แขก​มา​บ้าน มัน​จะ​เรียก​พี่​สุ​มิ​ต​รา​ให้​ ออก​มา​รับแขก นก​มัน​เรียน​รู้​จาก​คน บัง​สุบ บัง​นิต​ร์ และ​พี่​สุ​มิต​รา แหล่ง​ใต้​กัน​อย่าง​ ออกรส ว่าท​ ำ​อย่างไร​จะ​ให้ช​ าว​บา้ น​ทำ​อาชีพเ​สริมด​ ว้ ย​การ เ​พาะ​เห็ด เพราะ​กำไร​ดี ระหว่าง​ทไ​่ี ด้ค​ ลุกคลีก​ บั บ​ งั ท​ ท​่ี ำ​หน้าที​่ มีบ​ ทบาท​ใน​เทศบาล​เขา​หวั ช​ า้ ง เขา​ไม่ก​ ลัวเ​สียห​ น้าแ​ ขก​เห​รอ​่ื อ​ย่าง​ผม พวก​เขา​ค่อยๆ ต่อ​จิก​ซอว์ ทำ​อย่างไร​เด็ก​จะ​ เลิก​ติด ‘น้ำ​ท่อม’ ทำ​อย่างไร​จะ​ให้​ชาว​บ้าน​​ปลูก​เห็ด​ เพิ่ม​ราย​ได้ 7 ปี​ก่อน​ที่​ยางพารา​จะ​ได้ก​ รีด ผูเ้​ฒ่า 2 ท่าน​ที่​เป็น​ ผู้นำ​ยางพารา​เข้าม​ า​ใน​ชุมชน​ตะ​โหมด​เมื่อ​ปี 2460 ต้อง​ พิสจู น์ต​ วั เ​อง​และ​กลาย​เป็นค​ น ‘ทำ​อะไร​กไ​็ ม่ร’ู้ อยูต​่ งั้ 7 ปี ก่อน​ที่​ยางพารา​จะ​เปลี่ยน​วิถชี​ ีวิต​ผู้คน​ตะ​โหมด กรณี​ของ​พี่​สุ​มิต​รา​ก็​อาจ​จะ​เข้า​ข่าย​ยางพารา​ของ 2 ผู้​เฒ่า


แสงจริง

ข้อ​แนะนำ​ระบบ​การ​ตั้ง​ฟาร์ม​เห็ด

โดย สิริ​พร ทรัพย์อ​ ำนวย​พร โรงเรียน​สตรี​ศรี​สุ​ริ​โยทัย กรุงเทพมหานคร​

1.

เริ่ม​เรียน​รู้​วิธี​การ​กิน​เห็ด เรา​จะ​ทำ​ธุรกิจ​เห็ด​ต้อง​กิน​เห็ด​เก่ง ต้อง ​ปรุง​อาหาร​จาก​เห็ด​หลาย​ชนิด ทำให้​อร่อย​ด้วย สามารถ​แนะนำ​ผู้​ซื้อ ​เห็ด​ไป​ปรุง​เอง​ได้​อย่าง​มั่นใจ เช่น​นี้​ทำให้​เรา​พร้อม​ต่อ​การ​ขาย​เห็ด ผลิต​ดอก​เห็ด​ขาย 90 เปอร์เซ็นต์​ของ​ฟาร์ม​เห็ด​ที่​ทำ​อยู่​เริ่ม​จาก​ วิธี​นี้ โดย​ทำ​โรง​เรือน​ขนาด​ย่อมๆ เพื่อ​ใช้​เพาะ​เอา​ดอก​เห็ด ซื้อ​ถุง​เชื้อ​ จาก​ฟาร์ม​มา​ผลิต​ดอก โดย​หาความ​ชำนาญ​และ​ความ​รู้​ไป​เรื่อยๆ จน​เชี่ยวชาญ ขั้น​นี้​อย่า​เพิ่ง​ลงทุน​ทำ​ถุง​เชื้อ​เอง ให้​ซื้อ​ถุง​เชื้อ​จาก​ ฟาร์ม​ที่​ทำ​ขาย​ดี​กว่า เริ่ม​จา​กน้อยๆ ทยอย​ทำได้​เห็ด​มา​ก็​นำ​ไป​ ขาย​ตลาด ขาย​เอง​หรือ​ส่ง​แม่ค้า​ก็ได้ ขยาย​ตลาด​ดอก​เห็ด​เพิ่ม​มาก​ ขึ้น​ไป​เป็น​ลำดับ จน​ตลาด​ใหญ่​ขึ้น​และ​สม่ำเสมอ​ดีแล้ว​จึง​คิด​ผลิต​ ถุง​เชื้อ แต่​ถ้า​ตลาด​ไป​ไม่​ได้​ก็​หยุด​แค่​นั้น​ไม่​ขาดทุน​มาก ผลิต​ถุง​เชื้อ​เห็ด ถ้า​ตลาด​รับ​ซื้อ​เห็ด​และ​ถุง​เชื้อ​มาก​พอ จึง​ตั้ง​ หน่ ว ย​ผ ลิ ต ​ถุ ง ​เ ชื้ อ​ไ ด้ แต่ ​ถ้ า ​ค ำนวณ​ว่ า ​ซื้ อ ​ถุ ง ​ถู ก ​ก ว่ า ​ผ ลิ ต ​เ อง​ก็ ​ ไม่​ควร​ทำ ควร​ไป​ดู​ฟาร์ม​ทำ​ถุง​เชื้อ​หลายๆ ฟาร์ม แล้ว​มา​คำนวณ​ว่า​ เครือ่ ง​มอื แ​ ละ​วธิ ก​ี าร​แบบ​ใด​ดท​ี สี่ ดุ เตรียม​การ​เอา​คน​คมุ ง​ าน​ไป​ฝกึ งาน​ ใน​ฟาร์ม หรือ​ติดต่อ​จ้าง​คน​ชำนาญ​ใน​ฟาร์ม​เก่า​มา​ทำ​ฟาร์ม​ใหม่ ขั้น​ตอน​นี้​ก็​ควร​ซื้อ​เชื้อ​ข้าว​ฟ่าง ยัง​ไม่​ควร​ทำ​เอง การ​ลงทุน​ขนาด​เล็ก​ จะ​ใช้​หม้อ​ต้ม​ไอ​น้ำ​ต่าง​หาก (สตีม​เมอร์) แล้ว​ต่อ​ท่อ​มา​อบ​ถุง​ขี้​เลื่อย​ ใน​อีก​หม้อ​ต่าง​หาก ถ้า​งาน​นี้​มาก​ขึ้น​เรื่อยๆ จน​เห็น​สมควร แล้ว​ค่อย​ ผลิต​เชื้อ​ข้าวฟ่าง​และ​ซื้อ​วุ้น​ต่อ​ไป ผลิต​เชื้อ​วุ้น​และ​เชื้อ​ข้าว​ฟ่าง เริ่ม​ทำ​เมื่อ​งาน​ฟาร์ม​มี​ขนาด​ใหญ่​ มาก สำหรับ​ระยะ 1 - 2 ปี ที่​ผ่าน​มา​นั้น ถ้า​ยัง​ไม่​ทำ​เชื้อ​วุ้น​และ​เชื้อ​ ข้าว​ฟา่ ง​มา​กอ่ น ก็ไ​ ม่ค​ วร​ทำ​ขนึ้ ใ​ หม่ มีผ​ ท​ู้ ำ​ขาย​มาก​อยูแ​่ ล้ว ซือ้ เ​ขา​ใช้ด​ ​ี กว่า นอกจาก​จะ​ห่าง​ไกล​ซื้อ​ยาก​จริงๆ แล้ว​ต้อง​ใช้​มาก​จึง​ค่อย​ทำ

2.

3.

4.

97


98 เขาหัวช้าง

กลุ่ม​โรตี​กรอบ

เมือ่ ก​ อ่ น ป้าส​ ม​จติ ร ปราบ​ปรี เป็นแ​ ม่คา้ ทำ​นำ้ ยา​ ล้าง​จาน หน่อ​ไม้​ดอง แต่ “เฮ้อ มันส​ ู้​ท้อง​ตลาด​ไม่​ได้” แต่​ก่อน​ที่ ป้า​สม​จิตร จะ​เข้า​มา​ดำรง​ตำแหน่ง ‘เจ๊ใ​หญ่’ หรือป​ ระธาน​กลุม่ โ​รตีก​ รอบ ปี 2536 มีก​ าร​จดั ต​ งั้ ​ กลุ่ม​การ​แปรรูป​อาหาร​จาก​ของแห้ง​และ​ผลิตภัณฑ์​จาก ​ถั่ว​ลิสง แต่​ไม่​ประสบ​ผล​สำเร็จ ถึง​เจ๊ง​ก็​ไม่​กลัว ปี 2541 จึง​เริ่ม​กิจกรรม​การ​ ออม​ทรัพย์ค​ วบคูก​่ บั ก​ าร​แปรรูปผ​ ลผลิตท​ างการ​เกษตร​ทม​ี่ ี ​อยู่​ใน​ท้อง​ถิ่น กล้วย​ฉาบ ถั่ว​ลิสง​เคลือบ​เงา และ​เสริม​ ด้วย​โดนัท กะหรี่​ปั๊บ และ​โรตี​กรอบ ผล​คือ​สมาชิก​มี​ ราย​ได้​เสริม ป้า​สม​จิตร​เข้า​มา​เป็น​ประธาน​กลุ่ม​ปี 2542 แล้ว​ก็​ เกิด​ความ​เปลี่ยนแปลง


แสงจริง

“เรา​ทำ​โรตี​กรอบ​มา​ก่อน​หน้า​นี้ เริ่ม​จาก​ลอง​ผิด ลอง​ถูก ปรากฏ​ว่าค​ น​เริ่ม​ติด โรตีก​ รอบ​ติด​ตลาด พวก​เรา​ จึง​ดัน​โรตี​กรอบ​เป็น​สินค้า​หลัก” โรตี​กรอบ​ของ​กลุ่ม​มี กลิ่น​ใบ​เตย ฟักทอง งา​ดำ งา​ขาว แครอท และ​สินค้า​เสริม​อย่าง​กะ​หรี่​ป๊บ​ไส้​ปลา ไส้​ถั่ว​เหลือง แต่​กว่า​จะ​ค​รี​เอท​โรตี​กลิ่น​ฟักทอง​ได้​มัน​ก็​ต้อง​ผ่าน​ การ ‘ลอง​ผิด’ มา​ก่อน ‘ลอง​ถูก’ “เรา​ใช้ก​ าร​ลอง​ดว​ู า่ โ​รตีร​ ส​แครอท มันน​ า่ จ​ ะ​มส​ี ส​ี วย​ นะ ก็​ลอง​ทำ​ออก​มา​โดย​จินตนาการ​ก่อน จินตนาการ​ถึง​ สีข​ อง​มัน พอ​ออก​มา​ก็​สวย​และ​อร่อย” ออร์เด​อร์​โรตี​กรอบ​ของ​ทาง​กลุ่ม​มี​ออร์เด​อร์​จาก​ หาดใหญ่ กรุงเทพฯ และ​ที่​อื่นๆ “เดือน​หนึ่ง​หัก​ต้นทุน​ แล้ว​ก็​เหลือ 50,000 บาท”

99


100 เขาหัวช้าง

ตอน​นี้​โรตี​กรอบ​ของ​ทาง​กลุ่ม​ได้​รับ​เครื่องหมาย ‘ฮา​ลาล’ และ​เป็น​สิน​ค้า​โอ​ทอ็​ ปร​ะ​ดับ 3 ดาว มีก​ าร​ทำ​ธรุ กิจอ​ ยู่ 2 แบบ แบบ​แรก ยืนยันใ​น ‘ของ’ ที่​เรา​ทำ แล้ว​รอ​ให้​ตลาด​ยอมรับ​ของ​ของ​เรา แบบ​หลัง ปรับ​ตัว​และ​ดู​ทิศทาง​ของ​ตลาด กลุ่ม​โรตี​กรอบ​น่า​จะ​เป็น​แบบ​ หลัง แต่ ​ทั้ ง นี้ ​ทั้ ง ​นั้ น ​ไ ม่ ​ว่ า ​จ ะ​ แบบ​แรก​หรือ​หลัง ก็​ต้อง​ทำ​เหมือน​ที่​ ป้า​สมจิต​รบ​อก​ว่า “ทำ​สุด​แรง”

กลุ่ม​เลี้ยง​ผึ้ง

แต่ ​โ บ​ร่ ำ ​โ บราณ น้ อ ย​ค น​นั ก ​ที่ ​จ ะ​เ ชื่ อ​ว่ า ‘คน’ สามารถ ‘เลี้ยง​ผึ้ง’ ได้ เริ่ม​จาก​ศึกษา​ผึ้ง​รวม​ถึง​งาน​วิชาการ​เกี่ยว​กับ​การ​ เลี้ยง​ผึ้ง “แต่​ก็​ยัง​ไม่​ชำนาญ เรา​ลอง​ผิด​ลอง​ถูก​ตาม​หลัก​ วิชาการ” แดง ไชย​สงคราม หรือ ยี​หมา​น ประธาน​ กลุ่มเ​ลี้ยง​ผึ้ง​เล่า ก่อน​หน้าที่​จะ​มี​กลุ่ม​เลี้ยง​ผึ้ง ผึ้ง​มัก​จะ​มา​อยู่​ตาม​ บ้าน อาศัย​อยู่​ตาม​โพรง​ไม้ เรียก​ว่า ‘ผึ้ง​โพรง’ ยีห​มาน​ จึง​เริ่ม​คิด​กับ​เพื่อน​ผู้​สนใจ​ผึ้ง​ว่า “ทำ​อย่างไร​เรา​จะ​ใช้​


แสงจริง 101

ประโยชน์​จาก​ผึ้ง” วิธกี​ าร​ของ​ยหี​ มา​นค​ ือ ศึกษา ศึกษา และ​ศึกษา จึง​ พบ​วา่ ส​ ามารถ​เลีย้ ง​ผงึ้ ไ​ว้ใ​น​ลงั ไ​ด้ ก่อน​ทจ​ี่ ะ​ลง​สนาม​ไป​ให้​ ผึ้ง​ต่อย​เล่น​จน ‘ชำนาญ’ ลัง​สำหรับ​เลี้ยง​ผึ้ง​จะ​ต้อง​ใช้​ไม้​ที่​หมด​กลิ่น​แล้ว เพราะ​ถ้า​ใช้​ไม้ใ​หม่ๆ สดๆ ผึ้ง​จะ​ไม่​อยู่ สำหรับ​ทำ​ทำเล​ ที่​ตั้ง​ลัง จะ​ต้อง​เป็น​ที่​ชื้น มี​ไม้​ดอก จาก​นั้น​ก็​รอ รอ​ผึ้ง​มา จาก​การ​ศกึ ษา​ผงึ้ ท​ ำให้ย​ ห​ี มา​นเ​รียน​รแ​ู้ ละ​เข้าใจ​ผงึ้ เรื่อง​เล่า​เกี่ยว​กับ​ผึ้ง​ที่​หลุด​จาก​ปาก​ของ​ยี​หมา​น​ฟัง​สนุก​ และ​ฟัง​เพลิน​เหมือน​นัก​ร้อง​กำลัง​ร้อง​เพลงให้​ฟัง “โดย​ธรรมชาติ ผึ้ง​มัน​จะ​เลือก​ที่​อยู่​เอง มัน​จะ​ไป​ สำรวจ​หา​ที่​อยู่​ก่อน โดย​มี​หน่วย​ลาด​ตระเวน 2- 3 ตัว พอ​มนั เ​จอ​ทำเล​เหมาะ​แก่ก​ าร​อยูอ​่ าศัยแ​ ล้ว พรรค​พวก​ตวั ​


102 เขาหัวช้าง

อื่นๆ ก็​จาก​ตาม​มา แต่ก​ ็​มี​นะ ที่​พอ​ผึ้ง​มัน​มา​สำรวจ แล้ว​ พรรค​พวก​มนั ก​ เ​็ ข้าม​ า​อยูเ​่ ต็มฝ​ งู เ​ลย แต่ร​ งุ่ ข​ นึ้ ม​ นั ก​ ลับห​ าย​ ไป​หมด คือพ​ อ​มา​อยูม​่ นั ค​ ง​รสู้ กึ ไ​ม่ป​ ลอดภัย บ้าน​หลังน​ อ​ี้ ยู​่ แล้ว​ไม่มี​ความ​สุข” ยีห​ มา​นขับ​ขาน​ทำนอง​เพลง​ผึ้ง ใน​ฝงู ผ​ งึ้ จ​ ะ​มก​ี าร​แบ่งง​ าน​กนั ท​ ำ​ตาม​ชว่ ง​อายุ ใน​ฝงู ​ ผึ้ง 1 ฝูง​จะ​มี ‘นางพญา​ผึ้ง’ เป็น​ผู้นำ จะ​มี​ผึ้ง​ตัวผู้ 1 ตัว​ ที่​ทำ​หน้าที่​ผสม​พันธุ์ และ​มี​ผึ้ง​งาน​ที่​จะ​ได้​รับ​มอบ​หมาย​ งาน​ตาม​ขวบ​วัย​ที่​เติบโต ผึ้ง​อายุ 22-24 วันจ​ ะ​เริ่มง​ าน​แรก​ใน​ชีวิตด​ ้วย​การ​ ปัด​กวาด​เช็ด​ถู​รัง หาก​มีอายุ​โต​ไป​อีก​หน่อย​คือ​ระหว่าง 25-31 วัน ภาระ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ก็​มาก​ขึ้น​คือ​ต้อง​คอย​ ดูแล​ตัว​อ่อน อายุ 32-36 วัน ผึ้ง​งาน​ผ่าน​โลก​มา​มาก​ รู้จัก​วิธี​การ​ซ่อมแซม​รัง​ก็​จะ​รับ​บท​นาย​ช่าง ส่วน​ผึ้ง​งาน​ ที่​ประสบการณ์​มาก ระหว่าง 37-41 วัน ก็​มีหน้า​ที่​ ป้องกัน​รัง


แสงจริง 103

“ถ้า​บ่าว​น้อง​โดน​ผึ้ง​ต่อย​ให้​รู้​ไว้​เลย​ว่า ผึ้ง​ตัว​นั้น​ มีอายุ​ประมาณ 40 กว่าว​ ัน ผึ้งท​ หาร” ยีห​ มา​น​ให้​ความ​รู้ สัก​พัก-ยี​หมา​น​ยก​รัง​ผึ้ง​แช่​เย็น​มา​เสริม หวาน​จน ​มด​ไต่ พลาง​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า ผึ้ง​ปราก​ฏ​ใน​อัล​กุล​อาน เป็น​ ยา​รักษา​โรค “เวลา​เรา​โดน​ต่อย มันเ​ป็น​ยา​นะ สรรพคุณ​คือ​แก้​ ภูมิแพ้ แต่​ก็​เหมือน​ยา ถ้า​กิน​มาก​ไป​ร่างกาย​ก็​รับ​ไม่​ไหว ถ้า​มาก​เกิน​ก็​อันตราย” ยี​หมา​นบ​อก ทำไม​ผึ้ง​ตัว​หนึ่ง​จึง​เกิด​มา​เป็น ‘นางพญา’ เกิด​มา​ เป็นผ​ นู้ ำ ทำไม​ผงึ้ ต​ วั อ​ นื่ ๆ จึงเ​ป็น ‘ผึง้ ง​ าน’ หลาย​วนั ท​ ผ​ี่ ม​ อยูท​่ เ​ี่ ขา​หวั ช​ า้ ง ซึมซับเ​รือ่ ง​ราว​ของ​คน​ทน​ี่ ี่ ศึกษา​ความ​เชือ่ ​ ความ​ศรัทธา​ที่​ไม่​คุ้น​เคย ถ้า​ให้​เดา​เงียบๆ ใน​ใจ น่า​จะ​เป็น ​ผล​งาน​ของ​ พระเจ้า


104 เขาหัวช้าง

14 คล้าย​มัสยิด​ควนอิน​นอ​โม​ที่​จำหน่าย​กิจกรรม​และ​จัด​ สวัสดิการ​แก่​ชาว​บ้าน​ใน​หมู่ 7 แต่ ‘สภา​ลาน​วัด’ นั้น​จะ​ ครอบคลุม​กิจกรรม​ใน​ภาพ​กว้าง​กว่า ครอบคลุม​ทั้ง​ชีวิต​ ใน​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง ใน​ภาพ​กว้าง-สภา​ลาน​วัดป​ ระกอบ​ด้วย ผู้คน​ทั้ง 2 ศาสนา​ที่​อยู่​ร่วม​กัน​ใน​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง ทั้ง​ไทย​พุทธ​และ​ มุสลิม สภา​ลาน​วดั เ​กิดข​ นึ้ จ​ าก​คน 3 ฝ่าย องค์กร​ชาว​บา้ น องค์กร​ทาง​ศาสนา และ​องค์กร​ทาง​ราชการ องค์ป​ ระกอบ​ ของ​สภา​ลาน​วัด มีระดับ​สมาชิก​สภา-ชาว​บ้าน ศาสนา ข้าราชการ เข้า​มา​ช่วย​ผลัก​ดัน​ปัญหา​ไป​สู่​การ​แก้ไข เพียง​ แจ้ง​เจตจำนง​ว่า​อยาก​แก้ไข​ปัญหา​ใด สภาพ​สมาชิกก​ ็​เกิด​


แสงจริง 105

ขึ้น​บัดนั้น กรรมการ-คือต​ ัวแทน​ทั้ง 3 ฝ่าย และ​ที่​ปรึกษา​ สภา-ผู้ทรง​คุณวุฒิ หรือห​ ัวหน้าส​ ่วน​ราชการ สภา​ลาน​วัด เป็น​สถาน​ที่​ที่​ชาว​บ้าน​มา​ประชุม​กัน​ ที่​ลาน​วัด ชุมชน​ตะ​โหมด​หรือ​เขา​หัว​ช้าง​ใช้​สถาน​ที่ทาง​ ศาสนา​เป็น​ศูนย์กลาง​ใน​การ​ประชุม เวลา​มี​ปัญหา​ที่​ ต้องการ​การ​ไกล่​เกลี่ย​ก็​จะ​ใช้​วัดเ​ป็น​สถาน​ที่ ลุง​วรรณ ขุน​จันทร์ เล่า​ให้​ฟัง​ว่า สมัยก​ ่อน​เวลา​มี​ ปัญหา​ที่​ต้องการ​การ​ร่วม​ไม้ร​ ่วม​มือ ปรึกษา​หารือ​จึง​จะ​มี​ การ​ประชุม​เกิด​ขึ้น หรือ​เรียก​แบบ​ลำลอง​ว่า ‘ประชุม​ราย​ ปัญหา’ เมื่อ​ปัญหา​ทเี่​กิด​ขึ้น​ผ่าน​การ​พูด​คุย หา​ทาง​แก้ไข ​จน​ลุล่วง​ได้​ด้วย​ดี ก็​มี​การ​พูด​คุย​กัน​ว่า “เรา​น่า​จะ​มา​ ประชุม​กัน​ทุก​เดือน​เลย​จะ​ดี​กว่า” เพื่อห​ า​ข้อ​ตกลง​ใน​การ​ อยู่​ร่วม​กัน “เรา​ก็​คิด​หา​ชื่อ” ลุง​วรรณ​ไข​ที่มา​ชื่อ สภา​ลาน​วัด “มัน​มี​รูป​แบบ​เหมือน​สภา แล้ว​พวก​เรา​ก็​คุย​กัน​ที่​ลาน​วัด ใต้​ต้น​ประดู่ จึงใ​ช้​ชื่อ สภา​ลาน​วัด” สภา​ลาน​วัด​จะ​ออกแบบ​กิจกรรม​การ​อยู่​ร่วม​กัน​ และ​กิจกรรม​ที่​จะ​ส่ง​เสริม​คุณภาพ​ชีวิต​ชาว​เขา​หัว​ช้าง​ ครอบคลุม​ทุก​ด้าน ด้าน​สังคม เศรษฐกิจ การ​ศึกษา ศาสนา และ​วัฒนธรรม และ​ทรัพยากรธรรมชาติ​และ ​สิ่ง​แวดล้อม “ตอน​นี้​ฝ่าย​การ​ศึกษา​กำลัง​ร่าง​หลักสูตร​ตะ​โหมด​


ศึกษา” ลุง​วรรณ​เปรย​อย่าง​ตื่น​เต้น หลักสูตร ‘ตะ​โหมด​ศกึ ษา’ มีส​ าระ​สำคัญค​ รอบคลุม​ เรื่อง​ราว​ทาง ‘ภูมิศาสตร์​ทาง​สังคม’ “เรา​ตั้ง​อยู่​ส่วน​ไหน​ ของ​เทือก​บรรทัด สูง​จาก​ระดับ​น้ำ​ทะเล​เท่าไร ติด​กับ​ ใคร​บ้าง” ‘ประวัตศิ าสตร์แ​ ละ​พฒ ั นาการ’ – “เรา​ตง้ั บ​ า้ น​เรือน​ เมือ่ ไร พัฒนาการ​มา​ถงึ ว​ นั น​ เ​้ี ป็นอ​ ย่างไร เรา​ตอ้ ง​รจู้ กั ต​ วั เ​อง” ลุงว​ รรณ​บอก ยังม​ ส​ี ว่ น​ของ ‘มรดก​ทาง​วฒ ั นธรรม’ ลักษณะ​ อาหาร​การ​กิน ศิลปะ​การ​แสดง สถาปัตยกรรม เหล่า​นี้​ มี​ลักษณะ​เฉพาะ​อย่างไร และมีอะไรเป็น ‘เอกลักษณ์​ ของ​ท้อง​ถิ่น’ “ถ้า​มอง​ภูเขา​จาก​ทิศ​ตะวัน​ตก​จะ​เห็น​ภูเขา​เหมือน​ รู ป ​ช้ า ง​ห มอบ” ลุ ง ​ว รรณ​บ อก “นี่ ​คื อ ​สั ญ ลั ก ษณ์ ​ข อง​ เขา​หัว​ช้าง ใคร​คิด​จะ​ไป​ตัด​ไม้​ทำลาย​ป่า​ไม่​ได้ เพราะ​ เท่ากับ​ทำลาย​เอกลักษณ์​ของ​เขา​หัว​ช้าง” วิถช​ี วี ติ ข​ อง​ชาว​เขา​หวั ช​ า้ ง​ลว้ น​ผกู พันอ​ ยูก​่ บั ส​ ายน้ำ เขา​หัว​ช้าง​เป็นช​ ุมชน​ต้นน้ำ ลำคลอง​ทุกส​ าย​จะ​ผ่าน​ไป​ยัง​ ทะเลสาบ​สงขลา “ฉะนัน้ ป​ า่ ไ​ม้เ​ป็นท​ รัพยากรธรรมชาติท​ ี่ ส​ ำคัญข​ อง​ทน​ี่ ี่ เมือ่ ม​ ป​ี า่ ก​ ม​็ น​ี ำ้ มีน​ ำ้ ก​ ส​็ ามารถ​ทำการ​เกษตร ​หล่อ​เลี้ยง​ชีวิต เรา​พยายาม​ทำให้เ​ห็น​ความ​สำคัญ​ของ​ป่า อย่าง​การ​บชู า​รกุ ขเทวดา ก็เ​ป็นการ​ออก​อบุ าย​วา่ ม​ เ​ี ทวดา​ ใน​ต้นไม้น​ ะ เมื่อ​ป่าอ​ ุดม​สมบูรณ์ ก็ม​ ี​การ​ท่อง​เที่ยว แต่​มี​


แสงจริง 107

ข้อแม้​ว่า​ต้อง​เป็นการ​ท่อง​เที่ยว​เชิง​อนุรักษ์” ลุง​วรรณ​เล่า ลอง​ไป​คุยเ​รื่อง​ป่าเ​รื่อง​น้ำก​ ับค​ นใน​เขา​หัวช​ ้าง แล้ว​ จะ​สัมผัส​ได้​ถึง​การ​เป็น ‘พวก​เดียวกัน’ พวก​เดียวกัน​ใน​ การ​มเี​ป้า​หมาย​ร่วม​กัน มี​ความ​ต้องการ​ร่วม​กัน ลุง​วรรณ​ถือ​พุทธ แต่​บัง​ซี​ถือ​อิสลาม แต่​ทั้ง​สอง​ก็​ อยาก​เห็นป​ า่ ไ​ม้อ​ ดุ ม​สมบูรณ์ อยาก​ให้เ​ขา​หวั ช​ า้ ง​เป็นเ​มือง​ ท่อง​เที่ยว​เชิง​อนุรักษ์ “มี​คำขวัญ​ด้วย​นะ” ลุง​วรรณ​ว่า “คำขวัญ​อะไร​ครับ?” “สภา​ลา​นวัดน่ะ” ลุง​วรรณ​เฉลย “สร้าง​ปัญญา พัฒนา​สังคม ระดม​ความ​คิด เพื่อ​ชีวิต​ประชาชน” ลุงว​ รรณ​เกิดเ​มือ่ ป​ ี 2476 ขณะ​ทช​ี่ มุ ชน​ตะ​โหมด​ตงั้ ​ มาส​มยั อ​ ยุธยา แต่เ​รือ่ ง​ราว​ทล​ี่ งุ ว​ รรณ​เล่า เล่าอ​ อก​มา​โดย​ ไม่มเ​ี อกสาร​กำกับห​ รือค​ อย​ยำ้ เ​ตือน​ความ​จำ เรือ่ ง​เล่าเ​กีย่ ว​ กับ​ประวัติศาสตร์​ชุมชน​ที่​ลุง​วรรณ​เล่า​ชัดเจน​และ​คงจะ​ แจ่ม​ชัด​ใน​ความ​รู้สึก เพราะ​มัน​ประทับ​ฝัง​แน่น​ใน​ใจ​แก เป็น 1 คำถาม​ใน​หลาย​คำถาม​ใน​ชีวิต​ที่​มนุษย์​ ทุก​คน​อยาก​รู้​ว่า ‘เรา​คือ​ใคร’ กลุม่ ค​ น​ทเ​ี่ ข้าม​ า​ตงั้ ถ​ นิ่ ฐาน​ใน​ยคุ แ​ รกๆ เป็นช​ าว​ไทย​ มุสลิม มีผ​ นู้ ำ​ชอื่ ว​ า่ ‘หมูด​ ’ มีฐ​ านะ​เป็นโ​ต๊ะอิหม่าม หลักฐ​ าน ​อ้างอิง​ว่า​ชาว​มุสลิม​เป็นก​ลุ่ม​แรกๆ ใน​ชุมชน​นี้ คือ​ว่า​ สิ่ง​ที่​เป็น​ธรรมชาติ​เป็น​ชื่อ​มุสลิม​ทั้ง​สิ้น เช่น หนอง​น้ำ


108 เขาหัวช้าง

หนอง​โต๊ะ​โล่ง หนอง​ตะ​อ่อน ห้วย​โต๊ะ​เล็ม ห้วย​ทุ่ง​แขก นา​ย่า​เจ๊​ะ คำ​ว่า ‘โต๊ะ’ ขึ้น​หน้า​ต้อง​เป็น​มุสลิม นอกจาก​นน้ั แ​ ล้วใ​น​วดั ต​ ะ​โหมด​ใน​สมัยก​ อ่ น​เป็นก​ โ​ุ บร์ ที่​ฝัง​ศพ​ของ​พี่​น้อง​มุสลิม ทาง​ทิศ​ตะวัน​ออก​ของวัด​ก็​มี​ สุเหร่าส​ ำหรับบ​ ำเพ็ญก​ จิ ท​ าง​ศาสนา ต่อม​ า​เมือ่ ค​ น​อพยพ​ ย้าย​เข้า​มา​มาก​ขึ้น พี่​น้อง​มุสลิม​ก็​ย้าย​ไป​อยู่​รอบ​นอก กุ​โบร์​ก็​ต้อง​ย้าย​ไป​อยู่​ใกล้​บ้าน “ชาว​ไทย​พุทธ​เข้า​มา​อยู่​มาก ที่​ตรง​นี้​จึง​เป็น​กุ​โบร์​ ที่​ร้าง​ไป พระ​ธุดงค์​รูป​หนึ่ง​หลวง​พ่อ​เปีย​เดิน​ทาง​มา​จาก​ สะ​ทิง​พระ สงขลา ท่าน​มา​เห็น​ป่าช้า​ร้าง​เหมาะ​ทำ​กิจ​ ของ​สงฆ์ ก็​เลย​เอา​ป่าช้า​มา​ทำ​สำนักสงฆ์ ราว​ปี 2420 กว่ า ตะ​โ หมด​ใ น​ส มั ย ​ก่ อ น​ที่ ​บ้ า น​หั ว ​ช้ า ง​มี ​ไ ทย​พุ ท ธ ร้อยเปอร์เซ็นต์” ลุง​วรรณ​เล่า สมัย​ก่อน​ที่​นี่ (ตะ​โหมด) มี​พี่​น้อง​ไทย​มุสลิมร้อย เปอร์เซ็นต์ ต่อ​มาส​ลับ​ด้วย​การ​อพยพ​ย้าย​ถิ่น​ปัจจุบัน​ที่​ เขา​หัวช​ ้าง​มไี​ทย​มุสลิมอ​ ยู่ 100 ทีต่​ ะ​โหมด​มไี​ทย​พุทธ​เข้า​ มา​อยู่ร้อยเปอร์เซ็นต์ “แต่​อย่างไร​ก็ตาม​ระหว่าง​ไทย​พุทธ-มุสลิม​เรา​คือ​ พี่​น้อง​กัน เป็น​พี่​น้อง​กัน​โดย​สาย​เลือด อย่าง​ลุง​นามสกุล​ ขุน​จันทร์ พี่​น้อง​มุสลิม​ใช้​นามสกุล​นี้ 50 เปอร์เซ็นต์ ไทย​ พุทธ​ก็ 50 เปอร์เซ็นต์ แสดง​วา่ เ​รา​มบ​ี รรพบุรษุ ร​ ว่ ม​กนั เรา​


แสงจริง 109

เป็นส​ าย​เลือด​เดียวกัน บาง​คน​ไป​แต่งงาน​กบั ช​ าว​มสุ ลิมไ​ง ก็​เลย​นับถือ​อิสลาม ต้น​ตระกูล​ของ​เรา​เป็น​มุสลิม 2 ไทย​พุทธ 2 เรา​เป็น​เครือ​ญาติ​กัน ใน​ชุมชน​ตะ​โหมด​จึง​ ไม่มี​เรื่อง​ขัด​แย้งก​ ัน” อะไร​ทำให้​คน​คน​หนึ่ง​ได้​ชื่อ​ว่าเ​ป็น ‘ปราชญ์’ อะไร​ ทำให้​คน​คน​หนึ่ง​เป็น ‘ปราชญ์’ ใช่​หรือ​ไม่​วา่ ม​ นั ​ตอ้ ง​อาศัย​ เหตุแ​ ละ​ปัจจัย ลุงว​ รรณ​เพิง่ ไ​ด้ร​ บั ด​ ษุ ฎีบ​ ณ ั ฑิตก​ ติ ติมศักดิ์ สาขา​วชิ า​ พัฒนา​ชุมชน มหาวิทยาลัยท​ ักษิณ แก​ถูก​เชิญ​ไป​บรรยาย​ ให้น​ กั ศึกษา​ฟงั ม​ า​ตงั้ แต่ป​ ี 2522 ภายใน​หวั ข้อก​ าร​จดั การ​ องค์กร ทรัพยากรธรรมชาติ รวม​ถึง​ยางพารา ลุง​วรรณ​จบ​ชั้น ป.4 คน​หนุ่ม​คน​สาว​ที่​มี​ใจ​รัก​งาน​พัฒนา​ชุมชน​จึง​แวะ​ เวียน​มา​ขอ​ความ​รู้​จาก​แก​ชนิด ‘หัวก​ ระได​ไม่​เคย​แห้ง’ บ่าย​วนั น​ นั้ ห​ ลังพ​ ดู ค​ ยุ ก​ บั แ​ ก​เสร็จ มีค​ น​หนุม่ ค​ น​หนึง่ ​ มา​หา​ลุง​วรรณ​ทบี่​ ้าน ฝน​เริ่ม​ลง​เม็ดห​ นัก จน​พวก​เรา​ติด​ อยูใ​่ น​บา้ น​ของ​แก คน​หนุม่ ค​ น​นนั้ ล​ ว้ ง​โทรศัพท์ม​ อื ถ​ อื อ​ อก​ มา​เปิด​เพ​ลงๆ หนึ่งใ​ห้ล​ ุง​วรรณ​ฟัง ท่วงทำนอง​แบบ​เพลง​ ลูก​ทุ่ง​เนิบ​ช้า ชื่อ​เพลง​ว่า ‘คำ​สั่ง​พ่อ’ เป็น​เพลง​ที่​เขา​เขียน​ ร่าง​เนื้อหา​ที่​ต้องการ​แล้วไป​ให้​นัก​เพลง​พื้น​ถิ่น​ใส่​ทำนอง​ และ​ขัดเกลา​ออก​มา​เป็น​เพลง มั น ​เ ป็ น ​เ พลง​ที่ ​มี ​เ นื้ อ หา​เ กี่ ย ว​กั บ ​ก าร​พ ยายาม​


110 เขาหัวช้าง

พัฒนา​บา้ น​เกิด โดย​ให้ค​ นใน​ชมุ ชน​เปิดใ​จ​รบั ฟ​ งั แ​ ละ​รว่ ม​ไม้​ ร่วม​มอื ก​ นั ระหว่าง​ทบ​่ี ทเพลง​กำลังท​ ำ​หน้าทีข​่ อง​มนั ไม่มใ​ี คร เ​อ่ยอ​ ะไร​ออก​มา พวก​เรา​นง่ั เ​งียบ​ฟงั เ​พลง​ทา่ มกลาง​เสียง​ฝน “ไม่อ​ ยาก​ฟัง​เลย” เจ้าของ​โทรศัพท์​และ​ผู้​เขียน​ร่าง​


แสงจริง 111

เนื้อเ​พลง​พูดอ​ อก​มา “ฟังท​ ี​ไร​จะ​ร้องไห้​ทุกที” ผม​แ อบ​ม อง​เข้ า ไป​ใ น​ด วงตา​ช าย​ห นุ่ ม ดวงตา​ เริ่ม​แดง มี​น้ำตา​เอ่อ​คลอ เขา​ยกมือ​ปาด​น้ำตา เสียง​ฝน​ดัง​กระหน่ำ แต่เ​สียง​เพลง​ยัง​คง​ดัง​ชัดเจน


112 เขาหัวช้าง

15


แสงจริง 113

คุยก​ นั เ​ล่นๆ กับบ​ งั ด​ นี ทีห​่ น้าบ​ า้ น​ของ​ลงุ ห​ มีด​ ‘ราชา​โค​ชน’ บั ง ​ดี ​น บ​อ ก​ว่ า จุ ด ​เ ด่ น ​ข อง​ชุ ม ชน​เ ขา​หั ว ​ช้ า ง นอกจาก​ทรัพยากรธรรมชาติ​ที่​อุดม​สมบูรณ์​แล้ว ที่​นี่​ คน​ไทย​พุทธ​และ​มุสลิม​อยู่​ร่วม​กัน...เป็น​เพื่อน​กัน “ศาสนา​ไม่​เกี่ยว” บังด​ นี​ บ​อก “เพราะ​ถ้าอ​ ย่าง​นั้น นา​ยกฯเป็นไ​ทย​พทุ ธ แล้วค​ นใน​เทศบาล​เขา​หวั ช​ า้ ง​สว่ น​หนึง่ เป็น​มุสลิม เรา​ก็​แข็ง​ข้อ​สิ แต่ม​ ัน​ไม่ใช่​อย่าง​นั้น เรา​นับถือ​ กัน​ที่​ความ​สามารถ ไม่ไ​ด้​มอง​กัน​ที่​ความ​เหมือน​หรือ​ต่าง​ ทาง​ศาสนา” เมื่อ​ก่อน​คน​มุสลิม​ใน​พื้นที่​ชุมชน​เขา​หัว​ช้าง​มี 60 เปอร์เซ็นต์ ไทย​พุทธ 40 เปอร์เซ็นต์ ปัจจุบัน​คน​นับถือ​ อิสลาม​มี​เพิ่ม​ขึ้น​เป็น 65 เปอร์เซ็นต์ ไทย​พุทธ 35 เปอร์เซ็นต์ “บาง​คน​เป็นอ​ สิ ลาม​กเ​็ ปลีย่ น​เป็นพ​ ทุ ธ บาง​คน​เป็น​ พุทธ​ก็​เปลี่ยน​เป็น​อิสลาม” บัง​ดี​นบ​อก ผม​เกรง​ว่า 5 เปอร์เซ็นต์​ของ​คน​นับถือ​อิสลาม​ที่​ เพิ่มข​ ึ้น จะ​มี​สาเหตุม​ า​จาก ‘ความ​รัก’ ประที ป เกี ย รติ ศั ก ดิ์ เคย​นั บ ถื อ ​ศ าสนา​พุ ท ธ เคย​บวช 1 พรรษา แต่​ปัจจุบันเ​ป็น​คณะ​กรรมการ​มัสยิด และ​เคย​ไป​ร่วม​พิธี​ฮัจญ์​ทนี่​ คร​เมกกะ หลัง​จาก​หลง​รัก​สาว​คน​หนึ่ง​ที่​สวม​ผ้า​คลุม​ฮิญาบ และ​ตกลง​แต่งงาน​กัน​เมื่อ 20 กว่าป​ ที​ ี่​แล้ว


114 เขาหัวช้าง

คน​รัก​ของ​ประทีปม​ ีชื่อ​ว่า ส​วิปเย๊าะ เกียรติศักดิ์ พื้นเพ​ของ​ประทีป​เป็น​คน ‘เขาชัยสน’ หลัง​จาก ​ลา​สิกขา ก็​เดิน​ทาง​มา​รับจ้าง​กรีด​ยาง​ที่​เขา​หัว​ช้าง​แห่ง​นี้ และ​ก็​มา​เจอ ‘หัวใจ’ ของ​ตัวเ​อง​ที่​นี่ “ไม่ห​ นักใจ​อะไร​เลย​น”ิ ประทีปย​ นื ยัน ถึงค​ วาม​ตา่ ง ​ทาง​ศาสนา “มา​รู้ ​ว่ า ​เ ขา​ช อบ​เ รา​ต อน​ที่ ​เ ขา​เ อ่ ย ​ป าก​บ อก” ส​วปิ เย๊าะ​ยอ้ น​วนั ห​ วาน “แต่ค​ รอบครัวข​ อง​เรา​เป็นอ​ สิ ลาม เรา​กก​็ ลัวค​ รอบครัวจ​ ะ​ไม่ช​ อบ​เขา ก็เ​ลย​แนะนำ​ให้ไ​ป​ศกึ ษา​ ศาสนา​อิสลาม​ก่อน” “ผม​พร้อม พร้อม​ที่​จะ​เปลี่ยน​เลย” ประทีป​บอก​ ความ ‘ชัดเจน’ ใน​ความ​รัก​ของ​ตนเอง ตาม​ห ลั ก ​ศ าสนา​อิ ส ลาม​​ไ ม่ ​อ นุ ญ าต​ใ ห้ ​คู่ รั ก​ ต่าง​ศาสนา​แต่งงาน​กนั แต่ถ​ า้ ร​ กั ก​ นั จ​ ริงๆ ต้อง​เข้าไป​เป็น​ อิสลาม​ก่อน โดย​การ​เรียน​รู้​ศาสนา​ให้​เข้าใจ​ถึง​หลัก​ของ​ อิสลาม​โดย​ถอ่ งแท้จ​ าก​ผร​ู้ ู้ ซึง่ บ​ งั ป​ ระทีปก​ ใ​็ ช้ว​ ธิ เ​ี ดินเ​ข้าไป​ ศึกษา​หลัก​ศาสนา​อิสลาม​ที่​บา​ราย “ตอน​นั้น​บัง​กรีด​ยาง รู้จักพ​ รรค​พวก​มาก ก็​เข้าไป​ เรียน​ที่​บา​ราย เพื่อนๆ เขา​ก็​รวู้​ ่า​เรา​ชอบ​สาว” บังป​ ระทีป​ ยิ้ม​เขินๆ ระหว่าง​นั้น​บัง​ประทีปก​ ็​ใช้​กลยุทธ์ ‘เช้า​ถึง...เย็น​ถึง’ ช่วง​เวลา​นั้น​ทาง​ฝ่าย​ของ​ส​วิปเย๊าะ​ก็​เข้า​สภาพ


แสงจริง 115

‘หัวก​ ระได​บา้ น​ไม่เ​คย​แห้ง’ ตำรวจ ทหาร ข้าราชการ ล้วน​ แวะ​เวียน​มา​ขาย​ขนม​จีบ แต่​หัวใจ​คง​อยู่​กับ​บัง​ประทีป ส​วิปเย๊าะ​จึง​มี​วิธกี​ าร​เฉพาะ​ของ​เธอ “เมือ่ ก​ อ่ น​ตำรวจ​ทหาร​มา​ชอบ​เยอะ แต่ไ​ม่ช​ อบ เรา​ ก็​เลย​บอก​เขา​ว่าร​ ีด​เสื้อ​ไม่เ​ป็น” ส​วิ๊ปเ​ยาะ​ยิ้ม ผม​ใช้​เวลา​นาน​กว่า​จะ​เข้าใจ​ความ​หมาย​ของ​การ​ บอก​ว่า ‘รีด​เสื้อ​ไม่​เป็น’ “อ้าว” ส​วิปเย๊าะ​เห็น​ความ​งง​ของ​ผม จึง​เอ่ย​ขึ้น “พวก​ข้าราชการ​มัน​ต้อง​รีด​เสื้อผ้า​ใช่​ม้า​ย แต่​ชาวสวน​ ไม่ต​ ้อง​รีด​นิ สลัดๆ ตาก​ได้เ​ลย” เสื้อผ้า​ยับ​ย่น​ของ​ชาวสวน​คน​ที่​ว่า​ก็​คือ​เสื้อ​ของ​ บัง​ประ​ที​บนั่น​เอง และ​วัน​นี้​ทั้ง​คู่​ก็​เป็น​คู่รัก​กัน แม้​จะ​ไม่​ใหม่​ป้าย​แดง แต่​ความ​รัก​ก็​เดิน​ทาง​ล่วง​กาล​เวลา​มา​แล้วก​ว่า 20 ปี


116 เขาหัวช้าง


แสงจริง 117

16


118 เขาหัวช้าง

16

ธรรมเนียม​ยาม​พบปะ​กัน​ของ​ชาว​ไทย​พุทธ ยกมือ​ไหว้​ แล้ว​กล่าว​สวัสดี ขณะ​ที่​ชาว​มุสลิม​จะ​ยื่น​มือขวา​มา​จับ​มือ​กัน แล้ว​ ถอน​มือขวา​นั้น​แทน​สู่​อก​ด้าน​ซ้าย​พร้อม​กล่าว: ‘อัส​ลาม​ มู​อาลัยก​ ุม’ หมาย​ถึง ขอ​สันติสุข​จง​มี​แด่​ท่าน อีก​ฝ่าย​จะ​ ตอบ​กลับ​ว่า ‘อาลัย​กุม​มุ​สลา​ม’ ขอ​สันติสุข​จง​มี​แด่​ท่าน​ เช่น​เดียวกัน เวลา​พบปะ​พี่​น้อง​ชาว​มุสลิม​ผม​จะ​ยกมือ​ไหว้ ด้วย​ ความ​ไม่ค​ ุ้น​ชินห​ าก​ต้อง​สัมผัสม​ ือ​แทน​การ​ไหว้ คิดใ​น​ใจ​ก็​ ขวยเขิน​ตัว​เอง ใน​วนั ส​ ดุ ท้าย​ทผ​ี่ ม​จะ​เดินท​ าง​กลับ ‘บังท​ งั้ 4’ ผูร​้ ว่ ม​ หัวจ​ ม​ทา้ ย​กบั ผ​ ม​ใน​คราว​นี้ พร้อม​หน้าพ​ ร้อม​ตา​แล้วพ​ า​ผม​ บึง่ ร​ ถ​จาก​เขา​หวั ช​ า้ ง​ไป​ขนึ้ ร​ ถ​ทแ​ี่ ม่ข​ รี ใน​เวลา​อกี 15 นาที​ รถ​ที่​เดินท​ าง​มา​จาก​สตูล​จะ​แวะ​มา​จอด​ที่​แม่ข​ รี


แสงจริง 119

นาที​ที่​เรา​ไป​ถึง​แม่ข​ รี เหลือ​อีก 5 นาที รถ​จะ​มา​ถึง บังน​ ติ ร​ ว​์ งิ่ ไ​ป​ยงั พ​ นักงาน​ทข​ี่ าย​ตวั๋ ร​ ถ​พดู ค​ ยุ อ​ ะไร​บาง​อย่าง​ อย่าง​ร้อนรน ใน​ใจ​ตอน​นั้น​ผม​กลัว​ตก​รถ บัง​วิ่ง​กลับ​มาบ​อก “เดี๋ยว​เรา​ไป​กิน​กาแฟ​กัน​ก่อน” ผม​อุทาน​ใจ​ใจ ‘คุณพ​ ระ​ช่วย’ ก็อ​ ีกแ​ ค่ 5 นาทีร​ ถ​จะ​ ออก แต่บ​ ัง​ยัง​ใจเย็น​พา​ผม​ไป​นั่ง​ดื่ม​กาแฟ​ร้อน โดย​กำชับ​ กับ​พนักงาน​ว่าร​ ถ​จาก​สตูล​มา​ถึง​ให้โ​ทร​ตาม​ด้วย กาแฟ​ยงั ไ​ม่ทนั ห​ มด​แก้ว โทรศัพท์บ​ งั น​ ติ ร​ ก​์ รีดเ​สียง​ ทรมาน​ใจ​ผม ใช้​เวลา​อีก​กว่า 5 นาที​จน​ไป​ถึง​คิว​รถ บัง​ซี​บอก​ กล่าว​ให้ม​ า​เยีย่ ม​ทเ​ี่ ขา​หวั ช​ า้ ง​อกี ร​ อบ พลาง​ยนื่ ม​ อื ม​ า​ให้ผ​ ม นาทีน​ นั้ ผ​ ม​ยนื่ ม​ อื อ​ อก​ไป​ไว​เท่าค​ วาม​คดิ เมือ่ ส​ มั ผัสม​ อื ก​ นั ​ แล้ว ผม​ถอน​มือ​กลับ​มา​ประทับท​ ี่​หน้าอก​ด้าน​ซ้าย นาที​นั้น​ไม่มี​ความ​ขวยเขิน​เลย​สัก​นิด “อาลัย​กุม​มุ​สลา​ม”


120 เขาหัวช้าง

ข้อมูล​เทศบาล​ตำบล​เขา​หัว​ช้าง สภาพ​ทั่วไป​ของ​ตำบล เป็น​พื้นที่​ราบ​และ​พื้นที่​ราบ​สูง เคลื่อน​ตัว​ใน​แนว​ ราบ​สูงๆ ต่ำๆ ติดแ​ นว​เทือก​เขา​บรรทัด ประชาชน​อาศัย​ สภาพ​ลำน้ำ​ของ​คลอง​น้ำตก​หม่อม​จุ้ย และ​คลอง​น้ำตก​ โตน​ใต้​เป็น​ที่​สร้าง​หลักแ​ หล่ง​ที่​อยู่​อาศัย มีบ​ ่อน้ำ​ร้อน ป่า​ เขา​ลำเนา​ไพร อาณาเขต​ตำบล ทิศ​เหนือ ติด​กับ ต.โคก​ม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง ทิศ​ใต้ ติดก​ ับ ต.คลองใหญ่ อ.ตะ​โหมด จ.พัทลุง ทิศ​ตะวัน​ออก ติด​กับ ต.แม่ข​ รี ต.คลองใหญ่ ทิศ​ตะวัน​ตก ติดก​ ับ เทือก​เขา​บรรทัด จำนวน​ประชากร​ของ​ตำบล จำนวน​ประชากร​ใน​เขต เทศบาล​เขา​หวั ช​ า้ ง 6,146 คน และ​จำนวน​หลังคา​เรือน 1,186 หลังคา​เรือน ข้อมูล​สถาน​ที่​สำคัญ​ของ​ตำบล 1) วัด​ตะ​โหมด 2) วัด​โหล๊​ะ​จะ​กระ 3) น้ำตก​หม่อม​จุ้ย


แสงจริง 121

4) น้ำตก​โตน​ใต้ 5) น้ำตก​หิน​ลาด 6) น้ำตก​ท่าช้าง 7) บ่อน้ำ​ร้อน 8) หอสมุด/ศูนย์​วัฒนธรรม​ตะ​โหมด ประวัติ​ความ​เป็น​มา อำเภอ​ต ะ​โ หมด เป็ น ​ต ำบล​ที่ ​มี ​ป ระวั ติ ศ าสตร์ ​ ยาวนาน​มา​เป็น​ร้อย​ปี ตะ​โหมด​เป็น​แหล่ง​อารยธรรม เป็น​สังเวียน​แห่ง​การ​เรียน​รู้ เพื่อ​ปกป้อง​บ้าน​เมือง​ของ​ บรรพบุรุษ เป็น​แหล่ง​เรียน​รู้​วิถี​ชีวิต​แบบ​ชนบท​ที่​ครบ​ สมบูรณ์ ตะ​โหมด เดิมเ​รียก​วา่ ‘โต๊ะห​ มูด​ ’ เหตุท​ เ​ี่ รียก​วา่ ‘โต๊ะ​ หมู​ด’ เพราะ​คน​ที่​เข้า​มา​อยู่​รุ่น​แรก​มี​ผู้นำ​ศาสนา​อิสลาม ชื่อ​ว่า ‘โต๊ะห​ มูด​ ’ เป็น​ผู้นำ​ชุมชน ซึ่งไ​ด้เ​ข้าม​ า​อาศัยอ​ ยู่ ต่อ​ มา​ได้​สร้าง​มัสยิด​ขึ้น​ที่​บ้าน​ตะ​โหมด จึง​ทำให้​เรียก​เสียง​ เพี้ยน​ไป​ตาม​กาล​เวลา​จน​เป็น ‘ตะ​โหมด’ ใน​ปัจจุบัน เดิมที ‘ตะ​โหมด’ อยูใ​่ น​เขต​การ​ปกครอง​ของ อำเภอ​ ปากพะยูน เมือ่ ป​ ระชากร​มาก​ขนึ้ ก​ ไ็ ด้เ​ข้าม​ า​อยูใ​่ น​เขต​การ​ ปกครอง​ของ อำเภอ​เขาชัยสน และ​ได้​แยก​เป็น กิ่ง​อำเภอ​ ตะ​โหมด จน​กลาย​มา​เป็น​อำเภอ​ตะ​โหมด​ใน​ปัจจุบัน ครัง้ ห​ นึง่ ตะ​โหมด​เคย​เป็น ‘สนามรบ​แย่งช​ งิ ด​ นิ แ​ ดน


122 เขาหัวช้าง

​กับ​พม่า’ เมื่อ​ครั้ง​สมัย​รัชกาล​ที่ 5 ตะ​โหมด​เคย​เป็น​ สนามรบ​เมื่อ​กองทัพ​พม่า​ยก​ทัพ​มา และ​เดิน​ทาง​มา​ถึง​ น้ำตก​ทอ​ี่ ยูใ่​น​แนว​สนั เขา แล้วอ​ งค์ร​ ชั กาล​ที่ 5 ได้ส​ ง่ ท​ หาร​ มา​ปราบ​ทัพ​พม่า ทหาร​นำ​ทัพ​ชื่อ​ว่า ‘หม่อม​จุ้ย’ และ​ สามารถ​ปราบ​ทัพ​พม่า​ได้​ใน​ที่สุด และ​น้ำตก​แห่ง​นั้น​ได้​ เรียก​ชอื่ ต​ าม​ชอื่ แ​ ม่ทพั ค​ รัง้ น​ นั้ ว​ า่ น้ำตก​หม่อม​จยุ้ ซึง่ ต​ งั้ อ​ ยูท​่ ​ี่ บ้านนา​สอ้ ง หมูท​่ ี่ 11 ตำบล​ตะ​โหมด ปัจจุบนั เ​ป็นส​ ถาน​ท​ี่ ท่อง​เที่ยว​ที่​มีชื่อ​เสียง​แห่งห​ นึ่ง​ของ​ตำบล​ตะ​โหมด วิถี​ชีวิต​ของ​ชาว​บ้าน​ตะ​โหมด​เป็น​สังคม​ชนบท อยู่​ กัน​แบบ​วิถี​ชีวิต​แบบ​พอ​เพียง​ตาม​นิสัย​แบบ​เกษตรกร อยู่ ​กั น ​แ บบ​เ อื้ อ ​อ าทร​ซึ่ ง ​กั น ​แ ละ​กั น รั ก ษา​ไ ว้ ​ซึ่ ง​ ขนบธรรมเนียม​ประเพณี​ของ​ท้อง​ถิ่น​อัน​ดี​งาม จาก​อดีต​ จนถึง​ปัจจุบัน การ​ประกอบ​อาชีพ​การเกษตร​ใน​อดีต​ เป็นการ​เกษตร​แบบ​พึ่งพา​ธรรมชาติ​เป็น​หลัก การ​เพาะ​ ปลูก​เป็น​ไป​ตาม​ธรรมชาติ ใช้​ปุ๋ย​อินทรีย์​เป็น​หลัก​ใน​การ​ บำรุง​รักษา เกษตรกร​เพาะ​ปลูก​เพียง​เพื่อ​การ​เลี้ยง​ชีพ​ มากกว่า​การ​ค้าขาย การ​คมนาคม​ใน​อดีต​ประสบ​กับ​ความ​ยาก​ลำบาก ใน​การ​ไป​มา​หาสู่ เป้า​หมาย​ที่​ผู้คน​เดิน​ทาง​คือ​ตลาด​ บางแก้ว คน​จาก​ตะ​โหมด​เดิน​ทาง​โดย​ใช้​เกวียน​เทียม​วัว และ​เรือ​หรือ​แพ ยาน​พาหนะ​ใน​อดีต​สามารถ​บ่ง​บอก​ถึง​ ฐานะ​ความ​เป็น​อยู่​ของ​ผู้คน​ได้ เช่น ระหว่าง​เรือ​กับ​แพ


แสงจริง 123

เรือ​บ่ง​บอก​ถึง​ฐานะ​อัน​มี​จะ​กิน ส่วน​แพ​บ่ง​บอก​ถึง​ฐานะ​ ค่อน​ขา้ ง​ขดั สน การ​ใช้เ​กวียน​เหมือน​กนั ถ้าใ​ช้แ​ บบ​ลอ้ ห​ มุน นัน้ ห​ มาย​ถงึ ค​ น​ทค​ี่ อ่ น​ขา้ ง​มฐ​ี านะ แต่ค​ น​ทค​ี่ อ่ น​ขา้ ง​ขดั สน​ ส่วน​มาก​จะ​ใช้ หน​วน คือ เกวียน​ทไ​ี่ ม่มล​ี อ้ ห​ มุนท​ ำ​ขนึ้ แ​ บบ​ ง่ายๆ ใช้​สำหรับข​ นส่ง​สินค้า หรือ​ใช้​ใน​ไร่​ใน​นา จาก​ประวัติศาสตร์​ของ​ชุมชน​ทำให้​เรา​ได้​มอง​เห็น​ คุณค่า​ของ​ประวัติศาสตร์ ก่อ​ให้​เกิด​จิตสำนึก ความ​รัก ความ​หวง​แหน ใน​การ​เป็น​เจ้าของ​พื้น​แผ่น​ดิน​ที่​ปู่ย่า​ตา​ ยาย​ได้ใ​ช้พ​ ลังก​ าย พลังใ​จ รวม​ทงั้ เ​ป็นภ​ มู ปิ ญ ั ญา​ทม​ี่ อ​ี ยูใ​่ น​ ตัวค​ น สร้าง​สม เพือ่ ใ​ห้เ​ป็นม​ รดก​ทาง​สงั คม​และ​วฒ ั นธรรม ประวัติศาสตร์​เหล่า​นี้​จะ​ถูก​จารึก​ไว้​ใน​ความ​ทรง​จำ​ของ​ ลูก​หลาน และ​ผู้คน​ให้​คำนึง​ถึง​วีรกรรม ของ​บรรพบุรุษ ไว้​ตราบ​นาน​เท่า​นาน


124 เขาหัวช้าง

เล่า​ประกอบ​ภาพ น้ำตก​หม่อม​จุ้ย น้ำตก​ลาน​หม่อม​จุ้ย เป็น​น้ำตก​ที่​อยู่​ท่ามกลาง​ป่า​ ที่​ร่มรื่น อยู่​ใน​บริเวณ​หน่วย​พิทักษ์​สัตว์​ป่า​บ้าน​ตะ​โหมด ลักษณะ​ของ​นำ้ ตก​จะแบ่งเ​ป็นช​ นั้ ๆ แต่ละ​ชนั้ ม​ ชี อื่ ต​ า่ ง​กนั มี​แอ่ง​น้ำ​สามารถ​เล่น​น้ำ​ได้ การ​เดิน​ทาง จาก​อำเภอ​ ตะ​โหมด ใช้เ​ส้นท​ าง​หมายเลข 4121 และ​ตอ่ ด​ ว้ ย​เส้นท​ าง ​หมายเลข 4237 ประมาณ 18 กิโลเมตร จนถึง​วัด​ ตะ​โหมด น้ำตก​จะ​อยู่​เลย​วัดต​ ะ​โหมด​ไป ประมาณ 4-5 กิโลเมตร


แสงจริง 125

ล่อง​แก่ง โตน​หิน​ลาด ราวๆ สัก 10 ปี​ที่​ผ่าน​มา ชาว​บ้าน​บุกรุก​ตัด​ไม้​ ทำลาย​ปา่ ต​ น้ น้ำก​ นั ม​ าก ชาว​บา้ น​ประมาณ 30 คน ได้ร​ วม​ ตัวก​ นั จ​ ดั ต​ งั้ ก​ ลุม่ โ​ดย​ใช้ช​ อื่ ว​ า่ ‘ชมรม​อนุรกั ษ์ธ​ รรมชาติบ​ า้ น​ โหล๊​ะ​จัง​กระ’ เฝ้า​ระวังไ​ม่​ให้​ป่าถ​ ูก​ทำลาย ต่อม​ า​ได้​จัด​ตั้ง​ กลุ่ม​โตน​หิน​ลาด​ล่อง​แก่ง เพื่อ​เป็น​แหล่ง​ท่อง​เที่ยว​ระบบ​ นิเวศ​และ​ค่าย​ลูก​เสือ​ให้​กับน​ ักเรียน​ทั้ง​ใน​และ​นอก​ชุมชน ปัจจุบนั ม​ ก​ี จิ กรรม​พาย​เรือแ​ คน​นู โดย​คดิ ค​ า่ บ​ ริการ​ ผู้ใหญ่ 250 บาท นักศึกษา 200 บาท นักเรียน 150 บาท เรือ​จะ​ล่อง​ไป​ประมาณ 4 กิโลเมตร แล้ว​จะ​มี​ เจ้า​หน้า​ที่นำ​รถ​ไป​รับเ​พื่อ​ไป​ยัง ‘บ่อน้ำ​พุ​ร้อน’ ต่อ​ไป


126 เขาหัวช้าง

บ่อน้ำพ​ รุ​้อน เป็น​บ่อน้ำพ​ ุ​ร้อน​ธรรมชาติ มีพ​ ราย​ฟอง​ผุด​จาก​ชั้น​ หิน​ใต้ดิน มี​การ​สร้าง​สระ​น้ำ​ข้างๆ บริเวณ​บ่อน้ำ​พุ​ร้อน เพือ่ ใ​ห้ค​ น​ทวั่ ไป​สามารถ​มา​นงั่ แ​ ช่น​ ำ้ ร​ อ้ น​ได้ โดย​ทำ​ทอ่ ต​ อ่ ​ จาก​บ่อน้ำ​พรุ​ ้อน​มา​สู่​สระ​น้ำ​ขนาด​เล็ก


แสงจริง 127

ข้าวยำ​ไก่​ทอด ส่วน​ประกอบ​มี​ดังนี้ ข้ า ว​ส วย, มะพร้ า ว​คั่ ว , ผั ด ​ห มี่ , ถั่ ว ฝั ก ยาว, ใบ​ชะพลู, ตะไคร้, มะนาว, น้ำเคย, พริก​ป่น, กุ้งแห้ง​ป่น แล้ว​คลุก​เคล้า​เข้า​ด้วย​กัน ทาน​คู่​กับ​ไก่​ทอด – อร่อย​จัง​ฮู้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.