มากกว่าหนึ่งวัน

Page 1

MAD E

TAIW A

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สู่การเป็น ‘พลเมือง’

N

in


มากกว่าหนึ่งวัน

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สู่การเป็น ‘พลเมือง’ MADE in TAIWAN เรื่องและภาพ แสงจริง ออกแบบปกและรูปเล่ม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย พิสูจน์อักษร คีรีบูน วงษ์ชื่น เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-329-000-7 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย

เครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่

อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 โทรสาร 0 2343 1501 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพ์ครั้งที่ 1

มีนาคม 2556


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com


คำนำ ขณะ​ทค​ี่ ณ ุ ก​ ำลังอ​ า่ น​ขอ้ ความ​นี้ บรรดา​บคุ คล​ทป​ี่ ราก​ฎท​ งั้ ช​ อื่ แ​ ละ​ หน้าตา​ใน​หนังสือเ​ล่มน​ ี้ คง​กำลังท​ ำ​อะไร​สกั อ​ ย่าง​ใน​ชมุ ชน​ทอ้ ง​ถนิ่ ​ของ​พวก​เขา ช่วง​เวลา​ตั้งแต่ว​ ัน​ที่ 15-20 ธันวาคม 2555 เป็นช​ ่วง​ เวลา​ที่​คณะ​เดิน​ทาง​กว่า 30 ชีวิต​ร่วม​เดิน​ทาง​ไป​ยัง​ประเทศ​ ไต้หวัน เพื่อ​ไป​ศึกษา​เรียน​รู้​ระบบ​การ​ทำงาน​ด้าน ‘จิต​อาสา’ ของ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ เพื่อ​นำ​ประสบการณ์​กลับ​ไป​ต่อย​อด​ใน​ ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​แต่ละ​แห่ง ให้ง​ าน​จิตอ​ าสา​งอกเงย หน้าที่​การ​งาน​ของ​ผู้​ร่วม​คณะ​เดิน​ทาง​ส่วน​ใหญ่​ทำงาน​ พัฒนา​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น บาง​คน​เป็น​นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ ตำบล (อบต.) บาง​คน​เป็น​ปลัด อบต. บาง​คน​เป็น​นัก​วิชาการ



บาง​คน​เป็นก​ ำนัน บาง​คน​เป็นเ​จ้าห​ น้าทีด่​ า้ น​สาธารณสุข พวก​เรา​เดินท​ าง​มา​จาก​ ทั่ว​ทุก​ภูมิภาค แต่​จุด​ร่วม​ที่​พวก​เขา​มี​คือ​ความ​ต้องการ​พัฒนา​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​ของ​ พวก​เขา​พัฒนา​ไป​ใน​ทิศทาง​ทดี่​ ี สังคม​ทด​ี่ เ​ี ป็นอ​ ย่างไร ความ​เป็นอ​ ยูข​่ อง​สมาชิกใ​น​สงั คม​นนั่ ส​ ว่ น​หนึง่ สมาชิก​ ดำรง​ชวี ติ ต​ าม​กฎ​ระเบียบ​นนั่ ส​ ว่ น​หนึง่ จุดห​ ลักท​ พ​ี่ วก​เขา​ตา่ ง​มอง​เห็นร​ ว่ ม​กนั ก​ ค​็ อื ความ​ช่วย​เหลือ​เกื้อกูล​กัน ซึ่ง​ไม่ใช่​ว่าเ​ป็น​สิ่ง​ขาดแคลน​ใน​ชุมชน​ของ​พวก​เขา การ​คิด​ว่า​เพื่อน​ร่วม​ชุมชน​นั้น​ไม่ต​ ่าง​จาก​สมาชิกใ​น​ครอบครัว ใช่​หรือ​ไม่ว​ ่า​ เป็น​พื้น​ฐาน​ที่​เอื้อ​ให้​สังคม​น่า​อยู่ ระหว่าง​ที่​พวก​เรา​อยู่​ที่​ไต้หวัน คำ​พูด​ของ​พี่​ด้วง-ดวง​พร เฮงบุณยพันธ์ ก็​ สะท้อน​หลาย​สิ่ง​ทั้ง​ใน​ระดับช​ ุมชน​และ​สังคม​ทมี่​ ี​ขนาด​ใหญ่​กว่า​นั้น “เรา​มา​ถึง​จุด​ที่... ถ้าเ​รา​ไม่​วก​กลับ ยัง​คง​เอา​เงิน​เป็น​ตัว​ตั้ง ไม่​เอา​ประโยชน์​ ของ​พื้นที่​เป็น​ตัว​ตั้ง ทุก​องค์กร​ก็​จะ​เกิด​อุปสรรค​มากมาย นั่น​เป็น​เหตุผล​ที่​เรา​ เลือก​มา​ไต้หวัน มายัง​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ เพราะ​เรา​ต้องการ​สร้าง​ความ​เชื่อ​มั่น​ให้​ ผู้นำ เรื่อง​จิต​อาสา​มัน​เป็น​เรื่อง​ที่​คุณไ​ม่​ทำ​ไม่​ได้ มันจ​ ะ​ทำให้​สังคม​นี้​เป็น​สังคม​ที่​ ไม่​เอื้ออ​ าทร ผู้​ที่​แข็ง​แรง​กว่าไ​ม่ด​ ูแล​ผู้​ทอี่​ ่อนแอ​กว่า เงิน​เท่าไ​รก็​เลี้ยง​คนใน​สังคม​ ไม่​พอ ถ้า​ไม่มี​จิต​อาสา” หนังสือ ‘มากกว่าห​ นึง่ ว​ นั ’ เล่มน​ ี้ เป็นบ​ นั ทึกก​ าร​เดินท​ าง​ทร​ี่ วบรวม​ความ​คดิ ​ความ​รู้สึก​ของ​บุคคล​ใน​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​ต่างๆ ที่​ร่วม​เดิน​ทาง​ไป​ยัง​ประเทศ​ไต้หวัน​ ใน​ช่วง​เวลา​ดัง​กล่าว เพื่อ​ทำให้​ผู้​อ่าน​เห็น​ภาพ​ของ​ระบบ​งาน​จิต​อาสา​ที่​มูล​นิธิ​ ฉือจ​ ี้ เมือ่ ผ​ อ​ู้ า่ น​อา่ น​แล้วเ​กิดพ​ ลังงาน​เชิงบ​ วก​ใน​การ​อยาก​ทจ​ี่ ะ​เปลีย่ นแปลง​ตวั เ​อง​ หรือ​แม้แต่​ชุมชน​ของ​ตนเอง นั่น​ถือว่า​หนังสือ​เล่ม​นี้​ได้​ทำ​หน้าที่​ของ​มัน​แล้ว แต่​ รูปธ​ รรม​ของ​งาน​จิต​อาสา​คง​เกิน​กำลัง​ความ​สามารถ​ของ​หนังสือ​เล่มน​ ี้ จิต​อาสา​จะ​เกิด​ได้ คุณ – ผู้​กำลัง​อ่าน​มา​ถึง​บรรทัด​นี้ มี​ส่วน​สำคัญ​ที่สุด ไม่​ต้อง​รอ​ภาค​รัฐ​หรือ​ใคร เริ่ม​ทตี่​ ัว​เอง แม้จ​ ะ​ใช้​เวลา​มากกว่า​หนึ่ง​วัน​ก็ตาม




คนฉลาดมักจะกังวลกับการได้มาหรือเสียไป ส่วนคนมีสติปัญญา เป็นผู้ที่พร้อมจะเสียสละเพื่อผู้อื่นเสมอ


10

มากกว่าหนึ่งวัน


เช็คอินก่อนเดินทาง

11 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ภายใน​ท่า​อากาศยาน​สุวรรณภูมิ​เดือน​ธันวาคม​ เริ่ม​ส่อ​เค้า​ลาง​ของ​ความ​หนาว แต่​ถัด​จาก​เวลา​นี้​ไป​ อีก​ 3 ​ชั่วโมง อากาศ​หนาว​ของ​จริง​กำลัง​รอ​พวก​เขา​ อยู่ ณ จุด​หมาย​ปลาย​ทาง พวก​เขา​ตั้ง​ต้น​นัด​หมาย​กัน​ ทีอ​่ าคาร​ผโ​ู้ ดยสาร​ขา​ออก กระเป๋าเ​ดินท​ าง​หลาย​ใบ​กอง​ รวม​บริเวณ​นั้น พวก​เขา​คือ​กลุ่ม​คน​ที่​เดิน​ทาง​มา​จาก​


12

มากกว่าหนึ่งวัน

ทั่ว​สารทิศ เดิน​ทาง​มา​จาก​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​หลาย​แห่ง​ทั่ว​ประเทศ ประเทศ​ไต้หวัน​ คือ​จุด​หมาย​ปลาย​ทาง​ของ​พวก​เขา ระหว่าง​รอ​เช็ค​อิน บาง​คน​นั่ง​บน​แถว​เก้าอี้ บ้าง​ยืน​ค้ำ​ราว​เหล็ก ส่วน​หนึ่ง​ จับ​จ้อง​พื้น​กระ​เบื้อง​เย็นๆ ใน​อาคาร​เป็น​ทนี่​ ั่ง​หย่อน​ก้น ใคร​บาง​คน​รำพึง การ​เดินท​ าง​ดว้ ย​เครือ่ ง​บนิ ช​ า่ ง​วางท่าเ​ย​ อ่ ห​ ยิง่ เ​ต็มไ​ป​ดว้ ย​ พิธีรีตอง แตก​ต่าง​จาก​การ​เดิน​ทาง​ด้วย​รถ​โดยสาร ณ สถานี​ขนส่ง​หมอชิต ไต้หวัน​คือ​จุดห​ มาย​ปลาย​ทางใน​เชิง​รูป​ธรรม แต่​การ​เดิน​ทาง​ครั้ง​นี้ จะ​พูด​ ว่า​เป็นการ​เดิน​ทาง​เชิง​นามธรรม​ก็​ไม่​ผิดนัก เพราะ​จุด​หมาย​ปลาย​ทาง​ที่แท้​จริง​ ของ​การ​เดิน​ทาง คือ​การ​เรียน​รู้​สิ่ง​ทเี่​รียก​ว่า ‘จิตอ​ าสา’ มูลน​ ิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ คือ​เป้าห​ มาย​ปลาย​ทาง​ของ​พวก​เขา มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ เป็น​องค์กร​อาสา​สมัคร​ที่​ใหญ่​ที่สุด​ใน​โลก อาสา​สมัคร​ กระจาย​อยูท่​ ั่ว​โลก​มากกว่า 5 ล้าน​คน องค์กร​แห่ง​นี้​คอย​ช่วย​เหลือ​ผู้​ประสบ​ภัย​ พิบัตไิ​ป​จนถึง​บรรเทา​ทุกข์​แก่​ผู้​หิวโหย​ทั่ว​โลก นอกจาก​นี้ มูลน​ ิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ ยัง​มี​ โรง​พยาบาล มหาวิทยาลัย สถานีโ​ทรทัศน์ ซึง่ ม​ เ​ี ป้าห​ มาย​ปลาย​ทางใน​การ​ชว่ ย​เหลือ​ เพื่อน​มนุษย์ ทุก​กิจกรรม​มี​อาสา​สมัคร​เป็น​กำลัง​หลัก​ใน​การ​ดำเนิน​งาน คำถาม​เบือ้ ง​ตน้ ท​ ก​ี่ อ่ เ​กิดใ​น​ใจ​พวก​เขา​กค​็ อื ว​ า่ อะไร​ทำให้อ​ าสา​สมัคร​เหล่าน​ ี้ ที่​ต่าง​มี​ความ​เป็น​ปัจเจก มีค​ รอบครัว มี​ภาระ ยังไ​ม่​ต้อง​พูด​ถึง​ขนาด​ว่า พวก​เขา ​ล้วน​มี​อัตตา​มี​ตัว​ตน​ไม่​ต่าง​ไป​จาก​คน​อย่าง​เรา​เรา อะไร​ทำให้​พวก​เขา​ลดละ​สิ่ง​ เหล่า​นั้น แล้ว​หล่อ​หลอม​ความ​ต่าง​เป็น​เพียง​อาสา​สมัคร​ที่​ทำงาน​โดย​ไม่​หวัง​ ผล​ตอบแทน ดำเนิน​ชีวิต​ด้วย​ใบหน้าเ​ดียวกัน เครื่อง​แบบ​เดียวกัน คำ​ตอบ​รอ​อยู่​หลังจ​ าก​ล้อ​เครื่อง​บิน​แตะ​พื้น​รันเวย์​ที่​สนาม​บิน​เถา​หยวน ที่​สนาม​บิน​เถา​หยวน อากาศ​ไต้หวัน​ถูก​สูด​เข้าเ​ต็ม​ปอด ใคร​บาง​คน​บ่น​อุบ​ ว่า “อากาศ​ไม่​เห็นจะ​หนาว​เลย” มัคคุเทศก์ใ​น​การ​เดินท​ าง​ครัง้ น​ ี้ ร่วม​ออก​เดินท​ าง​มา​กบั ค​ ณะ​ตงั้ แต่ก​ รุงเทพฯ เธอ​เรียก​ตัว​เอง​ว่า ‘อา​ส้ม’ อา​สม้ เ​ป็นช​ าว​ไต้หวันโ​ดย​กำเนิด เธอ​อาศัยอ​ ยูเ​่ มือง​ไทย​หลาย​ปี พูดไ​ทย​ได้​ คล่องแคล่ว เป็นภ​ าษา​ไทย ‘สำเนียง​แบ​บอาส้ง’ เธอ​นำ​คณะ​เดินท​ าง​กว่า 30 ชีวติ ​


13 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ขึ้น​รถ​บัสเ​พื่อ​เดิน​ทาง​สู่​ที่พัก คณะ​เดิน​ทาง​กว่า 30 ชีวิต เป็นใ​คร มา​จาก​ไหน บาง​คน​เป็นน​ ายก อบต. บาง​คน​เป็นก​ ำนัน บาง​คน​เป็นน​ กั ว​ ชิ าการ บาง​คน​ เป็นแ​ พทย์ บาง​คน​ทำงาน​ดา้ น​สาธารณสุข กล่าว​โดย​รวมๆ พวก​เขา​เป็นค​ น​ทำงาน​ ใน​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น ต้องการ​เห็น​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​เปลี่ยนแปลง​ใน​ทาง​ที่​ดี “พวก​เขา​คือ​พวก​ที่​กล้า​เปลี่ยนแปลง” ดวง​พร เฮ​งบุณย​พันธ์ ผู้​อำนวย​การ ​สำนัก 3 สำนักงาน​กองทุน​สนับสนุน​การ​สร้าง​เสริมสุข​ภาพ (สสส.) ใน​ฐานะ ​ผู้​เชิญ​ชวน​แต่ละ​คน​ให้​มา​ร่วม​เดิน​ทาง​ใน​ทริ​ปนี้ เธอ​บอก​ว่า ใน​การ​เดิน​ทาง​ มาศึกษา​เรียน​รู้​ระบบ​การ​ทำงาน​จิต​อาสา​ที่​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้​ครั้ง​นี้ “เรา​แบ่ง​เป็น 4 ประเภท 1. ตัวผู้​นำ​ที่​กล้า​เปลี่ยนแปลง 2. ตัวผู้​ตาม​ที่​พอ​มี​เครือ​ข่าย​ผู้คน 3. นัก​วิชาการ 4. ผูส้​ นับสนุน​กระบวนการ” พวก​เขา​เดินท​ าง​มายังไ​ต้หวัน เพือ่ เ​รียน​รเ​ู้ ก็บเ​กีย่ ว​ประสบการณ์ก​ าร​ทำงาน​ จิตอ​ าสา​ของ​มลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ ี้ เพือ่ น​ ำ​กลับไ​ป​ตอ่ ย​อด​ปรับใ​ช้ใ​น​แต่ละ​ชมุ ชน ให้ผ​ คู้ น​ ใน​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​ผลิ​เกิด​จิตใจ​แห่ง​ความ​ดี​งาม จิตใจ​ที่​พร้อม​จะ​ยื่น​มือ​ช่วย​เหลือ​ เพือ่ น​มนุษย์ เมือ่ ห​ น่ออ​ อ่ น​แทง​เนือ้ ด​ นิ ใช่ห​ รือไ​ม่ว​ า่ พวก​เขา​เหล่าน​ ป​ี้ ระหนึง่ ส​ าย​ฝน ​โลม​ต้น​กล้า ผูห้​ วังใ​ห้​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​แต่ละ​แห่ง​เกิด​จิต​อาสา เมื่อ​ชุมชน​แต่ละ​แห่ง​ เกิด​จิต​อาสา จิต​อาสา​ใน​ชุมชน​แต่ละ​แห่ง​ย่อม​ถัก​ทอ​ร้อย​เรียง​กัน​จน​เกิด​เป็น​ผ้า​ ผืน​ใหญ่ข​ อง​สังคม​ของ​ประเทศ ผืน​ผ้า​ที่​เรียก​ว่า ‘พลเมือง’ ดวง​อาทิตย์​ทกี่​ รุง​ไทเป​เข้า​นอน​แต่​หัวค่ำ ท้องฟ้าย​ าม 17.00 นาฬิกา...มืด เหมือน​ท้องฟ้า​ราตรี “อากาศ​ที่​ไต้หวันเ​หมือน​ผู้ชาย​นิสัย” อา​ส้ม​กล่าว​ต้อนรับ​สู่​กรุง​ไทเป คณะ​เดิน​ทาง​ต่าง​ประสาน​เสียง​ขึ้น​พร้อม​กัน “นิสัย​ผู้ชาย ไม่ใช่ผ​ ู้ชาย​นิสัย” ประหนึ่ง​ขัดเกลา​ภาษา​ไทย​ให้​อา​ส้ม ความ​หมาย​ที่​อา​ส้ม​ต้องการ​สื่อ ที่​ไต้หวัน​นั้น อากาศ​เอา​แน่​เอา​นอน​ไม่ไ​ด้ เดี๋ยว​หนาว​เดี๋ยว​ฝน หาก​โชค​ดี​เรา​อาจ​ประสบ​ภัย​แผ่น​ดิน​ไหว ประเทศ​ไต้หวัน​ พร้อม​จะ​เกิด​ภัย​พิบัติ​ได้​ตลอด​เวลา “ไต้หวัน​หนาว​ถึง​กระดูกน​ ะ เดี๋ยว​จะ​หา​ว่า​อาส้ง​ไม่เ​ตือน” อา​ส้ม​พูด ทำให้​


14

ใคร​ห ลาย​ค น​ที่ ​เ ตรี ย ม​เ สื้ อ ​โ ค้ ท ผ้ า ​พั น ​ค อ หมวก ถุงมือ ยิ้ม​เผย​ฟัน​ไป​ตาม​กัน กว่า 30 ชีวิต​ใน​รถ​บัส​คัน​นี้ จะ​ร่วม​ เดินท​ าง​ไป​บน​ถนน​สาย ‘จิตอ​ าสา’ ก่อน​ทพ​่ี วก​เขา ​จะ​กลับ​บ้าน หอบ​เอา​ประสบการณ์​ใน​การ​ เดิน​ทาง​ครั้ง​นี้ กลับ​ไป​หย่อน​เมล็ด​พันธุ์​แห่ง​ จิต​อาสา​บน​ผืน​ดิน​ถิ่น​เกิด แน่​ล่ะ​ว่า การ​เจริญ​เติบโต​ของ​ต้นไม้​ ย่อม​ใช้​เวลา​มากกว่า​หนึ่ง​วัน เช่น​เดียว​กับ​ การ​เรียน​รู้

มากกว่าหนึ่งวัน


15

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


การ​ให้​ทาน​โดย​ไม่​หวัง​ผล​ตอบแทน การ​ฝึก​ตน​ทั้ง​พฤติกรรม​และ​วาจา​ เพื่อ​ประโยชน์ข​อง​สรรพ​สัตว์​ทั้ง​ปวง คือ​การ​ฝึก​ตน​ให้​เป็น​พุทธะ



18

มากกว่าหนึ่งวัน

วันแรก


เบิก​ไม่​ได้น​ ะ​จ๊ะ 19 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ถนน​หนทาง​ใน​กรุง​ไทเป​ค่อน​ข้าง​สะอาด ใคร​บาง​คน​รำพึงต​ ้อนรับ​ยาม​เช้า​ ว่า การ​ถกู ร​ างวัลเ​ลข​ทา้ ย​สอง​ตวั อ​ าจ​งา่ ยดาย​กว่าก​ าร​หา​เศษ​ขยะ​ตาม​ทาง​เดินเ​ท้า หรือ​กระดาษ​หนังสือพิมพ์​ปลิว​บน​ถนน ไม่มี​สุนัข​จรจัดบ​ น​ถนน​เช้า​กรุง​ไทเป ประเทศ​ไต้หวัน​ตั้ง​อยู่​บน​เกาะ​ฟอร์โมซา (Formosa) ใน​ภาษา​โปรตุเกส แปล​ว่า ‘เกาะ​สวยงาม’ นานนม​มา​แล้ว ชาว​โปรตุเกส​เคย​เดิน​ทาง​มายัง​เกาะ​นี้ และ​ได้​ตั้ง​ชื่อ​เอา​ไว้ แต่ก​ ็​ไม่​ได้ย​ ึด​เอา​มา​เป็น​อาณานิคม รัฐบาล​ไต้หวันท​ เ​ี่ รา​มกั เ​ห็นใ​น​ขา่ ว​การเมือง ว่าช​ อบ​เล่นก​ ฬี า​มวยไทย​ใน​สภา แต่บ​ ท​จะ​เข้มง​ วด​จริงจังก​ เ​็ อา​เรือ่ ง ไต้หวันเ​ข้มง​ วด​เรือ่ ง​สงิ่ แ​ วดล้อม​มาก เวลา​ทซ​ี่ อื้ ​ ของ​ตาม​ร้าน​สะดวก​ซื้อ​เรา​จะ​ไม่​ได้​ถุง​พลาสติก หาก​คุณ​ต้องการ​ถุง​พลาสติก​จะ​ ต้อง​จ่าย​เพิ่ม เป็นการ​บังคับ​ให้ล​ ด​ใช้​ถุง​พลาสติก ซึ่ง​เป็น​ไป​ตาม​แนว​โน้ม​ของ​โลก​ สมัย​ใหม่ ทีก่​ ำลัง​เผชิญ​กับ​สภาวะ​การ​เปลี่ยนแปลง​สภาพ​ภูมิ​อากาศ การ​ยืนยัน​ที่​ จะ​ใช้​ทรัพยากร​อย่าง​ฟุ่มเฟือย ไม่ใช่​วิถี​ของ​ผู้​ฉลาด รัฐบาล​ไต้หวัน​ยัง​คุม​เข้ม​การ​ใช้​เครื่อง​ใช้​ไฟฟ้า​อย่าง​เครื่อง​ปรับ​อากาศ อุณหภูมิ​เครื่อง​ปรับ​อากาศ​ภายใน​สำนักงาน​ที่​ประเทศ​ไต้หวัน​จะ​ต้อง​ไม่​ต่ำ​กว่า 26 องศา​เซลเซียส สำหรับส​ ิงห์​อม​ควัน หาก​คุณ​ทิ้ง​ก้น​บุหรี่​เรี่ยราด​ตาม​ทาง​เดิน​เท้า​ใน​ไต้หวัน แล้ว​มี​ผู้​พบเห็น เขา​จะ​ถ่าย​รูป​คุณ​เก็บ​ไว้ รูป​ถ่าย​ใบ​นี้​สามารถ​นำ​ไป​ปรับ​คุณ​ได้ ฐาน​ทิ้ง​ก้น​บุหรี​่ใน​ที่​สาธารณะ มี​ผู้​ประกอบ​อาชีพ​เสริม​เป็น​ช่าง​ภาพ​สิงห์​อม​ควัน


20

มากกว่าหนึ่งวัน

สร้าง​ราย​ได้​ให้​ไม่​น้อย หลังม​ อ้ื เ​ช้า พ.ต.ท.สุรช​ ยั เทศ​วงศ์ แห่งเทศบาลตำบลเขมราฐ ออก​มา​ยนื ย​ ดื เ​ส้น​ ยืด​สาย สูด​อากาศ​เช้า​หน้า​โรงแรม มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้มีชื่อ​เสียง​เรื่อง​ระบบ​งาน​ จิต​อาสา และ​การ​ทำงาน​ของ​อาสา​สมัคร​ที่​กระจาย​อยู่​ทั่ว​โลก พ.ต.ท.สุร​ชัย​ แห่ง​เขมราฐ บอก​อยาก​มา​เห็น​วา่ อะไร​ทำให้​คน​ทำงาน​อาสา​สมัคร​ท​น่ ี ่ ี ทำงาน​เต็ม​รอ้ ย “เต็ม​ร้อย​ของ​คุณ​หมาย​ถึง​ขนาด​ไหน?” เรา​ถาม “ทำ​อย่าง​ทุ่มเท” พ.ต.ท.สุรช​ ัย​ว่า “แต่ค​ น​ที่​ชุมชน​ตำบล​เขมราฐ​ยัง​ห่วง​เรื่อง​ เศรษฐกิจ อย่าง อป​พร. (อาสา​สมัคร​ป้องกัน​ภัยฝ​ ่าย​พลเรือน) พวก​เขา​ยัง​หวัง​ ค่า​ตอบแทน แต่​ก็​อย่าง​ว่า​ล่ะ​นะ เวลา​ทำ​มา​หากิน​ที่​เขา​สละ​มา เขา​ก็​อยาก​ได้​เงิน​ ไป​จุนเจือ​ครอบครัว” เขา​ขอตัว​เดิน​ชม​ถนน​หนทาง สอง​มือ​ล้วง​กระเป๋า สอง​เท้าก​ ้าว​เดิน​ออก​ไป ระหว่าง​มอง​แผ่นห​ ลังเ​ขา​เคลือ่ น​หา่ ง​ออก​ไป คำถาม​หนึง่ ล​ อย​ขนึ้ ม​ า งาน​อาสา​สมัคร ​ใน​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​ประเทศไทย มัก​มี​ปัญหา​เรื่อง​ค่า​ตอบแทน หรือ​พูด​ให้​ตรง​กว่า ชาว​บ้าน​ยัง​มี​ปัญหา​เรื่อง​ปาก​ท้อง ยัง​มี​ปัญหา​หนี้​สิน การ​จะ​หวัง​ให้​งาน​จิต​อาสา​ ดำเนิน​ไป​ใน​ความ​หมาย​ของ​จิต​อาสา​ที่แท้ คือค​ น​ทำงาน​ไม่ห​ วัง​ผล​ตอบแทน จะ​ สามารถ​เกิด​ขึ้น​ได้จ​ ริง​หรือ เช้า​นี้​ยัง​ไม่มี​คำ​ตอบ และ​สายลม​ก็​คร้าน​จะ​บอก​ออก​มา จึง​ยัง​ไม่มี​คำ​ตอบ​จาก​สายลม เช้าน​ ี้ รถ​บสั ก​ ำลังพ​ า​พวก​เรา​ไป​ยงั ‘สถานีค​ ดั แ​ ยก​ขยะ’ ของ​มลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธฉือจ​ ี้ ใคร​หลาย​คนใน​คณะ​เดิน​ทาง​ต่าง​มอง​ไต้หวัน ​ผ่าน​บาน​หน้าต่าง​รถ​บัส และ​อด​ ไม่​ได้ที่​จะ​ชื่นชม​ถนน​หนทาง​ที่​สะอาด​สะอ้าน​ของ​ไต้หวัน และ​บ้าน​เรือน​ที่​เป็น​ ระเบียบ​เรียบร้อย “ถนน​กว้าง บ้าน​กว้าง ไม่สใู้​จ​กว้าง​นะ​คะ” อา​ส้ม​ว่า อา​สม้ เ​ล่าใ​ห้ฟ​ งั ว​ า่ อาสา​สมัคร​ทท​ี่ ำงาน​ให้ม​ ลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ จ​ี้ ะ​ออก​คา่ ใ​ช้จ​ า่ ย​ ใน​การ​เดิน​ทาง​คา่ ​อาหาร​รวม​ถงึ ​เครือ่ ง​แบบ​ใน​การ​ปฏิบตั ​หิ น้าที​เ่ อง ยาม​เมือ่ ​พวก​เขา ส​ วม​ใส่เ​ครือ่ ง​แบบ​ของ​อา​สา​สมัคร​ฉอื จ​ ี้ เสือ้ ส​ นี ำ้ เงินค​ รามและ​กางเกง​ขาว จะ​ตอ้ ง​ ปฏิบัติ​ตาม​กฎ​ระเบียบ​ของ​มูลนิธิ


ณ นาทีน​ ั้น​พวก​เขา​ไม่ใช่​พวก​เขา​อีก​ต่อ​ไป มี​หลัก​ปฏิบัตยิ​ าม​เมื่อ​สวม​ใส่​เครื่อง​แบบ​ของ​ฉือ​จี้​อยู่ 10 ข้อ กฎ​ทั้ง 10 ข้อ​ เป็น​ศีล​ธรรม​ที่​ศาสนา​พุทธ​สอน เช่น ไม่​เล่น​การ​พนัน ไม่โ​ป้​ปด ไม่ผ​ ิด​ลูก​ผิด​เมีย​ คน​อื่น แต่​จะ​เพิ่ม​กฎ​บังคับ​คือ ห้าม​ยุ่ง​เกี่ยว​การเมือง อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้​ไม่แ​ บ่ง​เขา​ แยก​เรา พวก​เขา​ทำงาน​ดว้ ย​หวั ใจ​ท​อี่ ยาก​ชว่ ย​เหลือ​เพือ่ น​มนุษย์ ค่า​ใช้​จา่ ย​ใน​การ​ ทำงาน อาสา​สมัคร​เป็น​คน​ออก​เอง บาง​ราย​บริจาค​เงิน​เข้าม​ ูลนิธิ​ด้วย มนุษย์​ใน​ชุด​น้ำเงิน​คราม​เป็น​มนุษย์​ผู้​มี​แต่​ให้ “เบิก​ไม่​ได้​นะ​คะ” อา​ส้ม​ว่า 21 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan



ชรา​แต่​กาย ใจ​ยัง​เยาว์

23 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

นอกจาก​อา​สม้ พวก​เรา​ยงั ม​ ม​ี คั คุเทศก์ห​ นุม่ อ​ กี ค​ น มา​ชว่ ย​ให้ค​ วาม​รู้ เขา​ชอื่ อา​จิน อา​จิน​เป็น​คน​หนุ่ม พูดไ​ทย​ชัดเจน เข้าใจ​วัฒนธรรม​ไทย​ดี​พอๆ กับ​ไต้หวัน เขา​เป็น​ชาว​ไต้หวัน แต่เ​กิด​ที่​เมือง​ไทย และ​เรียน​หนังสือ​ที่​ประเทศไทย​ระยะ​หนึ่ง ก่อน​จะ​กลับ​มายัง​ไต้หวัน ที่ ‘สถานี​คัดแ​ ยก​ขยะ’ แห่งน​ ี้ เป็น​หนึ่งใ​น​สถานี​หลาย​แห่ง​ที่​ตั้ง​ใน​ประเทศ​ ไต้หวัน พูด​ง่ายๆ ก็ค​ ือ​โรงงาน​แยก​ขยะ​ดๆ ี​ นี่เอง ทีส่​ ถานี​คัด​แยก​ขยะ​แห่ง​นี้​ไม่​ได้​ มี​เครื่อง​ไม้​เครื่อง​มือ​อะไร​มาก​ไป​กว่าค​ น​กับ​มือ​ทั้ง​สอง​ข้าง​ของ​พวก​เขา เกือบ​ทั้งหมด​เป็น​คน​แก่​นั่ง​บน​เก้าอี้​ตัว​เล็กๆ เป็น​กลุ่มๆ บ้าง​กำลัง​ ฉีกกระดาษ บ้าง​กำลัง​ไข​สก​รู บ้าง​กำลัง​แยก​ขวด​พลาสติก ภายนอก​โรง​เรือน มี​เด็ก​สาว​วัย​ราว 16-17 กำลังค​ ัด​แยก​ขวด​พลาสติก​ใส่​กระสอบ การ​แยก​ขยะ​ของ​อาสา​สมัคร จะ​แยก​ขยะ​ออก​เป็น 10 ประเภท ตาม​นวิ้ ม​ อื ​ของ​คน​เรา ขวด​พลาสติก​ทถี่​ ูก​ทิ้ง​จะ​ถูก​ส่ง​มายังส​ ถานี​คัด​แยก​ขยะ​แห่ง​ต่างๆ ของ​ มูล​นิธิ​พุทธฉือ​จี้ รัฐบาล​ไต้หวัน​ดำเนิน​นโยบาย​ให้​ประชาชน​คัด​แยก​ขยะ​ก่อน​ทิ้ง โดย​จะ​ไม่​เก็บค่า​​ขยะ​สำหรับ​ขยะ​ที่​ผ่าน​การ​คัด​แยก​และ​สามารถ​นำ​ไปรีไซเคิล​ได้ จึง​ทำให้​ประชาชน​ไต้หวันม​ ี​แรง​จูงใจ​คัด​แยก​ขยะ​ตั้งแต่​ใน​ครัว​เรือน


24

มากกว่าหนึ่งวัน


25 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เมือ่ ข​ ยะ​ซง่ึ ส​ ว่ น​ใหญ่ผ​ า่ น​การ​คดั แ​ ยก​มา​จาก​ครัวเ​รือน​ใน​ระดับห​ นึง่ จะ​เดินท​ าง ม​ า​ถงึ ส​ ถานีค​ ดั แ​ ยก​ขยะ​แห่งน​ ี้ อาสา​สมัคร​ของ​มลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธฉือจ​ จ​ี้ ะ​คดั แ​ ยก​ขวด​ตาม​ สี​และ​ประเภท​พลาสติก ถอด​ฝา ตัดข​ ั้ว​ฝา และ​ทำความ​สะอาด​ขั้น​ต้น ขวด​พลาสติก​เหล่า​นี้​จะ​เดิน​ทาง​ต่อ​ไป​ยัง​โร​งงานต้า​อ้าย (DA.AI) เข้า​สู่​ กระบวนการ​ทำ​เป็น​เส้นใย​ผลิต​เป็น​เสื้อผ้า​ต่อ​ไป ชาว​ฉือ​จี้​เรียก​ว่า ‘เส้นใย​แห่ง​ ความ​รัก’ ใช่ ฟัง​ไม่​ผิด​แน่ ขวด​พลาสติก​เหล่า​นี้​จะ​ถูก​นำ​ไป​รีไซเคิล​กลับ​เป็น​เสื้อผ้า กระเป๋า หมวก ถุงเท้า สินค้า​เหล่า​นี้​วาง​ขาย​ใน​ร้าน​ภาย​ใต้​แบรนด์ ‘DA.AI: Coexist with the Earth’ บริษัท DAAI Technology เจ้าของ​แบรนด์ DA.AI ก่อต​ ั้ง​โดย​นักธ​ ุรกิจ 5 คน ที่​ศรัทธา​ใน​วิถี​ปฏิบัติ​ของ​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ดำเนิน​การ​ผลิต​สินค้า​โดย​ การ​ใช้ว​ ตั ถุดบิ จ​ าก​ขวด​พลาสติก ด้วย​จติ ว​ ญ ​ิ าณ​ทม​ี่ อง​เห็นค​ วาม​เชือ่ ม​โยง​ระหว่าง​ โลก​กับ​มนุษย์ และ​องค์​ความ​รู้​ที่​เป็น​วิทยาศาสตร์ กว่า​สินค้า​จะ​ได้​คุณภาพ​ตาม​ มาตรฐาน สินค้า​ของ​แบรนด์น​ ี้​ผ่าน​การ​ทำ R&D โดย​นัก​วิจัย​และ​พัฒนา เป็นการ​ทำงาน​ร่วม​กัน​ระหว่าง​วิทยาศาสตร์​เทคโนโลยี​และ​จิต​วิญญาณ​ ธรรมชาติ ปัจจุบัน​ผู้​ถือ​หุ้น​ทุก​คน​ของ​บริษัท DAAI Technology ได้บ​ ริจาค​หุ้น​ของ​ บริษัท​ทั้งหมด​ให้​แก่​มูล​นิธิ​พุทธฉือ​จี้ การ​แปร​ขยะ​เปลี่ยน​เป็น​เสื้อผ้า เป็น​ภารกิจ​ ด้าน​สิ่ง​แวดล้อม ถือ​เป็น 1 ใน 8 ภารกิจข​ อง​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ อาสา​สมัคร​วยั ช​ รา​นงั่ ค​ ดั แ​ ยก​กระดาษ พวก​เขา​ละเอียด​ถงึ ข​ นาด​วา่ กระดาษ​ ทีม​่ ห​ี มึกป​ ะปน​มา​ดว้ ย จะ​ตอ้ ง​ตดั ส​ ว่ น​ทม​ี่ ห​ี มึกอ​ อก ชาย​ชรา​คน​หนึง่ น​ งั่ ล​ อก​สาย​ไฟ ​ออก​เพื่อแ​ ยก​พลาสติก​ออก​จาก​ลวด​ทองแดง ขยะ​ทุก​ชิ้น​ล้วน​มี​ที่​ไป​ของ​มัน​เสมอ มัน​ไม่ใช่ข​ อง​ไร้ค​ ่า อาสา​สมัคร​ที่มา​ช่วย​งาน​ใน​สถานี​คัด​แยก​ขยะ​แห่ง​นี้ พวก​เขา​หลาย​คน​ เป็น​คน​มี​ฐานะ มีช​ ีวิต​สะดวก​สบาย แต่ก​ ็​ไม่​รังเกียจ​ที่​จะ​มา​ทำงาน​ที่​บาง​คน​มอง​ ว่า​ต่ำต้อย


26

มากกว่าหนึ่งวัน


27

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


28

มากกว่าหนึ่งวัน

“สรุป​แล้ว​มี​แต่​คน​แก่​มา​ทำ​ประ​โย​ชน์​เนา​ะ” พ.ต.ท.สุร​ชัย แห่ง ทต.เขมราฐ รำพึงข​ ึ้น “เหมือน​พวก​เขา​ใช้​เวลา​ว่าง​ให้​เป็น​ประโยชน์” จ่า​สิบ​เอก​ไพศาล มีส​ มบัติ แห่ง อบต.บ้าน​ควน รำพัน​ตาม “คน​แก่​บ้าน​ผม​นั่ง​ปอก​หัว​หอม” สินธพ อิน​ทรัตน์ นายก อบต. ท่า​ข้าม กล่าว​เสริม พวก​เขา​ทั้ง 3 ยืนท​ ึ่ง​กับ​ภาพ​ตรง​หน้า “ลอง​ดมู​ ั้ย” เจ้าห​ น้าทีอ่​ าสา​สมัคร​เอ่ย​ชวน​คณะ สม​พร ใช้​บาง​ยาง ผู้​ที่​เป็น​ที่​เคารพ​ของ​ชาว​คณะ เดิน​ลุย​กอง​ขยะ​ ลง​ไป​เป็น​คน​แรก จาก​นั้น​ชาว​คณะ​ทั้งหมด​ต่าง​สวม​ถุงมือ คัด​แยก​ขยะ​ ร่วม​กับอ​ า​สา​สมัคร​ฉือ​จี้ กระบวนการ​จดั การ​ขยะ​ทส​ี่ ถานีค​ ดั แ​ ยก​ขยะ​สร้าง​ราย​ได้ใ​ห้แ​ ก่ม​ ลู นิธ​ิ ใน​การนำ​ไป​ต่อย​อด​ภาร​กิจ​อื่นๆ เช่น สร้าง​โรงเรียน สร้าง​โรง​พยาบาล สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย และ​ช่วย​เหลือ​ผู้​ประสบ​ภัย คำ​กล่าว​ที่​ว่า ‘เปลี่ยน​ขยะ​เป็น​ทองคำ’ จึง​ไม่ใช่​ถ้อยคำ​ที่​ใหญ่​กว่า​ ความ​หมาย​ของ​มัน​แต่อ​ ย่าง​ใด


29 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เรา​ค ง​คุ้ น ​ชิ น ​จ าก​ห นั ง ​จ าก​ ภาพยนตร์ ว่ า ​เ มื่ อ ​ถึ ง ​บั้ น ปลาย คน​ ชรา​ชาว​อเมริกัน​จะ​ต้อง​ย้าย​เข้าไป​อยู่​ ใน​บ้ า น​พั ก ​ค น​ช รา ดำรง​ชี วิ ต ​อ ย่ า ง​ เงียบเหงา แต่ค​ น​ชรา​ที่​นี่ ยังม​ ี​หัวใจ​ที่​ แข็งแ​ รง คน​ชรา​ทน​ี่ ม​ี่ ห​ี วั ใจ​ทเ​ี่ ต็มเ​ปีย่ ม​ ดุจ​วัยเ​ยาว์ พวก​เขา​เดิน​ทางออก​มา​ จาก​บ้าน​ใน​ตอน​เช้า ทำการ​งาน​ที่​ อยู่​ตรง​หน้า​ด้วย​ความ​รัก ใน​แต่ละ​เช้าท​ พ​ี่ วก​เขา​ลมื ตา​ ตื่น มัน​คง​เหมือน​การ​ตื่น​เช้า​ของ​ นักเรียน​ที่​มี​ความ​กระตือรือร้น ใน​วัน​แรก​ที่​เปิด​เรียน


30

มากกว่าหนึ่งวัน

เห็นข​ ยะ​แล้วอ​ ยาก​กลับ​บ้าน วัน​หนึ่ง​ใน​ปี ค.ศ.1990 ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​ได้​รับ​เชิญใ​ห้​แสดง​ธรรม ณ เมือง​ไถ​จง ใน​ขณะ​ที่​ออก​เดิน​ทาง​ตอน​เช้า​มืด​นั้น ท่าน​เห็น​พ่อค้า​แม่​ขาย​ ใน​ตลาด​กำลัง​เก็บ​แผง​ค้า​ของ​ตนเอง แต่​ขยะ​จำนวน​มหาศาล​ถูก​ปล่อย​ทิ้ง​ตาม​ ท้อง​ถนน หลัง​จาก​การ​แสดง​ธรรม​เสร็จ​สิ้น ผู้คน​ปรบ​มือ​ให้​กำลัง​ใจ​ชื่นชม​ดัง​กึกก้อง ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยจ์​ ึง​เอ่ย​ขึ้น​ว่า “ขอ​ให้​ทุก​ท่าน​ใช้​สอง​มือ​ที่​กำลัง​ปรบ​อยู่​นั้น มา​ช่วย​กัน​เก็บ​ขยะ​ตาม​ท้อง​ ถนน เพือ่ น​ ำ​กลับม​ า​รไี ซเคิล ช่วย​ให้ช​ มุ ชน​ของ​เรา​สะอาด ร่วม​กนั แ​ ปร​เปลีย่ น​ขยะ​ ให้เ​ป็น​ทองคำ แปร​เปลี่ยน​ทองคำ​ให้​เป็นใจ​รัก” ด้วย​การ​ผลัก​ดัน​จาก​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์ ส่ง​ผล​ให้​เกิด​การ​รณรงค์ ‘โครงการ​ แยก​สิ่งของ​รีไซเคิล บริจาค​ช่วย​เห​ลือ​ฉือ​จี้’ ใน​บริเวณ​พื้นที่​บ้าน​ใกล้​เรือน​เคียง​ ของ​ตนเอง หลังจ​ าก​ทดลอง​แยก​ขยะ​กนั เ​สร็จเ​รียบร้อย ชาว​คณะ​ตา่ ง​ลา้ ง​ไม้ล​ า้ ง​มอื ก​ นั ​ เพื่อเ​ดินท​ าง​ต่อ หลาย​คน​เห็นร​ ะบบ​การ​จัดการ​ขยะ​ของ​มูลน​ ิธพิ​ ุทธ​ฉือ​จแี้​ ล้วก​ อ็​ ด​ ไม่​ได้ที่​จะ​พูด​ถึง​เรื่อง​ขยะ​ของ​บ้าน​ตัวเ​อง


สิ​ริ​พงษ์ ชู​ชื่น​บุญ แห่ง อบต.บัก​ได มอง​เห็น​ความ​ศรัทธา​ของ​นัก​ธุรกิจ​

31 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ผู้​ก่อ​ตั้งบ​ ริษัท DAAI Technology ผู้รับไ​ม้​ต่อ​ขยะ​จาก ‘สถานี​คัด​แยก​ขยะ’ แห่งน​ ี้ แล้ว​นำ​เข้า​สู่​กระบวนการ​รีไซเคิล​เป็น​เส้นใย ผลิต​เป็น​เสื้อผ้า นัก​ธุรกิจ​กลุ่ม​นี้​ ศรัทธา​วิถี​ปฏิบัตแิ​ ละ​แนวคิดข​ อง​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยเ์​จิ้ง​เอี๋ยน เขา​มอง​วา่ ชุมชน​บกั ไ​ด​ของ​เขา​กม​็ ค​ี วาม​รกั ค​ วาม​ศรัทธา​ใน​พระบาท​สมเด็จ​ พระเจ้าอยู่หัว “เรา​มี​โครงการ​ที่​จะ​ทำ​อยู่​แล้ว เป็น​โครงการ​เดิน​ตาม​รอย​เท้า​พ่อ อยูอ่​ ย่าง​ พอ​เพียง จะ​เป็น​โครงการ​ลักษณะ​นี้ เมื่อ​ผม​มา​เห็น​ที่​นี่ ก็​อยาก​กลับ​ไป​ทำให้​เป็น​ รูปธ​ ร​ รม​ทช​ี่ ดั เจน ถ้าส​ งิ่ ไ​หน​ทช​ี่ าว​บา้ น​ชาว​บกั ไ​ด​รว่ ม​กนั ท​ ำ​เพือ่ ถ​ วาย​ในหลวง มัน​ จะ​เป็น​รูป​ธรรม​ทชี่​ ัดเจน​ขึ้น” ที่​ตำบล​บัก​ได อำเภอ​พนม​ดง​รัก จังหวัด​สุรินทร์ ใน​ฐานะ​ที่​ทำงาน​ชุมชน สิ​ริ​พงษ์ บอก​ว่า โดย​พื้น​ฐาน​แล้ว การ​ช่วย​เหลือ​กัน​ใน​หมู่บ้าน​ใน​ตำบล​นั้น มี​อยู่​ แล้ว​เป็น​เรื่อง​ปกติ “แต่เ​รา​อาจ​จะ​ไม่รต​ู้ วั ว​ า่ เ​รา​กำลังท​ ำงาน​จติ อ​ าสา​อยู่ ก็ค​ อื ม​ า​ชว่ ย​กนั ท​ ำงาน ไม่ว​ า่ จ​ ะ​เป็นง​ าน​บา้ น​งาน​โรงเรียน คน​บกั ไ​ด​ไม่ท​ อด​ทงิ้ ก​ นั ซึง่ เ​ข้าข​ า่ ย​จติ อ​ าสา และ​ น่า​จะ​เป็น​ไป​ได้​ถ้าเ​รา​จัดการ​ดีๆ เพราะ​โดย​พื้น​ฐาน เรา​ช่วย​เหลือ​กันอ​ ยู่​แล้ว แต่​ อาจ​จะ​ไม่​ใหญ่​โต​ขนาด​ไป​สร้าง​โรงเรียน​สร้าง​โรง​พยาบาล​เห​มือ​นที่​ฉือ​จี้” เขา​ว่า ไสว จันทร์​เหลือง นายก​ อบต.​ศรี​ฐาน ก็​เป็น​อีก​คน​หนึ่ง​ที่​เห็น​ขยะ​แล้ว​ อยาก​กลับบ​ ้าน ทีต​่ ำบล​ศรีฐ​ าน อำเภอ​ปา่ ติว้ จังหวัดย​ โสธร ไสว​ยนื ยันว​ า่ ทีน​่ นั่ ก​ เ​็ ต็มไ​ป​ดว้ ย ​จิต​อาสา​เช่น​เดียว​กับ​ที่​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ เพียง​แต่​อาจ​มี​ข้อ​แตก​ต่าง​ตรง​ที่​การ​วาง​ ระบบ​การ​บริหาร​จัดการ มูลน​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ ม​ี้ ภ​ี ารกิจ 8 ด้าน ซึง่ ภ​ ารกิจแ​ ต่ละ​ดา้ น​ไม่ไ​ด้เ​กิดข​ นึ้ ม​ า​ภายใน​ วัน​เดียว แต่ละ​ภารกิจใ​ช้​ระยะ​เวลา​กว่าภ​ ารกิจ​ละ 10 ปี ที่​ศรี​ฐาน​มี​จุด​ยึดเ​หนี่ยว​คือ​หลวง​ปู่​สรวง “ที่ ​ศ รี​ฐ าน เรา​มี ​ห ลวง​ปู่ ​ส รวง​เป็ น ​จุ ด ศู น ย์ ก ลาง​ข อง​ชุ ม ชน ท่ า น​เป็ น​ เกจิอาจารย์​ชื่อ​ดัง จะ​พา​ลูก​หลาน​ทำ​กิจกรรม ชาว​บ้าน​อยาก​ได้​อะไร หลวง​ปู่​


32

มากกว่าหนึ่งวัน

จะ​ออก​เงิน​ให้ แต่ช​ าว​บ้าน​เป็น​คน​ทำ​เอง​นะ ไม่ว​ ่า​ถนน​คอนกรีต ทำ​โรงเรียน ทำ​ โรง​พยาบาล​ชุมชน หลวง​ปู่​เป็น​คน​พา​ชาว​บ้าน​ทำ​หมด​เลย แล้ว​ท่าน​ก็​ซื้อ​วัสดุ​ อุปกรณ์​ให้ห​ มด แต่ถ​ ้าอ​ ยาก​ได้​ต้อง​ทำ​เอง​นะ ไม่มคี​ ่าแรง​นะ​ครับ ชาว​บ้าน​ที่มา​ ช่วย​ทำงาน​ชุมชน” เขา​เล่า สายตา​จาก​เพื่อน​บ้าน​มัก​มอง​คน​ศรี​ฐาน​ว่า​เป็น ‘คน​โง่’ เพราะ​เพื่อน​บ้าน​ ชุมชน​ติด​กัน​มอง​ว่า คน​ศรี​ฐาน​ทำงาน​แล้ว​ไม่​ได้​เงิน ให้​เขา​หลอก​ใช้​ทำงาน แต่​ ไสว​ยืนยัน​ว่า คน​ศรี​ฐาน​เป็น​คน​ที่​มี​จิต​ศรัทธา “คน​ศรีฐ​ าน​ศรัทธา​ในหลวง​ปส​ู่ รวง ทำงาน​ใช้แ​ รงงาน​เพือ่ ช​ มุ ชน​นะ เรา​เป็น​ แบบ​นมี้​ า 10 กว่าป​ แี​ ล้ว ตั้งแต่ห​ ลวง​ปมู่​ า​ตั้งแต่ป​ ี 2543 ทีฉ่​ ือ​จคี้​ ล้าย​บ้าน​ผม​เลย​ นะ แม้วา่ บ​ า้ น​ผม​จะ​อากาศ​รอ้ น​กว่าก​ ต็ าม คือท​ น​ี่ เ​ี่ ขา​มร​ี ะบบ​จดั การ​ทด​ี่ ี เขา​ทำ​มา​ นาน​แล้ว ระบบ​ของ​เขา​จงึ มีมาตรฐาน แต่ข​ อง​เรา​ไม่มร​ี ะบบ แต่ผ​ ลลัพธ์ม​ นั ก​ ค​็ ล้าย​ กัน คือ​คน​พร้อม​ที่​จะ​ช่วย​งาน​ชุมชน​โดย​ไม่ค​ ิด​ค่า​ตอบแทน” “ไม่มี​แบบ​ว่า นา​ยกฯ ขอ​ค่าแรง​หน่อย​เห​รอ​ครับ” เรา​ถาม “ไม่มเ​ี ลย หลังจ​ าก​ผใู้ หญ่บ​ า้ น​ประกาศ​เสียง​ตาม​สาย วันน​ ม​ี้ เ​ี ท​คอ​นก​รตี เ​ด้อ มี​ปูน​อยู่ 100 กว่าก​ ระสอบ อยาก​ให้เ​สร็จ​วันเ​ดียว​เด้อ เขา​ก็​แห่​กัน​ไป คน​ไหน​ที่​ ว่าง ไม่มภ​ี ารกิจอ​ ยาก​ให้ม​ า​ชว่ ย​กนั เรียบร้อย...แป๊บเ​ดียว​เสร็จ พืน้ ฐ​ าน​คน​ศรีฐ​ าน​ จะ​ช่วย​เหลือ​กัน ทุก​คน​อยาก​มี​ส่วน​ร่วม” “ถ้า​วัน​หนึ่ง​ไม่มี​หลวง​ปู่?” “ถ้า​ท่าน​ไม่​อยูก่​ ับ​เรา​แล้ว ศรีฐ​ าน​จะ​ยัง​คง​มี​จิตสำนึก​ที่​เคย​ช่วย​กัน​เมื่อ​ครั้ง​ หลวง​ปู่​ยัง​อยู่ มัน​จะ​ยัง​เหลือ​อยู่​นะ​ครับ ประกาย​ไฟ​แรก​เกิด​จาก​หลวง​ปู่ วัด​เป็น​ ที่​ยึด​เหนี่ยว​ของ​ชาว​บ้าน” ขยะ​เป็น​ปัญหา​หนักอก​ของ​ไสว ประหนึ่ง​สิว​หัว​ช้าง​บน​ใบหน้า​วัย​รุ่น เขา​ ยอมรับ​ว่า​ขยะ​เป็น​เรื่อง​ยาก เพราะ​ขยะ​เป็น​สิ่ง​ที่​คนใน​ชุมชน​ศรี​ฐาน​ไม่อ​ ยาก​เสีย​ เวลา​ไป​คัด​แยก “ผม​เคย​ถาม​ชาว​บ้าน​แล้ว เขา​ไม่อ​ ยาก​เล่น​ด้วย เขา​บอก​ว่า​มคี​ น​งาน อบต. มา​เก็บ​ขยะ​อยู่ จะ​ไป​แยก​ให้​เสีย​เวลา​ทำไม แต่ท​ ี่​เสียเ​วลา​มัน​เป็น​เงิน​นะ” นา​ยกฯ​ ไสว ตัดพ้อ


เขา​มอง​ว่า​โมเดล​ทมี่​ ูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จที้​ ำ​อยู่ เป็นส​ ิ่ง​ที่​ยาก “ยาก​เลย เพราะ​เรา​บังคับ​เขา​ไม่​ได้ ไป​บังคับ​ชาว​บ้าน เขา​ก็​เบื่อ​เรา” เขา​ว่า

33 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

การเมือง​ทำให้ช​ าว​บ้าน​นิสัย​เสีย ไสว​มอง​เช่นน​ ั้น “มันผ​ ดิ ม​ า​จาก​รฐั บาล​สว่ น​กลาง รัฐบาล​ทำให้ช​ าว​บา้ น​มกั ง​ า่ ย ทำให้ช​ าว​บา้ น รอ​ความ​ช่วย​เหลือ รอ​ภาค​รัฐ ประชา​นิยม​มี​ข้อ​เสีย​แบบ​นี้​แหละ ทำให้​ชาว​บ้าน​ ไม่​กระตือรือร้น รอ​ความ​ช่วย​เหลือ แต่​เรื่อง​แบบ​นี้​มัน​ขึ้น​อยู่​กับ​ประชาชน คน​ ไต้หวันม​ ร​ี ะเบียบ​ตงั้ แต่อ​ ยูใ​่ น​บา้ น​ของ​เขา​แล้ว บ้าน​เมือง​สะอาด​สะอ้าน ไม่เ​หมือน​ บ้าน​เรา​ต่าง​กัน​มาก​เลย” “เท่า​ที่​ฟัง​นา​ยกฯ​ไสว​พูด​มา ผม​คิด​ว่า​ชาว​ศรี​ฐาน​ไม่มี​ปัญหา​เรื่อง​การ​ ช่วย​เหลือ​ส่วน​รวม แต่ป​ ัญหา​คือ​นิสัย​มัก​ง่าย​ใช่ม​ ั้ย​ครับ” “คน​ไทย​ของ​เรา​มัก​ง่าย​เนา​ะ” เขา​ตอบ​ตรง “แต่​เรื่อง​จิต​อาสา ผม​รับรอง​ เลย ศรี​ฐาน​ไม่​น้อยห​น้า​ใคร”


34

มากกว่าหนึ่งวัน

วันใ​ ด​ไม่​ทำงาน วันน​ ั้นไ​ ม่​ขอ​ฉัน​อาหาร คำ​กล่าว​ทวี่​ ่า ‘เปลี่ยน​ขยะ​เป็น​ทองคำ’ ไม่ใช่​เรื่อง​ล้อ​เล่น​เลย เพราะ​ต้นทุน​ ใน​การ​บริหาร​จัดการ​งาน​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย 25 เปอร์เซ็นต์​มา​จาก​สถานี​ คัด​แยก​ขยะ​รีไซเคิล​ทเี่​รา​เพิ่ง​ไป​เยี่ยม​ชม​มา เรา​กำลัง​มุ่ง​หน้าไ​ป​ยัง​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย แต่​ที่​ไม่ใช่​เรื่อง​ล้อ​เล่น​เลย​อย่าง​ยิ่ง​ก็​คือ ความ​ศรัทธา​ของ​อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้​ ที่​มี​แด่​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ผู้​ก่อ​ตั้ง​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ อะไร​ทำให้​ผู้​หญิง​คน​หนึ่ง​ที่​ออก​แสวง​ทาง​ธรรม ได้​รับ​ความ​ศรัทธา​จน​ก่อ​ ให้​เกิด​ความ​เปลี่ยนแปลง​ระดับโ​ลก​อย่าง​นี้ เด็กส​ าว​คน​หนึง่ เ​ติบโต​ขนึ้ ม​ า​ใน​ภาค​กลาง​ของ​ไต้หวัน ช่วง​วยั แ​ ห่งก​ าร​เติบโต​ ของ​เธอ​ดำเนินค​ วบคูไ​่ ป​กบั ส​ งคราม บท​เรียน​แรก​ใน​ชวี ติ ข​ อง​เด็กส​ าว​คอื ค​ วาม​โหด​ ร้าย​ของ​สงคราม ใน​วัย 23 หลังจ​ าก​บิดา​เสีย​ชีวิต​ด้วย​โรค​เส้นเลือด​ใน​สมอง​แตก คำ​บอก​กล่าว​จาก​ความ​ตาย​บอก​เธอ​ว่า ชีวิต​นั้น​ไม่เ​ที่ยง จาก​นนั้ ท​ า่ น​ธร​รมา​จาร​ยเ​์ จิง้ เ​อีย๋ น ศึกษา​พระ​ธรรม เดินท​ าง​แสวง​ธรรม จน​


35 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

มา​ปกั ห​ ลักท​ เ​ี่ มือง​ฮว​ า​เหลียน ภาค​ตะวันอ​ อก​ของ​ไต้หวัน ท่าน​เชือ่ ว​ า่ ห​ าก​ปลุกก​ ศุ ล​ จิตใ​น​บคุ คล​หนึง่ แ​ ล้ว และ​หาก​เขา​ผน​ู้ นั้ ไ​ม่ค​ ลาย​ศรัทธา ก็ส​ ามารถ​ปลุกศ​ รัทธา​คน​ ต่อๆ ไป จน​ทุก​คน​มี​กุศล​จิต​จน​จำนวนนับ​ไม่​ถ้วน ถ้า​เป็น​เช่นน​ ั้น​พระ​โพธิสัตว์​ก็​ อยูใ่​น​ดิน​แดน​มนุษย์​นั่นเอง ท่าน​เชื่อ​เช่น​นั้น วันห​ นึง่ เ​มือ่ ท​ า่ น​ธร​รมา​จาร​ยเ​์ จิง้ เ​อีย๋ น​เดินผ​ า่ น​คลินกิ แ​ ห่งห​ นึง่ พบ​กอง​เลือด​ กอง​หนึง่ แต่ไ​ม่พ​ บ​ผป​ู้ ว่ ย​เจ้าของ​กอง​เลือด จึงต​ าม​หา​สาเหตุ พบ​วา่ กอง​เลือด​กอง​นนั้ เป็นข​ อง​หญิงผ​ ห​ู้ นึง่ ซ​ งึ่ แ​ ท้งล​ กู เพราะ​ไม่มเ​ี งินม​ ดั จำ​การ​รกั ษา ความ​ปวด​รา้ ว​เกิดข​ นึ้ ​แก่​จิตใจ หลังฟ​ ัง​เรื่อง​ราว จึงต​ ั้งป​ ณิธาน​ว่า จะ​เรี่ย​ราย​เงิน​เพื่อช​ ่วย​คนจน ขณะ​นั้น​ด้วย​วัย 29 ปี ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยเ์​จิ้ง​เอี๋ยน และ​ภิกษุณี​อีก 4 ท่าน รวม​ถึง​ลูก​ศิษย์อ​ ีก 30 คน ได้​ร่วม​กัน​ทำ​รองเท้า​เด็ก อดออม​เงิน​ค่า​กับข้าว​ลง​ใน​ กระบอก​ไม้ไผ่​วัน​ละ​ประมาณ 50 สตางค์ น้อมนำ​หลัก​พรหม​วิหาร 4 อัน​ได้แก่ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เพื่อ​ทำงาน​การ​กุศล​ต่างๆ เช่น สงเคราะห์​ผู้​ทุกข์​ ยาก ช่วย​เหลือ​คน​ยากจน และ​บรรเทา​ภัยฉ​ ุกเฉิน ปี พ.ศ. 2509 มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ ได้​ก่อ​ตั้ง​ขึ้น​อย่าง​เป็น​ทางการ ณ วัด​ผู่ห​มิง หมู่​บ้าน​เจียห​มิน ใน​วัน​นั้น​ท่าน​นำ​เหล่า​ลูก​ศิษย์​ปฏิบัติ​ธรรม ณ วัด​ผู่ห​มิง โดย​ ทุก​คน​ต่าง​ดำเนิน​ชีวิต​ด้วย​การ​พึ่งพา​ตนเอง ยึด​กฎ​ที่​ว่า




38

มากกว่าหนึ่งวัน

“วัน​ใด​ไม่​ทำงาน วัน​นั้น​ไม่​ขอ​ฉัน​อาหาร” โดย​ใน​ช่วง​นั้น ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​นำ​เหล่า​สานุศิษย์​เข้า​สู่​มุมมืด​ ของ​สังคม​ด้วย​ตนเอง เพื่อ​ไป​ดูแล​ผู้​ป่วย​ยากไร้ แต่​ยิ่งช​ ่วย​เหลือ​คน​ยากจน​กลับ​มี​ จำนวน​เพิม่ ข​ นึ้ ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยเ​์ จิง้ เ​อีย๋ น วิเคราะห์ข​ อ้ มูลท​ ไ​ี่ ด้จ​ าก​การ​ลงพืน้ ท​ ด​ี่ ว้ ย​ ตนเอง​ใน​ช่วง​ที่​ผ่าน​มา จึงพ​ บ​ว่า ผู้คน​ที่​ยากจน​ก็​คือ​คน​คน​เดียว​กับ​คน​ป่วย มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้​เพิ่ม​ภารกิจ​ใน​ส่วน​การ​รักษา​พยาบาล จาก​นั้น​ก็​มี​ภารกิจ​ อืน่ ต​ าม​มา จนถึงป​ จั จุบนั มูลน​ ธิ พิ​ ทุ ธ​ฉอื จ​ ม​ี้ ภ​ี ารกิจท​ งั้ หมด 8 เรือ่ ง การ​กศุ ล การ​ รักษา​พยาบาล การ​ศกึ ษา ด้าน​จริยธรรม​ศาสตร์ การ​บรรเทา​ทกุ ข์ร​ ะหว่าง​ประเทศ กา​รบ​รจิ​ าค​ไขข้อ​กระดูก การ​อนุรักษ์​สิ่ง​แวดล้อม และ​อาสา​สมัคร​ชุมชน ถ้า​เรา​ดู​จาก​ภารกิจ​ของ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ จะ​พบ​ว่า​ครอบคลุม​ทุก​มิติ​ความ​ เป็น​มนุษย์ อย่าง​ที่​บอก​ไป​ตั้งแต่ต​ อน​ต้น มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้​มี​อาสา​สมัคร​กระจาย​ตัว​อยู่​ ทั่ว​โลก​กว่า 5 ล้าน​คน พวก​เขา​ทำงาน​ใน​แต่ละ​ภารกิจ​ของ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ อย่าง​ ทีอ​่ า​สม้ บ​ อก​พวก​เรา อาสา​สมัคร​เหล่าน​ ไ​ี้ ม่มค​ี า่ ต​ อบแทน การ​เป็นอ​ าสา​สมัคร​ของ​ มูลน​ ิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ ต้อง​มี​จิตใจ​ของ​การ​เป็น​ผู้​ให้​อย่าง​แท้จริง แต่ละ​ภารกิจท​ ม​ี่ ลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ ท​ี้ ำ​นนั้ ใช้เ​วลา​ไม่ใช่น​ อ้ ย กว่าจ​ ะ​เป็นอ​ งค์กร​ ระดับโ​ลก​อย่าง​วัน​นี้ ใช้​เวลา​เป็น​หลาย​สิบ​ปี เรื่อง​ราว​ทั้งหมด​ไม่​ได้เ​กิด​ขึ้น​ภายใน​วัน​เดียว


39 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

มื้อ​เที่ยง​ทำให้ ป้า​นิ่ม-วนิษฐา ธง​ไชย แห่ง อบต.ศรี​ฐาน ต้อง​ซึม​เศร้าผ​ ิด​ นิสยั ช​ า่ ง​พดู ช​ า่ ง​คยุ ข​ อง​เธอ ก็เ​พราะ​วา่ ก​ บั ข้าว​ตรง​หน้าไ​ม่ค​ อ่ ย​ถกู ปาก​ปา้ น​ มิ่ น​ กั แต่​ โชค​ดที​ ี่ ภา​นุวุธ บูรณ​พรหม นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​ผา​สิงห์ นำ​สารพัด​ น้ำ​พริก​ติด​กระเป๋าม​ า​จาก​ผา​สิงห์ จังหวัดน​ ่านด้วย เมื่อ​เห็น​น้ำ​พริก ป้าน​ ิ่ม​ก็​ตัก​ใส่​ข้าว​สวย​ญี่ปุ่น​เสีย​หน่อย ชาว​ไต้หวันท​ าน​ขา้ ว​สวย​ญป่ี นุ่ เม็ดส​ น้ั เห​นยี วๆ หนึบๆ ไต้หวันต​ ก​เป็นเ​มือง​ขน้ึ ​ ของ​ญี่ปุ่น​ระหว่าง​ปี ค.ศ. 1895 จนถึง​ช่วง​สิ้น​สุด​สงครามโลก​ครั้ง​ที่ 2 หลัง​มื้อ​เที่ยง มี​เสียง​ล่ำ​ลือ​กัน​ว่า นา​ยกฯ​ธาดา อำ​พิน แห่ง อบต.อุทัยเ​ก่า แอบ​หยิบ​เมล็ด​แตงโม​ใส่​กระเป๋า หวังจ​ ะ​ไป​ลอง​ปลูก​ที่​บ้าน ก่อน​ที่​จะ​มา​เป็น​นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​อุทัย​เก่า นา​ยกฯ​ธาดา​ เคย​เป็นโ​ร​บิน​ฮู้​ดอยู่​ประเทศ​ญี่ปุ่น เรื่อง​ราว​ของ​เขา​ใน​ประเทศ​ญี่ปุ่น​ชวน​ให้​นึกถึง เฉิน​หลง​ใน​ภาพยนตร์เ​รื่อง Shinjuku Incident ที่​ว่า​ด้วย​คน​จีน​ที่​เข้าไป​ทำงาน​ใน​

Made in Taiwan

โร​บิน​ฮู้​ด​ขโมย​เมล็ด​แตงโม


40

มากกว่าหนึ่งวัน

ตลาด​มืดป​ ระเทศ​ญี่ปุ่น เรือ่ ง​เล่าข​ อง​นา​ยกฯ​ธาดา​โลดโผน​จน​ไม่เ​ชือ่ ว​ า่ ว​ นั น​ เ​ี้ ขา​จะ​กา้ ว​มา​เป็นน​ ายก อบต. ผูห้​ วัง​จะ​นำ​เมล็ด​แตงโม​ไต้หวันไ​ป​ลอง​ปลูกท​ ี่​อุทัย​เก่า ระหว่าง​ทาง​ที่​นั่ง​อยู่​ บน​รถ​บัส นา​ยกฯ​ธาดา​ชี้​ชวน​ให้​ดู​ต้นไม้​ใน​ไต้หวัน “อาสา​สมัคร​สว่ น​ใหญ่ท​ ท​ี่ ำงาน​ใน​ชมุ ชน​อทุ ยั เ​ก่าก​ เ​็ ป็นข​ า้ ราชการ​ทเ​ี่ กษียณ​ อายุ” นา​ยกฯ​ธาดาเกริน่ และ​เล่าต​ อ่ ว่า “หลังจ​ าก​เกษียณ​อายุร​ าชการ​แล้ว คน​กลุม่ น​ ​ี้ ก็​กลับ​มา​ทำงาน​เพื่อ​สังคม​โดย​ไม่มี​ค่า​ตอบแทน คน​กลุ่ม​นี้​ก็​จะ​ทำงาน​อาสา​ใน​ ด้าน​ต่างๆ ตาม​ความ​สามารถ​ที่​พวก​เขา​มี บาง​คน​สอน​ภาษา​อังกฤษ​ให้​เด็ก ซึ่ง​ก็​ ทำให้​งาน​อาสา​ทอี่​ ุทัย​เก่า​ค่อน​ข้าง​หลาก​หลาย” เขา​เล่า​ว่า ใน​ชุมชน​อุทัย​เก่า​มี​ทั้งคน​รวย​และ​คนจน จุด​เชื่อม​ระหว่าง​คน ​ที่​มี​ความ​แตก​ต่าง​ทาง​เศรษฐกิจ​คือ ความ​เอื้อ​อาทร “ผม​จะ​พูด​เสมอ​ว่า เงิน​ไม่ใช่​สิ่ง​สำคัญ สิ่ง​สำคัญ​คือ​ความ​เอื้อ​อาทร เมื่อ​ ก่อน​คน​ที่​ทำงาน​อาสา​มี​น้อย แต่​พอ​คน​กลุ่ม​นี้​ยืน​ยันใ​น​สิ่ง​ที่​ตัว​เอง​ทำ มัน​ก็​ทำให้​ คน​อื่น​มอง​เห็น เมื่อ​คน​อื่น​เห็น​เขา​ก็​เริ่ม​เปิดใ​จ​เข้า​มา” หลัง​จาก​คาย​เมล็ด​แตงโม นา​ยกฯ​ธาดาบอก​ว่า “มา​ที่​นี่ ไอ​เดีย​ผม​ผุด​มาก​ เลย ผม​ไป​ยโุ รป ไป​ญปี่ นุ่ แต่ผ​ ม​ชอบ​ทน​ี่ ม​ี่ ากกว่า เพราะ​เรา​สามารถ​กลับไ​ป​ทำได้ เช่น​เรื่อง​ขยะ” นา​ยกฯ​ธาดา​บอก​วา่ ปัจจุบนั ท​ อ​ี่ ทุ ยั เ​ก่าก​ ค​็ ดั แ​ ยก​ขยะ​กนั อ​ ยูแ​่ ล้ว ซึง่ เ​ขา​มอง​ ว่า​เมื่อ​ชาว​บ้าน​คัด​แยก​แล้ว อบต. น่า​จะ​รับ​ไม้​ต่อ อาจ​จะ​ใช้​สถาน​ที่​ใน​โรงเรียน​ เพื่อใ​ห้​เด็ก​มสี​ ่วน​ร่วม “เรา​ปฏิญาณ​ไว้​ว่าจ​ ะ​ไม่มี​รถ​เก็บ​ขยะ อุทัย​เก่าจ​ ะ​ไม่มถี​ ัง​ขยะ อย่าง​ที่​บอก​ ตอน​นช​ี้ าว​บา้ น​เขา​คดั แ​ ยก​ตงั้ แต่ค​ รัวเ​รือน​แล้ว แต่ย​ งั ไ​ม่มสี​ ถาน​ทท​ี่ เ​ี่ ป็นศ​ นู ย์กลาง​ ใน​การ​รับข​ ยะ​เหล่า​นั้น​มา​อีก​ที ผม​จะ​กลับไ​ป​ทำ​สถาน​ที่” “ได้​สถาน​ที่​แล้ว ใคร​จะ​เป็น​คน​ลงมือ​ทำ?” เรา​ถาม “คน​ที่​ทำงาน​อาสา​เรา​มอี​ ยู่​แล้ว เรา​ไม่​กลัว​เรื่อง​นี้​แล้ว เรา​มี​อยูแ่​ ล้ว”


ข้อถ​ ก​เถียง​แกล้ม​กาแฟ​บ่าย

41 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

สื่อ​เป็น​เครื่อง​มือ​สำคัญ​ใน​การ​สร้าง​อุดมการณ์​ของ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ ใน​ การ​เกิด​ภัย​พิบัติ​นั้น ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยนเคย​กล่าวว่า ​สื่อ​ควร​ต้อง​ออก​ไป​ สังเกตการณ์ บันทึกเ​หตุการณ์เ​พือ่ น​ ำ​มา​ถา่ ยทอด​ให้ค​ น​อนื่ ไ​ด้ร​ บั ร​ ู้ เพือ่ ค​ น​เหล่าน​ นั้ ​จะ​ได้​ให้​ความ​ช่วย​เหลือ​แก่​ผู้​ประสบ​ภัย ไต้หวันม​ ส​ี ถานีโ​ทรทัศน์ก​ ว่า 100 ช่อง สถานีโ​ทร​ทศั น์ต​ า้ อ​ า้ ย​นำ​เสนอ​เรือ่ ง​ ดี เรื่อง​จริง และ​เรื่อง​งาม แม้จ​ ะ​เป็น​องค์กร​พุทธ แต่​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย​ก็​นำ​ เสนอ​เนือ้ หา​ทไ​ี่ ม่ไ​ด้อ​ งิ อ​ ยูก​่ บั ศ​ าสนา มีล​ ะคร รายการ​เด็ก รายการ​วา​ไร​ตี้ แต่ไ​ม่ใช่​ รายการ​วา​ไร​ตี้​ประเภท​เปิดแ​ ผ่น​ป้าย ลื่น​น้ำ​สบู่​เพื่อ​ให้​คน​ขำ​แบบ​บ้าน​เรา ต้า​อ้าย แปล​ว่า มหา​เมตตา หรือ อำนาจ​อัน​ยิ่งใ​หญ่ พวก​เรา​เดินช​ ม​สตูด​ โ​ิ อ​ถา่ ย​ทำ​รายการ​ภายใน​สถานีโ​ทร​ทศั น์ต​ า้ อ​ า้ ย ซึง่ เ​ต็ม​ ไป​ด้วย​เครื่อง​ไม้​เครื่อง​มือ​ทัน​สมัย หลัง​จาก​ชม​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย ชาว​คณะ​ก็​จับ​กลุ่ม​กัน​แสดง​ความ​คิด​ เห็น พร้อม​จิบก​ าแฟ​ยาม​บ่าย “สื่อ​บ้าน​เรา เช้า​มา​ได้ยิน​แต่​ข่าว​ฆ่า​ข่มขืน สื่อ​บ้าน​เรา​มี​ความ​สร้างสรรค์​ น้อย” หมอ​โจ-สุริยัน แพร​สี แห่ง อบต.ดอน​แก้ว เปิด​ประเด็น “ใน​ฐานะ​ชมุ ชน​ทอ้ ง​ถนิ่ ผม​คดิ ว​ า่ เ​รา​ตอ้ ง​มส​ี อื่ เ​ป็นข​ อง​ตวั เ​อง” นายกฯธาดา อำ​พิน เอ่ย​ขึ้น​บ้าง “ที่​ฉือ​จี้ ทุก​อย่าง​เกิด​จาก​ความ​ศรัทธา ความ​ศรัทธา​ขยาย​ เครือข​ ่าย​ออก​ไป​กว้าง สังเกต​สิ พระเอก​ลิเก แม่ย​ ก​แห่​ตา​มกันตรึม ซึ่ง​บ้าน​เรา​ ศรัทธา​ใน​ทาง​ที่​ไม่​เกิด​ประโยชน์ ผม​ชอบ​คำ​กล่าว​ที่​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ย​น บ​อก​ว่า ‘โลก​ไม่ใช่​ของ​เรา​คน​เดียว โลก​เป็น​ของคน​ทุก​คน’” “ที่​นี่ เขา​ศรัทธา คิด และ​พูด เป็นเ​รื่อง​เดียวกัน ไม่ใช่ว​ ่า​พูด​ได้​แต่​ทำ​ไม่ไ​ด้” ผศ.ดร.ลักขณา เติม​ศิรก ิ​ ุล​ชัย กล่าว “เรา​มัก​คิด​ว่า​ระบบ​จิต​อาสา​เป็น​เพียง​ระบบ​หนึ่ง แต่​เอา​เข้า​จริงๆ แล้ว ระบบ​จติ อ​ าสา​สามารถ​แทรกซึมใ​น​ทกุ ร​ ะบบ​ได้ห​ รือไ​ม่ เป็นค​ ำถาม​นะ​ครับ ศรัทธา​ ใน​ตัว​นายก อบต. นั้น​เพียง​พอ​หรือ​ไม่ แล้ว​สิ่ง​ที่​น่าส​ นใจ​สำหรับ​ผม​คือ ใคร​เป็น​


คน​จัดการ​ต่อ​จาก​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ถ้า​เรา​ถอด​ระบบ​การ​จัดการ​ของ​เขา​ ได้ ก็จ​ ะ​เป็นป​ ระโยชน์ต​ อ่ ก​ าร​ออกแบบ​ชมุ ชน​ทอ้ ง​ถนิ่ ข​ อง​เรา” ประพันธ์ แจ้งเ​อีย่ ม นัก​วิชาการ​แห่งม​ หาวิทยาลัยร​ าชภัฏอ​ ุตรดิตถ์กล่าว “จิตสำนึก​มัน​ต้อง​มี​กระบวนการ​สร้าง แล้ว​มัน​ต้อง​เริ่ม​จาก​ที่ไหน จาก​ ครอบครัว​จาก​ผา้ ปูทนี่ อน​ใน​หอ้ ง​นอน​ตวั เ​อง” ภา​นวุ ธุ บูรณ​พรหม นายก​องค์การ​ บริหาร​ส่วน​ตำบล​ผา​สิงห์ “วิธี​คิดท​ ำ​เพื่อ​คน​อื่น ก็​คือ​ผล​สุดท้าย​มัน​ก็​ย้อน​กลับ​มา​สู่​เรา​เอง ถ้า​เรา​เชื่อ​ ว่า​ทุก​สิ่งบ​ น​โลก​นี้​ล้วน​แต่ส​ ัมพันธ์​กัน​นะ​คะ” ป้า​นิ่ม-วนิษฐา ธง​ไชย แห่ง อบต. ศรี​ฐาน 42

มากกว่าหนึ่งวัน


43

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan



จงนำความเมตตาและความกรุณา จากบททฤษฎีไปสู่การปฏิบัติจริง


วันที่สอง


โรงพยาบาลแห่งนี้ คนไข้เป็นผู้เลือกหมอ 47 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

หลังจ​ าก​ทธ​ี่ ร​รมา​จาร​ยเ​์ จิง้ เ​อีย๋ น​คน้ พ​ บ​วา่ การ​เจ็บป​ ว่ ย​เป็นต้นต​ อ​ของ​ความ​ ทุกข์ และ​เป็นส​ าเหตุข​ อง​ความ​ยากจน จึงเ​ริม่ อ​ อก​หน่วย​รกั ษา​พยาบาล​และ​ตรวจ​ สุขภาพ​ฟรี​อาทิตย์ล​ ะ 2 ครั้ง เป็น​เวลา​นาน​กว่า 15 ปี แต่ก​ ็​ไม่​ได้แ​ ก้ไข​ปัญหา​ ขาดแคลน​การ​รักษา​พยาบาล​ใน​แถบ​ถิ่น​คน​ยากจน ปณิธาน​ของ​ธร​ร มา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ทำให้​เกิด​ศรัทธา​ใน​หมู่​เศรษฐี​และ ช​ าว​บา้ น​ทวั่ ไป เกิดก​ าร​ชกั ชวน​ให้บ​ ริจาค​เงินเ​พือ่ ก​ อ่ สร้าง​โรง​พยาบาล ใน​ปี 1986 โรง​พยาบาล​ฉือ​จี้​ที่​ฮ​วา​เหลียน​ก่อสร้าง​แล้วเ​สร็จ เริ่ม​ต้น​จาก​เตียง​พยาบาล 100 เตียง ด้วย​วิทยาการ​บวก​กับ​เมตตา​ธรรม ปัจจุบัน​โรง​พยาบาล​ฉือ​จี้​มี​ธนาคาร​ ปลูก​ถ่าย​ไขกระดูก งาน​รักษา​พยาบาล​ของ​ฉือ​จี้​ไม่ไ​ด้​จำกัด​ขอบเขต​ตาม​เส้น​แบ่ง​ เขตแดน​ของ​รัฐ​ชาติ คณะ​แพทย์​ของ​ฉือ​จยี้​ ัง​ร่วม​มือ​กับ​สหพันธ์​แพทย์ไ​ม่​สังกัด คณะ​แพทย์​ฉือ​จยี้​ ึด​มั่น​หลัก​เคารพ​คน เห็น​ผู้​ป่วย​เป็น​อาจารย์ นี่​คือ​ความ​งาม​ของ​มนุษย์​ไม่ใช่​หรือ แม้แต่​เสา​เข็ม​ภายใน​โรง​พยาบาล​ฉือ​จี้ ใช้​เสา​เข็มแ​ บบ​ลูก​บาง เพื่อล​ ด​การ​ สั่น​สะเทือน​จาก​แผ่น​ดิน​ไหว แพทย์​สามารถ​ผ่าตัด​คนไข้​ได้​ใน​ช่วง​เวลา​ที่​เกิด​ แผ่น​ดิน​ไหว​เพียง​เล็ก​น้อย การ​ออกแบบ​อาคาร​ของ​โรง​พยาบาล​ฉือ​จี้​สะท้อน​ให้​ เห็น​ว่า​ชีวิต​นั้น​เปราะ​บาง​นัก แม้​เพียง​การ​สั่น​สะเทือน​เพียง​เล็ก​น้อย​ของ​แผ่นดิน อาจ​ส่ง​ผล​ต่อ​ชีวิต​มนุษย์ ภายใน​โรง​พยาบาล​ร่มรื่น​ด้วย​ร่ม​ไม้ ซึ่ง​อาสา​สมัคร​ของ​ฉือ​จี้​จะ​เป็น​ผู้​ดูแล​


48

มากกว่าหนึ่งวัน

ต้นไม้ โดย​แบ่ง​กัน​ว่า​ใคร​จะ​ดูแล​ต้น​ไหน ไฟ​ตาม​ทาง​เดินภ​ ายนอก​อาคาร​ใช้แ​ ผง​โซ​ลาร์เ​ซลล์ก​ ำเนิดพ​ ลังงาน ประเทศ​ ไต้หวัน​ผลิต​แผง​โซ​ลาร์เ​ซลล์​ส่ง​ออก​เป็น​ลำ​ดับ​ต้นๆ ของ​โลก โรง​พยาบาล​แห่งน​ ต​ี้ งั้ อ​ ยูบ​่ น​พนื้ ที่ 15,000 ตาราง​วา พืน้ ทีท​่ เ​ี่ ป็นท​ ต​ี่ งั้ อ​ าคาร​ มี 5,000 ตาราง​วา ทีเ่​หลือ 10,000 ตาราง​วา เป็น​พื้นที่​สี​เขียว​สำหรับ​ต้นไม้ โรง​พยาบาล​แห่ง​นี้​ออกแบบ​ระบบ​ท่อ​ฝัง​ใต้ดิน เพื่อ​ใช้​กัก​เก็บ​น้ำ​ไว้​ใช้​ยาม​ ขาดแคลน เพราะ​ประเทศ​ไต้หวัน​เป็น​ประเทศ​ที่​ขาดแคลน​น้ำ​เป็น​ลำดับ​ที่ 17 ของ​โลก นอกจาก​แพทย์แ​ ละ​พยาบาล​ทต​ี่ อ้ ง​อาศัยค​ วาม​รค​ู้ วาม​เชีย่ วชาญ​เฉพาะ​ทาง เจ้า​หน้าที่​ที่​เหลือ​ใน​โรง​พยาบาล​เป็น​อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้​แทบ​ทั้ง​สิ้น ที่​โรง​พยาบาล ​ฉือ​จี้ จะ​มี ‘ศูนย์บ​ ริหาร​จิตอ​ าสา’ ซึ่งเ​ป็นร​ ะบบ​ของ​มูลน​ ิธพิ​ ุทธ​ฉือ​จี้ ใน​การ​จัดการ​ จัด​อาสา​สมัคร​มายัง​โรง​พยาบาล​แต่ละ​แห่ง อาสา​สมัคร​เหล่าน​ ไ​ี้ ม่มส​ี ทิ ธิพ​ เิ ศษ​ใดๆ ใน​การ​รกั ษา​พยาบาล หาก​พวก​เขา​ เจ็บ​ป่วย ก็​ต้อง​รอ​คิว​เหมือน​ผู้​ป่วย​ทุกร​ าย กระนั้น​การ​เป็น​อาสา​สมัคร​ก็​ใช่ว​ ่า วัน​


49 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

นี้​เบื่อๆ เซ็งๆ อยาก​เดิน​เข้า​มา​เป็น​อาสา​สมัคร​ปุบปับ​แบบ​นี้​ก็​หมด​สิทธิ์ เพราะ​ ต้อง​ผ่าน​การ​อบรม และ​จะ​ต้อง​รอ​ดวู​ ่า โรง​พยาบาล​แห่ง​นั้น​แห่ง​นี้ มีอ​ าสา​สมัคร​ ครบ​แล้ว​หรือ​ยัง ประเทศ​ไต้หวันเ​ป็นป​ ระเทศ​ทม​ี่ ร​ี ะบบ​การ​รกั ษา​บริการ​ระบบ​เดียว แตก​ตา่ ง​ จาก​ประเทศไทย​ที่​มี​ระบบ​การ​รักษา​พยาบาล 3 ระบบ ที่​นี่​ไม่​ว่า​คุณ​จะ​เป็น​ รัฐมนตรี ส.ส. เศรษฐี หรือ​คน​เก็บ​ขวด​ขาย คุณ​ก็​มี​สิทธิ​เท่าเทียมกันใ​น​การ​รักษา​ พยาบาล ประชาชน​ทุก​คน​จะ​มี​ไอ​ดีการ์ด เมื่อ​มา​ถึง​โรง​พยาบาล สามารถ​นำ​การ์ด​ ทาบ​ที่​เครื่อง บน​จอ​จะ​แสดง​แผนก​ทตี่​ ้องการ​รักษา ผู้​ป่วย​สามารถ​เลือก​ได้​ว่า​จะ​ รักษา​กับ​แพทย์​คน​ใด ข้อมูล​หน้าจ​ อ​จะ​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​แพทย์​คน​นี้​มคี​ ิว​การ​รักษา​ กี่​คน “ทีน​่ ค​ี่ นไข้เ​ลือก​หมอ ไม่ใช่ห​ มอ​เลือก​คนไข้ สุดย​ อด​จริงๆ” จ่าส​ บิ เ​อก​ไพศาล มี​สมบัติ แห่งบ​ ้าน​ควน เอ่ย​ขึ้น​มา​แบ​บทึ่งๆ


50

มากกว่าหนึ่งวัน

ฉัน​รัก​เสา​ทุก​ต้น​ของ​โรง​พยาบาล คน​ไต้หวันเ​รียก​พี่​สาว​ว่า ‘ซือเ​จ๊’ ด้วย​ความ​บกพร่อง​ที่​ไม่​สามารถ​จดจำ​ชื่อ​เสียง​เรียง​นาม​ของ​เธอ​ได้ ไม่ใช่​ใคร​อื่น ความ​ผิดค​ วร​ตก​เป็น​ของ​ผู้​เขียน​แต่​ลำพัง แต่​เรื่อง​ราว​ของ​เธอ​นั้น​ยัง​คง​อยู่​ใน​ความ​ทรง​จำ ซือเ​จ๊ค​ น​นี้ เป็นอ​ าสา​สมัคร​ทำงาน​ใน​โรง​พยาบาล​ฉอื จ​ ี้ ใน​หนึง่ ป​ ี เธอ​ จะ​เป็น​อาสา​สมัคร​ทโี่​รง​พยาบาล​เป็น​ช่วง​เวลา 5 ครั้ง ครั้ง​ละ 5 วัน หน้าที่​ของ​จิต​อาสา​ใน​โรง​พยาบาล​มี​หลาย​หน้าที่ วัน​นี้​อาจ​จะ​อ่าน​ หนังสือ​ให้​ผู้​ป่วย​ฟัง คอย​แนะนำ​หนังสือ​ให้​ผู้​ป่วย ซึ่ง​เธอ​บอก​ว่า​เธอ​รัก​ หน้าที่​นี้​ที่สุด แต่​การ​เป็น​จิต​อาสา​ไม่ใช่​การ​ทำความ​ปรารถนา​ของ​ตัว​เอง หัวใจ​ของ​จติ อ​ าสา​คอื ท​ ำ​เพือ่ ค​ น​อนื่ ซึง่ บ​ าง​ครัง้ ซ​ อื เ​จ๊ก​ ต​็ อ้ ง​ลา้ ง​หอ้ งน้ำ หรือ​ อา​จจะ​ต้อง​เข้า​ครัว ซึ่งม​ ี​งาน​กว่า 30 ประเภท​ใน​โรง​พยาบาล “ฉันท​ ำได้ห​ มด​ทกุ ง​ าน” เธอ​บอก และ​ทำ​อย่าง​กระตือรือร้น ไม่ต​ อ้ ง​ รอ​ใคร​สั่ง


51 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ครอบครัว​ของ​เธอ​ประกอบ​ธุรกิจ​ร้าน​ทำ​ขนมปัง ปัจจุบัน​เธอ​มี​หลาน​แล้ว จึง​เกษียณ​ตัวเ​อง​ออก​มา​จาก​ร้าน​ขนมปัง ให้​ลูก​หลาน​ดูแล ลูก​หลาน​บาง​คน​ของ​ เธอ​เป็น​ครู “ฉันไ​ม่ต​ อ้ ง​เป็นห​ ว่ ง​กบั พ​ วก​เขา พวก​เขา​ดแู ล​ตวั เ​อง​ได้แ​ ล้ว ฉันไ​ม่ต​ อ้ ง​เลีย้ ง​ ใคร​แล้ว ก็​เลย​มา​ทำงาน​จิต​อาสา” เธอ​ว่า “มา​ทำงาน​จิต​อาสา​ได้​อย่างไร​ครับ” ใคร​บาง​คน​ถาม “เมือ่ ต​ อน​ทฉ​ี่ นั เ​กษียณ ฉันเ​คย​ถาม​ตวั เ​อง​วา่ ฉันไ​ด้ท​ ำ​อะไร​เพือ่ ค​ น​อนื่ บ​ า้ ง แล้ว​พอ​ฉัน​คิด​แบบ​นี้ อยู่​กับ​บ้าน ฉันก​ ็​เริ่ม​ฟุ้งซ่าน” เธอ​รจู้ กั ม​ ลู น​ ธิ พิ​ ทุ ธ​ฉอื จ​ จ​ี้ าก​เพือ่ น​บา้ น จึงล​ อง​ตาม​เพือ่ น​มา ส่วน​สามีข​ อง​ เธอ​ก็​สนับสนุน “แต่​สามี​ฉัน​ขอ​ดู​อยู่​ห่างๆ ไป​ก่อน” เธอ​ว่า​พร้อม​หัวเราะ “แต่​ฉัน​คิด​ว่าม​ ี​โอกาส​มาก​ที​เดียว​ที่​เขา​จะ​ตาม​มา​ทำงาน​จิต​อาสา” เธอ​พูด “รูม้​ ั้ย อายุ​ยิ่ง​มาก ยิ่ง​มคี​ วาม​สุข ยิ่ง​มี​ใจ​ที่​จะ​ทำงาน​นี้” “มี​ปัญหา​ครอบ​ครัวม​ ั้ย?” เสียง​ถาม​แว่ว​มา​จาก​ใคร​คน​หนึ่ง “ถ้า​การ​เป็น​จิต​อาสา​แล้ว​ทำให้​ครอบครัว​เดือด​ร้อน​เป็น​สิ่ง​ไม่​ดี​นะ ท่าน​ อา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​คง​ไม่​สนับสนุน ตอน​นี้​ที่​บ้าน​ของ​ฉัน เมื่อ​ไม่มฉี​ ัน ที่​บ้าน​ก็​ไม่มี​ ปัญหา​อะไร ฉัน​ก็​มา​ทำ​ตรง​นี้​ได้” เธอ​ว่า คำ​ตอบ​ของ​เธอ​ทำให้​นึกถึง​คำ​พูด​ของ​ ป้าน​ ิ่ม-วนิษฐา เมื่อ​วาน​นี้ “วิธี​คิด​ทำ​เพื่อ​คน​อื่น ผล​สุดท้าย​มัน​ก็​ ย้อน​กลับ​มา​สู่​เรา​เอง ถ้า​เรา​เชื่อ​ว่า​ทุก​สิ่ง​บน​ โลก​นี้​ล้วน​แต่ส​ ัมพันธ์​กัน​นะ​คะ” ใช่ ถ้า​เรา​เชื่อ​อย่าง​ที่​ป้า​นิ่ม​บอก ‘ทุกส​ ิ่ง​ บน​โลก​นี้​ล้วน​แต่​สัมพันธ์​กัน’ หาก​โครงสร้าง​ พื้น​ฐาน​ดี โอกาส​ของ​ประชาชน​ก็​เปิด​กว้าง​ขึ้น ระบบ​การ​รักษา​พยาบาล​ของ​ไต้หวัน​สะท้อน​ หลาย​สิ่ง​ใน​มิติ​ของ​ชีวิต “ฉัน​รัก​เสา​ทุก​ต้น​ของ​โรง​พยาบาล” ซือ​เจ๊​ว่า “เพราะ​ฉัน​มี​ส่วน​ร่วม​กับ​พวก​ มัน​มา”


ถ้า​เรา​เชื่อ​ว่า​ทุกส​ ิ่ง​ล้วน​สัมพันธ์ ประชาชน​ไต้หวัน​จ่าย​ค่า​ประกัน​สุขภาพ 5.17 เปอร์เซ็นต์​ของ​เงิน​เดือน หาก​เงิน​เดือน​ต่ำ​กว่า​ฐาน​ก็​ไม่​ต้อง​จ่าย รัฐบาล​จะ​ช่วย​จ่าย​ให้ แต่​พวก​เขา​มี​สิทธิ​ ใน​การ​รักษา​พยาบาล​เท่าเ​ทียม​กัน อา​จินเล่า​ว่า คน​ไต้หวันจ​ ะ​ไม่​นิยม​ทำงาน​ต่าง​บ้าน​เกิด “ไม่​เหมือน​ที่​เมือง​ไทย​นะ คน​ทนี่​ ี่​จะ​ทำงาน​ที่​บ้าน​เกิด​เป็นส​ ่วน​ใหญ่ จะ​ไม่​ ค่อย​เข้าม​ า​ทำงาน​ใน​เมือง​ใหญ่ อย่าง​ทก​ี่ รุงเทพฯ เพราะ​คา่ จ​ า้ ง​ใน​ไทเป​กบั เ​มือง​อนื่


53 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

​ก็​ไม่​ได้​ต่าง​กัน​เท่าไร” หนัก​หนา - หาก​ใคร​เคย​แบก​ชีวิต​ไว้​บน​บ่า ถ้า​ เรา​จะ​เรียก​ร้อง​ให้​เขา​ทำงาน​เพื่อ​ส่วน​รวม​โดย​ไม่​รับ​ ค่า​ตอบแทน​เลย ทั้ง​ที่​ลูก​ยัง​ไป​โรงเรียน ยัง​มี​หนี้​สิน​ ปวด​กบาล เข้าใจ - จิต​อาสา​คือ​ความ​ดี​งาม​ของ​มนุษย์ คือ​ การ​ให้​โดย​ไม่​หวัง​ผล​ตอบแทน แต่​ภาย​ใต้​โครงสร้าง​ พื้น​ฐาน​ที่​สังคม​มี​อยู่ ภาย​ใต้​ระบบ​ที่​เอื้อ​ให้​เกิด​วงจร​ ซ้ำซาก เรา​เรียก​รอ้ ง​เกินไ​ป​ไหม ถ้าจ​ ะ​นยิ าม​และ​ปฏิบตั ิ จิต​อาสา​ต้อง​ไม่มี​ค่า​ตอบแทน “ไม่จ​ ำเป็นน​ ะ​ครับ” นา​ยกฯ​นะ​จ๊ะ-สุว​ รรณ​วิชช์ เปรม​ปรีดิ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนอง​โรง บอก และ​วา่ “เพราะ​บริบท​ใคร​บริบท​มนั ถ้าเ​ป็นเทศกาล​ ถ้า​เป็น​วัน​หยุดข​ อง​เรา​ก็​มา​ด้วย​ใจ ผม​มอง​ว่า​เรา​ต้อง​มี​ คน​ที่​พร้อม เขา​มี​ฐานะ ครอบครัวด​ ี เขา​ทำได้ จิตอ​ าสา​ เขา​กม​็ เ​ี ยอะ แต่บ​ า้ น​เรา​คน​ยากจน​เยอะ การ​เป็นจ​ ติ อ​ าสา ​ชีวิต​คุณ​ต้อง​พร้อม​ก่อน” “ผม​มอง​ว่า​เรา​ทำให้​คำ​ว่า​จิต​อาสา​ผิด​เพี้ยน​ไป” เรวัติ นิยม​วงศ์ แห่ง ทต.ชาก​ไทย กล่าว​แย้ง “จิต​ อาสา​ใน​ทนี่​ ี่​ไม่​ต้องการ​ค่า​ตอบแทน แต่​บ้าน​เรา​มัก​บ่น​ ว่า​แกน​นำ​ไม่​ดูแล​เลย ซึ่ง​เขา​ยัง​ไม่​เข้าใจ​งาน​จิต​อาสา หรือบ​ างทีเ​รา​กใ​็ ห้เ​ขา​จน​เขา​เสพ​ตดิ ก็ก​ ลาย​เป็นว​ า่ ไ​ม่ม​ี ค่า​ตอบแทน​ก็​ไม่​อยาก​ทำ สิ่ง​ที่​ผม​จะ​กลับ​ไป​คือ​ปรับ​ เปลี่ยน​ทัศนคติ​เรื่อง​นี้” สำหรับ นา​ยกฯ​วชิ ญะ เสาะ​พบ​ดี นายก อบต.บักไ​ด มอง​ว่า “จิต​อาสา​น่า​จะ​เป็น​รูป​แบบ​ความ​สุข​ทาง​ใจ บาง​คน​เขา​อาจ​จะ​มคี​ วาม​พร้อม​ด้าน​เศรษฐกิจ​แล้ว แต่​


54

มากกว่าหนึ่งวัน

จิต​อาสา​ของ​เรา​มี​หลาย​รูปแ​ บบ บางทีเ​ขา​มี​เงิน​แต่​ไม่มี​โอกาส​ช่วย​งาน​ลักษณะ​นี้ เรา​ต้อง​เปิด​โอกาส​ให้​กว้าง​สำหรับท​ ั้งคน​มี​เงิน​และ​มี​ใจ “คำ​ว่า​จิต​อาสา​คง​ไม่​จำเป็น แต่​เรื่อง​สวัสดิการ​ต่างๆ จำเป็น​นะ อย่าง​ฉือ​จี้​ เขา​มโ​ี รง​พยาบาล ซึง่ ก​ าร​เข้าม​ า​ทำ​จติ อ​ าสา​เขา​อาจ​จะ​ได้ร​ บั ส​ วัสดิการ​การ​รกั ษา​ท​ี่ โรง​พยาบาล​หรือ​เปล่า แต่ม​ ุม​มอง​ของ​เรา คน​ทที่​ ำงาน​จิต​อาสา​สมควร​ได้​รับ​การ​ ยกย่อง ซึ่ง​การ​ให้​สวัสดิการ​มัน​ก็​เป็น​รางวัล​หนึ่ง” ผศ.ดร.ลักขณา เติม​ศิรก ิ​ ุล​ชัย หรือ อาจารย์​เล็ก มอง​ว่า “ถ้า​เรียก​ร้อง​ ให้เ​ขา​ทำงาน​อาสา ขณะ​ทปี่​ ระชาชน​ยัง​เอา​ตัวไ​ม่​รอด​นะ คือ​เขา​ยังม​ ี​หนี้​สิน แล้ว​ มันก​ ็​มี​การ​เปรียบ​เทียบ​ด้วย ก็น​ า​ยกฯ​ได้เ​งิน​เดือน​นี่ ถ้าเ​ป็น​แบบ​นี้​นะ ลึกๆ แล้ว​ อาจารย์​ว่า​มัน​ไม่​แฟร์” “ระหว่าง​เปลี่ยนแปลง​โครงสร้าง​สังคม​กับ​ตั้ง​หน้า​ตั้ง​ตา​ทำ​ต่อ​ไป​ภายใน​ ชุมชน​ท้อง​ถิ่น ภาย​ใต้​เงื่อนไข​ทสี่​ ังคม​เป็น​แบบ​นี้ อาจารย์ม​ อง​ว่า​แบบ​ไหน​จะ​ง่าย​ กว่า?” “อาจารย์ว​ า่ ต​ อ้ ง​ทำ​ทงั้ 2 ส่วน ถ้าเ​รา​อยูใ​่ น​สว่ น​ของ​ทอ้ ง​ถนิ่ แล้วเ​รา​สร้าง​สงิ่ ​ ดีๆ นี้​ได้ แล้ว​เรา​ก็​หวังว​ ่าเ​รา​จะ​ผลัก​ดัน​การ​เปลี่ยนแปลง​เชิงโ​ครงสร้าง​ดีๆ ได้ส​ ัก​ วัน​หนึ่ง อีก 50 ปีอ​ าจ​จะ​ทำได้ แต่ม​ ัน​ไม่ไ​ด้​เกิด​ทันที​ไง มัน​ต้อง​สัมพันธ์​กัน” สำหรับ​อาจารย์​เล็ก วัฒนธรรม​คอรัปชั่น​และ​อุปถัมภ์​ใน​สังคม​ไทย​เป็น​สิ่ง​ ที่​ซึม​ลึก “ถ้า​เรา​เทียบ​ไต้หวัน เขา​มี​ระบบ​การ​รักษา​พยาบาล​แบบ​เดียว ไม่ว​ ่า​คุณ​จะ​ เป็นข​ ้าราชการ​หรือ​ประชาชน​หรือ​ชาวนา มีบ​ ัตร​ใบ​เดียว​เสียเ​หมือน​กัน​หมด พระ​ อา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ย​นที่​มี​อิทธิพล​ต่อ​สังคม​มาก เวลา​ที่​พระ​อาจารย์​ไป​โรง​พยาบาล ท่าน​ก็​ต้อง​ต่อค​ ิว​เหมือน​คน​อื่น แต่​บ้าน​เรา​ไม่ “ตอน​เด็กๆ เรา​อาจ​จะ​รู้สึก​ว่า​คนคนนี้​พูด​ดี​มาก​เลย คิด​อะไร​ก็​มี​เหตุ​มี​ผล คำ​พูด​คมคาย...เรา​ประทับ​ใจ แต่​พอ​เรา​แก่​ตัว เรา​จะ​มอง​ว่า​เออ คุณ​คิด​ดี​นะ พูด​ก็​ดี​นะ แต่​ทำไม​ทำ​อีก​แบบ​หนึ่ง คุณ​เรียก​ร้อง​สิทธิ​พิเศษ แต่​คุณ​บอก​ว่า​มนุษย์​ ทุกค​ น​มส​ี ทิ ธิเ​ท่าก​ นั มอง​เห็นป​ ระชาชน คุณส​ ามารถ​โค้งใ​ห้เ​ขา​ได้ คุณร​ กั ป​ ระชาชน​ เหมือน​รัก​พี่​น้อง แต่ส​ ิ่ง​ที่​เรา​ดจู​ าก​ฉือ​จี้ มันค​ ือ​เรื่อง​จริง​ใช่​มั้ย เขา​โค้ง​ให้​กับ​คนจน​


ได้​จริงๆ เรา​เริ่ม​เคารพ​มนุษย์​คน​เล็กๆ ที่​ไม่​ต้อง​เรียน​หนังสือ​สูง​นะ แต่​เขา​คิด​ แบบ​ไหน​เขา​ทำ​แบบ​นั้น” แต่​ไม่​ว่าจ​ ะ​อย่างไร อาจารย์เ​ล็ก​มอง​ว่า “เรา​จะ​ดูแล​แค่​ครอบครัว​ของ​เรา โรงเรียน​ของ​เรา แค่​นั้น​มัน​ไม่​พอ เวลา​ที่​ คุณ​เกื้อกูล​คน​ทที่​ ุกข์​ยา​กมากๆ ความ​จริง​แล้ว​มัน​ก็​คือ​การ​ช่วย​เหลือ​สังคม แล้ว​ มัน​ก็​คือ​การ​ช่วย​เหลือ​ตัว​คุณ​เอง คน​เหล่า​นี้​เขา​อาจ​จะ​กลาย​เป็น​อาชญากร​ก็​ได้​ ใช่​มั้ย ถ้า​คุณ​ไป​รังแก​เขา​มากๆ วัน​หนึ่ง​เขาอาจ​กลาย​เป็น​อา​ชญาก​รมา​ทำร้าย​ ลูก​คุณ​ก็ได้ ถ้า​เรา​มอง​ว่า​ทุก​อย่าง​สัมพันธ์​กัน เรา​ก็​ต้อง​ทำ​เพื่อ​คน​อื่น​ด้วย เพื่อ​ สุดท้าย​คุณ​จะ​ได้​อยู่​ใน​สังคม​ดีๆ” 55 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


56

มากกว่าหนึ่งวัน


อนุสาวรีย์​คน​ธรรมดา

57 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เรา​มงุ่ ห​ น้าข​ นึ้ เ​หนือไ​ป​เหนือส​ ดุ ข​ อง​เกาะ​ไต้หวัน อุทยาน​แห่งช​ า​ตเ​ิ ย่ห​ ลิว (Yehliu Park) มี​ลักษณะ​พื้นที่​เป็น​แหลม​ยื่น​ไป​ใน​ทะเล การ​เซาะ​กร่อน​ของ ​น้ำ​ทะเล​และ​ลมทะเล ทำให้​เกิด​โขด​หินงอก​เป็น​รูป​ร่าง​ลักษณะ​ต่างๆ โดย​ เฉพาะ​หิน​รูป​เศียร​ราชินี ที่​นัก​ท่อง​เที่ยว​ต้อง​ยืน​ต่อ​แถว​ถ่าย​รูป​ใน​มุม​มอง​ที่​จะ​ สามารถ​มอง​เห็น​หิน​ก้อน​นี้​เป็น​รูปเ​ศียร​ราชินี เดินเ​ลียบ​ทะเล​บน​สะพาน​ไม้ จน​พบ​อนุสาวรียข์​ อง​ชาย​ผู้​หนึ่ง เขา​มี​นาม​ ว่า Lin Tian Zheng เป็นช​ าว​ประมง​ผไ​ู้ ด้ก​ ระโดด​ลง​จาก​เรือห​ า​ปลา​ทอ​ี่ ยูแ​่ ถว​นนั้ ​ลง​ไป​ช่วย​เด็ก​ที่​พลัด​ตกลง​ไป​ใน​น้ำ ใน​ปี 1964 แต่​เนื่องจาก​คลื่น​แรง​มาก ทั้ง​คู่​จึง​ถูก​กลืน​หาย​ไป​กับ​สายน้ำ หลัง​จาก​นั้น​จึง​ได้​มี​การ​สร้าง​อนุสาวรีย์​เพื่อ​ เป็น​เกียรติ​แก่​เขา


58

มากกว่าหนึ่งวัน

วัน​ที่​สอง​ใน​ไต้หวัน​ของ​คณะ​เดิน​ทาง พวก​เรา​เจอ​คน​ไทย​มากกว่า 2 คน​ แล้ว เมื่อ​ตอน​เที่ยง นา​ยกฯ​ปุ้ย-เพ็ญ​ภัค รัตน​คำ​ฟู นายก​องค์การ​บริหาร​ ส่วน​ตำบล​เกาะคา จังหวัดล​ ำปาง ยืนอ​ ค​ู้ ำ​เมือง​กบั ค​ ณ ุ ป​ า้ ช​ าว​ไทย​คน​หนึง่ ท​ อ​ี่ าศัย​ อยูใ่​นประเทศ​ไต้หวัน “ปรากฏ​ว่า​คุณ​ป้า​ที่​เจอ​วัน​นี้​เป็น​ชาว​ลำปาง​ค่ะ” นา​ยกฯ​ปุ้ย​บอก “คุณ​ป้า​ เล่า​ให้​ฟัง​ว่า คน​ที่​นี่​แข่งขัน​กัน​ทำ​เพื่อ​สังคม เขา​ไม่​ได้​คุย​กัน​เรื่อง​หนัง​เรื่อง​ละคร แต่​คุยก​ ัน​ว่า​วัน​นี้​จะ​ไป​ทำ​อะไร​เพื่อ​สังคม​บ้าง” ช่วง​ไพรม์ไ​ทม์ข​ อง​สถานีโ​ทร​ทศั น์ต​ า้ อ​ า้ ย​ไม่ใช่ล​ ะคร แต่เ​ป็นการ​แสดง​ธรรม​ ของ​ท่า​ม​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน “อย่าง​ทอ​ี่ ท​ุ ยา​นเย่ห​ ลิว มีร​ ปู ป​ นั้ ช​ าว​ประมง​ทช​ี่ ว่ ย​เด็กจ​ ม​นำ้ แสดง​ให้เ​ห็นว​ า่ ​ สังคม​ไต้หวันเ​ป็น​สังคม​ทเี่​ชิดชู​คน​ดี” นา​ยกฯ​ปุ้ย​เล่า ใน​มุม​มอง​ของ​นา​ยกฯ​ปุ้ย ถ้า​เรา​มอง​ว่า​คนใน​สังคม​หรือ​ใน​ชุมชน​เป็น​ ครอบครัว​เดียว​กับ​เรา เรา​ก็​พร้อม​จะ​ยื่น​มือ​เข้าไป​ช่วย​เหลือ​คน​อื่น “การ​เป็น​จิตอ​ าสา​เริ่ม​จาก​อะไร เริ่ม​จาก​การ​ที่​เรา​อยาก​เห็น​สิ่ง​ดีๆ เกิดข​ ึ้น​ ใน​บ้าน​เรา ทุก​คน​สามารถ​เป็น​อาสา​สมัคร​ได้ ถ้า​เรา​มอง​ว่า​ทุก​คนใน​ชุมชน​คือ​ ครอบครัว​เดียวกัน เรา​ห่วงใย​คน​อื่น​เสมือน​คนใน​ครอบครัว​เรา​จริงๆ สิ่งน​ ี้​เกิดใ​น​ ชุมชน​ตำบล​เกาะคา​อยูแ​่ ล้ว แต่เ​รา​จะ​ทำ​อย่างไร​ให้ก​ ระจาย​ไป​วง​กว้าง​มาก​ขนึ้ เรา​ มอง​วา่ การ​ทำงาน​จติ อ​ าสา​ไม่เ​ฉพาะ​วยั ใ​ด​วยั ห​ นึง่ เ​ท่านัน้ ทำงาน​รว่ ม​กบั ท​ กุ ค​ นใน​ สังคม อาศัย​ความ​รัก​ความ​ผูกพัน มอง​ว่า​ทุก​คนใน​หมู่บ้าน​ทุก​คนใน​ชุมชน​เป็น​ พีน่​ ้อง​เป็นค​ รอบครัว​เดียวกัน” อาสา​สมัคร​ของ​มลู ​นธิ ​พิ ทุ ธ​ฉอื ​จ้ี ต่าง​ก​ศ็ รัทธา​ใน​ตวั ​ทา่ น​ธร​รมา​จาร​ย​เ์ จิง้ ​เอีย๋ น พวก​เขา​มแ​ี รง​ขบั จ​ าก​พลังศ​ รัทธา ถาม​นา​ยกฯ​ปยุ้ จำเป็นไ​หม​ทแ​ี่ รง​ศรัทธา​นนั้ ต​ อ้ ง​ ยึด​อยูก่​ ับ​ศาสนา​หรือ​ตัวบ​ ุคคล? “พลังศ​ รัทธา​ไม่จ​ ำเป็นต​ อ้ ง​มา​จาก​หลักศ​ าสนา หรือต​ วั บ​ คุ คล​ทาง​ศาสนา แต่​ เป็นพ​ ลังศ​ รัทธา​ทเ​ี่ กิดจ​ าก​การ​อยาก​เห็นท​ อ้ ง​ถนิ่ ด​ ข​ี นึ้ พลังศ​ รัทธา​ทม​ี่ อง​วา่ ท​ อ้ ง​ถนิ่ ​ คือบ​ ้าน​ของ​ทุกค​ น พลัง​ศรัทธา​กับ​ความ​เชื่อ​มั่น​ว่า​ทุก​คน​เป็น​ครอบครัว​เดียวกัน “อย่าง​เกาะคา เรา​ใช้​พลัง​ความ​เชื่อ​ที่​ว่า​เรา​เป็น​ครอบครัว​เดียวกัน เรา​


59

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


60

มากกว่าหนึ่งวัน

เป็น​เจ้าของ​เกาะคา​ร่วม​กัน ให้​ทุก​คน​มี​ส่วน​ร่วม แต่​เรา​ก็​มอง​ว่า​ทั้งหมด​นั้น​ยัง​ไม่มี​จุดจบ​นะ เรา​ ต้อง​พยายาม​ทำ​ต่อ​ไป การ​สร้าง​สังคม​แห่ง​การ​มี​ ส่วน​ร่วม​เป็น​โจทย์​ที่​ท้าทาย​และ​ต้อง​ทำ​ไป​เรื่อยๆ ไม่มี​วัน​ที่​จะ​มาบ​อก​ว่า​สำเร็จ​แล้ว​นะ ต้อง​ทำ​ไป​ เรื่อยๆ” นาย Lin Tian Zheng ไม่ไ​ด้​เป็น​ญาติ​หรือ​ ผูกพันท​ าง​สาย​เลือด​กบั เ​ด็กห​ ญิงค​ น​นนั้ ท​ ต​ี่ ก​นำ้ แต่​ เขา​อาจ​จะ​คิด​คล้ายๆ กับ​นา​ยกฯ​ปุ้ย เขา​มอง​เพือ่ น​มนุษย์เ​ป็นค​ รอบครัวเ​ดียวกัน ใน​วินาที​ที่​เขา​ตัดสิน​ใจ​กระโดด​ลง​จาก​เรือ​ไป​ช่วย​ เด็ก​หญิง​คน​นั้น เขา​น่า​จะ​คิด​แบบ​นี้


61

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


ความ​หลาก​หลาย​คือ​สิ่ง​สวยงาม

62

มากกว่าหนึ่งวัน

ตรากตรำ​กับ​อาหาร​จีน​มา​หลาย​มื้อ น้ำ​พริก​ของ​นา​ยกฯ​ภานุวุธแห่ง ​ผา​สิงห์​ดู​เหมือน​จะ​ขาย​ดเี​ป็น​พิเศษ โดย​เฉพาะ​ผู้​ใช้​บริการ​จาก​ศรี​ฐาน – ป้าน​ ิ่ม ระหว่าง​ทาน​อาหาร ป้าน​ ิ่ม​บอก​เล่า​ความ​เป็น​มา​ของ​วัน​มาฆบูชา​ให้​ฟัง “วัน​มาฆบูชา​ก็​เป็น​วัน​สำคัญ​ทาง​พระพุทธ​ศาสนา​นะ​คะ ท่าน​ทราบ​กัน​ มั้ย​คะ ว่า​ทำไม​วัน​มาฆบูชา จึง​มี​พระ​สงฆ์​มา​ชุมนุม​กัน​โดย​มา​ได้​นัด​หมาย​เหลือ​ เพียง 1,250 รูป” ทุก​คน​เงียบ ด้วย​สงสัย วัน​มาฆบูชา​ก็​คือ​วัน​ที่​พระ​สงฆ์​มา​ชุมชน​โดย​ไม่​ได้​ นัด​หมาย 1,250 รูป ไม่ใช่ห​ รือ “ไม่ใช่​ค่ะ” ป้าน​ ิ่ม​ว่า “ความ​จริงแ​ ล้ว วัน​มาฆบูชา​ต้อง​มี​พระ​สงฆ์​มา​ชุมนุม​ กัน 1,251 รูป แต่ว​ ัน​นั้น​โดย​ไม่​ได้​นัดห​ มาย พระ​สงฆ์ส​ ่วน​ใหญ่​จึง​ไม่ไ​ด้​นัด​พระ​ ภิกษุห​ มาย​มา​ร่วม​ชุมนุม​ด้วย จึงเ​หลือ 1,250 รูป” นี่​คือ​ป้า​นิ่ม ผู้​พร้อม​จะ​เรียก​สร้าง​หัวเราะ​ประดับ​การ​เดิน​ทาง​ได้​เสมอ ป้า​นิ่ม​เป็น​นัก​บริหาร​งาน​สาธารณ​สุข รับ​ผิด​ชอบ​ส่วน​สาธารณสุข​และ​ สิ่ง​แวดล้อม ตำบล​ศรี​ฐาน เล่า​ให้​ฟังถ​ ึง​ชุมชน​ศรี​ฐาน​ว่า “พลัง​ของ​ศรี​ฐาน​คือ​เรื่อง​ของ​บุญ ชาว​บ้าน​อยาก​ทำบุญ​กับ​หลวง​ปู่​สรวง โรง​พยาบาล​ศรี​ฐาน​ก็​เกิด​จาก​จุดน​ ี้ ป้าค​ ิด​ว่าถ​ ึง​หลวง​ปู่​จะ​ไม่​อยู่​แล้ว แต่​ตรง​นี้​จะ​ ยัง​อยู่ ถ้า​เรา​เอา​เรื่อง​บุญเ​ป็น​แรง​จูงใจ​มัน​น่า​จะ​ทำให้​ได้​แนว​ร่วม” ใน​มมุ ม​ อง​ของ​ปา้ น​ มิ่ ชาว​ศรีฐ​ าน​มแ​ี นว​โน้มท​ จ​ี่ ะ​เชือ่ แ​ ละ​ศรัทธา​ใน​พลังข​ อง​ บุญ​มากกว่า​การ​จูงใจ​ด้วย​ราย​ได้ พร้อม​กับย​ ก​ตัวอย่าง​เรื่อง​ขยะ “ถ้าเ​รา​กระตุน้ ช​ าว​บา้ น​วา่ ไ​ป​เก็บแ​ ละ​คดั แ​ ยก​ขยะ จะ​ได้น​ ำ​ไป​ขาย ก่อใ​ห้เ​กิด​ ราย​ได้ ขยะ​แปลง​เป็นท​ องคำ​เห​มอื น​ ทีฉ่​ อื จ​ น​ี้ ะ เขา​อาจไม่ส​ นใจ​เท่ากับบ​ อก​เขา​วา่ เก็บ​ขยะ​ไป​ขาย​แล้วเ​อา​เงิน​ไป​ทำบุญ​กับ​หลวง​ปสู่​ รวง ถ้า​พูดแ​ บบ​นี้​นะ ทั้งคน​รวย​ คนจน​มา​หมด​เลย เรื่อง​บุญ​นี่​มัน​เท่า​เทียม​กัน​จริง​ล่ะ​เนา​ะ” ป้า​นิ่ม​ว่า ด้วย​ต้นทุน​ที่​ต่าง​กัน​ระหว่าง​ที่​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้​กับ​ที่​ชุมชน​ศรี​ฐาน ป้า​นิ่ม​ บอก​ว่า


63 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

“ที่​เรา​มา​ไม่​ได้​หมายความ​ว่า เรา​จะ​กลับ​ไป​ทำ​ตาม​เขา​ทุก​อย่าง​เนา​ะ เรา​มี​ ผูน้ ำ​ทาง​จติ ว​ ญ ิ ญาณ เรา​มก​ี าร​ทำ​เรือ่ ง​สงิ่ แ​ วดล้อม เรา​กน​็ ำ​สงิ่ ท​ เ​ี่ จอ​กลับไ​ป​ตอ่ ย​อด ให้​เหมาะ​สม​กับบ​ ริบท​ของ​เรา” ชุมชน​ศรี​ฐาน​มี​ต้นทุน​ใน​แรง​ศรัทธา​ทาง​ศาสนา​เหมือน​ที่​มูล​นิธิพุทธ​ฉือ​จี้ หาก​ที่​ฉือ​จี้​มี​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ที่​ศรี​ฐาน​ก็​มี​หลวง​ปู่​สรวง บุคคล​ทั้ง​สอง​ เป็น​ที่​เคารพ​และ​ศรัทธา โดย​ใช้​หลัก​ศาสนา​นำ​ใน​การ​ทำ​ประโยชน์เ​พื่อ​ส่วน​รวม “อย่าง​ที่​ป้าบ​อก​วัน​ก่อน​แหละ วิธี​คิด​ทำ​เพื่อ​คน​อื่น ก็​คือ​ผล​สุดท้าย​มัน​ก็​ ย้อน​กลับ​มา​สู่​เรา​เอง ถ้า​เรา​เชื่อ​ว่าท​ ุก​สิ่ง​บน​โลก​นี้​ล้วน​แต่​สัมพันธ์​กัน​นะ​คะ” “เห็นป​ า้ น​ มิ่ ท​ าน​อะไร​ไม่ค​ อ่ ย​ได้เ​ลย กับข้าว​ไม่ค​ อ่ ย​ถกู ปาก​ปา้ น​ มิ่ เ​ลย​เห​รอ” เห็น​บ่นถึง​ส้มตำ จึงถ​ าม “อาหาร​คือ​วัฒน​ธร​รม​เนา​ะ ป้าก​ ็​ไม่​กล้าไ​ป​ตัดสิน​หรอก​ว่า​ของ​เรา​ดกี​ ว่า ก็​ ถือเ​ป็น​ความ​หลาก​หลาย ความ​หลาก​หลาย​คือ​สิ่ง​สวยงาม แต่​บาง​วัฒนธรรม​เรา​ ก็​เข้า​ไม่​ถึง​เนา​ะ ก็ไ​ม่​ชิน” ป้า​นิ่ม​ว่า


คน​เดีย

ว​ใน​โบก

64

ี้

มากกว่าหนึ่งวัน

นอกจาก​อา​จนิ แ​ ละ​อา​สม้ ไม่มใ​ี คร​ใน​คณะ​ของ​ เรา​ทพ​ี่ ดู ห​ รือฟ​ งั ภ​ าษา​ไต้หวันไ​ด้ คืนน​ เ​ี้ รา​ทงั้ หมด​ตอ้ ง​ นั่ง​รถไฟ​ไป​ยัง​เมือง​ฮ​วา​เหลียน แต่​จะ​มี​ผู้​โชค​ดี​หนึ่ง​ คน ที่​ได้​นั่ง​ใน​โบกี้ 7 ที่​นั่ง​หมายเลข 28 ที่​บอก​ว่า​โชค​ดี​เพราะ ผู้​โชค​ดี​คน​นั้น​จะ​ได้​นั่ง​ คน​เดียว​ท่ามกลาง​คน​ไต้หวัน


65 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เนื่องจาก​อา​จิน​ไม่​สามารถ​จอง​ที่​นั่ง​แบบ​เหมา​โบกี้​ให้​พวก​เรา​ได้ พวก​เรา​จึง​ต่าง​ต้อง​กระจัดกระจาย​แยก​ย้าย​ไป​โบกี้​ละ 5-6 คน​บ้าง โบกี​้ ละ 7-8 คน​บ้าง แต่​โบกี้​ที่ 7 ที่​นั่ง​หมายเลข 28 กำลัง​รอ​คน​ที่​ต้อง​นั่ง​ โดด​เดี่ยว รอ​ลุ้น​ว่าส​ ถานี​ทตี่​ ้อง​ลง​คือ​สถานี​ไหน อย่าง​ทบี่​ อก ไม่มี​ใคร​อ่าน พูด ฟัง เขียน ภาษา​จีน​หรือ​ไต้หวัน​ได้ เงียบ จน​มี​อาสา​สมัคร​ท่าน​หนึ่ง เขา​อาสา​จะ​เป็น ​ผู้​นั่ง​โบกี้ 7 ที่​นั่ง​ หมายเลข 28 นั้น หลังม​ อื้ เ​ย็น พวก​เรา​ยา้ ย​ไป​ยงั ส​ ถานีร​ ถไฟ อา​จน​ิ วิง่ ว​ นุ่ เ​พือ่ ห​ า​ซอื้ ต​ วั๋ ​ ให้​ได้ อา​จิน​ไม่​อยาก​ให้ใ​คร​ต้อง​นั่ง​คน​เดียว ใน​บ้าน​เมือง​แปลก​ภาษา สุดท้าย​เขา​คน​นั้น​ก็​ไม่​ต้อง​นั่ง​คน​เดียว​ใน​โบกี้ 7 หาก​เรา​มอง​ว่า การ​เสีย​สละ​คือ​หน่อ​อ่อนข​อง​จิต​อาสา วัน​ที่​สอง​ ของ​การ​เดิน​ทาง ก็ได้​เกิด​หน่อ​อ่อน​หน่อ​เล็กๆ ขึ้น​กับ​คณะ​เดิน​ทาง​ของ​ พวก​เรา​แล้ว



ท่ามกลางเสียงเรียกหาความยุติธรรมนั้น จะมีเสียงแห่งการเสียสละสักกี่เสียง


68

มากกว่าหนึ่งวัน

วันที่สาม


เปลี่ยนจากหงายมือเป็นคว่ำมือ 69 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เช้า​วัน​ที่​สาม เรา​อยู่​ที่​เมือง​ฮ​วา​เหลียน ภาค​ตะวัน​ออก​ของ​ไต้หวัน เมือง ​ฮ​วา​เหลียน​คือ​ที่​ตั้ง​อาราม​ของ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน แต่​เช้า​วัน​นี้​เรา​มา​ที่​ พิพิธภัณฑ์ฉ​ ือ​จี้ ภายใน​บริเวณ​นี้ นอกจาก​อาคาร​พพิ ธิ ภ​ ณ ั ฑ์ฉ​ อื จ​ แ​ี้ ล้ว ยังม​ โ​ี รง​พยาบาล​ฉอื จ​ ี้ สาขาเมือง​ฮ​วา​เหลียน มหา​วทิ​ ยา​ลัย​ฉือ​จี้ โรง​เรียน​สาธิตฉ​ ือ​จี้ ฯลฯ อู๋ฉื​อชง เป็น​ไกด์​ผู้นำ​เรา​เดิน​ชม​พิพิธ​ภัณฑ์​ฉือ​จี้ ภายใน​พิพิธภัณฑ์​จะ​บอก​ เล่า​เรื่อง​ราว​ทั้งหมด​ของ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้ บอก​เล่า​ประวัติ​ความ​เป็นม​ า​ของ​มูลนิธิ บอก​เล่า​ภารกิจ​ทั้ง 8 ด้าน การ​กุศล การ​รักษา​พยาบาล การ​ศึกษา จริยธรรม การ​บรรเทา​ทุกข์​ ระหว่าง​ประเทศ การ​บริจาค​ไข​กระดูก การ​อนุรักษ์​สิ่ง​แวดล้อม และ​อาสา​สมัคร​ ดูแล​ชุมชน


70

มากกว่าหนึ่งวัน

จะ​เห็น​ว่าภ​ าร​กิจ​ของ​ฉือ​จี้ ขยับ​จาก​เรื่อง​ใกล้​ตัว​ค่อยๆ ไกล​ออก​ไป​ถึงโ​ลก ใน​ตอน​ที่​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​ค้น​พบ​ว่า การ​เจ็บ​ป่วย​เป็นต้น​ตอ​ ของ​ความ​ทุกข์ และ​เป็น​สาเหตุ​ของ​ความ​ยากจน จึง​มี​ความ​ตั้งใจ​อยาก​จะ​สร้าง​ โรง​พยาบาล​ใน​ปี 1986 เมื่อ​สร้าง​โรง​พยาบาล​ฉือ​จี้​ที่​เมือง​ฮ​วา​เหลียน​เสร็จ 3 ปี ก็​พบ​ปัญหา​ขาดแคลน​บุคลากร ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยเ​์ จิง้ เ​อีย๋ น​จงึ ส​ ร้าง​วทิ ยาลัยพ​ ยาบาล​ขนึ้ หวังส​ ร้าง​บคุ ลากร​ ด้าน​เวชศาสตร์​ขึ้น​ใน​ภาค​ตะวัน​ออก เป็นการ​เริ่ม​งาน​ด้าน​การ​ศึกษา​ของ​ฉือ​จี้ ปัจจุบัน มูล​นิธิ​ฉือ​จี้​มี​โรงเรียน​ระดับ​ชั้น​อนุบาล ประถม มัธยม และ​ มหาวิทยาลัย การ​ศึกษา​ของ​ฉือ​จเี้​น้น​ความ​รู้​และ​จริยศาสตร์​ควบคู่​กัน​ไป หลัก​การ​ของ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จวี้​ าง​อยู่​บน​หลัก​​พรหม​วิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ทุก​ครั้ง​ที่​อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้​ไป​ช่วย​เหลือ​ผู้​ประสบ​ภัย เส้น​แบ่ง​ เขตแดน​หรือ​ความ​บาดหมาง​ใน​ทาง​ประวัติศาสตร์ ไม่ใช่​เรื่อง​ที่​มูล​นิธิ​พุทธฉือ​จี้​ ให้ค​ วาม​สำคัญ ไม่ว​ า่ ด​ นิ แ​ ดน​แห่งน​ นั้ จ​ ะ​มป​ี ระวัตศิ าสตร์ข​ ดั แ​ ย้งก​ บั ป​ ระเทศ​ไต้หวัน​ อย่างไร พวก​เขา​พร้อม​ที่​จะ​เข้าไป​ให้ค​ วาม​ช่วย​เหลือ เกาหลีเหนือ เฮ​ติ อา​สา​สมัคร​ฉือ​จไี้​ป​หมด พูดง​ ่ายๆ ว่า ที่​ใด​มที​ ุกข์ ฉือ​จี้​ จะ​เข้าไป ความ​ทุกข์​สำหรับ​ชาว​ฉือ​จี้​คือ​ดิน​แดน​ที่​เหมาะ​แก่​การ​เพาะ​เมล็ด​พันธุ์​


แห่ง​ความ​เมตตา​กรุณา ครอบครัว​ผู้รับ​คือ​ผู้​มี​พระคุณ​ต่อ​ผู้​ให้ อาสา​สมัคร​ชาว​ฉือ​จี้​จะ​ โค้ง​คำนับ​ผู้​ที่​ประสบ​ภัย​หรือ​ผู้รับ 90 องศา ใน​ฐานะ​ครอบครัว​ที่​เปิด​ โอกาส​ให้​พวก​เขา​ได้เ​ป็น​ฝ่าย​ให้ น่า​จะ​มี​ความ​แตก​ต่าง​ใน​ความ​รู้สึก ระหว่าง​การ​หงาย​มือ​รับ​ กับ​การ​คว่ำ​มือ​ให้ น่า​จะ​มี​ความ​แตก​ต่าง​อยู่​ใน​นั้น

71 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


ก่อน​เปลี่ยน​โลก นัยนา ศรี​เลิศ เป็น​นัก​พัฒนา​ชุมชน​แห่ง อบต.คอ​รุม อุตรดิตถ์ เธอ​น่า​จะ​

72

มากกว่าหนึ่งวัน

ตัวเ​ล็ก​ที่สุด​ใน​คณะ​เดิน​ทาง​ของ​เรา ภาพ​รวม​ของ​งาน​จิต​อาสา​ที่​ตำบล​คอ​รุม เธอ​บอก​ว่า ยัง​ไม่ใช่​จิต​อาสา ​ใน​แบบ​อุดมคติ “คือ​จิตใต้สำนึก​ของ​เขา เขา​ทำ​เพราะ​เขา​ต้องการ​ทำ​ด้วย​จิตใจ​ช่วย​เหลือ​ เพื่อน​มนุษย์​นั่น​แหละ แต่​พอ​มา​มีน​โย​บาย​ของ​รัฐ​ที่​หา​เสียง พอ อสม. ได้​ค่า​ ตอบแทน อพ​ปร. ก็​อยาก​ได้​บ้าง แล้ว​จิต​อา​สา​อื่นๆ ก็ตาม​มา มอง​ว่า​ทำไม​ กลุ่ม​นี้​ทำ​แล้ว​ได้ ทำไม​กลุ่ม​ฉัน​ไม่ไ​ด้” นัยนา​เล่า แต่​ใช่​ว่า​ขาดแคลน​เลย คน​ที่​ทำงาน​อาสา​ด้วย​ใจ “แต่ถ​ าม​วา่ ค​ นใน​ชมุ ชน​ทท​ี่ ำ​จติ อ​ าสา​มนั ก​ ม​็ ฝ​ี งั อ​ ยูใ​่ น​ชมุ ชน​ทกุ แ​ ห่งแ​ หละ แต่​ มัน​ยัง​ไม่มวี​ ิธี​จัดการ​เป็นร​ ะบบ จิตอ​ าสา​เรา​ไม่​จำเป็นต​ ้อง​มอง​ที่ อสม. อป​พร. แต่​ มัน​ยัง​มจี​ ิต​อาสา​ด้าน​อื่นๆ เยอะ​แยะ​ที่​เขา​ทำ​กัน และ​เขา​ก็​ไม่มคี​ ่า​ตอบแทน โดย​ ไม่รตู้​ ัว​ด้วย​ซ้ำว​ ่าต​ ัว​เอง​ทำ​เรื่อง​จิต​อาสา​อยู่” เช่น​เดียว​กับ​อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้ คน​ทำงาน​อาสา​ที่​ตำบล​คอ​รุม ส่วน​มาก​จะ​ เป็น​คน​ที่​มี​ความ​พร้อม​ใน​ระดับ​หนึ่ง “ถ้า​เด็กๆ ก็​จะ​ทำ​ตาม​พ่อ​แม่ เห็น​พ่อ​แม่​ ทำ​ก็​ทำ​ตาม” เธอ​บอก สาม​วัน​แรก​ที่​ฉือ​จี้ เธอ​บอก​ว่าป​ ระทับใ​จ​ทุก​อย่าง น่าจ​ ะ​มากกว่าน​ ั้น เธอ​ ใช้​คำ​ว่า ‘ทึ่ง’ จะ​ตรง​กว่า ทึ่ง​ใน​วิถี​ปฏิบัติ​ของ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ทึ่ง​ใน​ ความ​ศรัทธา​ต่อ​มนุษย์​ต่อ​โลก​ของ​ชาว​ฉือ​จี้ ทึ่งใ​น​การ​เป็น​น้ำห​ นึ่ง​ใจ​เดียวกันข​ อง​ อาสา​สมัคร​ชาว​ฉือ​จี้ “เรา​สามารถ​ปรับใ​ช้ได้ห​ ลาย​อย่าง​นะ อย่าง​เรือ่ ง​ขยะ​เรา​ทำได้ เรา​สอน​เด็ก​ ได้ เรื่อง​ขยะ​เรา​กลับ​ไป​ทำได้​เลย​ด้วย​ซ้ำ เพราะ​คอ​รุม​ไม่มถี​ ังข​ ยะ ไม่มรี​ ถ​ขยะ แต่​ ขยะ​เยอะ​มาก อัน​นี้​เรา​สามารถ​เอา​ไป​ปรับใ​ช้ได้​ทันที​เลย เรา​ต้อง​เริ่ม​ที่​ครัว​เรือน ฉือ​จี้​มา​ถึง​ขั้น​สำเร็จ​แล้วเ​นา​ะ ของ​เรา​ต้อง​เริ่ม​ต้น” เรือ่ ง​ขยะ เธอ​วาด​ภาพ​วา่ ชาว​คอ​รมุ จ​ ะ​สามารถ​คดั แ​ ยก​ขยะ​ตงั้ แต่ค​ รัวเ​รือน


ทำ​โครงการ​ลง​สู่​โรงเรียน เธอ​อยาก​ให้​โรงเรียน​ใน​ชุมชน​คอ​รุม​เป็น​เหมือน​สถานี​ รี​ไซ​เคิลข​ อง​ฉือ​จี้​ทมี่​ ี​อยู่​หลาย​แห่ง “หลาย​สงิ่ ท​ น​ี่ ี่ เรา​สามารถ​นำ​ไป​ปรับใ​ช้ได้ห​ ลาย​อย่าง ปรับเ​ปลีย่ น​ตวั เ​รา​เอง​ ก่อน​เลย ถ้าเ​รา​เริม่ จ​ าก​ตวั เ​รา​เอง​ได้ มันก​ จ​็ ะ​นำ​ไป​สค​ู่ น​รอบ​ขา้ ง ฉันก​ ค​็ ดิ ว​ า่ ถ​ า้ ก​ ลับ​ ไป​มัน​น่า​จะ​มอี​ ะไร​ที่​เปลี่ยนแปลง เริ่ม​จาก​เปลี่ยน​ตัว​เรา​เอง​ก่อน​เลย” เพราะ​กฎ​ข้อ​แรก​ของ​การ​เปลี่ยน​โลก คือ​การ​เปลี่ยนแปลง​ตัว​เอง


ลุ​งอู๋​รัก​ประเทศไทย

74

มากกว่าหนึ่งวัน

“I Love Thailand” เป็น​คำ​ที่ อู๋ฉื​อชง กล่าว​มากกว่า​หนึ่ง​ครั้ง เขา​เคย เ​ดินท​ าง​มา​ประเทศไทย 32 ครัง้ ท่าน​สม​พร ใช้บ​ าง​ยาง ผูน้ ำ​คณะ​เดินท​ าง​ของ​เรา ถาม​ย้ำ​ว่า “มา​ตั้ง 32 ครั้ง​เลย​หรือ” ดูเ​หมือน​ว่าท​ ่าน​สม​พร​จะ​ได้เ​พื่อน​ใหม่​เสีย​แล้ว “ใช่​ครับ ทั้ง 32 ครั้ง ผม​ออก​ค่า​ใช้​จ่าย​เอง” ลุ​งอู๋​บอก ลุ​งอูศ๋​ รัทธา​ใน​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน จึง​เดิน​ทาง​ตาม​รอย​ท่าน “ถ้า​เรา​เห็น​แวว​ตา​ของ​คน​ทุกข์​ยาก ผม​มั่นใจ​ว่า​จิตใจ​เมตตา​กรุณา​มี​อยู่​ ใน​ตัวท​ ่าน​แล้ว และ​มัน​จะ​ถูก​เปิด​ออก​ไป​สู่​คน​อื่น​อย่าง​แน่นอน” ลุ​งอู๋​บอก การ​เดิน​ทาง​มา​ประเทศไทย​บ่อย​ครั้ง ลุ​งอู๋​ยัง​บริจาค​เงิน​สม​ทบ​ทุน​สร้าง ​โรง​เรียน​ฉือ​จี้​ที่​อำเภอ​ฝาง จังหวัดเ​ชียงใหม่​ด้วย ชีวิต​ดำเนิน​ควบคู่​ไป​กับ​อุปสรรค เช่น​เดียว​กับ​การ​ดำเนิน​ภารกิจ​แต่ละ​ ภารกิจข​ อง​มลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ ี้ มันไ​ม่ไ​ด้ค​ ดิ แ​ ล้วจ​ ะ​ได้ด​ งั่ ใ​จ​เลย ไม่ใช่ว​ า่ ท​ า่ น​ธร​รมา​จาร​ย​์ เจิ้ง​เอี๋ยน​คิด​อย่าง​สร้าง​โน่น​สร้าง​นี่ แล้ว​จะ​เห็น ​ผล​ทันตา ไม่​เลย ห่าง​ไกล​ อย่าง​ยิ่ง “คุณ​สกู้​ ับ​อุปสรรค​ได้​หรือไ​ม่ ความ​อดทน​คือ​คำ​ตอบ” ลุ​งอู๋​พูด

ความ​อดทน​ของ​นา​ยกฯ สิ่ง​ที่​นายก อบต. หลาย​ท่าน​ที่​ร่วม​เดิน​ทางใน​คณะ​นี้​ต้อง​อดทน คือ​สิ่ง​ที่​ เรียก​ว่า ‘การเมือง’ เช่น​เดียว​กับ​นา​ยกฯ​ไสว​แห่​ง อบ​ต.ศรี​ฐาน นา​ยกฯ​ไฉน ก้อน​ทอง นายก​ องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​ดงมูลเหล็ก ก็​บอก​ว่า ปัญหา​คือ​นโยบาย​ประชา​นิยม​ จาก​การเมือง​ส่วน​กลาง​ทำให้​ชาว​บ้าน​ขาด​ความ​กระตือรือร้น “ผม​จ ะ​พู ด ​กั บ ​เ พื่ อ น​น า​ย กฯ​ที่ ม า​ด้ ว ย​กั น​ว่ า ตั ว ผู้ ​บ ริ ห าร​ห รื อ ​ตั ว ​น า​


75 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ยกฯ​เอง​ก็​เป็น​ตัว​ที่​ทำให้​ระบบ​จิต​อาสา​เสีย​ไป​ด้วย เพราะ​ระบบ​การเมือง​มัน​​ เอือ้ ให้เกิดระบบอุปถัมภ์ การเมือง​ของ​ไทย​ไม่ว​ า่ จ​ ะ​ระดับป​ ระเทศ​หรือท​ อ้ ง​ถนิ่ ม​ นั ​ เป็น​นโยบาย​ประชา​นิยม เรา​ปฏิเสธ​ไม่ไ​ด้ ชาว​บ้าน​เขา​ชอบ คือ​ช่วย​เหลือ​ทุก​เรื่อง​ แม้​กระทั่ง​เรื่อง​ทไี่​ม่​ควร​จะ​ช่วย” นา​ยกฯ​ไฉน​ว่า “ถ้า​นา​ยกฯ​ไม่เ​อาใจ​ชาว​บ้าน ไม่ก​ ลัว​เขา​ปัน​ใจ​ให้​คน​อื่น​หรือ?” “ถ้า​คิด​จะ​ทำความ​ดี​นะ มัน​ก็​ต้อง​ลอง​พิสูจน์​กัน​ดู​สัก​ตั้ง” นา​ยกฯ​ไฉน​ว่า พร้อม​กับ​เล่า​เรื่อง​ราว​ของ​เพื่อน​นา​ยกฯ​อบต. แห่ง​หนึ่ง​ให้​ฟัง ว่า​เขา​ไม่​รับ​เงิน​ ตำแหน่ง​เลย​ตลอด​เวลา​ที่​ดำรง​ตำแหน่ง 4 ปี เงิน​ตอบแทน​ของ​นา​ยกฯ​เขา​มอบ​ ให้ก​ ลุ่ม​ที่​ชาว​บ้าน​จัดต​ ั้ง​ขึ้น ใน​การ​เลือก​ตั้งน​ ายก อบต. ครั้ง​ที่​ผ่านมา เพื่อน​ของ​ นา​ยกฯ​ไฉน​เกือบ​สอบ​ตก “การ​เลือก​ตั้ง​ที่​ผ่าน​มา​เขา​ไม่​ได้​ซื้อเ​สียง​สัก​บาท​เดียว แล้ว​เขา​ก็ได้​รับ​เลือก เพียง​แต่ว​ า่ ใ​จหาย​ใจ​คว่ำเ​หมือน​กนั น​ ะ เพ​ราะ​ฝา่ ย​ ต​ รง​ขา้ ม​ใช้เ​งิน เขา​ชนะ​ไม่ม​ าก​นะ ฉิว​เฉียด” สะท้อน​การเมือง​ของ​ประเทศไทย นายกฯ​ไฉนเชื่อ​ว่า มนุษย์​ไม่​ว่า​จะ​ชนชาติ​ไหน​ก็​แล้ว​แต่ มี​ความ​ห่วง​หา​ อาทร​ความ​ผูกพัน​ใน​ชาติพันธุ์​ใน​กลุ่ม​ใน​ก้อน​โดย​ธรรมชาติ​อยู่​แล้ว แต่​สิ่ง​ที่​เข้า​ มา​คือร​ ะบบ​การ​จัดการ “อย่าง​ประเทศไทย เวลา​เกิด​ภัย​อะไร​ก็ตาม​แต่ ถ้า​มี​การ​ระดม​ทุน​เพื่อ​ ช่วย​เหลือ คน​ไทย​ก็​ไม่​แพ้​ใคร​นะ จะ​เห็น​จาก​สึ​นา​มิ เฮ​ติ หรือ​อุทกภัยใ​น​บ้าน​เรา เพียง​แต่​ว่า​สังคม​ของ​เรา เหตุต​ ้อง​เกิด​ก่อน​จึง​จะ​ช่วย​กัน ผม​ประ​ทับ​ใจฉือ​จี้​ตรง​ที่​ เขา​ไม่​ต้อง​รอ​ให้​ภัย​เกิด เขา​เตรียม​การ​ไว้​ล่วง​หน้า เขา​วาง​ระบบ​การ​จัดการ​ไว้​ พร้อม​แล้ว” ข้าม​ไป​หา​ชมุ ชน​ตำบล​ไกร​นอก นา​ยกฯ​จนิ ต​ศกั ดิ์ แสง​เมือง นายก​องค์การ​ บริหาร​ส่วน​ตำบล​ไกร​นอก “ผม​เป็น​คน​พูด​ไม่​เก่ง” นา​ยกฯ​จินต​ศักดิ์​ออกตัว “เรื่อง​หา​เสียง​อะไร​ก็​ไม่​ ค่อย​ได้ ทำได้อ​ ย่าง​เดียว​คือ​ลงมือ​ทำ” นี่​คือ​สิ่ง​ที่​นา​ยกฯ​จินต​ศักดิ์ ต้อง​อดทน เมื่อ​พูด​ไม่​เก่ง ชาว​บ้าน​ก็​ไม่​เห็น​


76

มากกว่าหนึ่งวัน

รูป​ธรรม นีก่​ ็​สะท้อน​การเมือง​ไทย ปัญหา​เรื่อง​งาน​จิต​อาสา​ใน​ชุมชน​ตำบล​ไกร​นอก คล้ายคลึง​กับ​ปัญหา ​ใน​ชุมชน​ตำบล​อื่นๆ คือ​หา​คน​ทำงาน​ด้าน​นี้​แบบ​จริงจัง​ยาก “ผม​มี​โครงการ​ออม​วัน​ละ​บาท ซึ่ง​ถ้า​คุณ​เป็น​สมาชิก​และ​อาสา​สมัคร​ไป​ เฝ้า​ไข้​ผู้​ป่วย​ที่​ไม่มี​ญาติ ก็​จะ​มี​ค่า​ตอบแทน​ให้​คน​เหล่า​นี้ เป็น​เงิน​จาก​โครงการ​ ออม​วัน​ละ​บาท คือ​เรา​จะ​ให้​ทั้งคน​ป่วย​และ​คน​เฝ้า​คืน​ละ 100 บาท แต่ถ​ ้า​คุณ​ จะ​จิต​อาสา​เลย​เรา​ก็​ยินดี” เขา​มอง​เห็น​ช่อง​ทาง​ต่อย​อด​จาก​โครงการ​ออม​วัน​ละ​บาท​ที่​เป็นต้น​ทุน​เดิม​ ใน​พื้นที่ “แต่​ผม​อยาก​ให้​เขา​ทำ​เห​มือ​นฉือ​จี้ ที่​นั่น​ก็​จะ​มี​จิต​อาสา​เป็น​เฝ้า​ไข้​คนไข้​ที่​ ไม่มี​ญาติ เรา​​อยาก​มี อสม. หรือ​อาสา​สมัคร​หมุนเวียน​เป็น​กะ กะ​ละ 8 ชั่วโมง ถ้า​คน​ป่วย​ที่​มญ ี​ าติ​เรา​อยาก​จะ​มี​จิต​อาสา​แบบ​นี้” บริบท​ของ​ฉือ​จี้​กับ​ไกร​นอก​แตก​ต่าง​กัน ที่​ฉือ​จี้​อาสา​สมัคร​คือ​คน​ที่​มี​ความ​ พร้อม แต่​ที่​ไกร​นอก “ต้อง​ทำ​นา ต้อง​ใช้​หนี้ ธกส. มันไ​ม่​ได้​หยุด เรา​กต็​ ้องหา​คน​ ที่​มใี​จ มี​ใจ​แล้ว ว่าง​ก็​มา​ไม่​ว่าง​ก็​ไม่เ​ป็นไร ชุมชน​ไกร​นอก​จะ​เป็น​คน​ค้าขาย​เยอะ คน​หนุ่ม​คน​สาว​ก็​จะ​ออก​ไป​ค้าขาย​ข้าง​นอก​ชุมชน​เสีย​เยอะ ค้าขาย​เฟอร์นิเจอร์​ บ้าง เยอะ​ไป​หมด คน​เฒ่า​คน​แก่​ก็​จะ​อยู่​บ้าน ทำ​ไร่​ไถนา​ก็​ส่วน​หนึ่ง” “ฟัง​นา​ยกฯ​พูด​แล้ว น่า​หดหูน่​ ะ​ครับ”


77 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

“ไม่​ง่าย แต่ก​ ็​ท้าทาย” นา​ยกฯ​จินต​ศักดิ์​ว่า สิ่ง​ที่​ยาก​และ​ท้าทาย​สำหรับ นา​ยกฯ​สิน​ธ​พ อิน​ทรัตน์ นายก​องค์การ​ บริหาร​ส่วน​ตำบล​ท่า​ข้าม คือ​ปัญหา​เชิง​อุดมการณ์​ของ​งาน​จิต​อาสา “คน​เรา​ท้อง​ต้อง​อิ่ม​ก่อน จึง​จะ​ช่วย​เหลือ​สังคม​ได้ มัน​ไม่ใช่เ​รื่อง​ง่ายๆ เลย​ นะ มี​ปัจจัย​แวดล้อม​ต่างๆ เรื่อง​ครอบครัว เรื่อง​ปาก​ท้อง ค่า​ตอบแทน​คือ​แรง​ จูงใจ​ให้​เขา​เข้า​มา​ทำงาน​อาสา แต่​ที่​ฉือ​จี้​เขา​เข้า​มา​เพราะ​คุณค่า​ทาง​จิตใจ​อย่าง​ เดียว​เลย” ปัญหา​ของ​งาน​อาสา​สมัคร​ใน​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​ไทย ส่วน​หนึ่ง​คือ​ตรง​กลาง​ ระหว่าง ‘มูลค่า’ กับ ‘คุณค่า’ นา​ยกฯ​สิน​ธ​พบอก​ว่า ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​ สร้าง​ระบบ​จิต​อาสา​ด้วย​ความ​ดี “ด้วย​คุณค่าไ​ม่ใช่​มูลค่า ผม​คาด​หวัง​ว่า​จะ​​นำ​สิ่ง​ ที่​ได้​รไู้​ด้​เห็น​ไป​เติม​เต็ม​ให้​ระบบ​จิต​อาสา​ของ​ชุมชน​ท่า​ข้าม ขยาย​วง​ให้​กว้าง เน้น​ ที่​คุณค่า​มากกว่าม​ ูลค่า” เขา​บอก​ว่า ทีช่​ ุมชน​ท่าข​ ้าม มี​คน​ทำงาน​จิต​อาสา​ที่​เน้น​คุณ​ค่า​อ​ยู่แล้ว แม้​ จะ​เป็น​ส่วน​น้อย แต่​ก็​มี​คน​กลุ่ม​นี้​เกิด​ขึ้น​แล้ว หนทาง​หนึง่ ท​ จ​ี่ ะ​ทำให้ช​ มุ ชน​ทอ้ ง​ถนิ่ ข​ อง​ไทย​สร้าง​ระบบ​จติ อ​ าสา​ได้ คง​เป็น​ คำ​กล่าว​ที่ อู๋ฉื​อชง ได้ก​ ล่าว​ไว้ ‘คุณ​สู้​กับ​อุปสรรค​ได้​หรือ​ไม่ ความ​อดทน​คือ​คำ​ตอบ’


เกิดจ​ าก​ความ​ตาย อา​จนิ เล่าว​ า่ ระบบ​การ​ศกึ ษา​ใน​ประเทศ​ไต้หวันใ​ห้ค​ วาม​สำคัญก​ บั ก​ จิ กรรม​ การ​ทำงาน​อาสา​สมัคร​ของ​เยาวชน ประชาชน​ทกุ ค​ น​ตอ้ ง​เรียน​วชิ า​สงิ่ แ​ วดล้อม​เป็น​ วิชา​บังคับ มหาวิทยาลัย​จะ​สนับสนุน​ให้​นักเรียน​เข้าไป​ทำงาน​ด้าน​จิต​อาสา ไป​ เยีย่ มเยียน​บคุ คล​ประสบ​ภยั ห​ รืออ​ ะไร​ทำนอง​นี้ เรียน​ใน​หอ้ งเรียน​ไม่พ​ อ ต้อง​ไป​ด​ู คน​ทล​ี่ ำ​บาก​จริงๆ เพือ่ ใ​ห้น​ กั ศึกษา​มอง​เห็นว​ า่ เ​ขา​เป็นค​ น​มว​ี าสนา​ทม​ี่ ก​ี ำลังแ​ ข็งแ​ รง ต้อง​ช่วย​เหลือ​ผู้​อื่น การ​เป็น​จิต​อาสา​ของ​เยาวชน​ที่​ไต้หวัน​จะ​ปราก​ฏใน​พอร์ต โฟ​ลโิ​อ ว่า​คุณ​เคย​ทำงาน​จิตอ​ าสา​อะไร​มา​บ้าง แนบ​ไป​พร้อม​กับ​สมัคร​เรียน เรา​เข้า​ไปภายใน​มหา​วิทยา​ลัย​แพทย์​ฉือ​จี้ สำหรับธ​ ร​รมา​จาร​ย์ ศาสนา​คอื เ​ป้าห​ มาย​ของ​ชวี ติ คือก​ าร​สอน​ใน​การ​ดำรง​ ชีวิต​ของ​มนุษย์ นอกจาก​ศาสตร์​ความ​รู้​และ​วิทยาการ​ทางการ​แพทย์​สมัย​ใหม่ มหาวิทยาลัย​แห่งน​ ี้​ยัง​เน้น​เรื่อง​จริยศาสตร์ด​ ้วย การ​ศกึ ษา​ของ​มหาวิทยาลัยแ​ ห่งน​ เ​ี้ น้นใ​ห้ผ​ ศ​ู้ กึ ษา​เห็นค​ วาม​สำคัญข​ อง​มนุษย์


79 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

การ​คดั เ​ลือก​อาจารย์เ​ข้าม​ า​สอน​นกั ศึกษา​แพทย์ใ​น​มหาวิทยาลัยแ​ ห่งน​ ี้ จะ​ไม่เ​น้น ​อาจารย์​หมอ​ที่​มีชื่อ​เสียง แต่​จะ​เลือก​อาจารย์​หมอ​ที่​มี​ความ​เมตตา​ต่อ​คนไข้ มี​ความ​กรุณา​ต่อ​เพื่อน​มนุษย์ เรา​เดิน​เข้า​ภายใน​ส่วน​ของ​อาคาร​ที่​มี​การ​สอน​วิชา​จริยศาสตร์ ที่​นี่​เปิด​มา 18 ปี​แล้ว แต่ข​ ้าว​ของ​ยัง​ใหม่ เพราะ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​จะ​สอน​ให้​เคารพ​ แม้แต่​โต๊ะ เ​ก้าอี้ สิ่ง​แวดล้อม​รอบ​ตัวน​ ักเรียน วิชา​เขียน​พู่กัน​จีน การ​ชง​ชา การ​จัด​ดอกไม้ จัด​อยู่​ใน​หมวด​จริยศาสตร์ วิ​ชา​เขียน​พู่กัน​จีน​เป็นการ​ฝึก​สมาธิ ทำ​จิตใจ​ให้​สงบ ต้อง​ใช้​ความ​อดทน​เพื่อ​ฝึก​ สมาธิ การ​เรียน​จัด​ดอกไม้​ช่วย​ฝึก​ใช้​สายตา​เพื่อ​ค้น​พบ​ความ​งาม​ที่​อยู่​รอบ​ตัว ​ทุก​เรื่อง คน​จีนม​ ี​ภาษิตท​ ี่​ว่า ‘ไม่มท​ี วิ ทัศน์​ใด​ไม่ส​ วยงาม มี​แต่​สายตา​ผ​มู้ อง​เท่านัน้ ​ท​ม่ี อง​ไม่​เห็น​ความ​งาม’ ฉือ​จี้​ต้องการ​ปลูก​ฝัง​ให้​นักเรียน​นักศึกษา​มอง​เห็น​ว่า ไม่ใช่​ตัว​เอง​เก่ง​แล้ว​ ทำ​ทุก​อย่าง​ด้วย​ตัว​เอง​คน​เดียว แต่​ต้องการ​ให้​มอง​คน​รอบ​ข้าง​ด้วย ช่วย​เหลือ​ ซึง่ ​กนั ​และ​กนั ใส่ใจ​คน​รอบ​ขา้ ง เน้นใ​ห้​นกั ศึกษา​ท​จ่ี บ​ไป​ม​ที ง้ั ​ความ​ร​แู้ ละ​คณ ุ ธรรม สิง่ ห​ นึง่ ท​ จ​ี่ ำเป็นส​ ำหรับน​ กั ศึกษา​แพทย์ท​ กุ แ​ ห่ง คือ อาจารย์ใ​หญ่ นักศึกษา​ แพทย์ 5 คน จะ​เรียน​กับ​อาจารย์ใ​หญ่ 1 ร่าง คณาจารย์แ​ ละ​นกั ศึกษา​ทม​ี่ หา​วทิ ยา​ลยั แ​ พทย์ฉ​ อื จ​ ี้ จะ​เรียก​อาจารย์ใ​หญ่ว​ า่ ‘บรม​ครู​ผู้​ไร้​เสียง’ ท่ า น​ธ ร​ร มา​จ าร​ย์ ​ เจิ้ง​เอี๋ยน​เคย​กล่าว​ว่า “ผู้​ที่​เสีย​สละ​เรือน​ ร่ า ง​ห ลั ง ​จ าก​สิ้ น ลม​เ พื่ อ​ การ​เรียน​รู้​ทางการ​แพทย์​ คื อ​ผู้ ​ที่ ​อ ยู่​เหนื อ​ก าร​เกิ ด​ การ​ต าย คื อ ​ภู มิ ปั ญ ญา​ สูงส่งข​ อง​การ​เสีย​สละ”


80

มากกว่าหนึ่งวัน


81 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

“ฉันป​ ระทับใ​จ​เรือ่ ง​การ​แพทย์ม​ าก” กัลยา หอม​เกตุ ผูจ​้ ดั การ​ศนู ย์ป​ ระสาน​งาน ​ท้อง​ถิ่นภ​ าค​ใต้​ตอน​บน บอก เธอ​เคย​ทำ​วิจัย​เกี่ยว​กับ​หมอ​พื้น​บ้าน และ​พบ​ว่า “ฉัน​มอง​ว่า​วิถี​แพทย์​แบบ​เก่า​เคารพ​ความ​เป็น​มนุษย์ ฉือ​จี้​มี​จิต​วิญญาณ​ แบบ​เก่า ทีร​่ องรับด​ ว้ ย​เทคโนโลยีก​ าร​แพทย์ส​ มัยใ​หม่ ถ้าเ​รา​จะ​พฒ ั นา​ชมุ ชน​ทอ้ ง​ถนิ่ เรา​ต้อง​รักษา​ทั้ง​สิ่ง​เก่า และ​เปิด​รับ​สิ่ง​ใหม่” จิตว​ ญ ิ ญาณ​ทเ​ี่ คารพ​ใน​ความ​เป็นม​ นุษย์ค​ อื อ​ ะไร แน่นอน​วา่ ต้อง​ไม่น​ งิ่ ด​ ดู าย​ ต่อค​ วาม​เจ็บ​ปวด​ของ​เพื่อน​มนุษย์​ทอี่​ ยู่​ตรง​หน้า หาก​เรา​อยูใ่​น​ตำแหน่ง​ที่​พอ​ช่วย​ ได้ ใน​วาระ​สุดท้าย​ที่​หมด​ลม​หายใจ ชาว​ไต้หวัน​ส่วน​หนึ่ง​ยอม​อุทิศ​เรือน​ร่าง​เพื่อ​ คุณ​ประโยชน์​ต่อ​การ​ศึกษา​ด้าน​การ​แพทย์ คณาจารย์แ​ ละ​นักศึกษา​ที่​มหา​วิทยา​ลัยแ​ พทย์​ฉือ​จี้ เรียก​เจ้าของ​เรือน​ร่าง​ ผู้​อุทิศว​ ่า ‘บรม​ครู​ผู้​ไร้​เสียง’ สมัย​ก่อน​ประเทศ​ไต้หวัน​มี​ผู้​บริ​จาค​ร่างกาย​น้อย​มาก อาจารย์​ใหญ่​มัก​

Made in Taiwan

บรม​ครู​ผู้​ไร้​เสียง


82

มากกว่าหนึ่งวัน

จะ​เป็น​ศพ​นิรนาม ใน​ปี 2538 มหาวิทยาลัย​แพทย์​ศาสตร์​ ฉือ​จี้​ได้​รับ​บริ​จาค​ร่าง​จาก​ผู้​หญิง​คน​หนึ่ง ซึ่ง​ลูกสาว​ผู้​บริ​จาค​ ร่างกาย​บอก​ว่า “แม่​เสียช​ ีวิตด้วย​มะเร็ง​เต้าน​ ม คุณ​แม่​ต้องการ​เสียส​ ละ ​ต อบแทน​ป ระเทศ​ช าติ จึ ง ​อุ ทิ ศ ​เ รื อ น​ร่ า ง​ห วั ง ​ว่ า ​จ ะ​เ ป็ น​ ประโยชน์​ต่อ​การ​วิจัย​เรื่อง​โรค​มะเร็ง​ไม่​มาก​ก็​น้อย” ท่าน​ธร​ร มา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​ได้​รับ​รู้​การ​อุทิศ​เรื่อ​นร่าง เกิด​ความ​ซาบซึ้ง จึง​เทศน์​ให้​อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้​ฟัง​ว่า “การ​ฝัง​ คน​ตาย​ใน​ไม่​ช้าจ​ ะ​ถูก​หนอน​ชอน​ไช ซึ่งไ​ม่​เกิด​ประโยชน์ส​ ูงสุด แม้​กระทั่ง​การ​เผา​ก็​เป็น​สิ่ง​ที่​น่า​เสียดาย​เพราะ​สร้าง​ปัญหา​ให้​มลพิษ การ​อุทิศ​ เรือน​ร่าง​เพื่อก​ าร​วิจัยท​ างการ​แพทย์ถ​ ือว่า​เป็น​วีรกรรม​ของ​ผู้​กล้า” การ​ให้​เกียรติ​ครอบครัว​ของ​ผอ​ู้ ทุ ศิ ก็​เป็นการ​เคารพ​ความ​เป็น​มนุษย์​เช่น​กนั ใน​ชั่วโมง​แรก​ชั่วโมง​หนึ่ง​ใน​การ​เรียน​กายวิภาค ญาติ​ผู้​อุทิศ​กล่าว​กับ​ นักศึกษา​ว่า “ไม่​ต้อง​กลัว​หรอก​นะ​คะ แม้ว่าใ​น​ขณะ​นี้ หน้าตา​สามี​ของ​ดิฉัน​อาจ​ ไม่​น่า​ดู​สัก​เท่าไร แต่เ​ขา​เป็น​คน​จิตใจ​งดงาม​คน​หนึ่ง ขอ​ให้​ทุก​คน​จำ​ไว้อ​ ย่าง​เดียว​ พอ​ว่า ตั้งใจ​ศึกษา​เล่า​เรียน ทุก​คน​ไม่​ต้อง​กลัว เขา​ไม่ท​ ำร้าย​พวก​คุณ​หรอก”


83 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

นักศึกษา​แพทย์ 5 คน​ต่อ​ร่าง​อาจารย์ใ​หญ่ 1 ร่าง พวก​เขา​ทั้ง 5 จะ​คอย​ ไป​เยี่ยมเยียน ถาม​สาร​ทุกข์​สุกดิบ​ครอบครัว​ของ​ผู้​อุทิศ นักศึกษา​เหล่า​นี้​ยัง​ได้​ เรียน​รู้​ชีวิต​ของ​อาจารย์​ใหญ่ ระหว่าง​ญาติ​และ​นักศึกษา​จะ​มี​อาจารย์​ใหญ่​ เป็น​สะพาน​เชื่อม สาย​สัมพันธ์​แน่นแฟ้น​ยิ่ง​ขึ้น แต่​ประเทศไทย นักศึกษา​แพทย์​แทบ​ไม่รู้​จัก​ชื่อ​ของ​อาจารย์​ใหญ่ ไม่รู้​จัก​ ครอบครัว​ของ​อาจารย์ใ​หญ่ ทุกป​ จ​ี ะ​มก​ี าร​อทุ ศิ ส​ ว่ น​กศุ ล​ไป​ให้ร​ า่ ง​ผอ​ู้ ทุ ศิ ก่อน​เรียน​นกั ศ​ กึ ษา​จะ​ตอ้ ง​อทุ ศิ ​ ส่วน​กศุ ล​ให้​รา่ ง​อาจาร​ยใ์ หญ่ หลัง​เสร็จ​การ​ศกึ ษา​จะ​ทำ​พธิ ​ปี ระชุม​เพลิง​อาจารย์​ใหญ่ นัก​ศึกษา​แพทย์​ฉือ​จี้​เป็น ​ผู้​แบก​โลง​ศพ จาก​นั้น​จัด​พิธี​ขอบคุณ ​ร่าง​จดหมาย​ ขอบคุณ​ไป​ยัง​ญาติ จะ​มี​ชีวประวัติ​ของ​ผู้​อุทิศ​ ไว้ ​ใ น​อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ ​ใ ห้ ​นั ก ศึ ก ษา​รั บ ​รู้ ​ถึ ง​ คุณ​งาม​ความ​ดี​ของ​อาจารย์​ใหญ่ นักศึกษา​จะ​ เขี ย น​จ ดหมาย​ถึ ง ​ค รอบครั ว ​ข อง​ผู้ ​อุ ทิ ศ แล้ ว​ สุดท้าย​ทำ​เป็นห​ นังสือร​ วบรวม​ประวัตผ​ิ อ​ู้ ทุ ศิ แ​ ละ​ พิธีการ​ต่างๆ ใน​การ​ใช้ร​ ่าง​อาจารย์​ใหญ่ศึกษา “เพราะ​ก าร​พั ฒ นา​จิ ต ​วิ ญ ญาณ​ข อง​ อาจารย์ใหญ่ ทำให้​นักศึกษา​พักพิง​อาศัยน​ ำทาง​ พวก​เรา​ไป​ศึกษา​สิ่ง​ที่​ล้ำ​ลึก​ไร้​ที่​สิ้น​สุด​ใน​ร่างกาย​ มนุษย์” จาก​จดหมาย​ฉบับ​หนึ่ง​ของ​นักศึกษา​ แพทย์ “ด้วย​ไม่​อยาก​ให้​หมอ​เฉือน​ร่าง​ของ​ผู้​ป่วย​ผิด​พลาด​แม้แต่​หน​เดียว ฉะนั้น​ เรา​จึง​ยินดี​อุทิศ​ร่าง​ของ​คุณ​พ่อ​ให้​ท่าน​เพื่อ​เป็น​ประโยชน์​ทาง​กายวิภาคศาสตร์” ญาติ​ผู้​อุทิศ​ร่าง​กล่าว ใช่​หรือ​ไม่​ว่า ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ครอบครัว​ของ​ผู้​อุทิศ​ร่างกาย​กับ​ นักศึกษา​แพทย์ ดำรง​อยู่​บน​เงื่อนไข​ของ​การ​ให้​และ​การ​รับ ต่าง​ฝ่าย​ต่าง​เป็น​ผใู้​ห้ และ​ต่าง​ฝ่าย​ต่าง​ก็​เป็น​ผู้รับ​ใน​เวลา​เดียวกัน


สิ่ง​เหล่า​นี้​สะท้อน​ผ่าน​การก​ระ​ทำ​ที่​ทั้ง​สอง​ปฏิบัติ​ต่อ​กัน ไม่มใี​คร​หงาย​มือ​รับ​ได้ต​ ลอด​เวลา

84

มากกว่าหนึ่งวัน




ผู้ที่สามารถช่วยเหลือผู้อื่นนั้นเราเรียกว่า ‘พระโพธิสัตว์’ ถ้าเราสามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้หนึ่งวัน เราก็จะเป็นพระโพธิสัตว์ได้หนึ่งวัน


วันที่สี่


ความรักทำให้อากาศอบอุ่น เช้า​นี้​ชาว​คณะ​ตื่น​มา​ตั้งแต่ 03.00 นาฬิกา คราบ​กลาง​คืน​ยัง​คง​เปื้อน​ ใบหน้าใ​คร​หลาย​คน เรา​กำลังม​ งุ่ ห​ น้าไ​ป​ทส​ี่ มณ​าร​ าม​จงิ้ ชือ อันเ​ป็นอ​ าราม​ทพ​ี่ ำนัก​ ของ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน เช้า​วันน​ ี้​เรา​จะ​มี​โอกาส​นั่ง​ฟัง​น้ำ​เสียง​แสดง​โอวาท​ ของ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน ภิกษุณีทสี่​ มณ​า​ราม​แห่งน​ ี้​จะ​ตื่นก​ ่อน​พระอาทิตย์ เพื่อเ​ริ่มท​ ำงาน​ใน​เช้าว​ ัน​ ใหม่ ดัง​คำ​กล่าว​ของ​ธร​รมา​จาร​ยเ์​จิ้ง​เอี๋ย​นที่​ว่า ‘ปัญญา​ชน​ยอ่ ม​ตระหนักด​ ว​ี า่ เ​วลา​มค​ี ณ ุ ค่าด​ จุ อ​ ญ ั ม​ ณี แต่เ​วลา​จะ​มค​ี า่ เ​พียง​ ผง​ธุลี​สำหรับผ​ ู้​เบา​ปัญญา’ เวลา 03.40 นาฬิกา เสียง​ไม้​กระทบ​กัน​เป็น​สัญญาณ​บอก​ว่า เช้า​วัน​ ใหม่​มา​เยือน​แล้ว หลัง​ทำวัตร​เช้า ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​จะ​กล่าว​โอวาท​แก่​


90

มากกว่าหนึ่งวัน

อาสา​สมัคร​ทั่ว​โลก​ผ่าน​วิดีโอ​คอน​เฟอร์​เรนซ์ และ​การ​ ถ่ายทอด​จาก​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย ภาย​ใน​สมณ​า​ราม​ยาม​เช้า​วันน​ ี้ ภิกษุณี​ต่าง​ปฏิบัติ​กิจ​ ตรง​หน้า​ของ​ตน บาง​ท่าน​กวาด​เศษ​ใบไม้​ตาม​ทาง​เดิน ภิกษุณี​ทำงาน​ตรง​หน้า​ อย่าง​สงบ​เหมือน​เช่นอ​ ากาศ​ทโ​ี่ อบ​ลอ้ ม​สมณ​าร​ าม​แห่งน​ ี้ ภูเขา​โอบ​ลอ้ ม​สมณ​าร​ าม ​นี้​ไว้​เหมือน​อ้อม​กอด​อัน​แสดง​ถึง​ความ​รัก พวก​เรา​เข้าไป​ภายใน​อาราม เพื่อ​เตรียม​รับคำ​โอวาท​จาก​ธร​รมา​จาร​ย์​ เจิ้ง​เอี๋ยน ภายใน​อาราม มี​เวที​ด้าน​หน้า​สุด​สำหรับ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ย​น ก​ลา่ ว​ โ​อวาท พืน้ ทีด​่ า้ น​ลา่ ง​ทเ​ี่ หลือม​ เ​ี บาะ​รอง​นงั่ ส​ ำหรับอ​ าสา​สมัคร​ผเ​ู้ ข้าฟ​ งั โ​อวาท จอ​โปรเจ็คเตอร์​กำลัง​ออก​อากาศ​โดย​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้า​อ้าย นอกจาก​คณะ​ของ​เรา ยังม​ ี​คณะ​อาสา​สมัคร​พยาบาล​ที่มา​พักท​ ี่​สมณ​า​ราม​ แห่ง​นี้ หลัง​จาก​ที่​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน​ปราก​ฏต​ ัว ท่าน​กล่าว​แก่อ​ าสา​สมัคร​ ใน​เรื่อง​ราว​โดย​ทั่วไป​เหมือน​การ​ให้​โอวาท​เป็นการ​พูด​คุย​กัน​ของ​คนใน​ครอบครัว “วัน​เวลา​แต่ละ​วัน​ทผี่​ ่าน​มา ไต้หวันม​ ี​อากาศ​ไม่ห​ นาว​มาก แต่​วัน​สอง​วัน​นี้​ อากาศ​จะ​เย็น​ลง เมื่อ​เช้า​ด​ขู า่ ว​ที่​ยเู ครน ริม​ทะเล​ผคู้ น​หนาว​กนั ​มาก มีค​ น​เสีย​ชวี ิต 190 คน...”


91 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เนือ้ หา​ใน​การ​ให้โ​อวาท ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยจ​์ ะ​ตดิ ตาม​ขา่ วสาร​ทวั่ โ​ลก เพือ่ น​ ำ​ มา​พูดค​ ุย​ให้​อาสา​สมัคร​รับร​ ู้ ว่าช​ าว​ฉือ​จสี้​ ามารถ​ช่วย​เหลือ​อะไร​ได้​บ้าง ซึ่ง​อา​สา​สมัคร​ฉือ​จี้​ทกี่​ ระจาย​ทั่วโ​ลก​จะ​รับร​ ู้​พร้อม​กัน และ​มี​การ​แลก​เปลี่ยน​กัน​ผ่าน​วิดีโอ​ คอน​เฟอร์​เรนซ์​ด้วย หลัง​เสร็จ​สิ้น​การ​ให้​โอวาท​ของ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์ พวก​เรา​เดิน​ออก​มา​สูด​ อากาศ​บริสุทธิ์​ภาย​ใน​สมณ​า​ราม เงินบ​ ริจาค​จาก​ผม​ู้ จ​ี ติ ศ​ รัทธา​นนั้ ท่าน​ธร​รมา​จาร​ยจ​์ ะ​ไม่น​ ำ​มา​ใช้ใ​น​กจิ ส​ ว่ น​ ตัว ภาย​ใน​สมณ​าร​ าม​จงึ ม​ แ​ี ปลง​ผกั มีก​ าร​ทำ​ของ​ทร​ี่ ะลึกส​ ำหรับข​ าย​เพือ่ น​ ำ​ราย​ได้​ มา​ใช้​จ่าย​ภาย​ใน​สมณ​าร​ าม อากาศ​ที่​สมณ​า​ราม​แห่งเ​มือง​ฮ​วา​เหลียน​ดี​มาก อากาศ​หนาว​เย็นเ​ล็ก​น้อย จน​ใคร​บาง​คน​อยาก​จะ​ย้าย​ชีวิตม​ า​อยู่​ที่​นี่ แต่​อีก​ไม่​กี่​ชั่วโมง​เรา​ต้อง​ขึ้น​รถไฟ​กลับ​ไทเป​แล้ว คง​เหลือ​ไว้​แต่​คำ​กล่าว​ ของ​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​ใน​ความ​ทรง​จำ ‘แม้​คน​เรา​จะ​มี​ความ​ทุกข์ แต่​ความ​รัก​จะ​ ทำให้​เกิด​ความ​อบอุ่น’ ทำให้​หลาย​ชีวิต​ที่​อยู่​ใน​เมือง​หุบเขา​แห่ง​นี้ ไม่ห​ นาว​เกิน​ไป​นัก


เรียน​มา

92

มากกว่าหนึ่งวัน

สิ่ง​หนึ่ง​ที่​จะ​เก็บ​ความ​ทรง​จำ​ได้​ดี​คือ​การ​ถ่าย​รูป ช่าง​ภาพ​ที่​ถูก​เรียก​ใช้​ บริการ​ใน​หมู่​เพื่อน​ร่วม​ทาง​มาก​ที่สุด หนีไ​ม่​พ้น นา​ยกฯ​วิชญะ เสาะ​พบ​ดี นายก​ องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​บัก​ได ใน​ฐานะ​ที่​เพิ่ง​จบ​จาก​คอร์ส​อบรม​ถ่าย​ภาพ​ มา​ใหม่​หมาด “เรียน​มา​ครับ เรียน​มา” ถ่าย​เสร็จ นา​ยกฯ​วิชญะคุย​โอ่​ทันที การ​เดินท​ าง​มา​ไต้หวันห​ น​นข​ี้ อง​นา​ยกฯ​วชิ ญะ ประหนึง่ ก​ าร​หวน​คนื ถ​ นิ่ เ​ก่า ใน​วัย​หนุ่ม ช่วง​ของ​การ​ก่อ​ร่าง​สร้าง​ตัว เขา​เดิน​ทาง​มา​ทำงาน​ที่​เมือง​เกา​สง เขต​ นิคม​อุตสาหกรรม​ทาง​ภาค​ใต้​ของ​ไต้หวัน “ผม​รู้สึก​ว่า​ไต้หวัน​เจริญ​ขึ้น ทั้ง​การ​คมนาคม​ขนส่ง ความ​เป็น​อยู่ ผม​มา​ อยู่​ทนี่​ ี่​เมื่อ 15 ปี​ที่แล้ว ไต้หวันเ​ขา​ถีบตัว​เอง​ขึ้นม​ าก ไม่​ว่า​จะ​เป็น​เรื่อง​จิต​อาสา อาจ​จะ​เป็น​เพราะ​ว่า​ใน​มุม​มอง​ของ​ไต้หวัน​เขา​จะ​ต้อง​แข่งขัน​กับ​จีน แข่งขัน​กับ​ การ​อยูร่​ อด​บน​เวที​โลก” มุมม​อง​คน​ไต้หวันใ​น​สายตา​นา​ยกฯ​วชิ ญะ คน​ไต้หวันเ​ป็นค​ น​ทค​ี่ อ่ น​ขา้ ง​รกั ​ ประเทศ มีก​ าร​รว่ ม​มอื แ​ ละ​ให้ค​ วาม​ชว่ ย​เหลือก​ นั ด​ ี ส่วน​หนึง่ เ​พราะ​ประเทศ​ไต้หวัน​ ต้อง​เผชิญ​กับ​ภัย​พิบัติ​บ่อย​ครั้ง ซึ่ง​ที่​ชุมชน​ตำบล​บัก​ได​ก็​เกิด​ภัย​บ่อย​ครั้ง​เช่น​กัน เพราะ​พื้นที่​ตำบล​บัก​ได​ติด​กับ​ประเทศ​กัมพูชา การก​ระ​ทบ​กระทั่ง​จึง​มี​บ้าง “บัก​ได ถ้า​เกิด​กรณี​สงคราม มัน​จะ​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​ทำ​ด้วย​ใจ คือ​ศูนย์​ อพยพ​จะ​ตอ้ ง​มท​ี ใ​ี่ ห้อ​ ยูใ​่ ห้ก​ นิ แม้ค​ ณ ุ จ​ ะ​เป็นผ​ อ​ู้ พยพ​คณ ุ ต​ อ้ ง​ทำ​อาหาร​นะ ต้อง​ชว่ ย​ กันน​ ะ ถ้า​กรณี​แบบ​นี้​มัน​มา​ด้วย​ใจ​เลย แต่​กรณี​ปกติ​มัน​ก็​อาจ​จะ​มี​บ้าง​ที่​ต้องการ​ ค่า​ตอบแทน ซึ่ง​นี่​คือ​โจทย์ข​ อง​เรา เรา​จะ​ทำ​อย่างไร​ให้​เขา​ทำ​ด้วย​ใจ เรา​ต้อง​เริ่ม​ ทำ​จาก​จุดเ​ล็กๆ ไป​ก่อน” เมื่อ​มอง​ย้อน​กลับ​ไป​ยัง​ชุมชน​ตำบล​บัก​ได นา​ยกฯ​วิชญะ บอก​ว่า ต้อง​เริ่ม​ จาก​จุด​เล็กๆ “ต้อง​เริ่มจ​ าก​จุดเ​ล็กๆ ก่อน จะ​ใหญ่​เลย​แบบ​เขา​ไม่​ได้เ​ลย​นะ เขา​ประสบ​ ความ​สำเร็จแ​ ล้ว เรา​ตอ้ ง​เริม่ จ​ าก​จดุ น​ นั้ ก​ อ่ น ต้อง​มค​ี น​ทค​ี่ ดิ ค​ ล้ายๆ กัน เพือ่ ช​ มุ ชน


รวม​จติ อ​ า​สา​หลายๆ กลุม่ แล้วร​ บั ฟ​ งั ค​ วาม​คดิ เ​ห็นใ​ห้ม​ ากๆ เรา​ไม่จ​ ำเป็นต​ อ้ ง​ตาม​ เขา​ทุก​อย่าง แนวคิดข​ อง​เรา​อาจ​จะ​ออก​ไป​ใน​อีก​รูป​แบบ​หนึ่ง​ก็ได้ แต่​ต้องหา​คน​ ที่​คิด​คล้ายๆ กัน​ก่อน และ​จะ​ต้อง​เพิ่ม​ลักษณะ​คน​แบบ​นี้ คน​ที่​มี​ลักษณะ​มคี​ วาม​ เป็นพ​ ลเมือง ต้อง​ทำให้ค​ น​แบบ​นม​ี้ ม​ี าก​ขนึ้ ใ​น​ชมุ ชน​ของ​เรา ยิง่ ม​ ค​ี น​แบบ​นม​ี้ าก ทำ​ เรื่อ​ง​นมี้​ าก คน​อื่นๆ ก็​จะ​ตาม​ไป​เอง” อา​สม้ เล่าใ​ห้ฟ​ งั ว​ า่ ชาย​คน​หนึง่ เ​ข้าเ​ป็นอ​ า​สา​สมัคร​ฉอื จ​ ี้ เขา​เป็นค​ น​สบู บ​ หุ รี​่ จัด​มาก แต่​พอ​เข้า​มา​อยู่​ในฉือ​จี้ ไม่มคี​ น​สูบ​บุหรี่​เลย มี​เขา​สูบ​อยู่​คน​เดียว เขา​ก็​ รู้สึก​ว่า​บุหรี่​รบกวน​คน​อื่น เขา​ก็​เริ่ม​ลดๆ ​ลง จน​ไม่ส​ ูบ​เลย “ผม​ว่าเ​รา​ต้อง​สร้าง​คน​แบบ​นี้” นา​ยกฯ​ว่า นา​ยกฯ​วชิ ญะ มอง​วา่ จิตอ​ าสา​จะ​เกิดข​ นึ้ ไ​ด้ ส่วน​หนึง่ ต​ อ้ ง​ได้ร​ บั ก​ าร​เกือ้ กูล​ จาก​สังคม เช่น​สวัสดิการ “เรื่อง​สวัสดิการ​ต่างๆ จำเป็น​นะ ใน​มุมม​ อง​ของ​เรา คน​ที่​ทำงาน​จิต​อาสา​ สมควร​ได้​รับก​ าร​ยกย่อง ซึ่ง​การ​ให้​สวัสดิการ​มัน​ก็​เป็น​รางวัล​อย่าง​หนึ่ง เวลา​เจ็บ​ ไข้​ได้​ป่วย มี​สวัสดิการ​อะไร​ให้​เขา​บ้าง ความ​จริง​นี่​คือ​พื้น​ฐาน​ที่​ประชาชน​ควร​ได้​


94

มากกว่าหนึ่งวัน

รับ​อยูแ่​ ล้ว​นะ” ไม่มี​คำ​ตอบ​สำเร็จรูป​ตายตัว ใน​การ​ทำให้​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​พัฒนา ใน​การ​ สร้าง​ระบบ​จิต​อาสา หรือ​การ​สร้าง​ความ​เป็น​พลเมือง​ให้​เกิด​ขึ้น ไม่มี​คำ​ตอบ​ใด​ ตายตัว “ชาว​ไต้หวันเ​ขา​มอง​วา่ เ​รือ่ ง​ทกุ เ​รือ่ ง​ใน​ประเทศ​นเ​ี้ ป็นเ​รือ่ ง​ของ​พวก​เขา ไม่ใช่​ เรือ่ ง​ของ​ใคร​คน​ใด​คน​หนึง่ การ​ทำให้ค​ นใน​ประเทศ คนใน​ชมุ ชน​ตระหนักว​ า่ เรือ่ ง​ ทุก​เรื่อง ไม่​ว่า​จะ​เป็น​เรื่อง​ใน​ชุมชน เรื่อง​ของ​หมู่บ้าน ของ​ประเทศ เป็น​เรื่อง​ของ​ ตัว​เอง ก็​เป็น​เรื่อง​ที่​ใช้​เวลา​พอ​สมควร “ไต้หวัน​เขา​ทำ​มา​หลาย​ปี เขา​ทำให้​ประชาชน​มอง​ว่า ไม่​ว่า​จะ​เป็น​เรื่อง​ ความ​สะอาด ความ​สามัคคี สือ่ ส​ ข​ี าว เป็นเ​รือ่ ง​ของ​พวก​เขา เขา​ทำ​แล้วไ​ด้ป​ ระโยชน์​ ต่อ​ลูก​หลาน ต่อ​ชุมชน ส่วน​หนึ่ง​ทำ​แล้ว​มี​ความ​สุข​ใน​ใจ เขา​ก็​พร้อม​ที่​จะ​ทำ” นา​ยกฯ​วิชญะ ผู้​เรียน​ถ่าย​ภาพ​มา กล่าว​ปิด​ท้าย

ยัง​ไง​ก็​ต้อง​มา หลัง​จาก​นั่ง​รถไฟ​จาก​เมือง​ฮ​วา​เหลียน​คืน​สู่​ไทเป เรา​พบ​กำแพง​คอนกรีต​ ขนาด​ใหญ่ โอบ​ลอ้ ม​เมือง​ฝงั่ ห​ นึง่ ไ​ว้ อา​จนิ บอก​วา่ กำแพง​แห่งน​ เ​ี้ ป็นก​ ำแพง​ปอ้ งกัน​ น้ำ​ท่วม ไต้หวัน​เผชิญ​กับ​สารพัดภ​ ัย​พิบัติ ทั้งพ​ ายุ​ไต้ฝุ่น แผ่น​ดินไ​หว น้ำ​ท่วม


95 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ใน​ฐานะประธาน​ศนู ย์จ​ ดั การ​ภยั พ​ บิ ตั ต​ิ ำบล​เกาะ​ขนั ธ์ พีเ​่ พ็ญศ​ รี ทอง​บญ ุ ช​ ู กำนัน​ตำบล​เกาะ​ขันธ์ อำเภอ​ชะอวด นครศรีธรรมราช เข้าใจ​ว่า​ทำไม​ชาว​ไต้หวัน​ จึง​มี​พื้น​ฐาน​การ​ช่วย​เหลือ​กัน “ภัยพ​ บิ ตั เ​ิ ป็นเ​รือ่ ง​ใกล้ต​ วั เ​รา เรา​ตอ้ งเต​รย​ี ม​คน เตรียม​เครือ่ ง​ไม้เ​ครือ่ ง​มอื ” พี่​เพ็ญศ​ รี​กล่าว ปี 2553 เกิดภ​ ยั พ​ บิ ตั ใ​ิ น​พนื้ ทีต​่ ำบล​เกาะ​ขนั ธ์แ​ ละ​ใกล้เ​คียง ทำให้ท​ รัพย์สนิ ​ เสีย​หาย​มากมาย จึง​มี​การ​ระดม​พลัง​ขึ้น​มา​จัดการ มี​ผู้นำ​และ​อาสา​สมัคร​มา​ ช่วย “ถือว่าเ​ป็นป​ รากฏการณ์ค​ รัง้ แ​ รก​ทค​ี่ นใน​ชมุ ชน​รวม​ตวั ก​ นั โ​ดย​ไม่ไ​ด้น​ ดั ห​ มาย ใคร​มอ​ี ปุ กรณ์ม​ า​กเ​็ อา​มา​ชว่ ย ก่อน​หน้าน​ นั้ เ​รา​เคย​ทำ​แผน​ชมุ ชน ทำให้เ​รา​มต​ี ำบล​ อยูใ​่ น​เครือข​ า่ ย​แผน​แม่บท​ชมุ ชน​พงึ่ ต​ นเอง​ภาค​ใต้ พอ​เกิดส​ น​ึ า​มิ ปี 47 ขึน้ ม​ า​กบั พ​ ​ี่ น้อง​ฝงั่ อ​ นั ดามัน เรา​กม​็ ก​ี าร​ประชุมค​ ณะ​กรรมการ​ขนึ้ ม​ า ได้ข​ า่ ว​วา่ พ​ น​ี่ อ้ ง​ทท​ี่ ำงาน​ แผน​ชุมชน​ส่วน​หนึ่ง ประสบ​เหตุร​ ้าย​ด้วย เรา​ก็​รวม​ตัว​กัน​ไป​ช่วย สิ่ง​ที่​ไม่​เคย​เห็น​ มัน​เต็ม​ไป​หมด แล้วก​ลับ​มาระ​ดม​พละ​กำลัง แล้ว​ก็​ลง​ไป​ช่วย​เขา​สร้าง​บ้าน หา​ สิ่งของ​บริจาค นั่น​คือ​การริเริ่ม​ของ​คน​มี​จิต​อาสา เรา​ถือว่า​เป็น​พละ​กำลังส​ ำคัญ​ ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​งาน​อาสา” งาน​อาสา​สมัคร​ใน​มุม​มอง​ของ​พี่​เพ็ญ​ศรี​ต้อง​เริ่ม​ที่ ‘คน’ สังคม​ไต้หวัน​เป็น​ สังคม​ที่​มี​ความ​พร้อม​กว่า​สังคม​ไทย ทั้ง​เรื่อง​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​และ​ระบบ​การ​ รักษา​พยาบาล จึงเ​อื้อ​ให้​คน​ไต้หวันม​ ี​ความ​พร้อม​ใน​เรื่อง​เศรษฐกิจ​และ​โอกาส​ที่​ ได้​รับ​จาก​สังคม


96

มากกว่าหนึ่งวัน

เมื่อไ​ด้​รับ​ก็​ต้อง​ให้​กลับ แต่ท​ ต​ี่ ำบล​เกาะ​ขนั ธ์ ซึง่ เ​ป็นพ​ นื้ ทีเ​่ สีย่ ง​เผชิญภ​ ยั ต​ ลอด​เวลา เพราะ​เป็นพ​ นื้ ที​่ ตัง้ อ​ ยูใ​่ ต้เ​ขือ่ น ชาว​บา้ น​ใน​ชมุ ชน​เกาะ​ขนั ธ์พ​ ร้อม​ทจ​ี่ ะ​ชว่ ย​เหลือก​ นั โดย​อาจ​ไม่เ​คย​ สะกด​คำ​ว่า ‘จิต​อาสา’ “พวก​เขา​มา​ด้วย​ใจ​ที่​ต้องการ​ช่วย​เหลือ​เพื่อน​มนุษย์ ซึ่ง​คน​ส่วน​นี้​ก็​มี​ทั้ง​ ฝ่าย​ที่​อยู่​ใน​ตำแหน่ง​คือ​ฝ่าย​ปกครอง อีก​ฝ่าย​หนึ่ง​เป็น​คน​ที่​เขา​มี​ใจ อยาก​ร่วม​ ช่วย​ด้วย แล้ว​สังคม​เรา​มัน​เอื้อ​อาทร​ต่อ​กัน เห็น​เพื่อน​ทุกข์​เรา​ก็​ช่วย​แบ่ง​ปัน​กัน แต่​เรา​ทำ​ใน​วง​แคบๆ “พอ​มา​เจอ​ภาพ​กว้าง​อย่าง​ทนี่​ ี่ ทำให้​พี่​คิด​กลับ​ว่า หลัง​จาก​นี้​พี่​จะ​ต้อง​เริ่ม​ อย่างไร​ให้ข​ ยาย​กว้าง​กว่าน​ ี้ พีจ​่ ะ​มก​ี าร​จดั การ​ภยั พ​ บิ ตั ร​ิ ะดับอ​ ำเภอ​กอ่ น เอา​กำนัน​ เอา​นา​ยกฯ​ทุก​คน​มา​คุย​กัน​เรื่อง​นี้ เพราะ​ใน​ฐานะ​ที่​พี่​เป็น​ประธาน​ชมรม​กำนัน​ ผู้ใหญ่บ​ ้าน​อำเภอ​ชะอวด” “คน​ทเ​ี่ ป็นอ​ าสา​สมัคร​จดั การ​ภยั พ​ บิ ตั ใ​ิ น​ชมุ ชน​ของ​พเ​ี่ พ็ญศ​ รี ช่วง​เวลา​ปกติ พวก​เขา​ก็​ทำ​มา​หากินต​ าม​ปก​ตใิ​ช่​มั้ย​ครับ?” “เขา​ก็​ทำ​มา​หากิน​ของ​เขา​ไป แต่​เรา​ก็​มี​การ​ประชุม​การ​ระดม​พล​เดือน​ละ​ ครั้ง เรา​มศี​ ูนย์​วิทยุ มีเ​ครือ​ข่าย​หลาย​พื้นที่ มี​เครื่อง​ไม้เ​ครื่อง​มือ สิ่งส​ ำคัญ​ใน​การ​ ทำงาน​ภัย​พิบัติ ข้อมูล​คือ​หัวใจ เพราะ​ฉะนั้น​เรา​ต้อง​รู้​ข้อมูล​ว่า ภัยท​ ี่​มโี​อกาส​จะ​ เกิดม​ อ​ี ะไร​บา้ ง การ​ลำเลียง​คน จุดพ​ กั พิงต​ รง​ไหน แต่ส​ ำคัญเรา​ตอ้ ง​พงึ่ ต​ วั เ​อง​กอ่ น พึ่ง​ตัว​เอง​คือ​ทั้งช​ ุมชน​นะ พี่​จะ​มี​ข้อมูล​ว่าน​ าย​คน​นี้​มีรถ​กระบะ นายคน​นี้​มเี​ลื่อย เกิด​ภัย​ปั๊บ​เรา​ก็​เรียก​ตรง​นั้น​มา​จัดการ​ได้​เลย และ​เรา​ก็​เชื่อม​กับ​ภาคี​ภายนอก” “ถ้า​บ้าน​ผม​มเี​ลื่อย ไม่​ว่าผ​ ม​จะ​ทำ​อะไร​อยู่ ผม​ต้อง​มา” “ถ้า​น้อง​อยู่​ที่​ชุมชน​พี่ เชื่อ​พี่​สิ ยัง​ไง​น้อง​ก็​ต้อง​มา คน​ที่​นั่น​เป็น​แบบ​นี้​กัน​ หมด”



ก้าว​ข้าม​เส้น​บาง​บาง

98

มากกว่าหนึ่งวัน

หลัง​จาก​การ​สถาปนา​ประชาธิปไตย​โดย​การนำ​ของ ดร.ซุน ยัต​เซ็น ใน​ ปี ค.ศ.1911 จาก​นั้น​คู่​ต่อสู้​ของ​พรรค​ชาตินิยม​ก็​คือ​พรรค​คอมมิวนิสต์​ที่​นำ​โดย​ เหมา เจ๋อต​ งุ จน​ใน​ปี 1946 พรรค​คอมมิวนิสต์ช​ นะสงคราม​กลาง​เมือง สถาปนา​ สาธารณรัฐ​ประชาชน​จีน (People’s Republic of China: PRC) ส่วน​พรรค​ ชาตินิยม​ที่​นำ​โดย เจียง ไคเชค ผู้นำ​ต่อ​จาก ดร.ซุน ​ยัต​เซ็น ต้อง​อพยพ​มา​อยู่​ที่​ เกาะ​ไต้หวัน เขา​รอ​คอย​เวลา​ทจี่​ ะ​กลับ​จีน​แผ่น​ดิน​ใหญ่ ซึ่ง​ไม่เ​คย​เกิด​ขึ้น หลังป​ ี 1949 ไต้หวันด​ ำรง​สถานะ​อย่าง​แปลก​แยก ใน​ฐานะ​สาธารณ​รฐั จ​ นี (Republic of China) ซึ่งพ​ ลัด​ถิ่น แต่ป​ ระสบ​ความ​สำเร็จ​ด้าน​เศรษฐกิจ มี​การ​ ปฏิรูป​การ​ถือ​ครอง​ที่ดิน ไต้หวันม​ ุ่ง​ไป​สู่​ประชาธิปไตย​อย่าง​มั่นคง


99 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

ระบบ​ของ​ไต้หวัน​หันเห​ออก​จาก​จีน พร้อม​กับ​กระชับ​ความ​สัมพันธ์​ข้าม​ ช่องแคบ​ใน​หลาก​หลาย​แนวทาง สำหรับ​ชาว​ไต้หวัน​จำนวน​หนึ่ง​ไม่มี​ความ​ ปรารถนา​จะ​กลับ​ไป​รวม​ชาติ​กับ​จีน​อีก แต่​จีน​ก็​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​การ​กำจัด​ อิสรภาพ​และ​ตัว​ตน​บน​เวที​โลก​ของ​ไต้หวัน จีน​อ้าง​ว่า​เกาะ​ไต้หวัน​เป็น​หนึ่ง​ใน​ มณฑล​ของ​จีน เจียง ไคเชค​เสีย​ชีวิต​เมื่อ​ปี 1975 ผู้​ที่​รับ​ช่วง​ต่อ​จาก​เขา​คือ เจียง จิง​ กว๋อ ลูกชาย​ของ​เขา ผู้นำ​ไต้หวัน​เข้า​สู่​การ​เป็น​เสรี​ประชาธิปไตย​อย่าง​แท้จริง ปัจจุบัน นัก​ท่อง​เที่ยว​จาก​จีน​เดิน​ทาง​มา​เที่ยว​เกาะ​ไต้หวัน​วัน​ละ​หลาย​พัน​ คน แม้วา่ ป​ ญ ั หา​เรือ่ ง​ตวั ต​ น​บน​เวทีโ​ลก​ของ​ไต้หวันจ​ ะ​ถกู เ​งา​ของ​จนี ก​ ด​ ทับอ​ ยู่ ไต้หวันเ​ป็นป​ ระเทศ​ทไ​ี่ ม่มต​ี วั ต​ น​บน​เวทีโ​ลก ประหนึง่ อ​ ยูอ​่ ย่าง​ โดด​เดีย่ ว แต่เ​ศรษฐกิจท​ ด​ี่ ข​ี นึ้ ข​ อง​สอง​ประเทศ โดย​เฉพาะ​ จีน ก็​คลาย​ความ​ตึงเครียด​เรื่อง​การ​รวม​ชาติ​ หรือ​แม้แต่​เรื่อง​การเมือง​ไป​บ้าง



แต่​สำหรับ​มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้​พวก​เขา​ไม่​เคย​มอง​เห็น​การ​ดำรง​อยู่​ของ​เส้น​ พรมแดน​ทาง​ประ​วัติ​ศาสตร์​ มูล​นิธิ​พุทธ​ฉือ​จี้​เป็น​องค์กร​แรก​ที่​เข้าไป​ตั้ง​ศูนย์​ บรรเทา​ทุกข์​บน​จีน​แผ่น​ดิน​ใหญ่ พวก​เขา​มอง​ข้าม​ความ​ขัด​แย้ง​ทาง​ประ​วัติ​ศาสตร์ ก้าว​ข้าม​เส้น​บาง​บาง​เส้น​นั้น ทีห่​ ลาย​ประเทศ​ยาก​ที่​จะ​ก้าว ไม่​ว่า​เรา​จะ​เรียก​ว่า​ชาว​ฉือ​จี้​มี​อุดมการณ์​แบบ​ใด มัน​ก็​สามารถ​ถูก​เรียก​ได้​ ง่ายๆ ว่า ‘การ​เคารพ​ใน​ความ​เป็น​เพื่อน​มนุษย์’



ความเจริญก้าวหน้าของสังคม ไม่ใช่ได้มาจากการเรียกร้อง แต่ได้มาจากการลงมือทำ


104

มากกว่าหนึ่งวัน

วันสุดท้าย


เจ้าของน้ำพริก

105 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

หาก​ถาม​วา่ ใ​คร​เป็นผ​ ท​ู้ ำให้ช​ าว​คณะ​กว่า 30 ชีวติ สามารถ​มช​ี วี ติ อ​ ยูบ​่ น​เกาะ​ ไต้หวัน​ได้​กว่า 5 วันท​ ผี่​ ่าน​มา ชื่อข​ อง​นา​ยกฯ​ภา​นุวุธ บูรณ​พรหม นายก​องค์การ​ บริหาร​ส่วน​ตำบล​ผา​สิงห์ ย่อม​มีชื่อ​อยู่​ใน​นั้น ใน​ฐานะ​ผู้​หอบ​หิ้วส​ ารพัด​น้ำ​พริก​ติด​กระเป๋า​มา​ด้วย ใน​มมุ ม​ อง​ของ​นา​ยกฯ​ภา​นวุ ธุ เขา​มอง​วา่ จิตอ​ าสา​ใน​ชมุ ชน​ผา​สงิ ห์น​ นั้ ม​ อ​ี ยู​่ แล้ว ไม่​ได้​แตก​ต่าง​ไป​จาก​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​แห่ง​อื่น เพียง​แต่ “แรง​ขับ​มัน​ไม่​เกิด พื้น​ฐาน​การ​ช่วย​เหลือ​กัน​ของ​เรา​มัน​มี​อยู่​แล้ว แต่​แรง​ ขับ​ไม่​เกิด ถาม​ว่า​ทำ​ได้​มั้ย...ทำได้ แต่​ของ​เรา​ต่าง​คน​ต่าง​ทำ ส่วน​ฉือ​จี้​เขา​เชื่อม​ โยง ใคร​จะ​คิด​ล่ะ​ว่า ราย​ได้​จาก​สถานี​รีไซเคิล​ขยะ​ของ​ฉือ​จี้​จะ​เป็นต้น​ทุน​ใน​การ​ จัดการ​สถานี​โทร​ทัศน์​ต้าอ​ ้าย​ปลี​ ะ 25 เปอร์เซ็นต์” ถาม​เขา แรง​ขับ​จะ​เกิด​จาก​อะไร ตัวผูน้​ ำ​หรือ​ศาสนา “เรา​ต้อง​ตรวจ​สอบ​ก่อน​ว่าม​ ี​ใคร​บ้าง ทีม่​ ี​สปีชสี​ ์​เดียว​กับเ​รา ซึ่งม​ ันม​ ี​อยูแ่​ ล้ว คน​ทอ​ี่ ยาก​ทำงาน​เพือ่ พ​ ฒ ั นา​ชมุ ชน​ทอ้ ง​ถนิ่ เรา​กเ​็ อา​พวก​เขา​มา​รวม​กนั สร้าง​เป็น​ ระบบ คำถาม​ของ​ผม​มี​ถ้าเ​รา​ยึด​ติด​ใน​ตัวบ​ ุคคล แล้วว​ ัน​ใด​วัน​หนึ่งผ​ ู้นำ​ไม่อ​ ยู่​หรือ​ จาก​ไป ระบบ​จะ​ยัง​เดิน​ต่อ​ไป​ได้​มั้ยห​ รือ​อย่างไร” เขา​หมาย​ถึง สิ่ง​สำคัญ​คือ​การ​สร้าง​ระบบ รวม​ถึง​การ​ทำ​สิ่ง​ที่​ใกล้​ตัว​ที่สุด คือ​เริ่ม​ที่​ตัวเ​อง “ถ้าเ​รา​รับ​ผิด​ชอบ​ตัวเ​อง​ไม่​ได้ แล้วจ​ ะ​ไป​รับ​ผิด​ชอบ​สังคม​ได้​อย่างไร ใช่ม​ ั้ย จิตสำนึก​ต้อง​เริ่ม​จาก​ตัว​เรา​เอง​ก่อน​นี่​แหละ ต้อง​เริ่ม​จาก​ผ้าปูที่นอน​ตัว​เอง ตื่น​ มา​คุณ​ทำ​ยัง​ไง​กับ​มัน”


ห้าม​ถาม​เด็ดข​ าด

106

มากกว่าหนึ่งวัน

หาก นา​ยกฯ​ภา​นุวุธ แห่ง อบต.ผา​สิงห์ เป็น​ที่​พึ่งพ​ ิงเ​รื่อง​ปาก​ท้อง สำหรับ​ ที่​พึ่งพา​ยาม​เจ็บไ​ข้​ได้​ป่วย​ของ​ชาว​คณะ ก็​ต้อง​วิ่ง​หา หมอ​โจ-สุริยัน แพร​สี แห่ง อบต.ดอน​แก้ว หมอ​โจ​เป็น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลดอนแก้ว ซึ่ง​คลุกคลี​กับ​คน​ทำงาน​ อาสา​สมัคร​อยู่​ทุก​วัน เขา​จึง​ยืนยัน​ว่า ที่​ชุมชน​ดอน​แก้ว​ก็​มี​อาสา​สมัคร​ที่​ไม่​หวัง​ ผล​ตอบแทน “ใน​พื้นที่​เรา​มี​แบบ​นี้​อยู่​แล้ว และ​เข้ม​แข็ง​ด้วย จิต​อาสา​ที่​เชียงใหม่​หรือ​ ดอน​แก้ว​ไม่​ได้​ทำ​หลาย​เรื่อง​หลาย​ประเด็น เรา​ทำ​ไม่​กี่​เรื่อง แต่​ทำ​แล้ว​ได้​ผล​ มาก ยก​ตัวอย่าง จิตอ​ าสา​เรื่อง​ผู้​พิการ เขา​ไม่​หวัง​ผล​ตอบแทน​นะ เขา​ทำ​เพื่อใ​ห้​ คน​พิการ​ได้​มคี​ ุณภาพ​ชีวิต​ที่​ดขี​ ึ้น ทำ​เชิง​ลึก ต่อสู้​เพื่อใ​ห้​คน​พิการ​ได้​บัตร​ผู้​พิการ เพื่อ​ให้​ได้​งบ​ประมาณ ให้​ได้​ข้อ​บัญญัติ​หรือ​กฎหมาย​ที่​ดูแล​ผู้​พิการ​ใน​พื้นที่ ทำ​เฉพาะ​เรื่อง แต่ท​ ำ​ลึก” “อาสา​สมัคร​เหล่า​นี้​มา​ด้วย​ความ​รู้สึก​แบบ​ไหน?” “พวก​เขา​มา​ด้วย​ใจ ด้วย​ดวงตา​ที่​เห็น​คน​อื่น​มี​ความ​ทุกข์ ช่วย​ให้​หมด​ทุกข์ คน​ที่มา​ช่วย​ส่วน​ใหญ่​ก็​จะ​เหมือน​อาสา​สมัคร​ที่​ฉือ​จี้​นะ คือ​มี​ความ​พร้อม ความ​ ลงตัว​ใน​ชีวิตร​ ะดับห​ นึ่ง พวก​เขา​ก็​พร้อม​ที่​จะ​ช่วย​เหลือ​คน​อื่น” สิ่ง​ที่​หมอ​โจ​กำลัง​ทำ​อยู่​คือ​การ​สร้าง ‘คุณค่า’ ของ​การ​ทำงาน​อาสา​สมัคร ลบ​เลือน​เรื่องของ ‘มูลค่า’ ไป​จาก​งาน​จิต​อาสา “เมือ่ ก​ อ่ น​นะ อสม. คือจ​ ติ อ​ าสา เขา​กไ​็ ม่ไ​ด้เ​รียก​รอ้ ง​คา่ ต​ อบแทน​นะ แต่ร​ ฐั ​ จัดใ​ห้น​ ะ ตอน​นถ​ี้ า้ ไ​ม่มค​ี า่ ต​ อบแทน​จะ​เกีย่ ง​งอน​กนั น​ ะ อย่าง​จติ อ​ าสา​ทผ​ี่ ม​เอา​มา​ ช่วย​ทโี่​รง​พยาบาล​ดอน​แก้ว ก็ท​ ำ​คล้าย​ฉือ​จี้ ทุก​วัน​จะ​มี อสม. มา​ช่วย​กัน วัน​ละ ก​ ค​ี่ น​ไม่ไ​ด้เ​ข้าค​ วิ แ​ บบ​นี้ แล้วแ​ ต่ส​ มัคร​ใจ วันล​ ะ 2-3 คน​กแ​็ ล้วแ​ ต่ ไม่มค​ี า่ ต​ อบแทน​ ให้ จะ​มา​ครึ่ง​วัน​เต็ม​วัน​ก็​แล้ว​แต่ เรา​ไม่​สร้าง​นิสัย​ให้​เขา ว่าม​ า​ประชุม​ต้อง​ได้​เงิน ไป​ที่ไหน​ต้อง​ได้​ค่าน้ำ​มัน เรา​ไม่​ทำ​แบบ​นั้น ไม่​มา​กไ็​ม่​ง้อ


“แต่​เงิน 600 เรา​ให้​ทุกค​ น เป็น​ค่า​อะไร​ก็​ว่า​ไป เรา​ไม่ค​ ิด​ว่า​เป็น​ค่า​จ้าง ผม​ กำลังพ​ ยายาม​ทำ​อยู่ กินข​ า้ ว​เรา​กเ​็ ลีย้ ง​ได้ แต่ไ​ม่มค​ี า่ ต​ อบแทน​อย่าง​อนื่ ใ​ห้ คำถาม​ ต้อง​ห้าม​สำหรับ​ผม ห้าม​ถาม​ผม​เลย​นะ ว่า​มา​ประชุม​วัน​นี้​มี​ค่า​เดิน​ทาง​ให้​หรือ​ เปล่า ห้าม​ถาม​เด็ดข​ าด” หมอ​โจ​บอก​ว่า ถ้า​จะ​ทำ​เรื่อง​จิต​อาสา​ใน​ชุมชน ไม่​ต้อง​ทำ​เยอะ ทำ​แค่ ​เรื่อง​เดียว​ก็ได้ แต่ท​ ำให้​ดไี​ป​เลย

107 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


108

มากกว่าหนึ่งวัน

ภาพถ่าย​ระหว่าง​พ่อ​กับ​ลูก ภาพ​เขียน​จิตก​ รรม​ของ เจียง ไคเชค ยืน​อยูก่​ ับ เจียง จิง​ กว๋อ บน​ผืน​ผ้าใบ​ ใน​อนุสาวรีย์​เจียง ไคเชค พา ปุ๊​กกี๊- ทิชากร สุนทร​วิภาค รอง​ปลัด​องค์การ​ บริหาร​ส่วน​ตำบล​หนอง​สาหร่าย และ​เป็น​นัก​วิชาการ​เครือ​ข่าย​ตำบล​สุข​ภาวะ ย้อน​กลับ​ไป​คิดถึง​พ่อ หลัง​จาก​เจียง ไคเชค​เสีย​ชีวิตใ​น​ปี 1975 เจียง จิ​งกว๋อ ก็​สืบทอด​ตำแหน่ง และ​เขา​เป็นค​ น​นำ​ไต้หวันส​ ู่​ความ​เป็น​เสรี​ประชาธิปไตย เป็น​คลื่น​ลูก​ใหม่ บร​รพ​บรุษ​ของ ปุ๊​กกี๊-ทิชากร เป็น​เจ้า​เมือง​สุพรรณ​ใน​สมัย​กรุงธนบุรี กวาดต้อน​ผู้คน​มา​จาก​ฝั่งซ​ ้าย​แม่น้ำโ​ขง หรือป​ ระเทศ​ลาว​ใน​ปัจจุบัน พ่อข​ อง​เธอ​ เป็น​ผู้นำ​เรื่อง​เยาวชน ผลัก​ดัน​เยาวชน​ให้ม​ ี​โอกาส “พ่อ​ของ​ฉัน​เป็น​คน​ทำ​ศาลา​ประชาชน เรี่ยไ​ร​คนละ 20 บาท ผู้นำ 100 บาท มาส​ร้าง​ศาลา ซึ่งต​ อน​นี้​ศาลา​นั้น​เป็น​ที่​เลือก​ตั้ง​เป็น​ห้อง​ประชุม”


109 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

บาง​ห้วง​อารมณ์​ระหว่าง​ดู​ภาพ​เขียน​เจียง​กับ​ลูกชาย เธอ​หวน​นึกถึง​ บรรพบุรุษ ถ้า​คน​ลาว​เปรียบ​เหมือน​กับ​คน​ไต้หวัน​ที่​ต้อง​พลัดพราก​แผ่น​ดิน​เกิด แต่​สุดท้าย​การ​เป็น​น้ำ​หนึ่ง​ใจ​เดียวกัน และ​การ​เห็น​แก่ประโยชน์​ส่วน​รวม ก็​นำ​ ไต้หวัน​มา​ถึง​ทุก​วัน​นี้ อารมณ์น​ ั้น เดา​ว่า เธอ​เห็น​ตัวเ​อง​ใน​ภาพ​ของ​เจีย่​ ง จิ​งกว๋อ คลื่น​ลูก​ใหม่ “พอ​เรา​เห็น​ภาพ​เขียน​เจียง​กับ​ลูกชาย มันป​ ิ๊ง​แวบ​เลย เพราะ​เรา​ผูกพัน​กับ​ บรรพบุรษุ ไต้หวันอ​ าจ​จะ​ไป​รวม​กบั จ​ นี ก​ ไ็ ด้ หรือจ​ ะ​เป็นเ​สรีก​ ไ็ ด้ แต่ไ​ม่ว​ า่ เ​ป้าห​ มาย​ เขา​จะ​เป็น​ยัง​ไง เขา​โปร่งใส จริงใจ ทำ​เพื่อ​ประเทศ” มอง​ย้อน​กลับไ​ป​ยังช​ ุมชน​ตำบล​หนอง​สาหร่าย ทิชากรบอก​ว่า ถ้าช​ าว​บ้าน​ ไม่มี​ทรัพยากร​หรือ​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ที่​ภาค​รัฐ​หรือ​ท้อง​ถิ่น​หนุน​เสริม​ให้ ก็​จะ​ เหมือน​กับ​ชาว​บ้าน​บางระจันใ​น​หน้า​ประวัติศาสตร์​ที่​ถูก​พม่าเ​ผา​หมู่บ้าน “อย่าง​ที่​เรา​ไป​ดู​โรง​พยาบาล แทนที่​เขา​จะ​พา​เรา​ไป​ดู​ห้อง​ที่​แพทย์​ทำงาน เปล่า เขา​พา​เรา​ไป​ดู​เสา​เข็ม เฮ้ย ทำไม​การ​ที่​คน​ไทย​สร้าง​อะไร​ทำไม​ไม่มี​การ​ วางแผน ผังเมือง​ก็​ไม่มี​การ​วางแผน แต่ท​ ี่​นี่​เขา​มอง​ราย​ละเอียด ผ่าตัด​ยังไ​ง​ไม่ใ​ห้​ คนไข้​เสีย​ชีวิต เขา​มอง​ถึง​ราก​เลย เขา​จึง​ออกแบบ​เสา​เข็ม​ที่​ป้องกัน​อาคาร​​สั่น​ สะ​เทือ​นระ​หว่าง​ที่​เกิด​แผ่น​ดิน​ไหว เพราะ​ใน​เวลา​นั้น​แพทย์​อาจ​จะ​กำลัง​ผ่าตัด​ คนไข้​อยู่ เสา​เข็ม​อัน​นี้​ป้องกัน​แรง​สั่น​สะเทือน​และ​ทำให้​แพทย์​สามารถ​ผ่าตัด​ได้​ ขณะ​เกิด​แผ่น​ดิน​ไหว” ประสบการณ์​หนึ่ง​ที่ ปุ๊​กกี๊-ทิชากร ประสบ​พบ​เจอ จาก​การ​ทำงาน​ชุมชน​ ท้อง​ถิ่น รวม​ถึง​งาน​เครือ​ข่าย คือ​การ​แบ่ง​เขา​แบ่ง​เรา ซึ่ง​เป็น​อุปสรรค​ต่อ​การ​ ทำงาน วิธแี​ ก้ข​ อง​เธอ​คือม​ ุ่งห​ น้าล​ งมือท​ ำ จน​เห็น​ผล​เป็นร​ ูปธ​ รรม ถ้าโ​ชค​ดี ความ​ ร่วม​มือก​ ็​จะ​เกิด​ตาม​มา “อย่าง​ท่าน​อา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ย​นทำ​เรื่อง​ที่​ยาก ท่าน​มอง​ข้าม​ประวัติศาสตร์ ท่าน​ไป​สร้าง​บ้าน​ให้​คน​จีน​ที่​เกิด​ภัย​พิบัตทิ​ ี่​ยากไร้ ท่าน​ทำให้​คน​มุสลิม ทำให้​คน​ เกาหลีเหนือ ท่าน​ข้าม​ผ่าน​ตรง​นั้น​ไป​แล้ว “ถ้าม​ อง​กลับม​ ายังป​ ระเทศ​เรา เจ็ดพ​ นั ก​ ว่าแ​ ห่งท​ เ​ี่ ป็นต​ ำบล เรา​ตา่ ง​คน​ตา่ ง​


110

มากกว่าหนึ่งวัน ทำงาน ฉัน​มี​งบ​ของ​ฉัน ไม่​จำเป็น​ต้อง​ไป​คุย​กับ​เพื่อน​บ้าน ตำบล​ฉัน​ต้อง​ดี​กว่า ท​ อ​ี่ นื่ พีเ​่ คย​เจอ​แบบ​นม​ี้ า​หลาย​ครัง้ ถ้าเ​รา​ชว่ ย​กนั กำแพง​มนั จ​ ะ​พงั ท​ ลาย​ลง​ไป​เอง จาก​นั้น​มัน​จะ​กลาย​เป็น​เรา​ต่าง​ช่วย​กัน​ทำงาน” ใน​มุมม​ อง​ของ​เธอ พลเมือง คือ คน​ทอี่​ อก​มา​ทำ​เพื่อส​ ่วน​รวม ไม่ไ​ด้​คิด​แต่​ เรื่อง​ตัว​เอง สิ่ง​เหล่า​นี้​จะ​เกิด​ได้ เธอ​บอก​ว่า ถ้าเ​รา​ตระหนัก​ว่า​เรา​มีหน้า​ที่​อะไร และ​ลงมือท​ ำ


111 บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan

เหมือน​อย่าง​ธร​รมา​จาร​ย์​เจิ้ง​เอี๋ยน “การก​ระ​ทำ​ของ​ท่าน เป็นการ​กระทำ​ที่​ปราศจาก​อคติ ซึ่ง​การ​ที่​ท่าน​ทำ​ เช่น​นั้น ท่าน​ก็​โดน​แสดง​ความ​ไม่พ​ อใจ​นะ แต่​ท่าน​มอง​ข้าม​ปม​ขัด​แย้งต​ ่างๆ ทั้ง​ เชือ้ ​ชาติ ประ​ว​ตั ศ​ิ าสตร์ การเมือง มอง​ขา้ ม​หมด​เลย เหลือแ​ ต่​การ​เคารพ​เพือ่ น​มนุษย์” ถ้า​เรา​เริ่ม​จาก​จุด​นี้... ปุ๊​กกี๊-ทิชากร ตั้งค​ ำถาม


112

มากกว่าหนึ่งวัน





มากกว่า​หนึ่งว​ ัน

116

มากกว่าหนึ่งวัน วัน​สุดท้าย หลัง​จาก​ศึกษา​เรียน​รู้​งาน​จิต​อาสา​ของ​มูล​นิธิ​ฉือ​จี้​แล้ว ใคร​หลาย​คน​เชียร์​ให้ พี่​ด้วง-ดวง​พร เฮ​งบุณย​พันธ์ ผู้​อำนวย​การ สำนัก 3 สสส. ออก​บวชเป็น​ภิกษุณี หลาย​วัน​ที่​ผ่าน​มา พี่​ด้วง-ดวง​พร มอง​เห็น​อะไร “การ​มา​ครั้ง​นี้​มัน​ก็​ทำให้​เห็น​อีก​มิติ​หนึ่ง​ว่าการ​ทำงาน​ชิ้น​ใด​ชิ้น​หนึ่ง มัน​ต้อง​มี 3 อย่าง เช่น 1. เรา​ต้อง​มี​ความ​เชื่อ ศรัทธา​ต่อ​เส้น​ทาง​ที่​เรา​เดิน​ ว่าส​ งิ่ ท​ เ​ี่ รา​คดิ ม​ นั เ​ป็นไ​ป​ได้ 2. ต้อง​เรียน​รว​ู้ ธิ ก​ี าร​ทจ​ี่ ะ​เดินเ​ข้าไป​ถงึ เ​ป้าห​ มาย ใ​ห้ม​ ค​ี วาม​หลาก​หลาย มันข​ นึ้ อ​ ยูก​่ บั พ​ นื้ ฐ​ าน​ของ​พนื้ ทีด​่ ว้ ย ผูน้ ำ และ​บริบท​ ด้วย เอา​คน​ที่​มี​พื้น​ฐาน​แตก​ต่าง​แล้ว​เอา​มา​คุย​กัน 3. เรา​อยู่​ใน​ภาวะ​ที่​


บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

มากกว่า​หนึ่ง​วัน ที่​คณะ​เดิน​ทาง​มา​ศึกษา​เรียน​รู้​การ​ทำงาน จ​ ติ อ​ าสา​ทม​ี่ ลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ ี้ ประสบการณ์ค​ วาม​ประทับใ​จ​ทไ​ี่ ด้ร​ บั ก​ ลับม​ า ผู้คน​เหล่า​นี้​จะ​นำ​กลับไ​ป​ปรับปรุง ต่อย​อด เพื่อ​เปลี่ยนแปลง​หรือ​สร้าง​ เสริมใ​ห้​ชุมชน​ของ​พวก​เขา มากกว่าห​ นึ่งว​ ัน ที่​สิ่ง​ดี​งาม​ต่างๆ ที่​เรา​เห็น​ใน​ไต้หวัน ใน​มูล​นิธิ​ พุทธ​ฉือ​จี้ สะสม​อยู่​ในความ​ทรง​จำ มากกว่าห​ นึ่ง​วัน แน่นอน หาก​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​แต่ละ​แห่ง จะ​สร้าง​ สังคม​ที่​เข้มแ​ ข็ง น่า​อยู่ สร้าง​ความ​รู้สึก​ว่าท​ ุก​คน​เป็น​ครอบครัว​เดียวกัน ทุก​คน​พร้อม​ทจี่​ ะ​เป็น​ฝ่าย​ให้โ​ดย​ไม่ห​ วัง​ผล​ตอบแทน มากกว่าห​ นึ่ง​วัน แต่ค​ วาม​อดทน​จะ​เป็น​คำ​ตอบ

117

Made in Taiwan

ใช้​เงิน​ใน​กระบวนการ​พัฒนา​อย่าง​ไร้​เหตุผล​พอ​สมควร “เรา​มา​ถงึ จ​ ดุ ท​ ถ​ี่ า้ เ​รา​ไม่ว​ ก​กลับ เอา​เงินเ​ป็นต​ วั ต​ งั้ ไ​ม่เ​อา​ประโยชน์​ ของ​พนื้ ทีเ​่ ป็นต​ วั ต​ งั้ ทุกอ​ งค์กร​กจ​็ ะ​เกิดอ​ ปุ สรรค​มากมาย นัน่ เ​ป็นเ​หตุผล​ ทีเ​่ รา​เลือก​มา​ไต้หวัน มา​ทพ​ี่ นื้ ทีม​่ ลู น​ ธิ พ​ิ ทุ ธ​ฉอื จ​ ี้ เพราะ​เรา​ตอ้ งการ​สร้าง​ ความ​เชื่อ​มั่น​ให้​กับผ​ ู้นำ เรื่อง​จิต​อาสา​มัน​เป็น​เรื่อง​ที่​คุณ​ไม่ท​ ำ​ไม่​ได้ มัน​ จะ​ทำให้​สังคม​นี้​เป็น​สังคม​ที่​ไม่​เอื้อ​อาทร ผู้​ที่​แข็ง​แรง​กว่า​ไม่​ดูแล​ผู้​ที่​ อ่อนแอ​กว่า เงินเ​ท่าไ​หร่​ก็​เลี้ยง​คนใน​สังคม​ไม่​พอ ถ้าไ​ม่มจี​ ิต​อาสา”


118

มากกว่าหนึ่งวัน


119

บันทึกการเดินทางจาก ‘จิตอาสา’ สูก่ ารเป็น ‘พลเมือง’

Made in Taiwan


นัยนา ศรี​เลิศ

อบต.คอ​รุม

“ฉัน​คิด​ว่า​ถ้า​กลับ​ไป​ถึง​คอ​รุม มัน​ น่า​จะ​มี​อะไร​ที่​เปลี่ยนแปลง เริ่ม​ จาก​เปลี่ยน​ตัว​เรา​เอง​ก่อน”

บุณฑริก แ

ช่ม

อบต.หนอ​ชงโ​้อรยง

“การ​เป็นจ​ ติ อ​ าสา​จาก​จติ ใจ​ทบ​่ี ริส​ ทุ ธ์ิ การ​ทำ​สงิ่ เ​หล่าน​ ค​ี้ อื ค​ วาม​รกั ท​ ม​ี่ ต​ี อ่ ​ เพื่อน​มนุษย์”

ไฉน ก้อน​ทอง

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​ดงมูลเหล็ก

“ผม​คิด​ว่า​จิต​อาสา​คือ มนุษย์​ไม่​ว่า​จะ​ ชนชาติไ​หน​กแ​็ ล้วแ​ ต่ ความ​หว่ ง​หา​อาทร ความ​ผกู พันใ​น​ชาติพนั ธุใ​์ น​กลุม่ ใ​น​กอ้ น​ มัน​มโี​ดย​ธรรมชาติ​อยูแ่​ ล้ว”


“ที่​บัก​ได​บ้าน​ผม กรณี​เกิด​สงคราม ทุก​คน​ พร้อม​จะ​ช่วย​เหลือ​กัน โดยที่​พวก​เขา​ไม่รู้​ว่า เนื้อแ​ ท้​ที่​พวก​เขา​มี​อยู่​เรียก​ว่า จิต​อาสา”

นายก อ​งค์ก วชิ ญ าร​บริห ะ เ ารส​่ว สาะพ​ น​ตำบ บด​ ล​บัก​ไ ี ด

เพ็ญ​ภัค รัตน​คำ​ฟู

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​เกาะคา “ทุก​คน​สามารถ​เป็น​อาสา​สมัคร​ ได้ ถ้า​เรา​มอง​ว่า​ทุก​คนใน​เกาะคา​ คือ​ครอบครัว​เดียวกัน”

ไสว จันทร์เ​หลือง

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​ศรี​ฐาน “พื้ น ​ฐ าน​ค น​ศ รี ​ฐ าน พวก​เ ขา​ พร้ อ ม​ที่ ​จ ะ​ช่ ว ย​เ หลื อ ​กั น ผม ​กล้า​พูด​ได้​เลย​ว่า เรื่อง​จิต​อาสา ที่​ศรีฐ​ าน​ไม่​แพ้​ใคร”


ิ์ ช์ เปรม​ปรีด สุ​วรรณ​วิช่วน​ตำบล​หนอง​โรง

หาร​ส

นายก​องค์การ​บริ

“ที่​หนอง​โรง ผม​คิด​ว่า​เขา​ไม่​ได้​ เอา​ตั ว ​บุ ค คล​เ ป็ น ​จุ ด ศู น ย์ ก ลาง​ ใน​การ​ทำงาน​จติ อ​ าสา แต่พ​ วก​เขา​ เอา​ปั ญ หา​ค วาม​อ ยู่ ​ร อด​ใ น​ชี วิ ต เป็ น ​จุ ด ศู น ย์ ก ลาง​ใ น​ก าร​ล งมื อ​ ทำ​กิจกรรม ถ้า​ไม่มี​ป่า​ก็​ไม่มี​น้ำ”

จินต​ศักดิ์ แสง​เมือง

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​ไกร​นอก “การ​สร้าง​ให้​คนใน​ชุมชน​มี​จิตใจ​ อาสา มั น ​ไ มใช่​่ ​เ รื่ อ ง​ง่ า ย แต่ ​ถึ ง​ กระนั้น​ก็​ปฏิเสธ​ไม่​ได้​ว่า​มัน​เป็น​ สิ่ง​ที่​ท้าทาย”


สุริยัน แพร​สี

อบต.ดอน​แก้ว

“ที่​ดอน​แก้ว - เชียงใหม่ เรา​ทำ​เรื่อง​จิต​อาสา​ อยู่​ไม่​กี่​เรื่อง แต่​เรา​ทำ​เชิง​ลึก ยก​ตัวอย่าง จิต​อาสา​เรื่อง​ผู้​พิการ พวก​เขา​ต่อสู้​เพื่อ​ให้​ คน​พิการ​จน​ได้​ข้อ​บัญญัติ​ทาง​กฎหมาย​ที่​จะ​ คุ้มครอง​ผู้​พิการ แล้ว​พวก​เขา​ก็​ไม่​เรียก​ร้อง​ ค่า​ตอบแทน” ทิชากร สุนทร

อบต.หนอง​ส​วาิภหร่าาคย

“พลเมือง​คือ​คน​ที่​ออก​มา​ทำ​เพื่อ​ส่วน​รวม ไม่​ได้​คิด​แต่​เรื่​องตัว​เอง​หรือ​ครอบครัว​ของ ​ตัว​​เอง คิดถึง​ส่วน​รวม มีหน้า​ที่​รับ​ผิด​ชอบ”

เพ็ญ​ศรี ทอง​บุญ​ชู

กำนันต​ำบล​เกาะ​ขันธ์ธ์ ล​เกาะ​ขัน และ​ประธานศ​ูนย์จ​ัดการ​ภัย​พิบัติ​ตำบ “อาสา​สมัคร​ที่มา​ช่วย​งาน​เรื่อง​ภัย​ พิบตั ิ พวก​เขา​ไม่มค​ี า่ ต​ อบแทน​นะ​คะ พวก​เขา​มา​ดว้ ย​ใจ​ท​ต่ี อ้ งการ​ชว่ ย​เหลือ ​เพื่อน​มนุษย์”


สิ​ริ​พงษ์ ชู​ชื่น​บุญ

อบต.บัก​ได

“อาสา​สมัคร​ที่​ฉือ​จี้​มี​ธร​ร มา​จาร​ย์​ เจิ้ง​เอี๋ยน​เป็น​จุดศูนย์กลาง​ใน​การ​ ทำความ​ดี บ้าน​เรา​เรา​ก็​มี​พระบาท​ สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว​เป็น​จุด​ศูนย์​ รวม​ของ​จิตใจ”

เรวัติ นิยม​วงศ์

เทศบาลตำบลชากไทย “ผม​มอง​วา่ เ​รา​ทำให้ค​ ำ​วา่ จ​ ติ อ​ าสา​ผดิ เ​พีย้ น​ไป จิต​ อาสา​ใน​ทน​ี่ ไี้ ม่ต​ อ้ งการ​คา่ ต​ อบแทน แต่บ​ า้ น​เรา​มกั ​ บ่น​ว่า​แกน​นำ​ไม่​ดูแล​เลย สิ่ง​ที่​ผม​จะ​กลับ​ไปทำ ​คือ​ปรับ​เปลี่ยน​ทัศนคติ​เรื่อง​นี้”

กัลยา หอม​เกตุ

ผู้​จัดการ​ศูนย์​ประสาน​งาน ​ท้อง​ถิ่น​ภาค​ใต้​ตอน​บน “ฉันม​ อง​วา่ ว​ ถิ แ​ี พทย์แ​ บบ​เก่าเ​คารพ​ความ​ เป็น​มนุษย์ ฉือ​จี้​มี​จิต​วิญญาณ​แบบ​เก่า ที่​ รองรับ​ด้วย​เทคโนโลยี​การ​แพทย์​สมัย​ใหม่ ถ้า​เรา​จะ​พัฒนา​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น เรา​ต้อง​ รักษา​ทั้ง​สิ่ง​เก่า และ​เปิด​รับ​สิ่งใ​หม่”


วนิฐา ธง​ไชย

นักบ​ริหาร​งาน​สาธารณ​สุข อบต.ศรี​ฐาน

“วิธี​คิดท​ ำ​เพื่อ​คน​อื่น ก็​คือ​ผล​สุดท้าย​ มัน​ก็​ย้อน​กลับ​มา​สเู่​รา​เอง ถ้า​เรา​เชื่อ​ ว่า​ทุก​สิ่ง​บน​โลก​นี้​ล้วน​แต่​สัมพันธ์​ กัน​นะ​คะ” ท ​ รัตน์ สินธพ อำินบลท่าข้าม

ริหารส่วนต

นายกองค์การบ

“คน​เ รา​ท้ อ ง​ต้ อ ง​อิ่ ม ​ก่ อ น จึ ง ​จ ะ​ ช่วย​เหลือ​สังคม​ได้ แต่​ที่​ฉือ​จี้​เขา​เข้า​ มา​เพราะ​คณ ุ ค่าท​ าง​จติ ใจ​อย่าง​เดียว​ เลย นีค​่ อื ส​ งิ่ ท​ า้ ทาย​นะ ไม่ใช่ส​ ำหรับ​ ผู้นำ แต่​ทุก​คนใน​ชุมชน​เลย”

ประพันธ์ แจ้ง​เอี่ยม

นัก​วิชาการ มหา​วิทยา​ลัย​ราชภัฏอุตรดิตถ์ “ผม​มอง​ว่า​พร​หม​วิหาร 4 เป็น​เครื่อง​มือ​ที่​ เป็นน​ ามธรรม​ซึ่ง​ก่อ​ให้​เกิด​กิจกรรม​รูป​ธรรม โดย​ใช้​ข้อ​มูล​จริงๆ ใน​การ​เรียน​รู้​ปัญหา ผม​ ว่า​มัน​เป็นก​ระ​บวน​การ​ที่​เรียน​รู้​ผ่าน​ของ​จริง​ แล้ว​มา​เทียบ​กับ​หลักธ​ รรม”


ผศ.ดร.ลักขณา เติม​ศิริ​กุล​ชัย

สำนัก 3 สสส.

“เรา​จะ​ดูแล​แค่​ครอบครัว​ของ​เรา โรงเรียน​ของ​เรา แค่​นั้นม​ ัน​ไม่​พอ เวลา​ที่​คุณ​เกื้อกูล​คน​ที่​ทุกข์​ยา​ก มากๆ ความ​จริงแ​ ล้วม​ นั ก​ ค​็ อื ก​ าร​ ช่วย​เหลือส​ ังคม ถ้า​เรา​มอง​ว่าท​ ุก​ อย่าง​สมั พันธ์ก​ นั เรา​กต​็ อ้ ง​ทำ​เพือ่ ​ คน​อื่น​ด้วย”

วิเศษ ยาค​ล้าย

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​วัง​น้ำค​ู้ “ขอบ​เขต​ของ​ฉอื จ​ ค​ี้ อื ร​ ะดับโ​ลก แต่ข​ อง​เรา​ ระดับต​ ำบล แน่นอน ​​ เรา​ดเ​ู ขา​เป็นต​ วั อย่าง แต่ ​สิ่ ง ​ที่ ​เ รา​จ ำเป็ น ​ต้ อ ง​ท ำ​คื อ ​เ ริ่ ม ​จ าก​ จุดเ​ล็กๆ ใน​ชุม​ชน​เล็กๆ ของ​เรา”

ภา​นุวุธ บูรณ​พรหม

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​ผา​สิงห์

“จิตสำนึก​มัน​ต้อง​มี​กระบวนการ​สร้าง แล้วม​ นั ต​ อ้ ง​เริม่ จ​ าก​ทไ่ี หน จากครอบครัว จาก​ผ้าปูที่นอน​ใน​ห้อง​นอน​ตัวเ​อง”


ธาดา อำ​พิน

นายก​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล​อุทัย​เก่า

“ผม​ชอบ​คำ​กล่าว​ที่​ท่าน​ธร​รมา​จาร​ย์​ เจิ้ง​เอี๋ย​นบ​อก​ว่า ‘โลก​ไม่ใช่​ของ​เรา​ คน​เดียว โลก​เป็นของ​คน​ทุก​คน’”

จ่า​สิบ​เอก​ไพศาล มีส​ มบัติ

อบต.บ้าน​ควน

“เวลา​ท​่พี วก​เขา​ไป​ให้​ความ​ชว่ ย​เหลือ ​ผ​ปู้ ระสบ​ภยั อา​สา​สมัคร​ฉอื ​จ​ไ้ี ม่​เลือก​ ว่า​คุณ​เป็น​คริสต์ คุณ​เป็น​อิสลาม... ไม่เ​ลย พวก​เขา​ช่วย​เหลือท​ ุกค​ น​ไม่ว​ ่า​ คุณ​เป็น​ใคร”

พ.ต.ท.สุรช​ ัย เทศ​วงศ์

อบต.เขมราฐ

“ผม​อ ยาก​ม า​เ ห็ น​ว่ า อะไร​ท ำให้ ​ค น​ ทำงาน​อาสา​สมัคร​ที่​นี่ ทำงาน​เต็ม​ร้อย​ โดย​ไม่​หวัง​ผล​ตอบแทน คำ​ตอบ​ที่​ผม ​ได้​รบั ​กลับ​เกิด​ขน้ ึ ​กบั ​ตวั ​เอง ทำ​กบั ​ตวั ​เอง​กอ่ น ก่อน​ที่​จะ​เปลี่ยนแปลง​คน​อื่น”



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.