�������.indd 1
1/30/12 2:25:11 PM
�������.indd 2
1/30/12 2:25:17 PM
�������.indd 3
หนองโรง ส วั ส ดี เรื่อง : นทธี ศศิวิมล ภาพ : ติณ นิติกวินกุล
1/30/12 2:25:19 PM
�������.indd 4
Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ หนองโรงสวัสดี เรื่อง นทธี ศศิวิมล ภาพ ติณ นิติกวินกุล ออกแบบปกและรูปเล่ม น้ำฝน อุดมเลิศลักษณ์ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
978-616-7374--39-0 บรรณาธิการอำนวยการ
ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2298 0500 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th พิมพ์ครั้งที่ 1
ธันวาคม 2554
1/30/12 2:25:20 PM
�������.indd 5
ดำเนินการผลิตโดย
เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com
1/30/12 2:25:21 PM
�������.indd 6
6
ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
1/30/12 2:25:26 PM
�������.indd 7
นทธี ศศิวิมล
7
1/30/12 2:25:32 PM
�������.indd 8
คำนำ เมื่อไม่นานมานี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยว ที่ไหนสักแห่ง เรามักจะมีจินตนาการด้านดีเกี่ยวกับ สถานทีท่ เี่ รากำลังจ ะไป...ทะเลสฟี า้ ใส หาดทรายทอดยาว สีขาวจัด ภูเขาเขียวครึ้มหมอกโรยเรี่ยยอดไม้ อาหาร ท้องถิ่นรสชาติแปลกลิ้นแต่ถูกปาก ชาวบ้านจิตใจดีหาบ คอนตะกร้าฉีกยิ้มบริสุทธิต์ ้อนรับนักท่องเที่ยว ฯลฯ เมื่อเร็วๆ นี้ เวลาที่เรานึกอยากจะไปเที่ยวที่ไหน สักแห่ง เรามักพกพาอารมณ์โหยหาอดีต ก่อนลงมือ ค้นหาข้อมูลพิกัดตำบลเป้าหมายที่จะพาเราพบ...อาคาร บ้านเรือนยุคคุณปู่คุณย่า ตลาดเก่าแก่ กาแฟโบราณ ของเล่นส งั กะสี ขนมกนิ เล่นห น้าต าเชยๆ แต่อ ร่อย เพราะ ปรุงแต่งด้วยรสชาติอ ดีต ฯลฯ จินตนาการและความคาดหวังทำนองนี้ บางทีก็ สมดังใจ แต่หลายครั้งก็คลาดเคลื่อนไปจากภาพที่เคย คิดเอาไว้ คลาดเ คลื่ อ นเ พราะข้ อ เ ท็ จ จริ ง ห ลายป ระการ เปลี่ยนไป แล้วท กุ ว นั น ี้ เรายงั ม จี นิ ตนาการและอารมณ์ค วาม รู้สึกชนิดใดอีก เมื่อคิดถึงการท่องเที่ยวศึกษาบ้านเมือง ของเราเอง
1/30/12 2:25:33 PM
�������.indd 9
ความจ ริ ง มี อ ยู่ ว่ า ปั จ จุ บั น นี้ ชุ ม ชนทุ ก ต ำบล หย่อมย่านในประเทศไทยล้วนกำลัง เปลี่ยนไป และ ก็ แ น่ น อนว่ า ค วามเ ปลี่ ย นแปลงที่ ว่ า นี้ หาไ ด้ มี แ ต่ ความหมายเชิงลบ หลายปี ที่ ผ่ า นม า ผู้ ค นใ นชุ ม ชุ น ร ะดั บ ต ำบล หลายต่อหลายแห่งในประเทศของเรา ได้อาศัยต้นทุน ทรัพยากรเดิมเท่าท ี่ชุมชนมี ผนวกกับออกแรงขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลง สร้างสรรค์ชุมชนที่พวกเขาเป็นเจ้าของ ให้เป็นช มุ ชนทสี่ ามารถผลิตค วามสขุ แ ละคณ ุ ภาพชวี ติ ท ดี่ ี ป้อนกลับคืนสู่วิถชี ีวิตของสมาชิกในชุมชนด้วยกันเอง คนเล็กคนน้อยเหล่านี้ลงมือทำมานาน หลายแห่ง ประสบความสำเร็จในระดับน ่าอิจฉา แต่เราจะอจิ ฉาได้อ ย่างไร ถ้าไม่ได้ไปสมั ผัสจ บั ต อ้ ง และมองเห็นด้วยตาร้อนๆ ของเราเอง ชุมชนเหล่านี้อาจจะไม่มหี าดสีขาวทอดยาว ทะเล ไม่ใสจัด แถมยังไม่มีตลาดโบราณร้อยปี แต่น อกเหนือจ ากความสขุ ในวนั น แี้ ล้ว สิง่ ท พี่ วกเขา มีอ ีกแน่ๆ คือ ‘อนาคต’ เราอยากออกแบบอนาคตของชุมชนเราให้เป็นไป แบบไหน ลองเดินตามเราเข้าไปชมตัวอย่างสาธิตได้จาก หนังสือเล่มนี้ คณะผู้จัดทำ
1/30/12 2:25:34 PM
10 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 10
1/30/12 2:25:40 PM
�������.indd 11
นทธี ศศิวิมล
11
01 เที่ยวแบบตาต่อตา ใจต่อใจ ไปกับคนหนองโรง
1/30/12 2:25:45 PM
12 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 12
นาทีนี้ถ้าถามใครสักคนว่าอยากไปเที่ยวเมืองกาญจน์ ต้องไปไหน มีหวัง ต้องเจอคำตอบยอดนิยมอย่างไป สังขละฯ น้ำตกเอราวัณ น้ำตกไทรโยคน้อย-ใหญ่ สุสาน สัมพันธมิตร สะพานข้ามแม่น้ำแคว ด่านเจดีย์สามองค์ ฯลฯ แหมก็...ไม่ได้ว่าไม่ดี แต่ที่เที่ยวเหล่านั้นพวกเรา รู้จักคุ้นหูกันมาแต่เล็กแต่น้อยแล้ว ไม่อยากลองเปลี่ยน มุมด ูบ้างเหรอ ลองหมุนเข็มทิศไปอีกไม่กี่องศา ไม่ไกลจากตัว อำเภอพนมทวน มีตำบลน่ารักแห่งหนึ่งซุกตัวเงียบๆ ง่ายๆ รอผเู้ ข้าม าเยีย่ มเยือนทตี่ อ้ งการพกั ผ อ่ นหรือเปิดห ู เปิดตา เปิดใจ รับความรู้มุมม องใหม่ๆ มารู้จักก ับ ‘ชาว หนองโรง’ ผู้มีใจเป็นเครื่องนำทางในการดำเนินชวี ติ ใจดี จริงใจ ใจกล้า ใจเย็น ใจเข้มแข็ง ใจเด็ด ใจกว้าง และอีก หลายๆ ใจ ที่ผลักดันให้ชุมชนพัฒนาล้ำหน้าชุมชนอื่นๆ ไปได้อย่างรวดเร็ว คนทอี่ ยูก่ บั ป า่ อ ย่างรจู้ กั แ ละเข้าใจ แล้วย งั ส ามารถ ใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนได้เต็มศักยภาพโดยที่ไม่ต้อง ทำลายปา่ ห รือท ำให้เสียส มดุลธ รรมชาติอ กี ด ว้ ย เขาทำได้ อย่างไรกนั น้ำใจของชาวชมุ ชนทกี่ ล้าห าญ เข้มแ ข็งแ ละเสีย สละ ทำให้ช ุมชนแห่งน ี้ได้รับอ ะไรตอบแทนมาบ้าง หาก ท่านยังไม่เข้าใจคำว่าจิตสาธารณะ ชาวชุมชนหนองโรง จะเป็นผู้แนะนำให้ท่านได้รู้จักอย่างเป็นรูปธรรมในหน้า
1/30/12 2:25:45 PM
�������.indd 13
นทธี ศศิวิมล
13
ต่อๆ ไป โฮมสเตย์บ รรยากาศทงุ่ น าเขียวขจีส ดุ ส ดชืน่ วิวส ดุ งาม อาหารพื้นบ้านสุดอร่อยมีเอกลักษณ์ที่หากินที่อื่น ไม่ได้ ขนมพื้นบ้านไทยที่เรารู้จักรสชาติจากร้านค้าหรือ หาบเร่ข้างทาง หากได้กินสดๆ อุ่นร้อนจากเตานึ่ง กลิ่น และรสของขนมนั้นจะละมุนลิ้นขนาดไหน แล้วยังการ ต้อนรับแ บบอบอุน่ เป็นก นั เองของเจ้าของบา้ นและเด็กๆ ในราคาที่ถูกจนต้องตกใจ ถ้าย งั ไม่เคยรตู้ อ้ งมารู้ ถ้าย งั ไม่เคยเห็นต อ้ งลองมา เห็น ถ้ายังไม่เคยชิมต้องลองมาชิม ลูกต าลทำอะไรได้ม ากกว่าข นมตาลและมากกว่าท ี่ เราคิดจนต้องอึ้งและทึ่ง เก้าอี้เอนนอนที่ไม่ใช่หวายสาน ไม่ใช่โซฟาบุหนัง ไม่ใช่ไม้เนื้อแข็ง แต่มาจากของเหลือ ใช้ในชุมชน สิ่งนั้นคืออะไร สมุนไพรสลับสีสวยงามที่มา รวมกนั อ ยูใ่ นขา้ วเกรียบ ทัง้ ส วยทงั้ อ ร่อยทงั้ ได้ค ณ ุ ค่าจ าก สมุนไพรธรรมชาติ สนามฟตุ บอลแย้เป็นอ ย่างไร จะมแี ย้ ออกมาเตะบอลหรือไม่ กระบอกไม้ไผ่แ ปลงร่างเป็นเปล นอนได้เคยเห็นไหม ดอกไม้ที่ไม่ใช่ดอกไม้แต่สวยกว่า ดอกไม้...เอ๊ะยังไง คนทป่ี วดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ เส้นเอ็น เจ็บเรือ้ รังต รงไหน แล้วเคยคิดว่า อยากเจอใครสักคนที่เข้าใจเรา แบบว่า จับๆ แตะๆ แล้วอาการดีขึ้นอย่างที่ไม่เคยรู้สึกมาก่อน
1/30/12 2:25:46 PM
14 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 14
ก็มีคนที่อยากจะแนะนำให้รู้จัก รับรองไม่ทำให้ใครผิด หวัง ของฝากหรูเริด่ อ ลังการฝมี อื ช าวหนองโรง หรูข นาด ที่คนที่ได้รับเปิดกล่องมาเห็นแล้วต้องตาลุกวาว แถม ราคาก็ไม่แพงอย่างที่คิด ส ิ่งนั้นจะเป็นอะไร โฆษณากันออกนอกหน้าขนาดนี้แล้ว พอจะสนใจ กันบ้างหรือยัง นี่แค่ตัวอย่างพอเรียกน้ำย่อย ถ้าอยากรู้ รายละเอียดก็ตามมาได้เลย
1/30/12 2:25:46 PM
�������.indd 15
นทธี ศศิวิมล
15
1/30/12 2:25:47 PM
16 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 16
02 สวัสดีหนองโรง ก่อนไปเยือนหนองโรง เรามาทำความรจู้ กั ก บั ต ำบลนกี้ นั คร่าวๆ ก่อนแล้วกันนะ ตำบลห นองโ รง เป็ น ต ำบลที่ ตั้ ง อ ยู่ ใ นเขตก าร ปกครองของอำเภอพนมทวน จังหวัดก าญจนบุรี ตำบล หนองโรงได้รับการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วน ตำบลและมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหาร ส่วนทอ้ งถนิ่ ตามพระราชบญ ั ญัตสิ ภาตำบลและองค์การ บริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2539 มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 6,452 คน มี พื้นที่ ทั้งหมดประมาณ 152 ตารางกิโลเมตร จำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 17 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองกระจันทร์ หมู่ที่ 2 บ้านห้วยสะพาน หมู่ที่ 3 บ้านหนองโรง หมู่ที่ 4 บ้านหลุมหิน หมู่ที่ 5 บ้านห้วยด้วน หมู่ที่ 6 บ้านนาพระยา หมู่ที่ 7 บ้านวังร ัก
1/30/12 2:25:47 PM
�������.indd 17
นทธี ศศิวิมล
17
หมู่ที่ 8 บ้านรางยอม หมู่ที่ 9 บ้านใหม่ หมู่ที่ 10 บ้านหลุมห ินเหนือ หมู่ที่ 11 บ้านดอนเจริญ หมู่ที่ 12 บ้านรางขบ หมู่ที่ 13 บ้านบ่อหว้าน ้อย หมู่ที่ 14 บ้านดงพัฒนา หมู่ที่ 15 บ้านหนองเสาธง หมู่ที่ 16 บ้านบำรุงรักษ์ หมู่ที่ 17 บ้านหนองสำโรง สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบและที่ราบเชิงเขา มี อาชีพหลัก คือ ทำนา ทำไร่มันสำปะหลัง และเลี้ยง สัตว์ ได้แก่ วัวไล่ทุ่ง และยังมแี หล่งประโยชน์ที่เป็นพื้นที่ สาธารณะหรือป่าช ุมชนจำนวน 25,000 ไร่ สภาพอากาศโดยทั่วไปอยู่ในเขตเงาฝน คือถูก ขนาบด้วยเทือกเขาถนนธงชัย ทำให้แต่ละปีมีฝนตกใน พื้นที่ไม่มากนัก แต่ก ็มีธารน้ำไหลผ่าน หน้าร้อนอากาศ ร้อนจดั หน้าห นาวกจ็ ะหนาวจดั เรามาถงึ ห น้าฝ น ปรากฏ ฟ้าครึ้มๆ ลมพัดเย็นสบายกำลังดี และป่าชุ่มชื้นเขียว สบายตา ผูเ้ ฒ่าผแู้ ก่เล่าตอ่ ก นั มาวา่ ตำบลหนองโรงเป็นเส้นทาง
1/30/12 2:25:48 PM
18 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 18
เดินทัพและที่ตั้งพักค่ายของทหารสมัยกรุงศรีอยุธยา บางคนกใ็ ห้ข อ้ มูลเพิม่ เติมว า่ ในสมัยส งครามโลกครัง้ ท ี่ 2 ยังเป็นที่ตั้งของค่ายทหารญี่ปุ่นอีกด้วย ปัจจุบันในตำบล ยังมีอนุสรณ์ร่องรอยทางประวัติศาสตร์ให้คนรุ่นหลัง ได้ศึกษาและเป็นแหล่งศึกษาดูงานมากมาย เช่น โบสถ์
1/30/12 2:25:54 PM
�������.indd 19
นทธี ศศิวิมล
19
เจดีย์ ฯลฯ เดิมต ำบลหนองโรงเป็นห มูบ่ า้ นในเขตการปกครอง ของตำบลพนมทวน อำเภอพนมทวน มีหมู่บ้านเพียง 3 หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านห้วยสะพาน หมูท่ ี่ 2 บ้านหนองโรง หมู่ที่ 3 บ้านหลุมหิน ต่อมาปี พ.ศ. 2490 ได้มีการ แบ่งเขตตำบลเพิ่มเติม และตั้งชื่อตำบลตามชื่อหมู่บ้าน ได้แก่ บ้านหนองโรง หมูท่ ี่ 2 เพราะเป็นห มูบ่ า้ นทมี่ ขี นาด ใหญ่ท ี่สุดในบรรดา 3 หมู่บ้าน เมื่อแ ยกตำบลจึงตั้งชื่อว่า ‘ตำบลหนองโรง’
1/30/12 2:25:54 PM
�������.indd 20
12 5
17
6
15
8
13
20 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
1/30/12 2:26:08 PM
21
3 1
16
12
11
07
10
9
4
3
13
10
14
9
1
8
2
7
14
4
5
2
6
11
นทธี ศศิวิมล
�������.indd 21
1/30/12 2:26:15 PM
22 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 22
03 แพ็คกระเป๋ากันเล้ย
1/30/12 2:26:24 PM
�������.indd 23
นทธี ศศิวิมล
23
1/30/12 2:26:32 PM
24 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 24
การเดินทางไปถึง อำเภอพนมทวน ตำบลหนองโรง อย่า เรียกว่าไม่ยากเลย เพราะมันง้าย ง่าย ถ้าขับรถไปเองหรือติดรถใครไปก็เดินทางไปตาม เส้นทางถนนบรมราชชนนี เลี้ยวเข้าถนนเพชรเกษม ไป ทางอำเภอกำแพงแสนหรือจ ะใช้เส้นเพชรเกษมโดยตรงก็ แล้วแ ต่ส ะดวกจนถึงก ำแพงแสน มองปา้ ยไปยงั พ ระแท่น จากพระแท่นขับรถไปราวสิบถึงสิบห้านาทีก็ถึงแยกบ้าน ห้วยสะพาน แยกนี้เอง ณ ฝั่งตรงข้ามถนนจะพาเราไป ยังที่ทำการ อบต.หนองโรง แต่ถ้าต้องการรถโดยสารก็มีทั้งรถบัส (บขส.) รถ ทัวร์ รถตู้ รถประจำทาง ออกทุกครึ่งชั่วโมง หลายยี่ห้อ หลายสำนัก ทั้ง ป.1 ป.2 ทั้งขาออกจากกรุงเทพฯ ไป เมืองกาญจน์ หรือขาออกจากกาญจน์กลับกรุงเทพฯ สามารถเลือกขึ้นรถได้ตามสถานีที่สะดวก ทั้งที่สถานี ขนส่งผู้โดยสารสายเหนือ(หมอชิตใหม่) สถานีขนส่ง ผู้โดยสารสายใต้ (สายใต้ใหม่บรมราชชนนี) คิวรถตู้ที่ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แต่ถ า้ จ ะให้แ นะนำทสี่ ะดวกสบาย และรวดเร็วท สี่ ดุ น่าจ ะเป็นร ถตโู้ ดยสาร เพราะมใี ห้เลือกขนึ้ ได้ห ลายทกี่ ว่า และจอดแวะสง่ เราตรงจดุ ท ตี่ อ้ งการได้ สนนราคารถตรู้ าว 100-150 บาทแล้วแ ต่ว า่ ข นึ้ จ ากตรงไหน ถึงเวลารถออก ก็ออกเลยไม่ต้องรอคนเต็มรถ
1/30/12 2:26:32 PM
�������.indd 25
นทธี ศศิวิมล
25
เมื่อออกเดินทางแล้วให้บอกกับคนขับว่าลงที่ แยกบ้านห้วยสะพาน คนขับรู้จักทุกคัน เพราะเป็นจุด จอดรถที่มีคนรอขึ้นลงประจำ ถ้าอ อกจากกรุงเทพฯ จะ เข้าอำเภอพนมทวนและตำบลหนองโรงก่อนถึงอำเภอ เมืองกาญจนบุรีเสียอีก ใช้เวลาเดินทางทั้งหมดราวไม่ ถึง 2 ชั่วโมงเท่านั้นเอง (เร็วกว่าน ั่งรถเมล์จากบางนาไป เยาวราชเสียอ ีก) เมื่อไปถึงแล้วสำรวจแผนที่สถานที่ที่ต้องการไป ได้จากแผนที่ จากที่ทำการ อบต. และยังส ามารถเลือก ที่พักประเภทโฮมสเตย์ได้จากที่นี่ เลือกทำเลที่ตั้ง ขนาด ห้องพกั หรือร ายละเอียดปลีกย อ่ ย อืน่ ๆ ทีต่ อ้ งการได้เลย (แต่ทางที่ดีควรโทรจองก่อนเพื่อจะได้แน่ใจว่าห้องพัก ที่มีรายละเอียดอย่างที่เราต้องการยังมีให้บริการในวันที่ เราจะไป) ถึง อบต. แล้ว เย้...
1/30/12 2:26:33 PM
26 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 26
1/30/12 2:26:39 PM
�������.indd 27
นทธี ศศิวิมล
27
1/30/12 2:26:45 PM
28 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 28
04 สวัสดีเจ้าของบ้าน ก่อนจะแวะเข้าบ้านใครก็ต้องมาทำความรู้จัก เจ้าของบ้านกันก่อน เรามาพูดคุยทำความรู้จักนายก องค์การบริหารส่วนตำบลหนองโรงกันดกี ว่า ท่านนายก อบต. สุวรรณ์วิชช์ เปรมปรีดิ์ หรือ ชื่อเล่นน่ารัก ว่า ‘ท่านนายกฯนะจ๊ะ’ ได้กล่าวต้อนรับ ทักทายและพดู ค ยุ ก บั เราเกีย่ วกบั ตำบลหนองโรงคร่าวๆ ก่อนที่เราจะเข้าที่พักและออกเยี่ยมชมทตี่ ่างๆ ก่อนพดู ค ยุ ต อ้ นรับเราดว้ ยขนมตาลฝมี อื ก ลุม่ แ ม่บ า้ น และน้ ำ ฝ างเ ย็ น ชื่ น ใ จ น้ ำ ฝ างนี้ เ ป็ น น้ ำ ส มุ น ไพรต้ ม จากแก่นไม้ฝาง มีสรรพคุณบำรุงหัวใจ รสชาติชุ่มคอ หวานกลมกล่อม (รสคล้ายน้ำมะพร้าวแต่กลิ่นหอม กว่า) ท่านนายกฯเล่าว่า เมื่อก่อนที่หนองโรงนี้มีป่าไม้ อุ ด มส มบู ร ณ์ ม าก แต่ จ ากเมื่ อ ก่ อ น 7,000 กว่ า ไ ร่ เดี๋ ย วนี้ เหลือเพียงพันไร่เศษๆ เพราะ มีการบุกรุกทำลายมาก แต่ด้วย การต่อสู้ของคนในชุมชนทำให้ สามารถรักษาพื้นที่ป่าพันไร่เศษ นี้ไว้เป็นพื้นที่ป่าช ุมชนได้
1/30/12 2:26:50 PM
�������.indd 29
นทธี ศศิวิมล
29
ป่าช มุ ชนของหนองโรงนเี้ ป็นท งั้ แ หล่งร ายได้ แหล่ง อาหารให้ชาวชุมชน และปัจจุบันย ังสามารถต่อยอดผ่าน กระบวนการความรู้ ความคิดต่างๆ เกิดเป็นกลุ่มอาชีพ ได้ม ากมาย และชว่ ยให้ช าวบา้ นสามารถพงึ่ ต นเองได้ ยืน ได้ด้วยขาของตนเองไม่ต้องแบมือรอขอความช่วยเหลือ จากใคร จนเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง ให้หลายพื้นที่เข้า มาศึกษาดูงานอีกด้วย กลุ่มอาชีพทุกกลุ่มที่เกิดขึ้นไม่ได้เป็นเพียงแหล่ง รายได้ แต่ยังเป็นแหล่งรวมจิตใจคนให้รู้จักการทำงาน ร่วมกัน รู้จักการเอื้อเฟื้อเอื้ออาทรกัน เสียสละ ปลูกฝัง ให้เด็กๆ ที่ร่วมกิจกรรมรู้จักการใช้ประโยชน์จากของที่มี อยู่รอบตัว ซึ่งนั่นสำคัญกว่าเงินทองเสียอีก ถามว่า ชุมชนหนองโรงนี้เป็นชุมชนเก่าแก่และมี ผูค้ นหลายชว่ งอายุห ลายความคดิ ‘นายกฯนะจะ๊ ’ มีป ญ ั หา ในการทำโครงการใดๆ หรือไม่ และจัดการอย่างไร ท่านนายกฯตอบว่า ทีน่ ี่เคารพความคิดของทุกคน เพราะฉะนั้น หากจะทำโครงการใดๆ ที่มีผลต่อชุมชน หรือช าวบา้ น จะตอ้ งมกี ารระดมความคดิ มีเวทีห ารือร ว่ ม กันในคนทุกกลุ่ม ทุกช่วงอายุก่อนที่จะลงมือทำจริง บาง เรือ่ งบางโครงการคยุ ก นั ไม่ล งตัวก ต็ อ้ งคยุ ซ ำ้ ๆ เป็นส บิ ค รัง้ ก็ต้องคุย เพื่อที่จะได้ข้อสรุปทที่ ุกคนยอมรับได้ นอกจากนี้ ยังให้โอกาสทุกคนได้มีส่วนร่วมในทุก
1/30/12 2:26:51 PM
30 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 30
ขั้นตอน เพื่อให้เขามีความรู้สึกเป็นเจ้าของโครงการนั้น ร่วมกัน กระตือรือร้นที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาด้วยตัว ของเขาเอง เพราะที่นี่จะเน้นการพึ่งตัวเองให้มากที่สุด และพึ่งรัฐน้อยที่สุด “งบประมาณทรี่ ฐั ช ว่ ยนนั้ ก ม็ ี แต่ห ากไม่รจู้ กั บ ริหาร ไม่รู้จักใช้ มันก็ไม่มีวันพอ ต้องรู้จักจัดการตนเอง รู้จัก ต้นตอของปญ ั หา จะได้ร วู้ า่ ค วรแก้ไขอย่างไร เช่นการลด ก ารใช้ส ารเคมีท างการเกษตร ใช้แ มลงสแู้ มลง การทำปยุ๋ อินทรีย์คุณภาพสูง การทำกองทุนต่างๆ เพื่อช่วยเหลือ กันเองเวลาเดือดร้อน “หรื อ ปั ญ หาย าเ สพติ ด ปั ญ หาก ารมั่ ว สุ ม ข อง เยาวชน ก็จัดให้เขามีโอกาสร่วมกิจกรรมกับผู้ใหญ่ ทั้ง เรื่องการส่งเสริมอ าชีพ ให้เขาทำขนม ประดิษฐ์ข องขาย มีร ายได้ให้ค รอบครัว หรือห ดั เล่นร ำเหย่ย หัดเพลงพนื้ บ า้ น ไ ว้ อ อกงาน ก็ เ ป็ น การฝึ ก ให้ เ ขาใช้ เ วลาว่ า งใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ได้ “เยาวชนบางกลุ่มยังเข้าร่วมกิจกรรมอนุรักษ์ป่า ชุมชน เขาเดินเข้าไปนี่เขารู้หมดเลยนะว่านี่ต้นอะไรบ้าง ต้นไหนกินได้ไม่ได้ ต้นไหนเป็นยา เขารู้จักวิธีป้องกันไฟ ป่า วิธีสร้างแนวกันไฟ เล็กสุดนี่ระดับ ป.3 เราก็จัดเข้า ค่ายเยาวชนรกั ป า่ แ ล้ว ซึง่ ก เ็ ป็นการปลูกฝ งั เขาตงั้ แ ต่เด็กๆ โตขึ้นจิตสำนึกในเรื่องการดูแลป่าก็จะติดตัวเขาไปด้วย”
1/30/12 2:26:51 PM
�������.indd 31
นทธี ศศิวิมล
31
นายกฯ อบต.หนองโรง เล่า คำถามสดุ ท้ายกอ่ นทเี่ ราจะขอตัวล าทา่ นนายกฯไป พักผ อ่ นคอื การทที่ า่ นเป็นน กั การเมืองทอ้ งถนิ่ ท มี่ ผี ลงาน มากและเป็นที่รักของคนในชุมชนขนาดนี้ คิดจะพัฒนา อนาคตทางการเมืองไประดับประเทศบ้างหรือไม่ ท่าน นายกฯยิ้มๆ แล้วว ่า “การเมื อ งใ หญ่ มั น ท ำให้ ชุ ม ชนเ ข้ ม แ ข็ ง ไ ม่ ไ ด้ ” นายกฯ อบต.หนองโรง ตอบและเสริมว่า “การได้อ ยู่ติดด ิน ติดชาวบ้าน ติดช ุมชน ทำให้เรา ได้รับรปู้ ัญหาที่แท้จ ริงข องชุมชน รู้ว่าจ ะแก้ไขและพัฒนา ไปได้อย่างไร ผมทำงานตรงนี้ได้มีโอกาสผลักดันให้เกิด การแก้ไขและพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมมากกว่า ผมคง ยังไม่ค ิดไปไหนหรอกครับ”
1/30/12 2:27:01 PM
32 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 32
05 กินข้าวร่วมกัน
1/30/12 2:27:10 PM
�������.indd 33
นทธี ศศิวิมล
33
1/30/12 2:27:20 PM
34 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 34
คุยกับท่านนายกฯแล้ว พี่เอ๋-บุณฑริก แช่มช้อย ก็ชวน เรากินข้าวด้วยกัน กับข้าวที่ทาง อบต. เตรียมไว้ต้อนรับ หลายอย่าง แต่ที่เด่นที่สุด แปลกตาที่สุด และอร่อยมาก ที่สุด ก็ต้องยกให้นี่เลย ‘น้ำพริกมะสัง’ น้ำพริกมะสัง ชื่อ ก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นน้ำพริกที่ทำมาจากมะสัง ว่าแต่ว่า มะสังน ี่มันคืออะไรหว่า... รสชาติของน้ำพริกมะสัง จะออกเปรี้ยวนำเค็ม ตาม และกลมกล่อมคล้ายน้ำพริกกะปิ กินกับปลาทู ทอดกรอบๆ หรือผักนึ่งราดกะทิ ก็อร่อยจนข้าวหมด หม้อไม่รู้ตัว เมื่อกินกันเรียบร้อยแล้วจึงค่อยถามข้อข้องใจ ว่า
1/30/12 2:27:33 PM
�������.indd 35
นทธี ศศิวิมล
35
เจ้ามะสังที่ใส่ลงไปในน้ำพริกนั้นมันคืออะไรกันแน่ ก็ได้ ความว่า มะสัง เป็น ผลไม้พื้น บ้านของที่นี่อย่างหนึ่ง หน้าตาคล้ายมะกรูดผสมพันธุ์กับมะนาว แต่ลูกขนาด ส้มเขียวหวาน ด้านในมีรสเปรี้ยว หอม เหมาะสำหรับ ทำน้ำพริก นึกภาพตามไม่ออกพี่เขาเลยลากให้ตามเข้าไปดู ในครัว เลยได้ร ู้จักหน้าค ่าตาของเจ้ามะสังท ี่ว่า แล้วเลย ขอยืมมาเป็นนางแบบให้เราถ่ายรูปมาฝากคนอ่านด้วย เย็นวันนั้นมีพิธีบายศรีสู่ขวัญโดยพ่อเฒ่าแม่เฒ่า ที่คนในหมู่บ้านเคารพรักในชุมชนเพื่อเป็นสิริมงคลและ กระชับความสัมพันธ์กับผู้มาเยือนด้วยพิธีการเรียบๆ ง่ายๆ และบทอวยพรที่อบอุ่นบนเวทีในที่ทำการ อบต. ก่อนยกกระเป๋าเข้าโฮมสเตย์ อย่างอิ่มกายอิ่มใจ
1/30/12 2:27:43 PM
36 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 36
06 โฮมที่น่าสเตย์
1/30/12 2:27:47 PM
�������.indd 37
นทธี ศศิวิมล
37
1/30/12 2:27:50 PM
38 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 38
ว้าว ๆ ในทสี่ ดุ ก ไ็ ด้เข้าพ กั ในโฮมสเตย์ท รี่ อคอยเสียที โฮม สเตย์ท นี่ ตี่ งั้ อ ยูใ่ นทำเลทอง ทีใ่ กล้ก บั แ หล่งช มุ ชน เดินท าง เข้าอ อกสะดวกสบาย ระยะทางเข้าบ า้ นถงึ ถ นนใหญ่ห า่ ง กันไม่ถึง 500 เมตร เดินเข้ามาเองก็ได้สบายมาก แถม ด้านหลังติดทุ่งนาโล่งกว้าง บ้ า นห ลั ง นี้ เ ป็ น บ้ า นข อง ‘ครอบครัวเปรมปรีดิ์’ ที่เริ่มเปิด บ้านเป็นโฮมสเตย์ม าได้สักระยะ หนึ่งแล้ว ห้องพักแต่ละห้องจึง สะอาด สะดวก ได้ม าตรฐาน มี ความเป็นส่วนตัวแต่ก็ไม่ได้ห่าง จากก ารดู แ ลข องเ จ้ า ของบ้ า น ห้องพักกับห้องน้ำแยกจากกัน ต่างหาก แต่ไกลกันแค่ไม่กี่ก้าว และส ะอ าด มากๆ ขอย้ ำ ว่ า สะอาดมากจริงๆ ทำเลทตี่ ั้งของ ห้องพักและห้องน้ำโปร่ง มีลม จากท้องทุ่งพักถ่ายเทเย็นสบาย ตลอดจนบางทีเคลิ้มๆ ไปนึกว่า อยู่ในรีสอร์ตหรูแถวภาคเหนือ ช่วงใกล้หนาว ตอนเช้าๆ แดด อ่อนๆ ถือแก้วกาแฟกับขนมไป
1/30/12 2:27:52 PM
�������.indd 39
นทธี ศศิวิมล
39
นั่งจิบที่โต๊ะม้าห ินอ่อน ดูสายลมแสงแดดทักทายดอกไม้ ใบหญ้า โรแมนติกม้าก กกก ด้านหน้าห อ้ งพกั ต ง้ั โต๊ะน ำ้ แ ข็งน ำ้ ด ม่ื กระติกน ำ้ ร อ้ น ชา กาแฟ โกโก้ และของว่างไว้ตลอดเวลาให้ผู้เข้าพัก เลือกหยิบชงรับประทานได้ตามอัธยาศัย ขาดเหลือ
1/30/12 2:27:55 PM
40 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 40
อย่างไรบอกเติมได้ตลอด ห้องพักมีให้เลือกแบบเตียงคู่หรือแบบฟูกหนา วางพื้น แล้วแต่ความชอบของลูกค้า ด้านในมีบริการ พัดลม โต๊ะครื่องแป้งและตู้เสื้อผ้า ด้านนอกห้องตรง บริเวณทางเดินม ีราวตากผ้าให้ใช้ มีร องเท้าแ ตะให้ยืมใส่ ขณะเข้าพัก ตื่นเช้าขึ้นมาด้วยเสียงนาฬิกาปลุกแบบมีชีวิตร้อง เรียกว่า เอ้ก อี เอ้ก เอ้กกกก..! แล้วก็ตามมาด้วยเสียง พี่เชอร์รี่เจ้าของบ้านร้องเรียกกินข้าวอย่างเป็นกันเอง อาหารเช้าวันนี้มีไข่พะโล้ น้ำพริกมะขามอ่อนมาพร้อม ผักลวกจิ้ม ปลาทูทอดกรอบ ผัดหน่อไม้ดองใส่หมูสับ และที่เด็ดสุดและภูมิใจนำเสนอ แกงส้ม ผักบุ้งปลาซิว เป็นแกงพื้นบ้านของที่นี่ รสชาติและกลิ่นของน้ำแกงก็ คล้ายแกงส้มที่เราคุ้นเคย แต่ป ลาซิวต ัวเล็กๆ ต้มจนเนื้อ ขาวที่เคี้ยวนุ่มได้ทั้งก้างทำให้แกงมีรสกลมกล่อมอร่อย ขึ้นมาก อร่อยจนอยากตามไปดใูนครัวว่าเขาทำกันยังไง
1/30/12 2:28:01 PM
�������.indd 41
นทธี ศศิวิมล
41
คราวหน้าถ้าไปอีกคงต้องเตรียมสมุดไปจดสูตรแน่ๆ ราคา 300 บาทต่อคนนี้รวมทั้งอาหารเช้า ขนม ของวา่ ง ผลไม้ และเครือ่ งดมื่ ต ลอดวนั พ ร้อมบริการนำชม กิจการดา้ นการเกษตรของครอบครัว ทัง้ เลีย้ งววั เลีย้ งหมู เลี้ยงกบ เลี้ยงไก่ โดยคุณยายคนที่ทำขนมให้เรากินนั่น แหละ รีวิวซะหมดเปลือกขนาดนี้ อยากไปกันหรือยัง เอาละ เมื่อพักผ่อนพอสมควรแล้ว ก็อ อกเดินทาง กันได้เลย
1/30/12 2:28:06 PM
42 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 42
07 ป่าและคนดูแลซึ่งกันและกัน
1/30/12 2:28:24 PM
�������.indd 43
นทธี ศศิวิมล
43
จุดแรกที่เราจะไปคือจุดที่เด่นที่สุดของหนองโรง คือป่า ชุมชนบ้านห้วยสะพาน ในการทำความรู้จักกับหนองโรง สิ่งสำคัญที่จะพลาดไม่ได้เด็ดขาดคือการรักษาป่าชุมชน บ้านห้วยสะพานเพราะว่าเป็นพื้นที่ตัวอย่างที่ชาวชุมชน สามารถร่วมกันดูแลปกป้องผืนป่าของพวกเขาเอาไว้ได้ ด้วยความกล้าห าญ สามัคคี และมปี ระสิทธิภาพ จนกลาย เป็นพื้นที่ตัวอย่าง ที่ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้ในหลาย พื้นที่ลุกขึ้นมาปกป้องป่าข องตนเองกันบ้าง บ้านห้วยสะพาน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลหนองโรง อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี เป็นชุมชนเก่าแก่ และมปี ระวัตศิ าสตร์ย าวนาน มีก ารตงั้ ถ นิ่ ฐานทำกนิ ม าไม่ ต่ำกว่า 400 ปี ทุกวันนี้ซากโบสถ์เก่าวัดค งคาซึ่งเป็นวัด ร้าง สระน้ำโบราณ และต้นไม้เก่าแก่อ ายุนับร้อยปี ยังคง ป รากฏซากเหลือให้ เห็นอ ยูบ่ า้ ง ชุมชนบา้ นหว้ ยสะพานมี ประชากรรวมประมาณ 238 ครัวเรือน ชาวบา้ นสว่ นใหญ่ มีที่ดินทำกินเป็นของตนเอง ใช้ทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ นอกนั้นก็มีการเก็บหาของป่าต ามฤดูกาลในแต่ละปี แต่เดิมป า่ ช มุ ชนบา้ นหว้ ยสะพานสามัคคี มีชอื่ เรียก ว่า ‘ป่าร งั ห นา’ โดยเรียกชอื่ ต ามชอื่ ป า่ ท ชี่ าวบา้ นเคยเรียก กัน ป่าในพื้นที่เป็นป่าเบญจพรรณ หรือป ่าผสมผลัดใบที่ อุดมสมบูรณ์ด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เคยมีไม้ใหญ่ขนาด 4-6 คนโอบจำนวนมาก มีแ หล่งน้ำไหลผ่านตลอด อุดม
1/30/12 2:28:24 PM
44 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 44
ทั้งสมุนไพร พืชหายาก เป็นแหล่งอาศัยทั้งอาหารและ อาชีพของประชาชนในตำบลมานาน ชาวบ้านพึ่งพาป่า อย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย อยู่ร่วมกันมาตลอด จนกระทั่งเริ่มมีการจัดตั้งโรงงานกระดาษขึ้นใน อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ทำให้มีการตัดไม้รวก ไม้ไผ่มาทำเยื่อก ระดาษ มีก ารสร้างโรงงานมากมาย โดย มีนายทุนเข้ามาสนับสนุนเงินทุนให้ชาวบ้านบุกรุกเข้า จับจองไม้ในพนื้ ทีป่ า่ ช มุ ชน ช่วงตอ่ ม าโดยเฉพาะอย่างยงิ่ ช่วงปี 2515-2516 กลุ่มนายทุนมีการนำรถแทรคเตอร์ เ ข้ า ม าท ำลายป่ า ทำให้ ป่ า เ กิ ด ค วามเ สี ย ห ายแ ละ เสื่อมโทรมลงเป็นอย่างมาก และเริ่มเกิดความแห้งแล้ง ในพื้นที่
1/30/12 2:28:36 PM
�������.indd 45
นทธี ศศิวิมล
45
เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ผู้นำชุมชน ภาคประชาชน ในตำบลหนองโรงมีการรวมกลุ่มกัน เรียกร้องพื้นที่ป่า ชุมชนบา้ นหว้ ยสะพานทถี่ กู ท ำลายและบกุ รุกจ ากนายทุน และผทู้ มี่ อี ทิ ธิพลในพนื้ ที่ จนมกี ารปะทะกนั ทำให้ส ญ ู เสีย ชีวิตผู้คนไปมากมาย มีความพยายามยุติความขัดแย้งโดยส่งกรรมการ เข้าไปเจรจา แต่กลุ่มนายทุนไม่ยอม ซ้ำยังบุกรุกมาก ขึ้น และลอบทำร้ายกลุ่มรักษาป่ามากขึ้น ในที่สุด คุณครู ประสงค์ เจริญพิบูลย์ นายแผน สิริเวชภัณฑ์ (อดีต ส.ส.กาญจนบุรี) นายเจือ แต่แ ดงเพชรและคณะ เดินทาง เข้าพ บ ฯพณฯพลเอกเปรม ติณส ลู านนท์ นายกรฐั มนตรี ในขณะนนั้ เพือ่ ร อ้ งเรียนความเดือดรอ้ นของชาวบา้ นหว้ ย สะพาน และได้มีการตกลงและทำความเข้าใจกับกลุ่ม นายทุนและผู้บุกรุก ในที่สุด จึงได้คืนพื้นที่ป่าทั้งหมด มีการทำแนว เขตเพื่อป้องกันการบุกรุก โดยใช้แนวต้นไม้ที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ และในปี 2517 ได้มีการรังวัดและปักหลัก เขตด้วยเสาคอนกรีต ทำคันดินเป็นแนวเขตป่า มีเนื้อที่ วัดได้ประมาณ 1,008 ไร่ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ป่าชุมชนที่มาจาก 3 องค์กรหลัก ได้แก่ ท้องถิ่น ท้องที่ ภาคประชาชนเป็นอาสาสมัครอยู่เวรดูแลรักษาป่า ปลูก ป่าทดแทนจนทำให้ป่าชุมชนกลับฟื้นคืนมากลายเป็นป่า
1/30/12 2:28:37 PM
46 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 46
ที่สมบูรณ์ มีสัตว์ป่า พืช สมุนไพรที่หายาก เป็นแหล่ง อาหาร แหล่งเพิ่มรายได้ให้แก่คนในชุมชน ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นห้ ว ยส ะพานส ามั ค คี ได้ รั บ ก าร พิจารณาคัดเลือกจากกรมป่าไม้ให้เป็น ‘ป่าพื้นบ้าน อาหารชุมชนดีเด่นระดับเขต’ ในปี 2542 และจากการเริ่มต้นจัดการป่าชุมชนแบบหลวมๆ ก็ได้พัฒนามาเป็นกระบวนการจัดการป่าที่มีรูปแบบที่ ชัดเจนขนึ้ ในปี 2543 โดยมชี าวบา้ นหว้ ยสะพาน บ้านใหม่ บ้ า นห นองก ระจั น ทร์ และบ้ า นด อนเ จริ ญ รวม 4
1/30/12 2:28:43 PM
�������.indd 47
นทธี ศศิวิมล
47
หมู่บ้าน ได้ เห็นชอบร่วมกันในการจัดตั้ง ‘ป่าชุมชน บ้านห้วยสะพานสามัคคี’ และเกิดคณะกรรมการขึ้นมา รับผิดชอบดูแลอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีนายประยงค์ แก้วประดิษฐ์ เป็นประธาน การจัดโครงสร้างองค์กรมี ประธานฝ่ายต่างๆ รองรับการดำเนินงานชัดเจน เช่น ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายป้องกัน ฝ่ายพัฒนาป่าชุมชน และมีการวางแผนในการดำเนินงานที่เป็นระบบและ ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันนอกจากชาวบ้านในชุมชนเองแล้ว ยัง มีกลุ่มราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า (รสทป.) ซึ่งเป็น โครงการพระราชทานของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม ราชินีนาถ ซึ่งคัดเลือกจากคนในชุมชน เข้าร่วมการฝึก อบรม การปฏิบัติงานอนุรักษ์พิทักษ์ป่า เป็นแหล่งข่าว ของทางราชการในการแจ้งข า่ วแจ้งเบาะแสการกระทำผดิ ของขบวนการทำลายปา่ และได้ม กี ารเข้าร ว่ มพธิ ปี ฏิญาณ ตนต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ว่าจะปกป้องดูแลป่า ไม่ยอมให้ใคร ทำลาย และจะทำทุกอย่างให้ป่าม ีสภาพที่สมบูรณ์ดีกว่า เดิม จนกระทัง่ ป ี 2543 ก็ได้ร บั ก ารพจิ ารณาคดั เลือกจาก สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดก าญจนบุรใีห้เป็น ‘พื้นที่ ตำบลเขียวขจีดเีด่น’ ระดับจังหวัด
1/30/12 2:28:44 PM
48 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 48
กลุ่ ม ร าษฎรอ าสาส มั ค รพิ ทั ก ษ์ ป่ า นี้ เข้ า ร่ ว ม โครงการกนั ด ว้ ยใจลว้ นๆ ไม่มเี งินเดือน ไม่มคี า่ จ า้ งใดๆ ใน การปฏิบัติหน้าที่ แต่ทุกค นเต็มใจทำเพื่อทดแทนบุญคุณ ของผืนป่าที่ได้มอบชีวิตและทุกสิ่งทุกอย่างให้พวกเขา ได้พึ่งพาอาศัย ดูแลป่าหลังจากที่ป่าดูแลพวกเขามา หลายชั่วอายุคน นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรโดยคนในชุมชนเองให้กับตำบลอื่นได้ มาเรียนรู้ จากการจัดการป่าชุมชนนำไปสู่ขยายฐานการ จัดการที่สร้างการเรียนรดู้ ้านอื่นๆ ในตำบล เช่น ระบบ ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ระบบ อาสาสมัคร ระบบเศรษฐกิจชุมชน และเกิดการรวมกลุ่ม ทำอาชีพเสริมข ยายตัวอย่างรวดเร็ว จากการเดินสำรวจป่าชุมชนแม้ในระยะเวลาสั้นๆ พบวา่ ป า่ ผ นื น ที้ งั้ ท อี่ ยูต่ ดิ ก บั ช มุ ชนแต่ก ลับม คี วามสมบูรณ์ เป็นอย่างมาก มีความเขียวชอุ่มชุ่มชื้นในทุกมุมรอบตัว เย็นสบายจากร่มเงาต้นไม้ใหญ่ เราจะพบพืชหายาก และสมุนไพรหลายชนิดแทรกอยู่ตามรายทางสม่ำเสมอ หลายอย่างอาจเคยเห็นแต่ชอื่ จากในตำรา เคยได้ยนิ จาก ปากคนเฒ่าค นแก่ แต่จ ะมาเห็นข องจริงท นี่ เี่ อง ช่างภาพ ของเรามีความสุขกับการถ่าย กดชัตเตอร์ไม่ยั้ง เพราะ หันไปทางไหนก็มีแต่ความอุดมสมบูรณ์น่าเก็บภาพไป
1/30/12 2:28:44 PM
�������.indd 49
นทธี ศศิวิมล
49
เสียหมดทุกด ้าน บริ เ วณท างเข้ า ป่ า ชุ ม ชนยั ง มี ส่ ว นที่ จั ด ไ ว้ เป็ น ที่ ประชุมของกลุ่มราษฎรอาสาสมัครพิทักษ์ป่า (รสทบ.) เป็นลานวงกลม ใช้เป็นที่ระดมความคิดเห็นของสมาชิก แลกเปลีย่ นขอ้ มูลข า่ วสาร และประชมุ แ บบเบรนสต รอมมงิ่ เวลาที่ต้องการจัดกิจกรรมหรือเคลื่อนไหวอื่นๆ
1/30/12 2:28:58 PM
50 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 50
1/30/12 2:29:06 PM
�������.indd 51
นทธี ศศิวิมล
51
1/30/12 2:29:12 PM
52 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 52
08 ขออาสาด้วยพลังศรัทธา
‘ใจ’ ที่สุดต้องยกให้กลุ่มนี้เขาละ ใน ยุ ค ที่ ห ลายๆ คนพู ด ค ำว่ า จิ ต สาธารณะกันติดปาก ก็เพิ่งมา เห็นกลุ่มนี้ละ ที่น่าจะใช้คำนี้ได้ อย่างสะดวกใจและเหมาะสม ที่สุด นอกจากมิ ต รจิ ต มิ ต ร ใจที่แสนอบอุ่นเป็นกันเอง เสียงเหน่อหน่อยๆ ที่ฟังดู จริงใจ และนิสัยพูดจริง ทำจ ริ ง คิ ด อ ะไรแ ล้ ว พูดเลยทำเลยแล้ว เรือ่ ง น้ำใจ และความเสียส ละ
1/30/12 2:29:15 PM
�������.indd 53
นทธี ศศิวิมล
53
เพื่อส ่วนรวม ก็นับว่าเป็นจุดเด่นของคนที่นี่เช่นกัน กลุ่ม อาสาพลังศ รัทธานี้เริ่มต้นจากบทสนทนาเล็กๆ ในกลุ่ม คนไม่กี่คน ที่มีความคิดอยากจะทำประโยชน์ช่วยเหลือ ผู้อื่นและสาธารณประโยชน์ของชุมชนโดยที่ไม่หวังสิ่งใด ตอบแทน หนึง่ ในแกนนำคนหนึง่ บุญเกิด เนียมสร ประธาน สภา อบต.หนองโรง เล่าให้เราฟังว่า เมื่อร าวปี 2539 เขาและเพื่อนๆ จาก หมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 9 หมู่ 11 นำโดยนายไพลิน แช่มช้อย ได้พากัน อาสาออกแรงช่วยเหลืองานชุมชนกันโดยมิต้องรอใคร ไหว้วาน ที่ไหนมหี ญ้าขึ้นรก ก็พากันออกไปดายหญ้าจ ะ สะอาดเหีย้ นเตียน ทีไ่ หนขยะเยอะกช็ ว่ ยกนั เก็บ บ้านไหน มีง านบวช งานแต่ง งานบญ ุ งานศพ ก็เข้าไปชว่ ยเจ้าภ าพ เสิร์ฟน้ำ เสิร์ฟอาหาร ต้อนรับแ ขก จัดโต๊ะจัดเก้าอี้ โดย ไม่เรี ย กรั บค่ าต อบแทนแ ม้ แ ต่บ าทเดี ยว งานวั ดง าน ออกร้านของตำบลอำเภอก็เช่นเดียวกัน ประธานสภา อบต.หนองโรง เล่าว่า เคยมีอยู่ ครั้งหนึ่ง เจ้าภาพพยายามมอบเงินสนับสนุนให้กลุ่ม คะยั้นคะยอให้รับให้ได้ ชาวกลุ่มก็เลยยอมรับมา แต่ไม่มี ใครคิดเอาไปใช้ส่วนตัว เพราะทั้งกลุ่มเอาเงินหมื่นนี้พา กันไปซอื้ เครือ่ งตดั ห ญ้าม าเพือ่ ใช้ป ระโยชน์ก บั ก จิ การของ กลุ่มแทน ยิ่งทำให้ค นทรี่ ู้ถึงพฤติกรรมนี้ ชื่นชมกลุ่มพลัง
1/30/12 2:29:16 PM
54 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 54
ศรัทธามากขึ้นไปอีก ช่วงหลังเมื่อชาวชุมชนคนอื่นๆ เห็นกิจกรรมที่ น่าชื่นชมของกลุ่ม ก็ต่างเล่าต่อกันไปแบบปากต่อปาก สอนลูกสอนหลานให้เอาอย่างในการเสียสละทำตนเป็น ประโยชน์เพือ่ ส ว่ นรวมโดยไม่ห วังส งิ่ ต อบแทน มีผ ตู้ ามเข้า มารว่ มสมทบเป็นส มาชิกก ลุม่ อ กี เป็นจ ำนวนมาก รวมถงึ กลุ่มเด็กและเยาวชนที่ตอนนี้มีอยู่ราว 20 คน คนที่อายุ น้อยที่สุดเพิ่งจ ะ 5 ขวบเท่านั้นเอง กลุ่มเด็กๆ นี้ต่อมาในปี 2553 ก็จ ัดท ีมกันขึ้นเป็น กลุ่มเยาวชนอาสา เพื่อส่งเสริมจิตสำนึกในการทำงาน เพื่อส ่วนรวมด้วย จิตอ าสาอีกด้วย ถามคุณน้าบุญเกิดว่า การมาทำแบบนี้ เหนื่อยทั้ง แรง เสียทั้งเวลา แต่ท ุกคนก็ยังเต็มใจมาทำ พวกเขาได้ อะไรเป็นการตอบแทนกันบ้างหรือ น้าบุญเกิดยิ้ม ตอบ ว่าสิ่งที่ได้ยิ่งใหญ่กว่าเงินทอง คือความอิ่มใจ สุขใจที่ได้ ช่วยเหลือผ ู้อื่น อีกทั้งยังช่วยสร้างความรัก ความผูกพัน ความเสียสละและสามัคคีในกลุ่ม ทำให้เราศรัทธาในตัว เองได้ ศรัทธาในความดไี ด้ นัน่ ก ม็ ากเกินพ อแล้วไม่ใช่ห รือ
1/30/12 2:29:17 PM
�������.indd 55
นทธี ศศิวิมล
55
1/30/12 2:29:24 PM
56 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 56
1/30/12 2:29:35 PM
�������.indd 57
นทธี ศศิวิมล
57
09 เกษตรแบบธรรมชาติ
1/30/12 2:29:46 PM
58 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 58
เกษตรกรยุคใหม่คนไหนๆ เดี๋ยวนี้ถ้าไม่สนใจเกษตร อินทรีย์ต้องถือว่าเชยมาก เพราะนอกจากสินค้าเกษตร อินทรีย์จะสะอาดปลอดภัย ไม่มสี ารอันตรายต่อร่างกาย มนุษย์ ไร้มลพิษ ไม่เป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ความ ต้องการสินค้าเกษตรอินทรีย์ของผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมก็เพิ่มขึ้นมากอย่างน่าสนใจอีกด้วย ทีห่ นองโรงนก้ี ถ็ อื ว่าค อ่ นขา้ งลำ้ ห น้าเรือ่ งเกษตรอนิ ทรีย์ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เรือ่ งของปยุ๋ อ นิ ทรียค์ ณ ุ ภาพสงู แ ละการ กำจัดศ ตั รูพ ชื โดยใช้ส มุนไพรกลัน่ และแมลงหำ้ แมลงเบียน
ปุ๋ยชีวภาพคุณภาพสูง ปุ๋ยอ ินทรียค์ ุณภาพสูงจ ะต่างจากปุ๋ยอ ินทรียท์ ั่วไป ตรงที่ประสิทธิภาพในการบำรุงดีกว่าและเห็น ผลได้ ชัดเจน เนื่องจากมีการเติมสารเร่งปฏิกิริยาลงไปด้วย ส่วนผสม(100 ก.ก.) 1. กากถั่วเหลือง 40 ก.ก. 2. หินฟอสเฟต 40 ก.ก. 3. รำข้าว 10 ก.ก. 4. ขี้ไก่/แกลบ/มูลสัตว์ 10 ก.ก. 5. กากน้ำตาล 1 ก.ก. 6. สารเร่งซูเปอร์ พด.1 สารเร่งซูเปอร์ พด.3 สารเร่ง
1/30/12 2:29:46 PM
�������.indd 59
นทธี ศศิวิมล
59
ซูเปอร์ พด.9 ขั้นตอนการผลิต 1. ผสมวัตถุดิบให้เข้ากันตามส่วน 2. ใส่สารเร่ง พด.1 จำนวน 1 ซอง ลงในสารเร่งซูเปอร์ พด.2 ที่ขยายเชื้อแล้วจำนวน 26-30 ลิตรคนให้เข้ากัน เป็นเวลา 10-15 นาที เทลงในวัตถุดิบโดยคลุกเคล้าให้ ทั่ววัตถุดิบอย่างสม่ำเสมอ 3. ตัง้ ก องปยุ๋ ห มักเป็นส เี่ หลีย่ มผนื ผ า้ ให้ม คี วามสงู 20-30 เซนติเมตร และใช้ผ้าใบคลุมเพื่อรักษาความชื้น 4. ในระหว่างการหมัก จะมีเชื้อจุลินทรีย์เจริญในกองปุ๋ย และอณ ุ หภูมจิ ะสงู ข นึ้ 45-55 องศาเซลเซียสหลังจ ากการ หมักประมาณ 3 วัน 5. กองปยุ๋ ไว้จ นกระทัง่ อ ณ ุ หภูมลิ ดลงเท่าก บั ภ ายนอกจน
1/30/12 2:29:53 PM
60 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 60
กระทั่งครบ 7 วัน ทำการคลุกเคล้าเพื่อปรับอ ุณหภูมิปุ๋ย 6. ใช้สารเร่งซูเปอร์ พด.3 และสารเร่ง พด.9 อย่างละ 1 ซองคลุกเคล้าให้ทั่วก องและหมักอีกครั้งก่อนนำไปใช้ วิธขี ยายเชื้อ เจือจางกากน้ำตาลต่อน้ำ อัตราส่วน 1 กิโลกรัม ต่อน้ำ 10 กิโลกรัม ใส่ส ารเร่งซูเปอร์ พด.1 กับ พด.2 อย่างละจำนวน 1 ซองคนให้เข้ากัน ปิดฝาตั้งไว้ที่ร่ม ใช้เวลาขยายเชื้อราว 3 วัน
การกำจัดศ ัตรูพืช เรือ่ งสำคัญพ อๆ กับเรือ่ งการบำรุงพ ชื ผ ลการเกษตร อีกเรือ่ งกค็ อื เรือ่ งของการกำจัดศ ตั รูพ ชื ทีน่ เี่ ขากม็ วี ธิ กี าร ในการกำจัดแบบพึ่งพาวิธีธรรมชาติ ไม่มสี ารพิษแ ละไม่ ก่อมลภาวะอีกเช่นเคย เป็นการใช้ธรรมชาติจัดการกับ ธรรมชาติและได้ผลอย่างน่าทึ่งเสียด้วย สมุนไพรไอน้ำไล่แมลง พี่คัมภีร์ทอง เทียนสวัสดิ์ เป็น ผู้นำเกษตรกร ในพื้นที่ ในการผลิตน้ำสมุนไพรไล่แมลง โดยรวบรวม สมุนไพรจากปา่ ช มุ ชนและภมู ปิ ญ ั ญาชาวบา้ นผสมผสาน ค วามรู้ ส มั ย ใ หม่ ท ดลองจ นไ ด้ สู ต รที่ เ หมาะส มแ ละ
1/30/12 2:29:53 PM
�������.indd 61
นทธี ศศิวิมล
61
มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สามารถน ำไ ปใ ช้ ฉี ด พ่ น ใ นแ ปลงผั ก ไ ด้ ทุ ก ช นิ ด เช่ น มะเขื อ ผักชี ถัว่ ฝักยาว ไม้ด อก ไม้ป ระดับ ไล่แ มลงได้ผ ล และไ ม่ ท้ิง ส ารต กค้ า ง ใ นร่ า งกายผู้ บ ริ โ ภค สำหรั บ ผู้ ท่ี ส นใจมี ขั้ น ต อ น ก า ร ผ ลิ ต ดังนี้ ส่วนผสม 1. กลอย 2. เถากระไดลิง 3. หนอนตายยากตัวผู้ 4. ข่า 5. ตะไคร้ 6. ฝักดอกคูน 7. ลูกสะเดา 8. น้ำ
10 ก.ก. 10 ก.ก. 10 ก.ก. 5 ก.ก. 5 ก.ก. 10 ก.ก. 5 ก.ก. 50 ลิตร
1/30/12 2:29:57 PM
62 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 62
ขั้นตอนการผลิต นำส่วนผสมมาคลุกเคล้ากันในถังที่เตรียมไว้ แล้ว นำน้ำสะอาดมาเทลงถัง คลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนำไป ตั้งไฟให้เดือด ปิดฝาให้สนิท(เราต้องการไอน้ำ) รองน้ำ สมุนไพรกลั่นที่ได้เก็บพักไว้ วิธีใช้ ผสมสมุนไพรในอัตราส่วน 80-100 ซีซี/ น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ ่นต้นพืช ให้เปียกจนทั่ว 5-7 วัน ครั้ ง ค วรฉี ด ห ลั ง จากต้นพืชงอก ก่ อ น ที่ แ ม ล ง จะร บกวน(เน้ น ป้องกัน) ควรฉีด พ่ น ใ นต อนเ ช้ า หรือเย็น
1/30/12 2:30:06 PM
�������.indd 63
นทธี ศศิวิมล
63
นอกจากการกำจัดศัตรูพืชด้วยน้ำกลั่นสมุนไพร แล้ว ที่นี่ยังถือได้ว่าประสบความสำเร็จอย่างยอดเยี่ยม ในการควบคุมเพลี้ยแป้งในไร่มันสำปะหลังด้วยการใช้ ตัวห้ำและตัวเบียน เมื่อปี 2551 ที่ผ่านมาหากใครสนใจติดตามข่าว เกษตรจะพบว่าเพลี้ยแป้งโดยเฉพาะเพลี้ยแป้งสีชมพูที่ ระบาดหนักในไร่ม นั ส ำปะหลัง ระบาดไปทวั่ ป ระเทศและ สร้างความเสียหายให้กับเกษตรกรเป็นอย่างมาก จาก ปัญหาคราวนนั้ ท ำให้ช าวชมุ ชนนำโดยพคี่ มั ภีร์ ตัง้ ใจไว้ว า่ จะตอ้ งแก้ป ญ ั หานใี้ ห้ห มดไปจากหนองโรงให้ได้ จึงพ ากนั เริ่มศึกษาเรื่องการกำจัดศัตรูพืชด้วยตัวห้ำตัวเบียน โดย ได้รับความช่วยเหลือจากเกษตรจังหวัดที่มาช่วยแนะนำ เป็นระยะ ด้วยความพยายามและอดทน ในที่สุดการเพาะ เลี้ ย งแ มลงช้ า งแ ละแ ตนเ บี ย น ประสบค วามส ำเร็ จ เป็นอย่างดี และสามารถแก้ปัญหาได้จริง จนเพลี้ยแป้ง ไม่สามารถมาทำลายพืชไร่ของชาวหนองโรงได้อีกต่อไป เรี ย กว่ า ม าเ มื่ อ ไ หร่ พี่ เ ขาก็ จ ะมี ก องท หารแ มลงห้ ำ แมลงเบียนสองหน่วยคอยเตรียมรับมือได้เสมอ นับว่า เป็นพ นื้ ทีต่ วั อย่างทแี่ ก้ป ญ ั หาเรือ่ งนไี้ ด้จ ริง โดยไม่ต อ้ งพงึ่ สารเคมี และมตี วั แทนเกษตรกรจากทตี่ า่ งๆ มาดงู านเพือ่ เอาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ตัวเองอย่างต่อเนื่อง
1/30/12 2:30:10 PM
64 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 64
ทำความรู้จักแมลง แมลงตัวห้ำ แมลงตัวห้ำ เป็นแมลงที่หากินเหยื่อที่เป็นแมลง ด้วยกันเป็นอาหาร บางชนิดเป็นแมลงตัวห้ำทั้งในระยะ ที่เป็นตัวอ่อนและตัวเต็มวัย บางชนิดเป็นตัวห้ำเฉพาะ ระยะตวั อ อ่ น บางชนิดก เ็ ป็นต วั ห ำ้ ต อนเป็นต วั เต็มว ยั จะ ออกหากินเหยื่อโดยการกัดกินตัวเหยื่อ หรือการดูดกิน ของเหลวในตัวเหยื่อ แมลงตัวเบียน แมลงตวั เบียน เป็นแ มลงทมี่ ชี ว่ งระยะตวั อ อ่ นดำรง ชีวิตอยู่ด้วยอาศัยและหากินอยู่ภายนอกหรือภายในตัว เหยื่อเพื่อการเจริญเติบโตอยู่จนครบวงจรชีวิตของพวก มัน ทำให้เหยือ่ อ อ่ นแอและตายในทสี่ ดุ เหยือ่ ข องแมลงตวั เบียน มีทั้งที่เป็นแมลงด้วยกันเอง หรือสัตว์ชนิดอื่นๆ แมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำกินเหยื่อได้หลายชนิด ได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลีย้ แ ป้ง เพลีย้ ห อย (ตัวอ อ่ น) เพลีย้ ไฟ ไรแดง ไรสองจดุ แมลงหวี่ขาว ไข่และตัวหนอนวัย 1-2 ของหนอนผีเสื้อ หลายชนิด เช่น หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ
1/30/12 2:30:11 PM
�������.indd 65
นทธี ศศิวิมล
65
หนอนชอนใบส้ม เป็นต้น เหยื่อที่ชอบมากที่สุด คือ เพลีย้ อ อ่ น สามารถนำไปใช้ควบคุมศ ตั รูพ ชื ได้ท งั้ ในพชื ไร่ ไม้ผล ไม้ด อก และพืชผักต่างๆ แมลงช้างปีกใสนี้ มีข้อดี ตรงที่สามารถกำจัดศัตรูพืชได้หลากชนิดมากกว่า คือ กำจัดเพลี้ยได้ถ ึง 4 ชนิด และยังกำจัดไรและแมลงหวี่ได้ ด้วย และข้อดีอันนี้ทำให้สามารถหาอาหารมาเพื่อการ เพาะเลี้ยงได้ง ่ายกว่าแ ตนเบียน แตนเบียน จะตา่ งจากแมลงชา้ งปกี ใสตรงทเี่ ป็นท งั้ ต วั ห ำ้ และเ บี ย น แต่ จ ะมี ข้ อ เ สี ย นิดหน่อยในการเพาะเลี้ยง เพราะจะกนิ เฉพาะเพลีย้ แ ป้งส ชี มพู และการเพาะ เพลี้ ย แ ป้ ง สี ช มพู บ น ลูกฟักทอง เพื่อนำ มาเป็ น อาหาร แ ต น เ บี ย น ก็ ทำได้ค่อนข้าง ยากกว่า
1/30/12 2:30:17 PM
66 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 66
10 อนาคตของชาติและหนองโรง ถึงไม่ใช่นางสาวไทยที่มักพูดติดปากว่าร ักเด็ก แต่ เมื่อได้ฟังถึงเรื่องราวของเด็กๆ ที่นี่ก็ไม่อาจข้ามไปไม่ กล่าวถงึ ได้ เราทราบจากเจ้าห น้าที่ อบต. และชาวบา้ นวา่ ทีต่ ำบลหนองโรงนใี้ ห้ค วามสำคัญก บั เด็กแ ละเยาวชนมาก เด็กๆ ที่นี่ได้มีโอกาสร่วมทำกิจกรรมชุมชนกับผู้ใหญ่ ในหลายกจิ กรรม บางกจิ กรรมเคยได้ร บั ร างวัลร ะดับช าติ ม าแล้วอ กี ต า่ งหาก น่าส นใจไหมละ่ เรามาดปู ระวัตคิ ร่าวๆ ของกลุ่มพวกเขากันดกี ว่า
กลุ่มเยาวชนบ้านห้วยสะพาน ก่อตั้งกลุ่มในปี พ.ศ. 2546 โดยนายประยงค์ แก้ว ประดิษฐ์ เพื่อปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ โดยมปี า่ แ ละชมุ ชนเป็นตวั ตง้ั เพือ่ ทจ่ี ะสานตอ่ ง าน ในการดำรงปา่ ไว้ในอนาคต เพือ่ จ ะไม่ให้ส ญ ู หายหรือถ กู ท ำลาย มีการเรียนร้เู พือ่ สบื ทอดประเพณีวฒ ั นธรรมดง้ั เดิมจากผู้ เฒ่าผ แู้ ก่ในหมูบ่ า้ นและยงั ม สี ว่ นรว่ มในการพฒ ั นาหมูบ่ า้ น พัฒนาวัด มีกลุ่มพลังเยาวชนช่วยเหลืองานในหมู่บ้าน มีส ว่ นชว่ ยในเรือ่ งของยาเสพตดิ ลดปญ ั หาการมวั่ สุมแ ละ ความแตกแยกขัดแย้งของเยาวชน โดยจัดให้มีกิจกรรม ร่วมกันระหว่างเด็กและเยาวชนอย่างสม่ำเสมอ
1/30/12 2:30:18 PM
�������.indd 67
นทธี ศศิวิมล
67
ต่อมาในปี พ.ศ. 2548 เยาวชนบ้านห้วยสะพาน สามัคคี มีก ารจัดก ิจกรรมให้เด็กศึกษาดูงานและเข้าค ่าย ‘เด็กรักป่า’ โดยรวมเยาวชนทั้ง 4 หมู่บ้าน ทำให้ได้รับ รางวัล ‘ลูกโลกสีเขียว’ ประเภทเยาวชนดเีด่น ป่าชุมชน ดเีด่น ‘ผู้สร้างสรรค์ผลงานอนุรักษ์ธรรมชาติ ป่า และน้ำ’ จากบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ปี 2549 มีการจัดโครงการค่ายเด็กและเยาวชน รักษ์ป่า ควบคู่กับการเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่น โดย องค์การบริหารส่วนตำบลหนองโรง ร่วมกับโครงการ สุ ข ภ าวะภ าคต ะวั น ต ก ได้ ใ ห้ ก ารส นั บ สนุ น กิ จ กรรม ในครั้งนั้น เพื่อช่วยสร้างจิตสำนึกในการรักป่าควบคู่กับ การอนุรักษ์ธรรมชาติกิจกรรมด้านการอนุรักษ์ให้กับ เยาวชนในท้องถิ่น มีโรงเรียนต่างๆ เข้าร่วมโครงการ เป็ น จ ำนวนม าก ชาวบ้ า นแ ละผู้ น ำชุ ม ชนเ องก็ เ ป็ น ส่วนหนึ่งในการถ่ายทอดความรู้สู่เยาวชน กลุ่มเยาวชนมีกิจกรรมร่วมกับชุมชนในการศึกษา ธรรมชาติ ใ นป่ า ชุ ม ชน โดยเ ฉพาะพื ช อ าหารป่ า ที่ มี หลากหลายชนิด เช่น กุม่ ขีเ้ หล็ก จัน ตำลึง นมแมว ผักห วาน ย่านาง แมงลัก เห็ดข อน มะขามปอ้ ม สารภี มะตูม หว้าป า่ ผักเสีย้ น เถาวัลย์เปรียง หน่อไม้ บัวเผือน เห็ดเผาะ เห็ดม นั ปู มะสัง เล็บเหยี่ยว มะรุม สะเดา ฯลฯ ซึ่งเป็นพืชป่าที่ ชาวบ้านสามารถเก็บหาได้ตลอดทั้งป ี
1/30/12 2:30:18 PM
68 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 68
ธนาคารขยะโรงเรียนบ้านหลุมหิน เกิด จากปัญหาการทิ้งขยะไม่เป็น ระเบียบของ นักเรียน และการใช้ก ระดาษสมุดอ ย่างสนิ้ เปลือง อาจารย์ ทองสม เชื้อพงษ์ เป็นผู้ริเริ่มในการฝึกให้เด็กทิ้งข ยะให้ เป็นท ี่ รวมถงึ ก ารคดั แ ยกประเภทของขยะ และรณรงค์ให้ นักเรียนใช้กระดาษที่มีที่เหลือ เอามาทำเป็นสมุดทดเลข หรือท ำกระดาษแบบฝึกหัด โดยได้ร ับก ารสนับสนุนจาก ผู้อำนวยการโรงเรียนคือ ผอ.ปฐมา สิทธิสร สนับสนุน เรื่องของสถานที่ และอุปกรณ์ที่ใช้คัดแ ยกขยะ จนทำให้ สามารถเก็บข ยะได้ม ากขนึ้ และนำไปขายมรี ายได้เล็กน อ้ ย สมทบเป็นค่าอาหารกลางวันเด็ก จัดซื้อพัดลม โต๊ะไม้ สำหรับให้เด็กนักเรียนพักผ่อนในช่วงกลางวันและซื้อ อุปกรณ์สำหรับสอนการประดิษฐ์ขยะเหลือ ใช้ให้กับ นักเรียน โรงเรี ย นบ้ า นห ลุ ม หิ น ไ ด้ พั ฒ นาข ยะใ ห้ เ ป็ น ผลงานประดิษฐ์รูปแบบต่างๆ และได้เข้าร่วมโครงการ เศรษฐกิจพ อเพียงระดับเขตใช้ชื่อว่า ‘กิจกรรมแปลงขยะ เป็นทรัพย์สิน’ ได้รับร างวัลร องชนะเลิศอันดับส องระดับ เขต ประเภทสถานศึกษาดีเด่นด้านการจัดกิจกรรมซึ่ง จากค วามส ำเร็ จ ใ นก ารส่ ง ผ ลง านเข้ า ป ระกวดท ำให้ ผลงานการประดิษฐ์ขยะเป็นที่สนใจของโรงเรียนอื่นๆ
1/30/12 2:30:19 PM
�������.indd 69
นทธี ศศิวิมล
69
ทางผู้จัดกิจกรรมจึงพัฒนาและคิดประดิษฐ์สิ่งใหม่ๆ จากขยะมากขึ้นและส่งเข้าประกวดในงาน ‘เด็กกาญจน์ สมองใส เปิดโลกใหม่สู่สากล’ เป็นการส่งเสริมความคิด และจนิ ตนาการในการประดิษฐ์ข องใหม่ๆ ให้ก บั เด็กแ ละ นำผลงานไปจำหน่ายให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้น เด็กๆ ที่นี่ได้รับการสนับสนุนในการทำกิจกรรม ทุกอ ย่างดว้ ยตนเองไม่แ พ้ผ ใู้ หญ่ เวลาทตี่ ำบลหรืออ ำเภอ มีงาน พวกเขาจะรวมกลุ่มกันทำสินค้ามาขาย ทั้งการ เพนท์กระเป๋าผ้าด้วยสีอะครีลิก ทำขนมพื้นบ้าน นำมา ขายในงานออกร้านต่างๆ ได้ร ายได้ช่วยครอบครัวได้อีก นอกจากนี้ยังมีกลุ่มเยาวชนอาสาสมัครพิทักษ์ป่า อาสาป้องกันไฟป่า และอาสาสมัครบำเพ็ญประโยชน์ เพื่อส่วนรวมร่วมกับผู้ใหญ่ บางคนอายุเพียง 5-6 ขวบ ก็อาสาออกมาช่วยกันแล้ว เรียกว่าปลูก ฝังกันตั้งแต่ ตัวเล็กตัวน้อยเลยทีเดียว
สนามฟุตบอลแย้ เมื่ อ ร ถผ่ า นโ รงเรี ย นบ้ า นร างย อม ผู้ น ำเ ที่ ย ว ของเ ราชี้ ช วนใ ห้ ดู แ ล้ ว เ ลี้ ย วแ ว้ บ เ ข้ า ไปใ กล้ บ ริ เ วณ สนามฟุ ต บอลด้ า นห น้ า โ รงเรี ย นทั น ที แล้ ว พ าเ ดิ น ดู รู น้ อ ยใ หญ่ ในส นาม พลางบ อกว่ า นี่ คื อ รู แ ย้ แย้ ...ใช่แล้วแย้นั่นแหละ อย่างที่ท่านๆ คุ้นหน้าตากันดี
1/30/12 2:30:20 PM
70 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 70
สนามฟุ ต บอลข องโ รงเรี ย น บ้านรางยอมได้รับการส่งเสริม ให้เป็นสนามเลี้ยงแย้เพื่อการ อนุรักษ์โดยความสนับสนุนของ ท่านผู้อำนวยการและคุณครูใน โรงเรียน โรงเรียนนี้ดังข นาดเคย ออกรายการโทรทัศน์หลายครั้ง เด็กกับแย้อยู่ร่วมกันฉันมิตร ไม่มี ใครคิดจะทำร้ายซึ่งกันและกัน พวกเ ราไ ปใ นต อนเ ที่ ย ง กว่า ตะวันยังตรงหัว พี่ที่พาเรา ไปบอกว่า แย้จะออกจากรูช่วง เช้ า และก ลั บเข้ าบ้ า นข องมั นช่ ว ง ค่ำ ช่วงที่เราไปเลย พลาดพบกับแย้ เพร าะท่ า นๆ พากั น อ อก ไปท ำงาน หมด เป็นที่ น่าเสียดายยิ่ง ทางโรงเรียนยังมีแผนการสนับสนุนให้สนามฟุตบอลแย้ เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ถึงก ับมีการสร้างหอดูแย้ไว้รอ แต่
1/30/12 2:30:27 PM
�������.indd 71
นทธี ศศิวิมล
71
ยังต้องรอกล้องส่องแย้ ทีย่ ังเดินทางมาไม่ถึง เรากวาดตามองไปรอบๆ เพือ่ ห าเหยือ่ ม าสมั ภาษณ์ สักค นสองคน ในทสี่ ดุ ก ม็ ผี กู้ ล้าเดินย มิ้ ห วานเข้าม าสองคน ในเสือ้ เหลืองวนั จ นั ทร์ส สี วยมาเลยเชียว เป็นเด็กน กั เรียน ชายชั้น ป.5 ของโรงเรียนบ้านรางยอมนี้เอง ตอบชัดถ ้อย ชัดคำด้วยสำเนียงเหน่อน่าเอ็นดูแบบชาวกาญจน์แท้ๆ เรา : สวัสดีค รับ พี่ถามอะไรหน่อยได้ไหมเอ่ย เด็ก : สวัสดีค รับ ได้ครับ เรา : ทีน่ ี่เลี้ยงแย้ทสี่ นามฟุตบอลนี้ใช่ไหม เด็ก : ใช่ครับ ทั้งส นามเลยครับ เป็นบ้านแย้ เรา : ไหน รูแ ย้อยู่ไหนชี้ให้พี่ดูหน่อยได้ไหมครับ เด็ก : (เดินก้มๆ เงยๆ กันอยู่แป๊บน ึง) นี่ครับ นี่ไง รูใหญ่เลย เรา : แล้วแ ย้อยู่ไหน ไม่เห็นมีแย้เลย เด็ก : แย้ไปหากินครับ ไปตั้งแต่เช้าแล้ว ยังไม่ กลับมาเลย เรา : แล้วถ ้าอยากดูต้องมาตอนไหนครับ เด็ก : ต้องมาตอนกลางวนั ค รับ แย้จ ะอยูต่ อนกลางวนั ตอนกลางคืนแย้น อนหลับ เรา : แต่ว ่าต อนนี้ก็กลางวันนี่ครับ เด็ก : ใช่ครับต้องมาตอนกลางวัน (เริ่มงงทั้งสองฝ่าย)
1/30/12 2:30:30 PM
72 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 72
เรา : คือ สรุปต ้องมาดูตอนที่แย้อ อกจากบ้านคือ ตอนเช้าใช่ไหม หรือไม่ก็ตอนแย้ก ลับบ้านตอนเย็น เด็ก : ครับ เพราะตอนกลางคืนแย้น อนหลับครับ ก่อนจะพากันมึนมากไปกว่านี้ เราเลยให้น้องทั้ง สอง (ภูมแิ ละนิว) อธิบายว่าเด็กๆ ที่นี่ดูแลแย้กันอย่างไร บ้าง ภูมิและนิวเล่าว่า ที่โรงเรียนของพวกเขาสนับสนุน ให้มกี ารเลี้ยงแย้เพื่อการอนุรักษ์ ไม่ให้จับก ินหรือจับขาย เด็กๆ ไม่จำเป็นต้องมาคอยให้อ าหาร เพียงแค่ช่วงที่แย้ จะออกไปทำงานหรือช่วงแย้กลับบ้าน ก็งดเล่นฟุตบอล ในสนามเพื่อล ดอุบัติเหตุทอี่ าจจะทำให้แย้บาดเจ็บ หรือ กลัวจนกลับเข้าบ้านไม่ได้ ถ้าเห็นคน หรือหมาแมววิ่ง ไล่จับ ทำร้ายทำอันตรายกับแย้ก็ต้องช่วยกันไล่ช่วยกัน ห้าม โดยไม่เกีย่ งวา่ เป็นห น้าทีข่ องใคร และคอยดแู ลรกั ษา สภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เหมาะสำหรับก ารเป็นท ี่อยู่ อาศัยของแย้ด้วย นักท อ่ งเทีย่ วผา่ นทางทโี่ ชคดเี คยมาเจอชว่ งแย้ผ ลุบ โผล่ออกจากหลุมเล่าว่า เวลาแย้จะออกจากหลุม มันจะ โผล่ห วั ข นึ้ ม าดลู าดเลาเหลียวซา้ ยแลขวา ปลอดภัยแ ล้วจ งึ จะออกมา ถ้ารู้สึกไม่ปลอดภัยก็จะผลุบกลับเข้าไปก่อน พอรเู ยอะๆ จำนวนแย้ม ากๆ และออกหากินในเวลาเดียวกัน ก็จะเห็นแย้ผลุบๆ โผล่ๆ น่าสนุกหยั่งกับเกมตีหัวตุ่น ยังไงยังงั้น ยิ่งฟังแล้วยิ่งอยากเห็น เสียดายมาคราวนี้
1/30/12 2:30:31 PM
�������.indd 73
นทธี ศศิวิมล
73
ไม่ได้เจอคณ ุ แ ย้ สัญญาไว้ต อ่ ห น้าร แู ย้แ ล้วว า่ มาคราวหน้า จะมาให้ตรงเวลาแย้ผลุบโผล่ แน่นอนว่าต้องมาตอน กลางวัน เพราะตอนกลางคืนแย้นอนหลับ...วุ้ย! ตอนได้ยินชื่อข้าวเกรียบสายรุ้งครั้งแรก แอบคิดในใจว่า
1/30/12 2:30:40 PM
74 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 74
11 ข้าวเกรียบสายรุ้งสมุนไพร
1/30/12 2:30:55 PM
�������.indd 75
นทธี ศศิวิมล
75
1/30/12 2:31:10 PM
76 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 76
ข้าวเกรียบอะไรหนอ ชื่อเท่จ ริง แล้วม ันจ ะสายรุ้งยังไงน้า นึกไม่ออก แต่พ อมาเห็นของจริงก็ต้องว้าว ! สายรุ้งจริงๆ ด้วยแฮะ ข้าวเกรียบสีหวานไล่สี แดง ส้ม เหลือง เขียว ม่วง และขาว ในชนิ้ เดียวสวยงามแปลกตานี้ เป็นค วามคดิ ร เิ ริม่ สร้างสรรค์ข องป้าส มหมาย แก้วป ระดิษฐ์ ทีป่ งิ๊ ไอเดียน ำ สมุนไพรและพชื จ ากปา่ ช มุ ชน มาใช้เป็นว ตั ถุดบิ ในการทำ ข้าวเกรียบมากคณ ุ ค่าห ลากสี เช่นส เี ขียวได้ม าจากมนั เทศ และน้ำใบเตย สีส้มจากแครอท สีเหลืองจากฟักทอง สีม่วงจากดอกอัญชัญ อย่างนี้เป็นต้น ป้าส มหมายได้ท ดลองสตู รตา่ งๆ กับเพือ่ นรว่ มกลุม่ อย่างสนุกสนาน โดยเน้นที่คุณค่า ทางอาหารและรสชาติเป็นสำคัญ โดยรั บ ฟั ง ค วามคิ ด เ ห็ น จ าก ผู้ที่มาทดลองชิมและลูกค้ามา ปรับปรุงพัฒนาจนได้สัดส่วน ที่ลงตัวที่สุด และไม่หวง สูตรเสียด้วย สู ต รข้ า วเ กรี ย บ ส มุ น ไ พ ร ส า ย รุ้ ง นี้ นอกจากจ ะอ ร่ อ ย ได้ คุ ณ ค่ า แ ล้ ว ยั ง
1/30/12 2:31:13 PM
�������.indd 77
นทธี ศศิวิมล
77
ปลอดภัยไร้สารพิษ ไม่มีผงชูรส สารกันเสีย หรือวัตถุ ปรุงแต่งก ลิ่นสีใดๆ ใช้ของขวัญจากป่าธ รรมชาติล้วนๆ ส่วนผสมหลัก 1. สมุนไพรและเครือ่ งเทศ มันเทศ ฟักทอง เผือก แครอท ใบเตย ขิง ใบกะเพรา ใบมะกรูด ผักห วานป่า(แล้วแต่สี) 2. แป้งมันสำปะหลัง 3. พริกไทยป่น 4. เกลือป่น 5. น้ำตาลทรายขาว 6. กระเทียม ขั้นตอนการทำ 1. นำส่วนผสมทั้งหมดมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน 2. เติมน้ำร้อนลงไป ใช้มือขยำให้ส่วนผสมเข้ากัน 3. ใส่สมุนไพรอย่างใดอย่างหนึ่งล งไป 4. นวดแป้งจนเนียนเป็นเนื้อเดียวกันแล้วนำมาปั้นเป็น แท่งความยาวราว1 ฟุต 5. นำไปนงึ่ ด ว้ ยความรอ้ นราว 2 ชัว่ โมงจนเนือ้ แ ป้งส กุ ทิง้ ไว้ให้เย็น แล้วนำเข้าตเู้ย็นหรือตแู้ ช่แข็ง 1-2 วัน 6 . น ำ อ อ ก ม า หั่ น เ ป็ น ชิ้ น บ า ง ๆ ข น า ด เ ท่ า ๆ กั น ( ต้ อ ง ร ะ วั ง ใ ห้ ข น า ด เ ท่ า ๆ กั น
1/30/12 2:31:14 PM
78 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 78
ไ ม่ อ ย่ า งนั้ น เ วลา ทอดแป้งจะสุกไม่ทั่ว ทั้งแผ่น) 7. นำไปตากแดด 2-3 แดดจนแห้งสนิทดี 8. นำมาทอดหรือบรรจุถ ุงเตรียมขาย ส่วนข้าวเกรียบลวดลายสายรุ้งสวยนี้ ได้กระซิบ ถามป้าสมหมายในฐานะคนชอบทำขนมเหมือนกันว่ามี เคล็ดลับอย่างไรจึงได้ลายสวยไล่สีเป็นเส้นในข้าวเกรียบ แผ่นเดียวได้อย่างนั้น ป้าสมหมายตอบแบบไม่อมภูมิว่า ใช้ว ธิ แี ผ่แ ป้งท นี่ วดแล้วแ ต่ละสเี ป็นแ ผ่น บางๆ แล้วค อ่ ยๆ วางซ้อนกันทีละชั้น หลังจากนั้นก็ม้วนเข้าเป็นแท่งอัด แน่น ฝานเป็นแ ว่นบ างๆ ตามขวางอกี ท ี แค่น กี้ ไ็ ด้แ ผ่นแ ป้ง สีรุ้งสลับล ายสวยเตรียมตากทอดรับประทานแล้ว ที่ ก ลุ่ ม ข ายข้ า วเ กรี ย บส มุ น ไพรส ามแ บบ คื อ ข้ า วเ กรี ย บส มุ น ไพรส ายรุ้ ง ที่ มี ห ลายสี ใ นแ ผ่ น เ ดี ย ว แบบคละสี และขา้ วเกรียบผกั ห วานปา่ ทัง้ แ บบทที่ อดแล้ว และยังไม่ได้ทอดเผื่อคนที่ต้องการเก็บไว้กินนานๆ ได้ สนนราคาก็ไม่แพง เพียงถุงละ 20 บาท เหมาะซื้อ ติดไม้ต ดิ มือเป็นข องฝากทที่ งั้ อ ร่อยและได้ค ณ ุ ค่าส มุนไพร เด็กก็กินได้ ผู้ใหญ่ก็กินดี ปัจจุบันเป็นที่นิยมขายดีเป็น เทน้ำเทท่า นอกจากนักท่องเที่ยวแล้ว มีร้านค้าใหญ่ๆ
1/30/12 2:31:21 PM
�������.indd 79
นทธี ศศิวิมล
79
มารับถึงที่ และกำลังมีแผนขยายกำลังการผลิตเพื่อผ ลิต ส่งขายทั่วประเทศ นอกจากข้ า วเ กรี ย บส ายรุ้ ง แ ล้ ว ที่ ก ลุ่ ม ข อง ป า้ ส มหมายยงั ม กี ารนำเอาวสั ดุจ ากปา่ ช มุ ชนอย่างปอเต่า ไ ห้ ที่ เราคุ้ น ต ากั นว่ า เขาเอาม าท ำเชื อ กป อเย็ บ ร้ อ ย กระสอบ ทำธงทวิ ในนาขา้ ว ซึง่ ม คี วามเหนียวและทนทาน มาก คุณป ้าสมหมายเห็นแล้วเกิดไอเดียขึ้นมาอีกว่าลอง เอากบเหลาดินสอมาเหลาบางๆให้คลี่ออกมาเป็นแผ่น สวยๆ แล้วด ดั เป็นร ปู ด อกไม้ แต่งแ ต้มส หี วานๆ ติดเกสร แล้วติดเข้ากับก้านต้นปอขอี้ ุ้น แล้วมัดด ้วยเถาวัลย์ทอง ผลออกมาสวยจี๊ด เป็น ผลงานผลิตภัณฑ์จากป่า ชิ้นใหม่ขึ้นมาอีกหนึ่งชนิด ตอนนี้กำลังอยู่ในขั้นตอน พัฒนาปรับปรุง แต่เห็นว า่ ส วยจนนา่ โชว์ เลยมภี าพมาฝาก กันด ว้ ย คาดวา่ จ ะเป็นส นิ ค้าต วั ใหม่ข องกลุม่ ช มุ ชนแห่งน ี้ แน่นอน ดอกไม้ป ระดิษฐ์จ ากปอเต่าไห้และปอต้นขี้อุ้นนี้ เคยดังขนาดมีรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับเด็กๆ มาถ่ายทำ ออกอากาศไปแล้วด้วยละ(ทุ่งแสงตะวัน) ก่อนกลับออกมาจากร้านข้าวเกรียบสายรุ้ง ก็ เผอิญเหลือบไปเห็นเปลสวยน่านอน ทำจากกระบอก ไม้ไผ่สวย สานด้วยไม้ร วกเย็บขอบยางน่านอนสบาย จึง แ อบกระซิบถ ามทา่ นเจ้าของบา้ นวา่ “เปลนท้ี า่ นได้แ ต่ใดมา” ป้ า ส ม ห ม า ย ยิ้ ม ๆ ไ ม่ ย อ ม ต อ บ
1/30/12 2:31:21 PM
80 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 80
1/30/12 2:31:32 PM
�������.indd 81
นทธี ศศิวิมล
81
แ ต่ ชี้ ไ ป บ้ า น ข้ า ง ๆ เ อ้ า หมายความวา่ ย งั ไง เมือ่ เดินไป ชะโงกดบู า้ นขา้ งๆ ตามทศิ ทาง ของนว้ิ ป า้ ท ช่ี ้ี ก็พ บกบั ค ำตอบอยู่ บนป้ายไม้หน้าบ้านนั้นเอง แรกเ ริ่ ม เ ดิ ม ที ง านป ระเภท
1/30/12 2:31:44 PM
82 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 82
12 เปลไม้ ไผ่
1/30/12 2:31:53 PM
�������.indd 83
นทธี ศศิวิมล
83
จักสานของชาวหนองโรงจะมีการสานเสื่อไม้รวกเพื่อ ใช้เป็น ‘เครื่องรองหอ’ ในพิธีแต่งงานซึ่งเป็นวัฒนธรรม ประจำท้องถิ่นด้วย แต่ต่อมาเสื่อไม้รวกเริ่มไม่เป็นที่ นิยมเนื่องจากกระบวนการในการทอเสื่อยุ่งยากและ ต้องใช้เวลานานจึงนิยมใช้ ‘เสื่อน้ำมัน’ เพราะง่ายและ สะดวกกว่า งานสานเสือ่ ไม้ร วกจงึ ไม่มใี ครสบื ทอด ต่อม า ครอบครัวของคุณลุงมนัส สุขีธรรม และคุณป้าอาภรณ์ สุขีธรรม ได้หันมาทดลองทำเปลไม้ไผ่ปรากฏว่าทำออก มาแล้วได้รับการยอมรับและเป็นที่นิยมมากจนทำกัน แทบไม่ทัน คุณล งุ ม นัสเล่าให้เราฟงั ว า่ ทีบ่ า้ นจะชว่ ยกนั ท ำกบั คุณป า้ ส องคน วิธที ำแบบคร่าวๆ คือเลือกเอาไผ่ส สี กุ ซ งึ่ ถ อื เป็นไม้ม งคล ตัดเอาขนาดใหญ่ ความยาว 9 ปล้อง บากเอา ด้านหน้าออกประมาณ 5 เซนติเมตร แล้วใช้สายตา กะประมาณ ผ่าลำไม้ไผ่ตามยาวให้ได้ 9 ซีก (ขั้นตอนนี้ อาจจะยากสกั ห น่อย เพราะไผ่บ างลำทางไม้ไม่ต รง ซีกท ไี่ ด้ อ าจเล็กไปหรือใหญ่ไปกจ็ ะสานได้ไม่ส วยงามอาจตอ้ งทงิ้ ทัง้ ล ำ) หลังจ ากนนั้ ก ค็ ว่ำล ง แล้วก างออก ใช้ไม้ค ำ้ ย นั เอาไว้ ตามภาพ สานส่วนหัวทั้งสองด้านด้วยเส้นพลาสติกที่มี ความเหนียว ยืดหยุ่นกว่า ก่อนจะสานตัวเปลด้วยตอก ที่มาจากไม้ไผ่รวกในพื้นที่ เมื่อสานจนเต็มตัวเปลแล้ว เก็บง านให้เรียบร้อยไม่ให้ม เี สีย้ นคม ขนาบดา้ นขา้ งให้น มิ่
1/30/12 2:31:53 PM
84 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 84
ด้วยยางในรถจักรยานยนต์ ผ่ า ซี ก แล้ ว มั ด ด้ ว ยล วด เจาะหัวท้าย เสียบไม้ขนาด พอเหมาะเพื่อผูกเชือกห้อย เปลเป็นอันเสร็จพิธี นอกจากเ ปลน อน แล้ว คุณลุงและคุณป้ายัง ประยุกต์ทำเปลขนาดเล็กแบบมีขาตั้งไม่ให้กลิ้งไปมา ไว้ ใส่ผลไม้วางโต๊ะอาหาร กลายเป็นเรือบรรทุกผลไม้ จัด วางต้อนรับแ ขกสวยไฮโซไม่มใีครเหมือน หลังจ ากได้ร บั ก ารสนับสนุนจ าก อบต. แล้ว ทีบ่ า้ น ของคุณลุงและคุณป้า ก็กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้มา เยือนและเยาวชนในพื้นที่ด้วย เด็กๆ จำนวนมากเข้าม า เรียนการสานเปลไม้ไผ่เพื่อสืบทอดความรู้ไม่ให้สูญหาย โดยที่คุณป้าจะหาลำไม้ไผ่ขนาดจิ๋ว น่าเอ็นดูมาผ่าซีกไว้ ให้ แล้วเลือกใช้เถาวัลย์ทอง ซึ่งเป็นไม้แขนงที่ขึ้นในป่า ชุมชนมาใช้แทนไม้รวกเพื่อให้สานสะดวก ง่าย ไม่บาด มื อ เ ล็ ก ๆ ของเ ด็ ก เถาวัลย์ท องนคี้ นเฒ่า คนแก่ของที่นี่มักนำ มาถกั เป็นก ำไลขอ้ ม อื หรือแหวน เพราะมี
1/30/12 2:32:03 PM
�������.indd 85
นทธี ศศิวิมล
85
ความเหนียวและคงทนมาก เมือ่ นำม าท ำเ ปลน้ อ ย ก็ จ ะเ ก็ บ รั ก ษาไ ด้ น าน ไม่ ขาดเ ปื่ อ ยง่ า ย เปลเล็กๆ ที่เด็กๆ ทำได้ พวกเขาจะภูมิใจมาก นำกลับบ้านไปอวด พ่ อ แ ม่ แ ละเ อา ไปเ ล่ น ห รื อ ท ำ ประโยชน์ได้ต าม จินตนาการ เ ป ล ไ ม้ ไ ผ่ ของคณ ุ ล งุ ก บั ค ณ ุ ป า้ น ี้ ได้ รั บ ค วามนิ ย มม าก เพราะนอนสบาย แข็งแ รง คงทน และสวยงาม แถมยัง เป็นงานแฮนด์เมดที่มีความ ประณีต พิถพี ถิ นั ยอดสงั่ จ องจงึ มีเข้ามาไม่ขายสาย ทั้งข าประจำ ขาจร จนคณ ุ ล งุ ม นัสบ น่ ท ำไม่ค อ่ ยทนั เลยลองถาม คุ ณ ลุ ง ดู ว่ า เปล 4 เปลทวี่ างเรียงอยูใ่นบ้านใช้ เวลาทำกี่วัน ฟังคำตอบแล้วต้องตาโต คุณลุง ตอบวา่ 2 ว นั ทำกบั ป า้ ส องคน อย่างนแี้ หละทเี่ ขา เรียกวา่ ร ะดับ โปรเฟสชั่นนัล มืออาชีพจริง!
1/30/12 2:32:08 PM
86 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 86
12 แคบหมูไร้มันแต่ เคี้ยวมันส์อย่าบ อกใคร เคยกินก๋วยเตี๋ยวเรือกันไหม แล้วใครเคยใส่แคบหมูลงไป กินด้วยยกมือขึ้น รับรองยกมือกันสลอน แล้วยิ่งถ้าเป็น แคบหมูไร้ม นั ก รุบก รอบดว้ ยยงิ่ เข้าก นั๊ ...เข้าก นั แคบหมูไร้ มัน กินกับอะไรก็อร่อย ใส่ส้มตำก็ได้ กินกับน ้ำพริกหนุ่ม ก็เริ่ด กินเล่นก รอบๆ ก็เพลินเกินห้ามใจ แหม แล้วใครรู้ บ้างนะ ว่าขั้นตอนวิธที ำเขามีอะไรบ้าง อ้าวทีนี้เงียบเลย งั้นเรามาถามคนที่รู้กันดีกว่า พี่จันทร ธรรมสอน หัวหน้ากลุ่มแคบหมูไร้มัน เจมส์-จูนต้อนรับเราด้วยความเป็นกันเองพาเข้าไปดู ด้านในที่กำลังบรรจุแคบหมูที่ทอดแล้วใส่ถุงเตรียมขาย พลางเล่าให้ฟังว่า หลังจากได้มีโอกาสเดินทางไปดูงาน
1/30/12 2:32:13 PM
�������.indd 87
นทธี ศศิวิมล
87
ทำแคบหมูไร้มันที่อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพ ะเยา กลับ มาบา้ นกไ็ ด้ท ดลองทำกนิ ก นั เองในบา้ น และแบ่งให้เพือ่ น บ้านชมิ ปรากฏวา่ อ ร่อยถกู ปากถกู ใจไปตามๆ กัน จึงเกิด ความคดิ ว า่ จ ะรวมตวั ก นั ท ำเป็นอ าชีพเสริม จึงท ดลองทำ ขายกันในหมู่บ้าน พอมีชื่อเสียงความอร่อย สะอาด ถูกห ลักอนามัย แพร่ห ลายออกไป ลูกค้าท ชี่ นื่ ช อบมากขนึ้ มีก ารพดู ถ งึ กัน ปากต่อปาก แคบหมูไร้มันก็เริ่มขยายไปที่หมู่บ้านอื่น และเข้าไปในตัวจ ังหวัด ปัจจุบันม ีลูกค้าประจำหลายเจ้า โดยเฉพาะร้านก๋วยเตี๋ยวเรือ และร้านค้าปลีกทั้งจากใน จังหวัดแ ละจากทอี่ นื่ สามารถสร้างรายได้เป็นกอบเป็นก ำ ให้กับสมาชิกกลุ่ม และกลายมาเป็นรายได้หลักของ ครอบครัว ส่งเสียให้ลูกๆ (เจมส์กับจูน ที่มาของชื่อร้าน) เรียนหนังสือได้สบาย พีจ่ นั ทรไม่ห วงสตู รและเคล็ดล บั แ ต่อ ย่างใด เล่าให้ เราฟังง่ายๆ ดังนี้ วัตถุดิบ 1. หนังหมูบด 97 เปอร์เซ็นต์ 2. เกลือป่นไอโอดีน 1.55 เปอร์เซ็นต์ 3. น้ำตาลทราย 0.86 เปอร์เซ็นต์ 4. ผงรสดี 0.05 เปอร์เซ็นต์
1/30/12 2:32:14 PM
88 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 88
ขั้นตอนการทำ 1. นำหนังหมูสดมาขูดข นและหนังกำพร้าออกให้เกลี้ยง ด้วยใบมีดโกน แล้วนำไปล้างน้ำให้สะอาด 2. ต้มในนำ้ เดือด 100 องศา คอยพลิกคนดจู นสกุ ทว่ั กนั 3. ล้างด้วยน้ำสะอาดอีกครั้ง แล้วน ำไปล้างให้สะเด็ดน้ำ 4. นำมาแล่มันหมูและเนื้อหมูที่ติดมาออกให้หมด ให้เหลือแต่หนังแท้ 5. หั่นหนังหมูออกเป็นชิ้นให้ม ีความยาวพอเหมาะ แล้ว หั่นเป็นเส้นอ ีกครั้ง 6. คลุกเคล้ากบั ส ว่ นผสมทเ่ี ตรียมไว้ให้เข้ากนั ดแี ละทว่ั ถงึ 7. นำมาเรียงลงบนแผงตาก ตากแดดจัดทิ้งไว้ 2 วัน 8. นำลงทอดรอบแรก พอง 50 เปอร์เซ็นต์ ยกขึ้นใส่ ตะกร้าจ นสะเด็ดน้ำมันทิ้งไว้ราว2 ค ืน 9. นำลงทอดอีกครั้งให้สุกพองทั่วก ัน 10. ยกขึ้นสะเด็ดน้ำมันรอให้เย็น บรรจุล งถุงเตรียม ขายได้ แคบหมูไร้ม นั เจมส์-จูนน ี้ ได้ด ำเนินก ารขนึ้ ท ะเบียน เป็นสินค้า OTOP และได้เข้าร่วมประกวดสินค้า OTOP ได้รับ 2 ดาว ผลิตภัณฑ์ได้รับเครื่องหมาย อย. แล้ว ได้ดำเนินการยื่นขอ มผช. แล้ว อยู่ระหว่างการรอผล ตรวจสอบ พี่จันทรเล่าว่า ปัจจุบันนี้ทางกลุ่มรับซื้อหนังหมู
1/30/12 2:32:15 PM
�������.indd 89
นทธี ศศิวิมล
89
จากจังหวัดนครปฐม อาทิตย์ละ 300 กิโลกรัม ได้รับผ ลกระทบบ้าง จากราคาหมูที่เพิ่มสูงขึ้น แต่ยังไม่ มากนกั ห ากยอดขายยงั ด อี ย่างนี้ เรื่อยๆ ก็คงยังอยู่ได้สบาย พูด พลางพเี่ ขากย็ นื่ แ คบหมูใส่ม อื ให้มาชิมสองสามถุง กลั บ ม าถึ ง บ้ า น ได้ เ ปิ ด ชิ ม แ ล้ ว ถึ ง ม า นั่ ง เ สี ย ดายที ห ลั ง แคบหมู ไ ร้ มั น เ จ้ า นี้ กรอบ หอม เค็มมัน อร่ อ ยม าก ยิ่ ง กิ น กั บ ก๋วยเตี๋ยวเรือยิ่งอร่อย กินกันเพลิดเพลินทั้งบ้าน แป๊บเดียวหายวับลงไปในท้องของทุกคนหมด อร่อย ขนาดนี้ทำไมไม่ซื้อมาเยอะๆ นะเนี่ย นั่งมองถุงเปล่า อย่างอาลัยอ าวรณ์ นึกแ ล้วอ ยากขนึ้ ร ถกลับไปซอื้ ซ ะวนั น ี้ พรุ่งนี้เลย ใครไปร้านนี้แล้วซ ื้อกลับมากินมาฝากเพื่อนๆ อย่าลืมซ ื้อมาตุนไว้ห ลายๆ ถุงด ้วยล่ะ หมดแล้วเดี๋ยวจะ หาว่าไม่เตือน
1/30/12 2:32:18 PM
90 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 90
1/30/12 2:32:27 PM
�������.indd 91
นทธี ศศิวิมล
91
13 ตาล ต๊าล ตาล จากการทพี่ นื้ ทีต่ ำบลหนองโรงนมี้ ตี น้ ตาลอยูม่ าก และลกู ตาลกอ็ อกผลดเี กือบตลอดทงั้ ป ี กลุม่ แ ปรรูปผ ลผลิตจ าก ตาลจึงเกิดขึ้นตามมา กลุ่มแปรรูปผลผลิตจากตาล นำ ขบวนโดยครอบครัวของเจ๊นัน หรือ คุณส ุนัน บุณยปรีดี ได้ส บื สานตอ่ ยอดธรุ กิจค รอบครัวน ำเอาวตั ถุดบิ ท มี่ ดี กดืน่ ในพื้นที่อย่างลูกตาลมาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ มากชนิดอย่างน่าทึ่ง โดยเริ่มต้นจากการกระจายรายได้ให้ชุมชนด้วย การรับซื้อลูกตาลสุกไม่จ ำกัดจำนวน เอาเนื้อตาลมาเข้า เครื่องปั่นคั้นน้ำให้ได้น ้ำสีเหลืองแจ่ม หอม เข้มข ้น กรอง ด้วยผา้ ข าวบางพร้อมสำหรับก ารนำไปแปรรูป โดยขายให้ กับกลุ่มแม่บ้านหรือร ้านค้าที่ต้องการ นำไปทำขนมตาล หรือขนมอื่นๆ ขาย ได้ร ายได้เข้าชุมชน ตาลที่นี่หอมมาก บ้านไหนทำขนมตาลทีกลิ่นงี้โชยไปทั้งซอย ลองนึกถึง รสชาติ ข นมต าล นุ่ ม ๆ หวานห อมล ะมุ น ใ นป ากดู สิ หิว...เลยใช่ไหม เม็ดตาลจากการปั่นเนื้อตาลออกหมดแล้ว นำมา ตากแดด เพาะให้งอก แล้วเลือกเม็ดตาลเฉพาะเม็ดที่ งอกตน้ อ อ่ นนำมาตอนตามกรรมวิธเี ฉพาะจนได้เม็ดต าล ที่งอกสมบูรณ์ (ขั้นต อนแต่ละขั้นตอนค่อนข้างยาก และ
1/30/12 2:32:28 PM
92 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 92
กว่าจะครบกระบวนการใช้เวลาราว 2 เดือน) เมื่อผ่าด้านในออกมาจะได้จาวตาลเปลือกบางๆ สีขาวฝานออกมาจะเห็นเนื้ออวบใสน่ารับประทาน กิน สดก็ได้ เอาไปเชื่อมหรือต้มทำขนมหวานหรือน้ำหวาน ก็อร่อยรสนุ่มชุ่มคอ แหม! คิดแ ล้วคอแห้งขึ้นมาเลย ยังไม่ห มด เม็ดต าลทไี่ ม่ง อก เรามที างเลือกให้ส อง ทาง ระหว่างเอาไปชุบตัวขัดผิวทาแชลแล็ค เขียนหน้า เขียนตา ตกแต่ง กลายเป็นเครื่องประดับ ทีเ่สียบปากกา หรือโมบายล์สุดเริ่ด ไว้ข ายให้นักท่องเที่ยวแบบนี้ หรือถ้าจะเลือกอีกทางก็โน่นเลย ไปกระโดดเข้า เตาเผากนั เสียให้ห มด! แหะๆ บรรยายให้ด ตู น่ื เต้นไปอย่างงน้ั เพราะความจริงแล้วเตาเผาที่ว่านั้นก็คือเตาเผาถ่าน ในความรอ้ นทพี่ อเหมาะและเวลาทพี่ อดีบ วกความอดทน ข องผคู้ วบคุมก ารเผา เรากจ็ ะได้ถ า่ นลกู ต าลรปู ร า่ งหน้าตา น่าเอ็นดูไว้ใช้ดับกลิ่นในตู้เย็น ใส่ถุงลูกไม้ผูกปากด้วย โบว์ ส วยๆ ก็ เ ป็ น ข องข วั ญ ข องฝ ากที่ ไ ม่ ขี้ เ หร่ แ ถมมี ประโยชน์เสียด้วย ถูกใจทั้งคนให้ค นรับ เนือ้ ก ไ็ ปแล้ว น้ำก ไ็ ปแล้ว เม็ดก แ็ ล้ว จาวตาลกแ็ ล้ว หมดหรือยัง? ย้างงง ยังไม่หมด ก็ข นตาลฝอยๆ นั่นไง จะเอาไปทำอะไรได้อ กี ห นอ ถ้าเป็นเราๆ มีห วังล งถงั ข ยะ ไปแล้ว แต่ก บั ค นทนี่ ี่ ขนตาลแห้งเอามายยี อ้ มสสี วยๆ ใช้ เป็นห ญ้าเทียมจดั ส วนถาด ทำรงั นกเทียมประดับต อไม้ได้
1/30/12 2:32:28 PM
�������.indd 93
นทธี ศศิวิมล
93
สวยงามสมจริง หรือ ครเี อทกวา่ น นั้ ก เ็ อามา ยัดไส้ห มอน นอนหนุน สบายไ ม่ เ สี ย สุ ข ภาพ ด้วย สุดยอดไหมล่ะ! ใ น ก ลุ่ ม นี้ ยั ง มี ก า ร ร ว ม ตั ว กั น ประดิษฐ์ต อไม้ป ระดับ สวน ด้วยการนำกิ่งไม้ ตอไม้ที่ตายแล้วจาก ป่าชุมชนมาคัดเลือก เฉพาะที่รูปร่างหน้าตาดูมีอนาคต เอามาขัดสีฉวีวรรณ ใหม่ให้ด มู ชี าติต ระกูล ตกแต่งด ว้ ยนกและดอกไม้ป ระดิษฐ์ ที่เข้ากั๊นเข้ากัน และจัดวางจนได้เครื่องประดับสวน ประดับบ้านแนวธรรมชาตินิยม ที่สวย เด่น อินเทรนด์ อย่าบอกใคร!
ที่มาของกลุ่มตอไม้ประดับ กลุ่มนี้เกิดจากแกนนำซึ่งเป็นกรรมการป่าชุมชน เห็นต อไม้ท ตี่ ายแล้วในปา่ เป็นจ ำนวนมากในปา่ แ ละไม่ได้ ถูกน ำมาใช้ป ระโยชน์ ประกอบกบั ม โี อกาสได้ไปเห็นด อก กล้วยไม้ป ระดิษฐ์ท ที่ ำจากดนิ ป นั้ ญ ปี่ นุ่ ซ งึ่ ม คี วามสวยงาม
1/30/12 2:32:33 PM
94 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 94
จึงห าขอ้ มูลก ารทำดอกไม้ป ระดิษฐ์ และได้ข อ้ มูลว า่ ม กี าร เปิดส อนในจงั หวัดก าญจนบุรี จึงได้ไปสมัครเรียนและนำ กลับม าทำ โดยปนั้ เป็นด อกกล้วยไม้แ ละนำไปตดิ ก บั ต อไม้ ซึ่งเก็บมาจากในป่าชุมชน ในระยะแรกๆ ทำตั้งโชว์เป็นของประดับสวยงาม เพื่อเพิ่มสีสันให้ร้าน เมื่อมีคนเห็นก็อยากได้จึงส ั่งทำเพื่อ ไปใช้ในเทศกาลตา่ งๆ แทนดอกกล้วยไม้จ ริง เนือ่ งจากอยู่ ได้นาน และดูแลรักษาง่าย ขณะเดียวกันแกนนำป่าคนอื่นๆ ก็เห็นว่าการนำ ตอไม้ที่ตายแล้วในป่าออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ น่าจะ เป็นช อ่ งทางการพฒ ั นาให้เป็นอ าชีพเสริมข องคนในชมุ ชน ได้ จึงชักชวนให้ก่อตั้งเป็นกลุ่ม มีสมาชิกกลุ่ม 15 คน และได้ประสานงานกับ กศน. ให้เข้ามาเป็นวิทยากรฝึก
1/30/12 2:32:39 PM
�������.indd 95
นทธี ศศิวิมล
95
อบรม และสมาชิกแ ต่ละคนได้ก ลับไปทำ เมือ่ ม ผี ลิตภัณฑ์ ก็นำมาขายรวมกัน สมาชิกบางคนก็ทำไว้ประดับบ้าน และเป็นของขวัญให้กับญาติพี่น้องเพื่อนมิตรในเทศกาล ต่างๆ
ทองม้วน ทองพับเนื้อต าล ตาลอีกแล้ว...ก็บอกแล้วว่าที่นี่ตาลเยอะ แถมเนื้อ ลูกต าลยงั ห อ้ มมม หอม จะพลาดไม่เอามาทำของอรอ่ ยๆ ได้ยังไง ว่าแล้ว คุณวนิดา เข็มท อง หรือ น้าหนู สมาชิก ในตำบลหนองโรงคนหนึง่ ข องเรากล็ องเอาเนือ้ ล กู ต าลสกุ มาผสมกะทิใส่แป้ง แล้วเอาไปใส่เตาปิ้ง ผลออกมาเป็น ขนมกลิน่ ห อม กรอบ รสชาติอ ร่อยมาก แถมยงั เก็บร กั ษา ไว้ได้นานอีกด ้วย หลังจากชิมกันหลายปากก็เลยเข้าสู่กระบวนการ จับกลุ่มและพัฒนาสูตรให้ออกมาอร่อยถูกใจทุกคนมาก ทีส่ ดุ จนกลายเป็นส นิ ค้าท สี่ ร้างรายได้เสริมให้ก บั ส มาชิก ในชุมชน ทั้งด้วยการขายลูกตาลสดให้กลุ่ม และขาย ทองม้ ว นท องพั บ ใ ห้ กั บ ผู้ ที่ เ ข้ า ม าศึ ก ษาดู ง านแ ละ นักท่องเที่ยวที่เดินทางผ่านมาทนี่ ี่ รสชาติท องมว้ นและทองพบั ข องทนี่ ไี่ ม่เหมือนทอี่ นื่ แน่นอน เพราะผสมเนื้อตาลสุกแท้ๆ ลงไปด้วย ช่วยให้
1/30/12 2:32:40 PM
96 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 96
มีกลิ่นรสตาลหอมหวานเวลาเคี้ยว นอกจากนี้ยังมีสูตร ผสมสมุนไพรอื่นๆ เช่นดอกอัญชัญ ใบเตย ตะไคร้ และ ผลไม้อื่นๆ เช่นกล้วยหอม แตงโม องุ่น เพื่อเพิ่มคุณค่า ทางอาหารและรสชาติที่หลากหลาย ใครได้ชิมแล้วต้อง ติดใจ ซื้อก ลับบ้านกันคนละหลายถุง กินเองก็อร่อย ซื้อ เป็นของฝากก็รับรองว่าต้องถูกใจคนรับ เช่นเคย - น้าห นูไม่ห วงสตู ร บอกวา่ เชิญเอาความรู้ มาแบ่งปันให้ผู้ที่สนใจลองเอาไปทำได้ตามสบายจ้า
1/30/12 2:32:49 PM
�������.indd 97
นทธี ศศิวิมล
97
ส่วนผสม 1. แป้งมัน 1 ก.ก. 3 ขีด 2. แป้งสาลี 2 ขีด 3. น้ำตาลทราย 5 ขีด 4. น้ำตาลปี๊บ 5 ขีด 5. มะพร้าวขูด 1 ก.ก. 5 ขีด 6. เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ 7. ไข่ไก่ 3 ฟอง 8. งาดำ+ ผลไม้/เนื้อลูกตาล ตามความเหมาะสม ขั้นตอนการทำ 1. นำมะพร้าวขูดม าคั้นกะทิแ ยกหัวกับห างออกจากกัน นำหัวกะทิมานวดกับแ ป้ง น้ำตาล ไข่ เกลือป่น นวดจน ได้ที่ 2. แบ่งแป้งเท่าๆ กัน นำสมุนไพรหรือผลไม้ใส่ลงไป กรองด้วยผ้าขาวบาง 3. ผสมเนื้อตาลสุกยี ผลไม้ ผงรสผลไม้ 4. หั่นใบมะกรูดอ ่อนใส่ลงไป 5. นำแป้งที่ผสมแล้วมาใส่เตาปิ้งจ นสุก แล้วอ อกมาพับ ดอกให้ส วยงาม 6. รอจนแห้ง พร้อมรับประทาน/บรรจุถ ุงขาย
1/30/12 2:32:50 PM
98 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 98
ทองม้วนทองพับของที่นี่ขายดี มีร้านค้ามารับไป ขายถงึ ที่ และยงั ม ลี กู ค้าป ระจำจากทวั่ ประเทศ และยงั ได้ ออกรา้ นตามงานทหี่ น่วยราชการจดั ข นึ้ งานโอทอ็ ป หรือ วางขายตามกลุ่มสตรีและองค์กรต่างๆ อีกด ้วย
เก้าอีก้ ้านตาล+รั้วก้านตาล เมือ่ ข นึ้ ไปบนทที่ ำการ อบต. สิง่ ท สี่ ะดุดต าอกี อ ย่าง คือชุดโต๊ะ-เก้าอี้สาน ดูมีสไตล์และแข็งแรงสวยงาม น่า นั่งสบายชุดนี้ ลองนั่งลองสังเกตดูรายละเอียดเห็นว่าไม่ เหมือนเก้าอี้หวายทเี่คยเห็นโดยทั่วไป เลยลองสอบถาม พี่เอ๋ บุณฑริก ดู นี่ถ้าไม่บอกก็คงไม่มีใครเดาได้ว่าเป็น งานแฮนด์เมดล้วนๆ แถมแฮนด์ที่เมดก็เป็นแฮนด์ของ คนคนเดียว ที่อายุ 79 ปีเข้าไปแล้ว! อย่างที่เล่าไปแล้วว่าต้นตาลที่หนองโรงนี้มีมาก นอกจากลูกตาลจำนวนมากที่เอาไปแปรรูปเป็นสินค้า ต่างๆ ได้หลากหลาย ก้านตาลที่ร่วงหล่นก็มีมากมายไป ด้วย แล้วที่ไหนจะรอดหูรอดตาชาวหนองโรงผู้มีหูตา กว้างไกลและไอเดียกระฉูดไปได้ แทนทีจ่ ะปล่อยทิ้งเป็น ขยะรก หรือเผาทิ้งให้เสียสมดุลธรรมชาติ คุณล ุงช่างคิด อย่าง ลุงชื้น คุณพันธ์ ก็เลือกเก็บก้านตาลงามๆ มา ประดิษฐ์ท ำชดุ เก้าอี้ ออกขาย เป็นการใช้เวลาวา่ งให้เกิด ประโยชน์แ ละยงั ส ามารถสร้างรายเพิม่ ได้ให้ก บั ค รอบครัว
1/30/12 2:32:50 PM
�������.indd 99
นทธี ศศิวิมล
99
ได้อีกด้วย ลุงช น้ื เล่าว า่ อายุท า่ นมากแล้ว ไปทำงานตรากตรำใน ไร่น าไม่ค อ่ ยไหวเหมือนตอนหนุม่ แต่จ ะนง่ั จ บั เจ่าอ ยูบ่ า้ น เฉยๆ มันก เ็ หงา นัง่ ค ดิ ไปคดิ ม าจำได้ว า่ เคยเห็นค ณ ุ ล งุ ต นั่ สมโภชน์ บ้านหว้ ยสะพาน ประดิษฐ์เก้าอีก้ า้ นตาลแบบนี้ มาก่อน(ปัจจุบันเลิกทำแล้ว) มองรอบตัวก็เห็นวัตถุดิบ มีพร้อมก็เลยลองทำดูบ้าง ผลงานปรากฏออกมาสวย กิ๊บเก๋อย่างที่เห็น ด้วยฝีมือของชายชราอายุ 79 ปี ภายใน1 เดือน คุณลุงชื้นสามารถเลื่อย ตอก ต่อ สาน ขัด ออกมาได้ถึง ราวเดือนละ 2 ตัว แต่ถ ึงกระนั้นออร์เดอร์ก็มารอคิวจ่อ
1/30/12 2:32:53 PM
100 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 100
จนทำไม่ทัน ใครเห็นใครก็ชอบ ลิมิเต็ดเอดิชั่นทุกตัวชัวร์ ไม่มีซ้ำที่ไหน เก้าอี้นอนสุดหรูท ี่เห็นในภาพลุงชื้นขายแค่ ตัวละ 700 บาท แต่บ างคนที่เห็นคุณค่าของงานทำมือที่ ละเอียด ประณีตแ ละสงสารลงุ ก ใ็ ห้ม ากกว่าน นั้ ใครสนใจ จับจองลองแวะไปดูกันก่อนได้ทบี่ ้านคุณลุงชื้น ระหว่างเดินท างสงั เกตรวั้ บ า้ นของชาวชมุ ชนหนอง โรง เห็นว่าหลายๆ บ้านมีรั้วที่ลักษณะคล้ายกันคือเป็น ก้านไม้ขนาดเท่าๆ กัน ส่วนปลายยอดจะมีลักษณะเรียว แหลมคล้ายใบไม้ ดูไปดมู าคลับค ล้ายคลับคลา พอลอง เดินไปจ่อตาดูใกล้ๆ ก็จ ะถึงบางอ้อทันที จะอะไรเสียอีก ก็ก้านตาลอีกนั่นแหละ! นอกจากลุงชื้นแล้ว ก้านตาลที่ตกหล่น ชาวชุมชน เขากไ็ ม่มขี นทงิ้ ถึงจ ะเอามาทำเก้าอีอ้ ย่างลงุ ช นื้ ก นั ไม่ไหว แต่ก้านตาลเอามาริดส่วนแขนงใบที่บานๆ ออก เหลือ ลวดลายส่วนปลายไว้หน่อย เหลาให้ปลายแหลมได้รูป เอามาปักเรียงติดกัน แค่นี้ก็กลายเป็นรั้วไม้กันขโมยที่มี ลวดลายสวยเริ่ด มีเอกลักษณ์ แถมยังทนทานใช้ได้ตั้ง หลายปเี พราะทนฝน ทนแดด ปลวกมอดไม่มกี ดั เจาะ ไม่ ต้องไปตดั ไม้ในปา่ ม าทำรวั้ ให้ส นิ้ เปลืองทงั้ ท รัพยากรและ งบประมาณในกระเป๋า ไอเดียเก๋กู้ดแ บบนี้ ชาวชุมชนเขา บอกไม่ห วง ไม่ได้จ ดลิขสิทธิ์ ชุมชนไหนต้นตาลเยอะจะ ลองเก็บก้านตาลไว้ทำดบู ้างเขาก็ไม่ห้ามนะจ๊ะ
1/30/12 2:32:54 PM
�������.indd 101
นทธี ศศิวิมล 101
1/30/12 2:32:57 PM
102 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 102
1/30/12 2:33:03 PM
�������.indd 103
นทธี ศศิวิมล 103
14 คนเจียระไนนิล นิลเจียระไนคน ถึงเวลาจะซื้อของขวัญของฝาก หากใครอยากได้ ของขวัญของฝากสวยหรู มีระดับสัก หน่อยเผื่อ ฝาก คนส ำคั ญ ห รื อ ญ าติ ผู้ ใ หญ่ อย่ า ไ ด้ ลื ม แ วะเ ข้ า ไปที่ ร้านเครื่องประดับ ‘นิล อมิณตา’ ทีม่ าทไี่ ปของรา้ นนี้ เริม่ โดย คุณอ มิณต า สุกใส ทีม่ ี ความคดิ อ ยากตอ่ ยอดการผลิตเครือ่ งประดับน ลิ เพือ่ ส ร้าง รายได้ให้กับชุมชน จากเดิมที่ทางกลุ่มมีรายได้หลักจาก การเจียระไนนิลส่งให้ร้านเครื่องประดับเพียงอย่างเดียว พัฒนาเป็นการผลิตเครื่องประดับ สร้อย แหวน กำไล และอนื่ ๆ บนตวั เรือนเนือ้ เงินแ ท้ พร้อมให้ผ ซู้ อื้ น ำไปเป็น ของใช้ของฝากสุดหรูได้ทันที พีอ่ รอนงค์ เฉลิมจรัสกุล ประชาสัมพันธ์ก ลุ่มเป็น ผู้ออกมาต้อนรับและพาเราเข้าชมด้านใน เล่าว่านิลที่ได้ มานี้ รับมาจากอำเภอบ่อพลอย กาญจนบุรีนี้เอง โดย แรกๆ นิลเป็นพลอยที่ไม่ค่อยได้รับความสนใจ และมี ราคาถูกม าก กลุ่มแ ม่บ ้านจึงค ิดว ่าน ่าจ ะนำมาเพิ่มม ูลค่า ได้ จึงส่งตัวแ ทนรุ่นแรกไปเรียนการเจียระไนนิลที่อำเภอ บ่อพลอยก่อน เมื่อเชี่ยวชาญจึงกลับมาสอนงานคนอื่น ในชุมชน ใช้จักรเจียรนิล จักรที่ใช้เจียรนิลจะแตกต่างจาก
1/30/12 2:33:04 PM
104 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 104
จักรเจียรเพชรหรือพลอยตรงที่จะมีฟันที่ห่างกว่า และ ขับเคลื่อนจักรด้วยมอเตอร์ ในขั้นการเจียรด้วยจักรนี้ พีอ่ รอนงค์เล่าว า่ เคล็ดล บั ในการทจี่ ะทำให้น ลิ ไม่แ ตกและ หน้าจักรไม่กระด้างคือการใช้ตัวยาพิเศษที่เรียกว่าเพชร กัดนิล ประกอบด้วยผงเพชรและน้ำมันมะพร้าวทาหน้า จักร ช่วยให้นิลขึ้นเงาดีขึ้นอีกด้วย ล่าสุดเมือ่ ว นั ท ี่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553 เครือ่ ง ประดับนิล อมิณต า เพิ่งได้ร ับก ารคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์ ระดับ 4 ดาวจากโครงการคดั ส รรสดุ ย อด หนึง่ ต ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ไทย ทำให้ได้รับความสนใจจากผู้มาศึกษา ด งู านและผทู้ สี่ นใจกจิ การเครือ่ งประดับน ลิ อ กี เป็นจ ำนวน มาก
1/30/12 2:33:04 PM
�������.indd 105
นทธี ศศิวิมล 105
1/30/12 2:33:12 PM
106 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 106
15 หัวใจที่ปลายนิ้ว
1/30/12 2:33:18 PM
�������.indd 107
นทธี ศศิวิมล 107
1/30/12 2:33:23 PM
108 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 108
ตอนที่รถจอดเทียบเข้ามาที่นี่ หันไปเห็นป้ายแล้วใจหาย วาบ ‘รับทำมีด’ นึกในใจว่าน ี่เราไปทำอะไรให้พี่เขาเคือง หรือเปล่าถึงพาเรามาร้านทำมีดเพื่อบอกเป็นนัยๆ แต่ พอเลื่อนตาลงมองป้ายด้านล่างก็ค่อยโล่งใจหน่อย อ๋อ ที่แท้พเี่ขาพาเรามาบ้านป้าท องเลื่อน หมอนวดแผนไทย ต่างหาก บ้านหลังน เี้ ป็นบ า้ นของ นางทองเลือ่ น วิเศษสิงห์ หรือ ป้าห มอเลือ่ น อย่างทชี่ าวบา้ นเรียกกนั บ้านปา้ เลือ่ น ไม่ได้เป็นที่รู้จักกันดีแค่ในหนองโรงและตำบลใกล้เคียง เท่านั้น กิตติศัพท์ความเป็นนักนวดมือทองของป้าเลื่อน ระบือไปไกลเกือบทั่วประเทศ มีลูกค้าจอมปวดเมื่อย หรื อ มี ปั ญ หาเ ส้ น ส ายแ วะเ วี ย นม าไ ม่ ข าด เรี ย กว่ า หัวกระไดไม่แห้ง ป้าเลื่อนยังมีลูกมือระดับเทพอีกสามคน คือ นาง วิรงรอง วิเศษสิงห์ นางพุตตาล วิเศษสิงห์ และนางสาว เตือนใจ แซ่เล้า ไว้ค อยชว่ ยดแู ลลกู ค้าในวนั ท คี่ นมามากๆ รับรองไม่ต้องเสียเวลารอนาน ที่นี่มีบริการทั้งนวดกดจุด ฝ่าเท้า ข้อมือ ข้อเท้า ปวดหัวไมเกรน และแบบนวดจับเส้น เช่นหัวไหล่ ต้นคอ ปวดหลัง ปวดขา ปวดสะโพก แล้วแต่อ าการของลูกค้า ท่าทางคล่องแคล่วของป้าเลื่อน ทำให้เราไม่อยาก เชื่อว่าครั้งหนึ่งป้าเลื่อนเคยประสบอุบัติเหตุ จนเป็น
1/30/12 2:33:24 PM
�������.indd 109
นทธี ศศิวิมล 109
อัมพาตครึ่งล่างต้องมานอนทำกายภาพบำบัดอยู่ที่บ้าน แต่ก็สามารถบำบัดตนเองด้วยการนวดจนอาการดีขึ้น เรื่อยๆ ทุกวันนี้หายขาด เดินเหินได้คล่องแคล่วปกติดี ป้าเลื่อนเล่าว่า ช่วงที่ป่วยนั้น เป็นช่วงเวลาที่ได้มี โอกาสศึกษาร่างกายตนเองอย่างละเอียด ไล่เส้นเลือด เส้นเอ็นท ีละเส้น จนรู้ว่าทีไ่หนเชื่อมกับท ี่ไหน แล้วเวลา ปวด เวลาขดั จะรกั ษา บีบ นวด หรือด ดั อย่างไรให้อ าการ เหล่าน นั้ ห ายไป จนทกุ ว นั น กี้ ไ็ ด้น ำเอาความรทู้ ไี่ ด้จ ากการ ดูแลรักษาตนเองมาก่อน ผสมผสานกับความรู้ดั้งเดิม เกี่ยวกับการนวดที่ปู่ย่าตายายสั่งสอนมาดูแลช่วยเหลือ ผ อู้ นื่ ท มี่ กี ารการเจ็บป วดกล้ามเนือ้ เส้นเอ็นได้เป็นจ ำนวน มาก “เวลาที่ฉันนวด ก็เหมือนแม่ครัวทำกับข้าว ต้อง ดูว่ารสชาติถูกปากลูกค้าไหม และอะไรเหมาะกับใคร
1/30/12 2:33:30 PM
110 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 110
แค่ไหนยังไง ต้องใส่ใจสังเกต เหมือนเอาหัวใจไปใส่ไว้ที่ ปลายนิ้ว ไม่ใช่แค่สักแต่ว ่าบ ีบๆ คลำๆ ไปพอให้พ้นๆ” ปัจจุบันความรู้ด้านการนวดของป้าเลื่อนได้รับ การถ่ายทอดสู่เด็กและเยาวชนในพื้นที่บ้านหนองโรง จำนวนมาก ที่มีความสนใจ และให้ความสำคัญ หลาย โรงเรียนพาเด็กนักเรียนมาเรียนที่นี่เป็นฐานการเรียนรู้ นอกโรงเรียน เพื่อที่จะได้เป็นอาชีพเสริมในอนาคตได้ ป้าเลือ่ นภมู ใิ จมากทไี่ ด้ถ า่ ยทอดความรสู้ เู่ ด็กร นุ่ ห ลัง เพือ่ ที่ความรู้จะได้คงอยู่ต่อไป ไม่ตายไปกับต ัว ความเป็นค นชา่ งจดชา่ งจำและชา่ งสงั เกตทำให้ป า้ เลื่อน ยังสามารถเย็บกระโปรงจากซองขนมซองกาแฟ ได้ โดยจำวิธีการเย็บมาจากที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งทาง ภาคเหนือ
1/30/12 2:33:36 PM
�������.indd 111
นทธี ศศิวิมล 111
“ไอ้ตัวแรกนะ ใครมาขอซื้อตัวล ะพันยังไม่ข ายเลย มันเย็บยาก เพราะเรายังหัดอ ยู่ไง ยังไม่รู้วิธเีย็บ แต่ทีนี้ พอคล่องล่ะ ตัวละร้อยเท่านั้นแหละ” ป้าเลื่อนพูดพลาง หัวเราะ กระโปรงเหล่าน พี้ วกคณ ุ ครูช อบซอื้ ไปไว้ให้น กั เรียน ใส่แสดงงานโรงเรียน และเป็นตัวอย่างในการหัดเย็บ ด้วย ฝากสำหรับผู้ที่ต้องการไปใช้บริการนวดจากป้า เลื่อน เช็คปฏิทินดูสักนิดก่อนไป เพราะหากตรงวันพระ ป้าเลื่อนจะปิดท ำการ เดี๋ยวจะคลาดกันได้ ก่อนกลับแวะเพิงด้านหน้าบ้านป้าเลื่อน ลูกชาย ของป้าเลื่อน พี่เฉลา วิเศษสิงห์ กำลังนำเสนอสินค้า จากป่าชุมชน นั่นคือพวงกุญแจนกและมดประดิษฐ์จาก เม็ดมะค่าโมง แต่งด ้วยกะลามะพร้าว เติมตาหน่อย ทา แชลแล็ค นิด ก็อ อกมานา่ ร กั น า่ เอ็นดูอ ย่างในภาพ ติดพ วง กุญแจเข้าไปก็เป็นของใช้ของฝากที่น่าเอ็นดูสุดๆ ราคา แค่ตัวละ 10 บาทเท่านั้นเอง ถูกมาก ซื้อเหมาไปแจก เพื่อนๆ ได้สบาย นอกจากนยี้ งั ม โี คมไฟจากกะลามะพร้าว ของเหลือ ใช้ในครัวเรือน ทีพ่ เี่ ขานำมาแปลงรา่ งใหม่จ นสวยหรูไม่แ พ้ ของยี่ห้อบนชั้นวางในห้าง ดังๆ วางประดับใช้งานในบ้าน ก็เก๋ ไม่ซ้ำใครแน่นอน
1/30/12 2:33:37 PM
112 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 112
15 รายได้-เงินอ อม=รายจ่าย 1/30/12 2:33:44 PM
�������.indd 113
นทธี ศศิวิมล 113
1/30/12 2:33:51 PM
114 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 114
เป็นสูตรจำง่ายๆ สำหรับก ารเป็นเศรษฐี ที่ทางธนาคาร หมู่บ้านวังรัก หรือสถาบันจ ัดการเงินทุนชุมชนบ้านวังรัก มอบให้กับชุมชนหนองโรง อย่างที่ท่านนายกฯนะจ๊ะกล่าวไว้ในบทสัมภาษณ์ ว่าชุมชนแห่งนี้เด่นในเรื่องของการดูแลกันและกันเอง พึง่ ต นเองกอ่ นทจี่ ะเรียกรอ้ งความชว่ ยเหลือจ ากรฐั ดังน นั้ เมื่อคนในชุมชนประสบปัญหาด้านการเงิน จึงช่วยกัน ร ะดมค วามคิ ด เ พื่ อ แ ก้ ปั ญ หา และศึ ก ษาห าความรู้ ด้านการเงินการออม จนในที่สุดธนาคารแห่งนี้ก็ถือ กำเนิดขึ้น เริม่ จ ากสำนักงานเร่งรัดพ ฒ ั นาชมุ ชนชนบทจงั หวัด กาญจนบุรี ได้พาแกนนำหมู่บ้านไปศึกษาดงู านด้านการ เงินในชมุ ชนตวั อย่างหลายแห่ง จนแกนนำเกิดแ นวความ คิดอ ยากนำมาปรับใช้เพือ่ แ ก้ป ญ ั หาการเงินท เี่ คยคยุ ก นั ใน ชุมชน จึงก่อตั้งธนาคารหมู่บ้านวังรักขึ้น มีการฝากเงิน และให้กู้ยืม รูปแบบคล้ายธนาคาร มีดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยเงินกู้ ชาวบ้านก็ให้ความสนใจและเข้าร่วมเป็น อย่างดี เพราะสะดวก ไม่ต อ้ งเดินท างไปไกลถงึ ต วั จ งั หวัด ตัวอำเภอ ขั้นตอนก็ไม่ยุ่งยาก ไม่เสียเวลาทำมาหากิน แล้วยังทำให้เกิดเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บ้านด้วย จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2552 ธนาคารหมู่บ้านวังรัก ก็ ยกระดับเป็นสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนบ้านวังรัก
1/30/12 2:33:52 PM
�������.indd 115
นทธี ศศิวิมล 115
จนถึงปัจจุบัน ระเบียบปฏิบัติง่ายๆ ของธนาคารหมู่บ้านวังรัก 11 ข้อ ที่อ า่ นแล้วเข้าใจงา่ ยไม่ซ บั ซ อ้ น เน้นค วามซอื่ สัตย์ จริงใจและเชื่อใจกันของคนในชุมชน 1. ธนาคารหมูบ่ า้ นวงั ร กั เปิดโอกาสให้ห มู่ 12 และบคุ คล ภายนอกเข้ามาเป็นสมาชิกได้ 2. กรณีถ อนเงิน ถ้าม เี งินก คู้ า้ งอยูจ่ ะถอนเงินไม่ได้ ยกเว้น ต้องมีเงินในบัญชีเงินฝากไม่น้อยกว่าค รึ่งหนึ่งข องเงินก ู้ 3. การกเู้ งิน กูไ้ ด้ 2 เท่าข องเงินฝ าก แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (หนึ่งแสนบาทถ้วน) 4. สมาชิกเข้าใหม่ต้องเป็นสมาชิกอย่างน้อย 6 เดือน ขึ้นไปจะมสี ิทธิ์กู้เงินได้ 5. ในกรณีก เู้งินต้องมีผู้ค้ำประกันอ ย่างน้อย 2 คน ผูค้ ้ำ ประกันต้องมีสถานภาพอย่างน้อยเท่าผ ู้กู้ และพร้อมจะ ใช้หนี้แทนผู้กู้ กรณีผ ู้กู้ไม่สามารถใช้คืนได้ 6. ผู้กู้ต้องส่งดอกเบี้ยทุกเดือน แต่ถ้าผู้กู้ กู้เงินไปแล้ว 5 เดือนไม่นำเงินต้นมาส่งจะต้องถูกปรับดอกเบี้ยจาก ร้อยละ 1 บาท เป็น 1.50 บาท 7. ผู้ใดที่กู้เงินเกินหุ้นคิดด อกเบี้ย 1.50 บาท ตั้งแต่เดือน ก.ค. 2550 เป็นต้นไป 8. ผู้ใดกู้เงินแล้วต้องให้คณะกรรมการตามทวงถามถึง 3 ครั้งจะถูกตัดส ิทธิด้านสวัสดิการทุกอย่าง
1/30/12 2:33:53 PM
116 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 116
9. หลักฐานในการกู้ ผู้กู้และผู้ค้ำประกันต้องนำสำเนา ทะเบียนบ้านและสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนมา ประกอบหลักฐานคนละ 1 ชุด 10. การกู้ การถอน ส่งดอกเบี้ย คณะกรรมการจะให้ บริการในวันที่ 9 ของทุกเดือนเท่านั้น 11. กรณีย กเว้นแ ต่ส มาชิกก เู้ งินส ง่ ธ นาคารเพือ่ ก ารเกษตร และสหกรณ์ก ารเกษตร (ธกส.)/กองทุนห มูบ่ า้ น หรือง าน พิธีการต่างๆ ให้สมาชิก นอกจากธนาคารหมู่บ้านแล้ว ที่หนองโรงยังมี ร้านค้าศูนย์สาธิตการตลาด สำหรับขายสินค้าที่ผลิตใน ชุมชนให้กับคนในและนอกชุมชน โดยจัดการเป็นระบบ สหกรณ์ มีการทำการตลาดร่วมกัน และมีเงินปันผลให้ กับสมาชิกในทุกปี เป็นตัวอย่างการจัดการด้านการเงิน ของคนในชุมชนที่เป็นรูปธรรม และพึ่งพาตนเองได้ อย่างแท้จริง
1/30/12 2:33:54 PM
�������.indd 117
นทธี ศศิวิมล 117
1/30/12 2:33:54 PM
118 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 118
16 รำเหย่ย
1/30/12 2:34:02 PM
�������.indd 119
นทธี ศศิวิมล 119
คืนก อ่ นเดินท างกลับ เราได้ม โี อกาสได้ช มการละเล่น โบราณทที่ างชมุ ชนจดั ไว้ให้ผ มู้ าเยือนได้ช มกนั เป็นข วัญตา ชื่อการละเล่นนี้ไม่เคยคุ้นหูมาก่อน นั่นคือ รำเหย่ย เป็นประเพณีดั้งเดิมของคนตำบลหนองโรง โดย นิยมละเล่นในช่วงเทศกาลหรืองานรื่นเริงต่างๆ เพื่อ ผ่อนคลาย สร้างความสนุกสนาน หนุ่มสาวมีโอกาสได้ ร้องเกี้ยวกัน การละเล่นรำเหย่ยได้รับความนิยมเนื่องจากไม่ ค่อยมีการละเล่นที่เล่นในเวลากลางคืน ประกอบกับ เป็นการละเล่นที่ไม่ต้องใช้เครื่องดนตรีที่ยุ่งยาก อาจใช้ เพียงแค่กลองยาวเพื่อเพิ่มความครึกครื้น สนุกสนาน หรือใช้เครื่องกำกับจังหวะเพียงชิ้นเดียว หรืออาจใช้ วิธีปรบมือแทนก็ได้ สมัยก่อนจะเป็นการเล่นสด (ด้น กลอนสด) ปัจจุบันมักต้องเตรียมบทไว้ก่อน ทั้งนี้ชาว ตำบลหนองโรงให้ค วามสำคัญก บั ก ารละเล่นร ำเหย่ย โดย สนับสนุนให้ม กี ารถา่ ยทอดสกู่ ลุม่ เด็กแ ละเยาวชน รวมถงึ ให้ม กี ารฝกึ ซ อ้ มเพือ่ เล่นในเทศกาลตา่ งๆ ตลอดจนสง่ เข้า ประกวดจนได้ร ับร างวัลต่างๆ มากมาย การเล่นรำเหย่ยนี้ สามารถร้องเล่นด้วยกันได้ไม่ จำกัดเพศและวัย อย่างคืนนี้เด็กสาวในภาพก็ร้องเล่น กับคุณตาได้อย่างสนุกสนาน เข้ากั๊นเข้ากัน ดูไปยิ้มไป ขำไปเพลินดี
1/30/12 2:34:02 PM
120 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 120
พีส่ าวผนู้ ำเทีย่ วเล่าให้ฟ งั ร ะหว่างชมวา่ การละเล่น รำเหย่ย น ี้ เป็นการละเล่นแ ต่โบราณ แต่ท ยี่ งั ค งอยูไ่ ด้ถ งึ ท กุ วันนี้ก็ด้วยการอนุรักษ์และสนับสนุนจากสภาวัฒนธรรม ตำบลหนองโรง ซึ่งมี นายเสริม ไคลมี เป็นประธานสภา สภาวัฒนธรรมฯจะทำหน้าที่เป็นกลไกหลักในการฟื้นฟู รักษาประเพณีวัฒนธรรมอันดีของตำบลหนองโรง โดย จะมกี ารประชุมต่อเนื่อง และรับผ ิดชอบการจัดกิจกรรม ฟืน้ ฟูป ระเพณีแ ละการละเล่นต า่ งๆ อย่างสม่ำเสมอ โดย ได้รับการสนับสนุนการดำเนินงานจากองค์การบริหาร ส่วนตำบลหนองโรงและวัฒนธรรมจังหวัด ยังมีวัฒนธรรมท้องถิ่นอีกหลายรายการ ที่สภา วัฒนธรรมตำบลได้อนุรักษ์ไว้ ดังนี้
ประเพณีร่อยพรรษา เป็ น ป ระเพณี ที่ สื บ ทอดกั น ม าแ ต่ โ บราณเ พื่ อ เป็นการเชิญชวนและกระตุ้นให้คนในตำบลมาร่วมกัน ทำบุญ โดยจะมีการรวมตัวกันเดินไปบอกบุญตามบ้าน และมีการร้องเพลง เพื่อเชิญชวนให้คนทำบุญไม่ว่าจะ เป็นเงินหรือสิ่งของ โดยไม่ใช้เครื่องดนตรีแต่จะใช้การ ปรบมือเพื่อให้จังหวะ ทั้งนี้ประเพณีร่อยพรรษาจะเริ่ม ตั้งแต่ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 จนถึง ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 และเมื่อถึงวันออกพรรษาก็จะนำเงินและสิ่งของทั้งหมด
1/30/12 2:34:03 PM
�������.indd 121
นทธี ศศิวิมล 121
ที่ได้ไปทำบุญที่วัด
การทำขวัญข้าว ขวัญย ุ้ง ขวัญล าน เป็นประเพณีสำคัญของชาวนาที่สืบทอดมาแต่ โบราณซึ่งจะกระทำกันในช่วงที่ข้าวตั้งท้อง เพื่อเป็นการ ขอบคุณแม่โพสพที่ให้ความอุดมสมบูรณ์แก่ผืนนา มี ความเชื่อว่าถ้าได้มีการทำขวัญข้าวจะไม่ทำให้เมล็ดข้าว ล้ม ไม่มหี นอนและสัตว์ต่างๆ มากัดกินต้นข้าว ทำให้ ได้ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ เมื่อข้าวสุกดีแล้วก็นำไปไว้ที่ ลานเพื่อรอการนวดซึ่งก็จะมีการขวัญลาน และเมื่อ นวดข้าวเสร็จแล้ว ก็จะกำหนดวันนำข้าว ขึ้นยุ้งซึ่งชาวบ้าน ก็จ ะมารว่ มทำขวัญ ข้ า วร้ อ งเ พลง ทำขวั ญ แ ม่ โ พสพ เรียกวา่ ‘ขวัญยงุ้ ’
1/30/12 2:34:08 PM
122 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 122
การรำกลองยาว เป็ น ป ระเพณี ที่ นิ ย มเ ล่ น กั น เ นื่ อ งจากจั ง หวะ สนุกสนานเล่นง่าย นิยมนำไปแสดงในงานรื่นเริง เช่น ขบวนแห่น าค แห่ผ า้ ป่า กฐิน งานฉลอง ขบวนขนั หมาก มี เครือ่ งดนตรีป ระกอบดว้ ยกลองยาวหลายขนาด ซึง่ จ ะให้ เสียงตา่ งกนั อ อกไป มีเครือ่ งประกอบจงั ห วะอนื่ ๆ เช่น ฉิง่ ฉาบ กรับ โหม่ง และปชี่ วาการโห่ร้อง การรำกลองยาว ก่อนจะเริม่ บ รรเลงจะมกี ารโห่ส ามลา โยผนู้ ำวงจะโห่ย าว และลูกคู่จะต้องรับด้วยคำว่า ฮิ้ว
เพลงเต้นกำรำเคียว เป็นการแสดงพื้นเมืองที่เก่าแก่ของชาวบ้านซึ่งมี อาชีพทำนาเป็นหลัก และด้วยนิสัยรักสนุกกับการเป็น เจ้าบ ทเจ้าก ลอน จึงได้เกิดก ารเต้นก ำรำเคียว ในเนือ้ เพลง จะสะท้อนให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้าน โดย ในมือของผู้รำข้างหนึ่งจะถือเคียวอีกข้างหนึ่งถือข้าว ที่เกี่ยวแล้ว และจะเล่นกันในฤดูเกี่ยวข้าว จะมีผู้เล่น ประมาณ 5 คู่ แบ่งผู้เล่นเป็นสองฝ่าย ฝ่ายชายเรียกว่า พ่อเพลง ฝ่ายหญิงเรียกว่าแม่เพลง
1/30/12 2:34:09 PM
�������.indd 123
นทธี ศศิวิมล 123
เพลงพวงมาลัย มีก ารสบื ทอดหลายชว่ั อ ายุค นโดยเป็นเพลงพน้ื บ า้ น ชนิดหนึ่งเชื่อกันว่ามาจากความเป็นคนเจ้าบทเจ้ากลอน ของคนไทย ซึง่ น ยิ มพดู ให้ค ล้องจองกนั มักน ยิ มเล่นง าน ประเพณีต รุษส งกรานต์ ซึง่ บ รรดาหนุม่ สาว ผูใ้ หญ่ และ เด็กต า่ งมารว่ มสนุก เพลงพวงมาลัยย งั น ยิ มขบั ร อ้ งกนั ใน นาข้าวไม่ว่าจะเป็นตอนเริ่มหว่านไถจนถึงการเก็บเกี่ยว โดยนิยมขับร้องเพื่อเป็นการผ่อนคลายความตึงเครียด จากการทำงาน ก่อนเดินทางกลับ เราถามพี่เอ๋ บุณฑริก ว่า อยาก ให้เราเล่าถึงสิ่งไหนในหนองโรงเป็นพิเศษหรือไม่ เพื่อ จะได้เป็นประโยชน์ในการเผยแพร่ข่าวสารของคนที่นี่ให้
1/30/12 2:34:17 PM
124 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 124
คนภายนอกได้ร บั ร ู้ พีเ่ อ๋ส า่ ยหน้าย มิ้ ๆ ตอบแบบเหน่อน ดิ ๆ เสียงใสๆ จริงใจแบบคนหนองโรงว่า “ไม่มหี รอก ถ้าจ ะเขียนกเ็ ขียนถงึ น ำ้ ใจคนหนองโรง บ้างก็แล้วกัน”
1/30/12 2:34:25 PM
�������.indd 125
นทธี ศศิวิมล 125
1/30/12 2:34:32 PM
126 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
�������.indd 126
1/30/12 2:34:48 PM
�������.indd 127
นทธี ศศิวิมล 127
1/30/12 2:34:59 PM
�������.indd 128
1/30/12 2:35:01 PM