บ่อแร่

Page 1



º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ


Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ บ่อแร่ พอเพียง พอดี เรื่องและภาพ ภาพประกอบ ปกและรูปเล่ม พิสูจนอักษร

วุฐิศานติ์ จันทร์วิบูล สมคิด ระวังพรมราช, ชาวาร์ เกษมสุข หนวดเสือ ทีมงานเสือกระดาษ

พิมพครั้งที่ 1 มีนาคม 2556 เลข ISBN บรรณาธิการอํานวยการ ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยส�านักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3)

จัดพิมพและเผยแพร่โดย

อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org


“¶ŒÒÁÒº‹ÍáË ˹٠¨Ð¾Òä»à·ÕèÂÇ·Ø‹§¹Ò เพราะคนที่นี่ ʋǹãËÞ‹ÁÕÍÒªÕ¾·íÒ¹Ò áµ‹Ë¹Ù¨Ð¾Òä»´Ù ¹Ò¢Í§âçàÃÕ¹ ໚¹¹Ò·Õè¾Ç¡àÃÒ·íҡѹàͧ ¾Ç¡Ë¹Ùª‹Ç¡ѹµÑé§áµ‹àÃÔèÁ´íÒ¹Ò ª‹Ç¡ѹ ´ÙáŨ¹¡ÃзÑ觪‹Ç¡ѹà¡ÕèÂÇ¢ŒÒÇ”

´.Þ. »ÒÃÔªÒµÔ ÄÒªÒ¡ØÅ ÍÒÂØ ñó »‚ ªÑé¹ Á.ò âçàÃÕ¹ÇÑ´º‹ÍáË (ÊÁÒªÔ¡¡ÅØ‹ÁµŒ¹¡ÅŒÒ)

ด�ำเนินกำรผลิตโดย


ค�ำน�ำ ท่ามกลางกระแสวิกฤติเศรษฐกิจโลกครั้งใหญ่เป็น ประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปีท�าให้เกิดการตั้งค�าถามว่า วิกฤตินี้จะใหญ่ขึ้นอีกเพียงใด จะยืดเยื้อขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ชุมชนหมู่บ้านไทย มากน้อยเพียงใด ความวิตกดังกล่าวอาจจะไม่เกิดขึ้นเลย หากปัจจุบันชุมชนหมู่บ้านไทยไม่ถูกลากเข้าสู่ระบบการ ผลิตเพื่อขาย นั ก วิ ช าการหลาย ๆ ท่ า นได้ วิ เ คราะห์ ถึ ง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยว่า ในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบด�ารงอยู่ในลักษณะคู่ขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรืออาจจะกล่าวเป็นศัพท์สมัยใหม่ได้ว่า ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมู่บ้านจะมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย เน้น ความพอเพียง มีครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต การช่วย เหลือซึง่ กันและกัน มีนา�้ ใจเป็นพืน้ ฐานของชีวติ มีพธิ กี รรม ต่าง ๆ เป็นระบบการจัดการในชุมชน และให้ความส�าคัญ ของบรรพบุรุษ ผู้เฒ่าผู้แก่ ครอบครัว ต่ อ มาหลั ง จากรั ฐ และระบบทุ น นิ ย มได้ เ ข้ า ไปมี อิทธิพลต่อชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม


ท�าให้ชาวบ้านมีรายจ่ายที่เป็นตัวเงินมากขึ้น เพียงเท่านั้น ยังไม่พอ สิ่งที่ท�าลายความเข้มแข็งของชุมชนมากที่สุดคือ รัฐและทุนเข้าไปถ่ายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชนหมูบ่ า้ น ยิ่ ง รั ฐ และทุ น เข้ า ไปกอบโกยมากเท่ า ไร ชุ ม ชน หมู่บ้านไทยยิ่งประสบความอ่อนแอ ค�าพูดดังกล่าวไม่ใช่ ค�าพูดลอย ๆ ที่ไม่มีหลักฐานรองรับ หากแต่เมื่อกวาดตา ไปทั่วแผ่นดินไทยหลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากว่า 40 ปี จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชนไม่ ประสบปัญหาความยากจน ไม่ประสบปัญหาสิ่งแวดล้อม หรือไม่ประสบปัญหาสุขภาพ จากสถานการณ์ ดั ง กล่ า ว ถึ ง เวลาแล้ ว หรื อ ยั ง ที่ สั ง คมไทยควรกลับมาเน้นการพัฒนาที่ไ ม่ มองแต่ มิติ ประสิทธิภาพ การสร้างมูลค่าและก�าไร หรือการตลาด ด้านเดียว แต่ควรจะเป็นเพือ่ ประโยชน์ของชุมชนและสังคม เราไม่ควรลดทอนผู้คนลงไปเป็นเพียงตัวเลข หาก ควรเป็นเพื่อส่งเสริมศักยภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ค�าตอบส�าหรับค�าถามข้างต้นนีค้ งจะต้องช่วยกันค้นหา ไม่ ว่าจะใช้ระยะเวลานานเท่าไร คณะผู้จัดท�า



วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 9

๑ แรกพบ...บ่อแร่ ยามเช้าในวันปลายฤดูฝนต่อต้นฤดูหนาว ฟ้า ฝนไม่ตกมาหลายวันแล้ว ปล่อยให้สายลมบางเบาแห่ง ฤดูหนาวโบยบินเหนือทิวทุ่งข้าวสองข้างทาง เมล็ด ข้าวอวบอิ่มสีเขียวเต็มรวงโน้มต้นข้าวจนเอนโค้ง แต่ ไม่ถึงกับลาญราบลงกับพื้น ยากต่อการเก็บเกี่ยว ยามเมื่อสายลมพัดผ่าน รวงต่อรวงเสียดส่ายไหวเอน ไปมาราวกับเริงระบ�า ถัดไปอีกท้องทุ่ง รวงข้าวเริ่มเหลืองอร่ามรอ คอยการเก็บเกี่ยวที่ก�าลังจะมาถึง ถัดไปอีกคือท้องทุ่ง ที่ผ่านการเก็บเกี่ยวแล้ว มองเห็นแต่ตอซังข้าวรกร้าง ระเกะระกะ ข้ามไปอีกฟากถนน ชาวนาเริ่มลงเรี่ยว ลงแรงไถพรวนอีกคราครัง้ หลังการเก็บเกีย่ ว นีย้ งั ไม่นบั รวมอีกหลายแปลงนาที่มองเห็นกล้าข้าวสีเขียวระบัด ระบายส่ายไหวอยู่ในสายลม ท�าให้ข้าพเจ้านึกถึงค�า พูดบางถ้อยความที่กล่าวว่า ‘ใครที่อยากเรียนรู้การ


10 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ปลูกข้าวท�านาให้ครบถ้วนทั้งระบบ ให้มาดูได้ที่ ท้องทุ่งภาคกลาง’ ด้วยเหตุว่าพื้นที่ภาคกลางมี น�า้ ท่าอุดมสมบูรณ์ ทัง้ ยังมีระบบชลประทานช่วย ให้สามารถท�านาได้ตลอดทั้งปี ต่างจากที่ที่เรา ก�าลังจะไปถึง ต�าบลบ่อแร่ สมเกียรติ สุบินมิตร์ พนักงานขับรถของ อบต.บ่อแร่ ขับรถพาข้าพเจ้าออกจากตัวเมือง อุทัยธานี ผ่านเขตอ�าเภอหนองขาหย่าง จังหวัด อุทัยธานี มุ่งหน้าเข้าสู่ต�าบลบ่อแร่ อ�าเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท “ข้ามสะพานนั่นไปก็เข้าเขตต�าบลบ่อแร่ แล้ว” พี่สมเกียรติเอ่ยขณะมองเห็นสะพานข้าม ล�าห้วยขุนแก้วอยู่เบื้องหน้า ล�าห้วยนี้เป็นเส้น แบ่งเขตแดนระหว่างจังหวัดอุทยั ธานีกบั จังหวัดชัยนาท และเป็นล�าน�า้ เพียงสายเดียวทีไ่ หลมาหล่อเลีย้ งผูค้ นใน ต�าบลบ่อแร่ ถัดจากสะพานไปเล็กน้อยคือวัดดอนปอ หรือวัดราษฎร์นิธิยาวาส สร้างราวปี พ.ศ. 2418 กล่าว กันว่า ในอดีตบริเวณนีเ้ คยเป็นเส้นทางเดินทัพของกอง ทัพพม่า ชาวบ้านได้พยายามสร้างก�าแพงเพือ่ ต้านทาน การรุกรานคราวนัน้ แต่ปจั จุบนั ไม่หลงเหลือให้เห็นแล้ว ต�าบลบ่อแร่มีเนื้อที่ประมาณ 30.44 ตาราง กิโลเมตร หรือ 15,869.71 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบ


ลุ ่ ม สลั บ ที่ ด อน มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป กระทะคว�่ า พื้ น ดิ น เป็ น ดิ น ร่ ว นปนทราย มี แ หล่ ง น�้ า ที่ ส� า คั ญ คื อ ล�าห้วยขุนแก้ว ซึ่งไหลมาจากอ่างเก็บน�้าห้วยขุนแก้ว อ�าเภอห้วยคต จังหวัดอุทยั ธานี เป็นเหตุให้คนในต�าบล บ่อแร่ไม่สามารถใช้นา�้ ได้อย่างเต็มที่ เพราะพืน้ ทีอ่ ยูห่ า่ ง ไกล ประกอบกับการไม่มีระบบชลประทานภายใน ต�าบล ท�าให้ต้องท�านาโดยอาศัยน�้าฝน ชาวบ้านจึงท�า นาได้เพียงปีละหนึง่ ครัง้ เท่านัน้ ด้วยเหตุนี้ คนในต�าบล จึงขุดบ่อน�้า หรือสระน�้าเพื่อเก็บน�้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง


12 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

“สมัยก่อนบ่อแร่เป็นหมู่บ้านที่อุดมสมบูรณ์ ใน น�้ามีปลา ในนามีข้าว ชาวบ้านท�านาได้ปีละครั้ง เป็น นาแบบน�้าฝน แต่ก็ไม่เดือดร้อน ไม่เคยขาดแคลนน�้า เพราะชาวบ้านขุดบ่อน�้าไว้ใช้ในหน้าแล้ง” นายศักดา กิ่มเกิด นายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลบ่อแร่ กล่าวก่อนเอ่ยเล่าถึงความเป็นมาของ ต�าบลบ่อแร่ให้ฟังว่า “ที่มาของค�าว่า ‘บ่อแร่’ ต้องย้อน กลับไปเมื่อประมาณ 150 ปีก่อน...” เมื่ อ ประมาณ 150 ปี ก ่ อ น ต� า บลบ่ อ แร่ เป็ น เพี ย งหมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ มี ผู ้ ค นอาศั ย อยู ่ ไ ม่ กี่หลังคาเรือน พื้นที่ส่วนใหญ่ น เป็นทุ่งหญ้า าบ ่ม ชาวบ้านยึดอาชีพ ป่าโปร่งและที่ราบลุ การท�าเกษตร ท�าไร่ ท�านา เป็นหลัก ต่อมาไม่นาน ชาว ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งจาก ต�าบลหนองบัวซึง่ อยูใ่ กล้เคียงได้อพยพ โยกย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานเพิ่มเติม เมื่ อ มี ค นมาก น�้ า ท่ า ที่ เ คยมี จึ ง ไม่ พอใช้ ชาวบ้านจึงชักชวนกันขุด ลอกหนองน�้าเล็ก ๆ ในหมู่บ้านให้ กว้างและลึกมากขึ้น ขณะขุดได้ พบหินก้อนหนึ่ง ลักษณะแปลก ตา แตกต่ า งจากหิ น ทั่ ว ๆ ไป ¹Ò¡ ͺµ. ÈÑ¡´Ò ¡ÔèÁà¡Ô´



14 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ต่างลงความเห็นว่าเป็นหินแร่ จึงช่วยกันน�าขึ้นมาตั้ง ไว้เหนือบ่อน�้า แล้วตั้งชื่อหมู่บ้านว่า ‘บ้านบ่อแร่’ นับ แต่นั้นเป็นต้นมา ปัจจุบัน ชาวบ่อแร่ยังคงท�าอาชีพเกษตรกรรม เป็นหลัก โดยเฉพาะการท�านาน�้าฝน มีส่วนน้อยที่ยึด เอาการท�าสวนผลไม้ เลี้ยงสัตว์ และค้าขาย นอกจากนี้ ยังมีการท�าอุตสาหกรรมในครัวเรือนและหัตถกรรมพืน้ ถิ่นโดยใช้ทรัพยากรจากในชุมชนเป็นอาชีพเสริม เช่น การจักสาน การท�าไม้กวาด การท�าปุย๋ ชีวภาพ และ การแปรรูปอาหาร “คนในต�าบลบ่อแร่เราจะท�านาเป็นหลัก


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 15

ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ เราปลูกมันปลูกอ้อยไม่ได้ เพราะพื้นทีเ่ รามีลัลกั ษณะเป็นรูปกระทะคว�่า เป็นพื้นที่รองรับน�้า แต่ ไม่ถึงกับเป็นพื้นที่ น�้ า ท่ ว ม ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ลักษณะน�้าป่าไหลหลาก มาแล้วก็ไป” นายกฯ สาม สมัยกล่าว


àÁ×èÍÇѹ·Õè 23 ¡ØÁÀҾѹ¸ ¾.È. 2540 ÊÀÒµíҺź‹ÍáË䴌ÃѺ¡ÒûÃСÒȨѴµÑé§ Í§¤ ¡ ÒúÃÔ Ë ÒÃÊ‹ Ç ¹µí Ò ºÅº‹ Í áË ¨Ò¡¡ÃзÃǧ ÁËÒ´ä·Â µÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞѵÊÔ ÀÒµíÒºÅáÅÐͧ¤ ¡Òà ºÃÔËÒÃʋǹµíҺŠ¾.È. 2537 »˜¨¨ØºÑ¹ ¹ÒÂÈÑ¡´Ò ¡ÔèÁà¡Ô´ ä´ŒÃѺàÅ×Í¡¨Ò¡ªÒǺ‹ÍáËãˌ໚¹¹Ò¡ͧ¤ ¡Òà ºÃÔ Ë ÒÃÊ‹ Ç ¹µí Ò ºÅ໚ ¹ ÊÁÑ Â ·Õè 3 ÁÕ Ë ÁÙ ‹ º Œ Ò ¹ã¹à¢µ »¡¤Ãͧ 7 ËÁÙ‹ºŒÒ¹´ŒÇ¡ѹ ¤×Í ºŒÒ¹º‹ÍáË ºŒÒ¹ ·Ø‹§áËŒÇ ºŒÒ¹à¹Ô¹ºŒÒ¹ ºŒÒ¹´§äà ºŒÒ¹Êíҹѡ¨Ñè¹ ºŒÒ¹ ˹ͧ¨Ô¡ áÅкŒÒ¹äËˌÇ¡Ãк͡ ÃÇÁ»ÃЪҡ÷Ñé§ ÊÔé¹ 2,503 ¤¹ ¨Ò¡ 824 ¤ÃÑÇàÃ×͹


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 17



วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 19

ªÒǺ‹ÍáËʋǹãËÞ‹¹Ñº¶×ÍÈÒʹҾط¸ ªÒǺŒÒ¹¹ÔÂÁä»·íÒºØÞ·íÒ·Ò¹·ÕÇè ´Ñ ã¡ÅŒªÁØ ª¹¢Í§ µ¹ 䴌ᡋ ÇÑ´º‹ÍáË ÇÑ´´Í¹»Í ÇÑ´´§äà áÅÐ ÇѴ˹ͧ¨Ô¡ ¼ÙÊŒ §Ù ÍÒÂØÁ¡Ñ ¨Ð件×ÍÈÕÅ»¯ÔºµÑ ¸Ô ÃÃÁ ã¹Çѹ¾ÃеÅÍ´¾ÃÃÉÒ


นอกจากวัดแล้ว ชาวบ่อแร่ยังมีสิ่งคอยยึด เหนี่ยวจิตใจส�าคัญคือ ศาลเจ้าประจ�าหมู่บ้าน ตาม ที่นายกฯ ศักดาเล่าให้ฟังว่า “ในต�าบลบ่อแร่ แต่ละหมูบ่ า้ นจะมีศาลประจ�า หมู่บ้าน เพราะชาวบ้านเชื่อกันว่า การที่มีเจ้าพ่อ เจ้ า แม่ ม าปกปั ก ษ์ รั ก ษาดู แ ลจะเป็ น สิ ริ ม งคล ให้ คนในหมู่บ้านได้ใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว เพราะสมัย ก่อนกฎหมายยังเข้ามาไม่ถึง ศาลเจ้าพ่อจึงท�าหน้าที่


เป็นผู้ดูแลกฎในหมู่บ้าน ให้ชาวบ้านท�าความดี ไม่ผิด ผัวผิดเมียใคร มีความรักใคร่กลมเกลียว ไม่แตกแยก กัน คนไหนท�าไม่ดีก็เชื่อว่าจะมีผีปู่ผีย่าที่เป็นเจ้าพ่อ เจ้าแม่ลงโทษ” ด้วยเหตุนี้ เราจึงพบเห็นศาลเจ้าพ่อตัง้ ประจ�าใน แต่ละหมู่บ้าน ช่วงเทศกาลสงกรานต์จะมีการท�าบุญ ฉลองศาลเจ้าพ่อของทุกบ้าน โดยทั้งต�าบลจะมาร่วม กันท�าบุญเวียนกันไปแต่ละศาลตามวันทีก่ า� หนดเอาไว้


คุณยายบุญศรี สุตะโสม วัย 85 ปี เอ่ยเล่า บรรยากาศการท�าบุญศาลเจ้าพ่อไฟของบ้าน ส�านักจั่นให้ฟังว่า “หมู่บ้านเราจะท�าบุญศาลเจ้าพ่อ ไฟในวันที่ 13 เมษายน ช่วงสงกรานต์ เริ่ม ต้นจากผู้ใหญ่ใหญ่ แล้วท�าต่อกันมาเรื่อย ๆ ประมาณ 60-70 ปีได้ ผู้ใหญ่บ้านจะเอา ขนมเปีย๊ ะไส้หมูแดง มีไอ้เป้ น�า้ ตาลต้นทีเ่ อา มาหมักกับเปลือกมะเกลือท�าเป็นน�า้ ตาล เมา มีเหล้า มีขนมต้มขาว ต้มแดง เป็น เครื่องบวงสรวง ได้ไอ้เป้ไป ชาวบ้าน ก็เต้นร�ากันสนุกสนาน มีการตั้งหม้อ ขนมจีนเรียงเป็นแถวยาว ทั้งคนจาก บ่อแร่ หนองจิก ดงไร มาช่วยกันท�าทั้ง ต�าบลเพื่อให้มีความสมบูรณ์พูนผล”


แต่ละหมู่บ้านจะมีศาลเจ้าพ่อ ดังนี้ หมู่ที่ ๑ บ้านบ่อแร่ มีศาลเจ้าพ่อลมบน หมู่ที่ ๒ บ้านทุ่งแห้ว มีศาลหลวงพ่อจุ้ยหลวงพ่อจ้าย หมู่ที่ ๓ บ้านเนินบ้าน มีศาลเจ้าพ่อร่มขาวดาวเรือง หมู่ที่ ๔ บ้านดงไร มีศาลเจ้าพ่อช่อฟ้าพระยาฤทธิ์ หมู่ที่ ๕ บ้านส�านักจั่น มีศาลเจ้าพ่อไฟ หมู่ที่ ๖ บ้านหนองจิก มีศาลเจ้าพ่อเมืองคง หมู่ที่ ๗ บ้านไร่ห้วยกระบอก แยกออกมาจาก บ้านบ่อแร่ในภายหลัง จึงไม่มีศาลเจ้าพ่อ


ËÑÇ㨢ͧ¤¹ ͺµ. อบต.บ่อแร่ มีการสร้างวัฒนธรรมองค์กรซึ่งมี ส่วนส�าคัญในการบริหารจัดการภายในองค์กร นายกฯ ศักดา กิ่มเกิด บอกว่า บ่อแร่จะเน้นความ สามัคคีเป็นน�้าหนึ่งใจเดียวกัน อยู่ร่วมกันแบบพี่น้อง มี ความเป็นกันเอง รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมงาน แบบคนในครอบครัว มีการจัดเวรให้สมาชิกรับผิดชอบ ในแต่ละวันหมุนเวียนกันไปส�าหรับให้บริการประชาชน ทีเ่ ข้ามาติดต่อราชการ รวมถึงการจัดอาหารกลางวันไว้ ส�าหรับรับประทานร่วมกัน


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 25

“การกินข้าวกลางวันร่วมกัน ผมว่าดีมาก มีทกุ ข์ มีสขุ อะไร เรากินข้าวหม้อเดียวกัน อย่างน้อยเราจะไม่มี ความขัดแย้งกัน ไม่มกี ารแบ่งสีแบ่งฝ่าย การท�างาน เรา จะมาคุยกันก่อนลงมือท�างาน ก็อาศัยช่วงเวลาพักกิน ข้าวนีแ่ หละในการพูดคุยปรึกษากันเพือ่ คิดแก้ปญ ั หา ให้ชาวบ้าน”


26 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ต�าบลบ่อแร่ใช้การบริหารจัดการโดยยึดหลักการ ให้ ค วามส� า คั ญ กั บ ประชาชนเป็ น ล� า ดั บ แรก ตาม สโลแกนที่ว่า ‘ความทุกข์ของประชาชนคือความทุกข์ ของ อบต.’ และเตรียมพร้อมอยูต่ ลอดเวลาเพือ่ ให้ความ ช่วยเหลือประชาชนอย่างทันท่วงที นายก อบต.บ่อแร่ อธิบายว่า “ถ้าประชาชนเดือดร้อน เราซึ่งเป็นตัวแทนของ พี่น้องประชาชน เราก็ต้องเดือดร้อนด้วย เราก็ต้องวิ่ง เพือ่ หาหนทางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของชาวบ้าน จะช้าจะเร็วก็ต้องแก้ปัญหาให้ได้ ผมมักบอกสมาชิก และเจ้าหน้าทีท่ กุ คนว่า ‘เราอาสามารับใช้เขานะ เขาไม่ ได้บงั คับเรา เราก็ตอ้ งรับใช้พนี่ อ้ งประชาชนให้เต็มทีเ่ ต็ม รูปแบบ’ นี่เป็นหัวใจหลักในการท�างาน เพราะสมาชิก จะได้รู้ว่าความทุกข์ของพี่น้องประชาชนคือความทุกข์ ของเรา คือความทุกข์ของเจ้าหน้าที่ “เวลาท�างานกับชาวบ้าน ผมจะใช้วิธีการท�า ประชาคม ขอความคิดเห็นจากชาวบ้าน รับฟังว่าเขา ต้องการอะไร มีความเดือดร้อนเร่งด่วนเรื่องไหน แล้ว ค่อยมาจัดล�าดับความส�าคัญก่อนหลังเพือ่ คิดแก้ปญ ั หา โดยไม่แบ่งแยก ใครเดือดร้อนเราก็ท�าไปตามที่เราช่วย ได้ ปกติผมจะเข้าไปท�าประชาคมทุกหมู่บ้าน ปีละสอง สามครั้ง ก่อนจะมาท�าแผนปฏิบัติงาน” นายกฯ ศักดา


กล่าว

ส�าหรับปัญหาหลักเรื่องการขาดแคลนน�้าของ บ่อแร่ ดินแดนที่ถูกขนานนามว่าอีสานของชัยนาทนั้น “เรารู้ว่าบ่อแร่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลนน�้า พอผมมาเป็นนายกฯ เราเห็นว่าบ่อแร่มีล�าห้วยล�าธาร เก่า ตื้นเขิน ผมจึงของบประมาณมาท�าการขุดลอก แต่ก็ต้องฟังเสียงชาวบ้านด้วยนะ เขาอยากได้ถนน เรา


28 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ก็ขุดดินขึ้นมาท�าเป็นคันดิน เป็นถนนให้รถได้สัญจร เขาอยากได้คูคลอง อยากได้ที่กักเก็บน�้า เราไม่มีที่ สาธารณะ ก็ใช้ล�าห้วยล�าธาร ขุดลอกเป็นคลองเพื่อ ป้องกันน�้าท่วม เพื่อให้น�้าไหลได้สะดวก ช่วงแล้งเราก็ กักเก็บน�้าเอาไว้ใช้ โดยประสานกับทางชลประทานให้ เขามาดูแลเรื่องการท�าฝาย ถึงตอนนี้ก็ดีขึ้นมากแล้ว” ในช่วงไม่กปี่ มี านี้ ข้าวเปลือกเริม่ มีราคาดี มีการ รับประกันราคาจากรัฐบาล ชาวนาหลายคนในต�าบล จึงเริม่ ขยับจากการท�านาโดยอาศัยน�า้ ฝนปีละครัง้ มา


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 29

เป็นการท�านาปีละ 2 ครัง้ บ่อแร่เริม่ หันมาท�านาปรังเมือ่ ประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา โดยเปลี่ยนมาเป็นการปลูก ข้าวอายุสั้นแทนข้าวแบบไวแสง “เราเคยไปเห็นบ้านอืน่ เขาปลูกข้าวพันธุ์ กข. กัน ได้ เราก็มาท�าประชาคมกับชาวบ้าน ชวนชาวบ้านมา เปลีย่ นวิธกี ารท�านาเป็นนาปรังเหมือนต�าบลข้างเคียง ประมาณ 105 วัน ก็สามารถเก็บเกี่ยวได้ เกษตรเขาก็ มาแนะน�าหาพันธุ์ข้าวมาให้ หมอดินก็เข้ามาดูแลเรื่อง การบ�ารุงดิน ปรับปรุงดินจนสามารถปลูกข้าวพันธุน์ ไี้ ด้



วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 31

ชาวบ้านเริ่มลืมตาอ้าปากได้บ้าง แต่ก่อนท�านากัน ถ้า ไม่น�้าท่วมก็ตายแล้ง แต่ปัจจุบันไม่ค่อยมีตายแล้งเท่า ไหร่ เพราะเราปลูกข้าวอายุสั้น อยู่ที่รอบสองนี่แหละ ที่ชาวบ้านเขาจะดูธรรมชาติเองว่าควรท�าหรือไม่ท�า” ส�าหรับโครงการวิถีชีวิตชุมชนท้องถิ่นเพื่อร่วม ขับเคลื่อนเครือข่ายต�าบลน่าอยู่ซึ่งได้รับการสนับสนุน จากส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) นั้น นายกฯ ศักดา กิ่มเกิด เล่าผ่านความรู้สึกว่า “การได้มาร่วมโครงการนี้ท�าให้เราได้รู้จักเพื่อน มากขึ้น ได้รู้ว่าต�าบลอื่นเขาท�าอะไรที่น่าสนใจ เราก็ไป เรียนรูจ้ ากเขาแล้วเอามาปรับปรุงของเราให้ดขี นึ้ เพราะ เราสนใจเรื่องพวกนี้อยู่แล้ว และเหมือนเป็นการพิสูจน์ ต�าบลบ่อแร่ของเราว่า เรามีอะไรดี ๆ ทีค่ นอืน่ อยากรูจ้ กั เราก็ไปถ่ายทอดให้ต�าบลอื่น โดยที่เราก็ไปเรียนรู้จาก เขาด้วยเหมือนกัน ผมคิดว่ามันเป็นการเชื่อมโยงที่ดี แล้วท�าให้เรามีความรักใคร่ผูกพันกัน แบบพี่สอนน้อง น้องสอนพี่ มีอะไรก็สามารถพึ่งพากันได้ “คนบ่อแร่จะมีอาชีพท�านาเป็นหลัก ไม่ได้มี อาชีพอื่น จะมีบ้างก็พวกกลุ่มอาชีพเสริม ซึ่งผมให้การ สนับสนุนอยู่แล้ว อย่างกลุ่มทอพรมเช็ดเท้า ผู้สูงอายุที่ ท�างานไม่ไหวก็ทา� ได้ เด็กก็สามารถเรียนรูไ้ ด้ แม้จะท�าได้ น้อย แต่ก็ท�าได้ตลอด การได้ร่วมโครงการกับ สสส.


32 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ก็ ท� า ให้ เ ราท� า งานได้ ดี ขึ้ น มี แนวทางที่ชัดเจนมากขึ้น” นายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลกล่าว ก่อนแนะน�าแหล่ง เรียนรู้ของต�าบลให้ได้รู้จักว่า ต�าบลบ่อแร่มีสถานที่ มีกลุ่มคน กลุ่มอาชีพที่น่าสนใจมากมาย อาทิ พิพิธภัณฑ์เครื่องมือเกษตร ทีใ่ ห้เด็กได้มโี อกาสเข้าไปเรียน รู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวนาใน อดีต โรงเรียนเกษตรกร กลุ่มปุ๋ย ชีวภาพอัดเม็ด กลุ่มแก๊สชีวภาพ จากมู ล สั ต ว์ กลุ ่ ม แม่ บ ้ า นท� า อาหารแปรรูป กล้วยฉาบ ขนมกง นางเล็ด และกลุม่ จักสาน เป็นต้น “มีกลุ่มต่าง ๆ มากมาย ในบ่อแร่ที่เราอยากบอก อยาก ขยายให้คนอื่นได้รับรู้ การที่เรา ได้กา้ วเข้ามาท�าโครงการนีถ้ อื ว่า เป็นความสุขอย่างหนึ่ง เราตั้งใจ ท�า อยากขยายผลไปหลาย ๆ พืน้ ที่ เราจะได้บอกต่อกัน ไปว่าการท�างานอย่างนีม้ นั ดีนะ ถึงจะไม่มเี งินมากมาย


แต่เราได้ความรู้ ได้มอี าชีพเสริมให้ชาวบ้าน คนทีย่ งั ไม่รู้ จักบ่อแร่กจ็ ะได้เข้ามาท�าความรูจ้ กั ถือว่าเป็นประโยชน์ อย่างมาก ส�าหรับคนที่มีความคิดและอุดมการณ์แบบ


34 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

นี้ เราจะได้ก้าวเดินไปด้วยกัน” นายกฯ ศักดากล่าว ก่อนแนะน�าให้ขา้ พเจ้าลอง เข้าไปเทีย่ วชมแหล่งเรียนรูข้ องต�าบลเพือ่ เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ของผู้คนที่นี่ ต�าบลบ่อแร่



แผนที่แหล่งเรียนรู้ต�ำบลบ่อแร่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การบริหารจัดการต�ำบลแบบท�ำจริง จริงใจ มุ่งพัฒนา การจัดท�ำแผนแม่บทชุมชน คนต้นคิด หมู่บ้านต้นแบบ ศูนย์อ�ำนวยการเฉพาะกิจช่วยเหลือผู้ ประสบภัย สถานรวมใจ ต�ำนานสระพระยาพหลฯ

7.

กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลบ่อแร่

8. กลุ่มสัจจะออมทรัพย์เพื่อการผลิต 9. 10. 11. 12. 13. 14.

บ่อแร่ กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด หมู่ที่ 5 โรงเรียนเกษตรกร หมู่ที่ 1 ศูนย์การเรียนรู้เกษตรปลอดสาร หมู่ที่ 7 ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนแก๊สชีวภาพ กลุ่มทอพรมเช็ดเท้า หมู่ที่ 2 กลุ่มจักสาน หมู่ที่ 5


15. 16. 17. 18. 19. 20. 21.

กลุ่มกล้วยฉาบแม่บ้านส�ำนักจั่น หมู่ที่ 5 กลุ่มดอกไม้จันทน์ หมู่ที่ 6 โรงสีชุมชน หมู่ที่ 3 กลุ่มกล้วยตาก หมู่ที่ 6 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองจิก ต้นกล้าบ่อแร่ วิถีพอเพียง พิพิธภัณฑ์เครื่องมือเกษตรกรรมต�ำบล บ่อแร่ 22. กลุ่มอังกะลุงราว - ขลุ่ย - ผสมเครื่อง มอญ

23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30.

กลุ่มดนตรีไทย ชมรมผู้สูงอายุรักสุขภาพ อสม. ชมรมอนุรักษ์ไก่ไทย หมู่ที่ 6 กลุ่มนวดแผนโบราณ กลุ่มเตียงก้านตาล กลุ่มสานเส้นเล่นลาย หมู่ที่ 6 วิถีชาวบ้านต�ำบลบ่อแร่


38 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 39

๒ เรียนรู้อดีต ที่พิพิธภัณฑ เครื่องมือเกษตรกรรม “นี่คืออะไร” “ไม้อะไรก็ไม่รู้ โค้ง ๆ งอ ๆ” “ของชิ้นนี้เขาเรียกว่าคันไถ คนสมัยก่อนเอาไว้ ใช้ไถนา” คุณลุงไพฑูรย์ ห้อยฟัก วัย 72 ปี อธิบายถึงที่ มาและแนวความคิดในการเก็บอนุรักษ์และดูแลรักษา เครื่องมือการท�าเกษตรของคนสมัยก่อนไว้ให้เด็กและ เยาวชนคนทัว่ ไปได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ และเป็นการเก็บ อนุรักษ์ไว้มิให้สูญหาย ด้วยเห็นว่าปัจจุบัน เทคโนโลยี สมัยใหม่ได้เข้ามามีบทบาทในการท�าเกษตรของผู้คน ในต�าบลมากขึ้น “ถ้าเราไม่เก็บเครื่องไม้เครื่องมือเก่า ๆ เหล่านี้ เอาไว้คอยสอนคอยบอกลูกหลาน เด็กรุ่นใหม่ก็จะไม่รู้


ว่า สิ่งของเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตและการ ด�ารงอยู่ของคนรุ่นปู่ย่าตายายอย่างไร” แนวความคิดนี้ริเริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 โดย นายกิมชุ้น เถกิงสรคันธุ์ ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้ใหญ่บ้าน ส�านักจัน่ หมูท่ ี่ 5 และเป็นเจ้าของโรงสีขนาดเล็กประจ�า หมู่บ้าน ผู้เห็นว่า ต่อไปในอนาคต เครื่องมือเกษตรที่ เคยใช้ในอดีตจะลดน้อยลงไป ด้วยมีการน�าเครื่องมือ ที่ทันสมัยเข้ามาใช้มากขึ้น จึงเริ่มสะสมเครื่องไม้เครื่อง มือทีใ่ ช้ในการเกษตรตัง้ แต่เวลานัน้ เพือ่ อนุรกั ษ์ไว้ให้ลกู หลานในหมูบ่ า้ นได้ศกึ ษาเรียนรู้ โดยเสียสละพืน้ ทีท่ เี่ คย เป็นยุง้ ฉางข้าวและโรงสีเก่า แปรสภาพเป็นทีเ่ ก็บรักษา มาถึงปี พ.ศ. 2540 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย



42 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ได้จัดค่ายอาสาพัฒนาชุมชนขึ้นในหมู่บ้าน นักศึกษา ได้เข้ามาช่วยจัดท�าป้ายชื่อ เป็นการจัดระเบียบให้ง่าย ต่อการศึกษา ตั้งแต่เครื่องมือเครื่องใช้ในการเกษตร เครื่องใช้ในครัวเรือน จนถึงธนบัตรเก่าและภาพเก่า ที่สามารถเชื่อมโยงเรียนรู้เรื่องประเพณีเก่าก่อน จาก นั้นได้จัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์เหรียญทองค�าขึ้น ปัจจุบัน พิพธิ ภัณฑ์เครือ่ งมือเกษตรกรรมต�าบลบ่อแร่ตงั้ อยูบ่ า้ น เลขที่ ๑ หมู่ ๕ บ้านส�านักจั่น ต�าบลบ่อแร่ ที่พ�านักของ นายฉัตรชัย เถกิงสรคันธุ์ ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน “จ�าได้ว่าเครื่องมือชิ้นแรกที่เริ่มเก็บสะสมไว้คือ ไถ ช่วงแรกที่เก็บ ส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือที่เราไม่ได้ใช้ แล้ว บางทีไปพบไปเห็นว่าเพื่อนบ้านเขามี แต่ไม่ได้ใช้ ก็จะถามขอจากเขา บอกว่าจะเอามาท�าเป็นพิพธิ ภัณฑ์ ให้อนุชนรุ่นหลังได้รู้ได้เห็น เราพูดอย่างนี้เจ้าของเขาก็ ยินดี พอเราเริม่ ตัง้ เป็นพิพธิ ภัณฑ์ในหมูบ่ า้ น ชาวบ้านที่ เขามีเครือ่ งไม้เครือ่ งมือเก่า ๆ ทีไ่ ม่ได้ใช้ และเขามองเห็น


ความส�าคัญ เขาก็น�าเอามาบริจาคสมทบมาเรื่อย ๆ” ลุงไพฑูรย์ อดีตผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านในสมัยของ ผูใ้ หญ่กมิ ชุน้ ซึง่ เข้ามาสืบสานเจตนารมณ์ในการสร้าง พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ให้คงอยู่สืบไป เล่า “พ่อหนุ่มมาทางนี้สิ ผมจะได้อธิบายให้ฟังว่า เครื่องมือเครื่องใช้ในการเกษตรแต่ละชิ้นแต่ละอันมี ไว้ใช้ท�าอะไรบ้าง” ลุงไพฑูรย์ลุกออกจากใต้ถุนสูงของ เรือนไม้เก่า พาข้าพเจ้ามายังส่วนของพิพิธภัณฑ์ แล้ว ค่อย ๆ เอ่ยเล่าอธิบายอุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ท�าการ เกษตร เริม่ จากเครือ่ งมือทีใ่ ช้ตงั้ แต่เริม่ กระบวนการท�า นา คือการบุกเบิกผืนดิน ต่อด้วยการหว่านกล้าและปัก ด�า การเก็บเกีย่ ว ไปจนถึงขัน้ ตอนการสี ฝัด จนกลายมา


ขอฉาย คือ ไม้สงฟางข้าวเพื่อแยกเมล็ด ข้าวออกจากฟาง ท�าจากไม้ไผ่ โดยเหลือ ส่วนปลายให้มีกิ่งยาวประมาณหนึ่งคืบ

กะโซ้ หรือ คันโซ้ คือ เครือ่ งมือส�าหรับวิด

น�า้ รูปร่างคล้ายเรือครึง่ ท่อน มีดา้ มจับยาว ลักษณะคล้าย ‘คันโพง’ ไม้ยาวซึง่ ติดภาชนะ ไว้ทปี่ ลาย ส�าหรับตักหรือโพงน�า้ ขึน้ จากบ่อ

ไม้ตวิ้ ไม้ซเี่ ล็ก ๆ ลักษณะคล้ายเซียมซี ใช้สา� หรับนับ

ถังข้าว โดยข้าว ๑ ถังเท่ากับ ๒๐ ลิตร, เกวียน ๑ เล่ม บรรทุกข้าวได้ ๕๐ ถัง, ข้าว ๑๐๐ ถังเท่ากับ ๑ เกวียน

สีชกุ ไม้ไผ่สานคล้ายเสือ่ ล�าแพน พับ

ขอบขึน้ เป็นกระทงสีเ่ หลีย่ มขนาดใหญ่ ใช้วางบนเกวียนเพื่อใส่ข้าวเปลือก


ตาเหลว หรือ เฉลว เป็นเครื่องจักสานที่คนโบราณ

นับถือเสมือนยันต์หรือเครื่องรางที่เกี่ยวข้องกับการท�านา และการต้มยา เป็นต้น

คอม คือ ไม้โค้งที่ใช้พาดคอวัวหรือควาย ใช้ใน

งานลากเลื่อน คราด ไถ ชุดคอมประกอบด้วยคอม แอกน้อย และเชือก

เคียว ขอเหล็กที่มีคมด้านในวงเคียว ใช้เกี่ยวและ ตัดต้นข้าวหรือหญ้า

ไม้หลาว เป็นไม้ไผ่แหลมปลายไว้ทั้งสองข้าง ใช้เสียบฟ่อนข้าวเพื่อลอมเรียงเป็นกองสูงขึ้นไป

ไม้หมุน ไม้ไผ่ตรง หรือไม้ตรงขนาด เหมาะมื อ ยาวประมาณหนึ่ ง ศอก ใช้ส�าหรับปาดข้าวให้เสมอขอบถัง


เป็นข้าวสุกในจาน ลุงไพฑูรย์บอกว่า การท�านาในสมัยก่อน แม้จะ ยากล�าบาก แต่กม็ หี ว้ งยามทีส่ นุกสนาน โดยเฉพาะช่วง ทีม่ กี ารเอาแรงกัน ตัง้ แต่การไถ ปักด�า ไปจนถึงเก็บเกีย่ ว “ผมเริม่ ท�านามาตัง้ แต่สมัยอยูก่ บั พ่อกับแม่ อายุประมาณ 17-18 ตีส่ ี่ เสียง ระฆังดังมาจากวัด พ่อก็จะมา เรียกให้ลุกล้างวัวล้างควาย ให้หญ้าให้น�้า เสร็จแล้วก็ต้อน เดินไปยังทีน่ าซึง่ อยูห่ า่ งจาก บ้านประมาณ 2 กิโล ควาย นะครั บ กว่ า จะต้ อ นไปถึ ง ก็ เล่นเอาเหนื่อย พอไปถึงก็เอา ชุดคอมออกมาประกอบควาย ก็ไถโดยเดินตามหลังควาย ลุงไพฑูรย์ ห้อยฟัก


ประมาณแปด โมงกว่าแม่กจ็ ะ เอาข้าวมาส่ง ก็ หยุดพักกินข้าว เสร็จแล้วก็เริม่ ลงงานต่อ ไถต่อไปจนได้ยนิ เสียงพระตีกลองเพล ก็ตอ้ ง ปลดควายออกจากไถ ให้สัตว์เขาพักเหนื่อย ควายก็จะ ไปนอนในแอ่งน�้าพักใหญ่ แล้วออกหากิน แต่บางทีเรา ก็ช่วยกันเอาแรง อย่างบ้านที่มีนาอยู่ใกล้กัน ‘เอาแรง กันไถนาไหมเล่า’ แต่ละคนก็เอาไถเอาควายมา ผู้หญิง บ้างผู้ชายบ้างมาช่วยกัน ไฮ้ไฮ้ไฮ้ เฮ้เฮ้เฮ้ ร้องเพลงกัน บ้างคุยกันบ้างก็สนุกดี พอเพลก็เลิก วันรุ่งขึ้นก็ไปช่วย กันไถอีกบ้านหนึ่ง เวียนกันไปอย่างนี้จนแต่ละแปลง นาจะถูกไถจนเสร็จ พอไถเสร็จแล้วก็ต้องคราด ‘เอา แรงกันอีกนะพวกเรา’ เพราะว่าเราคนเดียวท�าไม่ไหว” ลุงไพฑูรย์พูดยิ้ม “ชีวิตผมเป็นมาอย่างนี้ ผมไถนาด้วยควายมา จนอายุเกือบ 50 ปี ถึงได้เลิกท�า ให้ลูกหลานเขาท�าต่อ ซึ่งก็ไม่เหมือนกับสมัยที่เราเคยท�า แต่ก่อนพูดได้เลย นะว่าเดือนหก ‘เตรียมนะพวกเรา ฝนจะลงแล้ว’ เมื่อ ก่อนท�านาเดือนหก เดือนสาม เดือนอ้าย เดือนยี่จึง เก็บเกี่ยว แต่เดี๋ยวนี้ไม่ใช่แล้ว ท�านาสมัยนี้อย่างช้า


ร้อยสิบห้าวัน เก็บเกีย่ วได้แล้ว เขาเริม่ ท�ากันใหม่แล้ว” เมื่อเวลาผ่านไป ทุกสังคมทุกหมู่บ้านย่อมมี การเปลี่ยนแปลง มิได้แตกต่างอะไรเลยกับวิถีชีวิตของ


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 49

ผูค้ นในต�าบลบ่อแร่ ลุงไพฑูรย์มองว่า ปัจจุบนั วิธกี ารท�า นาแปรเปลี่ยนไปจากเดิมมาก “สมัยก่อนผมมักรูส้ กึ ว่ามันแสนจะระก�าล�าบาก สมัยนี้การท�ามาหากินสามารถท�าได้อย่างรวดเร็ว แต่ ผมคิดว่ามันก่อให้เกิดผลเสียมากกว่า เมื่อก่อนเราไม่ ต้องลงทุนอะไร อย่างมากก็แค่ใช้แรงงาน แม้ข้าวราคา ไม่สงู แต่เราก็พอมีเก็บเอาไว้กนิ ได้ตลอดปี ปัจจุบนั ข้าว มีราคาสูงก็จริง แต่คา่ ใช้จา่ ยก็มากขึน้ ตามตัว ปุย๋ ลูกละ พันกว่า ใส่ลกู เดียวก็ไม่พอ แต่กอ่ นเราไม่ตอ้ งใช้เลย พ่อ กับแม่ผมใช้นา�้ ขุน่ จากคอกวัวควายตลอด สรุปรวมแล้ว ผมว่า หากเราลองดีดลูกคิดกันจริง ๆ ทั้งค่าแรง ค่าปุ๋ย ค่ายาทุกอย่าง ผมว่ายากนะ แต่กอ่ นแม้ขา้ วราคาถูก แต่ เราก็ไม่ค่อยได้ใช้อะไร เงินจึงมีเหลือมากกว่า” นอกจากนี้แล้ว ลุงไพฑูรย์บอกว่า ความเร่งรีบ และรวดเร็วยังก่อผลกระทบกับคนในชุมชน “เป็นเพราะเราท�านากันอย่างรวดเร็ว เลยท�าให้ คนในชุมชนเริม่ ห่างกันออกไป ความสัมพันธ์ของคนใน ชุมชนอย่างแต่กอ่ นค่อย ๆ หายไป กลายมาเป็นการท�า ของใครของมัน แต่กอ่ นยังมีการเอาแรงหรือร่วมไม้รว่ ม มือช่วยเหลือกัน ตอนนี้แทบจะไม่มีเหลืออยู่อีกแล้ว” ส�าหรับคุณลุงไพฑูรย์ ห้อยฟัก ความพยายาม ในการสืบสานเจตนารมณ์เพื่อท�าพิพิธภัณฑ์เครื่องมือ


50 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

เกษตรกรรม นอกจากเพื่อให้เป็นสถานที่ให้เยาวชน คนรุ่นใหม่ในต�าบลบ่อแร่และใกล้เคียงได้เข้ามาศึกษา เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผู้คนในอดีตแล้ว อาจบางทียังเป็นการพยายามเชื่อมโยงชีวิตจิตใจของ ผูค้ นบ่อแร่ให้หวนกลับมามีความสัมพันธ์ดงั เดิมอีกครัง้ ปัจจุบนั พิพธิ ภัณฑ์เครือ่ งมือเกษตรกรรมประจ�า หมูบ่ า้ นส�านักจัน่ ต�าบลบ่อแร่แห่งนี้ เปิดเป็นประจ�าทุก วันเพื่อให้เด็ก เยาวชน และบุคคลภายนอกที่สนใจเข้า มาเยี่ยมชม ไม่เพียงสังเกตศึกษาดูเท่านั้น ที่นี่ยังเป็น แหล่งเรียนรู้วิถีการท�านาแบบดั้งเดิมนอกห้องเรียนที่ เปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้เข้ามาทดลองปฏิบัติจริง อาทิ ต�าข้าว ฝัดข้าว เป็นต้น จึงเป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีชีวิตชีวา ท�าให้ผมู้ โี อกาสเข้ามาเยีย่ มเยือนต�าบลบ่อแร่แวะเวียน มาชมกันอยู่เสมอ




วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 53

๓ โรงเรียนเกษตรกร โรงเรียนของชาวนา โรงเรียนเกษตรกรแห่งบ่อแร่ก่อตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2553 โดยนางธัญลักษณ์ สวนบ่อแร่ ผู้ใหญ่ บ้านหมู่ที่ 1 บ้านบ่อแร่ ซึ่งเห็นว่าเกษตรกรในหมู่บ้าน ไม่มีความรู้เรื่องพันธุ์ข้าว ต้องไปซื้อพันธุ์ข้าวราคาแพง จากที่อื่น การท�านาปลูกข้าวจึงต้องลงทุนสูง ได้ก�าไร น้อย รวมทั้งยังมีการใช้ปุ๋ย ใช้สารเคมี และยาฆ่าแมลง ท�าให้ตน้ ทุนในการผลิตเพิม่ ขึน้ อีก ผูใ้ หญ่ธญ ั ลักษณ์จงึ มีแนวคิดในการจัดตั้งกลุ่มโรงเรียนเกษตรกรขึ้นเพื่อ ให้ความรู้เรื่องการเพาะพันธุ์ข้าวและการท�าเกษตรที่ ปลอดภัยโดยลดการใช้สารเคมี รวมถึงการแก้ปัญหา เรื่องน�้า เนื่องจากว่าต�าบลบ่อแร่เป็นเขตพื้นที่ปลายน�้า ตามระบบชลประทาน การท�าเกษตรจึงต้องมีการปรับ


เปลี่ยนวิถีการผลิต นายธาดา เสถียรบุณย์ หรือลุงโดด ผู้ช่วยหมอ ดินอาสา สมาชิกคนหนึง่ ของกลุม่ โรงเรียนเกษตรกรเล่า ให้ฟังว่า “ตอนนั้นส�านักงานเกษตรอ�าเภอวัดสิงห์เข้า มาประชุมสาธิตกับกลุ่มชาวบ้านเรื่องการท�านา และ แนะน�าให้จัดตั้งกลุ่มเป็นโรงเรียนเกษตรกรขึ้นมาเพื่อ จะได้เข้ามาสนับสนุนได้ง่าย สมาชิกเริ่มแรกมี 24 คน” หลังจากก่อตั้งโรงเรียนเกษตรกร สมาชิกจะมี การส่งเสริมการเรียนรู้ในหลาย ๆ ด้านเกี่ยวกับการท�า เกษตร มีการนัดหมายประชุมพูดคุยกันทุกเดือน เมื่อ มีเกษตรกรจากหมูบ่ า้ นอืน่ เข้ามาศึกษาดูงานก็จะมา


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 55

รวมตัวกัน ปกติแล้วผู้ท�าหน้าที่หลักในการให้ความรู้มี อยู่ 3 ท่าน คือ นางธัญลักษณ์ สวนบ่อแร่ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ ๑ นางประกายวรรณ พุ่มริ้ว ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และ นางอัญชลี สุบินมิตร์ หน่วยงานของรัฐทีเ่ ข้ามาให้การสนับสนุน เช่น ส�านักงานเกษตรอ�าเภอ น�าเมล็ดพันธุ์ข้าวปลูกมาแจก จ่ายให้กับสมาชิก “ปีแรกเขาเข้ามาสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ข้าว 4 ตัน เพื่อให้เรามาแจกจ่ายให้สมาชิกกลุ่ม โดยการ หักก�าไรทีไ่ ด้จากการขายให้สมาชิก กลุ่มถังละ 20 บาท เพื่อเก็บเอา ไว้ในการจัดกิจกรรมและบริหาร ภายในกลุ่ม หรือหากสมาชิกมี ปัญหาในเรือ่ งการลงทุน เราก็ยนิ ดี ให้กู้ยืมในอัตราดอกเบี้ยต�่า” ลุงโดดอธิบาย ส�านักงานเกษตร อ� า เ ภ อ ส� า นั ก ง า น พัฒนาที่ดิน ส่งเสริมเรื่อง ลุงâดด ธาดา เʶียรบุ³ย์


56 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

การใช้น�้าหมักชีวภาพ การท�าสารเบื่อเมา ส�านักงาน เกษตรจังหวัดชัยนาทนัน้ เข้ามาให้ความรูแ้ ละอบรมการ เพาะเมล็ดพันธุข์ า้ วสายพันธุต์ า่ ง ๆ เพือ่ ให้เกษตรกรน�า ไปพัฒนาและปรับปรุงข้าวพันธุใ์ หม่ทมี่ คี วามทนทาน ต่อสภาพแวดล้อม รวมทั้งสนับสนุนเรื่องการลดใช้สาร เคมีกา� จัดแมลงศัตรูพชื ด้วยการปลูกผักตามคันนา และ เอื้อเฟ้อข้อมูลวิชาการด้านท�าเกษตรกรรมปลอดสาร ส่วนผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาทสนับสนุนเครื่องดักจับ แมลงศัตรูข้าวส�าหรับใช้ศึกษาเรื่องการป้องกันแมลง ศัตรูพืช “เรามีการท�าน�้าหมักชีวภาพ และส่งเสริมให้ สมาชิกในกลุ่มและเกษตรกรใกล้เคียงเข้ามาเรียนรู้ เพื่อน�าไปใช้ หรือการท�าพวกสารเบื่อ เมาทีใ่ ช้ในการไล่แมลงทีเ่ ราท�าเองจาก สมุนไพรจ�าพวก ข่า สะเดา ซึ่งเราเรียนรู้ มาจากปราชญ์ชาวบ้านแล้วน�ามาประยุกต์ ใช้ หรืออย่างสารที่ใช้ในการบ�ารุงเป็นสารเชื้อ ราโดยใช้น�้าตาลหมัก เช่น ฮอร์โมนไข่หอยเชอรี่ ฮอร์โมนไข่ไก่ ฮอร์โมนจากลูกตาลทีใ่ ช้ในการฉีดตอน ข้าวออกเมล็ดท�าให้ไม่มีเชื้อรา หรือฮอร์โมนรกหมูที่ ใช้บ�ารุงใบ เป็นการให้อาหารทาง ใบ นอกจากนี้ยังมีการท�าเชื้อรา


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 57

บิวเวอร์เรียอีกด้วย “ผมน�ากากบิวเวอร์เรียทีไ่ ด้มาใส่ในกระบอก ไม้ไผ่หรือท่อพีวีซีแขวนไว้ตามทุ่งนา โดยการติดหาง เสือไว้ที่กระบอกเพื่อให้หมุนตามทิศทางลม พอลมพัด ผ่านกระบอก สปอร์ของเชื้อราก็จะฟุ้งออกไปโดยที่เรา ไม่ต้องไปเดินฉีดเอง อย่างปีนั้นเพลี้ยกระโดดชุมมาก ผมใช้บิวเวอร์เรียตัวเดียวก็ได้ผล คนที่ผ่านไปมาเห็น นาของเราก็ข�า เขาบอก ‘เฮ้ย ดูอีตาโดด เล่นเอาเครื่อง บินมาแขวนไว้ในนา’ คือเขายังไม่เข้าใจ พอตอนหลัง เห็นผลก็เริ่มเข้ามาเรียนรู้กันมากขึ้น ซึ่งเราก็ยินดี” ลุง ธาดาอธิบายด้วยรอยยิ้ม ถึงแม้จะมีความพยายามพัฒนาเชือ้ บิวเวอร์เรียให้ สามารถน�ามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ มากที่สุด แต่ก็ยังมีปัญหากับทัศนคติ ของชาวบ้านที่มองว่า การใช้สารอินทรีย์ เหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลานานกว่าจะเห็นผล ปัจจุบันชาวนาบ่อแร่จึงยังคงท�านาแบบผสม ผสานระหว่างอินทรีย์และใช้สารเคมี แต่พวกเขา ก็ได้พูดคุยกันอยู่เสมอที่จะก้าวไปสู่การท�าเกษตร อินทรีย์อย่างเต็มรูปแบบ “เพราะเรารู ้ ว ่ า การท� า เกษตรแบบอินทรีย์จะช่วยลด


58 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ต้ น ทุ น ในการผลิ ต ได้ ม าก ซึ่ ง เราจะเริ่ ม ท� า ตั้ ง แต่ การเตรียมดินด้วยวิธีการท�าปุ๋ยหมักในแปลงนา โดย การหว่านเมล็ดถั่วมะแฮะ ปอเทือง ถั่วเขียว พอขึ้น เป็นต้น เราจะใช้วิธีการไถกลบ 1 ไร่ ได้ปุ๋ยหมัก 1 ตัน มารองพื้น... เรามีแนวคิดที่จะท�านาแบบนี้อยู่ เพียงแต่ ตอนนีก้ ลุม่ เรายังไม่เอือ้ ทีจ่ ะท�าได้ สมาชิกเรายังน้อย ไม่ ค่อยมีแนวร่วมมากนัก” ลุงธาดาพูดด้วยความหวัง หวังที่จะได้เห็นชาว บ่อแร่มคี วามเข้าใจเรือ่ งเกษตรตามแบบวิถอี นิ ทรียม์ าก ขึน้ หวังทีจ่ ะได้เห็นการเติบโตและการขยายตัวของการ ท�าเกษตรอินทรีย์ไปทั่วทั้งต�าบล



60 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 61

๔ เพื่อชีวิตที่ดี ปุยอินทรียปนเม็ด หลายครั้งหลายหนที่การคิดตั้งค�าถามท�าให้ มนุษย์เรียนรู้ทดลองเพื่อค้นหาค�าตอบ อันน�าไปสู่ การต้องฟันฝ่าอุปสรรคมากมายกว่าจะได้ค�าตอบ ที่ตนพอใจ เช่นเดียวกับพี่แมว อธิกัญญา ยอดพุทซา เกษตรกรจากหมู่ 5 บ้านส�านักจั่น ที่ริเริ่มตั้งกลุ่มปุ๋ย อินทรีย์ปั้นเม็ดขึ้นมาจากการคิดตั้งค�าถามกับตัวเอง “กลุ่มเราเริ่มมาจากการท�านาแล้วไม่ได้ผล จะ ให้ได้ผลผลิตก็ต้องใส่ปุ๋ย เราไม่รู้ว่าต้นไม้ต้องการธาตุ


62 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

เสริมอะไร เราก็ต้องมาเรียนรู้ว่า ถ้าจะให้ได้ผลผลิต เราต้องบ�ารุงดิน น�้า จัดการสิ่งแวดล้อม จัดการวัชพืช ที่ส�าคัญที่สุดคือปุ๋ย ก็ต้องซื้อมาจากร้านค้า เราก็มา ตั้งค�าถามว่า ปุ๋ยมาจากไหน ถ้าซื้อเราจะเอาเงินมา จากที่ไหน เพราะเราต้องซื้อทุกรอบทุกปี ถ้าอย่างนั้น ค�าตอบของชาวนาอยู่ตรงไหน ถ้าน�้าท่วมชาวนาจะได้ อะไร ท�าไมไม่ผลิตเอง เราจะถามใครได้ ใช้วสั ดุอะไร ใช้ เครื่องจักรตัวไหน วิธีการผลิตต้องไปเรียนรู้จากที่ไหน” พี่แมวเอ่ยเล่าถึงช่วงเริ่มแรกที่ชีวิตคล้ายกับจะมีแต่


¾ÕèáÁÇ อธิกัญญา ยอดพุทซา


64 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

เครื่องหมายค�าถาม เมื่อมีค�าถามก็ต้องค่อย ๆ ค้นหาค�าตอบให้ กับตัวเอง ด้วยการไปหาความรู้จากนอกชุมชน ไป ศึกษาดูงานตามศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านที่มีอยู่ใน จังหวัดชัยนาท “คื อ เราพยายามค้ น หาค� า ตอบว่ า ความรู ้ ที่แท้จริงมันอยู่ตรงไหน พอไม่มีเราก็ต้องไปเรียนรู้ จากปราชญ์ที่เราคุ้นเคย ไปหาอาจารย์ที่ค่อนข้างจะ มีความรู้ โดยตั้งค�าถามว่า ถ้าเราจะท�าปุ๋ยจะต้องใช้ วัสดุอะไร เราก็คอ่ ย ๆ ศึกษามาเรือ่ ย ๆ” พีแ่ มวเอ่ยเล่า จากฟาร์ ม เลี้ ย งเป็ ด สามพั น ตั ว อธิ กั ญ ญา ศึกษาดูงานเพื่อหาความรู้ในการท�าปุ๋ยปั้นเม็ดจาก ขี้เป็ด ต้องลองผิดลองถูก ล้มลุกคลุกคลานอยู่นาน ปี ประสบปั ญ หาทั้ ง เรื่ อ ง เทคนิค จักรกล และต้นทุน “เราไปซื้อเครื่องอัด เม็ดมาสามหมืน่ ห้า โดยเอา วัสดุเราไปแลก เสร็จแล้วอัด ไม่ได้ เพราะความละเอียด ของวัสดุเราใช้ไม่ได้ ทุก อย่างมีปัญหาหมด เลยหัน มาหาท่านนายกฯ ขอยืม




วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 67

จานปั้นเม็ดซึ่งไม่ได้ใช้งาน เอามาไว้สามเดือนก็ยังใช้ ไม่ได้ เพราะวัสดุเรายังหยาบอยู่ สุดท้ายเลยแก้ปัญหา ด้วยการไปสั่งเครื่องจักรที่ใช้ตีปุ๋ยได้วันละ 50 ตันมา” ดูเหมือนยิง่ เล่าพีแ่ มวจะยิง่ สนุกในอารมณ์ ด้วย ยิ่งมากปัญหาและอุปสรรคก็ยิ่งท้าทายให้ฝ่าฟันไป ให้ได้ “แม้จะได้เครื่องจักรมา แต่กว่าจะใช้ได้จริง ๆ ต้องใช้เวลานาน เพราะเราไม่มไี ฟฟ้าสามเฟสซึง่ ต้องใช้ มอเตอร์ 50 แรงขึ้นไป เราใช้เครื่องยนต์สี่แรงเลยท�าไม่ ได้ เข็นไปให้เขาดูที่นครปฐมเพื่อค�านวณรอบ สุดท้าย ต้องเชิญช่างมาท�าจนใช้ได้ ตีปุ๋ยจนหมดกอง ขายให้ ปลายทางด้วยระบบเครดิตอีก จะท�ายังไงได้” ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจในการท�างานของ อธิกญ ั ญา ความรักกลุม่ รักชุมชน พอผูช้ า� นาญการจาก โรงงานซึง่ สามารถผลิตปุย๋ ได้ปลี ะเป็นหมืน่ ตันมาเห็นจึง ให้ค�าแนะน�าเรื่องการปรับเครื่องปั้นเม็ดที่มีอยู่ “เขาลงมาแนะน�าเรื่องการค�านวณรอบหมุน วัสดุจะต้องมีความละเอียดเนียน การปัน้ เม็ดจะออกมา ดี แล้วใช้ตะแกรงร่อนให้ได้ขนาดเม็ดปุ๋ยที่เท่ากัน จาก นัน้ ก็ตากในทีร่ ม่ เมือ่ ได้ปยุ๋ แล้วเราส่งไปวิเคราะห์ แต่คา่ ของปุย๋ เราไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน แต่ชาวบ้านสามารถ ใช้ได้ เพียงแต่ตอ้ งใช้มากหน่อย โดยการเอาไปใส่เครือ่ ง


68 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

พ่นฉีดได้เลย จากเม็ดที่เราทุรนทุรายมาเป็นเวลาสอง ปี เราค่อย ๆ พัฒนาขึ้นจนสามารถใช้กับเครื่องจักรได้ “ตอนนี้ศักยภาพเครื่องจักรและคนงานของเรา ผลิตปุ๋ยได้วันละ 3 ตัน ถ้ามีเครื่องอบเราน่าจะผลิตได้ เพิ่มมากขึ้น ตอนนี้แนวคิดของกลุ่มคือ ต้องการผลิต ปุย๋ หมักเดือนละ 100 ตัน จากนัน้ หยุดไปสองเดือนแล้ว ค่อยท�าการผลิตใหม่ ส่วนการตลาดก็ท�าไปเรื่อย ๆ เรา จะได้มีการพักผ่อนบ้าง เพราะการผลิตมันเหนื่อยมาก นี่คือเต็มศักยภาพของกลุ่ม แต่ปัญหาคือเราไม่มีที่ ตาก เพราะต้องตากในพื้นที่ร่ม ซึ่งมันต้องใช้เงินทุนสูง มากในการจัดหาเครื่องอบมา ตอนนี้เราวางเป้าหมาย ไว้อีกสองปีก่อนโครงการนี้จะจบ คิดว่าจะท�าให้ได้” พี่แมวพูดแล้วยิ้ม กระบวนการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แม้จะได้รับผลที่ น่าพอใจ พี่แมวบอกว่ายังติดปัญหาอยู่อีกนิด คือ การ ปรับความรูส้ กึ นึกคิดและทัศนคติของเกษตรกรทีจ่ ะเอา ปุ๋ยอินทรีย์ไปใช้ เนื่องจากให้ผลช้ากว่าการใช้ปุ๋ยเคมี “เราขายให้โรงเรียนเกษตรกรบ้านบ่อแร่ ให้ เขาทดลองเอาไปใช้ก่อนได้โดยยังไม่ต้องจ่ายเงิน เป็น เพราะเราอยากช่วยเหลือชุมชนจริง ๆ เลยขายให้โดย ใช้เครดิต ได้ผลผลิตแล้วค่อยเอาเงินมาจ่ายทีหลัง หรือ อย่างกลุ่มของระดับอ�าเภอก็มาสั่งซื้อวัตถุดิบจากเรา


“เราพยายามท�าให้ดวู า่ ปุย๋ ของเราใช้ได้จากการ ท�าเกษตรอินทรีย์ของเราเอง ตอนนี้ปุ๋ยเคมีกระสอบ ละ 900 บาท ปุ๋ยเม็ดเรากระสอบละ 250 บาท แต่ ของเราสองกระสอบเท่ากับปุ๋ยเคมีหนึ่งกระสอบ ถาม ว่าคุณภาพของเราเท่ากับปุ๋ยเคมีไหม ถึงจะใช้ปุ๋ยเรา สองกระสอบ แต่ราคาก็ยังถูกกว่า แล้วดินก็ดีกว่า โดย เฉพาะอย่างยิง่ คุณได้สนับสนุนกลุม่ ท�าให้กลุม่ มีความ เคลือ่ นไหว คุณซือ้ ไปกลุม่ ก็ได้มงี านท�า เพราะถ้าคุณซือ้


70 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ปุย๋ เราไป คุณจะได้ใช้ปยุ๋ เคมีนอ้ ยลง ซึง่ ดีกบั ตัวคุณเอง ด้วย แค่คณ ุ เปลีย่ นทัศนคติแล้วเปิดใจยอมรับ คือเขายัง ติว่าได้ผลช้า แต่เราไม่ซีเรียสหรอก” พี่แมวพูด “เรื่องแบบนี้มันเป็นปัญหามาหลายทศวรรษ แล้ว คุณต้องยอมรับว่าใช้ปุ๋ยเคมีมานานกว่าสิบปีแล้ว เพราะฉะนั้น การใช้ปุ๋ยอัดเม็ดต้องให้เวลากับมันบ้าง ครั้งแรกอาจได้ผลผลิตไม่เท่าที่ต้องการ แต่ปีที่สองปี ที่สาม มันจะค่อย ๆ ได้ผลดีขึ้น แต่ก็มีกลุ่มโรงเรียน เกษตรกรที่ซื้อไปทดลองใช้อยู่ ซึ่งผลตอบรับค่อนข้าง ดี เพราะเราใช้มูลสัตว์จริง ๆ พวกธาตุหินเราไม่ได้ใส่ เพราะจะท�าให้ดินเป็นด่าง ใช้ไปนานดินจะไม่ดี ถ้าเรา จะเป็นอินทรีย์ก็เป็นอินทรีย์จริง ๆ แล้วแต่เขาจะเอาไป ปรับใช้ตามสะดวก” “แล้วผลเป็นยังไงบ้างครับ” “ก็เห็นเขามีความสุขดี ไม่เห็นเขาบ่น มีแต่ว่า ‘แมว ปีนี้ข้าวดีจังเลย’ เราก็หัวเราะ ยิ้ม ใช้ปุ๋ยเราแล้ว ข้าวดี เพลี้ยไม่กวน เราจะเบิกบานมาก” พี่แมวยิ้ม รอยยิ้มคล้ายไม่จางหายจากมุมปาก ขณะพาเราเดิน ดูแปลงนาที่เพิ่งปักด�าได้ไม่นาน “การท�าเกษตรอินทรีย์ พี่ว่ามีผลดีกับเราร้อย เปอร์เซ็นต์ เราสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง ท�าได้ด้วย ตัวเอง แต่ถ้าคุณมองแบบดูถูก คุณก็ไม่ต้องมาเริ่มต้น


ท�าหรอก ความจริงระบบอินทรียค์ ณ ุ ไม่ตอ้ งปัน้ เม็ดก็ได้ คุณต้องรู้จักพืชที่มีประโยชน์ รู้ว่าปุ๋ยมีธาตุ NPK มีธาตุ หลัก ธาตุรอง ธาตุเสริมอะไรบ้าง แล้วก็ตอ้ งไปศึกษาว่า พืชชนิดนี้มีแคลเซียม อะไรที่พืชที่เราปลูกต้องการ แต่ ที่เราเอามาปั้นเพราะมันมีแคลเซียมที่ข้าวสามารถน�า ไปใช้ได้เลย ถ้าไม่ปั้นก็สามารถน�าไปละลายน�้าใช้ได้ เหมือนกัน” พี่แมวกล่าว “เดินดูนาของพี่ตอนนี้สิ ดินดีมากเลยใช่ไหม เรามีความสุขที่ได้เห็นความสมบูรณ์ของดินอย่างนี้


72 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ทุกคนจะอิจฉามาก ปีที่แล้วนาพี่มีเจ็ดไร่ ได้ข้าวเกือบ เจ็ดเกวียน ซึ่งไม่ต้องใช้ปุ๋ยเคมีเลย มีแค่ฉีดยาคลุม วัชพืชตอนข้าวเล็ก ๆ เท่านัน้ หลังจากนัน้ ก็ไม่ได้ใส่อะไร เลย ตอนนี้ดินก็เริ่มสมบูรณ์มากขึ้น” พี่แมวเอ่ยพูดพลางมองดูต้นข้าวในนา ลมเย็น พัดโชยผ่าน ต้นข้าวสั่นพลิ้วราวกับก�าลังเริงระบ�า




วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 75

๕ พลังงานสะอาด จากแกสชีวภาพ วันนี้เราเดินทางมาถึงฟาร์มเลี้ยงหมูเมื่อเวลา สายแล้ว แสงแดดเริ่มทวีความร้อนแรง ขณะผู้ใหญ่ ไพรัตน์ ปลื้มใจ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 6 บ้านหนองจิก เดิน ส�ารวจต้นข้าวในแปลงนา พอเห็นพวกเรามาถึง ผู้ใหญ่ ไพรัตน์จึงเดินแบกจอบตรงเข้ามาทักทาย หลังจากแนะน�าตัวกันแล้ว ผู้ใหญ่บ้านพาเรา เดินเข้าไปหลบแดดด้านข้างของโรงเรือนเลี้ยงหมู ลม พัดเย็นสบาย แต่กลับไม่มีกลิ่นของขี้หมูโชยมาเลยสัก นิด น�าความแปลกใจมาให้เรายิ่งนัก ผู้ใหญ่จึงชี้ให้ดู แผ่นคูลลิ่งแพด หรือเยื่อกระดาษอัดแท่งที่ใช้กรุรอบ โรงเรือนเลี้ยงหมู ป้องกันกลิ่นไม่ให้แพร่กระจาย ทั้งยัง ช่วยในการควบคุมอุณหภูมิในโรงเลี้ยงอีกด้วย “เราเตรี ย มการไว้ ส� า หรั บ อนาคตว่ า หากมี


หมู่บ้านเกิดบริเวณนี้ กลิ่นจะได้ไม่ไปรบกวนคน อื่นเขา นอกจากช่วยเรื่องกลิ่นแล้ว ยังช่วยควบคุม อุณหภูมิของโรงเรือนให้อยู่ที่ประมาณ 31 องศา ไม่ ว่าอากาศภายนอกจะร้อนหรือหนาว” ผู้ใหญ่ไพรัตน์อธิบายหลักการท�างานคร่าว ๆ ก่อนเอ่ยชักชวนเข้าไปดูโรงเรือนด้านใน ซึ่งปกติจะไม่ เปิดให้เข้าชม เหตุผลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่อาจ เกิดขึ้นกับหมู ภายในโรงเรือนเลีย้ งหมูสะอาดสะอ้าน เพราะมีคนคอยท�าความสะอาดวันละ 4 ครั้ง แบ่ง แยกเป็น 12 บล็อก ไล่เรียงกันไป แต่ละบล็อกมีหมู อยู่ประมาณ 60 ตัว มีถาดส�าหรับให้อาหาร มีท่อน�้า หยดส�าหรับให้หมูมาดูดกิน อีกทัง้ มีการแบ่งส่วนทีเ่ ป็น พื้นที่น�้าของแต่ละบล็อก ผู้ใหญ่บอกว่า ส่วนนี้เรียกว่า ‘ส้วมหมู’ ซึ่งหมูจะมาขี้และเยี่ยวในน�้า น�้าจากส้วมหมู นี้เองเป็นจุดแรกของการเกิดแก๊ส “ก่อนที่จะได้แก๊สชีวภาพมาไว้ใช้งาน เราจะ ต้องรู้ว่า เริ่มแรกมาจากตรงไหน” ผู้ใหญ่ไพรัตน์พูด ราวกับก�าลังอยู่ในห้องบรรยาย “ในกลุ่มเพาะเลี้ยงหมูของเราจะมีกลุ่มพ่อ แม่พนั ธุก์ บั กลุม่ เลีย้ งขุน ผมจะอยูใ่ นกลุม่ เลีย้ งขุน พอ ลูกหมูคลอดมาได้ประมาณ 18 วัน เราก็เอามาเลี้ยง



ขุนอีกประมาณ 4 เดือนครึ่ง เราจะมีราง อาหารอัตโนมัติ โดยมีระบบน�้าหยดใส่ ถาดอาหาร ในสัดส่วนคือ ถ้าหมูตัวหนึ่ง กินอาหารวันละ 1 กิโลกรัม จะกินน�้า 3 กิโลกรัม ขณะที่หมูยังตัวเล็ก ๆ ประมาณ 2 อาทิตย์แรก จะต้องเปิดไฟที่ให้ความ อบอุ่นไว้ตลอด หลังจากกินแล้ว หมูก็จะ มาถ่ายลงในส้วมหมูที่เห็น” หลังจากอนุญาตให้ชมภายใน โรงเรือนแล้ว ผู้ใหญ่รีบพาพวกเราออก ไปข้างนอก ข้าพเจ้าพยายามเก็บภาพ


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 79

ลูกหมูตัวสีชมพูน่ารักอายุประมาณหนึ่งเดือน ด้วย คิดว่าโอกาสที่จะได้เข้ามาเห็นภาพเช่นนี้ช่างหายาก เหลือเกิน พอออกมาจากโรงเรือน ผู้ใหญ่พาเราเดิน ไปยังด้านหลังของโรงเรือน ให้เราดูท่อที่ต่อออกมา จากส้วมหมูและรางน�้าส�าหรับน�าน�้าจากส้วมหมูไปยัง บ่อหมักแก๊สชีวภาพ “ด้านนอกเราจะต่อท่อเชื่อมกับส้วมหมูแต่ละ บล็อก เราปิดเอาไว้ไม่ให้อากาศเข้าไปข้างในและกั้น น�า้ ไม่ให้ออกมา พอเราเปิดน�า้ จะไหลออกมาและมีกลิน่ เราพยายามไม่ให้มีขี้หมูเหลืออยู่ด้าน นอก เพราะว่าแมลงวันจะมาวางไข่ จึง พยายามล้างเคลียร์ตลอด พอเราเปิดน�า้ ขีห้ มูจะไหลไปยังปลายรางเข้าไปอยูใ่ น บ่อพัก จากนั้นจะถูกดูดขึ้นไปยังบ่อ กรองทราย เอาเฉพาะน�า้ ขีห้ มูไป ปล่อย ทรายให้อยู่ด้านล่าง จากนั้นจึงปล่อย น�้าเข้าไปในบ่อแก๊ส หมักไว้ประมาณ 1 เดือน ถ้ามันเกินระดับที่ก�าหนดไว้ น�้าจะไหลไปยังบ่อน�้าล้น ส่วนกากจะ ไหลไปยังลานตากเพื่อใช้ท�าปุ๋ยขี้หมู ขาย อย่างน้อยปีหนึ่งขายได้ 3-4 หมื่น เป็นรายได้ที่เราไม่ต้องลงทุนท�าอะไร




เลย” ผู้ใหญ่บ้านหนองจิกกล่าวพลางยิ้ม ฟาร์มของผู้ใหญ่ไพรัตน์น�าแก๊สชีวภาพที่ได้มา ใช้ กับเครือ่ งยนต์ซงึ่ ใช้ในการฉุดพัดลมส�าหรับท�าความ เย็ น ภายในโรงเรื อ นโดยไม่ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า ส่ ว นที่ เ กิ น นั้ น ปล่อยให้ระเหยออกไปภายนอก ซึ่งผู้ใหญ่บอกว่าไม่มี ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม “ถ้าแก๊สมันมีมาก ผมจะปล่อยออกด้วยการตั้ง


วาล์วเอาไว้โดยการใช้น�้าในการควบคุม บ่อหมักของ ผมเต็มความจุที่ประมาณ 200 คิว ถ้าเทียบกับน�้ามัน เบนซินเราจะได้เท่ากับวันละ 100 ลิตร แต่ตอนนี้หมู ยังเล็ก จึงผลิตได้วันละประมาณ 50 ลิตร โดยผมจะ วางท่อพีวีซีมาเข้าถัง ซึ่งในถังผมจะใส่เศษฝอยเหล็ก ที่ผ่านการกลึงการท�าเกลียวเอาไว้ เมื่อปล่อยแก๊สซึ่งมี ความเค็มหรือพวกสารซัลเฟอร์ลงไป มันก็จะไปกัดเศษ


เหล็กบางส่วนก่อนทีจ่ ะเอาแก๊สมาใช้งานจริง เพราะไม่ เช่นนั้นมันจะกัดอะไหล่ของเครื่องยนต์ได้ “ตอนนี้เราเอาแก๊สมาใช้กับเครื่องยนต์ในการ ปั่นพัดลมเพื่อท�าความเย็น ระบบความเย็นของเรา จะใช้แก๊สโดยตรง ไฟฟ้าเราใช้ในการปั๊มน�้าประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ตอนนี้เราเซฟค่าไฟได้เดือนละ ประมาณ 8,000 บาท ซึ่งเงินส่วนนี้เราสามารถเอามา ใช้จ้างคนงานได้”


ด้วยมีประสบการณ์จากการท�างานกับบริษัท ธุรกิจในเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพ)ี นานถึง 16 ปี ผูใ้ หญ่ ไพรัตน์จงึ น�าเอาความรูท้ ไี่ ด้จากการท�างานหลากหลาย ต�าแหน่งมาปรับประยุกต์ใช้กับฟาร์มเลี้ยงหมูของ ตนเอง โดยมีแนวความคิดทีจ่ ะท�าเรือ่ งพลังงานทดแทน หรือแก๊สชีวภาพ หลังจากลาออกมาท�าฟาร์มในปี 2551 ก็ได้เข้าร่วมโครงการกับทางกระทรวงพลังงาน และมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ในโครงการพลั ง งาน ทดแทนไฟฟ้าระยะสุดท้าย ได้รับเงินลงทุนสนับสนุน


ผู้ ใหญ่ ไพรัตน์ ปลื้มใจ จ�านวน 40 เปอร์เซ็นต์ โดยการจัดตัง้ เป็นศูนย์ถา่ ยทอด เทคโนโลยีพลังงานทดแทนแก๊สชีวภาพ “ที่ผมคิดท�าเรื่องพลังงานทดแทนเป็นเพราะเรา เคยท�ามาก่อน เรามีฐานข้อมูลเดิมอยู่แล้ว เรามองเห็น ว่าสามารถน�าประโยชน์ไปใช้ได้หลายทาง แน่นอนว่า มันเป็นรายได้เสริม เป็นผลพลอยได้ แต่จุดประสงค์ หลักของเราคือท�าเพื่อชุมชน เพราะตรงนี้ผมคิดว่า มัน จะอยูจ่ นชัว่ ลูกชัว่ หลาน และความเป็นชุมชนมันจะเกิด ตามมาเรื่อย ๆ” แก๊สชีวภาพที่ได้นอกจากเอามาใช้ในโรงเรือน เลี้ยงหมูแล้ว ผู้ใหญ่ไพรัตน์บอกว่ามีความพยายาม คิดหาวิธีเพื่อน�าแก๊สไปใช้อย่างอื่น แต่ส�าหรับการต่อ ท่อเพื่อน�้าแก๊สชีวภาพมาใช้ในครัวเรือนที่บ้านเองนั้น ผูใ้ หญ่บอกว่าไม่คมุ้ กับค่าใช้จา่ ยในการเดินท่อแก๊ส


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 87

เพราะบ้านมีระยะห่างจากบ่อแก๊สหลายร้อยเมตร ในการใช้แก๊สชีวภาพกับเครือ่ งยนต์ ผูใ้ หญ่บา้ น บอกว่า หากเป็นเครือ่ งเบนซินสามารถต่อแก๊สเอาไปใช้ แทนน�า้ มันได้เลย โดยใช้แก๊สผ่านคาบูเรเตอร์แบบเดียว กับรถยนต์ ส่วนการน�ามาดัดแปลงเพื่อใช้กับเครื่อง ไถนามีอยู่สองลักษณะ คือใช้แก๊สร้อยเปอร์เซ็นต์โดย ลงทุนปรับแต่งเครื่องยนต์เพิ่มเติม อีกแบบคือการใช้ ผสมกับน�้ามัน แต่ที่เหมาะที่สุดคือใช้กับเครื่องยนต์ที่ ตัง้ อยูก่ บั ที่ เพราะสามารถปรับแต่งแรงดันแก๊สให้นงิ่ ได้ ฟาร์มของผู้ใหญ่ไพรัตน์ ปัจจุบันนอกจากเป็น ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีพลังงานทดแทนแก๊สชีวภาพ ที่กลุ่มคนท�าธุรกิจฟาร์มเลี้ยงหมูด้วยกันเข้ามาศึกษา เรียนรู้ในเรื่องราวต่าง ๆ แล้ว ยังมีชาวบ้านที่ไม่ได้ท�า ฟาร์มเลีย้ งสัตว์เข้ามาขอค�าแนะน�าเกีย่ วกับการท�าแก๊ส ชีวภาพใช้เองอีกด้วย “มีศูนย์วิจัยของหน่วยงานราชการที่เข้าไป ส่งเสริมชาวบ้าน โดยมีงบประมาณให้คนละไม่เกิน 600 บาท เข้ามาขอค�าแนะน�า เราก็แนะน�าให้เขาใช้ ท่อซีเมนต์ต่อกันสามสี่ท่อ เอาผ้ายางคลุมด้านบนแล้ว ต่อท่อออกมาภายนอก โดยใช้หลักการเดียวกัน คือการ เอามูลสัตว์หมักแล้วเติมไปเรื่อย ๆ พอเกิดแก๊ส เขาก็ สามารถต่อเอาไปใช้กับเตาแก๊สหุงต้มได้เลย”


88 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

นอกจากได้แก๊สธรรมชาติมาไว้ใช้งานแล้ว ยัง สามารถน�ากากมาตากแห้งท�าเป็นปุย๋ อัดเม็ดได้อกี ด้วย “ตอนนี้เรายังปรับความรู้สึกชาวบ้านไม่ได้ ชาวบ้านคิดว่าปุ๋ยเคมีจะต้องดีกว่า ผมเลยแนะน�าว่า ครั้งแรกให้ใช้ปุ๋ยสูตร 1 ถุงต่อปุ๋ยขี้หมู 1 ถุงผสมกัน ชาวบ้านบอกว่างามเกินไป เลยให้ใช้ขี้หมู 2 ถุงต่อปุ๋ย 1 ถุง ชาวบ้านว่าก�าลังดี เพราะปุ๋ยขี้หมูมียูเรียค่อนข้าง เยอะ แต่ตอนนี้เราผลิตได้ไม่เยอะ เลยท�าแค่แบ่งใช้กัน ภายในกลุ่มปุ๋ยขี้หมูอัดเม็ด ซึ่งมีสมาชิกอยู่ 30 คน” ผู้ใหญ่บ้านพูดด้วยรอยยิ้ม ส�าหรับอนาคต ผู้ใหญ่ไพรัตน์คิดอยากพัฒนาต่อ เรือ่ งแก๊สชีวภาพ เพือ่ ให้ชาวบ้านสามารถน�าไปใช้ได้จริง ๆ “ผมอยากจะให้ชาวนาสามารถเอาแก๊สไปใช้กบั เครื่องยนต์ของเขาได้ แต่เราต้องหาวิธีการบรรจุที่เขา สามารถน�าไปใช้ได้สะดวกขึ้น” ผู้ใหญ่บ้านกล่าวสรุป ในตอนท้าย ก่อนขอตัวไปท�างานของตัวเองต่อ




วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 91

๖ นักถักทอผืนพรม วิถีชีวิตของผู้คนในต�าบลบ่อแร่ซึ่งส่วนใหญ่มี อาชีพเกษตรกรนัน้ หลังหมดฤดูทา� นาจะมีเวลาว่าง บ้าง ก็ออกไปเป็นแรงงานรับจ้างต่างถิ่น ทั้งต่างอ�าเภอ ต่าง จังหวัด หรือในกรุงเทพฯ คนทีอ่ ยูก่ บั บ้านจึงพยายามหา อาชีพเสริมตามความสนใจของตน เหมือนกับพี่ลูกหนู วรนุช ครุฑพันธ์ และพี่บังอร พุ่มใย สองแม่บ้านผู้เป็น หัวเรี่ยวหัวแรงของกลุ่มทอพรมเช็ดเท้า หมู่ที่ 2 บ้าน ทุ่งแห้ว พี่ลูกหนูเอ่ยเล่าความเป็นมาของกลุ่มทอพรม เช็ดเท้าให้ฟังว่า “แต่ก่อนเราท�านาปีละครั้ง หลังจากหมดหน้า นา เราก็มีเวลาว่าง ไม่มีอะไรท�า จึงอยากหาอาชีพ เสริม พอดีเรามีโอกาสได้ไปดูงานการทอพรมเช็ดเท้า ทีอ่ ยูใ่ นเขตอ�าเภอหนองขาหย่าง จังหวัดอุทยั ธานี กลับ มาก็มาเล่าสู่กันฟัง พวกเราก็สนใจกัน พอทาง


92 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

อบต. ลงมาประชุมประชาคมใน หมู่บ้าน เราก็เสนอไปว่า อยาก ท�ากลุ่มทอพรมเช็ดเท้า” กลุ่มทอพรมเช็ดเท้าถือ ก�าเนิดขึ้นใน พ.ศ. 2549 โดย ผ่านประชาคมหมู่บ้านซึ่งมีมติ เห็นพ้องต้องกันว่าสามารถเป็น อาชีพเสริมได้ ประกอบกับการ พี่บังอร พุ่มใย ทอพรมท�าได้ง่าย วัตถุดิบหาง่าย และมีราคาไม่แพง สมาชิกรุ่นแรกมี 22 คน ใช้พื้นที่ ศาลากลางหมู่บ้านหมู่ที่ 2 เป็นที่ด�าเนินการ โดยมี องค์การบริหารส่วนต�าบลบ่อแร่และส�านักงานพัฒนา สังคมหน่วยที่ 9 เข้ามาให้การสนับสนุน “ทางนายก อบต. ท่านให้การสนับสนุน จัดหา คนมาช่วยสอนการทอพรมให้พวกเรา ทั้งยังจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สา� หรับการทอพรม มีทงั้ กีท่ อ เศษผ้า ด้าย และ ไม้อัดที่เราเอามาไว้ส�าหรับสอด พร้อมส�าหรับลงมือ ท�าได้เลย” เมื่ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ พ ร้ อ มสรรพ สมาชิ ก กลุ ่ ม ก็ พร้อมที่จะเริ่มต้นทอพรมผืนแรก แต่พี่ลูกหนูบอกว่า มันไม่ได้ง่ายขนาดนั้น “ตอนเริ่มแรกท�ายากมาก เราต้องร้อยด้ายเข้า


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 93

กับกี่ทอผ้าเสียก่อน โดยสอดผ่านฟมที่ใช้ในการทอ ตอนแรกก็งง ๆ ก็ต้องให้เขามาสอนร้อยด้าย พอร้อย ด้ายเสร็จก็เริ่มทอพรม เริ่มทอก็ยากอีกเพราะเราท�าไม่ ค่อยเป็น ก็ตอนนั้นยังมือใหม่นี่นะ” พี่ลูกหนูเอ่ยเล่า พลางหัวเราะ “พอดีเรามีสมาชิกที่เป็นผู้สูงอายุ เขามีพื้นฐาน ในการทอเสื่อกกมาก่อน เขาก็มาช่วยสอนให้ เพราะใน สมัยก่อนคนในหมู่บ้านจะทอเสื่อไว้ใช้เอง แต่ละบ้าน ต่างท�าของใครของมัน เพราะก่อนนั้นต้นกกกับปรือ ยังพอหาได้ง่ายในหมู่บ้าน แต่เดี๋ยวนี้กกปรือไม่ค่อย มีให้เห็นแล้ว โดนยาฆ่าหญ้าบ้าง โดนสารเคมีที่ใช้ใน การเกษตรบ้าง พืชพวกนี้เลยตายหมด การทอเสื่อก็ พลอยหายไปด้วย” หลังจากฝกปรือจนช�านาญ แล้ว พี่ลูกหนูบอกว่า ความจริงการ ทอพรมไม่มีอะไรซับซ้อนมากนัก ความที่ตอนแรกยังใหม่ มือไม้ยังไม่ เข้าทีเ่ ข้าทาง จึงมองว่าเป็นเรือ่ งยาก ส่วนขั้นตอนการทอพรมนั้นเริ่มจาก การคัดแยกผ้าที่รับซื้อมาจากพ่อค้า คนกลาง ซึ่งปัจจุบันมีราคาเพิ่มขึ้น จากเดิมกิโลกรัมละ 12 บาท เป็น พี่ลูกหนู วรนุช ¤รุฑพันธ์


14 บาท พีบ่ งั อรเล่าว่า ผ้าทีร่ บั ซือ้ มาเป็นเศษผ้าทัว่ ไป มี 2 ชนิด คือ แบบที่เป็นเส้นกลมกับเส้นแบน บางทีก็มีเศษ ผ้าชิน้ เล็กชิน้ น้อยทีต่ อ้ งน�ามาต่อกันให้ได้ความยาวตาม ขนาดของผืนพรม ประมาณ 60 เซนติเมตร “พรมที่เราทอเสร็จ เราจะยกไปทั้งม้วนเพื่อให้ สมาชิกผูกทีบ่ า้ น เขาจะตัดด้ายตามไม้ทเี่ ราสอดคัน่ เอา ไว้ แล้วผูกให้แน่นเพื่อไม่ให้พรมหลุดออกจากกัน เรา จะจ้างเขาผืนละ 6 สลึง 2 ผืน 3 บาท เสร็จแล้วเราจะ มาตัดแต่งริมของพรมอีกครั้ง” พี่ลูกหนูเอ่ยยิ้ม ๆ แอบ กระซิบว่า “เป็นเพราะเราไม่มีเวลาท�า เวลาทอก็อยาก


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 95

ทอให้ได้เยอะ ๆ เลยไม่มีเวลามัดเอง” ครั้นเมื่อทอพรมเสร็จเรียบร้อยแล้วจะมีพ่อค้า คนกลางคนเดียวกับที่น�าผ้ามาส่งมาติดต่อขอรับซื้อ พรมครัง้ ละจ�านวนมาก ๆ ในราคาขายส่งผืนละ 12 บาท พี่ลูกหนูเล่าให้ฟังว่า ผ้า 1 กิโลกรัมจะสามารถทอเป็น พรมได้ประมาณ 2 ผืน โดยจะมีการหักเงินของสมาชิก เป็นค่าผ้ากิโลกรัมละ 1 บาท หรือผืนละ 50 สตางค์ เพือ่ เก็บเข้ากองทุนของกลุม่ ส�าหรับจ่ายค่าน�า้ ประปา ค่าไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ที่จ�าเป็น “พ่อค้าคนกลางจะโทรศัพท์มาถามว่า เรามี


96 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

พรมไหม เพราะเขาจะรับซื้อครั้งละประมาณ 1,000 ผืน เพือ่ เอาไปใช้วางรองผลไม้ทตี่ อ้ งส่งไปต่างประเทศ” พี่ลูกหนูอธิบายเพิ่มเติม “ตอนแรกมีคนมาสอนท�าลาย สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมเล็ก ๆ แต่พ่อค้าคนกลางบอกว่า ขายไม่ได้ เพราะเขาเอาไปใช้รองผลไม้ แม้เราจะขาย ปลีกได้บ้าง แต่ก็ไม่เยอะนัก เพราะส่วนใหญ่เราจะส่ง ให้พ่อค้าคนกลางเจ้าเดียว เพียงแต่ช่วงนี้ทางกลุ่มไม่ ค่อยมีเวลาว่างกันสักเท่าไหร่ เพราะช่วงนีข้ า้ วได้ราคาดี “ขายปลีกตอนนี้เราขายผืนละ 20 บาท เพราะ ผ้าขึ้นราคา มีคนที่รู้จักจะแวะเข้ามาถามซื้อบ้าง แต่ ก็ ไ ม่ เ ยอะนั ก ซึ่ ง ถ้ า เราสามารถขยายตลาดการค้ า ปลีกได้ เราก็สามารถพัฒนาลวดลายให้สวยงามขึ้น ได้” พี่ลูกหนูพูดยิ้ม ๆ แม้ปจั จุบนั กลุม่ ทอพรมเช็ดเท้าจะมีปญ ั หาเรือ่ ง การผูกขาดของพ่อค้าคนกลาง แต่พวี่ รนุชและพีบ่ งั อรก็ ยังมีความหวังที่จะหาหนทางในการขยายตลาด และ พัฒนาปรับปรุงพรมให้ดีและสวยงามยิ่งขึ้น




วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 99

๗ สานเส้นและเล่นลาย ลวดลายของศิ ล ปะ ไม่ ว ่ า จะปรากฏเป็ น จิตรกรรมฝาผนังตามวัดวาอาราม เป็นลายเส้นบน แผ่นกระดาษ เส้นสีบนผืนผ้าใบ เป็นลายถักทอบนผืน ผ้าพื้นบ้าน หรือเป็นลวดลายบนเครื่องจักสาน ล้วนมี ความงดงามวิจติ รตามแบบฉบับเฉพาะของแต่ละ พื้นที่พื้นถิ่น ซึ่งสอดแทรกเอาวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ของกลุ่มคนหรือชุมชนผู้สร้างผลงานชิ้นนั้น ๆ ไว้อย่าง สอดคล้องกลมกลืน เช่นเดียวกับลวดลายอันงดงามบน เครื่องจักสานของกลุ่มสานเส้นเล่นลาย กลุ่มแม่บ้าน หมู่ 6 บ้านหนองจิก ที่คิดค้นประดิษฐ์ลวดลายอันเป็น เอกลักษณ์ของตัวเอง นับแต่อดีต บ้านหนองจิกเป็นพื้นที่ท�านาปลูก ข้าว ปลูกไม้ใช้สอยไว้ตามหัวไร่ปลายนา โดยเฉพาะ


ไม้ไผ่ซึ่งมีอยู่มาก หลังว่างจากฤดูท�านา ชาวบ้านมัก จะไปตัดไม้ไผ่มาจักสานเป็นภาชนะง่าย ๆ ส�าหรับใช้ ในครัวเรือน บางคนก็ไปรับจ้างนอกพื้นที่ซึ่งเป็นงาน ค่อนข้างหนัก จึงเกิดเป็นความคิดในการตัง้ กลุม่ จักสาน ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2527 โดยมีส�านักงานพัฒนาชุมชน และส�านักงานพัฒนาสังคมหน่วยที่ 9 เข้ามาสนับสนุน เชิญวิทยากรจากบ้านหนองจิกมาช่วยสอนวิธีการ ท�าจักสาน โดยมีนางอ�าไพ วันทอง เป็นประธานกลุ่ม จักสานคนแรก “แต่เดิมที่บ้านหนอกจิก คนเฒ่าคนแก่เขาสาน สุ่ม สานตะกร้า สานกระด้ง สานไซกันอยู่แล้ว แต่พอ เราไปเห็นคนอื่นเขาท�าลายออกมาสวย ผู้ใหญ่อ�าไพ ซึ่งตอนนั้นเป็นประธานกลุ่ม ไปขอให้พัฒนาสังคม ติ ด ต่ อ วิ ท ยากรมาสอนการสอดลายพิ กุ ล เป็ น ลาย


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 101

แรกที่เราเริ่มท�า จากนั้นจึงค่อยพัฒนาต่อมาเรื่อย ๆ” ป้าสัมผัส ต่ายธานี ประธานกลุ่มสานเส้นเล่นลายคน ปัจจุบันเอ่ยเล่าถึงความเป็นมา หลังจากมีวิทยากรมาช่วยสอนการสอดลาย ดอกพิกุล จนสมาชิกกลุ่มสามารถสอดสานลวดลาย ได้อย่างช�านิช�านาญและสวยงามแล้ว จึงมีการคิดค้น พัฒนารูปแบบของลวดลายใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมาให้มี ลักษณะเฉพาะของกลุ่ม จนผลงานได้รับเลือกให้เป็น สินค้าโอทอป เป็นทีร่ จู้ กั ทัว่ ชัยนาทและจังหวัดใกล้เคียง ปัจจุบันกลุ่มสานเส้นเล่นลายมีรูปแบบของ การสอดสานลายคื อ ลายดอกพิ กุ ล ลายเทพพนม


102 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ลายข้าวหลามตัด ลายไทย ลายมันยกร่อง ลายดาว ล้อมเดือน และลายดอกจิก ซึ่งเป็นการคิดลวดลายให้ สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้าน “ลายแต่ละลายก็มีลักษณะแตกต่างกันไป ยาก ง่ายต่างกัน ต้องอาศัย ความละเอียด ประณีต และ ความช�านาญพอสมควร อย่างลายดอกพิกลุ จะท�าง่าย พิกลุ แบบดัง้ เดิมดอกสวยดี และท�าเสร็จได้เร็ว ส่วนลาย ที่ยากคือลายดาวล้อมเดือน มีความละเอียดสูง ต้อง สอดลายถึง 9 รอบด้วยกัน” ป้าสัมผัสเล่าให้ฟังพลางส่งกระจาดใส่ผลไม้ ให้ข้าพเจ้าพิศดูลวดลาย ลวดลายดอกแต่ละลายบน กระจาดใส่ผลไม้เป็นการสอดร้อยเข้ากับตัวโครงซึง่ สาน จากตอกไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง กระจาดแต่ละใบอย่างน้อย ต้องสานและสอดหลายรอบอย่างประณีตบรรจง แรกเริ่มก่อนเข้ามายังบ้านเลขที่ 30 หมู่ที่ 6 บ้านหนองจิก บ้านของป้าสัมผัสซึ่ง เป็นทีต่ งั้ ของกลุม่ สานเส้นเล่นลายนัน้ ข้าพเจ้า ได้ยนิ มาว่า การจักสานของแม่บา้ นกลุม่ นี้มีความพิเศษอีกอย่างคือ การจัก ตอกด้วยการร้อยผ่านกระป๋อง ซึ่ง ปกติไม่เคยเห็นวิธีการจักตอกแบบ นี้มาก่อน ป‡าÊัมผัÊ ต่ายธานี


“การร้อยกระป๋อง ถ้าท�าไม่เป็นมันก็ขาดได้ เหมือนกัน ช่วงแรกเราใช้มีดจักธรรมดาก่อน แต่การ ใช้มีดจักมันจะได้ขนาดเส้นไม่สม�่าเสมอกันและไม่สวย เลยน�ามาร้อยกระป๋องอีกรอบ” ป้าประเสริฐ ม่วงพุ่ม สมาชิกคนหนึ่งของกลุ่มอธิบายวิธีการร้อยกระป๋อง พร้อมแสดงประกอบ “การสานการสอดดอก เราจะใช้ก้านลาน ก่อน จะสอดดอก เราต้องน�ามาร้อยผ่านกระป๋องเพือ่ ให้ได้ เส้นที่สวยและมีความสม�่าเสมอกัน ที่เลือกใช้กระป๋อง เพราะว่ามันมีความคมและหาได้ง่าย เวลาจับก็ไม่ต้อง กลัวว่าจะโดนบาด เราใช้เหล็กแหลมเจาะรูตามขนาด ตอกที่เราต้องการ” ป้าสัมผัสอธิบายเพิ่มเติม วัสดุในการสานสอดใช้ไม้ไผ่ที่หาได้ในหมู่บ้าน เป็นส่วนใหญ่ โดยเลือกไม้ไผ่ที่มีอายุอย่างน้อย 1-2 ปี


ส่วนก้านลานต้องไปซื้อจากอ�าเภออินทร์บุรี ด้วยเป็น ก้านลานทีม่ คี ณ ุ ภาพดี แต่กอ่ นซือ้ ก้านลานในราคาร้อย ละ 60 บาท แต่ปัจจุบันก้านลานหายากขึ้น ราคาจึง ขึ้นมาอยู่ที่กิโลกรัมละ 60 บาท ก้านลานหนึ่งกิโลกรัม สามารถใช้สานกระจาดได้ประมาณ 2 ใบ ขั้นตอนการสาน ป้าสัมผัสอธิบายว่า ต้องเริ่ม จากโครงสร้างก่อน เริ่มด้วยสานธรรมดาให้ได้ขนาด ของก้นแม่พิมพ์ จากนั้นจึงใช้ไม้ประกบแล้วตอกตะปู เล็กยึดเอาไว้ แล้วสานต่อด้านข้างให้ได้ตามรูปลักษณะ ของแม่พิมพ์ โดยตัวแม่พิมพ์ท�าจากอะลูมิเนียมหรือ สังกะสีก้นเป็นไม้ “กระจาดทุกใบต้องมีแม่พิมพ์ เพราะถ้าไม่ใช้ พิมพ์ มันจะโย้ไปมา ไม่ได้รูปทรงที่เราต้องการ พอสาน


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 105

เสร็จเราจะถอดออกจากพิมพ์แล้วย้อมสีแดงที่ได้จาก สีโอ๊ก จากนั้นเป็นขั้นตอนการสอดลาย เสร็จแล้วค่อย มาใส่ขอบบนและฐานล่าง เราจะได้กระจาดใบหนึ่งซึ่ง มีสามชั้น” ป้าสัมผัสบอกว่า ปกติภายหลังจากขึน้ โครงเสร็จ จะน�าไปให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันสอด ให้ค่า จ้างสอดตามขนาดเล็กใหญ่ของ กระจาด ประมาณใบละ 60-100 บาท โดยเตรียมอุปกรณ์จัด ให้ไปเป็นชุด ๆ คือโครงของ กระจาดกับก้านลานทีจ่ กั เป็น เส้น ๆ “พอสมาชิกได้ชดุ ร้อยดอก ไปแล้ว เขาจะเอาลานไปร้อยกระป๋องและ สอดดอก โดยเราจะจัดไปให้เขาเป็นคู่ ๆ ง่ายกับยาก สลับกัน แต่ใบขนาดนี้ใหญ่หน่อย ราคาจะอยู่ที่ 100 บาท” หลังจากสอดลายเสร็จเรียบร้อย ป้าสัมผัสอธิบาย ต่อ “เราจะเอามาใส่ขอบเข้าปาก โดยใช้ไม้ไผ่สีสุก อายุประมาณสองปีที่ผ่านการดัดโค้งและตากจนแห้ง แล้ว ใส่ขอบและพันปาก จากนั้นจึงใส่ฐานโดยการใส่ ด้านนอกและด้านในพร้อมกันแล้วยึดให้แน่น บางคน


รีบท�าก็จะใส่ปากใส่ฐานแล้วค่อยนัง่ พันขอบในตอน กลางคืน เราจะพันขอบบนรอบหนึ่งก่อน แล้วจึงสอด ลายจูงนางซึ่งคนโบราณเรียกว่า ‘สันปลาช่อน’ เสร็จ แล้วค่อยทาน�า้ มันวานิชผสมกับน�า้ มันสน หลายขัน้ ตอน มากกว่าจะเสร็จเป็นกระจาดอย่างที่เห็น” ป้าสัมผัสบอกว่า ส่วนใหญ่ทางกลุ่มไม่ค่อยได้ เอาผลงานไปจัดแสดงที่อื่น มีบ้างก็เป็นทางจังหวัดมา ขอยืมไปจัดแสดงตามงานโอทอป ลูกค้าส่วนใหญ่ไป เห็นตามงานแสดงก็จะโทรฯมาติดต่อ และสั่งออเดอร์ มาโดยตรงจากจังหวัดอ่างทอง สุพรรณ และอ�าเภอ มโนรมย์ จังหวัดชัยนาท


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 107

“ตอนนี้เขาก�าลังนิยมหาบ ใช้หาบของไปวัด หรือไปจัดแสดงบ้าง เลยกลายเป็นสินค้าขายดี เราขาย ชุดละ 1,000 บาท ไม่รวมไม้คานนะ” ป้าสัมผัสพูดยิ้ม ปัจจุบันกลุ่มสานเส้นเล่นลายมีสมาชิก 23 คน ซึง่ แต่ละคนก็ใช้เวลาว่างของตนในการท�างานสานเส้น สอดลวดลายตามออเดอร์ของตนเอง บางคนก็รับจ้าง สอดลายอีกต่อหนึ่ง “การท�างานอย่างนี้ท�าให้เรามีรายได้เสริม เพราะเราท�านาแค่ปีละครั้งเดียว แต่งานสานเราได้ทุก เดือน แล้วเราก็ใช้เวลาว่างในการท�า บางคนแก่แล้วไม่ สามารถไปรับจ้างท�างานอย่างอื่นได้ก็สามารถสานอยู่


108 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

กับบ้านได้ พอมีเงินไว้เป็นค่าใช้จ่ายเล็ก ๆ น้อย ๆ แล้ว ก็เพลินดีด้วย” ป้าสัมผัสพูดด้วยรอยยิ้ม “เราอยู่เฉย ๆ ไม่ได้ท�าอะไร สานกระจาดก็ดี เหมือนกัน เพลินดี” ป้าประเสริฐเอ่ย “เป็นยังไงบ้างครับป้า” ข้าพเจ้าเอ่ยถามป้าอ�าไพ ขุนไกร ซึ่งนั่งเงียบพันขอบปากกระจาดอยู่ตั้งแต่พวก เราเดินเข้ามา ป้าอ�าไพเงยหน้าขึ้นมองดูข้าพเจ้าแล้ว ยิม้ เพียงเท่านีข้ า้ พเจ้าก็พอทราบว่าป้าอ�าไพรูส้ กึ เช่นไร สมาชิกภายในกลุม่ มีการแบ่งสันปันส่วนของราย ได้เพือ่ เข้ากลุม่ 6 เปอร์เซ็นต์ โดยเอาเงิน 2 เปอร์เซ็นต์แรก เก็บไว้ปนั ผลให้กบั สมาชิก อีก 2 เปอร์เซ็นต์เอาไว้เป็นค่า ใช้จ่ายภายในกลุ่ม และ 2 เปอร์เซ็นต์สุดท้าย มอบเป็น ทุนการศึกษาให้กับเด็กนักเรียน นอกจากนี้ กลุ่มสานเส้นเล่นลายยังได้มีการจัด ท�าหลักสูตรท้องถิ่นร่วมกับทางโรงเรียน โดยได้รับเชิญ ไปสอนในโรงเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 สองสามแห่ง เพื่อเป็นการ สืบสานรักษาการสานสอดลวดลายอันสวยงามให้คง อยู่สืบไป



พี่จาลÖก ปานเกิด

ป‡าÊุมารี เกิดÊรร¤์


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 111

๘ เรื่องกล้วยๆ ที่ไม่กล้วยอย่างที่คิด ‘หากมีแขกเหรื่อมาถึงเรือนชาน ให้คอยหาน�้า หาขนมมาคอยต้อนรับ’ ตอนเป็นเด็ก ข้าพเจ้ามักได้รับ การบอกกล่าวจากผู้หลักผู้ใหญ่อยู่เสมอให้คอยหา น�้าท่ามาต้อนรับแขกผู้มาเยือน อันเป็นการแสดงน�้าใจ ไมตรีของผู้เหย้า ครั้นเมื่อข้าพเจ้าเติบโต มีโอกาสได้ เดินทางห่างไกลจากบ้านเกิดมากขึ้นเรื่อย ๆ ข้าพเจ้า มักพบเห็นธรรมเนียมปฏิบตั เิ ช่นนีอ้ ยูเ่ สมอไม่วา่ จะเป็น เรือนชานฐานถิ่นชนบทอันห่างไกลหรือแม้แต่ในเมือง ใหญ่ ราวกับมันเป็นสิง่ ทีแ่ ฝงอยูใ่ นวิถขี องความเป็นไทย ทุกคนเลยทีเดียว เช่นเดียวกับที่ข้าพเจ้าเดินทางมาถึง บ้านส�านักจั่น หมู่ที่ 5 ของต�าบลบ่อแร่ ที่ตั้ง ของกลุ่มแม่บ้านท�ากล้วยฉาบของพี่จาลึก ปานเกิ ด เจ้ า ของบ้ า นต้ อ นรั บ เราด้ ว ยน�้ า


112 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

ใบเตยเย็น ๆ หอมชื่นใจ ป้าสุมารี เกิดสรรค์ หาผ้ามา ปัด ๆ ยกพื้นของเพิงอันร่มเย็นให้เรานั่งพักผ่อน ข้าพเจ้ามองดูกล้วยฉาบสีเหลืองอร่ามแต้มแต่ง ด้วยเกล็ดน�้าตาลสีขาวและเมล็ดงาสีด�าบรรจุห่อ วาง เรียงอยู่ในกระจาดใบน้อย

ป้าสุมารีเล่าว่า กล้วยฉาบกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ 5 ริเริ่มมาจากน้องสาว หรือพี่จาลึก ปานเกิด ได้รับ งบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนต�าบล บ่อแร่ส�าหรับจัดตั้งกลุ่มแปรรูปอาหาร ช่วงแรกเริ่ม จากการแปรรูปไข่เค็ม แต่ไม่ประสบผลส�าเร็จเท่าทีค่ วร เพราะไม่เป็นที่ต้องการของตลาด


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 113

“ตอนท�ากลุม่ ใหม่ ๆ เราเริม่ ท�าไข่เค็มก่อน พบว่า ต้องใช้เวลา ลงทุนมากแต่ก�าไรน้อย และตลาดไม่ค่อย ดีด้วย จนกระทั่งได้ไปอบรมที่ชลบุรี พอกลับมา เรานั่ง มองดูรถวิ่งเข้ามารับซื้อกล้วย หวีละ 5 บาท ขนกล้วย ไปเป็นคันรถได้เงินไม่กี่สตางค์ ก็คิดว่ารอเขามารับซื้อ กล้วยอย่างนี้คงไม่ได้แล้ว” ป้าสุมารีบอกว่า การได้นั่งมองดูเขาเข้ามาขน กล้วยออกไปทีละคันรถท�าให้เกิดความคิดที่จะแปรรูป กล้วยดิบเป็นกล้วยฉาบเพื่อเพิ่มรายได้ให้มากขึ้น เนื่องจากชาวบ้านในต�าบลปลูกกล้วยกันเยอะ ล�าพัง เฉพาะพีน่ อ้ งแต่ละคนก็ปลูกกล้วยกันเยอะอยูแ่ ล้ว จาก กุศโลบายที่พ่อเคยบอกเคยสอนเมื่อตอนยังเด็ก “พ่อมักจะสอนว่า ถ้าอยากรวยให้ปลูกกล้วย เยอะ ๆ พ่อบอก ‘มึงอยากรวยไหมเล่า ถ้าอยากให้ปลูก กล้วย เก็บนวลตอง” ลูกพ่อเลยปลูกกล้วยได้เยอะกันทุก คนจริง ๆ แต่กย็ งั ไม่รจู้ ะให้ออกมาเป็นสตางค์ได้อย่างไร ก็คยุ กับจาลึกว่า เอายังไงดี กล้วยพีเ่ ยอะจังเลย สุดท้าย เราเลยคิดท�ากล้วยฉาบ” ป้าสุมารีเล่าพลางหัวเราะ วิธีการจัดการภายในกลุ่มเป็นไปอย่างเรียบง่าย และเป็นกันเอง เวลามีออเดอร์เข้ามา สมาชิกที่พอมี เวลาว่างหรือไม่มีงานเสริมจากทั้งหมด 17 คน จะชักชวนกันมาท�ากล้วยฉาบ ตั้งแต่ปอก ล้าง


114 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

หั่นซอย และทอด ไปจนถึงการแพ็กถุงจัดเตรียมใส่ลัง รอส่ง บางครั้งหากมีพืชผักก็จะเอามาขายภายในกลุ่ม อย่างเช่น มะนาว ส้มซ่า ผักบุ้ง เป็นต้น หรือถ้าสมาชิก คนไหนมีกล้วยก็สามารถเอามาขายได้ โดยทางกลุม่ จะ รับซื้อหวีละ 5 บาท ส�าหรับรายได้จากการขายกล้วย ฉาบ หลังจากหักค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดแล้วก็จะเฉลีย่ อย่าง ยุติธรรมแบ่งให้กับสมาชิกที่มาช่วยงาน “การเอากล้วยมาแปรรูป เราสามารถเฉลีย่ ก�าไร กันได้อย่างทั่วถึง สมาชิกบางคนได้ค่าวัตถุดิบจากการ ขายกล้วยหวีละ 5 บาทด้วย แต่ถ้าเรามาช่วยท�ากล้วย ฉาบ เราก็จะได้เพิ่มอีก แม้จะแค่ 80 บาทก็ตาม ดีกว่า นัง่ รอให้พอ่ ค้ามาตัดกล้วย หรือรอให้กระรอกมากัดกิน” ป้าสุมารีพูดยิ้ม “การท�าอย่างนี้ท�าให้กล้วยเรามีมูลค่าขึ้นมา อีกเยอะ เขามารับซื้อลังเท่านี้ (ท�ามือประกอบ) ได้ที เป็นพันบาท นั่นขนไปหนึ่งรถอีแต๊ก ได้แค่ 300 บาท” พี่จาลึกกล่าวด้วยเสียงหัวเราะ การแบ่งสันปันส่วนรายได้ของกลุม่ เป็นไปอย่าง ยุติธรรม ภายหลังหักต้นทุนวัตถุดิบแล้ว ก�าไรที่เหลือก็ น�ามาแบ่งปันกันตามความเป็นจริง วันไหนท�าได้มาก ก็ปันผลก�าไรมาก วันไหนท�าได้น้อยก็ปันน้อย เฉพาะ สมาชิกที่มาช่วยท�าในแต่ละครั้ง


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 115

“แต่ก่อนเราขายส่งถุงละ 8 บาท ขายปลีกถุงละ 10 บาท แต่ตอนนีข้ องทุกอย่างขึน้ ราคาหมด เลยคิดกัน ว่าจะส่งถุงละ 10 บาท ปลีกเพิ่มเป็น 12 บาท ส่วนคน ที่มารับจะเอาไปขาย 15 หรือ 20 บาท ก็เป็นเรื่องของ เขา” พี่จาลึกกล่าว ทางกลุ่มแม่บ้านจะมีออเดอร์ท�ากล้วยฉาบราว สัปดาห์ละ 500-1,000 ถุง ส่วนใหญ่จะเป็นคนใน หมู่บ้านที่ไปท�างานอยู่กรุงเทพฯ มารับไปขายต่อ บาง ครั้งก็มีคนมารับไปจัดแสดงตามงาน หรือแม้แต่ต่าง ประเทศก็มีผู้สนใจอยากสั่งออเดอร์ เพียงแต่ทางกลุ่ม ยังไม่พร้อมที่จะท�า ด้วยวัตถุดิบส�าคัญคือกล้วยนั้นไม่ สามารถหาได้ตลอดทั้งปี “ที่จริงเราจะได้ก้าวไปโกอินเตอร์แล้วนะ เขาจะ สั่งออเดอร์ 4 หมื่นถุงต่ออาทิตย์ เราเลยไม่รับ เพราะ บางฤดูเราหากล้วยไม่ได้ ถ้าท�าไม่ได้เขาจะปรับเราอีก มันจะได้ไม่คุ้มเสียเอา” พี่จาลึกบอก “ตอนนี้เราไปบ้านไหน เขาก็จะบอกให้เราไป เอากล้วย บางคนก็อยากเข้ามาร่วมในกลุ่ม แต่เรายัง ไม่พร้อมที่จะรับเพิ่ม เพราะเราไม่ได้มีงานท�าทุกวัน แต่ ถ้ามีก็ดี เพราะเป็นงานไม่หนัก อยู่ในร่ม ท�างานไปคุย กันไปสนุกออก จะเกี่ยงกันบ้างก็เรื่องการทอดกล้วยนี่ แหละ ปกติพจี่ ะทอดเองถ้าตาดี เพราะป้าก็จะทอดไหม้


116 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

แต่ละคนก็ถนัดกันคนละอย่าง คนนั้นปอกเก่ง อีกคน ฝานเก่ง เราก็ให้เกียรติซึ่งกันและกัน แต่เวลาขาดใคร ไปสักคนหนึ่ง คนที่เหลือก็ท�าหน้าที่ได้หมด” พี่จาลึก พูดด้วยรอยยิ้ม “ปัญหาเราคือกล้วยไม่คอ่ ยมี หาไม่คอ่ ยได้ ตอน นี้หยุดมาได้ 3 เดือนแล้ว เราก็ไม่ได้ไปหาเพราะยุ่งทาง บ้านด้วย แต่การได้ท�างานตรงนี้เรามีความสุขกันดี ถ้า จะไม่มคี วามสุขก็ตรงทีว่ า่ เวลาเขามาเอาของแล้วเรายัง ผลิตไม่เสร็จน่ะซี” ป้าสุมารีพูดพลางหัวเราะ บางทีชีวิตของคนเราอาจไม่ได้ต้องการความสุข อะไรที่ยิ่งใหญ่มากมายนัก แค่ได้ท�างานของตน ได้ อยู่กับคนที่ใกล้ชิดคุ้นเคย รู้จักและรู้ใจกัน ก็บังเกิด ความสุขขึ้นมาได้ เช่นเดียวกับการได้พูดคุยกับกลุ่ม แม่บ้านบ้านส�านักจั่นแห่งนี้ ตลอดการพูดคุย เสียง หัวเราะหยอกล้อไม่เคยจางหาย ยังให้เกิดความเบิก บานในจิตใจของผู้ได้ยินได้ฟัง แม้กระทั่งพวกเราหัน หลังเดินจากมาแล้ว เสียงหัวเราะร่าเริงยังลอยละล่อง มาตามสายลม


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 117


118 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 119

ก่อนเอ่ยคําลา ต

ตลอดสามสี่วันที่ข้าพเจ้าวนเวียนอยู่ใน ต�าบลบ่อแร่ อ�าเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท ข้าพเจ้า ได้พบเจอผู้คนมากมาย ได้สัมผัสกับชีวิตความเป็น อยู่ที่เรียบง่ายและเป็นกันเอง วิถีของผู้คนบ่อแร่ส่วน ใหญ่อิงแอบแนบชิดอยู่กับธรรมชาติ อยู่กับการท�า เกษตรกรรมอันเป็นการท�านาตามฤดูกาลแบบพึ่งพา น�้าฝนเป็นหลัก ด้วยระบบชลประทานเข้ามาไม่ถึง จึง ท�าให้คนบ่อแร่ท�านาได้ปีละครั้งเดียว แม้ป ัจ จุบัน คนบ่อแร่จ ะมีการพยายามปรับ เปลี่ยนมาเป็นการท�านาปีละสองครั้ง โดยเลือกปลูก ข้าวพันธุ์ที่มีอายุสั้น ใช้เวลาไม่นานก็สามารถเก็บเกี่ยว ได้ การท�านาเริ่มตั้งแต่ต้นฤดูฝนแล้วเก็บเกี่ยวในช่วง ราวออกพรรษา ฝนฟ้าช่วยให้การท�านาเป็นไปอย่าง ได้ผล หลังจากเกี่ยวเสร็จ ชาวบ้านบางคนเลือกที่จะ ท�าการไถและหว่านอีกครัง้ ขณะทีบ่ างท้องทุง่ พืน้ ดินถูก ปล่อยทิ้งไว้อย่างนั้น นายกฯ ศักดา กิ่มเกิด บอกเราว่า ชาวบ้านแต่ละคนจะใช้ดลุ พินจิ ของตัวเองดูจากสภาวะ


120 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

แวดล้อมของธรรมชาติวา่ จะท�านารอบสองหรือไม่ แต่ดู เหมือนว่าปีนี้ ชาวบ้านหลายคนเลือกที่จะลงทุนลงแรง ท�านาปลูกข้าวอีกครั้ง การท�านารอบสองเริม่ ต้นขึน้ ในช่วงปลายฝนต้น หนาว ใครที่เริ่มลงมือไถหว่านก่อนอาจโชคดีที่ยังพอ มีน�้าให้ใช้ คนที่ท�าทีหลังก็อาจยังพอมีน�้าเหลืออยู่บ้าง แต่ภายหลังจากนี้ หากน�้าที่มีอยู่ตามคูคลองหรือตาม ฝายเริ่มแห้งขอด ชาวบ้านจะรวมตัวกันเพื่อไปขอน�้า (เดินน�้า) มาจากอ่างเก็บน�้าห้วยขุนแก้วในเขตจังหวัด อุทัยธานี ถ้าปีไหนระดับน�้าในอ่างเก็บน�้าห้วยขุนแก้ว มีน้อยก็เป็นไปได้ว่า พื้นที่ต�าบลบ่อแร่อาจจะประสบ กับปัญหาภัยแล้ง เรื่องของน�้าจึงมีความส�าคัญอย่างมากส�าหรับ คนบ่อแร่ เป็นเหมือนความหวังของผู้คน เป็นความ ปรารถนาที่จะได้มา คล้ายความฝันที่คนบ่อแร่มีร่วม กัน ไม่ต่างไปจากภาพฝันของผู้น�าต�าบล “บ่อแร่ในอนาคต ผมอยากเห็นพี่น้องประชาชน มีความสุข ท�ากินตามอย่างเศรษฐกิจพอเพียง พออยูก่ นั ได้ ผมฝันอยากให้มีระบบคูคลอง มีระบบชลประทาน มันเป็นความมุง่ มัน่ ทีเ่ ราต้องท�าให้ได้ ถ้าท�าได้ คนบ่อแร่ จะมีความสุขมาก เพราะพี่น้องในหมู่บ้านได้มีน�้าท�า นากันอย่างสมบูรณ์ และมีงานเสริมท�าในช่วงว่างเว้น


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 121

จากการท�านา เขาจะได้ไม่ตอ้ งไปท�างานทีอ่ นื่ ถ้าพีน่ อ้ ง ปลอดหนีป้ ลอดสิน อยูก่ นั อย่างสุขกายสบายใจ ก็ถอื ว่า โชคดีแล้ว” นายกฯ ศักดากล่าว แม้เกษตรกรส่วนใหญ่ที่นี่จะท�านาด้วยการฉีด ปุ๋ยพ่นยาและใช้สารเคมีกันอยู่ แต่ก็มีกลุ่มชาวบ้าน ที่เริ่มน�าความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับการท�าเกษตรอินทรีย์ การใช้ปยุ๋ อินทรียเ์ ข้ามาในหมูบ่ า้ น จึงเริม่ มีกลุม่ ผูส้ นใจ เรื่องการท�านาอย่างปลอดภัยมากขึ้น หรืออย่างน้อยก็ เป็นการผสมผสานระหว่างการใช้เคมีและอินทรีย์ร่วม กันเพื่อลดต้นทุนการผลิต อย่างเช่น โรงเรียนเกษตร ชาวนา กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ปั้นเม็ด หรือศูนย์ถ่ายทอด เทคโนโลยีพลังงานทดแทนซึง่ น�ามูลสัตว์ทผี่ า่ นการหมัก แก๊สชีวภาพมาท�าเป็นปุ๋ยอัดเม็ด ในช่ ว งว่ า งเว้ น จากการท� า เกษตร แทนที่ จ ะ ระเหเร่ร่อนออกไปท�างานรับจ้างต่างถิ่น คนบ่อแร่เริ่ม ก่อตั้งกลุ่มท�าอาชีพเสริมที่มีความหลากหลายและน่า สนใจ โดยเฉพาะกลุ่มแม่บ้านและกลุ่มคนเฒ่าคนแก่ ที่ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น กลุ่มทอพรมเช็ด เท้าบ้านทุ่งแห้ว กลุ่มจักสานและกลุ่มกล้วยฉาบบ้าน ส�านักจั่น กลุ่มดอกไม้จันทน์ กลุ่มกล้วยตาก และกลุ่ม สานเส้นเล่นลายบ้านหนองจิก นอกจากนี้ยังมีกลุ่มที่สามารถเป็นแหล่งเรียน


122 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

รู้ให้กับคนในชุมชนและคนต่างถิ่นได้เข้ามาเรียนรู้อีก หลากหลายกลุ่ม ทั้งกลุ่มที่ข้าพเจ้าได้มีโอกาสเข้าไป สัมผัส และอีกหลายกลุม่ ทีไ่ ม่ได้มโี อกาสเข้าไปท�าความ รู้จัก ทั้งในการส่งเสริมด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น กลุ่ม พิพิธภัณฑ์เครื่องมือเกษตรกรรม และกลุ่มดนตรีไทย หรือด้านที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวบ่อแร่ เช่น ชมรมอนุรักษ์ไก่ไทย นวดแผนโบราณ และกลุ่มเตียง ก้านตาล แม้ ต� า บลบ่ อ แร่ จ ะเข้ า ร่ ว มโครงการวิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ร่ ว มขั บ เคลื่ อ นเครื อ ข่ า ยต� า บลน่ า อยู ่ กับส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ไม่นาน แต่กส็ ามารถมองเห็นความพยายาม ในการก่อร่างสร้างตัวของความเป็นต�าบลสุขภาวะที่ ค่อย ๆ มีความชัดเจนมากขึ้นเรื่อย ๆ “เราพยายามเข้ามาท�าเรื่องสุขภาวะ เพราะ อยากให้พี่น้องของเรามีงานท�า อยากให้คนอื่นได้มา รู้จักบ่อแร่ แล้วเอาไปเผยแพร่ว่าบ่อแร่เป็นอย่างนี้ ถึง เราจะท�านาแค่ครั้งเดียว แต่เขาก็มีอาชีพเสริม มีอาชีพ ทีพ่ อเป็นหลักประคองตัวได้ อยูแ่ บบเศรษฐกิจพอเพียง อยู่แบบในหลวงท่านว่า แค่พออยู่พอกิน ไม่ต้องร�่ารวย แต่ขอให้มีความสุข มีความรักใคร่ผูกพันกันมากขึ้น” นายกฯ ศักดา กิ่มเกิด ผู้น�าชุมชนของชาวต�าบลบ่อแร่


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 123

กล่าวกับข้าพเจ้าในตอนท้าย รถยนต์คันเดิมค่อย ๆ น�าพาข้าพเจ้าออกจาก ต�าบลบ่อแร่ พี่สมเกียรตินั่งอยู่ประจ�าที่นั่งคนขับรถ ข้าพเจ้ามองดูท้องทุ่งนาสองฟากถนนที่ผ่านการเก็บ เกีย่ วเสร็จสิน้ แล้ว หลงเหลือเพียงตอซังข้าวระเกะระกะ ทุง่ นาบางแปลงถูกเผาและดึงน�า้ ขึน้ มาแช่ผนื นาไว้ ขณะ ที่บางแปลง รถไถก�าลังเร่งรีบถากไถพลิกดินด�าขึ้นมา อีกครั้ง และนั่นทุ่งนาทางฟากโน้น ต้นกล้าอ่อนก�าลัง งอกขึ้นจากผืนแผ่นดิน เพียงแค่สายลมพัดต้อง ต้น กล้าสีเขียวต่างพากันขยับไหวไปทั่วทั้งท้องทุ่ง ราวกับ ก�าลังโบกมืออ�าลา “แล้วฉันจะกลับมา” ข้าพเจ้าเอ่ยค�าอ�าลาอย่าง เงียบ ๆ


124 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

“บ่อแร่เรามีอะไรดีหลายอย่าง อย่างที่โรงเรียน กลุ่มของผมท�าเกษตร มีการ ปลูกผักสวนครัวขึ้นค้าง เราเผาแกลบกันเอง เราท�าปุ๋ยหมักเพื่อเอาไว้ใช้ในพื้นที่ของโรงเรียน ส่วนหนึ่งก็แบ่งกลับบ้านได้...” à´ç¡ªÒÂÍÔ·¸Ô¾Ã ¨Õºá¡ŒÇ ÍÒÂØ ñò »‚ ªÑé¹ Á.ñ âçàÃÕ¹ÇÑ´º‹ÍáË

“ความสุขของป้าเป็นความสุข ที่ได้อยู่กับครอบครัว และท�างานเล็ก ๆ น้อย ๆ งานบ้าน ปลูกผักกินเอง หาเล็กหาน้อยได้บ้างนิดหน่อยก็มี ความสุขแล้ว” »‡ÒÊÁ¤Ô´ ÊØ¢ÊÔ§Ë ÊíÒÍÒ§¤ ÍÒÂØ öó »‚ ¢Ò¹íéÒÁѹ (»˜ ÁËÅÍ´) ·Í¾ÃÁàªç´à·ŒÒ


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 125

“บ่ อ แร่ เ ป็ น ต� า บลที่ น ่ า จะมี สุขภาวะแล้วนะ เพราะไม่มีคนยากจนมาก ผิดกับเมือ่ ก่อน ตอนนีเ้ ขามีงานท�าเกือบทุกครัวเรือน ไม่มีการว่างงาน ช่วงที่ว่างจากท�านาก็มีงานอย่างอื่น เป็นช่างไม้ ช่างปูน รับจ้างทั่วไป อาชีพเสริมก็มี คนว่างงานน้อยลง”

¹Ò¨ÒÃÖ· ÍíèҷԾ ¤ÃÙÊ͹ªÑé¹Í¹ØºÒÅ âçàÃÕ¹ÇÑ´º‹ÍáË áÅзíÒà¡ÉµÃ»ÅÍ´ÊÒÃ

“คนบ่อแร่ท�านาได้หนเดียว พอฝนเริ่มมา เริ่มไถ เริ่มหว่าน ชาวนาก็ยิ้มได้ ยิ่งพอเก็บเกี่ยวได้ผลผลิตดี ชาวบ้านก็มี ความสุข เพราะเขาขายข้าวได้”

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÊغԹÁԵà ¾¹Ñ¡§Ò¹¢ÑºÃ¶¢Í§ ͺµ. º‹ÍáË


126 º‹ÍáË ¾Íà¾Õ§ ¾Í´Õ

เพลงศักยภาพชุมชน ค�าร้อง-ท�านอง วสุ ห้าวหาญ àÃÕºàÃÕ§´¹µÃÕ ศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก ขับร้องโดย ฟางแก้ว พิชญาภา, ศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี้ ท�าเพื่อเมืองไทยด้วยกัน ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เราเป็นคนไทยเปี่ยมความสามารถ เป็นก�าลังของประเทศชาติ พัฒนาบ้านเมืองก้าวไกล เป็น คนเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ก็รักเมืองไทยด้วยกันทั้งนั้น (สร้อย) หากเราร่วมมือร่วมใจ ท�าสิ่งไหนก็ไม่เกิน แรง โครงสร้างชุมชนแข็งแกร่ง เพราะเราร่วมแรงร่วมมือ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เราแบ่ง ปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ อยู่ชนบทห่างไกล ท�านาท�าไร่พอเพียงเลี้ยงตัว ใช้ ชุมชนดูแลครอบครัว ใช้ครอบครัวดูแลชุมชน ปูพนื้ ฐานจาก หมู่บ้านต�าบล สร้างแปลงเมืองไทยให้น่าอยู่ดังฝัน ชุมชนท้องถิ่นบ้านเราเรียนรู้ร่วมกันเพื่อการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่นบ้านเราเรียนรู้ร่วมกันช่วยกันพัฒนา


วุฐิศานติ์ จันทร์วิบลู 127

อยู่ตามเมืองใหญ่เมืองหลวง หัวใจทุกดวงซ่อนไฟ มุ่งมั่น ก้าวออกมาจากรั้วที่กั้น จับมือกันท�าเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน�้าใจ โอบกอดชุมชนไว้ด้วย ความสุขยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี้ ท�าเพื่อเมืองไทยด้วยกัน หากเราร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ ท� า สิ่ ง ไหนก็ ไ ม่ เ กิ น แรง โครงสร้ า งชุ ม ชนแข็ ง แกร่ ง เพราะเราร่ ว มแรงร่ ว มมื อ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เราแบ่ง ปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ ด้วยมุมมองทีเ่ รา แบ่งปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ..

เข้าไปฟังและดาวน์โหลดเพลงศักยภาพชุมชนได้ที่ www.punsook.org



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.