พิมาน

Page 1



พิมาน วิมานบนดิน


Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ พิมาน วิมานบนดิน เรื่องและภาพ เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์ ภาพประกอบ หนวดเสือ, ชาวาร์ เกษมสุข ปกและรูปเลม หนวดเสือ พิสูจนอักษร ทีมงานเสือกระดาษ พิมพครั้งที่ 1 พฤษภาคม 2556 เลข ISBN บรรณาธิการอํานวยการ ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยส�านักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) องค์การบริหารส่วนต�าบลพิมาน ผูจัดการ เนาวรัตน์ ชุมยวง

จัดพิมพและเผยแพรโดย

อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99 / 8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org


Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ พิมาน วิมานบนดิน เรื่องและภาพ เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์ ภาพประกอบ หนวดเสือ, ชาวาร์ เกษมสุข ปกและรูปเลม หนวดเสือ พิสูจนอักษร ทีมงานเสือกระดาษ พิมพครั้งที่ 1 พฤษภาคม 2556 เลข ISBN บรรณาธิการอํานวยการ ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยส�านักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) องค์การบริหารส่วนต�าบลพิมาน ผูจัดการ เนาวรัตน์ ชุมยวง

จัดพิมพและเผยแพรโดย

อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99 / 8 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org


ด�ำเนินกำรผลิตโดย


ค�าน�า ท่ามกลางกระแสวิกฤติเศรษฐกิจโลกครั้งใหญ่เป็น ประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปีท�าให้เกิดการตั้งค�าถามว่า วิกฤตินี้จะใหญ่ขึ้นอีกเพียงใด จะยืดเยื้อขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ชุมชนหมู่บ้านไทย มากน้อยเพียงใด ความวิตกดังกล่าวอาจจะไม่เกิดขึ้นเลย หากปัจจุบันชุมชนหมู่บ้านไทยไม่ถูกลากเข้าสู่ระบบการ ผลิตเพื่อขาย นั ก วิ ช าการหลาย ๆ ท่ า นได้ วิ เ คราะห์ ถึ ง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยว่า ในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบด�ารงอยู่ในลักษณะคู่ขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรืออาจจะกล่าวเป็นศัพท์สมัยใหม่ได้ว่า ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมู่บ้านจะมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย เน้น ความพอเพียง มีครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต การช่วย เหลือซึง่ กันและกัน มีนา�้ ใจเป็นพืน้ ฐานของชีวติ มีพธิ กี รรม ต่าง ๆ เป็นระบบการจัดการในชุมชน และให้ความส�าคัญ ของบรรพบุรุษ ผู้เฒ่าผู้แก่ ครอบครัว


ต่ อ มาหลั ง จากรั ฐ และระบบทุ น นิ ย มได้ เ ข้ า ไปมี อิทธิพลต่อชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ท�าให้ชาวบ้านมีรายจ่ายที่เป็นตัวเงินมากขึ้น เพียงเท่านั้น ยังไม่พอ สิ่งที่ท�าลายความเข้มแข็งของชุมชนมากที่สุดคือ รัฐและทุนเข้าไปถ่ายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชนหมูบ่ า้ น ยิ่ ง รั ฐ และทุ น เข้ า ไปกอบโกยมากเท่ า ไร ชุ ม ชน หมู่บ้านไทยยิ่งประสบความอ่อนแอ ค�าพูดดังกล่าวไม่ใช่ ค�าพูดลอย ๆ ที่ไม่มีหลักฐานรองรับ หากแต่เมื่อกวาดตา ไปทั่วแผ่นดินไทยหลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากว่า 40 ปี จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชนไม่ ประสบปัญหาความยากจน ไม่ประสบปัญหาสิ่งแวดล้อม หรือไม่ประสบปัญหาสุขภาพ จากสถานการณ์ ดั ง กล่ า ว ถึ ง เวลาแล้ ว หรื อ ยั ง ที่ สั ง คมไทยควรกลับมาเน้นการพัฒนาที่ไ ม่ มองแต่ มิติ ประสิทธิภาพ การสร้างมูลค่าและก�าไร หรือการตลาด ด้านเดียว แต่ควรจะเป็นเพือ่ ประโยชน์ของชุมชนและสังคม เราไม่ควรลดทอนผู้คนลงไปเป็นเพียงตัวเลข หาก ควรเป็นเพื่อส่งเสริมศักยภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ค�าตอบส�าหรับค�าถามข้างต้นนีค้ งจะต้องช่วยกันค้นหา ไม่ ว่าจะใช้ระยะเวลานานเท่าไร คณะผู้จัดท�า



1. พิมาน วิมานบนผืนดินถิ่นอีสาน


บานพิมานคือพิมานอันเรืองราม ถิ่นขาวงามตํานานบานขาวหอม แมโพสพพสุธามาเจิมจอม ประจมพรอมเจิมพรนครพนม ทุงนางามคนงามนํ้าใจงาม

รมอารามอรามรายเงาไมรม ......

ท่อนหนึ่งของบทกวี ‘พิมานบ้านนา’ รจนาโดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ บ่งบอกความ ประทับใจต่อต�าบลพิมานได้เป็นอย่างดี ต�าบลพิมานเป็นต�าบลเล็ก ๆ ในอ�าเภอนาแก จังหวัดนครพนม มีประชากรราวหนึง่ พันครัวเรือน ด้าน เหนือติดกับล�าน�้าก�่าซึ่งมีต้นก�าเนิดบนเทือกเขาภูพาน


ไหลผ่านทุ่งนาที่ราบ ไปออกแม่ น�้ า โขงที่ อ� า เภอ ธาตุ พ นม ด้ า นทิ ศ ใต้ ติ ด ภู พ านน้ อ ย ส่ ว นหนึ่ ง ของ เทือกเขาภูพานมีลกั ษณะเป็นเทือกเขาสูง ชันสามารถมองเห็นได้ไกลถึงอ�าเภอนาแก ส�าหรับคนที่อายุ 30 ปีขึ้นไป คงจะพอทราบ ว่า อ�าเภอนาแกเป็นหนึ่งในพื้นที่สีแดง เคยอยู่ภาย ใต้อทิ ธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์หรือ ‘ผกค.’ สมัยนัน้ ถ้าพลเรือนจากกรุงเทพคนไหนคิดจะเดินทางมาเที่ยว อ�าเภอนาแกคงถูกมองว่าเพี้ยนหรือไม่ก็บ้า เพราะ นอกจากจะเดิ น ทางล� า บากแล้ ว ยั ง ถื อ เป็ น พื้ น ที่ อั น ตราย มี ท หาร ต� า รวจ อส. และข้ า ราชการอี ก มากมาย ต้องมาจบชีวิตลงที่นาแกจากการปะทะกับ ผกค. เวลาล่วงเลยมา 20 ปี ความขัดแย้งจึงได้ยุติลง แม้จะผ่านไปนานแล้วก็ตาม แต่ชื่อเสียงของอ�าเภอ นาแกก็ไม่เป็นที่พูดถึงเท่ากับอ�าเภออื่น ๆ ของจังหวัด นครพนม ยิ่งไม่ต้องพูดถึงต�าบลพิมาน ต�าบลเล็ก ๆ ที่


12

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยนิ ชือ่ มาก่อน ผมเองก็เช่นกัน แต่การที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) เลือกทีน่ เี่ ป็นสถานทีส่ า� หรับฝึกอบรมโครงการ เศรษฐกิจพอเพียงและโครงการพักช�าระหนี้เกษตรกร ตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน ผมเชื่อแน่ว่า ต�าบลพิมาน นั้นต้องไม่ธรรมดา แต่จะไม่ธรรมดาแบบไหนนั้น ตาม ผมไปพิสูจน์ด้วยกันดีกว่าครับ.... ผมออกเดินทางจากหมอชิต 2 ในเวลา 3 ทุ่ม


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

ครึ่ง ด้วยรถ บขส. สายกรุงเทพ-เรณูนคร ใช้เวลา ราว 12 ชั่วโมงก็มาถึงอ�าเภอนาแก โดยมีปลัดธีระพล กลางประพันธ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลพิมาน มาคอยรับผมอยู่ก่อนแล้ว ระหว่างเดินทางจากอ�าเภอนาแกเข้าไปยังต�าบล พิมาน ปลัดธีระพล หนุ่มใหญ่วัย 47 ปี แนะน�าตัวเอง ว่าเป็นคนนครพนมโดยก�าเนิด แต่เมื่อต�าบลบ้านเกิด แยกตัวไปขึ้นกับจังหวัดมุกดาหาร จึงกลายเป็นหนุ่ม

13


14

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

มุกดาหารไปโดยปริยาย ผมสนทนากับปลัดเป็นการฆ่าเวลาระหว่างเดิน ทางด้วยเรือ่ งทัว่ ไป ปลัดเล่าว่า หลังจากทีค่ วามขัดแย้ง เรื่องคอมมิวนิสต์จบลง ทางการก็เข้ามาช่วยเหลือชาว บ้านเรือ่ งทีท่ า� กิน และส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดีย่ ว ชาว บ้านจึงเริ่มถางป่าเพื่อท�าการเพาะปลูก และรวมกลุ่ม กันกู้ยืมเงิน ธ.ก.ส. เพื่อซื้อปัจจัยการผลิต ราวปี พ.ศ. 2530-2535 เริ่มมีเครื่องอ�านวย ความสะดวกทางการเกษตรเข้ามา เช่น รถนวดข้าว รถ เกี่ยวข้าว รถไถนา ท�าให้ชาวบ้านพากันท�าการเกษตร แบบสมัยใหม่ ละทิง้ ภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้าน แต่แทนทีค่ วาม เป็นอยู่จะดีขึ้น ชาวบ้านกลับเป็นหนี้มากขึ้นไปอีก “ที่นี่ยังโชคดีหลายอย่างที่ลักษณะทางสังคม เป็นกลุ่มที่มีความขยันและอดออมเป็นพิเศษ ขณะที่ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนก็ได้เข้ามาช่วยชาวบ้าน ปลดหนี้ผ่านการอบรมลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว ส่ง เสริมการท�าบัญชีครัวเรือน” ปลัดธีระพลกล่าว ต่อมา หน่วยงานภาคีเครือข่าย เช่น ศูนย์การ ศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ปศุสัตว์อ�าเภอ เกษตร อ�าเภอ องค์การบริหารส่วนต�าบลพิมาน ป่าไม้จังหวัด และส�านักงานสนับสนุนกองทุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (สกว.) ก็ทยอยเข้ามาให้การช่วยเหลือสนับสนุน ท�าให้



16

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ปัจจุบันต�าบลพิมานกลายเป็นต�าบลปลอดหนี้นอก ระบบได้ส�าเร็จ และยังเป็นต�าบลต้นแบบ แหล่งเรียน รู้วิถีชุมชนของจังหวัดนครพนมและภาคอีสานอีกด้วย ปลัดธีระพลเล่าต่อไปว่า ต�าบลพิมานค่อนข้าง โชคดีที่พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลน น�้าในการท�านา เพราะมีน�้าจากคลองชลประทาน ห้วย หนอง และน�้าฝน “น�้าท่าอุดมสมบูรณ์แบบนี้แสดงว่า ผลผลิตก็ ต้องดีสคิ รับ” ผมแสดงความเห็นออกไป ปลัดส่ายหน้า เล็กน้อยก่อนตอบ “มันก็มีปัญหาบ้างเหมือนกันนะ หากปีไหนฝน ลงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม หนัก ๆ เพราะช่วงนั้น จะเป็นช่วงน�้าโขงขึ้นสูงพอดี ประกอบกับน�้าก�่าไหล มาบรรจบกัน พื้นที่ราบแถวนี้มันเป็นแอ่งน�้าก็เลยไหล ออกไปไม่ได้”




2. วัดศรีชมชื่น พุทธสถาน สานสัมพันธสองแผนดิน


ปลัดธีระพลขับรถไม่ถึง 5 นาที ก็ไปหยุดอยู่ ที่หน้าวัดศรีชมชื่น ซึ่งมองจากภายนอกแล้วก็ไม่ต่าง จากวัดตามชนบททั่วไป แต่หากสังเกตดี ๆ แล้วจะพบ สิง่ ก่อสร้างทีม่ สี ถาปัตยกรรมแปลกตา ไม่พบเห็นในวัด แถบภาคกลางมาก่อน

¾ÃÐ͸ԡÒúØÞËÇÁ »ÃÔ»³ Ø â³


ก่อนที่ผมจะทันได้ถามอะไร ปลัดธีระพลก็เดิน น�าเข้าไปกราบนมัสการพระอธิการบุญร่วม ปริปุณโณ เจ้าอาวาสวัดศรีชมชื่น อีกหนึ่งผู้ทรงภูมิปัญญาด้าน ประวัติศาสตร์ของต�าบลพิมาน เมื่อทราบวัตถุประสงค์ในการมาของผม หลวง พ่อจึงเล่าให้ฟังว่า ประวัติของชาวพิมานนั้นเล่ากัน มาแบบปากต่อ ปาก ชาวพิม านสืบ เชื้อ สายมาจาก ชาวภูไทที่อาศัยอยู่ในเขตบ้านพอก บ้านนาขาม แถว เมืองมหาชัย แขวงค�าม่วน ซึ่งปัจจุบันคือ เมืองท่าแขก ประเทศลาว ในปี 2297 พวกจีนฮ่อในยูนนานได้ยก ทัพเข้ามารุกรานเมืองมหาชัย ชาวเมืองจึงอพยพหนี ภัยสงคราม ลงเรือล่องมาตามล�าน�้าโขงแล้วตัดเข้า มายังแม่น�้าก�่า แล่นเรือขึ้นมาถึงจุดที่เป็นบ้านพิมาน ท่าในปัจจุบัน เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นร่วมกันว่าท�าเล เหมาะสมที่จะตั้งถิ่นฐาน ต่อมาเมื่อทราบว่าสงคราม สงบแล้วก็ส่งคนกลับไปชักชวนพี่น้องยังเมืองมหาชัย ให้อพยพลงมาอยู่ด้วยกัน จึงมีญาติพี่น้องติดตาม มาเป็นจ�านวนมาก ครั้งหลังนี้ พวกเขาได้อัญเชิญ


22

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

‘พระพุทธรูปองค์แสน’ พร้อมกลองศึกหรือ ‘กลองอีลาย’ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองมาด้วย ส�าหรับพระพุทธรูปองค์แสน หรือที่ชาวต�าบล พิมานเรียกว่า ‘หลวงปูอ่ งค์แสน’ นัน้ ต�านานเล่าว่าสร้าง ตั้งแต่สมัยที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานได้ประมาณ 8 ปี โดยพระยาคุขะ ส่วนกลองอีลายนั้นไม่ปรากฏปีที่ สร้าง แต่ชาวพิมานเชือ่ ว่าเป็นกลองศึกโบราณทีช่ ว่ ยให้ ท�าศึกชนะกลับมาทุกครั้งไป เมื่อตั้งถิ่นฐานที่บ้านพิมานท่าได้สักระยะหนึ่ง ชาวบ้านก็พบกับอุปสรรคในการด�ารงชีพคือ ในปีไหน หากฝนมามาก น�้าจะท่วม จึงได้พากันอพยพขึ้นมาอยู่ บนที่ดอน แต่ขณะที่เดินมาถึงจุดที่เป็นวัดศรีชมชื่นใน ปัจจุบนั ได้เกิดแดดร้อนจัดทัว่ บริเวณทัง้ ๆ ทีต่ รงนัน้ เป็น ป่าดงดิบ ชาวบ้านไม่สามารถเดินต่อไปไหว จึงไปอาศัย หลบร้อนที่ใต้ต้นพิมานซึ่งแผ่กิ่งก้านสาขาให้ร่มเงา ผู ้ น� า ชาวบ้ า นจึ ง ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานว่ า ถ้ า หาก พระองค์ แ สนและกลองอี ล ายมี ค วามประสงค์ จ ะ ประดิษฐานอยู่ที่บริเวณนี้ก็ขอให้ลูกหลานได้อาศัย อยู ่ บ ริ เ วณนี้ อ ย่ า งร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข พออธิ ษ ฐานเสร็ จ เหตุการณ์ก็กลับเข้าสู่ภาวะปกติ ชาวบ้านจึงปักหลัก ตั้งถิ่นฐานกันบริเวณนั้น และเรียกชื่อหมู่บ้านว่า ‘บ้าน พิมาน’ ตามชื่อต้นไม้ที่อาศัยหลบแดด และก่อสร้าง


เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์

23




วัดขึ้นเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปองค์แสนและกลอง อีลาย โดยตั้งวัดชื่อว่า ‘วัดศรีชุ่มชื่น’ อันเนื่องมาจาก ความร่มเย็นของพื้นที่ แต่ต่อมาช่างเขียนป้ายชื่อวัด ท�าสระอุตก จึงเรียกเพี้ยนเป็น ‘วัดศรีชมชื่น’ มาจนถึง ปัจจุบัน “แล้วตึกสีขาวทีห่ น้ากุฏหิ ลวงพ่อใช้ท�าอะไรหรือ ครับ?” ผมถามหลัง จากกราบหลวงปู่อ งค์แ สนเสร็จ หลวงพ่อบุญร่วมตอบว่า ตึกสีขาวที่เห็นเรียกว่า ‘กุฏิ ญวน’ สาเหตุที่เรียกเช่นนั้นก็เพราะว่า ในการก่อสร้าง ได้ว่าจ้างชาวเวียดนามมาเป็นผู้ออกแบบและก่อสร้าง วัตถุดิบที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่น อิฐ ก็ขุดเอาดินเหนียว จากที่ดินของวัดมาตาก มาเผา ส่วนปูนก็เผาที่ใกล้ ๆ กัน กุฏิญวนหลังนี้มีภาพจิตรกรรมเรื่องพระเวสสันดร ชาดกด้วย เดิมทีกฏุ นิ ใี้ ช้ในการประกอบศาสนพิธตี า่ ง ๆ แต่


เนื่องจากก่อสร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. 2482 หรือราว 74 ปี มาแล้ว ท�าให้สภาพทรุดโทรมลงไปตามกาลเวลา กรม ศิลปากรได้มาขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน และก�าลัง รองบประมาณเพื่อการซ่อมแซมบ�ารุงรักษาต่อไป “ศาลาการเปรียญหลังนั้น กรมศิลปากรก็มา ขึ้นทะเบียนเอาไว้เหมือนกัน” หลวงพ่อบุญร่วมกล่าว พลางชี้มือไปยังศาลาการเปรียญที่อยู่ใกล้ ๆ กัน ผม มองตามมือหลวงพ่อพร้อมกับพินิจพิจารณาลักษณะ ของสถาปัตยกรรม พบว่า นอกจากเรื่องของวัสดุใน การก่อสร้างแล้ว มีหลายจุดที่ศาลาการเปรียญหลังนี้ มีลักษณะแตกต่างไปจากศาลาการเปรียญของภาค กลาง หลวงพ่ อ เดิ น น� า ผมกั บ ปลั ด ธี ร ะพลเข้ า ไป ในศาลาการเปรี ย ญ พร้ อ มกั บ เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ศาลา การเปรียญหลังนี้อายุประมาณ 56 ปี ความพิเศษของ ศาลาการเปรียญนีม้ ใิ ช่เพียงแค่สถาปัตยกรรมภายนอก


28

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เท่านั้น แต่เกิดจากความร่วมมือของช่างฝีมือบ้าน พิมานและช่างฝีมือจากแขวงค�าม่วน ประเทศลาว ที่ ได้ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ทุก ๆ ปี ตอนงานบุญออกพรรษาจะมีญาติ พี่ น ้ อ งจากฝั ่ ง ลาวเดิ น ทางมาร่ ว มท� า บุ ญ ที่ วั ด เสมอ วัดศรีชมชื่นจึงมิได้เป็นเพียงศาสนสถานเท่านั้น แต่ ยังด�ารงฐานะเป็นเสมือนอนุสรณ์สถานที่คอยเชื่อม มิตรภาพระหว่างพี่น้องของสองแผ่นดินอีกด้วย ขณะที่ ฟ ั ง หลวงพ่ อ พู ด อยู ่ นั้ น เสี ย งโทรศัพ ท์ มือถือของปลัดธีระพลก็ดังขึ้น ปลัดยกโทรศัพท์ขึ้นมา ส่งส�าเนียงอีสานอยู่สองสามค�าก็หันหน้ามาทางผม พร้อมกับพยักหน้าเป็นสัญญาณให้เรากราบลาหลวง พ่อ เพราะนายกองค์การบริหารส่วนต�าบลพิมานได้เดิน ทางมาถึงที่ท�างานแล้ว




3. มุงสูศูนยกลางเกษตรอินทรีย แหงภาคอีสาน


ธงไชย วงค์อุดดี ¹Ò¡ ͺµ. ¾ÔÁÒ¹ คุณธงไชย วงค์อุดดี นายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลพิมาน เป็นชายวัยกลางคนรูปร่างสันทัด ผิวคล�้า รอยย่นทีห่ น้าผากบ่งบอกว่า ชีวติ ผ่านร้อนผ่านหนาวมา ไม่นอ้ ย เมือ่ พบหน้ากัน เรากล่าวค�าทักทายตามประสา คนแปลกหน้าพอหอมปากหอมคอ เพื่อเป็นการสร้าง ความคุ้นเคย ผมจึงเริ่มด้วยค�าถามทั่วไป “งานยุ่งไหมครับช่วงนี้” “ช่วงนี้ไม่ค่อยยุ่งหรอกครับ แต่ถ้าเป็นช่วงเกี่ยว ข้าวนี่แทบไม่ได้หยุด เพราะต้องช่วยเขาเกี่ยวข้าว” ได้ฟงั ค�าตอบก็รสู้ กึ งงเล็กน้อย “เป็นนายก อบต. ต้องช่วยชาวบ้านเขาเกี่ยวข้าวด้วยรึครับ” นายกฯ ธงไชยยิ้มแล้วตอบว่า “คืออย่างนี้ครับ ที่นี่เรามีการรวมกลุ่มกันลงแขกเกี่ยวข้าว เพือ่ ลดต้นทุนในการท�านา และเป็นการ


เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์

33




36

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน” ผมอดทึ่งในค�าตอบที่ได้ยินไม่ได้ “แล้วท�ามา นานหรือยังครับ” “สัก 3-4 ปีได้แล้วละครับ” นายกฯ ธงไชยตอบ แล้วกล่าวต่อไปว่า ”นอกจากการลงแขกเกี่ยวข้าว ที่นี่ ยังเน้นเรือ่ งการท�าเกษตรอินทรีย์ การใช้ปยุ๋ ชีวภาพด้วย เพราะเรือ่ งสุขภาพเป็นสิง่ ส�าคัญ เกษตรอินทรียจ์ ะช่วย ลดการใช้สารเคมีและยาปราบศัตรูพชื ท�าให้เราไม่ตอ้ ง พบกับมลภาวะพวกนี้ “เงินทองใครก็อยากได้ แต่สุขภาพดีนี่เราอยาก ได้มากกว่า หากเรามีเงินร้อยล้าน แต่สขุ ภาพไม่แข็งแรง เราก็ไม่มีความสุข ดังนั้น ผมจึงเน้นในเรื่องของสุขภาพ ของคนในต�าบลเป็นหลัก เพราะมันจะส่งผลไปถึงการ แก้ปัญหาด้านโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ด้วย” บอกตามตรง ค�าถามเกริ่นเพื่อสร้างความเป็น กันเองในตอนแรกกระตุ้นความสนใจผมจนต้องซักไซ้ ไล่เลียงต่อไป “แล้วนายกฯ คิดยังไงถึงอยากท�าเกษตรอินทรีย์ ครับ” นายกฯ ธงไชยตอบแบบไม่รีรอ “ผมเป็นคนรุน่ เก่า เกิดทันเห็นการท�าเกษตรแบบ โบราณจนถึงเกษตรสมัยใหม่ เห็นข้อดีและข้อเสียของ



38

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สองสิ่งนี้ เพาะปลูกแบบโบราณ ข้าวเราอาจจะไม่อ้วน ท้วนก็จริง แต่สมัยนัน้ เวลาคุณมองลงไปในคูนา�้ ข้างนา คุณจะเห็นปลาว่ายเต็มไปหมด “พอสมัยนี้ ถ้าเรามองไปในคูน�้า สิ่งที่จะเห็นก็ คือน�้าใสแจ๋ว แต่ไม่มปี ลาสักตัว เพราะอะไร ก็เพราะว่า สารเคมีทใี่ ช้ในเกษตรสมัยใหม่มนั ท�าลายห่วงโซ่อาหาร ของสัตว์นอ้ ยใหญ่ในนาหมด ผมไม่ตอ้ งใช้เวลาคิดมาก ก็รู้แล้วว่าอะไรดีหรือไม่ดี ผมจึงตัดสินใจหันกลับมาหา การท�าเกษตรเพื่อการยั่งยืน “คื อ ผมไม่ ไ ด้ ป ฏิ เ สธการพั ฒ นา แต่ ใ นการ พัฒนาจะต้องค่อย ๆ เป็น ค่อย ๆ ไปทีละก้าว ไม่มีใคร ที่เกิดมาแล้วจะวิ่งได้เลย เราต้องหัดตั้งไข่ หัดก้าว หัด เดิน แล้วหัดวิ่ง การออกวิ่งไปโดยที่เรายังทรงตัวไม่ได้ มีแต่จะล้ม และหากวิ่งเร็ว เราก็ยิ่งเจ็บตัว เพราะฉะนั้น ฐานของบ้านพิมานจะต้องแน่น ผู้คนจะต้องมีความรู้ “ผมมามองว่ า คนสมั ย ก่ อ นกั บ คนสมั ย นี้ การเจ็บป่วยด้วยโรคภัยมันไม่เหมือนกัน คนสมัยนี้ เป็นโรคเบาหวาน โรคความดัน โรคมะเร็ง โรคตับ หรือ โรคไต ซึง่ ทัง้ หมดล้วนแล้วแต่เกิดจากการบริโภคทัง้ สิน้ ดังนัน้ ถ้าเราทานดี กินดี เราก็จะปลอดจากโรคภัย ตอน นีเ้ วลาผมท�านา ผมก็จะใช้วธิ ลี งแขกช่วยกัน มันอาจจะ เหนือ่ ย แต่พวกเราก็ได้ออกก�าลังกาย ได้บริหารร่างกาย


ใส่ปยุ๋ ผมก็ใช้ปยุ๋ ชีวภาพ แน่นอนว่า ผลทีไ่ ด้รบั อาจจะไม่ เท่าปุย๋ เคมี แต่ปลอดภัย และในอนาคต ราคาจะดีกว่า” ผมยังไม่ทันจะถาม นายกฯ ธงไชยรีบแจกแจง ความก้าวหน้าของนโยบายนี้ทันที “ปัจจุบนั ทีต่ า� บลพิมานยังมีการใช้ปยุ๋ เคมี แต่ยา ฆ่าหญ้าหรือยาปราบศัตรูพืชไม่มีใครใช้แล้ว เพราะเรา ท�านาปี พวกแมลงศัตรูพชื เลยน้อย ส่วนใหญ่เราจะปลูก ข้าวเหนียวไว้ทาน ชาวบ้านเขาจะรู้ว่า ปีหนึ่งเขาทาน ข้าวเหนียวทัง้ หมดกีถ่ งั เขาก็จะแบ่งโซนเอาไว้ปลูกข้าว เหนียว ที่เหลือจะปลูกข้าวหอมมะลิ 105 เสร็จจากฤดู ท�านาก็จะปลูกพืชใช้นา�้ น้อยแทน ตอนนีม้ พี ชื เศรษฐกิจ ใหม่คือยางพารา ซึ่งก็ไม่ได้ใช้เคมีอะไรมาก “ในอนาคตผมอยากเห็ น ชาวพิ ม านสามารถ


ยืนบนล�าแข้งของตนเองได้ อยากให้ต�าบลพิมานเป็น ศูนย์กลางการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ส�าคัญของ จังหวัดนครพนมและภาคอีสาน” ท่าทีทมี่ งุ่ มัน่ ของนายกฯ ธงไชยท�าให้ผมอดดีใจ แทนพี่น้องชาวต�าบลพิมานและคนไทยอีกหลาย ๆ คน ไม่ได้ เพราะอย่างน้อยที่นี่ก็เริ่มต้นแล้วที่จะสร้างสิ่ง แวดล้อมเพือ่ ความยัง่ ยืนอย่างเป็นรูปธรรม และมีความ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�าให้เป็นจริงให้ได้ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ลมปาก หรือการสร้างภาพเหมือนอย่างที่เราเห็นตามโฆษณา ในสื่อต่าง ๆ




4. ภูพานน้อย ผู้บมเพาะความสามัคคี


ผมเปลี่ยนหัวข้อการสนทนาจากเรื่องเกษตร อิ น ทรี ย ์ ม าถามนายกฯ ธงไชย ถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ ส�าคัญ ๆ ของ อบต.พิมานบ้าง นายกฯ ธงไชยเล่าให้ ฟังว่า ที่พิมานมีแหล่งเรียนรู้ทั้งหมด 7 ระบบ 28 แหล่ง เรียนรู้ แต่ที่ อบต. เป็นผู้รับผิดชอบการบริหารโดยตรง คือ ค่ายลูกเสืออนุสรณ์สถานภูพานน้อย เดิมเป็นที่ตั้ง ของกองพันทหารราบเฉพาะกิจ กรมผสมที่ 23 ซึง่ เข้ามา ปราบปราม ผกค. ในพืน้ ทีเ่ ทือกเขาภูพานตัง้ แต่ปี 2515 หลังความขัดแย้งสงบลงก็ได้มีการถอนทหาร





48

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ออกไป กรมป่ า ไม้ จึ ง เข้ า มาดู แ ลพื้ น ที่ แ ทน ต่ อ มา ทางราชการได้สร้างอนุสรณ์สถานขึ้นทางทิศใต้ของ ฐานแห่งนี้ โดยมอบให้ อบต. พิมาน เป็นผู้ดูแลพื้นที่ ประมาณ 515 ไร่ แต่เนื่องจากอนุสรณ์สถานฯ เป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ผู้ที่จะมาเยือนต้องเป็นคน ที่รักธรรมชาติจริง ๆ ในส่วนของการดูแลนั้น ช่วงแรก ได้รับงบประมาณมาจาก ส.ส. หรือจากทางจังหวัด ผ่านงบฯ ผู้ว่าฯ ซีอีโอ “ผมก็มาคิดว่า จะมารอขอจากที่อื่นอย่างเดียว ไม่ได้ ก็คิดว่า ท�าอย่างไรถึงจะสร้างรายได้ขึ้นมาเพื่อ ใช้ในการดูแลรักษาพื้นที่ และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ก็มาตกผลึกตรงทีก่ ารจัดกิจกรรมท่องเทีย่ วชุมชนขึน้ มี การจัดค่ายกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ค่ายเยาวชน ฝึก อปพร. การปลูกป่าชุมชน ท�าแนวกันไฟป่า ฯลฯ “ต่ อ มาเราเห็ น ว่ า จะท� า อย่ า งไรให้ กิ จ กรรม ลักษณะนี้มันมีอย่างต่อเนื่อง ก็เลยคิดว่าน่าจะท�าเป็น ค่ายลูกเสือถาวร ก็เลยส่งบุคลากรของเราไปเข้ารับการ ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และก่อ ตั้งค่ายลูกเสือขึ้นในปี 2551 โดยมีกองร้อย ตชด.235 ธาตุพนม เป็นพี่เลี้ยงในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ” นายกฯ ธงไชยเล่ า ต่ อ ไปว่ า การก่ อ ตั้ ง ค่ า ย ลูกเสือถือเป็นการเดินมาถูกทาง เพราะกิจกรรมนี้ช่วย



50

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สร้างรายได้ให้กับทาง อบต. ผ่านค่าขอใช้สถานที่ ส่วน ชาวบ้านก็มีรายได้จากการท�าอาหารส่งไปบริการชาว ค่ายทัง้ ลูกเสือและเนตรนารี ข้างฝ่ายเยาวชนก็ได้เรียน รู้จักรักและสามัคคีกัน นอกจากนี้ การเข้าค่ายลูกเสือยังช่วยท�าให้เจ้า หน้าที่ของ อบต. มีความสนิทสนมกับเยาวชนทั้งใน และนอกพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปัญหาสังคมและปัญหา ยาเสพติด ฟังดูแล้วอาจมองดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกัน แต่นายกฯ ธงไชยได้ขยายความให้ฟังว่า “เมื่อเด็ก ๆ เขาไว้ใจเรา หากมีอะไรผิดปกติ เด็ก ๆ เขาจะเข้ามาเล่าให้เราทราบ ท�าให้เราสามารถ ป้องปรามปัญหาเหล่านี้ได้ทันท่วงที ถามว่า เด็กใน ต�าบลนี้มีปัญหาเรื่องยาเสพติดไหม ผมก็ยอมรับว่ามี แต่มีน้อยแค่ 2-3 คนเท่านั้น ถามว่า เพราะอะไรถึงมี น้อย ก็เพราะเรามีแนวร่วมที่เป็นเด็กและเยาวชนเยอะ ซึ่งผมถือว่า ความส�าเร็จตรงนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากแหล่ง เรียนรู้ค่ายลูกเสืออนุสรณ์สถานภูพานน้อย” ฟังนายกฯ ธงไชยคุยไม่ทนั จบ เสียงเคาะประตูที่ หน้าห้องก็ดงั ขึน้ ปลัดธีระพลชะโงกหน้าเรียกให้ออกไป ทานข้าวกลางวันร่วมกัน เราจึงย้ายออกจากห้องท�างาน ของนายกฯ ไปนัง่ ในโรงซ่อมบ�ารุงของ อปพร. พิมาน ซึง่ ถูกดัดแปลงเป็นโรงอาหารเฉพาะกิจ




5. ปลูกป่าสร้างสีเขียว


54

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

อาหารกลางวันมื้อนี้ประกอบไปด้วยแกงอ่อม ปลา ต�าถั่ว และที่ขาดไม่ได้คือ ส้มต�าปูปลาร้า เมนู บังคับของชาวอีสาน ปลัดธีระพลเป็นห่วงกลัวว่า หนุม่ เมืองกรุงอย่างผมจะทานไม่ได้ เลยเตรียมเจียวไข่ให้ ทานเพิ่ม ผมรีบปฏิเสธไปเพราะคุ้นเคยกับอาหารเหล่า นี้อยู่บ้าง ระหว่างทานอาหารกลางวันไป ผมยังติดใจ เรื่องของป่าภูพานเลยถามนายกฯ ธงไชยต่อ แกยกให้ ปลัดธีระพลเล่าบ้าง เพราะเป็นผู้รับผิดชอบแหล่งเรียน รู้ด้านระบบสิ่งแวดล้อม และยังเป็นวิทยากรประจ�า


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

แหล่งเรียนรู้ป่าชุมชนของต�าบลพิมานซึ่งมีอยู่ 3 แหล่ง ด้วยกัน คือ ป่าภูพานน้อย ป่าความเชือ่ ดอนนายาง และ ป่าชุมชนบ้านปากบัง ปลัดธีระพลย้อนให้ฟังถึงแนวคิดในการก่อตั้ง แหล่งเรียนรู้ป่าชุมชนของ อบต. พิมาน ก่อนการสร้าง อนุสรณ์สถานแห่งความสงบขึ้นนั้น ชาวบ้านได้เข้าไป บุกรุกแผ้วถางจับจองที่ดินเพื่อท�าการเกษตรริมเชิงเขา ภูพานน้อยเป็นจ�านวนมาก เมื่อ อบต. พิมาน ได้รับ มอบให้ดแู ลพืน้ ทีจ่ ากกรมป่าไม้ จึงต้องหาทางออก โดย อนุญาตให้ผทู้ บี่ กุ รุกสามารถท�ากินได้ แต่หา้ มบุกรุกเพิม่

55


56

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เติม และไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของ พร้อมกันนี้ อบต. ได้จัด เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแลรักษาป่าตลอดเวลาเพื่อ ป้องกันการบุกรุกเพิ่มเติม “ทีนี้พอเราได้พื้นที่ตรงนี้มาแล้ว เราก็ต้องใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ขณะเดียวกันเราก็ต้องฟืนฟูพื้นที่ ที่เสื่อมโทรมจากการบุกรุกด้วยการสร้างกิจกรรมและ ท�าการดูแลรักษา โดยให้ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษานี้ พวกเขาจะได้รู้สึกหวงแหน” ปลัด ธีระพลกล่าว เริ่ ม แรก อบต. ได้ ท� า เส้ น ทางเดิ น ป่ า ศึ ก ษา ธรรมชาติ เ พื่ อ ให้เยาวชนและนักเรียนเข้าไปเรียนรู้ สืบค้นสมุนไพรในพืน้ ที่ จากนัน้ จึงได้รบั ความช่วยเหลือ จากหน่วยงานภายนอก ทัง้ กรมป่าไม้ ปตท. ธ.ก.ส. ฯลฯ ท�าโครงการอนุรักษ์ป่าต้นน�้า ท�าฝายชะลอน�้า ท�าแนว กันไฟ และปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว อย่างไรก็ตาม แม้วา่ จะมีเจตนาดี แต่การท�างาน ของปลัดธีระพลก็ไม่ได้ราบรื่นเสมอไป เพราะในระยะ แรกโครงการไม่ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านเท่าไร นัก ปลัดธีระพลเล่าว่า “อุปสรรคในตอนแรกที่เราเจอก็คือ ชาวบ้าน ยั ง ไม่ มี ค วามเข้ า ใจถึ ง ความจ� า เป็ น ในการ อนุรักษ์ป่าไม้ บางส่วนยังมีความเชื่อว่า หาก


เผาป่ า แล้ ว จะท� า ให้ เ กิ ด เห็ ด เร็ ว ขึ้ น เราก็ ต ้ อ งรณรงค์อ อกให้ค วามรู้แ ก่ พี่น้องประชาชน ต้องออกกระจาย เสียงตามหอกระจายข่าวให้เขาเข้าใจ และตระหนักถึงความจ�าเป็นในการ อนุรักษ์ป่าไม้ในพื้นที่” เมือ่ ให้ความรูป้ ระชาชนอย่างต่อ เนื่อง ท�าให้ประชาชนในพื้นที่เริ่มเข้าใจ และให้ความร่วมมือ “หากจะถามว่า เราเอาอะไรมาเป็น ตัวชีว้ ดั ผลส�าเร็จ สิง่ ทีพ่ อจะเห็นเป็นรูปธรรม ก็คือ ตั้งแต่เราไปท�าโครงการเหล่านี้ ไฟป่าที่ เกิดเองตามธรรมชาติและน�้ามือมนุษย์ก็หมด ไปจากพื้นที่ นอกจากนี้เรายังมีกลุ่มกิจกรรม ต่าง ๆ จากมหาวิทยาลัยในภาคอีสานเข้ามา ท�ากิจกรรมอนุรักษ์น�้า อนุรักษ์ป่า ทุกปีในช่วงปิด เทอม เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างต่อเนื่อง” ปลั ด ธี ร ะพลยั ง พู ด ถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ ป ่ า ดอน นายางซึ่ ง เป็ น ต้ น แบบในการจั ด การป่ า ชุ ม ชนที่ ประชาชนมีส่วนร่วมของต�าบลพิมานอีกแห่งหนึ่ง ป่า ผืนนี้มีเนื้อที่ 36 ไร่ มีแหล่งน�้าและต้นไม้ใหญ่หลาย ชนิด ท�าหน้าที่เป็นแหล่งอาหารของชุมชนมาตั้งแต่


58

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สมัยบรรพบุรุษ ชาวบ้านได้ช่วยกันดูแลป่าสืบทอดกันเรื่อยมา โดยร่วมกันสร้างศาลปู่ตา พร้อมกับจัดพิธีเซ่นไหว้ใน วันขึ้นสามค�่าเดือนสามของทุกปี มีการท�าประชาคม ประจ�าหมู่บ้านเพื่อออกมาตรการทางสังคม การบังคับ ใช้กฎหมายเพื่อรักษาและอนุรักษ์ป่าไว้ ขณะเดียวกันยังได้รบั ความช่วยเหลือจากหน่วย งานภายนอกในการขยายพันธุ์ไม้ ปลูกหญ้าแฝก และ การปล่อยพันธุ์ปลาเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ ท�าให้ ในชุมชนมีพนั ธุไ์ ม้เพิม่ ขึน้ หลายชนิด และป่าก็ได้รบั การ ดูแล ปัจจัยเงือ่ นไขของความส�าเร็จนีค้ อื แกนน�าหมูบ่ า้ น ที่มีความสามัคคีเข้มแข็ง ความเชื่อในภูมิปัญญาท้อง ถิ่นของชาวบ้าน และความร่วมมือของชุมชน ปลัดธีระพลเล่าต่อไปว่า ความส�าเร็จในการ จัดการปัญหาทีป่ า่ ภูพานน้อยและป่าดอนนายางได้นา� ไปสูก่ ารแก้ไขปัญหาป่าชุมชนบ้านปากบัง เนือ้ ที่ 188 ไร่ ซึ่งเดิมทีถูกบุกรุกและลักลอบเข้ามาตัดไม้เป็นจ�านวน มาก ทาง อบต. พิมาน และชาวบ้าน จึงได้ทา� ประชาคม เพือ่ ระดมความคิดในการแก้ปญ ั หาจนน�าไปสูก่ ารจัดตัง้


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

คณะกรรมการเพือ่ บริหารจัดการป่า ซึง่ ต่อมาได้ออกกฎ กติกาในการใช้ป่าที่ชัดเจน โดยได้ขอสนับสนุนเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกพื้นที่เข้ามาให้ความรู้ และพัฒนา ศักยภาพคณะกรรมการและประชาชนในการอนุรักษ์ ป่า ท�าให้เกิดการปลูกป่าทดแทน ปลัดธีระพลกล่าวว่า หากจะพูดถึงผลส�าเร็จที่จับต้องได้ในโครงการนี้ก็คือ จ�านวนไม้ยืนต้น เช่น ไม้ประดู่ ไม้แสนเกล็ด ไม้พะยูง กระถินเทพา ฯลฯ ที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ โครงการป่า ชุมชนบ้านปากบังยังได้รับรางวัลชนะเลิศจากการเข้า

59


60

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ประกวดโครงการ ‘กล้ายิ้ม คนรักป่า ป่ารักชุมชน’ ในปี พ.ศ. 2554 อีกด้วย หลังจากทานข้าวเสร็จ ผมยังคงนั่งคุยกับนา ยกฯ ธงไชยต่อ เพราะยังไม่ได้ถามอีกหลายเรือ่ งทีอ่ ยาก รู้ เป็นต้นว่า ปัญหาในพื้นที่ เมื่อได้ยินค�าถามของผม นายกฯ ธงไชยรีบตอบโดยไม่ต้องคิด “มันก็มีทุกที่ละครับ จะมากบ้างน้อยบ้างแตก ต่างกันไป ปัญหาใหญ่ ๆ ของที่นี่ไม่ค่อยมี เรื่องยาเสพ ติดนีไ่ ม่มรี ะดับผูข้ าย จะมีกแ็ ค่ผเู้ สพไม่กคี่ น ทีค่ ดิ ว่าเป็น ปัญหาก็คือ เรื่องของการขาดแคลนแรงงาน เนื่องจาก หนุม่ สาวไปเรียนหนังสือทีอ่ นื่ กัน พอเรียนจบแล้วได้งาน ที่อื่นก็เลยไม่กลับมาอยู่บ้าน” แม้จะได้ฟังค�าตอบของนายกฯ ธงไชยแล้ว แต่ ผมก็ยังรู้สึกไม่ค่อยพอใจ เพราะดูเหมือนว่าอะไรที่นี่ มันราบเรียบไปหมด นายกฯ เหมือนจะเดาออกว่าผม คิดอะไรจึงกล่าวต่อไปว่า “คืออย่างนี้ครับ สาเหตุที่ต�าบลพิมานไม่ค่อย จะมีปัญหาใหญ่ ๆ ก็เพราะเรามุ่งไปที่หัวใจของปัญหา นั้นก็คือ คน ก่อนที่ผมเข้ามารับต�าแหน่งนายก อบต. ผมเคยเป็นทั้งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน และก�านัน มาก่อน ประสบการณ์พวกนี้สอนผมว่า การท�างานนั้น มันจะต้องสร้างแรงจูงใจให้คนมีความพยายามท�างาน


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

ให้ประสบความส�าเร็จ “ดังนัน้ การทีจ่ ะกระตุน้ ให้คนมีแรงจูงใจก็คอื จะ ต้องมีการแข่งขัน เพราะหากไม่มีการกระตุ้น บางทีคน เราก็จะท�างานกันแบบไปคนละทิศทาง การแข่งขันจะ ก่อให้เกิดความสามัคคีขึ้น ผู้คนในชุมชนจะเดินไปใน เป้าหมายทิศทางเดียวกัน ผมจึงใช้การประกวดหมูบ่ า้ น ขึน้ มาเพือ่ ให้บา้ นทุกหลังสะอาดสะอ้าน หน้าบ้าน หลัง บ้านสวย และเพื่อให้การแข่งขันเป็นไปอย่างยุติธรรม ผมจึงขอความอนุเคราะห์จากทางอ�าเภอให้ส่งคณะ กรรมการมาเป็นผู้ตัดสิน” กุศโลบายของนายกฯ ธงไชยสัมฤทธิผล เพราะ ทัง้ ต�าบลเปลีย่ นแปลงผิดหูผดิ ตา เป็นระเบียบเรียบร้อย และสะอาดขึ้ น จนคณะกรรมการออกปากชมทุ ก หมู่บ้าน ขณะที่บ้านพิมานหมู่ที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ชนะเลิศก็ สร้างชื่อเสียงให้กับต�าบลพิมาน เพราะได้เป็นตัวแทน เข้ า ประกวดชุ ม ชนสุ ข ภาพดี ซึ่ ง จั ด ขึ้ น โดยกระทรวง สาธารณสุข โดยได้รบั รางวัลในระดับจังหวัดและระดับ เขต นอกจากนี้ กรมการพัฒนาชุมชนยังส่งเข้าร่วม ประกวดหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง และได้รบั รางวัลใน ระดับเขตมาเช่นกัน “การพัฒนานั้น สิ่งส�าคัญคือ เราต้องใช้ปัญญา ในการขับเคลือ่ นจึงจะได้รบั ความร่วมมือจากประชาชน

61


62

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ในพืน้ ที่ เราต้องท�าให้เขารูส้ กึ ถึงความเป็นส่วนร่วม เรา จะใช้เงินเป็นตัวตัง้ อย่างเดียวไม่ได้ เพราะหากเราใช้เงิน เป็นเครือ่ งก�าหนด พอเงินหมด ทุกคนก็เดินไปคนละทิศ ละทาง” นายกฯ ธงไชยกล่าว ฟังนายกฯ ธงไชยคุยเพลิน ๆ สักพักก็มชี ายหนุม่ เดินเข้ามาที่แคร่ไม้ที่เรานั่งกันอยู่ ท่านนายกฯกล่าว ทักทายเป็นภาษาอีสาน ก่อนจะหันมาบอกกับผมว่า “ถามคนนี้บ้างดีกว่า เพราะเขาเป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 หมู่บ้านที่ได้รางวัล และเป็นฐานเรียนรู้เรื่องการ จัดการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงด้วย” “จะถามเรื่องอะไรล่ะ” ผู้ใหญ่ดาวเรือง ออดไธสง หนุ่มใหญ่ผู้มุ่งมั่น ดวงตาฉายแววเด็ดเดี่ยว ยิ้มเล็กน้อย พร้อมกับถาม กลับหลังจากรู้ว่าผมจะขอสัมภาษณ์ “ก็เคล็ดลับเบือ้ งหลังความส�าเร็จของบ้าน พิมานหมู่ 1 ไงครับผู้ใหญ่” “ถามง่าย แต่ตอบยากเหมือนกัน เนาะ” ผู ้ ใ หญ่ ด าวเรื อ งยิ้ ม แบบ เขินน้อย ๆ พร้อมกับออกตัวว่า อาจจะตอบไม่ได้ดีนัก เพราะพูด ไม่ค่อยเก่ง ¼ÙŒ ãËÞ‹´ÒÇàÃ×ͧ ÍÍ´ä¸Ê§


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

“คือ ตอนแรกที่ยังไม่มีการประกวดหมู่บ้านนั้น ทาง ธ.ก.ส. เขาเข้ามาช่วยเหลือพวกเราเรื่องหนี้สิน ต่าง ๆ และจัดคนไปอบรมเรียนรู้ที่ศูนย์ตุ้มโฮมที่ตัว จังหวัดนครพนม จากนั้นก็มีโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�าบล วิถีพอเพียง ของ ปตท. ตามเข้ามาในต�าบล ของเรา” ผู ้ ใ หญ่ ด าวเรื อ งเล่ า ต่ อ ไปว่ า อบต. ได้ ท� า ประชาคมถามความเห็นว่า ทุกหมู่บ้านพร้อมที่จะรับ โครงการเพื่อขับเคลื่อนในต�าบลหรือไม่ เพราะเห็นว่า โครงการนี้ดี คงจะท�าให้พี่น้องประชาชนมีความสุขได้ และเมื่อมีมติรับรอง แต่ละหมู่บ้านจึงส่งตัวแทนออก ไปศึกษาดูงานตามเครือข่ายชุมชนและแหล่งเรียนรูอ้ นื่ ๆ ที่โครงการจัดให้ เมือ่ กลับมา ตัวแทนเหล่านัน้ ก็มาจัดตัง้ โครงการ คนต้นแบบ พร้อมกับให้คนทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถใน ด้านต่าง ๆ ของชุมชนสร้างแหล่งเรียนรูต้ ามภูมปิ ญ ั ญา ที่เขาเหล่านั้นมีในแต่ละหมู่บ้าน ขณะเดียวกัน ธ.ก.ส. และ ปตท. ก็ส่งเจ้าหน้าที่มาช่วยอบรมวิทยากรเหล่า นั้นเพิ่มเติม “ผมก็ถอื ว่าเป็นการพัฒนาหมูบ่ า้ นไปในตัว แล้ว ก็จะมีชั่วโมงหนึ่งเป็นชั่วโมงจิตอาสา ผมจะพาผู้เข้า อบรมไปพัฒนาหมู่บ้าน ทีนี้มันก็เลยสร้างแรงกระตุ้น

63


64

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ให้กับคนในชุมชนว่าน่าจะมีการเปลี่ยนแปลง เพราะมี คนมาดูงานตลอด “มันก็เกิดค�าถามว่า เราจะต้องท�าอย่างไรเพื่อ สร้างความประทับใจให้คนที่เขามาดูงานที่นี่ พวกเราก็ มีการท�าประชาคมกัน มาระดมปัญญากัน แล้วพัฒนา ชุมชน อ�าเภอนาแกก็เข้ามาช่วยดูตรงจุดนี้ มาช่วย ต่อยอดเรื่องหมู่บ้านต้นแบบ “ผมก็บอกลูกบ้านไปว่า ไม่จา� เป็นต้องสร้างอะไร ขึ้นมาใหม่ แต่ท�าของที่มีอยู่เดิมให้มันดีกว่าเก่า ให้ดู สะอาดสะอ้านเป็นระเบียบ และท�าให้มันเหมือนเป็น กิจวัตรประจ�าวันไป เพราะสิ่งที่ท�าอยู่นี้มันดีกับชีวิต พวกเขา ลองให้พวกเขาเปรียบเทียบสภาพของบ้าน ตัวเองในอดีตกับปัจจุบันว่าอย่างไหนดีกว่ากัน ย�้ากับ พวกเขาว่า ไม่ต้องเสียเงินเพิ่มสักบาทก็สามารถสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ ถ้าเรารู้จักคิด รู้จักใช้ปัญญา” ผู้ใหญ่ดาวเรืองพูดจบก็ขอตัวไปท�าธุระส�าคัญ พร้อมนายกฯ ธงไชย ผมกับปลัดธีระพลจึงเดินขึ้นไป ยังห้องท�างานของปลัดเพือ่ เตรียมวางแผนการเดินทาง ไปเยือนแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แต่เมื่อขึ้นไปก็พบกับหญิง วัยกลางคนรูปร่างท้วม ผมสีดอกเลา นั่งรออยู่ที่หน้า ห้องของปลัด


เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์

65



áËÅ‹งàรÕÂนรÙ้µíาºÅ¾ÔÁาน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28.

áËÅ‹งºรÔËารจั´การẺÁÕส‹Çนร‹ÇÁ áËÅ‹งกÙ้ªÕ¾ กÙ้Àั áËล‹§สÀาͧ¤ กรชุมชน áËล‹§¤นมีนí้ายา áËล‹§สวัสดิการชุมชน áËÅ‹ง ร¾.สµ. áËÅ‹งªÁรÁ ÍสÁ. áËล‹§»ุ‰ยÍิน·รีย ชีวÀาพ áËÅ‹ง»†า´ÍนนาÂาง áËล‹§¸นา¤าร⤠กรÐบืÍ áËล‹§àดçกáลÐàยาวชนµíาบล áËล‹§สมุนไพรพื้นบ้าน áËÅ‹งàกɵร¼สÁ¼สาน áËล‹§¨ักสานผลิµÀั³± áËล‹§บัÞชี¤รัวàรืÍน áËล‹§»†าชุมชน ม.2 áËล‹§บุ¤¤ลµ้นáบบ áËล‹§âÎมสàµย áËÅ‹งËÁÙ‹º้านàÈรÉ°กÔจ¾Íà¾ÕÂง áËล‹§ผÙ้สÙ§Íายุ áËล‹§âร§àรียนชาวนา ชีวิµข้าว ชีวิµ¤น áËล‹§กͧ·ุนËมÙ áËล‹§ร้าน¤้าชุมชน ËมÙ‹ 5 áËล‹§Íิ°ดิน»รÐสาน áËล‹§ส¶าบันการà§ินบ้านสุขàกÉม áËล‹§สËกร³ สวนยา§พารา µíาบลพิมาน áËล‹§¤‹ายลÙกàสืÍÍนุสร³ ส¶านÀÙพานน้Íย áËÅ‹ง»†าÀÙ¾านน้ÍÂ



6. พอเพียง เพือ่ ความยัง่ ยืน


70

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หลังจากทักทายกันแล้ว ปลัดธีระพลแนะน�าว่า ป้าประยูร พลอยประสงค์ เป็นวิทยากรประจ�าแหล่ง เรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง พอดีมาท�าธุระที่ อบต. ผมสนใจจะสัมภาษณ์ป้าไหม แกว่างอยู่พอดี ผมตอบ รับแบบไม่ตอ้ งคิด เพราะอยากรูว้ า่ ทีพ่ มิ านสามารถน�า เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ได้มากน้อยแค่ไหน “ไปไงมาไง ป้าถึงมาเป็นวิทยากรเศรษฐกิจพอ เพียงได้ละครับ” ผมเริ่มค�าถามธรรมดา ๆ เพื่อไม่ให้แกประหม่า ขณะป้ า ประยูร ออกตัวว่า อาจจะพูด ได้ไม่ดีนักนะ เพราะไม่ได้เตรียมตัวมา ป้าแกเล่าว่า เมื่อก่อนรับจ้าง เย็บผ้าโหลหาเงินส่งลูกเรียน แต่กว่าลูกจะเรียนจบก็ ต้องเป็นหนี้ท่วมตัวเพราะเงินที่หาได้ไม่พอจ่าย พอปี 2545 ธ.ก.ส. มีโครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ป้าประยูรก็ ลองไปอบรม ถึงได้เรียนรู้วิธีคิดเรื่องการลดค่าใช้ จ่ายในครัวเรือนและการท�าเกษตร ความ รู้เบื้องต้นที่ได้รับคือ การท�าของใช้ใน ครัวเรือน เช่น ท�าน�า้ ยาซักผ้า น�า้ ยาล้าง จาน สบู่ ยาหม่อง เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ย ในครอบครัว เมื่อน�ามาท�า แล้วก็ได้ผลเป็นอย่างมาก ประยูร พลอยประสงค์ วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง


จากนั้นป้าประยูร ได้เข้าร่วมอบรมใน โรงเรียนชาวนา ไปเรียน รู้วิธีการท�าเห็ดฟาง การ ท� า ปุ ๋ ย หมั ก และน�้ า หมั ก ชี ว ภาพ เมื่ อ กลั บ มาก็ ลงมือท�าเป็นตัวอย่างให้ เพื่อนบ้านดู โดยปลูกพืช ผักสวนครัว ผักสมุนไพร เลี้ยงหมูหลุม และปรับพื้นที่ให้เหมาะสมกับการท�า เกษตรผสมผสาน พอปี 2549 ป้าประยูรก็เดินทางไปอบรมเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ ธ.ก.ส. ประจ�าจังหวัดนครพนม หรือศูนย์ตุ้มโฮม จาก นั้นก็น�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างจริงจัง โดยตัดสินใจย้ายออกไปอยู่ยังที่นาของตนเอง “คื อ เมื่ อ ก่ อ นก็ ท� า อยู่แล้ว แต่มันเป็นเพียงแค่ แปลงสาธิต มันท�าได้ไม่เต็ม ที่ เราก็มาท�าของเราเองเลย 4 ไร่ ท�าไปคิด ไป ทีนี้มันก็ เกิ ด สติ เกิ ด ความพอเพี ย ง


เกิดความสุข” ป้าประยูรกล่าวด้วยรอยยิ้มภาคภูมิใจ ต่อมาทางศูนย์ตุ้มโฮมได้เชิญป้าประยูรไปเป็น ผู้ช่วยวิทยากร รวมทั้งอบรมเพิ่มเติม เมื่อ ธ.ก.ส. ขยาย ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงไปตามอ�าเภอ สู่ต�าบล และหมู่บ้าน ป้าประยูรจึงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งแหล่งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงที่หมู่ 1 ต�าบลพิมาน “ตอนแรกคนในหมู่บ้านเขาก็ดูเฉย ๆ จะมีที่ สนใจก็เพือ่ น ๆ เรา พวกเราก็ตงั้ กลุม่ โรงเรียนชาวนาขึน้ เพื่อช่วยเหลือกันท�านา เพราะมันต้องใช้แรงงานเยอะ ต่อมาคนอื่นเขาก็เห็นว่า เราท�ากันยังไง ประสบความ ส�าเร็จยังไง ก็เลยมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ตอนนี้กลุ่มเรา


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

มีสมาชิก 22 คนแล้ว “ส่วนเรือ่ งการจดบัญชีครัวเรือน ทีแรกก็มเี ราท�า อยูค่ นเดียว เราจดทุกอย่าง รายรับ รายจ่าย เราเลีย้ งหมู เลีย้ งไก่ ปลูกผัก เราลดอะไรได้บา้ ง ก็เลยเอาไปให้เขาดู เขาก็เห็นว่ามันเป็นผล เขาก็เลยท�าตาม ทีนตี้ อ่ มาใครจะ เข้ามาเป็นสมาชิกกลุม่ ก็จะต้องจดบัญชีครัวเรือนด้วย” แม้จะเป็นวิทยากรระดับมืออาชีพ ไม่ต้องใช้ สคริปต์ในการบรรยายแล้ว แต่ป้าประยูรก็ถ่อมตัวว่า ยังมีความรู้ไม่พอ ต้องหาอะไรมาเติมเสริม

73


74

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

“คือเราอยากช่วยตัวเองด้วย และอยากช่วยคน อื่นที่เขาประสบปัญหาเหมือนเราให้สามารถลืมตาอ้า ปากได้ เราก็เลยต้องเป็นตัวหลักในการออกไปหาความ รู้จากนอกชุมชนเพื่อน�ามาเผยแพร่และประยุกต์ใช้ใน ชุมชน” ป้าประยูรท�างานนีม้ าเกือบ 10 ปี แน่นอนว่า ทุก คนย่อมอยากรู้ว่าเศรษฐกิจพอเพียงช่วยให้หายจนได้ จริงหรือไม่ เมื่อได้ฟังค�าถาม ป้าประยูรนิ่งนิดหนึ่งก่อน จะตอบด้วยเสียงราบเรียบว่า “ถามว่ามันหายจนไหม มันก็ขึ้นอยู่กับว่า เรา นิยามค�าว่า ‘รวย’ กับ ‘จน’ ว่าหมายถึงอะไรก่อน “ถ้าหมายถึงว่า ต้องมีบา้ นหลังโต ๆ ทีน่ าเยอะ ๆ มีรถกระบะขับ แต่คุณเป็นหนี้เขาท่วมหัว อันนี้รวยหรือ จน แต่ถ้าเราสามารถอยู่ได้โดยที่ไม่ต้องเป็นหนี้เป็นสิน แม้จะมีที่นาเพียง 4 ไร่ มีแต่จักรยานขี่ แต่เราไม่ได้ไปกู้ หนี้ยืมสินใคร เราท�าของเรากินเอง ปลูกของเราเอง ไม่ ต้องไปซื้อเขากิน มีเงินเก็บออมแม้จะไม่เยอะ อันนี้มัน ใช่ค�าว่าจนหรือเปล่า” ป้าประยูรทิง้ ท้ายให้ผมคิด ก่อนจะเดินตามปลัด ธีระพลเข้าไปในห้องท�างาน


เพิ่มศักดิ์ โตสวัสดิ์

75



7. สËกร³ ยา§พารา การรวมกลุ‹มàพืèÍสร้า§ ¤วามàข้มáขç§


78

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ผมนั่งรอปลัดธีระพล สักครู่ปลัดก็ออกมาจาก ห้องพร้อมกับชวนไปดูกิจการของสหกรณ์ยางพารา ต�าบลพิมาน 1 ใน 4 ของระบบเกษตรชุมชนต�าบล พิมาน ปลัดบอกว่า ถึงแม้ดเู หมือนว่าสหกรณ์ยางพารา จะไม่ค่อยมีอะไร แต่จริง ๆ แล้ว การก่อตั้งสหกรณ์ขึ้น มานัน้ เป็นภาพทีส่ ะท้อนให้เห็นเป็นอย่างดีวา่ เกษตรกร พยายามแก้ปัญหาการถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า คนกลางอย่างไร เมื่อเราขับรถไปถึงที่ท�าการสหกรณ์ ขณะนั้นมี สมาชิกเอายางมาขายบ้างแล้ว ส่วนกรรมการสหกรณ์ มีเพียงพี่ศักดา ปัญญาพ่อ เหรัญญิก ก�าลังง่วนอยู่กับ การซื้อขาย เมื่อเห็นหน้าปลัด พี่ศักดาร้องทัก ขณะที่ ปลัดแนะน�าผมให้พี่ศักดารู้จัก “แหม ประธานก็ไม่อยูซ่ ะด้วยสิ แล้ว จะให้คุยกับใครละเนี่ย” พี่ ศั ก ดาบอกหลั ง จากทราบ วัตถุประสงค์ในการมาเยือนของผม “คุ ย กั บ เหรั ญ ญิ ก ก็ ไ ด้ เพราะเป็นคนร่วมก่อตัง้ มาตัง้ แต่ แรกไม่ใช่รึ” ปลัดธีระพลพูดแทรกขึน้ เมือ่ ได้ยนิ ดังนัน้ พีศ่ กั ดาจึงพยัก ÈÑ¡´Ò »˜ÞÞÒ¾‹Í เหรัÞÞิกสหกรณ์ยางพารา


หน้า และเดินน�าผมกับปลัดเข้าไปพักในเพิงที่ท�าการ ของสหกรณ์ ก่อนจะเริ่มเล่าเรื่องของตนเองก่อนว่า เดิมทีพี่ศักดาไม่ใช่คนพิมาน แต่อยู่ที่ต�าบลพุ่มแก ไม่ ห่างจากต�าบลพิมานเท่าไรนัก ปู่กับพ่อเคยเป็นชาวนา มาก่อน แต่หันมาปลูกยางตามโครงการอีสานเขียวที่ กองทัพบกเคยส่งเสริม “เพื่อนผมก็ไปรับจ้างกรีดยางอยู่ที่ระยอง พอ ปิดเทอมผมก็ไปเที่ยวหาเขาตลอด เราก็รู้ว่าท� าสวน ยางนี่เงินดีนะ พอต่อมาผมแต่งงานก็เลยมาหาซื้อที่ ปลูกยางที่บ้านภรรยา 45 ไร่ ระหว่างที่รอให้ยางกรีด ได้กไ็ ปท�างานทีน่ คิ มอุตสาหกรรมนวนครอยู่ 6 ปี ก็กลับ




มากรีดยางเอง” ขณะที่พี่ศักดาเริ่มท�าสวนยาง เกษตรกรต�าบล พิ ม านก็ เ ริ่ ม หั น มาปลู ก ยางในช่ ว งไล่ เ ลี่ ย กั น จาก นโยบายขยายพื้นที่ปลูกยาง 1 ล้านไร่ของรัฐ แต่หลัง จากทีเ่ ริม่ เปิดหน้ายางได้แล้ว ชาวสวนยางต�าบลพิมาน ก็ประสบชะตากรรมไม่ตา่ งจากชาวสวนยางทีอ่ นื่ ๆ คือ มักจะถูกกดราคารับซื้อยางจากพ่อค้าคนกลาง “ตอนแรกพวกเราก็ไปขอค�าแนะน�าจาก ธ.ก.ส. เพื่อขอรับทุนในการจัดตั้งตลาดยาง เขาก็เลยบอกให้ รวมกลุม่ กันซะ แล้วจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน เริม่ แรกเรามีสมาชิก 90 คน ใช้เงินทุน 150,000 บาท ท�า หน้าที่เป็นตลาดกลางยางพาราของกลุ่ม แล้วประสาน ผู้รับซื้อเข้ามาตกลงราคา แต่ยังไม่สามารถจัดการ ตลาดได้มาก เพราะยังขาดเงินทุนหมุนเวียนในการ


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

รับซื้อยางจากสมาชิก ต่อมา เมื่อรัฐบาลมีโครงการ รักษาเสถียรภาพราคายาง ได้มีข้อก�าหนดว่า ต้องเป็น สหกรณ์เท่านัน้ ถึงจะเข้าร่วมโครงการได้ เราก็เลยไปจด ทะเบียนจัดตั้งเป็นสหกรณ์” หลังจัดตั้งเป็นสหกรณ์ท�าให้เงินทุนหมุนเวียน เริ่มมีมากขึ้น ส่งผลให้มีอ�านาจในการต่อรองราคา ยางกั บ พ่ อ ค้ า คนกลางเพิ่ ม มากกว่ า เดิ ม อี ก ด้ า น

83


84

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หนึ่ ง ชาวสวนยางต� า บลพิ ม านก็ มั่ น ใจในศั ก ยภาพ ของสหกรณ์มากขึ้นจึงพากันสมัครเข้ามาเป็นสมาชิก ปัจจุบนั สหกรณ์ยางพาราต�าบลพิมานมีสมาชิกทัง้ หมด 103 คน นอกจากดูแลด้านการตลาดให้กับสมาชิกแล้ว สหกรณ์ฯ ยังช่วยเหลือสมาชิกในเรือ่ งการปลูกยางพารา การให้ปุ๋ย การกรีดยาง รวมไปถึงการแนะน�า ให้ค�า ปรึกษาเกี่ยวกับโรคระบาด การก�าจัดวัชพืช และอื่น ๆ “ถามว่าตอนนี้อุปสรรคเราคืออะไร หลัก ๆ ก็ ยังคงเป็นเรื่องเงินทุนที่จะน�ามารับซื้อยาง เพราะยิ่ง สมาชิกมากขึ้นก็ต้องใช้เงินมากขึ้น แล้วต่อไปพอสวน ของสมาชิกกรีดยางได้หมด เราคงจะต้องใช้เงินเพิ่ม อีกเยอะ อีกเรื่องก็ บางทีเราพยายามจะเอาไปขายที่ โรงงานเอง ที่โรงงานเขาก็ไม่ให้ราคาเราเท่ากับพ่อค้า คนกลาง เราก็พยายามคุยกันอยู่ว่าจะท�าอย่างไรต่อ ไปดี” พี่ศักดาพูดแล้วถอนหายใจ พร้อมกับขอตัวไป ดูแลสมาชิกที่ทยอยเดินทางเข้ามามากขึ้น




8. àกɵรÍิน·รีย ผสมผสาน àรืèͧ·ีè¤น ¸รรมดากç·íาได้


ลินดา ไชยต้นเทือก วิทยากรประจ�ำแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ผสมผสาน


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

คุยกับพี่ศักดาจบ ปลัดธีระพลเดินเข้ามาถาม ว่า จะเข้าที่พักเลยไหม ผมเห็นว่ายังมีเวลาเหลือเฟือ เลยขอให้ปลัดพาไปแหล่งเรียนรู้ต่อไป ปลัดนิ่งคิดอยู่ ครูห่ นึง่ จากนัน้ อีกไม่ถงึ 5 นาที ผมก็มายืนอยูห่ น้าบ้าน พี่ลินดา ไชยต้นเทือก วิทยากรประจ�าแหล่งเรียนรู้เรื่อง เกษตรอินทรีย์ผสมผสาน ก่อนที่จะมาถึงจุดนี้ พี่ลินดาก็มีวิถีชีวิตไม่ต่าง จากแม่บ้านชนบทอื่น ๆ คือ สามีไปท�างานที่กรุงเทพ ส่วนตนเองเลี้ยงลูกอยู่ที่บ้าน รอรับเงินจากสามีอย่าง เดียว “ตอนนัน้ มันยังเด็กอยูเ่ นาะ ก็ไม่ได้คดิ อะไร แล้ว พ่อพี่ก็มีที่นาอยู่ 30 ไร่ ก็เลยไม่ได้เดือดร้อนเท่าไร แต่ พอพ่อเสีย ทีนเี้ ราก็มดื แปดด้านเลย ไม่รจู้ ะท�ายังไงต่อ” พีล่ นิ ดาย้อนชีวติ ช่วงแรกให้ฟงั หลังจากนัน้ สามี ได้ชวนไปท�างานทีก่ รุงเทพ แต่พลี่ นิ ดาก็ไม่ได้ไป เพราะ เป็นห่วงแม่และน้องสาว ขณะเดียวกัน ลูกอีก 2 คน ก็ยังเล็กอยู่ จึงเริ่มรับจ้างเย็บผ้าเพื่อหารายได้จุนเจือ ครอบครัว แต่ก็ไม่ค่อยมีงาน ภาระหนักจึงตกอยู่ที่สามี ชีวิตของพี่ลินดามาถึงจุดผกผันครั้งใหญ่เมื่อ สามีถูกเลิกจ้าง เพราะพิษเศรษฐกิจท�าให้โรงงานปิด ตัวลง สามีพี่ลินดาจึงต้องกลับมาอยู่ที่บ้าน ขณะที่หนี้ สินเดิมก็พอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ พี่ลินดาจึงปรึกษากับสามี

89




92

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ว่า อยากจะมาท�าเกษตรผสมผสานอย่างเต็มตัว แต่ เนือ่ งจากไม่มใี ครคอยแนะน�าจึงยังใช้ปยุ๋ เคมีไปด้วย ซึง่ แม้ว่าจะได้ผลผลิตดี แต่ก็ยังไม่สามารถปลดหนี้เก่าได้ ขณะที่หนี้ใหม่จากค่าปุ๋ยค่ายาก็เพิ่มขึ้นมาอีก “พอดีได้ไปเห็นเพื่อนบ้านเขาท�าเกษตรอินทรีย์ ใส่ปุ๋ยชีวภาพอย่างเดียว ข้าวเขาก็งามไม่แพ้ปุ๋ยเคมี เหมื อ นกั น แถมปุ ๋ ย ยั ง ราคาถู ก กว่ า ไม่ มี ห นี้ ค ่ า ปุ ๋ ย เหมือนเรา ก็เลยไปถามเขา เขาก็ชวนไปศูนย์ตุ้มโฮม มันก็คล้ายกับว่า เราได้ไปพลิกใจ ไปอบรมท�าเกษตร อินทรีย์ชีวภาพ “พอกลับมาก็ฝังอยู่ในใจว่า คนอื่นเขาท�าได้ ท�าไมเราจะท�าบ้างไม่ได้ ต่อมาเราได้ฟังวิทยุ เขาก็ พูดถึงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เรื่ อ งการท� า แบบพออยู ่ พ อกิ น ท� า หลาย ๆ อย่าง พร้อม ๆ กัน ต่อมาก็ได้ไปอบรมเรื่อง พลังงานชีวภาพ เรื่องเกษตรพอเพียงเพิ่มอีก” เมื่อติดปัญญา เติมความรู้จนเต็มสมองแล้ว พี่ ลินดาก็ลงมือท�าเกษตรอินทรีย์ผสมผสานอย่างจริงจัง โดยแบ่งเป็นการท�านา 10 ไร่ ที่เหลือปลูกผักสวนครัว ส�าหรับกิน และไม้ผล เช่น มะม่วงกับกล้วย ไว้กินและ ขาย รวมถึงเลี้ยงสัตว์ เช่น หมู เป็ด ไก่ และปลานิล ท� า ไปท� า มาจน ธ.ก.ส. เข้ า มาดู ง าน ก็ เ ห็ น



94

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ว่ า หน่ ว ยก้ า นใช้ ไ ด้ และมี ค วามก้ า วหน้ า ต่ อ เนื่ อ ง พี่ ลิ น ดาจึ ง ได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น วิ ท ยากรบรรยายเรื่ อ ง เกษตรอินทรีย์ผสมผสาน โดยใช้ไร่นาของตนเองเป็น ห้องเรียนรู้ ถามพี่ลินดาว่า ใช้เวลานานไหมกว่าจะท�าได้ ขนาดนี้ พี่ลินดาสั่นหัวแล้วบอกว่า เกษตรอินทรีย์ใน ตอนแรกอาจจะดูเหมือนเป็นเรื่องยาก แต่หากได้ลอง สัมผัสแล้ว เราจะรู้เองว่าเป็นเรื่องง่าย ๆ คนธรรมดา ทั่วไปก็ท�าได้ ส�าหรับอุปสรรคส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่อง ของเวลากับแรงงานที่ไม่ค่อยจะพอ แม้ว่าจะท�าเกษตรอินทรีย์ผสมผสานจนได้ผล เป็นที่น่าพอใจแล้ว แต่พี่ลินดากลับมิได้หยุดอยู่เพียง แค่นี้ ต่อมาสามีพี่ลินดาไปอบรมเรื่องเกษตรธรรมชาติ ที่เชียงใหม่ และน�าความรู้ใหม่มาถ่ายทอดให้กับเธอ หนึ่งในนั้นคือ การท�าน�้าข้าวกล้องงอก “สามีพี่เขาบอกว่า มันมีสรรพคุณบ�ารุงสมอง ป้องกันโรคเหน็บชาและอัลไซเมอร์ เราก็ลองท�ากิน กันก่อน ไม่ได้ตั้งใจท�าขาย เวลาคนมาดูงานที่ฐาน เรียนรู้ของเราก็เอามาให้เขาชิมกันดู เขาก็ติดใจ ขอซื้อ คนละขวดสองขวดบ้าง ทีนี้ก็เลยท�าขายเป็นเรื่องเป็น ราว พอต่อมาที่หมู่ 1 เขาตั้งฐานการเรียนรู้สุขภาพวิถี ไทย เขาก็มาชวนพี่ไปเป็นวิทยากร สาธิตเรื่องการท�า


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

น�้าข้าวกล้องด้วย” เมื่อถูกถามว่า พอใจกับรายได้ไหม พี่ลินดาเริ่ม ต้นสาธยายให้ฟังก่อนว่า รายได้ประจ�าปีก็คือการขาย ข้าวประมาณแสนกว่าบาท ส่วนรายได้ประจ�าวันคือ การท�าน�้าข้าวกล้องงอกขาย แต่ถ้าเป็นช่วงฤดูที่ผลไม้ ให้ผลก็จะมีรายได้เพิ่มขึ้นมาอีก เช่นเดียวกับสัตว์เลี้ยง ที่มีอยู่ บางวันก็จับปลาขายบ้าง “ถามว่าพอใจกับรายได้ไหม พีก่ ส็ ง่ ลูก 2 คนเรียน ได้โดยไม่ต้องเป็นหนี้ใครเขา ตอนนี้คนโตเรียนจบเป็น

95


96

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หมออนามัย ส่วนคนที่ 2 เรียนครูปีหนึ่ง” พี่ลินดาตอบพร้อมรอยยิ้มภาคภูมิใจ ผมหยุดการสนทนาไว้เพียงแค่นั้น เพราะได้ ไขข้อข้องใจเรื่องของการด�ารงชีพด้วยเกษตรอินทรีย์ ผสมผสานจนกระจ่างชัดแล้ว ผมกล่าวลาพี่ลินดาเพื่อ เตรียมตัวเข้าที่พัก พี่ลินดาบอกให้รอเดี๋ยว แล้วเดิน หายเข้าไปในบ้าน ก่อนจะเดินถือถุงพลาสติกใบใหญ่ ออกมายื่นส่งให้ ข้างในมีน�้าข้าวกล้องงอกอยู่ 5-6 ขวด บอกว่าเอาไว้กินตอนกลางคืน เผื่อหิว ผมไหว้ขอบคุณพี่ลินดาอีกครั้ง และหยิบขึ้นมา เปิดดื่มทันที พลันที่น�้าสีขาวขุ่นไหลผ่านล�าคอลงไป ความรู้สึกกระปรี้กระเปร่าก็เกิดขึ้นทันที ไม่ได้โม้ครับ ผมว่า มันคงไม่ได้เกิดจากคุณค่าสารอาหารในน�้าข้าว กล้องขวดนั้นเพียงอย่างเดียว แต่ความอุตสาหะของพี่ ลินดาทีอ่ ยูใ่ นนัน้ ต่างหากทีท่ า� ให้ผมรูส้ กึ กระฉับกระเฉง ขึ้นมาทันที



ปุยชีวภาพ

เกษตรอินทรีย


9. »ุ‰ยÍิน·รีย ชีวÀาพ àสาËลักสÙ‹¤วามสíาàรç¨ เช้ า วั น ต่ อ มา ปลั ด ธี ร ะพลมารั บ ผมที่ อ าคาร รับรองของค่ายลูกเสือภูพานน้อยเพือ่ พาไปทานข้าวเช้า ระหว่างทาง ปลัดถามผมว่า วันนีอ้ ยากจะไปแหล่งเรียน รูไ้ หนบ้าง ผมจึงขอไปดูเรือ่ งการผลิตปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพ ดีกว่า เพราะผมอยากรู้ว่า โรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ของต�าบลพิมานนั้นมีศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับ นโยบายเกษตรอินทรีย์ที่นายกฯ ธงไชยพูดหรือไม่ ได้ยินดังนั้น ปลัดธีระพลล้วงโทรศัพท์มือถือ ขึ้นมา กดต่อสายออกไปหาใครสักคน เจรจาพาทีเป็น


100 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ภาษาอีสานอยูส่ กั ครู่ พูดจบก็หนั มาบอกผมว่า กินข้าว เสร็จเดี๋ยวเราเข้าไปหาประธานโรงผลิตปุ๋ยกันได้เลย ลุงเสนาะ ทาตุ ประธานฝ่ายผลิต โรงผลิตปุ๋ย กลุม่ ปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพ ชายวัยกลางคน ผมเริม่ ขาวแล้ว ยืนยิ้มแฉ่ง รอรับปลัดธีระพลกับผมอยู่หน้าทางเข้าโรง ผลิตปุ๋ยที่ป่าดอนนายาง “เอาละ อยากรู้อะไรถามมาได้เลย” ลุงเสนาะพูดกับผมหลังจากที่เราทักทายกัน แล้ว ผมมองรอบ ๆ โรงปุ๋ยแบบเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งว่า เครื่องจักรสภาพซอมซ่อแบบนี้จะผลิตปุ๋ยได้จริง ๆ จึง ตัดสินใจถามออกไปตรง ๆ “ท�าไมมันดูเก่าจังละครับลุง” ลุงเสนาะหัวเราะ แล้วตอบว่า “เอ้า ก็มนั ยังไม่ถงึ เวลาผลิตปุย๋ นี่ พอจะผลิตปุ๋ย เราถึงค่อยมาเก็บกวาด เตรียมการทีนึง” “ไม่ได้ผลิตปุย๋ กันตลอดทัง้ ปีเหรอครับ” ถามไปเพราะคิดว่า โรงปุ๋ยที่นี่จะเหมือนกับโรงปุ๋ย ของบริษัทใหญ่ ๆ ที่เขาท�าการ ผลิตตลอดปี เสนาะ ทาตุ ประธาน½†ายผลิตกลุ่มปุ‰ยอินทรีย์ชีวภาพ


“อ๋อ ไม่หรอก เราผลิตแค่ปีละหนเท่านั้นเอง” ลุงเสนาะตอบ และขยายความให้ฟังต่อไปว่า ก่อนจะท�าการผลิตปุย๋ ซึง่ จะท�าในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ทางกลุ่มจะถามสมาชิกก่อนว่า ใครต้องการปุ๋ยเท่าไร จากนั้นจึงค่อยไปหาซื้อวัตถุดิบแล้วท�าการผลิตส่งให้ ตามค�าสั่งซื้อ หากมีปุ๋ยเหลือจึงขายให้กับลูกค้าขาจร เมื่อได้ฟังค�าตอบแล้ว คนช่างสงสัยแบบผมก็ เกิดค�าถามตามมาอีกว่า ผลิตกันแบบนี้แล้วจะคุ้มกับ การลงทุนรึ “ค�าว่าคุม้ หรือไม่คมุ้ นีม่ นั ต้องดูจดุ ประสงค์หลัก ของการตัง้ โรงงานปุย๋ ด้วยว่า เราตัง้ ขึน้ มาเพือ่ อะไร เพือ่ ผลิตปุย๋ ให้สมาชิกใช้ เพือ่ ลดต้นทุนการท�าเกษตรโดยใช้ ปุย๋ เคมี เราไม่ได้ตงั้ ขึน้ มาเพือ่ แสวงหาก�าไร เพราะฉะนัน้


102 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เราต้องเอาสมาชิกเป็นทีต่ งั้ ไม่ใช่เอาก�าไรเป็นหลัก” ลุง เสนาะอธิบายชัดเจน จากนั้ น จึ ง สาธยายถึ ง ที่ ม าที่ ไ ปของโรงผลิ ต ปุ๋ยว่า เมื่อปี 2548 รัฐบาลได้ให้เงินต�าบลพิมานผ่าน โครงการพั ฒ นาต� า บลมา 1 ล้ า นบาท ขณะนั้ น ลุ ง เสนาะเป็นสมาชิกสภาต�าบล จึงเสนอให้สร้างโรงปุ๋ย อินทรียเ์ พือ่ รองรับมูลของวัวควายจากโครงการธนาคาร โคกระบือที่จะมาตั้งใกล้ ๆ กัน ธ.ก.ส. ได้สง่ ลุงเสนาะไปอบรมการท�าปุย๋ อินทรีย์ ทีศ่ นู ย์ตมุ้ โฮมในตัวจังหวัดนครพนม จากนัน้ จึงกลับมา เริ่มผลิตปุ๋ย อย่างไรก็ตาม สมาชิกที่ซื้อปุ๋ยไปใช้ส่วน หนึ่งก็ยังไม่พอใจกับคุณภาพที่ได้ ลุงเสนาะและคณะ กรรมการโรงผลิตปุ๋ยจึงต้องปรับปรุงสูตรปุ๋ยอย่างต่อ เนื่องเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด “เราก็ปรับมาเรื่อย ๆ เริ่มแรกเราก็ใช้ขี้วัวขี้ควาย แต่พอสมาชิกต้องการมากขึ้นมันก็ไม่พอ ก็เลยไปเอาขี้ ไก่มาผสมเพิ่มเข้าไป ขั้นตอนการผลิตเราก็จะเอาส่วน ผสมมาชั่งตามแต่ละสูตร เอาไปตากให้แห้ง แล้วก็น�า ไปผสมกับน�้าหมัก กากน�้าตาล ปูนขาว ร�าอ่อน จาก นัน้ ก็เข้าเครือ่ งอัดออกมาเป็นเม็ด หลัง ๆ มีคนจากนอก พื้นที่เข้ามาเรียนรู้ เราก็สร้างเครือข่ายกัน มีการแลก เปลี่ยนสูตรปุ๋ยกัน”


แม้จะดูเหมือนว่า โรงงานสามารถขายปุย๋ ได้โดย ไม่เหลือค้างสต็อก แต่ลุงเสนาะก็บอกว่า เรื่องของเงิน ทุนก็ยงั เป็นปัญหาหลัก เพราะโรงงานใช้เงินด�าเนินการ จากการขายหุน้ ให้กบั สมาชิก โดยขายในรูปของเครดิต เมื่อสมาชิกขายผลผลิตทางการเกษตรได้จึงจะน�าเงิน มาช�าระ ท�าให้บางครั้งเงินทุนหมุนเวียนส�าหรับน�าไป ซื้อวัตถุดิบจึงไม่เพียงพอ “เราก็ตอ้ งไปขอยืม อบต. มาบ้าง ปัญหาอีกเรือ่ ง ก็คือ ขาดแคลนแรงงาน เพราะเราไม่มีคนงานประจ�า


อาศั ย จ้ า งชั่ ว คราว จากสมาชิกบ้าง บาง คนเขามีงานประจ�า อย่างอื่น เขาก็ปลีก ตัวมาไม่ได้ ไอ้ครั้น จะผลิตตลอดปีมันก็ ท�าไม่ได้ เพราะพวก มู ล สั ต ว์ นี่ มั น ต้ อ ง ตากแดดให้แห้ง คัดแยกขนไก่ออก ถ้าฤดูฝนก็หมด สิทธิ์ไปเลย เคยลองท�ามาแล้ว ส่วนจะให้ท�าตั้งแต่ฤดู หนาวก็ยังไม่ได้ เพราะชาวบ้านเขายังเกี่ยวข้าวไม่เสร็จ หรือเสร็จแล้ว แต่ต้องท�าอย่างอื่นก่อน เมื่อว่างงานเขา จึงจะเข้ามา” ลุงเสนาะกล่าว ถามว่ า ถ้ า อย่ า งนั้ น เกิ ด ชาวต� า บลพิ ม าน พร้อมใจกันมาท�าเกษตรอินทรีย์ชีวภาพหมดทุกครัว เรือน โรงปุ๋ยจะผลิตได้พอรึ ลุงเสนาะตอบแบบไม่ต้อง คิดว่า พออย่างแน่นอน เพราะในปัจจุบันก�าลังการ ผลิตครอบคลุมการใช้ของชาวต�าบลพิมานอยู่แล้ว แต่ ที่ดูเหมือนผลิตไม่พอก็เพราะมีออเดอร์จากที่อื่นด้วย ผมถามค�าถามสุดท้ายว่า ลุงเสนาะพอใจกับการ ท�างานทีผ่ า่ นมาของโรงปุย๋ หรือไม่ ลุงเสนาะใช้ความคิด


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 105

นิดหนึง่ ก่อนจะตอบว่า ตนเองคงบอกไม่ได้วา่ พอใจหรือ ไม่ แต่สมาชิกของโรงปุ๋ยต่างหากที่จะเป็นคนบอกได้ “ก็ภูมิใจนะที่เราเป็นส่วนหนึ่งในการก่อตั้งโรง ปุ๋ยมากับมือ ได้ท�าปุ๋ยให้พี่น้องเราใช้ ได้ช่วยเขาลด ต้นทุนการท�าเกษตร ได้อบรมให้ความรู้กับคนข้าง นอกจากทัง้ จังหวัดนครพนมและจังหวัดใกล้เคียง ตอน นี้ก็ 20 รุ่นไปแล้ว รวม ๆ ก็น่าจะสองพันกว่าคน ตอน แรกโรงปุ๋ยเรามีสมาชิกแค่ 22 คน มีแต่คนหมู่ที่ 3 แต่ ปัจจุบันเรามีสมาชิก 366 คน ทั่วทั้งต�าบล” หลังสนทนาเสร็จ ผมกล่าวค�าอ�าลาลุงเสนาะ ขณะยกมือไหว้ ตาก็เหลือบไปเห็นกระติบข้าวเหนียวรูป ทรงแปลกตาวางอยูห่ น้าตะกร้ารถมอเตอร์ไซค์ เลยถาม แกว่า ซือ้ จากทีไ่ หน ปลัดธีระพลตอบแทนว่า “อยากรูใ้ ช่ ไหม เดี๋ยวจะพาไปดู”



10. ¨Ñ¡ÊÒ¹ ÊÌҧ§Ò¹ บันดาลสุข เมื่อเดินทางไปถึงจุดรวมตัวของกลุ่มจักสาน พี่ วรานิษฐ์ วงค์แสงน้อย ประธานกลุ่มจักสาน ก�าลังสาน ต้นกกอย่างขะมักเขม้น โดยมีลูกกลุ่มนั่งสานอยู่ข้าง ๆ เธอรับไหว้ผมพร้อมกับยิ้มอาย ๆ เมื่อปลัดบอกว่า ผม อยากขอสัมภาษณ์ เธอเล่าว่า ในตอนแรกตัวเองก็ไม่ คิดว่าจะมาท�าตรงนี้ เพราะไม่ชอบเรื่องงานหัตถกรรม แต่จดุ เปลีย่ นของชีวติ พีว่ รานิษฐ์เกิดขึน้ หลังจาก เธอประสบอุบตั เิ หตุพลัดตกบันไดบ้าน เนือ่ งจากฐานะ ยากจนจึงไม่มีเงินไปรักษาพยาบาล แพทย์บอกว่า เธอ อาจจะไม่สามารถเดินได้อกี ซึง่ หากเป็นคนอืน่ คงร้องไห้


108 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ฟูมฟายมืดแปดด้าน แต่ส�าหรับพี่วรานิษฐ์ สิ่งที่ท�าเป็น อันดับแรกคือ มองหาอาชีพอื่นทันที “เราก็มานัง่ คิดว่า จะมีวธิ ไี หนทีจ่ ะช่วยสามีแบ่ง เบาภาระเรื่องการหารายได้อย่างไร เพราะช่วยเขาท�า นาต่อไปอีกไม่ได้แล้ว พอดีตอนนั้นมีน้องที่รู้จักกันเขา ท�าจักสานอยู่ก่อนแล้ว เขาก็มาชวนเราท�า เราก็คิดว่า ได้วันละ 20-30 บาท ก็ยังดี” พี่วรานิษฐ์กล่าวถึงแรง จูงใจในการมาท�างานจักสาน แน่นอนว่า หนทางชีวิตของทุกคนไม่ได้ราบเรียบ เสมอไป เพราะกว่าพีว่ รานิษฐ์จะสานกระติบให้ออกมา สวยได้แบบนี้ก็ต้องหัด สานอยูห่ ลายใบ พอเจอ ค�าถามว่า แรก ๆ ท้อแท้ ไหม พี่วรานิษฐ์รีบตอบ ว่า ไม่ท้อ เพราะลูกก็ ต้องไปโรงเรียน ค่าปุ๋ย ค่ า ยาใช้ ใ นไร่ ใ นนาก็ ต้ อ งจ่ า ย มี แ ต่ ท� า งาน เท่านัน้ ถึงจะก้าวผ่านสิง่ เหล่านี้ไปได้ ต ่ อ ม า แ ม ้ พี่ วรานิษฐ์ วงค์แสงน้อย ประธานกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 109

วรานิษฐ์จะกลับมาเดินได้เหมือนเดิม แต่เธอก็มไิ ด้หยุด สานกระติบข้าวเหนียวขาย ตรงกันข้าม เธอทุ่มเทเวลา ว่างให้กับงานนี้เพื่อหารายได้เสริมมาจุนเจือครอบครัว “เราก็มานั่งคิดว่า งานนี้มันก็ดีนะ ท�าที่ไหน ก็ได้ เอาออกไปท�าตอนพักจากท�าไร่ไถนาก็ได้ ท�าตอน เย็น ๆ หลังจากกินข้าวก็ได้ พอเพื่อนบ้านเขาเห็นตรงนี้ ตอนหลังก็มาขอเรียนด้วย จากนั้นก็เริ่มมีคนมาสั่งท�า ไปขายเพิ่มขึ้น” ขณะเดียวกัน ทางส�านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ที่ 10 ซึ่งเป็นเจ้าของโครงการหมู่บ้านพิทักษ์ป่ารักษา สิ่งแวดล้อม ก็ได้เข้ามาให้ค�าแนะน�าให้พี่วรานิษฐ์กับ เพื่อน ๆ ให้ตั้งกลุ่มขึ้นเพื่อเข้าร่วมประกวดในโครงการ พระราชด�าริ ซึ่งต่อมา ทางกลุ่มก็ผ่านการคัดเลือกได้ เป็น 1 ใน 150 กลุม่ ในโครงการพระราชด�าริของจังหวัด นครพนม “เราก็ภูมิใจนะ เพราะพวกเราเริ่มต้นกันแบบที่ ไม่รอู้ ะไรกันเลย ฝึกกันเอง แต่กไ็ ด้เข้ามาอยูใ่ นโครงการ พระราชด�าริ ซึ่งเป็นจุดสูงสุดที่เราไม่ เคยคิดมาก่อน” พี่วรานิษฐ์กล่าวด้วย รอยยิ้ม



11. สุขกายสบายชีวา ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ระหว่างนั่งรถกลับ อบต. ผมรู้สึกปวดหัวเล็ก น้อยเนื่องจากอากาศที่นี่ค่อนข้างเย็นกว่าในกรุงเทพฯ ท�าให้ร่างกายปรับตัวไม่ทัน จึงถามหายาแก้ไข้ ปลัดรีบ น�าเสนอว่า อยากได้แบบสมุนไพรหรือยาแผนปัจจุบัน เพราะทีน่ มี่ ใี ห้เลือกทัง้ 2 อย่าง ผมจึงนึกขึน้ มาได้วา่ น่า จะไปทีแ่ หล่งเรียนรูส้ มุนไพรพืน้ บ้านของทีน่ เี่ พือ่ ทดลอง ยาสมุนไพรเสียเลย ปลัดจึงโทรศัพท์ไปหาลุงศรีจนั ทร์ วงค์หนายโกฏ วิทยากรประจ�าแหล่งเรียนรู้สมุนไพรพื้นบ้าน ทันที แต่ ปลายสายบอกมาว่า ตอนนีม้ าท�าธุระที่ อบต. เพราะแก


112 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เป็นเลขานายกฯ อบต. อีกต�าแหน่ง ผมเลยอดทดลอง ยาสมุนไพรต�ารับหมอพื้นบ้าน ความจริ ง คนส่ ว นใหญ่ ก็ พ อจะรู ้ กั น อยู ่ ว ่ า สมุนไพรเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ใช้ประโยชน์ได้จริง แต่เป็น เพราะว่าเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมาก จน วิชาแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรกลายเป็นยาถูกลืม ลุงศรีจันทร์ก็เป็นผู้หนึ่งที่เคยละทิ้งภูมิปัญญาที่ตนเคย มีมาก่อน แล้วหันไปพึ่งวิทยาการสมัยใหม่เพียงอย่าง เดียว จนในตอนหลัง เมื่อชีวิตประสบกับปัญหาวิกฤติ จึงได้กลับมาพึ่งพาภูมิปัญญาพื้นบ้านดังเดิม ศรีจันทร์ วงค์หนายโกฏ วิทยากรแหล่งเรียนรู้สมุนไพรพื้นบ้าน ลุ ง ศรี จั น ทร์ เ ล่ า ว่ า เดิ ม พ่ อ เป็ น หมอ แผนโบราณ สมัยเด็ก ๆ เคยตามพ่อออกไปเก็บ สมุ น ไพรในป่ า บ่ อ ย ๆ ก็ ไ ด้ รั บ ความรู ้ ม าจาก พ่อ แต่พอวิทยาการด้าน การแพทย์สมัยใหม่ก้าว เข้ามา ทุกคนก็หันหลัง


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 113

ให้กับสมุนไพร เพราะเห็นผลช้ากว่ายาแผนปัจจุบัน “ผมเองก็ เ ป็ น แค่ ช าวนา พอเขาบอกว่ า ยา ปฏิชีวนะดีกว่า เราก็เชื่อไปตามเขา จุดเปลี่ยนของผม มันเกิดก็ตอนทีผ่ มเป็นเบาหวาน เพราะตอนนัน้ น�า้ ตาล ผมขึน้ ไปถึง 300 ไตผมก็ทา� งานได้ขา้ งเดียว หมอก็คาด ว่า ไม่นา่ จะอยูไ่ ด้เกิน 4 เดือน แต่ตอ่ มา ผมเห็นรายการ ในเคเบิลทีวพี ดู ถึงเรือ่ งสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน ผม ก็เลยนึกถึงความรู้ที่พ่อเคยถ่ายทอดให้ ก็ไปค้นว่ามี อะไรแก้โรคเบาหวานกับความดัน” เหมือนกับว่า โชคชะตาได้ลิขิตให้ลุงศรีจันทร์ ต้องกลับมาเป็นหมอสมุนไพรพื้นบ้าน เพราะต่อมา ก็ได้ไปเจอพระธุดงค์ศิษย์หลวงปู่หล้า ซึ่งแนะน�าสูตร ยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานให้ “ผมก็ลองท�ากินดู กินไปสักพัก เบาหวานผมดี ขึน้ น�า้ ตาลต�า่ ลง ไตก็ทา� งานได้ 2 ข้างเหมือนเดิม พอไป หาหมออีกที หมอก็ตกใจถามว่า ท�าไมเบาหวานผมลด ลงขนาดนี้ ไปทานยาอะไรมา ผมก็ไม่กล้าบอก กลัวเขา ไม่เชือ่ ก็โกหกหมอไปว่า กินยาของคุณหมอนัน่ ละครับ” ต่อมา ปตท. ได้จัดท�าโครงการรักษ์ป่าสร้างคน 84 ต�าบล ขึน้ มา ขณะนัน้ ลุงศรีจนั ทร์เป็นผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ 3 จึงเป็นตัวแทนเข้าอบรม โครงการนี้ได้จุดประกาย ความคิดในการท�าสวนสมุนไพรพื้นบ้านขึ้น เมื่อกลับ


114 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

มาจึงรวมกลุ่มกันกับเพื่อนบ้านผู้ใช้สมุนไพรจ�านวน 5 คน เพื่อแลกเปลี่ยนภูมิปัญญา และถ่ายทอดความ รู้ให้กับเยาวชนเพื่อให้ความรู้คงอยู่ต่อไป ไม่ขาดช่วง เหมือนที่เคยเป็นมา เวลาต่อมา พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดนครพนม และ อบต. ได้เข้ามาช่วยเหลือ จัดการอบรมเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในชุมชนอย่าง เป็นทางการ เพื่อให้ได้รับความรู้ตามแบบแพทย์แผน ไทย ลุงศรีจันทร์น�าไปประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาเดิมที่ ตนเคยได้รับการถ่ายทอดมา ผลิดอกออกผลไปสู่การ ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายการใช้สมุนไพรในทุกหมู่บ้าน มี สมาชิกจ�านวน 50 คน หลังจากนั้น กลุ่มเครือข่ายก็ได้มีการถ่ายทอด ความรูเ้ กีย่ วกับการปลูกการใช้สมุนไพรในชุมชนให้กบั ประชาชนในต�าบล ท�าให้ในปัจจุบนั ทุกครัวเรือนมีการ ปลูกสมุนไพรอย่างน้อย 5 ชนิด แม้วา่ จะได้ชอื่ ว่าเป็นหมอสมุนไพรประจ�าต�าบล พิมานแล้ว แต่ลงุ ศรีจนั ทร์กบ็ อกอย่างถ่อมตัวว่า ตนเอง ยังไม่รอู้ กี เยอะ และยังคงศึกษาหาความรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ ง ของสมุนไพรเพิ่มเติมอยู่เสมอ “ผมก็ค้นคว้าจากรายการวิทยุ โทรทัศน์ รวมทั้ง พวกหนังสือหนังหา แล้วผมก็หาโอกาสไปอบรมข้าง


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 115

นอก บางที อบต. เขาก็ช่วยส่งไปอบรมเหมือนกัน วิชา ความรู้พวกนี้มันไม่สิ้นสุด ก็ต้องเรียนรู้กันไปจนกว่า สังขารมันจะไม่ไหวนั่นละ” ลุ ง ศรีจันทร์กล่าวทิ้ง ท้าย แล้วหัว เราะอย่า ง อารมณ์ดี



12. âÎมสàµย ¤วามËมาย·ีèมากกว‹า ¤íาว‹า '·ีèพัก' ตกเย็นวันนั้น ผมแพ็คของใส่เป้อีกครั้ง เพราะ ปลัดจัดให้ผมลองไปสัมผัสกับโฮมสเตย์ต�าบลพิมาน โดยให้ผมพักทีบ่ า้ นของครูปะทินกร สิงหะวาระ อดีตแม่ พิมพ์ของชาติ ซึ่งปัจจุบันเป็นประธานชมรมโฮมสเตย์ ต�าบลพิมาน เพื่อผมจะได้สัมภาษณ์ไปด้วยเลย ครูปะทินกรเพิ่งเกษียณจากราชการได้ไม่กี่ปี ตามประสาคนเคยท�างาน จะให้ออกมาอยู่บ้านงอมือ งอเท้าเฉย ๆ ก็ไม่เคยชิน พอดีในปี 2550 ทาง อบต.


»Ð·Ô¹¡Ã ÊÔ§ËÐÇÒÃÐ ประธานกลุ่มโฮมสเตย์ มี น โยบายที่ จ ะท� า โฮมสเตย์เพื่อรองรับ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ครู ปะทินกรก็เลยปรึกษา กับสามี ทั้ ง คู ่ เ ห็ น ว่ า อย่างน้อยน่าจะช่วย ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว และภาพลักษณ์ของ ต�าบลได้ก็เลยลองไป สมัครดู และได้รับเลือกให้เป็นโฮมสเตย์น�าร่องของ ต� า บล โดยมี แ ขกมาทดลองพั ก คื อ นั ก ศึ ก ษาจาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ�านวน 2 วัน 1 คืน นี่คือ จุดเริ่มต้นง่าย ๆ ที่ครูปะทินกรเล่าให้ผมฟังขณะทาน ข้าวเย็นร่วมกัน พอปีต่อมา ทาง ธ.ก.ส. ได้จัดคนเข้าอบรม โครงการพักช�าระหนี้ที่ต�าบลพิมานจ�านวน 7 รอบ รอบ ละ 100 คน โดยเข้าพัก 3 วัน 2 คืน ผู้ที่ท�าโฮมสเตย์ จึงมาปรึกษาหารือกันจนได้ข้อสรุปว่า ให้จัดตั้งกลุ่ม โฮมสเตย์ขึ้นเพื่อวางระเบียบและมาตรฐานโฮมสเตย์ ของต�าบลพิมาน ซึ่งมีทั้งหมด 54 หลังด้วยกัน “ก่อนคนเข้าพัก เราต้องประชุมสมาชิกทีเ่ ปิดให้


แขกเข้าพักเพือ่ เตรียมความพร้อม จากนัน้ เมือ่ แขกกลับ เราก็จะให้เขาประเมินว่า มีความพึงพอใจขนาดไหน ส่วนการจัดคนเข้าพักจะเป็นลักษณะหมุนเวียนกันไป แต่ละบ้าน” ครูปะทินกรกล่าว เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ที่มาพัก ปี 2554 ทางกลุ่มโฮมสเตย์จึงประสานกับ อบต. เพื่อขอรับการ ประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์จากการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย และผ่านการประเมินในปีเดียวกันนั้นเอง ครูปะทินกรพูดถึงเรื่องนี้ว่า “ยิ่งเราอยู่ห่างไกล เราต้องยิ่งสร้างความมั่นใจ ให้ แ ขกเขารู้สึกอุ่นใจ ทุกครั้ง ที่มีแ ขกมาพัก เราจะ ประสานไปทาง อบต. เพื่อจัดเวรยามคอยดูแลในตอน


120 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

กลางคืน ดังนั้น ตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน เรายังไม่ เคยมีเรื่องร้องเรียนจากนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับอันตราย เรื่องความไม่ปลอดภัยในพื้นที่ใด ๆ เลย เราได้รับค�า ชมที่น่าภาคภูมิใจว่า เด็กที่นี่ไม่มีการรบกวนด้วยการ แข่งมอเตอร์ไซค์เลย” ส�าหรับอุปสรรคในการท�างานนั้น ครูปะทินกร เล่าว่า ที่นี่ค่อนข้างโชคดี เพราะทุกคนอยู่กันแบบพี่ แบบน้อง ที่ผ่านมาก็มีบ้างที่เจ้าของบ้านโฮมสเตย์ซึ่ง เป็นชาวบ้านธรรมดา พอแขกผูใ้ หญ่ระดับสูงมาพักก็ไม่ กล้าต้อนรับเพราะกลัวจะท�าอะไรผิดพลาด จึงต้องค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เขามั่นใจมากขึ้น “ในอนาคตเราน่าจะมีการปรับปรุงที่พักให้แขก เขามีความสะดวกสบายมากขึ้น แต่เราก็ยังต้องรักษา วิถีชีวิตแบบชุมชนเอาไว้ แล้วก็ต้องเตรียมความพร้อม ด้านภาษาต่างประเทศ และก็คิดกันไว้ว่า แต่ละบ้าน จะต้องมีจักรยานให้ผู้มาพักเอาไว้ใช้ปั่น “ตอนนี้ก็เริ่มมีการพูดคุยกับกลุ่มทอผ้าเย็บผ้า กลุ่มผลิตข้าวกล้อง กลุ่มจักสาน กลุ่มเพาะพันธุ์กล้า ไม้ และกลุม่ สมุนไพร เพือ่ จัดตัง้ ศูนย์การเรียนรูก้ ารผลิต สินค้าโอทอปให้แขกที่เข้ามาพักได้เดินไปเรียนรู้ตาม กลุม่ เหล่านี้ เราพยายามเน้นสิง่ เหล่านี้ สิง่ ทีเ่ รามีอยูเ่ ดิม อันไหนที่ไม่ใช่เอกลักษณ์ของเราก็จะไม่ท�า เรื่องเหล้า


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 121

ยาต่าง ๆ ก็คุยกับ อบต. ว่าต้องคุมเข้ม เพราะหากของ พวกนี้เข้ามา มันจะมีผลเสียมากกว่าผลดี” ผมนัง่ ฟังครูปะทินกรเล่าถึงแผนงานในอนาคตก็ รูส้ กึ หายห่วง เพราะอย่างน้อยผมแน่ใจแล้วว่า พิมานจะ ไม่เละเทะเหมือนกับสถานที่ท่องเที่ยวสุดฮิตในชนบท อีกหลายแห่งที่ไม่เหลือเค้าลางของตัวตนเดิมให้เราได้ ชื่นชมอีกต่อไปแล้ว



พิมาน บนผืนดิน เช้าวันสุดท้ายของผมที่พิมานถูกปลุกโดยเสียง ตามสายของหลวงพ่อบุญร่วม เจ้าอาวาสวัดศรีชมชื่น ใจหนึ่ ง ผมอยากจะนอนขดอยู ่ ใ ต้ ผ ้ า ห่ ม ต่ อ เพราะ อากาศเย็นก�าลังดี แต่อีกใจก็บอกกับตนเองว่า ไม่ได้ มาพิมานทุกวัน เพราะฉะนั้น จงใช้ทุกวินาทีที่นี่ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ว่าแล้วก็ลุกขึ้นไปล้างหน้าแปรงฟัน เสร็จแล้วก็คว้ากล้องคู่ชีพ ออกไปโต้อากาศเย็น ๆ ด้าน นอก เพื่อเก็บภาพพิมานครั้งสุดท้าย เดินถ่ายรูปไปเรื่อย ๆ อีกสองชั่วโมงให้หลัง ผม ก็มาหยุดอยูท่ หี่ น้าธรณีประตูวดั ศรีชมชืน่ สังเกตเห็นวัน นี้ ผู้คนท�าไมมากันเต็มวัด มานึกได้อีกทีก็พรุ่งนี้วันพระ


124 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

นี่เอง คนคงมาใส่บาตรกัน ท่าทีของพวกเขาดูเร่งรีบ แต่ก็ไม่วุ่นวายเฉกเช่นยามเช้าในเมืองหลวง ผู้คนที่นี่ ไม่แย่ง ไม่เบียดเสียดกัน ทุกคนเหมือนรู้หน้าที่ของกัน และกัน ผมถามตัวเองว่า หลังจากมาเยือนพิมาน ผมได้ อะไรกลับไปบ้าง ค�าตอบที่ผมนึกได้ขณะนี้ก็คือ ความ ประทับใจไงครับ ความประทับใจในความพยายามของ คนทีน่ ี่ ทุกคนพยายามทีจ่ ะท�าให้บา้ นของพวกเขาน่าอยู่ ขึน้ กว่าแต่กอ่ น น่าอยูใ่ นทีน่ ไี้ ม่ได้หมายถึงความทันสมัย หรือไฮเทคอะไร แต่หมายถึงปลอดภัยมากขึ้น ร่มรื่น มากขึ้น สะอาดขึ้น และทุกคนมีชีวิตที่ดีขึ้น ผมคงตอบไม่ได้ว่า พวกเขาจะท�าส�าเร็จหรือไม่ มีเพียงเวลาเท่านั้นละครับที่จะเป็นผู้ให้ค�าตอบ สิ่งที่ผมพอจะท�าได้ก็คือ เอาใจช่วยให้พวกเขา ท�าส�าเร็จ พลิกต�าบลพิมานให้กลายเป็นวิมานบนผืนดิน จริง ๆ


�พิมานบ้านนา� บ้านพิมาน¤ืÍพิมานÍันàรืͧราม ¶ิèนข้าว§ามµíานานบ้านข้าวËÍม áม‹âพสพพสุ¸ามาà¨ิม¨Íม »รШมพร้Íมà¨ิมพรน¤รพนม ·ุ‹§นา§าม¤น§ามนí้า㨧าม ร‹มÍารามÍร‹ามรายà§าไม้ร‹ม àนรมิµ¶ิèน°านพิมานพรËม สืบਵนารม³ Íุดมการ³ ÀÙพานน้Íยนาáกนí้าáม‹กíèา Íนุสร³ วีรกรรม¤วามกล้าËาÞ การµ‹ÍสÙ้ ผÙ้¤นผÙ้·น·าน ร‹วม»ลÙกàËย้าá»ล§ย‹าน໚นบ้านàมืͧ »˜œนáผ‹นดินãË้໚นดว§ดาว ด้วยàมçดข้าวàมçดàดียวยั§àกีèยวàนืèͧ ชีวิµข้าวชีวิµ¤นกล‹นนͧàนืͧ Íร‹ามàรืͧชาวพิมานบ้านนาดี

àนาวรัµน พ§É ไพบÙลย ร¨นา


126 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เพลงศักยภาพชุมชน ¤íÒÌͧ-·íҹͧ วสุ ห้าวหาญ àÃÕºàÃÕ§´¹µÃÕ ศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก ¢ÑºÃŒÍ§â´Â ฟางแก้ว พิชญาภา, ศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี้ ท�าเพื่อเมืองไทยด้วยกัน ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เราเป็นคนไทยเปี่ยมความสามารถ เป็นก�าลังของประเทศชาติ พัฒนาบ้านเมืองก้าวไกล เป็น คนเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ก็รักเมืองไทยด้วยกันทั้งนั้น (สร้อย) หากเราร่วมมือร่วมใจ ท�าสิ่งไหนก็ไม่เกิน แรง โครงสร้างชุมชนแข็งแกร่ง เพราะเราร่วมแรงร่วมมือ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เราแบ่ง ปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ อยู่ชนบทห่างไกล ท�านาท�าไร่พอเพียงเลี้ยงตัว ใช้ ชุมชนดูแลครอบครัว ใช้ครอบครัวดูแลชุมชน ปูพนื้ ฐานจาก หมู่บ้านต�าบล สร้างแปลงเมืองไทยให้น่าอยู่ดังฝัน ชุมชนท้องถิ่นบ้านเราเรียนรู้ร่วมกันเพื่อการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่นบ้านเราเรียนรู้ร่วมกันช่วยกันพัฒนา


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 127

อยู่ตามเมืองใหญ่เมืองหลวง หัวใจทุกดวงซ่อนไฟ มุ่งมั่น ก้าวออกมาจากรั้วที่กั้น จับมือกันท�าเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน�้าใจ โอบกอดชุมชนไว้ด้วย ความสุขยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี้ ท�าเพื่อเมืองไทยด้วยกัน หากเราร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ ท� า สิ่ ง ไหนก็ ไ ม่ เ กิ น แรง โครงสร้ า งชุ ม ชนแข็ ง แกร่ ง เพราะเราร่ ว มแรงร่ ว มมื อ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เราแบ่ง ปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ ด้วยมุมมองทีเ่ รา แบ่งปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ..

เข้าไปฟังและดาวน์โหลดเพลงศักยภาพชุมชนได้ที่ www.punsook.org



ด�ำเนินกำรผลิตโดย


ค�าน�า ท่ามกลางกระแสวิกฤติเศรษฐกิจโลกครั้งใหญ่เป็น ประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปีท�าให้เกิดการตั้งค�าถามว่า วิกฤตินี้จะใหญ่ขึ้นอีกเพียงใด จะยืดเยื้อขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ชุมชนหมู่บ้านไทย มากน้อยเพียงใด ความวิตกดังกล่าวอาจจะไม่เกิดขึ้นเลย หากปัจจุบันชุมชนหมู่บ้านไทยไม่ถูกลากเข้าสู่ระบบการ ผลิตเพื่อขาย นั ก วิ ช าการหลาย ๆ ท่ า นได้ วิ เ คราะห์ ถึ ง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยว่า ในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบด�ารงอยู่ในลักษณะคู่ขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรืออาจจะกล่าวเป็นศัพท์สมัยใหม่ได้ว่า ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมู่บ้านจะมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย เน้น ความพอเพียง มีครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต การช่วย เหลือซึง่ กันและกัน มีนา�้ ใจเป็นพืน้ ฐานของชีวติ มีพธิ กี รรม ต่าง ๆ เป็นระบบการจัดการในชุมชน และให้ความส�าคัญ ของบรรพบุรุษ ผู้เฒ่าผู้แก่ ครอบครัว


ต่ อ มาหลั ง จากรั ฐ และระบบทุ น นิ ย มได้ เ ข้ า ไปมี อิทธิพลต่อชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ท�าให้ชาวบ้านมีรายจ่ายที่เป็นตัวเงินมากขึ้น เพียงเท่านั้น ยังไม่พอ สิ่งที่ท�าลายความเข้มแข็งของชุมชนมากที่สุดคือ รัฐและทุนเข้าไปถ่ายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชนหมูบ่ า้ น ยิ่ ง รั ฐ และทุ น เข้ า ไปกอบโกยมากเท่ า ไร ชุ ม ชน หมู่บ้านไทยยิ่งประสบความอ่อนแอ ค�าพูดดังกล่าวไม่ใช่ ค�าพูดลอย ๆ ที่ไม่มีหลักฐานรองรับ หากแต่เมื่อกวาดตา ไปทั่วแผ่นดินไทยหลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากว่า 40 ปี จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชนไม่ ประสบปัญหาความยากจน ไม่ประสบปัญหาสิ่งแวดล้อม หรือไม่ประสบปัญหาสุขภาพ จากสถานการณ์ ดั ง กล่ า ว ถึ ง เวลาแล้ ว หรื อ ยั ง ที่ สั ง คมไทยควรกลับมาเน้นการพัฒนาที่ไ ม่ มองแต่ มิติ ประสิทธิภาพ การสร้างมูลค่าและก�าไร หรือการตลาด ด้านเดียว แต่ควรจะเป็นเพือ่ ประโยชน์ของชุมชนและสังคม เราไม่ควรลดทอนผู้คนลงไปเป็นเพียงตัวเลข หาก ควรเป็นเพื่อส่งเสริมศักยภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ค�าตอบส�าหรับค�าถามข้างต้นนีค้ งจะต้องช่วยกันค้นหา ไม่ ว่าจะใช้ระยะเวลานานเท่าไร คณะผู้จัดท�า


บานพิมานคือพิมานอันเรืองราม ถิ่นขาวงามตํานานบานขาวหอม แมโพสพพสุธามาเจิมจอม ประจมพรอมเจิมพรนครพนม ทุงนางามคนงามนํ้าใจงาม

รมอารามอรามรายเงาไมรม ......

ท่อนหนึ่งของบทกวี ‘พิมานบ้านนา’ รจนาโดย เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปินแห่งชาติ บ่งบอกความ ประทับใจต่อต�าบลพิมานได้เป็นอย่างดี ต�าบลพิมานเป็นต�าบลเล็ก ๆ ในอ�าเภอนาแก จังหวัดนครพนม มีประชากรราวหนึง่ พันครัวเรือน ด้าน เหนือติดกับล�าน�้าก�่าซึ่งมีต้นก�าเนิดบนเทือกเขาภูพาน


ไหลผ่านทุ่งนาที่ราบ ไปออกแม่ น�้ า โขงที่ อ� า เภอ ธาตุ พ นม ด้ า นทิ ศ ใต้ ติ ด ภู พ านน้ อ ย ส่ ว นหนึ่ ง ของ เทือกเขาภูพานมีลกั ษณะเป็นเทือกเขาสูง ชันสามารถมองเห็นได้ไกลถึงอ�าเภอนาแก ส�าหรับคนที่อายุ 30 ปีขึ้นไป คงจะพอทราบ ว่า อ�าเภอนาแกเป็นหนึ่งในพื้นที่สีแดง เคยอยู่ภาย ใต้อทิ ธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์หรือ ‘ผกค.’ สมัยนัน้ ถ้าพลเรือนจากกรุงเทพคนไหนคิดจะเดินทางมาเที่ยว อ�าเภอนาแกคงถูกมองว่าเพี้ยนหรือไม่ก็บ้า เพราะ นอกจากจะเดิ น ทางล� า บากแล้ ว ยั ง ถื อ เป็ น พื้ น ที่ อั น ตราย มี ท หาร ต� า รวจ อส. และข้ า ราชการอี ก มากมาย ต้องมาจบชีวิตลงที่นาแกจากการปะทะกับ ผกค. เวลาล่วงเลยมา 20 ปี ความขัดแย้งจึงได้ยุติลง แม้จะผ่านไปนานแล้วก็ตาม แต่ชื่อเสียงของอ�าเภอ นาแกก็ไม่เป็นที่พูดถึงเท่ากับอ�าเภออื่น ๆ ของจังหวัด นครพนม ยิ่งไม่ต้องพูดถึงต�าบลพิมาน ต�าบลเล็ก ๆ ที่


12

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หลายคนอาจจะไม่เคยได้ยนิ ชือ่ มาก่อน ผมเองก็เช่นกัน แต่การที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) เลือกทีน่ เี่ ป็นสถานทีส่ า� หรับฝึกอบรมโครงการ เศรษฐกิจพอเพียงและโครงการพักช�าระหนี้เกษตรกร ตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน ผมเชื่อแน่ว่า ต�าบลพิมาน นั้นต้องไม่ธรรมดา แต่จะไม่ธรรมดาแบบไหนนั้น ตาม ผมไปพิสูจน์ด้วยกันดีกว่าครับ.... ผมออกเดินทางจากหมอชิต 2 ในเวลา 3 ทุ่ม


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

ครึ่ง ด้วยรถ บขส. สายกรุงเทพ-เรณูนคร ใช้เวลา ราว 12 ชั่วโมงก็มาถึงอ�าเภอนาแก โดยมีปลัดธีระพล กลางประพันธ์ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลพิมาน มาคอยรับผมอยู่ก่อนแล้ว ระหว่างเดินทางจากอ�าเภอนาแกเข้าไปยังต�าบล พิมาน ปลัดธีระพล หนุ่มใหญ่วัย 47 ปี แนะน�าตัวเอง ว่าเป็นคนนครพนมโดยก�าเนิด แต่เมื่อต�าบลบ้านเกิด แยกตัวไปขึ้นกับจังหวัดมุกดาหาร จึงกลายเป็นหนุ่ม

13


14

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

มุกดาหารไปโดยปริยาย ผมสนทนากับปลัดเป็นการฆ่าเวลาระหว่างเดิน ทางด้วยเรือ่ งทัว่ ไป ปลัดเล่าว่า หลังจากทีค่ วามขัดแย้ง เรื่องคอมมิวนิสต์จบลง ทางการก็เข้ามาช่วยเหลือชาว บ้านเรือ่ งทีท่ า� กิน และส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดีย่ ว ชาว บ้านจึงเริ่มถางป่าเพื่อท�าการเพาะปลูก และรวมกลุ่ม กันกู้ยืมเงิน ธ.ก.ส. เพื่อซื้อปัจจัยการผลิต ราวปี พ.ศ. 2530-2535 เริ่มมีเครื่องอ�านวย ความสะดวกทางการเกษตรเข้ามา เช่น รถนวดข้าว รถ เกี่ยวข้าว รถไถนา ท�าให้ชาวบ้านพากันท�าการเกษตร แบบสมัยใหม่ ละทิง้ ภูมปิ ญ ั ญาพืน้ บ้าน แต่แทนทีค่ วาม เป็นอยู่จะดีขึ้น ชาวบ้านกลับเป็นหนี้มากขึ้นไปอีก “ที่นี่ยังโชคดีหลายอย่างที่ลักษณะทางสังคม เป็นกลุ่มที่มีความขยันและอดออมเป็นพิเศษ ขณะที่ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนก็ได้เข้ามาช่วยชาวบ้าน ปลดหนี้ผ่านการอบรมลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว ส่ง เสริมการท�าบัญชีครัวเรือน” ปลัดธีระพลกล่าว ต่อมา หน่วยงานภาคีเครือข่าย เช่น ศูนย์การ ศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) ปศุสัตว์อ�าเภอ เกษตร อ�าเภอ องค์การบริหารส่วนต�าบลพิมาน ป่าไม้จังหวัด และส�านักงานสนับสนุนกองทุนงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (สกว.) ก็ทยอยเข้ามาให้การช่วยเหลือสนับสนุน ท�าให้


16

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ปัจจุบันต�าบลพิมานกลายเป็นต�าบลปลอดหนี้นอก ระบบได้ส�าเร็จ และยังเป็นต�าบลต้นแบบ แหล่งเรียน รู้วิถีชุมชนของจังหวัดนครพนมและภาคอีสานอีกด้วย ปลัดธีระพลเล่าต่อไปว่า ต�าบลพิมานค่อนข้าง โชคดีที่พื้นที่ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลน น�้าในการท�านา เพราะมีน�้าจากคลองชลประทาน ห้วย หนอง และน�้าฝน “น�้าท่าอุดมสมบูรณ์แบบนี้แสดงว่า ผลผลิตก็ ต้องดีสคิ รับ” ผมแสดงความเห็นออกไป ปลัดส่ายหน้า เล็กน้อยก่อนตอบ “มันก็มีปัญหาบ้างเหมือนกันนะ หากปีไหนฝน ลงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม หนัก ๆ เพราะช่วงนั้น จะเป็นช่วงน�้าโขงขึ้นสูงพอดี ประกอบกับน�้าก�่าไหล มาบรรจบกัน พื้นที่ราบแถวนี้มันเป็นแอ่งน�้าก็เลยไหล ออกไปไม่ได้”


ปลัดธีระพลขับรถไม่ถึง 5 นาที ก็ไปหยุดอยู่ ที่หน้าวัดศรีชมชื่น ซึ่งมองจากภายนอกแล้วก็ไม่ต่าง จากวัดตามชนบททั่วไป แต่หากสังเกตดี ๆ แล้วจะพบ สิง่ ก่อสร้างทีม่ สี ถาปัตยกรรมแปลกตา ไม่พบเห็นในวัด แถบภาคกลางมาก่อน

¾ÃÐ͸ԡÒúØÞËÇÁ »ÃÔ»³ Ø â³


ก่อนที่ผมจะทันได้ถามอะไร ปลัดธีระพลก็เดิน น�าเข้าไปกราบนมัสการพระอธิการบุญร่วม ปริปุณโณ เจ้าอาวาสวัดศรีชมชื่น อีกหนึ่งผู้ทรงภูมิปัญญาด้าน ประวัติศาสตร์ของต�าบลพิมาน เมื่อทราบวัตถุประสงค์ในการมาของผม หลวง พ่อจึงเล่าให้ฟังว่า ประวัติของชาวพิมานนั้นเล่ากัน มาแบบปากต่อ ปาก ชาวพิม านสืบ เชื้อ สายมาจาก ชาวภูไทที่อาศัยอยู่ในเขตบ้านพอก บ้านนาขาม แถว เมืองมหาชัย แขวงค�าม่วน ซึ่งปัจจุบันคือ เมืองท่าแขก ประเทศลาว ในปี 2297 พวกจีนฮ่อในยูนนานได้ยก ทัพเข้ามารุกรานเมืองมหาชัย ชาวเมืองจึงอพยพหนี ภัยสงคราม ลงเรือล่องมาตามล�าน�้าโขงแล้วตัดเข้า มายังแม่น�้าก�่า แล่นเรือขึ้นมาถึงจุดที่เป็นบ้านพิมาน ท่าในปัจจุบัน เมื่อพิจารณาดูแล้วก็เห็นร่วมกันว่าท�าเล เหมาะสมที่จะตั้งถิ่นฐาน ต่อมาเมื่อทราบว่าสงคราม สงบแล้วก็ส่งคนกลับไปชักชวนพี่น้องยังเมืองมหาชัย ให้อพยพลงมาอยู่ด้วยกัน จึงมีญาติพี่น้องติดตาม มาเป็นจ�านวนมาก ครั้งหลังนี้ พวกเขาได้อัญเชิญ


22

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

‘พระพุทธรูปองค์แสน’ พร้อมกลองศึกหรือ ‘กลองอีลาย’ สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองมาด้วย ส�าหรับพระพุทธรูปองค์แสน หรือที่ชาวต�าบล พิมานเรียกว่า ‘หลวงปูอ่ งค์แสน’ นัน้ ต�านานเล่าว่าสร้าง ตั้งแต่สมัยที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานได้ประมาณ 8 ปี โดยพระยาคุขะ ส่วนกลองอีลายนั้นไม่ปรากฏปีที่ สร้าง แต่ชาวพิมานเชือ่ ว่าเป็นกลองศึกโบราณทีช่ ว่ ยให้ ท�าศึกชนะกลับมาทุกครั้งไป เมื่อตั้งถิ่นฐานที่บ้านพิมานท่าได้สักระยะหนึ่ง ชาวบ้านก็พบกับอุปสรรคในการด�ารงชีพคือ ในปีไหน หากฝนมามาก น�้าจะท่วม จึงได้พากันอพยพขึ้นมาอยู่ บนที่ดอน แต่ขณะที่เดินมาถึงจุดที่เป็นวัดศรีชมชื่นใน ปัจจุบนั ได้เกิดแดดร้อนจัดทัว่ บริเวณทัง้ ๆ ทีต่ รงนัน้ เป็น ป่าดงดิบ ชาวบ้านไม่สามารถเดินต่อไปไหว จึงไปอาศัย หลบร้อนที่ใต้ต้นพิมานซึ่งแผ่กิ่งก้านสาขาให้ร่มเงา ผู ้ น� า ชาวบ้ า นจึ ง ตั้ ง จิ ต อธิ ษ ฐานว่ า ถ้ า หาก พระองค์ แ สนและกลองอี ล ายมี ค วามประสงค์ จ ะ ประดิษฐานอยู่ที่บริเวณนี้ก็ขอให้ลูกหลานได้อาศัย อยู ่ บ ริ เ วณนี้ อ ย่ า งร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข พออธิ ษ ฐานเสร็ จ เหตุการณ์ก็กลับเข้าสู่ภาวะปกติ ชาวบ้านจึงปักหลัก ตั้งถิ่นฐานกันบริเวณนั้น และเรียกชื่อหมู่บ้านว่า ‘บ้าน พิมาน’ ตามชื่อต้นไม้ที่อาศัยหลบแดด และก่อสร้าง


วัดขึ้นเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปองค์แสนและกลอง อีลาย โดยตั้งวัดชื่อว่า ‘วัดศรีชุ่มชื่น’ อันเนื่องมาจาก ความร่มเย็นของพื้นที่ แต่ต่อมาช่างเขียนป้ายชื่อวัด ท�าสระอุตก จึงเรียกเพี้ยนเป็น ‘วัดศรีชมชื่น’ มาจนถึง ปัจจุบัน “แล้วตึกสีขาวทีห่ น้ากุฏหิ ลวงพ่อใช้ท�าอะไรหรือ ครับ?” ผมถามหลัง จากกราบหลวงปู่อ งค์แ สนเสร็จ หลวงพ่อบุญร่วมตอบว่า ตึกสีขาวที่เห็นเรียกว่า ‘กุฏิ ญวน’ สาเหตุที่เรียกเช่นนั้นก็เพราะว่า ในการก่อสร้าง ได้ว่าจ้างชาวเวียดนามมาเป็นผู้ออกแบบและก่อสร้าง วัตถุดิบที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่น อิฐ ก็ขุดเอาดินเหนียว จากที่ดินของวัดมาตาก มาเผา ส่วนปูนก็เผาที่ใกล้ ๆ กัน กุฏิญวนหลังนี้มีภาพจิตรกรรมเรื่องพระเวสสันดร ชาดกด้วย เดิมทีกฏุ นิ ใี้ ช้ในการประกอบศาสนพิธตี า่ ง ๆ แต่


เนื่องจากก่อสร้างมาตั้งแต่ พ.ศ. 2482 หรือราว 74 ปี มาแล้ว ท�าให้สภาพทรุดโทรมลงไปตามกาลเวลา กรม ศิลปากรได้มาขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน และก�าลัง รองบประมาณเพื่อการซ่อมแซมบ�ารุงรักษาต่อไป “ศาลาการเปรียญหลังนั้น กรมศิลปากรก็มา ขึ้นทะเบียนเอาไว้เหมือนกัน” หลวงพ่อบุญร่วมกล่าว พลางชี้มือไปยังศาลาการเปรียญที่อยู่ใกล้ ๆ กัน ผม มองตามมือหลวงพ่อพร้อมกับพินิจพิจารณาลักษณะ ของสถาปัตยกรรม พบว่า นอกจากเรื่องของวัสดุใน การก่อสร้างแล้ว มีหลายจุดที่ศาลาการเปรียญหลังนี้ มีลักษณะแตกต่างไปจากศาลาการเปรียญของภาค กลาง หลวงพ่ อ เดิ น น� า ผมกั บ ปลั ด ธี ร ะพลเข้ า ไป ในศาลาการเปรี ย ญ พร้ อ มกั บ เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า ศาลา การเปรียญหลังนี้อายุประมาณ 56 ปี ความพิเศษของ ศาลาการเปรียญนีม้ ใิ ช่เพียงแค่สถาปัตยกรรมภายนอก


28

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เท่านั้น แต่เกิดจากความร่วมมือของช่างฝีมือบ้าน พิมานและช่างฝีมือจากแขวงค�าม่วน ประเทศลาว ที่ ได้ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา ทุก ๆ ปี ตอนงานบุญออกพรรษาจะมีญาติ พี่ น ้ อ งจากฝั ่ ง ลาวเดิ น ทางมาร่ ว มท� า บุ ญ ที่ วั ด เสมอ วัดศรีชมชื่นจึงมิได้เป็นเพียงศาสนสถานเท่านั้น แต่ ยังด�ารงฐานะเป็นเสมือนอนุสรณ์สถานที่คอยเชื่อม มิตรภาพระหว่างพี่น้องของสองแผ่นดินอีกด้วย ขณะที่ ฟ ัง หลวงพ่อ พู ด อยู ่นั้ น เสี ยงโทรศัพท์ มือถือของปลัดธีระพลก็ดังขึ้น ปลัดยกโทรศัพท์ขึ้นมา ส่งส�าเนียงอีสานอยู่สองสามค�าก็หันหน้ามาทางผม พร้อมกับพยักหน้าเป็นสัญญาณให้เรากราบลาหลวง พ่อ เพราะนายกองค์การบริหารส่วนต�าบลพิมานได้เดิน ทางมาถึงที่ท�างานแล้ว


ธงไชย วงค์อุดดี ¹Ò¡ ͺµ. ¾ÔÁÒ¹ คุณธงไชย วงค์อุดดี นายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลพิมาน เป็นชายวัยกลางคนรูปร่างสันทัด ผิวคล�้า รอยย่นทีห่ น้าผากบ่งบอกว่า ชีวติ ผ่านร้อนผ่านหนาวมา ไม่นอ้ ย เมือ่ พบหน้ากัน เรากล่าวค�าทักทายตามประสา คนแปลกหน้าพอหอมปากหอมคอ เพื่อเป็นการสร้าง ความคุ้นเคย ผมจึงเริ่มด้วยค�าถามทั่วไป “งานยุ่งไหมครับช่วงนี้” “ช่วงนี้ไม่ค่อยยุ่งหรอกครับ แต่ถ้าเป็นช่วงเกี่ยว ข้าวนี่แทบไม่ได้หยุด เพราะต้องช่วยเขาเกี่ยวข้าว” ได้ฟงั ค�าตอบก็รสู้ กึ งงเล็กน้อย “เป็นนายก อบต. ต้องช่วยชาวบ้านเขาเกี่ยวข้าวด้วยรึครับ” นายกฯ ธงไชยยิ้มแล้วตอบว่า “คืออย่างนี้ครับ ที่นี่เรามีการรวมกลุ่มกันลงแขกเกี่ยวข้าว เพือ่ ลดต้นทุนในการท�านา และเป็นการ


36

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน” ผมอดทึ่งในค�าตอบที่ได้ยินไม่ได้ “แล้วท�ามา นานหรือยังครับ” “สัก 3-4 ปีได้แล้วละครับ” นายกฯ ธงไชยตอบ แล้วกล่าวต่อไปว่า ”นอกจากการลงแขกเกี่ยวข้าว ที่นี่ ยังเน้นเรือ่ งการท�าเกษตรอินทรีย์ การใช้ปยุ๋ ชีวภาพด้วย เพราะเรือ่ งสุขภาพเป็นสิง่ ส�าคัญ เกษตรอินทรียจ์ ะช่วย ลดการใช้สารเคมีและยาปราบศัตรูพชื ท�าให้เราไม่ตอ้ ง พบกับมลภาวะพวกนี้ “เงินทองใครก็อยากได้ แต่สุขภาพดีนี่เราอยาก ได้มากกว่า หากเรามีเงินร้อยล้าน แต่สขุ ภาพไม่แข็งแรง เราก็ไม่มีความสุข ดังนั้น ผมจึงเน้นในเรื่องของสุขภาพ ของคนในต�าบลเป็นหลัก เพราะมันจะส่งผลไปถึงการ แก้ปัญหาด้านโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ด้วย” บอกตามตรง ค�าถามเกริ่นเพื่อสร้างความเป็น กันเองในตอนแรกกระตุ้นความสนใจผมจนต้องซักไซ้ ไล่เลียงต่อไป “แล้วนายกฯ คิดยังไงถึงอยากท�าเกษตรอินทรีย์ ครับ” นายกฯ ธงไชยตอบแบบไม่รีรอ “ผมเป็นคนรุน่ เก่า เกิดทันเห็นการท�าเกษตรแบบ โบราณจนถึงเกษตรสมัยใหม่ เห็นข้อดีและข้อเสียของ


38

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สองสิ่งนี้ เพาะปลูกแบบโบราณ ข้าวเราอาจจะไม่อ้วน ท้วนก็จริง แต่สมัยนัน้ เวลาคุณมองลงไปในคูนา�้ ข้างนา คุณจะเห็นปลาว่ายเต็มไปหมด “พอสมัยนี้ ถ้าเรามองไปในคูน�้า สิ่งที่จะเห็นก็ คือน�้าใสแจ๋ว แต่ไม่มปี ลาสักตัว เพราะอะไร ก็เพราะว่า สารเคมีทใี่ ช้ในเกษตรสมัยใหม่มนั ท�าลายห่วงโซ่อาหาร ของสัตว์นอ้ ยใหญ่ในนาหมด ผมไม่ตอ้ งใช้เวลาคิดมาก ก็รู้แล้วว่าอะไรดีหรือไม่ดี ผมจึงตัดสินใจหันกลับมาหา การท�าเกษตรเพื่อการยั่งยืน “คื อ ผมไม่ ไ ด้ ป ฏิ เ สธการพั ฒ นา แต่ ใ นการ พัฒนาจะต้องค่อย ๆ เป็น ค่อย ๆ ไปทีละก้าว ไม่มีใคร ที่เกิดมาแล้วจะวิ่งได้เลย เราต้องหัดตั้งไข่ หัดก้าว หัด เดิน แล้วหัดวิ่ง การออกวิ่งไปโดยที่เรายังทรงตัวไม่ได้ มีแต่จะล้ม และหากวิ่งเร็ว เราก็ยิ่งเจ็บตัว เพราะฉะนั้น ฐานของบ้านพิมานจะต้องแน่น ผู้คนจะต้องมีความรู้ “ผมมามองว่ า คนสมั ย ก่ อ นกั บ คนสมั ย นี้ การเจ็บป่วยด้วยโรคภัยมันไม่เหมือนกัน คนสมัยนี้ เป็นโรคเบาหวาน โรคความดัน โรคมะเร็ง โรคตับ หรือ โรคไต ซึง่ ทัง้ หมดล้วนแล้วแต่เกิดจากการบริโภคทัง้ สิน้ ดังนัน้ ถ้าเราทานดี กินดี เราก็จะปลอดจากโรคภัย ตอน นีเ้ วลาผมท�านา ผมก็จะใช้วธิ ลี งแขกช่วยกัน มันอาจจะ เหนือ่ ย แต่พวกเราก็ได้ออกก�าลังกาย ได้บริหารร่างกาย


ใส่ปยุ๋ ผมก็ใช้ปยุ๋ ชีวภาพ แน่นอนว่า ผลทีไ่ ด้รบั อาจจะไม่ เท่าปุย๋ เคมี แต่ปลอดภัย และในอนาคต ราคาจะดีกว่า” ผมยังไม่ทันจะถาม นายกฯ ธงไชยรีบแจกแจง ความก้าวหน้าของนโยบายนี้ทันที “ปัจจุบนั ทีต่ า� บลพิมานยังมีการใช้ปยุ๋ เคมี แต่ยา ฆ่าหญ้าหรือยาปราบศัตรูพืชไม่มีใครใช้แล้ว เพราะเรา ท�านาปี พวกแมลงศัตรูพชื เลยน้อย ส่วนใหญ่เราจะปลูก ข้าวเหนียวไว้ทาน ชาวบ้านเขาจะรู้ว่า ปีหนึ่งเขาทาน ข้าวเหนียวทัง้ หมดกีถ่ งั เขาก็จะแบ่งโซนเอาไว้ปลูกข้าว เหนียว ที่เหลือจะปลูกข้าวหอมมะลิ 105 เสร็จจากฤดู ท�านาก็จะปลูกพืชใช้นา�้ น้อยแทน ตอนนีม้ พี ชื เศรษฐกิจ ใหม่คือยางพารา ซึ่งก็ไม่ได้ใช้เคมีอะไรมาก “ในอนาคตผมอยากเห็ น ชาวพิ ม านสามารถ


ยืนบนล�าแข้งของตนเองได้ อยากให้ต�าบลพิมานเป็น ศูนย์กลางการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ส�าคัญของ จังหวัดนครพนมและภาคอีสาน” ท่าทีทมี่ งุ่ มัน่ ของนายกฯ ธงไชยท�าให้ผมอดดีใจ แทนพี่น้องชาวต�าบลพิมานและคนไทยอีกหลาย ๆ คน ไม่ได้ เพราะอย่างน้อยที่นี่ก็เริ่มต้นแล้วที่จะสร้างสิ่ง แวดล้อมเพือ่ ความยัง่ ยืนอย่างเป็นรูปธรรม และมีความ มุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�าให้เป็นจริงให้ได้ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ลมปาก หรือการสร้างภาพเหมือนอย่างที่เราเห็นตามโฆษณา ในสื่อต่าง ๆ


ผมเปลี่ยนหัวข้อการสนทนาจากเรื่องเกษตร อิ น ทรี ย ์ ม าถามนายกฯ ธงไชย ถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ ส�าคัญ ๆ ของ อบต.พิมานบ้าง นายกฯ ธงไชยเล่าให้ ฟังว่า ที่พิมานมีแหล่งเรียนรู้ทั้งหมด 7 ระบบ 28 แหล่ง เรียนรู้ แต่ที่ อบต. เป็นผู้รับผิดชอบการบริหารโดยตรง คือ ค่ายลูกเสืออนุสรณ์สถานภูพานน้อย เดิมเป็นที่ตั้ง ของกองพันทหารราบเฉพาะกิจ กรมผสมที่ 23 ซึง่ เข้ามา ปราบปราม ผกค. ในพืน้ ทีเ่ ทือกเขาภูพานตัง้ แต่ปี 2515 หลังความขัดแย้งสงบลงก็ได้มีการถอนทหาร


48

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ออกไป กรมป่ า ไม้ จึ ง เข้ า มาดู แ ลพื้ น ที่ แ ทน ต่ อ มา ทางราชการได้สร้างอนุสรณ์สถานขึ้นทางทิศใต้ของ ฐานแห่งนี้ โดยมอบให้ อบต. พิมาน เป็นผู้ดูแลพื้นที่ ประมาณ 515 ไร่ แต่เนื่องจากอนุสรณ์สถานฯ เป็น แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ผู้ที่จะมาเยือนต้องเป็นคน ที่รักธรรมชาติจริง ๆ ในส่วนของการดูแลนั้น ช่วงแรก ได้รับงบประมาณมาจาก ส.ส. หรือจากทางจังหวัด ผ่านงบฯ ผู้ว่าฯ ซีอีโอ “ผมก็มาคิดว่า จะมารอขอจากที่อื่นอย่างเดียว ไม่ได้ ก็คิดว่า ท�าอย่างไรถึงจะสร้างรายได้ขึ้นมาเพื่อ ใช้ในการดูแลรักษาพื้นที่ และสร้างรายได้ให้กับชุมชน ก็มาตกผลึกตรงทีก่ ารจัดกิจกรรมท่องเทีย่ วชุมชนขึน้ มี การจัดค่ายกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ค่ายเยาวชน ฝึก อปพร. การปลูกป่าชุมชน ท�าแนวกันไฟป่า ฯลฯ “ต่ อ มาเราเห็ น ว่ า จะท� า อย่ า งไรให้ กิ จ กรรม ลักษณะนี้มันมีอย่างต่อเนื่อง ก็เลยคิดว่าน่าจะท�าเป็น ค่ายลูกเสือถาวร ก็เลยส่งบุคลากรของเราไปเข้ารับการ ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และก่อ ตั้งค่ายลูกเสือขึ้นในปี 2551 โดยมีกองร้อย ตชด.235 ธาตุพนม เป็นพี่เลี้ยงในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ” นายกฯ ธงไชยเล่ า ต่ อ ไปว่ า การก่ อ ตั้ ง ค่ า ย ลูกเสือถือเป็นการเดินมาถูกทาง เพราะกิจกรรมนี้ช่วย


50

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สร้างรายได้ให้กับทาง อบต. ผ่านค่าขอใช้สถานที่ ส่วน ชาวบ้านก็มีรายได้จากการท�าอาหารส่งไปบริการชาว ค่ายทัง้ ลูกเสือและเนตรนารี ข้างฝ่ายเยาวชนก็ได้เรียน รู้จักรักและสามัคคีกัน นอกจากนี้ การเข้าค่ายลูกเสือยังช่วยท�าให้เจ้า หน้าที่ของ อบต. มีความสนิทสนมกับเยาวชนทั้งใน และนอกพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปัญหาสังคมและปัญหา ยาเสพติด ฟังดูแล้วอาจมองดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกัน แต่นายกฯ ธงไชยได้ขยายความให้ฟังว่า “เมื่อเด็ก ๆ เขาไว้ใจเรา หากมีอะไรผิดปกติ เด็ก ๆ เขาจะเข้ามาเล่าให้เราทราบ ท�าให้เราสามารถ ป้องปรามปัญหาเหล่านี้ได้ทันท่วงที ถามว่า เด็กใน ต�าบลนี้มีปัญหาเรื่องยาเสพติดไหม ผมก็ยอมรับว่ามี แต่มีน้อยแค่ 2-3 คนเท่านั้น ถามว่า เพราะอะไรถึงมี น้อย ก็เพราะเรามีแนวร่วมที่เป็นเด็กและเยาวชนเยอะ ซึ่งผมถือว่า ความส�าเร็จตรงนี้ส่วนหนึ่งเกิดจากแหล่ง เรียนรู้ค่ายลูกเสืออนุสรณ์สถานภูพานน้อย” ฟังนายกฯ ธงไชยคุยไม่ทนั จบ เสียงเคาะประตูที่ หน้าห้องก็ดงั ขึน้ ปลัดธีระพลชะโงกหน้าเรียกให้ออกไป ทานข้าวกลางวันร่วมกัน เราจึงย้ายออกจากห้องท�างาน ของนายกฯ ไปนัง่ ในโรงซ่อมบ�ารุงของ อปพร. พิมาน ซึง่ ถูกดัดแปลงเป็นโรงอาหารเฉพาะกิจ


54

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

อาหารกลางวันมื้อนี้ประกอบไปด้วยแกงอ่อม ปลา ต�าถั่ว และที่ขาดไม่ได้คือ ส้มต�าปูปลาร้า เมนู บังคับของชาวอีสาน ปลัดธีระพลเป็นห่วงกลัวว่า หนุม่ เมืองกรุงอย่างผมจะทานไม่ได้ เลยเตรียมเจียวไข่ให้ ทานเพิ่ม ผมรีบปฏิเสธไปเพราะคุ้นเคยกับอาหารเหล่า นี้อยู่บ้าง ระหว่างทานอาหารกลางวันไป ผมยังติดใจ เรื่องของป่าภูพานเลยถามนายกฯ ธงไชยต่อ แกยกให้ ปลัดธีระพลเล่าบ้าง เพราะเป็นผู้รับผิดชอบแหล่งเรียน รู้ด้านระบบสิ่งแวดล้อม และยังเป็นวิทยากรประจ�า


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

แหล่งเรียนรู้ป่าชุมชนของต�าบลพิมานซึ่งมีอยู่ 3 แหล่ง ด้วยกัน คือ ป่าภูพานน้อย ป่าความเชือ่ ดอนนายาง และ ป่าชุมชนบ้านปากบัง ปลัดธีระพลย้อนให้ฟังถึงแนวคิดในการก่อตั้ง แหล่งเรียนรู้ป่าชุมชนของ อบต. พิมาน ก่อนการสร้าง อนุสรณ์สถานแห่งความสงบขึ้นนั้น ชาวบ้านได้เข้าไป บุกรุกแผ้วถางจับจองที่ดินเพื่อท�าการเกษตรริมเชิงเขา ภูพานน้อยเป็นจ�านวนมาก เมื่อ อบต. พิมาน ได้รับ มอบให้ดแู ลพืน้ ทีจ่ ากกรมป่าไม้ จึงต้องหาทางออก โดย อนุญาตให้ผทู้ บี่ กุ รุกสามารถท�ากินได้ แต่หา้ มบุกรุกเพิม่

55


56

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เติม และไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของ พร้อมกันนี้ อบต. ได้จัด เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแลรักษาป่าตลอดเวลาเพื่อ ป้องกันการบุกรุกเพิ่มเติม “ทีนี้พอเราได้พื้นที่ตรงนี้มาแล้ว เราก็ต้องใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด ขณะเดียวกันเราก็ต้องฟืนฟูพื้นที่ ที่เสื่อมโทรมจากการบุกรุกด้วยการสร้างกิจกรรมและ ท�าการดูแลรักษา โดยให้ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษานี้ พวกเขาจะได้รู้สึกหวงแหน” ปลัด ธีระพลกล่าว เริ่ ม แรก อบต. ได้ ท� า เส้ น ทางเดิ น ป่ า ศึ ก ษา ธรรมชาติ เ พื่ อ ให้เยาวชนและนักเรียนเข้าไปเรียนรู้ สืบค้นสมุนไพรในพืน้ ที่ จากนัน้ จึงได้รบั ความช่วยเหลือ จากหน่วยงานภายนอก ทัง้ กรมป่าไม้ ปตท. ธ.ก.ส. ฯลฯ ท�าโครงการอนุรักษ์ป่าต้นน�้า ท�าฝายชะลอน�้า ท�าแนว กันไฟ และปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว อย่างไรก็ตาม แม้วา่ จะมีเจตนาดี แต่การท�างาน ของปลัดธีระพลก็ไม่ได้ราบรื่นเสมอไป เพราะในระยะ แรกโครงการไม่ได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านเท่าไร นัก ปลัดธีระพลเล่าว่า “อุปสรรคในตอนแรกที่เราเจอก็คือ ชาวบ้าน ยั ง ไม่ มี ค วามเข้ า ใจถึ ง ความจ� า เป็ น ในการ อนุรักษ์ป่าไม้ บางส่วนยังมีความเชื่อว่า หาก


เผาป่ า แล้ ว จะท� า ให้ เ กิ ด เห็ ด เร็ ว ขึ้ น เราก็ ต ้ อ งรณรงค์อ อกให้ค วามรู้แ ก่ พี่น้องประชาชน ต้องออกกระจาย เสียงตามหอกระจายข่าวให้เขาเข้าใจ และตระหนักถึงความจ�าเป็นในการ อนุรักษ์ป่าไม้ในพื้นที่” เมือ่ ให้ความรูป้ ระชาชนอย่างต่อ เนื่อง ท�าให้ประชาชนในพื้นที่เริ่มเข้าใจ และให้ความร่วมมือ “หากจะถามว่า เราเอาอะไรมาเป็น ตัวชีว้ ดั ผลส�าเร็จ สิง่ ทีพ่ อจะเห็นเป็นรูปธรรม ก็คือ ตั้งแต่เราไปท�าโครงการเหล่านี้ ไฟป่าที่ เกิดเองตามธรรมชาติและน�้ามือมนุษย์ก็หมด ไปจากพื้นที่ นอกจากนี้เรายังมีกลุ่มกิจกรรม ต่าง ๆ จากมหาวิทยาลัยในภาคอีสานเข้ามา ท�ากิจกรรมอนุรักษ์น�้า อนุรักษ์ป่า ทุกปีในช่วงปิด เทอม เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างต่อเนื่อง” ปลั ด ธี ร ะพลยั ง พู ด ถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ ป ่ า ดอน นายางซึ่ ง เป็ น ต้ น แบบในการจั ด การป่ า ชุ ม ชนที่ ประชาชนมีส่วนร่วมของต�าบลพิมานอีกแห่งหนึ่ง ป่า ผืนนี้มีเนื้อที่ 36 ไร่ มีแหล่งน�้าและต้นไม้ใหญ่หลาย ชนิด ท�าหน้าที่เป็นแหล่งอาหารของชุมชนมาตั้งแต่


58

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

สมัยบรรพบุรุษ ชาวบ้านได้ช่วยกันดูแลป่าสืบทอดกันเรื่อยมา โดยร่วมกันสร้างศาลปู่ตา พร้อมกับจัดพิธีเซ่นไหว้ใน วันขึ้นสามค�่าเดือนสามของทุกปี มีการท�าประชาคม ประจ�าหมู่บ้านเพื่อออกมาตรการทางสังคม การบังคับ ใช้กฎหมายเพื่อรักษาและอนุรักษ์ป่าไว้ ขณะเดียวกันยังได้รบั ความช่วยเหลือจากหน่วย งานภายนอกในการขยายพันธุ์ไม้ ปลูกหญ้าแฝก และ การปล่อยพันธุ์ปลาเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ ท�าให้ ในชุมชนมีพนั ธุไ์ ม้เพิม่ ขึน้ หลายชนิด และป่าก็ได้รบั การ ดูแล ปัจจัยเงือ่ นไขของความส�าเร็จนีค้ อื แกนน�าหมูบ่ า้ น ที่มีความสามัคคีเข้มแข็ง ความเชื่อในภูมิปัญญาท้อง ถิ่นของชาวบ้าน และความร่วมมือของชุมชน ปลัดธีระพลเล่าต่อไปว่า ความส�าเร็จในการ จัดการปัญหาทีป่ า่ ภูพานน้อยและป่าดอนนายางได้นา� ไปสูก่ ารแก้ไขปัญหาป่าชุมชนบ้านปากบัง เนือ้ ที่ 188 ไร่ ซึ่งเดิมทีถูกบุกรุกและลักลอบเข้ามาตัดไม้เป็นจ�านวน มาก ทาง อบต. พิมาน และชาวบ้าน จึงได้ทา� ประชาคม เพือ่ ระดมความคิดในการแก้ปญ ั หาจนน�าไปสูก่ ารจัดตัง้


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

คณะกรรมการเพือ่ บริหารจัดการป่า ซึง่ ต่อมาได้ออกกฎ กติกาในการใช้ป่าที่ชัดเจน โดยได้ขอสนับสนุนเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกพื้นที่เข้ามาให้ความรู้ และพัฒนา ศักยภาพคณะกรรมการและประชาชนในการอนุรักษ์ ป่า ท�าให้เกิดการปลูกป่าทดแทน ปลัดธีระพลกล่าวว่า หากจะพูดถึงผลส�าเร็จที่จับต้องได้ในโครงการนี้ก็คือ จ�านวนไม้ยืนต้น เช่น ไม้ประดู่ ไม้แสนเกล็ด ไม้พะยูง กระถินเทพา ฯลฯ ที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ โครงการป่า ชุมชนบ้านปากบังยังได้รับรางวัลชนะเลิศจากการเข้า

59


60

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ประกวดโครงการ ‘กล้ายิ้ม คนรักป่า ป่ารักชุมชน’ ในปี พ.ศ. 2554 อีกด้วย หลังจากทานข้าวเสร็จ ผมยังคงนั่งคุยกับนา ยกฯ ธงไชยต่อ เพราะยังไม่ได้ถามอีกหลายเรือ่ งทีอ่ ยาก รู้ เป็นต้นว่า ปัญหาในพื้นที่ เมื่อได้ยินค�าถามของผม นายกฯ ธงไชยรีบตอบโดยไม่ต้องคิด “มันก็มีทุกที่ละครับ จะมากบ้างน้อยบ้างแตก ต่างกันไป ปัญหาใหญ่ ๆ ของที่นี่ไม่ค่อยมี เรื่องยาเสพ ติดนีไ่ ม่มรี ะดับผูข้ าย จะมีกแ็ ค่ผเู้ สพไม่กคี่ น ทีค่ ดิ ว่าเป็น ปัญหาก็คือ เรื่องของการขาดแคลนแรงงาน เนื่องจาก หนุม่ สาวไปเรียนหนังสือทีอ่ นื่ กัน พอเรียนจบแล้วได้งาน ที่อื่นก็เลยไม่กลับมาอยู่บ้าน” แม้จะได้ฟังค�าตอบของนายกฯ ธงไชยแล้ว แต่ ผมก็ยังรู้สึกไม่ค่อยพอใจ เพราะดูเหมือนว่าอะไรที่นี่ มันราบเรียบไปหมด นายกฯ เหมือนจะเดาออกว่าผม คิดอะไรจึงกล่าวต่อไปว่า “คืออย่างนี้ครับ สาเหตุที่ต�าบลพิมานไม่ค่อย จะมีปัญหาใหญ่ ๆ ก็เพราะเรามุ่งไปที่หัวใจของปัญหา นั้นก็คือ คน ก่อนที่ผมเข้ามารับต�าแหน่งนายก อบต. ผมเคยเป็นทั้งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้ใหญ่บ้าน และก�านัน มาก่อน ประสบการณ์พวกนี้สอนผมว่า การท�างานนั้น มันจะต้องสร้างแรงจูงใจให้คนมีความพยายามท�างาน


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

ให้ประสบความส�าเร็จ “ดังนัน้ การทีจ่ ะกระตุน้ ให้คนมีแรงจูงใจก็คอื จะ ต้องมีการแข่งขัน เพราะหากไม่มีการกระตุ้น บางทีคน เราก็จะท�างานกันแบบไปคนละทิศทาง การแข่งขันจะ ก่อให้เกิดความสามัคคีขึ้น ผู้คนในชุมชนจะเดินไปใน เป้าหมายทิศทางเดียวกัน ผมจึงใช้การประกวดหมูบ่ า้ น ขึน้ มาเพือ่ ให้บา้ นทุกหลังสะอาดสะอ้าน หน้าบ้าน หลัง บ้านสวย และเพื่อให้การแข่งขันเป็นไปอย่างยุติธรรม ผมจึงขอความอนุเคราะห์จากทางอ�าเภอให้ส่งคณะ กรรมการมาเป็นผู้ตัดสิน” กุศโลบายของนายกฯ ธงไชยสัมฤทธิผล เพราะ ทัง้ ต�าบลเปลีย่ นแปลงผิดหูผดิ ตา เป็นระเบียบเรียบร้อย และสะอาดขึ้ น จนคณะกรรมการออกปากชมทุ ก หมู่บ้าน ขณะที่บ้านพิมานหมู่ที่ 1 ซึ่งเป็นผู้ชนะเลิศก็ สร้างชื่อเสียงให้กับต�าบลพิมาน เพราะได้เป็นตัวแทน เข้ า ประกวดชุ ม ชนสุ ข ภาพดี ซึ่ ง จั ด ขึ้ น โดยกระทรวง สาธารณสุข โดยได้รบั รางวัลในระดับจังหวัดและระดับ เขต นอกจากนี้ กรมการพัฒนาชุมชนยังส่งเข้าร่วม ประกวดหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง และได้รบั รางวัลใน ระดับเขตมาเช่นกัน “การพัฒนานั้น สิ่งส�าคัญคือ เราต้องใช้ปัญญา ในการขับเคลือ่ นจึงจะได้รบั ความร่วมมือจากประชาชน

61


62

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ในพืน้ ที่ เราต้องท�าให้เขารูส้ กึ ถึงความเป็นส่วนร่วม เรา จะใช้เงินเป็นตัวตัง้ อย่างเดียวไม่ได้ เพราะหากเราใช้เงิน เป็นเครือ่ งก�าหนด พอเงินหมด ทุกคนก็เดินไปคนละทิศ ละทาง” นายกฯ ธงไชยกล่าว ฟังนายกฯ ธงไชยคุยเพลิน ๆ สักพักก็มชี ายหนุม่ เดินเข้ามาที่แคร่ไม้ที่เรานั่งกันอยู่ ท่านนายกฯกล่าว ทักทายเป็นภาษาอีสาน ก่อนจะหันมาบอกกับผมว่า “ถามคนนี้บ้างดีกว่า เพราะเขาเป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 1 หมู่บ้านที่ได้รางวัล และเป็นฐานเรียนรู้เรื่องการ จัดการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงด้วย” “จะถามเรื่องอะไรล่ะ” ผู้ใหญ่ดาวเรือง ออดไธสง หนุ่มใหญ่ผู้มุ่งมั่น ดวงตาฉายแววเด็ดเดี่ยว ยิ้มเล็กน้อย พร้อมกับถาม กลับหลังจากรู้ว่าผมจะขอสัมภาษณ์ “ก็เคล็ดลับเบือ้ งหลังความส�าเร็จของบ้าน พิมานหมู่ 1 ไงครับผู้ใหญ่” “ถามง่าย แต่ตอบยากเหมือนกัน เนาะ” ผู ้ ใ หญ่ ด าวเรื อ งยิ้ ม แบบ เขินน้อย ๆ พร้อมกับออกตัวว่า อาจจะตอบไม่ได้ดีนัก เพราะพูด ไม่ค่อยเก่ง ¼ÙŒ ãËÞ‹´ÒÇàÃ×ͧ ÍÍ´ä¸Ê§


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

“คือ ตอนแรกที่ยังไม่มีการประกวดหมู่บ้านนั้น ทาง ธ.ก.ส. เขาเข้ามาช่วยเหลือพวกเราเรื่องหนี้สิน ต่าง ๆ และจัดคนไปอบรมเรียนรู้ที่ศูนย์ตุ้มโฮมที่ตัว จังหวัดนครพนม จากนั้นก็มีโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต�าบล วิถีพอเพียง ของ ปตท. ตามเข้ามาในต�าบล ของเรา” ผู ้ ใ หญ่ ด าวเรื อ งเล่ า ต่ อ ไปว่ า อบต. ได้ ท� า ประชาคมถามความเห็นว่า ทุกหมู่บ้านพร้อมที่จะรับ โครงการเพื่อขับเคลื่อนในต�าบลหรือไม่ เพราะเห็นว่า โครงการนี้ดี คงจะท�าให้พี่น้องประชาชนมีความสุขได้ และเมื่อมีมติรับรอง แต่ละหมู่บ้านจึงส่งตัวแทนออก ไปศึกษาดูงานตามเครือข่ายชุมชนและแหล่งเรียนรูอ้ นื่ ๆ ที่โครงการจัดให้ เมือ่ กลับมา ตัวแทนเหล่านัน้ ก็มาจัดตัง้ โครงการ คนต้นแบบ พร้อมกับให้คนทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถใน ด้านต่าง ๆ ของชุมชนสร้างแหล่งเรียนรูต้ ามภูมปิ ญ ั ญา ที่เขาเหล่านั้นมีในแต่ละหมู่บ้าน ขณะเดียวกัน ธ.ก.ส. และ ปตท. ก็ส่งเจ้าหน้าที่มาช่วยอบรมวิทยากรเหล่า นั้นเพิ่มเติม “ผมก็ถอื ว่าเป็นการพัฒนาหมูบ่ า้ นไปในตัว แล้ว ก็จะมีชั่วโมงหนึ่งเป็นชั่วโมงจิตอาสา ผมจะพาผู้เข้า อบรมไปพัฒนาหมู่บ้าน ทีนี้มันก็เลยสร้างแรงกระตุ้น

63


64

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ให้กับคนในชุมชนว่าน่าจะมีการเปลี่ยนแปลง เพราะมี คนมาดูงานตลอด “มันก็เกิดค�าถามว่า เราจะต้องท�าอย่างไรเพื่อ สร้างความประทับใจให้คนที่เขามาดูงานที่นี่ พวกเราก็ มีการท�าประชาคมกัน มาระดมปัญญากัน แล้วพัฒนา ชุมชน อ�าเภอนาแกก็เข้ามาช่วยดูตรงจุดนี้ มาช่วย ต่อยอดเรื่องหมู่บ้านต้นแบบ “ผมก็บอกลูกบ้านไปว่า ไม่จา� เป็นต้องสร้างอะไร ขึ้นมาใหม่ แต่ท�าของที่มีอยู่เดิมให้มันดีกว่าเก่า ให้ดู สะอาดสะอ้านเป็นระเบียบ และท�าให้มันเหมือนเป็น กิจวัตรประจ�าวันไป เพราะสิ่งที่ท�าอยู่นี้มันดีกับชีวิต พวกเขา ลองให้พวกเขาเปรียบเทียบสภาพของบ้าน ตัวเองในอดีตกับปัจจุบันว่าอย่างไหนดีกว่ากัน ย�้ากับ พวกเขาว่า ไม่ต้องเสียเงินเพิ่มสักบาทก็สามารถสร้าง คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ ถ้าเรารู้จักคิด รู้จักใช้ปัญญา” ผู้ใหญ่ดาวเรืองพูดจบก็ขอตัวไปท�าธุระส�าคัญ พร้อมนายกฯ ธงไชย ผมกับปลัดธีระพลจึงเดินขึ้นไป ยังห้องท�างานของปลัดเพือ่ เตรียมวางแผนการเดินทาง ไปเยือนแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แต่เมื่อขึ้นไปก็พบกับหญิง วัยกลางคนรูปร่างท้วม ผมสีดอกเลา นั่งรออยู่ที่หน้า ห้องของปลัด


70

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หลังจากทักทายกันแล้ว ปลัดธีระพลแนะน�าว่า ป้าประยูร พลอยประสงค์ เป็นวิทยากรประจ�าแหล่ง เรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง พอดีมาท�าธุระที่ อบต. ผมสนใจจะสัมภาษณ์ป้าไหม แกว่างอยู่พอดี ผมตอบ รับแบบไม่ตอ้ งคิด เพราะอยากรูว้ า่ ทีพ่ มิ านสามารถน�า เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ได้มากน้อยแค่ไหน “ไปไงมาไง ป้าถึงมาเป็นวิทยากรเศรษฐกิจพอ เพียงได้ละครับ” ผมเริ่มค�าถามธรรมดา ๆ เพื่อไม่ให้แกประหม่า ขณะป้ า ประยูร ออกตัวว่า อาจจะพูด ได้ไม่ดีนักนะ เพราะไม่ได้เตรียมตัวมา ป้าแกเล่าว่า เมื่อก่อนรับจ้าง เย็บผ้าโหลหาเงินส่งลูกเรียน แต่กว่าลูกจะเรียนจบก็ ต้องเป็นหนี้ท่วมตัวเพราะเงินที่หาได้ไม่พอจ่าย พอปี 2545 ธ.ก.ส. มีโครงการเพื่อนช่วยเพื่อน ป้าประยูรก็ ลองไปอบรม ถึงได้เรียนรู้วิธีคิดเรื่องการลดค่าใช้ จ่ายในครัวเรือนและการท�าเกษตร ความ รู้เบื้องต้นที่ได้รับคือ การท�าของใช้ใน ครัวเรือน เช่น ท�าน�า้ ยาซักผ้า น�า้ ยาล้าง จาน สบู่ ยาหม่อง เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ย ในครอบครัว เมื่อน�ามาท�า แล้วก็ได้ผลเป็นอย่างมาก ประยูร พลอยประสงค์ วิทยากรเศรษฐกิจพอเพียง


จากนั้นป้าประยูร ได้เข้าร่วมอบรมใน โรงเรียนชาวนา ไปเรียน รู้วิธีการท�าเห็ดฟาง การ ท� า ปุ ๋ ย หมั ก และน�้ า หมั ก ชี ว ภาพ เมื่ อ กลั บ มาก็ ลงมือท�าเป็นตัวอย่างให้ เพื่อนบ้านดู โดยปลูกพืช ผักสวนครัว ผักสมุนไพร เลี้ยงหมูหลุม และปรับพื้นที่ให้เหมาะสมกับการท�า เกษตรผสมผสาน พอปี 2549 ป้าประยูรก็เดินทางไปอบรมเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของ ธ.ก.ส. ประจ�าจังหวัดนครพนม หรือศูนย์ตุ้มโฮม จาก นั้นก็น�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้อย่างจริงจัง โดยตัดสินใจย้ายออกไปอยู่ยังที่นาของตนเอง “คื อ เมื่ อ ก่ อ นก็ ท� า อยู่แล้ว แต่มันเป็นเพียงแค่ แปลงสาธิต มันท�าได้ไม่เต็ม ที่ เราก็มาท�าของเราเองเลย 4 ไร่ ท�าไปคิด ไป ทีนี้มันก็ เกิ ด สติ เกิ ด ความพอเพี ย ง


เกิดความสุข” ป้าประยูรกล่าวด้วยรอยยิ้มภาคภูมิใจ ต่อมาทางศูนย์ตุ้มโฮมได้เชิญป้าประยูรไปเป็น ผู้ช่วยวิทยากร รวมทั้งอบรมเพิ่มเติม เมื่อ ธ.ก.ส. ขยาย ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงไปตามอ�าเภอ สู่ต�าบล และหมู่บ้าน ป้าประยูรจึงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งแหล่งเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงที่หมู่ 1 ต�าบลพิมาน “ตอนแรกคนในหมู่บ้านเขาก็ดูเฉย ๆ จะมีที่ สนใจก็เพือ่ น ๆ เรา พวกเราก็ตงั้ กลุม่ โรงเรียนชาวนาขึน้ เพื่อช่วยเหลือกันท�านา เพราะมันต้องใช้แรงงานเยอะ ต่อมาคนอื่นเขาก็เห็นว่า เราท�ากันยังไง ประสบความ ส�าเร็จยังไง ก็เลยมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ตอนนี้กลุ่มเรา


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

มีสมาชิก 22 คนแล้ว “ส่วนเรือ่ งการจดบัญชีครัวเรือน ทีแรกก็มเี ราท�า อยูค่ นเดียว เราจดทุกอย่าง รายรับ รายจ่าย เราเลีย้ งหมู เลีย้ งไก่ ปลูกผัก เราลดอะไรได้บา้ ง ก็เลยเอาไปให้เขาดู เขาก็เห็นว่ามันเป็นผล เขาก็เลยท�าตาม ทีนตี้ อ่ มาใครจะ เข้ามาเป็นสมาชิกกลุม่ ก็จะต้องจดบัญชีครัวเรือนด้วย” แม้จะเป็นวิทยากรระดับมืออาชีพ ไม่ต้องใช้ สคริปต์ในการบรรยายแล้ว แต่ป้าประยูรก็ถ่อมตัวว่า ยังมีความรู้ไม่พอ ต้องหาอะไรมาเติมเสริม

73


74

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

“คือเราอยากช่วยตัวเองด้วย และอยากช่วยคน อื่นที่เขาประสบปัญหาเหมือนเราให้สามารถลืมตาอ้า ปากได้ เราก็เลยต้องเป็นตัวหลักในการออกไปหาความ รู้จากนอกชุมชนเพื่อน�ามาเผยแพร่และประยุกต์ใช้ใน ชุมชน” ป้าประยูรท�างานนีม้ าเกือบ 10 ปี แน่นอนว่า ทุก คนย่อมอยากรู้ว่าเศรษฐกิจพอเพียงช่วยให้หายจนได้ จริงหรือไม่ เมื่อได้ฟังค�าถาม ป้าประยูรนิ่งนิดหนึ่งก่อน จะตอบด้วยเสียงราบเรียบว่า “ถามว่ามันหายจนไหม มันก็ขึ้นอยู่กับว่า เรา นิยามค�าว่า ‘รวย’ กับ ‘จน’ ว่าหมายถึงอะไรก่อน “ถ้าหมายถึงว่า ต้องมีบา้ นหลังโต ๆ ทีน่ าเยอะ ๆ มีรถกระบะขับ แต่คุณเป็นหนี้เขาท่วมหัว อันนี้รวยหรือ จน แต่ถ้าเราสามารถอยู่ได้โดยที่ไม่ต้องเป็นหนี้เป็นสิน แม้จะมีที่นาเพียง 4 ไร่ มีแต่จักรยานขี่ แต่เราไม่ได้ไปกู้ หนี้ยืมสินใคร เราท�าของเรากินเอง ปลูกของเราเอง ไม่ ต้องไปซื้อเขากิน มีเงินเก็บออมแม้จะไม่เยอะ อันนี้มัน ใช่ค�าว่าจนหรือเปล่า” ป้าประยูรทิง้ ท้ายให้ผมคิด ก่อนจะเดินตามปลัด ธีระพลเข้าไปในห้องท�างาน


78

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ผมนั่งรอปลัดธีระพล สักครู่ปลัดก็ออกมาจาก ห้องพร้อมกับชวนไปดูกิจการของสหกรณ์ยางพารา ต�าบลพิมาน 1 ใน 4 ของระบบเกษตรชุมชนต�าบล พิมาน ปลัดบอกว่า ถึงแม้ดเู หมือนว่าสหกรณ์ยางพารา จะไม่ค่อยมีอะไร แต่จริง ๆ แล้ว การก่อตั้งสหกรณ์ขึ้น มานัน้ เป็นภาพทีส่ ะท้อนให้เห็นเป็นอย่างดีวา่ เกษตรกร พยายามแก้ปัญหาการถูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้า คนกลางอย่างไร เมื่อเราขับรถไปถึงที่ท�าการสหกรณ์ ขณะนั้นมี สมาชิกเอายางมาขายบ้างแล้ว ส่วนกรรมการสหกรณ์ มีเพียงพี่ศักดา ปัญญาพ่อ เหรัญญิก ก�าลังง่วนอยู่กับ การซื้อขาย เมื่อเห็นหน้าปลัด พี่ศักดาร้องทัก ขณะที่ ปลัดแนะน�าผมให้พี่ศักดารู้จัก “แหม ประธานก็ไม่อยูซ่ ะด้วยสิ แล้ว จะให้คุยกับใครละเนี่ย” พี่ ศั ก ดาบอกหลั ง จากทราบ วัตถุประสงค์ในการมาเยือนของผม “คุ ย กั บ เหรั ญ ญิ ก ก็ ไ ด้ เพราะเป็นคนร่วมก่อตัง้ มาตัง้ แต่ แรกไม่ใช่รึ” ปลัดธีระพลพูดแทรกขึน้ เมือ่ ได้ยนิ ดังนัน้ พีศ่ กั ดาจึงพยัก ÈÑ¡´Ò »˜ÞÞÒ¾‹Í เหรัÞÞิกสหกรณ์ยางพารา


หน้า และเดินน�าผมกับปลัดเข้าไปพักในเพิงที่ท�าการ ของสหกรณ์ ก่อนจะเริ่มเล่าเรื่องของตนเองก่อนว่า เดิมทีพี่ศักดาไม่ใช่คนพิมาน แต่อยู่ที่ต�าบลพุ่มแก ไม่ ห่างจากต�าบลพิมานเท่าไรนัก ปู่กับพ่อเคยเป็นชาวนา มาก่อน แต่หันมาปลูกยางตามโครงการอีสานเขียวที่ กองทัพบกเคยส่งเสริม “เพื่อนผมก็ไปรับจ้างกรีดยางอยู่ที่ระยอง พอ ปิดเทอมผมก็ไปเที่ยวหาเขาตลอด เราก็รู้ว่าท� าสวน ยางนี่เงินดีนะ พอต่อมาผมแต่งงานก็เลยมาหาซื้อที่ ปลูกยางที่บ้านภรรยา 45 ไร่ ระหว่างที่รอให้ยางกรีด ได้กไ็ ปท�างานทีน่ คิ มอุตสาหกรรมนวนครอยู่ 6 ปี ก็กลับ


มากรีดยางเอง” ขณะที่พี่ศักดาเริ่มท�าสวนยาง เกษตรกรต�าบล พิ ม านก็ เ ริ่ ม หั น มาปลู ก ยางในช่ ว งไล่ เ ลี่ ย กั น จาก นโยบายขยายพื้นที่ปลูกยาง 1 ล้านไร่ของรัฐ แต่หลัง จากทีเ่ ริม่ เปิดหน้ายางได้แล้ว ชาวสวนยางต�าบลพิมาน ก็ประสบชะตากรรมไม่ตา่ งจากชาวสวนยางทีอ่ นื่ ๆ คือ มักจะถูกกดราคารับซื้อยางจากพ่อค้าคนกลาง “ตอนแรกพวกเราก็ไปขอค�าแนะน�าจาก ธ.ก.ส. เพื่อขอรับทุนในการจัดตั้งตลาดยาง เขาก็เลยบอกให้ รวมกลุม่ กันซะ แล้วจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชน เริม่ แรกเรามีสมาชิก 90 คน ใช้เงินทุน 150,000 บาท ท�า หน้าที่เป็นตลาดกลางยางพาราของกลุ่ม แล้วประสาน ผู้รับซื้อเข้ามาตกลงราคา แต่ยังไม่สามารถจัดการ ตลาดได้มาก เพราะยังขาดเงินทุนหมุนเวียนในการ


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

รับซื้อยางจากสมาชิก ต่อมา เมื่อรัฐบาลมีโครงการ รักษาเสถียรภาพราคายาง ได้มีข้อก�าหนดว่า ต้องเป็น สหกรณ์เท่านัน้ ถึงจะเข้าร่วมโครงการได้ เราก็เลยไปจด ทะเบียนจัดตั้งเป็นสหกรณ์” หลังจัดตั้งเป็นสหกรณ์ท�าให้เงินทุนหมุนเวียน เริ่มมีมากขึ้น ส่งผลให้มีอ�านาจในการต่อรองราคา ยางกั บ พ่ อ ค้ า คนกลางเพิ่ ม มากกว่ า เดิ ม อี ก ด้ า น

83


84

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หนึ่ ง ชาวสวนยางต� า บลพิ ม านก็ มั่ น ใจในศั ก ยภาพ ของสหกรณ์มากขึ้นจึงพากันสมัครเข้ามาเป็นสมาชิก ปัจจุบนั สหกรณ์ยางพาราต�าบลพิมานมีสมาชิกทัง้ หมด 103 คน นอกจากดูแลด้านการตลาดให้กับสมาชิกแล้ว สหกรณ์ฯ ยังช่วยเหลือสมาชิกในเรือ่ งการปลูกยางพารา การให้ปุ๋ย การกรีดยาง รวมไปถึงการแนะน�า ให้ค�า ปรึกษาเกี่ยวกับโรคระบาด การก�าจัดวัชพืช และอื่น ๆ “ถามว่าตอนนี้อุปสรรคเราคืออะไร หลัก ๆ ก็ ยังคงเป็นเรื่องเงินทุนที่จะน�ามารับซื้อยาง เพราะยิ่ง สมาชิกมากขึ้นก็ต้องใช้เงินมากขึ้น แล้วต่อไปพอสวน ของสมาชิกกรีดยางได้หมด เราคงจะต้องใช้เงินเพิ่ม อีกเยอะ อีกเรื่องก็ บางทีเราพยายามจะเอาไปขายที่ โรงงานเอง ที่โรงงานเขาก็ไม่ให้ราคาเราเท่ากับพ่อค้า คนกลาง เราก็พยายามคุยกันอยู่ว่าจะท�าอย่างไรต่อ ไปดี” พี่ศักดาพูดแล้วถอนหายใจ พร้อมกับขอตัวไป ดูแลสมาชิกที่ทยอยเดินทางเข้ามามากขึ้น


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

คุยกับพี่ศักดาจบ ปลัดธีระพลเดินเข้ามาถาม ว่า จะเข้าที่พักเลยไหม ผมเห็นว่ายังมีเวลาเหลือเฟือ เลยขอให้ปลัดพาไปแหล่งเรียนรู้ต่อไป ปลัดนิ่งคิดอยู่ ครูห่ นึง่ จากนัน้ อีกไม่ถงึ 5 นาที ผมก็มายืนอยูห่ น้าบ้าน พี่ลินดา ไชยต้นเทือก วิทยากรประจ�าแหล่งเรียนรู้เรื่อง เกษตรอินทรีย์ผสมผสาน ก่อนที่จะมาถึงจุดนี้ พี่ลินดาก็มีวิถีชีวิตไม่ต่าง จากแม่บ้านชนบทอื่น ๆ คือ สามีไปท�างานที่กรุงเทพ ส่วนตนเองเลี้ยงลูกอยู่ที่บ้าน รอรับเงินจากสามีอย่าง เดียว “ตอนนัน้ มันยังเด็กอยูเ่ นาะ ก็ไม่ได้คดิ อะไร แล้ว พ่อพี่ก็มีที่นาอยู่ 30 ไร่ ก็เลยไม่ได้เดือดร้อนเท่าไร แต่ พอพ่อเสีย ทีนเี้ ราก็มดื แปดด้านเลย ไม่รจู้ ะท�ายังไงต่อ” พีล่ นิ ดาย้อนชีวติ ช่วงแรกให้ฟงั หลังจากนัน้ สามี ได้ชวนไปท�างานทีก่ รุงเทพ แต่พลี่ นิ ดาก็ไม่ได้ไป เพราะ เป็นห่วงแม่และน้องสาว ขณะเดียวกัน ลูกอีก 2 คน ก็ยังเล็กอยู่ จึงเริ่มรับจ้างเย็บผ้าเพื่อหารายได้จุนเจือ ครอบครัว แต่ก็ไม่ค่อยมีงาน ภาระหนักจึงตกอยู่ที่สามี ชีวิตของพี่ลินดามาถึงจุดผกผันครั้งใหญ่เมื่อ สามีถูกเลิกจ้าง เพราะพิษเศรษฐกิจท�าให้โรงงานปิด ตัวลง สามีพี่ลินดาจึงต้องกลับมาอยู่ที่บ้าน ขณะที่หนี้ สินเดิมก็พอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ พี่ลินดาจึงปรึกษากับสามี

89


92

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ว่า อยากจะมาท�าเกษตรผสมผสานอย่างเต็มตัว แต่ เนือ่ งจากไม่มใี ครคอยแนะน�าจึงยังใช้ปยุ๋ เคมีไปด้วย ซึง่ แม้ว่าจะได้ผลผลิตดี แต่ก็ยังไม่สามารถปลดหนี้เก่าได้ ขณะที่หนี้ใหม่จากค่าปุ๋ยค่ายาก็เพิ่มขึ้นมาอีก “พอดีได้ไปเห็นเพื่อนบ้านเขาท�าเกษตรอินทรีย์ ใส่ปุ๋ยชีวภาพอย่างเดียว ข้าวเขาก็งามไม่แพ้ปุ๋ยเคมี เหมื อ นกั น แถมปุ ๋ ย ยั ง ราคาถู ก กว่ า ไม่ มี ห นี้ ค ่ า ปุ ๋ ย เหมือนเรา ก็เลยไปถามเขา เขาก็ชวนไปศูนย์ตุ้มโฮม มันก็คล้ายกับว่า เราได้ไปพลิกใจ ไปอบรมท�าเกษตร อินทรีย์ชีวภาพ “พอกลับมาก็ฝังอยู่ในใจว่า คนอื่นเขาท�าได้ ท�าไมเราจะท�าบ้างไม่ได้ ต่อมาเราได้ฟังวิทยุ เขาก็ พูดถึงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เรื่ อ งการท� า แบบพออยู ่ พ อกิ น ท� า หลาย ๆ อย่าง พร้อม ๆ กัน ต่อมาก็ได้ไปอบรมเรื่อง พลังงานชีวภาพ เรื่องเกษตรพอเพียงเพิ่มอีก” เมื่อติดปัญญา เติมความรู้จนเต็มสมองแล้ว พี่ ลินดาก็ลงมือท�าเกษตรอินทรีย์ผสมผสานอย่างจริงจัง โดยแบ่งเป็นการท�านา 10 ไร่ ที่เหลือปลูกผักสวนครัว ส�าหรับกิน และไม้ผล เช่น มะม่วงกับกล้วย ไว้กินและ ขาย รวมถึงเลี้ยงสัตว์ เช่น หมู เป็ด ไก่ และปลานิล ท� า ไปท� า มาจน ธ.ก.ส. เข้ า มาดู ง าน ก็ เ ห็ น


94

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ว่ า หน่ ว ยก้ า นใช้ ไ ด้ และมี ค วามก้ า วหน้ า ต่ อ เนื่ อ ง พี่ ลิ น ดาจึ ง ได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น วิ ท ยากรบรรยายเรื่ อ ง เกษตรอินทรีย์ผสมผสาน โดยใช้ไร่นาของตนเองเป็น ห้องเรียนรู้ ถามพี่ลินดาว่า ใช้เวลานานไหมกว่าจะท�าได้ ขนาดนี้ พี่ลินดาสั่นหัวแล้วบอกว่า เกษตรอินทรีย์ใน ตอนแรกอาจจะดูเหมือนเป็นเรื่องยาก แต่หากได้ลอง สัมผัสแล้ว เราจะรู้เองว่าเป็นเรื่องง่าย ๆ คนธรรมดา ทั่วไปก็ท�าได้ ส�าหรับอุปสรรคส่วนใหญ่ก็จะเป็นเรื่อง ของเวลากับแรงงานที่ไม่ค่อยจะพอ แม้ว่าจะท�าเกษตรอินทรีย์ผสมผสานจนได้ผล เป็นที่น่าพอใจแล้ว แต่พี่ลินดากลับมิได้หยุดอยู่เพียง แค่นี้ ต่อมาสามีพี่ลินดาไปอบรมเรื่องเกษตรธรรมชาติ ที่เชียงใหม่ และน�าความรู้ใหม่มาถ่ายทอดให้กับเธอ หนึ่งในนั้นคือ การท�าน�้าข้าวกล้องงอก “สามีพี่เขาบอกว่า มันมีสรรพคุณบ�ารุงสมอง ป้องกันโรคเหน็บชาและอัลไซเมอร์ เราก็ลองท�ากิน กันก่อน ไม่ได้ตั้งใจท�าขาย เวลาคนมาดูงานที่ฐาน เรียนรู้ของเราก็เอามาให้เขาชิมกันดู เขาก็ติดใจ ขอซื้อ คนละขวดสองขวดบ้าง ทีนี้ก็เลยท�าขายเป็นเรื่องเป็น ราว พอต่อมาที่หมู่ 1 เขาตั้งฐานการเรียนรู้สุขภาพวิถี ไทย เขาก็มาชวนพี่ไปเป็นวิทยากร สาธิตเรื่องการท�า


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì

น�้าข้าวกล้องด้วย” เมื่อถูกถามว่า พอใจกับรายได้ไหม พี่ลินดาเริ่ม ต้นสาธยายให้ฟังก่อนว่า รายได้ประจ�าปีก็คือการขาย ข้าวประมาณแสนกว่าบาท ส่วนรายได้ประจ�าวันคือ การท�าน�้าข้าวกล้องงอกขาย แต่ถ้าเป็นช่วงฤดูที่ผลไม้ ให้ผลก็จะมีรายได้เพิ่มขึ้นมาอีก เช่นเดียวกับสัตว์เลี้ยง ที่มีอยู่ บางวันก็จับปลาขายบ้าง “ถามว่าพอใจกับรายได้ไหม พีก่ ส็ ง่ ลูก 2 คนเรียน ได้โดยไม่ต้องเป็นหนี้ใครเขา ตอนนี้คนโตเรียนจบเป็น

95


96

¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

หมออนามัย ส่วนคนที่ 2 เรียนครูปีหนึ่ง” พี่ลินดาตอบพร้อมรอยยิ้มภาคภูมิใจ ผมหยุดการสนทนาไว้เพียงแค่นั้น เพราะได้ ไขข้อข้องใจเรื่องของการด�ารงชีพด้วยเกษตรอินทรีย์ ผสมผสานจนกระจ่างชัดแล้ว ผมกล่าวลาพี่ลินดาเพื่อ เตรียมตัวเข้าที่พัก พี่ลินดาบอกให้รอเดี๋ยว แล้วเดิน หายเข้าไปในบ้าน ก่อนจะเดินถือถุงพลาสติกใบใหญ่ ออกมายื่นส่งให้ ข้างในมีน�้าข้าวกล้องงอกอยู่ 5-6 ขวด บอกว่าเอาไว้กินตอนกลางคืน เผื่อหิว ผมไหว้ขอบคุณพี่ลินดาอีกครั้ง และหยิบขึ้นมา เปิดดื่มทันที พลันที่น�้าสีขาวขุ่นไหลผ่านล�าคอลงไป ความรู้สึกกระปรี้กระเปร่าก็เกิดขึ้นทันที ไม่ได้โม้ครับ ผมว่า มันคงไม่ได้เกิดจากคุณค่าสารอาหารในน�้าข้าว กล้องขวดนั้นเพียงอย่างเดียว แต่ความอุตสาหะของพี่ ลินดาทีอ่ ยูใ่ นนัน้ ต่างหากทีท่ า� ให้ผมรูส้ กึ กระฉับกระเฉง ขึ้นมาทันที


ปุยชีวภาพ

เกษตรอินทรีย


9. »ุ‰ยÍิน·รีย ชีวÀาพ àสาËลักสÙ‹¤วามสíาàรç¨ เช้ า วั น ต่ อ มา ปลั ด ธี ร ะพลมารั บ ผมที่ อ าคาร รับรองของค่ายลูกเสือภูพานน้อยเพือ่ พาไปทานข้าวเช้า ระหว่างทาง ปลัดถามผมว่า วันนีอ้ ยากจะไปแหล่งเรียน รูไ้ หนบ้าง ผมจึงขอไปดูเรือ่ งการผลิตปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพ ดีกว่า เพราะผมอยากรู้ว่า โรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ ของต�าบลพิมานนั้นมีศักยภาพเพียงพอที่จะรองรับ นโยบายเกษตรอินทรีย์ที่นายกฯ ธงไชยพูดหรือไม่ ได้ยินดังนั้น ปลัดธีระพลล้วงโทรศัพท์มือถือ ขึ้นมา กดต่อสายออกไปหาใครสักคน เจรจาพาทีเป็น


100 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ภาษาอีสานอยูส่ กั ครู่ พูดจบก็หนั มาบอกผมว่า กินข้าว เสร็จเดี๋ยวเราเข้าไปหาประธานโรงผลิตปุ๋ยกันได้เลย ลุงเสนาะ ทาตุ ประธานฝ่ายผลิต โรงผลิตปุ๋ย กลุม่ ปุย๋ อินทรียช์ วี ภาพ ชายวัยกลางคน ผมเริม่ ขาวแล้ว ยืนยิ้มแฉ่ง รอรับปลัดธีระพลกับผมอยู่หน้าทางเข้าโรง ผลิตปุ๋ยที่ป่าดอนนายาง “เอาละ อยากรู้อะไรถามมาได้เลย” ลุงเสนาะพูดกับผมหลังจากที่เราทักทายกัน แล้ว ผมมองรอบ ๆ โรงปุ๋ยแบบเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่งว่า เครื่องจักรสภาพซอมซ่อแบบนี้จะผลิตปุ๋ยได้จริง ๆ จึง ตัดสินใจถามออกไปตรง ๆ “ท�าไมมันดูเก่าจังละครับลุง” ลุงเสนาะหัวเราะ แล้วตอบว่า “เอ้า ก็มนั ยังไม่ถงึ เวลาผลิตปุย๋ นี่ พอจะผลิตปุ๋ย เราถึงค่อยมาเก็บกวาด เตรียมการทีนึง” “ไม่ได้ผลิตปุย๋ กันตลอดทัง้ ปีเหรอครับ” ถามไปเพราะคิดว่า โรงปุ๋ยที่นี่จะเหมือนกับโรงปุ๋ย ของบริษัทใหญ่ ๆ ที่เขาท�าการ ผลิตตลอดปี เสนาะ ทาตุ ประธาน½†ายผลิตกลุ่มปุ‰ยอินทรีย์ชีวภาพ


“อ๋อ ไม่หรอก เราผลิตแค่ปีละหนเท่านั้นเอง” ลุงเสนาะตอบ และขยายความให้ฟังต่อไปว่า ก่อนจะท�าการผลิตปุย๋ ซึง่ จะท�าในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ทางกลุ่มจะถามสมาชิกก่อนว่า ใครต้องการปุ๋ยเท่าไร จากนั้นจึงค่อยไปหาซื้อวัตถุดิบแล้วท�าการผลิตส่งให้ ตามค�าสั่งซื้อ หากมีปุ๋ยเหลือจึงขายให้กับลูกค้าขาจร เมื่อได้ฟังค�าตอบแล้ว คนช่างสงสัยแบบผมก็ เกิดค�าถามตามมาอีกว่า ผลิตกันแบบนี้แล้วจะคุ้มกับ การลงทุนรึ “ค�าว่าคุม้ หรือไม่คมุ้ นีม่ นั ต้องดูจดุ ประสงค์หลัก ของการตัง้ โรงงานปุย๋ ด้วยว่า เราตัง้ ขึน้ มาเพือ่ อะไร เพือ่ ผลิตปุย๋ ให้สมาชิกใช้ เพือ่ ลดต้นทุนการท�าเกษตรโดยใช้ ปุย๋ เคมี เราไม่ได้ตงั้ ขึน้ มาเพือ่ แสวงหาก�าไร เพราะฉะนัน้


102 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เราต้องเอาสมาชิกเป็นทีต่ งั้ ไม่ใช่เอาก�าไรเป็นหลัก” ลุง เสนาะอธิบายชัดเจน จากนั้ น จึ ง สาธยายถึ ง ที่ ม าที่ ไ ปของโรงผลิ ต ปุ๋ยว่า เมื่อปี 2548 รัฐบาลได้ให้เงินต�าบลพิมานผ่าน โครงการพั ฒ นาต� า บลมา 1 ล้ า นบาท ขณะนั้ น ลุ ง เสนาะเป็นสมาชิกสภาต�าบล จึงเสนอให้สร้างโรงปุ๋ย อินทรียเ์ พือ่ รองรับมูลของวัวควายจากโครงการธนาคาร โคกระบือที่จะมาตั้งใกล้ ๆ กัน ธ.ก.ส. ได้สง่ ลุงเสนาะไปอบรมการท�าปุย๋ อินทรีย์ ทีศ่ นู ย์ตมุ้ โฮมในตัวจังหวัดนครพนม จากนัน้ จึงกลับมา เริ่มผลิตปุ๋ย อย่างไรก็ตาม สมาชิกที่ซื้อปุ๋ยไปใช้ส่วน หนึ่งก็ยังไม่พอใจกับคุณภาพที่ได้ ลุงเสนาะและคณะ กรรมการโรงผลิตปุ๋ยจึงต้องปรับปรุงสูตรปุ๋ยอย่างต่อ เนื่องเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด “เราก็ปรับมาเรื่อย ๆ เริ่มแรกเราก็ใช้ขี้วัวขี้ควาย แต่พอสมาชิกต้องการมากขึ้นมันก็ไม่พอ ก็เลยไปเอาขี้ ไก่มาผสมเพิ่มเข้าไป ขั้นตอนการผลิตเราก็จะเอาส่วน ผสมมาชั่งตามแต่ละสูตร เอาไปตากให้แห้ง แล้วก็น�า ไปผสมกับน�้าหมัก กากน�้าตาล ปูนขาว ร�าอ่อน จาก นัน้ ก็เข้าเครือ่ งอัดออกมาเป็นเม็ด หลัง ๆ มีคนจากนอก พื้นที่เข้ามาเรียนรู้ เราก็สร้างเครือข่ายกัน มีการแลก เปลี่ยนสูตรปุ๋ยกัน”


แม้จะดูเหมือนว่า โรงงานสามารถขายปุย๋ ได้โดย ไม่เหลือค้างสต็อก แต่ลุงเสนาะก็บอกว่า เรื่องของเงิน ทุนก็ยงั เป็นปัญหาหลัก เพราะโรงงานใช้เงินด�าเนินการ จากการขายหุน้ ให้กบั สมาชิก โดยขายในรูปของเครดิต เมื่อสมาชิกขายผลผลิตทางการเกษตรได้จึงจะน�าเงิน มาช�าระ ท�าให้บางครั้งเงินทุนหมุนเวียนส�าหรับน�าไป ซื้อวัตถุดิบจึงไม่เพียงพอ “เราก็ตอ้ งไปขอยืม อบต. มาบ้าง ปัญหาอีกเรือ่ ง ก็คือ ขาดแคลนแรงงาน เพราะเราไม่มีคนงานประจ�า


อาศั ย จ้ า งชั่ ว คราว จากสมาชิกบ้าง บาง คนเขามีงานประจ�า อย่างอื่น เขาก็ปลีก ตัวมาไม่ได้ ไอ้ครั้น จะผลิตตลอดปีมันก็ ท�าไม่ได้ เพราะพวก มู ล สั ต ว์ นี่ มั น ต้ อ ง ตากแดดให้แห้ง คัดแยกขนไก่ออก ถ้าฤดูฝนก็หมด สิทธิ์ไปเลย เคยลองท�ามาแล้ว ส่วนจะให้ท�าตั้งแต่ฤดู หนาวก็ยังไม่ได้ เพราะชาวบ้านเขายังเกี่ยวข้าวไม่เสร็จ หรือเสร็จแล้ว แต่ต้องท�าอย่างอื่นก่อน เมื่อว่างงานเขา จึงจะเข้ามา” ลุงเสนาะกล่าว ถามว่ า ถ้ า อย่ า งนั้ น เกิ ด ชาวต� า บลพิ ม าน พร้อมใจกันมาท�าเกษตรอินทรีย์ชีวภาพหมดทุกครัว เรือน โรงปุ๋ยจะผลิตได้พอรึ ลุงเสนาะตอบแบบไม่ต้อง คิดว่า พออย่างแน่นอน เพราะในปัจจุบันก�าลังการ ผลิตครอบคลุมการใช้ของชาวต�าบลพิมานอยู่แล้ว แต่ ที่ดูเหมือนผลิตไม่พอก็เพราะมีออเดอร์จากที่อื่นด้วย ผมถามค�าถามสุดท้ายว่า ลุงเสนาะพอใจกับการ ท�างานทีผ่ า่ นมาของโรงปุย๋ หรือไม่ ลุงเสนาะใช้ความคิด


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 105

นิดหนึง่ ก่อนจะตอบว่า ตนเองคงบอกไม่ได้วา่ พอใจหรือ ไม่ แต่สมาชิกของโรงปุ๋ยต่างหากที่จะเป็นคนบอกได้ “ก็ภูมิใจนะที่เราเป็นส่วนหนึ่งในการก่อตั้งโรง ปุ๋ยมากับมือ ได้ท�าปุ๋ยให้พี่น้องเราใช้ ได้ช่วยเขาลด ต้นทุนการท�าเกษตร ได้อบรมให้ความรู้กับคนข้าง นอกจากทัง้ จังหวัดนครพนมและจังหวัดใกล้เคียง ตอน นี้ก็ 20 รุ่นไปแล้ว รวม ๆ ก็น่าจะสองพันกว่าคน ตอน แรกโรงปุ๋ยเรามีสมาชิกแค่ 22 คน มีแต่คนหมู่ที่ 3 แต่ ปัจจุบันเรามีสมาชิก 366 คน ทั่วทั้งต�าบล” หลังสนทนาเสร็จ ผมกล่าวค�าอ�าลาลุงเสนาะ ขณะยกมือไหว้ ตาก็เหลือบไปเห็นกระติบข้าวเหนียวรูป ทรงแปลกตาวางอยูห่ น้าตะกร้ารถมอเตอร์ไซค์ เลยถาม แกว่า ซือ้ จากทีไ่ หน ปลัดธีระพลตอบแทนว่า “อยากรูใ้ ช่ ไหม เดี๋ยวจะพาไปดู”


10. ¨Ñ¡ÊÒ¹ ÊÌҧ§Ò¹ บันดาลสุข เมื่อเดินทางไปถึงจุดรวมตัวของกลุ่มจักสาน พี่ วรานิษฐ์ วงค์แสงน้อย ประธานกลุ่มจักสาน ก�าลังสาน ต้นกกอย่างขะมักเขม้น โดยมีลูกกลุ่มนั่งสานอยู่ข้าง ๆ เธอรับไหว้ผมพร้อมกับยิ้มอาย ๆ เมื่อปลัดบอกว่า ผม อยากขอสัมภาษณ์ เธอเล่าว่า ในตอนแรกตัวเองก็ไม่ คิดว่าจะมาท�าตรงนี้ เพราะไม่ชอบเรื่องงานหัตถกรรม แต่จดุ เปลีย่ นของชีวติ พีว่ รานิษฐ์เกิดขึน้ หลังจาก เธอประสบอุบตั เิ หตุพลัดตกบันไดบ้าน เนือ่ งจากฐานะ ยากจนจึงไม่มีเงินไปรักษาพยาบาล แพทย์บอกว่า เธอ อาจจะไม่สามารถเดินได้อกี ซึง่ หากเป็นคนอืน่ คงร้องไห้


108 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

ฟูมฟายมืดแปดด้าน แต่ส�าหรับพี่วรานิษฐ์ สิ่งที่ท�าเป็น อันดับแรกคือ มองหาอาชีพอื่นทันที “เราก็มานัง่ คิดว่า จะมีวธิ ไี หนทีจ่ ะช่วยสามีแบ่ง เบาภาระเรื่องการหารายได้อย่างไร เพราะช่วยเขาท�า นาต่อไปอีกไม่ได้แล้ว พอดีตอนนั้นมีน้องที่รู้จักกันเขา ท�าจักสานอยู่ก่อนแล้ว เขาก็มาชวนเราท�า เราก็คิดว่า ได้วันละ 20-30 บาท ก็ยังดี” พี่วรานิษฐ์กล่าวถึงแรง จูงใจในการมาท�างานจักสาน แน่นอนว่า หนทางชีวิตของทุกคนไม่ได้ราบเรียบ เสมอไป เพราะกว่าพีว่ รานิษฐ์จะสานกระติบให้ออกมา สวยได้แบบนี้ก็ต้องหัด สานอยูห่ ลายใบ พอเจอ ค�าถามว่า แรก ๆ ท้อแท้ ไหม พี่วรานิษฐ์รีบตอบ ว่า ไม่ท้อ เพราะลูกก็ ต้องไปโรงเรียน ค่าปุ๋ย ค่ า ยาใช้ ใ นไร่ ใ นนาก็ ต้ อ งจ่ า ย มี แ ต่ ท� า งาน เท่านัน้ ถึงจะก้าวผ่านสิง่ เหล่านี้ไปได้ ต ่ อ ม า แ ม ้ พี่ วรานิษฐ์ วงค์แสงน้อย ประธานกลุ่มจักสานผลิตภัณฑ์


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 109

วรานิษฐ์จะกลับมาเดินได้เหมือนเดิม แต่เธอก็มไิ ด้หยุด สานกระติบข้าวเหนียวขาย ตรงกันข้าม เธอทุ่มเทเวลา ว่างให้กับงานนี้เพื่อหารายได้เสริมมาจุนเจือครอบครัว “เราก็มานั่งคิดว่า งานนี้มันก็ดีนะ ท�าที่ไหน ก็ได้ เอาออกไปท�าตอนพักจากท�าไร่ไถนาก็ได้ ท�าตอน เย็น ๆ หลังจากกินข้าวก็ได้ พอเพื่อนบ้านเขาเห็นตรงนี้ ตอนหลังก็มาขอเรียนด้วย จากนั้นก็เริ่มมีคนมาสั่งท�า ไปขายเพิ่มขึ้น” ขณะเดียวกัน ทางส�านักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ ที่ 10 ซึ่งเป็นเจ้าของโครงการหมู่บ้านพิทักษ์ป่ารักษา สิ่งแวดล้อม ก็ได้เข้ามาให้ค�าแนะน�าให้พี่วรานิษฐ์กับ เพื่อน ๆ ให้ตั้งกลุ่มขึ้นเพื่อเข้าร่วมประกวดในโครงการ พระราชด�าริ ซึ่งต่อมา ทางกลุ่มก็ผ่านการคัดเลือกได้ เป็น 1 ใน 150 กลุม่ ในโครงการพระราชด�าริของจังหวัด นครพนม “เราก็ภูมิใจนะ เพราะพวกเราเริ่มต้นกันแบบที่ ไม่รอู้ ะไรกันเลย ฝึกกันเอง แต่กไ็ ด้เข้ามาอยูใ่ นโครงการ พระราชด�าริ ซึ่งเป็นจุดสูงสุดที่เราไม่ เคยคิดมาก่อน” พี่วรานิษฐ์กล่าวด้วย รอยยิ้ม


11. สุขกายสบายชีวา ด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน ระหว่างนั่งรถกลับ อบต. ผมรู้สึกปวดหัวเล็ก น้อยเนื่องจากอากาศที่นี่ค่อนข้างเย็นกว่าในกรุงเทพฯ ท�าให้ร่างกายปรับตัวไม่ทัน จึงถามหายาแก้ไข้ ปลัดรีบ น�าเสนอว่า อยากได้แบบสมุนไพรหรือยาแผนปัจจุบัน เพราะทีน่ มี่ ใี ห้เลือกทัง้ 2 อย่าง ผมจึงนึกขึน้ มาได้วา่ น่า จะไปทีแ่ หล่งเรียนรูส้ มุนไพรพืน้ บ้านของทีน่ เี่ พือ่ ทดลอง ยาสมุนไพรเสียเลย ปลัดจึงโทรศัพท์ไปหาลุงศรีจนั ทร์ วงค์หนายโกฏ วิทยากรประจ�าแหล่งเรียนรู้สมุนไพรพื้นบ้าน ทันที แต่ ปลายสายบอกมาว่า ตอนนีม้ าท�าธุระที่ อบต. เพราะแก


112 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เป็นเลขานายกฯ อบต. อีกต�าแหน่ง ผมเลยอดทดลอง ยาสมุนไพรต�ารับหมอพื้นบ้าน ความจริ ง คนส่ ว นใหญ่ ก็ พ อจะรู ้ กั น อยู ่ ว ่ า สมุนไพรเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ใช้ประโยชน์ได้จริง แต่เป็น เพราะว่าเราใช้วิธีรักษาโรคแผนใหม่มานานมาก จน วิชาแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรกลายเป็นยาถูกลืม ลุงศรีจันทร์ก็เป็นผู้หนึ่งที่เคยละทิ้งภูมิปัญญาที่ตนเคย มีมาก่อน แล้วหันไปพึ่งวิทยาการสมัยใหม่เพียงอย่าง เดียว จนในตอนหลัง เมื่อชีวิตประสบกับปัญหาวิกฤติ จึงได้กลับมาพึ่งพาภูมิปัญญาพื้นบ้านดังเดิม ศรีจันทร์ วงค์หนายโกฏ วิทยากรแหล่งเรียนรู้สมุนไพรพื้นบ้าน ลุ ง ศรี จั น ทร์ เ ล่ า ว่ า เดิ ม พ่ อ เป็ น หมอ แผนโบราณ สมัยเด็ก ๆ เคยตามพ่อออกไปเก็บ สมุ น ไพรในป่ า บ่ อ ย ๆ ก็ ไ ด้ รั บ ความรู ้ ม าจาก พ่อ แต่พอวิทยาการด้าน การแพทย์สมัยใหม่ก้าว เข้ามา ทุกคนก็หันหลัง


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 113

ให้กับสมุนไพร เพราะเห็นผลช้ากว่ายาแผนปัจจุบัน “ผมเองก็ เ ป็ น แค่ ช าวนา พอเขาบอกว่ า ยา ปฏิชีวนะดีกว่า เราก็เชื่อไปตามเขา จุดเปลี่ยนของผม มันเกิดก็ตอนทีผ่ มเป็นเบาหวาน เพราะตอนนัน้ น�า้ ตาล ผมขึน้ ไปถึง 300 ไตผมก็ท�างานได้ขา้ งเดียว หมอก็คาด ว่า ไม่นา่ จะอยูไ่ ด้เกิน 4 เดือน แต่ตอ่ มา ผมเห็นรายการ ในเคเบิลทีวพี ดู ถึงเรือ่ งสมุนไพรรักษาโรคเบาหวาน ผม ก็เลยนึกถึงความรู้ที่พ่อเคยถ่ายทอดให้ ก็ไปค้นว่ามี อะไรแก้โรคเบาหวานกับความดัน” เหมือนกับว่า โชคชะตาได้ลิขิตให้ลุงศรีจันทร์ ต้องกลับมาเป็นหมอสมุนไพรพื้นบ้าน เพราะต่อมา ก็ได้ไปเจอพระธุดงค์ศิษย์หลวงปู่หล้า ซึ่งแนะน�าสูตร ยาสมุนไพรรักษาโรคเบาหวานให้ “ผมก็ลองท�ากินดู กินไปสักพัก เบาหวานผมดี ขึน้ น�า้ ตาลต�า่ ลง ไตก็ทา� งานได้ 2 ข้างเหมือนเดิม พอไป หาหมออีกที หมอก็ตกใจถามว่า ท�าไมเบาหวานผมลด ลงขนาดนี้ ไปทานยาอะไรมา ผมก็ไม่กล้าบอก กลัวเขา ไม่เชือ่ ก็โกหกหมอไปว่า กินยาของคุณหมอนัน่ ละครับ” ต่อมา ปตท. ได้จัดท�าโครงการรักษ์ป่าสร้างคน 84 ต�าบล ขึน้ มา ขณะนัน้ ลุงศรีจนั ทร์เป็นผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ 3 จึงเป็นตัวแทนเข้าอบรม โครงการนี้ได้จุดประกาย ความคิดในการท�าสวนสมุนไพรพื้นบ้านขึ้น เมื่อกลับ


114 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

มาจึงรวมกลุ่มกันกับเพื่อนบ้านผู้ใช้สมุนไพรจ�านวน 5 คน เพื่อแลกเปลี่ยนภูมิปัญญา และถ่ายทอดความ รู้ให้กับเยาวชนเพื่อให้ความรู้คงอยู่ต่อไป ไม่ขาดช่วง เหมือนที่เคยเป็นมา เวลาต่อมา พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดนครพนม และ อบต. ได้เข้ามาช่วยเหลือ จัดการอบรมเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในชุมชนอย่าง เป็นทางการ เพื่อให้ได้รับความรู้ตามแบบแพทย์แผน ไทย ลุงศรีจันทร์น�าไปประยุกต์ใช้กับภูมิปัญญาเดิมที่ ตนเคยได้รับการถ่ายทอดมา ผลิดอกออกผลไปสู่การ ก่อตั้งกลุ่มเครือข่ายการใช้สมุนไพรในทุกหมู่บ้าน มี สมาชิกจ�านวน 50 คน หลังจากนั้น กลุ่มเครือข่ายก็ได้มีการถ่ายทอด ความรูเ้ กีย่ วกับการปลูกการใช้สมุนไพรในชุมชนให้กบั ประชาชนในต�าบล ท�าให้ในปัจจุบนั ทุกครัวเรือนมีการ ปลูกสมุนไพรอย่างน้อย 5 ชนิด แม้วา่ จะได้ชอื่ ว่าเป็นหมอสมุนไพรประจ�าต�าบล พิมานแล้ว แต่ลงุ ศรีจนั ทร์กบ็ อกอย่างถ่อมตัวว่า ตนเอง ยังไม่รอู้ กี เยอะ และยังคงศึกษาหาความรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ ง ของสมุนไพรเพิ่มเติมอยู่เสมอ “ผมก็ค้นคว้าจากรายการวิทยุ โทรทัศน์ รวมทั้ง พวกหนังสือหนังหา แล้วผมก็หาโอกาสไปอบรมข้าง


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 115

นอก บางที อบต. เขาก็ช่วยส่งไปอบรมเหมือนกัน วิชา ความรู้พวกนี้มันไม่สิ้นสุด ก็ต้องเรียนรู้กันไปจนกว่า สังขารมันจะไม่ไหวนั่นละ” ลุ ง ศรีจันทร์กล่าวทิ้ง ท้าย แล้วหัว เราะอย่า ง อารมณ์ดี


12. âÎมสàµย ¤วามËมาย·ีèมากกว‹า ¤íาว‹า '·ีèพัก' ตกเย็นวันนั้น ผมแพ็คของใส่เป้อีกครั้ง เพราะ ปลัดจัดให้ผมลองไปสัมผัสกับโฮมสเตย์ต�าบลพิมาน โดยให้ผมพักทีบ่ า้ นของครูปะทินกร สิงหะวาระ อดีตแม่ พิมพ์ของชาติ ซึ่งปัจจุบันเป็นประธานชมรมโฮมสเตย์ ต�าบลพิมาน เพื่อผมจะได้สัมภาษณ์ไปด้วยเลย ครูปะทินกรเพิ่งเกษียณจากราชการได้ไม่กี่ปี ตามประสาคนเคยท�างาน จะให้ออกมาอยู่บ้านงอมือ งอเท้าเฉย ๆ ก็ไม่เคยชิน พอดีในปี 2550 ทาง อบต.


»Ð·Ô¹¡Ã ÊÔ§ËÐÇÒÃÐ ประธานกลุ่มโฮมสเตย์ มี น โยบายที่ จ ะท� า โฮมสเตย์เพื่อรองรับ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ครู ปะทินกรก็เลยปรึกษา กับสามี ทั้ ง คู ่ เ ห็ น ว่ า อย่างน้อยน่าจะช่วย ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว และภาพลักษณ์ของ ต�าบลได้ก็เลยลองไป สมัครดู และได้รับเลือกให้เป็นโฮมสเตย์น�าร่องของ ต� า บล โดยมี แ ขกมาทดลองพั ก คื อ นั ก ศึ ก ษาจาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ�านวน 2 วัน 1 คืน นี่คือ จุดเริ่มต้นง่าย ๆ ที่ครูปะทินกรเล่าให้ผมฟังขณะทาน ข้าวเย็นร่วมกัน พอปีต่อมา ทาง ธ.ก.ส. ได้จัดคนเข้าอบรม โครงการพักช�าระหนี้ที่ต�าบลพิมานจ�านวน 7 รอบ รอบ ละ 100 คน โดยเข้าพัก 3 วัน 2 คืน ผู้ที่ท�าโฮมสเตย์ จึงมาปรึกษาหารือกันจนได้ข้อสรุปว่า ให้จัดตั้งกลุ่ม โฮมสเตย์ขึ้นเพื่อวางระเบียบและมาตรฐานโฮมสเตย์ ของต�าบลพิมาน ซึ่งมีทั้งหมด 54 หลังด้วยกัน “ก่อนคนเข้าพัก เราต้องประชุมสมาชิกทีเ่ ปิดให้


แขกเข้าพักเพือ่ เตรียมความพร้อม จากนัน้ เมือ่ แขกกลับ เราก็จะให้เขาประเมินว่า มีความพึงพอใจขนาดไหน ส่วนการจัดคนเข้าพักจะเป็นลักษณะหมุนเวียนกันไป แต่ละบ้าน” ครูปะทินกรกล่าว เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ที่มาพัก ปี 2554 ทางกลุ่มโฮมสเตย์จึงประสานกับ อบต. เพื่อขอรับการ ประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์จากการท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย และผ่านการประเมินในปีเดียวกันนั้นเอง ครูปะทินกรพูดถึงเรื่องนี้ว่า “ยิ่งเราอยู่ห่างไกล เราต้องยิ่งสร้างความมั่นใจ ให้ แ ขกเขารู้สึกอุ่นใจ ทุกครั้ง ที่มีแ ขกมาพัก เราจะ ประสานไปทาง อบต. เพื่อจัดเวรยามคอยดูแลในตอน


120 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

กลางคืน ดังนั้น ตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน เรายังไม่ เคยมีเรื่องร้องเรียนจากนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับอันตราย เรื่องความไม่ปลอดภัยในพื้นที่ใด ๆ เลย เราได้รับค�า ชมที่น่าภาคภูมิใจว่า เด็กที่นี่ไม่มีการรบกวนด้วยการ แข่งมอเตอร์ไซค์เลย” ส�าหรับอุปสรรคในการท�างานนั้น ครูปะทินกร เล่าว่า ที่นี่ค่อนข้างโชคดี เพราะทุกคนอยู่กันแบบพี่ แบบน้อง ที่ผ่านมาก็มีบ้างที่เจ้าของบ้านโฮมสเตย์ซึ่ง เป็นชาวบ้านธรรมดา พอแขกผูใ้ หญ่ระดับสูงมาพักก็ไม่ กล้าต้อนรับเพราะกลัวจะท�าอะไรผิดพลาด จึงต้องค่อย ๆ ปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เขามั่นใจมากขึ้น “ในอนาคตเราน่าจะมีการปรับปรุงที่พักให้แขก เขามีความสะดวกสบายมากขึ้น แต่เราก็ยังต้องรักษา วิถีชีวิตแบบชุมชนเอาไว้ แล้วก็ต้องเตรียมความพร้อม ด้านภาษาต่างประเทศ และก็คิดกันไว้ว่า แต่ละบ้าน จะต้องมีจักรยานให้ผู้มาพักเอาไว้ใช้ปั่น “ตอนนี้ก็เริ่มมีการพูดคุยกับกลุ่มทอผ้าเย็บผ้า กลุ่มผลิตข้าวกล้อง กลุ่มจักสาน กลุ่มเพาะพันธุ์กล้า ไม้ และกลุม่ สมุนไพร เพือ่ จัดตัง้ ศูนย์การเรียนรูก้ ารผลิต สินค้าโอทอปให้แขกที่เข้ามาพักได้เดินไปเรียนรู้ตาม กลุม่ เหล่านี้ เราพยายามเน้นสิง่ เหล่านี้ สิง่ ทีเ่ รามีอยูเ่ ดิม อันไหนที่ไม่ใช่เอกลักษณ์ของเราก็จะไม่ท�า เรื่องเหล้า


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 121

ยาต่าง ๆ ก็คุยกับ อบต. ว่าต้องคุมเข้ม เพราะหากของ พวกนี้เข้ามา มันจะมีผลเสียมากกว่าผลดี” ผมนัง่ ฟังครูปะทินกรเล่าถึงแผนงานในอนาคตก็ รูส้ กึ หายห่วง เพราะอย่างน้อยผมแน่ใจแล้วว่า พิมานจะ ไม่เละเทะเหมือนกับสถานที่ท่องเที่ยวสุดฮิตในชนบท อีกหลายแห่งที่ไม่เหลือเค้าลางของตัวตนเดิมให้เราได้ ชื่นชมอีกต่อไปแล้ว


พิมาน บนผืนดิน เช้าวันสุดท้ายของผมที่พิมานถูกปลุกโดยเสียง ตามสายของหลวงพ่อบุญร่วม เจ้าอาวาสวัดศรีชมชื่น ใจหนึ่ ง ผมอยากจะนอนขดอยู ่ ใ ต้ ผ ้ า ห่ ม ต่ อ เพราะ อากาศเย็นก�าลังดี แต่อีกใจก็บอกกับตนเองว่า ไม่ได้ มาพิมานทุกวัน เพราะฉะนั้น จงใช้ทุกวินาทีที่นี่ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ว่าแล้วก็ลุกขึ้นไปล้างหน้าแปรงฟัน เสร็จแล้วก็คว้ากล้องคู่ชีพ ออกไปโต้อากาศเย็น ๆ ด้าน นอก เพื่อเก็บภาพพิมานครั้งสุดท้าย เดินถ่ายรูปไปเรื่อย ๆ อีกสองชั่วโมงให้หลัง ผม ก็มาหยุดอยูท่ หี่ น้าธรณีประตูวดั ศรีชมชืน่ สังเกตเห็นวัน นี้ ผู้คนท�าไมมากันเต็มวัด มานึกได้อีกทีก็พรุ่งนี้วันพระ


124 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

นี่เอง คนคงมาใส่บาตรกัน ท่าทีของพวกเขาดูเร่งรีบ แต่ก็ไม่วุ่นวายเฉกเช่นยามเช้าในเมืองหลวง ผู้คนที่นี่ ไม่แย่ง ไม่เบียดเสียดกัน ทุกคนเหมือนรู้หน้าที่ของกัน และกัน ผมถามตัวเองว่า หลังจากมาเยือนพิมาน ผมได้ อะไรกลับไปบ้าง ค�าตอบที่ผมนึกได้ขณะนี้ก็คือ ความ ประทับใจไงครับ ความประทับใจในความพยายามของ คนทีน่ ี่ ทุกคนพยายามทีจ่ ะท�าให้บา้ นของพวกเขาน่าอยู่ ขึน้ กว่าแต่กอ่ น น่าอยูใ่ นทีน่ ไี้ ม่ได้หมายถึงความทันสมัย หรือไฮเทคอะไร แต่หมายถึงปลอดภัยมากขึ้น ร่มรื่น มากขึ้น สะอาดขึ้น และทุกคนมีชีวิตที่ดีขึ้น ผมคงตอบไม่ได้ว่า พวกเขาจะท�าส�าเร็จหรือไม่ มีเพียงเวลาเท่านั้นละครับที่จะเป็นผู้ให้ค�าตอบ สิ่งที่ผมพอจะท�าได้ก็คือ เอาใจช่วยให้พวกเขา ท�าส�าเร็จ พลิกต�าบลพิมานให้กลายเป็นวิมานบนผืนดิน จริง ๆ


126 ¾ÔÁÒ¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹

เพลงศักยภาพชุมชน ¤íÒÌͧ-·íҹͧ วสุ ห้าวหาญ àÃÕºàÃÕ§´¹µÃÕ ศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก ¢ÑºÃŒÍ§â´Â ฟางแก้ว พิชญาภา, ศราวุธ ทุ่งขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี้ ท�าเพื่อเมืองไทยด้วยกัน ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เราเป็นคนไทยเปี่ยมความสามารถ เป็นก�าลังของประเทศชาติ พัฒนาบ้านเมืองก้าวไกล เป็น คนเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ก็รักเมืองไทยด้วยกันทั้งนั้น (สร้อย) หากเราร่วมมือร่วมใจ ท�าสิ่งไหนก็ไม่เกิน แรง โครงสร้างชุมชนแข็งแกร่ง เพราะเราร่วมแรงร่วมมือ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เราแบ่ง ปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ อยู่ชนบทห่างไกล ท�านาท�าไร่พอเพียงเลี้ยงตัว ใช้ ชุมชนดูแลครอบครัว ใช้ครอบครัวดูแลชุมชน ปูพนื้ ฐานจาก หมู่บ้านต�าบล สร้างแปลงเมืองไทยให้น่าอยู่ดังฝัน ชุมชนท้องถิ่นบ้านเราเรียนรู้ร่วมกันเพื่อการพัฒนา ชุมชนท้องถิ่นบ้านเราเรียนรู้ร่วมกันช่วยกันพัฒนา


à¾ÔèÁÈÑ¡´Ôì âµÊÇÑÊ´Ôì 127

อยู่ตามเมืองใหญ่เมืองหลวง หัวใจทุกดวงซ่อนไฟ มุ่งมั่น ก้าวออกมาจากรั้วที่กั้น จับมือกันท�าเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน�้าใจ โอบกอดชุมชนไว้ด้วย ความสุขยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี้ ท�าเพื่อเมืองไทยด้วยกัน หากเราร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ ท� า สิ่ ง ไหนก็ ไ ม่ เ กิ น แรง โครงสร้ า งชุ ม ชนแข็ ง แกร่ ง เพราะเราร่ ว มแรงร่ ว มมื อ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เราแบ่ง ปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ ด้วยมุมมองทีเ่ รา แบ่งปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ..

เข้าไปฟังและดาวน์โหลดเพลงศักยภาพชุมชนได้ที่ www.punsook.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.