อุโมงค์

Page 1



ÍØâÁ§¤ เรื่องและภาพ โดย ติณ นิติกวินกุล


Healthy Planet สุขคดีทองเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู อุโมงค เรื่องและภาพ ติณ นิติกวินกุล ออกแบบปกและรูปเลม เดือน จงมั่นคง เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ

978-616-7374-80-2 บรรณาธิการอำนวยการ

ดวงพร เฮงบุณยพันธ กองบรรณาธิการ

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพและเผยแพรโดย

อาคารศูนยเรียนรูสุขภาวะ เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท 0 2343 1500 โทรสาร 0 2343 1501 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพครั้งที่ 1

กุมภาพันธ 2556


ดำเนินการผลิตโดย

เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com


¤Ó¹Ó ท า มกลาง กระแส วิ ก ฤติ เศรษฐกิ จ โลก ครั้ ง ใหญ เป น ประวัติการณในรอบหลายสิบป ทำใหเกิดการตั้งคำถาม วาวิกฤตินีจะ ้ ใหญขึน้ อีกเพียงใด จะยืดเยือ้ ขนาดไหน และ วิกฤตินี้จะสงผลกระทบตอสังคมไทยชุมชนหมูบานไทย มากนอยเพียงใด ความวิตกดังกลาวอาจจะไมเกิดขึ้น เลยหากปจจุบันชุมชนหมูบานไทยไมถูกลากเขาสูระบบ การผลิตเพื่อขาย นัก วิชา การ หลายๆ ทาน ได วิเคราะห ถึง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยวาในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบดำรงอยูในลักษณะคูขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรือ อาจ จะ กลาว เปน ศัพท สมัย ใหม ได วา ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมูบานจะมีวิถีชีวิตที่เรียบงายเนน ความพอเพียง มีครอบครัวเปนหนวยการผลิต การชวย เหลือซึง่ กันและกันมีน้ำใจเปนพืน้ ฐานของชีวติ มีพิธกี รรม ตางๆ เปนระบบการจัดการในชุมชนและใหความสำคัญ ตอบรรพบุรุษ ผูเฒ  าผูแก ครอบครัว ตอ มา หลัง จาก รัฐ และ ระบบ ทุนนิยม ได เขาไป มี อิทธิพลตอชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ทำใหชาวบานมีรายจายทีเป ่ นตัวเงินมากขึน้ เพียงเทานัน้


ยังไมพอ สิ่งทีทำลาย ่ ความเขมแข็งของชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเขาไปถายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมูบาน ยิ่ง รัฐ และ ทุน เขาไป กอบโกย มาก เทาไร ชุมชน หมูบานไทยยิ่งประสบความออนแอ คำพูดดังกลาวไมใช คำพูดลอยๆ ที่ไมมีหลักฐานรองรับ หากแตเมื่อกวาดตา ไปทัว่ แผนดินไทย หลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากวา 40 ป จะมีสักกี่ชุมชนทีคนใน ่ ชุมชนไม ประสบปญหาความยากจน ไมประสบปญหาสิง่ แวดลอม หรือไมประสบปญหาสุขภาพ จาก สถานการณ ดัง กลาว ถึง เวลา แลว หรือ ยัง ที่ สังคม ไทย ควร กลับ มา เนน การ พัฒนา ที่ ไม มอง แต มิติ ประสิทธิภาพ การสรางมูลคาและกำไรหรือการตลาด ดาน เดียว แต ควรจะ เปน เพื่อ ประโยชนของ ชุมชน และ สังคม เราไมควรลดทอนผูคนลงไปเปนเพียงตัวเลข หาก ควร เปน เพื่อ สง เสริม ศักยภาพ และ ศักดิ์ศรี ความ เปน มนุษย คำตอบสำหรับคำถามขางตนนี้ คงจะตองชวยกัน คนหา ไมวาจะใชระยะเวลานานเทาไร

คณะผูจัดทำ


8

ÍØâÁ§¤

หลาย คน อาจ จะ สงสัย ใน สอง ประโยค นี้ ระหวาง ‘ความ หมาย ของ การ มี ชีวิต อยู ’ กับ ‘การมีชีวิตอยูอยางมีความหมาย’ นั้น แตกตางกันอยางไร คน เรา สามารถ ใช ชี วิ ต ใน ความ เหมือนที่แตกตางกันนี้ไดหรือไม และความสงสัยทั้งสองนี้ปลายทาง ของอุโมงคจะคือความสุขที่แทจริงหรือไม คำตอบเหลานั้นจะอยูในเรื่องราวตอไปนี้


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

0

ÍØâÁ§¤ ·ÕèÃÙŒ¨Ñ¡ÁÒ กอนหนาจะเดินทางมาตำบลอุโมงค ผมเหมือนหลายๆ คนทีเมื ่ อ่ ทราบวาตองเดินทางไปลำพูน จะตองพบกับถิน่ ทีมี่ ลำไยชุก จะไดยนิ ภาษาเหนือ จะไดกินอาหารเหนือ จะ ไดพบสาวเหนือผิวขาว อากาศคงจะเย็น นัน่ เปนมโนภาพ ที่มีเกี่ยวกับลำพูนอยางกวางๆ มาโดยตลอด คน ขอมูล ดู คราวๆ เพื่อ ทำความ รูจัก ถิ่น ที่ ตอง เดินทางไปจะไดไมเคอะเขิน จึงรูวาตำบลอุโมงคซึ่งอยู ในจังหวัดลำพูนนั้นติดกับอำเภอสารภีของ จ.เชียงใหม ทาง ทิ ศ เหนื อ จั ง หวั ด ลำพู น มี ตรา สั ญ ลั ก ษณ เป น รู ป เสา หลั ก แดน เมื อ ง สภาพ ภู มิ ป ระเทศ เป น ที่ ร าบ ลุ ม ตาม แนว ‘ แม น้ ำ ก วง ’ และ มี ‘ ลำ เห มื อ งป ง ห า ง ’ ไหล ผาน กลาง ของ พื้นที่ หลอ เลี้ยง พื้นที่ เกษตรกรรม สภาพดินเปนดินรวนซุยเหมาะแกการทำไร ทำนาและ ทำสวน ฤดูรอนเริ่มตั้งแตเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ฤดู

9


ฝนเริม่ ตัง้ แตเดือนมิถนุ ายนถึงเดือนตุลาคมและฤดูหนาว เริ่ม ตั้งแต เดือน พฤศจิกายน ถึง เดือน กุมภาพันธ ผูคน สวนใหญตัง้ รกรากสืบตอจากบรรพบุรษุ เชือ้ สายยองหรือ ‘คนยอง’ ซึ่งเปนคนไทที่อพยพมาจากเมืองยอง ตั้งแต สมัยรัชกาลที่ 1 ปจจุบนั อยูใน  เมืองเชียงตุง รัฐฉานประเทศ พมา ผมสังเกตจากนามสกุลที่มีคำวาอุโมงคหรือโมงค คำเดียวหลายสิบนามสกุล มีคนบอกผมวาสำเนียงยอง จะแตกตางจากลานนาเล็กนอย ตรงเสียงพูดจะขึ้นจมูก ทุกคำจะควบหอหีบ ผู ค น จะ ตั้ ง ชุ ม ชน เป น แนว ยาว ริ ม สอง ฝ ง ถนน เชียงใหม-ลำพูนสายเกา โดยมีการใชที่ดินเพื่อประกอบ ธุ ร กิ จ รวม กั น เป น ก ลุ ม ใหญ ใน บริ เ วณ ‘ตลาดกลาง ปาเห็ว’และ ริม สอง ฟาก ถนน เชียงใหม-ลำพูน สาย เกา นอกจากนี้ยังมีรานคาเล็กๆ ตั้งกระจายอยูริมสองฟาก ถนนสายเชียงใหม–ลำพูนสายเกาและหางจากถนนเขาไป ในซอย โดยมีกลุมใหญตั้งอยูดานเหนือและสวนกลาง


ของพื้นที่ มีจำนวนนอยลงทางดานใต สภาพที่พักอาศัย บริเวณริมถนนสวนใหญจะเปนบานเดี่ยวสูงหนึ่งถึงสอง ชั้น มีอาณาบริเวณบานโดยรอบ เมื่อหางจากถนนใหญ ออก ไปจะ เปน บาน เดี่ยว ที่ ตั้ง อยู ใน สวน ลำไย ลอมรอบ ที่พัก อาศัย บริเวณ แทบ ทั้งหมด จะ เปน เชน นี้ ยกเวน บริเวณใกลถนนซุปเปอรไฮเวยจะเปนทีนา ่ พื้นที่ ริม สอง ฟาก ถนน ซุป เปอร ไฮเวย สวน ใหญ จะเปนพื้นที่วางยังไมไดถูกใชงาน มีโรงงานและสถาน ประกอบการตั้งกระจายริมสองฟากถนน พื้นที่ระหวาง ถนนซุปเปอรไฮเวยไปจนถึงลำน้ำแมกวงสวนใหญจะเปน พื้นที่เกษตรกรรมโดยมีพื้นที่พักอาศัยปะปน ผมทราบมากอนวาที่อุโมงคนอกจากจะโดดเดน เรื่องสุขภาวะ เรื่องวัฒนธรรมประเพณียังไมเปนรองใคร ดวย นอกจากนีการ ้ มีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน และความเขาใจในการปกครองทองถิ่นของประชาชนยัง ดีเยี่ยม ที่นี่จึงเปนเทศบาลที่ไดรางวัลตางๆ มากมาย



á¼¹·ÕèáËÅ‹§»¯ÔºÑμÔ¡Òó ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ÍØâÁ§¤

1. แหลงเรียนรู การบริหารจัดการแบบมีสวนรวม และบูรณาการจากทุกภาคสวน 2. แหลงเรียนรู การจัดทำแผนแมบทชุมชน/ แผนพัฒนาตำบล 3. แหลงเรียนรู กองทุนออมทรัพยสวัสดิการ ประชาชนตำบลอุโมงค 4. แหลงเรียนรู กองทุนเงินลาน หมู5 บานปาเห็ว 5. แหลงเรียนรู ศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาล ตำบลอุโมงค 6. แหลงเรียนรู ศูนยการเรียนรูเศรษฐกิ  จพอเพียง ตำบลอุโมงค 7. แหลงเรียนรู กลุมครัวเรือนเศรษฐกิจพอเพียง (84 ครัวเรือน) 8. แหลงเรียนรู ศูนยบริการและถายทอด เทคโนโลยีเกษตรประจำตำบลอุโมงค 9. แหลงเรียนรู กลุมปลูกพืชผักปลอดสารพิษ หมู 10 บานชัยสถาน 10. แหลงเรียนรู ศูนยการบริหารจัดการขยะ โดยชุมชน บานปาเสา ม.9 11. แหลงเรียนรู ศูนยการเรียนรูไบ  โอดีเซล 12. แหลงเรียนรู ศูนยพลังงานทดแทนเตาอั้งโล ประหยัดพลังงาน

13. แหลงเรียนรู ศูนยลดโลกรอนตำบลอุโมงค 14. แหลงเรียนรู กลุมทำปุยหมักชีวภาพ หมู 9 บานปาเสา 15. แหลงเรียนรู กลุมรักษน้ำคลองสวย น้ำใส หมู 8 บานไร 16. แหลงเรียนรู ศูนย อปพร.ตูขาวชาวประชา อุนใจ 17. แหลงเรียนรู กลุมวิสาหกิจไวนลำไยอุโมงค หมู 8 บานไร 18. แหลงเรียนรู กลุมวิสาหกิจลำไยอบแหง เนื้อสีทอง 19. แหลงเรียนรู กลุมสงเสริมเศรษฐกิจพืชไรดิน เชิงพาณิชยตำบลอุโมงค 20. แหลงเรียนรู วิทยุชุมชนตำบลอุโมงค / หอกระจายขาว / เสียงตามสายชุมชน 21. แหลงเรียนรู รพสต ของประชาชน 22. แหลงเรียนรู กลุมสมุนไพรแสนดี หมู 2 บานกอมวง 23. แหลงเรียนรู อสม.ตาวิเศษ(อาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมูบาน) 24. แหลงเรียนรู โรงเรียนนวัตกรรมสงเสริม สุขภาพบานปาเสา


1

ࢌÒÊÙÍ‹ âØ Á§¤


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ชวงเวลานัน้ ผมมีธุระทีอำเภอสั ่ นปาตอง จังหวัดเชียงใหม หลังการประสานงานจึงทราบวาคุณขยัน วิพรหมชัย นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลอุโมงคขึ้นเชียงใหมพอดี ทานเมตตาใหติดรถลงอุโมงคมาดวย โดยใชถนนสายซุป เปอรไฮเวยเชียงใหม – ลำปาง อันกวางขวาง “อีกเสนคุณคงเคยใช ถนนสายหลักเชือ่ มเชียงใหม กับลำพูนทางสารภี” นายกฯ ขยันหมายถึงเสนทางเชือ่ ม ตอระหวางเชียงใหมกับลำพูน สายเกาแก คนละเสนทาง กับสายที่ใชอยูนี้

15



μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

“ครับทานนายกฯ ผมเคยผาน เสนนั้นผมชอบตน ยางตลอดสองขางทาง พอถึงรอยตอกับเขตลำพูนก็มีตน ขี้เหล็กรับเปนแถวเปนแนว ชอบครับ ดูแลวใหความรูสึก รมรื่น สบายและมีความหมาย” “ภาษา บาน ผม เรียก ตน ยาง และ ตน ขี้ เหล็ก ที่ ขึ้น ลักษณะนี้วา ‘ไมหมายเมือง’” นายกฯ วา “ออ ที่ภาษาปะกิตเขาเรียกวาแลนดมารคใชไหม ครับ” ผมเอย “นั่นแหละๆ” นายกฯ ยิ้ม เขาเขตอุโมงคแลว ตามสองขางทางพบชุมชนบาน เรือนสลับกับสวนลำไย “คน ที่ นี่ ทำ สวน ลำไย 60-70% ของ พื้ น ที่ ” นายกฯ บอก ผม สังเกต เห็น สภาพ พื้นที่ เปน อยาง กึ่ง เมือง กึ่ง ชนบท ทวาบรรดาทัศนียภาพผานตากลับสะอาดสะอาน บางชวงมีแหลงน้ำก็เปนแหลงน้ำที่สะอาด น้ำไมดำ ไร ขยะรกตา บานเรือนสองฝงคลองปลูกเรียงรายกันเปน ระเบียบไมรุกล้ำ ไมพบภาพคนเทน้ำทิ้งลงคลอง ไมเห็น คนโยนขยะใสแหลงน้ำใหดูอุจาดตา “เพราะ ความ เปน น้ำ หนึ่ง ใจ เดียวกัน ของ คนใน ชุมชน การบริหารจัดการองคกรเทศบาลตำบลอุโมงค เรา

17


18 ÍØâÁ§¤

มองไปทีประชาชน ่ โดยใหประชาชนมีสวนรวมการบริหาร จัดการตามชองทาง ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการ กับหนวยงานรัฐอื่นๆ ผมก็ไดทำมาตลอด ไวพรุงนี้เชา คุณมาที่เทศบาลสิ ตอนเชากอนเวลางานทุกวันผมจะมี สภากาแฟ” นายกฯ บอก “อะไรนะครับ สภากาแฟของนายกฯ?” ผมสงสัย “คื อ การ พบปะ พู ด คุ ย กั น อย า ง ไม เป น ทางการ วันอังคารผมจะคุยกับหนวยราชการที่ตองประสานและ ทำงานรวม วันอื่นๆ ผมใชคุยกับชาวบาน คุยกับลูกนอง ได ปรึกษา หารือ กัน กอน อยาง ไม เปน ทางการ ใน เรื่อง ตางๆ” รถ ของ นา ยกฯ หยุ ด ผม มอง ไป นอก หน า ตา ง กวาดตาดูถนนเลียบทางรถไฟที่สะอาดเรียบรอย รถวิ่ง ไปมาคลายถนนเลียบทางในกรุงเทพฯ ชวงวิภาวดีรังสิต หลักสี่ ดอนเมือง มองไปฝง ตรงขามเห็นสถานีรถไฟพอดี นายกฯ คงสังเกตเห็น “สถานีรถไฟบานปาเสา รถไฟสายเหนือจอดทีนี่ ที่ ่ เดียวในอุโมงค” นายกฯ ชี้ไปรอบๆ “ถนนพวกนี้ชาวบาน เรียกโลคัลโรด หรือถนนเลียบทางรถไฟนั่นแหละครับ” “ดูรมรื่นเรียบรอยจังครับ”


นายกฯ ยิ้มกอนจะถาม ผมวา “พักโรงแรมหรือ โฮมสเตยดี” “โฮมสเตยครับ มาแบบนีก็้ ตองพักโฮมสเตย งัน้ ไม เรียกวามาถึง” ผมยิ้มตอบ


2

âÎÁÊàμÂ

การ เดิ น ทาง มา ถึ ง ต.อุ โ มงค จ.ลำพู น นั้ น หาก เดิ น ทาง ดวย ทาง รถยนต จาก กรุงเทพฯ ไป ตาม ทางหลวง หมายเลข 1(พหลโยธิน) ผานดอนเมือง รังสิต แยกซาย ตรงกิโลเมตรที่ 32 ผานสิงหบุรี ชัยนาท เขานครสวรรค แลวแยกซายเขาทางหลวงหมายเลข 1 ผานกำแพงเพชร ตาก ตรงเขาสูลำปาง  แยกซายเขาทางหลวงหมายเลข 11 เขาลำพูนรวมระยะทาง 670 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทาง ประมาณ 8 ชั่วโมง หากจะใชรถโดยสารประจำทาง ใช เวลาเดินทางประมาณ 9 ชั่วโมง บริษัทขนสง จำกัดและ รถรวมบริการอื่นๆ มีรถปรับอากาศบริการทุกวัน ทางรถไฟนั้น การรถไฟแหงประเทศไทยมีรถไฟ ไปลำพูนทุกวัน ทางอากาศมีเครื่องบินสายกรุงเทพฯเชียงใหม หลายสายการบินแลวตอรถมาลำพูนอีกทอด


หนึ่ง ซี่งรถประจำทางสายเชียงใหม-ลำพูน มีบริการทุก วัน รถออกที่หนาประตูเมืองเชียงใหมและปลายทางที่ พิพิธภัณฑลำพูนเยื้องกับวัดพระธาตุหริภุญไชย ใชเวลา เดินทางประมาณ 30 นาที กอนหนานี้ผมกับนายกฯ คุยกันถึงเรื่องทั่วๆ ไป จึงทราบเพิ่มเติมวาตำบลอุโมงคมีพื้นที่ 20.09 ตร.กม. หางจากตัวจังหวัด 10 กม. ประกอบดวย 11 หมูบาน ซึ่งแตละหมูบานลวนแลวแตมีชื่อที่ไพเราะและมีประวัติ ความเปนมานาสนใจอยาง ยิ่ง (อานไดจากภาคผนวก ทายเลม) “ในดานการปกครอง กำนันตำบลอุโมงคคนแรก เทาที่สืบคนเปนทานขุน ซึ่งเปนบรรดาศักดิ์หรือยศของ ขุนนางไทยสมัยกอน” นายกฯ ขยันบอกผมในชวงหนึง่ ของ


22 ÍØâÁ§¤

การสนทนาเกี่ยวกับอุโมงค ทานเลาตอวา “ชื่อขุนอุโมงค มนาทร หรือนายแกว พันธุอุโมงคตั้งแตป พ.ศ.2459 โนนแลว” ผมพยักหนารับ “คนที่สองเปนหมื่น ชื่อหมื่นนรสุขจรุง หรือนาย บุญตัน ยาวุฒิ คนตอๆ มาไมมียศฐาบรรดาศักดิแต ์ อยาง ใด ก็ปกครองกันเรือ่ ยมาจนถึงเมือ่ ป พ.ศ.2537 ไดมีการ ตราพระราชบัญญัติสภาตำบลและองคการบริหารสวน

ตำบลขึ้น ซึ่งเปนการปกครองทองถิ่นรูปแบบหนึ่ง ทาง ตำบลอุโมงคจึงกลายเปนองคการบริหารสวนตำบล ป พ.ศ. 2552 ไดรับการยกฐานะเปนเทศบาลตำบลอุโมงค


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ตามพระราชบัญญัติเทศบาลเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2552” “คน เยอะ ไหม ครับ ที่ อุโมงคนี่” ผมถาม “ ล า สุ ด ป 5 5 นี่ ประมาณหนึ่งหมื่นสามพัน คนครับ” ผม มอง ไป นอก รถ กอนจะพูดวา “บานชองที่นี่ สะอาดสะอานจริงๆ” “ทีผ่ านไปเมือ่ สักครู คุณสังเกตเห็นลักษณะรัว้ ไหม” ผมยิ้มแกเกอ “เปลาเลยครับ มัวแตมองตัวบาน” “เรามีโครงการประกวดอนุรักษรั้วตนชา หนาบาน นามอง” “รั้ว บาน พวก นั้น เปนตน ชา หรือ ครับ โอ อ เม ซิ่ง จริงๆ ครับ” “ต น ชา ข อ ยห รื อ ชา เขียวนะ” นายกฯ บอก “เปน พืชเฉพาะถิน่ ทีชาว ่ บานนิยม ปลู ก เป น แนว รั้ ว ปลู ก กั น อย า ง แพร หลาย บาง บ า น ปลูกมานานนับ รอยป แลว

23


ดูสวยงามเปนธรรมชาติ ถือเปนตนทุนทางวัฒนธรรม อยางหนี่ง” ผมทึ่ง! “ไวมีโอกาสผมจะใหคนพาไปดู” นายกฯ ย้ำ ขณะที่รถวิ่ง ผมกวาดตามองสองขางทาง รูสึก ฉงนจนตองเอยถาม “ทำไมผมไมเห็นมีเศษขยะขางถนนเลยครับ ?” “เรือ่ งขยะเปนอีกเรือ่ งทีผม ่ อยากนำเสนอ” นายกฯ ขยันขยับยิ้ม รูสึกตัวผมก็ยืนอยูหนาบานหลังหนึ่ง นายกฯ ขยัน บอกวานี่คือโฮมสเตยของคุณแมยนต หรือคุณศิรยนต ิ กัญญาสมุทร ซึ่งออกมาตอนรับพรอมเดินพาไปสงถึง


บริเวณที่พัก หลังจากนายกฯ กลับไปแลว ผมเดินดูรอบ บริเวณอยางใสใจ หลังจากวันแรกที่มาถึงไดมีโอกาสไป เยือนอีกหลายหลัง ในบรรยากาศแตกตางกัน ทามกลาง แดดกลางวันหรือหลงในมานหมอกยามเชา มื้อเย็นนั้นแมยนตเลี้ยงผมดวยเห็ดถอบผัดกับหมู ลาบเนื้อและแกงจืดวุนเสนไขฝอยกับขาวสวยรอนๆ ผม ไมอยากพูดเลยวาผมตักขาวไปสองจาน!


26 ÍØâÁ§¤

3

ÊÀÒ¡Òá¿ :

¡ÅÇÔ¸Ë¹Ö Õ §è 㹡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃμӺŠẺÁÕʋǹËÇÁáÅкÙóҡÒèҡ·Ø¡ÀҤʋǹ ÃÇÁ¶Ö§¡ÒèѴ·Óá¼¹áÁ‹º·ªØÁª¹ áÅÐá¼¹¾Ñ²¹ÒμÓºÅ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

พี่จำรัส อินตะโมงค

รุง เชา พี่ จำรัส อิน ตะ โมง ค ซึ่ง เปน นัก วิชาการ ประจำ เทศบาลตำบลอุโมงคมารับผมถึงที่พัก หลังการทักทาย พี่จำรัสพาไปที่ทำการเทศบาล ระหวางทางผมสังเกตวา ไมมีถังขยะตั้งริมถนนหรือตามตรอกซอกซอยเลย นี่คือ ขอสงสัยที่ผมตองหาคำตอบใหได ที่ทำการเทศบาลตำบลอุโมงค มีลักษณะทอดยาว ไปตามแนวรั้วเลียบลำน้ำปงหาง ดูสะอาดสะอานภายใต อากาศเย็นสบาย ลมพัดเอื่อยๆ สบายเนื้อตัว ผมจำไดดีวาเปนชวงเชาที่อากาศยังเย็น หลังเดิน ผานหองหับ ตางๆ ซึ่งลวนแลว แต เปด หนาตางไว ผม สงสัยวาทำไมไมเปดเครื่องปรับอากาศ ซึ่งก็มีติดอยูทุก หอง “นายกฯ ขยัน ใหนโยบายวาชวงเชาอากาศยังเย็น อยู อยากใหเปดแอรสายๆ หนอยคะ” นองเจาหนาที่คน หนึ่งตอบขอสงสัยของผม

27


28 ÍØâÁ§¤

ขยัน วิพรหมชัย

จากนัน้ พีจำรั ่ สซึง่ ปลีกตัวเขาหองทำงานกอนสักครู ก็เดินนำขึ้นชั้นสอง เขาพบนายกฯ ขยัน วิพรหมชัย ซึ่ง ใหการตอนรับอยางเปนทางการที่หองทำงานของทาน “ผม ตั้งใจ จะ ทำงาน การเมือง มา ตั้งแต เด็ก แลว” นายกฯ ขยันบอก “ป 2534 สบโอกาสผมลงสมัครเลือก ตั้งกรรมการสุขาภิบาลตำบลอุโมงค ผมก็ไดรับเลือก” จากนั้นในป พ.ศ.2542 ไดลงสมัครรับเลือกตั้ง เปนนายก เทศบาลตำบล อุโมงคและไดรับการเลือกตั้ง สองสมัยติดตอกัน ในป พ.ศ.2550 กับสนามใหญคือ สมาชิก สภา ผู แทน ราษฎร ใน ป ดัง กลาว มี การ เลือกตั้ง ซอมแทนตำแหนงที่วาง นายกฯ ขยันไดลงสมัครและได รับเลือกเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในป พ.ศ.2554 มีการเลือกตั้งทั่วไปทั่วประเทศ นายกฯ ขยันลงสมัคร แตไมไดรับเลือก เมื่อตนป พ.ศ.2555 ตำแหนงนายก


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เทศบาลตำบลครบวาระ นายกฯ ขยันจึงลงชิงชัยและได รับความไววางใจ “ในการบริหารจัดการนัน้ เมือ่ เปรียบเทียบระหวาง การเมืองระดับประเทศและระดับทองถิ่น ประชาชนจะ ได รับ ประโยชน จาก การเมือง ระดับ ทอง ถิ่น ชัดเจน และ เปนรูปธรรมมากกวา อยางนอยก็เพราะมีงบประมาณ ของตนเอง” นายกฯ ขยันกลาวตอเมื่อถามถึงการทับซอนกัน ระหวาง การ ปกครอง สวน ทอง ที่ ซึ่ง ไดแก ผูใหญ บาน กำนัน นายอำเภอนัน้ “ผมใชการประชุมประจำเดือนของ เทศบาลตำบลอุโมงคเปนกลไกหลักในการขับเคลือ่ นการ ทำงานของตำบล ซึ่งเปนเวทีกลางในการพูดคุย ปรึกษา หารือ ระหวางผูนำทองถิ่น ผูนำทองที่ ผูนำองคกรใน พื้นที่ ภาคประชาชนและหนวยงานภาครัฐ เทานั้นไมพอ เรา ยัง มี เวที อื่นๆ ใน การ สราง การ มี สวน รวม ของ ภาค ประชาชน เชน เวทีประชาคม หรืออยางชวงการรับเบี้ย ยังชีพผูสู งอายุ เราก็ใชเปนชองทางหนึง่ ดวยในการพบปะ พูดคุย เนนสะทอนความคิด รับฟงปญหา หรืออยางการ จัดกิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมตางๆ เชน ประเพณี ปอย หลวง ประเพณี สงกรานต ก็ ใช เปน ตัว ประสาน รอย เรียง ความ เปน ชุมชน เขา ดวย กัน อยาง เหนียว แนน สรุปวาแนวคิด หลัก ของ ผู บริหารและ ผูนำ ที่ ผมวาง ไว ก็

29


30 ÍØâÁ§¤

คือ การเนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนและผมก็ได ทำจริงมาโดยตลอด” ผมรับฟงนายกฯ กลาวถึงการเปนแหลงเรียนรูหนึ  ง่ ที่สำคัญของอุโมงคอยางใจจดใจจอ “เดี๋ยว ผม จะ พา ไป ดู รูป แบบ หนึ่ง ของ การ บริหาร จัดการแบบมีสวนรวม ‘สภากาแฟ’ ครับ” “ออ สภากาแฟ ที่นายกฯ บอกเมื่อวาน” ผมพูด นา ยกฯ ขยั น เดิ น นำ ไป ยั ง อี ก ฟาก ของ อาคาร ที่ทำการ ระหวางทางนายกฯ พูดวา “ปกติทุกวันอังคารกอนเวลาราชการ ผมจะจัดใหมี การพูดคุยอยางกึง่ ทางการระหวางตัวแทนหนวยราชการ ตางๆ กับพนักงาน เจาหนาทีและ ่ ผูบริ  หารเทศบาล คุยได ทุกเรือ่ งครับ มีอะไรก็แลกเปลีย่ นเสนอแนะกันได นีแหละ ่ ครับที่ผมเรียกวาสภากาแฟ กินปาทองโกไป จิบกาแฟ กินขนมนมเนยกันไป ก็ไดผลดีครับ สภากาแฟแบบนี้ ดี กวาการประชุมอยางเปนทางการ บางครั้งวันอื่นๆ ใน สัปดาหก็จะเปนระหวางผมกับพนักงานดวยกันเองบาง คุยกันกอนทำงาน กำหนดการคราวๆ ในเรื่องตางๆ ไม ซีเรียสจริงจัง” หองที่นายกฯ ขยันเดินนำผมเขาไปนั้น มีคน นั่งอยูกอนแลวหลายคน เมื่อผมเดินตามเขาไป นายกฯ ก็แนะนำผมกับที่ประชุม


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ผมนั่งในหองสักพัก มีการสรุปและทบทวนขอมูล ในเรื่องตางๆ ทำใหผมเห็นศักยภาพและกระบวนการ พัฒนา ขอ งบุค คลา กร ใน อุโมงค ชัดเจนขึ้น สัก พัก ผมก็ ขอตัวออกมา พี่จำรัสรออยูกอนแลว ผมถามขอสงสัยที่ ติดคางตั้งแตเชา “ทำไมไมเห็นถังขยะเหลืองๆ เขียวๆ หรือจำพวกถังน้ำมันใบใหญๆ สีนำ้ เงินทีมี่ ใหเห็นดาดดืน่ เหมือนที่อื่นเลยครับ” พีจำรั ่ สยิ้ม

31


32 ÍØâÁ§¤

4

¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒâÂÐáÅÐ ¡Ò÷ӻ؉ ËÁÑ¡ªÕÇÀÒ¾ â´ÂªØÁª¹ºŒÒ¹»†ÒàÊŒÒ ËÁÙ‹ 9 พี่จำรัสตอบวา “คงตองวากันยาว เดี๋ยวผมพาไปหมู 9 บานปาเสาดีกวา ทีนั่ น่ เปนแหลงเรียนรูหนึ  ง่ ในเรือ่ งระบบ การจัดการสิ่งแวดลอม” แลวพี่จำรัสก็พาขึ้นรถกระบะ ระหวางเดินทางพี่ จำรัสเลาวา “เดิมทีที่ปาเสามีปญหาเรื่องไขเลือดออก ครับ เชื่อไหมวาหลังจากหาตนตอ เราก็พบวาอยูที่การ จัดการขยะที่ไมไดผล” “ขยะนี่นะพี่ เกี่ยวยังไงกับไขเลือดออก ?” “ก็เพราะขยะมีมากนะสิครับ” พี่จำรัสบอก “คนใน ชุมชนจึงระดมความคิดกันจนตกลง กันไดวา ใหมีคณะ กรรมการจัดการขยะ 2 ชุด คือ ชุดแรกวาดวยขยะอินทรีย


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ปุย หมัก และ ชุด ที่ สอง วา ดวย ธนาคาร วัสดุ รีไซเคิล ขยะ ทั่วไป โดยเลือกคณะกรรมการที่มีความสามารถเฉพาะ ดาน แรกๆ ก็ มี เพียง 48 ครัว เรือนเขา รวมโครงการ เวลาผานไปการดำเนินงานของศูนยฯ ไดรับความรวม มือจาก ทุก ภาค สวน เปน อยางดี ทั้ง ภาค รัฐและ เอกชน ใหการสนับสนุนทั้งดานงบประมาณ บุคลากร วัสดุและ อุปกรณ เทศบาลตำบลอุโมงคไดใหการสนับสนุนวงขอบ ซีเมนต เพือ่ ทำทีหมั ่ กปุย ในครัวเรือน รวมทัง้ มีการแนะนำ และถายทอดเทคนิคการทำปุยหมักจากเศษไมและเศษ อาหารแกนักเรียนในโรงเรียนบานปาเสาโดยเฉพาะเรือ่ ง การ คัด แยก ขยะ ซึ่ง ผลลัพธ คือ เกิด การ จัด ตั้ง ธนาคาร ขยะในโรงเรียน รวมทั้งวัดปาเสาไดจัดใหมีการคัดแยก ขยะในวัดและนำเศษอาหารมาทำปุย พวกธูปเทียนทาง กลุม ผูสูงอายุไดนำไปทำดอกไมจันท สวนดอกไมทาง วัดไดสรางบอเพื่อนำดอกไมและเศษอาหารทำปุยหมัก กลับมาใชประโยชนในวัดและชุมชน นอกจากนีก็้ มีหนวย งานตางๆ อาทิเชน สำนักงานธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จ.ลำพูน สำนักงานสิ่งแวดลอมภาค 1 จ.เชียงใหมและ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดมาใหความรูใน  ดาน วิชาการเพื่อนำมาปรับใชกับการจัดการ” พี่จำรัสอธิบาย อยาง ละเอียด ทำใหผม ทราบวา ผล จากการดำเนิน งาน อยางตอเนื่องทำใหชุมชนบานปาเสาไดรับรางวัลตางๆ

33


34 ÍØâÁ§¤

มากมาย โดงดังไปทัว่ ประเทศ ปจจุบนั ศูนยบริหารจัดการ ขยะโดยชุมชนบานปาเสา หมู 9 ไดยกระดับเปนแหลง ศึกษาดูงานแหลงสำคัญของตำบลอุโมงค ซึ่ ง ราย ละเอี ย ด ของ วิ ธี การ จั ด การ นี้ น า สนใจ สามารถ นำ ไป ปรับ ใชได กลาว คือ ครัว เรือน ที่ เขา รวม โครงการจะไดรับถุงขยะมีตราเทศบาลแจกฟรี ทัง้ แบบใส ขยะแหงและแบบใสขยะเปยก โดยคิดจากจำนวนสมาชิก ในครัวเรือนซึง่ สองคนไดหนึง่ ใบตอสัปดาห (ซึง่ กอนหนา นีเคย ้ ขายใบละ 6 บาท) ครัวเรือนใดไมเขารวมตองซือ้ ใน ราคาใบละ 20 บาท ถามวาทำไมตองซื้อ ตอบไดงายๆ วา หากไมใชถุงขยะของทางเทศบาลๆ ก็จะไมเก็บขยะ ให ดูแลวเหมือนมัดมือชกแตก็ไดผลโดยเฉพาะกับสังคม ที่เปนกึ่งเมืองกึ่งชนบทเชนนี้ “มีแอบไปทิ้งที่ไมใชที่ของตัวเองบางไหม อยางที่ รกรางวางเปลา” ผมถาม “คุณไปกับผมมานี่เห็นบางไหมละ” พี่จำรัสยอน ถาม “ไมมใช ี ไหม มันเปนมาตรการทางสังคมอยางหนึ่ง หากบานไหนแอบไปทิง้ หรือมาทิง้ ในทีของ ่ เขา ก็จะมีการ แจงตำรวจบาง แจงเทศบาลบาง เราก็จะเขาไปจัดการพูด คุย เดี๋ยวนี้ไมมแล ี ว เพราะแคเขารวมโครงการ ขยะที่มีก็ ใสในถุง มัดปากถุงวางไวหนาบาน ถึงเวลาเราก็มีรถไป เก็บ ไมยากอะไร”


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เปน อัน เคลียร! ชัดเจน กับวิธี การ นี้ ซึ่ง เทศบาล หรืออบต.เจาของพื้นที่ที่จะนำไปปรับใชอยางนอยก็ตอง เอก ซเรย พื้นที่ ของ ตน ให ทั่ว กอน มิ ฉะนั้น ปญหา เรื่อง แอบไปทิ้งที่อื่นคงแกไมไดหรือมาตรการทางสังคมคงไม ไดผล นอกจาก นี้ ขยะ ยั ง นำ ไป ทำ ปุ ย หมั ก ชี ว ภาพ ได อีก ดวย เปนการ แกไข ปญหา ที่ เกิด จาก ปุย เคมี มี ราคา แพง ซึ่ ง กิ จ กรรมที่ ช าวบ า นร ว มคิ ด ร ว มทำทั้ ง หมดนี้ ไดนำไปสูความสามัคคี เพิ่มรายไดใหกับสมาชิก และ กลายเปนแหลงเรียนรูของชุมชนในที่สุด

35


36 ÍØâÁ§¤

5

äºâÍ´Õà«Å

เมื่อขึ้นรถผมถามพีจำรั ่ สวาพาผมตระเวนอยางนี้ น้ำมัน ที่ใชคงเบิกไดใชไหม พี่จำรัสตอบวาไดครับ “ทีอุ่ โมงคเรา ผลิตไบโอดีเซลใชเองนะครับ โดยเฉพาะรถทีใช ่ ในกิจการ ของเทศบาล เดี๋ยวผมพาแวะเทศบาลเพื่อใหไดเห็นการ ผลิตไบโอดีเซลกันเลยดีไหม” “ดีครับ” “ไบโอดีเซลเปนพลังทดแทนดีเซลไดดีอยางหนึ่ง ชวยลดคาใชจายทางดานนี้ของเทศบาลไปไดเยอะ”


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

พีจำรั ่ สแนะนำใหผมรูจ กั กับคุณเฉลิมชัย มูลเจริญ หนึง่ ในเจาหนาทีผู่ ดู แลศูนยการเรียนรูไบ  โอดีเซลซึง่ กำลัง เติมน้ำมันใหกับรถคันหนึ่ง คุณเฉลิมชัยเลาวา ที่นี่ผลิตน้ำมันไดวันละ 100300 ลิตร โดย รถ ทุก คัน ใน เทศบาล จะ เติม น้ำมัน ที่ นี่ นอกจากนีก็้ เปดใหประชาชนเขามาเติมไดโดยคิดลิตรละ 27 บาท น้ำมันที่ใชในการผลิตเปนน้ำมันพืช เมื่อกอน เคยใชน้ำมันสัตวแตเนื่องจากหายากจึงเลิกใชไป แหลง น้ำมันพืชทีนำ ่ มาใชก็ไดจากสองแหลง คือประชาชนทัว่ ไป กับรานคานำน้ำมันพืชใชแลวมาขายเองทีนี่ กั่ บนำรถไปซือ้ น้ำมันเกาจากบริษทั เอกชนในพืน้ ทีซึ่ ง่ ไดมาจากแหลงหลัง นี้มากที่สุด “อยางนอยที่สุดก็ลดภาระคาใชจายดานพลังงาน ใหกับเทศบาลและคนในชุมชน” คุณเฉลิมชัยกลาวทิ้ง ทาย

เฉลิมชัย มูลเจริญ

37


38 ÍØâÁ§¤

6

àμÒÍѧé âÅ‹»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹

เมื่อพูดถึงพลังงานไบโอดีเซลแลว ที่ อุโมงค แหง นี้ มี อีก แหลง เรียน รู หนึ่ง ที่ เกี่ ย ว กั บ ด า น พลั ง งาน ทดแทน ที่ สำคัญ ซึ่ง ก็ คือ การ ผลิต และ ใช เตา อั้งโลกันในชุมชน พี่ จำรัส ได พา ไป พบ กับ พี่ ราวี ไชย วรรณ ซึ่ ง เล า ว า ที่ อุโมงค ปลูก ลำไย กัน มาก และ ราวี ไชยวรรณ จำเปน ตอง ตัด กิ่ง ลำไย ทิ้ง ทุก ป เตาแบบเกาที่ใชกันมามักจะเผา กิ่งลำไยที่วานี้(ซึ่งใชเปนเชื้อเพลิง)ไดไมดีนัก แตเตาชนิด ที่ใชอยูทุ กวันนี้ใหความรอนสูงและใชเชื้อเพลิงนอยกวา ป จ จุ บั น ครั ว เรื อ นที่ ยั ง ใช เ ตาต า งหั น มาใช “เตาซุปเปอรอั้งโล”กันหมดแลว สำหรับ วิธี การ ผลิต เตา ซู เปอร อั้งโล นั้น มี วิธี การ ดังนี้


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

1. นำดินจากรองลำเหมืองแม

รอง นอย(เทศบาล อนุญาต ให ใช) มาใสถังหมักไวสองคืน

2. ผสมกับแกลบดำในภาพ

3. ใชเครือ่ งตีผสมใหเขากันกัน 4. นำมาขึ้นรูป ประมาณ 5 นาที

39


40

5.

ไดออกมาดังภาพ จาก นั้น ปลอย รอ ให แหง 7 วัน หามตากแดดเด็ดขาด ปลอย ใหแหงเอง แดดจะทำใหแหง เร็วเกินไปและอาจจะมีรอย ราวได

6. จากนั้นใชฟนซึ่งก็มักจะ

ใชกิ่งกานของตนลำไย โดย นำมาเผาในเตา


41

7.

ไดออกมาดังภาพ

8. นำฉนวน(หรือบางคนก็เรียก วาเสื้อ) อยางในภาพนี้มาใสเพื่อ ความแข็งแรงทนทาน

9. เตรียมฉนวนและรังผึ้งประกอบเปนเตา


10.

ที่สุดก็ไดออกมาดังภาพ สามารถผลิตไดวันละ 20-26 ใบ ขายกันใบละ 200 บาท ตนทุนสวนใหญ อยูที่ราคาฉนวน ปจจุบันมีสมาชิกกลุม ทำเตาอั้งโลทั้งหมด 50 ครัวเรือน


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

7

Èٹ ŴâšÌ͹μÓºÅÍØâÁ§¤

ระหวางเดินทางไปหลายแหลงเรียนรู ผานบานรั้วตนชา หลายสิบหลังเพื่อไปที่ศูนยลดโลกรอนตำบลอุโมงค ผม รูสึกสดชื่นสบายตาเหลือเกิน ผมบอกเรื่องนี้กับพี่จำรัส “เดี๋ยวที่ศูนยลดโลกรอน ทานจะสดชื่นสบายตา มากกวานี้อีก” พี่จำรัสบอก จริงดังวา เมื่อ เดิน ทาง ถึง ผม สัม ผัส ได ถึง สภาพ แวดลอมที่รมรื่น เย็นตา สงบและเย็นใจ กอนหนานี้รูสึก อากาศคอนขางรอน แตพอเขาเขตแถวแนวแดนของศูนย นี้กลับปลอดโปรงรูสึกโลงสูดหายใจไดเต็มปอด อาจารย วิโรจน นิ ไทรโยค ผู อำนวย การก อง ศึกษา ใน ฐานะ วิทยากร หลัก ประจำ ศูนย ลด โลก รอน ใหการตอนรับ

43


ศูนยลดโลกรอนประกอบดวยสองอาคาร อาคารแปดเหลี่ยมหรือเฮือน แปดเหลี่ยมและอาคารปูน

อาจารย เล า ความ เป น มา ของ ศู น ย นี้ ว า ใน ป พ.ศ.2548 เทศบาล ตำบล อุโมงค ได รวม กับ โรงเรียน อุโมงควิทยาคม จัดทำ “โครงการลดเมืองรอนดวยมือ เรา” เพื่อสงใหสถาบันสิ่งแวดลอมไทย (ซึ่งรวมกับบริษัท โตโยตามอเตอร ประเทศไทย จำกัด) พิจารณาคัดเลือก และไดรับการคัดเลือกในที่สุด โครงการนี้ไดรณรงคให คนในทองถิ่นตระหนักถึงความสำคัญของพลังทองถิ่น และพลังของเยาวชนในทองถิ่น ในการรวมมือกันลด การ ปลอย กาซ เรือน กระจก สู ชั้น บรรยากาศ ดวย การริเริ่มสรางสรรคกิจกรรมตางๆ เริ่มที่โรงเรียน,

อาจารยวิโรจน นิไทรโยค


ทัศนียภาพรอบศูนย

สำนักงานเทศบาล รวมกันขยายผลไปสูครอบครัวและ ชุมชน “แรกๆ ชาวบานก็ไมคอยเขาใจหรอกครับ ยิ่งจะ โยงไปเกี่ยวกับลดโลกรอน หนักเลยครับ คนเราจะไป ทำใหโลกหายรอนไดอยางไร แลวตอนนี้โลกรอนอยูหรื  อ อะไรทำนองนี้” อาจารยวิโรจนโบกมือพลางยิ้มกอนจะ กลาวตอวา “เดี๋ยวนี้ชาวบานพอแมผูปกครองเขาใจกัน หมดแลว ก็น้ำทวม ดินถลม ฝนไมตกตามฤดูกาล เปน รูปธรรมชัดเจนเสียอยางนี้ นอกเหนือจากการใหความ รู แก เยาวชน แก นักเรียน ของ เรา ให ไป บอก กับ พอ แม ผู ปกครองอีกตอหนึ่ง “แนวคิดของการทำศูนยลดโลกรอนนีขึ้ น้ มา เพราะ เรา อยาก ได แนว รวม การ เล็ง เห็น ความ สำคัญ ของ สิ่ง แวดลอมก็สำคัญ แตเราตองมีเพื่อนรวมแนวคิด การสง


46 ÍØâÁ§¤

โครงการจึงเกิดขึ้น ผมเขียนโครงการเอง นายกฯ ขยัน ใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ เราไดรับการสนับสนุนจาก โตโยตามาอยางตอเนื่องหาปแลว อาคารแปดเหลี่ยมที่ เห็นนีก็้ คือผลผลิตจากโครงการ ทัว่ ประเทศมีสองแหงเอง นะครับ อีกแหงก็ที่ทุงสง นครศรีธรรมราช” จากนั้นมาอาจารยวิโรจนไดจัดทำโครงการอยาง ตอเนื่อง อาทิ “โครงการไฟฟาพารวย” ในป พ.ศ.2550 รวมกับการไฟฟาลำพูน โดยใหนักเรียนดูใบเสร็จคาไฟฟา หาเดือนแรกของปทีแล ่ วยอนหลังแลวจดไว จากนัน้ ก็รวม กันประหยัดการใชไฟฟาภายในบานในปนี้ทีละเดือน “ผานไปหาเดือนเรื่องงายๆ อยางการ ถอดปลั๊ก อุปกรณไฟฟาที่ไมไดใชออก หรือการปดไฟดวงที่ไมใช เทียบกันแลวหาเดือน ลดเห็นกันจะๆ ชัดเจนเลยครับ” อาจารยวิโรจนกลาว ยังไมหมดครับ อีกโครงการทีผม ่ วานาสนใจมาก ใน ชวงน้ำทวมใหญที่ผานมาเราคงเคยไดยิน ลูกบอลอีเอ็ม หรือ อีเอ็ม บอลที่ นำไปใส บริเวณน้ำ เนาขัง เพื่อเปนการ ยอย สลาย จุลินทรีย ซึ่งโดยทั่วไปอีเอ็มบอลจะทำจาก รำขาว แตที่อุโมงคนั้นเขาใช “เปลือกลำไย” ทำ “อีเอ็มบอลคนญีป่ นุ เคาเรียกวา ดังโหงะ ผมก็เรียก จนติดปากตาม ไมไดเรียกอีเอ็มบอล ทีอุ่ โมงคทำลูกเทาๆ กับไขเค็มครับ ไมใหญเลย แตไดประสิทธิภาพสูง ไมแพ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

อีเอ็มบอลที่อื่น” อาจารยวิโรจนยิ้ม กอนจะกลาวตอวา “ที่อุโมงคเราปลูกลำไยมาก มีการทิ้งเปลือกปลอยไวจน เหม็นเนา ไรประโยชน เห็นทุกวันจนชินตา เนื่องจาก เปลือก ลำไย พวก นี้ ทิ้ง ไว ก็ จะ ยอย สลาย เอง ได เรา จึง เกิดความคิดแทนที่จะใชกากน้ำตาลและรำ ก็ใชเปลือก ลำไยแทนทั้งสองอยางนี้ไดเลย” อาจารยวิโรจนชีไป ้ นอก หนาตาง “แถวๆ หมู 8 โดยเฉพาะหนาศูนยลดโลกรอน เมือ่ กอนน้ำเนามาก เรานำดังโหงะเปลือกลำไยของเราไป ทิ้งลงน้ำ เจ็ดวันผานไปไดคาน้ำพีเอช 8 เลยทีเดียว” ผมอดทึ่งไมได

47


48 ÍØâÁ§¤

อุโมงคยอนคิด สวนแสดงหนึ่งที่จัดแสดงอยูภายนอก  อาคาร

ปจจุบนั ทางเทศบาลไดทำโครงการ ‘เฮือนแสนสุข’ เปนพื้นที่สรางสรรคสำหรับเด็กและเยาวชนในดานการ อนุรักษสิ่งแวดลอมในชุมชน รวมไปถึงครอบครัวและคน ใกลเคียงในการรวมกันดำเนินกิจกรรมผานกระบวนการ มี สวน รวม ของ ผูนำ ชุมชน องคกร ชุมชน ตลอด จน ภาค ประชาชน ทุก ระดับ เริ่ม ตั้งแต การ คนหา ปญหา การ วางแผนการดำเนินงานและการติดตาม ผล จนนำไปสู การแกไขปญหาสิ่งแวดลอมในตอนทาย ที่เอยมาเปนเพียงสวนหนึ่งของโครงการของศูนย ลดโลกรอนที่อุโมงคเทานั้น ผมไดแวะเขาชมศูนยลดโลกรอน อาจารยไดให การดผมใบหนึ่ง ในนั้นบรรจุคำวา “สัจจะลดโลกรอน” แลวใหผมลงชื่อไว


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

นอนมุงกับแม ลดโลกรอน

“บั ต ร หรื อ การ ด นี้ ผม จะ ให ทุ ก คน โดย เฉพาะ นักเรียน ที่ เขา มา ชม ศูนย ทำ สัญญา เพื่อ จะ ชวย กัน ลด ภาวะโลกรอน” เขาทาแฮะ ผมคิด!!

สวนแสดงหนึ่งภายในเรือนแปดเหลี่ยมซึ่งแสดงวิถชี​ี วิตและชาวของ เครื่องใชในอดีต

49


50 ÍØâÁ§¤

8

Èٹ àÃÕ¹ÃÙàÈÃÉ°¡Ô Œ ¨¾Íà¾Õ§ μÓºÅÍØâÁ§¤


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

“ออกจากศูนยลดโลกรอน ผมรูสึกอยากเปนคนดี” ผม พูดกับพีจำรั ่ ส พีจำรั ่ สยิม้ “เดีย๋ วผมพาไปยังหมู 10 บานชัยสถาน คุณยิ่งอยากเปนคนดีมากขึ้น” หนนี้ผมยิ้มบาง พี่จำรัสพูดตอ “ที่นั่นเปนศูนยการ เรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงตำบลอุโมงคครับ ศูนยนี้เกิดขึ้น ตามคำขวัญของอุโมงคที่เขียนไววา ‘อุโมงคเมืองนาอยู อย า ง ยั่ ง ยื น ’ ซึ่ ง เป น นโยบาย ที่ จะ พั ฒนา ตำบล ให มี ความนาอยูอยางยั่งยืนถาวรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “โดย เริ่ม ตน โครงการ ใน ป พ.ศ.2551 ใช พื้นที่ บริเวณบานชัยสถานจำนวน 45 ไร (แรกเริ่มเดิมทีมีอยู 23 ไร ตอมาซื้อเพิ่มอีก 22 ไร) ปรับปรุงเปนศูนยเรียน รูชุมชนตามแนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปด ตัว โครงการ โดย การ จัด งาน วัน เกษตร อินทรีย วิถี พอเพียงของเทศบาล ซึ่งกิจกรรมในงานประกอบดวย การอบรมบรรยายใหความรู, สาธิตการทำเกษตรอินทรีย, สาธิตพลังงานชุมชน, การเสวนาและการจัดนิทรรศการ ตางๆ กิจกรรมความรวมมือของเครือขายภาคีเหลานี้ ไดรับความรวมมืออยางดีทัง้ จากสวนราชการดวยกันเอง และภาคเอกชน” ผานประตูทางเขาผมสัม ผัสไดถึงอากาศที่สดชื่น

51


มองไปเบื้องหนาเต็มไปดวยสีเขียว พี่จำรัสบอกวาที่จริง ตอนแรกตั้งใจจะใหผมพักที่นี่ แตเห็นวาการเดินทางจะ ไมสะดวกเพราะไกลออกมา พี่จำรัสจอดรถนำผมเดิน ไปยังเรือนหลังหนึง่ ทักทายกับพีผู่ ช ายซึง่ กำลังจัดแจงนำ ไขไกลงถุงพลาสติก “เลี้ยงไกดวยหรือครับ” พีเขา ่ ยิ้มรับ “เดี๋ยวจะไปสงแมคาทีตลาด” ่ ภายในพืน้ ทีกว ่ างขวางนัน้ ผมสังเกตวาจัดสรรเปน แปลงนาแปลงไร คือทำนาปลูกขาว ปลูกพืชผัก พืชไร พืช สวนครัว มีไมผลเด็ดกิน มีโรงเรือนเลีย้ งไก เลีย้ งหมู เลีย้ ง เปดไข มีบอเลีย้ งปลา มีรองผัก รัว้ ผักสวนครัว มีการเลีย้ ง วัวขาวลำพูนซึ่งเปนวัวพื้นเมือง มีการทำปุยอินทรียและ


พืชผักปลอดภัย ทั้งหมดก็เพื่อการสาธิตใหเห็นถึงความ เปนทฤษฎีใหมตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่แบงเปน 3 สวน สวนแรกเพื่อการดำรงชีวิต เปนการบริโภคอาหาร สะอาดปลอดภัย ชีวิตมีความสุขระดับหนึ่ง สวนที่สอง เมื่อชีวิตกินอิ่มและมีผลผลิตมาก เมื่อเหลือก็นำออกมา ขายแลกเปลีย่ นกันภายในชุมชนและสวนทีสาม ่ เมือ่ มีขาย จากการมีผลผลิตที่มากขึ้นก็สามารถจัดตั้งเปนสหกรณ นำไปขายนอกหมูบ า น เรือ่ งของเศรษฐกิจพอเพียงจึงเปน แนวทางของการจัดการทรัพยากรทีมี่ อยูอย  างจำกัด สอน ใหรูจ กั กับความพอใจกับความสุขซึง่ ไดจากการปฏิบตั ตน ิ ตามความพอเพียงนั่นเอง นอกจากนีทาง ้ เทศบาลตำบลอุโมงคยังมี ‘โครงการ


54 ÍØâÁ§¤


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

1 ไร 1 แสน’ เปนการนำพื้นที่มาบริหารจัดการใหเกิด ประโยชน สูงสุด เชิง นิเวศน เพื่อ ตอบ สนอง แนวคิด เรื่อง การลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและสรางความยั่งยืน ใหกับชุมชน โดยจัดสรรพื้นที่เปน 30 30 30 และ 10 ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทั้งที่นา พืชผัก ไม ผล การเลี้ยงสัตว แหลงน้ำและทีอยู ่ อาศัย โดยตัวอยาง แปลงนา 1 ไร 1 แสนที่ทางเทศบาลทำเปนตัวอยางให เกษตรกรดู นี้ ปลูก ขาวเหนียวสันปาตอง และ ขาว หอม มะลิแดง เนื่องจากไดผลผลิตดีในพื้นที่ี เมื่อไดผลผลิต ก็แปรรูปเปนขาวกลองขายเอง เลี้ยงปลาดุก เลี้ยงกบใน รองน้ำ เลี้ยงไก ปลูกตะไคร ปลูกพืชผัก น้ำเตา ฟกแฟง และตะไครหอมเปนรั้วรอบสวน ผลผลิตเหลานี้ขายเอง ในนามเทศบาล เมื่อนับรายไดเบ็ดเสร็จแลวมากกวา 1 แสนบาท “หัวใจ สำคัญ ก็ คือ ตอง ขยัน เอาใจ ใส งานที่ทำทุกอยาง” พีจำรั ่ สบอก

55


9

¡ÅØÁ‹ ¤ÃÑÇàÃ×͹ àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§ (84 ¤ÃÑÇàÃ×͹) ผมครุนคิดบางอยางระหวางทาง... ถึงบานลุงอุทิศ กันทะอุโมงค ซึ่งเปดเปนแหลง เรียนรู เวลานั้นลุงอุทิศกำลังบรรยายใหกลุมเยาวชนที่ เดินทางมาจากกรุงเทพฯ ฟงอยู ผมนั่งฟงจับใจความ ไดดังนี้ ทาง เทศบาล เปด โครงการ ดำเนิน ชีวิต ตาม แนว เศรษฐกิจพอเพียงในป พ.ศ.2552 เปนปแรก มีคนเขา รวมโครงการดวยความสมัครใจเริ่มตนจำนวน 84 ครัว เรือน จึงเปนที่มาของชื่อโครงการ ครัวเรือนที่สนใจเขารวมตองผานการฝกอบรมซึ่ง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ปจจุบันมีทั้งสิ้น 252 ครัวเรือนทำกิจกรรมใน 7 ดาน ไดแก 1.กลุม ปศุสัตว อินทรีย 2.กลุม ทำ นา อินทรีย 3.กลุม ผลิต พืช ผัก อินทรีย 4.กลุม พลังงาน ทดแทน 5.กลุม ผลิตปุยอินทรีย 6.กลุม ผลิตน้ำหมักชีวภาพ และ 7.กลุมแปรรูปผลผลิต โดยสนับสนุนใหมีโอกาส แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ ่งกันและกัน หนุนเสริมความรูทาง เทคนิควิชาการตางๆ เพื่อใหแตละครัวเรือนพึ่งตนเอง ไดทุกดาน โดยสมาชิกแตละคนตองรวมกันทำความดี 7 ประการนอมถวายเพือ่ เปนพระราชกุศลแดพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสที่พระองคทาน พระชนมายุครบ 84 พรรษา ในป 2554 ซึ่งถือเปน โครงการ ที่ เนน การ พัฒนา ครัว เรือน อยาง มี คุณภาพ ผลลัพธ จาก โครงการ ทำให สมาชิก ลด ราย จาย ใน ครัว เรือน จาการงดซื้อสารเคมีและปุย ไดปลูกผัก เลี้ยงสัตว ไมตองซือ้ และไดบริโภคเอง สามารถสรางรายไดจากการ จำหนายอีกทางดวย “ทุกวันนี้แตละบานที่เขารวมโครงการก็ ยังคงปลูกผัก เลี้ยงหมู เลี้ยงไก โดยมีแนวคิด วาถาเราไปซือ้ ทีตลาด ่ ไดไมสดและราคา แพงกวา หากปลูกเองจะไดของสดของ ถูกและไดชีวิตที่ปลอดภัย เพราะแมแต อุทิศ กันทะอุโมงค

57


58 ÍØâÁ§¤

ปุ ย ที่ ใช ก็ เป น ปุ ย หมักชีวภาพทีเดี ่ ย๋ ว นีทุ้ กบานทำกันเอง เปนหมดแลว” ลุง อุ ทิ ศ กล า ว กั บ ผม ภาย หลั ง เสร็ จ สิ้ น การ บรรยาย ให กลุมเยาวชนฟง เย็ น วั น นั้ น หนอไมสดที่แมยนตตมกับหมูใหผมรับประทาน ผักสด ที่ทำสลัดใหผมแกลมก็มาซื้อที่บานลุงอุทิศ แมยนตเลา วา “ที่บานลุงอุทิศแกขายตลอดเวลา ใครไปซื้อก็ลงไป เลือกไปตัดกันเอาเองสดๆ ในแปลงผักเลย” ตมหนอไมสดเย็นนัน้ อรอยมาก ผมรับประทานไป สองชามโตพรอมกับสลัดผักหวานกรอบปลอดภัยรสเยีย่ ม มื้อหนึ่งในชีวิตทีเดียว



60 ÍØâÁ§¤

10

¡ÅØÁ‹ »ÅÙ¡¾×ª¼Ñ¡»ÅÍ´ÀÑ ËÁÙ‹ 10

เดิน ทาง กลับ ไป ยัง หมู 10 บาน ชัย สถาน ซึ่ง เปน บาน ของพี่ประยูร บุญธรรม ในฐานะประธานกลุมปลูกผัก ปลอดภัยยืนตอนรับอยูหนาบาน หลังการดื่มน้ำพูดคุย กันเรื่องทั่วๆไป ผมก็ยิงคำถามทีสนใจ ่ “ทำไมถึงมาปลูกผักปลอดภัยครับ เมือ่ กอนเห็นวา เรียกผักปลอดสารพิษใชไหมครับ” “แยกตอบเปนสองคำตอบนะครับ” พี่ประยูรยิ้ม “แรกเริม่ ก็ทำนาครับ ทำนานเขาดินก็เสือ่ ม ปุย ทีใส ่ ลงนาก็ ตองมากขึน้ ๆ รางกายก็รบั สารพิษมากจนไมไหว ตองวน


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เวียนเขาโรงหมอ คือยิ่งทำยิ่งจนครับ ก็เลยมาคิดกันในครอบครัว สุดทาย ก็ปรึกษาทางเทศบาลๆ พาไปหานัก วิชาการเกษตรก็ไดคำแนะนำมาวาให ลดพืน้ ทีปลู ่ กขาวลง หันมาปลูกผักบาง แรกๆ ก็ไมเขาใจ แตยอมทำตาม จาก ปลูกผักหนึ่งในสี่ก็เพิ่มขึ้นๆ จนกลาย เปนครึ่งหนึ่ง แลว ที่สุด ผม ก็ รูสึก วา แข็งแรงขึน้ สบายใจขึน้ ไมรทำไม ู นะครับ สุดทายผมก็เลิกทำนา ปลูกผักอยาง เดี ย ว แต เป น ผั ก หมุ น เวี ย น นะ ครั บ ตอนแรก ที่สุดก็ปลูกหลายๆ อยาง พรอมกัน อยางที่เห็นนี่” “มีคนเห็นพี่ประยูรทำ ก็เลยสนใจอยากทำบาง ใชไหม?” “ครับ ญาติกอน แลวขยายออกไป ทีนี่ ขอ ้ ตอบเรือ่ งทำไมเรียกวาปลอด สารพิษในตอนแรก” พี่ประยูรพูด “มันยากครับที่จะไดเปน ผักปลอด สารพิษจริงๆ แคเกษตรอินทรียก็ ยากแลว ผมวาแคปลอดภัยนี่ ปลูกโดยไมใสยา ดูแลทุกขัน้ ประยูร บุญธรรม

61


62 ÍØâÁ§¤

ตอนโดยไมใชสารเคมีก็พอแลว ไปๆมาๆ ยากกวาอีกนะ” พี่ประยูรหัวเราะ โดยหลักการขั้นตอนการปลูกผักใหไดเปนเกษตร อินทรีย เกษตรปลอดสารพิษมีขัน้ มีตอนตามหลักวิชาการ มา รับรอง อยู พอ สมควร โดย ระยะ แรก จะ ใช รับรอง วิธี การ ตางๆ ไดแก 1. รับรอง พื้นที่ วา เหมาะ สมใน การ ผลิตแบบเกษตรอินทรีย 2. รับรองการผลิตแบบเกษตร อินทรีย 3. รับรองปจจัยการผลิตแบบเกษตรอินทรีย จึง มีขอสรุปหลักการสำคัญของเกษตรอินทรียไว  4 ขอ คือ สุขภาพ, นิเวศวิทยา, ความเปนธรรมและการดูแลเอาใจ ใส (health, ecology, fairness and care) จากขอมูลของสำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตร และอาหารแหงชาติ (มกอช.) ระบุวา เกษตรอินทรียเป  น ระบบการจัดการดานการเกษตรแบบองครวมทีเกื ่ อ้ หนุน ตอระบบนิเวศน, วงจรชีวภาพและความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยเนนการใชวัสดุธรรมชาติ หลีกเลี่ยงวัตถุดิบ ที่ไดจากการสังเคราะหและไมใชพืช สัตว หรือจุลินทรีย ที่ไดมาจากการดัดแปรพันธุกรรม (Genetic Modification) หรือพันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) มี การจัดการกับผลิตภัณฑ โดยเนนการแปรรูปดวยความ ระมัดระวัง เพื่อรักษาสภาพการเปนเกษตรอินทรียและ คุณภาพที่สำคัญของผลิตภัณฑในทุกขั้นตอน


11

Èٹ àÃÕ¹ÃÙàŒ ¡ÉμüÊÁ¼ÊÒ¹ ถึงเวลานี้แลวผมเริ่มเห็นทางไดชัดเจนขึ้นแลววา ชีวิตที่ มีความหมายกับการแสวงหาความหมายของการมีชีวิต นั้นเปนอยางไร ขณะ นี้ ผม กั บ พี่ จำรั ส เดิ น ทาง ถึ ง บ า น ป า อุ ษ า วีระสะ เจาของเสียงหัวเราะและอัธยาศัยอันงาม ปาอุษาอายุกวา 72 ปแลวแตสุขภาพยังแข็งแรง ปาบอกวา “ถาเรามีสุขภาพดี เราก็พารางกายไปไดทุก ที่” “ปารักษาสุขภาพอยางไรครับ” “กินที่ปลูก ปลูกที่กิน” ปาอุษาพูดพลางหัวเราะ อยางคนอารมณดีตลอด จากนั้นก็พาเราไปชมสวนชม ไร


64 ÍØâÁ§¤

ระหวางทีพา ่ ชม ปาเลา วา “ปาปลูกผักสวนครัวหลาย อยางปนกัน ไมใชปุยเคมี ใช ปุย อินทรีย” แลวปาก็ชีให ้ ดูตน กลาที่เพาะเตรียมไว “ปาเลี้ยงไก เลี้ยงปลา ตามแนวทางเกษตรพอเพียง ตามธรรมชาติ” “ป า ปลู ก ผั ก หวาน ป า ปลูก ไม ยืนตน ไม ใชสอย ไว กินดวย” “น้ำทา ไม เคย ขาด ปา คัดแยกขยะเอง บานปาแทบ ไมมขยะ ี ขยะเอาไปทำน้ำหมัก ปุยหมัก” ผมพูดบาง “คนเขาพูดกันวาเปนเกษตรกรยากจน ไม มี กิน ปาคิดวาไง” “คุ ณ ดู ป า สิ ” ป า หั ว เราะ ร ว น “เหมือน คน ไมมี ความ สุข ตรง ไหน คน เรานะ ถึงยากจนก็เหมือนมั่งมี ถา พอใจในสิ่งที่ตัวเองมี ถึงมั่งมีแตก็ อุษา วีระสะ


เหมือน ยากจน ถา ไม พอใจในสิ่งที่มีอยู” ก อ น จะ จาก มา ผม สังเกต เห็น กระดาษ แผน หนึ่ง เขียน ขอความ ดวยลายมือติดบน ผาไวนิลแขวนอี แขวนอีกที ผมมองแล ผมมองแลวจาก มาอยางมีความสุข


66 ÍØâÁ§¤

12

Èٹ ºÃÔ¡ÒÃáÅж‹Ò·ʹ à·¤â¹âÅÂÕà¡Éμà เดิน ทาง มา ถึง ศูนย บริการ และ ถายทอด เทคโนโลยีเกษตร พี่จำรัสพูดถึงการมีอยู ของศูนยแหงนี้วา “เปนนโยบายพื้นฐาน ของรัฐครับ ในเรือ่ งสงเสริมการรวมตัวของ เกษตรกร เพื่อวางแผนพัฒนาการเกษตร ภาย ใต หลัก การทีประชาชน ่ มีสวนรวมคิดรวมตัดสินใจ ในการกำหนดแผนการพัฒนาพื้นที่ดวยตนเอง เทศบาล เรา จึง ได จัด ตั้ง ศูนย แหง นี้ ขึ้น เพื่อ เปน ศูนยกลาง โดย เทศบาลใหการสนับสนุนดานการบริการและถายทอด เทคโนโลยี ทั้ง ดาน พืช ปศุสัตว ประมง รวม ทั้ง ขอมูล ขาวสารการเกษตรที่สำคัญแกเกษตรกรในเบ็ดเสร็จจุด เดียว คือทีศู่ นยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลแหงนี”้ พีจำรั ่ สหันมองไปรอบๆ กอนจะพูด ตอวา “เราไมเนนในเรื่องของอาคาร สิ่งกอสราง แตจะ เนนดานความสำคัญของชุมชนเปนหลัก”


13

ÇÔ·ÂتØÁª¹μÓºÅÍØâÁ§¤ áÅЫÍÁ¾Í¹ÔÇÊ

กลับมาที่ทำการเทศบาลอีกครั้ง ไดเวลาจัดรายการวิทยุ สื่อสารกับชาวบานเปนประจำทุกวัน พี่จำรัสของเรารับ หนาที่เปนผูจัดรายการ นอกเหนือจากเปนเจาของคลื่น ความถี่ 91.75 MHZ แหงนี้


68 ÍØâÁ§¤

ในภาพพี่จำรัสกำลังจัด รายการ โดย สั ม ภาษณ เหล า บรรดาเยาวชนทีม่ าทำกิจกรรม และดูงานที่ตำบลอุโมงค จาก นั้น เมื่อจบ รายการ พี่ จำรัส คุย กับ ผม ถึงที่ มา ที่ ไป ของวิทยุชุมชนแหงนี้ “การสื่อสารมีหลายชอง ทาง หลายวิธี การใชเทคโนโลยี ทีเข ่ าถึงชาวบานไดงายอยางวิทยุก็เปนชองทางหนึง่ นอก เหนือจากจดหมายจากเทศบาล ‘ซอมพอนิวส’ ที่ออก เปนรายเดือน เพิ่งออกฉบับที่ 1 พฤษภาคมปนี้เองครับ (พ.ศ.2555)” ซอมพอนิวสมีลักษณะเปนแผนเอกสารเอสี่หนึ่ง แผน บรรจุ ขาวสาร ใช เนื้อที่ เต็ม ทั้ง หนา หลัง วาง แจก ภายในที่ทำการและสงไปตามบานประชาชน กอนหนาที่จะมาเปนวิทยุชุมชน เคยใชเสียงตาม สายมากอนตั้งแตป พ.ศ.2543 แตขอเสียมีมากทั้งๆ ที่ คาใชจายเริ่มตนและงบซอมบำรุงไมไดนอยกวาการใช


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ซอมพอนิวส

วิทยุที่เปนคลื่นความถี่เลย หลัง การ แปร ญั ต ติ ได งบ ประมาณ สนับสนุนมาจากเทศบาลตำบล อุโมงค พีจำรั ่ สซึง่ มีประสบการณ การจัดรายการวิทยุมากอนหนา นี้ สิ บ กว า ป และ มี คลื่ น ความถี่ เปนของตนเองอยูแล  ว จึงใชคลืน่ ของตนเองและงบบประมาณทีได ่ จากทางเทศบาลบางสวนดำเนิน งานวิทยุชุมชนตำบลอุโมงค โดยยึดหลักแนวคิดคือ การ สรางกระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชน ตองมีสวน รวมทุกระดับ รวมวางแผน รวมผลิต รวมกิจกรรม รวม รับฟงและรวมสะทอนปญหาตลอดจนความตองการ เกิด เปนการมีสวนรวม รวมคิด รวมทำในกิจกรรมตางๆ ทีได ่ สื่อสารออกไป “ถือเปนเปนหัวใจของระบบการสือ่ สารขององคกร ปกครองสวนทองถิน่ เลยครับ” พีจำรั ่ สกลาวสรุป ทุกวันนี้ วิทยุชมุ ชนตำบลอุโมงคออกอากาศทุกวันตัง้ แตหกโมงเชา จนถึงสีทุ่ ม

69


70 ÍØâÁ§¤

14

Èٹ ͻ¾Ã. (ÍÒÊÒÊÁѤà »‡Í§¡Ñ¹Àѽ†Ò¾ÅàÃ×͹) ออก จาก ห อ ง จั ด รายการ วิ ท ยุ พี่ จำรั ส พา ไป ยั ง ศู น ย อพปร.หรืออาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือนซึง่ เปนงาน จิตอาสาที่ยิ่งใหญ ไมมราย ี ไดประจำ มีแคคาตอบแทนที่ ไมมาก พี่จำรัสเลาวาทีอุ่ โมงคนี้มี ‘ศูนย อปพร.ตูขาว’  “เปนยังไงครับพี่” “ออ คืออยางนี้ ตอนนั้นป 50 ปเฉลิมฉลองเนื่อง ในวโรกาสในหลวงครบรอบพระชนมายุ 80 พรรษาได มีการติดตั้ง ‘ตูขาวชาวประชาอุนใจ’ 80 ตูและรับสมัคร อปพร. เพิ่มเติมเพื่อมาปฏิบัตหน ิ าทีประจำ ่ ศูนย ซึ่งอยาง ที่ ทราบ กัน อพ ปร.ทำ หนาที่ ปองกัน และ รักษา ความ ปลอดภัยใหกับพลเรือนในเทศบาลโดยเปนกำลังหนุน เสริมงานของตำรวจ อพปร.ตูขาวเป  นการดูแลที่ อปพร. ตำบลอุโมงคทำขึ้นใหประชาชนกับสถานประกอบการมี สวนรวม ผลลัพธที่ตามมาคือประชาชนเกิดการดูแลซึ่ง กันและกัน ปญหาอาชญากรรมก็ลดลงเยอะ”


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

71


72 ÍØâÁ§¤

พี่จำรัสแนะนำใหรูจัก สอ.ทรรศพงษ ธรรมชาติ หัวหนาศูนย อพปร.เทศบาลตำบลอุโมงค เพื่อพูดคุย รายละเอียด “โดยตำแหนงผมเปนเจาหนาทีป่ องกันและบรรเทา สาธารณภัย” พี่ ทรร ศพงษ กลาว “อำนาจ หนาที่ โดย ขอบเขตก็คือรักษาความปลอดภัยและปองปราม โดย รวมมือกับตำรวจ” เมื่ อ ผม ถาม ถึ ง กำลั ง พล พี่ ทรร ศพงษ ตอบ ว า “ประจำ 8 คนครับ เปนอาสาทั้งหมด 265 คน กลางคืน ประจำคืนละ 4 คน” พีทรร ่ ศพงษพูดตอ “ทางเทศบาลมีรถยนตดับเพลิง จำนวน 2 คัน เปนขนาดจุน้ำได 2,500 ลิตรและ 2,000 ลิตร รถยนตดับเพลิงชนิดถังโฟมขนาด 1,200 ลิตร 1 คัน รถบรรทุกน้ำจำนวน 2 คัน เครื่องสูบน้ำชนิดหาบหาม 1 เครื่อง รถปฏิบัติการฉุกเฉินเบื้องตน (FR) 1 คัน ผานการขึ้นทะเบียนเปนพาหนะปฏิบัติ การการแพทยฉุกเฉินเบือ้ งตน มีอุปกรณ ปฐมพยาบาล ครบ มี อุปกรณ การ ดาม และยึดตรึง มีอุปกรณปองกันและควบคุม การติดเชื้อ มีอุปกรณควบคุมสถานการณ มี สอ. ทรรศพงษ ธรรมชาติ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

อุปกรณสื่อสารและมีคูมือการปฏิบัติงานทุกอยางพรอม นอกจาก นี้ คน ของ เรา ก็ ยัง พรอม ทำงาน เสมอ ทุก คน ผานการอบรมอาสาสมัครการแพทยฉุกเฉินมาเรียบรอย สำหรับคนที่ประจำรถอีเอ็มเอสนะครับ” ผม ถาม “มี การ ปฏิบัติ งาน จริง มาก นอย แค ไหน ครับ” พีทรร ่ ศพงษยิม้ ให กอนจะตอบวา “สวนใหญจะรับ สงผูป วยสงโรงพยาบาล เพราะนอกจากรถอีเอ็มเอสแลว เรายังมีรถกระบะอีกสองคัน เปนรถบรรเทาสาธารณภัย 1 คันและรถบริการประชาชนฟรีอีก 1 คัน พวกอุบตั เิ หตุที่ เกิดขึน้ ก็ประปราย สวนใหญไมไดเกิดในชุมชน มักจะเกิด บนซุปเปอรไฮเวยเชียงใหม-ลำปาง เราก็ออกไปสนับสนุน

73


นอกพื้นที่ดวย” ผม พยัก หนา รับ พี่ เขา พูด ตอ “เรื่อง การเต รี ยม พรอม พูดไดวา อพปร.เราพรอมปฎิบัติหนาที่อยูตลอด เวลา มีการบำรุงรักษาโดยเจาหนาที่ประจำรถ รถทุกคัน ในนี้ก็ออกวิ่งทดสอบอยางนอยเดือนละครั้ง ปที่ผานมา มี การ ฝก ซอม บรรเทา สาธารณภัย 2 ครั้ง ฝก อบรม และ ทบทวน สมาชิก อาสา ปองกัน ภัย ฝาย พลเรือน เปน ประจำอันนี้ทำทุกปอยูแลว งานปกติของเราในดานการ สนับสนุนก็อยางเรือ่ งจัดกำลัง อปพร.ปฏิบตั หน ิ าทีอำนวย ่ ความสะดวกรักษาความสงบเรียบรอยและจราจร หรือ ออกไปตรวจแนะนำสถานบันเทิง เชน รานคาราโอเกะ เปนตน ตรวจหอพักรวมกับตำรวจปนี้ทำไปแลว 3 ครั้ง นอกจากนี้มีจัดกิจกรรมอื่นๆ เชน วัน อปพร.เปนปกติ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ประจำทุกป” “เรื่องสวัสดิการละครับ” ผมถาม “เรามีประกันอุบัติเหตุวงเงินสองแสนบาทใหทุก คนครับ” พี่ทรรศพงษตอบ “อยางนอยก็อุนใจมากขึ้นใน การปฏิบัติงาน” เห็นดวยครับ คนหนึ่งคนมีอีกหลายคนอยูเบื้อง หลัง โดยเฉพาะ อพปร.ชายทั้งหลาย เปนชีวิตที่มีความ หมายและความหมายของการมีชีวิตที่เขมขนและชัดเจน ตามลำดับ กลับเขาบานพักโฮมสเตย แมยนตเลี้ยงดูผมดวย ไสอั่ว ลาบเนื้อและแกงจืดวุนเสนผักหวาน ลางปากดวย สัปปะรดจานโต ผมครุนคิดเกี่ยวกับวิถีชีวิตตนเองในหวงวันเวลาที่ ผานเลยมา ถาเปนไปได ผมอยากไปทำและอยากกลับ ไมทำอีกหลายสิ่งหลายอยาง ถาทำไดนะ...

75


14.1

âÅ¡ã¹ÍØâÁ§¤


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ตื่นตั้งแตเชามืด เดินดูตลาดเชา หลังดื่มกาแฟในตลาด ผมเดินทอดนองชมวิถีชีวิต กัดกินขนมปงคลุกเนยโรย น้ำตาล พลาง แกลม กับ ไสอั่ว อยาง แปลก ลิ้น และ เปน ที่ สนใจของชาวบานพบเห็น ผมเลือกซือ้ กาเกงขาสัน้ ตัวหนึง่ กับลำไยหนึ่งกิโลกรัมซึ่งเมื่อเดินกลับถึงบานพัก แมยนค บอกวา ในบานแมยนตมีเยอะ “ลำไยอรอยทีส่ ดุ คือลำไยทีบ่ านตัวเอง” แมยนตพดู พลางหัวเราะ ความ หมาย สอง นั ย ยะ ครั บ ความ หมาย ตรง ตั ว กั บ ความ หมาย ซ อ น เร น หนึ่ ง นั้ น คื อ ลำไยที่ บ า น ตั ว เอง อร อ ย ที่ สุ ด สองนั้ น คื อ งดเว น การฉี ด ยา เพราะไมไดปลูกเพื่อขาย แม ย นตบ อก วา พรุง นี้ วันพระ จะ ไป ทำบุญ ที่ วัด ตอนเชาๆ อยางนี้ แมจะทำ ‘สรวยดอกไม’ หรือกรวย ดอกไมใหชม “สรวย ดอกไม ใช ใน พิธี ตางๆ ทาง ศาสนา มา แต โบร่ำโบราณแลว” แมยนตบอก ไมทันใหผมไดตั้งคำถาม “เปนภูมิปญญาทองถิ่น ตองรักษาไวใหลูกหลาน แมคิด อยางนี้” ผมคลี่ยิ้ม รูสึกเหมือนสูดหายใจไดเต็มปอดอีก ครั้งดวยความรูสึกในอีกความหมาย... ชีวิตที่อยูอยางมี ความหมาย...

77


15

¡ÅØÁ‹ äǹ ÍØâÁ§¤ áÅÐ ¡ÅØÁ‹ ÇÔÊÒË¡Ô¨ÅÓäÂͺáËŒ§ à¹×Íé Êշͧ ขึ้นรถเดินทางกับพี่จำรัสกันแตเชาเพื่อไปเยี่ยมชมสถาน ที่ๆ มีลำไยในอีกความหมายหนึ่ง! ‘กลุมไวนอุโมงคและกลุมวิสาหกิจลำไยอบแหงสี ทอง’ ใชอาคารสถานที่เดียวกันเปนที่ทำการ กลุมคนที่ ทำก็มาจากกลุมเดียวกัน ผมทราบภายหลังจากการพูด คุยกับพี่ผองพันธ ตะแกว ในฐานะเลขานุการวิสาหกิจ ชุมชนลำไยอบแหงเนื้อสีทองและเลขานุการสหกรณไวน อุโมงคลำพูน จำกัด


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

“คนลำพูนเราปลูกลำไยกันมาก เมื่อผลผลิตมาก ราคาก็ตกจนเหลือลนตลาด หลายปเขา ตอนนั้นราวๆ ป 43 จึงเกิดการรวมตัวกันของกลุมแมบานเพื่อตองการ จะแปรรูปลำไย แตแรกๆ เราทำกันไมเปน จึงไดปรึกษา ทางนายกฯขยัน วิพรหมชัย ขอดูงานและฝกอบรม ตอน นัน้ ไปฝกอบรมการแปรรูปผลผลิตทางเกษตร เชน การทำ ขาวเกรียบลำไย ขาวเกรียบเห็ดหอม การทำน้ำลำไย การ ทำไวนผลไมและอื่นๆ อีกหลายอยาง “ทางบานกอมวงหมู 2 และชุมชนบานไร หมู 8 มีความสนใจในการทำไวนจากผลไม อยางที่เราทำตอน แรกก็ไวนลำไย ไวนสับปะรด ไวนมะยม ไวนมะเฟอง ไวน สมหลอด ไวนลูกหวา ไวนลิน้ จี่ แตทางกลุม ประสบปญหา เรื่องเงินทุนหมุนเวียนเรื่องการตลาด ผลิตแลวยังไมได มาตรฐาน ตอง ผาน การ วิเคราะห รับรอง จาก กรม สรรพ สามิตเสียกอนซึ่งก็คอนขางยาก จึงไดรวมกลุมกัน ทัง้ สองหมูบ า นและสมาชิกภายในชุมชนตำบล อุโมงคของบฯ สนับสนุนการตลาดและพัฒนา คุณภาพ จาก ทาง เทศบาล อีก จน ใน ที่ สุด ก็ สำเร็จ” พี่ผอง พันธเปด สมุดบันทึก กอน จะพูดตอ “จากนั้นไดขอจดทะเบียนจาก ผองพันธ ตะแกว

79


นาย สหกรณ จังหวัด ลำพูน โดยเปด รับ สมาชิก รุน แรก จำนวน 43 ราย รายละ 500 หุน เปนเงิน 357,810 บาท โดยใชชื่อกลุมวา ‘สหกรณไวนอุโมงคลำพูน จำกัด’แลว ใชชื่อผลิตสินคาวา ‘ไวนอุโมงค’ ภายใตการดำเนินงาน ในรูปแบบคณะกรรมการโดยมีนายกฯ ขยันเปนประธาน กรรมการ มีคณะกรรมการ 9 คน ผูตรวจสอบกิจการ 1 คนและพี่เองเปนเลขานุการ เรา เปนแหลงผลิตและ จำหนายไวนจากผลไมพืน้ บานในรูปสหกรณแหงแรกของ ประเทศ” พีผ่ องพันธกลาวอยางภูมิใจ “ครับ แลวไวนนี่ทำกันยังไงครับ” ผมสงสัย


“วาไปแลวมันก็คือการแปรรูปผลไมไมใหเนาเสีย อยางหนึ่ง เปนการเพิ่มมูลคาใหสินคาและเก็บไวบริโภค ไดนาน วิธีการก็คือบดเนื้อผลไมที่ตองการนำมาทำ จาก นั้นก็เติมน้ำ, น้ำตาลและโปรแตสเซียมเมตาไบซัลไฟท ลงในถังพลาสติกสีขาวทิ้งไว 24 ชม. เติมหัวเชื้อที่ทำไว หมักที่ 18-24 องศาเซลเซียสนาน 2-3 วัน แลวกรอง เอาแตน้ำใสขวด หมักตอทีอุ่ ณภูมเดิ ิ มจนน้ำตาลหมด จะ ไดแอลกอฮอล 10-11% บมตออีก 4-6 เดือน จากนั้นก็ นำมาพาสเจอรไรชนาน 5 นาที เสร็จสรรพบรรจุใสขวด เปนอันเรียบรอย”


82 ÍØâÁ§¤

“ทุกวันนีมี้ ไวนผลไมอะไรบางครับ” “หลักๆ ก็ลำไย ลิน้ จี่ ลูกหวา กระชายดำ รองๆ มา ก็กระเจี๊ยบ มะขามปอมคะ ทุกวันนี้มีอยูหกชนิด” “แลวปญหาของไวนพี่คืออะไร” “คือเรื่องจุดขาย เราวางขายทั่วไปไมได เปนขอ กฏหมายคะ ตองวางเปนจุดแลวก็รณรงคติดปายโฆษณา ไมไดอีก” “แลว สำหรับลำไย อบ แหงละครับ มี วิธีการ ผลิต อยางไร” “เราจะใชลำไยที่มีคุณภาพตั้งแตเกรด AA ขึ้นไป เปนวัตถุดบิ โดยวิธการ ี นัน้ จะนำลำไยสดมาควานเปลือก แกะ เมล็ ด ออก แล ว ผ า น กระบวนการ ด ว ย ความ ร อ น 70 องศาเซลเซียส นาน 12-15 ชั่วโมง จึง จะ ได เนื้อ ลำไยสีทองออกเหลืองออน รสหวานจัดชุมคอ เนื้อไม กระดาง เนือ้ ลำไยสีทองจะแหงไมเหนียวติดมือ มีกลิน่ หอม เฉพาะ ตัว เปน เอกลักษณ อัน โด ดเดน ของ ลำไย อบ แหง เนื้อสีทองของลำพูน” “ปญหาละครับ” “ก็เรื่องตลาดที่ไมสามารถไปขายเองได ขายตรง ไดนอย จำเปนตองมีคนกลาง ทีนี้เมื่อตองการเงินมา หมุนก็จำเปนตองขายใหพอคาคนกลาง ซึง่ โดยความเปน จริงแลวลำไยอบแหงเนื้อสีทอง แปรรูปไดเทาไรตลาดรับ


ซื้อหมด ดังนั้นถาสามารถเก็บลำไยอบแหงไวได ก็จะมี อำนาจตอรองราคากับพอคาไดแนนอน ทุกวันนี้เราจึง ทำตามออเดอรเทานั้น” พี่ผองพันธบอก กอนกลับผมไดดื่มน้ำกระเจี๊ยบ(น้ำนะครับ ไมใช ไวน)ที่เพิ่งตมทิ้งไวจนเย็นอยางชื่นใจ ดื่มไมทันหมดแกว ฝนก็เทลงมาอยางหนัก ผมยืนคิดอยูภายในที่ทำการที่ เต็มไปดวยไวน นึกถึงเพื่อนบางคนทีชอบ ่ ดื่มไวน ผมไม เคยโตแยงเพือ่ นเลยทีบอก ่ วาการดืม่ ไวนมีผลดีตอสุขภาพ มากกวาผลเสีย ผมกลับคิดวาหากเพื่อนไดติดฝนเชนนี้ และมีไวนอยูมากมายอยูตรงหนา เพื่อนจะทำอยางไร ผมอดคิดไมไดเสียจริงๆ !


16

Èٹ ʋ§àÊÃÔÁàÈÃÉ°¡Ô¨ ¾×ªäô¹àªÔ§¾Ò³ÔªÂ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ฝน หยุด แลว อากาศ สดชื่น กำลัง ดี พี่ จำรัส ชวน ไป ชม ศูนยสงเสริมเศรษฐกิจพืชไรดินเชิงพาณิชยซึ่งมีสมาชิก 10 ครัวเรือน แมจะเพิ่งเริ่มตนไดไมนาน แตมีทิศทาง อนาคตที่ดี การ ปลูก พื ช แบบ ไร ดิ น ใน เมื อ ง ไทย มี สาม แบบ ดวย กัน แบบ แรก ที่ รูจัก เปน สวน ใหญ จน เขาใจ ผิด กัน วาการปลูกแบบไรดินก็คือการปลูกชนิดนี้ นั่นก็คือแบบ ที่ เรียก วา วิธี ปลูก ใน สารละลาย ธาตุ อาหาร (Liquid Culture) เป น การ ปลู ก พื ช ไร ดิ น แบบ ไฮ โดร โป นิ ก ส (Hydroponics) ที่ไดรับความ นิยมมากกวาแบบอื่นๆ และใชไดดีในที่ทีมี่ แดดจัด วิธการ ี หลักคือการนำรากพืช จุมลงในสารละลายโดยตรง รากพืชไมมีการเกาะยึดกับ วัสดุใดๆ ยังสามารถเคลื่อนไหวไปมาได ดังนั้นจึงมักใช การยึดเหนีย่ วในสวนของลำตนไวแทนเปนการรองรับราก ของตนพืชเพื่อการทรงตัว แบบที่สอง คือการปลูกพืชในระบบแอโรโปนิกส (Aeroponics) คือการปลูกกลางแจงที่มีแดด แปลงปลูก เปนโครงเหล็กระบบสำเร็จรูปปองกันรังสียูวี สามารถถอด ประกอบและเคลื่อนยายไดงาย ตนกลานำมาจากการ เพาะเมล็ดพันธุใ นฟองน้ำ เมือ่ งอกแลว อนุบาลประมาณ 3-4 วัน จึงนำตนกลาลงแผนปลูก มีระบบควบคุมน้ำและ สารละลายอาหาร

85


86

แบบ ที่ สาม คือ การ ปลูก โดย ใช วัสดุ ปลูก เปนวิธี การปลูกที่นิยมกันอยางแพรหลายวิธีหนึ่ง วัสดุปลูกที่ใช จะแตกตางกันออกไป ไดแก Rock wool ดินเหนียวเผา Perlite หินภูเขาไฟ ทรายหยาบ แทงฟองน้ำ อินทรีย วัตถุตางๆ เชน ขุยมะพราว ขี้เถาแกลบ แกลบสด ฯลฯ เทคนิคในการปลูกพืชโดยปลูกในวัสดุปลูกสวนใหญจะ แตกตางกันในแงของเทคนิคการใหน้ำและสารละลาย ธาตุอาหาร (ความถี่และปริมาณสารละลายที่ใหแตละ ครั้ ง และ องค ประกอบ ของ สารละลาย) ซึ่ ง ขึ้ น อยู กั บ คุณสมบัติของวัสดุปลูกที่ใช ซึ่งจะตองมีการทดลองเพื่อ หาวิธีการที่เหมาะสม


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

ที่อุโมงคใชการปลูกแบบที่สาม โดยใชขุยมะพราว พีวิ่ ทยา โพธิทา ์ ในฐานะเกษตกรคนหนึง่ ใหเหตุผลวาจะ ควบคุมเรื่องน้ำกับอาหารของพืชไดดีกวา “เปนทางเลือกของเกษตรกรทางหนึ่ง ไมตองใช พื้นที่เยอะ ควบคุมดูแลไดงายกวา มีตารางการทำงาน ชัด วันนี้อยางไร พรุงนี้อะไร ประมาณนี้ครับ” พี่วิทยา บอกอยางสุภาพ “ทุกวันนี้ที่ผานมากวาป ผลผลิตเรา ไมพอสง” “สวนใหญปลูกอะไรครับ” “เปนแตงกวาญี่ปุน มะเขือเทศเชอรี่เสียมากกวา เรา ปลูก ตาม ความ ตองการ ของ ตลาด ครับ มี โรงแรม บริษัทมารับซื้อถึงที่ แตแรกๆ กวาจะมีไดอยางทุกวันนี้ เหนื่อยครับ แมลงก็เยอะ เรื่องตลาดก็ตองหาตลาดเอง ไปวางขายเอง ไมเหมือนทุกวันนี้” “แสดงวาสบายพอสมควร” พี่ วิทยา ยิ้ม “ก็ ยัง มี โรคมี แมลง ตาม ฤดูกาล เชน แมลงวันทอง เพียงแตเราควบคุมได ดูแลได ตอนนี้คน สนใจเยอะครับ อยากเขารวม”

วิทยา โพธิ์ทา

87


17

¡ÅØÁ‹ ÃÑ¡¹éÓ ¤ÅͧÊǹéÓãÊ Á.8 ºŒÒ¹äË ลำน้ำที่ชาวอุโมงคเรียกวา”ลำเหมืองรองเชี่ยว”ที่ดูใส สะอาดนี้ เมือ่ หลายปกอ น มีสภาพทีแ่ ตกตางจากปจจุบนั อยางสิ้นเชิง อันเนื่องมาจากน้ำเนาและขยะ เพราะเปน ที่ระบายของเสียจากตลาด ผูนำชุมชนเห็นแหลงน้ำนี้แต ออนแตออก จึงตองการแกไขปรับปรุงโดยเริ่มจากปลูก ตนไมเพิ่ม นำปลาสวายมาปลอย แลวจัดการกั้นเฝอก เพื่อเก็บกักปลาใหอาศัยตามธรรมชาติ เปนการปรับปรุง คุณภาพน้ำตามธรรมชาติ พีใจ ่ พร ขวางจิตตเลาความเปนมาโดยสรุปใหฟง แลวชี้ใหผมดูทางลำน้ำซึ่งมีลักษณะเหมือนฝาย


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

“ที่บอกวาเฝอกก็คือนี่ครับ เฝอกนี้มีความยาว 18 เมตร ระยะหางของเฝอก 3-9 ซม.จะกักปลาใหญไมให ออก แตปลาเล็กเขาได” พีใจ ่ พรเลา “การดูแลก็ใหคนใน ชุมชนจัดการกันเอง เชน ตกลงเรื่องจัดเวรยาม เรื่องการ ใหอาหารปลาและการดูแลโดยรอบของลำเหมือง เปนตน ตอ มา ไม นาน เกิด ความ คิด วา ทำไม ไม ใช ประโยชน จาก แหลง น้ำ ที่สุดก็ ตกลง จัดหาพันธุ ปลาเศรษฐกิจ ปลอย ลงแหลงน้ำเพิ่มขึ้นและจัดกิจกรรมตกปลาหารายไดเขา ชุมชน ภายใตชื่อ ‘บานไรฟชชิ่งปารค’” พี่ใจพรยิ้ม “ทำ กันปละสองครั้งในชวงเมษายนและธันวาคม คนเขางาน ตองซื้อบัตร ขายใบละ 100 บาท ครั้งแรกที่จัดขายบัตร ไดเกิน 500 ใบ โดยมีกติกาวาคนซือ้ บัตรจะจอมเบ็ดหรือ ตกปลาไดโดยใชเบ็ดขนาดสองขอ ปลาที่จับไดหากจะ ขายกลับใหเราๆ คิดกิโลกรัมละ 30 บาท รายไดทั้งหมด โดยคณะกรรมการชุมชนนำไปจัดซื้อวัสดุอุปกรณ เชน โตะ เต็นท ซอมแซมอาคารทีชำรุ ่ ดในชุมชน แบงเปนการ บริหารจัดการกันเอง” “ไมนาเชือ่ นะครับวาทีนี่ น้่ ำเคยเนา” ผมพูดออก ไป เพราะบรรยากาศรายรอบ อากาศทีสดชื ่ น่ น้ำทีใส ่ ปลาที่เต็มลำเหมือง ดูไมออกเลยจริงๆ อานุ ภ าพ ของ การ ร ว ม ไม ร ว ม มื อ และ ความตั้งใจจริงเปนเชนนี้นี่เอง ใจพร ขวางจิตต

89


18

Ìҹ¤ŒÒªØÁª¹

ËÁÙ‹ 6 ºŒÒ¹»†ÒÅÒ¹

แมในตำบลอุโมงคจะมีรานสะดวกซือ้ ของบริษทั ยักษใหญ ชื่อดังหลายแหง แทบจะลบรานคาปลีกหรือที่เรียกกันวา รานโชหวยของคนไทยออกไปจากธุรกิจก็วาได แตสำหรับ รานคาชุมชนในตำบลอุโมงคนี้กลับดำเนินการและอยูได อยางไมมีอุปสรรคนัก “ตองปรับตัวคะ” คุณนัยนา กันทะอุโมงค ผูดูแล รานรุนที่ 3 กลาว “เรามีโปรโมชั่นและไดเปรียบกวาตรง ที่...” พี่นัยนาหยุดพูด เหมือนใหผมตื่นเตนเลน “ก็ตรงทีเรา ่ รูจ กั ลูกคาทุกคน” พีนั่ ยนาพูดจบ ไมทนั ไร ก็ มี พี่ ผู หญิง คน หนึ่ง เขา มา ซื้อ แปรงสีฟน และ ขนม สอง สาม อย า ง พี่ ลู ก ค า บอก เลข รหั ส ของ ตน พี่ นั ย นา ก็ เคาะแปนคียบ อรด ผมยอมเสียมารยาทชะโงกหนาเขาไปดู เห็น หนา จอ มอนิเตอร ขึ้น รายการ แสดง เกี่ยว กับ ลูกคา มินาเลา! “สะสมยอด มีรางวัลใหดวยคะ ราคาสินคาเราก็


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

เทากับรานสะดวกซือ้ แถมหลายอยางรานสะดวกซือ้ ไมมี อยางสินคาดังๆ ของอุโมงคเรา ไวน ลำไยอบแหง เตา อั้งโล ฯ ผลิตภัณฑทีคนใน ่ ชุมชนเราทำกันเอง” ผมมองไปรอบๆ ราน เหมือนพีนั่ ยนาจะรู พีนั่ ยนา พูดวา “ของหมดคะ เรียกวาแทบไมพอขายมากกวา” พี่ นัยนายิ้ม กอนจะหันไปรับใบเสร็จคาไฟฟาจากพี่ผูหญิง คนหนึ่ง การรับชำระคาใบเสร็จตางๆ ดวย เปนแหลงราย ไดอีกทางหนึ่งนอกจากการเติมเงินโทรศัพทมือถือและ จำหนายบัตรเติมเงิน จากนัน้ พีน่ ยั นาก็เลาความเปนมาของรานคาชุมชน ใหฟง แรกเริ่มเดิมทีตั้งใจใหเปนแหลงแลกเปลี่ยนสินคา ่ น ของคนในชุมชน ตลอดจนขายปลีกสินคาเล็กนอยทีจำเป ในครัวเรือน ตอมามีการขยับขยายกลายเปนสหกรณ ขาย หุนละ 100 บาท คนละไมเกิน 2,500 หุน ป พ.ศ.2548 ที่เริ่มตนมีสมาชิก 194 คน ปรุงขึ้นไดจดทะเบียนเปน วิสาหกิจชุมชนและดำเนินการเรื่อยมาจนถึงทุกวันนี้ ปจจุบันสินคาในรานคามีทั้งไปซื้อหามาเองและ ตัวแทนจำหนายสินคาจากบริษัทตางๆ มาลง เหมือนที่ผานมา ผมลั่นชัตเตอรพี่นัยนาคนเกงไว เปนที่ระลึก

91


92 ÍØâÁ§¤

19

¡Í§·Ø¹ÍÍÁ·ÃѾ ÊÇÑÊ´Ô¡ÒûÃЪҪ¹ μÓºÅÍØâÁ§¤ (ÍÍÁËÁÙ) ผมหยุดยืนอยูหนาที่ทำการกองทุนออมทรัพยฯ ซึ่งกอน หนานี้ผมไดคุยกับเจาหนาที่คนหนึ่งในที่ทำการเทศบาล และไดยินประโยคที่วา “ออ ไปออมหมูหรือ” ผมพกความสงสัยเต็มหัวใจ ต อ ง รู ให ได ว า ทำไม เรี ย ก เสี ย นารักนาหยิกวา ‘ออมหมู’ ทั น ที ที่ ก า ว เข า ไปถึง นาอวรวรรณ ขว า ง จิ ต ต รอง นายก เทศมนตรี ตำบล อุ โ มงค ใน ฐานะ เลขานุ ก าร กองทุ น ยิ้ ม ต อ นรั บ อยูแลว เ มื่ อ เ ดิ น


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

อวรวรรณ ขวางจิตต

เขาไปภายในอาคารผมเห็นสมุด และ ตุ ก ตา หมู ออมสิ น วาง อยู กระบวนการจัดการในสมองเริ่ม ประมวลผลแลว นา อวร วรรณ เดิน ไป หยิบ สมุด ‘คูฝากเงินออม’ ใหดูพลาง พูดวา “คนออมทุกคนทันทีที่เปด บัญชีก็จะไดรับกระปุกออมสินคนละตัว เปน ทีม่ าของชือ่ กองทุนออมหมู เพราะตอนแรกเราจะแจกแต หมูออมสิน หลังๆ ถึงมีชาง มีสัตวอื่น” นาอวรรณยิ้ม ผม ก็ยิ้ม จากนั้นนาก็เลาถึงที่มาของกองทุนนี้วา “ในป พ.ศ.2549 กลุม ผูน ำชุมชนเห็นวาขาราชการ พนักงานของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ คนทำงานหางราน บริษัทเอกชนลวนแลวแตมีสวัสดิการรองรับ ทั้งคารักษา พยาบาลหรือเงินชวยเหลือในเวลาเจ็บปวยฉุกเฉิน จึง อยากใหคนในชุมชนมีสวัสดิการ อยางนอยก็พอพึง่ ตนเอง ได บาง และเห็นคุณคา ของ ตนเอง ใน สังคม จึง ประเมิน ความเปนไปไดของการจัดตั้งกลุมเงินออม ก็เริ่มทำใน หมู 10 กอนโดยเชิญผูที่ไดรับความนับถือและมีความ สามารถในชุมชนมาเปนคณะกรรมการเสนอแนวคิด ขอ

93


94 ÍØâÁ§¤

เสนอแนะจนไดขอสรุปออกมาเปนการออมในลักษณะ การใหสัจจะตอตนเอง ตอชุมชน ตอเพื่อนๆ ในสังคม” “ออ ออมสัจจะ” ผมพูด “คะ แตของเรามีเงื่อนไขแคออมวันละบาท” “แลวจัดการอยางไรใหกองทุนเดินหนาครับ” “มีรูปแบบคณะกรรมการคัดเลือกจากประชาชนใน ชุมชนจำนวน 9-15 คน แนวทางการจัดสวัสดิการจะมา จากการนำทัง้ เงินออมและเงินรายไดทมี​ี่ อยูมา  รวมกันทำ เปนเกณฑการชวยเหลือ แลวออกเปนระเบียบปฏิบัติให เปนมาตรฐานเดียวกัน เปนกติกาสำหรับใชรวมกัน” “ตอนนี้มีสมาชิกเทาไหรครับ” “ประมาณเจ็ดพันกวาคน” นาอรวรรณเปดสมุด ดู “สุทธิก็ในป พ.ศ.2555 นี้นะคะ มีจำนวนสมาชิกทั้ง สิ้น 7,162 คน คิดเปน 56 % ของจำนวนประชากรทั้ง ตำบล แตแรกเริม่ มีสมาชิกหาพันกวา หลังจากเรากระตุน ใหชุมชนรวมกันคิดกิจกรรมขยายจำนวนสมาชิก ก็สรุป ได วา ให ใช วิธีการนำ เงิน ออม มาใชเปน สวัสดิการ ให แก สมาชิก ไมใชแคฝากอยางเดียว โดยใชเกณฑครอบคลุม ทั้งเกิด แก เจ็บ ตาย” “เปนไงครับ เรื่องเงินออมมาใชเปนสวัสดิการแก สมาชิก” “ก็นำเงินฝากมาเปนดอกผลซึ่งก็กำหนดกันวา จะ


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ

มีใหตั้งแตเกิด เรียน บวช แตงงาน แตงงานนี่เฉพาะครั้ง แรกครัง้ เดียวนะ” นาหัวเราะ “แลวก็เจ็บปวย ตัง้ ทอง เสีย ชีวติ อยางเจ็บปวยนี่ เขาโรงพยาบาลไดคาเดินทางครัง้ ละ รอยบาท โดยไมเกิน 12 ครั้งตอป ถานอนโรงพยาบาล ก็ไดคืนละรอยบาทไมเกิน 12 ครั้งตอปเหมือนกัน” “บวชนี่ไดยังไงครับ” “บวชเณรหนึง่ พรรษาขึน้ ไปไดสองพันหา บวชพระ หนึ่งพรรษาขึ้นไปไดสามพันบาท หากไมถึงหนึ่งพรรษา จะไมได” “ดีจริงๆ ครับ เทากับใหคนไดบวชเรียนจริงๆ” “ยังไมหมดคะ เกณฑทหารนีก็่ ไดนะ แตตองสมัคร จะไดสามพันบาท” นายิ้ม “ผูสูงอายุก็ได กรณีฝากเงิน

95


96 ÍØâÁ§¤

ครบ 180 วัน อายุครบ 70 ปไดปละ 600 บาท แลวก็ ลดหลัน่ กันไปมากนอยตามกติกา จนฝากครบ 25 ปอายุ 60 ป ก็ไดปละ 3600 บาท อยางนี้เปนตน” “วิธีการเก็บเงินทำยังไครับ” “เราจะมีตัวแทนในชุมชนนั้นๆ เปนอันรูกันวาใคร ทำหนาที่ พอทุกวันที่ 10 ของเดือนก็จะนำเงินฝากพรอม สมุดมาทีคนๆ ่ นัน้ ตัวแทนรับเงินก็จะนำเงินไปฝากบัญชี ที่เปดไวสำหรับกองทุนโดยเฉพาะทีธนาคาร” ่ ดีจริงๆ ครับ กองทุนที่นี่ มีรายละเอียดที่มากมาย แสดงวาเดินหนาไดดี เหมือนรูใจ  นาอรวรรณบอกตอวา “มีเทศบาลสนับสนุนเริ่มตนที่ 1 ลานบาทคะ ทีผ่ านมา การฝากก็ไมมปี ญหาอะไร “เรา ถือวา กองทุน นี้ ให อยาง มี คุณคา รับ อยาง มี ศักดิ์ศรี แตละครั้งที่มีการรับเงินสวัสดิการตางๆ หาก เปนขาราชการก็จะแตงชุดขาราชการเต็มยศ เปนทหารก็ เชนกัน นักศึกษารับปริญญาแลวก็แตงชุดปริญญามารับ ชาวบานธรรมดาก็จะแตงชุดที่เรียบรอยและดีที่สุดมารับ ทุกคนภูมิใจเพราะกองทุนนี่ไมใชของใครคนใดคนหนึ่ง แตเปนของทุกคน” ผมชอบจริงๆ ครับ ใหอยางมีคุณคา รับอยางมี ศักดิ์ศรี...


20

¡Í§·Ø¹à§Ô¹ÅŒÒ¹ ËÁÙ‹ 5 พี่ จำรัส เลา ให ฟง อยาง สรุป วา “เริ่ม จาก นโยบาย ของ รัฐบาลในป 2544 เรื่องกองทุนหมูบ านซึ่งสนับสนุนงบ ประมาณใหหมูบ า นละหนึง่ ลานบาท เมือ่ รับงบฯ มาแลว ก็มีการทำประชาคมหมูบ า นใหคนไดรับรูและ  เขาใจ คนใน ตำบล อุโมงค มีปญหาเรื่องเงิน ทุน ที่ ขาดแคลน ไม ทั่ว ถึง และการใชเงินสินเชื่อนอกระบบ ทางเทศบาลตองการ อุดชองโหวเหลานี้นอกเหนือการสรางโอกาสทางอาชีพ กองทุนหมูบานหมูที ่ 5 นี้ดำเนินการไดดีที่สุดจึงเกิดเปน แหลงเรียนรูขึ้น “‘กองทุน เงิน ลาน หมู 5 บาน ปา เห็ว’ แรก เริ่ม


98

มี สมาชิ ก 129 คน จาก นั้ น เพิ่ ม ขึ้ น ต อ เนื่ อ ง ทุ ก ป โดยมีการดำเนินการสนับสนุนเงินลงทุนใหกับเกษตรกร ใน การ ประกอบ อาชีพ โดย การ กู ยืม กองทุนจะ มี การ ประชุมในวันที่ 15 ของเดือน ทุกสิ้นปจะมีการประชุม สามัญ ประจำ ป และ ปด งบดุล รายรับ-ราย จาย มี การ จั ด สรร กำไร สุ ท ธิ ตาม ระเบี ย บ ของกอง ทุ น ซึ่ ง จะ จ า ย เงินปน ผล ให กับ สมาชิก พรอม ทั้ง จัด สวัสดิการ ให กับ เด็ก เยาวชน ผู สูง อายุ และ ผู ดอย โอกาส ใน ชุมชน” พี่ จำรัสกลาว ผมกลับที่พักพรอมกับความคิดเรื่องชีวิตที่ควรจะ ดำเนินตอไปอยางไรใหมีความหมาย...

แมยน


99

21

ศิริยนต กัญญาสมุทร ‘อุยสอนหลาน’

áÁ‹Â¹μ ผมรูสึกหลับลึกและยาวจนตื่นสายกวาทุกวัน หลังแปรง ฟนอาบน้ำออกมายืนรับอากาศสดชื่น แมยนตก็เดินมา ถามวา “กินกาแฟกอนหรือจะกินขาวเชาเลย เชานี้แม มีเห็ดถอบตม ยำไขเค็ม ไสอั่วที่ลูกอยากกิน กะขาวตม รอนๆ” ผมรูสึกตะกละทันทีทั้งๆ ทียั่ งไมรูสึกหิว! ระหวางรับประทานอาหาร แมยนตเดินเขาเดิน ออกผานหนาผมหลายครั้ง แลวแมก็พูดวา “เดี๋ยวลูกกิน เสร็จ แมจะทำสรวยดอกไมใหดู” แมยนตเตรียมวัสดุอุปกรณหลายอยางไวหนาเรือน ระหวางเดินผานหนหนึ่งแมพูดวา “ไมตองรีบอิ่ม กินให อิ่ม กาแฟอยูขางกาตมน้ำนะ” ผมกลาวขอบคุณแม เปนจังหวะทีอิ่ ม่ หนำกับไสอวั่ ลำพูนหรือ ‘ไสอั่วหละปูน’ ที่แมบอกวาคนลำปูนไมกิน เผ็ด และแนนอนเห็ดถอบของโปรด แลวผมก็เดินไปฉีก ซองกาแฟสำเร็จรูป กดน้ำใสแกวกาแฟแลวยกออกมา หาแมยนตที่หนาเรือน แมยนตจิบน้ำดื่ม กอนจะจัดแจงวางวัสดุอุปกรณ แลวบอกวา “ของพวกนี้หาไดไมยาก แมจะเริ่มทำใหดู นะ อยางแรกก็พับใบตอง ใบตองที่นำมาทำสรวยหรือ


100 ÍØâÁ§¤

กรวยดอกไมอยางคนภาคกลางเรียกตองแชน้ำไวคืนหนึง่ ใบตองนี่แมก็เด็ดจากริมรั้วภายในเรือนนี่แหละ”

“แบบแรกนี่เรียกวา ใบโพธิ์ครึ่งใบ” แมยนตบอก จากนั้นก็นำใบตองมาตัดเปน ชิ้นสวน แลวพับเปนชิ้น เรียกวา ใบโพธิ์

นำใบตองแผนหนึ่งมา ทบรวบกันเปนกรวย แลวนำใบโพธิ์มา ประกอบกันเปนกรวย

ใสขาวตอกลงไป ในกรวย ใสดอกไมลงไป ปกธูปเทียนลงไป


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 101

อันนี้แบบปกนก

วางลงในขันโตกเปนอันเสร็จสิ้น

แมยนตเลาวาแมเริม่ หัดทำเพราะเห็นพออุย แมอุย ทำตั้งแตเด็กจนชินตา ยามไปทำบุญที่วัดก็ตองตื่นเชามา ทำสรวยดอกไมอยางนี้ทุกครั้ง แตทุกวันนี้มีคนทำเปน นอยจนนาใจหาย เคยมีครูใหไปสอนเด็กทีโรงเรี ่ ยนและที่ เทศบาลโดยเฉพาะชวงสงกรานตกไ็ ปเปนวิทยากรรวมกับ พออุยแมอุยอีกหลายคนสอนตัดตุงไชย ตุงชาง ฯ “วัฒนธรรม ลาน นา ภูมิปญญา ทอง ถิ่น กำลัง จะ ถูกกลืนหายไปตามคานิยมสังคมตะวันตก อยูเฉยไมได แลว ถาไมทำอะไรเลย อีกสิบยี่สิบปของเหลานีก็้ จะไมมี คนรูจัก เมื่อไมมีคนรูจักเทากับหายไป ตนไมไมมีรากอยู ไมไดฉันใด คนไรรากก็อยูไมไดฉันนั้น” แมยนตย้ำเสียง หนักแนน


102 ÍØâÁ§¤

22

âçàÃÕ¹¹ÇÑμ¡ÃÃÁÊ‹§àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ ºŒÒ¹»†ÒàÊŒÒ áÅРþ.ʧ‹ àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾μÓºÅÍØâÁ§¤ แดดอุน เหมาะแกการออกกำลังกาย ผมคิดแวบเขามาใน หัวเพียงเทานี้เมื่อรถแลนเขาจอดที่โรงเรียนแหงหนึ่งก็ได ยินเสียงอินโทรเพลง ‘ดั่งดอกไมบาน’ ของเสถียรธรรม สถานดังแววออกมา ออ ที่นี่คืออีกแหงหนึ่ง โรงเรียน นวัตกรรมสงเสริมสุขภาพบานปาเสา “เมื่อ กอน นี้ เวลา มี การ รณรงค ดาน สาธารณสุข ประชาชนบานปาเสาจะใหความรวมมือคอนขางนอย ทาง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 103

เทศบาลและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพฯ โดยตัวดิฉัน” ผอ.รำพรรณ ชูชัยกลาวแนะนำถึงที่มาที่ไป “จึงจัดตั้ง คณะกรรมการชมรมสรางสุขภาพโดยมีตัวแทนจากทุก กลุม แรกเริ่มทำเวทีประชาคมขอความรวมมือเรื่องการ ควบคุมไขเลือดออกทีตอน ่ นัน้ ระบาดมากซึง่ ก็ไดผล ตอมา ก็ทำงานเชิงรุก มีการตั้งชมรมสรางสุขภาพไดจิตอาสา เปนกลุม อสม.ออกสำรวจและใหความรูด านสุขภาพ การ ควบคุมและการปองกัน เรื่องการออกกำลังกายนี่ปกติ เปนเสียงตามสายทัง้ 11 หมูหลั  งเคารพธงชาติหกโมงเย็น ทุกวันอยูแลว วันนี้ประชุมบรรดา อสม.พอดี” ผอ.รำพรรณ ชูชยั ผูด แู ลโรงพยาบาลสงเสริมสุขภา พประจำตำบลอุโมงคกลาววาทีนี่ ได ่ รับความรวมมือเปน อยางดีทั้งจากโรงพยาบาลลำพูน อสม.และทางเทศบาล ดวยหลักการการทำงานเชิงรุกอยางหนัก “ก็คิดวาทำไม ประชาชนตองเปนฝายมาหาเรา มาหาก็มาตอนเจ็บปวย ถาดีๆ ไมมาหาหรอก” เมื่อคิดดังนั้น จึงจัดหนวยเยี่ยม บาน โดย ให อ สม.สะพาย กระเปา ลง ทุก ตารางนิว้ ของตำบล เนือ่ งจากไมตองการ ใหประชาชนปวยแลวคอยมาโรงพยาบาล ซึ่งทุกวันนี้ดูแลคนไขเดือนละพันกวา คนแลว ผอ.รำพรรณ ชูชัย


104 ÍØâÁ§¤

“คน ไม เปน อยา ให เปน คน เปน ก็ อยา ให เกิด โรค แทรก” ผอ.กลาว “สุขภาพประชาชนมีแนวโนมทีดี่ ทีนี่ ไม ่ มโรค ี ระบาด อยางไขเลือดออก โรคเรื้อรังตางๆ ก็ลด” ผอ.รำพรรณ ชูชัย กลาวถึงเคล็ดลับการทำงาน “ตองมองปญหาทีพื่ น้ ทีนั่ น้ ๆ อยามองจากศูนยกลางทีตั่ ว เราเอง แลวนึกเอาเอง สั่งการลงไป โดยไมฟงคนอื่น”


105

23

ÍÊÁ. áÅÐ ÍÊÁ.¨μÔ ÍÒÊÒμÒÇÔàÈÉ เดินทางตอ ไปยังศูนยสาธารณสุขมูลฐานชุมชน เพื่อดู การทำงานเชิงรุกของ อสม.ซึง่ ทีสำคั ่ ญอยางหนึง่ ก็คือการ เขาไปเก็บขอมูล ตองทำอยางมีแบบแผน ขอมูลในท่ีนี้ก็ คือขอมูลพื้นฐานของประชาชน กลุม อสม.ได จัด ตั้ง คณะ กรรมการ ชมรม สราง สุขภาพ ใหผูป วยทีมี่ ประสบการณจริงในดานการเจ็บปวย มาเลาประสบการณและการดูแลตนเองซึ่งไดผลไมนอย ตลอดจนการลงพื้นที่อยางตอเนื่อง เชน เรื่องการกำจัด ลูกน้ำยุงลาย หรือการตั้งคณะกรรมการขยะดูแลเรื่อง ความสะอาด เรื่องการสรางสวนสุขภาพ เปนตน พีพั ่ ทรดา ทิพยมณี ในฐานะประธานอสม.หมู 9 บานปาเสา เลาใหฟงวา “ทัง้ หมดนีไม ้ ไดเกิดขึน้ อยางทันที กอนหนานีประชาชน ้ ไมสามารถเขาถึงการบริการไดอยาง ทัว่ ถึง ขาดความรู ความเขาใจ ในการดูแลรักษาสุขภาพ ของตนเองเบื้องตน อาสาสมัครจิตอาสาตาวิเศษ จึงเกิดขึน้ เพือ่ ใหเกิดดานหนา อสม. โดยเปนบุคคล ทีอาศั ่ ยอยูใน  ชุมชน เปนผูประสาน  งานระหวาง เจาหนาที่กับประชาชน เปาหมายเพื่อการ พัทรดา ทิพยมณี


106 ÍØâÁ§¤

ดูแลสุขภาพของประชาชนอยางทัว่ ถึง สามารถดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชนไดอยางยัง่ ยืน โดยการเฝาระวังภัยสุขภาพ คนพบปญหาสุขภาพตัง้ แตเริม่ แรกโดยเร็วทีส่ ดุ เพือ่ จะได ใหการชวยเหลือทันทวงที ควบคุมปองกันไมใหเกิดภาวะ ที่รุนแรง” ตอมามีการยกระดับ ผสส. เปน อสม.และมีศูนย สาธารณสุขมูลฐานชุมชน มีการบริการในระดับเบือ้ งตน อาทิ การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน ลางแผล จายยาคุมกำเนิด จายยา สามัญประจำบาน เมื่อเปนเชนนี้แลวทำให อสม. ไดรับ ความไววางใจและทำหนาทีเป ่ นทีปรึ ่ กษาใหความรู พรอมเฝา ระวังโรคตาง ๆ มีการประสานงานกับหลายภาคีเครือขาย เชน วัด โรงเรียน หนวยงานทีเกี ่ ย่ วของ ทัง้ ภายในและภายนอก ชุมชน พรอมกันนี้ อสม.ไดรับการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง มีการ อบรมหลักสูตรมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข 8 วิชา 36 ชัว่ โมง มีการอบรม อสม. ผูเชี  ย่ วชาญแตละสาขา ตอมา รัฐไดมีนโยบายใหขวัญกำลังใจแก อสม. ใหมีคา ตอบแทนใน อัตราเดือนละ 600 บาท บทบาทภาระหนาทีข่ องอสม.จึง เปนรูปธรรมมากขึน้ มีการจัดทำคูม อื แตละเรือ่ งเพือ่ แกไข ปญหาให เชน เรือ่ งความดัน เบาหวาน ไขเลือดออก การ เยี่ยมบาน การดูแลผูสูงอายุที่บาน เปนตน “นี่คือเหตุผลวาทำไม อสม.ของเราจึงโดดเดน” พี่ พัทรดากลาวอยางภาคภูมิใจ


107

24

Èٹ ¾Ñ²¹Òà´ç¡àÅç¡à·ÈºÒÅ μÓºÅÍØâÁ§¤ ศูนยพัฒนาเด็กเล็กทีอุ่ โมงคดูกวางขวางสะอาดตา สนาม เด็กเลนโลงแจงนาวิ่งเลน ผมไปถึงในเวลาทีเด็ ่ กๆ เขานอนหลังอาหารกลาง วันแลว จึงสงบเงียบ ฝนเพิง่ หยุดตกอากาศจึงสดชืน่ คณะ ครูกำลังดูแลเด็ก ผมจึงบอกไมเปนไร ผมแคเดินดูสถาน ที่และเก็บภาพ พี่จำรัสบอกวา “ทีนี่ ่ก็เหมือนที่อื่นครับ เราจัดการ ศึกษา ตาม หลักสูตร ปฐมวัยพุทธศักราช 2546 เพื่อ เตรียมความพรอมของเด็กกอนการศึกษาระดับประถม ศึกษา เรารับเด็กตั้งแตอายุ 3 ถึง 5 ป เด็กเล็กกวานี้ก็ รับแตเปนกรณีพิเศษเปนรายๆ ไป ตอนนี้มีทั้งหมด 46


คนกับครู 7 คน” “เรื่องอาหารกลางวันเด็กกับนมละครับ” “งบ อาหาร กลาง วั น ของ ศู น ย พั ฒ นา เด็ ก เล็ ก เทศบาลอุนหนุนประมาณสองแสนบาท นมสำหรับเด็ก ประมาณลานแปด” หนาที่ทั้งหมดที่ผูใหญพึงกระทำตอเด็ก ก็หนีไม พนเรือ่ งเหลานี้ ใหเด็กไดเติบโตตามวัยดวยพัฒนาการทีดี่ มีสุขภาพแข็งแรง มีจิตใจดีงาม รักธรรมชาติ สิ่งแวดลอม


อยูร วมกับผูอื น่ ได มีจินตนาการ มีความคิดสรางสรรค แก ปญหาเปนและรูจ กั แสวงหาความรู สำหรับผมแลวเห็นวา เปนหนาที่หลักที่ทุกๆ ศูนยพัฒนาเด็กเล็กและครูผูดูแล เด็กๆ ตองทำ นี่คือการเตรียมพรอมแกเด็กเพื่อการเปน ผูใหญที่ ดีในวันขางหนาและคือสวนสำคัญของการมีชีวติ อยูอย  าง มีความหมาย



μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 111

25

¡‹Í¹¨Ò¡

ผม เดิน ทางออก จาก เทศกาล อุ โ มงค ด ว ย คำ ตอบ ของ การ มี ชีวิต อยู อยาง มี ความ หมาย และ การ แสวงหา ความ หมาย ของการมีชีวิตอยู ผมคนพบวา มัน อยู ที่ ตัว ผม เอง อยู ในการ ดำเนิ น ชี วิ ต ที่ ผ า น มา ตลอด เพี ย ง แต ผม ไม เคย เข า ใจ นั่นเอง... ขอบคุณอุโมงค ลากอน อุโมงค จนกวา เรา จะ พบ กัน อีก...


112 ÍØâÁ§¤

ÀÒ¤¼¹Ç¡ คำขวัญประจำตำบลอุโมงค “ซอม พอ ปลา สวาย มากมาย งาม ตา ปง หาง ขัว มุง หางนา เชิดศูนยวัฒนธรรม ไวนดัง ลำไยดีมีชื่ออรอยล้ำ แหลงชน มีคุณธรรม เทศบาลตำบลอุโมงค” หมูบานในตำบลอุโมงค มีทั้งสิ้น 11 หมูบาน และมีประวัติความเปนมา ดังนี้ (1) ชุมชนบานอุโมงค เปนชื่อแปลงมาจากคำวา “โองโมง” เปนคำพื้นเมือง แปลวา เปนหลุมเปนบอ บาง วาหลุมบอนี้อยูบริ  เวณหนาวัดอุโมงค บางวาอยูที ่ใตพระ วิหารวัดอุโมงค มี เรื่อง เลา สืบ ตอ กัน มา วา ใต พระ เจดีย มี อุโมงค อยู ภายใน ตอ มา มี พระ ธุดงค รูป หนึ่ง ได จาริก ผาน มา พระธุดงคไดมีนิมิตเห็นพระยานาคพิทักษรักษาสมบัติ ใต อุโมงค ไว ดวย เกรง วา จะ มี ผู ไป รบกวน อัน อาจ เปน อันตรายจึงไดสรางเจดียครอบอุโมงคไว ตอมาไดมีการ บูรณะและพัฒนาจนเปนวัดอุโมงคในปจจุบัน ในอดีตมี ความสำคัญทางประวัติศาสตรกลาวคือในสมัยรัชกาล ที่ 5 ทรงรับสั่งใหขาราชบริพารมาปกหลักแดนเมืองเพื่อ กำหนดเขตแดนแตละเมือง และในรัชสมัยรัชกาลที่ 6


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 113

เสด็จ มา ณ บาน อุโมงค พรอม ดวย ขา ราช บริพาร และ ประชาชนไดตั้งพลับพลาที่ประทับ ณ บริเวณหนาวัด อุโมงคในปจจุบัน (2) ชุมชนบานกอมวง เปนชือ่ ของ ‘ตนมะมวงฮีต๊ ’ หรือมะมวงขี้ยา เปนมะมวงตนใหญอยูที่หนาวัดกอมวง จึงไดชื่อวา บานกอมวง เดิมเรียกบานปนปวกน้ำ เกิด จากน้ำสองสายที่ไหลมาบรรจบกันจนเกิดน้ำวนและมี ปวก (ฟอง) ลอยฟู (3) ชุมชนบานสับกับตอง มาจากชื่อตนไมชนิด หนึง่ ชือ่ ‘กับตองหลวง’ อยูที บ่ านสับกับตองเหนือ อ.สารภี จ.เชียงใหม ตอมาจึงยึดเอาเปนชื่อวัดสันกับตองและชื่อ หมูบ า น ประชาชนนับถือทัง้ ศาสนาคริสตและศาสนาพุทธ อาศัยอยูร วมกันอยางสงบสุข (4) ชุมชนบานฮองกอก มาจากบริเวณดังกลาว มีตนกอกหลวงหลายคนโอบ เชือ่ วาใตตนกอกนัน้ มีทรัพย สมบัติฝงไวจำนวนมาก บริเวณหมูบานมี ‘ตนแหยง’ ขึ้น อยูทั่วไป ตนไมนี้นำมาสานสาดแหยง (เสื่อ) สรางราย ไดใหแกประชาชน (5) ชุมชนบานปาเห็ว มาจากชือ่ ของ ‘ตนเห็วหลวง’ หรือ ‘ตนตะเคียนหมู’ เปนไมยืนตนขึ้นอยูจำนวนมาก บริเวณหมูบานและพระอุโบสถวัดปาเห็ว (6) ชุมชนบานปาลาน มาจากตนลานจำนวน


114 ÍØâÁ§¤

มากจนเปนปาลานซึ่งตั้งอยูทางทิศเหนือของวัดปาลาน (สุวรรณาราม) ในปจจุบัน (7) ชุมชนบานเชตวัน (หนองหมู) เปนชื่อซึ่ง ครูบาคำแสนพบอิฐจารึกคำวา ‘เชตวัน’ และพบหมูปา ออกมาหากินอยูใน  หนองน้ำเรียกวาหนองหมูปา จึงเรียก รวมกันวาเชตวันหนองหมู (8) ชุมชนบานไร มาจากชื่อของคำวา ‘บานไร ปลายนา’ เริ่มตนจากการที่ผูคนจากชุมชนอื่นๆ มาทำ สวนทำไรอยูในพื้นที่ มีการสรางบานหรือที่อยูอาศัยใน ไรดวยเพื่อเฝาดูแลผลผลิตของตนเอง เปนบานที่อยูใน ไร สวนและนา พื้นที่มีความอุดมสมบูรณในการทำสวน ทำไร ทำการเกษตรตางๆ (9) ชุมชนบานปาเสา มาจากชื่อตนเสา ซึ่งขึ้น อยูทั่วไปจำนวนมากบริเวณหนาวัดปาเสาปจจุบัน ใน สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สถานีรถไฟปาเสา เปนจุด ยุทธศาสตรสำคัญแหงหนึ่ง (10) ชุมชน บาน ชัย สถาน ใน อดีต เลา กัน วา พระนางจามเทวีผูครองนครหริภุญไชย เสด็จ ณ บาน ยางกายเกิง้ มีตนยางใหญ 2 ตนลมมาพาดกันอยูทาง  ทิศ ตะวันออกของวัดชัยสถานปจจุบัน พระนางเจาจามเทวี ไดตั้งทัพอยูเปนเวลานาน ถึงฤดูแลงไมมีแหลงอาหาร เพี ย ง พอ จึ ง ย า ย ไป ตั้ ง ทั พ แห ง ใหม จึ ง เรี ย ก อี ก ชื่ อ ว า


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 115

บาน หนอง แลง ตอ มา ได มี การ เปลี่ยน ชื่อ หมูบาน ใหม วา ‘ชัยสถาน’ เพื่อเปนเกียรติแกพอทาวชัยยะสัณฐาน (ตนตระกูลวงคสถาน) เปน ผูอุปถัมภบูรณะวัด ทำคุณ ประโยชน ตอ พระ ศาสนา และ สวน รวม รวม ถึง ชื่อ ของ หมูบานที่เปนมงคลทำใหมีโชค มีชัย (11) ชุมชนบานแมรองนอย เปนชื่อของคลอง น้ำไหลขนาดเล็ก ไหลผานบริเวณหนาวัดแมรองนอยใน ปจจุบนั บางครัง้ มักเรียกวา ‘บานตา’ (บานทา) เนือ่ งจาก ในอดีตเปนทาเทียบเรือสำเภาขนาดเล็กขนสงสินคาทาง น้ำกอนเขาตัวเมืองลำพูน และเปนทาอาบน้ำ บริเวณ หมูบานอยูติ ดกับลำน้ำกวง


ÀÒ¾àÅ‹Ò : àÅ‹Ò´ŒÇÂÀÒ¾

ตนสักใหญตนนี้คือตนที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และ สมเด็จ พระ นาง เจาฯ เสด็จ ทอด พระเนตร เมื่อ ป พ.ศ.2506 ในภาพทางขวามือคือเสาหลักเมืองเชียงใหม เกาแกอายุนับพันป ตั้งแตสมัยพระเจามหันตยศ(พระ โอรสของพระนางจามเทวี) แนวระหวางตนยางนี้กับเสา


หลักเมืองคือเสนแนวเขตสองจังหวัด เชียงใหมและลำพูน หากเปนคนทองถิ่นหรือทราบธรรมเนียมปฏิบัติเกาแกก็ จะกดแตรรถยนตหรือรถมอเตอรไซคของตนเมือ่ แลนผาน เปนการแสดงความเคารพ



μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 119

วัด อุโมงค และ พระ นอน ใน วัด อุโมงค ตั้ง อยู หมู 1 เปนวัดเกาแกของตำบลและจังหวัดลำพูน ชื่อวัดมาจาก การมีอุโมงคภายในวัด นอกจากนี้เซียนพระคงเคยไดยินพระรอด กรุวัด อุโมงค ก็คือวัดนี้แหละครับ พระอุปคุต พระพุทธรูปภายในวัดอุโมงค เกิดหลังพระพุทธเจาเสด็จปรินพิ พานแลวประมาณ 218 ป แตไมทราบภูมิเดิมวาเปนบุตรของใคร เกิดในวรรณะ อะไร และ ที่ไหน นับ เปน พระ เถระ สำคัญ องค หนึ่ง ใน สมัยพระเจาอโศกมหาราช เปยมดวยพุทธานุภาพและ ฤทธิ์เดชเกรียงไกร เคยปราบพญามารที่เขามากอความ วุนวายในพิธีฉลองสมโภชพระสถูปเจดียบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ ในทางพระเครื่องเรียกกันวา “พระบัวเข็ม” เดิม เปนพระพุทธรูปมอญ เขามาแพรหลายในไทยชวงสมัย รัชกาลที่ 3 โดยพระรามัญไดนำมาถวายทานวชิรญาณ ภิกขุ (ตอมาคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว) โดยเชื่อใน พุทธคุณวาเปนพระศักดิ์สิทธิ์ กอใหเกิดลาภ ผล ความมั่งมี ขจัดภยันตรายและมีอิทธิฤทธิ์ในทางขอ ฝนอีกดวย


รัว้ ตนชา หรือรัว้ ชาขอย ตนชาขอยหรืออีกชือ่ วาชาเขียว เปนพืชเฉพาะถิ่นที่นิยมนำมาปลูกเปนแนวรั้ว นอกจาก เปนรั้วกันขโมย บอกแนวเขตแลว ยังดูดซับกาซคารบอน ไดออกไซดอีกทางดวย บานหลายหลังในอุโมงคมีรั้ว เปนตนชาปลูกกันมานับรอยป แลว ผมไดมีโอกาสถามอุย หลายคน ตางพูดเปนเสียงเดียวกันวาเกิดมาก็เห็นแลว ทางเทศบาลตำบลอุโมงคอาศัยรัว้ ตนชาซึง่ เปนตน ทุนทางวัฒนธรรมอยูแลว มาดำเนินการโครงการรั้วตน ชา เรียกวา “โครงการประกวดอนุรักษรั้วตนชา หนาบาน นามอง” ในปแรกที่ดำเนินการคือป พ.ศ. 2548 โดยมี แนวคิดเนนใหประชาชนมีสวนรวมในการพัฒนาทองถิ่น เรียนรูที่จะอนุรักษ ปรับปรุง ดูแลรักษา สภาพแวดลอม ทีอยู ่ อาศั  ยของตนเองและชุมชนใหสะอาดสวยงาม หลาย ปของโครงการ มีประชาชนทั้งในและนอกเขตพื้นที่ตาง


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 121

ชื่นชอบ นอกจากนี้ยังเปนการรักษาวัฒนธรรมทองถิ่น และเปนการลดสภาวะโลกรอนอีกทางหนึ่งดวย ในป พ.ศ.2555 ทราบมาวาทางเทศบาลชวยเหลือ วัสดุอุปกรณการกอสรางในการทำรั้วเพื่อเปนแรงจูงใจ สำหรับผูที่จะรวมประกวด

เหมืองเกาศอก ลำน้ำเกาแกซึ่งมีความสำคัญในการทำ เกษตรกรรมมาตั้งแตอดีต


แมน้ำปงหาง แมน้ำปงหางก็คือ แมน้ำปงสายเกา สมัยที่แมน้ำปงยัง ไม เ ปลี่ ย นเสน ทาง แม น้ ำ ป ง ป จ จุ บั น เปลี่ ย น เส น ทาง ตั้ ง แต เมื่ อ ใด ไม มี หลั ก ฐาน ปรากฏ ชั ด หลั ก ฐาน ทาง ประวัตศิ าสตรทีใช ่ อางกันตอๆ มา คือพระราชพงศาวดาร กรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) วาเมือ่ ป พ.ศ.2317 สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงยกทัพไปตีเชียงใหม


เปนครั้งที่ 2 ซึ่งขณะนั้นตกอยูภายใตการปกครองของ พมากลับคืนมาไดสำเร็จ พระองคทรงใชเสนทางแมน้ำ ปง สาย ปจจุบัน แลว กอน หนา นี้ ไร หลัก ฐาน บันทึก ถึง การเปลี่ยนแปลงเสนทางของแมน้ำไว พมาปกครองดิน แดนลานนากวาสองรอยป กลาวคือในชวงป พ.ศ.2101 ถึง พ.ศ.2317 ก็ไมมการ ี บันทึกไว จึงเขาใจกันวานาจะ เปลี่ยนเสนทางกันในชวงที่พมาปกครอง


124 ÍØâÁ§¤

จากคัมภีรชิ นกาลมาลีปกรณ ไดปรากฏวาแมน้ำปง ไหลผานทางทิศตะวันออกของเวียงกุมกามและทิศตะวัน ออก ของ ตัว เมือง หริ ภุญชั ยกับ วัด อรัญ ญิ กรัม มกา ราม (วัดดอนแกว) ซึ่งเปนสี่มุมเมืองในสมัยพระนางจามเทวี สันนิษฐานวาอยูในพื้นที่ฝงเดียวกับตัวเมืองลำพูน จาก หลักฐานพงศาวดารโยนกกลาวถึงพญามังรายยึดครอง เมืองหริภุญชัย ไดไปสรางเมืองใหมในทางทิศตะวันออก ของเมืองหริภุญชัยชือ่ ‘ชะแว’ สรางไดสามปเกิดน้ำทวมจึง ไปสรางเมืองกุมกาม แมน้ำปงคงเปลีย่ นทางเดินไหลผาน เขาในตัวเมืองหริภุญชัยและไหลผานหนาวัดพระธาตุหริ ภุญชัยในสมัยพญามังรายชวงนั้นเอง ระยะทางจากเวียง กุมกามถึงตัวเมืองหริภุญชัยราว 25 กิโลเมตร สิน้ ราชวงศมงั รายในสมัยทาวแมกุ (พระเจาเมกุฏ)ิ พ.ศ.2101 ยังปรากฏหลักฐานวาแมน้ำปงยังไหลผานทาง ทิศตะวันออกของเวียงกุมกามและทิศตะวันออกของตัว เมืองหริภุญชัยอยู เหตุนีจึ้ งสรุปความกันในเวลานีว้ าแมน้ำปงเปลีย่ น เสนทางเปนสายปจจุบันในชวงพมาปกครองลานนา


μÔ³ ¹ÔμÔ¡ÇÔ¹¡ØÅ 125

เห็ดถอบ หรือเห็ดเผาะ เปนเห็ดพืน้ บานทีขึ่ น้ บางทองที่ โดยเฉพาะ ในเขตภาคเหนือและภาคอีสาน หรือบริเวณปาโปรงใน ภาคตะวันตก เปนเห็ดที่ขึ้นตามพื้นดินใตโคนไมที่ถูกไฟ เผา เชน ไมเต็ง ไมพะยอม และมักชอบขึ้นในปาโปรง ปาแพะ เห็ดชนิดนี้จะมีเฉพาะหนาฝน โดยเฉพาะหลัง ฝนแรกของปในเดือนพฤษภาคม ชาวบานทีเก็ ่ บเห็ดมักจะมีเครือ่ งมือสำหรับเก็บโดย เฉพาะซึ่งคิดประดิษฐขึ้นเอง มีลักษณะคลายตะขอ บาง คนก็ใชกิง่ ไมเกีย่ วเอาก็มี เวลาเก็บตองมองหาตามโคนไม เห็ด จะ โผล พน ดิน ออก มา โดย เฉพาะ พื้น ดิน ที่ ถูก เผา คนเก็บจะใชไมหรืออุปกรณของตนขูดไลไปตามพื้นดิน เก็บไดในบริเวณใด ปตอไปก็จะพบขึ้นบริเวณนั้นอีก


à¾Å§ÈÑ¡ÂÀÒ¾ªØÁª¹ คำรอง-ทำนอง วสุ หาวหาญ เรียบเรียงดนตรี ศราวุช ทุงขีเหล็ ้ ก ขับรองโดย ฟางแกว พิชญาภา, ศราวุธ ทุงขี้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย

หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน ไมวาจะอยูที ไ่ หน เราเปนคนไทยเปย มความสามารถ เปน กำลัง ของ ประเทศ ชาติ พัฒนา บาน เมือง กาว ไกล เปนคนเหนือ อีสาน กลางใต ก็รักเมืองไทยดวยกันทัง้ นัน้ (สรอย) หากเรารวมมือรวมใจ ทำสิ่งไหนก็ไมเกินแรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ อยูชนบทหางไกล ทำนาทำไร พอเพียงเลี้ยงตัว ใชชุมชนดูแลครอบครัว ใชครอบครัวดูแลชุมชน ปูพืน้ ฐาน จากหมูบานตำบล สรางแปลงเมืองไทยใหนาอยูดังฝน


ชุมชนทองถิน่ บานเรา เรียนรูร วมกันเพือ่ การพัฒนา ชุมชนทองถิ่นบานเรา เรียนรูร วมกันชวยกันพัฒนา อยูตามเมืองใหญเมืองหลวง หัวใจทุกดวงซอนไฟ มุงมั่น กาวออกมาจากรั้วที่กั้นจับมือกันทำเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน้ำใจ โอบกอดชุมชนไวดวยความสุข ยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเปนหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยดวยกัน หาก เรา รวม มือ รวมใจ ทำ สิ่ง ไหน ก็ ไม เกิน แรง โครงสราง ชุมชน แข็งแกรง เพราะ เรา รวม แรง รวม มือ สรางสรรค จัดการทรัพยากรชวยกัน ดวยมุมมองที่เรา แบงปน ใชความคิดสรางสรรคใหเต็มศักยภาพ ดวย มุม มอง ที่ เรา แบง ปน ใช ความ คิด สรางสรรค ให เต็ม ศักยภาพ..

เขาไปฟงและดาวนโหลดเพลงศักยภาพชุมชนไดที่ www.punsook.org



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.