ศรีฐาน เรื่องและภาพ ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ ศรีฐาน เรื่องและภาพ ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว ออกแบบปกและรูปเล่ม ณขวัญ ศรีอรุโณทัย เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
978-616-7374-84-0 บรรณาธิการอำนวยการ
ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ เลขที่ 99 ซอยงามดูพลี แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 โทรสาร 0 2343 1501 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพ์ครั้งที่ 1
ธันวาคม 2555
ดำเนินการผลิตโดย
เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com
คำนำ ท่ า มกลางก ระแสวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ โ ลกค รั้ ง ใ หญ่ เ ป็ น ประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปี ทำให้เกิดการตั้งคำถาม ว่าว กิ ฤติน จี้ ะใหญ่ข นึ้ อ กี เพียงใด จะยดื เยือ้ ข นาดไหน และ วิกฤตินี้จะส่งผลกระทบต่อสังคมไทยชุมชนหมู่บ้านไทย มากน้อยเพียงใด ความวิตกดังกล่าวอาจจะไม่เกิดขึ้น เลยหากปัจจุบันชุมชนหมู่บ้านไทยไม่ถูกลากเข้าสู่ระบบ การผลิตเพื่อขาย นักวิชาการหลายๆ ท่าน ได้วิเคราะห์ถึงระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยว่าในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบดำรงอยู่ในลักษณะคู่ขนาน นั่นคือระบบเศรษฐกิจ ชุมชนหรืออาจจะกล่าวเป็นศัพท์สมัยใหม่ได้ว่าระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมู่บ้านจะมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายเน้น ความพอเพียง มีครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต การช่วย เหลือซ งึ่ ก นั แ ละกนั ม นี ำ้ ใจเป็นพ นื้ ฐ านของชวี ติ มีพ ธิ กี รรม ต่างๆ เป็นระบบการจัดการในชุมชนและให้ความสำคัญ ต่อบรรพบุรุษ ผูเ้ฒ่าผู้แก่ ครอบครัว ต่อมาหลังจากรัฐและระบบทุนนิยมได้เข้าไปมี อิทธิพลต่อช ุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม ทำให้ช าวบา้ นมรี ายจา่ ยทเี่ ป็นต วั เงินม ากขนึ้ เพียงเท่านัน้
ยังไม่พอสิ่งที่ทำลายความเข้มแข็งของชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเข้าไปถ่ายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมู่บ้าน ยิ่งรัฐและทุนเข้าไปกอบโกยมากเท่าไร ชุมชน หมู่บ้านไทยยิ่งประสบความอ่อนแอ คำพูดดังกล่าวไม่ใช่ คำพูดลอยๆ ทีไ่ม่มีหลักฐ านรองรับ หากแต่เมื่อกวาดตา ไปทวั่ แ ผ่นด นิ ไทย หลังก ารประกาศแผนพฒ ั นาเศรษฐกิจ และสังคมมากว่า 40 ปี จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชนไม่ ประสบปญ ั หาความยากจน ไม่ป ระสบปญ ั หาสงิ่ แ วดล้อม หรือไม่ประสบปัญหาสุขภาพ จากสถานการณ์ดังกล่าวถึงเวลาแล้วหรือยังที่ สังคมไทยควรกลับมาเน้นการพัฒนาที่ไม่มองแต่มิติ ประสิทธิภาพ การสร้างมูลค่าและกำไรหรือการตลาด ด้านเดียว แต่ควรจะเป็นเพื่อประโยชน์ของชุมชนและ สังคม เราไม่ควรลดทอนผู้คนลงไปเป็นเพียงตัวเลข หาก ควรเป็นเพื่อส่งเสริมศักยภาพและศักดิ์ศรี ความเป็น มนุษย์ คำตอบสำหรับค ำถามข้างต้นนี้ คงจะต้องช่วยกัน ค้นหา ไม่ว่าจะใช้ระยะเวลานานเท่าไร คณะผู้จัดทำ
8
ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
01 ซำบายดี ศรีฐาน -1‘ถิ่นอีสานเป็นถิ่นมากหลายวัฒนธรรม’ หลายคน ว่าไว้อย่างนั้น จริงเท็จประการใดแต่ก่อนคงทำได้เพียง หยิบต ำราเรียนมาพลิกอ า่ นดู หากสดุ ท้ายเรือ่ งราวกย็ งั ค ง ค้างคาอยูใ่ นใจ ครัน้ เติบใหญ่โชคดมี หี น้าท กี่ ารงานทที่ ำให้ ตนเองได้เดินทาง ได้พ บพานผู้คนหลากหลาย จึงได้รู้ว่า ข้อความข้างต้นไม่ได้กล่าวเกินเลยไปแม้แต่น ้อย จากอีสานเหนือจรดอีสานใต้ จากดงพญาเย็น จนถึงลำน้ำโขง แดนดินถิ่นอีสานประกอบไปด้วยผู้คน มากมายวัฒนธรรม หลากหลายภาษา เหลือล ้นเทศกาล ประเพณี ทั้งจากชาวลาว ชาวเขมร ชาวกูย ชาวส่วย ผู้ไทย ที่ล้วนแต่งแ ต้มส ีสันให้ภ ูมิภาคนี้มีมนต์เสน่ห์อย่าง แทบไม่น่าเชื่อ ส่วนตัวถ้าไม่นับช่วงที่ยังเป็นนักศึกษาที่มีโอกาส มาเที่ยวบ้านรุ่นพี่เป็นครั้งคราว กับอีสานผมเพิ่งจะมา สนิทค ุ้นเคยเมื่อไม่น านนี้เอง เป็นการสนิทสนมที่รวดเร็ว เหมือนเพื่อนที่รู้จักก ันมานานแล้ว จะล่องโขง ขึ้นปราสาท ชมบั้งไฟ แห่ผ ีตาโขน หรือ
9
10 ศรีฐาน
กิจกรรมอะไรทขี่ นึ้ ช อื่ ว า่ เป็นข องเด็ดถ นิ่ น ผี้ มลว้ นแล้วแ ต่ม ี โอกาสลม้ิ ล องมาเองกบั ต า แต่ท ร่ี สู้ กึ ต ราตรึงแ ละประทับใจ ม ากทสี่ ดุ น่าจ ะเป็นต อนทไี่ ปงานบญ ุ บ งั้ ไฟยโสธร ครัง้ น นั้ เรียกว่าเมามันก ับคนในพื้นที่ 3 วัน 3 คืนติดต่อก ันเลย ทีเดียว พูดแล้วก็พานให้คิดถึง
-2โชคชะตาคงเป็นใจ ขณะกำลังนั่งเขียนงานสารคดี ชิ้นหนึ่ง บรรณาธิการเดินมาถามว่า ช่วงนี้ว่างไหม อยาก ให้ไปทำสารคดีท่องเที่ยวชุมชนที่ตำบลศรีฐาน จังหวัด ยโสธร ผมยมิ้ แ ก้มป ริเลยทเี ดียว ก็น กนอ้ ยในไร่ส ม้ อ ย่างผม
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
จ ะมวั ข งั ต วั เองอยูแ่ ต่ในหอ้ งสเี่ หลีย่ มได้อ ย่างไร อยูน่ านๆ จะพานอกแตกตายไปเสียก่อน รับมอบหมายงานเสร็จเรียบร้อย ผมฝังตัวเองอยู่ กับหนังสือกองย่อมๆ แกล้มด้วยคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ตัวเก่ง เพราะเคยมปี ระสบการณ์เกือบตกมา้ ต ายเมือ่ ค รัง้ ไปเยือนชุมชนแห่งหนึ่งที่มั่นใจเสียนักหนาว่ามีพื้นฐาน ความรู้ดีแล้ว พอลงพื้นที่จริงการณ์กลับเป็นว่าข้อมูลที่ สั่งสมมาตั้งแต่อดีตนั้น กลายเป็นข้อมูลที่ขาดตอน มี ลักษณะเป็นห้วงๆ ก้อนๆ ไม่สามารถนำไปใช้งานใน สถานการณ์จริงได้สักเท่าไหร่ มาถึงครั้งนี้จึงไม่ยอม ปล่อยให้ประวัติศาสตร์ซ ้ำรอยอีก สำหรั บ นั ก เ ขี ย นที่ มี พื้ น ฐานม าจ ากนั ก เรี ย น ประวัติศาสตร์อย่างผม เวลาไปไหนคล้ายกับการได้ เดินทางย้อนไปในอดีตอยู่เหมือนกัน จะไม่เหมือนได้
11
12 ศรีฐาน
อย่างไรล่ะครับ ทุกๆ ครั้งก่อนเดินทางผมเทียวหาข้อมูล ทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่นั้น ราวกับทำหัวข้อเสนอ วิทยานิพนธ์ก็มปิ าน คนอนื่ อ าจจะวา่ น า่ เบือ่ แต่ผ มคดิ ว า่ เป็นส ว่ นสำคัญ อย่างนอ้ ยกเ็ ป็นเกราะปอ้ งกันต วั ไปหนึง่ ข นั้ เราจะได้ไม่ไป ทำอะไรลบหลู่สิ่งที่ชาวบ้านเขาเคารพนับถือหรือไปดูถูก บรรพบุรุษเขาอย่างไม่ต ั้งใจ อีกประการหนึ่ง การนำเสนอที่มาที่ไปของชุมชน จะทำให้คนในชุมชนเกิดความภาคภูมิใจ สำนึกรักและ หวงแหนชุมชนของตนเองมากขึ้นกว่าเดิม
-3พูดถึงเรื่องประวัติศาสตร์ จริงๆ แล้วรายละเอียด ของประวัติศาสตร์เมืองยโสธร ถือว่าเยอะพอสมควร อันดับแ รก คงตอ้ งยอ้ นกลับไปพดู ถ งึ ป ระวัตศิ าสตร์ ลาวสักนิด โดยในยุคสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี อาณาจักร ลาวมีการแย่งชิงราชสมบัติเป็นสาเหตุให้ลาวในสมัยนั้น ถูกแบ่งออกเป็น 3 อาณาจักร คือ อาณาจักรล้านช้าง ร่มขาวหลวงพระบาง ล้านช้างร่มขาวเวียงจันทน์ และ อาณาจักรนครจำปาศักดิ์ อย่างไรก็ดี การสู้รบยังคง ดำเนินต่อเนื่องมาเรื่อยๆ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ต่อม า พ.ศ. 2314 เจ้าพระยา เจ้าพระวอ เสนาบดี นครเวียงจันทน์ ไม่ลงรอยกับพ ระเจ้าศิริบุญสารเจ้านคร องค์ใหม่ ส่วนจะเป็นเรื่องอะไรนั้นตามพงศาวดารไม่ได้ กล่าวไว้ ครั้นเจ้าพระยา เจ้าพระวอ อยูก่ ับเจ้านครองค์ ใหม่ไม่ได้ ทัง้ ส องจงึ อ พยพครอบครัวแ ละบริวารหนีไปตงั้ รกรากใหม่ โดยใช้ชื่อเมืองว่า ‘เมืองหนองบัวลุ่มภู’ ถึงตรงนี้อย่าคิดว่าเรื่องราวทั้งหมดราบรื่นนะครับ พระเจ้าศิริบุญสารก็มิยินดี ทั้งยังระแวงว่าข ้าเก่าจะกลับ มาแก้แค้นจึงได้ยกทัพไปปราบปราม เมื่อทัพหลวงเจอ กับทัพชาวบ้าน ผลเป็นอย่างไรคงไม่ต้องบอก ที่สำคัญ ในการศึกครั้งนั้นเจ้าพระตาถูกยิงด้วยอาวุธปืนและฟัน ด้วยดาบจนถึงแก่พิราลัย ส่วนที่เหลือทั้งเจ้าพระวอ เจ้าคำผง ผู้เป็นบุตร เจ้าพระตา และเจ้าฝ่ายหน้าผู้เป็นน้องทั้งสองของเจ้า พระวอ ต่างแตกทัพหนีกระจายกันไปคนละทิศละทาง โดยขบวนทพั ของเจ้าพระวอได้เดินทางตามลุ่มน้ำชี มา พักก บั เจ้าค ำสู ผูป้ กครองบา้ นสงิ ห์ท า่ (ปัจจุบนั ค อื จ งั หวัด ยโสธร) แต่ตอนนั้นชุมชนบ้านสิงห์ท่ายังไม่มีบทบาทใดๆ ในหน้าประวัติศาสตร์ ทัพของเจ้าพระวอไม่ได้รั้งทัพอยู่ ที่นนี่ านนัก และต่อมาก็พากันอพยพลงไปตามลำน้ำม ูล และสร้างเมืองใหม่ท ี่ดอนวังกองเขตนครจำปาศักดิ์ ตาม
13
14 ศรีฐาน
รับสั่งของพระเจ้าองค์หลวงเจ้านครจำปาศักดิ์ โดยเจ้า พระวอให้ขุดคูสร้างค่ายขึ้นเรียกว่า ‘ค่ายบ้านดู่บ้านแก’ ถึงขนาดนี้อย่าคิดว่าช ีวิตจะสงบนะครับ งัดข้อก ับ ใครไม่งัด งัดกับเจ้าชีวิตนี่พูดยาก ครั้นปี พ.ศ. 2321 พระเจ้ า ศิ ริ บุ ญ ส ารศั ต รู เ ก่ า ท ราบเ รื่ อ ง จึ ง ไ ด้ ย กทั พ มาปราบอีกจนเจ้าพระวอถึงแก่ความตาย เจ้าคำผง และบ ริ ว ารจึ ง ไ ด้ อ พยพต่ อ ไ ปถึ ง ห้ ว ยแ จร ะแม แล้ ว มาสร้างเมืองใหม่ที่ดงอู่ผึ้ง เมื่อถึงปี พ.ศ. 2322 จึงมี หนังสือกราบบังคมทูลขอขึ้นอยู่ในขอบขัณฑสีมาของ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามเมืองทตี่ งั้ ว า่ เมืองอบุ ล จากนนั้ เจ้าค ำผง ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองคนแรกของเมืองอุบล และได้รับพระราชทินนามว่า พระปทุมราชวงศา
-4ฟังเรื่องราวดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกับเมืองยโสธร โดยตรง ทว่าเรื่องยังไม่จบลงแค่นั้น... “หลังการลงหลักปักฐานเรียบร้อย ก็เป็นธรรมดา ของชนชาติที่มีวัฒนธรรมลูกชายคนโตเป็นใหญ่ เจ้า ฝ่ายหน้าน้องพระปทุมราชวงศาเจ้าเมืองอุบล พร้อมกับ นางอูสา ไพร่พลญาติวงศาอกี สว่ นหนึง่ ได้ขอแยกตวั ไปอยู่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
บ้านสงิ ห์ทา่ ซึ่งเจ้าคำสูปกครองอยู่ จะว่ า ไ ปน้ อ งข องพ ระปทุ ม ราชวงศาค นนี้ ไม่ธรรมดานะครับ ในสมัยรัชกาลที่ 1 ท่านทำความดี ความชอบจนได้ร บั ก ารอวยยศเป็นถ งึ เจ้าพระยาพชิ ยั ร าช ขัติยวงศาเจ้านครจำปาศักดิ์ ส่วนทางบ้านสิงห์ท่าได้ให้ ท้าวคำม่วงผู้เป็นน้องชายปกครองแทน ประมาณปี 2357 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้าให้ยกบ้านสิงห์ท่าขึ้นเป็น เมืองและพระราชทานนามเมืองวา่ ‘ยศสนุ ทร’ ต่อม าเรียก เป็น ‘ยโสธร’ และให้เจ้าร าชวงศ์ส งิ ห์ท า่ เป็นเจ้าค รองเมือง มีราชทินนามว่า ‘พระสุนทรวงศาราช’ เป็นเจ้าเมือง คนแรกของจังหวัดย โสธร ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 มีการเปลี่ยนแปลงและ จัดรูปแบบการปกครองใหม่ กระทรวงมหาดไทยได้รวม เมืองยโสธรเข้ากับเมืองอุบลราชธานี โดยเมืองยโสธร แยกเป็นอำเภอยโสธรและอำเภอคำเขื่อนแก้ว จนวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 ได้ม ปี ระกาศคณะปฏิวตั ฉิ บับท ี่ 70 ให้ แยกอำเภอยโสธร อำเภอกุดชุม อำเภอเลิงนกทา อำเภอ คำเขื่อนแก้ว อำเภอมหาชนะชัย และอำเภอป่าติ้ว ออก จากจงั หวัดอ บุ ลราชธานี แล้วร วมจดั ต งั้ เป็นจ งั หวัดย โสธร มีผลใช้บังคับตั้งแต่ว ันที่ 1 มีนาคม 2515 เป็นต้นมา หากใครสนใจศึกษาเพิ่มเติมขอแนะนำให้ไปหา
15
16 ศรีฐาน
หนังสือประวัติศาสตร์อีสานของเติม วิภาคย์พจนกิจ มาอ่านดูครับ อาจได้ท่องเวลากลับไปหาพระเจ้าวอ พระเจ้าตา อันเป็นต้นตระกูลของคนอีสานสมัยใหม่เป็น แน่แท้
-5“เจ้าสิไปไส” “ข้อยสิไปเฮ็ดเวียกที่ยโส” บนรสบัสสายกรุงเทพฯ-ยโสธร-อุบลราชธานี จะ ด้วยบุคลิกท่าทางที่ต่างไปจากคนท้องถิ่น ยามเดินทาง จึงมักมคี นแวะเวียนมาพูดคุยด้วยเสมอ ส่วนตัวไม่มีปัญหาในการพูดคุยกับคนแปลกหน้า อยู่แล้ว ดีเสียอีกจะได้เรียนรู้สำเนียงภาษาของแต่ละ แห่งไปด้วย แต่พูดก็พูดเถอะ ประวัติศาสตร์เมืองยโสธรนี่ผม ศึกษามาดีแล้ว แต่กับตำบลศรีฐาน ผมมีรายละเอียดอยู่ เพียงหยิบมือเดียว แต่มาถึงขนาดนี้แล้วครั้นจะให้ถอย ก็คงไม่ได้ 8 ชั่ ว โมงแ ห่ ง ก ารเ ดิ น ท าง ผมพ ลิ ก ห นั ง สื อ ประวัติศาสตร์อ ีสานไปมาไม่รู้กี่รอบต่อกี่รอบ จนกระทั่ง พอจะสรุปหน้าต่างประวัติศาสตร์ค ร่าวๆ ได้ว ่า
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
คนทตี่ งั้ ช มุ ชนบา้ นศรีฐ านนนั้ น า่ จ ะเป็นค นทอี่ พยพ มาจากเวียงจันทน์ช ดุ เดียวกบั พ ระเจ้าว อ พระเจ้าตา ทีม่ า หยุดพักที่บริเวณ ‘หนองพลับ’ และใช้วัดด งศิลาเลขเป็น ศูนย์กลางชมุ ชน ต่อม าชมุ ชนมกี ารขยายตวั ลูกห ลานบางสว่ น ได้ย้ายมาตั้งบ้านเรือนแห่งใหม่ที่พบว่ามีความอุดม สมบูรณ์เช่นเดียวกันคือ ‘ชุมชนบ้านศรีฐาน’ ได้ข้อมูลอย่างนี้ผมเองก็โล่งใจ เวลาไปคุยแล้ว คนในพื้นที่เล่าถึงพระเจ้าวอ พระเจ้าตาขึ้นมาจะได้รู้ว่า คนสร้างชุมชนศรีฐานนั้นเป็นชาวลาวในรุ่นๆ เดียวกับ ที่มาสร้างเมืองยโสธร เมืองอุบล คราวนี้ล่ะจะได้ไปคุย กับเจ้าถิ่นได้เต็มที่
17
รู้
น ย ี ร เ ล่ง
น า ฐ ี ลศร
ี่แห ท น ผ
แ
จริญ
จเ ำนา
ิ้ว ป่าต ธร / อ โส 2 ย
ตำบ
3
1
ศูนย์ท่องเที่ยว เชิงเกษตร cn
วัดศรีฐานใน
6
โรงเรียนมัธยม (ศก.)
co
หมู่ 1 5
7
หมู่ 4
8 bk
9
bq
bl bm หมู่ 2
วัดศรีพัฒนาราม
br
bs หมู่ 9
c 1 กองทุนสวัสดิการ 2 เกษตรทฤษฎีใหม่ (ลุงโจ้) 3 สวนพอเพียง (แม่ฐา) 4 เกษตรอินทรีย์ปุ๋ยชีวภาพ 5 กองทุนหมู่บ้าน 6 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 7 ผลิตภัณฑ์ครัวเรือน 8 ศูนย์คัดพันธุ์ข้าว 9 กลุ่มขนมไทย 10 ศพด. ศรีฐาน 11 อปพร. 12 สถาบันการเงิน 13 บริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม 14 ข้อมูล TCNAP 15 สปสช.
bn
รพ.สต.ศรีฐาน
อบต.ศรีฐาน
bt
bo bp
ck
อำเภอคำเขื่อนแก้ว 16 แก๊สขี้วัว (ลดพลังงาน) 17 ชมรมผู้สูงอายุ 18 กองทุนโนงพยาบาล 2 บาท 19 ชมรมสร้างสุขภาพ
20 นาพอเพียง (พ่อสายสมร) 21 ชมรม อสม. 22 มัคคุเทศก์น้อย 23 สตรีสหกรณ์
4
งเที่ยว ร
หมู่ 6 วัดดงศิลาเลข
หมู่ 8
วัดศรีฐานนอก
br
น
วัดบ้านกุดสำโรง
โรงเรียน บ้านเกุดสำโรง
cs หมู่ 3
หมู่ 7
ct
cl cm
โรงเรียนชุมชน บ้านศรีฐาน
บ่อโจ้โก้
cr วัดบ้านเตาไห
โรงเรียน บ้านเตาไห cp
24 แม่บ้านเกษตรกร 25 เยาวชนนอนวัดปฏิบัติธรรม 26 แจ่วบอง 27 กลุ่มเพราะเห็ด
28 รำวงย้อนยุค 29 โรงสีชุมชน
หมู่ 5 cq
ดอนลิง
20 ศรีฐาน
02 คนดี-สังคมจึงด ี ฟ้าวันใหม่คล้องแขนสายลมมาต้อนรับ ผมเองก็ กระสันท ี่จะเดินท าง จะมีอะไรสุขมากไปกว่าน ี้ เช้านั้นในตลาดท่ารถเมืองยโสธร ผมแอบดูวิถี ชีวิตของคนเมืองบั้งไฟอย่างสนใจ สำเนียงคนท้องถิ่น ช่างรื่นหูยิ่งนัก พูดถึงการเดินทางเข้าศรีฐาน ทีแรกผมชะเง้อหา รถประจำทาง รอแล้วรออีกก็ไม่มี ดีที่ฉุกคิดเดินไปถาม นายท่าร ถ จะไปมไี ด้อ ย่างไรละ่ ค รับ ถ้าจ ะไปตำบลศรีฐ าน ผมต้องนั่งร ถไปต่อที่อำเภอป่าติ้ว เสร็จแล้วถึงจะมี รถสองแถวต่อเข้าไปที่ตัวตำบล แหม ผมนี่ปล่อยไก่ไป
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ตัวเบ้อเริ่มทเีดียว จากอำเภอป่าติ้ว ผมนั่งร ถเข้าไปประมาณ 12 กิโลเมตร เป็นถ นนสายทแี่ ยกมาจากทางหลวงหมายเลข 202 ถนนอรุณป ระเสริฐ ส่วนใครที่ขับรถมาเองถ้าไม่ใช่ คนท้องถิ่นต้องสังเกตทางเข้านิดหนึ่ง ไม่อ ย่างนั้นเป็นได้ เลยทางเข้าตำบลอย่างแน่นอน บนถนนคอนกรีตเสริมไม้ไผ่สลับถนนลูกรังและ ลาดยาง ผมนั่งแลกยิ้มกับเจ้าถ ิ่นมาตลอดทาง ตรงนี้ผม ถือว สิ าสะเอาเองวา่ เป็นการตอ้ นรับอ ย่างไม่เป็นท างการ ไปเรียบร้อยแล้ว ส่วนสัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าใกล้ถึงตำบลศรีฐาน แล้ว คือ ปากทางเข้าช มุ ชนจะมรี ปู ป นั้ หมอนขิดขนาดใหญ่ ถ้าเข้ามาแล้วเจอรูปปั้นนี้ มั่นใจได้เลยว่าม าถูกท างแล้ว กดกริ่ง จ่ายเงินค่ารถโดยสารเสร็จ ผมเดินเข้า ที่ทำการ อบต.ศรีฐาน อย่างแทบจะไม่ให้เจ้าหน้าที่ได้ ตั้งตัว แต่ผลกลับกลายเป็นว่าคนที่เซอร์ไพรส์คือ ผู้มา เยือนต่างหาก เพราะภาพที่ปรากฏอยู่เบื้องหน้าค ือ อบต. ยังไม่ เปิดทำการครับผ ม นั่งรออยู่พักใหญ่ๆ เจ้าห น้าที่ อบต. จึงค อ่ ยๆ ทยอยมาทำงานพร้อมทำท่าแ ปลกใจพอสมควร ว่า ผมเป็นใคร ทำไมถึงมาที่ทำการ อบต. แต่เช้าตรู่ ที่สำคัญแ บกเป้พะรุงพะรังมาด้วย
21
22 ศรีฐาน
แนะนำตัวกันเป็นที่เรียบร้อยเจ้าห น้าที่ อบต. เดิน ไปตาม ‘ป้าน มิ่ ’ วณิษฐา ธงไชย ผูป้ ระสานงานโครงการ ชุมชนสุขภาวะตำบลศรีฐาน มาพูดคุยและช่วยอำนวย ความสะดวก ทักทายเป็นที่เรียบร้อย ไม่ต้องพูดพล่ามทำเพลง ให้เสียเวลา ป้านิ่มพาไปหานายก อบต. ทันที
ต่างชุมชน ต่างความคิด ปัญหาที่ต้องรีบแก้ ไข นายกฯไสว จันทร์เหลือง เดินออกมาต้อนรับ ด้วยเครื่องแบบข้าราชการเต็มยศ บุคลิกเป็น ผู้ใหญ่ใจดี ใบหน้าผ่องใสสดชื่น ส่วนตัวผมมีความเชื่ออยู่อย่างหนึ่งว่า คนที่ได้รับ การเลือกตั้งมาเป็นนายก อบต. นั้น ไม่ว่าจะพื้นที่ใด คนคนนั้นต้องมีความดีในระดับหนึ่งจนชาวบ้านเชื่อว่า สามารถเข้าม าบรหิ ารทอ้ งถนิ่ ข องตนเองได้ และการเลือก เจ้าพ่อหรือผู้มีอิทธิพลมาเป็น ผู้บริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นก็น่าจะหมดสมัยไปแล้ว เท่าที่ได้คุยกัน นายกฯไสว เคยทำงานในส่วนของ เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองมาก่อน ดังนั้นการมาทำงานใน ส่วนของท้องถิ่นนี้จึงไม่มีปัญหาหนักหนาเท่าไร แต่ก็ ไม่ใช่ว่าจะไม่มี
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ผมเ ริ่ ม ด้ ว ยค ำถามพื้ น ฐ านว่ า ปั ญ หาใ หญ่ ใ น ศรีฐ านมีอะไรบ้าง “ที่นี่มีปัญหาใหญ่ๆ อยู่ไม่กี่เรื่อง เรื่องแรกบอกไป ก็อายนะ คือคนในชุมชนของเราไม่ค่อยมีความสามัคคี กัน” ผมแทบไม่เชือ่ ห กู บั ค ำตอบทไี่ ด้จ ากนายกฯ ว่า คน บ้านเดียวกันจะแตกแยกกันได้อ ย่างไร แล้วบ รรดาผู้เฒ่า ผู้แก่ในชุมชนเขาเอาหไูปนา เอาตาไปไร่หรืออย่างไร ถึง ปล่อยให้คนรุ่นหลังแตกแยกกันอย่างนี้ นายกฯไสวเล่าต่อไปว่า “ที่คนไม่สามัคคีกันนั้น มีสาเหตุมาจากตำบลเราประกอบด้วย 3 ชุมชน ได้แก่ บ้ า นศ รี ฐ าน บ้ า นเ ตาไ ห บ้ า นกุ ด ส ำโรง พอเ วลามี กิจกรรมงานประเพณีต่างๆ ก็มักมีเหตุให้ทะเลาะวิวาท อยู่เสมอ” ดีที่ว่าหลังจากที่นายกฯไสวเข้ามาบริหารงาน ในพนื้ ที่ ปัญหาดงั ก ล่าวกค็ อ่ ยๆ ลดนอ้ ยลง เราลองไปฟงั วิธีการของท่านดูนะครับ เผื่อที่อื่นอาจนำไปปรับใช้ได้ “หลังจากที่ผมเข้ามาบริหาร 1-2 ปีมานี้ปัญหา ดังกล่าวดีขึ้นมาหน่อย ผมใช้แนวทางให้ทุกชุมชนเข้ามา มีบทบาทรับผิดชอบการจัดงานประเพณีหรือกิจกรรม ต่างๆ เช่น ถ้ามีงานที่บ้านศรีฐาน ผมก็จะให้คนที่บ้าน เตาไห หรือบ้านกุดสำโรง เข้ามาร่วมรับผ ิดชอบดูแลคน
23
24 ศรีฐาน
ของชุมชนตนเองด้วย “ที่แล้วๆ มา คนบ้านอื่นๆ เขาอาจจะน้อยใจที่ อบต. ใส่ใจเฉพาะทบี่ า้ นศรีฐ าน เขาเลยมาระบายออกใน ทางอื่น ซึ่งต ั้งแต่ผมให้ทุกช ุมชนเข้าม ามีบทบาทก็รู้สึกว่า คนในตำบลมีความผูกพันรักใคร่กันมากขึ้น” เรื่องใจคนจึงเป็นเรื่องสำคัญ หากเราปล่อยให้ คนอีกกลุ่มหนึ่งรู้สึกถูกทิ้งขว้าง ชุมชนก็อาจจะมีปัญหา แตกสามัคคีกันได้ ตรงนี้ผู้บริหารท้องถิ่นพึงระวังเป็น อย่างยิ่ง
ยาเสพติด ภัยท ี่มาพร้อมความเจริญ ต่อจ ากเรือ่ งความแตกแยกในชมุ ชน เท่าท ผี่ มศกึ ษา ข้อมูลม าบางสว่ น เข้าใจวา่ ทีน่ เี่ ป็นช มุ ชนเศรษฐกิจอ นั ดับ 1 ของจังหวัดยโสธร ดังนั้นเรื่องปากท้องจึงไม่น่าจะมี ปัญหาอะไร ทว่า ในความอุดมสมบูรณ์ทางเศรษฐกิจกลับมี ปัญหาที่คาดไม่ถึงซ่อนอยู่ “ปัญหาอีกอย่างที่น่ากังวลของตำบลเราคือ เรื่อง ยาเสพติด จริงๆ แล้วผมห่วงเรื่องนี้มากกว่าเรื่องความ ไม่ส ามัคคีก ันข องชุมชนอีกน ะ ตรงนั้นเรายังพ อเข้าไปคุย เข้าไปแก้ไขได้ ส่วนเรือ่ งนเี้ ราได้แ ต่เฝ้าร ะวัง เฝ้าป ราบปราม
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
พ อ่ ค้าย าทจี่ ะเข้าม าในชมุ ชน โดยเฉพาะกบั ว ยั ร นุ่ บ างครัง้ เรือ่ งนพี้ ดู ย าก ยิง่ พ ดู ก ย็ งิ่ ห าวา่ เราไปปรักปรำวา่ เขาตดิ ย า ผมเคยคุยก ับพ่อค้ายาเสพติดท ี่ถูกจับ เขาให้เหตุผลว่าที่ เข้ามาทำตลาดที่ศรีฐานเพราะว่าทีน่ ี่เศรษฐกิจดี วัยร ุ่นมี เงิน มีรายได้ทเี่กิดจากรับจ้างเย็บหมอนขิด” ฟังนายกฯ เล่าป ัญหานี้ ผมก็ได้แ ต่ส่ายหัว ไม่รู้จะ ออกความคิดเห็นอย่างไร ปัญหายาเสพติดกับบ้านเรา แก้อย่างไรก็ไม่มีทางหมด ตราบใดที่ผู้ปราบปรามยังได้ ผลประโยชน์จากเรื่องนี้อยู่ แต่น ายกฯคนเก่งข องเรากม็ วี ธิ แี ก้ป ญ ั หาเรือ่ งนโี้ ดย ใช้หลักคุณธรรม “เรือ่ งทเี่ ราจะไปวงิ่ ไล่จ บั ค นตดิ ย าหรือพ อ่ ค้าย านนั้ คงทำได้เพียงประสานให้ตำรวจหรือฝ่ายปกครองให้เข้า มาดูแลดีกว่า สำหรับ อบต. นั้นเราจะใช้หลักเอาน้ำเย็น เข้าลูบ โดยจัดเด็กที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงมาเข้าค่ายคุณธรรม “เราจะพยายามปลูกฝังในเรื่องความรู้คู่คุณธรรม เป็นคนดี มีวินัยและรับผิดชอบ มีความภาคภูมิใจใน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น แล้วก็จะทำให้เห็นพิษ ภัยของยาเสพติด ที่สำคัญเรายังรณรงค์ไปถึงผู้ใหญ่ด้วย ว่า หน้าที่เฝ้าระแวดระวังล ูกหลานเป็นของทุกค น ไม่ใช่ ปล่อยให้คนใดคนหนึ่งรับผ ิดชอบ”
25
26 ศรีฐาน
ขับเคลื่อนชุมชนด้วยการมีส่วนร่วม ฉุกคิดได้ว่าเราคุยถึงแต่เรื่องปัญหา เดี๋ยวนายกฯ ไสวจะเข้าใจผิดว่ามาจับผิดตำบลศรีฐาน ว่าแล้วจึงขอ ให้ท่านแสดงวิสัยทัศน์การบริหารชุมชนเสียหน่อยว่า นายกฯท่านนมี้ ีนโยบายอย่างไรบ้าง “หลั ก ส ำคั ญ ท างค ณะผู้ บ ริ ห ารข องเ ราจ ะเ ปิ ด โอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกๆ เรือ่ ง เพราะเราเชือ่ ว า่ ป ระชาชนเป็นเจ้าของปญ ั หา ดังน นั้ การทำงานหรือก ารพฒ ั นาโดยองิ ข อ้ มูลห รือค วามตอ้ งการ จากชาวบ้านจึงเป็นวิธีการที่ดที ี่สุด “ทีส่ ำคัญค อื ต อ้ งมกี ารพฒ ั นาคน เพราะจากบทเรียน ท ผี่ า่ นมาพบวา่ ถ้าค นในชมุ ชนดี ชุมชนกจ็ ะมกี ารพฒ ั นาที่ ดี โดยเฉพาะถา้ แ กนนำในชมุ ชนมจี ติ อ าสา มีค วามพร้อม และสำนึกต่อสาธารณประโยชน์ด้วยแล้ว รับรองว่าจะ นำพาชุมชนให้เจริญได้แ น่นอน” ฟังดูผมไม่แน่ใจว่าที่นายกฯพูดนั้นเป็นนามธรรม เกินไปหรือเปล่า โดยเฉพาะเรือ่ งการมสี ว่ นรว่ ม เพราะผม เห็นใครๆ ต่างกพ็ ดู ถ งึ แ ต่ค ำคำนี้ แต่เอาเข้าจ ริงแ ล้วอ าจมี ชุมชนเพียงไม่กี่แห่งท ี่สามารถทำเรื่องนี้ได้จริง นั่งเหม่อไปนิดเดียว นายกฯกระทุ้งถามว่าตกลง ไม่เชื่อใช่มั้ย ถ้าอย่างนั้นเดี๋ยวจะให้คนพาไปดกู ิจกรรมที่ เกิดจากแกนนำชุมชนแท้ๆ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
แหม...นายกฯรูใ้จอย่างนี้ผมก็ไม่ขัดศรัทธา ว่าแ ล้ว จึงออกเดินทางไปยังสถาบันการเงินชุมชน อันเป็นแหล่ง เรียนรู้แห่งแรกสำหรับผมในวันน ี้
27
28 ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
03 สถาบันก ารเงินช ุมชน ศักยภาพ
จากแรงกระตุ้นภายใน
พริบต าเดียวไวเหมือนโกหก จากที่ทำการ อบต. มาถึง ‘สถาบันการเงินชุมชนตำบลศรีฐาน’ จะไม่ให้พริบ ตาเดียวได้อย่างไรล่ะครับ ก็ตึกที่ทำการสถาบันการเงิน อยู่ถัดจากตึกที่ทำการ อบต. เพียงไม่ก ี่ก้าว แรกเห็น ลักษณะการจัดวางเคาน์เตอร์ การแบ่ง สัดส่วนต่างๆ นั้นไม่ต่างไปจากที่ทำการธนาคารทั่วไป จะมีก็แต่ขนาดที่ย่อมกว่าและลักษณะของตัวอาคารที่ เป็นกันเองกว่าเท่านั้น ส่วนบคุ ลากรหรืออ ปุ กรณ์เครือ่ งไม้เครือ่ งมอื ต า่ งๆ นั้นถือว่าครบครัน สามารถให้บริการชาวบ้านได้อย่าง เพียงพอ สำหรับต วั ผ มเองคน้ คว้าศ กึ ษาเรือ่ งสถาบันก ารเงิน ชุมชนมาไม่น้อยเหมือนกัน ทว่าในบรรดากรณีตัวอย่าง ที่เคยศึกษามานั้นมีเกินครึ่งที่ทำแล้วไม่ประสบความ สำเร็จ ว่าแ ต่...ทีศ่ รีฐ านมเี คล็ดล บั อ ะไร สถาบันก ารเงินท นี่ ี่ จึงมียอดเงินฝากกว่า 20 ล้านบาท ผูท้ จี่ ะให้ค วามกระจ่างในเรือ่ งนไี้ ด้ด ที สี่ ดุ คงไม่พ น้
29
30 ศรีฐาน
‘พ่อใ หญ่จ่อย’ นคร ไชยงาม ประธานคณะกรรมการ สถาบันการเงินชุมชน
หนี้นอกระบบ พิษร้ายกัดก ินชุมชน ก่ อ นห น้ า ที่ จ ะคุ ย กั บ พ่ อ ใ หญ่ จ่ อ ย ผมแ อบตั้ ง สมมุติฐานในใจว่า การเกิดขึ้นของสถาบันการเงินใน ชุมชนแห่งนี้ คงหนีไม่พ้นปัญหาหนี้นอกระบบอย่าง แน่นอน และแล้วส งิ่ ท ผี่ มคดิ เอาไว้ก เ็ ป็นจ ริง จากคำบอกเล่า ของพอ่ ใหญ่จ อ่ ย ทำให้ร วู้ า่ ส ถาบันก ารเงินข องทนี่ เี่ กิดจ าก ข้อต กลงของภาคประชาชนทเี่ สนอความตอ้ งการขนึ้ ม าให้ ทาง อบต. ดำเนินการ “ช่วงทเี่ ราประชาคมวา่ ช มุ ชนตอ้ งการอะไรบา้ ง เรา พบวา่ ม ี 2 ปัญหาใหญ่ท ชี่ าวบา้ นตอ้ งการความชว่ ยเหลือ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
หนึง่ ในนนั้ ค อื ป ญ ั หาหนีส้ นิ เราพบวา่ ค นในชมุ ชนมหี นีส้ นิ ที่ไปยืมจากชุมชนอื่นมาเกือบ 80 ล้านบาท โดยเฉพาะ ในสว่ นทเี่ ป็นห นีน้ อกระบบ เราพบวา่ ห ลายๆ คนมปี ญ ั หา เรื้อรังท ี่ไม่ส ามารถจัดการได้” พูดถ ึงหนี้นอกระบบ ผมก็ได้แต่คิดในใจ ไม่รู้ว่าใน จำนวนเงิน 80 ล้านบาท ใครเป็นหนี้นอกระบบคนละ เท่าไหร่ และหากไม่มีการช่วยเหลือจากภาครัฐ ถ้าไม่ถูก หวยรวยโปอะไรขึ้นมา เรื่องที่จะไปปลดพันธะอันแน่น หนานี้ ลืมไปได้เลย แต่ผ มคดิ ว า่ ค นศรีฐ านโชคดกี ว่าท อ่ี น่ื ต รงทม่ี แี กนนำ ชุมชนหรือผ ู้บริหาร อบต. ใส่ใจในเรื่องนี้อย่างจริงจัง
เริ่มต ้นจากเงินกองทุนหมู่บ้าน จั ง หวะเ ดี ย วกั น นั้ น พ่ อ ใ หญ่ จ่ อ ยเ อื้ อ มไ ปห ยิ บ
31
32 ศรีฐาน
เอกสารการก่อตั้งสถาบันการเงิน ให้ดู ผมพลิกดหู ลักการแนวคิดแล้ว ก็เหมือนไม่ยากเย็นอะไรมากนัก หากในการทำงานไม่ได้ร าบรนื่ อ ย่าง ที่คิด โดยเฉพาะความร่วมมือจากหมู่บ้านต่างๆ “หลังจ ากที่ชุมชนทำประชาคมความต้องการเสร็จ ราวปลายปี 2548 รัฐบาลมนี โยบายเรือ่ งสถาบันก ารเงิน ชุมชนออกมาพอดี โดยรฐั จ ะสนับสนุนเงินท นุ 100,000 บาท เป็นท นุ ต งั้ ต น้ ซึง่ ผ มเป็นส ว่ นหนึง่ ข องคณะกรรมการ องค์กรการแก้ไขความยากจนของจังหวัดก็เห็นว่าน่าจะ มีความเป็นไปได้ เลยเสนอว่าเงินเพียงเท่าน ี้ไม่น่าจะพอ ถ้าอย่างนั้นให้แต่ละหมู่บ้านเจียดเงินกองทุนหมู่บ้านมา สมทบเพิ่มจ ะดีมั้ย “ตอนนนั้ พ วกเราจงึ เรียกสมาชิกข องกองทนุ ต า่ งๆ ทั้ง 9 หมู่บ้านมาร่วมกันประชุม เราถกกันว่าก องทุนของ แต่ละหมู่บ้านจะสนับสนุนได้เท่าไร คุยไปคุยมาเหลือ เพียง 4 หมู่บ้านทเี่ห็นด้วยกับเรา ตอนนั้นแต่ละหมู่บ้าน เจียดเงินก องทุนห มูบ่ า้ นละ 20,000 บาท มาลงขันก อ่ ต งั้ สถาบันการเงินด้วยทุนประเดิม 80,000 บาท” พ่อใหญ่จ ่อยพูดจบ ผมสวนขึ้นทันที “อ้าวพ่อใหญ่ ทำไมเงินทุนมีแค่ 80,000 ล่ะ ไหน ว่ารัฐสนับสนุนเงินมา 100,000 บาท รวมกับเงินจาก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
กองทุนหมู่บ้านแล้วต้องได้ 180,000 ไม่ใช่หรือ” “ทีแรกเราก็คิดอย่างนั้น พอเอาเข้าจริงๆ เงินที่ เขาสนับสนุนดันมาในรูปของการให้วัสดุอุปกรณ์ การฝึก อบรมต่างๆ ผมนี่ปวดหัวเลย ไม่รู้จะเอาเงินจากไหนมา บรหิ าร โชคดที ตี่ อนขายหนุ้ เราขายได้เยอะหน่อย สถาบัน การเงินชุมชนของเราจึงถือกำเนิดขึ้นมาได้”
กติกาที่ยืดหยุ่น ข้อต กลงจากประชาคม หลักจ ากทที่ ั้ง 4 ชุมชนตกลงก่อต ั้งส ถาบันก ารเงิน ร่วมกันแล้ว พ่อใหญ่จ่อยเล่าต่อไปว่า “ระยะแรกเราจะมีธนาคารจากภาครัฐเข้ามาช่วย สอนระบบงานต่างๆ เช่น ธ.ก.ส. บ้าง ออมสินบ้าง ส่วนเรื่องอัตราดอกเบี้ยทั้งเงินกู้ เงินฝาก สมาชิกจะเป็น ผู้กำหนดขึ้นมาเอง ซึ่งในช่วงตั้งต้นจะปล่อยกู้กันในแบบ อัตราดอกเบี้ยสูงหน่อย แต่ก็ยังต่ำกว่าที่ชาวบ้านไปกู้ นอกระบบ” “อัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูง ชาวบ้านเขาจะรับได้หรือ ครับ” ผมถาม “เรื่องนี้เรามีมติกันในที่ประชุมแล้ว ทุกคนต้อง ยอมรับ แต่ที่ทำอย่างนี้เพราะเรามีทุนน้อย อีกอย่างคือ เราอยากให้สถาบันการเงินมีเงินสะสมเร็วที่สุด
33
34 ศรีฐาน
“อย่างไรก็ดี อัตราเงินฝากของเราก็มากกว่าที่อื่น เป็นเงาตามตัวด้วยนะ เช่น ธนาคารพาณิชย์ให้ด อกเบี้ย เงินฝากออมทรัพย์ 75 สตางค์ แต่เราให้ 1 บาท หรือ ดอกเบี้ยฝากประจำที่อื่นให้เต็มที่ไม่เกิน 3 บาท แต่ ของเราให้ 4 บาท 25 สตางค์ คิดๆ ดูแ ล้วช าวบ้านได้ มากกว่าเสียน ะ” ดีดลูกคิดรางแก้วดูแล้วก็น่าจะจริงอย่างทพี่ ่อใหญ่ จ่อยว่า ยิ่งพอได้ฟังว่าปีแรกสมาชิกได้ปันหุ้นคนละ 17 บาท จากราคาหนุ้ 10 บาท ยิง่ ร สู้ กึ ว า่ ส ถาบันก ารเงินแ ห่ง นี้ไม่ได้จ้องเข้ามากอบโกยเอาผลประโยชน์จากชาวบ้าน อย่างแน่นอน หากในทางกลับกันสถาบันการเงินชุมชน แห่งน ที้ ำหน้าทีเ่ ป็นท งั้ แ หล่งอ อมทรัพย์ เป็นแ หล่งเงินท นุ ทีส่ ำคัญข องคนในชมุ ชนอย่างทไี่ ม่มสี ถาบันก ารเงินอ นื่ ใด จะเข้ามาเสนอเงื่อนไขแข่งขันได้ พูดถึงเงินฝากเงินกู้ ผมถามพ่อใหญ่ต่อว่า แล้วคน ที่ไม่สามารถส่งเงินกู้ได้ตามกำหนด ที่นี่มีระบบจัดการ อย่างไร พ่อใหญ่จ่อยขยับแว่นตา ก่อนตอบด้วยน้ำเสียง เรียบๆ แต่แฝงความเป็นกันเองว่า “ในกระบวนการจดั การของเราจะมคี ณะกรรมการ ออกไปตดิ ตาม แต่ก ไ็ ม่ได้ท ำอย่างหกั หาญนำ้ ใจ เราจะใช้ วิธพี ูดค ุยเป็นร ายบุคคลว่าใครมกี ำลังส ่งแ ค่ไหน บ้างกใ็ห้
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ส่งเป็นรายวัน บ้างก็รายสัปดาห์ ขึ้นอ ยู่กับค วามสามารถ ที่ชาวบ้านเขาทำได้ “ส่วนเรื่องที่จะไปยึดที่นาหรือฟ้องร้องอะไรนั้น ชาวบา้ นทเี่ ป็นส มาชิกเขาไม่ย อมหรอก ยังไงกพ็ ๆ ี่ น้องๆ กันทั้งนั้น แต่เราจะหาหนทาง หาช่องทางที่จะช่วยกัน เรื่องประจานนี่ลืมไปได้เลย” ที่สำคัญพ่อใหญ่คนเก่งทิ้งท้ายไว้น ่าฟังทีเดียว “เวลาเกิดปัญหา จะไม่มีการตัดสินใจคนเดียว การตดั สินท กุ อ ย่างตอ้ งผา่ นคณะกรรมการตดั สินร ว่ มกนั เพราะเงินกองทุนนั้นเป็นของชาวบ้าน ชาวบ้านต้องมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ”
มีแต่กู้-ไร้ค นฝาก วิกฤติท ี่คาดไม่ถึง ดูเหมือนวา่ ท กุ อ ย่างกำลังร าบรนื่ ทว่าในความเป็น จริง ส ถาบันก ารเงินแ ห่งน เี้ คยเกือบตอ้ งปดิ ต วั เองมาแล้ว เรื่องราวเป็นอย่างไรลองฟังกันดู “2 ปีแรกนี่จะพังมิพังแหล่ เพราะมีแต่คนมากู้ แต่ไม่มีคนมาฝาก ตอนนั้นเงินในบัญชีแทบไม่เหลือเลย เชื่อมั้ยมีอยูค่ รั้งหนึ่งส มาชิกมาถอนหุ้นทีเดียว 2 แสน 3 หมื่นบาท ผมนี่เข่าอ่อนไปเลยตอนนั้น คิดว่าไม่ตายวันนี้ จะตายวันไหน เพราะเราเอาเงินหุ้นไปปล่อยเกือบ 90
35
36 ศรีฐาน
เปอร์เซ็นต์ โชคดที ี่ว่าก ลุ่มของเรายังมีคนในชุมชนเข้ามา ช่วยประคับประคองไว้ อีกส่วนหนึ่งเราได้ ธ.ก.ส. เข้าม าช่วย โดยเขาให้เรา กู้เงิน 1 ล้าน 5 แสนบาท แล้วเราก็มาควบคุมกลไกการ ให้กู้ใหม่ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น คือถ้าชาวบ้านฝากไม่ ถึง 3 เดือนแล้วถอนก็จะไม่ได้ดอกเบี้ย” ถึงตรงนคี้ นช่างสงสัยอย่างผมอดถามไม่ได้ “ไปกู้เงิน ธ.ก.ส. มาอย่างนี้ เขาไม่มาไล่บี้เราหรือ แล้วกฎระเบียบต่างๆ เราต้องปรับตามกฎของเขาด้วย หรือไม่” พ่อใหญ่จ ่อยตอบแบบไม่ต ้องคิดเลยว่า “ธ.ก.ส. ไม่เข้าม ายมุ่ ย่ามอะไรเลย เราอยากทำอะไร เขาสนับสนุนห มด มีแ ต่เรามากกว่าท เี่ ข้าไปหา ธ.ก.ส. เอง โดยเฉพาะในเรื่องแนวทางการบริหารงาน จนถึงปีที่ 3 สถาบันการเงินชุมชนของเราก็เริ่มลืมตาอ้าปากได้ และ ปัจจุบันเราก็ใช้หนี้ ธ.ก.ส. หมดไปเรียบร้อยแล้ว”
ทำมากกว่าพ ูด พิสูจน์ก ันที่เนื้องาน หลังจากที่นั่งแลกเปลี่ยนความคิดกับพ่อใหญ่จ่อย มาพักใหญ่ ผมเริ่มเห็นแล้วว่าจริงๆ แล้วปัญหาของ สถาบันการเงินชุมชน หรืออาจจะรวมบรรดาธนาคาร
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
หมู่บ้านไปด้วย น่าจะเป็นเรื่องของความน่าเชื่อถือเป็น สำคัญ ตรงนคี้ งจะไปโทษชาวบา้ นไม่ได้ เพราะเงินใครใคร ก็ร กั อยูด่ ๆ ี จะให้ไปฝากกบั ค นทไี่ ม่รจู้ กั ห วั นอนปลายเท้า นั้น ก็ดูกระไรอยู่ เรื่องนี้พ่อใหญ่จ่อยเสริมขึ้นมาทันทีว่า “เรือ่ งทจี่ ะไปเชิญช วนให้ใครมาฝากเงินก บั ส ถาบัน การเงิน เราพูดไม่ได้เลย มีแต่ต้องทำให้ดู แม้แต่กลุ่ม สหกรณ์ออมทรัพย์เองยังไปไม่รอด อย่างปีแรกคนที่จะ มาฝากเงินเขาถึงขั้นโทรไปหา ธ.ก.ส. เลย เพราะไม่เชื่อ ถือเรา” หากเป็นผ มเจอสถานการณ์อ ย่างนบ้ี า้ งกค็ งจะปวดหวั ไม่น้อยเหมือนกัน แต่สำหรับพ่อใหญ่คนดีของเรากลับ ไม่ท้อถอย แกว่าแกเป็นคนที่นี่ อย่างไรก็ทิ้งชุมชนไม่ได้
37
38 ศรีฐาน
ต้องหาถุงเงินถุงทองเอาไว้ให้ช าวบ้านได้ใช้ในยามขัดสน “ตอนนี้ดีขึ้นมาหน่อย ชาวบ้านเริ่มเห็นแล้วว่า เราทำจริง ทำจนชาวบ้านเกิดศรัทธา เขาจึงเริ่มเอาเงิน เข้ามาฝากไว้กับเรา โดยเฉพาะตอนนี้ผู้ประกอบธุรกิจ หมอนขิดในชุมชนเข้ามาช่วยสถาบันการเงินของเรา เรา จึงเริ่มอ ยู่ได้ “ขณะนเี้ งินฝ ากของเรามอี ยู่ 22 ล้านบาท ส่วนหนุ้ มีอ ยู่ 1 ล้านกว่าบ าท ในการถอื ห นุ้ จ ะมอี ยู่ 2 ลักษณะ คือ ชาวบ้านทั่วไปราคาหุ้นละ 100 บาท ซื้อได้ไม่เกิน 100 หุ้น อีกส่วนคือหุ้นที่มาจากกองทุนหมู่บ้าน ตรงนั้นจะมี คณะกรรมการเข้ามาดูแลเงินของแต่ละหมู่”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เงื่อนไขการกู้ของสถาบันการเงินชุมชนศรีฐาน 1. สมาชิกลูกค้ากู้เงินเพื่อทำธุรกิจ วงเงินกู้ไม่เกิน 5 ล้านบาท คิดด อกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อป ี หากประวัติ ผ่อนชำระดี อัตราดอกเบี้ยจะลดลงเหลือร้อยละ 9 ได้ แต่ถ้าผ่อนชำระไม่ดี ดอกเบี้ยก็จะปรับขึ้นเป็นร้อยละ 11-12 ได้เช่นกัน 2. สมาชิกล กู ค้าก เู้ งินเพือ่ ท ำธรุ กิจร ะดับป านกลาง วงเงินกู้ไม่เกิน 200,000 บาท คิดดอกเบี้ยร้อยละ 12 ต่อปี 3. สมาชิกล กู ค้าก เู้ งินท ตี่ อ้ งการนำไปทำการเกษตร วงเงินกู้ไม่เกิน 100,000 บาท คิดดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อป ี 4. ลูกค้าสมาชิกที่มีปัญหาร้อนเงินฉุกเฉิน กูไ้ด้ไม่ เกิน 5,000 บาท มีเงื่อนไขการผ่อนชำระ 5 เดือน เดือน ละ 1,100 บาท ถ้าประวัติการผ่อนชำระดี สามารถกู้ ได้ 10,000 บาท ผ่อนนาน 10 เดือน อัตราดอกเบี้ย จะสูงกว่าแบบอื่นๆ เพราะกู้ได้โดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ ค้ำป ระกัน ใช้บุคคลค้ำประกันเพียง 2 คนเท่านั้น ต่าง จากการกู้ของลูกค้าแบบที่ 1-3 ที่ต้องมีหลักทรัพย์มา ค้ำประกัน
39
40 ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
41
42 ศรีฐาน
04 สวัสดิการถ้วนหน้า
ดูแลประชาชนทั่วถึง
“ป้านิ่มครับ ผมคุยเรื่องสถาบันการเงินเสร็จแล้ว แหล่งเรียนรู้ต่อไปที่ป้านัดไว้เป็นเรื่องอะไร ยังไงรบกวน มารับที่สถาบันการเงินด้วยนะครับ” หลังว างหโู ทรศัพท์เสร็จ พ่อใหญ่จ อ่ ยเดินม าสะกิด ไหล่พ ร้อมพดู ว า่ “ป้าน มิ่ ย งั ไม่ได้บ อกเหรอวา่ แหล่งเรียน รูท้ จี่ ะให้ห นุม่ ล งพืน้ ท อี่ กี แ หลง่ น ะ่ ตัง้ อ ยูท่ เี่ ดียวกบั ส ถาบัน การเงินชุมชนนแี่ หละ หรือจะพูดให้ถูก ก็ต ้องบอกว่าอยู่ ในสถาบันการเงินนี่เอง” เอากบั เขาสิ นีต่ กลงพอ่ ใหญ่จ อ่ ยจะทำงานทกุ อ ย่าง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ของชุมชนเลยหรืออย่างไรนะ ว่าแล้วจึงจัดที่จัดทาง นั่งคุยกับแกอีกหนึ่งยก ยกทแี่ ล้วแ กมขี องดีม าโชว์ ยกนกี้ ค็ งไม่น อ้ ยหนา้ ย ก ที่แล้วอย่างแน่นอน แต่ก อ่ นทจี่ ะซกั ไซ้ไล่เลียง พ่อใหญ่จ อ่ ยอยากจะพดู ถึง ‘กองทุนสวัสดิการชุมชน’ อันเป็นหัวข้อที่เราจะพูดถึง ต่อไปเสียห น่อย กองทุนสวัสดิการชุมชนเป็นกองทุนที่เกิดจากการ จัดตั้งของคนในชุมชนเพื่อเป็นหลักประกันความมั่นคง ในชีวิตบนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง การช่วยเหลือ เกื้อกูลกันของคนในชุมชนตั้งแต่เกิดจนตาย เป็นการจัด สวัสดิการของชาวบ้าน โดยชาวบ้าน เพื่อชาวบ้าน ที่สำคัญการให้สวัสดิการดังกล่าวไม่ได้มีลักษณะ
43
44 ศรีฐาน
เป็นการสงเคราะห์ หากเป็นการให้อ ย่างมคี ณ ุ ค่า และการ รับอ ย่างมศี กั ดิศ์ รี โดยตงั้ อ ยูบ่ นพนื้ ฐ านทวี่ า่ ผ รู้ บั ส วัสดิการ ก็คือเจ้าของกองทุนด้วยเช่นเดียวกัน ส่วนแนวทางการดำเนินการ จากประสบการณ์ที่ ผมได้สัมผัสม าในหลายๆ พื้นทีน่ ั้น แม้ว่าจ ะมีการจัดตั้ง กองทุนส วัสดิการเหมือนกนั แต่ในเรือ่ งวธิ กี ารจดั การกลับ มีค วามหลากหลายอย่างคาดไม่ถ งึ ไม่ว า่ จ ะเรือ่ งคา่ ส มัคร สมาชิก เงือ่ นไขสวัสดิการทจี่ ะได้ร บั รวมทงั้ เรือ่ งวธิ กี ารมี ส่วนรว่ มหรือร ายละเอียดตา่ งๆ ในแต่ละพนื้ ทีล่ ว้ นแล้วแ ต่ มีแนวทางการทำงานเฉพาะของตัวเอง
ล้มแล้วลุก สำเร็จด ้วยชุมชน จะวา่ ไปกโ็ ชคดไี ปอย่างทวี่ ทิ ยากรของกลุม่ ก องทุน สวัสดิการชมุ ชนเป็นพ อ่ ใหญ่จ อ่ ย จะได้ไม่ต อ้ งไปทำความ รู้จักใหม่ แถมทสี่ ำคัญน ะ ลองให้แ กเล่าเรื่องอะไรแล้วล ่ะ ก็ พูดน้ำไหลไฟดับเลยทีเดียว ว่าแล้วผู้จัดการชุมชน (ฉายาของพ่อใหญ่จ่อย) ก็ ร่ายมนตร์ให้ฟังทันที “เรื่องกองทุนสวัสดิการของตำบลศรีฐานนี่มีอยู่ 2 ยุค ยุคแรกประมาณปี 2551 โดยการสนับสนุนจากกรม การพัฒนาชุมชน (พช.) และให้ อบต. มาดำเนินการ แต่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ยุคแรกๆ ก็ทำไว้ไม่ค่อยเป็นระเบียบเท่าไหร่ จากนั้นก็ เงียบหายไป “ส่วนผมเองมาทำในยุคที่ 2 ควบคู่กับสถาบัน การเงิน จำได้ว ่าเริ่มต้นประมาณปลายปี 2553 ต่อต้น ปี 2554 เริ่มต้นจากกองทุนฌาปนกิจให้ผู้เฒ่าผ ู้แก่ โดย มีผู้สูงอายุในชุมชนเข้าร่วมครบทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นต์ พอเห็นว่าทำเรื่องนี้สำเร็จจึงอยากไปขยายเรื่องกองทุน สวัสดิการชุมชนต่อ” ขณะที่เรากำลังพูดคุยกันอยู่นั้น พ่อใหญ่จ่อยให้ เจ้าหน้าที่สถาบันการเงินหยิบสมุดบันทึกรายชื่อสมาชิก กองทุนสวัสดิการมาให้ด ูเทียบกัน 2 เล่ม ผมจึงถามไปว่า รายชื่อจากทั้ง 2 เล่มนี้แตกต่าง กันอย่างไร ทำไมถึงอยากให้ดนู ัก คราวนี้แกสีหน้าเคร่งเครียดทันที “ที่ให้ดู 2 เล่มนี้ เพราะอยากให้ดูเทียบกันทั้ง 2 ยุค อย่างทเี่ ล่าให้ฟ งั ว า่ หลังจ ากทำเรือ่ งกองทุนฌ าปนกิจ สำเร็จแ ล้ว ผมกข็ ยับไปทำเรือ่ งกองทุนส วัสดิการ แต่ก ลับ พบปัญหาที่คาดไม่ถึง เมื่อ พช. ตีเรื่องกลับมาว่าเคยให้ เงินสนับสนุน อบต. มาแล้ว ผมก็กลับมาดูที่ อบต. ก็พบ ว่าเป็นเรื่องจริง แล้วที่สำคัญคือทำกันอย่างเละเทะ ไม่ ถูกต้องตามระเบียบราชการ สมาชิกก็มีอยู่แค่ 50 กว่า คน เราจะไปทำตอ่ ก ไ็ ม่ได้ เพราะตามระเบียบการทำงาน
45
46 ศรีฐาน
ของกองทุน เมื่อผ ่านไป 1 ปี ต้องมีสมาชิก 100 คนขึ้น ไปจึงจะของบประมาณเพิ่มได้” เมื่ อ พ ลิ ก ดู ส มุ ด ร ายชื่ อ ส มาชิ ก ข องกองทุ น สวัสดิการของเดิมแล้วก็เป็นจริงอย่างที่พ่อใหญ่จ่อยเล่า ใจพลางคิดไปว่า คงเป็นเพราะแต่ก่อน อบต. ทำงาน กันอย่างนี้ไงเล่า แล้วชาวบ้านที่ไหนเขาจะอยากมาร่วม กลุ่มด ้วย แต่ก ต็ อ้ งยอมรับใจพอ่ ใหญ่จ อ่ ยแกจริงๆ เจอปญ ั หา ขนาดนยี้ งั ไม่ท อ้ กลับห าชอ่ งทางในการฟนื้ ค นื ชีพก องทุน นี้ขึ้นมาใหม่ แถมยังทำได้ดกี ว่าข องเดิมอีกด้วยซ้ำ แกเล่าให้ฟังว่า “แม้จะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นตั้งแต่ สมัยนายกฯคนก่อน แต่เมื่อได้ไปคุยกับนายกฯไสว ก็ได้ รับคำยนื ยันว า่ พร้อมจะหาชอ่ งทางสนับสนุนอ ย่างเต็มท ี่ ไม่ต อ้ งกงั วล เราจงึ ร ว่ มกนั ห าวธิ กี ารหลายๆ ช่องทาง แต่ ด้วยงานที่คณะกรรมการชุดที่แล้วทำไว้เคลื่อนต่อไม่ได้ หลักฐานการเงินอะไรต่างๆ ก็ไม่มีเหลืออยู่แล้ว จะฝืน ทำต่อก็ไม่ได้ “เราจึงตั้งกลุ่มใหม่ขึ้น เพราะผมคิดว่ากองทุน สวัสดิการนี้มันต้องอยู่กับชุมชนไปอีกเป็นร้อยๆ ปี ถ้า จะทำก็ต้องทำให้ถูกต้องตามกฎระเบียบ โดยเราอาศัย รูปแบบการจัดการเอกสารของสถาบันการเงินเข้าไป ประยุกต์ใช้ มีก ารจดั เก็บเอกสารไว้ 3 ชุด ที่ อบต. ชุดห นึง่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ทีส่ ถาบันก ารเงินช ดุ ห นึง่ และทสี่ มาชิกช ดุ ห นึง่ เพียงเท่าน ี้ ทุกอย่างก็เป็นไปอย่างราบรื่น โปร่งใส”
สถาบันการเงินหนุนส่ง เพิ่มย อดสมาชิก “กฎระเบียบทั่วไปของกองทุนสวัสดิการเราจะ เหมือนกับที่ทางส่วนกลางร่างกฎระเบียบมา เช่น คน ที่จะสมัครสมาชิกแรกเข้าต้องเสียค่าสมาชิกปีละ 365 บาท แรกๆ ก็ยังไม่ค่อยมีใครสนใจเข้าร่วมเท่าไหร่ ซึ่ง น่าจะเกิดจากผลพวงของกองทุนในยุคแรกที่ทำให้คน ไม่ค่อยให้ความเชื่อถือ “ตรงนี้แหละที่เราเอางานของสถาบันการเงินไป ส่งเสริม ด้วยการกำหนดไว้ว า่ ใครทจี่ ะมากเู้ งินก บั ส ถาบัน การเงินต้องสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสวัสดิการด้วย” ยังไม่ทันท พี่ ่อใหญ่จ ่อยจะเล่าจ บดี ผมถามสวนไป ด้วยความไม่ค่อยชอบใจนักว่า “มันจ ะไม่ม ดั ม อื ช กไปหน่อยหรือค รับ กับก ารบงั คับ ให้ชาวบ้านมาสมัครสมาชิกแบบนี้” มาตรว่าผมคงไม่ใช่คนแรกที่ถามสวนแกไปอย่าง นั้น แกทำเป็นไม่สนใจไยดี กลับยกแก้วกาแฟขึ้นมาดื่ม เสร็จแ ล้วยิ้มมุมป ากพร้อมเล่าต่อไปว่า “เรื่ อ งก ารบั ง คั บจิ ต ใจกั น ใครๆ ก็ ค งไ ม่ ช อบ
47
48 ศรีฐาน
อีกอ ย่างอนั น ไี้ ม่ใช่ร ะเบียบของสถาบันก ารเงินน ะ แต่เป็น ระเบียบของกองทุนที่นายก อบต. ร่างขึ้นมา เราก็รู้นะ ว่าเหมือนบังคับชาวบ้านมากเกินไป แต่ถ้าไม่ทำอย่างนี้ รับรองว่าล้มไปตั้งแต่แ รกแล้ว “ตอนนี้เรามีสมาชิกเกือบ 500 คน และเท่าที่ สอบถามชาวบ้านเริ่มแรกก็คงรู้สึกเหมือนโดนบังคับ แต่ ไปๆ มาๆ พอเห็นเพือ่ นบา้ นได้ร บั ส วัสดิการตา่ งๆ ชาวบา้ น โดยรวมกเ็ ริม่ พ งึ พ อใจวา่ ต นเองได้ม สี ว่ นในการชว่ ยเหลือ คนในชุมชน” ผมถามตอ่ ไปวา่ ถ้าไม่น บั ต ามระเบียบราชการแล้ว จำนวนสมาชิกมีความสำคัญมากน้อยเพียงไร “ถ้าครบ 1 ปีแล้ว กองทุนมีสมาชิกไม่ถึง 100 คน ก็จะไม่ได้รับการสนับสนุนเงินอีก 2 ขา คือจากรัฐบาล และจาก อบต. ซึ่งถ้าเป็นอย่างนั้นกองทุนก็จะอยู่ไม่ได้ เพราะไม่มงี บประมาณเพียงพอ” ฟังพ่อใหญ่จ่อยพูดจบค่อยมีความรู้สึกดีขึ้นมา หน่อย ที่แท้ก็ทำเพื่อส่วนรวมนี่เอง แต่แหม เรื่องบังคับ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
สมัครสมาชิกกันอย่างนี้ใครฟังทีแรกก็คงไม่ค่อย ชอบใจทั้งนั้น เรือ่ งทำนองนผี้ มวา่ ห ลายๆ ชุมชนสามารถ เรียนรแู้ ละอาจจะนำไปปรับใช้ได้ เพื่อให้กองทุน สวั ส ดิ ก ารมี ค วามเ ข้ ม แ ข็ ง ส่ ว นจ ะมี วิ ธี ก าร จูงใจอย่างไรนั้น ผูบ้ ริหาร ของแต่ละท้องถิ่นคงต้อง ค้นหาหนทางที่เหมาะสม ของตนเองต่อไป
ผ่อนจ่ายตามกำลัง ประสาคนบ้านเดียวกัน เมื่ อ ก ารเ ข้ า ร่ ว ม ส ม า ชิ ก ข อ ง ก อ ง ทุ น สวัสดิการชุมชน มีทั้งคนที่เต็มใจและไม่เต็มใจที่ถูก กำหนดให้ต ้องจ่ายค่าสมาชิกรายปี จึงม ีทั้งคนที่จ่ายรวด เดียวหมดและแบบผ่อนชำระ บางคนอาจแย้งว่าเงินค่า สมาชิกปีละ 365 บาท ก็ไม่ได้มากมายอะไร ทำไมแค่ นีจ้ ะจ่ายไม่ได้ โดยสว่ นตวั ผ มเองคดิ ว า่ ในเมือ่ ก ารเข้าร ว่ มกองทุน มีเงื่อนไขที่ถูกบังคับไว้แล้ว การเปิดให้มีทางเลือกในการ
49
50 ศรีฐาน
ผ่อนจา่ ยคา่ ส มัครเช่นน กี้ น็ า่ จ ะดเี หมือนกนั อย่างนอ้ ยคน จะได้ไม่รสู้ ึกว่าต้องเป็นภาระมากเกินไป ส่วนเรื่องที่ว่าจะได้รับสวัสดิการเท่ากันหรือไม่ หรือใครจะได้เปรียบเสียเปรียบอย่างไรนนั้ ก ค็ งตอ้ งปล่อย ให้เป็นหน้าที่ของพ่อใหญ่จ่อย ผู้จัดการชุมชนเป็นคนเล่า ให้ฟัง “สำหรับระบบผ่อนจ่ายเรามที ั้ง 3 เดือน 6 เดือน หรือข นึ้ อ ยูก่ บั ค วามพร้อมของสมาชิก ซึง่ ก ารคมุ้ ครองกจ็ ะ ไม่เหมือนกัน แต่ละแบบจะมีเงื่อนไขต่างกัน เช่น จ่าย 3 เดือน 4 เดือน แต่ไม่ถึง 6 เดือน สมาชิกก็จะยังไม่ได้รับ การคมุ้ ครองเต็มท ี่ โดยจะได้เป็นบ างสว่ นตามทเี่ ราตกลง กันไว้ ส่วนคนทจี่ า่ ยครบรายปเี รากม็ ขี อ้ แม้น ดิ ห นึง่ ว า่ ต อ้ ง รอให้ครบกำหนด 3 เดือนก่อนจึงจะได้รับก ารคุ้มครอง” ผมได้แต่พยักหน้าหงึกๆ ตามแก คงเป็นเรื่อง ธรรมดาตามกติกาการอยู่ร่วมกัน ในเมื่อเราผ่อนเขา สวัสดิการทไี่ ด้ก ต็ อ้ งมเี งือ่ นไขอยูบ่ า้ ง แต่ห ากพจิ ารณากนั ยาวๆ แล้ว ไม่ว า่ จ ะเต็มใจหรือถ กู บ งั คับให้ส มัคร ผูท้ ไี่ ด้ร บั ประโยชน์เต็มๆ จริงๆ ก็ค อื พ นี่ อ้ งสมาชิกในชมุ ชนนนั่ เอง ซึ่งจะได้รับสวัสดิการไว้ด ูแลตัวเองยามเจ็บยามไข้ ด้านปัญหาอื่นๆ เท่าที่ได้ฟังมา ปัญหาที่สำคัญ ที่สุดขณะนี้คือ สมาชิกท ี่อยู่ในกองทุนยุคแรกที่ปัจจุบันมี เพิ่มเข้าม าเพียง 10 กว่าค น แต่ย ังเหลืออ ีก 30 กว่าค นที่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ยังไม่ม าเข้าร ว่ ม เพราะเขาถอื ว่าจ า่ ยเงินค า่ ส มาชิกไปแล้ว เรื่องนี้พ่อใหญ่ของเราก็ปวดหัวไม่น้อยอยู่เหมือนกัน “ผมก็ไม่รู้จะจัดการอย่างไรเหมือนกันกับคนที่ เหลือ จะลอยแพเขาก็ไม่ได้ จะรับโอนมาโดยตรงเลยก็ ไม่ได้เพราะผดิ ร ะเบียบ ยิง่ ไปดสู มุดร ายชอื่ พ วกนจี้ า่ ยเงิน สมทบมาถึงแค่ปี 2553 เท่านั้น ซึ่งจะว่าไปจริงๆ แล้ว มันก็ขาดสิทธิ์ไปแล้ว ตอนนี้ก็ได้แต่รอว่าน ายก อบต. จะ เอาอย่างไร “ส่วนปัญหาอื่นๆ เท่าที่ดำเนินกิจการกองทุน สวัสดิการมาปีเศษๆ ก็ยังไม่มีอะไรหนักอกหนักใจนัก จะมอี กี อ ย่างกต็ รงทรี่ ฐั อ ยากให้เก็บค า่ ส มาชิกเป็นร ายวนั ผมตอบเจ้าห น้าทีก่ ลับไปวา่ วิถชี มุ ชนไม่เหมือนทที่ า่ นวา่ หรอก ชาวบ้านเขาไม่ยอมเสียเวลามาจ่ายเงินสวัสดิการ รายวันหรอก เพราะแต่ละวันก็ต้องออกไปทำไร่ทำนา ทำมาหากินมากกว่า” นับว า่ เป็นอ กี ห นึง่ เสียงสะท้อนทภี่ าครฐั ค วรเก็บไป ศึกษากอ่ นท่จี ะทำโครงการอะไร ออกมา โดยเฉพาะอย่างยง่ิ โครงการที่จะไปกระทบ กับวิถีชีวิตของชาวบ้าน เดี๋ยวจะหาว่าหล่อ ไม่เตือนกัน
51
52 ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
05 เปิดห ูเปิดตา
สูดบรรยากาศชนบท ใกล้บ า่ ยคล้อยแล้ว ทัง้ ผ มทงั้ พ อ่ ใหญ่จ อ่ ยนงั่ ค ยุ ก นั ถูกคอกันจนลืมเวลา มาตรว่าพูดจาภาษาคนชอบงาน พัฒนาชุมชนเหมือนกัน ตัวผมเองก็มัวม ันไปกับเรื่องเล่า ของแกที่มเีกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเสริมเสมอ ทีต่ ดิ ใจทสี่ ดุ ค อื เรือ่ งทแี่ กเล่าว า่ ต ำบลศรีฐ านทจี่ ริง แล้วมีลักษณะเป็นสังคมผสมผสาน จะเป็นสังคมเมือง ไปเลยก็ไม่ใช่ จะเป็นสังคมการเกษตรไปทั้งหมดก็ไม่เชิง ยิ่งพอได้ฟังดังนี้ยิ่งรู้สึกครั่นเนื้อครั่นตัวอยากออกไปเดิม ชมตัวเมืองดูว่าจ ะจริงดังท ี่พ่อใหญ่ว่าไว้ห รือเปล่า ขณะกำลังกระสันจะออกไปสำรวจพื้นที่ ผมถูก เบรกด้วยเสียงโทรศัพท์จากป้านิ่มจนต้องชะงัก ก็ แหม ผมคยุ เรือ่ งหนักๆ มาตลอดชว่ งเช้าแ ล้ว จะขอแว่บไปเปิดห ู เปิดตาชมบรรยากาศในชุมชนบ้างไม่ได้หรือไร หากป้านิ่มของผมก็ไม่ได้ใจร้ายจนเกินไป ราวกับ คาดเดาได้ว า่ ช ว่ งเช้าเราเจอมาหนักแ ล้ว แหล่งเรียนรแู้ หล่ง ต่อไปจึงเป็นเรื่องเกษตรอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ คุยกับ แบบเบาๆ สบายๆ ได้บ รรยากาศชนบท เข้ากับวิถีชวี ิต เกษตกรของคนทนี่ ี่ อีกอ ย่างปา้ น มิ่ แ นะวา่ จ ะได้ถ อื โอกาส
53
54 ศรีฐาน
นั่งรถเที่ยวไปด้วยในตัว เข้าทางแบบนี้ก็เสร็จโก๋สิครับ
เสน่ห์กลิ่นอ ายบ้านทุ่ง เดินเตร็ดเตร่อยู่หน้า อบต. สักพักใหญ่ ป้านิ่ม พาชายหนุ่มรูปร่างปานกลางคนหนึ่งมาแนะนำ ชื่อ พี่บุญธรรม “ป้าติดง านอบรมเยาวชนที่ อบต. นะ เดี๋ยวหลาน ไปกับพี่บุญธรรมแล้วกัน” ไปกับใครนี่ผมไม่หวั่นหรอกครับ แต่ฟ ้าฝ นที่กำลัง ตั้งเค้าอยู่นี่สิจะไม่เป็นใจกับยานพาหนะของเราว่าจะไป รอดไหม บนอานมอเตอร์ไซค์คันเก่งของพี่บุญธรรม เรา 2 คนแล่นผ่านใจกลางตำบลบริเวณบ้านศรีฐาน จากที่ผม สังเกตนา่ จ ะเป็นบ ริเวณนนี้ แี่ หละทเี่ ขาวา่ ก นั ว า่ เป็นช มุ ชน เมือง เพราะรายล้อมไปด้วยสถานประกอบการผลิต หมอนขิด ส่วนบา้ นเรือนกต็ งั้ เรียงรายตดิ ๆ กัน มีถ นนตดั เป็นซอยเล็กซ อยน้อย ผู้คนที่อยู่ในชุมชนแห่งนี้จะว่าไปแล้วก็มีเพียงไม่กี่ นามสกุล เพราะคนทั้งชุมชนต่างเป็นญาติพนี่ ้องกันหมด ส่วนคนที่มาจากที่อื่นส่วนใหญ่จะเป็นแรงงานต่างถิ่นที่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
55
56 ศรีฐาน
เข้ามารับจ้างในอุตสาหกรรมหมอนขิด บึ่งรถมอเตอร์ไซค์ต่อไปพักหนึ่ง ห่างจาก อบต. ไปประมาณ 3-4 กิโลเมตร ทิวทัศน์สองข้างทางเริ่มแปร เปลี่ยนไป จากที่มีแต่บ้านเรือนก็กลับกลายเป็นพื้นที่ เรือกสวนไร่นา พี่บุญทำเล่าให้ฟังว่า แต่เดิมคนศรีฐานจะปลูก เฉพาะข้าวเจ้าเท่านั้น มีทั้งท ี่ปลูกขายและปลูกไว้ก ินเอง จนมาช่วงหลังจึงเริ่มมีการปลูกพืชพวกยางพารา ปาล์ม น้ำมัน หรือพืชผลอะไรต่างๆ ตามความต้องการของ ตลาด ในที่สุดเรามาถึงแหล่งเรียนรู้ ‘กลุ่มเกษตรอินทรีย์ และปยุ๋ ช วี ภาพบา้ นศรีฐาน’ ก่อนเวลานดั ห มายนดิ ห น่อย ผมจึงถือโอกาสออกไปด้อมๆ มองๆ บริเวณโดยรอบ เบื้องหน้าพบอาคารที่ทำการ ภายในเต็มไปด้วยวัตถุดิบ ที่ใช้ในการผลิตปุ๋ยชีวภาพ ถัดไปเป็นแปลงเรียนรู้ที่ไว้ สำหรับให้คนที่มาดูงานได้ท ดลองในพื้นที่จริง คนเมืองอย่างเราๆ หากลองได้ย ลเสน่หบ์ า้ นทงุ่ ล ะ่ ก ็ เป็นหลงใหลกันเกือบทุกคน ไม่อย่างนั้นทุกวันหยุดยาว จะมปี รากฏการณ์ค นกรุงอ พยพออกจากเมืองอย่างทเี่ ห็น กันมาตลอดแทบทุกเทศกาลหรือ ขณะกำลังโดนเสน่ห์ของบ้านทุ่งเล่นงาน หยดน้ำ จากฟ้าและเสียงของพ่อเฒ่าท่านหนึ่งก็ปลุกผมขึ้นจาก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
57
58 ศรีฐาน
ภวังค์ พ่อใหญ่สุทัศน์ วันเที่ยง เจ้าของเสียงดังกล่าว เดินม าทกั ทายดว้ ยใบหน้าย มิ้ แ ย้ม เป็นผ ใู้ หญ่ห น้าตาใจดี แววตาบ่งบอกความเป็นกันเอง จมูกเป็นสันต่างจากคน ภาคอสี านทั่วๆ ไป “หัวหน้าเขาอยากรเู้ รือ่ งเกีย่ วกบั ก ลุม่ เกษตรอนิ ท รีย์ น่ะพ่อใหญ่ ช่วยเล่าให้เขาฟังหน่อย” ส่วนผมรีบแย้งพี่บุญธรรมทันที “พี่ๆ ผมเป็นแค่ นักเขียน ไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่มาตรวจงานอะไร ไปบอก พ่อใหญ่แกอย่างนั้นเดี๋ยวแกก็เข้าใจผิดกันพอดี” ทำความเข้าใจกันพักหนึ่งจึงทราบว่า ที่แท้ค นทาง ภาคอีสานเวลาใครไปดูงานเขาจะเรียกแบบให้เกียรติ กันว่าหัวหน้าหมด ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่จากรัฐหรือ สื่อมวลชนต่างๆ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
อืม...เคยแต่ได้ยินมา พอได้เจอกับตัวเองนี่ก็แปลก ไปอีกอย่างเหมือนกัน
ความเสื่อมทรามของเกษตรเชิงเดี่ยว “ชีวิตมันเป็นเรื่องง่ายๆ แต่เราทำให้มันยากเอง” โจน จันใด เคยกล่าวไว้อ ย่างนั้น พูดถึงโจน จันใด ในแวดวงคนทำงานด้านการ พัฒนาแทบจะไม่มีใครไม่รู้จัก ไม่ว่าจะเรื่องการใช้ชีวิต อย่างพอเพียง การทำเกษตรอินทรีย์ หรือไม่ก็เรื่องการ สร้างบ้านดิน จนมีอีกฉายาว่า ‘โจน บ้านดิน’ เขามามีส่วนเกี่ยวข้องอะไรกับเรื่องราวของเรา? จะไม่เกี่ยวได้อย่างไรล่ะครับ ก็พี่โจนคนนี้นี่แหละ ที่กลับมาชักชวนคนในบ้านเกิดให้หันกลับมาทำเกษตร อินทรีย์ตามแบบที่ครั้งหนึ่งบรรพบุรุษเคยทำต่อๆ กัน มา “เดิมทีคนที่นี่ก็ทำการเกษตรแบบเชิงเดี่ยว เน้น การใช้ปุ๋ยใช้ยา จนเมื่อ 10 กว่าปีทแี่ ล้ว คุณโจนก็มาคุย กับพวกเราว่า ตอนนี้ผู้คนส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพกัน มากเพราะวา่ ได้ร บั ส ารพษิ ส ารเคมีก นั เยอะ ถ้าเราไม่รจู้ กั ป้องกันหรือปฏิบัติตัวใหม่เราก็จะตายก่อนวัยอันควร ประกอบกับคนในชุมนเองก็เริ่มเล็งเห็นพิษภัยที่เกิดจาก
59
60 ศรีฐาน
สารเคมีอยู่แล้วด้วย เราจึงร วมกลุ่มกันเพื่อลดการใช้สาร เคมี” พ่อใหญ่ส ุทัศน์เล่าที่จุดเริ่มต้นแรกของกลุ่มให้ฟัง แต่ถ งึ แ ม้จ ะมคี นมชี อื่ เสียงเข้าม ารว่ มดว้ ย เชือ่ ห รือ ไม่ว่า ในระยะแรกราวปี 2538 กลับมีสมาชิกเพียง 15 คนเท่านั้น เหมือนเรือ่ งเก่าม าเล่าใหม่ จะกพี่ นื้ ทีต่ อ่ ก พี่ นื้ ที่ พอ มีการส่งเสริมการทำเกษตรอินทรีย์ขึ้นมาจะต้องมีคนหา ว่าบ้า หาว่าเพี้ยน จนไม่ค ่อยมีใครกล้าเข้ามาร่วมด้วย อย่ า งว่ า ล่ ะ ค รั บ สั ง คมไ ทยถู ก ล้ า งสมองใ ห้ ทำการเกษตรที่ต้องใช้สารเคมีเยอะๆ มานาน พอจะ เปลี่ยนแปลงอะไรทกี ็ไม่สามารถทำได้ปุ๊บป ั๊บด ั่งใจ
เริ่มจากง่ายไปยาก พลิกเคมีสู่อินทรีย์ ทอดสายตาออกไปยงั ไร่น า ละอองนำ้ จ บั บ นใบขา้ ว เสียงกบ เสียงเขียดแข่งก นั ร อ้ งออื้ อ งึ เชือ่ แ ล้วว า่ ธ รรมชาติ นั้นฟื้นค ืนชีพได้จริงๆ หันกลับไปหาพ่อใหญ่สุทัศน์ ถามตรงๆ ว่า การ จะเปลี่ยนจากเกษตรเคมีกลับมาเป็นเกษตรอินทรีย์ยาก ไหม และมีต้นทุนอะไรที่เราต้องใช้บ้าง “เราเน้นท ไี่ ม่เพิม่ ภ าระให้ส มาชิก เริม่ จ ากกจิ กรรม ง่ายๆ ก่อน แทนทีจ่ ะเผาซงั ข า้ วกเ็ ปลีย่ นเป็นไถกลบแทน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
หรือไม่ก ็การใช้น้ำส้มควันไม้ไล่ศัตรูพืชแทนสารเคมี “จนปี 2542 กลุ่มเราเริ่มคิดว่าแค่นี้มันยังไม่พอ ที่สำคัญคือขาดองค์ความรู้ จึงได้ขยับขยายไปสมัครกับ เครือข่ายชมรมรักธรรมชาตินาโส่ อำเภอกุดชุม ของ คุณพ่อมั่น บุญสูง และคุณพ่อวิจิตร ที่นั่นเราได้เรียนรู้ เรื่องการจัดการแปลงนาและกฎระเบียบสำหรับการ ทำการเกษตรอินทรีย์” คนไม่เคยทำเกษตรอย่างผมฟังดูก็เหมือนจะง่าย หากในความเรียบง่ายดังกล่าวนั้นมีระเบียบที่เคร่งครัด อยูพ่ อสมควร ทั้งเรื่องการทำแนวกันชนกั้นรอบแปลงนา การห้ามมีและห้ามครอบครองสารเคมี หรือแม้แต่การ กั้นไม่ให้น้ำจากแปลงนาอื่นที่ไม่ใช่แปลงเกษตรอินทรีย์ ไหลผ่าน นีถ่ ้าไม่ตั้งใจจริงผ มว่าก ลุ่มนี้ล้มไปนานแล้ว
เปลี่ยนความเชื่อชาวนา แก้ป ัญหาที่ต้นเหตุ ยังครับ ยังไม่จบ ใช่ว่าสมาชิกทั้ง 15 คนนี้จะมี ความอดทนเท่าเทียมกันหมด คนที่ทำแล้วไม่ได้ผลแล้ว กลับไปใช้สารเคมีก็มี เรื่องอย่างนี้โทษเขาไม่ได้นะครับ คนทำมาหากิน ปลูกข า้ วแล้วได้ไม่เท่าเดิม เสียผ ลประโยชน์เขากไ็ ม่อ ยาก
61
62 ศรีฐาน
ทำ ก็ข นาดตวั พ อ่ ใหญ่ข องเราเองแรกๆ ก็ย งั ไม่ค อ่ ยแน่ใจ ในผลลัพธ์เหมือนกัน ไม่เชื่อลองฟังแกดู “แรกๆ ก็ก ลัวเหมือนกนั ว า่ จ ะไม่ได้ผ ล เพราะตวั เอง ก โ็ ตมาในยคุ ท กี่ ารทำนาใช้ส ารเคมีต า่ งๆ แล้ว ตอนทที่ ำก็ ไม่ได้ทำทั้งแปลงในทเีดียว แต่ท ดลองทำส่วนหนึ่งก ่อน “ผมพบว่าช ่วงระยะปรับเปลี่ยนใน 1-2 ปีแ รก ถ้า ใครทำใจไม่ได้ห รือไม่มจี ติ ว ญ ิ ญาณ เขากจ็ ะกลับไปอยูใ่ น วังวนการใช้สารเคมี แต่พ อเราทำไปสัก 3 ปี พอดินมัน เริ่มป รับตัวได้มันก็จะดีขึ้น” ของอย่างนี้อยู่ที่ใจอย่างเดียวจริงๆ แต่ผมเชื่อว่า คุ้มค่าในระยะยาวเมื่อเทียบกับสุขภาพดีๆ ที่เราได้กลับ คืนมา ยิ่งพ่อใหญ่สุทัศน์เล่าเรื่องภัยร้ายจากสารเคมีที่ เกิดขึ้นกับคนในครอบครัวแกด้วยแล้ว ยิ่งรู้สึกว่าการทำ เกษตรอนิ ทรียน์ นั้ น า่ จ ะเป็นต วั เลือกทดี่ ที สี่ ดุ ในยคุ น ที้ โี่ ลก เต็มไปด้วยสารพิษรอบกาย “ที่ผ่านมาเวลาพูดเรื่องภัยจากสารพิษจะไม่ค่อย มีใครฟัง ขนาดที่บ้านผมเองยังไม่ค่อยฟังกันเท่าไหร่ จนวันหนึ่งหลานชายออกไปทำนา พอดีวันนั้นเขาไม่ได้ ใส่รองเท้าบูทออกไป ระหว่างกำลังไถนาอยู่นั้นเท้ามี อาการชา เดินไม่ออก ยกขาไม่ขึ้น ต้องรีบนำตัวไปส่ง โรงพยาบาล หมอก็บอกมาว่าสาเหตุเกิดจากได้รับสาร
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เคมีมากเกินไป” นอกจากเหตุการณ์ที่เกิดกับหลานชายแกแล้ว พ่อใหญ่สุทัศน์ยังเล่าอีกว่าในชุมชนมีคนที่คาดว่าตาย จากพิษภัยของสารเคมีเฉลี่ยแล้วเดือนละ 4-5 คน ซึ่ง ถ้าเป็นจริงตามที่แกสันนิษฐาน ตัวเลขนี้ถือว่าไม่น้อย เลยทีเดียว แต่เชื่อไหมว่า แม้จะเกิดเรื่องแบบนี้แล้วชาวบ้าน ก็ยังไม่ยอมหันมาทำเกษตรอินทรีย์กันเลย ผมหยิบสมุด จดรายชอื่ ส มาชิกข นึ้ ม าดจู ากปี 2538 ทีม่ สี มาชิก 15 คน จนถึงปี 2555 มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 30 กว่าคนเท่านั้น พ่อใหญ่สุทัศน์เล่าว่า ชาวบ้านยังฝังใจกับการใช้ สารเคมีอยู่ แต่อ ย่างน้อยก็ยังดที ี่เริ่มมีบางส่วนมาเรียนรู้ กับกลุ่มของแก แล้วน ำวิธีการกลับไปใช้ในนาของตนเอง เช่น การใช้ปุ๋ยหมักชีวภาพ การใช้สมุนไพรไล่แมลง ส่วนตัวผมเองคิดว่า ถึงช าวบ้านจะไม่เข้าร ่วม แต่ มาเรียนรู้ก็ยังดี อย่างน้อยคนทำดีก็ไม่เสียกำลังใจที่จะ ทำต่อไป
คืนธรรมชาติสีเขียว คืนชีวิตปลอดภัย “นับจ ากวนั แ รกเมือ่ 17 ปีท แี่ ล้ว จนถึงว นั น มี้ อี ะไร เปลี่ยนแปลงไปบ้างครับ” ผมถาม
63
64 ศรีฐาน
นัง่ ค รุน่ คิดอ ยูค่ รูห่ นึง่ พ่อใหญ่ส ทุ ศั น์เดินน ำหน้าล ง ทุ่งอย่างไม่ได้นัดหมาย ผมเองก็อารามตกใจเดินตามลงไปโดยไม่ทันได้ เตรียมตัว ถึงรองเท้าจะเปียกเปื้อน หากหัวใจของผมได้ รับค วามชมุ่ ช นื่ ก ลับม า บรรดากบ เขียด เจ้าของเส้นเสียง ที่ดังแว่วมาตลอดเวลานั้นต่างพากันมาอวดโฉมอย่างไม่ เกรงกลัวว่าจะกลายเป็นอาหารอันโอชะของชายต่างถิ่น ทัง้ พ วกผกั ห ญ้าต ามธรรมชาติท พี่ ากนั ม ายนื ส ลอน ต้อนรับกันไม่ขาดสาย เพียงเท่านี้ใจที่ว่างเปล่าก็ได้รับ การเติมเต็มแล้ว หลั ง ขึ้ น ม าจ ากแ ปลงน าพ ร้ อ มส ภาพที่ เ หมื อ น ลูกหมาตกน้ำก็มิปาน พ่อใหญ่สุทัศน์กลับหัวเราะร่วน แกวา่ ถา้ ไม่พาลงไปดดู ว้ ยตาตวั เองเดีย๋ วจะหาวา่ แกโกหก แต่แหม บอกล่วงหน้าหน่อยก็ดีนะครับว่าลงไป แล้วดินมันลึกแค่ไหน ดีท ี่ว่าเราเองก็ลูกชาวกรุงเก่า เรื่อง ลุยสวนลุยนานี่บ่ยั่นอยู่แล้ว ก้มล งมองดนู าฬิกา พานคดิ ไปวา่ ร บกวนเวลาพอ่ ใหญ่ มาพอสมควรแล้ว ขณะกำลังจ ะกล่าวรำ่ ล า พ่อใหญ่ก เ็ ชือ้ เชิญไปดูร้านค้าที่จัดจ ำหน่ายข้าวอินทรียข์ องกลุ่มแก หันไปมองพี่บุญธรรม แกพยักหน้าเป็นสัญญาณ ตอบรับ มอเตอร์ไซค์ 2 คัน กับค น 3 คน ท่ามกลางความ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เขียวสดชื่นของไร่นา กลิ่นฝน กลิ่นไอดิน ลอยเตะจมูก ตลอดเวลา หากเพียงไม่น านความสดชนื่ ค อ่ ยๆ จางหาย ไป พร้อมกับกลิ่นของความเป็นเมืองที่เข้าม าแทนที่ ที่ร้าน ‘ดิน’ ร้านค้าของกลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติ ศรีฐาน พ่อใหญ่สุทัศน์หยิบผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องที่ได้รับ การบรรจุพร้อมขายแล้วเอามาอวดให้ดู แถมบรรยาย สรรพคุณให้ฟังว่า “คนที่กินข้าวกล้องอินทรีย์ของเรา ร้อยทั้งร้อย ติดใจตอ้ งกลับม าซอื้ ใหม่ เขาวา่ ก นั ว า่ ข า้ วของเรามรี สหอม หวานกว่าที่อื่น หุงแล้วน ุ่ม ไม่แ ข็งกระด้างเหมือนที่อื่น” ผมปล่อยแกโฆษณาผลิตภัณฑ์ข องชมุ ชนเสียห น่อย เรื่องนี้เรารู้อยู่แล้วว่าใครๆ ก็อยากอวดของดีของชุมชน ตัวเอง ส่วนตวั ก ค็ ดิ ว า่ เรือ่ งนกี้ เ็ ป็นเรือ่ งดนี ะครับ ทำดแี ล้ว ได้ผลผลิตดีๆ เราก็ต้องสำแดงผลให้ผู้คนได้รับรู้ เผื่อคน จะอยากมาร่วมกันทำเกษตรอินทรีย์มากขึ้น สุดท้ายพอ่ ใหญ่ส ทุ ศั น์ฝ ากแนวคิดถ งึ ค นทอี่ ยากทำ เกษตรอินทรียแ์ ต่ยังไม่กล้าไว้ว ่า “ผมมองวา่ เกษตรอนิ ทรียน์ อี่ นาคตมนั ไกล ในเมือง ไทยยังไม่ค่อยมีใครทำเท่าไหร่ ถ้าใครทำแล้วจะเหมือน สร้างมูลค่าเพิ่มให้ตนเอง ทำแล้วไม่ต้องกลัวว่าจะจน จะอด จะมกี แ็ ต่ช ว่ งปรับต วั เท่านัน้ ท ตี่ อ้ งทนหน่อย ถ้าผ า่ น ช่วงนั้นได้รับรองว่าย าว”
65
66 ศรีฐาน
06 สหกรณ์หมอนขิด
อีกห นึ่งแนวคิดเพื่อสังคม
ลมฝนมาเป็นระยะ ใจผมเองก็หวิวเป็นระยะด้วย เช่นกัน จะไม่หวิวได้อย่างไรล่ะครับ งานการยังไม่ทัน เสร็จ พระพิรุณท่านก็มอบพรมาเป็นระยะ หากใจจริง อยากจะกลับไปอาบนำ้ เปลีย่ นชดุ อ ย่างทสี่ ดุ คิดด นู ะครับ เดินล งนาดว้ ยกางเกงยนี ส ข์ ายาว รองเท้าผ า้ ใบ สภาพจะ เป็นอย่างไร ทำไงได้ครับ หน้าทีม่ าก่อนสิ่งอื่นเสมอ พูดถึงตำบลศรีฐาน จริงๆ แล้วสิ่งที่ทำให้ที่นี่มี
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ชื่อเสียงมากที่สุด หลายๆ ท่านก็อาจจะทราบ หรือหาก ใครยังไม่ทราบจะบอกให้ก็ได้ว่า บรรดาหมอนขิดที่ท่าน เห็นๆ กันอยู่ตามท้องตลาดหรือตามสถานที่ต่างๆ นั้น กว่า 50 เปอร์เซ็นต์เป็นผลิตภัณฑ์ที่มาจากศรีฐานนี่เอง ‘พูดถึงโจโฉ โจโฉก็มา’ ‘พูดถึงหมอนขิด ก็ได้ไปดูหมอนขิดทันที’ พีบ่ ุญธรรม ชีไ้ปยังฝั่งตรงข้ามของร้าน ‘ดิน’ แถม ยิม้ เป็นเลศนัย พอเห็นป า้ ยจดุ ท อ่ งเทีย่ วเชิงเกษตรการทำ หมอนขิดเท่านั้นล่ะ ผมยิ้มรับท ันที “ที่นี่เป็นที่สุดท้ายของวันนี้ใช่มั้ยพี่ ดีเลยครับจะ ได้รีบกลับไปอาบน้ำเปลี่ยนชุด เดี๋ยวเป็นหวัดขึ้นมาแล้ว พรุ่งนี้จะทำงานไม่ไหว”
67
68 ศรีฐาน
สองเท้าก้าวข้าม พร้อมกับแสงตะวันที่เริ่มคล้อย ลงเรื่อยๆ สี่โมงเย็นกว่าๆ ผมกำลังยืนอยู่หน้าแหล่ง เรียนรู้เรื่องการทำหมอนขิด หากวันนี้มีเพียงสมาชิกมา ทำกิจกรรมอยู่แค่คนเดียว ผมนี่ถึงกับหน้าเสีย เพราะ กลัวจะมาเสียเที่ยว เดี๋ยวเดียวไม่นาน พี่บุญธรรมเดินพาพี่สาวนาง หนึ่งมาทำความรู้จัก พี่ ชุ ลี พ ร จั น ใด ประธานก ลุ่ ม ส ตรี ส หกรณ์ หมอนขิดศรีฐาน สละเวลามานง่ั ค ยุ กบั เรา พร้อมรอยยม้ิ
‘ผ้าขิด’ ของสูงแห่งชนชาวอีสาน ว่าแ ล้วไม่พ ดู พ ล่ามทำเพลง อย่างแรกเราคยุ ถ งึ ทีม่ า ของการทำหมอนขิดก่อนว่ามีประวัติที่มาอย่างไร แล้ว ทำไมถึงเรียกหมอนชนิดนี้ว่าห มอนขิด “แต่ก่อนชาวอีสานจะเป็นคนที่มีชีวิตเรียบง่าย ผู้ชายปลูกข้าว หาผัก หาปลา ผู้หญิงอยู่บ้านเย็บปักถัก ร้อย ทอผ้าใช้เองในครัวเรือน มีทั้งทอผ้าพื้นสำหรับตัด เสือ้ ผ้าห รือท ำทนี่ อน ทอผา้ ข าวม้า ทอผา้ ลายมดั ห มี่ และ ทอผา้ ล ายขดิ ซึง่ ในสมัยโบราณผา้ ข ดิ เป็นผ า้ ท มี่ คี ณ ุ ค่าส งู ใช้ห อ่ พ ระไตรปิฎก คนสมัยก อ่ นจงึ ค ดิ ว า่ ม คี วามเหมาะสม ที่จะนำมาใช้ทำหมอนซึ่งเป็นของสูงเช่นกัน”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
69
70 ศรีฐาน
ผมพยักห น้าห งึกๆ ตามคำบอกเล่าข องพชี่ ลุ พี ร จะ ว่าไปก็น่าจะจริงตามที่แกเล่า เพราะครั้งหนึ่งเคยต้องทำ รายงานเรื่องเกี่ยวกับผ้าพื้นบ้านในประเทศไทย จึงพ อมี ความรอู้ ยูบ่ า้ งวา่ ผ า้ ข ดิ เป็นผ า้ ท คี่ นอสี านถอื ว่าเป็นข องสงู ที่มีค่ามากกว่าผ้าช นิดอื่น ส่วนรายละเอียดความเป็นมาแบบวิชาการสัก หน่อย ก็จะขอเล่าเสริมย่อๆ ว่า อันผ า้ ข ดิ น นั้ ถ อื เป็นผ า้ ท นี่ ยิ มทอในกลุม่ ช นเชือ้ ส าย ไทลาว ซึง่ อ าศัยต ามแถบสองฝงั่ ล มุ่ แ ม่นำ้ โขง แล้วก ม็ บี าง ส่วนของภาคเหนือแ ละภาคกลางของประเทศไทย ลายที่ มักทอกันก็จะเป็นจำพวกคชสีห์องค์น้อย ลายดอกแก้ว หรือลายช้างทรงเครื่อง เป็นต้น การทอนั้นก็มักจะทอในเทศกาลพิเศษ เช่น งาน ทางศาสนา หรืองานมงคล โดยเฉพาะในงานแต่งงาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
จะนำไปทำหมอนขิดเพื่อใช้เป็น ของกำนัลรับไหว้ รองลงมาจะใช้ ทำผ้าคลุมไหล่และผ้าโพกผม ใน สมัยก่อนนับถือกันว่าเป็นของดี ของสูง จึงเก็บผ้าขิดไว้บนที่สูง เช่น บนโต๊ะ หัวนอน หรือผ กู แ ขวน ไว้บ นเพดาน
จากความเชื่อ สู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน จากค วามเ ชื่ อ ที่ ว่ า ผ้ า ขิ ด เป็นของสูง กระทั่งต ่อมาจึงกลาย เป็นสินค้า OTOP ระดับ 3 ดาว ของตำบลศรีฐ าน เรือ่ งราวเหล่าน ี้ ล้วนแล้วแต่มีที่มาทไี่ปให้สืบสาว พีช่ ุลีพรเล่าให้ฟังว่า “เดิมทีที่ตำบลเราก็ไม่ได้คิดจะทำเป็นการค้าอะไร เราทำสืบทอดมาแต่บรรพบุรุษเพื่อใช้เองในครัวเรือน ต่อมาในระยะหลังพอคนเขาว่าหมอนขิดของชุมชนเรามี คุณภาพดี จึงเริ่มมีการเข้ามาสั่งซื้อกันเป็นจำนวนมาก “จนเมื่อ 10 กว่าปีที่แล้ว รัฐบาลมีนโยบายหนึ่ง ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ขึ้นมา ทางจังหวัดเขาเห็นว่าที่บ้าน
71
72 ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ศรีฐานเรามีหมอนขิดซึ่งเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของ ชุมชนอยูแ่ ล้ว เขาจงึ ม าสง่ เสริมให้เกิดก ารตอ่ ยอด ทัง้ ก าร รวมกลุ่ม การหาตลาด และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทำให้ ชุมชนเรามรี ายได้ม ากยิ่งขึ้น” ส่วนตัวผมมองเรื่องสินค้า OTOP ในทิศทางบวก เนื่องจากคิดว่าเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะเพิ่มรายได้ให้แก่ ชุมชน ที่สำคัญยังเหมือนเป็นการลงทุนที่ไม่ต้องลงทุน อะไรเลย จากภูมิปัญญาชาวบ้านก็มีอยู่แล้ว จากทุน ทางสังคมที่มีเครือข่ายกว้างขวาง และจากทรัพยากรใน แต่ละชุมชนก็ไม่ขาดตกบกพร่อง ถ้าจะลงทุนก็คงลงทุน เรื่องแรงเพียงอย่างเดียว หรืออาจจะมีบางส่วนที่ต้อง ประชาสัมพันธ์ การทำตลาด หรืออ ะไรทำนองนนั้ เรือ่ งนี้ ก็ไม่น่าจะเหลือบ่าก ว่าแ รงรัฐบาลเท่าไรนัก กลับมาที่เรื่องของเราต่อดีกว่า ในอาคารที่ทำการ กลุ่มสหกรณ์ห มอนขิดจะแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ใช้ในการผลิต และส่วนที่จัดแ สดงสินค้า เดินๆ ดูส นิ ค้าไป ปากกถ็ ามโน่นน ไี่ ป ใจกน็ กึ ช มวา่ คนที่นี่เขารู้จักทำมาหากินดนี ะ แล้วก็ไม่ใช่แค่ที่นี่ที่เดียว ที่ตั้งใจทำมาหากิน แต่จากการนั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซค์พี่ บุญธ รรมผา่ นมาตลอดเส้นท าง แทบจะทง้ั บ า้ นศรีฐ านกเ็ ห็น มีแต่คนนั่งตัด นั่งเย็บ นั่งทำหมอนขิดกันทุกเพศทุกวัย ประมาณด้วยสายตาแล้ว ชาวบ้านตำบลศรีฐาน
73
74 ศรีฐาน
ไม่น่าจะต่ำกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ที่มีอาชีพผลิตหมอนขิด เพือ่ จ ำหน่าย หรืออ าจจะเรียกได้ว า่ เป็นห มูบ่ า้ นหมอนขิด เลยก็ว่าได้
ระดมทุนต ั้งก ลุ่มสหกรณ์ คุยกับพี่ชุลีพรจนลืมหนาว ลืมความเปียกไปจน สิ้นเชิง ก็ด้วยทั้งบุคลิก ลักษณะท่าทาง น้ำเสียง และ วิธีการพูดคุยของแกช่างเป็นกันเองและมีเรื่องเล่ามาคุย ได้ตลอดเวลา ยิ่งพ อคุยมาถึงมูลเหตุแ ห่งก ารตั้งส หกรณ์ หมอนขิดแห่งนี้ด้วยแล้ว ผมยิ่งพบความน่าสนใจใน หลายๆ ประการที่อยากจะขอเล่าให้ฟัง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
หนึ่ง รูปแบบเจ้าของกิจการการทำหมอนขิดของ ที่นี่มี 2 รูปแบบ สอง การรวมกลุม่ ข องคนทนี่ ไี่ ม่ใช่ร วมเป็นกลมุ่ ใหญ่ เพียงกลุ่มเดียว หากมีหลายกลุ่มที่ต่างก็แข่งขันกันใน ตลาด แบบแรกเป็นแบบนายทุนเต็มตัว เน้น ผลิตเพื่อ ขายอย่างเดียว กลุ่มนี้มีรูปแบบการทำงานที่คล้ายกับ โรงงานอุตสาหกรรม คือมีการแบ่งหน้าที่กันตามความ ถนัดของแต่ละคนอย่างชัดเจน เช่น แผนกเย็บ แผนกยัด นุน่ แรงงานกม็ ที งั้ ท จี่ า้ งคนในชมุ ชนและคนจากภายนอก ชุมชน กลุ่มนี้จะมีเฉพาะค่าจ้างให้อย่างเดียว ไม่มีการ
75
76 ศรีฐาน
จัดสรรปันส่วนกำไรให้แก่แรงงาน ส่วนรูปแบบที่ 2 อันเป็นรูปแบบของการรวมกลุ่ม ในชุมชน พีช่ ลุ พี รเล่าว า่ “กลุม่ ข องเราเกิดจ ากการรวมตวั ก นั ของชาวบ้านที่ไม่มีทุนและไม่อยากเป็นแค่ลูกจ้างไป ตลอด เราจึงเริ่มต้นโดยการระดมทุนของสมาชิก หุ้น ละ 100 บาท เสร็จแ ล้วตั้งก ติกาการทำงาน เลือกคณะ กรรมการ แบ่งบทบาทหน้าที่ “พี่ถือว่าที่มาทำตรงนี้ก็เพราะอยากเปิดโอกาสให้ เพื่อนๆ ในชุมชนได้เป็นเจ้าของกิจการ และไม่ถูกเอารัด เอาเปรียบ ตอนนี้กลุ่มของเราก็ถือว่าเข้มแข็งอยู่พอ สมควร ส่วนเรื่องการตั้งกติกาส่วนแบ่งรายได้ของเราก็ ง่ายๆ ถ้าใครทำก็จะได้ส่วนนั้นไป จะหักก็เพียงบางส่วน เข้ากองกลางเพื่อปันผลและใช้บริหารงานเท่านั้น” ทีพ่ เี่ ขาเล่าน นั้ เป็นเพียงตวั อย่างเฉพาะกลุม่ ท พี่ แี่ ก เป็นป ระธานอยูเ่ ท่านัน้ แต่จ ริงๆ แล้วอ ย่างทบี่ อกไปตอน ต้นว า่ ทีน่ มี่ กี ารรวมกลุม่ อ ยูจ่ ริง แต่ไม่ใช่ก ารรวมกลุม่ ใหญ่ ในระดับชุมชนนะครับ หากเป็นการรวมกลุ่มที่ยิบย่อย และแข่งขันกันเองอีกต่างหาก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
กฎธรรมชาติแห่งการแข่งขัน ทีแรกเห็นชื่อกลุ่มสตรีสหกรณ์หมอนขิดศรีฐาน ผมเองกน็ กึ ว า่ เป็นกลมุ่ ท รี่ วบรวมคนทงั้ ช มุ ชนให้เป็นห นึง่ เดียวกัน หากที่แท้แล้วการรวมตัวในลักษณะนี้มีหลาก หลายกลุ่มมาก ถ้าไม่น ับกลุ่มของพี่ชุลีพรแล้วจะพบว่ามี อีกห ลายกลุม่ ท สี่ ำคัญๆ เช่น กลุม่ พ ฒ ั นาสตรีศ รีฐ าน หมู่ 8 กลุ่มสตรีพัฒนาศรีฐาน หมู่ 3 กลุ่มสตรีพัฒนาศรีฐาน หมู่ 9 กลุ่มเกษตรกรศรีฐานพลังสามัคคี ฯลฯ นี่ขนาดยังไม่นับกลุ่มย่อยๆ อีกมากมาย ฟังแล้ว ผมปวดหัวแทนเลย ส่ ว นรู ป แ บบก ารด ำเนิ น ง านนั้ น จ ะมี ลั ก ษณะ คล้ายๆ กันคือ เริ่มท ำจากบ้านใครบ้านมันเสร็จแล้วนำ มารวมกันที่บ้านประธาน ซึ่งประธานกลุ่มก็จะมีหน้าที่ จำหน่ายหรือเป็นฝ่ายการตลาดให้ ถามพี่ชุลีพรไปว่า กลุ่มเหล่าน ี้ต่างจากกลุ่มของพี่ อย่างไรบ้าง พีแ่ กตอบขวับท ันที “กลุ่มอื่นสมาชิกเขาจะผลิตตามแบบที่กำหนดให้ เท่านั้น แต่ของเราจะเปิดโอกาสให้สมาชิกได้มีโอกาส แสดงความคิดสร้างสรรค์ ใครที่คิดแบบใหม่ได้ เราก็ไม่ ปิดโอกาส ส่วนเรื่องบริหารงานอื่นๆ ก็คล้ายๆ กัน” หากถามผมเองกลับไม่ได้ค ดิ ว า่ เรือ่ งการเปิดโอกาส ให้คิดสร้างสรรค์ห รือไม่เปิดโอกาสเป็นเรื่องใหญ่ หากสิ่ง
77
78 ศรีฐาน
ที่อยากเสนอก็คือ การแข่งขันกันเองในชุมชนจะเหมือน เป็นการไปขัดขากันเองหรือไม่ เพราะแทนที่จะมีการ สร้างอำนาจต่อร องกับผู้ซื้อจากชุมชนอื่นได้ แต่ก ลับต้อง มาตัดราคากันเอง หากทกุ ก ลุม่ ส ามารถผนึกก ำลังก นั ได้ อนาคตยอ่ ม สดใสแน่นอน เพราะจากการค้นหาข้อมูลการส่งออก หมอนขิดของตำบลศรีฐาน พบว่า ยอดรวมการส่งออก คิดเป็นมูลค่าน ับสิบล้านเลยทีเดียว คิดดูนะครับ ถ้ารวมตัวกันต่อรองจะได้มากกว่านี้ ขนาดไหน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
07 สุขใดไม่เท่า สีเองกินเอง ยามอาทิตย์กำลังอัสดงเหมือนจิตรกรฝีมือเอก กำลังบรรจงวาดภาพบนผืนผ้าใบ จะมองไปทางไหนก็มี แต่ความสวยงาม สีแดงฉานของแสงตะวันตัดกับความ เขียวขจีของเหล่าต้นข้าว นกนอ้ ยใหญ่ต า่ งพากนั บ นิ ก ลับร งั สวนทางกบั ด าว เดือนที่โผล่จากขอบฟ้าขึ้นมาต้อนรับหนุ่มจ ากแดนไกล เสน่ห์อย่างหนึ่งของบ้านทุ่งที่คนกรุงอย่างเราๆ มักหลงใหลก็คือความเขียวสดของทุ่งนา ความสดชื่น ของเหล่าแมกไม้ เสียงนก เสียงจิ้งหรีด รอยยิ้มข องเหล่า
79
80 ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เกษตรกรที่ทยอยกลับจากไร่น า ที่จริงภาพเหล่านี้บางครั้งก็ไม่ได้สะท้อนสภาพ ความเป็นจริงของพื้นที่นั้นๆ บางครั้งใต้รอยยิ้ม ชาวนา อาจจะกำลังคิดอยู่ก็ได้ว่า ทำไมปีนี้ข้าวราคาตกจังนะ ทำไมปีนี้น้ำแล้งจังน ะ ทำไมปีนี้ปุ๋ยขึ้นราคาอีกแล้ว ในความระทมทกุ ข์ข องชาวนาเรากย็ งั พ บวา่ พวกเขา เหล่านั้นต้องจำยอมเป็นผู้เสียสละต่อไป ผมกลับมาถึงโฮมสเตย์หลังน้อย สังกัดป้านิ่ม บริการ พร้อมด้วยสภาพมอมแมมสุดคณา หากความ ประทับใจจากทั้งเจ้าของบ้าน และเรือนที่พักกลับเรียก พลังคืนมาใหม่ กล่าวถึงโฮมเสตย์ของป้านิ่มแล้ว บรรยากาศน่ะ หรือ ไม่ต้องพูดถึงครับ ใครที่หลงใหลได้ปลื้มกับที่พัก สไตล์ชาวบ้านหรือแบบติดดินหน่อย มาที่นี่ได้เลยครับ รับรองไม่ผิดห วัง คืนน นั้ ในกระต๊อบหลังเล็ก ไร้เงารา่ งของเครือ่ งมอื ไฮเทค มีแต่แสงไฟรำไรๆ ผมนอนนับด าวเดือน แกล้ม เสียงกบเขียดอย่างเพลิดเพลินจำเริญใจ วันรุ่งยามเช้าจะด้วยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เจ้าโต้ง นักเลงเจ้าถิ่นออกมาโก่งคอขันแต่เช้า ทั้งพระพิรุณคง กลัวว่าเราจะไม่ตื่น ช่วยเทซ้ำกระหน่ำลงมาในเช้าอัน เหน็บหนาว
81
82 ศรีฐาน
ผมสะดุง้ ต นื่ ข นึ้ ม าดว้ ยอาการตนื่ ต กใจ แย่แ ล้วส เิ รา เช้านี้มีนัดกับกลุ่มโรงสีข้าวชุมชน เจ้าป ระคุณช ว่ ยลกู ช า้ งดว้ ย เหมือนคำขอสมั ฤทธิผ์ ล ห รือเจ้าท เี่ จ้าท างเข้าข า้ ง ไม่น านนกั ฝ นฟา้ ท ตี่ กไม่ค ดิ ช วี ติ ก็ซาสร่างไป เหลือแต่เพียงละอองน้ำที่ให้ความชุ่มฉ่ำ เท่านั้น วันนี้ก็เช่นเดียวกับวันวาน ด้วยความทตี่ ่างคนต่าง มีภาระหน้าที่ ผมกับป ้านิ่มจึงแยกย้ายกันไปตามภารกิจ ของตนเอง
ประชาคมโรงสี ที่อาคารอเนกประสงค์ของหมู่บ้านเตาไห หมู่ 7 ท่ามกลางวงล้อมของสมาชิก ‘กลุม่ โรงสขี า้ วชมุ ชน’ ผมนกึ ในใจ เขาเข้าใจผดิ อ กี ห รือเปล่าว า่ เราเป็นน ายใหญ่น ายโต จากหน่วยราชการสว่ นกลางมาตรวจงาน ชาวบา้ นเลยมา ต้อนรับก ันเสียจนคับคั่งเชียว เอาน่า ชาวบ้านคงมีไมตรีจิต ว่าแ ล้วผมก็เป็นฝ่าย เปิดฉากจู่โจมยิงคำถามก่อน “ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยได้ไหมครับว่า กลุ่มโรงสีข้าว ของที่นี่เป็นมาอย่างไร ชุมชนเราอยากทำเองหรือว่าทาง รัฐเขาจัดมาให้”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
83
84 ศรีฐาน
อุดม ราชอาษา เลขานุการกลุ่ม ไขคำตอบเป็น คนแรก “ทีบ่ า้ นเตาไห เราไม่ป ล่อยให้ใครเข้าม าทำอะไรมวั่ ซั่ว ทุกเรื่องต้องผ่านชาวบ้าน ต้องมีการประชาคม อย่าง โรงสีชุมชนนี่ก็เกิดจากการประชาคมความต้องการของ คนในหมู่บ้าน “เมื่อได้งบมาเราก็นัดชาวบ้านมาทำประชาคม อีกครั้งว่าจะมีกฎกติกาอย่างไร ใครจะเป็นกรรมการ กรรมการมีวาระกี่ปี เราคุยกันตั้งแต่แรกเพื่อให้หมด ปัญหาไปเลย จะได้ไม่ต้องมีอะไรคั่งค้างใจกันอีก” ‘ไม่ปล่อยให้ใครเข้ามาทำอะไรมั่วซั่ว’ ฟังแล้วได้ใจ ผมจริงๆ เรื่องนี้สำคัญมากนะครับ เพราะอดีตทผี่ ่านมา ภาคชนบทเราพัฒนาไปแบบพิกลพิการก็เพราะมาจาก การที่คนจากส่วนกลางเข้าไปยัดเยียดสิ่งที่คนในพื้นที่ไม่ ต้องการ ผลมันก็เลยเป็นอย่างที่เราเห็นๆ กันอยู่ ไม่ว่าจะ เป็นเครื่องอัดเม็ดปุ๋ยขึ้นสนิมเอย เครื่องสีข้าวฝุ่นเขลอะ เอย อาคารจัดแสดงสินค้า OTOP ที่รกร้างเอย ล้วนแล้ว แต่สร้างความสูญเสียให้แก่ชาติบ้านเมืองทั้งสิ้น
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
บริการฟรีทุกระดับประทับใจ “เมือ่ ต กลงเงือ่ นไขกฎระเบียบ สถานทตี่ งั้ ส่วนแบ่ง ผลประโยชน์กันเรียบร้อยแล้ว เราก็ไปตั้งโรงสีอยู่บริเวณ ดอนปู่ตา เสร็จแล้วเราก็ประกาศให้ชาวบ้านได้รับรู้ว่า ทุกคนสามารถนำข้าวมาสีได้ฟรี” ผู้ใหญ่ส ุนทร ทุ่มโ มง ประธานกลุ่มกล่าวเสริม ผู้ใหญ่สุนทรย้ำชัดๆ บริการฟรีทุกระดับ ไม่ว ่าจะ
85
86 ศรีฐาน
ยากดมี จี นอย่างไร แต่ค ำถามมอี ยูว่ า่ เครือ่ งสขี า้ วยอ่ มตอ้ ง ใช้ไฟฟ้าและค่าใช้จ่ายจิปาถะก็ย่อมตามมา แต่เหตุไฉน ไม่มกี ารเรียกเก็บค่าบริการจากชาวบ้าน ทั้งผู้ใหญ่ส ุนทร ทั้งพี่อุดม ช่วยกันอธิบายแนวทาง การทำงานของกลุม่ ว า่ “เราบริการฟรีก จ็ ริงอ ยู่ แต่ส มาชิก ก็ต้องกินต้องอยู่ ค่าน้ำ ค่าไฟก็ต้องเสีย ดังน ั้นเมื่อสีข้าว เสร็จเราจะขอแบ่งป นั ผลพลอยได้ทเี่ กิดจ ากกระบวนการ สีข้าว เช่น รำข้าว ปลายข้าว และแกลบบางส่วน เพื่อน ำ ไปขายและหากำไรเข้ามาเป็นเงินปันผล” “แล้วอย่างนี้ชาวบ้านเขาจะยอมหรือ” ผมรีบสวน กลับไปทันควัน “เรือ่ งหลักก ารบริหารเราตกลงกนั ต งั้ แต่ป ระชาคม แล้ว อีกอย่างชาวบ้านเขามีแต่ได้ ไม่มเีสีย ชาวบ้านเอา ข้าวมาสีกับเรา เงินก็ไม่ต ้องเสีย แถมเราก็ไปรับข้าวมาสี ฟรีถ งึ ที่ สีเสร็จแ ล้วท กุ 3 เดือนยงั ได้ป นั ผลกระสอบละ 3 บาท ได้ทั้งขึ้นทั้งล่องแบบนี้มีที่ไหน น้องลองคิดด ู” “สีฟรีอย่างนี้ การันตีเรื่องคุณภาพได้ไหม” ผม ถามต่อ “มันก ม็ บี า้ งในทปี่ ระชุมส มาชิกเขาบอกวา่ บางครัง้ ข้าวทสี่ ไี ด้เม็ดข า้ วไม่ส วย ตรงนกี้ ไ็ ม่ได้น งิ่ เฉย เราพยายาม ปรับปรุงตลอด แต่ชาวบ้านก็ไม่ได้กดดันอะไรมากนัก เพราะส่วนใหญ่จ ะสีไว้ก ินเอง”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
87
88 ศรีฐาน
ปันผลสมาชิกโรงสี จะว่าไปผลพลอยได้จากการสีข้าวนั้นเพียงพอถึง ขนาดที่จะปันผลให้สมาชิกได้กระสอบละ 3 บาทเชียว หรือ นีย่ งั ไม่ร วมคา่ จ า้ งสมาชิกท ผี่ ลัดก นั ม าทำหน้าทีส่ ขี า้ ว อีกต่างหาก ตรงนี้ผมไม่ความรู้จริงๆ จึงได้แต่ร บกวนให้ คนที่มาร่วมพูดค ุยในเช้าวันนั้นช่วยกันอธิบายให้ฟ ัง “โรงสีจะอยู่ได้หรือไม่ก็ตรงนี้ล่ะ อย่างในชุมชน จริงๆ แล้วมโีรงสีของเอกชนอีก 2 ที่ เขาก็สีฟรีเหมือน กัน เขาก็อยู่ได้เพราะขายผลพลอยได้จากการสีข้าว เหมือนกัน” ว่าแล้วพี่อุดมก็พาไปดูโรงสีเพื่อให้เห็นภาพกัน ชัดๆ “ถึงแล้วน้อง” โธ่ เรานกึ ว า่ จ ะขบั ไปไหนไกล ออกมาแค่ไม่ถ งึ น าที ก็ถึงโรงสีข้าวชุมชนเสียแล้ว มองดว้ ยตาเปล่าจ ากภายนอก ผมไม่ร จู้ ริงๆ ว่าทีน่ ี่ จะเป็นโรงสขี ้าวชุมชนที่เรากำลังพูดถึงกันอยู่ กะเกณฑ์ด้วยสายตาแล้ว บริเวณทั้งหมดไม่น่าจะ เกิน 30 ตารางวา ทั้งเครื่องสีข้าวก็มีขนาดเล็ก จึงส งสัย อยู่ว่าเครื่องขนาดเพียงเท่านี้จะสีข้าวของคนทั้งชุมชนได้ ทันวันต่อวันจริงหรือ “เรื่องนั้นเอาไว้ก่อน ที่พามานี่ตั้งใจจะให้ดูว่า
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ผลพลอยได้พ วกนี้มีหน้าต าอย่างไร” แต่แ หม ทีจ่ ริงผ มกพ็ อรนู้ ะวา่ อ ะไรมหี น้าต าอย่างไร แต่ที่สงสัยก็คือ ผลพลอยจากการสีข้าวเหล่านี้มันคุ้มกับ ค่าบริหารงานของกลุ่มจริงหรือ “ถ้าอย่างนั้นพี่อธิบายให้ฟังเลยนะ อย่างรำข้าวนี่ กิโลกรัมละ 5 บาท ปลายข้าวกิโลกรัมละ 6 บาท ส่วน แกลบกระสอบละ 6 บาท เฉลี่ยแล้วหลังหักค่าใช้จ่าย ก็พออยู่ได้ คือเราไม่ได้ทำเป็นธุรกิจ แต่จะนึกถึงความ พอใจของชาวบ้านที่ได้ร ับบริการมากกว่า ส่วนคนที่มาซื้อก็ไม่ใช่ใครอื่น แต่เป็นคนในชุมชน เราเอง เขาเอาไปเลี้ยงวัวบ้าง เลี้ยงหมูบ้าง บางช่วงก็มี คนจากข้างนอกมาขอซื้อ แต่โดยหลักการเราจะขายให้ คนในชุมชนก่อน” พี่อุดมอธิบาย ว่าไปแล้วคนศรีฐานบริหารโรงสีได้รัดกุมทีเดียว ไม่ต้องกลัวเงินกระเซ็นออกนอกชุมชนโดยใช่เหตุเลย
ทำบัญชีแน่นหนา เพิ่มค วามโปร่งใส ระหว่างที่เดินสำรวจรอบๆ อาคารโรงสีข้าว พอ ไปถึงด้านหลังซึ่งเป็นบริเวณส่วนที่ใช้กักเก็บแกลบจาก เครื่องสีข้าวนั้น ผมได้พบกับเพื่อนใหม่อย่างไม่คาดคิด เจ้าจ อ๋ น อ้ ยใหญ่ นัง่ ป นั้ จ มิ้ ป นั้ เจ๋ออ ย่างไม่ส นใจไยดี
89
90 ศรีฐาน
มาตรว่าใช้ชีวิตเคยชินกับคนหมูม่ ากมาตั้งแต่เกิด พวกพี่ ป้า น้า ลุง ที่มาด้วยกันเล่าให้ฟังว่า พอ นักท่องเที่ยวมาที่ดอนปู่ตาน้อยลง ลิงพวกนี้จึงเข้ามา หากินในชุมชนมากขึ้น บ้างเข้าไปขโมยของชาวบ้านก็มี พวกที่ไม่ซุกซนมากก็มาหากินแกลบ กินปลายข้าวเอา แถวๆ นี้ ขณะกำลังจ ะถ่ายภาพเพื่อนร่วมสายพันธุ์ สมาชิก คนหนึ่งดันสตาร์ทเครื่องสีข้าวซะได้ เล่นเอาเพื่อนร่วม สายพันธุ์กระเจิงกันเป็นแถวๆ เอาเถอะ มาถึงโรงสีข้าวแล้วก็ต้องเข้าไปดูการ ทำงานของเครื่องสีข้าวเจ้าของเสียงฮึ่มๆ นี่เสียหน่อย ขณะที่อยู่ภายในอาคารโรงสีข้าว ผมดันตาดีไป เห็นส มุดบ ญ ั ชีที่มสี ภาพไม่สดู้ นี กั แม้ภายนอกจะดเู ขรอะ ไปด้วยฝุ่น แต่เรื่องความโปร่งใสในการบริหารนั้น ผู้ใหญ่ สุนทรการันตีได้ว่าสามารถตรวจสอบได้ โดยสมุดบัญชี รายรับรายจ่ายจะแบ่งออกเป็น 2 ชุด เก็บไว้ที่คณะ กรรมการและคณะตรวจสอบคนละชุด ทีส่ ำคัญไม่ใช่แ ค่ต รวจกนั ป ลี ะหน แต่ต รวจสอบกนั เดือนละ 1-2 ครั้งเลยทีเดียว อีกเรื่องที่น่าส นใจสำหรับการบริหารงานของกลุ่ม นี้คือ จะมีการเลือกคณะกรรมการชุดใหม่ทุก 3 เดือน ผมจงึ ถ ามผใู้ หญ่ส นุ ทรไปวา่ มันไม่เร็วไปหรือ เพราะอาจ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
91
92 ศรีฐาน
ทำให้การบริหารงานไม่ต ่อเนื่อง แกยิ้มรับแถมตอบด้วยน้ำเสียงเรียบเฉยแบบไม่ แยแสในตำแหน่ง “ปีห นึง่ ม นั น านไปหนุม่ คนเขาลมื ก นั ห มด อีกอ ย่าง ถ้าเป็นก รรมการนานๆ กลัวค นจะหลงไปกบั อ ำนาจและ ผลประโยชน์” แหม...ทิ้งท้ายได้เจ็บๆ คันๆ และคมคายจริงนะ ผู้ใหญ่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
93
94 ศรีฐาน
08 ขัดก ล่อมจิตใจด้วยธรรมะ ยิ่งอยู่นานยิ่งสัม ผัสได้ว่าที่ชุมชนแห่งนี้มีอะไรน่า สนใจกว่าที่คิด โดยเฉพาะแนวทางการพึ่งพาตนเองและ การสร้างความสามัคคีข องคนในชมุ ชน แหล่งเรียนรทู้ ผี่ ม กำลังจ ะเดินท างไปเยีย่ มชมอกี 2 แหล่งต อ่ จ ากนี้ บอกได้ เลยว่าคนศรีฐานมองการพัฒนาครบทุกองศาจริงๆ เวลา 8 นาฬิกา เสียงเพลงเคารพธงชาติแว่วม าใน โสตประสาท ผมกล่าวคำอำลาพี่ ป้า น้า ลุง กลุ่มโรงสี ชุมชน เช้านี้ผมรีบโทรหาอาจารย์โควิน คิดเข่ม ผูร้ ิเริ่ม ’โครงการเยาวชนนอนวัดปฏิบัติธรรม’ หลังจากแนะนำ ตัวเองและนัดหมายเวลาเสร็จสรรพ พระพิรุณท่านดัน เล่นต ลก (ร้าย) บันดาลความชมุ่ ช นื่ ร ะลอกไม่เล็กไม่ใหญ่ มาท่องแดนดินถิ่นอีสานเป็นเพื่อนแก้เหงาอีกครั้ง คิดไปคิดมา ในตลกร้ายของพระพิรุณ ชาวนา ชาวไร่คงปลื้มใจอยู่ไม่น้อย ก็แ หม ปีน มี้ นี ำ้ ก นิ น ำ้ ใช้แ ล้วช าวบา้ นทงุ่ จ ะไม่ส ขุ ใจ ได้อย่างไร จะมีก็แต่หนุ่มชาวกรุงนี่ล่ะที่ (ใจ) กำลังดิ้น ทุรนทุรายอยู่ ผมติดฝนอยู่ราว 1 ชั่วโมง พร้อมกับสายโทรศัพท์
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ที่ดังนับ 10 ครั้ง “ตอนนี้น้องอยู่ที่ไหนแล้ว พี่โทรหาตั้งหลายครั้ง เป็นอะไรหรือเปล่า ฝนตกอย่างนี้จะให้พี่ขับรถไปรับ มั้ย” โชคดีว่าห ลังจากอาจารย์โควินวางสายไปพักเดียว ฟ้าฝนที่มืดค รึ้มก็กลับมาเป็นใจอีกครั้ง
แก้ปัญหาสังคมเริ่มต ้นทบี่ ้าน ที่โรงเรียนบ้านเตาไห ภายในห้องที่รายล้อมไป ด้วยพระพุทธรูปปางต่างๆ อาจารย์โควินเล่าที่มาของ โครงการเยาวชนนอนวัดป ฏิบัตธิ รรมให้ฟังว่า “เบือ้ งหน้าเบือ้ งหลังข องโครงการนเี้ กิดจ ากสภาวะ ที่ชาวบ้านในชุมชนพากันเข้าไปทำงานในเมือง แล้วทิ้ง ลูกๆ ให้อยู่กับตายาย ซึ่งพวกท่านเหล่านี้มักจะตามใจ ลูกหลานจนเด็กพวกนี้มีนิสัยก้าวร้าว พฤติกรรมนี้ไม่ได้ เกิดขึ้นเฉพาะตอนที่เด็กอยู่ที่บ้าน แต่ย ังติดตัวเด็กๆ ใน ยามที่อยู่ในโรงเรียนด้วย “พอเราเจอปญ ั หาตรงนกี้ ค็ ดิ ว า่ จ ะปล่อยไปอย่างนี้ ไม่ได้แล้ว เพราะจะเป็นนิสัยที่ติดตัวเด็กไปจนโต จึงได้ ไปปรึกษากับท่านผู้อำนวยการโรงเรียนว่าเราจะสอนแต่ เพียงวิชาพระพุทธศาสนาไม่ได้แล้ว คงต้องมีกิจกรรม
95
96 ศรีฐาน
อย่างอนื่ ท เี่ ข้าม าปรับปรุงพ ฤติกรรมของเด็กเพิม่ เติมเพือ่ สนองชมุ ชนบา้ ง โชคดที ที่ า่ นผอู้ ำนวยการให้ค วามรว่ มมอื และให้ความสนใจโครงการนี้เป็นอย่างดี” ผมเองก็นกึ ไม่ถงึ เพราะเคยเชือ่ ว่า การทเี่ ด็กได้อ ยู่ กับปู่ ย่า ตา ยาย แล้วจ ะได้รับก ารอบรมสั่งสอนที่ดี แต่ ข้อเท็จจริงกลับกลายเป็นว่าเด็กอาจเสียคนได้ง่ายๆ เรื่องอย่างนี้คงโทษผู้ใหญ่เพียงฝ่ายเดียวก็ไม่ได้ เพราะบางครั้งต่อให้ผู้ใหญ่สอนมาดี แต่เด็กอาจหูไว ตาไวไปเห็นตัวอย่างที่ไม่ดีจากสื่อนานาชนิดที่ไร้ความ รับผิดชอบ ซึ่งบางครั้งอาจเล็ดลอดสายตาผู้ปกครอง ไปได้
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เข้าค ่ายนอนวัด คุยเรื่องแนวคิดกันพอหอมปากหอมคอ แต่ยัง ไม่ค่อยเห็นภาพชัดมากนักว่าโครงการนี้เด็กๆ ต้องทำ กิจกรรมอะไรบ้าง จึงขอให้อาจารย์โควินช่วยเล่าวิธีการ ทำงานเพิ่มเติม เผื่อบางทีอาจเป็นอานิสงส์ให้ชุมชนอื่น นำไปขยายผลต่อยอดได้ไม่มากก็น้อย “กิจกรรมของเราไม่มีอะไรซับซ้อน ไม่มีเรื่องการ ตีความหรือเกี่ยวกับธรรมะชั้นสูง แต่จะเน้นการสอนให้ ประพฤติในสิ่งที่ถูกทคี่ วร ยึดห ลักศีล 5 เป็นที่ตั้ง โดยจะ นำนักเรียนชั้นมัธยมต้น ตั้งแต่ ม.1-3 ไปเข้าค่ายนอนวัด ในวันธรรมสวนะ ช่วงเทศกาลเข้าพรรษา “เด็กๆ ทุกคนจะได้รับคู่มือการนอนวัด มีตาราง ประจำวนั ก ำหนดชดั ว า่ ช ว่ งเวลาใดปฏิบตั กิ จิ กรรมใด เช่น หกโมงเย็นท กุ ค นพร้อมกนั ท วี่ ดั แต่งก ายชดุ ส ขี าว จากนนั้
97
98 ศรีฐาน
เป็ น กิ จ กรรมถ วายน้ ำ ป านะใ ห้ แ ก่ พ ระส งฆ์ พอถึ ง ทุ่มหนึ่งก็จะให้เด็กจ ะทำวัตร ต่อจากนั้นจะฟังเทศน์ รับ ศีล เสร็จแล้วนั่งสมาธิ จนเวลาประมาณ 4 ทุ่ม เป็นอ ัน จบกิจกรรมในวันแรก “วันท สี่ องประมาณตี 5 หลังจ ากทเี่ด็กท ำกิจกรรม ส่วนตวั เสร็จแ ล้วก จ็ ะให้ท ำวัตรเช้า ทำสมาธิ อบรมความรู้ ต่างๆ เช่น การฝึกการเป็น ผู้นำ ฝึกการพูดหน้าชั้น สุดท้ายจะให้ช่วยกันบำเพ็ญประโยชน์ เช่น การทำความ สะอาดบริเวณวัด เสร็จแล้วจ ึงปล่อยเด็กๆ กลับบ้าน” ฟังอาจารย์โควินร่ายยาว ขนาดผมเองฟังแล้วยัง เกิดอาการหาวนอน แล้วพวกวัยทโมนเหล่านี้ล่ะจะไม่ เป็นปัญหาหรืออย่างไร ยิ่งกว่าน ั้นยังมีนักเรียนหญิงรวม อยูด่ ้วย การมาพักค้างอ้างแรมกันอย่างนี้จะดูแลจัดการ อย่างไร ผมยังสงสัยอยู่ อาจารย์โควินไขข้อสงสัยทันทีว่า “ปีสองปีแรกก็ มีบ้างที่เด็กไม่ยอมปฏิบัตติ ามระเบียบข้อบังคับ แต่เราก็ พยายามเอาน้ำเย็นเข้าลูบ หลังๆ เราพบว่าต ้องมีรางวัล กระตุ้น เช่น ใครที่เข้าร่วมกิจกรรมครบทุกทั้ง 13 ครั้ง และมีความประพฤติดีก็จะได้รับทุนการศึกษา “ส่วนเรื่องนักเรียนหญิง เพื่อไม่ให้เกิดข้อครหา ตามมา หลังจากที่ทำกิจกรรมทุกอย่างเสร็จสิ้นตอน 4 ทุ่มแล้ว เราจะให้กลับบ้านไปพร้อมกับผู้ปกครองที่มา
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ร่วมกิจกรรม” ฟังแ ล้วค อ่ ยหายคลายกงั วลลงได้ ไม่ใช่อ ะไรหรอก ครับ เพราะเด็กวัยอยากรู้อยากเห็นสมัยนี้ถ้าคิดจะทำ อะไรแล้ว บางทีผู้ใหญ่อาจตามไม่ทัน
ร่วมแรงแข็งขัน เคล็ดล ับความสำเร็จ ถามต่อไปว่า อะไรคือปัจจัยท ี่ทำให้โครงการนอน วัดป ฏิบตั ธิ รรมสำเร็จล ลุ ว่ งไปได้ แถมยงั ม กี ารดำเนินง าน อย่างต่อเนื่องมา 6-7 ปี “ผมหรือใครก็ทำคนเดียวไม่ไหวแน่ เรื่องนี้เราต้อง ช่วยกัน กิจกรรมนี้ถ้าวัดไม่ช่วย อบต. ไม่ช ่วย โรงเรียน ไม่ช่วย ชาวบ้านไม่เอา ผมยังนึกไม่ออกเลยว่ามันจะ สำเร็จได้อย่างไร “ในการทำงานทุกๆ ครั้งเราทำงานเป็นทีม ไม่มี การฉายเดี่ยว แล้วเราก็ไม่ได้ทำอะไรโดยพลการ ก่อน ทำกิจกรรมในทุกๆ ปี เราจะมกี ารประชุมกับผู้ปกครอง ก่อนว่าปีนี้จะเอาอย่างไร มีการสำรวจความเห็นของ ผู้ปกครองว่าปีนี้อยากให้มีกิจกรรมแบบเดิมอีกหรือไม่ นอกจากนั้นยังเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองเสนอความคิด เห็นได้อย่างอิสระ” ปรบมือให้ดังเลยครับกับวรรคทองที่ว่า ‘ไม่มีการ
99
100 ศรีฐาน
ฉายเดี่ยว’ เพราะอันทจี่ ริงแล้วการทำงานในทุกเรื่องโดย หวังจะเป็นฮีโร่เพียงคนเดียวนั้น คงไม่สามารถนำมาใช้ กับการพัฒนาสังคมยุคนี้สมัยนี้ได้อีกแล้ว ก่อนกลับเรายงั ได้ค ยุ ก นั ถ งึ เรือ่ งความตอ่ เนือ่ งของ โครงการ หากเด็กๆ จบหลักสูตรนี้แล้ว อนาคตจะเป็น อย่างไรตอ่ ไป เพราะโลกภายนอกไม่ได้ส วยงามอย่างทคี่ ดิ อาจทำให้เด็กกลับไปมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมอีก “เท่าที่ผมเฝ้าติดตามพบว่าเด็กที่ยังอยู่ในชุมชน เขาจะกลับมาร่วมกิจกรรมอยู่อย่างสม่ำเสมอ ส่วนจะ มามากน้อยผมไม่คิดมาก ผมถือว่าได้น้อยก็ยังดีกว่าไม่ ได้ทำ จาก 100 คนที่อบรมไปแล้วกลับมาอีกสัก 1 คน ผมก็ดีใจแล้ว “ที่ตั้งใจไว้ในตอนนี้จริงๆ คือ การผลักดันให้ กิจกรรมนกี้ ลายเป็นว ฒ ั นธรรมและเข้าไปอยูใ่ นแผนชมุ ชน ซึง่ ต อนนนั้ ถ งึ ผ มจะไม่อ ยูแ่ ล้ว แต่ก จิ กรรมนกี้ จ็ ะยงั ค งอยู่ คู่ชุมชนบ้านเตาไหต่อไป” ในใจผมขออนุโมทนาร่วมด้วย ขอให้ความตั้งใจ ของอาจารย์โควินสำเร็จ สมกับแรงกายแรงใจที่ได้ทุ่มเท ลงไป
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 101
102 ศรีฐาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 103
104 ศรีฐาน
09 จ่ายคนละนิด
เพื่อค ุณภาพชีวิตที่ดีกว่า
เสร็จจ ากกลุม่ เยาวชนเข้าค า่ ยนอนวดั ผมกลับม าที่ บ้านปา้ น มิ่ ด ว้ ยสภาพมอมแมมไม่ต า่ งไปจากเมือ่ เย็นว าน ที่ลงไปลุยโคลนในนาเกษตรอินทรีย์ของพ่อใหญ่สุทัศน์ อาจจะดีกว่าหน่อยก็ตรงที่รองเท้าไม่เต็มไปด้วยโคลน หลังจากอาบน้ำแต่งตัวใหม่ ผมและป้านิ่มออก เดินทางย้อนกลับไปทำการ อบต.ศรีฐาน อีกค รั้ง ตอนนั้นใจผมนึกอย่างเดียวว่า พระพิรุณจ๋าอย่า เพิง่ ให้พ รลกู อ กี น ะ ขืนใจดใี ห้พ รมาอกี ส งสัยล กู เป็นได้ส นั่ เป็นลูกนกตลอดการเดินทางกลับกรุงเทพฯ เป็นแน่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 105
ถึงที่ทำการ อบต. ป้านิ่มเล่าเรื่องราวของแหล่ง เรียนรู้ที่สุดท้ายให้ฟังคร่าวๆ ว่า ในบรรดาแหล่งเรียนรู้ หรือกลุ่มต่างๆ ทีอ่ ยู่ในตำบลศรีฐานนี้ไม่มีทใี่ดอีกแล้วที่ ชุมชนจะมสี ว่ นรว่ มและเป็นเจ้าข า้ วเจ้าของมากเท่าแ หล่ง เรียนรแู้ ห่งนี้ ทีแรกผมเองก็เกือบจะไม่เชื่อเหมือนกันว่า เป็นไป ได้หรือที่จะมีกิจกรรมที่คนทั้งชุมชนมีส่วนร่วมและเป็น เจ้าของร่วมกัน แล้วถ้าคนมากมายขนาดนั้นเข้ามีส่วน เกี่ยวข้องด้วยแล้ว ผู้ที่รับผิดชอบเรื่องนี้จะมีการบริหาร งานอย่างไรจงึ จะสร้างความพงึ พอใจให้แก่คนทง้ั ช มุ ชนได้ พลันเมือ่ ได้ค ยุ ก บั เจ้าของเรือ่ งราวตวั จ ริงแ ล้ว ก็พ บ ว่าไม่เกินเลยไปจากที่ป้านิ่มกล่าวไว้จริงๆ ส่วนเรื่องราวจะเป็นอย่างไรนั้น เรามาลองฟังดู
106 ศรีฐาน
‘หมอนาง’ หรือ อนงคราญ เข็มเพชร ผูอ้ ำนวยการ โ รงพ ยาบาลส่ ง เ สริ ม สุ ข ภ าพต ำบลศ รี ฐ าน เล่ า ที่ ม า ของกองทุนโรงพยาบาล 2 บาท ให้ฟ ังว่า “เดิมทีเราเป็นเพียงสถานีอนามัยขนาดเล็กซึ่งก็ มีปัญหาเหมือนๆ กับสถานีอนามัยขนาดเล็กทั่วไปคือ เจ้าห น้าทีม่ นี อ้ ย งบประมาณไม่เพียงพอ ทำให้ไม่ส ามารถ บริการชาวบา้ นได้อ ย่างทวั่ ถ งึ เราเองกไ็ ม่ได้น งิ่ น อนใจ แต่ บางครั้งก็ไม่รู้จะทำอย่างไรเหมือนกัน เพราะส่วนกลาง ไม่มีนโยบายลงมา “จนกระทั่งราวปี 2548 เราได้ไปดูงานที่โรง- พยาบาลหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ เราพบว่าแนวคิด เรื่องโรงพยาบาลตำบล 2 บาท ของหมอพงศ์พิชญ์ วงศ์มณี มีความน่าสนใจและมีความเป็นไปได้ที่จะนำ มาปรับใช้ในชุมชนของเรา พอกลับมาจึงม าพูดคุยกันกับ แกนนำในชุมชน “พูดคุยกันจนตกผลึกทางความคิดเสร็จแล้ว จึงมี การจัดประชุมในเวทีหมู่บ้าน ทุกค นเห็นชอบว่าจ ะลงขัน กันคนละ 2 บาทต่อเดือน เพื่อปรับปรุงส ถานีอนามัยให้ ยกระดับเป็นโรงพยาบาลตำบล โดยเริม่ ด ำเนินง านตงั้ แต่ เดือนพฤษภาคมปเีดียวกันนั้นเป็นต้นมา” เรื่องราวเหมือนไม่มีอะไรตื่นเต้น หากหมอนาง เล่าต ่อไปว่า ทุกอย่างที่ทำมานี้ไม่มีกฎระเบียบอะไรของ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 107
กระทรวงสาธาณสุขรองรับทั้งสิ้น เป็นฉันทามติร่วมกัน ของคนทั้งชุมชนที่ก้าวหน้ากว่ากฎเกณฑ์ที่ภาครัฐเคย ทำมา
108 ศรีฐาน
2 บาทลงขัน สร้างสรรค์โรงพยาบาลตำบล ใต้อ าคารโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภ าพตำบลศรีฐ าน หลังจากพูดคุยถึงที่มาของโรงพยาบาลกองทุน 2 บาท เป็นที่เรียบร้อย แต่ยังนึกสงสัยถึงการบริหารเงินกองทุน ขึ้นมาว่ามีการจัดการอย่างไร “คุณหมอพูดถ ึงแต่เงินของภาคประชาชน แล้วเงิน ของภาครัฐล่ะครับ เขาไม่ได้เข้ามาสนับสนุนอะไรบ้าง หรือ” ผมโพล่งถ ามออกไป “เราบริหารกองทุนโดยมีเงินเข้ากองทุนทั้งหมด 3 ขา จากประชาชน 6,000 ครัวเรือน เก็บเงินได้ปีละ 160,000 บาท จาก อบต.ศรีฐาน ปีละ 300,000 บาท จากงบของโรงพยาบาลเองปลี ะ 200,000 บาท ปัจจุบนั รวมๆ แล้วมีเงินกองทุนอยู่ประมาณ 800,000 บาท”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 109
หมอนางอธิบาย ผมยังสงสัยต่อไปว่า รายได้ของกองทุนมีทั้งที่มา จากภาครฐั แ ละจากประชาชนอย่างนี้ หากจะมกี ารนำไป ใช้จ่ายต้องผ่านการคัดกรองอย่างไร ที่สำคัญหากต้องมี การตอ่ เติมอ าคารหรือจ ดั ซ อื้ ว สั ดุอ ปุ กรณ์ ในทางกฎหมาย ใครจะเป็นเจ้าของ หมอนางขยับตัว ตอบคำถามให้คลายความสงสัย ว่า “เรือ่ งของเงินท นุ ม เี ราคณะกรรมการดแู ลเงินก องทุนน ี้ อย่างเคร่งครัด หากจะนำไปใช้อ ะไรตอ้ งเสนอชมุ ชนกอ่ น ถ้าผ่านความเห็นชอบก็ลงมือทำได้ ส่วนเรื่องใครจะเป็น เจ้าของนั้นในทางกฎหมายก็ว่ากันไป แต่สำหรับที่นี่เรา ถือว่าคนทั้งชุมชนเป็นเจ้าของโรงพยาบาลแห่งนี้ร่วมกัน “ที่ผ่านมาเมื่อปี 2551 ชุมชนทอดผ้าป่าได้เงิน มา 500,000 บาท ก็เอามาต่อเติมอาคารชั้นล่างของ โรงพยาบาล และถือเป็นสมบัติของคนทุกคน เพราะ สั ง คมช นบทเ ราอ ยู่ กั น แ บบญ าติ พี่ น้ อ ง เรื่ อ งแ บบนี้ บางครั้งคนเมืองก็อาจไม่ค่อยเข้าใจ”
110 ศรีฐาน
งบถึง...บริการจึงเพียบพร้อม จบเรื่องเงินๆ ทองๆ และการบริหารกองทุน ผม ลุกข นึ้ เดินด บู รรยากาศรอบโรงพยาบาล พบวา่ ทีน่ มี่ คี วาม พร้อมชนิดท ไี่ ม่น อ้ ยหนา้ ไปกว่าโรงพยาบาลระดับอ ำเภอ เลยแม้แต่น้อย เทียบแล้วบางทีอาจจะพร้อมกว่าโรงพยาบาลในอำเภอห่างไกลเสียด้วยซ้ำ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 111
ผมเดินเข้าออกห้องโน้น ทะลุออกห้องนี้ วนไป จนถึงด้านหลังอาคารที่มีบริการแพทย์แผนไทย แล้ววก กลับมายังส่วนหน้าบริเวณลงทะเบียนคนไข้ หมอนางยิ้มอย่างอารมณ์ดีที่เห็นความสนใจใคร่รู้ ของผม แล้วจึงพูดว่า “เดี๋ยวจะเล่าให้ฟังว่า หลังจากที่มีกองทุนนีข้ ึ้นมา แล้วเรามีบริการอะไรเพิ่มขึ้นมาบ้าง อย่างแรกเลยคือ เรื่องของอุปกรณ์การแพทย์ในระดับพื้นฐานที่ตอนนี้เรา มีความพร้อมอย่างเต็มที่ หรือจะเป็นเรื่องของบุคลากร ตอนนี้ เ รามี ก ารจั ด จ้ า งง านเ พิ่ ม ขึ้ น เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค วาม เพียงพอ “นอกจากนั้นเรายังจัดจ้างแพทย์และทันตแพทย์ จากโรงพยาบาลอำเภอมาประจำสัปดาห์ล ะ 1 ครั้ง ส่วน งานบริการทปี่ ระชาชนชนื่ ช อบมากทสี่ ดุ ค อื เรามรี ถรบั ส ง่ ผูป้ ว่ ยกรณีท ตี่ อ้ งสง่ ต อ่ พร้อมทมี เจ้าห น้าทีค่ อยให้บ ริการ ตลอด 24 ชั่วโมง” โอ้โห...ผมอุทาน จ่ายเพียงแค่คนละ 24 บาทต่อปี แต่ได้บริการทเี่พิ่มขึ้นมากขนาดนี้ เป็นใครจะไม่เอา อย่างไรกด็ ี แนวทางการพฒ ั นากองทุนโรงพยาบาล 2 บาท ไม่ใช่สิ่งที่จะทำได้ง่ายๆ ปานพลิกฝ่ามือ หาก แนวคิดดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนในชุมชน ทั้งประชาชน อบต. และโรงพยาบาล
112 ศรีฐาน
ต้องเห็นพ้องต้องกัน ความสำเร็จจึงจะเกิดขึ้นได้ หมอนางบอกผมไว้ว่า จะทำกองทุนนี้สิ่งแรกเลย ต้องมีจิตอาสา ทุกคนต้องพร้อมเป็น ผู้ให้ ไม่ว่าจะเป็น ด้านกำลังท รัพย์ กำลังกาย กำลังสมอง แม้ก ระทั่งเวลา เพื่อเผื่อแ ผ่ให้กับส่วนรวม ที่สำคัญต ้องมองประโยชน์ของส่วนรวมเป็นใหญ่ พูดง่ายแต่ทำยากเหมือนกันนะ ก็ได้แต่หวังว่าใน อนาคตอันใกล้น ี้ ประชาชนคนไทยจะคิดถึงผ ลประโยชน์ ส่วนรวมกอ่ นผลประโยชน์ส ว่ นตนเป็นอ นั ดับแ รก ผมหวัง ไว้เช่นนั้น
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 113
10 จำจากจร ตีสามกว่าๆ ผมล้มตัวลงนอนบนที่นอนแสนนุ่ม ในห้องอันคุ้นเคย สลัดความเหนื่อยล้าจากการเดินทาง กว่า 8 ชั่วโมง ผมกลับมาสู่ชีวิตในเมืองหลวงอันแสนจะ วุ่นวายอีกครั้ง หากในโสตประสาทยังเหมือนได้ยินเสียงแผ่วเบา ของพี่ ป้า น้า อา ชาวศรีฐ าน 2 วัน ณ ทีแ่ ห่งน นั้ ถึงฟ า้ ฝ นจะไม่ค อ่ ยเป็นใจ ถึงอ ะไร หลายๆ อย่างจะไม่ค ่อยเข้าที่เข้าทาง ทว่าช ่วงเวลาที่ได้ เดินท าง มุดเข้าบ า้ นโน้นท ี แว่บ ออกบา้ นนน้ั ท ี กลับม หี ลายสง่ิ หลายอย่างที่ผมได้เรียนรู้จากตำบลศรีฐาน โดยเฉพาะ เรื่องการพัฒนาชุมชนที่อิงอยู่บนหลักการมีส่วนร่วม ของประชาชนและเคารพในสิทธิ์ตามรัฐธรรมนูญ ทีผ่ า่ นมาแม้ในรฐั ธรรมนูญฉ บับ 2550 จะระบุแ ละ ตอกย้ำเรื่องการมีส่วนร่วมอยู่เสมอ ทว่าในทางปฏิบัติ มักพบว่ากระบวนการพัฒนาชุมชนในหลายๆ แห่ง ภาค รัฐมักเป็น ผู้กำหนดโดยไม่ฟังเสียงชุมชนรากหญ้า ไม่มี แม้กระทั่งความไว้วางใจในแนวทางการทำงานของภาค ประชาชน ซ้ำยังมองไปคนละทิศทางกันเสมอ ที่ผ่านมาภาครัฐเองพยายามให้ท้องถิ่นเติบโตใน
114 ศรีฐาน
แบบทตี่ นเองตอ้ งการ โดยไม่ส นใจวา่ ป ระชาชนจะคดิ เห็น อย่างไร ไม่เข้าใจในความหลากหลายของพื้นที่ วิถีชีวิต เพราะรฐั เองมกั ม คี ำตอบสำเร็จรูปอ ยูเ่ สมอ เมือ่ ป ระชาชน คิดไม่ต รงกับรัฐก ็กลับโดนดูถูกเหยียดหยาม ศรีฐานในอดีตก ็มีสภาพที่ไม่แตกต่างกัน ในอดีตที่ผ่านมา อย่าได้ฝันเลยว่าชาวบ้านจะได้ เข้าไปมีส่วนร่วมคิดร ่วมทำ โชคดีที่คนศรีฐานไม่ยอมที่จะอยู่นิ่งเฉย ไม่ยอม ปล่อยให้รัฐเป็นฝ่ายกระทำฝ่ายเดียว ทุกกลุ่ม ทุกภาค ส่วนของชุมชนต่างเก็บเอาประสบการณ์ที่ผิดพลาดใน อดีตมาเป็นบทเรียนและต่างพร้อมใจกันลุกขึ้นสู้ ที่สำคัญคนศรีฐานไม่ได้สู้โดยปราศจากกระบวนการ ปราศจากองค์ค วามรู้ หรืออ าศัยค วามรนุ แรงเข้าแ ลก หากทุกฝ่ายร่วมกันค้นหาศักยภาพจากภายใน ค้นหา ความเป็นตัวต นที่เคยถูกมองข้ามหรือถูกหลงลืมไป เพื่อ ดึงกลับมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาชุมชนของตนเอง แน่นอนว่าทุกอย่างไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ ดั่ง กรุงโรมที่มอิ าจสร้างเสร็จได้ในวันเดียว อาจต้องใช้เวลา ในการพิสูจน์ตนอย่างค่อยๆ เป็น ค่อยๆ ไป ย้อนกลับมามองสังคมไทยในภาพกว้าง จะมีสัก กี่ชุมชนที่ตระหนักถึงสิทธิและหน้าที่ของตนเองตาม เจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 115
ไม่ได้มองโลกในแง่ร้ายหรือโจมตีใคร แต่ปฏิเสธ ไม่ได้ว า่ ภ าพแห่งค วามเป็นจ ริงม ากกว่าค รึง่ ห นึง่ ข องชมุ ชน ไทยนั้น ภาคประชาชนยังข าดกระบวนการเรียนรู้ในการ พัฒนาตนเอง การมองปัญหา การแก้ปัญหา ยังเป็น ลักษณะแก้ผ้าเอาหน้ารอด เมื่อคนในพื้นที่หนึ่งประสบ ความสำเร็จในการแก้ปัญหา ทุกคนก็เอาอย่างกันแบบ ไม่ลืมหูลืมตา ใช่ว่าจะไร้ซึ่งทางออก หากทุกอย่างต้องใช้เวลา อาศัยกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการสร้างการมีส่วน ร่วม ไม่สามารถสร้างได้เพียงชั่วเวลาข้ามคืน ทั้งยังไม่มี รูปแบบสำเร็จรูปที่ใช้ได้กับทุกพื้นที่ แต่ขึ้นอยู่กับชุมชน นั้นๆ ที่จะต้องหาทางของตนเอง ฟ้าใกล้สาง หมูด่ าวพากันอวดแสงระยิบระยับ ผม ได้แต่หวังว่าวันหนึ่งชุมชนต่างๆ ทั่วท ุกตำบลในบ้านเรา จะเปล่งแสงระยิบร ะยับไม่แพ้ดวงดาวเหล่านั้น
116 ศรีฐาน
ภาคผนวก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 117
ข้อมูลท ั่วไป ตำบลศรีฐานมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 300 ปี การสร้างชุมชนเริ่มจากการมีผู้นำทางจิตวิญญาณ เป็นศูนย์กลาง คือหลวงปู่อังวะ และหลวงปู่ฟ้ามืด ซึ่ง เป็นศูนย์รวมใจของชาวบ้านสืบทอดมาถึงปัจจุบัน โดยมี พ่ อเฒ่ า ขุ น ศ รี เป็ น ผู้ ค้ น พ บพื้ น ที่ ท ำเลที่อุ ด มส มบู ร ณ์ แห่งน ้ี จนกระทัง่ เป็นจ ดุ เริม่ ต น้ ก ารสร้างชมุ ชน เมือ่ ล กู ห ลาน ม จี ำนวนมากขนึ้ จ งึ ได้พ ากนั ข ยายพนื้ ทีใ่ นการทำมาหากิน จนเกิดเป็นช ุมชนบ้านศรีฐ านในปัจจุบัน ปั จ จุ บั น ต ำบลศ รี ฐ านอ ยู่ ภ ายใ ต้ ก ารดู แ ลข อง องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน ได้รับการยกฐานะ เป็น อบต. ขนาดกลางเมือ่ ป ี 2550 แบ่งเขตการปกครอง จำนวน 9 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 2 บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 3 บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 4 บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 5 บ้านเตาไห หมู่ที่ 6 บ้านกุดสำโรง หมู่ที่ 7 บ้านเตาไห หมู่ที่ 8 บ้านศรีฐาน หมู่ที่ 9 บ้านศรีฐาน
118 ศรีฐาน
อาณาเขต ตำบลศรีฐานตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอ ป่าติว้ โดยอยูห่ า่ งจากอำเภอปา่ ติว้ ป ระมาณ 12 กิโลเมตร และอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดยโสธร โดยมีอาณาเขตต่างๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลกระจาย ตำบลโพธิ์ไทร อำเภอป่าติ้ว จังหวัดย โสธร ทิศใต้ ติดกับ ตำบลทุ่งมน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ทิศต ะวันอ อก ติดก บั ตำบลเชียงเพ็ง ตำบลเหลา่ ไฮ อำเภอป่าติ้ว จังหวัดย โสธร ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลกระจาย อำเภอป่าติ้ว จังหวัดยโสธร
ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะพนื้ ทีโ่ ดยรวมมสี ภาพเป็นท รี่ าบสูง พืน้ ด นิ ส่วนใหญ่เป็นด นิ ท ราย มีล ำน้ำโพงไหลผา่ นทางตอนเหนือ ของตำบล แต่ปริมาณน้ำไม่เพียงพอสำหรับการเกษตร ส่วนพื้นที่อยู่อาศัยเป็นชนบทกึ่งเมือง การตั้งบ้านเรือน อยูต่ ิดกัน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 119
ประชากร มีจำนวนประชากร 6,329 คน จำนวนครัวเรือน 1,363 คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ความสัมพันธ์ ในชุมชนมีความเกื้อกูลกันแบบเครือญาติ มีวิถีชีวิตสอด รับตามบริบทสังคมวัฒนธรรมของท้องถิ่น
อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยผลิตข้าวนาปี ผลผลิตโดยเฉลี่ย 450 กิโลกรัม/ไร่ และมีการทำหมอนขวานผ้าขิดเป็นอาชีพเสริม คือ หมู่ที่ 1 2 3 4 8 และหมู่ที่ 9 ส่วนการเลี้ยงสัตว์เป็นการเลี้ยง สัตว์ตามธรรมชาติ ทั้งเลี้ยงไว้ใช้งานและเพื่อเป็นอาหาร เช่น วัว ควาย เป็ด ไก่ และเลี้ยงไว้จำหน่ายเป็นบางส่วน เช่น สุกร อีกทั้งน ิยมจับป ลาตามแหล่งน้ำธรรมชาติ เพื่อ การบริโภคเป็นส่วนใหญ่
การศึกษา ตำบลศรีฐานมีโรงเรียนอยู่ในเขตตำบล ได้แก่ - โรงเรียนชุมชนบ้านศรีฐาน เปิดสอนตั้งแต่ชั้น อนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 - โรงเรี ย นบ้ า นเ ตาไ ห เป็ น โ รงเรี ย นโ ครงการ ขยายโอกาสทางการศึกษาเปิดสอนชั้นอนุบาลถึงชั้น
120 ศรีฐาน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 - โรงเรียนบ้านกุดส ำโรง เปิดสอนตั้งแต่ช ั้นอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 - โรงเรียนศรีฐานกระจายศึกษา เป็นโรงเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1-6
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 121
สถาบันและองค์การทางศาสนา ตำบลศ รี ฐ านมี วั ด แ ละส ำนั ก สงฆ์ ร วม 8 แห่ ง ได้แก่ - วัดศรีฐานใน หมู่ที่ 1 บ้านศรีฐาน - วัดศรีฐานนอก หมู่ที่ 8 บ้านศรีฐาน - วัดบ้านเตาไห หมูท่ ี่ 5 บ้านเตาไห - วัดบ้านกุดส ำโรง หมู่ที่ 6 บ้านกุดส ำโรง - วัดศรีพัฒนาราม หมูท่ ี่ 2 บ้านศรีฐาน - วัดดงศิลาเลข หมู่ที่ 8 บ้านศรีฐาน - วัดโนนแดง หมู่ที่ 7 บ้านเตาไห - สำนักสงฆ์ฟ้าห ่วน หมูท่ ี่ 4 บ้านศรีฐาน - สำนักสงฆ์หนองสระพัง หมู่ที่ 4 บ้านศรีฐาน
การสาธารณสุขและการสาธารณูปโภค - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีฐาน ตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 บ้านศรีฐาน บริการครอบคลุมทั้ง 9 หมู่บ้าน - ร้านขายยาแผนโบราณ 2 แห่ง ตัง้ อ ยูห่ มูท่ ี่ 7 และ 9 มีใบอนุญาตขายยา - คลินิกพยาบาลเวชปฏิบัติ 1 แห่ง ตั้งอ ยูห่ มู่ที่ 9 - อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ 100 เปอร์เซ็นต์
122 ศรีฐาน
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ชาวตำบลศรีฐ านรว่ มกบั อ งค์การบริหารสว่ นตำบล ศรีฐาน ได้บริจาคทรัพย์เพื่อก่อสร้างสถานีตำรวจย่อย (ตู้ยาม) 1 แห่ง ตั้งอยู่หมูท่ ี่ 2 บ้านศรีฐาน
การคมนาคม ตำบลศรีฐ านอยูห่ า่ งจากทางหลวงหมายเลข 202 ถนนอรุณประเสริฐ 2 กิโลเมตร ทางเข้าตำบลเป็นถนน คอนกรีตเสริมไม้ไผ่ มีถนนเชื่อมหมู่บ้านเป็นถนนลูกรัง และลาดยาง - ถนนสายศรีฐาน ถึงคำเขื่อนแก้ว ระยะทาง 14.5 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง - ถนนสายศรีฐาน ถึงบ้านกระจาย ระยะทาง 1 กิโลเมตร เป็นถ นนลาดยาง - ถนนสายศรีฐ าน ถึงบ้านเตาไหถึงบ ้านกุดสำโรง ระยะทาง 6 กิโลเมตร เป็นถนนลาดยาง - ถนนสายศรีฐาน ถึงบ้านกุดส ำโรง ระยะทาง 4 กิโลเมตร เป็นถ นนลูกรัง - ถนนสายศรีฐาน ถึงบ้านคำสร้างบ่อ ระยะทาง 4 กิโลเมตร เป็นถ นนลูกรัง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 123
ทรัพยากรธรรมชาติ ในพื้นที่ ตำบลศรีฐาน มีทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ - แหล่งน้ำ ประกอบด้วย ลำน้ำโพง ลำห้วยถ่ม บ่อ โจ้โก้หนองหลวง หนองบัวเสียว หนองเลิงเปือยหนอง หญ้าแพรก และหนองอื่นๆ อีกประมาณ 9 แห่ง - ป่าไม้ ประกอบด้วย ดงมะงง ดงศิลาเลข ดอนลิง ดงฟ้าห่วน ดงหัวน า เป็นต้น
เพลงศักยภาพชุมชน คำร้อง-ทำนอง เรียบเรียงดนตรี ขับร้องโดย
วสุ ห้าวหาญ ศราวุช ทุ่งข ี้เหล็ก ฟางแก้ว พิชญาภา, ศราวุธ ทุ่งข ี้เหล็ก, สมชาย ตรุพ ิมาย
หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยด้วยกัน ไม่ว า่ จ ะอยูท่ ไ่ี หน เราเป็นค นไทยเปีย่ มความสามารถ เป็นกำลังของประเทศชาติ พัฒนาบ้านเมืองก้าวไกล เป็นค นเหนือ อีสาน กลางใต้ ก็ร กั เมืองไทยดว้ ยกนั ทง้ั น น้ั (สร้อย) หากเราร่วมมือร่วมใจ ทำสิ่งไหนก็ไม่เกินแรง โครงสร้างชุมชนแข็งแกร่ง เพราะเราร่วมแรงร่วมมือ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เรา แบ่งปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ อยู่ชนบทห่างไกล ทำนาทำไร่ พอเพียงเลี้ยงตัว ใช้ช มุ ชนดแู ลครอบครัว ใช้ค รอบครัวด แู ลชมุ ชน ปูพ นื้ ฐ าน จากหมู่บ้านตำบล สร้างแปลงเมืองไทยให้น่าอยูด่ ังฝัน
ชุมชนทอ้ งถนิ่ บ า้ นเรา เรียนรรู้ ว่ มกนั เพือ่ ก ารพฒ ั นา ชุมชนท้องถิ่นบ้านเรา เรียนรู้ร่วมกันช่วยกันพัฒนา อยู่ตามเมืองใหญ่เมืองหลวง หัวใจทุกด วงซ่อนไฟ มุ่งมั่น ก้าวออกมาจากรั้วที่กั้นจับมือกันทำเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน้ำใจ โอบกอดชุมชนไว้ด้วยความสุข ยืนนาน หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็นหลายความคิดดีๆ ออกมายืนตรงนี้ ทำเพื่อเมืองไทยด้วยกัน หากเราร่วมมือร่วมใจ ทำสิ่งไหนก็ไม่เกินแรง โครงสร้างชุมชนแข็งแกร่ง เพราะเราร่วมแรงร่วมมือ สร้างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้วยมุมมองที่เรา แบ่งปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็มศักยภาพ ด้วย มุมมองที่เราแบ่งปัน ใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เต็ม ศักยภาพ...
เข้าไปฟังเพลงและดาวน์โหลดศักยภาพชุมชนได้ที่ www.punsook.org