ต้นยวน เรื่องและภาพ ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
Healthy Planet สุขคดีท่องเที่ยวชุมชนเพื่อการเรียนรู้ ต้นยวน เรื่องและภาพ ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว ออกแบบปกและรูปเล่ม น้ำฝน อุดมเลิศลักษณ์ เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ
978-616-7374--53-6 บรรณาธิการอำนวยการ
ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย สำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) 979/116-120 ชั้น 34 อาคารเอส. เอ็ม. ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2298 0500 โทรสาร 0 2298 0230 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org พิมพ์ครั้งที่ 1
พฤษภาคม 2555
ดำเนินการผลิตโดย
เปนไท พับลิชชิ่ง Penthai Publishing โทรศัพท์ 0 2736 9918 โทรสาร 0 2736 8891 waymagazine@yahoo.com
6
ต้นยวน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
7
คำนำ ท่ามกลางกระแสวกิ ฤติเศรษฐกิจโลกครัง้ ใหญ่เป็น ประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปี ทำให้เกิดการตั้งคำถาม ว่าว กิ ฤติน จี้ ะใหญ่ข นึ้ อ กี เพียงใด จะยดื เยือ้ ข นาดไหน และ วิกฤตินี้จะส่งผลกระทบต่อสังคมไทยชุมชนหมู่บ้านไทย มากนอ้ ยเพียงใด ความวติ กดงั ก ล่าวอาจจะไม่เกิดข นึ้ เลย หากปัจจุบันชุมชนหมู่บ้านไทยไม่ถูกลากเข้าสู่ระบบ การผลิตเพื่อข าย นักวิชาการหลายๆ ท่าน ได้วิเคราะห์ถึงระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยว่าในระบบทุนนิยมยังคงมี อี ก ร ะบบด ำรงอ ยู่ ใ นลั ก ษณะคู่ ข นาน นั่ น คื อ ร ะบบ เศรษฐกิจช มุ ชนหรืออ าจจะกล่าวเป็นศ พั ท์ส มัยใหม่ได้ว า่ ระบบเศรษฐกิจแ บบพอเพียง ในอ ดี ต ชุ ม ชนห มู่ บ้ า นจ ะมี วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ รี ย บง่ า ย เน้นความพอเพียง มีครอบครัวเป็นหน่วยการผลิต การ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันมีน้ำใจเป็นพื้นฐานของชีวิต มี พิ ธี ก รรมต่ า งๆ เป็ น ร ะบบก ารจั ด การใ นชุ ม ชนแ ละ ให้ความสำคัญของบรรพบุรุษ ผูเ้ฒ่าผู้แก่ ครอบครัว ต่อมาหลังจากรัฐและระบบทุนนิยมได้เข้าไปมี อิทธิพลต่อชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริโภคนิยม
ทำให้ช าวบา้ นมรี ายจา่ ยทเี่ ป็นต วั เงินม ากขนึ้ เพียงเท่านัน้ ยังไม่พอ สิ่งทที่ ำลายความเข้มแข็งข องชุมชนที่มากที่สุด คือ รัฐและทุนเข้าไปถ่ายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชน หมู่บ้าน ยิ่งรัฐและทุนเข้าไปกอบโกยมากเท่าไร ชุมชน หมู่บ้านไทยยิ่งประสบความอ่อนแอ คำพูดดังกล่าวไม่ใช่ คำพูดลอยๆ ทีไ่ม่มีหลักฐานรองรับ หากแต่เมื่อกวาดตา ไปทวั่ แ ผ่นด นิ ไทย หลังก ารประกาศแผนพฒ ั นาเศรษฐกิจ และสังคมมากว่า 40 ปี จะมีสักกี่ชุมชนที่คนในชุมชน ไม่ป ระสบปญ ั หาความยากจน ไม่ป ระสบปญ ั หาสง่ิ แ วดล้อม หรือไม่ประสบปัญหาสุขภาพ จากสถานการณ์ดังกล่าวถึงเวลาแล้วหรือยังที่ สังคมไทยควรกลับมาเน้นการพัฒนาที่ไม่มองแต่มิติ ประสิทธิภาพ การสร้างมูลค่าและกำไรหรือการตลาด ด้านเดียว แต่ควรจะเป็นเพื่อประโยชน์ของชุมชนและ สังคม เราไม่ค วรลดทอนผู้คนลงไปเป็นเพียงตัวเลข หาก ควรเป็นเพื่อส่งเสริมศักยภาพและศักดิ์ศรี ความเป็น มนุษย์ คำตอบสำหรับค ำถามข้างต้นน ี้ คงจะต้องช่วยกัน ค้นหา ไม่ว่าจ ะใช้ระยะเวลานานเท่าไร คณะผู้จัดทำ
10 ต้นยวน
0 1 ต้ น ยวน ดินแดนต้นไม้ ใหญ่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
11
12 ต้นยวน
1 ยอมรับตามตรงว่าหนักใจไม่น้อยเมื่อรู้ว่าต้อง ลงมาทำสารคดีท่องเที่ยวชุมชนที่ต้นยวน ส่วนตัวแล้ว ยอมรับว่าพื้นที่ภาคใต้นับว่าเป็นดินแดนสนธยาอย่าง ยิ่ง ทั้งๆ ที่หากจะว่าไปแล้วในฐานะที่ผู้เขียนยึดถือการ ศึกษาประวัติศาสตร์เป็นสารัตถะ ดินแดนแห่งนี้ถือเป็น อี ก ห นึ่ ง ไ ฮไลท์ ข องก ารศึ ก ษาป ระวั ติ ศ าสตร์ ร ะหว่ า ง ประเทศเลยทีเดียว ยิ่งในจังหวัดสุราษฎร์ธานีอันเป็นพื้นที่เป้าหมาย ด้วยแล้ว มีนักวิชาการบางกลุ่มเชื่อว่าเป็นศูนย์กลางของ อาณาจักรศรีวิชัยเลยทีเดียว พูดถึงอาณาจักรศรีวิชัย มีเรื่องเล่าเมื่อครั้ง ยัง หนุ่มๆ ครั้งที่ยังนั่งเรียนวิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของ เอเชียต ะวันอ อกเฉียงใต้ คือ ช่วงทอี่ าจารย์ป ล่อยให้ม กี าร ถกเถียงถงึ ศ นู ย์กลางของอาณาจักร เพือ่ นชาวใต้ค นหนึง่ ได้ถ กเถียงกบั เพือ่ นชาวเหนืออ กี ค นหนึง่ อ ย่างออกรสเกิน ไปหน่อย คนหนึ่งก็ว่าอ ยู่ทไี่ชยาบ้านเกิดของตัวเอง อีกคนก็ ไม่ล ดราวาศอกกลับบอกไปว่าอ ย่าม าไร้สาระ นู่น เมือง ปาเล็มบังบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ต่างหาก ที่เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรศรีวิชัย พักเดียว หนุม่ เมืองเหนือล งไปกองอยูก่ บั พ นื้ เลือด
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
คนใต้นเี่ราไปล้อเล่นกับความรักถิ่นเกิดไม่ได้เลย 2 กลับม าทเี่ รือ่ งของเรา ระหว่างทเี่ ก็บข อ้ มูลเบือ้ งตน้ ก่อนวันเดินทาง นอกจากความสำคัญเมื่อครั้งอดีตกาล กว่าพ นั ปีท แี่ ล้ว ไม่รวู้ า่ ป ระจวบเหมาะอะไรถงึ ได้ม โี อกาส อ่านบทความเกี่ยวกับสงครามเก้าทัพ ทำให้ท ราบว่า ใน ยุคก่อร่างสร้างตัวของกรุงรัตนโกสินทร์ ณ พื้นที่ตำบล ต้นยวนแห่งนี้ ยังมีความเกี่ยวข้องกับหนึ่งในสงคราม สำคัญของเมืองไทยอีกด้วย พงศาวดารเรื่องสงครามเก้าทัพเล่าว่า “เมื่อคราว พม่าได้โจมตีเมืองระนองถึงเมืองถลาง เวลานั้นเจ้าเมือง ถลางเพิง่ จ ะถงึ แก่ก รรมยงั ไม่มกี ารตงั้ เจ้าเมืองคนใหม่ แต่ ชาวเมืองถลางนำโดยคุณหญิงจันภริยาเจ้าเมืองถลางที่ ถึงแก่ก รรมและนางมกุ น อ้ งสาว ได้ร วบรวมกำลังช าวเมือง ต่อสู้ข้าศึกจนสุดความสามารถ สามารถป้องกันข้าศึก พม่าไม่ให้ยึดเมืองถลางไว้ได้” ถามว่าแล้วมันเกี่ยวข้องกับคนต้นยวนตรงไหน... น่านสิ แล้วจ ะไปเกีย่ วข้องได้อ ย่างไร จากตน้ ย วนไปเมือง ถลางหรือภูเก็ตในปัจจุบันนี่ไกลเป็นร้อยๆ กิโลเมตร แถมในพระราชพงศาวดารยังไม่ได้กล่าวถึงเมืองต้นยวน ไว้เลย
13
14 ต้นยวน
อั น นี้ ถื อ ว่ า เ ป็ น คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะข องช าว นักประวัติศาสตร์อยู่แล้ว ที่มักจะหาข้อสังเกตเล็กๆ น้อยๆ จากบันทึกทางประวัติศาสตร์ ในช่วงเดียวกัน นั้นเองได้ไปค้นเจอตำนานพื้นถิ่นที่แสดงสายสัมพันธ์ ระหว่างคนต้นยวนดั้งเดิมก ับคนถลางว่าส ืบย่านสาวโยด มาจากแหล่งเดียวกัน และเป็นที่น่าจะพอเชื่อถือได้ว่า บรรพบุรุษของคนต้นยวนน่าจะเป็นนักรบที่เป็นกำลัง สำคัญส มัยสงครามเก้าทัพ ตรงนี้ถ้าได้เผยแพร่ให้คนใน พื้นที่ได้รับทราบก็จะน่าส นใจไม่น้อย 3 “เหลือเวลาอีกไม่ถึงห้านาทีจะได้เวลาที่รถไฟสาย กรุงเทพ-กันตัง จะออกจากจากสถานีกรุงเทพฯท่าน ผูโ้ ดยสารทม่ี ตี ว๋ั แล้ว สามารถขน้ึ ร ถได้ทช่ี านชาลาทแ่ี ปด” สิ้นเสียงประกาศของนายสถานี พบว่าตนเอง ยังไปไม่ถึงครึ่งของก๋วยเตี๋ยวชามใหญ่เลย ก็จะให้ทำไง ได้ เดินทางทั้งคืน ขืนไม่รองท้องขึ้นไปเดี๋ยวจะไปพาน อารมณ์ เสี ย กั บ ก ารเดิ น ท างเอาเสี ย อี ก พู ด ต ามต รง ตนเองก็ไม่ได้ชื่นชอบอะไรนักกับอาหารสถานีรถไฟ แต่ อย่างน้อยจากประสบการณ์ตรงก็ยังน่าอภิรมย์มากกว่า อาหารบนรถไฟ แม้ว่าการเดินทางไปจังหวัดสุราษฎร์ธานีสามารถ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ไปไ ด้ ด้ ว ยพ าหนะที่ ห ลากห ลาย แต่ ด้ ว ย ความที่ตกหลุมรักรถไฟมาตั้งแต่เด็ก แวบ แรกแห่งความรู้สึกเมื่อต้องเดินทาง “ต้อง รถไฟเท่านั้น” และด้วยความที่ใช้บ ริการของ การรถไฟบ่อยยิ่งกว่าไปตัดผม ขอตำหนิหนึ่ง
15
16 ต้นยวน
อย่างเลยว่าอาหารบนรถไฟนี่พูดได้คำเดียว “รสชาติสุนัขเมินหน้า แถมราคานี่ก็ปล้นก ันชัดๆ” ไม่รู้ว่ามีใครเคยบ่นดังๆ ให้ผู้บริหารการรถไฟฟัง หรือไม่ว่า บริษัทที่มาประมูลทำตู้เสบียงได้นี่ ช่างไม่มี ศาสตร์และศิลป์ในการบริหารงานเลย หรือพูดง่ายๆ ก็ คือ จะเอาต้นทุนคืนให้เร็วที่สุดเท่าท ี่จะทำได้ท ่าเดียว นอกจากเรื่องคุณภาพอาหาร ยังมีอีกหลายเรื่อง ที่ ‘รู้กันอยู่’ คือหากจะเดินทางโดยรถไฟก็ต้องมองข้าม เรื่องพวกนั้นไป เหมือนจะมีแต่ข้อเสียให้ตำหนิ แต่เอาเข้าจริงๆ เสน่ห์ของรถไฟไทยชนะทุกอย่าง ไม่เชื่อลองท่านจับที่ หัวใจดูแล้วจะรู้ว่าจริงม ั้ย 4 ถามเจ้าห น้าทีต่ ดั ต วั๋ ว า่ ต อ้ งใช้เวลาเดินท างเท่าไหร่ พี่แกตอบหน้าตาเฉยว่า “ถ้ารถตรงเวลาก็สิบสองชั่วโมง แต่ถ้าเสียเวลาพี่ก็บอกไม่ได้ว่าจ ะนานเท่าไหร่” ก็ด เี หมือนกนั จะได้ม เี วลาศกึ ษาขอ้ มูลข องตน้ ยวน เพิ่มเติมอีกสักนิด เพราะว่าก่อนออกเดินทางเจ้าหน้าที่ อบต.ต้นย วนได้ส ่งข้อมูลเพิ่มเติมมาให้ ตอนทกี่ ำลังอ่าน ข้อมูลเพิ่มเติม สังเกตข้อเท็จจริงบางประการที่ผู้เขียน สนใจ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
นอกจากประวัติศาสตร์สมัยโบราณแล้ว ใน ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยพื้นที่นี้ยังมีความสำคัญในเชิง ยุทธศาสตร์สมัยสงครามต่อต้านภัยคอมมิวนิสต์ของ ประเทศไทยอีกด้วย แหม สำคัญไม่น้อยเหมือนกันนะเรา “สถานีหน้าสถานีสุราษฎร์ฯครับ ใครลงสถานีนี้ เตรียมตัว” สะดุ้งตื่นแทบไม่ทัน ก็จะไม่สะดุ้งได้ไง คน กำลังง ีบหลับสนิท จู่ๆ มีค นมาตะโกนปลุก รถไฟเทียบสถานีเวลา 7 นาฬิกากว่าๆ นิดๆ แปลกแต่จ ริงท เี่ กือบจะไม่เสียเวลาสกั น ดิ ปัญหาตอ่ จ ากนี้ ก็คือจะไปต่ออย่างไร รู้เพียงอย่างเดียวว่าตำบลต้นยวน ขึ้นตรงต่ออำเภอพนม ว่าแต่อำเภอพนมมันอยู่ตรงไหน
17
18 ต้นยวน
ของสรุ าษฎร์ฯ กูเกิลแม็ปส่วนตัวทำงานทันที เจ้ากูเกิลแม็ปที่ว่า นี่ ไม่ใช่อุปกรณ์ไฮเทค พวกสมาร์ทโฟนอะไร แต่เป็น เพียงเครื่องมือโบราณที่ติดตัวเรามาตั้งแต่เกิด ‘ปาก’
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
นี่แหละครับ...ดีท ี่สุด ใครว่าคนใต้ไม่มีน้ำใจ อันนี้ ขอเถียง ไม่จริงเลยแม้แต่น้อย ด้วย ความที่ ดู เ ลิ่ ก ลั่ ก กว่ า ค นในพื้ น ที่ หากพรี่ ถรบั จ้างจะฟนั เราเขากท็ ำได้ แต่น ี่พี่แกกลับบอกว่า “น้องไม่ต ้อง นั่ ง ร ถไ ปท่ าร ถห รอก ไปขึ้ นที่ ท่ า หลังสถานีรถไฟก็ได้ เดี๋ยวรถสาย สุราษฎร์ฯ-ภูเก็ตก ็มาจอดที่นี่ จะไป ต้นยวนใช่เปล่า ไว้ไปบอกเด็กขาย ตั๋วบนรถก็ได้” เดิ น ท างไ ปต ามทางห ลวง แผ่นด นิ ส าย 401 สายสรุ าษฎร์ธานี – ตะกั่ ว ป่ า หรื อ ภู เ ก็ ต ส ายเ ก่ า ประมาณ 70 กิโลเมตรจากอำเภอ เมือง เราก็จะไปถึงตำบลต้นยวน อันเป็นที่หมายของเรา พร้อมกบั ท ไี่ ปถงึ ต น้ ย วน เชวง สมพังกาญจน์ นายก อบต.หนุ่ม ร่างใหญ่ ยืนจังก้ารอด้วยหน้าตา ที่เหมือนคันไม้คันมือที่จะพาเรา ลงพื้นที่เสียเต็มประดา
19
20 ต้นยวน
ไม่ต้องรอให้ถาม ป๋าเราเล่าข้อมูลพื้นที่ให้ฟังทันที ต้นยวนเป็นตำบลเก่าแก่ เมื่อ พ.ศ. 2439 ขึ้นตรง ต่ออำเภอคีรีรัฐนิคม หรือท่าขนอนในสมัยนั้น โดยมีขุน วิจารณ์เป็นกำนันคนแรก ต่อมาปี 2447 ได้ย้ายมาขึ้น กับ กิง่ อ ำเภอพนม และแบ่งอ อกเป็นต ำบลคลองชะอุม่ อีก หนึ่งตำบล คำว่า ‘ต้นยวน’ มีที่มาเนื่องจากในพื้นที่มี ต้นไม้ข นาดใหญ่ เมือ่ ถ งึ ฤ ดูส ร้างรงั ข องผงึ้ จ ะมผี งึ้ ม าเกาะ ทำรัง ในต้นหนึ่งจะมีหลายรัง เรียกกันว่ายวนผึ้งหรือ ต้นยวน ปัจจุบนั ม พี นื้ ทีป่ ระมาณ 82 ตารางกโิ ลเมตรหรือ ประมาณ 51,509 ไร่ ปัจจุบันม ี 12 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำ หมูท่ ี่ 2 บ้านปากตรัง หมูท่ ี่ 3 บ้านควนใหม่ หมูท่ ี่ 4 บ้านป่าก วด หมูท่ ี่ 5 บ้านถ้ำผึ้ง หมู่ที่ 6 บ้านเขาวง หมูท่ ี่ 7 บ้านจำปาทอง หมู่ที่ 8 บ้านเขานาใน หมู่ที่ 9 บ้านบางโก หมู่ที่ 10 บ้านน้ำตก หมูท่ ี่ 11 บ้านถ้ำผุด หมู่ที่ 12 บ้านป่าต ง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
อาณาเขตตำบล ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลพังกาญจน์ อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศใต้ ติดกับ ตำบลคลองชะอุ่ม อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลคลองชะอุ่ม อำเภอ พนม จังหวัดส รุ าษฎร์ธ านี และ อำเภอครี รี ฐั นิคม จังหวัด สุราษฎร์ธานี ทิศต ะวันต ก ติดก บั ตำบลพงั ก าญจน์ , ตำบลคลอง ชะอุ่ม อำเภอพนม จังหวัดส ุราษฎร์ธานี ภูมิประเทศ ภูมิประเทศของตำบลต้นยวนมีลักษณะเป็นภูเขา สลับซับซ้อนมีความสูงชันอยู่บริเวณทางทิศใต้ของตำบล เป็นพ นื้ ทีร่ าบสงู และมลี ำคลองตามธรรมชาติส ายสำคัญ ในตำบล ได้แก่ คลองศก คลองบางเหรยี ง คลองบางโก คลองเหลิด คลองบางยาง คลองถ้ำทา คลองใสลูกเผ็ด คลองน้ำดำ และมีแหล่งน้ำขนาดเล็กอยู่ทั่วไปภายใน ตำบล ประชากร ตำบลตน้ ย วนมจี ำนวนประชากรทงั้ ส นิ้ 8,810 คน
21
22 ต้นยวน
มีความหนาแน่นเฉลี่ย 171 คน / 1 ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 3,114 ครัวเรือน อาชีพ ประชากรภ ายในเ ขตต ำบลต้ น ย วนส่ ว นใ หญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 90 รองลง มาคอื ป ระกอบอาชีพร บั จ้างทวั่ ไป โดยรบั จ้างในเขตพนื้ ที่ ตำบลต้นยวน หรือเดินทางไปทำงานภายในตัวจังหวัด หรือจังหวัดใกล้เคียง การทำการเกษตรที่สำคัญได้แก่ การทำสวนยาง ปาล์มน้ำมัน รองลงมาคือ สวนผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง ส่วนการเพาะปลูกพืชผักสวนครัวจะเพาะปลูก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ตามครัวเรือน และเกษตรกรรมทวั่ ไปซงึ่ ใช้พ นื้ ทีก่ ารเพาะ ปลูกไม่มากนัก ส่วนการเลี้ยงสัตว์เป็นการเลี้ยงแบบ ครัวเรือนมีจำนวนน้อย สัตว์ที่เกษตรกรเลี้ยง ได้แก่ โค สุกร เป็ด และไก่ การคมนาคม การคมนาคมของตำบลตน้ ย วนกบั อ ำเภอใกล้เคียง และจังหวัดใกล้เคียงนั้นใช้ทางหลวงแผ่นดินสาย 401 สายสุราษฎร์ธานี - ตะกั่วป่า ทางหลวงสาย 4246 ผ่าน หมู่ที่ 6,7,8,9 ทางหลวงสาย 415 ผ่านหมู่ที่ 3 และ หมู่ ที่ 10 เชื่อมต่อตำบลคลองชะอุ่ม ถนนสาย 3090 เชื่อม ต่ออ ำเภอปลายพระยา จังหวัดก ระบี่
23
10
9
3
1
4
3
4
1
5
2 2
5
6 6
7
9
8
24 ต้นยวน
01 กลุมกวนกาละแมสวรรค 02 กลุม แมบานเกษตรกร กลุมทำเครื่องแกง กลุมผูปลูกดอกดาวเรือง 03 กลุมเลี้ยงไกพื้นเมือง 04 กลุมเลี้ยงสุกร กลุมขนมดอกจอก กลุมเพิ่มมูลคาผลผลิตทางการเกษตร (กลวยฉาบ) 05 กลุมทองเที่ยวเชิงอนุรักษ กลุมปาชุมชนบานถ้ำผึ้ง 12 06 กลุมเขาวงบริการ 07 กลุมนางไพร 08 กลุมแมบานเกษตรกรบานบางโก ธนาคารตนไม 09 กลุมแมบานเกษตรกร กลุมเลี้ยงสุกร กลุมปลูกผัก กลุมวิสาหกิจชุมชนพวงหรีดดอกไมจันทน กลุมหอขันหมาก กลุมกลองยาว 10 กลุมสัจจะออมทรัพยบานถ้ำผุด 11 กลุมปลูกผักปลอดสารพิษ ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง (หมอเล็ก) 11
5
10 11
9
7
8
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
25
26 ต้นยวน
02 คำสงั่ จากสว่ นกลาง ที่มาของปัญหา ถึงทีท่ ำการ อบต. ราว 9 โมงเช้า พีเ่ วงขอเคลียร์ง านชวั่ โมง หนึ่ง แล้วจะพาออกไปสมทบกับคณะทเี่ขามาดูงาน ตกลงนี่เราโชคดีหรือโชคร้าย ที่ ว่ า ยั ง ส งสั ย อ ยู่ เ นื่ อ งม าจ าก ที่ ว่ า โ ชคดี ก็ คื อ ชาวบ้านเขาเตรียมศูนย์เรียนรู้ไว้พร้อม ทีว่ ่าโชคร้ายก็คือ แล้วอ ย่างนชี้ าวบา้ นเขาจะมเี วลามาพดู ค ยุ ก บั เราหรือ ถ้า ไปพร้อมๆ กับค ณะดูงาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
คิดสะระตะแล้ว “พี่เวง เราไปของเราเองดีกว่า อย่าไปพร้อมพวกที่มาดูงานเลย ผมอยากมีเวลาทำงาน เยอะๆ ไม่อยากให้ใครมาเร่งเวลาทำงาน” “โอเคน้อง งั้นขอพี่ตรวจเอกสารก่อน แล้วเราค่อย ไปกัน” ก่อนทจี่ ะออกจากทที่ ำการ อบต. ไปยงั ศ นู ย์เรียนรู้ ต่างๆ เพิ่งคิดได้ว่าอันที่จริง แล้ว ในการจะทำความรู้จัก พื้ น ที่ ใ ดพื้ น ที่ ห นึ่ ง ใ นแ ง่ ร าย ละเอี ย ดป ลี ก ย่ อ ย เราค วร ทำความเข้าใจสภาพพื้นที่ใน องค์รวมก่อนมิใช่หรือ “พี่ เ วงค รั บ คื อจริ ง ๆ แล้วก่อนที่เราจะออกไปศูนย์ เรียนรู้ ผมอยากจะทราบว่าที่ อบต. นี่มีรูปแบบการทำงาน อย่างไร และเท่าท ผี่ มเห็นแ บบผา่ นๆ คนทนี่ กี่ ม็ ฐี านะดนี ะ แล้วอย่างนี้เขาจะมีปัญหาอะไรให้รัฐเข้ามาช่วย” พอชวนคุยเรื่องนี้เท่านั้น จากแววตาของหนุ่มคน ใจดีกลายมาเป็นแววตาของนายกฯนักพัฒนาทันที “ตำบลเรามวี สิ ยั ท ศั น์ท ชี่ ดั เจน ระบุไว้ในแผนแม่บท ของชุมชน คือ การศึกษาดี มีส ่วนร่วม คนเป็นศูนย์กลาง
27
28 ต้นยวน
นำสกู่ ารบริหารจดั การบา้ นเมืองทดี่ ี ด้วยวถิ เี ศรษฐกิจพ อ เพียง เพื่อก ารพัฒนาที่ยั่งยืน” ถือว่าเป็นโชคดขี องคนตน้ ย วนทมี่ ผี บู้ ริหารทอ้ งถนิ่ ใจกว้าง และบริหารงานอย่างแฟร์ๆ ใครทมี่ คี วามรคู้ วาม สามารถผบู้ ริหารทนี่ เี่ ปิดโอกาสให้เข้าม าทำงานดว้ ยหมด แต่มขี ้อแม้ที่สำคัญว่าต ้องตั้งใจจริง ส่วนตัวอยากให้องค์กรปกครองท้องถิ่นทุกที่มี วิสยั ท ศั น์แ บบนี้ แต่น บั ป ระสาอะไรนวิ้ ค นเรายงั ไม่เท่ากัน ไอ้เรื่องที่จะให้สิ่งอื่นสิ่งใดมีมาตรฐานเท่ากันทั้งหมดนั้น คงเป็นไปไม่ได้ พีเ่ วงเล่าให้ฟ งั ต อ่ อ กี ว า่ “แนวคิดก ารบริหารจดั การ ท้องถิ่นด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมและนำใช้แผนแม่บท ชุมชนแบบมสี ่วนร่วม ตอนนี้ออกดอกออกผลแล้ว เทียบ ได้เลยกับ อบต. อื่นๆ ของเรานี่การบริหารแบบโปร่งใส และบริการรวดเร็ว มีป ระสิทธิภาพ อันน ี้เราไม่ได้พูดเอง แต่เป็นเสียงจากประชาชนที่สะท้อนมา” แอบคิดในใจว่าเหมือนพี่ชมตัวเองและเกินจริงไป มั้ย พักหนึ่งเหมือนพี่แกจะรู้ แกเดินไปหยิบเอกสารอะไร บางอย่างมาให้ด ู จึงถ งึ บ างอ้อท แี่ ท้เอกสารทแี่ กเอามาให้ ดูคือเอกสารยืนยันผลของการทำงาน ทีเ่ ห็นเด่นช ดั ท สี่ ดุ ก น็ า่ จ ะเป็นเรือ่ งเกิดว สิ าหกิจจ าก การทำแผนแม่บทชุมชน และการบูรณาการแผนแม่บท
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เข้าสู่แผนของ อบต. อย่างชัดเจน
เมื่อป ่าหมด น้ำก ็หมดตาม ฟังจ ากเบื้องต้นก็ไม่เห็นว่าคนที่นี่จะมีปัญหาอะไร หรือว า่ จ ะเป็นล กั ษณะภเู ขาน้ำแข็งท เี่ รามองไม่เห็นป ญ ั หา ที่อยู่ใต้น้ำ อันนี้ก็คงต้องให้เจ้าถ ิ่นเล่าให้ฟัง “เมือ่ ก อ่ นตน้ ย วนเป็นพ นื้ ทีท่ เี่ ต็มไปดว้ ยตน้ ไม้ใหญ่ สมดังชื่อของตำบล ต่อมาประมาณปี 2518–2522 รัฐ ไปให้เอกชนเข้าม าทำสมั ปทานปา่ ไม้ ทำไปทำมาชาวบา้ น
29
30 ต้นยวน
ก็ไปร่วมเอากับเขาด้วย เข้าไปจับจองและหักร้างถางพง เพื่อทำสวนยางพารา มีทั้งที่ทำโดยคนในพื้นที่และคน ต่างถิ่นเพิ่งเข้ามาอยู่ใหม่ “ผลก็คือจากป่ากว่า 5,000 ไร่ถูกทำลายลงจน แทบเหลือไม่ถ งึ 10 เปอร์เซ็นข องพนื้ ที่ น้ำก นิ น ำ้ ท่าก เ็ ริม่ ขาดแคลนทำให้ท ำการเกษตรไม่ค ่อยได้ผล “แล้วมันไม่ได้จบแค่นั้น ผลจากการที่ไม่มีป่าเพื่อ ซับน ้ำ เวลาฝนตกหนักๆ บางทีก ม็ เีหตุการณ์น ้ำท ่วม ดิน ถล่มต ามมา โขคดีที่ว่าในปี 2532 รัฐประกาศนโยบาย ยกเลิกการให้สัมปทาน ทำให้เราไม่ต้องเผชิญปัญหาไป มากกว่านี้” ได้ยินเรื่องนี้แล้วนึกถึงหนังสือ ‘ล่มสลาย’ ของ จาเร็ ด ไดมอนด์ เลยที เ ดี ยวที่ ก ล่ า วว่ า การที่ ส ภาพ แวดล้อมของสังคมหนึ่งจะพินาศไปนั้น ปัจจัยหลักหนึ่ง ประการคอื น โยบายจากภาครฐั ซึง่ เรือ่ งทำลายธรรมชาติ รัฐไทยไม่ด้อยกว่าช าติใดบนโลก ไม่ ว่ า จ ะยุ ค ส มั ย ไ หนเ รามั ก เ ห็ น ธ รรมชาติ เ ป็ น สิ่งของที่แลกได้ด้วยสินทรัพย์ โดยไม่นึกถึงผลพลอยได้ ที่จะตามมา ถามพี่เวงว่า ณ วันนี้ ปัญหาเรื่องน้ำท่าหมดไป แล้วหรือยัง คำตอบที่ได้แม้จ ะไม่น ่าประทับใจนักแต่ก็คง มีสภาพดีกว่าในยุคที่มีการสัปมทานป่าแ น่นอน คือ หลัง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
จากมีการช่วยกันปกป้องป่าต้นน้ำ สภาพป่าเริ่มกลับมา สมบูรณ์ เริ่มมีผึ้งและสัตว์ป่าเข้ามาอาศัย ชาวบ้านกลับ มาหาของป่าเพื่อเป็นรายได้เสริม และที่ไม่อาจกล่าวข้ามได้ ‘น้ำท่าเริ่มกลับมา’ อย่างไรก็ดีเท่าที่ฟังก็ยังพบว่าในหน้าแล้งก็ยังมีปัญหา เรื่องน้ำอยู่ดี แต่คิดว่าคงไม่เหนือบ่ากว่าแรงผู้บริหาร ของที่นี่แน่
เกษตรเชิงเดี่ยว อีกห นึ่งปัญหาที่อยู่ ใต้ยอดภูเขาน้ำแข็ง คุ ย กั น ไ ปม าชั ก เ ริ่ ม อ อกรส ที่ ไ ด้ ท ราบปั ญ หา ของที่นี่อีกอย่าง จริงๆ คงต้องบอกว่าเป็นปัญหาของ เกษตรกรไทยโดยรวมมากกว่า นั่นคือการส่งเสริมให้ ทำการเกษตรเชิงเดี่ยวของกระทรวงการเกษตรฯ ที่เราๆ ท่านๆ ในสมัยนี้ต่างทราบดีว่าส ่งผลเสียเป็นองค์รวมต่อ เกษตรกรชาวไทยมากกว่าส ่งผลดี คิดอ ย่างนี้ พูดอ ย่างนถี้ า้ จ ะวา่ ไปแล้วค งไม่ย ตุ ธิ รรม กับเจ้าหน้าที่รัฐสมัยก่อนเท่าไรนัก เหตุเพราะเรามอง กลับไปในอดีต มองกลับไปเมื่อปัญหาเกิดขึ้นแล้ว แต่ว่า ยุคหนึ่งสมัยหนึ่ง นโยบายบางอย่างก็อาจจะเหมาะสม กับยุคนั้นก็ได้ แล้วน โยบายปลูกพ ชื เกษตรเชิงเดีย่ วทวี่ า่ ม านกี้ อ็ าจ จะเหมาะกับยุคสมัยนั้นที่ส่งเสริมการเร่งการผลิตเพื่อ
31
32 ต้นยวน
ส่งออกก็อาจจะเป็นไปได้ แต่สำหรับในยุคนี้สมัยนี้ เจ้าหน้าที่รัฐก็ควรต้องยอมรับแ ล้วว่า ณ ปัจจุบัน เกษตร เชิงเดี่ยวไม่ใช่คำตอบของประเทศไทยอีกต่อไป สำหรับพ นื้ ทีต่ น้ ย วน เจ้าถ นิ่ เล่าพ อสรุปค ร่าวๆ ว่า “ในชว่ งทกี่ ารทำเกษตรเชิงเดีย่ วเฟือ่ งฟู โดยเฉพาะการทำ สวนยางพาราและสวนปาล์ม ชาวบ้านใช้สารเคมีเพื่อเร่ง การเจริญเติบโตกันมาก ซึ่งมันก็ออกฤทธิ์ต่อคนในที่สุด ทัง้ ผ วิ หนังเปือ่ ยพองเอย ทัง้ ม ปี ญ ั หาเรือ่ งระบบหายใจเอย ที่น็อคยาก็มมี าก ทุกอย่างมาหมด “ส่วนตอนนี้ถึงแม้ว่าจะใช้กันอย่างระวังมากขึ้น แต่ด้วยราคายาง ราคาปาล์มที่ยั่วยวน ชาวบ้านก็ยังคง ใช้สารเคมีเยอะอยู่ดี เราก็ได้แต่เตือนกันไป”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
33
34 ต้นยวน
03 ฟื้นชีวิตด้วยป่าชุมชน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ทีแรกนึกว่าพี่เวงจะให้ไปกับคนขับรถแล้วแกแยกไป ดูแลคณะที่มาดูงาน ที่ไหนได้แกเห็นความสำคัญของ สื่อตัวเล็กๆ มากกว่าที่คิด ผู้ที่รับหน้าที่รับผิดชอบ ทริปนี้ตลอดการเดินทางคือ ป๋าเวงคนนี้นี่เอง เดิมทีสมัยก่อนตอนที่ยังเป็นวัยรุ่น มาทำงาน ใหม่ๆ สิ่งหนึ่งทไี่ม่ชอบเลย คือ การลงพื้นที่แล้วต้อง มีเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ตามประกบ ด้วยความที่มักคิดไป เองว่า พอมเีจ้าหน้าทีไ่ปกับเราแล้วชาวบ้านจะเกรงใจ เจ้าหน้าที่และให้ข้อมูลเหมือนท่องสคริปต์มา แต่เมื่อยิ่งทำงานมากขึ้น มีประสบการณ์มาก ขึน้ ผ่านงานอะไรหลายอย่างมากขนึ้ ไอ้ค วามกนิ แ หนง แคลงใจต่างๆ ก็ค่อยลดเลือนหายไป ยิ่งมีคนในพื้นที่ ลงไปกบั เรา คิดว า่ การทำงานยงิ่ ส ะดวกขนึ้ ง่ายๆ ลอง คิดด หู ากทา่ นเป็นช าวบา้ นแล้วอ ยูด่ ๆ ี มีใครทไี่ หนกไ็ ม่รู้ มาถามโน่นถ ามนี่ เราจะกล้าค ยุ ด ว้ ยมยั้ แต่เมือ่ ม คี นใน พื้นที่มาด้วย ชาวบ้านแทบจะพูดเป็นต่อยหอยเลย จะ ผิดแปลกไปก็คงไม่มากกว่าน ี้
ตีกินตามรัฐ ช่องโหว่ของปัญหาสิ่งแวดล้อม อย่างทกี่ ล่าวไปในบททแี่ ล้วว า่ ป ญ ั หาของตน้ ยวน ที่หนักหนาสาหัสที่สุดก็คือเรื่องการขาดแคลนน้ำ ถ้า อย่างนั้นคนที่นี่เขาแก้ปัญหาเรื่องนี้อย่างไร หรือว่า
35
36 ต้นยวน
ปล่อยเลยตามเลยให้เป็นหน้าที่ของภาครัฐ เก็บความสงสัยได้ไม่นาน เหมือนพี่เวงรู้ใจน้อง คนนี้ แหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการป่าชุมชน คือที่หมาย แรกที่เรากำลังจะไป แหล่งเรียนรู้เรื่องการจัดการป่าชุมชน ตั้งอยู่ใน พื้นที่หมูท่ ี่ 5 บ้านถ้ำผึ้ง หากเราเดินทางมาจากที่ทำการ อบต. เราต้ อ งเดิ น ท างไ ปท างทิ ศ ต ะวั น อ อกเฉี ย งใ ต้ ประมาณสัก 20 นาทีไม่มากไม่น ้อยไปกว่าน ี้ ขึ้นอยู่กับ ว่าชำนาญทางมากน้อยเพียงใด สังเกตระหว่างทางที่ผ่านมา...อืม ท่าจะจริงอย่าง ที่นายกฯเวง เล่าให้ฟัง ต้นยวนน่าจะมีปัญหาเรื่องการ บุกรุกพ นื้ ทีป่ า่ ไม้จ ริงๆ เพราะวา่ ส องขา้ งทางลว้ นแล้วแ ต่ เต็มไปด้วยสวนยางพารา สวนปาล์มน ำ้ มัน แล้วอ ย่างนจี้ ะ ไปเหลือพ ื้นที่ป่าต ้นน้ำสักเท่าไรเล่า ผู้ใหญ่บุญทัน บุญชูคำ ประธานกลุ่มเดินออก มาต้อนรับด้วยใบหน้าดุดัน...สไตล์คนใต้ พร้อมกับถาม เราว่า “นายกฯคนที่มาดูงานมีคนเดียวเหรอ อย่างนี้ที่ ผมเตรียมข้าวเตรียมของไว้ก็เสียเปล่าส ิ แต่ไม่เป็นไร มา คนเดียวแบบนี้จะได้ร่ายยาวประวัติของป่าชุมชนได้ ถนัดถนี่หน่อย” จากนั้น ลุงบุญทันของเราก็พาเราเดินเข้าในยัง ความทรงจำของแก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
“จำได้เลยชว่ งนนั้ เรายงั เป็นว ยั ร นุ่ อ ยู่ ประมาณชว่ ง ปี 2518 – 2522 รัฐบาลมีนโยบายหากินง ่ายๆ จาก การให้ส มั ปทานปา่ ไม้ท วั่ ป ระเทศ ต้นย วนบา้ นเรากไ็ ม่พ น้ ชะตากรรมเดียวกัน จากพื้นที่ทเี่ต็มไปด้วยป่าไม้ เต็มไป ด้วยต้นไม้ใหญ่ ระยะเวลาเพียงไม่กี่ปีจากพื้นที่ป่าที่เป็น พันไร่ กลับล ดลงเหลือเพียงไม่กี่ร้อยไร่” ฟังแล้วมันยังไม่แค่นั้น ผู้ใหญ่บุญทันยังเล่าให้ฟัง ต่ออีกว่า “หลังปี 2532 รัฐประกาศปิดป ่า เราก็นึกว่าจะ จบแล้ว ที่ไหนได้ ในช่วงที่ยังไม่มีการประกาศกฎหมาย เรื่องเขตป่าสงวนที่ชัดเจน ก็มีชาวบ้านบางส่วนได้เข้าไป บุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อจับจองเป็นพื้นที่ทำกินอีก มันเลยยิ่ง แย่ไปใหญ่”
จากหลักร้อยสู่หลักพัน เส้นท างการเกิดป ่าชุมชน เกือบไม่ต้องสาธยายต่อ พอป่าหมดแล้วจะเกิด อะไรขึ้น เราๆ ท่านๆ ล้วนรู้ดกี ันอยู่แล้วว่าไม่มปี ่าก็ไม่มี น้ำ ไม่มีป่าก็ไม่มีฝน ไม่มีป่าก ็ไม่มชี ีวิต ไม่มีป่าก็คงไม่มี วันนี้ อันหลังนี่ไม่รู้ว่าจ ะเกินจริงไปไกลมั้ย นัง่ ฟ งั ไปกอ็ ดเศร้าใจไปกบั น โยบายของรฐั ส มัยก อ่ น ไม่ได้จ ริงๆ แทบจะถอนคำพดู ท วี่ า่ ค นยคุ ห นึง่ ส มัยห นึง่ ก ม็ ี แนวความคดิ แ บบหนึง่ เราตอ้ งมองคนในอดีตอ ย่างเข้าใจ และไม่ไปตัดสิน เพราะมันเข้าใจยากจริงๆ
37
38 ต้นยวน
“แรกๆ เรายังไม่รู้หรอกว่าพอไม่มีป่าแล้วจะแย่ อย่างนี้ ตอนนั้นน้ำท่าไม่สะดวก คนทอี่ ยู่ท้ายน้ำนี่บางที แทบจะไม่มนี ำ้ ใช้เลย อีกอ ย่างพอเวลาฝนตกหนักก ม็ กั จ ะ เกิดดินถล่ม ถ้าจำไม่ผิดปี 2527 นีแ่ หละเป็นจุดเริ่มต้น การต่อสูข้ องเรา “สมัยนั้นพวกเราไม่ได้มีความรู้ทางวิชาการอะไร เราคิดง่ายๆ ว่าถ้ามีต้นน้ำยังไงน้ำก็ไม่แล้ง เลยช่วยกัน ต่อสู้เพื่อกันพื้นที่ป่าบริเวณคลองบางกุยจำนวน 321 ไร่ ให้เหลือเป็นป่าต้นน้ำ ทำอยู่เพียงไม่กี่ปีก็เริ่มเห็นผล ป่าเริม่ ก ลับม าสมบูรณ์ มีผ งึ้ แ ละสตั ว์ป า่ ก ลับเข้าม าอาศัย น้ำท่าอะไรต่างๆ ก็กลับมาให้กินให้ใช้ “ช่วงเดียวกันน นั้ เอง พอเห็นว า่ น ำ้ เริม่ ก ลับม าอดุ ม สมบูรณ์ เราได้ร่วมกันสร้างฝายเพื่อใช้กักเก็บน้ำไว้ใช้ใน ยามหน้าแ ล้ง ผลกค็ อื ช าวบา้ นในพนื้ ทีห่ มู่ 5 กว่าร้อยครัว เรือนได้มีน้ำใช้อย่างไม่ข าดแคลน” ฟังสิ่งที่ผู้ใหญ่บุญทันเล่ามาก็เข้าใจโลกมากขึ้น คนเราต้องรอให้เดือดร้อนกันทั่วหน้าก่อนถึงจะร่วมกัน แก้ไขปัญหา ผลจากรูปธรรมจึงเกิดข้อตกลงและแรงจูงใจที่จะ ร่วมมือในการกันพื้นที่จำนวน 241 ไร่ บริเวณหมู่ที่ 5 เป็นป า่ ช มุ ชนเพิม่ เติม และมกี ารรอ้ งขอให้ส ำนักงานปา่ ไม้ จังหวัดสุราษฎร์ธานีเข้ามากันแนวเขตป่าช ุมชน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ณ บัดนั้นกลุ่มอนุรักษ์ป่าถ ้ำผึ้งได้ถือกำเนิดขึ้นมา “ปี 2547 ได้มีการรับสมัครผู้ที่มีจิตอาสาเข้ามา เป็นคณะกรรมการในการอนุรักษ์ป่าชุมชน และในการ ประชุมหมู่บ้านสมัยหนึ่ง ได้มีมติร่วมกันว่าเราจะขยาย พื้นที่ป่าชุมชนบ้านถ้ำผึ้ง ไปเป็นจำนวน 1,636 ไร่ 77 ตารางวา” ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี จากพื้นที่ป่าเพียง หลักร้อยกลายเป็นหลักพัน ถ้าทุกชุมชนในประเทศไทย ทำได้ เรื่ อ งป ากเ รื่ อ งท้ อ งข องเ ราค งห มดห่ ว งไ ปอี ก หลายปี
ความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เคล็ดลับสู่ความสำเร็จ ขณะที่ ยั ง ตื่ น ต าตื่ น ใ จกั บ ค วามพ ยายามข อง ชาวบ้านในการพลิกฟื้นพื้นป่าต้นน้ำอยู่นั้น ก็เหลือบไป
39
40 ต้นยวน
เห็นกระดานรายชื่อหน่วยงานที่เข้าม าร่วมงาน และจาก ประสบการณ์ต รงทเี่ คยพบเห็นค วามไม่เข้าใจกนั ร ะหว่าง ชาวบา้ นและกรมปา่ ไม้ในเรือ่ งกฎระเบียบการทำปา่ ช มุ ชน นั้น จึงอดถามไม่ได้ “ลุง ที่นี่เวลาทำป่าชุมชนชาวบ้านเขาทะเลาะกับ ป่าไม้บ้างมั้ย ผมเคยไปที่อื่นแล้วชาวบ้านมักเล่าให้ฟัง ว่าเวลาชาวบ้านเข้าไปกั้นเขตป่าชุมชนหรือเข้าไปหา ของป่าอะไรนี่ เขาทะเลาะจนถึงข ั้นถึงโรงถึงศาลกันเป็น ประจำ” ผู้ใหญ่บุญทันก็ถอนหายใจพร้อมกับเปรยออกมา “หนุ่ม ที่ถามมานี่เราโดนกันจนชินแล้ว แต่ก็สู้ไม่ถอย เพราะว่าป่านี่คือชีวิตของเรา ถ้าเราไม่รักษา ไม่สู้ด้วย ตัวเอง จะรอให้คนอื่นมาสู้ก็คงไม่ใช่ ข้าราชการที่มาจาก นอกพื้นที่จะรดู้ ีกว่าเราได้อ ย่างไร “จนประมาณปี 2550 เราสจู้ นปา่ ช มุ ชนหมู่ 5 บ้าน ถ้ำผึ้ง ได้รับการจดทะเบียนป่าชุมชนอย่างถูกต้องตาม กฎหมายซึ่งทำให้ชาวบ้านสามารถเข้าไปบริหารจัดการ ป่าอย่างเป็นร ูปแบบทชี่ ัดเจนมากขึ้นและต่อมาในปี พ.ศ. 2551 เรากไ็ ด้ร บั ร างวัลป า่ ช มุ ชนตน้ แบบภาคใต้จ ากกรม ป่าไม้ในการบริหารจัดการที่ดี” ระหว่างนั้นคุณลุงได้เดินไปหยิบเอกสารบางอย่าง มาให้อ่าน อ่านไปพลางฟังล ุงแกอธิบายไปพลาง ก็ท ำให้
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เข้าใจตอ่ ว่า แม้ป จั จัยส ำคัญท ที่ ำให้ป า่ ช มุ ชนประสบความ สำเร็จอยู่ที่ความตั้งใจของชาวบ้านเป็นหลัก แต่อย่างไร ก็ดีการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ก็มีความสำคัญ ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าก ัน ไม่ว า่ จ ะเป็นการฝกึ อ บรมให้ค วามรจู้ ากหน่วยงาน สถาบันก ารศกึ ษา หรือจ ะเป็นการสง่ เสริมให้ช าวบา้ นออก ไปดูงานเพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการป่าชุมชน และ ที่สำคัญ คือ การสนับสนุนพันธุ์กล้าไม้เพื่อนำไปปลูกใน พื้นที่ป่าของหมู่บ้าน ก่อนจากกันคุณลุงบุญทันได้ฝากทิ้งท้ายไว้ว่า “การที่จะทำป่าชุมชนให้ยั่งยืนเราต้องสนับสนุน เยาวชนรุ่นใหม่และชาวบ้านทุกคนให้เข้ามามีส่วนร่วม จะให้บางส่วนหรือคณะกรรมการเป็นคนรับผิดชอบ อย่างเดียวนั้นคงเป็นไปไม่ได้ เพราะถ้าคนรุ่นนี้หรือ คณะกรรมการรุ่นนี้ตายไปแล้ว และไม่มีคนมาสานงาน ต่อ สิ่งท ี่เราสร้างไว้มันก็จะค่อยๆ หายไป” อันน ี้ผู้เขียนยกมือเห็นด้วยร้อยเปอร์เซ็นต์
41
42 ต้นยวน
04 ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ผลพลอยได้จากความอุดมสมบูรณ์ ขณะกำลังเหลียวหลังเดินออกจากศูนย์เรียนรู้ป่าชุมชน คุณลุงนักอนุรักษ์ต ะโกนตามหลังม าว่า “หนุม่ ๆ มาดเู รือ่ งปา่ ช มุ ชนแล้วไม่อ ยากฟงั เรือ่ งงาน ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ต่อหรือ มันเป็นงานที่ต่อเนื่องจาก งานป่าชุมชนนะ หรือว่าจ ะรีบไปที่อื่น” ยอมรับว า่ ต อนนนั้ ล มื ไปจริงๆ ว่า ในขอ้ มูลท ไี่ ด้ร บั มาก็บอกอยู่แล้วว่าที่บ้านถ้ำผึ้งนี่ไม่ได้มีดีเพียงเรื่องป่า ชุมชน แต่ยังมีดีเรื่องการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อ ีกด้วย
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
งานนี้มีหรือท ี่อดีตเด็กค่ายอนุรักษ์จะพลาดได้ ปากไปไวกว่าความคิด ตอบรับผู้ใหญ่บุญทันไป แล้ว เพิ่งนึกขึ้นได้ว่ามีนัดต่อกับอีกศูนย์เรียนรู้ หันไป มองหน้านายกฯ ป๋าเวงเราพยักหน้ารับพลางบอกว่า “เอาเถอะ ไหนๆ ก็มาจนถึงที่แล้ว เดี๋ยวจะโทรไปเลื่อน อีกที่ให้”
เรียนไป เที่ยวไป การท่องเที่ยวแนวใหม่ หลังจ ากตกปากรับคำผู้ใหญ่บ ุญทันว่าจ ะออกไปดู แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ผู้ใหญ่แกได้เล่าที่มาของกลุ่ม ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บ้านถ้ำผึ้ง ให้ฟังว่า “เริม่ แ รกทที่ ำปา่ ช มุ ชนกไ็ ม่ได้ค ดิ ถึงเรือ่ งทจี่ ะกลาย เป็นสถานที่ท่องเที่ยว เราคิดถึงแต่ปากแต่ท้องจริงๆ จนปี 2544 รัฐเข้ามาเห็นศักยภาพจึงได้มีการส่งเสริม ที่จะให้บ้านถ้ำผึ้งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแหล่งใหม่ของ สุราษฎร์ธานี ตอนนนั้ เรากย็ งั ไม่แ น่ใจ กลัวว า่ ถ า้ ป ล่อยให้ กลายเป็นส ถานทที่ อ่ งเทีย่ วไปแล้ว ปัญหาสงิ่ แ วดล้อมจะ ตามมา และสิ่งที่ชาวบ้านทำจะสูญเปล่า” ไม่เฉพาะผใู้ หญ่ห รอกครับ เป็นใครฟงั ก ก็ ลัวท งั้ น นั้ เพราะถ้าใครที่ไม่บ้าจี้เชื่อรัฐจนเกินไป คงต้องยอมรับ ว่าตั้งแต่ที่บ้านเราส่งเสริมการท่องเที่ยวกระแสหลักมา นั้น เห็นมาแล้วร้อยทั้งร้อย ไม่ว่าที่ไหนก็ตามที่ได้รับ
43
44 ต้นยวน
การพัฒนาเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ ว ผลทไี่ ด้ คือ ‘เละ’ ทั น ที ที่ ขึ้ น บ น รถกระบะคันเก่งของ ผูใ้ หญ่ แกเล่าให้ฟ งั ต อ่ อีกว่า “แรกๆ ชาวบ้าน ก็ ก ลั ว ผมใ นฐ านะ ผู้ น ำ ชุ ม ช น ก็ ก ลั ว ประมาณปี 2545 แกนนำชมุ ชนได้ร บั เชิญให้ไปรว่ มสมั มนาเรือ่ งการจดั การ ท่องเที่ยวโดยชุมชนที่กรุงเทพมหานคร ตอนนั้นเองเรา ก็เริ่มเข้าใจแล้วว่าการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนน่าจะ เป็นอีกหนึ่งเครื่องมือที่ใช้อนุรักษ์ป่าชุมชนและพัฒนา ชุมชนได้ “พอชาวบ้านเข้าใจหลักการดีแล้ว ทุกคนก็หมด ห่วงและเริ่มลงมือดำเนินงาน โดยปัจจุบันก ลุ่มของเรามี สมาชิกสิบแปดครัวเรือน มีคณะกรรมการกลุ่มสิบสาม คน และมีระเบียบในการระดมทุนจากสมาชิก คนละไม่ เกินสิบหุ้น หุ้นละร้อยบาท” อันท จี่ ริงแ ล้วร ฐั ไทยกไ็ ม่ได้พ ฒ ั นาอะไรแบบไม่ล มื ห ู
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ลืมตาหรือไม่ฟังชาวบ้าน หน่วยงานทเี่ขาดีๆ ก็มี เหมือน มนุษย์เราที่มีทั้งดแี ละไม่ดี
ฝายกักน้ำ จุดเริ่มของเส้นทางสำรวจแหล่งท่องเที่ยว จับร ถออกมาจากทที่ ำการศนู ย์ฯเพียงไม่ก อี่ ดึ ใจ ที่ ว่าไม่ก อี่ ดึ ใจนี่ อยากบอกวา่ แ ค่ 5 นาทีเท่านัน้ เชือ่ ห รือไม่ ว่าจ ากทวิ ทัศน์ท มี่ แี ต่ส วนยาง สวนปาล์ม หรือส วนผลไม้ พอเข้าเขตปา่ ช มุ ชนเท่านัน้ กลายเป็นพ นื้ ทีท่ มี่ คี วามเขียว ขจีของเหล่าแมกไม้ที่อุดมสมบูรณ์ พูดไปก็เหมือนโม้ หากไม่ได้ไปสัมผัสด้วยตนเอง ป่าต้นน้ำคือที่หมายแรกที่เราเดินทางไปถึง ก็สม ดั่งที่ผู้ใหญ่คนเก่งเล่าให้ฟังเมื่อครั้งที่คุยเรื่องป่าชุมชน เสียจริง ไม่แน่ใจว่าเพราะไปตอนช่วงลมมรสุมเข้าภาคใต้ หรือเปล่า บรรดานำ้ ท่า ผลหมากรากไม้ ต้นไม้ใหญ่ต า่ งๆ ล้วนแล้วแต่ผลัดกันมายืนต้อนรับ ผู้เขียนเองถึงกับอดใจไม่ได้ที่จะถอดรองเท้าเดิน เท้าเปล่าเพื่อสัมผัสความสดชื่นของผิวด ิน ตอนที่เดินไป ที่ฝายกักน้ำนั้น แทบจะย้อนเวลาเป็นเด็กแก้ผ้ากระโดด ลงน้ำเลยทีเดียว พอเห็นตรงนี้ก็เลยคิดว่าน้ำท่าที่มีมากขนาดนี้จะ หายไปได้อ ย่างไรในช่วงหน้าแ ล้ง
45
46 ต้นยวน
“ที่หนุ่มเห็น เราทำดที ี่สุดแล้ว เราพยายามกักน้ำ ไว้ใช้ในยามหน้าแล้งให้มากที่สุด แต่พอถึงหน้ามันทีไร ยิ่งในช่วงฝนทิ้งช่วงด้วยแล้ว ชาวบ้านต้องระวังเรื่องการ ใช้น้ำอย่างยิ่ง” ถึงตรงนี้เป็น นายกฯเชวง ที่เล่าเสริมให้ฟัง แปลก แต่ก็จริง ขนาดมตี ้นไม้อุดมสมบูรณ์แต่พอ ถึงช่วงฝนทิ้งช่วงก็มีปัญหาเหมือนกัน เรื่องน้ำท่านี่เรา ประมาทไม่ได้จริงๆ บทจะมาก็มาเยอะเกิน บทจะไม่มี ก็ไม่มเีอาเสียเลย สรุป โลกเราไม่เหมือนเดิมแล้วจ ริงๆ
บ่อน้ำด ัน-ทรายดูด บ่อน้ำพ ิศวง ใช้เวลาอยู่ที่ป่าต้นน้ำไม่นานนัก เราได้เดินต่อไป ยังบ่อน้ำด ันทรายดูด ซึ่งก ็ยังงงๆ อยู่เหมือนกันว่า บ่อที่ ว่านีจ้ ะมลี กั ษณะอย่างไร บอกตามตรงวา่ เป็นน กั เดินท าง ก็จริง แต่บ่อดัน-ทรายดูด นี่ “ใบ้ร ับป ระทานครับผม” เดินได้พ กั ห นึง่ เห็นบ อ่ น้ำล กั ษณะแปลก พร้อมแผ่น ป้ายแสดงให้เห็นว่าม าถึงทีห่ มายแล้ว “บ่ อ ดั น -ทรายดู ด มี ลั ก ษณะเ ป็ น บึ ง น้ ำ ใ ส กว้างยี่สิบเมตร ลึกสองเมตร พื้นเป็นทรายละเอียด ภายในบึงจะมีบ่ออยู่สองบ่อ บ่อหนึ่งในบริเวณก้นบ่อ จะมีแรงดันอากาศทำให้ทรายในบริเวณนั้นถูกดันขึ้นมา
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ตลอดเวลา และหากการสั่นสะเทือนเกิดขึ้นแรงดันก็จะ ยิ่งมีมากขึ้น ส่วนอีกบ่อจะเป็นบ่อดูด มีแ รงลมดูดล งไป หากมี การจับหรือสัมผัสจะมีความรู้สึกคล้ายถูกไฟฟ้าช็อต” จากส ายตาข องค นนอกค งเ ล่ า ไ ด้ ค ร่ า วๆ ประมาณนี้ ที่ว่าไปทั้งหมดยังไม่สำคัญเท่า การเสด็จมาทอด พระเนตรบ่อดัน-ทรายดูดของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นการส่วนพระองค์ ในปี 2547 ซึ่งการเสด็จมาของ พระองค์ ใ นค รั้ ง นั้ น ไ ด้ ส่ ง ผ ลใ ห้ เ กิ ด ศู น ย์ เ รี ย นรู้ แ หล่ ง ท่องเที่ยวบ้านถ้ำผึ้ง “ต้องบอกวา่ พ ระพนี่ างฯ ท่านมพี ระคุณต อ่ ต น้ ย วน
47
48 ต้นยวน
เป็นอย่างยิ่ง การท่องเที่ยวบูมขึ้นมาก็เพราะพระองค์ ตอนนั้นใครๆ ก็เข้ามาสนับสนุน” “และได้ อบต. เข้ามาสนับสนุนงบประมาณสร้าง อาคารศูนย์เรียนรู้ แต่เราก็ไม่ได้เป็นฝ่ายรับอย่างเดียว นะ คณะกรรมการก็ได้มีการร่างระเบียบกลุ่มขึ้นใหม่ แบ่งต ามกจิ กรรมซงึ่ ท ำให้ก ารทำงานมคี วามเป็นร ะเบียบ มากขึ้น” อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีกฎระเบียบ ข้อบังคับ ต่างๆ ยังไม่วายที่จะมีเรื่องให้ ผู้ใหญ่บุญทัน บ่นอยู่ ร่ำไป “เคยมคี นพยายามลองของโดยการดำสกู่ น้ บ งึ แ ต่ก ็ ไม่สามารถทำได้ เนื่องจากแรงดันของอากาศทำให้ลอย ขึ้น ถ้าลงไปได้จ ริงๆ ก็ไม่รวู้ ่าจะเกิดอะไรขึ้น จริงๆ แล้ว ลุงว่าคนเราไม่ควรลองของเลย มาเที่ยวก็น่าจะดูแต่ตา มืออ ย่าต้อง ของจะได้ไม่เสีย”
เด็กและเยาวชน กำลังพ ลแห่งอนาคต ขากลบั จ ากบอ่ น้ำด นั -ทรายดดู ช่วงพกั ร ะหว่างทาง ได้สอบถามเพิ่มเติมว่า กิจกรรมที่จะสร้างความยั่งยืน ให้แก่กลุ่ม ที่น่าสนใจและชุมชนอื่นน่าจะนำไปปรับใช้มี อะไรบ้าง ความหวงวชิ าไม่มอี ยูใ่ นพจนานุกรมของผใู้ หญ่ แก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
บอกว่าคนอื่นก็สอนแกมาเหมือนกัน ถ้าห วงวิชากันแล้ว บ้านน้ีเมืองน้ีก็ไม่มีทางเจริญ จะว่าไป...ก็ใช่นะ ทุกการ เรียนรตู้ อ้ งมาจากการถา่ ยทอดถงึ จ ะยง่ั ยืน แล้วก ารถา่ ยทอด องค์ความรขู้ องทน่ี ล่ี ะ่ มอี ะไรบา้ ง เรามาตดิ ตามกนั “หมู่ 5 บ้านถ้ำผึ้งเราจะมีกิจกรรมการเรียนรู้ หลายกิจกรรม โดยเฉพาะในกลุ่มของเยาวชนที่เขา ต้องมาสืบทอดงานต่อ กิจกรรมของเยาวชนหลักๆ จะ เน้นให้เกิดการเรียนรู้และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม บางกิจกรรมก็จะเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านวัฒนธรรมกับนักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไป “สำหรับผ ใู้ หญ่เรากไ็ ม่ได้ม องขา้ ม เวลามคี นเข้าม า เที่ยวเราจะพยายามจัดการให้ม ีการกระจายรายได้อย่าง เท่าเทียม และหมุนเวียนตามที่กลุ่มได้คัดเลือกไว้ให้” ทีส่ ำคัญ ผูใ้ หญ่แ กไม่ได้ค ดิ เอง เออเองคนเดียว ทุก การตัดสินใจมีการรับฟังความคิดเห็น และนำข้อเสนอ จากการประชุมม าปรับปรุงแ ก้ไขอยูเ่สมอ ส่วนตวั ค ดิ ว า่ ผ ลพลอยได้น อกจากเม็ดเงินท ชี่ มุ ชน ไม่รู้ตัวมีอยู่ 2 ประการ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับบุคคลภายนอกซึ่งวันหนึ่งอาจนำความรู้ที่ได้มาใช้ ประโยชน์กับรู้จักสร้างอำนาจต่อรองให้กับชุมชนในเรื่อง การพัฒนาสาธารณูปโภค ยิ ง ปื น นั ด เ ดี ย วไ ด้ น กห ลายตั ว แ บบนี้ ก็ คุ้ ม อ ยู่
49
50 ต้นยวน
ไม่หยอก
หนี ไม่พ้นต ัวเหลือบไรเข้าม าสูบผลประโยชน์ เดินกลับขึ้นรถด้วยความรู้สึกอิ่มเอมที่ได้สัม ผัส ความสวยงามของธรรมชาติ ทันใดนั้นเองความขุ่นมัว หัวใจที่ไม่ได้ตั้งใจบังเอิญเกิดขึ้น ทุกการทำงานต้องมีอุปสรรค ทุกความตั้งใจต้อง มีคนมาปัดแข้งปัดขา กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ก็ไม่พ้น โชคชะตาเดียวกัน “เราจัดการท่องเที่ยวขึ้นมาก็เพื่อให้ชาวบ้านได้ มีส่วนในการอนุรักษ์ ได้แลกเปลี่ยนความรู้เพิ่มเติม กั บ ค นภ ายนอก เรื่ อ งร ายไ ด้ เพิ่ มเติ มก็ ถื อว่ าเป็ น ผ ล พลอยได้ แต่ ช่ ว งห ลั ง ๆ เริ่ ม มี ก ลุ่ ม บ ริ ษั ท ทั ว ร์ บ้ า ง นักท่องเที่ยวที่ไร้ความรับผิดชอบบ้างที่เข้ามาเที่ยวโดย ไม่ผ่านกลุ่มของเรา” “พวกนี้บางทีเข้ามาก็เสียงดังโวยวาย บางทีก็กิน เหล้ากันไม่เกรงใจเจ้าป่าเจ้าเขา แถมยังทิ้งเศษขยะกัน เกลื่อนกลาด เราก็ต้องเข้าไปจัดการ ทีเ่ลวร้ายไปใหญ่ก็ มีบ างสว่ นทเี่ ข้าไปเดินเล่นแ ล้วเอาของกลับไป ต้นไม้บ า้ ง ดอกไม้บ้าง หนักเข้าก็หักหินงอกหินย้อยกลับไป” ลุงบุญทันบ่นให้ฟังดังๆ ปัญหานี้นับเป็นปัญหาโลกแตกของนักท่องเที่ยว
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ชาวไทยเสียจริงๆ พูดดี...ก็แล้ว ออกกฎระเบียบบังคับ... ก็แล้ว แต่ไม่ได้ผ ล เรือ่ งนคี้ งเป็นอ กี เรือ่ งทที่ า้ ทายกระบวนการจดั การ และกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเพื่อที่จะ ทำได้สมดั่งคำขวัญที่ว่า “ท่องแดนมหัศจรรย์ หลากพันธุ์ พืชส ตั ว์ ย้อนประวัตศิ าสตร์ส มรภูมิ โอบอมุ้ ด ว้ ยธรรมชาติ และน้ำใจ”
51
52 ต้นยวน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
05 ชีววิถีหลักสร้างคน ให้สอดคล้องกับพื้นที่ ใช้เวลาอยู่กับล ุงบุญทันไปเสียครึ่งวัน...แต่เอาน่า ถึงแผน งานที่วางไว้จะคลาดเคลื่อนไปบ้างแต่ก็คุ้มที่ได้พูดคุย ได้ร่วมเดินทางกับแ กอยู่ไม่หยอก เพราะในความไม่เป็น ไปตามแผนได้ทำให้สัมผัสคุณลักษณะเฉพาะของคนใต้ บางประการ เข้าใจว่าคนไทยในแต่ละพื้นที่นั้นอาจจะมีความ เหมือนกันในเชิงองค์รวม แต่ในองค์รวมแต่ละพื้นที่จะมี ความแตกต่างที่หากสังเกตดีๆ ก็ไม่ยากเกินแยกแยะได้ บางพื้นที่ผู้นำอาจจะมีผลมาก บางพื้นที่ชาวบ้านอาจ เสียงดังกว่า แต่ก ็ไม่ได้หมายความว่าใครดกี ว่าใคร อย่างในภาคใต้การมีส่วนร่วมของประชาชนมี ความเข้มข้นสูง ยิ่งเรื่องที่รัฐหรือคนภายนอกจะมาเอา เปรียบด้วยแล้ว คนทนี่ ี่ไม่มีทางยอมอย่างแน่นอน ไม่ได้หมายความว่าคนใต้เป็นคนไม่มีน้ำใจหรือ เอาแต่พ วกพอ้ งตนเอง กลับก นั ...คนใต้จ ะเป็นค นประเภท หากให้ใจกับใครแล้ว เรื่องของน้ำใจนี่ไม่ต ้องพูดถึง ที่พูด นี่หมายถึงเราต้องจริงใจกับเขาด้วยนะ
ที่ขาดก็ต้องเติม ยิ่งผ ลิตเองได้ยิ่งดี ใหญ่ ด้วยความทคี่ ลาดเคลื่อนเรื่องเวลาทำให้ ณ เวลา
53
54 ต้นยวน
นั้นทำให้แทนที่เราจะได้พูดคุยกับ พี่รัชนี และ พี่โชคสิทธิโชค อนุจันทร์ ตามลำพัง การณ์กลับก ลายเป็นว่า มีผู้ร่วมสนทนากับเราเกือบครึ่งร้อยชีวิต ใช่แล้วครับ เราไปป๊ะกันกับท ีมชาวบ้านที่มาดูงาน ที่ต้นยวนพอดี ก็ถือว่าเป็นการฝากเนื้อฝากตัวแก่ชุมชน อืน่ ๆ ล่วงหน้าไปแล้วก นั เพราะอกี ไม่น านเกินร อกน็ า่ จ ะ มีโอกาสไปเยือนชุมชนของพวกท่านเหล่านั้น วกกลับมาที่เรื่องของเรา ช่วงที่อาจารย์ทั้งสอง กำลังบ รรยายหลักก ารทำงานของตนเองให้ค นทมี่ าดงู าน ฟัง จู่ๆ ก็ม ีคุณลุงวัยกลางคน หนวดงามเดินเข้ามานั่งคุย ด้วย ถามไถ่ได้ค วามจงึ ร วู้ า่ ทีแ่ ท้ค ณ ุ ล งุ ท า่ นนเี้ ป็นผ อู้ ำนวยการของโรงเรียนบ้านนาใน ผอ.พีระ อินทรักษ์ เล่าเบื้องต้นให้ฟังว่า “ผม อยู่ที่โรงเรียนนี่มาตั้งแต่ปี 2547 เห็นคุณครูทั้งสองมา ตั้งแต่เริ่มต้นทำกิจกรรมเพาะเห็ดอะไรนี่แหละ เห็นการ พัฒนาเรือ่ ยมา ทีส่ ำเร็จน ผี่ มวา่ เพราะเขาตงั้ ใจจริง หายาก เหมือนกนั น ะคนหนุม่ ส าวทจี่ ะมาทำงานเพือ่ เด็กน กั เรียน โดยไม่หวังผลตอบแทน ก็ถือว่าเป็นบุญของเด็กที่นี่ “เห็นศูนย์เรียนรู้ของเราเล็กๆ อย่างนี้แต่มันก็มี คุณค่า และมคี วามพร้อมทจี่ ะเป็นแ หล่งเรียนรู้ โดยเฉพาะ เป็นฐานความรู้ให้แก่เด็ก ส่วนเรื่องการทำงานไว้รอถาม เจ้าของผลงานดีกว่า...นั่น เดินม าแล้ว”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ไม่รอพักให้หายเหนื่อยเพราะกลัวจะขาดตอน เราเริ่มพ ูดคุยกันทันที ส่วนบรรยากาศของศูนย์เรียนรู้ไว้ ผู้เขียนจะพาทัวร์เองหลังค ุยหลักการเสร็จแล้ว พี่รัชนี ชิงจังหวะพี่โชคเล่าให้ฟังก่อนว่า “ชมรมชวี ว ถิ มี จี ดุ เริม่ ต น้ ม าจากโรงเรียนเขานาในมี ปัญหาขาดแคลนงบอาหารกลางวนั ตอนนนั้ (2545) เด็ก ของเราส่วนใหญ่มีปัญหาขาดสารอาหาร เราก็เลยมาหา
55
56 ต้นยวน
หนทางว่าจะทำอย่างไร ที่จะทำให้เด็กได้มีอาหาร การกินที่ดขี ึ้น “ ที นี้ พี่ ส อ ง ค น เห็ น มี พื้ น ที่ ว่ า งภ ายใน โรงเรี ย น คิ ด ว่ า น่ า จ ะท ำ โรงเรือนในการเพาะเห็ดได้ เราจึงได้ขอ พืน้ ทีน่ นั้ ม าใช้ อย่างผบู้ ริหารทนี่ กี่ ด็ ี สนับสนุนเต็มร อ้ ย พร้อมกับส่งไปศึกษาดูงานการเพาะเห็ดนางฟ้า ผลที่ได้ ก็ถือว่าเป็นที่น่าพอใจคือเด็กของเราเริ่มมีอาหารการกิน ที่ดีขึ้น”
โรงเรียนกับชุมชน ความสัมพันธ์ที่ ไม่อาจมองข้าม จุดเริ่มต้นเล็กๆ สู่จุดที่ยิ่งใหญ่ ไม่เกินเลยที่จะ กล่าวประโยคนี้ ยิ่งเมื่อเทียบจากจุดเริ่มต ้นเมื่อปี 2545 ด้วยแล้ว คงบอกได้คำเดียวว่าชมรมนี้มาไกลมากกว่าที่ แม้แต่เจ้าของความคิดทั้งสองจะคิด เราพูดคุยไป เดินชมพื้นที่ศูนย์เรียนรู้ไป อยาก จะถามว่า “ครูครับ เมื่อตะกี้ผมฟังไม่ผิดใช่มั้ยที่แต่เดิม พื้นทีต่ รงนี้เต็มไปด้วยหิน แห้งแ ล้ง ไร้ความอุดมสมบูณ์ และว่างเปล่า แล้วครูทำยังไงถึงเปลี่ยนให้มันมามีความ สมบูรณ์ได้ขนาดนี้นี่”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
“จะบอกว่าเราไม่ได้ทำคนเดียว ช่วงปี 2546 ที่ เราขอพื้นที่ว่างเปล่าจาก ผอ. มาใช้งาน ช่วงนั้นเราขอ ทั้งแรงงานเด็กและแรงงานผู้ใหญ่ โดยการขอแรงให้มา ช่วยกันปรับพื้นที่และให้มาช่วยสร้างโรงเรือนสำหรับ เพาะเห็ดนางฟ้า “ซึ่งการออกปากขอแรงครั้งนั้นนับเป็นจุดเริ่มต้น ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับโรงเรียนที่ต่อเนื่องมา จนถึงปัจจุบัน ส่วนการช่วยเหลือก็มีหลายรูปแบบ ทั้ง แรงงาน เงินทอง ปัจจัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไม้สำหรับ ก่อสร้าง เมล็ดพันธุ์ ต้นพันธุ์พืช และสัตว์เลี้ยง “ผลจากความสำเร็จที่เราทำร่วมกับชุมชนทำให้ ผู้บริหารโรงเรียนและเขตการศึกษาเข้ามาสนับสนุนเป็น อย่างดีในปีถัดม า” เห็นห รือไม่ว า่ แ ท้จริงแ ล้วก ารพฒ ั นาไม่จ ำเป็นต อ้ ง รอจากเบื้องบนสั่งการลงมา ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนอยู่ ตรงหน้าผู้เขียนนี่เอง
โดนเปิดซิง “จ๊อก จ๊อก จ๊อก” กำลังคุยเรื่องซีเรียสออกรสอยู่ ดีๆ ท้องเจ้ากรรมดันร้องออกมาเสียได้ ไม่อยากจะบอก เลยว่า ตอนนั้นอายจนแทบจะมุดแผ่นดินหนี “จ๊อก จ๊อก จ๊อก” ไม่ใช่เราคนเดียวนี่ พี่เวงเองก็ไม่
57
58 ต้นยวน
น้อยหน้าไปกว่าก ัน ก็ แ หม เราสองคน ต ระเวนไปโน่นน ก่ี บั ล งุ บ ญ ุ ทัน ตั้ ง แต่ เ ช้ า ยั น เ ที่ ย งยั ง ไ ม่ มี อะไรตกถึงท้องเลย ว่าแล้ว พี่โชคจึงออกปากชวนทาน ข้าวกลางวันที่นี่เอาเสียเลย “ดีเลย น้องจะได้ลอง กินผ ลผลิตจ ากชมรมของเรา เรื่องสารพิษตกค้างยิ่งไม่ต้อง กลัวใหญ่ เราปลูกเองกินเอง ยังไงก็ต้องกลัวสารพิษที่จะ ตกไปถึงเด็กอยู่แล้ว กินไปคุยไปแล้วกันนะ” กั บ ข้ า วที่ ว างอ ยู่ ต รงห น้ า ช่ า งส ร้ า งค วามมึ น งง ให้หนุ่มแห่งที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาเหลือเกิน คือ ประเภทน่ะไม่แปลกหรอก แต่วัตถุดิบที่ใส่นี่สิ เรียกว่า เปิดซิงกันเลยทีเดียว ทั้งแกงเหลือง (ส้ม) ใส่เผือก มันเทศ หรือไม่ว ่าจะ เป็นแ กงบวดยอดปาล์มน ำ้ มัน ล้วนแล้วแ ต่เป็นส งิ่ ท ไี่ ม่ค นุ้ ลิ้นทั้งนั้น แต่พอชิมเท่านั้น เป็นความแปลกใหม่ที่ควร จดจำ (ในแง่บวก) อย่างยิ่ง ถึงเวลากินทีไรชอบชวนออกไปนอกเรื่อง เรื่อง ชมรมชีววิถีเราไปถึงไหนแล้วนะ อืม ใช่กำลังจะถึงจุด
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เปลี่ยนผ่านจากชมรมการเพาะเห็ดมาสู่ชมรมชีววิถีแล้ว งั้นเชิญอาจารย์ท ั้งสองต่อเลยแล้วกัน “ช่วงที่ถือว่าเป็นช่วงเปลี่ยนผ่าน ถ้าจำไม่ผิดจะ เป็นช่วงปี 2549 วิทยาลัยการเกษตรและเทคโนโลยี จังหวัดสุราษฎร์ธานี เชิญพี่ไปอบรมตามโครงการชีววิถี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน หลังได้รับการอบรมก็ได้มาสอน ให้นักเรียนช่วยกันทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ ทำการขยาย เชื้อจุลินทรีย์ ต่อมาปี 2550 โรงเรียนของเราได้รับคัดเลือก จากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฯ ให้เข้าร่วมโครงการ อาหารกลางวนั แ บบยงั่ ยืน ผลคอื เราได้ร บั ก ารสนับสนุน ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นด้านการเพาะเห็ด นางฟ้า การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก นอกจากน้ี ท างช มรมก็ ไ ด้ รั บ ก าร ส ง่ เสริมก ารปลูกพ ชื ผ กั ก นิ ได้เพิม่ เติม เรียก ว่าหลังปี 2550 เราโชคดีท่ีมีแต่เรื่องดีๆ เกิดขน้ึ ” อยากจ ะบ อก ครูโชคและครูรัชนีว่า โชคมนั ไม่เกีย่ วหรอก ครั บ ที่มีวัน น้ีเ พราะ พีส่ องคนเป็นคนจริงมากกว่า (ทำจริง
59
60 ต้นยวน
ตัง้ ใจจริง)
ครบวงจรในพื้นที่เดียว ปิดป ระตูอดอยาก ทีนี้ก็ตามที่สัญญาว่าจะพาทัวร์พื้นที่จริง ผิดถูก ประการใดขออภัยไว้ ณ ทีน่ ี่ด้วย พื้ น ที่ ข องศู น ย์ เ รี ย นรู้ ช มรมชี ว วิ ถี โ รงเรี ย น บ้านเขานาในตั้งอยู่บนเนื้อที่ 3 งาน สุดแนวเขตโรงเรียน ติดเชิงเขาแดง ภายในแบ่งพ ื้นที่ออกเป็นส่วนต่างๆ ที่ให้ เด็กได้ฝึกหัดเรียนรู้จากการปฏิบัตจิ ริง บอกตามตรงว่าอิจฉาเด็กสมัยนี้ไม่น้อยที่เวลาจะ เรียนอะไรก็ได้เรียนบนพื้นที่จริง ฝึกจริง ทำจริง ได้ผล จริง ฟังแ ล้วคุ้นๆ เหมือนจาพนม...อย่างไรไม่รู้ เล่นจริง เจ็บจริง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
เดินต่อไปอีกนิด แหล่งโปรตีนหลักของเด็กยืน ส่งเสียงร้องอู๊ดๆ อยู่ในหลุมขนาดเล็กพอเหมาะสำหรับ พื้นที่ การทเี่ ราจะประสบความสำเร็จอ ย่างขา้ งตน้ น นั้ จ ะ ว่ายากก็ยาก จะว่าไม่ยากก็ไม่ยาก พี่โชคได้ฝากเคล็ดลับ มาดังนี้ “สิ่งที่จะฝากให้คนที่มาดูงานหากอยากประสบ ความสำเร็จ สิ่งที่สำคัญที่สุดได้แก่ความรับผิดชอบ จิต สาธารณะต้องสูง และต้องอย่าหวังแต่ประโยชน์ ต้องมี ความตั้งใจ ความมุ่งมั่นเป็นทตี่ ั้ง ใครพูดอ ย่างไรก็ไม่ต ้อง ท้อถอย อีกอ ย่างเราตอ้ งยนื ให้ได้ด ว้ ยตวั เราเองกอ่ นทจี่ ะ ไปขอความช่วยเหลือจากคนอื่น”
ทักษะชีวิตที่สอดคล้องกับบริบท การสร้างคนที่ถูกวิธี ได้แ ต่พ ดู ถ งึ ช มรมชวี ว ถิ วี า่ ด อี ย่างโน้นด อี ย่างนี้ แล้ว จริงๆ คำว่าชีววิถีแปลว่าอะไร ส่วนตัวยังไม่ค่อยเข้าใจ แนวคิดดังกล่าวมากพอ เรื่องแนวคิดน ี้คงต้องให้เจ้าของ โครงการเป็นผู้อธิบายน่าจะเหมาะสมที่สุด “ชีววิถีเป็นกระบวนการสร้างคนให้มีทักษะชีวิตที่ สอดคล้องกับบ ริบทชุมชนเกษตรกรรม เพื่อเป็นพื้นฐาน แก่เด็กให้สามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้ โดยเราจะนำหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรม
61
62 ต้นยวน
การเรียนการสอน โดยเน้นสร้างการมีส่วนร่วมระหว่าง ผู้สอน-ผู้เรียน-โรงเรียน-ชุมชน” พีร่ ัชนีอธิบายความหมายโดยคร่าวๆ ให้ฟัง พูดง า่ ยทำยากมาอกี แ ล้ว ถึงต รงนถี้ ามพที่ งั้ สองไป ตรงๆ “มันจะเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน โครงการแบบนี้ เห็นมาเยอะแล้วที่พอไม่มีเงินสนับสนุนหรือผู้รับผิดชอบ โครงการย้ายโรงเรียน งานพวกนี้ก็สลายตัวไปด้วย” เจอคำถามบาดใจเข้าไป ก็ไม่รวู้ า่ ค รูท งั้ สองจะเคือง มากน้อยเพียงใด แต่ทำไงได้เล่าในเมื่อต่างคนก็มีหน้าที่ ผู้เขียนก็มีหน้าที่ที่ต้องสะท้อนความเป็นจริงทุกด้าน ดังนั้นก็เลยได้แต่บอกพี่เขาไปว่า “อโหสิกรรมให้ด้วยนะ ครับ แต่จำเป็นต้องถามจริงๆ” “ถามมาพี่ก็ตอบตามความเป็นจริง พี่คงทำให้ มากที่สุดเท่าที่ทำไหว เราเกิดมาด้วยตัวของตัวเองไม่ได้ ขอเงินจากใคร ตอนนี้ถึงเราไม่อยู่โครงการก็อยู่ได้ ที่มา สนับสนุนก็ช่วงหลังทั้งนั้น ส่วนจะยั่งยืนไม่ยั่งยืนก็ต้อง แล้วแต่เด็กด้วย “ทีเ่ ราได้จ ากโครงการนมี้ ากทีส่ ดุ คือ ความสขุ ท าง ใจ ที่เห็นเด็ก เห็นชุมชน มีความสุข ที่สำคัญคือเด็กได้ ความรู้ ได้ม ีส่วนร่วม ได้ไปต่อยอด ได้เป็นฐานในการไป ประกอบอาชีพเพราะว่าบางคนก็ไม่ได้มีโอกาสศึกษาต่อ แค่นั้นก็ถือว่าโครงการของเราประสบความสำเร็จแล้ว”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
หันไปมองหน้า ผอ.พีระ เห็นสายตาที่แกมองมา ประมาณว่า ไม่ผ ิดจ ากที่พูดใช่มั้ย ครูสองคนนี่เขาทำจริง ทำโดยที่ไม่หวังผ ลตอบแทนเลยด้วยซ้ำ ตอนนี้รู้สึกอิ่มใจมากกว่าอ ิ่มท้อง เพราะก่อนกลับ ครูทั้งสองยังอุตส่าห์เสิร์ฟของหวานทางใจเพิ่มเติมอีก ด้วยประโยคซึ้งว ่า “การพัฒนาจะเกิดขึ้นได้ต้องเกิดจากจิตสำนึกใน บุคคลและสังคม เราต้องไม่นึกว่าเราเป็นเฉพาะครูแต่ ต้องตระหนักถึงหน้าที่ของข้าราชการว่าเราต้องคืนคุณ แผ่นดิน”
63
64 ต้นยวน
06 กาละแม ‘พัชรศรี’ หรือจะสู้กาละแม ‘บ้านปากน้ำ’
นทธี ศศิวิมล
อิ่มท้อง อิ่มใจ กันเป็นที่เรียบร้อย หันไปมองหน้าพี่ นายกฯ “พี่ครับ ป้ายหน้าขอเบาๆ สบายๆ บ้าง เดี๋ยว คนอ่านจะบ่ายหน้าหนีเสียก่อน ถ้าเป็นไปได้เอางี้แล้ว กัน เรื่องปากท้องเด็กเราผ่านไปแล้ว คราวนี้ไปดูเรื่อง ปากท้องผู้ใหญ่บ้าง” “น้อง วันน เี้ ราไปมากนั 3 ทีแ่ ล้ว วันน พี้ วี่ า่ พ อกอ่ นดี กว่า อีกอ ย่างพอดีพ ตี่ อ้ งไปเตรียมงานเลีย้ งสง่ ค นทเี่ ขามา ดูง าน ไว้พ รุง่ น จี้ ะให้ค นที่ อบต. มารบั แ ต่เช้า เดีย๋ วพไี่ ปสง่ ที่ที่พัก แล้วเย็นๆ ออกมากินข้าวด้วยกันนะ” จริงๆ ตอนทกี่ ้มลงดนู าฬิกานี่ เพิ่งจะบ่าย 3 โมง เอง จะงอแงไม่ย อมกลับท พี่ กั ก ก็ ลัวจ ะขดั ใจเจ้าบ า้ น เลย เออออหอ่ หมกตามไปกอ่ น แต่เดีย๋ วเถอะ ถึงทีพ่ กั แ ล้วพ อ่ จะหาทางออกมาเองให้ด ู ถึงที่พักความหวังพังทลายโดยสิ้นเชิง ก็พี่แกเล่น พามาปล่อยอยู่กลางป่า กลางเขาเสียอย่างนั้น แดดร่ม ลมตก ยามเย็นพี่เชวงเดินยิ้มอาดๆ มา ด้วยมาดนกั บ ริหารหนุม่ ร ปู ห ล่อ ภาพของแกในตอนนชี้ า่ ง ต่างจากเมื่อเช้าแบบคนละคนทีเดียว “ไป เราไปกินข้าวกัน พี่รู้ว่าวันนี้น้องยังอยากจะ ไปดูศูนย์เรียนรู้อีกแห่งห นึ่ง แต่พ ี่ติดงานจริงๆ เอางี้พอดี กลุม่ แ ม่บ า้ นทเี่ ขารบั ผ ดิ ช อบเรือ่ งงานเลีย้ งคนื น ี้ มีป ระธาน ของกลุม่ ก าละแมสวรรค์เป็นส มาชิกอ ยูด่ ว้ ย ไว้พ จี่ ะดงึ แ ก
65
66 ต้นยวน
มาให้สัมภาษณ์น ะ ตกลงมั้ย” จากทองม้วนสูก่ าละแม ความถนัดที่มีตามสายเลือด ถึงงานเลี้ยง มีผู้ใหญ่คนโน้นคนนี้เดินมาคุยด้วย เนื้อความส่วนใหญ่ก็จะเป็นประเภท “อย่าลืมไปที่บ้าน พี่บ้างนะ นี่พอกลับจากต้นยวนไป พี่จะกลับไปทำให้ที่ บ้านดียิ่งกว่านี้อีก” หรือไม่ก จ็ ะเป็นป ระเภท “ไปมากตี่ ำบลแล้ว ตำบล ไหนดีที่สุด” ที่ให้แนะนำวิธีการทำชุมชนสุขภาวะก็มี แต่อันนั้น รูส้ กึ จ ะเกินห น้าทีไ่ ปนดิ หนงึ่ จึงได้ป ฏิเสธไปอย่างนมุ่ น วล ที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในที่ สุ ด ก็ ไ ด้ เ จอ เจ้าตัว เจ้าของกาละแม สูตรเด็ดที่ว่ากันว่าเป็น ถึงสูตรสวรรค์เชียวล่ะ พี่ ฝ น-สายฝ น คชโกสัย ประธานกลุ่ม กาละแมส วรรค์ สู ต ร โบราณ กำลั ง ง่ ว นอ ยู่ กั บ ก ารจั ด อ าหารใ ห้ แก่เหล่าแขกเหรื่อ หัน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
มาบอกว่า อีกแป๊บห นึ่งนะ ประมาณ 30 นาทีแ ล้วค่อย มาใหม่ “เมื่อก่อนกลุ่มแม่บ้านหมู่ 1 เรารวมตัวทำขนม ทองม้วนขายเพื่อเป็นรายได้เสริม แต่ทำเท่าไหร่ก็ไม่ ประสบความสำเร็จสักที เห็น ผู้ใหญ่เขาว่าทำไปแล้ว หาตลาดไม่ได้ จึงได้มานั่งปรึกษากันในกลุ่มว่าจะเอา อย่างไรต่อดี” “พอดี มี ส มาชิ ก ค นห นึ่ ง เ สนอม าว่ า บ้ า นเ รามี มะพร้าวมากและก็กวนกาละแมเป็นกันเกือบทุกบ้าน ทำไมไม่ลองกวนกาละแมขายดู เผื่อจะสำเร็จก็ได้ อีก อย่างตลาดก็น่าจะดีเพราะสามารถขายได้ทั้งงานมงคล งานบวช งานบุ ญ หรื อ แ ม้ ก ระทั่ ง พวกง านอวมงคล ต่างๆ” คุยกับพี่ฝนพักหนึ่ง แกเดินไปหยิบกาละแมมา ให้ลองชิม เชื่อมั้ยจากคนที่ไม่เคยชอบกาละแมมาก่อน เพียงได้ชิมกาละแมที่นี่เท่านั้น “คุณเอ๋ย หอม หวาน มัน ขนาดนี้ใครไม่ชอบก็บ้าแ ล้ว” ชิมจนปากมันเสร็จแล้ว นึกขึ้นได้ว่าม าทำงาน งั้น ต่อเลยนะพี่ฝน แล้วท มี่ าของชอื่ ก าละแมสวรรค์ สูตรโบราณ มีท มี่ า ที่ไปอย่างไร คนในกลุ่มตั้งชื่อเองหรือว่ามีใครมาตั้งให้ จะว่าไปแค่ชื่อนี่ก็การตลาดกินขาดแล้ว
67
68 ต้นยวน
“ตอนปี 2545 ท่าจะได้ หลังจ ากที่สร้างโรงเรือน หม่อมหลวงประทีป จรูญโรจน์ ผู้ว่าราชการจังหวัด สุราษฎร์ธานีในขณะนั้น ได้มาเป็นประธานในงานเปิด กลุม่ และได้ต งั้ ช อื่ ผ ลิตภัณฑ์ข องเราให้ว า่ ก าละแมสวรรค์ สูตรโบราณ “แกบอกกับเราว่ากาละแมที่นี่กินแล้วไม่เหมือน ของใคร หวาน มัน กำลังดี กินแล้วเหมือนได้ขึ้นสวรรค์ ชื่อที่แกตั้งจึงน่าที่จะเหมาะที่สุด” คุยกำลังออกรส เผอิญพี่ฝนต้องกลับไปเตรียม อาหารตอ่ กอปรกบั ต วั ผูเ้ ขียนเองกต็ อ้ งจรลีก ลับไปทโี่ ต๊ะ อาหารประจำตำแหน่ง ก่อนกลับได้บอกพี่ฝนไปว่า “พรุ่งนี้เช้า เจอกัน นะพี่”
การันตีความอร่อยด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์สี่ดาว ตื่นเช้ามาพร้อมๆ กับละอองฝนที่สาดซัดเข้ามา
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
“ฝนจ๋ารอให้งานเสร็จก ่อนแล้วค ่อยตกลงมานะ” เช้าวันนี้...เอ๊ะ ทำไมหน้าตานายกฯเชวง จึงเปลี่ยน ไปจากหนุ่มใหญ่ กลายเป็นสาวรุ่นพี่ไปเสียอย่างนั้น พี่นก-พรทิพย์ ละหารเพ็ชร เจ้าหน้าทีว่ ิชาการ โครงการ ชุมชนสุขภาวะ บอกกับเราว่า “เช้านี้พี่จะเป็นคนนำทาง เอง พอดีน ายกฯติดธ ุระ น่าจ ะตามมาได้ช่วงสายๆ” กลุ่มกาละแมสวรรค์ สูตรโบราณ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำ โรงเรือนเป็นอาคารชั้นเดียว และจะว่าไป แล้ว จากสายตาที่เห็น สีของอาคารนี่ก็ช่างสมกับสีของ โรงเรือนผลิตขนมเสียจริงเชียว ก็เล่นสีชมพูปิ๊งเลยนี่ “เราได้รับบริจาคที่ดินเพื่อสร้างโรงเรือน เมื่อปี 2545 ต่อจากนั้นจึงได้นำเงินปันผลมาต่อเติมโรงเรือน แรกๆ ก็กวนกันด้วยวิธโีบราณใช้เตาหลุมขุดกันเอง กวน กันเอง” “พอมาถึงปี 2548 กาละแมของเราเริ่มมีชื่อเสียง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุราษฎร์ธานี จึงได้ให้งบมา ปรับปรุงโรงเรือน จากเตาหลุมก็มาใช้เตาแก๊สแทนทำให้ กวนกาละแมได้ม ากขนึ้ ทำให้เราสามารถขยายตลาดออก ไปนอกตำบลได้” ไม่ได้ม แี ต่อ าคารเท่านัน้ ท สี่ หี ว านหอม พีฝ่ นเจ้าของ บทสัมภาษณ์เมื่อสักครู่ ก็ส ีสันสดใสไม่แพ้ก ัน บังเอิญโชคไม่ด ที วี่ นั ท ผี่ เู้ ขียนไปเยือน ไม่ม อี อร์เดอร์
69
70 ต้นยวน
สั่งเข้ามา เราจึงได้แต่พูดคุยกันเพียงอย่างเดียวเท่านั้น เลยอดที่จะสัมผัสกลิ่นหอมหวานของการกวนกาละแม เลย เสียดายจริงๆ ส่วนการได้มาซึ่งมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนระดับ สี่ดาวนั้น พี่ฝนเล่าว่า “สาเหตุที่ได้มาตรฐานสี่ดาว น่าจะมาจากการที่ กาละแมของเรามีรสชาติอร่อย หอม ใช้มะพร้าวสด ไม่ ใส่ส ารกันบูด แถมยังกวนสดใหม่ต ามออร์เดอร์ท ี่สั่ง ไม่มี การกวนเก็บไว้ “ตอนที่ไปประกวดนะ กรรมการถามใหญ่เลยว่า เรามีเคล็ดลับอะไร พอจะสอนเขาได้มั้ย พี่บอกว่าจริงๆ กวนกาละแมมนั ไม่ย าก แต่ต อ้ งใช้ใจทำ ของทกุ อ ย่างตอ้ ง สดใหม่ ไม่เอาเปรียบลกู ค้า พีว่ า่ ต รงนอี้ กี อ ย่างทที่ ำให้เรา ประสบความสำเร็จ” อันน ยี้ กสองมอื เห็นด ว้ ยเลยครับว า่ ก าละแมทนี่ สี่ ด ใหม่ ควรค่าแก่รางวัลส ี่ดาวจริงๆ ครับ
ยั่งยืนด ้วยวัตถุดิบท้องถิ่น อีกปัจจัยที่พี่ฝนเล่าให้ฟังว่าทำไมกลุ่มกาละแม สวรรค์ถ งึ ย งั่ ยืน คือ การผลิตก าละแมของคนทนี่ ี่ วัตถ ดุ บิ ส่วนใหญ่ก ว่า 80 เปอร์เซ็นจะเป็นของในพื้นที่ “จะใช้มะพร้าวเฉพาะทมี่ ีในหมู่บ้านเราเอง แรกๆ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ชาวบ้านก็ให้โดยไม่คิดเงิน ต่อมาพอกลุ่มเริ่มมีรายได้ เริ่มเข้มแข็งมากขึ้น ชาวบ้านจึงได้เริ่มคิดค ่ามะพร้าว แต่ ก็ไม่ได้คิดกันแบบราคาบ้าเลือดเหมือนไปซื้อที่อื่น พี่ว่า มันเหมือนต่างคนต่างช่วยเหลือกันมากกว่า “อีกอย่างสมัยก่อนที่ยังใช้ถ่าน กลุ่มก็ไม่ได้ออกไป ซื้อหาจากใครอื่นไหน ซื้อจากตลาดในชุมชนของเราเอง เจตนาของเราคือไม่อยากให้เงินต้องออกไปจากชุมชน” ส่วนตัวคิดว่าตรรกะตรงนี้ถือว่าน่าสนใจและควร เอาเยีย่ งอย่างมาก วัตถุดบิ ในพนื้ ที่ เงินก อ็ ยูใ่ นพนื้ ที่ ความ มั่งคั่งก็อยู่ในพื้นที่ ทุกสิ่งทุกอย่างหมุนเวียนอยู่ในพื้นที่ อย่างนี้จะไม่มั่นคงได้อ ย่างไร ถามต่อไปว่าแล้วในส่วนของการตอบแทนชุมชน กลุม่ ข องพจี่ ดั ก จิ กรรมอะไรบา้ ง หรือก ช็ ว่ ยเฉพาะในเรือ่ ง
71
72 ต้นยวน
การรับซื้อวัตถุดิบอ ะไรต่างๆ เท่านั้น เหมือนไปดูถูกกลุ่มแกที่เหมือนกับว่าจะสนใจแต่ เรื่องเงินทอง พี่แกสวนกลับทันทีทันใด “ยอมรับว า่ เรือ่ งเงินเรือ่ งทองกส็ ำคัญ แต่เรามอี าชีพ หลักอยู่แล้ว ที่ทำตรงนี้ก็แค่อาชีพเสริม มันเหมือนกับว่า ทำไปทำมาเราอยากทจี่ ะอนุรกั ษ์แ ละถา่ ยทอดภมู ปิ ญ ั ญา ให้แก่ลูกหลานมากกว่า” “ตอนนี้ก็ให้คำปรึกษาและนำมาถ่ายทอดองค์ ความรแู้ ก่เด็กน กั เรียนและคณะศกึ ษาดงู านไปหลายกลุม่ แล้ว เราก็ได้แต่หวังว่าเขาจะช่วยกันรักษาภูมิปัญญา ดั้งเดิมของไทยเราไว้”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
สูตรการทำกาละแมสวรรค์สูตรโบราณ บ้านปากน้ำ วัตถุดิบท ี่ใช้ 1.มะพร้าว 20 2.น้ำสะอาดทผี่ ่านการฆ่าเชื้อ 12 3.น้ำตาลโตนด 10 4.แป้งข้าวเหนียว 5 5.ถังใส่ผลิตภัณฑ์
กิโลกรัม ลิตร กิโลกรัม กิโลกรัม
วิธีการทำกาละแมสวรรค์ สูตรโบราณ 1.คัน้ ม ะพร้าวขดู ด ว้ ยนำ้ อ นุ่ ท สี่ ะอาด ซึง่ ม ปี ระมาณ 12 ลิตร 2.ละลายแป้งข ้าวเหนียวกับน้ำกะทิ 3.ละลายน้ำตาลโตนดให้ละลายกับน้ำกะทิ และ แบ่งไว้ส่วนหนึ่งสำหรับใส่เวลาแป้งแข็ง 4.นำน้ำกะทิที่ละลายกับแป้งข้าวเหนียว และ น้ำกะทิที่ละลายกับน้ำตาลโตนด เทรวมผสมกันใน กระทะ และกวนจนกว่าจะเหนียว และใส่น้ำกะทิเพิ่ม จนแล้วเสร็จ
73
74 ต้นยวน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
07 ประวัติศาสตร์กว่าพันปี ที่มาของชุมชนบ้านปากน้ำ “มาถึงบ้านปากน้ำแล้ว พี่ว่าน้องน่าจะเข้าไปกราบไหว้ พ่อท า่ นสมเด็จ วัดป ากตรัง หน่อยนะ จะได้ไม่เสียที อีกอ ย่าง ทีน่ ก่ี เ็ ป็นศ นู ย์เรียนรปู้ ระวัตศิ าสตร์ด ว้ ย พีไ่ ด้ยนิ จ ากนายกฯ มาว่าน้องชอบประวัติศาสตร์ เผื่อน้องจะเอาไปเขียน อะไรต่อได้” ได้ยินเรื่องประวัติศาสตร์ท ีไรเป็นอดใจไม่ได้ ไม่ว ่า จะเป็นประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ราชสำนัก ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ ประวัติศาสตร์ก ารเมือง หรือไม่ ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์อ ะไรก็ตามที ที่สำคัญอยากบอกว่าความอดใจไม่ได้ดังกล่าว ไม่ได้อยู่ในรูปการคลั่งชาติ หรือเที่ยวดูถูกชาติของใคร ต่อใคร ซึ่งเรื่องนี้คงเป็นเรื่องที่คนไทยส่วนใหญ่มักจะไม่ ค่อยเข้าใจ เพราะชาติของเรา บอกแบบไม่กลัวโดนด่า เลย ว่าเป็นชาติที่สอนประวัติศาสตร์ให้เกลียด ให้ดูถูก ชาวบ้านเขาเป็นหลัก ไม่อ ยากจะกล่าววา่ ใครเป็นค นเริม่ ต น้ เพราะอย่าง ที่เคยบอกเรื่องของยุคสมัยหนึ่งก็ควรปล่อยให้เป็นเรื่อง ของยคุ ส มัยห นึง่ เรือ่ งทจี่ ะไปกล่าวหาวา่ ค นยคุ น นั้ ห น้ามืด ตามัวอันนี้ไม่ควร เพราะในอนาคตท่านก็อาจจะโดน
75
76 ต้นยวน
ลูกหลานกล่าวหาในข้อหาเดียวกันก็อาจเป็นได้ แต่ ส ำหรั บ โ ลกยุ ค ปั จ จุ บั น ต ามค วามเ ข้ า ใจอั น น้อยนิดข องตนเองประวัตศิ าสตร์ค วรเป็นเรือ่ งทเี่ ราศกึ ษา หาเหตุปัจจัยแห่งการเปลี่ยนแปลงของสังคม เลือกที่จะ เดินตามในบางเรื่อง เลือกที่จะไม่เดินตามในบางเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องทสี่ ร้างความป่นปี้ให้แ ก่ชาติบ้านเมือง แหม พูดถ ึงประวัติศาสตร์ท ไีร ไปไกลทุกที
พ่อท ่านสมเด็จ ต้นจัน-อิน-พรหม หลักฐ านที่มีตัวตน รถของ อบต. เคลื่อนตัวเข้าเทียบท่าวัดปากตรัง พร้อมเสียงพนี่ กอธิบายทมี่ าทไี่ ปเล็กๆ น้อยๆ อยูพ่ กั หนึง่ ผู้ใหญ่บอง-เกียรติศาสตร์ อ้นเขาวงศ์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำ เดินเข้ามาหาเรา พีเ่ขาพูดคุยกับพี่นกพัก หนึ่ง แล้วจึงหันมาหาตัวต้นเรื่องอย่างเรา พร้อมรอยยิ้ม บางอย่าง “ได้ข า่ ววา่ เป็นน กั เลงประวตั ศิ าสตร์ร ึ ไหนลองบอก ประวัติศาสตร์ต้นยวนเท่าที่น้องรู้มาสิ ผิดถูกยังไงจะได้ แก้ไขกันให้ถูกต้อง ตัวพี่เองก็ไม่ใช่นักประวัติศาสตร์แต่ ก็พอมีความรู้อยู่บ้าง อาศัยฟังเอาจากปราชญ์ชาวบ้าน ที่นี่นั่นแหละ” เอาแล้วไง บทจะดกี ด็ ไี ป แต่ถ า้ ไปงๆ ู ปลาๆ สงสัย ว่าจะหน้าแตกหมอไม่รับเย็บแน่ ประวัติศาสตร์ภาคใต้
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ด้วยแล้ว แทบจะใบ้ก ินทเีดียว “ก็รู้พอคร่าวๆ ครับ เช่น ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 13-19 สุราษฎร์ธานีเป็นส่วนหนึ่งข องอาณาจักรศรีวิชัย หรืออย่างในช่วงสงครามเก้าทัพก็มีตำนานบางส่วนที่ กล่าววา่ บ รรพบุรษุ ข องคนตน้ ย วนอาจจะเป็นน กั รบทเี่ ป็น กำลังส ำคัญสมัยสงครามเก้าทัพ” พี่บองพยักหน้ารับ พร้อมเล่าต่อว่า “รู้มาพอ สมควรนี่ อย่างนี้คงพอปะติดปะต่อเรื่องถูก จากการ สืบเสาะของปราชญ์ชาวบ้าน มีก ารสันนิษฐานว่าในสมัย 1200-1800 พืน้ ทีน่ เี้ คยเป็นศ นู ย์กลางในการแลกเปลีย่ น สินค้าแ ละการสญ ั จรระหว่างเมืองตะกัว่ ป่าแ ละบา้ นดอน หรือเส้นทางสัญจรคาบสมุทรของคนฝั่งอันดามันและฝั่ง อ่าวไทย “หรือก เ็ ป็นท เี่ ข้าใจได้ว า่ บ า้ นปากน้ำเป็นช มุ ชนเริม่ แรกของชาวตน้ ย วน ส่วนทนี่ อ้ งวา่ ม นี กั รบบางคนในสมัย สงครามเก้าทัพเป็นบรรพบุรุษข องเรา อันนี้พี่ไม่ร ู้จริงๆ” ทีป่ ราญช์ท อ้ งถนิ่ ส นั นิษฐานกถ็ อื ว่าต รงกบั ช ว่ งสมัย ของอาณาจักรศรีวิชัยอย่างที่ศึกษามาพอดี อันนี้น่าจะ ตรงกัน ส่วนเรื่องนักรบสงครามเก้าทัพนั้น อย่างที่กล่าว ไปแล้ว อ่านมาจากตำนานสงครามเก้าทัพ อันนี้ก็คงมีที่ คลาดเคลื่อนกันไปบ้าง ขอสันนิษฐานต่อว่า เหตุที่ตรงนี้กลายเป็นชุมชน
77
78 ต้นยวน
ก็น่าจะเนื่องมาจากเป็น พื้ น ที่ ที่ เ ป็ น จุ ด รวมข อง น้ ำ ที่ ไ หลม าจ ากค ลอง แสงแ ละค ลองส ก มา บรรจบเป็นแม่น้ำพุมดวง อั น นี้ ห ากพิ จ ารณาต าม หลักการสร้างบ้านแปลง เมืองของคนสมัยโบราณ แล้วก็ยิ่งน่าจะเป็นไปได้ ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ เพราะมีหลักฐานอยู่ทนโท่ ทั้ง วั ด ป ากต รั ง ทั้ ง ต้ น จั น -อิ น -พรหม ทั้ ง เ ศษถ้ ว ยแ ก้ ว เครื่องปั้นดินเผาต่างๆ ทีล่ ้วนแล้วแต่ม ีอายุกว่าพ ันปี ถ้า ไม่เคยมชี ุมชนอยู่จริงแ ล้วสิ่งเหล่านี้จะมาจากไหน ขอแซวนักประวัติศาสตร์สายพงศาวดารหน่อย สายนั้นคงไม่พ้นอิทธิปาฏิหาริย์ของกษัตริย์ไม่องค์ใดก็ องค์หนึ่งเป็นแน่
บูรณะด้วยแรงศรัทธา ที่มาของศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์ เดินส ำรวจรอบวดั ก ลับม าพร้อมกบั ค วามสงสัย วัด อายุกว่าพันปีคร่าวๆ จากอายุ ตอนนี้ก็ไม่น่าจะมีอะไร เหลือเท่าไรนัก แล้วที่เห็นนี่มันรูปแบบของวัดสมัยใหม่ ใครกันนะที่เข้ามาบูรณะ แล้วบูรณะช่วงไหน สงสัยคง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ต้องอาศัยท างลัดเสียแล้ว “พี่บองครับ รบกวนช่วยเล่าประวัติการบูรณะวัด เพิ่มเติมห น่อยได้ม ั้ย พอดีอ ยากได้ข้อมูลไปเขียนหนังสือ ต่อ” “จากเรื่องเล่าของคนในท้องถิ่น ประมาณปี พ.ศ. 2400 มีคนมาพบวัดร้าง และชาวบ้านเห็นว่าถ้าทิ้งไว้ อย่างนี้เกรงจะมีคนมาครหานินทาว่า ชาวบ้านปากตรัง หรือปากน้ำไม่สนใจไยดีพระพุทธศาสนา จึงได้มีการ ช่วยกันซ่อมแซมวัดให้กลับมามีสภาพดีดังเก่า เสร็จแล้ว จึงดำเนินการจดทะเบียนวัดกับกรมศาสนาให้เป็นที่ถูก ต้อง “เหตุการณ์ที่สำคัญที่สุดคงเป็นปี พ.ศ. 2500 ที่ ชาวบ้านจ้างให้ช่างเข้ามาหุ้มพระที่องค์พ่อท่านสมเด็จ และบูรณะองค์พระให้อยู่ในสภาพทดี่ ี ต่อจากนั้นก็มีการ บูรณะเรื่อยมาโดยเฉพาะการบูรณะโบสถ์ใหม่เพื่อที่องค์ พ่อท่านสมเด็จจะได้ไม่ต ้องตากแดดตากฝน” ถึงต รงนพี้ บี่ องหน้าตาเคร่งเครียดขนึ้ ม าทเี ดียว “พี่ มีเรื่องเล่าต ่อ” “หลังจากที่ชาวบ้านจ้างช่างมาหุ้มองค์พ่อสมเด็จ เรียบร้อย เมื่อไม่น านมานี้เองคิดว่าป ี 2544 เห็นจะได้ มีช าวบา้ นบางสว่ นทไี่ ม่เชือ่ ว า่ ในองค์พ ระมพี อ่ ท า่ นสมเด็จ องค์จริงอยู่ คนพวกนี้รวมตัวกันส่งหนังสือไปยังกรม
79
80 ต้นยวน
ศิลปากรเพือ่ ให้ม ากระเทาะอ งค์ท า่ นเพือ่ พ สิ จู น์ค วามจริง น้องคิดดูใครจะไปยอม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของใครใครก็รัก เรา ชาวปากน้ำย อมไม่ได้ห รอก ทะเลาะกนั อ ยูห่ ลายปเี หมือน กัน ในที่สุดกรมศิลป์ฯ จึงยอมถอยไปเอง” ผูเ้ ขียนคดิ ว า่ เรือ่ งนกี้ ค็ งลำบากทงั้ สองฝ่าย กลืนไม่ เข้าค ายไม่อ อก เรือ่ งของศรัทธาบางครัง้ เรากต็ อ้ งฟงั เสียง ส่วนใหญ่ข องชาวบ้าน จะให้เอาอำนาจรัฐไปหักด ้ามพร้า คงเจ็บปวดทั้ง 2 ฝ่าย หลังจากมีการบูรณะวัดอย่างต่อเนื่องทำให้วัด ปากตรังเป็นท ร่ี จู้ กั ม ากขน้ึ จึงเริม่ ม บี คุ คลภายนอกทง้ั ภ าครฐั แ ละเอกชนรวมถงึ ป ระชาชนทวั่ ไปเข้าม าศกึ ษาดงู านและ หาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ ณ วัดป ากตรัง กระทั่งเมื่อปี 2553 นีเ้ องทอี่ งค์การบริหารสว่ นตำบลตน้ ย วนยกระดับ ให้วัดปากตรังเป็นศูนย์การเรียนรขู้ องตำบล
แรงจูงใจที่ขาดหาย อุปสรรคการอนุรักษ์ ทีโ่ ต๊ะม า้ น งั่ ห น้าโรงธรรม ใต้ต น้ จ นั -อิน-พรหม หลัง จากพูดคุยที่มาที่ไปของศูนย์เรียนรู้ประวัติศาสตร์เป็นที่ เรียบร้อย จึงได้พูดคุยต่อกับพี่บองถึงปัจจัยที่ทำให้การ ทำงานประสบความสำเร็จ “สมัยที่เราทำงานมีผมเป็น ผู้นำชุมชน ทำงาน ร่วมกับคณะกรรมการที่ชุมชนคัดเลือกขึ้นมา โดยเราจะ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ทำงานร่วมกับคณะกรรมการวัด มีการประชุมชี้แจงการ ดำเนินงานและร่วมกันวางแผนการปฏิบัติงานกันโดย ตลอด “ปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสำเร็จคงอยู่ที่ความไว้ วางใจของชาวบา้ นทมี่ ตี อ่ แ กนนำและคณะกรรมการวดั ท ี่ โปร่งใส ตรวจสอบได้ท ุกขั้นตอน อีกอย่างการมีส่วนร่วม ของชาวบ้านเป็นสิ่งที่จะมองข้ามไม่ได้เป็นอันขาด” ครบถ้วนกระบวนการทุกขั้นตอนการพัฒนา แต่ เหมือนมอี ะไรที่ขาดหายไปยังไงก็ไม่รู้ เด็กแ ละเยาวชนหายไปไหน...นัน่ ส ิ ไม่เห็นพ บี่ องพดู เลยว่าเด็กๆ ในชุมชนเข้ามามีบทบาทอย่างไรบ้าง “จริงๆ ทีมง านของเรากแ็ บ่งพ นื้ ทีใ่ นสว่ นใต้ต น้ จ นั อิน-พรหม ไว้ให้กับลูกหลานได้ม ีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ นะ แต่ตอนนี้ในเรื่องอนุรักษ์เราขาดเรื่องของแรงจูงใจ จริงๆ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน ทั้งๆ ที่ผู้ใหญ่ ในชุมชนต่างพยายามเข้าไปสัมผัสกับกลุ่มวัยรุ่นทั้งหมด ที่มีอยู่ ว่าวัยรุ่นก ลุ่มนี้ต้องการอะไร จากนั้นก็ใช้ข้อมูลตัวนี้ไปสร้างแรงจูงใจให้เข้ามา ร่วมงานกับเรา สื่อสมัยใหม่นี้ก็มีส่วนที่ทำให้เด็กไม่เห็น คุณค่าส ิ่งทมี่ ีอยู่ในชุมชน ตรงนี้ผมกลัวม ากๆ เลย” ตรงนี้คงไม่ใช่หน้าที่ของใครเพียงลำพังคนเดียว แล้ว ผู้เขียนคิดว่าต่อปัญหานี้ คงจำเป็นที่สังคมไทย
81
82 ต้นยวน
โดยองค์รวมต้องหาหนทางถ่ายทอดความรู้สึกรักและ หวงแหนในทรัพยากรของชุมชนเพื่อไม่ให้มลายหายไป ตามกาลเวลา รัฐ อีกอ ุปสรรคที่คาดไม่ถึง อีกหนึ่งอุปสรรคการอนุรักษ์ที่ไม่ว่าใครต่อใครก็ คงคาดไม่ถึง อำนาจรัฐจากส่วนกลางนี่แหละตัวดีแห่ง การทำลาย ฟังง่ายเชื่อยาก แต่นี่คือสิ่งที่ออกมาจาก ปากผู้ใหญ่บ ้าน ผู้ซึ่งที่จริงแ ล้วก็เป็นเจ้าห น้าทีร่ ัฐคนหนึ่ง เสียด้วยซ้ำ “หน่วยงานภาครัฐนี่ตัวดีเลย จะพัฒนาหรือไม่ พัฒนาอยู่ที่ภาครัฐ บางทีทางภาครัฐสั่งลงมา ท้องถิ่น ต้องทำอย่างนนั้ อ ย่างนนี้ ะ แต่ไม่เคยถามชมุ ชนวา่ ต อ้ งการ หรือไม่ ดีแต่สั่ง พอมีผลเสียเกิดขึ้นมาผลกระทบถึง ท้องถิ่นก ่อนทันที “อย่างการตัดถนนในหมู่บ้าน ก็ไม่มีการมาศึกษา ผลกระทบต่อศูนย์เรียนรู้ว่าจะเกิดความเสียหายอย่างไร ทัง้ ต น้ ไม้ใหญ่ท ถี่ กู ต ดั ทัง้ ฝ นุ่ แ ละควันท เี่ ข้าไปทำลายภาพ ฝาผนัง อันนี้การพัฒนามันคือการทำลายโดยตรง” ได้ฟังแล้วก็อดพยักหน้าตามไม่ได้ อันนี้เป็นเรื่อง จริง เพราะการพัฒนาในหลายๆ ครั้ง ทีร่ ัฐคิดว่าสิ่งที่ทำ อยูจ่ ะกอ่ ป ระโยชน์แ ก่ส าธารณชนโดยสว่ นรวมนนั้ แท้จริง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ยังมีคนส่วนน้อยบางส่วนต้องมารับผลกรรมนั้นไป ไม่ ใ ช่ เ พี ย งแ ต่ ใ นป ระเทศก ำลั ง พั ฒนาอ ย่ า งใ น เมืองไทยแล้วเท่านั้น ในประเทศโลกที่หนึ่งที่ว่ากันว่ามี มาตรฐานชวี ติ ส งู ส่ง เวลารฐั จ ะทำอะไรตอ้ งถามประชาชน ก่อน ก็หลีกหนีไม่พ ้นปัญหาที่ว่าน ี้ด้วยเหมือนกัน
83
84 ห น อ ง โ ร ง ส วั ส ดี
นทธี ศศิวิมล
08 เรื่องกล้วยๆ ที่แสนอร่อย
85
86 ต้นยวน
เสร็จจากวัดปากตรัง พี่นกบอกว่านายกฯจะตามไป สมทบทบี่ า้ นพวี่ รรณดี ศักดา ซึง่ พ นี่ กตัง้ ใจวา่ ห ลังจ ากคยุ เรื่องเครียดไปแล้ว เราก็น่าที่จะไปหากิจก รรมเบาๆ เพื่อ ผ่อนคลายสมองบ้าง “ก็ดีนะพี่ สงสัยสมองน้องคนนี้ท่าจะแฮงค์ซะแล้ว ว่าแต่พจี่ ะพาไปเที่ยวที่ไหนเหรอ” “ใช้ส มองเยอะแบบนี้ ไปหาขนมกนิ เพือ่ เพิม่ น ำ้ ตาล น่าจะเหมาะ งั้นเราไปทกี่ ลุ่มกล้วยฉาบกันดกี ว่า” ระหว่างที่สนทนาอยู่นั้น น้องผู้ช่วยพี่นกก็ขับพา ลัดเลาะไปตามเส้นทางที่ตัดผ่านไร่สวนการเกษตรของ ชาวบ้าน บางทีก็ผ่านภูเขาหินปูนขนาดใหญ่ จังหวะ เดียวกันเหลือบไปเห็นซากปรักหักพ ัง ดูแล้วน ่าจะเป็นที่ อยู่อาศัยข องชาวบ้านแถวนี้ แต่เอ๊ะ! เกิดอ ะไรขนึ้ ท ำไมบา้ นหลังน นั้ ถ งึ พ งั ท ลาย ลงมาจากยอดเขาได้ “พีแ่ อบได้ยนิ น ายกฯ เล่าให้น อ้ งฟงั เมือ่ ว าน ว่าทีน่ ี่ นอกจากมีปัญหาเรื่องน้ำแล้ว ยังมีปัญหาเรื่องดินถล่ม บ้านหลังท เี่ ราเห็นเมือ่ ต ะกีน้ กี้ เ็ ป็นอ กี ห ลังท ถี่ กู ด นิ ถ ล่มพ ดั เข้าใส่ บ้านของน้องผู้ช่วยพี่ก็โดน ตอนนี้ยังซ ่อมไม่เสร็จ เลย รอบใหม่ก ็กำลังจะมา” โชคชะตาบางครั้งก็เล่นตลกกับเราอย่างนี้ เป็น คนดี ขยันทำงาน ไม่ก ินเหล้า ไม่เล่นการพนัน แต่ก็ต้อง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
มาหมดตัวเพราะภัยพิบัติ เอาอีกแล้ว เครียดอีกแล้ว ก็เรื่องมันน่าเศร้า จริง มั้ยครับ
จากของเหลือทิ้ง สู่โอท็อปตำบล “เป็นไงบา้ ง ได้ข า่ ววา่ ไปคยุ เรือ่ งเครียดๆ กับผ ใู้ หญ่ บองมา งั้นมานี่ เดี่ยวพี่แนะนำให้ร ู้จัก พี่วรรณดี ศักดา เจ้าของไอเดียกล้วยฉาบน้ำตาล รับรองคนนี้คุยสนุก ไม่ ซีเรียส” เหมือนรู้เลยว่าภาคเช้าต้องไปเจออะไรหนักๆ นายกฯเชวง เลยมานั่งรอเราที่นี่ กลุม่ เพิม่ ม ลู ค่าผ ลผลิตท างการเกษตร (กล้วยฉาบ) ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ 4 บ้านป่ากวด ซึ่งหากไม่มีป้ายศูนย์
87
88 ต้นยวน
เรียนรตู้ ดิ ไว้ก ค็ งไม่รู้ เพราะวา่ ล กั ษณะทมี่ องจากภายนอก เข้าไป ก็บ้าน 2 ชั้น ธรรมดาๆ ไม่เห็นจะมีเครื่องมือ สำหรับแ ปรรูปอะไรตั้งโชว์เลย พักหนึ่งเห็นนายกฯหยิบขนมอะไรสักอย่างขึ้นมา เคี้ยว เสียงกรอบๆ อืม ถูกบ้านแล้ว ไม่ต ้องสงสัยอะไรอีก “เรื่องของเรื่องมันมาจากที่ชาวสวนกล้วยปลูก กล้วยหอมทองส่งขายนอก แล้วกล้วยบางส่วนที่ไม่ได้ มาตรฐานพ่อค้าคนกลางไม่ยอมรับซื้อ บอกว่ามีสาร เคมีตกค้างบ้าง ไม่ได้ขนาดบ้าง ชาวสวนอย่างเราก็ไม่รู้ จะเอาไงดี สุดท้ายก็เลยต้องปล่อยให้เน่าเสียทิ้งเปล่า ประโยชน์”
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
“เราไปโทษพอ่ ค้าค นกลางเขาไม่ได้ในเรือ่ งนี้ สินค้า ส่งออกนี่ต้องมีมาตรฐาน จะให้เขาเอาของไม่ดีไปขาย เขาก็เสียลูกค้า เรื่องแบบนี้เกษตรกรชาวไทยทุกคนพึง ทราบเลยว่า หากอยากจะส่งของขายนอก ต้องมั่นใจ เรื่องมาตรฐาน” มาฟังเรอื่ งเล่าของพี่วรรณดกี ันต่อดกี ว่า “ในปี 2546 ชาวสวนกล้วยทนภาวะการขาดทุน ไม่ไหว คิดแล้วว่าต้องหาช่องทางเพิ่มมูลค่ากล้วยที่ถูก คัดทิ้ง พวกกลุ่มแม่บ้านจึงมีแนวความคิดว่าลองเอามา ทำกล้วยฉาบน้ำตาลดูน่าจะเหมาะ แรกๆ ก็ทำแจกกัน ในครอบครัวและเพื่อนบ้าน ลองผิด ลองถูกกันเอง จนเริ่มเป็นที่ติดปากของ คนในชุมชน จึงได้รวมกลุ่มกัน ผลิตกล้วยฉาบน้ำตาล ขาย
ลงหุ้นเพียงคนละ 100 วิสาหกิจที่จับต้องได้ “กรอบ กรอบ อร่ อ ยจริ ง ส มชื่ อ พี่ อย่ า ว่ า ไ ม่ สุภาพนะ ขอกินไปคุยไปแล้วก ัน” ไม่ รู้ ว่ า เ ต็ ม ใจไ ม่ เ ต็ ม ใจแ ต่ มั ด มื อ ช กพี่ ว รรณดี ไปแล้ว “หลังจากที่กล้วยของเราเริ่มเป็นที่นิยม เกษตร อำเภอไ ด้ เ ข้ า ม าแ นะนำใ ห้ จั ด ตั้ ง ก ลุ่ ม ขึ้ น แ ละท ำการ
89
90 ต้นยวน
จดท ะเบี ย น ก ลุ่ ม เป็ นวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ตอนนั้ น ล งทุ น กั น คนละหนึ่งร้อยบาท ต่อหุ้น สมาชิกกลุ่มก็ พอรับได้ และก็ไม่รู้ เป็ น อ ะไรพ อตั้ ง ก ลุ่ ม เท่านัน้ กล้วยฉาบของเรายงิ่ ข ายดขี นึ้ ม าทนั ที เวลาใครมา ต้นย วนก็จะถามหากล้วยฉาบบ้านป่ากวดกันทั้งน ั้น” เห็นไหมว่าการลงทุนสมัยนี้เราไม่ต้องบ้าเลือด ลงทุนเป็นหลักหมื่นหลักแสน เพียงแต่ต ้องรู้จักรวมกลุ่ม รู้จักหาพวกพ้อง สร้างเครือข่ายระหว่างคนในชุมชนเป็น อันดับแรก เพียงเท่าน ี้ท่านก็จะเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจได้ ใช่ว่าการดำเนินการจะราบรื่น พี่วรรณดีแกเล่าว่า ก็มีบางช่วงที่แย่ไปเหมือนกัน แต่โชคดีที่ อบต.ต้นยวน เข้ามาสนับสนุนงบให้กลุ่มยังดำเนินกิจกรรมต่อได้ “ตอนปลายปี 2547 ต่อต้นปี 2548 เกือบจะแย่ ดีท ไี่ ด้ร บั เงินม าชว่ ยสนับสนุน หลังจ ากนนั้ อ กี ป กี ล้วยฉาบ ของเรากไ็ ด้เข้าจ ดทะเบียนเป็นส นิ ค า้ โอทอ็ ปตามนโยบาย ของรัฐ” “จุ ด พ ลิ ก ผั น ข องก ลุ่ ม อ ยู่ ที่ ปี 2552 เราเขี ย น โครงการไปของบประมาณสนับสนุนจากรัฐแต่ถูกตีกลับ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
จึ ง ท ำให้ ส มาชิ ก บางคนถอนหุ้นไป และเหมือนโชคดี ครัง้ ท ่ี 2 อำเภอพนม เข้ า ม าสนั บ ส นุ น งบ 80,000 บาท หลั ง จ ากนั้ น ม า เราก็ ไ ม่ มี ปั ญ หา การเงินอีกเลย” ก็ต อ้ งนบั ว า่ ในบางเรือ่ ง คนยคุ ปัจจุบนั โชคดกี ว่าค นในอดีตท มี่ ชี อ่ งทาง มีห น่วยงานภาค รัฐเข้ามาสนับสนุนในยามทเี่กือบจะล้ม แต่อันที่จริงหาก ยืนได้ด้วยตัวเองก็น่าจะดีกว่า
ซื่อสัตย์ เสียสละ เงื่อนไขจำเป็น ถามพี่วรรณดีไปว่า “เหมือนกลุ่มของพี่ไม่ค่อย มัน่ คงเท่าไหร่ ต้องคอยวงิ่ ห างบประมาณมาสนบั ส นุน อยู่ เรือ่ ยๆ แต่แ ปลกทที่ กุ ห น่วยงานกพ็ ร้อมทจี่ ะยนื่ ม อื เข้าม า เสมอ ตกลงพี่มีของดใีช่มั้ย” “ที่คนเขามาช่วยเหลือตลอด จริงๆ แล้วไม่ดีเลย แสดงว่าเรายังไม่เข้มแข็ง ส่วนที่มีคนเข้ามาช่วยเหลือ
91
92 ต้นยวน
ตลอดนี่ พี่ก็ไม่ได้มีของดีอะไรนะ อาจจะเป็นเพราะว่า ทั้งพี่และแกนนำคนอื่นๆ มีความซื่อสัตย์ รับปากอะไร กับใครแล้ว เรารักษาสัญญาตลอด “อีกอย่างคงเพราะทำงานด้วยความตั้งใจและ เสียสละ และคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ด้วย คนเขาจึงคิดว่า สนับสนุนไปก็ไม่ส ูญเปล่า” ปรบมอื ให้ก บั ค วามคดิ เท่ๆ ทีว่ า่ “คนเขามาชว่ ยเหลือ ตลอดนี่จริงๆ แล้วไม่ด ีเลย แสดงว่าเรายังไม่เข้มแข็ง” “พี่กับนายกฯ ขอเสริมตรงนี้หน่อยนะ น้องไม่ต ้อง กลัวหรอกว่าพวกกลุ่มอาชีพในต้นยวนจะทำโครงการ ขึ้นมาหลอกหน่วยงานรัฐ คือเรารู้เราเห็นว่าใครเป็นยังไง คนบ้านเดียวกันยังไงก็ดอู อก “เราสนับสนุนเพราะอยากให้ช าวบ้านได้อยู่ดีกินดี
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
อย่างกลุม่ ข องพวี่ รรณดตี อนนกี้ ย็ นื ด ว้ ยลำแข้งได้แ ล้ว คือ ถ้าให้ท ุนไปแล้วช าวบ้านเขาทำต่อได้ยังไงก็คุ้ม” ได้ยินพี่นกพูด พลางคิดไปว่า ชาวต้นยวนนี่เขา มีของจริงๆ
93
94 ต้นยวน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
9 นางไพรเมืองใต้
95
96 ต้นยวน
“พีเ่ วง พีน่ ก ตัง้ แต่อ อกจากกรุงเทพฯเมือ่ ค นื ก อ่ น นัง่ ร ถไฟ ม าทงั้ ค นื พอมาถงึ ก ต็ ระเวนรอ่ น ทัว่ ต น้ ย วนมาจะ 2 วันแล้ว ตอนนี้ ผ มไ ม่ ไ หวแ ล้ ว ปวดเ มื่ อ ยเ นื้ อ ตั ว ไ ปห มดเ ลย อย่างนี้ดีมั้ย ศูนย์เรียนรู้ที่ต่อไปพี่พาผมไปหาที่นวด คลายเส้นดกี ว่า” บอกตามตรง ณ ช่วงเวลานั้นความ งอแงเริ่มเข้าครอบงำ เหตุจาก เป็นทริปที่เดินทางมาไกล พอสมควร แถมพอมาถึง ยังซ่า รบเร้าให้นายกฯ เชวง พาไปโน่นไปนี่ โดย ไม่ดูสังขารตัวเองว่าไม่ได้ อึดและทนเหมือนสมัย เป็นวัยรุ่น แนะนำน ะค รั บ หากท่ า นไ ม่ ไ ด้ อ าศั ย น ก เหล็กมาที่สุราษฎร์ฯ จาก ประสบการณ์ต รง (อีกแ ล้ว) เวลาม าต้ น ย วนอ ยากจ ะ บอกว่าร บกวนค่อยๆ เที่ยว เถอะ อย่าได้หักโหมเก็บ แต้มว่าจะไปให้ได้มากที่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
ที่สุด ค่อยๆไป ค่อยๆ เที่ ย ว แล้ ว ท่ า นจ ะ รู้ ว่ า ต้ น ย วนมี เ สน่ ห์ มากกว่าที่คิด เมื่อข อ – มีหรือ ที่คนใจดีอย่าง พี่นก และพี่เวง จะไม่ให้ พี่ทั้งสองพาผู้เขียนย้อนกลับมาที่ หมู่ 8 บ้านเขานาใน ทีแรกก็นึกว่าจะพามานอนพัก ให้หายเหนื่อยที่ชมรมชีววิถเีสียอีก เปล่าค รับพี่เขาพามาหาหมอ “หมอนวด”
70 ยังแจ๋ว ที่มาของกลุ่มนางไพร หมอนวดที่ว่า ไม่ใช่หมอนวดในความหมายลบ เหมือนที่ใช้กันในวงการนักเที่ยวกลางคืน หากแต่เป็น หมอนวดแ ผนโ บราณมื อ ฉ มั ง ชนิ ดที่ ว่ า ห มอนวดใ น กรุงเทพฯ เทียบไม่ติด (พีเ่วงเขาว่าม าอย่างนั้น) มาจนถึงที่แล้ว อีกอย่างปวดคอจนแทบจะทำงาน ต่อไม่ได้ ยิ่งนึกถึงคืนนี้ต้องนั่งรถไฟกลับกรุงเทพฯด้วย แล้ว คลายเส้นซ ะหน่อยนา่ จ ะเป็นการดี พีห่ นูเรียง จีนจ ดู ประธานกลุ่มนางไพร เดินตรงดิ่งมาหาพร้อมกับบอก “นอนลง นอนลง” “แหมพี่ เพิง่ เจอกนั ม าบอกให้น อนลงๆ เอาอย่างนี้
97
98 ต้นยวน
ดีก ว่าม ยั้ ก่อนทพี่ จี่ ะนวดให้ผ ม เรามาคยุ ป ระวัตขิ องกลุม่ นางไพรกันสักนิดมั้ย จะได้ได้ง านด้วย” ขณะที่มือเริ่มจับเส้นที่ต้นคอ ปากของพี่แกก็ขยับ ตาม “พูดไปก็แทบไม่ น่าเชื่อ เมื่อ ก่อนกลุ่ม แม่บ้าน เขานาในเรามีสินค้าหลักเป็นดอกไม้เกล็ดปลา แต่ทำไป ทำมาก็ขาดทุน สมาชิกเลยมานั่งคุยกันว่าจ ะเอาไงต่อดี “คุยไปคุยมาก็คิดขึ้นมาได้ที่หมู่บ้านเรามีสมุนไพร เยอะ อีกอย่างไปเห็นคุณลุงคนหนึ่งอายุกว่า 70 ปี แต่แข็งแรงมาก เพราะว่าแกกินสมุนไพรทุกวัน เราก็คิด ว่าเรือ่ งสมุนไพรนมี่ นั น า่ ส นใจนะ ลองดสู กั ต งั้ ก ไ็ ม่เสียห าย เราจึ ง ไ ด้ ติ ด ต่ อ ใ ห้ ลุ ง แ กเ ข้ า ม าถ่ า ยทอดค วามรู้ เ รื่ อ ง สมุนไพร”
ลูกประคบสมุนไพร ภูมิปัญญาจากลุงพลังม้า พาดหัวพาเสียวแบบนี้ กลัวจะมีคนไปเลียนแบบ คุณลุงท่านนั้นจัง แต่หากมีใครเอาเยี่ยงเอาอย่างกถ็ ือว่า ไม่ผิดกฎระเบียบของสังคม ก็ยาโด๊ปที่แกใช้ไม่ใช่พวก สารเสพติดอะไรสักหน่อย เป็นบรรดาสมุนไพรพื้นบ้าน ต่างหาก ส่วนใครจะทนความเผ็ดร้อนหรือได้ผลมิได้ผล ประการใด อันนี้ทั้งพี่หนูเรียงรวมถึงผู้เขียนก็มิสามารถ
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว
รับประกันผลได้ ส่วนเรื่องของคุณลุงท่านนั้นมีอยู่ว่า... อย่างทที่ ราบกนั ว า่ ล งุ ค นทพี่ หี่ นูเรียงตดิ ต่อม าสอน เรือ่ งสมุนไพร แกอายุก ว่า 70 ปีแ ล้ว และชาวบา้ นกเ็ ชือ่ ว า่ ที่แกอายุยืนเพราะว่าแกชอบกินสมุนไพร เรื่องของเรื่อง ไม่ได้อยู่ตรงนั้น แกยงั ม เี รือ่ งไม่ธ รรมดาอกี คือ แกมเี มียเด็กแ ถมยงั มีน ้ำยา ชาวบ้านเห็นดังนั้นจึงเริ่มสนใจสมุนไพรมากขึ้น “นอกจากเตะปี๊บด ังแล้ว ในเรื่องการรักษา ลุงแก ยังไม่ธรรมดา อย่างเวลาแม่ยายไม่สบาย แกจะทำ ลูกประคบขึ้นมาเพื่อใช้รักษา พี่เห็นแล้วก็คิดว่า...อืม ลูกป ระคบนแี่ หละนา่ ส นใจดี กลุม่ จ งึ ได้ท ำลกู ป ระคบขาย
99
100 ต้นยวน
ตั้งแต่ปี 2544”
ล้มแล้วลุกชีวิตยังมีพรุ่งน ี้เสมอ “ตั้งแต่ปี 2544 กลุ่มลูกค้าหลักจะเป็นเครือข่าย โรงพยาบาลในเขตจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่จังหวัดกระบี่ พังงา ระนอง และปี 2546 กลุ่มก ็ได้ทำลูกประคบแทน ดอกไม้เกล็ดปลาอย่างถาวร “พอลูกประคบสมุนไพรของเราเริ่มมีชื่อเสียงมาก ขึ้น ได้รับการยอมรับมากขึ้น พี่และคณะกรรมการคิด ว่าควรจะไปจดเป็นสินค้าโอท็อปเพื่อทจี่ ะเป็นที่รู้จักแพร่ หลาย และได้เปลี่ยนชื่อจากกลุ่มประคบสมุนไพรเป็น กลุ่มนางไพร” แกคงเล่าได้ร สไปหน่อย จังหวะนั้นแ กจับเส้นท คี่ อ เสียจ นผู้เขียนสะดุ้ง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 101
เหมื อ นจ ะก ำลั ง ไ ปไ ด้ ส วย ไปไ ด้ ดี แต่ ใ นทุ ก โอกาสมักมีอุปสรรคเสมอ กลุ่มนางไพรก็ไม่พ้นชะตา กรรมนั้น การผลิตลูกประคบต้องชะงักงันลงหลังเกิด เหตุ ก าร ณ์ สึ น ามิ ใ นพื้ น ที่ แ ถบช ายฝั่ ง อั น ดามั น กลุ่ ม นางไ พรจึ ง เ หลื อ ต ลาดร องรั บ เ พี ย งแ ห่ ง เ ดี ยว ได้ แ ก่ โรงพยาบาลพนม ตูน บอดสี้ แ ลม เคยกล่าวไว้ว า่ ช วี ติ ย งั ม พี รุง่ น เี้ สมอ หลังจากประสบปัญหาจากภัยสึนามิ ในปี 2549 กิจการ ลูกประคบของกลุ่มนางไพรเริ่มฟื้นตัว กอปรกับได้รับ ออร์เดอร์สั่งซื้อจากกลุ่มลูกค้าเดิม กลุ่มของพี่หนูเรียง ถึงกลับมาลืมตาอ้าปากได้อ ีกครั้ง “หลังภัยสึนามิมีหลายหน่วยงานเข้ามาให้ช่วย เหลือ ทั้งให้เงิน ทั้งฝึกอบรมเพิ่มเติม ตอนที่เริ่มฟื้นมี ตัวแทนจากญี่ปุ่นเข้ามาติดต่อว่าจะสั่งซื้อเดือนละ 500 ลูก เสียดายที่ศักยภาพของเราในตอนนั้นยังไม่พอจึงได้ ปฏิเสธไป “ตอนน้ีเรามีสินค้าอีกตัว คือ ลูกประคบไก่ชน
102 ต้นยวน
ทำให้มีตลาดเพิ่มขึ้นและมีรายได้เพิ่ม กลุ่มจึงขยาย กิจการให้หลากหลายขึ้น เช่น ออมทรัพย์ เลี้ยงปลาดุก รับทำอาหาร และล้างจานในงานต่างๆ ชีวิตตอนนี้ถือ ว่าโอเคแล้ว” มีบ อกมี หมดบอกหมด ไม่เอาของทอี่ นื่ ม าประทับ ตราขาย ฝีมือการนวด การประคบของพี่หนูเรียงนับว่าไม่ เป็นสองรองใครทีเดียว ถึงผู้เขียนจะไม่ได้มีงานอดิเรก เป็นการเข้าร้านนวดก็ตามที แต่จากประสบการณ์ตรงที่ นักเขียนรุ่นพี่ท่านหนึ่งเคยพาไปตระเวนนวดอยู่หลายๆ ร้านนั้น บอกได้คำเดียว หมอนวด (แผนโบราณ) ใน กรุงเทพฯฝีมือไม่มที างกินแกได้เลย ในตอนที่จะออกจากบ้านพี่หนูเรียงถามแกไปว่า ตอนอยู่ที่กรุงเทพฯจะหาซื้อได้ทไี่หน แล้วม ีของปลอมที่ ตีตราของกลุ่มนางไพรไปขายบ้างมั้ย หรือว่าต้องลงมา ซื้อที่นอี่ ย่างเดียว “ตอนนี้เราทำส่งกลุ่มโรงพยาบาลในจังหวัดใกล้ เคียงเป็นหลัก แค่นี้ก็ทำไม่ค่อยจะทันแล้ว อีกอย่าง สมุนไพรในพื้นทีม่ ีจำกัด และเราก็ไม่ไปสั่งจากที่อื่น “ส่วนของปลอมมีมั้ย กลุ่มนางไพรคงไม่ดังขนาด ที่จะมีคนทำเทียม ส่วนเรื่องคนในกลุ่มจะตีตราสินค้า อื่นไปขายในนามตัวเอง ไม่มีแน่ สมาชิกทุกคนทำงาน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 103
โปร่งใส เรื่องเล็กเรื่องน้อยแบบนี้ไม่มีใครทำหรอก คือ เราลำบากมาด้วยกัน” ชอบจังเลยคำว่า ‘ไม่ดังขนาดมีคนทำเทียม’ กับ ‘ลำบากมาดว้ ยกนั ’ ช่างแสดงความจริงใจของคนทนี่ จี่ ริงๆ หากมโี อกาสผา่ นมาครัง้ ใด กลุม่ น างไพรคงเป็นอ กี ท หี่ นึง่ ที่ผู้เขียนไม่มที างพลาดอย่างแน่นอน
104 ต้นยวน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 105
10 ปฏิญญาชุมชน ข้อตกลงร่วมใจ “จากบนสู่ล่าง หรือจากล่างสู่บน อันไหนดีกว่าก ัน” ไม่ว่าจะถามนักรัฐศาสตร์ท่านไหน ก็คงไม่มีใคร มีคำตอบสำเร็จรูปให้แก่ท่านอย่างแน่นอน ต่อปัญหาเรื่องกฎระเบียบการบริหารงานราชการ ต่างๆ ชุมชนกอ็ ยากให้ร ฐั ส ว่ นกลางฟงั ช มุ ชน รัฐส ว่ นกลาง ก็อ ยากให้ช มุ ชนเชือ่ ฟ งั ต นเอง ปัญหาโลกแตกทไี่ ม่ว า่ ผ า่ น ไปกี่ยุคสมัยเราก็ยังเถียงไม่จบเสียที เคยไ ปสั ม ภาษณ์ ผู้ ห ลั ก ผู้ ใ หญ่ ใ นก ระทรวง มหาดไทยท่านหนึ่ง ท่านกล่าวว่าระบบงานราชการจะ แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และ ส่วนท้องถิ่น และปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นความ ไม่เข้าใจกันระหว่างท้องถิ่นกับส ่วนกลาง ด้ ว ยค วามรู้ ด้ า นรั ฐ ศาสตร์ พ อสั ง เขป ก็ อดคิ ด ไม่ได้ว่า ทำไมเราไม่ทำกฎระเบียบต่างๆ ให้สอดคล้อง กับสุภาษิตโบราณที่ว่า “ปลูกเรือนตามใจผู้อยูล่ ่ะ” ทิ้งประเด็นไว้อย่างนี้เหมือนชวนทะเลาะยังไงไม่รู้ แต่เอาน่า ในยุคสมัยที่ผู้คนเจริญแล้วซึ่งปัญญาอย่างคน ยุคนี้ ประเด็นอย่างนี้เราน่าจะคุยด้วยเหตุแ ละผลได้
106 ต้นยวน
กฎระเบียบที่ ไม่ยืดหยุ่นท ี่มาของปัญหา พอถึงศูนย์เรียนรู้นี้ เหมือนทั้งผ ู้เขียน ทั้งพี่นกและ พีเ่ วง ใกล้จ ะหมดแรงยงั ไงกไ็ ม่รู้ อาจเพราะเป็นท สี่ ดุ ท า้ ย ที่เราจะได้อยู่ด้วยกัน อาจจะเป็นเพราะร่วมกันตะลอน มาตั้งแต่เช้า โดยเฉพาะพี่เวงร่วมเดินทางกับผู้เขียนมา ตลอด 2 วัน ที่สำคัญหรืออาจจะเป็นเพราะเรื่องที่กำลังจะ คุยต่อไปเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน และมีเรื่องการเมือง เกี่ยวข้อง ณ ศาลาอเนกประสงค์บ้านควนใหม่ หมู่ที่ 3 อัน เป็นที่ทำการของศูนย์เรียนรู้กฎระเบียบหมู่บ้าน ผู้ใหญ่ วิสาร มุกดา ถูกดึงตัวมาคุยเรื่องหนักๆ ในขณะที่แก กำลังส าละวนกบั ง านแต่งลูกชายรองนายก อบต.ต้นยวน (นายสายัญ นิลศิริ) “ช่วงหนึ่งสมัยหนึ่งต้นยวนมีปัญหาต่างๆ มาก ทั้งจากคนในเองทั้งจากคนภายใน เช่น ป่าไม้ถูกท ำลาย ปัญหายาเสพติด และแกนนำท้องถิ่นคิดว่าน ่าจะจัดการ เองได้โดยไม่ต้องพึ่งกฎระเบียบส่วนกลาง จึงจ ัดตั้งคณะ กรรมการในการประสานงานความมั่นคงและออกกฎ ระเบียบในชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาดังก ล่าว “ซึง่ ผ มกไ็ ด้เห็นว า่ การแก้ไขปญ ั หาโดยชมุ ชนนมี่ นั ม ี ข้อดีม ากกว่าข อ้ เสีย พอตัวเองได้รบั ก ารเลือกตงั้ ให้เข้าม า
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 107
เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 ก็เลยนำแนวคิดน ั้นมาสานต่อ” อันที่จริงเรื่องการจัดการท้องถิ่นโดยท้องถิ่นนี่ จริงๆ แล้ว ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่เมืองไทยเราถูกยึดอำนาจ การตัดสินใจไปให้ส่วนกลางมานานเสียจนท้องถิ่นเกือบ จะลืมวิธกี ารดั้งเดิมของตนเอง ต้องขอปรบมือให้กับความกล้าหาญและความ สามารถของคนตน้ ย วนไว้ ณ โอกาสนดี้ ว้ ยทที่ า่ นสามารถ ออก กฎร ะเบี ย บค วบคุ ม ดู แ ลชุ ม ชนไ ด้ ด้ ว ย ตัวท่านเอง โดยที่ไม่ขัดกฎหมายในระดับ ประเทศ คนบ้านเดียวกัน ขึ้นศาลเสร็จ ก็ต้องเจอหน้ากัน งั้นเราคุยกันเอง ดีกว่า “แล้ ว เ รื่ อ งแ นวคิ ด ล่ ะ อยากท ราบว่ า การบั ง คั บ ใ ช้ กฎระเบียบหมู่บ้านมีความ แตกต่างจากกฎหมาย มากน้อยเพียงใด” ยิงคำถาม ตรงประเด็นให้ ผู้ ใ ห ญ่ เ ร า ไ ด้ ตอบโ ดยที่ ไ ม่ ต้ อ ง
108 ต้นยวน
อ้อมค้อมอะไร ขืนมัวอ ้อมไปอ้อมมาเกรงว่า แกจะไม่ให้ สัมภาษณ์เสียก ่อน “ก่อนทจี่ ะใช้ก ฎระเบียบหมูบ่ า้ น เวลาเกิดข อ้ พ พิ าท ในหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ถ้าไม่ไปจบที่โรงพักก็ต้องให้ผู้หลัก ผู้ใหญ่ในชุมชนเข้ามาจัดการ ทีนี้พอคุยกันไม่จบก็ต้อง กลายเป็นคดีความขึ้นโรงขึ้นศาล “หลักก ารของเรา คือ เราจะคิดว ่าค นบ้านเดียวกัน ถ้าข ึ้นศ าลเสร็จก ็ต้องกลับมาอยูท่ หี่ มู่บ้านเดียวกัน คือไม่ อยากให้ห กั ก นั ไปเลย หลังป ระกาศใช้ก ฎระเบียบหมูบ่ า้ น เวลาใครทำผิด เราก็จะพยายามไม่ให้ถึงตำรวจ พูดคุย กันเองก่อน โดยมีคณะกรรมการหมู่บ้านเป็นผู้ตัดสิน “ส่วนเรื่องร้ายแรง เช่น ฆ่ากันตาย หรือเรื่อง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 109
ยาเสพติด อะไรก็ตามที่เกินอำนาจ อันนี้ต้องส่งต่อให้ ตำรวจหรือส่วนกลางเป็นคนจัดการ” ส่วนตวั ค ดิ ว า่ การจดั การในรปู แ บบนก้ี น็ า่ จ ะเหมาะสม กับบริบทของสังคมไทยที่ไม่ได้เป็นสังคมที่ไม่ให้โอกาส คนพอสมควร ส่วนเรื่องของปัญหาทจี่ ะมีคนทำผิดอย่าง ไม่ก ลัวเกรงนนั้ คิดว า่ อ ย่างไรกด็ ี ชุมชนแต่ละชมุ ชนนา่ จะ “เอาอยู่” ผู้ใหญ่แกเพิ่มเติมมาอีกอย่างว่า “อย่างไรก็ดี เราก็ ต้องถามลูกบ้านทั้งสองฝ่ายว่าจะยอมให้คณะกรรมการ หมู่บ้านเป็นคนตัดสินหรือไม่ ถ้ามีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดไม่ ยอม เราก็ต้องปล่อยไป ที่ผ่านมารู้สึกจะมีเรื่องที่ดินอยู่ สองสามเรื่อง”
ข้อตกลงส่วนรวม ใครๆ ก็ย อมรับ เสียงเพลงดังขึ้นเรื่อยๆ ทั้งผ ู้ใหญ่วิสารและผเู้ขียน เริม่ ไม่มสี มาธิอ ยูท่ กี่ ารสมั ภาษณ์ แต่ด ว้ ยความรบั ผ ดิ ชอบ ที่มิอาจละทิ้งได้ เราสองหนุ่มจึงต้องช่วยกันประคับ ประคองบทสนทนาต่อไป “ผมจ ะเ ป็ น ค นร่ า งก ฎร่ ว มกั บ ค ณะก รรมการ หมู่บ้าน ในขั้นตอนกจ็ ะปรึกษาคนเก่าคนแก่บา้ ง ปรึกษา ผูใ้ หญ่บ า้ นคนเก่าบ า้ ง แต่ว า่ ร า่ งเสร็จแ ล้วจ ะยงั ไม่ป ระกาศ ใช้เลย ต้องส่งร่างให้ชาวบ้านอ่าน ใครจะแก้ก็จะไปเสนอ
110 ต้นยวน
เวลาประชุมหมู่บ้าน “เวลาจะออกกฎระเบียบอะไรเพิ่มเติมชาวบ้าน ก็ต้องเห็นพ้องด้วยกัน หรือบางครั้งก็จะมีการยกเว้น ระเบียบในบางขอ้ ท เี่ ห็นว า่ ก ระทบตอ่ ส ทิ ธิส ว่ นบคุ คลของ คนในหมู่บ้าน” ประชามติทางตรงแบบนี้อาจจะไม่เหมาะสมใน ระดับป ระเทศ แต่ในระดับห มูบ่ า้ นผเู้ ขียนคดิ ว า่ ว ธิ กี ารนีก้ ็ เป็นอ กี แ นวทางให้ป ระชาชนในหมูบ่ า้ นได้อ ยูร่ ว่ มกนั อ ย่าง มีความสุข เกิดการช่วยเหลือกันของคนในชุมชน และมี ความรักความสามัคคีกัน ที่สำคัญนะ มีกฎระเบียบใช้เองแบบนี้มันก็เท่ ไม่หยอก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 111
112 ต้นยวน
11 จนกว่าจะพบกันใหม่ ทุกจุดเริ่มต้นต้องมีจุดจบ และเมื่อถึงจุดจบเรามักจะ คิดถึงจุดเริ่มต้นเสมอ จากจุ ด เ ริ่ ม ต้ น ที่ มี ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ ต้ น ย วนที่ มี เพียงหางอึ่ง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ได้มาเป็นเพียงความรู้ ภาคเอกสาร ที่ได้จากหน้ากระดาษบ้าง จากหน้าจอ คอมพิวเตอร์บ้าง สุดท้ายแล้วก็ได้แต่หลอกตัวเองไปว่า แค่นี้ก็โอเคแล้ว จากทเี่ คยคดิ อ คติค นใต้อ ย่างคนไม่รจู้ ริง จากทเี่ คย คิดอคติอ ย่างคนจากส่วนกลาง ทุกอย่างที่เคยคิดล้วนแล้วแต่เป็นภาพมายาคติ ที่ตัวเราเองสร้างขึ้นทั้งนั้น เพราะว่าอันแท้ที่จริงแล้ว ผู้คนในทุกพื้นที่ ผู้คนในทุกแห่งหนต่างมีความแตกต่าง ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง การประพฤติ การปฏิบัติของคนพื้นที่หนึ่งอาจไม่ เป็นที่ต้องตาคนอีกพื้นที่หนึ่ง สิ่งที่พื้นที่หนึ่งชมชอบอาจ จะไม่เป็นที่ชมชอบในพื้นที่หนึ่ง นี่คือสิ่งทตี่ ้องเรียนรู้ ในขณะที่สังคมไทยกำลังก้าวข้ามเข้าสู่สังคมแห่ง การเรียนรู้ (Learning Society) เราเคยมองย้อนกลับ มามองตัวเองกันบ้างหรือยังว่าแท้ที่จริงสังคมเรามีการ จัดการความรู้ (Knowledge Management - KM) ที่
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 113
เหมาะสมเพียงใด ต้นยวนเป็นอีกหนึ่งชุมชนที่เคยถูกทำลายด้วย ความไม่รจู้ นเกือบจะกลายเป็นสังคมที่ล่มสลาย ไม่ว่าจะเป็นความไม่รู้ในการจัดการสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นความไม่รู้ในด้านเศรษฐศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น ความไม่รใู้นด้านรัฐศาสตร์ มิใช่เพียงแต่ชุมชนต้นยวน หากแต่ทุกสิ่งทุกอย่าง ล้วนแล้วแต่เคยเกิดขึ้นในชุมชนชาวไทยในเกือบทุกพื้นที่ ถามว่ า ท ำไมที่ ต้ น ย วนถึ ง ร อดฟื้ น ช ะตาก รรม ดังกล่าวมาได้ อย่างแรกคงเป็นที่คนที่นี่เจ็บแล้วจำ คน ที่นี่เจ็บแล้วรู้จักแก้ไข คนที่นี่เจ็บแล้วรู้จักที่จะไม่เดินไป ทางเดิมอ ีก ที่มาของกระบวนการดังกล่าวไม่ได้อยู่ดีๆ ก็ลอย หล่นมาจากฟ้า ทุกสิ่งทุกอย่างต้องใช้เวลา ต้องผ่าน กระบวนการเรียนรู้ ถามว่าทางลัดมีมั้ย ขอตอบว่ามีก็แค่เพียงไปลอก แบบจากพื้นที่อื่นมา แต่จะเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ หรือไม่ อันนี้เป็นสิ่งที่รับป ระกันอ ะไรไม่ได้เลย 2 วัน 1 คืนอ าจจะไม่ใช่เวลาทนี่ านพอทีจ่ ะทำความ เข้าใจชมุ ชนหนึง่ ได้อย า่ งถอ่ งแท้ แต่ก พ็ อทีก่ ล่าวได้ไม่ม าก ก็น้อยว่า ในกระแสธารแห่งความเปลี่ยนแปลงของโลก ชุนชนต้นยวนแห่งเป็นอีกชุมชนหนึ่งที่ใช้กระบวนการ
114 ต้นยวน
ในการเรียนรู้สร้างตัวตนใหม่ของตนขึ้นมา จากสังคม ที่อ่อนแอต้องพึ่งพาแต่ภาครัฐ กลับกลายมาเป็นชุมชน ที่สามารถยืนหยัดด้วยลำแข้งของตนเองในยุคที่ชุมชน ชนบทไทยค่อยๆ เลือนหายไป
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 115
หากท่านเป็นนักท่องเที่ยวที่ถวิลหาสังคมแห่ง การเรียนรู้ ถวิลหาร่องรอยแห่งความมีตัวตนของชุมชน ชาวไทย ณ ที่แห่งน ี้ รับรองว่าท่านมาถูกที่แล้ว ส่วนสำหรับผู้เขียน สุดท้ายนี้ขอกล่าวคำว่า “จนกว่าเราจะพบกันใหม่น ะ ต้นยวน”
116 ต้นยวน
ภาคผนวก
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 117
ต้นยวนเป็นตำบลเก่าแก่ เมื่อ พ.ศ. 2439 ขึ้นตรง ต่ออำเภอคีรีรัฐนิคม หรือท่าขนอนในสมัยนั้น โดยมี ขุนวิจารณ์เป็นกำนันคนแรก ต่อมาปี 2447 ได้ย้ายมา ขึน้ ก บั กิง่ อ ำเภอพนม และแบ่งอ อกเป็นต ำบลคลองชะอมุ่ อีกหนึ่งตำบล มีพ ื้นที่ประมาณ 82 ตารางกิโลเมตรหรือ ประมาณ 51,509 ไร่ ปัจจุบันม ี 12 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านปากน้ำ หมู่ที่ 2 บ้านปากตรัง หมู่ที่ 3 บ้านควนใหม่ หมู่ที่ 4 บ้านป่าก วด หมู่ที่ 5 บ้านถ้ำผึ้ง หมู่ที่ 6 บ้านเขาวง หมู่ที่ 7 บ้านจำปาทอง หมู่ที่ 8 บ้านเขานาใน หมู่ที่ 9 บ้านบางโก หมู่ที่ 10 บ้านน้ำตก หมู่ที่ 11 บ้านถ้ำผุด หมู่ที่ 12 บ้านป่าต ง อาณาเขตตำบล ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลพังกาญจน์ อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธ านี
118 ต้นยวน
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลคลองชะอุ่ม อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลคลองชะอุ่ม อำเภอ พนม จังหวัดส รุ าษฎร์ธ านี และ อำเภอครี รี ฐั นิคม จังหวัด สุราษฎร์ธานี ทิศต ะวันต ก ติดก บั ตำบลพงั ก าญจน์, ตำบลคลอง ชะอุ่ม อำเภอพนม จังหวัดส ุราษฎร์ธ านี ภูมิประเทศ ภูมิประเทศของตำบลต้นยวนมีลักษณะเป็นภูเขา สลับซับซ้อนมีความสูงชันอยูบ่ ริเวณทางทิศใต้ของตำบล เป็นพ นื้ ทีร่ าบสงู และมลี ำคลองตามธรรมชาติส ายสำคัญ ในตำบล ได้แก่ คลองศก คลองบางเหรยี ง คลองบางโก คลองเหลิด คลองบางยาง คลองถ้ำทา คลองใสลูกเผ็ด คลองน้ำดำ และมีแหล่งน้ำขนาดเล็กอยู่ทั่วไปภายใน ตำบล ประชากร ตำบลตน้ ย วนมจี ำนวนประชากรทงั้ ส นิ้ 8,810 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 171 คน / 1 ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 3,114 ครัวเรือน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 119
อาชีพ ประชากรภ ายในเ ขตต ำบลต้ น ย วนส่ ว นใ หญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมประมาณร้อยละ 90 รองลง มาคอื ป ระกอบอาชีพร บั จ้างทวั่ ไป โดยรบั จ้างในเขตพนื้ ที่ ตำบลต้นยวน หรือเดินทางไปทำงานภายในตัวจังหวัด หรือจังหวัดใกล้เคียง การทำการเกษตรที่สำคัญได้แก่ การทำสวนยาง ปาล์มน้ำมัน รองลงมาคือ สวนผลไม้ เช่น เงาะ ทุเรียน ลองกอง ส่วนการเพาะปลูกพืชผักสวนครัวจ ะเพาะปลูก ตามครัวเรือน และเกษตรกรรมทั่วไปซึ่งใช้พื้นที่การ เพาะปลูกไม่ม ากนกั ส่วนการเลีย้ งสตั ว์เป็นการเลีย้ งแบบ ครัวเรือนมีจำนวนน้อย สัตว์ที่เกษตรกรเลี้ยง ได้แก่ โค สุกร เป็ด และไก่ การคมนาคม การคมนาคมของตำบลตน้ ย วนกบั อ ำเภอใกล้เคียง และจังหวัดใกล้เคียงนั้นใช้ทางหลวงแผ่นดินสาย 401 สายสุราษฎร์ธานี - ตะกั่วป่า ทางหลวงสาย 4246 ผ่าน หมูท่ ี่ 6, 7, 8, 9 ทางหลวงสาย 415 ผ่านหมูท่ ี่ 3 และ หมู่ ที่ 10 เชื่อมต่อตำบลคลองชะอุ่ม ถนนสาย 3090 เชื่อม ต่ออำเภอปลายพระยา จังหวัดก ระบี่ ส่วนการคมนาคม ภายในตำบลตน้ ย วน ใช้เส้นท างในตำบลซงึ่ เป็นถ นนลกู รัง
120 ต้นยวน
และถนนบุกเบิกใหม่ แหล่งน้ำธรรมชาติ ลำน้ำ, ลำห้วย, ลำคลอง 23 บึงหนองและอื่น ๆ 1 แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น ฝาย/ทำนบ บ่อน้ำตื้น บ่อโยก สระเก็บน้ำ ประปาหมู่บ้าน การศึกษา
22 143 21 129 6
แห่ง แห่ง
แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน 4 ศูนย์ - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนโรงเรียนชุมชนวัดปาก ตรัง ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 2 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนโรงเรียนบ้านถ้ำผึ้ง ตั้ง อยู่ในหมูท่ ี่ 5 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนโรงเรียนบ้านเขานาใน ตั้งอยูใ่นหมู่ที่ 8 - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนโรงเรียนบ้านป่าตง ตั้ง
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 121
อยู่ในหมูท่ ี่ 12 โรงเรียนประถมศึกษา 5 แห่ง - โรงเรียนชุมชนวัดปากตรัง ตั้งอ ยูใ่นหมูท่ ี่ 2 - โรงเรียนบ้านถ้ำผึ้ง ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 5 - โรงเรียนบ้านจำปาทอง ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 7 - โรงเรียนบ้านเขานาใน ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 8 - โรงเรียนบ้านป่าตง ตั้งอ ยู่ในหมู่ที่ 12 โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดเอกชน 1 แห่ง - โรงเรียนอนุบาลเปี่ยมรัก ตั้งอ ยู่ในหมูท่ ี่ 6 โรงเรียนมัธยมศึกษา 3 แห่ง - โรงเรียนชุมชนวัดป ากตรัง ตั้งอ ยู่ในหมูท่ ี่ 2 - โรงเรียนบ้านถ้ำผึ้ง ตั้งอ ยู่ในหมู่ที่ 5 - โรงเรียนบ้านเขานาใน ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 8 สถาบันและองค์กรทางศาสนา วัด/สำนักสงฆ์ 10 แห่ง - วัดปากตรัง ตั้งอ ยู่ในหมู่ที่ 1 - สำนักส งฆ์อโศการ าม ตั้งอ ยู่ในหมู่ที่ 5 - วัดนโิคธาราม ตั้งอ ยู่ในหมู่ที่ 6
122 ต้นยวน
- สำนักสงฆ์ถ้ำจีน ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 6 - อุทยานธรรมเขานาใน ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 8 - สำนักสงฆ์บ้านเขาใน ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 8 - วัดเคียนพิงธรรมเจดีย์ ตั้งอ ยู่ในหมูท่ ี่ 9 - วัดปากเตลิด ตั้งอ ยู่ในหมู่ที่ 10 - สำนักสงฆ์บ้านเขาถ้ำ ตั้งอยูใ่นหมู่ที่ 11 - สำนักสงฆ์บ้านป่าตง ตั้งอ ยู่ในหมูท่ ี่ 12 สาธารณสุข สถานีอนามัยป ระจำตำบล/หมู่บ้าน 2 แห่ง - สถานีอนามัยต ำบลต้นยวน ตั้งอ ยู่ในหมูท่ ี่ 2 - สถานีอนามัยบ ้านเขานาใน ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 8 สถานพยาบาลเอกชน/คลินิก 7 แห่ง - จิราพรคลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมู่ที่ 1 - พวงรัตน์คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมู่ ที่ 2 - 64 คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมู่ที่ 2 - คลินิกจินตนาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมู่ที่ 3 - สุจิราคลนิ ิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมู่ที่ 3 - คลินิกอุดมพรการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมู่ที่ 5 - เขานาในคลินกิ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ห มูท่ ่ี 8
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 123
ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 1 แห่ง - ร้านยา 108 ตั้งอยู่ในหมูท่ ี่ 3 กลุ่มอาชีพในตำบลต้นยวน หมู่ที่ 1 1. กลุ่มกวนกาละแมสวรรค์ นางสุดา คชโกสัย ประธาน กลุ่ม หมู่ที่ 2 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร นางราตรี กุลจ ู้ ประธานกลุ่ม 2. กลุ่มทำเครื่องแกง นางประเนือบ วิเศษมาก ประธานกลุ่ม 3. กลุ่ม ผู้ปลูกดอกดาวเรือง นายสิทธิชัย สัมพันธ์ ประธานกลุ่ม หมู่ที่ 3 1. กลุ่มเลี้ยงไก่พื้นเมือง นายประยุทธ์ สุขอ ่อน ประธาน กลุ่ม 2. กลุ่มขนมนางเล็ด นางประไพ สุขแ สง ประธานกลุ่ม หมู่ที่ 4 1. กลุ่มเลี้ยงสุกร นายสุนทร รักษ์ท รง ประธานกลุ่ม 2. กลุ่มขนมดอกจอก นางฤธิยา รักษ์ท รง ประธานกลุ่ม 3. กลุ่มเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร(กล้วยฉาบ) นางวรรณดี ศักดา ประธานกลุ่ม
124 ต้นยวน
หมู่ที่ 5 1. กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ นายสุริยา คงชนะ ประธาน กลุ่ม 2. กลุ่ ม ป่ า ชุ ม ชนบ้ า นถ้ ำ ผึ้ ง ผู้ ใ หญ่ บุ ญ ทั น บุ ญ ชู ด ำ ประธานกลุ่ม หมูท่ ี่ 6 1. กลุ่มเขาวงบริการ นายปรีชา ถิ่นค ีรี ประธานกลุ่ม หมูท่ ี่ 8 1. กลุ่มนางไพร นางหนูเรียง จีนจูด ประธานกลุ่ม หมูท่ ี่ 9 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านบางโก นางมยุรี พึ่งชาติ ประธานกลุ่ม 2 ธนาคารต้นไม้ ผู้ใหญ่วีระ สมบัตแิ ก้ว ประธานกลุ่ม หมู่ที่ 10 1. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร นางพรพิมล อาจกระโทก ประธานกลุ่ม 2. กลุม่ เลีย้ งสกุ ร นางเรวดี ป้อมปริยานนท์ ประธานกลุม่ 3. กลุ่มปลูกผัก นางปรียา ศรีเอี่ยมศิลป์ ประธานกลุ่ม 4. กลุม่ ว สิ าหกิจช มุ ชนพวงหรีด ดอกไม้จ นั ทน์ นางสายเพชร รักสวัสดิ์ ประธานกลุ่ม 5. กลุม่ หอ่ ขนั หมาก นางถาวร พรหมประชุม ประธานกลุม่ 6. กลุ่มกลองยาว นางอุบล สุขอุ่น ประธานกลุ่ม
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 125
หมู่ที่ 11 1. กลุ่มสัจจะออมทรัพย์บ้านถ้ำผุด นายร่าน รอดแก้ว ประธานกลุ่ม หมู่ที่ 12 1. กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ นางสมจิตร บรรจงแก้ว ประธานกลุ่ม 2. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง(หมอเล็ก) นายสุเมธ มีลือ ประธานกลุ่ม
126 ต้นยวน
ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว 127