อุดมทรัพย์

Page 1




Healthy Planet สุขคดีทอ่ งเที่ยวชุมชนเพื่อการเรี ยนรู้ อุดมทรั พย์ ต�ำบลของเรา เรื่ องและภาพ สิทธา วรรณสวาท ภาพประกอบ ชาวาร์ เกษมสุข ปกและรู ปเล่ ม ชาวาร์ เกษมสุข พิสูจน์ อักษร ทีมงานเสือกระดาษ พิมพ์ ครั ง้ ที่ 1 พฤษภาคม 2556 เลข ISBN บรรณาธิการอ�ำนวยการ ดวงพร เฮงบุณยพันธ์ กองบรรณาธิการ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) โดยส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สน.3) องค์การบริ หารส่วนต�ำบลอุดมทรัพย์ ผู้จดั การ เนาวรัตน์ ชุมยวง

จัดพิมพ์ และเผยแพร่ โดย

อาคารศูนย์เรี ยนรู้สขุ ภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดูพลี แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์ 0 2343 1500 www.thaihealth.or.th และ www.punsook.org


ด�ำเนินการผลิตโดย


ท่ามกลางกระแสวิกฤติเศรษฐกิจโลกครัง้ ใหญ่เป็ น ประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปี ท�ำให้ เกิดการตังค� ้ ำถามว่า วิกฤตินี ้จะใหญ่ขึ ้นอีกเพียงใด จะยืดเยื ้อขนาดไหน และ วิกฤตินี ้จะส่งผลกระทบต่อสังคมไทย ชุมชนหมู่บ้านไทย มากน้ อยเพียงใด ความวิตกดังกล่าวอาจจะไม่เกิดขึ ้นเลย หากปั จจุบนั ชุมชนหมู่บ้านไทยไม่ถูกลากเข้ าสู่ระบบการ ผลิตเพื่อขาย นัก วิ ช าการหลาย ๆ ท่ า นได้ วิ เ คราะห์ ถึ ง ระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทยว่า ในระบบทุนนิยมยังคงมีอีก ระบบด�ำรงอยู่ในลักษณะคู่ขนาน นัน่ คือระบบเศรษฐกิจ ชุมชน หรื ออาจจะกล่าวเป็ นศัพท์สมัยใหม่ได้ ว่า ระบบ เศรษฐกิจแบบพอเพียง ในอดีตชุมชนหมู่บ้านจะมีวิถีชีวิตที่เรี ยบง่าย เน้ น ความพอเพียง มีครอบครัวเป็ นหน่วยการผลิต การช่วย เหลือซึง่ กันและกัน มีน� ้ำใจเป็ นพื ้นฐานของชีวติ มีพิธีกรรม ต่าง ๆ เป็ นระบบการจัดการในชุมชน และให้ ความส�ำคัญ ของบรรพบุรุษ ผู้เฒ่าผู้แก่ ครอบครัว


ต่อ มาหลัง จากรั ฐ และระบบทุน นิ ย มได้ เ ข้ า ไปมี อิทธิพลต่อชุมชน การผลิตเชิงเดี่ยวและลัทธิบริ โภคนิยม ท�ำให้ ชาวบ้ านมีรายจ่ายที่เป็ นตัวเงินมากขึ ้น เพียงเท่านัน้ ยังไม่พอ สิง่ ที่ท�ำลายความเข้ มแข็งของชุมชนมากที่สดุ คือ รัฐและทุนเข้ าไปถ่ายโอนทรัพยากรจากระบบชุมชนหมูบ่ ้ าน ยิ่ ง รั ฐ และทุน เข้ า ไปกอบโกยมากเท่ า ไร ชุม ชน หมูบ่ ้ านไทยยิ่งประสบความอ่อนแอ ค�ำพูดดังกล่าวไม่ใช่ ค�ำพูดลอย ๆ ที่ไม่มีหลักฐานรองรับ หากแต่เมื่อกวาดตา ไปทัว่ แผ่นดินไทยหลังการประกาศแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมมากว่า 40 ปี จะมีสกั กี่ชมุ ชนที่คนในชุมชนไม่ ประสบปั ญหาความยากจน ไม่ประสบปั ญหาสิง่ แวดล้ อม หรื อไม่ประสบปั ญหาสุขภาพ จากสถานการณ์ ดัง กล่ า ว ถึ ง เวลาแล้ ว หรื อ ยัง ที่ สัง คมไทยควรกลับ มาเน้ น การพัฒ นาที่ ไ ม่ม องแต่มิ ติ ประสิทธิภาพ การสร้ างมูลค่าและก�ำไร หรื อการตลาด ด้ านเดียว แต่ควรจะเป็ นเพือ่ ประโยชน์ของชุมชนและสังคม เราไม่ควรลดทอนผู้คนลงไปเป็ นเพียงตัวเลข หาก ควรเป็ นเพื่อส่งเสริ มศักยภาพและศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ ค�ำตอบส�ำหรับค�ำถามข้ างต้ นนี ้คงจะต้ องช่วยกันค้ นหา ไม่ ว่าจะใช้ ระยะเวลานานเท่าไร คณะผู้จดั ท�ำ


8 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

ข่าวสารครบถ้วน ส่งต่อความรู้.. ท�ำประโยชน์ร่วมกัน.. สร้างสรรค์ชมุ ชนให้เข้มแข็ง.. สือ่ สารสนุก ได้ทกุ ความรู้ คูช่ มุ ชน กระบอกเสียง เล็ก ๆ ถ่ายทอดผ่านเหล่าดีเจจิ ตอาสาทีจ่ ะผลัดเปลีย่ น หมุนเวียนกันมาให้ความรู้ ได้ทงั้ สาระและความบันเทิ ง รวมถึ ง ข่ า วสารที ่สื่อ ตรง ส่ ง ถึ ง ทุก คนในชุม ชนคน อุด มทรั พ ย์ แ ละพื ้น ที ่ใ กล้ เ คี ย ง ให้ รั บ รู้ ฉับ ไวในทุก เรื ่องราว


สิทธา วรรณสวาท 9

ก่อนจะเดินถึงสถานีวิทยุชุมชน ผมมองภาพ ไกล ๆ ภายในวัดศิริมงั คลาราม หรื อที่ชาวบ้ านแถวนี ้ รู้ จกั กันในนาม ‘วัดโนนเหลื่อม’ เป็ นครัง้ แรกในชีวิต ก็ ว่าได้ ที่จะได้ เห็นการท� ำรายการวิทยุสด ๆ ชนิ ดที่ สื่อสารกันได้ เดี๋ยวนัน้ จัดเพลงให้ ฟังกันทันใจเดี๋ยวนัน้ ผมจินตนาการว่า ต้ องมีเครื่ องไม้ เครื่ องมือ อุปกรณ์ นัน่ นี่โน่น ไมโครโฟนล� ้ำสมัย หูฟังอย่างดี มีห้องกระจก กันเสี ้ ยง และแผงคอนโทรลสารพัดปุ่ ม อย่างที่เห็นในทีวี อีกไม่กี่ก้าวคงได้ เห็นกัน...


10 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

ผมหันไปถามคุณองอาจและน้ องเบียร์ (ผู้ประสาน งานจากส�ำนักงาน อบต. อุดมทรัพย์) “อาคารหลัง เล็ก ๆ ข้ างหน้ านี ้คือสถานีวิทยุชมุ ชนเหรอครับ” ผม ชี ้มือไปยังอาคารซึง่ มีเสาอากาศสูง ๆ ทีเ่ ห็นแต่ไกลนัน่ คุณองอาจตอบด้ วยน� ้ำเสียงข�ำ ๆ “ไม่ใช่ อยู่ โน่นครับ ห้ องเล็ก ๆ ทางซ้ ายมือโน่นครับ” เขาชี ้มือไป ยังห้ องที่วา่ ด้ านหน้ ามีป้ายบอกเอาไว้ ชดั เจนว่า สถานีวทิ ยุอดุ มทรัพย์สมั พันธ์ FM.88.50MHz. อ.วังน� ำ้ เขียว จ.นครราชสีมา พร้ อมเบอร์ โทรศัพท์ 087-253-8811 ใครอ่านมาถึงบรรทัดนี ้อยากกดโทรศัพท์เข้ าไป ทักทายดีเจหรือผู้ดำ� เนินรายการ สามารถโทรฯ เข้ าไปที่ เบอร์ นี ้ได้ เลยครับ อยากจะฝากข่าว เรื่ องราว หรื อแสดง ความยินดีกบั ใคร ลูกสอบเข้ ามหาวิทยาลัยได้ หรือเปิ ด ร้ านใหม่ อยู่จุดไหนของหมู่บ้าน อยากแนะน�ำให้ คน รู้จกั หรื อจะขอฟั งเพลงแนวไหนสามารถขอได้ ส่วนจะ มีเพลงที่อยากฟั งหรื อไม่นนั ้ ต้ องลองโทรฯ ครับ


สิทธา วรรณสวาท 11



สิทธา วรรณสวาท 13


14 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

เดี๋ยวนี ้ การสื่อสารทันสมัยกว่าเมื่อหลายปี ที่ ผ่านมาเยอะ เราสามารถจะแจ้ งข่าวหรือประชาสัมพันธ์ งานบ้ าน งานบุญ งานชุมชนสัมพันธ์ จัดแข่งขันกีฬา ต่าง ๆ ภายในชุมชน หรื อแข่งขันกันระหว่างชุมชน ก็ ย่ อ มได้ เพราะมี ก ระบอกเสี ย งที่ ทั น สมั ย ขึ น้ กว่ า เดิ ม กระจายเสี ย งไปกับ คลื่ น ความถี่ ใ นระบบ เอฟเอ็ม. สเตอริโอ เสียงชัดเจน ฟั งเพลงไพเราะได้ อย่าง มีความสุข แล้ วยังสามารถรับได้ ครอบคลุมในระยะไกล พอสมควร เรี ยกว่าอยูท่ ี่ใดในละแวกชุมชนก็รับฟั งได้ เรามาท�ำความรู้จกั ผู้อยูเ่ บื ้องหลังกันดีกว่าครับ ว่า คนจัด คนด�ำเนินรายการวิทยุอดุ มทรัพย์สมั พันธ์ นัน้ เป็ นใคร หน้ า ตาหล่ อ เหลา หนุ่ม ฟ้ อหล่ อ เฟี ้ย ว ขนาดไหน หลังจากที่ได้ ฟังเสียงผ่านคลื่น FM.88.50 เมกกะเฮิ ร์ ซ กัน ไปแล้ ว ขอแนะน� ำ ให้ ร้ ู จัก คุณ เกื อ้ พิมเคน หนึง่ ในผู้จดั รายการวิทยุหลักของที่นี่

เกื้อ พิมเคน

ผู้จัดรายการวิทยุ อุดมทรัพย์สัมพันธ์


สิทธา วรรณสวาท 15

จุดประสงค์หลัก สถานีวทิ ยุอดุ มทรัพย์สมั พันธ์จะถ่ายทอดข่าว เป็ นประจ�ำทุกวัน รวมทังข่ ้ าวส�ำคัญ ๆ จาก สวท. หรื อ สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ซึง่ ขึ ้นตรงกับ กรมประชาสัมพันธ์ นอกจากนี ้ยังมีรายการหลักอื่น ๆ เช่น วิทยุเพือ่ การศึกษา ด�ำเนินรายการโดยครู-อาจารย์ อีกทังยั ้ งมีรายการธรรมะเพื่อส่งความสุข บ�ำบัดทุกข์ ทางใจ ด�ำเนินรายการโดยพระสงฆ์หรื อแม่ชี ส�ำหรับ รายการเกี่ยวกับสุขอนามัยเป็ นหน้ าที่ของแพทย์ผ้ ทู รง คุณวุฒิ ส่วนรายการทั่วไปที่เป็ นข่าวสารเกี่ ยวกับ ชุมชนคนอุดมทรัพย์นนด� ั ้ ำเนินรายการโดยผู้บริ หาร สถานี เหล่ า นี ค้ ื อ รายการหลัก ๆ ของสถานี วิ ท ยุ อุดมทรัพย์สมั พันธ์แห่งนี ้


16 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา


สิทธา วรรณสวาท 17

สิ่งที่น่าสนใจเพิ่มเติม การน�ำเสนอเรื่ องราวข่าวสารเกี่ยวกับการด�ำเนิน ธุรกิจหรื อกิจกรรมอื่นใดที่มีสนิ ค้ าเข้ ามาเกี่ยวข้ องจะมี สปอนเซอร์ หรื อผู้สนับสนุนหลักของการด�ำเนินรายการ ‘ผลพลอยได้ ’ จากการโฆษณาป่ าวประกาศให้ พี่น้องใน ชุมชนได้ รับรู้นี ้ เจ้ าของสินค้ าหรือเจ้ าของกิจการจะมีสนิ น� ้ำใจเล็ก ๆ น้ อย ๆ ส�ำหรับสนับสนุนเป็ นค่าไฟหรื อค่า ด�ำเนินการอื่น ๆ แต่ผ้ ดู �ำเนินรายการก็ไม่ได้ หวังพึง่ พา รายได้ สว่ นนี ้เป็ นหลัก ด้ วยนักจัดรายการแต่ละท่านล้ วน ตังใจมาร่ ้ วมด้ วยช่วยกันจัดรายการด้ วยจิตอาสาทังสิ ้ ้น ทุกคนมีอาชีพหลัก มีงานประจ�ำท�ำกันอยูแ่ ล้ ว จากที่ได้ พดู คุยในระยะเวลาสัน้ ๆ ทราบว่า สถานี วิทยุแห่งนี ้ละเว้ นการพูดคุยถึงเรื่ องการเมือง หรื อช่วย ประชาสัม พัน ธ์ ใ ด ๆ ให้ กับ หน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก รที่ เกี่ยวข้ องกับการเมือง ไม่ว่าจะในรู ปแบบใดก็ตาม ถือ เป็ นคลื่นสะอาด งดเว้ นเรื่ องการเมืองโดยเด็ดขาด ไม่ ฝั กใฝ่ ฝ่ ายใดอย่างแน่นอน


18 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

เรื่องสนุก ๆ เบื้องหลังของการจัดรายการ ผมถามพี่ เ กื อ้ ด้ ว ยความอยากรู้ อยากเห็ น ว่า คนในชุมชนฝากประกาศหรื อแจ้ งข่าวสารกันอย่างไรบ้ าง พี่เกื ้อเล่าให้ ฟังว่า “เคยมีเจ้ าของร้ านตัดผมมาขอแจ้ งข่าวถึงร้ าน ของตัวเองด้ วยครับ” “ร้ านตัดผมเนี่ยนะ” ผมแปลกใจกับข่าวฝากอันนี ้ “ร้ านขายก๋วยเตีย๋ วก็มคี รับ” พีเ่ กื ้อพูดไปหัวเราะไป “อะ จริ งดิ..” ผมอุทานแบบไม่อยากจะเชื่อ “แล้ วค่าสนับสนุนรายการของเจ้ าของกิจการทีม่ า ฝากข่าวจ่ายยังไงครับ?” พี่เกื ้ออธิบายว่า “ส่วนใหญ่แล้ วจะสนับสนุนกัน มาห้ าร้ อยบาทบ้ าง พันบาทบ้ าง “อันนี ้ก็แล้ วแต่วา่ จะให้ ทางเราช่วยประชาสัมพันธ์ กันมากน้ อยแค่ไหน เรี ยกว่าถ้ าให้ พดู ทุกช่วงรายการก็ จ่ายมากกว่าคนอื่นนิดนึง แต่ก็ไม่ได้ มากมายอะไรหรอก ครับ พอเป็ นค่าไฟ ค่าบ�ำรุงรักษาเครื่ องมือ พออยูไ่ ด้ ”



20 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

เสนอแนะสนุก ๆ ไม่ว่าจะเป็ นร้ านก๋วยเตี๋ยว ร้ านตัดผม หรื อ กระทัง่ ร้ านรับจ้ างปะยางรถมอเตอร์ ไซค์ที่มาขอฝาก ข่าว (แบบข�ำ ๆ) ซึง่ พี่เกื ้อรับฝากและป่ าวประกาศ ให้ ด้วย ถื อเป็ นการร่ วมด้ วยช่วยกัน สนับสนุนให้ ชุมชนปั นน�ำ้ ใจ ส่งต่อซึ่งกันและกัน ผมเลยเสนอ สนุก ๆ ไปว่า ทุกช่วงเวลากลางวัน หากร้ านเหล่านี ้ ต้ องการลูกค้ าเพิ่มขึ ้น อาจมีการร่ วมสนุกกันเล็ก ๆ น้ อย ๆ เช่น.. ตังค� ้ ำถามเชิงความรู้ ทวั่ ไปกับผู้ฟังรายการที่ สนใจ และรับฟั งรายการในจังหวะที่ออกอากาศ โดย เล่าเรื่ องในลักษณะถ่ายทอดเป็ นความรู้ออกไป แล้ ว ถามผู้ฟังด้ วยค�ำถามง่าย ๆ เช่น ส�ำนักงาน อบต. อุ ด มทรั พ ย์ ตัง้ อยู่ ริ ม ถนนหลวงหมายเลขอะไร หรื อ สถานีวิทยุอดุ มทรัพย์สมั พันธ์แห่งนี ้ตังอยู ้ ท่ ี่ไหน หรือ เริ่มออกอากาศตังแต่ ้ เวลาไหนถึงเวลาไหน อย่าง นี ้เป็ นต้ น


สิทธา วรรณสวาท 21

จากนันให้ ้ ผ้ สู นับสนุนรายการ เช่น เจ้ าของร้ าน ก๋วยเตีย๋ ว ร้ านตัดผม ร้ านปะยาง หรื อร้ านซ่อมมอเตอร์ ไซค์ หรื อกระทัง่ ร้ านจ�ำหน่ายอุปกรณ์ ก่อสร้ างต่าง ๆ ได้ ร่วม สนุกโดยการให้ ของรางวัลที่เกี่ยวกับสินค้ าของตน เช่น ร้ านก๋วยเตี๋ยวก็มอบสิทธิพิเศษ เมื่อมาสัง่ ก๋วยเตี๋ยวแห้ ง 1 ชาม จะแถมก๋วยเตี๋ยวน� ้ำให้ อีก 1 ชาม เพื่อเป็ นการ สมนาคุณที่มาร่ วมสนุก จะวันละกี่ชาม กี่รางวัล ก็วา่ กัน ไป ร้ านขายอุป กรณ์ ก่ อ สร้ างหรื อ แม้ แ ต่ ร้ านตัด ผมก็ สามารถท�ำเช่นว่านี ้ได้ ถือเป็ นสีสนั สร้ างความสนุกสนาน และช่วยสร้ างความสัมพันธ์ในชุมชนได้ เป็ นอย่างดี

สรุปความ สถานีวทิ ยุอดุ มทรัพย์สมั พันธ์เกิดจากความร่วมมือ ของส�ำนักแก่นเพชร คณะสงฆ์ และ โรงพยาบาลส่งเสริ ม สุขภาพชุมชนต�ำบลบะใหญ่ ระดมทุนจัดตังขึ ้ ้นเมือ่ ปี 2548 เพื่อเป็ นเครื่ องมือเผยแพร่ สร้ างความเข้ าใจแก่ประชาชน เกี่ยวกับกิจกรรมสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั ชุมชน


22 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

จากจุดเริ่มต้ นเป็ นคลืน่ วิทยุเล็ก ๆ ก�ำลังส่งไม่ ไกลเท่าใดนัก ขยับขยายก�ำลังส่งเพิ่มเป็ น 300 วัตต์ ท�ำให้ ครอบคลุมไปทัว่ ทังต� ้ ำบลอุดมทรัพย์และต�ำบล ใกล้ เคียง ท�ำหน้ าที่ส่งข่าวสารเหตุบ้านการเมือง ต่าง ๆ ที่คนทัว่ ไปพึงได้ รับรู้ เสริมด้ วยรายการธรรมะ สุข ภาพ และการประชาสัม พัน ธ์ ทั่ว ไปอย่า งเป็ น กันเองท�ำให้ สถานีวทิ ยุอดุ มทรัพย์สมั พันธ์แห่งนี ้เป็ น ศูนย์รวมข่าวสารซึง่ พร้ อมที่จะส่งต่อเรื่ องราวดี ๆ ทุก ประการสูช่ มุ ชน นอกจากกระจายข่าวบ้ านงานบุญต่าง ๆ แล้ ว ยังช่วยประชาสัมพันธ์งานจากทุกหน่วยราชการทีน่ ำ� มาฝากให้ คนอุดมทรัพย์ได้ รับรู้กนั อย่างทัว่ ถึง


สิทธา วรรณสวาท 23


24 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา


สิทธา วรรณสวาท 25

คนในชุมชนอุดมทรัพย์อยูก่ นั อย่างสบายใจด้ วย มีชมรมกู้ชีพกู้ภยั พร้ อมให้ ความช่วยเหลือ จะเป็ นภัย เพียงเล็กน้ อยหรื อมีภยั ใหญ่น่าตกใจ ไม่ว่าคุณจะรถ เสียหรื อน� ้ำมันหมด จ�ำต้ องจอดข้ างทาง หน่วยกู้ชีพ กู้ภยั อุดมทรัพย์อาสาช่วยได้ ต่อให้ งตู วั ร้ ายเข้ าบ้ านก็ไม่ ต้ องตกใจ เพียงตังสติ ้ โทรฯ หากู้ชีพกู้ภยั รับรองไม่เกิน 15 นาที ไปหาคุณถึงที่แน่นอน..


26 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

แนวคิดหลัก ถนนสาย 304 เส้ นนครราชสีมา – กบินทร์ บรุ ี ที่ ผ่ า นมาเกิ ด อุบัติ เ หตุบ่อ ย ๆ คุณ ยศจรั ส มี มั่ง คั่ง เจ้ าหน้ าที่สถานีอนามัยบ้ านบะใหญ่ และคุณองอาจ กล้ าหาญ จึงริ เริ่ มก่อตังหน่ ้ วยกู้ชีพขึ ้นเมื่อปี 2545 ช่วง เริ่ มต้ นมีสมาชิกทังหมด ้ 11 คน ภารกิจหลักคือ ให้ บริ การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ จากอุบตั ภิ ยั ทุกชนิด ในปี 2549 กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้ องค์การบริ หารส่วนต�ำบลทุกแห่งมีหน่วย กู้ชีพ อบต. อุดมทรัพย์ จึงเชิญหน่วยกู้ชีพกู้ภยั ที่มีอยู่ เดิมมาร่วมงาน โดยใช้ ชื่อว่า ‘กู้ชีพ อบต. อุดมทรัพย์’ โดยส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา ให้ การสนั บ สนุ น ด้ านวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ครุ ภั ณ ฑ์ โรงพยาบาลวังน�ำ้ เขียวสนับสนุนเวชภัณฑ์ จัดระบบ EMS และช่วยอบรมหลักสูตร First Responder (FR) โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาอบรมหลักสูตร Basic Life Support (BLS) ส�ำหรับมูลนิธิพทุ ธธรรมฮุก 31 นันอบรมให้ ้ ความรู้และเป็ นทีป่ รึกษาในการจัดตังหน่ ้ วย กู้ชีพ นอกจากนี ้ยังมีศนู ย์นเรนทร ช่วยสนับสนุนค่า ตอบแทนกรณีชว่ ยเหลือผู้บาดเจ็บอีกด้ วย


มนตรี ผิวผ่อง เจ้าหน้าที่ กู้ชีพกู้ภัย อบต. อุดมทรัพย์


28 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

ปั จจุบนั หน่วยกู้ชีพใช้ พื ้นที่ อบต. อุดมทรัพย์เป็ น ทีต่ งส� ั ้ ำนักงาน มีคณ ุ องอาจ กล้ าหาญ เป็ นหัวหน้ าหน่วย เป้าหมายการด�ำเนินงานคือ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บและ ผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างรวดเร็วและถูกต้ อง โดยปฏิบตั งิ านร่วม กับ อปพร. (อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน) และ สถานีต�ำรวจภูธร 3 แห่ง

คุยกับคนกู้ชีพ ลองมาฟั ง เรื่ อ งเล่า จากคนตัว จริ ง ท� ำ งานจริ ง ปฏิบตั ิจริ งกันดีกว่า ขออนุญาตแนะน�ำให้ ผ้ อู ่านได้ ร้ ู จกั กับคุณมนตรี ผิวผ่อง หนึ่งในทีมกู้ชีพกู้ภัยของ อบต. อุดมทรัพย์ ซึง่ นัง่ รอผมอยูด่ ้ านหน้ าส�ำนักงาน แสงแดดยามสาย ๆ สาดส่องอย่างที่เห็นในภาพ ระหว่างที่เราเริ่ มสนทนากัน ผมเปิ ดค�ำถามง่าย ๆ ว่า งานหลัก ๆ ของพี่มนตรี คืออะไร “งานหลัก ๆ ของผมทีร่ ับผิดชอบก็คอื ทังกู ้ ้ ชพี กู้ภยั “ช่วยเหลือประชาชนผู้ได้ รับบาดเจ็บจากอุบตั เิ หตุ ที่เกิดบนถนน 304 นี ้”


สิทธา วรรณสวาท 29

ต่อไป..

“กลุ่มนีเ้ กิดขึ ้นได้ อย่างไรครับ” ผมถามพี่มนตรี

“เรารวมกลุม่ กันขึ ้นมาเองครับ “จากกลุม่ จิตอาสาและอาสาสมัครธรรมดาอย่าง ชาวบ้ าน ๆ เรานี่แหละครับ แล้ วไปเข้ ารับการอบรมทีหลัง พออบรมเสร็ จเรี ยบร้ อยตามหลักสูตรแล้ ว ใครมีรถก็เอา รถไปขึ ้นทะเบียนเพื่อจะได้ ร้ ูวา่ รถคันนี ้เป็ นของใคร ก่อน ขึ ้นทะเบียนก็ต้องน�ำรถไปตรวจสภาพก่อนน�ำมาใช้ งาน จริ งครับ” ประมาณว่า สภาพรถต้ องพร้ อมใช้ ไม่ใช่เอารถ บุโรทัง่ ใกล้ ปลดระวางมาท�ำเป็ นรถกู้ชีพ ผมถามต่อด้ วย ความสงสัยว่า “ไซเรน..แว้ บ ๆ เสียงดัง ๆ นัน่ ใครให้ ครับ หรื อซื ้อ มาติดกันเอง” คุณมนตรี อมยิ ้มก่อนตอบว่า “มีผ้ สู นับสนุนครับ ชุดหนึง่ ก็หมื่นกว่าบาท” “แล้ วค่าน� ้ำมงน� ้ำมันนี่มาจากไหนครับ?” “ค่าน� ้ำมัน เราเป็ นเจ้ าของรถต้ องควักจ่ายเองก่อน ในขันแรกครั ้ บ” “???” ผมได้ แต่ท�ำหน้ าสงสัยแทนค�ำถาม




32 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

“จากนัน้ พอเราวิ่งรับส่งผู้ป่วยเสร็ จเรี ยบร้ อย แล้ วก็ท�ำเรื่ องเบิกได้ ครับ “ความจริ งก็ คือ ทุกคนในหน่วยนี จ้ ะมี อาชี พ หลักอยูแ่ ล้ ว ทีม่ าร่วมมือท�ำเป็ นกิจกรรมเสริมนี ้เพราะมี จิตอาสากันทังนั ้ นครั ้ บ” จากบทสนทนาสัน้ ๆ ท�ำให้ ได้ ตระหนักว่า บรรดา คนกู้ชีพกู้ภยั ที่ท�ำงานแข่งกับเวลา ช่วยยืดช่วยยื ้อชีวิต ของผู้ได้ รับอุบตั ิเหตุไม่ว่าจะกรณีใด ในเบื ้องต้ นพวก เขาเห็นว่า แม้ โอกาสที่จะรอดชีวิตมีอยู่น้อยนิดเพียง ใด เขาก็จะช่วยกันอย่างเต็มความสามารถเพื่อที่จะน�ำ ผู้บาดเจ็บหรื อผู้ป่วยส่งถึงโรงพยาบาลที่ใกล้ ที่สดุ และ เร็ วที่สดุ เพราะฉะนัน้ ผู้ที่ขบั รถหรื ออยูบ่ นท้ องถนนจึง ควรให้ ความร่วมมือ อ�ำนวยความสะดวกแก่เขาเหล่านี ้ ปกติ แ ล้ ว บนทางหลวงเราจะเห็ น ป้ ายบอก ตัวเลข 1669 เสมอ ๆ นัน่ คือการย� ้ำเตือนผู้ใช้ รถใช้ ถนน ให้ ทราบว่า ทุกครัง้ ที่เกิดอุบตั ิเหตุบนท้ องถนน หรื อมี เหตุมีภยั อะไรเกิดขึ ้น สามารถคว้ าโทรศัพท์กด 1669 เพื่อแจ้ งเหตุได้ “ตอนนี ้รถทีส่ แตนด์บายของกู้ชพี กู้ภยั ของ อบต. อุดมทรัพย์ เหลือเพียงคันเดียวครับ..”


“??” “อีกคันไปไม่รอดครับ สู้คา่ ใช้ จา่ ยไม่ไหว ตอนนี ้ ทีมกู้ชีพกู้ภยั ของอุดมทรัพย์มีอยูป่ ระมาณ 30 คน แต่มี คนท�ำงานจริ ง ๆ จัง ๆ อยูป่ ระมาณ 10 คน “เพราะทุก คนมี ง านประจ� ำ ท� ำกัน หมด” คุณ มนตรี เล่าแบบเรื่ อย ๆ


34 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

“มี ห ลายคนสมัค รเป็ นที ม งานไว้ เพื่ อ มาช่วย งานตอนช่วง 7 วันอันตราย ก็มี (หมายถึงช่วงวันหยุด เทศกาลยาว ๆ เช่น ปี ใหม่ สงกรานต์) หรื อมาช่วยกัน ตอนมีงานเทศกาลใหญ่ ๆ อะไรท�ำนองนี ้ครับ อย่างว่า นะครับ รถกู้ภยั มีคนั เดียว อย่างผมก็จะเอารถส่วนตัวติด ไซเรนออกมาช่วย แต่ก็ต้องท�ำให้ ถกู ต้ องก่อน คือ ถ่ายรูป คาดสติก๊ เกอร์ ให้ เรี ยบร้ อย แล้ วแจ้ งทางจังหวัดไปว่า รถ คันนี ้ทะเบียนนี ้ประจ�ำอยู่ ณ จุดนี ้เหตุทตี่ ้ องรัดกุม ท�ำให้ เรี ยบร้ อย เพราะว่าเคยมีข่าวพวกที่แอบอ้ างเอารถกู้ชีพ ไปขนยาเสพติด” “โอ้ โฮ มีด้วยเหรอครับ?” ผมถาม ด้ วยความตื่นเต้ น “ครับ เคยมี เป็ นข่าวไปแล้ ว” คุณมนตรี ย� ้ำอีกครัง้ เขตพื ้นทีร่ บั ผิดชอบของ หน่ ว ยกู้ ชี พ กู้ ภั ย อบต. อุดมทรัพย์ เริ่ มตังแต่ ้ หน้ าค่ายปั กธงชัย จนถึงเขามะค่า เป็ น ระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร


สิทธา วรรณสวาท 35

ถ้ า ยึด ตามถนนสายหลัก 304 เคยมี อุบัติ เ หตุ ใหญ่ ๆ เช่น รถแก๊ สหรื อรถน� ้ำมันคว�่ำ ต้ องระดมคนกู้ชีพ และทีมงานไปช่วยกัน ใช่แต่เฉพาะของ อบต. อุดมทรัพย์ เพียงแห่งเดียว เขตรอยต่อก็ประสานงานช่วยเหลือกันอย่าง เต็มความสามารถ “พวกผมนี่ใส่หมวกกันหลายใบครับ..” คุณมนตรี เล่าต่อ “ไม่วา่ จะเป็ นกู้ภยั กู้ชีพ อปพร.” “แล้ วมันต่างกันอย่างไรครับ กู้ภยั กู้ชีพ อปพร.” “ขออนุญาตอธิบายสัน้ ๆ นะครับ “กู้ภยั คือ..การช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่าง ๆ และ คอยช่วยเหลือพวกกู้ชีพอีกที


36 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

“กู้ชีพ คือ..การช่วยชีวติ เบื ้องต้ นให้ กบั ผู้ประสบภัย ต่าง ๆ เช่น อุบตั เิ หตุตา่ ง ๆ รถชน มอเตอร์ ไซค์คว�ำ่ กระโดด ตึก กระโดดน� ้ำ (แต่ยงั ไม่ตาย)” “อปพร. คือ เป็ นทุกอย่างที่จะต้ องช่วยเหลือคน บาดเจ็บหรื อผู้ประสบภัยทุกเหตุการณ์” จากบทสนทนาจะเห็นว่า งานของกู้ชีพกู้ภยั นัน้ เป็ นงานช่วยเหลือจิปาถะ กระทัง่ งูเข้ าบ้ าน หมาหรื อแมว ตกท่อ ก็ไม่พ้นหน้ าที่เจ้ าหน้ าที่กลุม่ นี ้ เราจึงเห็นพวกเขา เป็ นข่าวตามหน้ าหนังสือพิมพ์บอ่ ย ๆ ที่ส�ำคัญคือ คนเหล่านี ้มีความคิดเริ่ มต้ นต้ องการ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ค นให้ พ้ น จากภัย พิ บัติ หรื อ รอดชี วิ ต จาก อุบตั ิเหตุ จึงนับว่าพวกเขาเป็ นกลุ่มบุคคลที่มีจิตอาสา เสียสละเพื่อคนอื่น ท�ำประโยชน์เพื่อส่วนรวม เราจึงควร สนับสนุน และพร้ อมให้ ความร่วมมือ


สิทธา วรรณสวาท 37



ป่ าให้ อากาศบริ สทุ ธิ์และความชุม่ ชื ้นแก่โลก นอกจากนี ้ ป่ ายัง เป็ นแหล่ง อาหารของผู้อ าศัย ใกล้ ชิดกับป่ า การหักร้ างถางพง ย้ ายที่ท�ำกินเมื่อดินหมด ประโยชน์ คือสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ เกิดการบุกรุ กผืนป่ า ทุกวันนี ้เราได้ ยนิ เรื่ องแนวคิดการอนุรักษ์ กนั หนาหู แต่ บางทีเราอาจจะไม่ร้ ูวา่ การอนุรักษ์ ป่าสักผืนต้ องทุม่ เท จริงจังเพียงใด และท�ำอย่างไรป่ าไม้ จงึ จะอยูย่ นื นานไป ถึงรุ่นลูกรุ่นหลาน


40 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

บ่ายวันเดียวกัน ผมต้ องแวะไปพบกับผู้ใหญ่ ธงชัย ยอดนอก ที่บ้านหนองแวง เพื่อสอบถามความ เป็ นมาเป็ นไปของศูนย์อนุรักษ์ป่าเขาน้ อย หมูท่ ี่ 12 บ้ าน หนองแวง ต.อุดมทรัพย์ ผู้ใหญ่ธงชัยเล่าว่า “ผมเข้ า มาอยู่ที่ นี่ ตัง้ แต่ 2516 ตอนนัน้ ยัง มี การบุกรุ ก ถางป่ า ตัดไม้ เอาไปเผาถ่าน และยังมีการ ปลูกมันส�ำปะหลังกันอยู่ทั่วไป มันยังไม่มีรูปแบบที่ ชัด เจน ต่อ มาปี 2551 มี พ ระสายหลวงตามหาบัว รู ป หนึ่ง ธุ ด งค์ ผ่ า นมาถึ ง ที่ นี่ มาจ� ำ พรรษาในป่ าบน เขาน้ อย จากนัน้ ท่านก็ชกั ชวนชาวบ้ านช่วยกันปลูก ป่ า พอดี กับ ผมเข้ า มาเป็ นผู้ใ หญ่ บ้ า นเมื่ อ ปี 2554 ผมเลยประกาศห้ ามชาวบ้ านแถวนี ้ตัดไม้ อีก พื ้นที่ที่ดแู ลอยูป่ ระมาณ 800 ไร่ “ต่อมา เจ้ าหน้ าที่อทุ ยาน ทับลานได้ เข้ ามาช่วยดูแลเพื่อ ป้องกันไม่ให้ ชาวบ้ านตัดไม้ อีกแรง หนึง่ เพราะป่ าส่วนใหญ่ที่นี่เป็ นไม้ มี มูลค่า พวกไม้ เต็ง ไม้ รัง นอกจากจะ ไม่ให้ ตดั แล้ ว พวกเรายังช่วย กันปลูกป่ าเพิ่มด้ วย เรี ยกว่า ไม่ใช่แค่เชิงอนุรักษ์ อย่างเดียว ธงชัย ยอดนอก

ผู้ใหญ่บ้านหนองแวง


สิทธา วรรณสวาท 34

ไม้ ที่เอาไปปลูกเสริ มคือ ต้ นมะค่าโมง ต้ นพะยูง ตะเคียน ทอง เราเริ่ มปลูกกันมาตังแต่ ้ ปี 51 แล้ ว “พอมาปี นี ้ เราก็ท�ำกันอย่างจริ ง ๆ จัง ๆ คือปลูก กันเยอะกว่าเดิม อาศัยผมเป็ นแกนน�ำในการประสานงาน รวบรวมชาวบ้ านและลูกหลานเยาวชนในหมูบ่ ้ านนี ้มาช่วย กันปลูกป่ า พร้ อมกับตักเตือนและบอกต่อ ๆ กันว่า ห้ ามตัด ต้ นไม้ บริ เวณป่ าเขาน้ อย พอดีกบั บนเขาน้ อยมีสำ� นักสงฆ์ ของพระอาจารย์ปานที่วา่ เป็ นศิษย์หลวงตามหาบัวธุดงค์ ผ่านมานัน่ แหละ ท่านตังส� ้ ำนักสงฆ์อยูท่ ี่นนั่ “เราประชุม ปรึ กษาหารื อเรื่ องกิจกรรมปลูกป่ า บริ เวณพื ้นที่วา่ งบนเขาน้ อย และช่วยกันระดมทุนเพื่อน�ำ เงินไปซื ้อกล้ าไม้ พวกหวาย ไม้ ชิงชัน มะค่าโมง ประดู่ พอได้ จ�ำนวนพอสมควรแล้ วก็ขอแรงจากชาวบ้ านแถวนี ้ที่ มีจติ อาสามาร่วมกันปลูกป่ า รดน� ้ำ ใส่ป๋ ยุ เราใช้ วธิ ีบอกกัน แบบปากต่อปาก อาศัยประกาศเสียงตามสายของชุมชน บ้ าง เพื่อให้ มาร่วมมือช่วยกัน


42 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

“อย่างพื ้นที่ที่มีการถางป่ า บุกรุกป่ า ผมก็เข้ าไป เจรจาขอคืนเพื่อน�ำกลับมาปลูกป่ าเพิ่มขึ ้น จากนันก็ ้ ขอความร่ วมมือไปทาง อบต. ให้ ช่วยส่งรถบรรทุกน� ้ำ อย่างศูนย์ฯ สะแกราช (ส�ำนักบริ หารพื ้นที่อนุรักษ์ ที่ 7 (นครราชสีมา) กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์ พืช) ก็ช่วยสนับสนุนกล้ าไม้ บางส่วน พวกแม่บ้านใน ชุมชนของเราช่วยกันเตรี ยมอาหาร น� ้ำท่า บริ การให้ กับคนที่มาช่วยงาน ศูนย์ไฟป่ านครราชสีมาก็สง่ คนมา ช่วยดับไฟเมื่อคราวที่ไฟไหม้ ป่า เหล่าชาวบ้ านจิตอาสา ก็มาร่วมด้ วยช่วยกันดับไฟป่ าด้ วย “กองทัพภาคที่ 2 ก็มาช่วย ส�ำนักบริ หารพื ้นที่ อนุรักษ์ ที่ 7 หรื อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ ป่าและ พันธุ์พืช ก็เข้ ามาช่วยในเรื่ องของการอบรมอาสาสมัคร พิทกั ษ์ ป่า ให้ ความรู้กบั ชาวบ้ านและกลุม่ จิตอาสา ยังมี วัดป่ าแสงธรรมของจังหวัดบุรีรัมย์ วัดป่ าพิมาย จังหวัด สุรินทร์ ช่วยน�ำกล้ าไม้ มาให้ เพิ่ม จุดประสงค์หลักร่วม กันก็คือ ช่วยกันอนุรักษ์ ป่าเขาน้ อยไม่ให้ ถกู บุกรุก ถูก ท�ำลาย ตัดไม้ ถางพงอีกต่อไป “อย่างพวกชาวบ้ านที่เคยเข้ าไปบุกรุกป่ า ผมก็ เอาแผนที่จาก ส.ป.ก. มาเลย เพื่อดูวา่ ตรงไหนเป็ นป่ า เขตอนุรักษ์ พื ้นที่ตรงไหนเป็ นพื ้นที่ของ ส.ป.ก. ที่เขา มีสทิ ธิ์ เราก็แนะน�ำเขาว่า ให้ เขาท�ำกินเฉพาะในส่วน ที่เขามีสทิ ธิ์




“พื ้นที่สว่ นไหนที่เป็ นเขตหวงห้ ามแล้ วเขาเคย ไปบุกรุ กถางป่ าก็ ให้ เขาออกจากพื น้ ที่ ไป ส่วนใหญ่ แล้ วเขาก็ให้ ความร่ วมมือกันดี แรกเริ่ มที่ด�ำเนินการ ผมไปขอความร่วมมือกับท่านนายก อบต. อุดมทรัพย์ ท่านส�ำรวม กุดสระน้ อย ท่านก็ให้ ความร่วมมือ จัดสรร งบประมาณบางส่วนมาช่วยเหลือ “เนือ่ งเพราะแนวคิดหลักของผมต้ องการอนุรกั ษ์ ป่ าเอาไว้ ให้ คนรุ่นลูกรุ่นหลาน อีกอย่างผมคิดว่า ถ้ าป่ า ชุ่มชื ้น ดินดีจะมีพวกเห็ดเกิดขึ ้นแน่นอน อย่างน้ อย พวกเราก็จะมีแหล่งอาหารทีอ่ ดุ มสมบูรณ์มากขึ ้น อย่าง เห็ดโคนนี่เยอะมาก ๆ ขนาดชาวบ้ านนอกจากจะเก็บ เอาไว้ กินแล้ ว ยังเหลือมากพอที่จะเอาไปวางขายข้ าง ทางสายหลักของต�ำบลอุดมทรัพย์ได้ อกี เขาหาเก็บเห็ด ไปขายจนสามารถสร้ างบ้ านได้ เลย โดยเฉพาะช่วงหน้ า ฝนนี่ เห็ดจะเยอะมาก ๆ”


46 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

พี่องอาจผู้ประสานงานเดินเข้ ามาชวนผมและ ผู้ใหญ่ให้ พวกเราขึ ้นไปดูพื ้นทีจ่ ริงบนป่ าเขาน้ อยกัน จะ ได้ เห็นว่า ป่ าทีป่ ลูกกันเอาไว้ สมบูรณ์แค่ไหน เราขึ ้นเขา ไปด้ วยรถกระบะของคุณเบียร์ ผ้ ปู ระสานงานอีกคน ไม่ร้ ู คิดอะไร ผมบอกทุกคนว่า ขอนัง่ กระบะท้ ายขึ ้นไปดีกว่า ทุกคนเลยพากันมานัง่ กระบะหลังจนหมด ตลอดเส้ นทางขึ ้นเขาน้ อยเป็ นทางลูกรังแบบ ดินแดง แต่ไม่ชันนัก น้ องเบียร์ ขับรถไต่ระดับขึน้ ไป เรื่ อย ๆ พี่องอาจชี ้ให้ ดสู องข้ างทาง ซึง่ เกษตรกรส่วน ใหญ่ที่นี่ปลูกอ้ อย ข้ าวโพด และมันส�ำปะหลัง เป็ นหลัก ก่อนถึงเขตส�ำนักสงฆ์วดั ป่ าเขาน้ อย มีร่องรอย การปลูกป่ าครัง้ ที่ผา่ นมา ไม่วา่ จะมองไปทางซ้ ายหรื อ ทางขวาจะเห็นต้ นไม้ ใหญ่น้อยหนาแน่นพอสมควร เรา หาที่จอดรถแล้ วพากันเดินเข้ าไปในเขตส�ำนักสงฆ์ น้ อง เบียร์ ลงจากรถ ชี ้มายังพวกเรา ‘มีฝรั่งร่วมทีมมากับเรา ด้ วยเหรอครับพี่’ แหม ก็แน่ละคุณ เล่นขับรถฝ่ าถนน ดินแดงลุยฝุ่ นคลุ้งมาตลอดทาง ผมเผ้ าหัวหูไม่แดงไป ด้ วยฝุ่ นก็ให้ มนั รู้ไป


จากภาพจะเห็ น ว่ า ต้ น ไม้ แ น่ น ขนัด ไปหมด ตลอดทางที่เราเดินไป ผู้ใหญ่ธงชัยคอยอธิบายและชี ้ ให้ ดพู นั ธุ์ไม้ ที่เคยน�ำมาปลูกเพิ่ม แนวป่ าทังหมดนี ้ ้รวม ส�ำนักสงฆ์อยู่ด้วย บางจุดเราเห็นร่ องรอยการตัดโค่น ต้ นไม้ ทิ ้งแค่ตอเอาไว้ ให้ ดตู า่ งหน้ า เดินไปไม่นานนักก็ พบลานจงกรมทีพ่ ระอาจารย์ปานท�ำไว้ ให้ ชาวบ้ านหรือ ผู้ที่มาปฏิบตั ธิ รรมใช้ ส�ำหรับภาวนา


เห็นสถานที่แล้ ว ผมอดคิดไม่ได้ วา่ หากได้ กลับ มาอีกครัง้ และมีโอกาสได้ ปฏิบตั ิธรรม ที่แห่งนี ้น่าจะ เหมาะสมอย่างยิ่ง เพราะมีป่าล้ อมรอบ ตังอยู ้ บ่ นเขา มี ทังความสงบ ้ สงัด เหมาะแก่การปลีกวิเวกเป็ นอย่างยิ่ง ขณะเดินชมป่ า ผมอดสงสัยไม่ได้ ว่า เด็กรุ่ น ต่อไปจะรู้จกั รักและหวงแหนป่ าประจ�ำหมูบ่ ้ านของตน อย่างไรกัน “ผู้ใหญ่มีวิธีปลูกฝั งให้ เด็ก ๆ มีความรักป่ าผืน นี ้ยังไงครับ?”


ผู้ใหญ่ธงชัยเดินไปอธิบายไปอย่างอารมณ์ดีวา่ “เมื่ อ คราววัน หยุด ที่ ผ่ า นมา ผมชวนเด็ ก ๆ โรงเรี ยนในหมู่บ้านขึ ้นมาปลูกป่ า เพราะเรามีกล้ าไม้ เตรี ยมไว้ ที่นี่อยูแ่ ล้ ว” ผู้ใหญ่หยุด ชี ้ให้ ดตู ้ นมะขามป้อม ต้ นหนึง่ พร้ อมเล่าว่า “มะขามป้อมนี่ก็ราคาแพงนะครับ บางคนมาเก็บไปขาย มักง่าย โค่นต้ นมันเลยก็มี


50 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

“คืออย่างนี ้ครับ ผมรวบรวมกลุม่ เด็ก ๆ หลาย คน ชวนขึน้ เขามาปลูกป่ าด้ วยกัน ในระหว่างปลูก ก็ แนะน� ำว่า ต้ นที่ เราปลูกนี ค้ ือต้ นอะไร มี คุณค่า มี ประโยชน์อะไร ใช้ ระยะเวลากี่ปีถงึ จะเติบโตเป็ นต้ นแข็ง แรง แล้ วก็ให้ จ�ำต้ นไม้ ที่ตวั เองปลูกด้ วยว่าอยูต่ �ำแหน่ง ไหน คราวหน้ ากลับขึ ้นมาอีกจะได้ จ�ำได้ วา่ ต้ นไม้ ต้นนี ้ คือต้ นที่เราปลูกเอาไว้ ” “ไม่ต้องถึงกับปั กป้ายตอกหมุดกันหรื อครับว่า ต้ นนี ้ใครปลูก ปลูกเมือ่ ไหร่?” ผมถามผู้ใหญ่ธงชัยเล่น ๆ ผู้ใหญ่ธงชัยหัวเราะข�ำ ๆ “ถ้ าเด็กคนนันเติ ้ บโต ต่อไปในอนาคตได้ เป็ น ส.ส. หรื อเป็ นรัฐมนตรี ผมอาจ จะให้ เขาท�ำป้ายมาปั กเอาไว้ ก็ได้ ครับ” พวกเราทังหมด ้ ที่ฟังอยูห่ วั เราะครื นขึ ้นมาพร้ อม ๆ กัน ตลอดระยะเวลากว่าหนึง่ ชัว่ โมงที่เดินอยูใ่ นป่ า เขาน้ อย ผมได้ เห็นว่า ชาวบ้ านที่นี่ช่วยกันดูแล บ�ำรุ ง รักษาผืนป่ าแห่งนี ้อย่างดี โดยมีผ้ ใู หญ่บ้านหนองแวง หรื อผู้ใหญ่ธงชัย คนตัวเล็ก ๆ แต่ใจไม่เล็กคนนี ้ เป็ น แกนน�ำหรื อตัวตังตั ้ วตี ด้ วยเห็นถึงประโยชน์ส่วนรวม ในอนาคตว่า หากช่วยกันดูแลรักษาป่ าแห่งนี ้เอาไว้ ได้ วันหน้ า ชาวบ้ านหนองแวงจะมีแหล่งอาหารอันอุดม สมบูรณ์ ซึ่งนอกจากเก็บกิ นได้ แล้ ว ยังเหลือไว้ ขาย เลี ้ยงชีพได้ ด้วย



การอนุรักษ์ ป่านันใช่ ้ วา่ จะพูดกันลอย ๆ หรื อ ท�ำกันแค่ชวั่ ครู่ชวั่ ยาม หรื อเป็ นกิจกรรมที่มาร่วมกันท�ำ นาน ๆ ครัง้ ในความเป็ นจริ งแล้ ว ต้ องมีคนที่ตงใจและ ั้ มุง่ มัน่ ที่จะท�ำเป็ นตัวอย่าง ท�ำให้ เห็นเป็ นรูปธรรมอย่าง ชัดเจน และต้ องอดทนที่จะอธิบายให้ คนในชุมชนได้ เข้ าใจไปในแนวทางเดียวกันว่า เหตุใดป่ าแห่งนี ้จึงต้ อง อนุรักษ์ เอาไว้ การท�ำให้ คนทังชุ ้ มชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการ อนุรักษ์ ป่านันเป็ ้ นงานที่อาจจะดูเหมือนง่าย แต่ก็ยาก เข็ญอยูเ่ อาการ เพราะกว่าจะอธิบายให้ คนทังหมู ้ บ่ ้ าน เข้ าใจได้ นนไม่ ั ้ ใช่เรื่ องง่าย เราในฐานะคนนอกซึง่ ผ่าน มาเห็นหรื อได้ รับรู้ข้อมูลน่าที่จะน�ำไปขบคิด หากท่านมีโอกาสขับรถผ่าน อบต. อุดมทรัพย์ ถนนสาย 304 นครราชสีมา – กบินทร์ บรุ ี แล้ วเห็นชาว บ้ านน�ำเห็ดมากมายสารพัดชนิดมาวางขายริมถนน ขอ ให้ มนั่ ใจว่า นี่คือผลิตผลชันดี ้ จากบ้ านหนองแวง หมูท่ ี่ 12 ของผู้ใหญ่ธงชัย ยอดนอก แน่นอนครับ...




อย่าได้ สงสัย ท�ำไมคนอุดมทรัพย์อยู่ร่วมกับ ผู้ป่วยจิตเวชชุมชนได้ อย่างกลมกลืน หากไม่มีใครเล่า เรื่ องราวของบางคนที่คณ ุ ก�ำลังคุยด้ วย หรื อคุณไม่ได้ มีโอกาสท�ำกิจกรรมร่วมกับเขา คุณจะไม่มีวนั รู้เลยว่า พี่คนนันเป็ ้ นผู้ป่วยจิตเวช หรื อลุงคนนี ้เคยเป็ นผู้ป่วย จิตเวชมาก่อน เรื่ องราวของคนอุดมทรัพย์ที่ชว่ ยกันดูแลผู้ป่วย ของชุมชนได้ อย่างเรี ยบร้ อย แถมอยูร่ ่วมกันอย่างสงบ สุข ส่งเสียงดังไปไกลถึงต่างประเทศ จนหน่วยงานด้ าน การดูแลผู้ป่วยจิตเวชจากประเทศจีน ญี่ปนุ่ ภูฏาน ต้ อง ส่งคนมาดูงานถึงที่นี่เพื่อดูว่า ชาวอุดมทรัพย์มีเคล็ด วิธีบริ หารจัดการให้ ผ้ ปู ่ วยจิตเวชอยูร่ ่วมกับคนปกติใน ชุมชนอย่างปกติสขุ ได้ อย่างไร


เรื่ องราวของชมรมส่งเสริ มดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในชุมชนโดยพระสงฆ์เป็ นแกนน�ำนันเกิ ้ ดจากการร่วมมือ ของโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาและคณะสงฆ์ โดย มี พ ร ะ ค รู ป ร ะ โ ช ติ สั ง ฆ กิ จ ห รื อ ห ล ว ง พ่ อ ใ ห ญ่ เจ้ าอาวาสวัด ห้ ว ยพรหม เป็ นแกนน� ำ ท่ า นพระครู ประโชติ เ ล็ ง เห็ น ว่ า ชุม ชนอุด มทรั พ ย์ มี ผ้ ูป่ วยจิ ต เวช จ�ำนวนมาก และการดูแลรักษาแบบที่ท�ำกันอยูน่ นยั ั ้ งไม่ เป็ นระบบระเบียบ จึงตังชมรมขึ ้ ้น โดยมีทา่ นพระปลัด มานับ ปภสฺสโร เป็ นเลขาฯ ร่วมกับชาวบ้ านกลุม่ หนึง่ บ่ายวันเดียวกันนัน้ คุณองอาจ ผู้ประสานงาน โทรฯ ไปนัดหมายกราบเรี ยนท่านพระครู ประโชติเพื่อ ขยายความเรื่ องนี ้กับเรา โชคดีเหลือเกินที่ท่านไม่มีกิจ นิมนต์ที่ไหน


สิทธา วรรณสวาท 57

ระหว่างที่นงั่ รอพระครูประโชติอยูน่ นั ้ ผมมองไป รอบบริเวณกว้ างนอกกุฏิ เป็ นช่วงทีว่ ดั ไม่มกี ิจกรรมงาน พิธี จึงดูสงบและเงียบมาก คุณองอาจเล่าให้ ผมฟั งว่า ทุกครัง้ ที่วดั มีกิจกรรม ชาวบ้ านทังที ้ ่นี่และหมูบ่ ้ านใกล้ เคียงจะมาร่วมงานกันเยอะมาก หนึง่ ในผู้ที่มีสว่ นร่วม ในกิจกรรมภายในวัดทุกครัง้ คือ กลุม่ ผู้ป่วยจิตเวช ผม อดคิดไม่ได้ วา่ แล้ วผู้ป่วยเหล่านัน้ ใครจะเป็ นคนดูแล ควบคุม แล้ วจะควบคุมกันอย่างไร แล้ วกิจกรรมที่จะให้ เหล่าผู้ป่วยจิตเวชได้ มีสว่ นร่วมนันล่ ้ ะ คือกิจกรรมอะไร

พระครูประโชติสังฆกิจ

เจ้าอาวาสวัดห้วยพรหม


58 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

เสียงนาฬิกาตังพื ้ ้นตัวใหญ่ส่งเสียงบอกเวลา บ่ายสองโมง ขณะท่านพระครูเดินออกมา หลังจากกราบ นมัสการเรียบร้ อย ผมก็ถามเข้ าประเด็นทันทีวา่ ทีม่ าของ ชมรมส่งเสริมดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนโดยพระสงฆ์เป็ น แกนน�ำนันเริ ้ ่ มต้ นจากอะไร หลวงพ่อขยับจีวรเล็กน้ อย แล้ วเรื่ องราวต่าง ๆ ก็หลัง่ ไหล.. เรื่ องนี เ้ ริ่ มต้ นเมื่ อ พ.ศ. 2543 จากกลุ่มงาน นักสังคมสงเคราะห์ของโรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมา ราชนคริ นทร์ ซึ่งน� ำเรื่ องนี เ้ ข้ าสู่ที่ประชุมสงฆ์ จังหวัด นครราชสีมา เพื่อให้ พระสงฆ์ ได้ มีส่วนร่ วมช่วยดูแล ผู้ป่วยจิตเวช อย่างน้ อย ๆ ก็เพื่อสร้ างบุญกุศล เพราะคน ทัว่ ไปไม่เข้ าใจผู้ป่วยจิตเวช มักรังเกียจ คิดว่าคนเหล่า นี ้เกะกะระราน สกปรกมอมแมม ไม่นา่ เข้ าใกล้ หรื ออยู่ ร่วมด้ วยไม่ได้ จึงท� ำหนังสือเชิ ญทุกภาคส่วนที่ เกี่ ยวข้ อง ภายในต�ำบลอุดมทรัพย์มาร่วมประชุมปรึกษาหารื อเพื่อ หาแนวทางดูแลผู้ป่วยจิตเวชในต�ำบลร่วมกัน ผู้เข้ าร่วม ตอนนันมี ้ ทงก� ั ้ ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายก อบต. อุดมทรัพย์ และกลุม่ ผู้น�ำในชุมชน


สิทธา วรรณสวาท 59

แล้ วชี ้ให้ เห็นว่า เวลานี ้ชุมชนของเรามีความสะดวก สบายครบครัน เรี ยกว่า น� ้ำไหล ไฟสว่าง หนทางสะดวก หมดแล้ ว เหลือก็แต่ผ้ ปู ่ วยทางจิตเวชที่ยงั ไม่ได้ พฒ ั นา ยัง ปล่อยให้ อาละวาด เอะอะโวยวายกันอยู่ บางคนเดินแก้ ผ้า บางบ้ านต้ องจับญาติของตัวเองล่ามโซ่เอาไว้ นอกจากนี ้ท่านยังฉุกคิดขึ ้นมาว่า เราคนปกติอาจ จะยังไม่เข้ าใจหรื อหาวิธีที่จะอยูร่ ่วมกับพวกเขา แต่ตอนนี ้ เราน่าจะคืนศักดิ์ศรี ของมนุษย์แก่เขา เพราะอันที่จริ ง คน เหล่านันเขาไม่ ้ ได้ ร้ ูเรื่ องรู้ราวว่าตนเป็ นอะไร ในที่สดุ ก็ได้ ข้อสรุ ปร่ วมกันว่า ต้ องจัดทีมเพื่อออก เยี่ยมญาติของผู้ป่วยเหล่านัน้ เพื่อเก็บข้ อมูล สอบถาม อาการว่า แต่ล ะคนป่ วยมากน้ อ ยแค่ไ หน อาการเป็ น อย่างไรบ้ าง จากการออกเยี่ยมผู้ป่วยและสอบถามข้ อมูล กับญาติท�ำให้ ได้ ทราบว่า ส่วนใหญ่ แล้ วขาดแคลนทุน ทรัพย์ส�ำหรับส่งผู้ป่วยไปรักษา ขาดเงินซื ้อยา หรื อไม่มี ค่ารถไป-กลับจากหมู่บ้านไปโรงพยาบาล ท�ำให้ ต้องจัด ตังกองทุ ้ น ขอรับบริ จาคจากญาติโยมเพื่อน�ำเงินมาช่วย เหลือเหล่าผู้ป่วยจิตเวช แรก ๆ ก็อาศัยการบอกบุญคนใน หมูบ่ ้ าน เมือ่ ได้ เงินมาจ�ำนวนหนึง่ ก็เหมารถพาผู้ป่วยเข้ าไป


รักษาทีโ่ รงพยาบาลแล้ วรับยากลับมากินต่อทีบ่ ้ าน แต่ อาการของผู้ป่วยทังหลายยั ้ งไม่ดขี ึ ้นเท่าไหร่ จึงปรึกษา กับทางโรงพยาบาล ค�ำตอบคือ โรงพยาบาลให้ เราช่วยกันคิดหาวิธี บ�ำบัดรักษาผู้ป่วยแบบที่ไม่ต้องพึง่ ยาเพียงอย่างเดียว เมือ่ น�ำเรื่ องมาหารื อกันในทีป่ ระชุมก็ได้ ข้อสรุปว่า ต้ อง


ปรับพฤติกรรมผู้ป่วยจิตเวชกันใหม่ โดยขอความร่ วม มือกับญาติผ้ ูป่วย ส่วนญาติพี่น้องหรื อคนบ้ านใกล้ เรื อนเคียงก็ต้องปรับทัศนคติต่อเขาเหล่านัน้ ให้ มอง ว่า ผู้ป่วยก็เหมือนอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ เพียงแต่เขาป่ วย เท่านัน้ แล้ วมาช่วยกันหาวิธีที่จะท�ำให้ เขาอยู่ร่วมใน สังคมให้ ได้


ผู้ป่วยจิ ตเวชที่ ได้ รับยามาจากโรงพยาบาลมี อาการดีขึ ้น แต่ก็ยงั ขังตัวเอง แยกตัวเองออกจากโลกของ คนปกติ จึงต้ องบอกญาติ ๆ ว่า ตอนนี ้เราได้ ตงชุ ั ้ มชน บ�ำบัดขึ ้นมาแล้ วนะ หากอยากให้ ญาติของเราดีขึ ้นกว่า เดิมก็ต้องช่วยกันบ�ำบัดรักษา ร่วมไปกับการใช้ ยา ทางชมรมฯ มีเงินบริ จาคเหลืออยูบ่ างส่วน ก�ำนัน ก็ ไ ด้ จัด ผ้ า ป่ าหาทุน มาเพิ่ ม เติ ม ให้ ท� ำ ให้ มี เ งิ น พอซื อ้ เครื่องไม้ เครื่องมือส�ำหรับประกอบกิจกรรมบ�ำบัดแก่ผ้ ปู ่ วย


สิทธา วรรณสวาท 63

เริ่มบ�ำบัด ด้วยการปลูกผัก ปลูกต้นไม้ หลังจากที่ชาวบ้ านส่วนใหญ่ซงึ่ เป็ นญาติของ ผู้ป่วยจิตเวชเข้ าใจหลักการบ�ำบัดแล้ ว ทัศนคติตอ่ คน เหล่านี ้ก็คอ่ ย ๆ ดีขึ ้น กิจกรรมช่วงเริ่ มต้ นคือ ชักชวน ผู้ป่วยปลูกผัก ปลูกต้ นไม้ แล้ วให้ ชว่ ยกันดูแล รดน� ้ำ ใส่ ปุ๋ย หลังจากได้ ผลผลิตก็เอาไปขายตามตลาด โดยไม่ ได้ มงุ่ เน้ นผลก�ำไร เพียงแต่สร้ างกิจกรรมให้ ผ้ ปู ่ วยและ ญาติได้ ท�ำกิจกรรมร่วมกัน ประเด็นหลักคือ น�ำผู้ป่วยทางจิตเวชเหล่านี ้ กลับคืนสูช่ มุ ชนให้ ได้ ท�ำอย่างไรก็ได้ ให้ เขาสามารถอยู่ ร่วมในชุมชนได้ ตามปกติโดยมีญาติพี่น้องรับรอง เพื่อ พัฒนาชีวิตผู้ป่วยจิตเวชให้ ดีขึ ้น จากนันก็ ้ รักษามาตรฐานการบ�ำบัดการดูแล ผู้ป่วยทางจิตเวชให้ ดีขึ ้นเรื่ อย ๆ การทอดผ้ าป่ าครัง้ ต่อ ๆ มาก็เริ่ มมียอดท�ำบุญมากขึ ้น เพราะคนทัว่ ไป อยากมีส่วนร่ วม เงินที่ท�ำบุญนันก็ ้ เอาไปท�ำโครงการ ต่าง ๆ ให้ กับผู้ป่วย โครงการที่เห็นผลมากที่สดุ คือ ดนตรี บ�ำบัด





สิทธา วรรณสวาท 67

ดนตรีบ�ำบัด มีหลักการคือ ท�ำให้ ผ้ ปู ่ วยทางจิตเวชไม่อยู่ใน ภาวะอารมณ์ ตึงเครี ยด แต่ให้ ผ่อนคลายสนุกสนาน กับดนตรี แทน ที่ผ่านมา ทางชมรมฯ มีอาสาสมัคร เสนอตัวที่จะฝึ กผู้ป่วยจิตเวชตีกลองยาว จึงมีการตัง้ งบประมาณส่วนหนึง่ เพื่อจัดซื ้อกลองยาว ฉิ่ง ฉาบ ให้ ผ้ ู ป่ วยได้ ฝึก โดยมีทา่ นพระปลัดมานับเป็ นผู้ดแู ลในส่วนนี ้ จากการฝึ กตีกลองยาวปรากฏว่า อาการของ ผู้ป่วยเริ่ มดีขึ ้นโดยล�ำดับ จากผู้ป่วยที่เคยเดินตัวแข็ง น� ้ำลายยืด น� ้ำลายไหล ไม่คอ่ ยยิ ้ม ไม่เคยหัวเราะ กลับ กลายมาเป็ นเหมือนคนปกติ มีผ้ ูป่วยทางจิตเวชคน หนึ่งหลังจากที่รับการบ�ำบัดเช่นนี ้ อาการป่ วยก็หาย ไป กลับมาเป็ นปกติ เพียงแต่ต้องดูแลเรื่ องการกินยา รักษาเท่านัน้ ไม่นานนักก็สามารถก่อตังกลุ ้ ม่ กลองยาวผู้ป่วย จิตเวชขึ ้น โดยมีคนปกติร่วมคุมวง มีงานอะไรที่ไหนที่ อาศัยการแห่แหน คณะกลองยาวก็ไปช่วยงาน ได้ ผล เป็ นที่น่าพอใจ คณะกลองยาวนีเ้ คยไปร่ วมแสดงที่ งานโอทอปเมืองทองธานีมาแล้ ว รวมทังงานคนพิ ้ การ นานาชาติซงึ่ จัดที่โรงแรมปริ นซ์พาเลซด้ วย โดยที่ผ้ ชู ม ไม่ทราบมาก่อนเลยว่า สมาชิกคณะกลองยาวเป็ นผู้ ป่ วยทางจิตเวช..


68 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

จากเดิมที่กลุม่ ผู้ดแู ลมีเฉพาะญาติ ต่อมาก็มี คนจากหลาย ๆ กลุม่ เข้ ามามีสว่ นร่วมช่วยดูแลผู้ป่วย ทางจิตเวชมากขึ ้น สุดท้ าย ชุมชนก็เป็ นอันหนึง่ อัน เดียวกัน ผู้ป่วยทางจิตเวชสามารถอยูร่ ่วมกับคนปกติ ได้ อย่างไม่มีปัญหา เมื่อทัศนคติตอ่ กันดีขึ ้น คนทัว่ ไป ก็เข้ าใจผู้ป่วยจิตเวชดีขึ ้นเรื่ อย ๆ จนไม่เหลือช่องว่าง ปั จจุบนั ชุมชนบ้ านห้ วยพรหมโด่งดังทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ ด้ วยความส�ำเร็จในการน�ำ ผู้ป่วยจิตเวชกลับคืนสูช่ มุ ชน และสามารถอยูร่ ่วมกับ คนปกติได้ อย่างมีความสุข





72 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

เกือบทุกพื ้นที่ว่างของชุมชนคนอุดมทรัพย์ ชี ้ไปที่ใดต้ องได้ เห็นไม่ไม้ ใบก็ไม้ ผล ซึง่ ทุกคนเก็บกิน ได้ ไม่มีใครหวง คนที่นี่พึ่งพาตนเองด้ วยการปลูก ผักพืชสวนครัวไว้ กินเอง ถ้ าเหลือก็สง่ ขาย ผลผลิตมี มากมาย เหลือจากขายก็แจกจ่ายกันไป ใครใคร่เก็บ เก็บได้ ไม่มีหวงห้ าม ความสมบู ร ณ์ ข องดิ น และแหล่ ง น� ำ้ เอื อ้ อ�ำนวยในการปลูกพืชผัก นอกจากจะปลูกกันเอง แทบทุกบ้ านแล้ ว ชาวบ้ านที่นี่ยงั มีแปลงเกษตรรวม ทีท่ กุ คนเป็ นเจ้ าของ ช่วยกันปลูก ช่วยกันดูแลอีกด้ วย



74 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

คุ ณ องอาจพาผมมาพบกั บ คุ ณ ลุ ง แก้ ว กรกิ่ ง (สมาชิก อบต. บ้ านห้ วยพรหม) ผู้ซงึ่ ก�ำลังเดินแหวกพงข้ าง ทางออกมาพร้ อมรอยยิ ้มหมาดแดดบ่าย ในมือมีตะไคร้ ติดมาก�ำมือหนึง่ ผมทักทายและแนะน�ำตัวง่าย ๆ ว่าเป็ น ใคร มาจากไหน และมาท�ำอะไร แล้ วค�ำถามพื ้น ๆ ก็เริ่ ม ขึ ้น ผักสวนครัวรัว้ กินได้ นี ้มีความเป็ นไปเป็ นมาอย่างไร ค�ำตอบง่าย ๆ ว่าอย่างนี ้ครับ

แนวคิดง่าย ๆ เริ่มจาก.. “พื ้นที่แถวบ้ านที่มีอยูม่ นั ว่าง ไม่ร้ ูจะท�ำอะไรก็เลย เอาโน่น นี่ นัน่ มาปลูก อย่างตะไคร้ ในมือนี่ เกิดเราอยาก จะต้ ม ย� ำ ท� ำ แกงขึน้ มา เราก็ ไ ม่ต้ อ งไปเดิ น ไปไหนไกล เพราะเราปลูกอยูแ่ ถวหน้ าบ้ านเรานี่” เริ่ มต้ นจากคนเก่าคนก่อนปลูกพืชสวนครัวง่าย ๆ ในบ้ านนัน่ เอง เมื่อบ้ านนี ้ปลูก บ้ านโน้ นก็ปลูก ต่อ ๆ มา ทุก ๆ บ้ านก็ปลูกกัน ขึ ้นอยูก่ บั ว่า ใครจะปลูกอะไร แล้ ว ใครจะเดินไปเก็บผัก เก็บพริ ก เด็ดโหระพา ขุดเหง้ าข่า หาตะไคร้ จากบ้ านใครบ้ าง ก็ไม่มีใครถือสาหาความกัน


สิทธา วรรณสวาท 75

จากชีวิตที่อยูก่ นั แบบถ้ อยทีถ้อยอาศัย ใครเดิน ผ่านหน้ าบ้ านใคร ถ้ าเห็นเจ้ าของบ้ านก็เอ่ยปากเอิ ้น ขอกันพอเป็ นพิธี ถ้ าไม่เห็นเจ้ าของบ้ านก็เด็ดหรื อเก็บ เอาได้ ตามสะดวก ต่างจากวิถีทตี่ ้ องซื ้อของคนเมืองโดย สิ ้นเชิง พริ กขี ้หนูก็ซื ้อ มะนาวก็ซื ้อ ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ล้ วนต้ องซื ้อหาเอาทังสิ ้ ้น แต่คนที่นี่เขาไม่วา่ กัน ใครใคร่เด็ดเชิญ ใครชอบ อะไรอยากได้ ก็เก็บ เรี ยกว่า ถึงฤดูปลูกผักก็มาช่วย กันปลูกผัก อย่างถัว่ พูในค้ างหน้ าบ้ านใครคนหนึง่ ผม ชี ้มือไป ลุงแก้ วบอกว่า “เอามัยล่ ้ ะ เดี๋ยวผมจะเก็บให้ ” เดินผ่านพริ ก ผ่านมะเขือ แกก็บอกว่า “เอานี่มยั ้ เดี๋ยว ผมเก็บให้ ”

แก้ว กรกิ่ง

สมาชิก อบต. บ้านห้วยพรหม




ระหว่างทางมีหมาเห่าทักทายตลอด ผมหันไป เห็นต้ นกล้ วยเครื อใหญ่ ถามดื ้อ ๆ ว่า “ขอได้ ไหมครับ” ลุงแก้ วพยักหน้ าทันที “เอาสิ เดีย๋ วผมตัดให้ ทงเครื ั ้ อเลย” ผมต้ องรี บโบกมือห้ าม บอกแกว่า ผมล้ อเล่น คณะ 3 คนของพวกเราเดินผ่าที่ดนิ บริ เวณบ้ าน ของใครก็ไม่ทราบ เสียงคุณองอาจตะโกนเรี ยกคุณป้า คนหนึง่ “ป้านิดดด ป้านิด...” เจ้ าของที่ที่เราถือวิสาสะ เดินผ่านนัน่ เอง เช่นเดียวกัน ตลอดทางที่ผา่ นมีพืชผัก สวนครัวหลากชนิด ป้านิดยิม้ อารมณ์ ดี เดินออกมาจากดงผักกูด ค�ำถามของผมเหมือนกับที่ถามลุงแก้ ว ป้านิดตอบเหมือนกันไม่ผิดเพี ้ยน “เอาไหม เดี๋ยวตัดให้ ” “จ้ า ฉันก็ปลูกทุกอย่างเหมือนกัน” แกตอบค�ำถามผม “พื ้นที่ทกุ ตารางนิ ้ว คือไม่ปล่อยให้ มนั ว่างไว้ ปลูกอะไรได้ ก็ปลูกหมดนัน่ แหละ” ป้านิดชี ้นิ ้วไปยังที่วา่ งเล็ก ๆ บอก ว่า “ตรงนี ้เดี๋ยวดายหญ้ าเสร็ จก็ จะปลูกมะกรูด เพราะมันปลูกแล้ ว ก็แล้ วกัน ไม่ต้องไปอะไรกับมันมาก”


ขณะเดินไปสัมภาษณ์ กันไป ผมก็มีโอกาสได้ เห็นต้ นละมุดเป็ นครัง้ แรก ก�ำลังงาม ออกลูกดกดกเต็ม ต้ น น้ องเบียร์ เล่าให้ ฟังว่า พืชผักผลไม้ ที่นี่ ถ้ าเหลือกิน เหลือเก็บก็จะน�ำไปขายที่ตลาดปั กธงชัย เล่ายังไม่ทนั จบก็ไปเจอต้ นแก้ วมังกรขึ ้นพันอยู่บนเสาปูน ออกลูก สีแดงสวย เรี ยกว่าปลูกกันสารพัดอย่างจริ ง ๆ

สรุ ปแล้ ว พืน้ ฐานของคนชุมชนนี ้ ใครมีพืน้ ที่ ว่าง ๆ ก็จะปลูกผลหมากรากไม้ หรื อผักสวนครัว สุดแต่ ว่าอยากปลูกอะไร ถ้ าพื ้นที่กว้ างมากหน่อยก็ปรับยก ร่อง ปลูกหอมกระเทียมกันเป็ นเรื่ องเป็ นราวไป


ปกติชาวชนบทก็ปลูกผักปลูกผลไม้ กินเองมา ตังแต่ ้ รุ่ นปู่ ย่าตายายอยู่แล้ ว รวมแล้ วก็หลายหลาก สารพัดพืชพันธุ์ วิถีชวี ติ เช่นนี ้เป็ นทีม่ าของการเอื ้อเฟื อ้ เผื่ อ แผ่ ท� ำ ให้ ชุม ชนอยู่กัน แบบถ้ อยที ถ้ อยอาศัย เรี ย บง่ า ยและพอเพี ย ง ชี วิ ต ในเมื อ งต่า งหากขาด โอกาสสัมผัส จึงไม่น่าแปลกใจที่ทกุ เทศกาลวันหยุด ผู้คนพากันหลัง่ ไหลกลับคืนท้ องถิ่นบ้ านเกิด




สิทธา วรรณสวาท 83

ระยะทางในเขตรับผิดชอบของ อบต. อุดมทรัพย์ บนถนนสาย 304 เส้ นนครราชสีมา – กบินทร์ บรุ ี ตลอด แนวนัน้ ไม่วา่ ใครที่ขบั รถหรื อนัง่ รถผ่านจะเห็นว่า สอง ข้ างทางล้ วนสะอาดสะอ้ าน ปลอดขยะ เนื่องเพราะมี หน่วยสายตรวจขยะคอยรับผิดชอบดูแล ‘สายตรวจ ขยะ’ คือแนวคิดของท่านนายก อบต. คนปั จจุบนั แต่ จะมีความเป็ นมาอย่างไรนัน้ ต้ องติดตาม


84 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

นายก อบต. ส�ำรวม กุดสระน้ อย เล่าเรื่ องราว ความเป็ นมาให้ เราฟั งด้ วยตัวเอง จากปั ญหาขยะสอง ฝั่ งถนน 304 ซึง่ มีจ�ำนวนมาก ก่อให้ เกิดมลภาวะและ ความสกปรก ท�ำให้ ทศั นียภาพโดยรวมไม่สวยงาม จึง คิดน�ำแนวทางจากการศึกษาดูงานที่ตลาดสามชุกมา รวมกับแนวคิดต่อยอดนโยบายการจัดการสิง่ แวดล้ อม ชุมชน บวกกับมีโครงการ ‘โคราชเมืองสะอาด’ พอดี มา ผสมผสานปรับใช้ กบั อบต. อุดมทรัพย์ “ก็ไม่มีอะไรมาก คือผมเห็นลุงคนหนึ่ง แกก็ขี่ ซาเล้ งติดเครื่ องของแก วิ่งอยูบ่ นถนนเส้ นนี ้แหละ แล้ ว ก็เก็บขยะเก็บของเก่าไปเรื่ อย อันไหนใช้ ไม่ได้ แกก็ไม่ เก็บ ทิ ้งไว้ อย่างนัน้ อะไรที่ขายได้ แกก็เก็บเอาไปขาย หมด ผมก็เลยให้ คนเรี ยกมาคุย ถามถึงรายได้ จากการ เก็บของขายว่า ได้ วนั ละเท่าไหร่ ลุงแกก็ตอบว่า ได้ วนั ละ 80 บาท ผมเลยบอกว่า ถ้ าให้ วนั ละ 200 เอาไหม แต่ให้ ชว่ ยเก็บขยะสองข้ างถนนเลยนะ ตอนเช้ าก็วงิ่ ฝั่ ง หนึง่ ตอนบ่ายก็วิ่งอีกฝั่ ง ขยะอะไรที่ขายได้ ก็เอาไป ลุง คนนันก็ ้ ตอบตกลงทันทีเลย นัน่ เป็ นจุดเริ่ มต้ น...” นี่เอง ที่มาของพนักงานดูแลจัดเก็บขยะ ผู้ได้ รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณของ อบต. อุดมทรัพย์


สิทธา วรรณสวาท 85

หน้ าที่รับผิดชอบของสายตรวจขยะคือ เก็บขยะ และดูแลต้ นไม้ ที่ทาง อบต. ปลูกไว้ ตลอดแนวถนน 304 ในระยะรับผิดชอบ นอกจากเก็บขยะสองข้ างทางแล้ ว ยัง ต้ องท�ำการคัดแยกขยะที่ต้องน�ำกลับไปท�ำลายด้ วย ส่วน ขยะทีส่ ามารถขายได้ นนถื ั ้ อเป็ นรายได้ เสริมของสายตรวจ ขยะไป เนื่องจากสายตรวจขยะมีเพียงคนเดียว ต้ องรับ ผิดชอบทังเก็ ้ บขยะ คัดแยกขยะ และดูแลต้ นไม้ ท�ำให้ ไม่ สามารถท�ำงานได้ เต็มที่ และท�ำไม่ทนั ทาง อบต. จึงจัด จ้ างสายตรวจขยะเพิ่มอีก 1 คน ให้ ทงสองแยกท� ั้ ำงานกัน คนละฝั่ งถนน เพิ่มประสิทธิภาพในการเก็บขยะและดูแล ต้ นไม้ ได้ มากขึ ้น





สิทธา วรรณสวาท 89

จากแนวคิดก�ำจัดขยะ ปลูกต้ นไม้ ให้ ร่มรื่นแล้ ว ท่านนายก อบต. เล็งเห็นว่า ควรปลูกไม้ ดอกเพิม่ เติมทัง้ สองฝั่ งถนน และก�ำลังจะระดมคนในต�ำบลอุดมทรัพย์ ช่วยกันปลูกต้ นเฟื่ องฟ้า เพื่อให้ เกิดความสวยงามยิง่ ขึ ้น แนวคิด ‘สายตรวจขยะ’ นี ้ส่งผลดีในวงกว้ าง ชาวบ้ านหมู่ 3 บ้ านโนนงิว้ จึงปรึ กษาหารื อกัน และ จัดทีมสายตรวจขยะของตนขึ ้นบ้ าง ส่วนที่หมู่ 1 บ้ าน บะใหญ่ ซึง่ เล็งเห็นประโยชน์ด้านรายได้ และการสร้ าง งานให้ คนในชุมชน ก็ได้ ต่อยอดขยายเพิ่มเป็ น ‘สาย ตรวจขยะเยาวชน’ และ ‘ธนาคารขยะ’ ด้ วย หลังจากแก้ ปัญหาเรื่ องขยะ ปลูกต้ นไม้ ใหญ่ และไม้ ดอกแล้ ว นายก อบต. อุดมทรัพย์ ยังวางแผนทีจ่ ะ ปลูกไม้ ผลเพื่อเรี ยกนกนานาชนิดมา ไม่แน่วา่ อนาคต ถนนสาย 304 ช่วง ต.อุดมทรัพย์ นี ้อาจจะกลายเป็ นจุด พักรถและหยุดชมทิวทัศน์ที่สวยงามแห่งหนึง่ ก็เป็ นได้


8 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา


สิทธา วรรณสวาท 91

ณ ศาลาเล็ก ๆ ร่มรื่ น บริ เวณหน้ าบ้ านผู้ใหญ่ ปทุมทิพย์ นวนยานัส แห่งหมู่บ้านห้ วยน� ้ำเค็ม หมู่ท่ี 11 เรามีผ้ ชู ว่ ยผู้ใหญ่บ้านคือ พี่เร่ง แป้นส�ำโรง ร่วมวง สนทนาเรื่ อง ‘กลุม่ การท�ำไม้ กวาด’ ของชาวบ้ านห้ วย น� ้ำเค็ม เจาะลึกตังแต่ ้ วสั ดุที่ใช้ ท�ำ รวมทังแนวทางการ ้ ผลิตและจ�ำหน่าย คุยกันเลยเถิดไปว่า ท�ำอย่างไรจึงจะสามารถ ต่อยอดจากเดิม ส่งเสริ มความคิดเพื่อเพิ่มมูลค่า ปรับ รู ปแบบและพัฒนาสินค้ าเดิมที่มีอยู่ให้ ดทู นั สมัย และ สามารถเป็ นได้ มากกว่าไม้ กวาด จากเดิมทีช่ าวบ้ านจะ ผลิตไม้ กวาดเพียงอย่างเดียว ถูกจ�ำกัดด้ วยราคา แถม ยังมีคแู่ ข่งเยอะแยะ โดยเฉพาะไม้ กวาดลับแลยี่ห้อดัง จากจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมทังท� ้ ำอย่างไรจึงจะสามารถ ลดระยะเวลาการผลิตลง พร้ อม ๆ กับสร้ างมูลค่าเพิ่ม และอื่น ๆ อีกมากมาย


92 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

ว่าแต่เข้ าประเด็นเลยดีกว่า มาท�ำความรู้จกั กับ ไม้ กวาดกันว่า เขาใช้ ต้นอะไรท�ำ แล้ วไอ้ เจ้ าต้ นทีว่ า่ นี ้มัน มีกี่แบบ มาจากไหน ให้ พี่เร่งผู้ชว่ ยผู้ใหญ่บ้านเล่าให้ ฟัง ท่าจะดี เพราะเล่าลือกันว่า ไม้ กวาดของบ้ านห้ วยน� ้ำ เค็มใช้ งานดีไม่ใช่ยอ่ ย “ไม้ กวาดทีน่ ี่แข็งแรง ทนทาน ไม่หลุดง่าย เพราะ ทีน่ เี่ ราใช้ ‘ดอกพง’ ท�ำ มันจะอ่อนนุม่ ไม่แข็งเหมือนพวก ดอกแขมที่เส้ นของมันจะมีลกั ษณะคล้ ายเป็ นผงเล็ก ๆ เวลากวาดมันจะหลุดออกมาด้ วย ถ้ าคนใช้ ไม้ กวาด สังเกตจะเห็น ไม้ กวาดที่ ท�ำจากดอกพงจะไม่มีผง เล็ก ๆ หลุดร่วงออกมาเวลากวาด แล้ วจะอ่อนนุม่ กว่า”


สิทธา วรรณสวาท 93

ระหว่างที่พี่เร่งก�ำลังบอกเล่าเรื่ องราวที่มาของ ไม้ กวาด ผู้ใหญ่บ้านปทุมทิพย์ก็มาถึง ตอนแรกผมคิด ว่า ผู้ใหญ่บ้านผู้หญิงจะต้ องเป็ นคนมีอายุแน่ ๆ แต่ดู รูปก็แล้ วกัน พี่เร่งคุยว่า หากมีที่ดินก็อยาก จะปลูกต้ นพืชส�ำหรับท�ำไม้ กวาดที่วา่ เพราะเคยทดลองแล้ ว สามารถ ปลูกได้ มันขึ ้นได้ งา่ ย ๆ ในดิน เกือบทุกสภาพ จะได้ ไม่ต้อง ไปหาเก็บตามป่ าตามเขา แต่ที่ดนิ แถบนี ้เป็ นเขตอนุรักษ์ เสียเป็ นส่วนใหญ่ ชาวบ้ านมี ปทุมทิพย์ นวนยานัส ผู้ใหญ่บ้านห้วยน�้ำเค็ม ที่ดนิ เพียงพอส�ำหรับอยูอ่ าศัย เท่านัน.. ้ ผู้ใหญ่ปทุมทิพย์เดินมาถึง ถือดอกพงติดมือมา ด้ วยก�ำมือหนึ่ง พี่เร่ งยังติดพันเรื่ องปลูกต้ นไม้ กวาดนี ้ อยู่ เล่าว่า “เดี๋ยวนี ้ต้ นไม้ เริ่ มขึ ้นเยอะ คลุมพื ้นที่ที่เคย มีต้นไม้ กวาดอยู่ ท�ำให้ ตายไปเยอะ ต้ องเปลี่ยนที่ย้าย แหล่งเก็บ นี่ถ้ามีพื ้นที่ปลูกได้ ก็คงดี...”



“ไม้ กวาดทีท่ ำ� ขายกันทีน่ มี่ กี ี่ขนาดครับ” ผม เริ่ มค�ำถามกับผู้ใหญ่ปทุมทิพย์ “มันแล้ วแต่ขนาด จะเอาอย่างหนา อย่าง บาง ขนาดสัน้ ขนาดยาว ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ท�ำได้ หมด ถ้ าสัง่ ท�ำพิเศษก็ท�ำอย่างหนาไปให้ แต่ มันจะหนักมือเวลากวาด แต่ไม้ กวาดที่นี่ไม่วา่ จะ อย่างบางหรื อหนา ของเรามัดแน่นเหมือนกันหมด ไม่หลุดง่าย ใช้ ทน ใช้ ได้ นาน เพราะบางคนเขาก็ ชอบไม้ กวาดอย่างบาง เพราะกวาดง่าย สบายมือ “ไม้ กวาดทีน่ สี่ ว่ นใหญ่แล้วมีแต่ชาวบ้านทีท่ ำ� ขายกัน คนที่มาซื ้อในราคาส่งแล้ วเอาไปขายต่อ ที่อื่นก็มี บางทีชาวบ้ านก็ขายกันเองตามริ มถนน ชาวบ้ านห้ วยน� ้ำเค็มจะแบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ คือ กลุม่ ที่ออกไปเก็บดอกพงมาขาย กิโลละ 15 บาท กับกลุม่ ที่ท�ำไม้ กวาดอย่างเดียว บางคนท�ำแล้ วไม่ ได้ ออกไปนัง่ ขาย ก็จะส่งต่อให้ คนมารับไปขายต่อ อีกที ท�ำให้ พวกเราทีน่ ี่มชี อ่ งทางท�ำรายได้ ทเี่ อื ้อกัน ก็จะหมุนเวียนกันอยูอ่ ย่างนี ้”


96 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

เรียกว่า ชาวบ้ านห้ วยน� ้ำเค็มสามารถประกอบ อาชีพท�ำไม้ กวาดแล้ วก็พออยู่ได้ สบาย เพราะพื ้นที่ แถวนี ้ช่วงปลายฝน เห็ดหลายชนิดจะพากันผุดออก มาให้ เก็บขายราวกับเป็ นทรัพย์ในดินของทุกคน ราคา ดีถึงขนาดกิโลกรัมละ 200 บาท ส่วนพวกเห็ดโคน เห็ดระโงก เห็ดตะไคล เหล่านี ้ยิ่งราคาดี จัดเป็ นราย ได้ เสริ มที่ส�ำคัญทางหนึง่

สุดท้ าย เราหารื อกันเรื่ องการรักษาคุณภาพ ของไม้ กวาดให้ ดีไว้ เพราะสินค้ าริ มถนนหลวงนัน้ ผู้คนที่ขบั รถสัญจรผ่านไปมาจะมีโอกาสซื ้อเพียงครัง้ เดียว จึงจ�ำเป็ นจะต้ องท�ำให้ สินค้ ามีคณ ุ ภาพ ราคา ไม่แพง แตกต่างจากที่อื่น ซื ้อไปแล้ วไม่ผิดหวัง ใช้ ทนทาน เกิดการบอกต่อ สร้ างเรื่ องราวของฝากชันดี ้ จากบ้ านห้ วยน� ้ำเค็มให้ ได้


สิทธา วรรณสวาท 97


98 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

อีกเรื่ องก็คือ ชาวบ้ านห้ วยน�ำ้ เค็มมีความ ช�ำนาญในการท�ำไม้ กวาดมาก หากเราสามารถน�ำ ดอกพงมาแปรรูปเป็ นของตกแต่งบ้ าน เช่น เอาส่วน ทีเ่ ป็ นต้ นหรือก้ านน�ำมาประกอบจัดใส่แจกันสูง โดย ใช้ แจกันที่ท�ำจากไม้ ไผ่ซงึ่ ที่นี่มีเยอะและคุณภาพดี ล่ะ จะเพิ่มมูลค่า เพิ่มช่องทางการค้ าได้ ไหม ส่วนดอกพงที่ปกติใช้ ท�ำไม้ กวาดเพียงอย่าง เดียว อาจประยุกต์ท�ำเป็ นของที่ระลึก เช่น ไม้ กวาด ขนาดจิ๋ว ตังราคาขายชนิ ้ ดที่ใครผ่านมาก็อยากซื ้อ เป็ นของฝากหรื อของที่ระลึก นอกจากจะเป็ นการ เพิ่มรายได้ แล้ ว ‘ดอกพง’ จะไม่เป็นเพียงแค่วสั ดุที่ ใช้ ท�ำไม้ กวาดพื ้น ๆ อีกต่อไป แนวคิดนี ้ทังผู ้ ้ ใหญ่บ้านปทุมทิพย์และผู้ชว่ ย ผู้ใหญ่บ้านเร่งต่างยิ ้มละไม เพราะสามารถน�ำไปคิด ต่อได้ ไม่ต้องใช้ ดอกพงท�ำไม้ กวาดเพียงอย่างเดียว


สิทธา วรรณสวาท 99



ต�ำบลอุดมทรัพย์จะอุดมไปด้ วยทรัพย์สนิ เงิน ทองหรื อเปล่านัน้ ผมไม่ร้ ู แต่ที่แน่ ๆ ที่นี่อดุ มไปด้ วย ปุ๋ย เป็ นปุ๋ยที่ปราศจากสารเคมีผสม ผ่านการทดลอง ปรับปรุงสูตรจากการเรียนรู้ด้วยตนเองและศึกษาดูงาน มาแล้ วหลายแหล่ง ชาวอุดมทรัพย์ได้ พฒ ั นาปุ๋ยสูตร พิเศษของพวกเขา ปรุ งอย่างเหมาะสมกับผืนดินใน อุดมทรัพย์ และให้ ผลผลิตอุดมสมบูรณ์ น่าภาคภูมิใจ แรกเริ่ มท�ำแจกจ่าย พร้ อมน�ำไปทดลองใช้ ใน แปลงดินของตน ได้ เห็นความเปลีย่ นแปลงจากผลผลิต ที่เพิ่มขึ ้น กลายเป็ นเรื่ องราวบอกต่อไปจนถึงจ�ำนวน สัง่ พิเศษจากคนต�ำบลอื่น สร้ างรายได้ เป็ นตัวเงินได้ อย่างงดงาม ..............................................


102 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

แดดบ่ า ยร้ อนอ้ าว แต่ ยั ง มี ล มร� ำ เพยพั ด พอ ทุเ ลา หลัง อาหารมื อ้ เที่ ย งกับ ร้ านเจ้ า ประจ� ำ ของคน อุดมทรัพย์ผา่ นไป คณะเราแวะหลบร้ อนเข้ าไปในโรงผลิต ปุ๋ยชีวภาพ บ้ านบะด่าน หมูท่ ี่ 5 พลันที่เดินเข้ าไปถึง หนุม่ ใหญ่นาม ดวง พุดฉิมพลี มารอพวกเราอยูก่ ่อนแล้ ว หลัง สวัสดีทกั ทาย แนะน�ำตัวกันเป็ นที่เรี ยบร้ อย ก็ได้ รับฟั ง แนวคิดของแหล่งเรี ยนรู้อาชีพผลิตปุ๋ยชีวภาพแห่งนี ้

แนวคิดหลัก เริ่ มต้ นมาจากคุณจุล อ่อนพรมราช อาชีพหลัก เกษตรกร ซึง่ เมือ่ ทราบถึงความต้ องการของกลุม่ เกษตรกร ที่อยากผลิตปุ๋ยชีวภาพไว้ ใช้ เองเพื่อแก้ ปัญหาเรื่ องดินเสีย ดินเสื่อมในที่ดินของตน และอยากได้ ผ้ มู ีประสบการณ์ มี บ ทบาทในการท� ำ งานชุม ชน ใจซื่ อ มื อ สะอาด เพื่ อ มอบบทบาทส� ำ คัญ ที่ จ ะด� ำ เนิ น กิ จ กรรมนี ้ แต่ว่า ต้ อ ง เป็ นเกษตรกรเท่านัน้ พี่ดวง พุดฉิมพลี จึงได้ รับการคัด เลือกให้ เข้ ามาดูแลเรื่ องการผลิตปุ๋ยชีวภาพ เนื่องจากมี คุณสมบัติครบถ้ วน


สิทธา วรรณสวาท 103

พี่ดวงเล่าให้ ฟังว่า ก่อนจะมาดูแลที่นี่ เขาเป็ น หมอดินมาก่อน ทุกครั ง้ ที่ต้องไปดูงานเรื่ องของการ ปรุงดิน ปรับสภาพดินเสื่อมโทรม ทางเกษตรต�ำบลจะ ต้ องส่งเขาไปเป็ นตัวแทนเสมอ เนื่องจากแต่ละพื ้นที่ ในต�ำบลอุดมทรัพย์มีดินอยู่หลากหลายประเภท บาง พื ้นที่เป็ นดินเหนียว บางพื ้นที่เป็ นดินลูกรัง ส่วนบาง พื ้นที่ก็เป็ นดินทราย ช่วงนันประกอบกั ้ บราคาปุ๋ยขึ ้นราคาสูงมาก จึงต้ องคิดหาวิธีช่วยเหลือเกษตรกรของต�ำบล ตอน แรก ๆ ต้ องไปหาขี ้วัวมาท�ำปุ๋ย แต่กลับไม่ได้ ผลเท่า ไหร่ ทางเกษตรอ�ำเภอจึงส่งเขาไปเรี ยนรู้ เรื่ องการท�ำ น� ้ำหมักชีวภาพ

ดวง พุดฉิมพลี สมาชิกกลุ่มอาชีพผลิตปุ๋ยธรรมชาติ





บริ เวณที่ใช้ เป็ นโรงผลิตปุ๋ยชีวภาพนี ้เดิม เป็ นป่ าช้ าเก่ า ไม่ มี ใ ครถื อ กรรมสิ ท ธิ์ เ ป็ นเจ้ าของ ครอบครอง ที่เลือกมาตังที ้ ่นี่เพราะห่างไกลบ้ านเรื อน ผู้ ค น เพราะการท� ำ น� ำ้ หมัก ปุ๋ยชี ว ภาพนี จ้ ะมี ก ลิ่ น ไม่พึงประสงค์ อยู่บ้าง ผมท� ำหน้ าตกใจเรื่ องป่ าช้ า พี่ดวงรี บอธิบายต่อทันทีว่า “บางคืนผมก็นอนที่น่ีคน เดียว ก็ไม่เห็นมีอะไรนะ ที่ดินตรงนี ้เขาล้ างป่ าช้ ากัน ไปนานแล้ ว ไม่มีอะไรหลงเหลืออยู”่ ในส่วนเครื่ องไม้ เครื่ องมือที่ใช้ ในการผลิต ปุ๋ยนันได้ ้ รับการสนับสนุนจากกองทุนอยู่ดีมีสขุ และ อบต. อุ ด มทรั พ ย์ จั ด งบประมาณช่ ว ยสนั บ สนุ น บางส่วน นอกจากนี ้ ทางส�ำนักงานเกษตรอ� ำเภอ วังน� ้ำเขียวและส�ำนักงานพัฒนาที่ดนิ ก็ได้ มาให้ ความรู้ และเทคนิควิธีการผลิตปุ๋ยด้ วย


108 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

ปั จจุบนั ทีน่ เี่ ป็ นแหล่งเรียนรู้พร้ อมสถาน ที่ปฏิบตั ิการจริ ง ท�ำให้ ผ้ ูที่สนใจอยากจะเข้ ามา เรี ยนรู้วิธีการท�ำปุ๋ยชีวภาพ ได้ เรี ยนรู้จากของจริ ง ได้ เห็นสภาพดินจริ ง ๆ ที่เสื่อมโทรม รวมทังดิ ้ นที่ คิดว่าใช้ การไม่ได้ หลังจากใส่ป๋ ยชี ุ วภาพไปแล้ ว เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ภูมิปัญญาของแหล่งเรี ยนรู้ แห่งนี ้ถือว่า ได้ เรี ยนรู้ มาจากประสบการณ์ จริ ง จากที่ กลุ่ม ประสบมาในฐานะเกษตรกร ต่อด้ วยการเรี ยนรู้ ดูงาน ฝึ กฝนทดลองท�ำ จนกระทัง่ ปรับประยุกต์ สูต รปุ๋ยมาตรฐานได้ ออกมาเป็ นสูต รปุ๋ยของ กลุ่ม ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ ได้ ตรงกับสภาพดินใน พื ้นที่ที่ประสบปั ญหาอยู่ มีการพลิกแพลงวัตถุดบิ เช่ น น� ำ แตงโมที่ ไ ม่ ไ ด้ คุณ ภาพและคัด ทิ ง้ แล้ ว มาเป็ นส่วนประกอบหลักในการผลิตปุ๋ยแทนการ ใช้ สบั ปะรดซึง่ ต้ องซื ้อหา เป็ นการลดต้ นทุน และ ใช้ ได้ ผลดีไม่แพ้ กนั



110 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

นับตังแต่ ้ กลุม่ เริ่ มผลิตปุ๋ยชีวภาพใช้ เองก็ท�ำให้ เกิดการเรี ยนรู้และบอกต่อกันในชุมชน ขยายผลไปถึง เรื่องการลดรายจ่ายของเกษตรกรเอง เนือ่ งจากสามารถ ผลิตปุ๋ยไว้ ใช้ เอง นอกจากนี ้ ปุ๋ยที่ผลิตยังเป็ นปุ๋ยชนิด ที่ เ หมาะกับ ลัก ษณะดิ น ตรงกับ ความต้ อ งการของ เกษตรกร ท�ำให้ ได้ ผลผลิตดีขึ ้น เป็ นการร่วมกันพัฒนา ต่อยอด ปรับปรุงสูตรปุ๋ยให้ ได้ มาตรฐานไปในตัว ทังยั ้ ง มีการเผยแพร่สตู รให้ กบั ผู้ที่สนใจต่อไป


สิทธา วรรณสวาท 111



แน่นอนว่า เบื ้องหลังการพัฒนาและการเกิด ขึ ้นของแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ย่อมไม่อาจปฏิเสธการหนุน น�ำและเอื ้ออ�ำนวยจากฝ่ ายบริ หาร ที่นี่ แนวคิดหลักที่แตกต่างและต้ องดีกว่าเดิม มุ่งประโยชน์สงู สุด ผ่านการปรับเปลี่ยนและพัฒนา ชุมชนแบบยัง่ ยืน เพือ่ ให้ ชาวต�ำบลมีความเป็ นอยูส่ ขุ สบาย ท�ำให้ อบต. อุดมทรัพย์ ได้ รับรางวัลมากมาย จนกระทัง่ เป็ นต้ นแบบให้ แก่หน่วยงาน อบต. อืน่ ๆ ทัว่ ประเทศ เข้ ามาศึกษาดูงานและน�ำแนวคิด นโยบาย ไปปรับใช้ โดยวิสยั ทัศน์สำ� คัญ คือ ทุกแนวคิดทีร่ ิเริ่มต้ อง ท�ำได้ จริ ง สามารถเข้ าถึงจิตใจของคนในชุมชน สร้ าง ความรักความสามัคคี ทุกคนพร้ อมให้ ความร่วมมือ ในการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนตามที่หวัง


8 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

รางวัล โครงการประเมินองค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่นที่มีความพยายามในการจัดเก็บภาษี ประจ�ำปี 2548 รางวัล โครงการประเมินองค์กรปกครองส่วน ท้ องถิ่นที่มีความพยายามในการจัดเก็บภาษี ประจ�ำปี 2547


สิทธา วรรณสวาท 115

รางวัล รางวัล องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นดีเด่นด้ านการ จัดสวัสดิการส�ำหรับคนพิการดีเด่น ประจ�ำปี 2553 รางวัลยอดเยี่ยม การด�ำเนินงานสุขภาพจิตและ สารเสพติด ประจ�ำปี 2550 รางวัล การบริ หารการจัดการที่ดี ประจ�ำปี 2549 รางวัล องค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นที่ผา่ นเกณฑ์ ประเมินตามมาตรฐานการบริ หารการจัดการ ประจ�ำปี 2548


เล่าพอสังเขป มารู้จักต�ำบลอุดมทรัพย์ แน่ น อนว่ า ใครที่ ไ ม่ เ คยใช้ เส้ นทาง 304 นครราชสี ม า – กบิ น ทร์ บุ รี ย่ อ มไม่ ร้ ู จั ก ต� ำ บล อุ ด มทรั พ ย์ เว้ นแต่ อ าจจะเคยอ่ า นพบในหน้ า หนัง สื อ พิ ม พ์ หรื อ เห็ น สารคดี ที วี ผ่ า นตา จากเรื่ อ ง “ชมรมส่งเสริ มดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน โดยพระสงฆ์ เป็ นแกนน�ำ” หรื อ “ไม้ กวาด บ้ านห้ วยน� ้ำเค็ม” ที่ขึ ้นชื่อ


กว่าจะมาเป็นต�ำบลอุดมทรัพย์ ต�ำบลอุดมทรัพย์เป็ นต�ำบลหนึง่ ในอ�ำเภอ วังน� ้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา อดีตขึ ้นกับต�ำบล สะแกราช อ�ำเภอปั กธงชัย ต่อมาได้ รับการยก ฐานะเป็ นองค์การบริ หารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2539 ต� ำ บลอุด มทรั พ ย์ มี พื น้ ที่ ป ระมาณ 257 ตารางกิโลเมตร หากคิดเป็นไร่ มีเนื ้อที่ประมาณ 160,625 ไร่ ตังอยู ้ บ่ นถนนสาย 304 (นครราชสีมา - กบินทร์ บรุ ี ) ต�ำบลอุดมทรัพย์อยูห่ า่ งจากอ�ำเภอ วัง น� ำ้ เขี ย วไปทางทิ ศ เหนื อ เป็ นระยะทาง 20 กิโลเมตร


118 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

ต�ำบลอุดมทรัพย์มีพื้นที่ติดกับเขตติดต่อ ต�ำบลและอ�ำเภอต่าง ๆ ดังนี้ ทิ ศ เหนื อ ติ ด ต่ อ กั บ ต� ำ บลภู ห ลวง ต� ำ บล สะแกราช อ�ำเภอปั กธงชัย ทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ กับ ต� ำ บลวัง น� ำ้ เขี ย ว ต� ำ บล ไทยสามัคคี อ�ำเภอวังน� ้ำเขียว ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลสะแกราช อ�ำเภอ ปั ก ธงชัย และต� ำ บลครบุ รี ต� ำ บลครบุ รี ใ ต้ ต� ำ บล จระเข้ หิน อ�ำเภอครบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลล�ำนางแก้ ว อ�ำเภอ ปั กธงชัย

ลักษณะภูมิประเทศ ต�ำบลอุดมทรัพย์มีพื ้นที่สว่ นใหญ่เป็ นที่ราบสูง ลักษณะเป็ นภูเขาและเนินเขาสูงสลับกันอยูท่ วั่ ไป โดย อยูส่ งู จากระดับน� ้ำทะเลปานกลางตังแต่ ้ 210 ถึง 600 เมตร เนื่องจากภูมิประเทศเป็ นภูเขาและที่ราบสูงจึง เป็ นต้ นของแม่น� ้ำเล็ก ๆ หลายสาย รวมทังล� ้ ำเชียงสา


สิทธา วรรณสวาท 119

ภูมิอากาศต�ำบลอุดมทรัพย์ ปกติฝนจะตกตามฤดูกาล ส่วนใหญ่อากาศร้ อน และอบอ้ าว ต�ำบลอุดมทรัพย์มีผ้ ูอยู่อาศัยราว 3,358 ครัว เรื อน ประชากรรวมกันทังสิ ้ ้นประมาณ 11,000 คน

แหล่งน�้ำธรรมชาติ และแหล่งน�้ำที่สร้างขึ้น ต�ำบลอุดมทรัพย์มีแหล่งน� ้ำธรรมชาติที่เป็ นห้ วย หนองคลองบึงรวมกันทังหมด ้ 14 สาย และมีแหล่งน� ้ำที่ สร้ างขึ ้นมากมาย แบ่งเป็ นอ่างเก็บน� ้ำ 2 แห่ง ฝายน� ้ำล้ น 15 แห่ง บ่อน� ้ำตื ้น 23 แห่ง บ่อบาดาลแบบโยก 19 แห่ง

สภาพพื้นดินโดยทั่วไป ประกอบด้ วยดินหลากหลายชนิด ทังดิ ้ นภูเขา ดิน ร่วนปนดินเหนียว ดินร่วนปนดินทราย ดินเหล่านี ้เป็ นดิน ที่มีความอุดมสมบูรณ์สงู เหมาะแก่การปลูกพืชไร่ ไม้ ผลต่าง ๆ มีพื ้นที่ส�ำหรับท�ำเกษตรกรรมร้ อยละ 39 ของ พื ้นที่ทงหมด ั้ พื ้นที่สำ� หรับท�ำนาร้ อยละ 41 และสามารถ จัดสรรเป็ นพื ้นที่เลี ้ยงสัตว์ได้ ประมาณร้ อยละ 20 ของ พื ้นที่ทงหมด ั้ ที่เหลือนอกจากนี ้เป็ นดินร่วนปนทราย ถือ เป็ นดินเสื่อมคุณภาพ ไม่สามารถเก็บกักน� ้ำได้



สภาพป่าไม้ พื ้นที่ป่าไม้ ของต�ำบลอุดมทรัพย์บางส่วนอยู่ ในเขตอุทยานทับลาน ซึง่ เป็ นป่ าไม้ ที่ถกู ท�ำลายมาก จึง เป็ นทีม่ าของแหล่งเรียนรู้กลุม่ อนุรักษ์ป่าเขาน้ อยนัน่ เอง

สภาพทางเศรษฐกิจ คนต�ำบลอุดมทรัพย์สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้ างทัว่ ไป รองลงมาคือ อาชีพเกษตรกรรม เช่น ปลูก ข้ าว อ้ อย ข้ าวโพด มันส�ำปะหลัง

ระบบการศึกษาของต�ำบลอุดมทรัพย์ มีศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 4 แห่ง โรงเรี ยนระดับ ประถมศึกษาและขยายโอกาส 8 แห่ง และมีศนู ย์การ เรี ยนรู้ ระดับชุมชน 1 แห่ง ตังอยู ้ ่ที่ อบต. อุดมทรัพย์


122 อุดมทรัพย์ ต�ำบลของเรา

วั ด ของคนต�ำบลอุดมทรัพย์มีทงั ้ สิ ้น 19 แห่ง ที่ ร้ ู จักกันดี คือ วัดห้ วยพรหม ที่ นี่ยังมี แหล่งเรี ยนรู้ ส่ง เสริ ม ดู แ ลผู้ ป่ วยจิ ต เวชในชุ ม ชน โดยพระสงฆ์ เ ป็ น แกนน�ำ

สถานีวิทยุ และหอกระจายข่าว

มีทงสิ ั ้ ้น 18 แห่ง แบ่งเป็ น - สถานีวิทยุชมุ ชน FM 88.50 MHz. ตังอยู ้ ท่ ี่วดั ศิริมงั คลาราม (วัดโนนเหลื่อม) - หอกระจายข่าวประจ�ำหมูบ่ ้ าน มีทงสิ ั ้ ้น 17 แห่ง

สถานพยาบาล มี 2 แห่ง

1. โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพต�ำบลบะใหญ่ 2. โรงพยาบาลส่งเสริ มสุขภาพต�ำบลหนองโสมง

การดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีสถานีต�ำรวจ 1 แห่ง จุดบริ การประชาชน 4 แห่ง ศูนย์ อปพร. 1 แห่ง จุดแจ้ งเหตุเจ็บป่ วยฉุกเฉิน EMS 1 แห่ง


สิทธา วรรณสวาท 123

แหล่งท่องเที่ยวของคนอุดมทรัพย์ มีทั้งหมด 11 แห่ง 1. แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ วัดเขาตะกรุดรัง 2. สถานีวิจยั สิง่ แวดล้ อมสะแกราช 3. เขื่อนล�ำเชียงสา 4. เขื่อนบะอีแตน 5. จุดชมวิวบ้ านซับพลู 6. แหล่งท่องเที่ยวเกษตรเชิงนิเวศน์ อุทยานทับลาน 7. แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม วัดห้ วยพรหม 8. สถานีวฒ ั นวิจยั สะแกราช (ไทย-ญี่ปน) ุ่ 9. แหล่งท่องเที่ยวรอยเท้ าคนโบราณแห่งมะค่า 10. แหล่งท่องเที่ยวโบราณคดีและจุดชมวิวผาอิโลตึง 11. จุดชมวิวภูเคียงผา บ้ านซับเต่า



1. การบริ หารจัดการต�ำบล 2. สถานียตุ ธิ รรมชุมชน 3. วิทยุชมุ ชนต�ำบลอุดมทรัพย์ 4. ชมรม อปพร. อบต. อุดมทรัพย์ 5. ชมรมกู้ชีพกู้ภยั ต�ำบลอุดมรัพย์ 6. อาสาสมัครพิทกั ษ์ ป่า 7. ชมรม อสม. ต�ำบลอุดมทรัพย์ 8. เครื อข่ายเฝ้าระวังภัยพิบตั ิ 9. ศูนย์อนุรักษ์ ป่าเขาน้ อย บ้ านหนองแวง 10. สายตรวจขยะต�ำบลอุดมทรัพย์ 11. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. อุดมทรัพย์ 12. กลุม่ นวดแผนไทย

13. ชมรมกีฬาอุดมทรัพย์ 14. ชมรมส่งเสริ มดูแลผู้ป่วย จิตเวชในชุมชน 15. ชมรมผู้สงู อายุ ต�ำบลอุดมทรัพย์ 16. โครงการเพื่อนพึง่ พา 17. ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กต้ นแบบ 18. ศูนย์การเรี ยนรู้ตาม อัธยาศัย (ครูสอนคนพิการ) 19. โรงเรี ยนร่วมสร้ างความ เข้ มแข็งชุมชน 20. ค่ายเยาวชนวัดโนนค่าง ต�ำบลอุดมทรัพย์

21. ศูนย์ประสานงาน 27. ชุมชนพอเพียงรัว้ กินได้ อาสาสมัครคุมประพฤติ บ้ านห้ วยพรหม อ.วังน� ้ำเขียว 28. ศูนย์การเรี ยนรู้ 22. พุทธสมาคม เศรษฐกิจพอเพียง อ�ำเภอวังน� ้ำเขียว บ้ านวังน� ้ำเขียว 23. กลุม่ ผลิตไม้ กวาด 29. กลุม่ อาชีพ บ้ านห้ วยน� ้ำเค็ม ผลิตปุ๋ยธรรมชาติ 24. กลุม่ แปรรูปสมุนไพร บ้ านวังน� ้ำเขียว 25. กลุม่ สัจจะออมทรัพย์ บ้ านห้ วยน� ้ำเค็ม 26. กองทุนสวัสดิการ อสม. โรงพยาบาลสุขภาพ ต�ำบลหนองโสมง


เพลงศักยภาพชุมชน ค�ำร้อง-ท�ำนอง วสุ ห้ าวหาญ เรียบเรียงดนตรี ศราวุธ ทุง่ ขี ้เหล็ก ขับร้องโดย ฟางแก้ ว พิชญาภา, ศราวุธ ทุง่ ขี ้เหล็ก, สมชาย ตรุพิมาย หนึ่งสมองสองมือที่มี รวมเป็ นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี ้ ท�ำเพื่อเมืองไทยด้ วยกัน ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน เราเป็ นคนไทยเปี่ ยมความสามารถ เป็ นก�ำลังของประเทศชาติ พัฒนาบ้ านเมืองก้ าวไกล เป็ น คนเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ก็รักเมืองไทยด้ วยกันทังนั ้ น้ (สร้ อย) หากเราร่วมมือร่วมใจ ท�ำสิง่ ไหนก็ไม่เกิน แรง โครงสร้ างชุมชนแข็งแกร่ ง เพราะเราร่ วมแรงร่ วมมือ สร้ างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้ วยมุมมองที่เราแบ่ง ปั น ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ให้ เต็มศักยภาพ อยูช่ นบทห่างไกล ท�ำนาท�ำไร่พอเพียงเลี ้ยงตัว ใช้ ชุมชนดูแลครอบครัว ใช้ ครอบครัวดูแลชุมชน ปูพื ้นฐานจาก หมูบ่ ้ านต�ำบล สร้ างแปลงเมืองไทยให้ นา่ อยูด่ งั ฝั น ชุมชนท้ องถิ่นบ้ านเราเรี ยนรู้ร่วมกันเพื่อการพัฒนา ชุมชนท้ องถิ่นบ้ านเราเรี ยนรู้ร่วมกันช่วยกันพัฒนา


อยู่ตามเมืองใหญ่เมืองหลวง หัวใจทุกดวงซ่อนไฟ มุง่ มัน่ ก้ าวออกมาจากรัว้ ที่กนั ้ จับมือกันท�ำเพื่อเมืองไทย คนละมือสองมือคือน�ำ้ ใจ โอบกอดชุมชนไว้ ด้วย ความสุขยืนนาน หนึง่ สมองสองมือที่มี รวมเป็ นหลายความคิดดี ๆ ออกมายืนตรงนี ้ ท�ำเพื่อเมืองไทยด้ วยกัน หากเราร่ ว มมื อ ร่ ว มใจ ท� ำ สิ่ ง ไหนก็ ไ ม่ เ กิ น แรง โครงสร้ างชุ ม ชนแข็ ง แกร่ ง เพราะเราร่ ว มแรงร่ ว มมื อ สร้ างสรรค์ จัดการทรัพยากรช่วยกัน ด้ วยมุมมองที่เราแบ่ง ปั น ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ให้ เต็มศักยภาพ ด้ วยมุมมองทีเ่ รา แบ่งปั น ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ให้ เต็มศักยภาพ..

เข้ าไปฟั งและดาวน์โหลดเพลงศักยภาพชุมชนได้ ที่ www.punsook.org



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.