![](https://assets.isu.pub/document-structure/200503092524-28c252e1d105fbdd7184541f3cc72a12/v1/83ecd2ef10494ed8b336bb02eefc6a7e.jpg?width=720&quality=85%2C50)
1 minute read
Eat Meet Waste
From Ocean waste problem situation in currently, Thailand was ranked at one of the countries which release rubbish into the ocean for around 1 million tons per year. Where do these rubbish come from? The Ministry of Natural Resource and Environment revealed that these rubbish are mostly from tourist attractions; plastic and glass bottles, foam, fishery — seine, rope, plastic bag, cigarette butts — and from human daily activities, including individual, household, and industry. These rubbish are released to water sources, and some of these may be ended up in the ocean.
These plastic rubbish in the ocean will be damaged and decayed by waves, sunlight, and compression until became microplastics, which is any plastic smaller than 5 millimeters and able to absorb toxic in the ocean. And the more they stay in oceans, the more toxic they absorb. The key role plankton does may eat the microplastics without knowing, and people, as the primary beings in food chain, are risk at receiving these invisible plastics.
Advertisement
I developed this to a series of still life photography “Eat meet Waste” about environmental main issue for education which helps educate and be the useful information for people to use in the future. Moreover, I want audiences to understand and realize the frightening of rubbish by people’s usual behavior that affects environment and human being.
จากสถานการณ์และวิกฤตขยะทะเลโลกในปัจจุบัน ประเทศไทยเราติด 1 ใน 10 อันดับของประเทศที่ปล่อยขยะลงสู่ทะเลมากที่สุดในโลกซึ่งมากถึง 1 ล้าน ตันต่อปี โดยขยะในทะเลส่วนใหญ่มาจากแหล่งท่องเที่ยว เช่น ขวดพลาสติก ขวดแก้ว หรือกล่องโฟม และขยะจากการท�ำการประมง เช่น อวน เชือก ยัง ไม่นับขยะอื่นๆ ที่พบได้ในทะเล เช่น ถุงพลาสติก ฝาขวดน�้ำ ก้นบุหรี่ และอีกมากมาย รวมไปถึงขยะที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นจากบุคคล ครัวเรือน อุตสาหกรรม ขยะเหล่านี้ส่วนหนึ่งถูกปล่อยลงแหล่งน�้ำต่างๆ จากล�ำคลองสู่แม่น�้ำ ซึ่งท้ายที่สุดแล้วก็จะมีขยะส่วนหนึ่งที่ไหลลงสู่ท้องทะเล โดยขยะพลาสติกที่อยู่ในทะเลเหล่านี้จะเกิดการแตกหัก ผุกร่อนจากคลื่น แสงอาทิตย์ หรือแรงบีบอัด จนกลายเป็นชิ้นเล็กๆ ซึ่งอาจเล็กจนไม่สามารถมอง เห็นได้ด้วยตาเปล่า เรียกว่า ไมโครพลาสติก (Microplastics) หมายถึงเศษพลาสติกใดๆ ที่มีขนาดเล็กว่า 5 มิลลิเมตร ไมโครพลาสติกสามารถดูดซึมสาร พิษที่มีอยู่ในทะเลได้ ดังนั้นยิ่งอยู่ในน�้ำทะเลนาน ไมโครพลาสติกจะมีความเป็นพิษเพิ่มสูงขึ้น สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ใต้ท้องทะเลจึงมีความเสี่ยงที่จะได้รับ พลาสติกล่องหนเหล่านี้เข้าไป ส่วนมนุษย์ที่เป็นส่วนหนึ่งของผู้บริโภคในห่วงโซ่อาหารก็อาจได้รับสารพิษตกค้างผ่านการบริโภคสัตว์ทะเลชนิดต่างๆ ด้วย เช่นกัน
จึงกลายมาเป็นผลงานภาพถ่ายในชื่อ “Eat meet Waste” ที่บอกเล่าเรื่องราวของสิ่งมีชีวิตที่ติดกับดัก (ขยะ) ผ่านการถ่ายภาพ Still Life ในประเด็นสิ่ง แวดล้อม เพื่อเป็นอีกหนึ่งกระบอกเสียงให้ผู้คนได้เข้าใจถึงปัญหาและวิกฤตที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังตระหนักถึงความน่ากลัวของขยะจากพฤติกรรมมนุษย์ ที่ส่ง ผลต่อสิ่งแวดล้อมและย้อนกลับคืนมาสู่มนุษย์เรา โดยองค์ประกอบของผลงานนี้ ตกผลึกจากแรงบันดาลใจเล็กๆ แต่ให้ความหมายที่เปิดกว้าง จากการ หยิบเอาวัตถุดิบทางทะเลมาจัดองค์ประกอบร่วมกับสิ่งของที่ถูกกัดกร่อนจนแตกหัก ถูกคลื่นซัดจนแยกเป็นชิ้นส่วนกลายเป็นขยะทะเล มาประกอบรูปร่าง เป็นผลงานที่ต้องการสื่อออกมาให้เห็นชัดเจนมากที่สุด
![](https://assets.isu.pub/document-structure/200503092524-28c252e1d105fbdd7184541f3cc72a12/v1/04ce16c8462d57c2220f8f7bc504eeb4.jpg?width=720&quality=85%2C50)
![](https://assets.isu.pub/document-structure/200503092524-28c252e1d105fbdd7184541f3cc72a12/v1/6969c391cfaac7fd0067fd6ffa4403bf.jpg?width=720&quality=85%2C50)
![](https://assets.isu.pub/document-structure/200503092524-28c252e1d105fbdd7184541f3cc72a12/v1/25cedc5fa9c58ee52ec90a237b8bc024.jpg?width=720&quality=85%2C50)