2 minute read

Wreath

Next Article
Senses of Blooming

Senses of Blooming

Puntila Inkamnird

Wreath may remind Thai people of misfortune event, such as funeral. It is given to the dead’s family to represent grief, and it will used as the funeral decoration until the funeral ends, or until its flowers are died. Wreath giving for misfortune events has been in Thai culture since the fifth reign of Thailand when western civilization took a part in living of Thai people. The first use of wreath was in the death of Princess Piyamavadi Sri Bajarindra Mata, or Chao Khun Chom Manda Piam, and called as ‘wreath’ in 1904. These events influenced people to understand that wreath is only used in misfortune events.

Advertisement

However, not many Thai people understand the actual role, origin, and the meaning of giving wreath in other countries. Wreath’s origin was in South Europe, Etruscan civilization used it as a gold crown, carving as flowers and leaves, to honor warriors. Ancient Rome called wreath as ‘Laurel wreath’, made by leaves. Nowadays, wreath can be used in every occasions and celebrations; hanging in front of a front door in special day.

Since my family is doing the business of flower arrangement, I’ve seen that wreath in Thailand is only used in the unfortunate events, and nobody has ever wanted for celebration at all, showing the narrow business limit that actually can grow up wider than it is in present. Compared to other countries, wreath in Thailand is limited to serve as a symbol of grief, and this is the reason I would like to reveal the truth of wreath in a good way — photographs of wreath in a better way; redesigning and decorating to fit with Thai celebration events, using Thai flowers that serve a positive meaning. Furthermore, I would like to invite and influence new generation of Thai people be open-minded about wreath becoming a part of fortunate events, and push it into the growth of business and culture.

หากพูดถึงพวงหรีด หรือ หรีด ในความคิดของคนไทยส่วนมากก็มักจะนึกไปถึงงานอวมงคล อย่างงานศพ ที่นิยมใช้มอบแด่ครอบครัวผู้เสียชีวิต เพื่อ เป็นการแสดงความเสียใจแก่ผู้สูญเสียบุคคล ในครอบครัว รวมไปถึงแสดงความอาลัยแก่ผู้เสียชีวิต และพวงหรีดเหล่านั้นก็จะถูกน�ำไปประดับตกแต่ง ไว้ภายในสถานที่จัดงานต่อไปจนจบพิธี หรือจนกว่าดอกไม้ที่ใช้ตกแต่งจะเหี่ยวเฉาลง การมอบพวงหรีดให้กันตามจุดประสงค์ดังที่กล่าวถึงไปแล้วข้าง ต้นนี้ นับว่าเป็นวัฒนธรรมหนึ่งของคนไทยมาตั้งแต่สมัยรัชการที่ 5 ซึ่งเป็นรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ อารยะธรรม ตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทต่อการด�ำรงชีวิตของคนไทย มีการน�ำหรีดมาใช้ครั้งแรกในพระเมรุของสมเด็จพระปิยมาวดีศรีพัชรินทรมาตา หรือเจ้าจอม มารดาเปี่ยม พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เป็นการรับเอาวัฒนธรรมของต่างชาติมาใช้ในประเทศไทย อีกอย่าง หนึ่งในปีพุทธศักราช 2447 เรียกกันว่าพวงมาลา และด้วยเหตุนี้เอง หรีดจึงถูกเข้าใจว่าเป็นสิ่งแสดงความอาลัยและนิยมใช้ในงานอวมงคลเท่านั้น

อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่อตีดจนถึงในปัจจุบันยังมีคนไทยน้อยคนนักที่จะทราบถึงบทบาทหน้าที่ต้นก�ำเนิดรวมถึงการให้ความหมายที่แท้จริงของหรีด ในต่างประเทศ หากย้อนกลับไปในอดีตก่อนที่หรีดจะถูกน�ำมาใช้ในประเทศไทย หรีดมีต้นก�ำเนิดเริ่มแรกในทวีปแถบยุโรปตอนใต้ มนุษย์รุ่นหลังได้ค้น พบหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอารยะธรรมอีทรัสคัน เป็นมงกุฎทองแกะเป็นลายใบไม้และดอกไม้ อายุราว 400 ปี ก่อนคริสตกาล ใช้ส�ำหรับ ประดับศีรษะแก่นักรบที่ออกรบเพื่อแสดงถึงเกียรติยศ และในยุคโรมันโบราณก็ยังน�ำหรีดมาประดับศีรษะสิ่งนั้นถูกเรียกว่า ลอเรลหรีธ (Laurel wreath) จะใช้ใบไม้สานกันเป็นวงกลมล้อมรอบศีรษะ และในปัจจุบันนี้เอง หรีดสามารถหยิบยกมาใช้ได้ในทุกโอกาส ไม่ว่าจะเป็นงานเฉลิม ฉลอง หรือเทศกาลต่างๆ ในต่างประเทศจะนิยมแขวนไว้หน้าประตูบ้านของทุกครอบครัวในวันเฉลิมฉลอง รวมไปถึงเทศกาลและโอกาสอันส�ำคัญ ต่างๆ นับเป็นอีกสิ่ง หนึ่งในสากลที่ได้ถูกก�ำหนดบทบาทที่นอกเหนือจากการเป็นสิ่งแทนความอาลัยเพียงเท่านั้น

เนื่องด้วยครอบครัวของผู้สร้างสรรค์ท�ำธุรกิจเกี่ยวกับการรับจัดดอกไม้ส�ำหรับพิธีและโอกาสต่างๆ เท่าที่ได้พบเห็นมาตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน หรีดยัง คงถูกหยิบมาใช้ในการแสดงความอาลัยในงานอวมงคลเพียงอย่างเดียว ยังไม่เคยมีลูกค้าที่มีความต้องการที่จะน�ำหรีดมาใช้ในงานเฉลิมฉลอง ท�ำให้ เห็นถึงขอบเขตในเชิงธุรกิจที่หรีดถูกจ�ำกัดให้อยู่ในวงที่แคบ ทั้งๆที่พวงหรีดสามารถเติบโตและขยายได้กว้างกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เมื่อเทียบกับต่าง ประเทศ หรีดในประเทศไทยถูกจ�ำกัดโดยการตีกรอบให้บทบาทหน้าที่ของหรีดได้เป็นเพียงสิ่งแทนความอาลัยเพียงอย่างเดียว ด้วยเหตุนี้เอง ผู้สร้าง สรรค์จึงมีความคิดที่จะเป็นจุดเล็กๆ จุดหนึ่งเพื่อเริ่มเผยแพร่ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพวงหรีดออกมาเป็นภาพถ่ายในลักษณะที่จะแสดงให้เห็นถึงบทบาท หน้าที่โดยแท้จริงตามแบบฉบับสากล ให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงลักษณะการใช้งานตามโอกาสต่างๆ ในประเทศไทย โดยการน�ำหรีดมาออกแบบและ ประยุกต์ให้เข้ากับโอกาสการเฉลิมฉลองในแบบฉบับของคนไทย เพื่อมอบให้กันเป็นการอวยพรหรือสื่อถึงจุดประสงค์ในการมอบให้ โดยใช้ดอกไม้ที่มี ในประเทศไทยซึ่งมีความหมายที่ดี และผู้สร้างสรรค์ต้องการที่จะเชิญชวนให้คนไทยรุ่นใหม่เปิดใจให้หรีดได้เข้ามามีส่วนร่วมในโอกาสแห่งความปิติ ยินดี ร่วมกันสร้างสีสันใหม่ให้กับวงการหรีดและช่วยพลักดันหรีดให้เติบโตแพร่หลายในเชิงธุรกิจ

This article is from: