มติ สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
โดย คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป (คสป.) จัดพิมพและเผยแพร สํานักงานปฏิรูป (สปร.) พิมพที่ บริษัท วิกิ จํากัด พิมพครั้งแรก เมษายน ๒๕๕๔ จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม
สํานักงานปฏิรูป (สปร.) ๑๒๖/๑๔๖ ชั้น ๔ อาคาร ๑๐ ชั้น สถาบันบําราศนราดูร ซอยติวานนท ๑๔ ถนนติวานนท อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๙๖๕ ๙๕๓๑-๓ โทรสาร ๐ ๒๙๖๕ ๙๕๓๔ เว็บไซต : http://www.reform.or.th ตู ปณ.๑๖ ปทฝ.กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๔ ISBN : ๙๗๘ - ๖๑๖ - ๑๑ - ๐๖๕๘ - ๔
(2)
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
คํานํา ปญหาความไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้าในสังคมไทย เปนปญหาเชิงโครงสรางและ ระบบ เปนปญหาที่แกไขไดยากประดุจการเขยื้อนขุนเขา จําเปนตองใชยุทธศาสตร “สามเหลี่ยม เขยื้อนภูเขา” ซึ่งประกอบดวย ยุทธศาสตรความรู ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนพลังสังคม และ ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนนโยบาย การขับเคลือ่ นโดยขบวนการสมัชชา เปนการขับเคลือ่ นทัง้ สามยุทธศาสตรไปพรอมกัน เริม่ จากการขับเคลื่อนเรื่องความรู ตั้งตนจากการกําหนดประเด็นปญหา หาสาเหตุ กําหนดเปาหมาย และเสนอวิธีการแกไข การขับเคลื่อนเรื่องความรูทําไปพรอมกับการขับเคลื่อนพลังสังคม คือให ทุกภาคสวนของสังคมเขามารวมขับเคลื่อน เพื่อนําไปสูการขับเคลื่อนนโยบายใหมีการแกปญหา เชิงระบบและเชิงโครงสรางตอไป การประชุมสมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่ ๑ ระหวางวันที่ ๒๔ – ๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔ มี มติออกมารวม ๙ มติ เปนมติในประเด็นตางๆ รวม ๘ เรื่อง และมติที่ ๙ เปนการกําหนดประเด็น ที่จะขับเคลื่อนตอไปในการประชุมสมัชชาระดับชาติครั้งที่ ๒ และ ๓ ในปตอๆ ไป มติในประเด็นตางๆ รวม ๘ เรื่อง มีการวิเคราะหปญหาและสรุปขอเสนออยางกระชับ ชัดเจนและเปนรูปธรรม จุดชี้ขาดที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยูที่พลังของภาคประชาชน ที่ จะตองติดตาม ขับเคลื่อนและผลักดันอยางตอเนื่องในลักษณะกัดติด จนเกิดนโยบายนําไปสูการ เปลี่ยนแปลงเชิงระบบและโครงสรางเพื่อใหเกิดความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าไดอยาง แทจริง ทุกภาคสวนจะตองใชมติอันเปนฉันทมติของสมัชชาปฏิรูปนี้ ในการติดตาม ขับเคลื่อน และผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลง เพื่อสันติสุขของสังคมไทยสืบไป คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป สงกรานต ๒๕๕๔
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
(3)
(4)
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สารบัญ สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๑ การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดินอยางเปนธรรมและยั่งยืน
๑
สมัมัชชาปฏิ มติติ ๒ การปฏิ ชาปฏฏริ ูป ๑. มต การปปฏริ ูปโครงสร โครงสรา งการจัดั การทรัพยากรทะเลและชายฝง
๔
สมัมัชชาปฏิ และทรัรัพยากร ชาปฏฏริ ูป ๑. ๑. มติ ๓ การคืนความเปนธรรมใหแกป ระชาชนกรณี ระชาาชนกรณีที่ดินและทร
๙
สมัมัชั ชาปฏิ ชาปปฏิรูป ๑. มติ ๔ การปฏิรูประบบประกันสังคมเพื คมมเพ่อื ความเปนธรรม
๑๓
สมัมัชั ชาปฏิ ชาปปฏิรูป ๑. มติ ๕ การสรางระบบหลั งระบบหหลกั ประกั ประะกันใในการดํ นการดดํารงชีพแและระบบสั ละระบบสสังคม ที่สรางเสริมสสุุขภภาวะแก าวะะแกกผ ูสูงอายุ อายุ
๑๖
สมัมััชชาป ชาปฏิ ปฏิรูป ๑. มติ ๖ การสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเป เปปนสุขรรวมกัน
๑๙ ๑๙
สมัมัชั ชาปฏิ ยภาพ ชาปปฏิรูป ๑. มติ ๗ การปฏิรูปการกระจายอํานนาจเพื าจเพพื่อเสริมสรางและพัฒนาศักยภา าพ การจัดการตนเองของชุ ธรรมและ การตนเอองขอองชมุ ชนท ชนทองถิ่น สรางความเปนธร รรมและ ลดความเหลื่อมลํ ๒๒ มลล้าํ ในสั ในสสงั คม ๒๒ สมัมัชชาปฏิ ชาาปฏิรูป ๑. ๑. มติ มติ ๘ ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคมม
๒๖
สมัมัชชาปฏิรูป ๑. มมติติ ๙ ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชชาติ าติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓
๓๐
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
(5)
(6)
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๑
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดิน อยางเปนธรรมและยั่งยืน สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่อง การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดินอยางเปนธรรมและยั่งยืน๑ ตระหนัก วามีความเหลื่อมลํ้าและขาดความเปนธรรมในการจัดการการใชที่ดินของ ประเทศ สงผลใหเกิดปญหาสองประการคือ ความขัดแยงในการใชประโยชนที่ดินระหวางราษฎร กับรัฐ และการกระจายการถือครองที่ดินที่ไมเปนธรรม รับทราบ ถึงการขาดโอกาสของประชาชนในการถือครองที่ดินทํากินและที่อยูอาศัย และความยากลําบากที่ประสบเมื่อถูกจับกุมดําเนินคดีกรณีเขาทํากินและอยูอาศัยในที่ดินของรัฐ เขาใจ วาการแกไขปญหาดังกลาวนี้ตองใชมาตรการหลายดาน โดยเฉพาะการใชวิธีการ จัดใหมีโฉนดชุมชนเพื่อแกไขปญหาความขัดแยงระหวางประชาชนกับรัฐ การจัดตั้งธนาคารที่ดิน เพื่อจัดหาที่ดินใหแกผูไรที่ดินทํากิน และจัดเก็บภาษีที่ดินเพื่อมาเปนเงินทุนหมุนเวียนของ ธนาคารที่ดิน และลดการถือครองที่ดินจํานวนมากลง ชื่นชม ในการกําหนดนโยบายของรัฐบาล เรื่อง โฉนดชุมชน ธนาคารที่ดิน และภาษีที่ดิน ตระหนัก ถึงความตอเนือ่ งของนโยบายของรัฐบาล และอุปสรรคในการแกไขปญหาทัง้ สอง ประการดังกลาวขางตน จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๑
1
๑. เห็นชอบหลักการ ของการจัดการที่ดิน ดังนี้ ๑.๑ ที่ดินเปนสมบัติของชาติ ที่พึงจัดการภายใตหลักการ การเปนเจาของรวม ระหวางรัฐ องคกรชุมชนสาธารณะ และปจเจกบุคคล ๑.๒ การเคารพสิทธิของประชาชนและของชุมชน ในการมีสว นรวมกับรัฐเพือ่ กําหนด กลไกในการเขาถึง การใชประโยชน การอนุรักษ บํารุงรักษา และการไดรับ ประโยชนจากที่ดิน อีกทั้งในการคุมครองสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๖๖ และ ๖๗ โดยการสรางและสงเสริม การมีสวนรวม และกระจายอํานาจในการ จัดการทรัพยากรโดยประชาชน ชุมชน และทองถิ่น ๒. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอคณะรัฐมนตรี รัฐสภาและพรรคการเมืองตางๆ ดําเนินการผลักดันใหมีกฎหมายรับรองสิทธิในการจัดการที่ดินของชุมชน รวมถึงแกไขกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการจัดการที่ดิน ใหรับรองสิทธิของชุมชนในการมีสวนรวมจัดการที่ดิน ๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรี เพื่อแกไขปญหาความ ขัดแยงระหวางประชาชนกับรัฐในเรื่องการใชประโยชนจากที่ดิน โดย ๓.๑ ใหการรับรองสถานภาพ การเขาอยูอาศัยและทํากินอยางถูกตองตามกฎหมาย ในพื้นที่ของรัฐ ที่มีขอพิพาทอยูในปจจุบัน โดยการจัดใหมีระบบการออก โฉนดชุมชนโดยเร็ว ทั้งนี้การออกโฉนดชุมชนจะตองเปนไปโดยมีกระบวนการ ทีโ่ ปรงใส และใหหนวยงานของรัฐยุตกิ ารขับไล จับกุม ในระหวางการดําเนินการ จัดใหมีโฉนดชุมชนโดยเร็ว ๓.๒ ใหสงเสริม สนับสนุนกระบวนการจัดทําโฉนดชุมชนดวยการใหชุมชน ทองถิ่น และรัฐ รวมกันดําเนินการจัดทําแนวเขตโดยใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS) กําหนดกติกา การใชประโยชนอยางยั่งยืน การอนุรักษ การควบคุมกํากับ ดูแล ที่ดิน ปาไมและทรัพยากรธรรมชาติ มิใหถูกบุกรุกทําลายโดยเร็ว ๓.๓ ใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการยกรางพระราชบัญญัติโฉนดชุมชนโดยเร็วที่สุด โดยมอบหมายใหปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเปนประธาน มีกรรมการประกอบดวย ตัวแทนจากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดทําโฉนดชุมชน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาชน จํานวนไมนอยกวา ๑ ใน ๓ ของคณะ กรรมการ แทนการใชระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการจัดใหมีโฉนด ชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๓
2
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๔. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป เสนอตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา เพื่อดําเนินการ แกไขปญหาการกระจายการถือครองที่ดินที่ไมเปนธรรม ดังนี้ ๔.๑ จํากัดขนาดการถือครองที่ดิน โดย ๔.๑.๑ สนับสนุนการจัดเก็บภาษีที่ดินในอัตรากาวหนา โดยใหเรงรัดการ ออกกฎหมายการจัดเก็บภาษีที่ดินใหมีผลบังคับใชโดยเร็ว ๔.๑.๒ ใหมีกฎหมายจํากัดการถือครองที่ดินรายละไมเกิน ๕๐ ไร สําหรับสวน ทีเ่ กินใหมมี าตรการจัดเก็บภาษีในอัตรากาวหนาตามประเภทของการใช ประโยชนจากที่ดิน ทั้งนี้ใหมีการศึกษาเกี่ยวกับการกําหนดอัตราภาษี ที่เหมาะสมสําหรับแตละประเภทของการใชประโยชนตอไปและศึกษา ขอบเขตการใชที่ดินในแตละประเภทดวย ๔.๒ มอบหมายใหชุมชนทองถิ่นดําเนินการปรับปรุงฐานขอมูลที่ดินและประเมิน ราคาที่ดินใหมใหตรงกับการใชประโยชนที่ดิน โดยใหประชาชนและชุมชน มีสว นรวมในการจัดทํา รวมทัง้ ใหมกี ารเปดเผยขอมูลการถือครองทีด่ นิ ทัว่ ประเทศ ภายในเวลา ๑ ป ๔.๓ ใหกระทรวงการคลังศึกษาเพิ่มเติมเรื่องการจัดเก็บภาษีมูลคาสวนเพิ่มของที่ดิน ตลอดจนการจัดใหมีกฎหมายภาษีมูลคาสวนเพิ่มภายในเวลา ๑ ป ๔.๔ สนับสนุนการจัดตั้งธนาคารที่ดิน โดยขอใหรัฐบาลเรงรัดรางพระราชกฤษฎีกา จัดตัง้ สถาบันบริหารจัดการธนาคารทีด่ นิ (องคการมหาชน) พ.ศ. …. ทีเ่ สนอโดย สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ใหสามารถมีผลบังคับใชโดยเร็วภายในเวลา ๑ ป ๔.๕ สนับสนุนการแกไขพระราชบัญญัติการเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยขอใหกระทรวงมหาดไทยเรงรัดการดําเนินการดังกลาว ๔.๖ ขอใหเรงรัดการดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ใหเกิดการสิน้ สภาพนิคมสหกรณ ในเขตชุมชน และใหกรมที่ดินจัดการที่ดินในเขตนิคมสหกรณ ๕. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติและรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๑ : การปฏิรูปการจัดสรรทรัพยากรที่ดินอยางเปนธรรมและยั่งยืน
3
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๒
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การปฏิรูปโครงสรางการจัดการ ทรัพยากรทะเลและชายฝง สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการปฏิรูปโครงสรางการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง๑ ตระหนัก วามีความไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้าในการอนุรักษ และใชประโยชน ทรัพยากรทะเลและชายฝง ทีเ่ กิดกับชุมชนชายฝง กลุม ชาติพนั ธุ มอแกน มอเกลน และอูรกั ลาโวย ชาวประมงพื้นบานที่มีจํานวนรอยละ ๙๓ ของชาวประมงทั้งหมดซึ่งมีจํานวนมากกวา ๖๐,๐๐๐ ครอบครัวใน ๔,๐๐๐ หมูบาน รับทราบ วาพื้นที่ทะเลไทยมีเนื้อที่ ๓๕๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ที่ดินชายฝง ๒๒ ลานไร ประชากรมากกวา ๑๓ ลานคนที่เกี่ยวของกับทรัพยากรทะเลและชายฝง ในดานการประมง การขนสงทางทะเล การทองเทีย่ ว การเกษตร ทะเลไทยและทะเลสาบสงขลามีความอุดมสมบูรณ มีทรัพยากรและระบบนิเวศที่สําคัญประกอบดวย ปาชายหาด ปาชายเลน ปะการัง หญาทะเล ระบบนิเวศมวลนํ้าทะเลและมวลนํ้ากรอยซึ่งอุดมไปดวยลูกสัตวนํ้าวัยออน และแพลงตอน แรธาตุ นํ้ามัน กาซธรรมชาติ และสารออกฤทธิ์ทางยา ซึ่งมีการประเมินวา ผลประโยชนของชาติ ทางทะเลที่ประเทศไทยพึงไดรับในแตละปไมตํ่ากวา ๗.๕ ลานลานบาท ในจํานวนนี้ตกอยูในมือ คนไทยไมถึงรอยละ ๓๐ รับทราบ วาสมัชชาสุขภาพแหงชาติครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดมีมติเรื่อง “แผนพัฒนา ที่ยั่งยืนบนฐานการพึ่งตนเองดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม กรณีภาคใต” ซึ่งไดผานความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เมือ่ วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยมีมติ ขอใหรฐั บาลโดยคณะรัฐมนตรี ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๒
4
ออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยแผนแมบทการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจภาคใตและภาคอืน่ ๆ อยางยั่งยืน โดยใชเครื่องมือที่หลากหลายมุงเนนสนับสนุนการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตรของพื้นที่ การมีสวนรวมของทุกฝายและคํานึงถึงผลกระทบอยางรอบดาน หวงใย วาสถานการณสัตวนํ้าในทะเลซึ่งเปนทรัพยากรสําคัญของการประมงมีภาวะ เสื่อมโทรม ลดจํานวนลงจากที่เคยจับไดมากกวา ๑๓๑ กิโลกรัมตอชั่วโมงลดลงเหลือ ๒๒ กิโลกรัมตอชั่วโมงในฝงอาวไทย และ ๔๕ กิโลกรัมตอชั่วโมงในฝงอันดามัน การลดลงของ สัตวนํ้าเกิดจากการกวาดจับสัตวนํ้าดวยเครื่องมือการประมงที่ไมเหมาะสม การไมมีพื้นที่ คุมครองระบบนิเวศทางทะเล ที่สําคัญ มูลคารวมของสัตวนํ้าจากทะเลปละกวา ๑๒๐,๐๐๐ ลานบาท ชาวประมงพื้นบานมีสัดสวนการจับอยูเพียงรอยละ ๙ ของสัตวนํ้าที่จับไดทั้งหมด กังวล วาชายฝงเกิดปญหาการกัดเซาะรุนแรงมากกวา ๕ เมตรตอป ใน ๑๗ จังหวัด ระยะทางชายฝง ๒๑๓ กิโลเมตร กัดเซาะปานกลาง ๑-๕ เมตรตอระยะทางชายฝง ๓๙๕ กิโลเมตร ในสวนอาวไทยตอนบนบางพื้นที่มีอัตรากัดเซาะมากกวา ๒๕ เมตรตอป ประเทศไทยสูญเสีย พื้นดินจากการกัดเซาะ ๒ ตารางกิโลเมตรตอป มูลคา ๖,๐๐๐ ลานบาท หวงใย วาหากทะเลไทยไมมีความสงบเรียบรอยและขาดความปลอดภัยจะกระทบตอ ผูใชประโยชนจากทะเลและชายฝงในดานตางๆ ตระหนัก วาที่ดินชายฝง ชายหาด ปาชายเลน ถูกบุกรุกครอบครองและออกเอกสาร สิทธิ์โดยไมชอบ โดยเอกชนและบริษัทขนาดใหญ โครงการพัฒนาของรัฐและเอกชนมุงใช ที่ดินชายฝงเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมหนัก การกอสรางทาเรือนํ้าลึก การถมทะเล ซึ่งกอให เกิดปญหาตอระบบนิเวศทางทะเล มลภาวะ และการผลักดันใหชุมชนชายฝงตองสูญเสีย อาชีพ เผชิญกับปญหาความยากจน อันเปนการพัฒนาโดยขาดการมีสวนรวมของประชาชน และไมตั้งอยูบนศักยภาพวิถีชีวิตของชุมชนชายฝงที่อิงอยูกับเศรษฐกิจการเกษตร การประมง และการทองเที่ยว ดังกรณีมาบตาพุด และโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคใตที่มีเปาหมาย เปลี่ยนภาคใตเปนพื้นที่สําหรับอุตสาหกรรมหนัก และการขนสงนํ้ามัน โดยไมมีการพิจารณาทาง เลือกการพัฒนาดานอื่นที่สอดคลองกับศักยภาพพื้นที่และวิถีวัฒนธรรมทองถิ่น กังวล วาชุมชนชายฝงสวนใหญไมมีสิทธิในที่อยูอาศัย ที่ดินทํากิน เนื่องจากการประกาศ พื้นที่ปาของรัฐทับซอนไปในที่ดินและทะเลโดยขาดการมีสวนรวม และไมยอมรับสิทธิชุมชนใน การบริหารจัดการทรัพยากรอยางสมดุลและยั่งยืนตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ เขาใจ วาการอนุรักษฟนฟูทรัพยากรทะเลและชายฝงตองใชพื้นที่เปนหลัก และ บูรณาการการทํางานในระดับจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิน่ และชุมชน โดยตองมีมาตรการ
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๒ : การปฏิรูปโครงสรางการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง
5
จําแนกการใชประโยชนที่ดินชายฝงที่ชัดเจน การประกาศพื้นที่คุมครองระบบนิเวศเพื่อเปน แหลงเพาะพันธุ และอนุบาลสัตวนํ้าวัยออน รวมทั้งสัตวทะเลใกลสูญพันธุ เชน พะยูน โลมา เตาทะเล วาฬ เปนตน ชื่นชม จังหวัด และองคกรปกครองสวนทองถิ่นในบางพื้นที่ที่ดําเนินการรวมกับกรม ทรัพยากรทะเลและชายฝง กรมประมงและกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช โดยเริ่ม ตนการดําเนินการคุมครองพื้นที่ทะเลและชายฝงพรอมๆ กับการมีสวนรวมของชุมชน การออก ขอบัญญัติตําบลเพื่ออนุรักษฟนฟูและใชประโยชนอยางยั่งยืน ซึ่งเปนตัวแบบที่สามารถศึกษา และขยายผลไปยังพื้นที่ชายฝงอื่นๆ ตระหนัก ถึงความสําคัญของทรัพยากรทะเลและชายฝง ทั้งในดานเศรษฐกิจ การเปน พื้นที่สรางความมั่นคงทางอาหารทะเลที่ระบบนิเวศสมดุล เปนแหลงอาหาร รายได สวัสดิการ สังคม ของคนจน เด็ก สตรี คนชรา และชุมชนชายฝง ตลอดจนพื้นที่รักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ ความสมดุลของภูมิอากาศโลกใหกับมนุษยชาติโดยรวม จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. เห็นชอบในหลักการที่วา ทรัพยากรทะเลและชายฝง เปนทรัพยากรสาธารณะของชาติ ทีป่ ระชาชนมีสทิ ธิเขาถึง โดยชอบ การบริหารจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงตองตั้งอยูบนหลักธรรมาภิบาล สอดคลอง กับรัฐธรรมนูญ ตลอดจนสนับสนุนและสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและชุมชนรวมกัน บริหารจัดการใหสอดคลองกับวิถีชีวิตชุมชน โดยมุงประโยชนของคนสวนใหญ มุงแกไขปญหา ความยากจน ลดความเหลื่อมลํ้า สรางความเปนธรรมทางสังคม บนหลักความมั่นคงของระบบ นิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งมีความสําคัญตอเสถียรภาพ ของระบบนิเวศทางทะเล และเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ๒. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอ ใหคณะรัฐมนตรีมมี ติยกเลิกแผนพัฒนาชายฝง ทะเลทัว่ ทุกภาค หรือโครงการพิเศษใดๆ ทีก่ าํ หนดไว และทีก่ าํ ลังดําเนินการอยูใ นปจจุบนั และขอให มีการเรงรัดการดําเนินการตามมติสมัชชาสุขภาพแหงชาติครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ เรื่อง แผน พัฒนาที่ยั่งยืนบนฐานการพึ่งตนเองดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมกรณีภาคใต รวมทั้ง จัดใหมีกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาชายฝงทะเลทั่วทุกภาคของประเทศไทยขึ้นใหม ดวย กระบวนการที่มีสวนรวมจากผูไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ผูมีสวนไดสวนเสีย ประชาชนในพื้นที่ทุกเพศทุกวัยทุกเศรษฐฐานะ และหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มีการ ศึกษาผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม สุขภาพและสังคม
6
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป เสนอตอรัฐบาลเพื่อกําหนด และมีแผนงานและ มาตรการที่เขมขน จริงจัง มีระยะเวลา รวมทั้งงบประมาณที่ชัดเจน ในการจัดการที่เกี่ยวกับ ทรัพยากรทะเล และชายฝง ดังนี้ ๓.๑ เรงตรวจสอบเพิกถอนเอกสารสิทธิ์ที่ออกโดยไมชอบดวยกฎหมาย กําหนด พื้นที่สาธารณะที่หามออกเอกสารสิทธิ์ ประกาศยกเลิกการออกเอกสารสิทธิ์ ที่ดินที่นํ้าทะเลทวมถึงถาวร และยกเลิกเอกสารสิทธิ์ที่ดินทิ้งรางเนื่องจากถูก กัดเซาะลงทะเลใหเปนทีส่ าธารณะโดยใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ และชุมชน รวมกันบริหารจัดการ ๓.๒ ยกเลิก ไมตอ สัญญาทีด่ นิ ของรัฐทีใ่ หเอกชนเชา ยึดคืนพืน้ ทีส่ าธารณะ สันทราย ชายหาด ถนน ทะเล ปาตนนํ้า ปาชายเลน ๓.๓ หามปดกั้นชายหาดสาธารณะและยึดครองทะเลหรือทรัพยากรทะเลและ ชายฝงโดยมิชอบดวยกฎหมายและมีบทลงโทษทางอาญาที่สูงขึ้น ๓.๔ ใหนโยบายการแกปญ หาการกัดเซาะชายฝง เปนนโยบายแหงชาติ จัดตัง้ กองทุน ชดเชยการปองกันการกัดเซาะชายฝงใหกับชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากการ กัดเซาะชายฝง ใหกอ สรางระบบปองกันแบบออนทีส่ อดคลองกับธรรมชาติ และ ใหหยุดการกอสรางเขือ่ นปองกันการกัดเซาะชายฝง แบบอืน่ ไวกอ น จนกวาจะมี แผนและผลการศึกษาอยางครบถวนสมบูรณ และเปนทีย่ อมรับตามหลักวิชาการ ๓.๕ กําหนดเขตถอยรนจากชายฝงเปนเขตหามและควบคุมการกอสรางที่จะกอ ผลกระทบตอระบบนิเวศทางทะเล จัดทําพื้นที่คุมครองระบบนิเวศชายฝงและ ทะเล ๓.๖ ใหเรงรัดประกาศเขตพืน้ ทีค่ มุ ครองชายฝง ทะเลใหครอบคลุมพืน้ ทีส่ าํ คัญๆ ตาม ผลการศึกษาทางวิชาการของชายฝงทะเลโดยเร็ว โดยชี้แจงใหประชาชนและ ทองถิ่น ใหเขาใจในมาตรการการจัดการของพื้นที่คุมครอง และใหมีการจัด ทําผังการใชพื้นที่ชายฝงทะเล ที่ผานกระบวนการมีสวนรวมจากชุมชนทองถิ่น อยางชัดเจนและครอบคลุม โดยกอนประกาศใชตองแจงรูปแบบที่เปนผลสรุป ใหชุมชนทราบกอน ๓.๗ เรงรัดผลักดันกฎหมายสงเสริมบริหารจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง โดย นํารางพระราชบัญญัตบิ ริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ฉบับ ๑๓๓ มาตราทีป่ ระชาชนรวมกันรางนําเขาสูค ณะรัฐมนตรีพจิ ารณาออกกฎหมายบังคับ ใชโดยเรงดวน เพือ่ ใหมแี นวทางปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนในการรับรองสิทธิชมุ ชน ในการ จัดการทรัพยากรทะเลอยางยัง่ ยืน ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ วในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๒ : การปฏิรูปโครงสรางการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง
7
รวมทัง้ มีการควบคุมมิใหมกี ารปลอยนํา้ เสียและของเสียลงทะเล และมีการโซนนิง่ เขตอุตสาหกรรมเขตชายฝงทะเล เขตทองเที่ยว เขตอนุรักษ มีโฉนดชุมชน แกไขปญหาที่ตั้งถิ่นฐานและทํากินของชุมชนชายฝง ๓.๘ นํา ราง พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. ... ฉบับใหมเขาสูก ารประชุมสภาผูแ ทนราษฎรใน สมัยการประชุมปจจุบัน หรือโดยเร็วที่สุด รวมทั้งจัดสรรเงินทุนหมุนเวียน สนับสนุนกลุมประมงพื้นบาน ๓.๙ มอบหมายใหหนวยงานราชการทีด่ แู ลในเรือ่ งการรักษาผลประโยชนของชาติทาง ทะเล หนวยงานใดหนวยงานหนึ่งที่มีความพรอม เปนหนวยงานหลักในการ บูรณาการการปฏิบัติงานรวมกัน กับหนวยงานราชการอื่นที่เกี่ยวของ โดยใหมี อํานาจในการบังคับบัญชาและมีอํานาจในการบังคับใชกฎหมายในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานในทะเล และจัดตั้งองคกรภาคีที่มีความพรอม ทางดานบุคลากรใหมหี นาทีศ่ กึ ษา คนควาและจัดการความรูเ กีย่ วกับทะเล รวม ทั้งจัดทํายุทธศาสตรทะเลเพื่อเปนแนวทางในการแสวงประโยชนและปกปอง การใชทะเลอยางยั่งยืน ๓.๑๐ ใชแผนแมบทการจัดการทรัพยากรชายฝงและแผนแมบททะเลไทย ในการ บริหารจัดทรัพยากรทะเลและชายฝงอยางจริงจังภายในระยะเวลา ๓-๕ ป โดยมีการรวมมือกับองคกรภาคีที่เกี่ยวของ ๔. สมาชิกสมัชชาปฏิรปู องคกรชุมชนและเครือขายภาคีการพัฒนา จะรวมกันดําเนินการ สนับสนุน การอนุรักษและใชประโยชนทรัพยากรทะเลและชายฝงอยางยั่งยืน ดวยการสนับสนุน การบริหาร จัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงของชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นและภาคี ที่เกี่ยวของ การที่จะไมบริโภคสินคาหรือการใชบริการธุรกิจการทองเที่ยวและธุรกิจขนสงสินคา ทางทะเลที่ละเมิดตอกฎหมาย ละเมิดสิทธิชุมชน ไมใชบริการที่พักของผูประกอบการทองเที่ยว ที่ครอบครองที่ดิน โดยมิชอบ ซึ่งกอใหเกิดปญหาทรัพยากรทะเลและชายฝง ๕. ขอใหสวนราชการ ชุมชน องคกรพัฒนาเอกชนและภาคเอกชนดูแลรักษาทรัพยากร ทางทะเล โดยกระบวนการประชาชนมีสวนรวม ใชทรัพยากรไดอยางยั่งยืน โดยจัดใหมี โครงการหรือพื้นที่นํารองดานการจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝงเพื่อเปนกรณีตัวอยางในการ นําไปสูการปฏิบัติตอไป ๖. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
8
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๓
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การคืนความเปนธรรมใหแกประชาชน กรณีที่ดินและทรัพยากร สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพจิ ารณารายงานเรือ่ งการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนกรณีทดี่ นิ และทรัพยากร๑ ตระหนัก วาประชาชนจํานวนไมนอ ยไดรบั ความไมเปนธรรมในคดีทดี่ นิ และทรัพยากร ทัง้ กรณีกอนและระหวางการพิจารณาคดี และเมื่อคดีถูกตัดสินแลว โดยมีสาเหตุของการไดรับความ ไมเปนธรรมหลายอยาง ไดแก ความบกพรองไมเปนธรรมของกฎหมายและกระบวนการเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินและ ทรัพยากร เชน การออกเอกสารสิทธิทับซอน ความบกพรองไมเปนธรรมของกระบวนการยุติธรรม เชน การไมเดินเผชิญสืบ หรือไม พิจารณาหลักฐานพยานบุคคลหรือประวัติศาสตร และการคอรัปชั่น เปนตน รับทราบ วาความไมเปนธรรมในกรณีคดีที่ดินและทรัพยากรมีความซับซอน และ เกี่ยวพันกับหลายภาคสวน ทั้งกระบวนการยุติธรรม กฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของกับ การจัดสรรที่ดินและทรัพยากร และความเหลื่อมลํ้าในการถือครองและเขาถึงที่ดินและทรัพยากร ในปจจุบัน เปนตน เขาใจ วาการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนในกรณีคดีที่ดินและทรัพยากรตองทํา อยางเปนระบบและสามารถแกปญหาไดอยางยั่งยืนนั้น ตองประกอบดวย ๑. การใหความชวยเหลือและเยียวยาประชาชนทีไ่ มไดรบั ความเปนธรรมอยางครอบคลุม ทุกขั้นตอน ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๓
9
๒. ปฏิรูปกลไกการทํางานในกระบวนการยุติธรรมใหเกิดความเปนธรรม ทั้งทัศนคติของ เจาหนาที่บุคลากรที่เกี่ยวของในทุกกลไกและกระบวนการ ๓. ปฏิรูปกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติที่ไมเปนธรรม เชน กฎหมายที่เกี่ยวของกับ การออกเอกสารสิทธิ์ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หรือกฎหมาย พิจารณาคดีที่ดินและทรัพยากร เปนตน ๔. การดําเนินงานปฏิรปู ทีด่ นิ ควบคูก นั ไปเพือ่ ลดความเหลือ่ มลํา้ และสรางความเปนธรรม ชื่นชม การดําเนินการของกระทรวงยุติธรรมในการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชน ในคดีที่ดินและทรัพยากร โดย ประสานงาน ระงับการจับกุมหรือคุมขังประชาชนในคดีที่ดินและ ทรัพยากร ซึ่งเปนผูสุจริตและไมมีเจตนากระทําผิด และตั้งคณะทํางานศึกษาสถานการณและ วางแนวทางการคืนความเปนธรรมใหประชาชนในคดีที่ดินและทรัพยากรซึ่งอยูในขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการยุติธรรม อีกทั้งยังมีการปรับปรุงระเบียบกระทรวงยุติธรรมวาดวยเรื่องกองทุน ยุติธรรมใหสามารถชวยเหลือประชาชนไดอยางครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ตระหนัก ถึงความจําเปนเรงดวนในการแกปญหาความไมเปนธรรมใหแกประชาชนใน กรณีคดีที่ดิน และทรัพยากรอยางเปนระบบและสามารถแกปญหาไดอยางยั่งยืน จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. เห็นดวยและสนับสนุนแนวทางการดําเนินงานของกระทรวงยุติธรรมและหนวยงาน ที่เกี่ยวของในการปฏิรูปคดีที่ดินและทรัพยากร และขอใหคณะรัฐมนตรีถือเปนนโยบายสําคัญ และมีมติเห็นชอบการดําเนินการดังกลาว ๒. ใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรี รัฐสภา คณะกรรมการปฏิรูป กฎหมาย พรรคการเมืองตางๆ ประธานศาลฎีกา คณะกรรมการตุลาการ อัยการสูงสุดและองคกร ที่เกี่ยวของ เรงรัดดําเนินการ ดังนี้ ๒.๑ ใหออกพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรมและพิจารณาปรับปรุงพระราชบัญญัติ คาตอบแทนผูเสียหาย คาทดแทนและคาใชจายแกจําเลยในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยใหมีกลไกการพิจารณาที่มีความเปนอิสระ ยืดหยุน คลองตัว ประชาชนเขาถึงงายและมีทรัพยากรเพียงพอ ๒.๒ ใหเกิดการปฏิรูปกลไกการทํางานในกระบวนการยุติธรรม ภายในแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) โดยนํา กระบวนการพิจารณาคดีที่หลากหลาย โดยไมใชระบบกลาวหามาใช เชน การใชระบบไตสวนทั้งระบบ (กฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญาและกฎหมายวิธี
10
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๒.๓ ๒.๔
๒.๕
๒.๖
พิจารณาคดีแพง) การเดินเผชิญสืบของผูพ พิ ากษา การพิจารณาหลักฐานบุคคล หรือหลักฐานทางประวัติศาสตรทองถิ่น การใชกระบวนการยุติธรรมชุมชน หรือการจัดตั้งองคกรอิสระที่มีความชํานาญในขอพิพาทคดีเกี่ยวกับที่ดินและ ทรัพยากรเพื่อทําหนาที่ดูแลที่ดินและทรัพยากร โดยกระตุนใหกลไกตางๆ ที่ มีอยูโดยเฉพาะอยางยิ่งกระบวนการพิจารณาคดีทํางานอยางมีประสิทธิภาพ บนฐานของความเปนธรรม ใหมีการจัดตั้งศาลเฉพาะเพื่อพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากร โดยใชระบบไตสวนที่มีกระบวนการพิจารณาที่สะดวก รวดเร็วและเปนธรรม ใหกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม รวมทัง้ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของและภาคีตา งๆ เปนเจาภาพในการแกไขกฎหมายเรือ่ งกระบวนการ ออกเอกสารสิทธิ์ รวมไปถึงยกเลิกและปรับปรุง แกไขประมวลกฎหมายและ มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติ ที่ไมเปนธรรม หรือที่เปนอุปสรรคในการคืนความเปนธรรมใหแกประชาชน เชน กฎหมายปาสงวนแหงชาติ ที่ดินสาธารณะ อุทยานฯ กฎหมายปาไมที่ขัด ตอรัฐธรรมนูญและมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ เพื่อให สอดคลองกับขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น รวมทั้งฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติอยางเปน ธรรม โดยดําเนินการใหสําเร็จเปนรูปธรรมภายใน ๑๘๐ วัน ใหมกี ารสํารวจพืน้ ทีใ่ นสวนทีอ่ ยูอ าศัยและพืน้ ทีท่ าํ มาหากินตามขอเท็จจริงทีจ่ ะ ออกเอกสารสิทธิใ์ ห เพือ่ ใหมคี วามชัดเจนในการครอบครองในการบริหารจัดการ พืน้ ทีร่ ว มกันอยางเหมาะสมตามขอเท็จจริง และแกไข พ.ร.บ. หรือกฎหมายตางๆ เกีย่ วกับทีด่ นิ ทีย่ งั ไมปรับปรุงโดยการใชกระบวนการมีสว นรวมของชุมชนทองถิน่ และหนวยงานที่เกี่ยวของ ดําเนินการแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชนในกรณีที่ดินที่ไมไดรับ ความเปนธรรมอยางเรงดวน โดยพิจารณาแกปญหาเปนแตละกรณี ตามกลไก และกระบวนการที่กฎหมายกําหนด ดังนี้ ๒.๖.๑ คดีที่ศาลไดมีคําพิพากษาถึงที่สุดแลว ใหมีการพักโทษ ลดโทษและ คุมประพฤติ นอกจากนี้ใหระงับและทบทวนการคิดคาเสียหายในกรณี คดีโลกรอน ๒.๖.๒ คดีทดี่ นิ ทีอ่ ยูร ะหวางการพิจารณา ใหมกี ารจําหนายคดีชวั่ คราว อนุญาต ใหประชาชนผูตองหาและครอบครัวอยูอาศัยทํากินในที่ดินเดิม โดยใน ระยะเรงดวนขอใหสามารถใชบคุ คลหรือกองทุนยุตธิ รรมในการคํา้ ประกัน
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๓ : การคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนกรณีที่ดินและทรัพยากร
11
ตัวแทนหลักทรัพย อีกทั้งเนนการพิจารณาพฤติกรรมของผูตองหาแทน การใชหลักทรัพยคํ้าประกัน รวมทั้งใหมีการตรวจสอบการออกเอกสาร สิทธิ์ในที่ดินดวย โดยตั้งคณะกรรมการกลางที่มีสวนรวมจากชุมชน ตรวจสอบใหแลวเสร็จภายใน ๙๐ วัน ๒.๖.๓ กรณีปญหาที่ยังไมเขาสูกระบวนการยุติธรรมใหระงับการดําเนินการ ใดๆ ที่เปนการเพิ่มความเดือดรอนและความรุนแรงกับประชาชน โดย ใหระงับการจับกุมประชาชนที่อยูอาศัยและทํากินในพื้นที่ที่มีขอพิพาท ทีม่ ใิ ชการแผวถางหรือบุกเบิกปาใหม รวมถึงระงับการขยายพืน้ ทีท่ กี่ าํ ลัง จะเปนขอพิพาทระหวางชุมชนกับโครงการพัฒนาของภาครัฐหรือเอกชน จนกวาจะมีการแกไขปญหาหรือมีขอพิสูจนเสร็จสิ้น และพื้นที่ที่กําลัง ดําเนินการโฉนดชุมชน ทัง้ นีใ้ หคาํ นึงถึงกฎหมายผังเมืองในสวนของการ วางผังเมืองรวมที่ครอบคลุมทั้งชนบทและเมือง ๒.๗ ขอใหออก พ.ร.บ.นิรโทษกรรมผูที่บุกรุกปากรณีไมมีที่ดินทํากิน ๓. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
12
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๔
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การปฏิรูประบบประกันสังคม เพื่อความเปนธรรม สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการปฏิรูประบบประกันสังคม เพื่อความเปนธรรม๑ ตระหนัก วาแรงงานทุกคนตองไดรับการคุมครองใหมีความมั่นคงในการดํารงชีวิตระดับ พื้นฐาน เพื่อบรรเทาปญหาความเดือดรอนจากการขาดรายได อันเกิดจากการประสบอันตราย เจ็บปวย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต การวางงาน การสงเคราะหบุตรและชราภาพ ตระหนัก วาระบบประกันสังคมเปนระบบสวัสดิการทีด่ แู ลคุม ครองกําลังแรงงานจํานวนมาก และมีกองทุนขนาดใหญ ในอนาคตเมื่อระบบประกันสังคมขยายความครอบคลุมแกแรงงาน ทั้งในและนอกระบบทุกประเภทแลว ขนาดของกองทุนจะขยายใหญยิ่งขึ้น ซึ่งการบริหาร จัดการกองทุนเงินออมขนาดใหญนี้จะมีผลอยางยิ่งตอการบริหารเศรษฐกิจมหภาคของ ประเทศ ทั้งตอตลาดเงิน ตลาดทุน ตลาดแรงงานและภาคการผลิต ดวยเหตุนี้จึงมีความ จําเปนอยางยิ่งที่ระบบประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมจะตองถูกบริหารจัดการ ภายใตธรรมาภิบาลที่ดี คือ มีอิสระ มีประสิทธิภาพ มีสวนรวมอยางกวางขวางและมีความ โปรงใส ตรวจสอบได เพื่อความเปนธรรมและประโยชนสูงสุดแกผูประกันตน รับทราบ ถึงปญหาของระบบประกันสังคมซึ่งยังไมครอบคลุมแรงงานนอกระบบซึ่งเปน กําลังแรงงานสวนใหญของประเทศและรับทราบถึงปญหาดานธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการ ระบบประกันสังคม โดยระบบในปจจุบันขาดความเปนอิสระจากระบบราชการและการเมือง ขาดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน ขาดบุคลากรที่มีความสามารถที่เพียงพอ ขาดการมีสวนรวม ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๔
13
อยางแทจริงจากฝายผูประกันตนในการบริหารจัดการกองทุน การกํากับดูแลและการตรวจสอบ อีกทั้งขาดความโปรงใสดานขอมูลการบริหารกองทุน รับทราบ ถึงปญหามาตรฐานคุณภาพการใหบริการและความไมเปนธรรมของผูป ระกันตน ที่ตองจายเงินสมทบทางตรงอยูเพียงกลุมเดียว เมื่อเทียบกับระบบประกันสุขภาพอื่น เขาใจ วาเพื่อสรางระบบประกันสังคมที่เปนธรรมแกกําลังแรงงานทั้งหมดโดยคํานึงถึง สิทธิความคุมครองพื้นฐานที่แรงงานพึงไดรับ จําเปนตองมีการแกไขพระราชบัญญัติประกันสังคม ซึง่ เปนกฎหมายหลักของระบบประกันสังคม โดยใหครอบคลุมแรงงานทุกประเภทอยางกวางขวาง มากขึน้ ภายใตเงือ่ นไขทีเ่ ปนธรรมเหมาะสม พรอมกับการแกไขใหระบบประกันสังคมมีธรรมาภิบาล ที่ดี มีความเปนอิสระ มีประสิทธิภาพ มีสวนรวมอยางกวางขวางและมีความโปรงใส ชื่นชม การรวมกันผลักดันการแกไขพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยภาค สวนตางๆ ไดแก พรรคการเมืองทั้งฝายรัฐบาล ฝายคาน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสราง เสริมสุขภาพ (สสส.) ภาคประชาชน ผานคณะกรรมการสมานฉันทแรงงานไทย และเครือขาย องคกรแรงงานเปนแกนหลัก ใหขยายความครอบคลุมไปยังแรงงานนอกระบบอยางกวางขวาง มากขึ้น และการปฏิรูปธรรมาภิบาลของระบบประกันสังคม ตระหนัก ถึงความจําเปนที่ทุกภาคสวนจะตองรวมกันผลักดันและสนับสนุนการแกไข พระราชบัญญัติประกันสังคม (ฉบับที่...) พ.ศ. .... ซึ่งขณะนี้อยูในขั้นตอนการแปรญัตติโดย คณะกรรมาธิการของสภาผูแทนราษฎร จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. ใหรัฐบาล สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภาและพรรคการเมืองตางๆ รวมกัน เรงดําเนินการ แกไขพระราชบัญญัติประกันสังคมใหแลวเสร็จภายใน ๑ ป ในประเด็นตอไปนี้ ๑.๑ ดานความครอบคลุม ใหขยายความครอบคลุมไปถึงแรงงานทุกคนทั้งแรงงาน ในระบบและนอกระบบ รวมทั้งแรงงานขามชาติ ทั้งนี้ความครอบคลุมในเรื่อง สิทธิประโยชนของกลุมแรงงานขามชาติจําเปนตองพิจารณาใหสอดคลองกับ วิถีชีวิตและการทํางานของกลุมนี้ดวย ๑.๒ ดานกลไกการบริหาร ๑.๒.๑ ใหสาํ นักงานประกันสังคมเปนองคกรอิสระภายใตการกํากับของรัฐ โดย มีเลขาธิการที่ไดรับการแตงตั้งโดยตรงจากคณะกรรมการประกันสังคม ๑.๒.๒ ใหมรี ะบบและกลไกการสรรหาคณะกรรมการประกันสังคม ทัง้ ฝายนายจาง ฝายผูแทนผูประกันตน และผูทรงคุณวุฒิ ที่ชัดเจน โปรงใส และมีสวน
14
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
รวมอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิง่ การเลือกตัง้ ผูแ ทนฝายผูป ระกัน ตนจากผูประกันตนโดยตรง ๑.๓ ดานกลไกการลงทุน ใหมีคณะกรรมการลงทุน ที่มีองคประกอบทั้งฝายนายจาง ฝายผูแทนผูประกันตน และผูทรงคุณวุฒิ ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม กระบวนการ ไดมา และวาระการดํารงตําแหนงที่ชัดเจน โปรงใส ไมมีผลประโยชนทับซอน เพื่อทําหนาที่บริหารจัดการเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชนของกองทุนเพื่อให เปนไปตามนโยบายประกันสังคมและแผนการลงทุนที่คณะกรรมการประกัน สังคมเห็นชอบ ๑.๔ ใหมีการเปดเผยขอมูลการประกันสังคมและการดําเนินการของกองทุนประกัน สังคมตอรัฐสภาปละครั้งและใหประชาชนทั่วไปและผูประกันตนสามารถเขา ถึงขอมูลไดโดยสะดวกและใหมีเวทีรับฟงความคิดเห็นจากผูประกันตนหรือผูมี สวนไดสวนเสียอยางนอยปละ ๑ ครั้ง ๑.๕ กําหนดเพิ่มเติมใน พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. ......ใหมีคณะกรรมการตรวจ สอบการดําเนินงานของคณะกรรมการประกันสังคม คณะกรรมการลงทุนและ สํานักงานประกันสังคม ที่มีองคประกอบทั้งฝายนายจาง ฝายผูแทนผูประกัน ตนและผูทรงคุณวุฒิที่มาจากการสรรหา โดยใหผูมีสวนไดสวนเสียมีสิทธิเขาชื่อ เสนอถอดถอนคณะกรรมการตางๆ ได ตามหลักฐานเชิงประจักษอยางเหมาะ สมและเปนธรรมกับทุกฝาย ๒. ใหคณะกรรมการประกันสังคมปรับปรุงและพัฒนาระบบสวัสดิการทางสังคมยกเวน ดานสุขภาพสําหรับประชาชนทุกกลุมทั่วประเทศเพื่อใหเกิดความเปนธรรมและมีประสิทธิภาพ สูงสุด ๓. ใหคณะกรรมการประกันสังคมจัดใหมีการศึกษาและวิจัยเรื่องความเปนธรรมทั้งการ จายเงินสมทบและการไดรับสิทธิประโยชนโดยใหเปนการศึกษาจากนักวิชาการผูไมมีสวนไดสวน เสียใดๆ ทั้งสิ้นและใหคณะกรรมการประกันสังคมมีการนําขอมูลที่ไดไปรับฟงความคิดเห็นของ ผูประกันตน เพื่อใชพัฒนาระบบประกันสังคมใหมีความเปนธรรมมากขึ้น ๔. ใหรัฐบาลและสํานักงานประกันสังคมเรงดําเนินการนําเงินสมทบดานสุขภาพจาก ผูประกันตนไปใชสําหรับสิทธิประโยชนอื่น โดยใหรัฐบาลเปนผูรับผิดชอบคาใชจายเรื่องสุขภาพ สําหรับผูประกันตน ๕. ใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู สนับสนุนใหมกี ารจัดสมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็นเรือ่ ง การบริหารจัดการระบบการจัดบริการสุขภาพสําหรับผูป ระกันตน และการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๔ : การปฏิรูประบบประกันสังคมเพื่อความเปนธรรม
15
คุณภาพและมาตรฐานการรักษา และวิธีการเขาถึงบริการ ใหเทาเทียมกับระบบประกันสุขภาพ อื่นๆ ทั้งนี้ ใหเอื้อตอการเขาถึงบริการอยางมีคุณภาพของผูประกันตน ๖. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
16
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๕
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การสรางระบบหลักประกันในการดํารงชีพ และระบบสังคมทีส่ รางเสริมสุขภาวะ แกผสู งู อายุ สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่อง การสรางระบบหลักประกันในการดํารงชีพและระบบสังคม ที่สรางเสริมสุขภาวะแกผูสูงอายุ๑ ตระหนัก วาการมีปจจัยยังชีพในระดับที่พอเพียงในยามสูงอายุเปนสิทธิที่ทุกคนตอง ไดรับอยางเทาเทียมกันตามรัฐธรรมนูญ โดยการดําเนินการตองบูรณาการการออมของบุคคล การชวยเหลือเกื้อกูลภายในครอบครัว การสนับสนุนจากชุมชนและรัฐ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ทางสังคมที่จะใหประชาชนสามารถดํารงชีพอยางมีศักดิ์ศรียามสูงอายุ รับทราบ วาประเทศไทยไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุแลว ประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้น แต ระบบบํานาญผูส งู อายุทมี่ อี ยู ยังไมครอบคลุมทัว่ ถึง ขาดความเสมอภาค ขาดการบูรณาการระบบ และมีแนวโนมขาดความยัง่ ยืนทางการเงินในอนาคต นอกจากนีร้ ะบบบํานาญผูส งู อายุไมยดื หยุน พอ สําหรับรองรับกรณีที่ผูประกันตนเปลี่ยนงานสลับไปมาระหวางการทํางาน สงผลใหมีการเปลี่ยน สมาชิกภาพกองทุนบํานาญชราภาพตามสถานะการทํางาน ทําใหผูประกันตนแมทํางานตลอด ชวงวัยทํางานจะไดรับเพียงบําเหน็จ เนื่องจากจํานวนปที่สงเงินสมทบในแตละกองทุนบํานาญ ชราภาพไมยาวนานพอที่จะไดรับบํานาญ ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๕
17
เขาใจ วาการมีปจจัยสําหรับการดํารงชีพยามสูงอายุที่พอเพียงนั้น จําเปนตองใชการ คุม ครองทางสังคมหลายรูปแบบบูรณาการเขาดวยกัน คือ การสรางหลักประกันรายไดยามสูงอายุ ดวยการสงเสริมการออมดวยตนเอง ทั้งในลักษณะการบังคับออมและสงเสริมการออมโดยความ สมัครใจเพือ่ เพิม่ หลักประกันในชีวติ การจัดสวัสดิการสังคมและตาขายนิรภัยทางสังคมในลักษณะ เบี้ยยังชีพเพื่อชวยผูที่ไมสามารถออมเงินไดเพียงพอดวยตนเอง ตระหนัก ถึงบริบททางสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งมีจุดแข็งดาน วัฒนธรรมการชวยเหลือเกื้อกูลภายในครอบครัว แตโครงสรางครอบครัวที่ผันแปรไป และความ เหลื่อมลํ้าดานรายไดในสังคมที่มีการกระจุกตัวของผูที่รํ่ารวยที่มีเพียงจํานวนนอย แตประชากร สวนใหญมรี ายไดนอ ย ไมสามารถออมเงินใหเพียงพอสําหรับเปนหลักประกันความมัน่ คงในรายได ยามสูงอายุได จําเปนที่รัฐตองมีบทบาทในการสรางหลักประกันในการดํารงชีพยามสูงอายุขั้น พื้นฐานอยางถวนหนา จึงมีมติ ดังนี้ ๑. ใหรัฐบาลกําหนดเปนนโยบายและวิสัยทัศนระยะยาววา “สังคมไทย มีหลักประกัน การดํารงชีพในระดับที่พอเพียง และมีระบบสวัสดิการสังคมแกผูสูงอายุ” ๒. ขอใหรัฐบาลมอบหมายใหกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย และ กระทรวงการคลังเปนเจาภาพ รวมกับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง มหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน สํานักงาน หลักประกันสุขภาพแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ องคกรปกครองสวนทองถิ่น สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมธุรกิจประกันภัย ทํางาน รวมกับคณะกรรมการปฏิรูป คณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป สภาผูสูงอายุ องคกรภาคประชาชน ที่เกี่ยวของ และผูที่เกี่ยวของอื่นๆ เพื่อดําเนินการ ดังนี้ ๒.๑ พัฒนารูปแบบและระบบการเงินการคลังเพื่อหลักประกันในยามสูงอายุที่ หลากหลายสําหรับทุกคน ครอบคลุมทัง้ ระบบบํานาญพืน้ ฐานทีอ่ า งอิงเสนความ ยากจน การออมในระดับชุมชนและการจัดระบบหลักประกันดานการเงิน โดย กองทุนภาครัฐและสถาบันการเงินเอกชน โดยรัฐใหการสนับสนุนทางการเงิน แกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและองคกรอื่นๆ ในระดับที่เหมาะสม เปนธรรม และมีความยั่งยืนในระยะยาวตอเนื่อง ๒.๒ พัฒนาระบบสวัสดิการสังคมที่สรางเสริมสุขภาวะผูสูงอายุ โดยใหมีรูปแบบที่ หลากหลาย
18
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๒.๓ พิจารณาแนวทางการแกไขกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ วาดวยการเลิกจางงาน ดวยเหตุมอี ายุเกิน โดยไมไดคาํ นึงหรือประเมินความสามารถในการทํางานอยาง เปนธรรม ๒.๔ เรงรัดการพิจารณารางพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ พ.ศ. .... ใน รัฐสภา เพื่อใหมีผลบังคับใชโดยเรงดวน ๒.๕ พัฒนาแนวทางการสรางเสริมบทบาทของผูสูงอายุเพื่อธํารงไวเปนทุนที่เกื้อกูล สังคม รวมทั้งการสงเสริมกิจกรรมผูสูงอายุและครอบครัวอยางหลากหลาย ๓. ขอใหหนวยงานหลักในภาครัฐ ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย รวมทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมกันจัดหามาตรการเพื่อ การสรางเสริมสุขภาวะของผูสูงอายุ ๔. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามและดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๕ : การสรางระบบหลักประกันในการดํารงชีพและระบบสังคมที่สรางเสริมสุขภาวะแกผูสูงอายุ
19
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๖
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การสรางสังคมที่คนไทย อยูเย็นเปนสุขรวมกัน สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน๑ ตระหนัก ถึงสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นับตัง้ แตฉบับที่ ๘ เปน ตนมา รวมทั้งทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ที่เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การพัฒนา สังคมและการสรางความมัน่ คงของมนุษยใหแกประชากรไทย เพือ่ นําไปสูก ารมีสงั คมทีม่ ดี ลุ ยภาพ รับทราบ วาการดูแลและพิทักษกลุมประชากรตางๆ ที่มีความเปราะบาง เปนเรื่องของ สิทธิมนุษยชนซึ่งไดรับการยอมรับในระดับสากลและระดับประเทศ ในขณะที่จํานวนประชากร กลุมตางๆ เหลานี้ มีสัดสวนเพิ่มมากขึ้น สวนใหญอาศัยอยูในพื้นที่เขตชนบทและมีรายไดนอย ตระหนัก วายังมีความเหลื่อมลํ้าของโอกาสการเขาถึงประโยชน จากกระบวนการพัฒนา ของประเทศและการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรกลุมดังกลาว ทั้งจากการเลือกปฏิบัติโดยไม เปนธรรมตอบุคคล โดยเฉพาะผูท มี่ คี วามเปราะบาง ทีเ่ ปนการปฏิบตั โิ ดยตรงและจากการทีส่ ภาพ แวดลอมทางสังคมไมไดรับการจัดการใหทุกคนสามารถเขาถึงและใชประโยชนรวมกันไดจริง ตระหนัก ถึงกลไกการทํางานภาครัฐที่เปนรูปแบบการสงเคราะหและการแกปญหา เฉพาะหนา ขาดการพัฒนาเชิงนวัตกรรม ทําใหไมสามารถสงผลประโยชนจากการพัฒนาไปถึง ประชากรกลุมเปราะบางตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไมสามารถเสริมพลังและลดความ เหลื่อมลํ้าได อีกทั้งรัฐยังจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิต ประชากรกลุมเปราะบาง ในจํานวนที่ไมเพียงพอและไมแนนอน ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๖
20
พิจารณา เห็นวารายไดของกิจการสลากกินแบงรัฐบาลเกิดจากความเชื่อของบุคคลซึ่ง สวนใหญเปนคนจน มิใชเกิดจากการผลิตที่แทจริง จึงไมสมควรจัดเก็บเขารัฐ แตควรสงคืน กลับไปพัฒนาสังคม พัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิต สรางความมั่นคงและเปนธรรมทางสังคม ใหแกผูยากไร ผูดอยโอกาสและกลุมประชากรที่เปราะบางอื่นๆ มีความกังวล ในคุณภาพและประสิทธิภาพของรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนทั้ง ๕ กองทุน ไดแก ๑) เด็กเยาวชน ๒) สตรี ๓) ผูสูงอายุ ๔) คนพิการ และ ๕) สวัสดิการสังคมและ ความยั่งยืนของกลไกการคลังเพื่อการพัฒนาสังคม จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. เห็นชอบใหจัดทําวิสัยทัศน ยุทธศาสตร นโยบาย แผนงานและกลไก “สรางสังคมที่ คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน” ซึ่งหมายถึง การทําใหทุกคนไดเขามาอยูในพื้นที่ทางสังคมและ ทํากิจกรรมทางสังคมรวมกันไดอยางมีศักดิ์ศรี ไมมีการเลือกปฏิบัติตอกันและกัน ไดรับโอกาส ที่เทาเทียมกัน ในการเขาถึงสิทธิ ทรัพยากร และการใชประโยชนจากสถานที่ บริการและขอมูล ขาวสารตางๆ ไดอยางเสมอภาค ๒. เห็นชอบและใหความสําคัญกับหลักการ ๔ ประการ ทีจ่ ะ “สรางสังคมทีค่ นไทยอยูเ ย็น เปนสุขรวมกัน” คือ การสรางสภาพแวดลอมทีท่ กุ คนสามารถเขาถึงและใชประโยชนได การสงเสริม ความเสมอภาคและขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคล การสรางความมั่นคงทางดาน การคลังเพื่อการพัฒนาสังคมอยางตอเนื่อง และการสรางพลังจิตอาสา โดยการมีสวนรวมอยาง กวางขวางของภาคประชาชนและภาคสวนตางๆ ๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอรัฐบาล รัฐสภาและพรรคการเมืองตางๆ เรงรัดการปรับปรุง หรือออกกฎหมายใหม เพือ่ ขจัดการเลือกปฏิบตั โิ ดยไมเปนธรรมตอบุคคล โดย เฉพาะกลุม ทีม่ คี วามเปราะบางใหแลวเสร็จภายในเวลา ๓ ป พัฒนากลไกปองกันและขจัดการเลือก ปฏิบัติ ที่มีสวนรวมอยางกวางขวางและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริมมาตรการเชิงบวกเพื่อการ ขจัดการเลือกปฏิบัติ ๔. ขอใหรัฐบาล หนวยงานองคกรทุกภาคสวนกําหนดนโยบาย แผนงาน โครงการตาม พันธกิจของตน เพื่อนําไปสูการเรงดําเนินการสรางสภาพแวดลอมที่ทุกคนเขาถึงและใชประโยชน ไดจริง ๕. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรี เพื่อผลักดันใหมีการปฏิรูป ระบบการคลังเพื่อสังคม ดวยมาตรการสําคัญ ดังนี้
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๖ : การสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน
21
๕.๑ ปรับสัดสวนสลากกินแบงรัฐบาลและจัดสรรรายไดเขากองทุนพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชากรกลุมเปราะบางตางๆ ตามความเห็นของคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป โดยจัดสรรใหกอนหลังตามความพรอมในดานการบริหารจัดการกองทุน ๕.๒ การใชเงินรายไดดังกลาวของทุกกองทุนที่ไดรับจัดสรร ใหมุงสงเสริมนวัตกรรม ดานการพัฒนาสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการเสริมพลังอํานาจกลุม ประชากรเฉพาะที่มีความเปราะบาง สงเสริมและสนับสนุนความเขมแข็งของ องคกรดานเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการและผูดอยโอกาส สนับสนุน การสรางนวัตกรรมมาตรการเชิงบวกเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติ สนับสนุน นวัตกรรมการจัดการสภาพแวดลอมทางสังคมทีท่ าํ ใหทกุ คนเขาถึงและใชประโยชน ไดจริง รวมทั้งสนับสนุนการลดหรือจํากัดการเลนการพนัน และอบายมุข ทุก ประเภทและทุกรูปแบบ ๖. ใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป ตั้งคณะกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่ง ที่ประกอบดวย ตัวแทนจากภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ และภาคประชาสังคมทุกกลุมที่เกี่ยวของ เพื่อทําหนาที่ ๖.๑ ศึกษาและใหขอเสนอแนะรูปแบบการบริหารกองทุนที่เหมาะสม และผลักดัน ใหเกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริหารกองทุนทั้ง ๕ ประกอบดวย กองทุนเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ และสวัสดิการสังคม ให แลวเสร็จภายในเวลาไมเกิน ๑ ป เพื่อทําใหการบริหารกองทุนดังกลาวแตละ กองทุน เปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ บรรลุผลตามเจตนารมณ และหากมีความจําเปนตองตรารางกฎหมายใหม ก็ใหยกรางกฎหมายขึ้นมา นําเสนอดวย ๖.๒ ศึกษาและใหขอเสนอแนะกลไกระบบการคลังเพื่อสังคมในรูปแบบตางๆ เพื่อ การหารายไดเขากองทุนอยางยั่งยืน ๖.๓ ดําเนินการศึกษาและผลักดันการแกไข พระราชบัญญัติสํานักงานสลากกินแบง รัฐบาล พ.ศ. ๒๕๑๗ ใหเปนไปตามหลักการในขอ ๕.๑ ขางตนใหแลวเสร็จ ภายในเวลา ๑ ป เพื่อทําใหกลไกดานการคลังที่จะมาสนับสนุนการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย โดยเฉพาะในกลุมประชากรที่มีความเปราะบาง เหลานี้ มีความมั่นคงและยั่งยืน ๗. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
22
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๗
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
การปฏิรปู การกระจายอํานาจเพือ่ เสริมสราง และพัฒนาศักยภาพการจัดการตนเองของ ชุมชนทองถิ่น สรางความเปนธรรมและ ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณารายงานเรื่องการปฏิรูประบบการกระจายอํานาจเพื่อเสริมสรางและพัฒนา ศักยภาพการจัดการตนเองของชุมชนทองถิ่น สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้า ในสังคม๑ รับทราบ แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐในเรื่องการสรางการมีสวนรวมของประชาชนใน การกําหนดทิศทาง การพัฒนาและการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นและให องคกรปกครองสวนทองถิ่นพึ่งตนเองและตัดสินใจในการดําเนินกิจการของทองถิ่นไดเองเพื่อ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เศรษฐกิจ และบริการสาธารณะในพื้นที่ไดอยางทั่วถึงและเทาเทียม รับทราบ ขอจํากัดและปญหาการจัดการภายใตโครงสรางและกลไกที่มีอยูในปจจุบันสง ผลใหระบบการกระจายอํานาจ สถานะและบทบาทองคกรปกครองสวนทองถิ่นไมมีความเปน อิสระ องคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละรูปแบบมีกฎหมาย อํานาจหนาที่และภารกิจที่แตกตาง กัน ขาดความเปนเอกภาพ ขาดความเชื่อมโยงและขาดความเทาเทียมกันและในทางปฏิบัติ ยังไมมีความตอเนื่องของการดําเนินงาน ขาดการสนับสนุนจากภาคการเมือง ขาดกลไกการ ขับเคลื่อนที่มีความมุงมั่นในการทบทวนบทบาทและภารกิจของราชการสวนกลาง ราชการ ๑ เอกสาร สมัชชาปฏิรูป ๑ / หลัก ๗
23
สวนภูมิภาค ที่มีความทับซอนและซํ้าซอนกับภารกิจขององคกรปกครองสวนทองถิ่น การ ถายโอนภารกิจทีเ่ กิดขึน้ ก็ขาดความสมบูรณไมเปนการโอนทัง้ ภารกิจ อัตรากําลัง และงบประมาณ รับทราบ มติสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครัง้ ที่ ๓ วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๓ ในวาระนโยบาย สนับสนุนพื้นที่จัดการตนเองเพื่อสังคมสุขภาวะ โดยมติเปนไปเพื่อการพัฒนากลไกการจัดการ ตนเอง และพัฒนาศักยภาพชุมชนทองถิ่นใหจัดการตนเองในทุกระดับ รับทราบ มติสมัชชาองคกรปกครองสวนทองถิน่ เพือ่ การปฏิรปู เมือ่ วันที่ ๒-๓ มีนาคม ๒๕๕๔ โดยมีมติในการปฏิรูปโครงสรางและระบบการปกครองสวนทองถิ่นเพื่อสรางความเปนธรรม และลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม โดยมติประกอบดวย ๔ สวน คือสวนที่ ๑ ขอเสนอดาน กฎหมาย ระเบียบและขอบังคับ สวนที่ ๒ ขอเสนอดานการถายโอนภารกิจ สวนที่ ๓ ขอเสนอ ดานการเงินการคลังทองถิ่น สวนที่ ๔ ขอเสนอดานการจัดความสัมพันธระหวางชุมชนกับ ทองถิ่น ตระหนักวา การปฏิรูประบบการปกครองทองถิ่นตองสนับสนุนใหประชาชนทั้งหญิง และชายมีศักยภาพในการปกครองตนเองอยางแทจริงและเอื้อประโยชนสูงสุดตอชุมชนตาม เจตนารมณของรัฐธรรมนูญและจําเปนที่จะตองมีการทบทวน ปรับปรุง และกําหนดโครงสราง กลไกและบทบาทหนาที่ใหม ดวยการปรับปรุงแกไขเพิ่มเติมกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ รวมถึง การตรากฎหมายใหม ตระหนัก วาการจัดสมดุลเชิงอํานาจเปนเรื่องที่ตองเรงดําเนินการ โดยลดอํานาจการ บริหารจัดการของการบริหารราชการสวนกลางลงใหเหลือเพียงภารกิจหลักเทาที่จําเปน การกระจายอํานาจสูทองถิ่น และการจัดกระบวนการบริหารงานพัฒนาเชิงพื้นที่แบบมีสวนรวม ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญอยางแทจริง สิ่งที่สําคัญคือ การที่ประชาชนในชุมชน ทั้ง หญิงและชายสามารถตัดสินใจ กําหนดทิศทางการพัฒนา บริหารจัดการชุมชนของตนเอง รวมกับหนวยงานและภาคีอื่นๆ ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอตอคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหคณะกรรมการ กระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันพัฒนาองคกรชุมชนและกรมสงเสริม การปกครองทองถิ่น รวมเปนแกนประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งหมด รวมกันดําเนินการให เปนไปตามมติสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๓ และมติสมัชชาองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อ การปฏิรูป เมื่อวันที่ ๒-๓ มีนาคม ๒๕๕๔ ตามเอกสารแนบทายหมายเลข ๑ และ ๒ โดยมีขอ
24
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สังเกตและขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังนี้ ๑.๑ ใหมีการตราพระราชบัญญัติสภาการปกครองทองถิ่นแหงชาติ โดยเนนสัดสวน ของผูแทนภาคประชาชน ผูแทนสภาทองถิ่น ผูแทนผูบริหารทองถิ่น ตัวแทน ขาราชการสวนทองถิ่น ไมนอยกวาสองในสาม และมีสัดสวนหญิงและชายที่ ใกลเคียงกันตามรัฐธรรมนูญฯ ๒๕๕๐ มาตรา ๘๗ วรรคทาย หรือที่เหมาะสม ตามบริบทของพื้นที่ ๑.๒ เสนอใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมุงเนนการแกไขปญหาทรัพยากรและ สิ่งแวดลอมในทองถิ่น การปฏิรูปและการจัดการที่ดิน การพัฒนาสังคม โดย เฉพาะสําหรับเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุและผูพิการและการดูแลคุณภาพชีวิต ของแรงงานในทองถิ่น ๑.๓ ใหคณะกรรมการการเลือกตั้งพัฒนาระบบการเลือกตั้งทองถิ่นโดยใหมีการนับ คะแนนรวมที่เขตการเลือกตั้งและมีการจัดสรรจํานวนผูแทนตามสาขาอาชีพ และกลุมผลประโยชน และเพิ่มสัดสวนของผูแทนจากสภาองคกรชุมชนและ สภาวิชาชีพอื่นๆ ใหเปนสมาชิกสภาทองถิ่นไมนอยกวา ๒ คน ๑.๔ เห็นชอบใหประชาชนเขารวมคิด รวมทํา รวมตรวจสอบ รวมกํากับ และรับรองผล ของการกําหนดนโยบายในระดับพื้นที่และใหคนทองถิ่นมาเปนบุคลากรภายใต การบริหารงานบุคคลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ๑.๕ ใหมีกลไกที่เปนอิสระที่มีภาคประชาชนมากกวาครึ่งหนึ่ง กํากับการอภิบาล ระบบราชการ และการคัดเลือกผูบ ริหารทัง้ ในสวนกลาง สวนภูมภิ าคและทองถิน่ ๒. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปดําเนินการ ดังนี้ ๒.๑ เสนอตอคณะรัฐมนตรีใหแตงตัง้ คณะกรรมการซึง่ ประกอบดวย ผูแ ทนภาคประชาชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น ขาราชการทองถิ่น คณะกรรมการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นและสวนราชการที่เกี่ยวของ เพื่อพิจารณายก รางกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ๔ ฉบับ ที่เกี่ยวของกับการกระจายอํานาจ ใหแลวเสร็จตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ ๒.๒ รวมกับสมาชิกสมัชชาปฏิรูปผลักดันและติดตามผลการดําเนินการในขอ ๑ โดย ใหสมาคมองคกรปกครองทองถิน่ ทัง้ ๓ สมาคม (ซึง่ ไดแก สมาคมองคการบริหาร สวนจังหวัดแหงประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย สมาคม องคการบริหารสวนตําบลแหงประเทศไทย) เปนองคกรประสานงาน ๒.๓ ตัง้ คณะกรรมการพัฒนาระบบการจัดการตนเองของชุมชนทองถิน่ ตามมติสมัชชา สุขภาพแหงชาติ ครั้งที่ ๓ และใหมีองคประกอบในสัดสวนที่เหมาะสม ของ สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๗ : การปฏิรูปการกระจายอํานาจเพื่อเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพการจัดการตนเอง ของชุมชนทองถิ่น สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม
25
ผูแทนจากองคกรชุมชน สภาองคกรชุมชน โรงเรียน ศาสนา กลุมอาชีพ องคกร ปกครองสวนทองถิน่ หนวยงานทีม่ สี ว นเกีย่ วของ องคกรภาคีตา งๆ ผูท รงคุณวุฒิ และคํานึงถึงสัดสวนหญิงชาย โดยมีสดั สวนองคกรชุมชน ไมนอ ยกวารอยละ ๖๐ ใหทาํ หนาทีศ่ กึ ษาและพัฒนาขอเสนอ กลไก และกระบวนการ ทีน่ าํ ไปสูก ารพัฒนา ศักยภาพและบทบาทของชุมชนทองถิ่นใหสามารถจัดการตนเองในทุกระดับ ๒.๔ รวมกับเครือขายสมัชชาปฏิรปู เสนอตอคณะรัฐมนตรีและผูต รวจการแผนดินรัฐสภา ใหมีการแกไขรัฐธรรมนูญ เพื่อใหจัดระบบการเงินการคลังเพื่อใหประชาชน มีสวนรวมในการจัดสรรงบประมาณแผนดินลงสูพื้นที่โดยมีชุมชนเปนตัวตั้ง อยางแทจริง และมีกลไกระบบงบประมาณทีเ่ ปนอิสระ มีภาคประชาชนมากกวา ครึ่งหนึ่งกํากับในทุกระดับ ตั้งแตระดับชาติจนถึงระดับชุมชน ๓. ใหมคี ณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู ในระดับพืน้ ที่ ทําหนาทีเ่ สนอขอมูลกระบวนการพัฒนา ทองถิ่นและสะทอนปญหาในแตละทองถิ่น ๔. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
26
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๘
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรค และเยียวยาสังคม สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพิจารณาเรื่องศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม ตระหนักวา วัฒนธรรมคือวิถีชีวิตและวิถีชีวิตนั้นเองคือเนื้อดินใหกําเนิดเนื้องานอัน นิยาม วา “ศิลปะ” ดวยเหตุนี้ “ศิลปะ” และ “วัฒนธรรม” จึงมิอาจแยกออกจากกัน ในสังคมยุคโลกาภิวัตน ศิลปะยิ่งมีบทบาทตอวัฒนธรรม มีอิทธิพลตอความคิด ทั้งดาน เศรษฐกิจ และสังคม โดยผานกระบวนการผลิตแบบอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม หากสังคมไทย รูไมเทาทัน ขาดภูมิคุมกัน ไมเห็นคุณคาเชิงอัตลักษณทางวัฒนธรรม ขาดกระบวนการวาง รากฐานเชิงระบบ การพัฒนาสังคมไทยไปสูความยั่งยืนก็มิอาจเกิดขึ้นได สังคมไทยกําลังอยูในภาวะวิกฤต ทั้งความเหลื่อมลํ้าในสังคม เกิดความไมเปนธรรม การ ขาดความสามัคคีและขาดความสํานึกในการรวมกันพัฒนาสังคม สงผลใหการพัฒนาประเทศ ไรทิศทางและไมมีประสิทธิภาพ สาเหตุสวนหนึ่งเกิดมาจากพื้นฐานการศึกษาของไทยที่หลีก หนีจากศิลปวัฒนธรรมอันเปนรากฐานดั้งเดิม และทิศทางการพัฒนาประเทศที่ไมไดมุงเนนการ สงเสริมผานศิลปวัฒนธรรม ชื่นชมวา ศิลปะมีพลัง สามารถกลอมเกลาจิตใจของผูคนในสังคมใหออนโยน และพรอม จะเขาใจโลกและชีวิต อันจะนําไปสูสุนทรียสังคม หนาที่ของศิลปนและศิลปะคือ การสรางสรรค สังคมและการใหความบันเทิง อันเปนหนทางหนึ่งในการสรางสุนทรียะและชวยเยียวยา วิกฤตการณสังคมซึ่งเปนบทบาทที่สืบเนื่องมาแตอดีตแลว การพัฒนาทั้งศิลปนผูสรางและ ประชาชนผูเสพไปพรอมกันจึงเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่ง
27
รับทราบวา แมจะมีหนวยราชการ อาทิ กระทรวงวัฒนธรรม เปนองคกรดูแลดานศิลป วัฒนธรรมอยูแลว แตเนื่องจากตองดูแลรับผิดชอบทั้งระบบและลาชาดวยกระบวนการและ ขั้นตอนของทางราชการ ตลอดจนวิธีคิดและวิธีมองปญหาที่แตกตางกันออกไป องคกร หนวยงานหรือศูนยศิลปะใหญนอยทั้งหลาย ที่จัดตั้งขึ้นโดยบริษัทเอกชน หรือชุมชน หรือ ประชาชน ซึ่งมีความเปนอิสระและมีความคลองตัวสูง จึงมักเปนฝายขับเคลื่อนผลักดัน งานศิลปวัฒนธรรมออกไปเอง ตามวาระโอกาสเทาที่จะสามารถทําได แตก็มีกําลังทุนและพื้นที่ ไมเพียงพอที่จะขับเคลื่อนใหเกิดเปนภาพรวมทั้งหมดได เพราะมีทั้งที่รูและไมรู ไมมีสายสัมพันธ ซึ่งกันและกัน รวมทั้งศิลปะแตละแขนงก็ขาดการปฏิสัมพันธกัน ทําใหศิลปนในปจจุบันตางคน ตางสรางตางองคกรตางเดิน ยังไมสามารถทําใหศิลปะในภาพรวมมีพลังตอการสรางสรรคและ เยียวยาสังคมได มีความกังวลวา ปญหาอาจยิ่งทับซอนในแงมุมของการครอบงําทางศิลปะ เพราะองคกร ศิลปวัฒนธรรมอิสระที่มีพลังมากกวา ใหญกวาและที่อยูในสวนกลาง จะขับเคลื่อนและผลักดัน งานศิลปวัฒนธรรมในสายทางและรูปแบบของตนเองออกไปไดมากกวา จนกลายเปนกระแส หลักครอบงําศิลปวัฒนธรรมชุมชน หรือหนวยยอยไดและยังถูกครอบงําโดยวัฒนธรรม ตางชาติ เพราะขาดการรูจริง รูลึกในภูมิปญญาและรากเหงา หรือ “ภูมิบาน ภูมิเมือง” ของ ตนเองตลอดจนขาดไรพื้นที่และเวทีที่จะแสดงออกซึ่งงานศิลปะชุมชน ตระหนักวา ถึงเวลาแลวที่ศิลปนในแตละสาขา แตละพื้นที่ ควรจะมีสวนรวมในการ สรางสรรคสังคม โดยใชศิลปะทุกสาขา (รวมสมัยและพื้นบาน) พัฒนาเยียวยาผูคนและสังคม รวมทั้งจะตองรวมตัวกัน เพื่อความรวมมือระหวางผูสรางงานศิลปะที่มีความแตกตางกัน ทั้ง ตางสาขา ตางที่ ตางทิศทาง ตางรูปแบบ โดยยังสามารถคงความเปนเอกลักษณและความเปน อิสระของตนเองไวไดดวย รวมทั้งใชศิลปะเปนสื่อในการใหการศึกษาและสรางสรรคจิตใจของ ผูคนในสังคม และเลิกการใชศิลปวัฒนธรรมในเชิงลอเลียนกลุมเปราะบาง จึงมีมติ ดังตอไปนี้ ๑. การใชพลังของศิลปวัฒนธรรม ในการเยียวยาและพัฒนาสังคม ๑.๑ ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปเสนอตอคณะรัฐมนตรีกําหนดใหกระทรวง และหนวยงานของรัฐทุกแหง กําหนดแผนและดําเนินการตามแผนการใชพลัง ของศิลปวัฒนธรรมทุกสาขา (รวมสมัยและพื้นบาน) วรรณศิลป ทัศนศิลป คีตศิลปและศิลปะการแสดง เพื่อเสริมการทํางานในภารกิจหลักเพื่อสงเสริม เยียวยาและกลอมเกลาจิตใจผูคนในสังคม มอบหมายใหกระทรวงวัฒนธรรม กํากับดูแลงานศิลปวัฒนธรรมทีอ่ อกสือ่ เพือ่ ใหเด็กและเยาวชนเขาใจศิลปวัฒนธรรม
28
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๑.๒
๑.๓
๑.๔ ๑.๕
และประวัติศาสตรไมใหผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริง ขอใหสถาบันการศึกษาทัง้ รัฐและเอกชนทุกแหง ชุมชนและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ใชศลิ ปวัฒนธรรมเปนเครือ่ งมือในการชวยแกไขปญหาสังคมเรงดวน การสงเสริม การเรียนรูเทาทัน การสรางภูมิคุมกัน การบําบัดแกไขพฤติกรรมและอารมณ การสงเสริมทักษะการเรียนรู และใหสถาบันการศึกษาในทองถิน่ พัฒนาหลักสูตร ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น เพื่อเสริมสรางความเขาใจสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่ ขอใหสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนและกิจการ โทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ที่ทําหนาที่จัดสรรและกํากับดูแลกิจการวิทยุ กระจายเสียง โทรทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกสอื่นๆ กํากับดูแลสื่อ รวมทั้ง สื่อพื้นบาน ชุมชน ทองถิ่น ใหมีรายการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เพื่อเยียวยา และพัฒนาสังคมอยางนอยรอยละ ๒๕ ของการนําเสนอทัง้ หมดและทําใหคนทุก กลุมสามารถเขาถึงได เชน เพิ่มตัวบรรยายภาพและจอลามภาษามือ เพื่อการ เขาถึงขอมูลขาวสารอยางเปนธรรม ขอใหเลิกการใชศิลปวัฒนธรรมที่ลอเลียนกลุมเปราะบาง ใหหนวยงาน/ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ รวมยกรางยุทธศาสตรชาติในประเด็น ศิลปวัฒนธรรม
๒. การบริหารจัดการใหศิลปวัฒนธรรมดํารงอยูอยางมีพลังและเปนเอกลักษณและเปน อิสระ ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปสนับสนุนการจัดตั้งสมัชชาศิลปวัฒนธรรมภาค ประชาชน หรือกลไกอิสระทีศ่ ลิ ปนเปนเจาของ มีสว นในการบริหารจัดการและไดรบั การสนับสนุน จากภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรอื่นๆ สมัชชาศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน มีภารกิจหลัก ดังนี้ ๒.๑ สนับสนุนใหเกิดองคกร ภาคีเครือขายศิลปวัฒนธรรมของชุมชน ๒.๒ สนับสนุนใหเกิดพื้นที่การวิจารณศิลปวัฒนธรรมทุกแขนงในสื่อสาธารณะและ เวทีชุมชน ๒.๓ สนับสนุนใหมีการจัดทําและดําเนินการแผนพัฒนาผูสรางและผูเสพ ๒.๔ สนับสนุนใหมีการจัดตั้งสมัชชาผูดูหนังแหงชาติ ๒.๕ สนับสนุนใหมีพื้นที่สาธารณะเพื่อศิลปวัฒนธรรมชุมชน ๒.๖ สงเสริมใหเผยแพรศลิ ปวัฒนธรรมไทยใหสเู วทีโลก เพือ่ ใหตา งชาติรบั รูค วามสวยงาม สติปญญาของคนในชาติและสงเสริมผลในแงเศรษฐกิจและสังคม ๒.๗ ภารกิจอื่นๆ ที่สมัชชาปฏิรูประดับชาติเห็นสมควร สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๘ : ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม
29
๓. การสนับสนุนทุนการดําเนินงานพัฒนาศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน ๓.๑ ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมภาค ประชาชนทุกแขนงอยางทั่วถึงและเทาเทียม ๓.๒ ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรปู เสนอคณะรัฐมนตรี ออกกฎหมายจัดตัง้ “กองทุน สนับสนุนศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชน” ซึง่ มีแหลงทุนทีช่ ดั เจน และยัง่ ยืน โดย ใหมีผูแทนจากสมัชชาศิลปวัฒนธรรมภาคประชาชนทุกภูมิภาคหรือกลไกอิสระ ตามขอ ๒ มีสวนรวมในการบริหารกองทุน ๓.๓ ใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เชน กระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย กระทรวงวัฒนธรรม เปนเจาภาพรวมในการ ดําเนินการเรงรัดการขับเคลื่อนยุทธศาสตรเชิงรุกดานการเสริมสรางศักยภาพ เด็ก เยาวชนและครอบครัวในกระบวนการเรียนรูเ ทาทันสือ่ รวมถึงการสนับสนุน ดานงบประมาณ และนโยบายที่หนุนเสริมการทํางานอยางมีสวนรวมของภาค ประชาสังคม ๓.๔ ใหรัฐสนับสนุนทุนแกสถาบันการศึกษาที่เปนแหลงผลิตบัณฑิตที่รวมผลิตสื่อ ที่สรางสรรค ๔. ใหหนวยงานภาครัฐที่กํากับดูแลงานศิลปวัฒนธรรม เชน กระทรวงวัฒนธรรม ทํางาน รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น สนับสนุนงานศิลปวัฒนธรรมของภาคประชาชน อยางจริงจัง และเขมแข็ง ๕. ขอใหรัฐบาลมอบหมายหนวยงานที่เกี่ยวของ ดําเนินการดังนี้ ๕.๑ จัดตั้งหนวยงานหรือองคกรใหการรับรองวุฒิการศึกษาใหกับศิลปน ๕.๒ ดูแลดานลิขสิทธิ์และการแสดงดนตรีใหมีความสงบเรียบรอย ๕.๓ สงเสริมงานศิลปวัฒนธรรมใหเปนกลไกในการสรางสังคมพหุวฒ ั นธรรมทีท่ กุ คน สามารถเขาถึงและใชประโยชนไดจริง รวมถึงขจัดการผูกขาดทางวัฒนธรรม ๕.๔ เฝาระวังและปองกันไมใหงานศิลปวัฒนธรรมถูกใชเปนเครื่องมือในการกดขี่ ลวงละเมิด การเอารัดเอาเปรียบทางสังคมและการเลือกปฏิบัติ ๕.๕ สงเสริมใหศิลปวัฒนธรรมสะทอนภาพลักษณที่แทจริงของกลุมคนในสังคม เชน เด็ก เยาวชน สตรี เปนตน ๕.๖ ใหกระทรวงวัฒนธรรมเปนผูประสานงานหลักเพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของทั้ง ภาครัฐและภาคประชาสังคมไดพฒ ั นาศิลปนผูส รางงาน ใหมคี วามรับผิดชอบตอ งานที่สรางออกมา โดยใหคํานึงถึงผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นกับสังคมดวย
30
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๖. ขอใหผูอํานวยการสํานักงานปฏิรูป ติดตามการดําเนินงานตามมติ และรายงาน ความกาวหนาตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๘ : ศิลปวัฒนธรรมกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม
31
สมัชชาปฏิรูป ๑. มติ ๙
๒๖ มีนาคม ๒๕๕๔
ระเบียบวาระในการพิจารณา สมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓ สมัชชาปฏิรูประดับชาติครั้งที่หนึ่ง ไดพจิ ารณาระเบียบวาระที่ ๑-๘ ของสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ ครัง้ ที่ ๑ สนับสนุน เปาหมายเชิงอุดมคติเกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ของคนไทยทีก่ าํ หนดโดยคณะกรรมการ ปฏิรูป ๓ ประการ คือ ๑. เปนชีวิตที่มีศักดิ์ศรีและเทาเทียมกันในฐานะความเปนมนุษย มีสวนรวมทางสังคม มีสํานึกตอประโยชนสุขของสวนรวมและมีโอกาสในการพัฒนาศักยภาพของตน ทั้งทางกาย ใจ ภูมิปญญาและจิตวิญญาณ ๒. เปนชีวิตที่สงบสุขตามวิถีวัฒนธรรมแหงสันติภาพ ปราศจากภัยคุกคามจากผูอื่น หรือการคุกคามซึ่งกันและกัน ตลอดจนอยูในสภาพแวดลอมที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาวะ ๓. เปนชีวติ ทีม่ หี ลักประกันในดานเงือ่ นไขการครองชีพ และมีกลไกการคุม ครองทางสังคม ตระหนัก ถึงความซับซอนและความเชื่อมโยงของปญหาตางๆ ที่สั่งสมอยูในสังคมไทย อันเปนตนเหตุของ “ความเหลื่อมลํ้าและความไมเปนธรรม” ในสังคม การปฏิรูปสังคมไทย เพื่อสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมลํ้า จึงตองดําเนินการปฏิรูปในประเด็นตางๆ ที่เปน ปญหารากฐานของปญหาทั้งมวล หากดําเนินการปฏิรูปเฉพาะบางประเด็นในลักษณะแยกสวน ยอมไมสามารถแกปญหาใหไดผลในภาพรวมและอยางยั่งยืนได
32
ไดพิจารณาอยางรอบคอบแลว จึงไดมีมติ ๑. กําหนดประเด็นตางๆ ทีค่ วรพิจารณาในการปฏิรปู ประเทศไทย เพือ่ สรางความเปนธรรม และลดความเหลือ่ มลํา้ ซึง่ จะพิจารณาในสมัชชาปฏิรปู ระดับชาติ หรือสมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็น ดังนี้ ๑.๑ ประเด็นหลัก เรื่อง การปฏิรูประบบภาษีและมาตรการการคลัง ๑) ภาษีมรดก ๒) ภาษีสิ่งแวดลอม ๓) ภาษีทจี่ ดั เก็บจากธุรกรรมการแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ (Tobin Tax) ๔) ภาษีสินคาที่มีผลตอสุขภาพ ๕) ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสราง ๖) ภาษีมูลคาเพิ่ม ๗) คาภาคหลวง / รายไดจากการใหสมั ปทานทรัพยากรธรรมชาติ/ระบบการ จัดเก็บรายไดจากทรัพยากรธรรมชาติ ๘) ทบทวนมาตรการลดหยอนและสิทธิพิเศษทางภาษี ๙) การปองกันการผูกขาดการคาและการแกไขกฎหมายการแขงขันทาง การคา ๑๐) มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดลอม ๑๑) การเก็บภาษีเมื่อทรัพยสินมีมูลคาเพิ่มขึ้น (Capital Gain Tax) ๑๒) การปฏิรูปเพื่อแกไขปญหาการกูหนี้นอกระบบ ๑๓) ภาษีอบายมุข/การพนัน ๑.๒ ประเด็นหลัก เรื่อง การปฏิรูประบบสวัสดิการสังคม คุณภาพชีวิตแรงงานและ เกษตรกร ๑) การปฏิรูประบบสวัสดิการชุมชนเพื่อบูรณาการชุมชนทองถิ่น ๒) การปฏิรูประบบสังคมเพื่อความเปนธรรม ๓) แกไข (ราง) พระราชบัญญัติประกันสังคม ๔) รางพระราชบัญญัติกองทุนการออมแหงชาติ ๕) สนับสนุนการออมในกลุมอาชีพแรงงานนอกระบบ ๖) การสงเสริมดานอาชีวอนามัยแรงงานนอกระบบ ๗) การปฏิรูประบบแรงงานและสวัสดิการ ๗.๑) การสนับสนุนการรวมตัวและการคุมครอง ๗.๒) การปรับอัตราคาจางขั้นตํ่า สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๙ : ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓
33
๗.๓) ๗.๔) ๗.๕) ๗.๖) ๗.๗) ๗.๘)
การจางงานที่เปนธรรม การจัดระบบสวัสดิการจากการทํางาน (Workfare) กระบวนการยุติธรรมในแรงงาน การใชสิทธิเลือกตั้งของผูใชแรงงานในสถานประกอบการ การจัดตั้งธนาคารแรงงาน การบูรณาการพระราชบัญญัติแรงงาน และพระราชบัญญัติ รัฐวิสาหกิจสัมพันธเขาดวยกัน ๗.๙) การขจัดการกดขี่ดานแรงงาน ๗.๑๐) การพัฒนาศักยภาพของแรงงาน ๗.๑๑) แรงงานขามชาติ ๗.๑๒) แรงงานไทยในตางประเทศ ๘) การจัดสวัสดิการใหกับคนกลุมตางๆ ในสังคม ๘.๑) กลุมผูดอยโอกาสทางสังคม ๘.๒) กลุมชาวนา ๘.๓) กลุมอาสาสมัครหรือเครือขายภาคประชาชน ๙) สหกรณแนวใหม ๑๐) ระบบเกษตรพันธะสัญญา (Contract farming) ๑.๓ การปฏิรูปที่ดินและทรัพยากร ๑) การพัฒนาใหมคี ณะกรรมการระดับชาติในการจัดการทีด่ นิ และทรัพยากร เพื่อดูแลและคืนความเปนธรรมใหแกประชาชนจากการใชประโยชนและ การจัดการที่ดิน ๑.๑) ธนาคารที่ดิน (Land Bank) ๑.๒) โฉนดชุมชน ๑.๓) การแกกฎหมายการใหเชาที่ดิน ๑.๔) กลไกแรงจูงใจในการพัฒนาทีด่ นิ และเพิม่ ประสิทธิภาพการใชทดี่ นิ ๒) การจัดการนํ้า ลุมนํ้าและการเชื่อมโยงคลองสงนํ้าไปยังระบบแกมลิง ๓) การจัดการเหมืองแร ๔) การจัดการทรัพยากรทะเลและชายฝง ๕) การลดความขัดแยงในการใชทรัพยากรระหวางชุมชนและสัตวปาทั้งใน และนอกเขตปาอนุรักษ / การแกไขปญหาสัตวปาเรรอนในเมือง ๖) การปฏิรูปการจัดการดานพลังงาน
34
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๗) การปฏิรูปเทคนิคการเกษตรแบบธรรมชาติรูปแบบใหม การสงเสริม เศรษฐกิจการเกษตรและเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๔ การกระจายอํานาจสูทองถิ่นเพื่อใหชุมชนทองถิ่นจัดการตนเอง ๑) การปรับบทบาทผูว า ราชการจังหวัด การปรับความสัมพันธเชิงอํานาจหนาที่ ระหวางสวนภูมิภาค และทองถิ่น ๒) การกระจายอํานาจดานงบประมาณสูชุมชนทองถิ่น ๓) องคกรพัฒนาศักยภาพตนเองขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ๔) การพัฒนาจังหวัดใหเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นขนาดใหญและการ ปกครองทองถิ่นรูปแบบพิเศษ ๕) การแกไขกฎ/ระเบียบ กระทรวงมหาดไทย ทีเ่ ปนอุปสรรคตอการกระจาย อํานาจใหแกทองถิ่น ๖) รางพระราชบัญญัตกิ ารมีสว นรวมของประชาชนในการบริหารงานทองถิน่ ๗) สงเสริมความเขมแข็ง “องคกรชุมชน” ๘) สนับสนุนกระบวนการ “ประชาธิปไตยชุมชน” ของสภาองคกรชุมชนและ สภาพัฒนาการเมือง ๙) สถาบันการเงินชุมชน ๑๐) คุณธรรม จริยธรรมของนักการเมืองทุกระดับ ๑๑) การทํางานดานสุขภาวะชุมชนทองถิ่น ๑.๕ ประเด็นหลักดานศิลปวัฒนธรรม ๑) ศิลปะกับการสรางสรรคและเยียวยาสังคม ๒) การกอบกูภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย ๓) การฟนฟูและพัฒนาบทบาทของศาสนาในประเทศไทย ๔) สงเสริมการศึกษาและสรางเครือขายระหวางคนไทยและชนชาติตา งๆ ใน โลก เพื่อการเรียนรูและเขาใจคุณภาพชีวิตของบุคคล ๕) วัฒนธรรมประชาธิปไตย ๑.๖ ประเด็นหลักดานระบบและโครงสราง ๑) การปฏิรปู ระบบและกระบวนการยุตธิ รรม การบังคับใชกฎหมายของประเทศ ไทย และกองทุนยุติธรรม ๒) การปฏิรูปสื่อเพื่อความเปนธรรมในสังคม ๓) การปฏิรูประบบการศึกษาและคุณธรรม จริยธรรมของบุคลากรทางการ ศึกษา สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๙ : ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓
35
๔) การปฏิรูประบบมูลนิธิ ๕) การปฏิรูประบบพิพิธภัณฑ ๖) การปฏิรูปการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการโทรคมนาคม ๗) การปฏิรูประบบการขนสงและการเดินทางในระบบราง ๘) องคกรธรรมาภิบาล ๙) การพัฒนาระบบราชการ คุณธรรมและจริยธรรมของขาราชการ ๑๐) การปฏิรูประบบการเมือง ๑.๗ ประเด็นหลักดานสุขภาวะประชากรกลุมตางๆ ๑) ประชากรกลุมชาติพันธุและคนไรสัญชาติ ๒) การปฏิรูปความเปนธรรมของผูพิการ ๓) การปฏิรูปคุณภาพชีวติ ผูสูงอายุแบบองครวมอยางยั่งยืน ๓.๑) การเตรียมความพรอมผูสูงอายุ ๓.๒) การสงเสริมกิจกรรมผูสูงอายุอยางหลากหลาย ๓.๓) การสงเสริมสวัสดิการผูสูงอายุอยางเหมาะสม ๓.๔) การบริหารจัดการและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับผูสูงอายุ ๓.๕) พัฒนาองคความรูการวิจัยและประเมินผลผูสูงอายุ ๔) สุขภาวะผูหญิง ๕) การสรางสังคมที่คนไทยอยูเย็นเปนสุขรวมกัน ๑.๘ ประเด็นหลักดานอื่นๆ ๑) ความเปนธรรมในการจัดการภัยพิบัติที่ทุกคนสามารถเขาถึงและใช ประโยชนได รวมถึงประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสภาวะโลกที่มีผลตอ สภาวะของประเทศไทย (ภาวะโลกเย็น-โลกรอน) ๒) ความมั่นคงในจังหวัดชายแดนภาคใต ความมั่นคงตามแนวชายแดนและ ความสงบเรียบรอยในบานเมือง ๓) การพัฒนาพื้นที่พัฒนาพิเศษ เชน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต พื้นที่ ภาคใต พื้นที่เศรษฐกิจ ๒. เนื่องจากสถานการณตางๆ มีพลวัตสูง ดังนั้นประเด็นตางๆ ที่กําหนดไวในขอ ๑. จึง ควรไดรับการพิจารณาดําเนินการอยางยืดหยุน สอดคลองกับพลวัตของสถานการณและโอกาส โดยไมยึดถือในลักษณะตายตัวและขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูปและสํานักงานปฏิรูป ทํา การวิเคราะหและปรึกษากับองคกรภาคีเครือขายตางๆ เพื่อปรับปรุงรายการประเด็นในขอ ๑. อยางตอเนื่อง โดยใหนํารายการที่ปรับปรุงแลวมาเสนอตอสมัชชาปฏิรูปเพื่อทราบทุกป
36
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔
๓. ขอใหคณะกรรมการสมัชชาปฏิรูป คณะกรรมการปฏิรูปและสํานักงานปฏิรูป ดําเนิน การอยางตอเนื่องรวมกับองคกรภาคีเครือขายตางๆ จัดทําการวิเคราะหปญหาและสังเคราะห ขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูปในแตละประเด็น พรอมทั้งจัดใหมีเวทีเพื่อสรางการมีสวนรวม จากผูที่มีสวนไดเสียอยางกวางขวาง และนําเสนอตอสมัชชาปฏิรูประดับชาติ หรือสมัชชาปฏิรูป เฉพาะประเด็นในกรณีที่เรงดวนหรือที่เครือขายที่รับผิดชอบประเด็นมีความพรอมและใหมีการ จัดสมัชชาปฏิรูประดับชาติ อยางนอยปละ ๑ ครั้ง ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๕๔ ถึง ๒๕๕๖ ตามระเบียบ สํานักนายกรัฐมนตรีวา ดวยการปฏิรปู พ.ศ. ๒๕๕๓ และใหจดั สมัชชาปฏิรปู เฉพาะประเด็นเพิม่ เติม ตามความจําเปน โดยการดําเนินการใหเปนอิสระจากการเปลี่ยนแปลงรัฐบาล
สมัชชาปฏิรูป ๑ มติ ๙ : ระเบียบวาระในการพิจารณาสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๒ และครั้งที่ ๓
37
38
มติสมัชชาปฏิรูประดับชาติ ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔