วารสารปฏิรูป "ปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ"

Page 1

3 ปีที่1 ฉบับที่1

2554

กรกฎาคม สิงหาคม

พลังขับเคลื่อน เพื่อเปลี่ยนสังคม

Centralization

ปฏิรูปโครงสร้างอำนาจ


2

t , e d a m t o n e r Revolutions a การ​รวม​ศูนย์​อำนาจ​เมื่อ​ร้อย​ ก ว่ า ​ปี ​ก่ อ น เกิ ด ​ขึ้ น ​พ ร้ อ ม​ กั บ ​แ น วคิ ด ​ส ร้ า ง​ช าติ ​ไ ท ย ​ส มั ย ​ใ ห ม่ ​ เพ รา ะ​ฉ ะนั้ น ​อ ำน าจ ​รั ฐ ​ใช้ ​ป ก ค รอ ง​ สังคม จึง​มี​ฐาน​ความ​ชอบ​ธรรม​อยู่​ ที่ ​ก าร ​ดู แ ล ​ผ ล ​ป ระ โย ช น์ ​ข อ ง​ช าติ ​

ซึ่ง​หมาย​ถึง​ประโย​ชคนน์​​ สุข​ของ​คำ​สนิ่ง​น​ไี้​ไทม่​ไยด้ ​ทหรืุกอ​ทำได้​ แ ต่ ​ห าก ​รั ฐ ​ท ไมเ​่ ตม็ เ​มด็ เ​ตม็ ห​ นว่ ย ความช​ อบธ​ รรม​ ของ​อำนาจ​ดัง​กล่าว​ก็​ต้อง​ลด​ลง…

เสก​สรรค์ ประเสริฐ​กุล กรรมการ​ปฏิรูป ​สมัย’ อำนาจ​ใน​ประเทศไทย ความ​จำเป็น​แห่ง​ยุค ง​ า สร้ ครง โ ​ ป ู ร ฏิ ป ร​ ‘กา อ ข้ ว หั ศษ เ ิ พ ​ กถา ปาฐ 18 ธันวาคม 2553 ใน​งาน​เปลี่ยน​ประเทศไทย​ด้วย​พลัง​พลเมือง


3

s p li il h P ll e d n e W . e m , they co


เรื่อง​จาก​ปก

ชีวิต​สมดุล

Justice for All

อำนาจ​ใน​แนว​ราบ

โฉนด​ชุมชน

นิรโทษ​กรรม?

ว่า​กัน​ว่า​ปัญหา​ระดับ ‘ราก’ ของ​สังคม​ ไทย คื อ ความ​เ หลื่ อ ม​ล้ ำ ​ที่ ​สั่ ง สม​ม า​ นาน คณะ​ก รรมการ​ป ฏิ รู ป (คปร.) ​ ที่​มี อานันท์ ปัน​ยาร​ชุน เป็น​ประธาน ​ ใช้​เวลา​ทำงาน​กว่า 10 เดือน จน​ได้​ ข้อ​เสนอ​สำคัญ​ออก​มา คือ ‘การ​ปฏิรูป​ โครงสร้าง​อำนาจ’

การ​ต่อสู้​ระดับ​ตำนาน​เพื่อ​ที่ดิน​ทำ​กิน​ ของ​เกษตรกร​ใน​ชุม​ชน​เล็กๆ จังหวัด​ นครปฐม เนื่ อ งจาก​ปั ญ หา ‘การ​​ ทับ​ซ้อน’ ของ​สิทธิ์​ใน​การ​ครอบ​ครอง​ พื้ น ที่ การ​เ รี ย ก​ร้ อ ง​ด ำเนิ น ​ม า​เ กื อ บ​ ​ชั่ ว ​อ ายุ ​ค น เพราะ​ฝ่ า ย​ต รง​ข้ า ม​ไ ม่ ใ ช่ ​ นายทุน ​ผู้​กว้าน​ซื้อ​ที่ แต่​เป็น​นโยบาย​ที่​ ย้อน​แย้ง​ของ ‘รัฐ’

หลั ง ​ก าร​ชุ ม นุ ม ​ใ หญ่ ​ก ลาง​เ มื อ ง​ปี 2553 สู่​บรรยากาศ​หา​เสียง​เลือก​ตั้ง​ 2554 ประเด็น​ที่​กล่าว​ถึงกัน​มาก คือ การ​นิ ร โทษ​ก รรม ไม่ ​ว่ า ​จ ะ​เ ป็ น การ​ ​ยึด​อำนาจ เหตุ​สลาย​การ​ชุมนุม หรือ​ คดี ​ค อรั ป ​ชั่ น เพราะ​บ าง​ค น​เ ชื่ อ ​ว่ า ​ ‘นิ ร โทษ​ก รรม’ คื อ ไทม์ ​แ มชชี น ​ที่ ​พ า​ ประเทศ​ช าติ ​ย้ อ น​เ วลา​ไ ป​ก่ อ น​ยุ ค ‘มิคสัญญี’ ทางการ​เมือง​จะ​เริ่ม​ต้น​ขึ้น

10

14

30

01 Contents 26 Media 28 Justice for All 30 ดินฟ้าป่าน้ำ 32 เทศาภิวัฒน์ 34 ปฏิทิน-ปฏิรูป 36 โรคเหลื่อมล้ำ 38

6 วัน-เดือน-ปี 8 นอกหน้าต่าง 10 เรื่องจากปก 14 ชีวิตสมดุล 17 เติมหัวใจใส่เงิน 19 โลกเสมือน 20 Cut it Out (เปลี่ยนเถอะ) 22 สัมภาษณ์: พงศ์โพยม วาศภูติ

รู้เรียน


5

โลก

Editor’s Talk

​วิวัฒนาการ จาก​มนุษย์​หนึ่ง​คน สู่​สังคม​ที่​ต้อง​อยู่​ ร่วม​กัน กลไก​หลาย​อย่าง​ถูก​พัฒนา​ขึ้น เพื่อ​ร้อย​เรียง​​ ชิน้ ส​ ว่ น​ตา่ งๆ ให้อ​ ยูร​่ ว่ ม​กนั ซึง่ แ​ น่นอน​วา่ สิง่ เ​หล่าน​ ไ​ี้ ม่อ​ าจ​ตอบ​สนอง​ ท​ กุ ค​ น​ได้เ​ท่าเ​ทียม​กนั ท​ งั้ หมด ด้วย​ปจั จัยส​ ารพัด ทัง้ ย​ คุ ส​ มัยท​ เ​ี่ ปลีย่ น​ ไป เทคโนโลยี ทุน ลัทธิ​การเมือง รถ​ถัง และ​กระสุน​ปืน กระทั่ง​กลไก​ที่​ว่า​นี้ ล้า​สมัย เก่า​สนิม​เขรอะ หรือ​ไม่​ก็​บังเอิญ​ มี​ใคร​บาง​คน​ตกหล่น ถูก​หนีบ​อยู่​ระหว่าง​ฟัน​เฟือง –ความ​ไม่​เท่า​ เทียม อ​ยุติธรรม บังเกิด คน​หนุ่ม​สาว​พยายาม​สร้าง​การ​เปลี่ยนแปลง ยุค​บุปผา​ชน​ หัว​ก้าวหน้า พวก​เขา​ต่าง​ออก​มา​ยืน ประกาศ​ว่า “เรา​ต้อง​ปฏิวัติ!! Revolution now!!” ผ่าน​บท​กวี เสียง​ดนตรี และ​ กีตาร์​โปร่ง ‘จิต​ขบถ​ไม่มี​วัน​ตาย’ ปัจจุบัน พวก​ เขา – ฮิปปี้​รุ่น​หลัง​ก็​ยัง​หา​ช่อง​น้อย​พร่ำ​ ถ้อยคำ​อยู่​บนเฟ​ซบุ๊ค แต่​การ​โยน​ ก้ อ น​หิ น ​ล ง​น้ ำ ​ผ่ า น​ปุ่ ม ​คี ย์ บ อร์ ด เกิด​แต่​เพียง​วง​กระเพื่อม​น้อย​นิด และ​บาง​ครั้ง ไร้​ทิศทาง กับบ​ า้ น​เรา หลาย​ครัง้ ใคร​ บาง​คน​ดำริ​สร้าง​สิ่ง​ใหม่ ‘แหวก​ ม่าน​ขนบ’ ด้วย​เป้า​หมาย​เบี่ยง​ ทิศทาง​สังคม สร้าง​แนวคิด​ใหม่​ ให้​เขยิบ​ออก​มา​จาก​ฐาน​ที่​ผุ​พัง แต่​แล้ว​เมื่อ​ถูก​กลืน​ด้วย​กระแส​ สังคม ความ​พยายาม​จะ ‘เปลี่ยน’ ก็ ​เ ป็ น ​เ พี ย ง​แ ฟชั่ น ​ที่ ​ถู ก ​กั ก ขั ง ​แ ละ​ สำแดง​ออก​ใน​ระดับ​ปัจเจก “ฉัน​เป็น​ อิน​ดี้” – แล้ว​ไง? ขณะ​เดียวกัน คน​อีก​ส่วน​หนึ่ง ยัง​คง​ หายใจ​เข้าอ​ อก​อย่าง​ชา​ชนิ กับส​ ภาพ​ทผ​ี่ า่ น​มา​และ​เป็น​ ไป พวก​เขา​คร่ำครวญ​เรียก​หา​สงิ่ ท​ ด​ี่ ข​ี นึ้ แต่ท​ อด​สายตา​มอง​ปลาย​เท้า​ – การ​เปลี่ยนแปลง​อาจ​ลอย​ผสม​ปน​อยู่​ใน​อากาศ จึง​มอง​ไม่​เห็น​ จับ​ต้อง​ไม่​ได้ ราว​วาบ​ลม​ที่​พัด​ผ่าน​ไป แล้ว​ทุก​อย่าง​ก็​กลับ​เป็น​ปกติ ไม่​ต่าง​กับ ‘แกน​นำ’ การ​ชุมนุม หลาย​ประเทศ เลือก​ที่​จะ​ขับ​ เคลื่อน​การ​เปลี่ยนแปลง หรือ​เรียก​เป็น​ทางการ​ว่า ‘ปฏิรูป’ ด้วย​การ​ ใช้ Think Tank หรือ​ทีม​งาน​มัน​สมอง​เป็น​หัว​ขบวน คอย​กำหนด​ ทิศทาง

ที่ปรึกษา สปร. ศ.นพ.ประเวศ วะสี​ นพ.วิชัย โชควิวัฒน​ นพ.อำพล จินดาวัฒนะ​ นพ.สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ​ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์​ นพ.ชูชัย ศุภวงศ์​ ทพ.กฤษดา เรืองอารีย์รัชต์​ รศ.ดร.วิลาสินี อดุลยานนท์​ นพ.ศิริวัฒน์ ทิพย์ธราดล​ ดร.วณี ปิ่นประทีป

กองบรรณาธิการ นางสาวพัชรา อุบลสวัสดิ์​ นางสาวสมพร อิทธิเดชพงศ์​ นางสาวปนัดดา ขาวสะอาด​ นายครรชิต ปิตะกา​ นางสาววิไลวรรณ สิริสุทธิ์​ นางสาวนงลักษณ์ ยอดมงคล​ นางสาววันวิสา แสงทิม​ นางสาวจิตติมา อุ้มอารีย์​ นางสาวรัฐวรรณ เฮงสีหาพันธ์​ นางสาวสุพรรณี สุวรรณศรี

นิทาน​ภาษิต​จีน​เล่า​ถึง ‘ปู่​โง่’ อายุ 100 ปี ผู้​พยายาม​ เคลื่อน​ย้าย​ภูเขา ไท่หัง กับ หวัง​อู ที่​สูง​กว่า 30,000 เมตร​ เพื่อ​คนใน​หมู่บ้าน​จะ​ได้​ไม่​ต้อง​เดิน​อ้อม​ภูเขา​เป็น​ระยะ​ทาง 700 ลี้ ท่ามกลาง​เสียง​ดถู ูก​เย้ยห​ ยัน ปูโ่​ง่ ชักชวน​ลกู ห​ ลาน แบก​จอบ เสียม เพื่อ​ขุด​ภูเขา​ไป​ทิ้ง​ทะ​เลปั๋​ว​ไห่ ปู่​โง่ บอก​กับ​ชาว​บ้าน​ว่า “ถูก​แล้ว...ข้า​อายุ​ปูน​นี้ อาจ​จะ​ทำ​ เรื่อง​นี้​ได้​ไม่​นาน​ก็​จริง แต่​เจ้า​รู้​ไว้​อย่าง หลัง​จาก​ข้า​ตาย​ไป พวก​ลูก​ ก็ย​ งั ท​ ำ​ตอ่ ไ​ด้ หาก​ลกู ต​ าย​ไป คน​รนุ่ ห​ ลาน​ขา้ ก​ ย​็ งั ท​ ำได้ รุน่ ห​ ลาน​ตาย​ ไป รุน่ เ​หลน​ขา้ ก​ ย​็ งั ท​ ำ​ตอ่ ไ​ป​ไม่ส​ นิ้ ส​ ดุ พวก​ขา้ ม​ ค​ี วาม​ตงั้ ใจ​จริงไ​ม่ส​ นิ้ ​ สุด แต่​ภูเขา​สิ มัน​มี​อยู่​เท่า​เดิม ไม่​ได้​งอก​ขึ้น​มา​อีก สัก​วัน​พวก​ข้า​ก็​ ต้อง​ขุด​มัน​ออก​ไป​จน​ได้” อย่าง​ไม่​ต้อง​เงย​หน้า​รอ​ฝน คาด​หวัง​ อะไร​กับ​ธรรมชาติ แม้ ‘การ​เปลี่ยนแปลง’ จะ​เป็ น ​สั จ ธรรม​ต้ น ​ก ำเนิ ด ​ตั้ ง แต่ ​โ ลก​ เ​ริม่ ห​ มุน ลม​เริม่ ก​ ระดิกพ​ ดั แต่ก​ ใ​็ ช่ว​ า่ ​ จะ​มแ​ี ต่พ​ ลังอ​ ำนาจ​เหนือม​ นุษย์บ​ น​ ฟ้า​เท่านั้น ที่​สามารถ​สร้างสรรค์​ สิ่ง​ต่างๆ ได้ วารสาร ‘เปลี่ยน’ ฉบับ​ ปฐม ว่า​ด้วย​ปัจจัย​ตั้ง​ต้น​ของ​ ความ​ไ ม่ ​เ ท่ า ​กั น จน​เ ป็ น ​ที่ ม า​ ของ​การ​หยอด​นำ้ มัน ขยับเขยือ้ น​ เครือ่ งจักร ปฏิรปู ส​ งั คม – กระจาย​ อำนาจ อย่างที่รู้กันว่า โครงสร้าง​แบบ​ เดิ ม ‘อำนาจ’ ถูก​จำกัด​ผู้​ใช้​ไว้​เพียง​ คน​กลุ่ม​หนึ่ง และ​ยัง​ไม่​นับ​โครงสร้าง​การ​ บริหาร​ที่​อาจ​เปรียบ​ได้​กับ ‘พีรามิด’ หัว​กลับ เมื่อ​รัฐ​รวม​ศูนย์ ต้อง​แบก​รับ​ประชาชน 60 ล้าน​ไว้ ไม่ใช่​เรื่อง​ง่าย แต่​การ ‘ย้าย​ภูเขา’ ย่อม​ต้อง​มี​จุด​เริ่ม​ต้น อาจ​เป็นค​ ำ​ใหญ่โ​ต​และ​ดห​ู นักอ​ งึ้ แต่ห​ าก​เป้าประสงค์อ​ ยูท​่ ก​ี่ าร​ เปลี่ยนแปลง เรา​ไม่​อาจม​อง​ข้าม ‘อำนาจ’ ใน​มือ​ประชาชน​ได้​อย่าง​ เด็ด​ขาด เพราะ​พลัง​จาก​คน​เหล่า​นี้ คือ​เครื่อง​ตัดสิน​ว่า จะ​ต้อง​มี​ใคร​ ถือ​จอบ​เสียม​ไป​ขุด​ภูเขา​โดย​ลำพัง​หรือ​ไม่

ดำเนินการผลิต​ เปนไท พับลิชชิ่ง

พิมพ์เผยแพร่ห้ามจำหน่าย


6

วัน-เดือน-ปี 1

Rabindranath Tagore รพิน​ ท​รนาถ ฐากูร ตลอด​ชี วิ ต ​ที่ ​เ ดิ น ​ท าง​ทั่ ว​ ทุก​ภูมิภาค​ของ​โลก รพิ​นท​รนาถ ฐากูร พบ​ว่า​สังคม​วัฒนธรรม​และ​ อารยธรรม​นั้น​ช่าง​มี​ความ​หลาก​ หลาย​เ หลื อ ​เ กิ น จึ ง ​เ กิ ด ​ค วาม​ คิ ด ​ส ร้ า ง​ศู น ย์ ก ลาง​ก าร​เรี ย น​รู้ ​ที่ ​ ปราศจาก​ข้อ​จำกัด​และ​อุปสรรค​​ ของ​เส้นพ​ รมแดน​ขน้ึ ท​ ่ี ศานติน​ เ​ิ ก​ตนั ​ (Santiniketan) ไม่มี​ป้าย​ชื่อ​โรงเรียน ไม่มี​ กำแพง​ล้อม​รอบ ด้วย​เชื่อ​ใน​อิสรภาพ​การ​เรียน​รู้ เป็น​อัน​หนึ่ง​อัน​เดียว​กับ​ ธรรมชาติ มิใช่​ถูก​จองจำ​ใน​ห้องเรียน​ปิด​ทึบ เริ่ม​แรก ครู​รพิ​นท​รนา​ถกับ​นักเรียน​เพียง 5 คน นั่ง​ล้อมวง​ศึกษา​ ร่วม​กัน​ใต้​ร่ม​ไม้​ใหญ่ ความ​ใกล้​ชิด​ระหว่าง​ครู​กับ​ศิษย์​ดั่ง​พ่อ​ลูก ปัจจุบนั ก​ าร​ศกึ ษา ณ ศานติน​ เ​ิ ก​ตนั ยังค​ ง​แนบ​สนิทไ​ป​กบั ธ​ รรมชาติ​ ตาม​ที่​รพิ​นท​รนาถ​ปรารถนา ภาย​ใต้​ชื่อ ‘วิทยาลัย​วิศว​ภารตี’ (Visva Bharati) ที่​ไม่​จำกัด​อยู่​แค่​ระดับ​อุดมศึกษา แต่​เปิด​กว้าง​เป็น​พื้นที่​การ​ เรียน​รู้​ตั้งแต่​ระดับ​ประถม มัธยม รวม​ไป​ถึง​ฝึก​อบรม​ความ​รู้​ด้าน​วิชาชีพ​ แก่​ประชาชน ให้​มี​ศักยภาพ​ช่วย​เหลือ​จุนเจือ​ตนเอง​และ​ชุมชน

ศานติ​นิ​เก​ตัน แบ่ง​การ​เรียน​รู้​แต่ละ​ส่วน​ เป็น ‘ภาวนา’ หรือ ‘คณะ’ ตาม​ความ​หมาย​ สากล เพื่อ​สื่อ​ถึง​วิธี​การ​เรียน​รู้​แบบ​อินเดีย​ โบราณ ที่​เชื่อ​ว่า​ความ​รู้​อัน​แท้จริง​เกิด​ขึ้น​ได้​ ด้วย​กระบวนการ​ภาวนา ผสาน​จิต สมอง และ​ วิญญาณ​ให้​เป็น​หนึ่ง​เดียวกัน ศานติ​นิ​เก​ตัน มี​วัตถุประสงค์​หลัก​เพื่อ​ ศึกษา​จิต​ของ​มนุษย์​ใน​การ​รู้​แจ้ง​ความ​เป็น​จริง สร้าง​สาย​สัมพันธ์​แห่ง​วัฒนธรรม​ตะวัน​ออก ศึกษา​รากฐาน​วถิ ช​ี วี ติ ข​ อง​ตะวันอ​ อก​เพือ่ เ​รียน​ร​ู้ ตะวัน​ตก และ​สุดท้าย​คือ​แสวงหา​สัจธรรม​ใน​ การ​อยู่​ร่วม​กัน​เพื่อ​ให้​เกิด​สันติภาพ​บน​โลก​ ใบ​นี้ 7 สิงหาคม 1941 รพิ​นท​รนาถ ปราชญ์ และ​มหา​กวี​เจ้า​ของ​โน​เบล​สาขา​วรรณกรรม​ คน​แรก​ของ​เอเชีย สมัญญา​นาม ‘คุรุ​เทพ’ แห่ง​ อินเดีย ถึงแก่​กรรม​ด้วย​วัย 80 ปี ณ คฤหาสน์​ หลัง​เดียวกัน​กับ​ที่​ถือ​กำเนิด

2

Lech Walesa เลค วาเล​ซา ย้อน​ไป​เพียง 20 ปีก​ อ่ น จาก​ชนชัน้ แ​ รงงาน​คน​หนึง่ ​ ​ก้าว​ขึ้น​นั่ง​เก้าอี้​ประธานาธิบดี และ​นำ​ประเทศ​ไป​สู่​ การ​เปลี่ยนแปลง​ระบอบ​การ​ปกครอง...นี่​คือ​เรื่อง​ที่​ เกิด​ขึ้น​จริง เลค วาเล​ซา เกิด​ใน​ประเทศ​โปแลนด์ มี​อาชีพ​ เป็น​ช่างไฟ หลัง​เข้า​ทำงาน​ที่​อู่​ต่อ​เรือ​เลนิ​น เขา​เริ่ม​ บทบาท​ทางการ​เมือง​ด้วย​การ​ออก​มา​เคลื่อนไหว​หยุด​ งาน​ประท้วง​วิกฤติ​ราคา​อาหาร​ที่​สูง​ลิบ​ลิ่ว​โดย​เฉพาะ​ เนื้อ​สัตว์ ร่วม​กับ​คน​งาน​กว่า 150,000 คน ต่อ​มา วาเล​ซา รับ​บท​ผู้นำ​การ​ประท้วง จัด​ตั้ง​สหภาพ​การ​ ค้าเ​สรี ยุตก​ิ าร​เซ็นเซอร์ เปลีย่ นแปลง​ระบบ​การเมือง และ​ปล่อย​ตวั ​ ​นักโทษ​ทางการ​เมือง​ทุก​คน แต่​รัฐบาล​โปแลนด์​นำ​โดย​รักษา​การ​นายก​รัฐมนตรี มิซเช​ สลอว์ ยา​เกล​สกี ไม่​ยอมรับ​ข้อ​เสนอ​นี้ เป็น​เหตุ​ให้​คน​งาน​ใน​อู่​ต่อ​ เรือก​ว่า 16,000 คน​ลา​ออก​ทันที ทำให้​จำนวน​ผู้​ประท้วง​เพิ่ม​ขึ้น​ เรื่อยๆ จน​ธุรกิจน​ ับ​ร้อย​แห่ง​ทาง​เกาะ​เหนือ และ​เขต​อุตสาหกรรม​ สำคัญท​ าง​ตอน​ใต้ข​ อง​ประเทศ​เกือบ​เป็นอ​ มั พาต โรงงาน​ใน​เมือง​ทา่ ​ บอลติก​ต้อง​ปิด​ตัว​ลง​ชั่วคราว 30 สิงหาคม 1980 การ​ชะงัก​งัน​ของ​อุตสาหกรรม​ทำให้​ รั ฐ บาล​โ ปแลนด์ ​ท น​ต่ อ ​ไ ป​ไ ม่ ​ไ หว จึ ง ​ยิ น ยอม​ท ำ​ข้ อ ​ต กลง​กั บ​ ผู้​ประท้วง ภาย​ใต้​เงื่อนไข​ว่า แรงงาน​ทุก​คน​จะ​ได้​รับ​ค่าแรง​เพิ่ม​

ได้​รับ​อาหาร​และ​สวัสดิการ​สังคม​ที่​มี​คุณภาพ​กว่า​เดิม ภาพ​ประวัติศาสตร์​ของ วาเล​ซา ขณะ​ชู​มือ​แสดง​ ชัยชนะ​ถกู เ​ผย​แพร่ไ​ป​ทวั่ ป​ ระเทศ​ใน​วนั น​ นั้ ใน​ฐานะ​คน​งาน​ ​ผู้​เขย่​า​รัฐบาล​คอมมิวนิสต์ จน​สามารถ​คว้า​ตำแหน่ง​ บุคคล​แห่ง​ปี​ของ​นิตยสาร ไทมส์ ใน​ปี 1981 ภาย​หลัง​การ​ประท้วง​ยุติ​ได้​ไม่​นาน วาเล​ซา ถูก​ จำ​คุก​ด้วย​กฎ​อัยการ​ศึก​ใน​ฐานะ​ผู้นำ​ก่อ​จลาจล หลัง​ ถู ก ​ป ล่ อ ย​ตั ว เขา​ไ ด้ ​รั บ ​ร างวั ล ​โ น​เบล​ส าขา​สั น ติภาพ​​ ใน​ปี 1983 เลค วาเล​ซ า เคลื่ อ นไหว​ท างการ​เ มื อ ง​อ ย่ า ง​ ต่อ​เนื่อง จน​กระทั่ง​ได้​รับ​เลือก​เป็น​ประธานาธิบดี​ของ​ โปแลนด์​ใน​ยคุ ​หลัง​สงคราม​เย็น ระหว่าง​ปี 1990-1995

3

Louis Reard หลุยส์ เรอ​าร์ด

‘ทู​พีซ’ ชุด​ว่าย​น้ำ​ที่​วิวัฒนาการ​จาก​ไซส์​ ใหญ่​เหมือน​นุ่ง​เสื้อ​กล้าม​กางเกง​ขา​สั้น เล็ก​ ลง​เป็น​เฟิร์​สบ​รา​คู่​ฮอต​แพ​นท์ และ​หด​จิ๋ว​จน​ กระทัง่ น​ าง​แบบ​สมัยน​ นั้ ไ​ม่มใ​ี คร​กล้าใ​ส่ ชือ่ ข​ อง​ มัน​คือ ‘บิกินี’ หลุยส์ เรอ​าร์ด วิศวกร​ยาน​ยนต์​ชาว​ ฝรั่งเศส ซึ่ง​งาน​ของ​เขา​ไม่มี​อะไร​เกี่ยวข้อง​ กับ​ชุด​วาบ​หวิว​เลย​สัก​นิด แต่​เมื่อ​เขา​เปิด​ตัว​ ​สิ่ง​ประดิษฐ์​ชิ้น​ใหม่ คือ ชุด​ว่าย​น้ำ​ชิ้น​น้อยๆ เมื่อ​วัน​ที่ 5 กรกฎาคม 1946 และ​ตั้ง​ชื่อ​ตาม​ เกาะ​ปะการัง บิกนิ ี (Bikini) ทีอ​่ เมริกา​ใช้ท​ ดลอง​ ระเบิด​ปรมาณู​เล่น​สมัย​นั้น ด้วย​เหตุผล​ว่า มัน​ จะ​ต้อง​ดัง​ระเบิด​เหมือน​ปร​มาณู​แน่ๆ แล้ว​ก็​จริง​ดัง​ว่า ชุด​บิกินี​ของ​เรอ​าร์ด​ ถูก​หยิบยก​เป็น​ประเด็น​วิพากษ์​วิจารณ์​อย่าง​ กว้าง​ขวาง​บน​หน้า​หนังสือพิมพ์​เกือบ​ทุก​ฉบับ แน่นอน...ใน​ทาง​เสียห​ าย เพราะ​ขดั ก​ บั ศ​ ลี ธ​ รรม​ อันด​ ข​ี อง​ชาว​คาทอลิกเ​ป็นอ​ ย่าง​ยงิ่ รัฐบาล​ยโุ รป​ หลาย​ประเทศ​ต้อง​ออก​กฎหมาย​ห้าม​สวม​ใส่​ บิกินี​เพื่อ​ตัดตอน​ไอ​เดีย​นัก​ปฏิวัติ ‘บิกินี’ ผู้​นี้​ เลย​ที​เดียว ภาพ​ชุด​บิกินี​ผุด​ขึ้น​มา​ใน​สม​อง​เรอ​าร์ด ตอน​ทเ​ี่ ขา​เห็นห​ ญิงส​ าว​นาง​หนึง่ ม​ ว้ น​ชดุ ว​ า่ ย​นำ้ ​ ขึ้น เพื่อ​ให้​แดด​อาบ​ผิว​เป็น​สี​แทน​ทั่ว​ร่างกาย อัน​ที่​จริง เรอ​าร์ด​เคย​มี​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​แฟชั่น​ มา​ก่อน เขา​เคย​ช่วย​แม่​ดูแล​กิจการ​รองเท้า​ที่​ ร้าน Les Folies Bergères และ​เคย​ออกแบบ​ ชุด​ว่าย​น้ำ​ที่​เล็ก​ที่สุด​ชื่อ ‘อะตอม’ (Atom) ร่วม​ กับ​เพื่อน​ดีไซเนอร์​ชาว​ฝรั่งเศส ฌาคส์ ไฮม์ เมื่อ​ดารา​สาว บริ​จิตต์ บาร์​โด จาก​ ภาพยนตร์​เรื่อง Woman Without a Veil สวม​บิกินี​เข้า​ร่วม​งาน​เทศกาล​ภาพยนตร์​เมือง​ คาน​ส์​ปี 1952 เตะตา​สื่อมวลชน​ให้​ตะลึง​กับ​ ความ​เย้าย​ วน เป็นจ​ ดุ เ​ริม่ ต​ น้ ใ​ห้บ​ กิ นิ โ​ี ลด​แล่นใ​น​ วงการ​ภาพยนตร์ และ​เริม่ ไ​ด้ร​ บั ก​ าร​ยอมรับม​ าก​ ขึ้น​เรื่อยๆ ก่อน​จะ​เห็น​ได้​ทั่วไป​ตาม​นิตย​สาร​​ ทุกๆ หน้า​ร้อน


7

4

Sabino Arana ซา​บิ​โน อา​รา​นา ไกล​ออก​ไป​บริเวณ​แถบ​มหาสมุทร​แอตแลนติก แคว้น​ปกครอง​ ตนเอง​ที่​ประกอบ​ด้วย​กลุ่ม​ชาติพันธุ์ ‘บา​สก์’ อาศัย​กระจัดกระจาย​อยู่​ ใน​เขตแดน​สเปน​และ​ฝรั่งเศส ชาว​บา​สก์​มี​รัฐบาล มี​วัฒนธรรม มี​ภาษา​เป็น​ของ​ตนเอง ทว่า...​ ไร้​ซึ่ง​เอกราช​และ​อิสรภาพ นัก​ต่อสู้​คน​สำคัญ​ใน​ประวัติศาสตร์​บา​สก์ ซา​บิ​โน อา​รา​นา นัก​ ประพันธ์​และ​ผู้​เชี่ยวชาญ​ภาษา​บา​สก์ เขา​คือ​ผู้​พิทักษ์​และ​ส่ง​เสริม​การ​ ใช้ภ​ าษา​บา​สก์ใ​น​ทกุ พ​ นื้ ทีข​่ อง​สงั คม เพือ่ ล​ ด​ความ​สำคัญข​ อง​อำนาจ​ของ​ สเปน​และ​ฝรั่งเศส​ที่​เข้า​มา​ใน​ยุค​ปฏิวัติ​อุตสาหกรรม อา​รา​นา​เชื่อ​ว่า เนื้อ​แท้​ของ​ประเทศ​ถูก​กำหนด​ด้วย​เลือด​เนื้อ​ หรือ​องค์​ประกอบ​ของ​กลุ่ม​ชาติพันธุ์ เขา​เกรง​ว่า​ชาว​ต่าง​ชาติ​จะ​เข้า​มา​มี​ อิทธิพล​ทำให้​เผ่า​พันธุ์​บา​สก์​หาย​ไป​ใน​ที่สุด จึง​สถาปนา​พรรค​ชาตินิยม​ บา​สก์ (Basque Nationalist Party: PNV) ขึ้น​เมื่อ 31 กรกฎาคม 1895 ซึ่ง​เป็น​พรรค​ขนาด​ใหญ่​และ​เก่า​แก่​ที่สุด​ของ​บา​สก์

ไม่​ต่าง​จาก​การ​ประกาศ​สงคราม​แยก​ดิน​แด​นอื่นๆ นับค​ รัง้ ไ​ม่ถ​ ว้ น เมือ่ ช​ าว​บา​สก์ต​ อ่ สูเ​้ พือ่ ป​ ลดแอก​จาก​อำนาจ​ ของ​สเปน ก็​ย่อม​เกิด​เหตุการณ์​ยิง​ปะทะ จน​ผู้คน​ล้ม​ตาย แม้​ปัจจุบัน​บา​สก์​ยัง​คง​ตก​อยู่​ใน​อำนาจ​ของ​สเปน แต่​ชาว​บา​สก์​ยัง​คง​ระลึก​ถึง​อา​รา​นา​ใน​ฐานะ​บิดา​แห่ง​พรรค​ ชาตินิยม​บา​สก์ ผู้​รวม​รวบ​ชิ้น​ส่วน​แตกหัก​ของ​ภาษา​และ​ วัฒนธรรม​บา​สก์​ให้​กลับ​คืน​มา​ดัง​เดิม

6

Alice Paul อ​ลิซ พอล

5

Gene Robinson จีน โรบินสัน

บาทหลวง​จีน โรบินสัน ได้​รับ​การ​แต่ง​ตั้ง​ให้​ดำรง​ตำแหน่ง​บิชอป​ องค์​ที่ 9 แห่ง​สังฆ​มณฑล​นิว​แฮม​เชียร์ ใน​สหรัฐอเมริกา เมื่อ 3 สิงหาคม 2003 อย่าง​เป็น​ทางการ ด้วย​มติ​เห็น​ชอบ 2 ใน 3 ที่​ส่วน​ใหญ่​มา​จาก​ สภา​ผู้​ดูแล​โบสถ์ การ​ตัดสิน​ครั้ง​นั้น ทำให้​เกิด​กระแส​วิพากษ์​วิจารณ์​อย่าง​ดุ​เดือด​ มี​ปฏิกิริยา​โกรธ​เคือง​ส่ง​ตรง​มา​จาก​ฝ่าย​อนุรักษ์​นิยม​และ​บิชอป​แห่ง​แคน​-​ เท​อร์เ​บอร์ร​ ี ผูน้ ำ​คริสต์ศ​ าสนจักร​นกิ าย​แอ​งก​ลก​ิ นั หรือเ​ชิรช์ อ​ อฟ​องิ แ​ ลนด์ เพราะ​โรบินสัน เปิด​เผย​ว่า​ตน​เป็น​เกย์ โรบินสันข​ น้ึ ก​ ล่าว​หลังไ​ด้ร​ บั แ​ ต่งต​ ง้ั ว​ า่ ปรารถนา​ให้การ​ตดั สินใ​น​ครัง้ น​ ​้ี นำ​ไป​สู่​ความ​ก้าวหน้า มิใช่​ความ​แตกแยก เขา​คิด​ว่า​ตัว​เอง​จะ​สามารถ​ทำ​ อะไร​เพื่อ​เพื่อน​ผอง​เกย์​และ​เลส​เบี้ย​น​ได้​มาก​ขึ้น เริ่ม​ด้วย​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ เช่น ‘บิชอป​ที่​ดี’ มากกว่า​เป็น ‘บิชอป​เกย์’ ก่อน​เข้า​รับ​ตำแหน่ง เขา​ถือ​เป็น​ตัว​ตั้ง​ตัว​ตี​ใน​การ​จัด​กิจกรรม​ค่าย​ เยาวชน และ​ให้การ​สนับสนุน​แก่​กลุ่ม​วัย​รุ่น​ที่​ยัง​สับสน​กับ​เพศ​ตนเอง แม้​จะ​ดำรง​ตำแหน่ง​อยู่​จน​ปัจจุบัน แต่​โรบินสัน​ก็​ต้อง​เผชิญ​ท่าที​ กีดกัน​จาก​ฝ่าย​บิชอป​อนุรักษ์​นิยม ครั้ง​หนึ่ง โรบินสัน​ไม่​ได้​รับ​เชิญ​ให้​เข้า​ ร่วม​การ​ประชุม​บิชอป ซึ่ง​ใน​ที่​ประชุม​ครั้ง​นั้น​เรียก​ร้อง​ให้​โรบินสัน​ลา​ออก ส่วน​ผส​ู้ นับสนุนก​ าร​รบั ต​ ำแหน่งข​ อง​เขา​นนั้ ถูกข​ อ​ให้ล​ กุ ข​ นึ้ ‘สารภาพ​บาป’ ต่อ​หน้า​องค์​ประชุม

การ​เลือก​ตงั้ ไ​ม่ไ​ด้ม​ ไ​ี ว้ส​ ำหรับผ​ ห​ู้ ญิง จน​กระทัง่ ห​ น้าป​ ระวัตศิ าสตร์ก​ าร​เรียก​รอ้ ง​สทิ ธิส​ ตรี​ ใน​สหรัฐ​ได้​บันทึก​ชื่อ อ​ลิซ พอล นัก​เคลื่อนไหว​ดีกรี​ปริญญา​เอก​เอา​ไว้ จาก​ประสบการณ์​ร่วม​ ประท้วง​กับ​กลุ่ม​เรียก​ร้อง​สิทธิ​ออก​เสียง​ใน​อังกฤษ ก่อน​เริ่ม​ขยับ​ขยาย​เรื่อง​นี้​ใน​บ้าน​เกิด ขณะ​ถูก​จับกุม​ข้อหา​บุกรุก​รัฐสภา​อังกฤษ เธอ​ได้​พบ​กับ ลู​ซี เบิร์นส์ (Lucy Burns) ซึ่ง​ถูก​จับ​มา​พร้อม​กัน หลัง​จาก​ทั้ง​คู่​กลับ​สหรัฐ ก็​ร่วม​กัน​ก่อ​ตั้ง​สมาคม​สิทธิ​เลือก​ตั้ง​สตรี​แห่ง​ อเมริกา (National American Woman Suffrage Association: NAWSA) ปี 1913​ อ​ลิซ​วัย 26 ปี นำ​ขบวน​ผู้​ประท้วง​จำนวน​ครึ่ง​ล้าน​มุ่ง​สู่​ทำเนียบ​ขาว เจรจา​กับ​ประธานาธิบดี​ วูด​โรว์ วิล​สัน ถึง 2 ครั้ง อ​ลิซ​ต่อสู้​จน​กระทั่ง​ผู้​หญิง​ใน 12 รัฐ​ได้​รับ​สิทธิ์​ออก​เสียง​ใน​ปี 1917 ทว่า​ต้อง​แลก​กับ​ การ​ถูก​จับ​ขัง​เดี่ยว​เป็น​เวลา 7 เดือน พวก​เขา​กล่าว​หา​ว่า​เธอ​ป่วย​ทาง​จิต และ​ทรมาน​ด้วย​การ​ ส่อง​ไฟ​ใส่​หน้า​ทุก​ชั่วโมง​เพื่อ​รบกวน​การ​นอน​หลับ อ​ลิ​ซอด​ข้าว​ประท้วง 22 วัน จน​ป่วย​หนัก แพทย์​ผู้​รักษา​อ​ลิ​ซก​ล่า​ว​ว่า สปิริต​ของ​เธอ​แข็ง​กล้า​ราว​กับ​โจน​ส์ ออฟ อาร์ค ไม่มี​ ประโยชน์​เลย​ที่​พวก​เขา​จะ​ทรมาน​เพื่อ​ให้​เธอ​เปลี่ยน​ใจ เพราะ​เธอ​ไม่มี​วัน​ยอม​แพ้ หญิง​สาว​นับ​ร้อย​ถูก​จับกุม​ใน​คราว​นั้น แต่​มี​เพียง 33 คน ถูก​ตัดสิน​ว่า​ผิด ใน​ส ภาพ​นั ก โทษ พวก​เ ธอ​ถู ก​ ปฏิบัติ​อย่าง​หยาบ​คาย​และ​รุนแรง ห้าม​ ติ ด ต่ อ ​โ ลก​ภ ายนอก ซั ก ​ผ้ า ห่ ม ​ใ ห้ ​ปี ​ละ​ ครั้ง กด​ชักโครก​ได้​ต่อ​เมื่อ​ผู้​คุม​อนุญาต ถูก​บังคับ​ให้​เปลื้อง​ผ้า​ต่อ​หน้า​เจ้า​หน้าที่ อาบ​น้ำ​ใน​ห้อง​ที่​ไม่มี​ประตู แต่​แนว​ร่วม​ที่​ ยังม​ อ​ี สิ รภาพ​นอก​เรือน​จำ​กย​็ งั ด​ ำเนินก​ าร​ รณรงค์​ต่อ​ไป 26 สิงหาคม 1920 เมื่อ​สิทธิ​การ​ ออก​เ สี ย ง​ข อง​ส ตรี ​แ ห่ ง ​ส หรั ฐ อเมริ ก า​ รุ ด ​ห น้ า ​สู่ ​เ ป้ า ​ห มาย​ด่ า น​สุ ด ท้ า ย ‘รั ฐ​ เทนเนสซี’ ผูห​้ ญิงม​ ส​ี ทิ ธิอ​์ อก​เสียง​เลือก​ตงั้ ​ ประธานาธิบดีเ​ป็นค​ รัง้ แ​ รก ใช้เ​วลา 72 ปี คาบ​เกี่ยว 2 ศตวรรษ ใช้​ประธานาธิบดี 18 คน บวก​สงคราม 3 ครั้ง และ​ความ​ เจ็บ​ปวด​ของ​สตรี​นับ​ไม่​ถ้วน...


8

นอกหน้าต่าง

PHILIPPINES

หรือโ​ลก​กำลัง​จะ​ขาด​อาหาร

BRAZIL

ยิ่ง​ไป​กว่า​นั้น ชาย​ผู้​เห็น​เหตุการณ์​ดัง​กล่าว​ ฆาตกรรม​นัก​อนุรักษ์​ธรรมชาติ ก็​ถูก​ฆ่า​ปิดปาก​ใน​เวลา​ต่อ​มา ปัจจุบัน 2 องค์ ก ร​ก าร​กุ ศ ล​ห ลาย​แ ห่ ง ​ท ำนาย​ว่ า​ คดี​นี้​ก็​ยัง​ไม่มี​การ​จับกุม​ผู้​ต้อง​สงสัย​แม้แต่​ จะ​เกิด ‘วิกฤติ​อาหาร​ครั้ง​ใหม่’ ใน​ช่วง​ โฮ​เซ คลอดิ​โอ ริ​เบอร์​โต ดา ซิลวา นัก​ คน​เดียว อนุรักษ์​ป่า​ไม้​ถูก​ยิง​ใน​ป่า​แอ​มะ​ซอน ทาง​ กรกฎาคม​ถึง​ธันวาคม ปี​นี้ ที่​น่า​ตกใจ​กว่า​นั้น​คือ ตลอด 20 ปี​ ตอน​ เหนือ​ของ​รัฐ​ปา​รา พร้อม​กับ​ภรรยา ตั ว อย่ า ง​ที่ ​เ ห็ น ​ไ ด้ ​ชั ด ​อ ย่ า ง กรุ ง​ มะนิลา ประเทศ​ฟิลิปปินส์ เมื่อ​ชาว​บ้าน​​ ต่ า ง​พ า​กั น ​ล ะทิ้ ง ​ที่ ดิ น ​ท ำ​กิ น ​ข อง​ต น มา​อ าศั ย ​อ ยู่ ​ก ลาง​ใ จ​เ มื อ ง​ม าก​เ ป็ น​ ประวัติการณ์ โดย​คน​ส่วน​ใหญ่​ให้​เหตุผล​ ทีต่​ รง​กัน 3 ข้อ คือ หนึ่ง หลาย​ครั้ง พายุ​ทอร์นาโด​เก็บ​ กวาด​พชื ผ​ ล​ไป​จาก​ไร่น​ า กว่าเ​ศรษฐกิจจ​ ะ​ ฟื้น​ตัว​อีก​ครั้ง​ต้อง​ใช้​เวลา​ถึง 3 ปี หาก​คิด​ ฝาก​ปาก​ท้อง​ไว้​กับ​ชนบท​คง​ต้อง​พบ​กับ​ ความ​ผิด​หวัง

สอง ผลก​ร ะ​ท บ​จ าก​ก าร​ป ฏิ รู ป​ ทีด่ นิ รัฐบาล​มอบ​ทดี่ นิ ใ​ห้ช​ าวนา​ชาวไร่ แต่​ พวก​เขา​ไม่มเ​ี งินเ​พียง​พอ​สำหรับก​ าร​ลงทุน จึงข​ าย​ทดี่ นิ ใ​ห้น​ ายทุนเ​ข้าม​ า​ทำ​แทน ส่วน​​ ตัว​เอง​ก็​ย้าย​มา​อยู่​ใน​เมือง สาม กว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ของ​คน​ ชนบท​ต้อง​ทน​หิวโหย​ยาม​ค่ำคืน ขณะ​ที่​ อัตรา​ใน​เมือง​มเ​ี พียง 10 เปอร์เซ็นต์ บางที ‘เมือง​ใหญ่’ อาจ​ถกู ม​ อง​เป็นท​ าง​เลือก​แห่ง​ ความ​อยู่​รอด​ของ​ผู้คน ไม่ต​ า่ ง​จาก​ประเทศ​กำลังพ​ ฒ ั นา​ทงั้ ​ หลาย ที่​เกษตรกร​หัน​หลัง​ให้​ผืน​นา​บ่าย​ หน้า​สู่​เมือง​และ​โรงงาน และ​ผล​ของ​เหตุ​ ละทิง้ ท​ ท​ี่ ำ​กนิ ก​ ค​็ อื ผลผลิตท​ างการ​เกษตร​ ย่อม​ลด​ลง​เช่น​เดียว​กับ​จำนวน​เกษตรกร จน​หลาย​ฝ่าย​ต่าง​ตั้ง​คำถาม​กัน​ว่า ใคร​จะ​ เป็น​คน ‘ปลูก’ อาหาร เมื่อ​โลก​ต้อง​ประสบ​กับ​ปัญหา​เช่น​ นั้น ก็​นับ​ได้​ว่า จิ๊ก​ซอว์​ของ​ภาพ​ความ​ อดอยาก​ได้​ถูก​ต่อ​เพิ่ม​เข้าไป​อีก​ชิ้น​หนึ่ง​ แล้ว ที่มา: www.bbc.co.uk

CHINA

จีน​กับ​โทษ​ประหาร จาก​การ​ศึกษา​ของ​ศาสตราจารย์​หู​จิง​โต (Hu Xing Do) พบ​ว่า 99 เปอร์เซ็นต์ ของ​บ รรดา​ข้ า ราชการ​ฉ้ อ โกง​ไ ม่ ​เ คย​ ​ถู ก ​จั บ ​ไ ด้ ส่ ว น​ที่ ​เ หลื อ ​นั้ น ต้ อ ง​ถื อ ว่ า​ โชค​ร้ า ย เพราะ​พวก​เขา​จ ะ​ต้ อ ง​รั บ ​โ ทษ​ รุนแรง​ถึง​ขั้น​ประหาร​ชีวิต เชื่ อ ​กั น ​ว่ า เพราะ​ข นาด​ที่ ​ใ หญ่ ​ คับ​ทวีป​ของ​จีน บวก​กับ​จำนวน​ประชากร​

ทีผ​่ า่ น​มา นักเ​คลือ่ นไหว​ดา้ น​สงิ่ แ​ วดล้อม​ท​ี่ เข้าไป​ยงุ่ เ​กีย่ ว​กบั ป​ า่ แ​ อ​มะ​ซอน​กว่า 1,000 คน ถูก​ฆาตกรรม และ​แทบ​ทุก​คดี​ไม่มี​การ​ จับกุม​ผู้​กระทำ​ผิด หน่ ว ย​ง าน​ติ ด ตาม​ก าร​ใ ช้ ​ค วาม​ รุนแรง​ใน​บราซิล (The Pastoral Land Commission) กล่าว​ว่า ดา ซิลวา และ​ ภรรยา อยู่​ใน 1,800 ราย​ชื่อ​ผู้​ร้อง​เรียน​ว่า​ ถูก​ขู่​เอา​ชีวิต​เมื่อ​ปี​ที่​แล้ว อาชญากรรม​เหล่าน​ ี้ มีส​ ว่ น​เกีย่ ว​พนั ​ อย่าง​ชัดเจน​กับ​กิจการ​ตัด​ไม้​เถื่อน การ​ใช้​ ประโยชน์​ที่ดิน​ของ​ชาวนา รวม​ถึง​ความ​ ​ขั ด ​แ ย้ ง ​กั บ ​ผู้ ​ตั ด ​ไ ม้ และ​น ายทุ น ​ป ฏิ รู ป​ ​ผู้​บุกรุก​ที่ดิน​เพื่อ​การเกษตร ต่อ​เรื่อง​นี้ ทางการ​บราซิล​พยายาม​ แก้ไข​ปัญหา​ด้วย​การ​ให้​คำมั่น​เพียง​ว่า จะ​ สนับสนุน​การ​บังคับ​ใช้​กฎหมาย​ใน​ภูมิภาค และ​แก้ไข​ปญ ั หา​ความ​ขดั แ​ ย้งเ​รือ่ ง​ทดี่ นิ ซึง่ ​ อยู่​เบื้อง​หลัง​เหตุการณ์​รุนแรง​ครั้ง​นี้ หลาย​ปี​ที่​ผ่าน​มา สถิติ​การ​ตัด​ไม้​ ทำลาย​ปา่ ใ​น​บราซิลล​ ด​ลง​อย่าง​มน​ี ยั ส​ ำคัญ เนือ่ งจาก​เจ้าห​ น้าทีร​่ ฐั ม​ ก​ี าร​ตรวจ​ตรา และ​ ปฏิบัติ​การ​เข้ม​งวด​กับ​ผู้​ทำ​ผิด​กฎหมาย แต่​ขณะ​เดียวกัน​เหตุ​ฆาตกรรม​หลาย​ราย​ ก็​ยัง​เกิด​ขึ้น พร้อมๆ กับ​ราคา​ไม้​เถื่อน​ที่​ ​พุ่ง​พรวด เพราะ​การ​ลักลอบ​ตัด​ไม้​นั้น ทำได้​ยาก​ขึ้น

ที่ ​ม าก​เ ป็ น ​อั น ดั บ 1 ของ​โ ลก ทำให้ ​ สาย​งานการ​ตรวจ​สอบ​เป็น​ไป​ได้​ยาก จี น ​ขึ้ น ​ชื่ อ ​ว่ า ​เ ป็ น ​ผู้ น ำ​ด้ า น​ก าร​ ประหาร​ของ​โลก เพราะ​แค่​อาชญากร​รม​ เล็กๆ ก็​มี​สิทธิ์​เจอ​โทษ​ถึง​ชีวิต​ได้ ขณะ​ที่​ ประ​เ ท​ศ อื่ น ๆ บท​ล งโทษ​สู ง สุ ด ​นี้ มี ​ไ ว้ ​ สำหรับ​ฆาตกร​เท่านั้น แนวคิดห​ ลักข​ อง​พรรค​คอมมิวนิสต์เ​อง​ ​ก็​ไม่​ต้อนรับ​คน​เอา​เปรียบ และ​พร้อม​จัด​ โทษ​หนักไ​ว้ร​ อ​ผก​ู้ ระทำ​ผดิ เ​สมอ โดย​เฉพาะ​ หาก​เ ป็ น ​ร ะดั บ ​ส มาชิ ก ​ข อง​พ รรค หรื อ​ เจ้าห​ น้าทีร​่ ฐั ท​ ำ​ผดิ เ​สียเ​อง ย่อม​ตอ้ ง​รบั โ​ทษ​ หนัก​กว่า​คน​ธรรมดา​หลาย​เท่า ไม่ใช่​แค่​เรื่อง​ทุจริต​เท่านั้น ปลาย​ เดือน​พฤษภาคม​ที่​ผ่าน​มา ทางการ​จีน​ได้​ ออก​ประกาศ​บท​ลงโทษ ‘ประหาร​ชีวิต’ ทั้ง​ ผู้​ผลิต​อาหาร​ปน​เปื้อน และ​ผู้​ตรวจ​สอบ​ อาหาร​ที่​ละเลย​หน้าที่​ด้วย

ที่มา: www.guardian.co.uk

นอกจาก​นี้ ความ​คิ ด ​เ ห็ น ​บ น​ อินเทอร์เน็ต​เอง​ก็​มี​บทบาท​สำคัญ​ใน​การ​ ผลั ก ​ดั น ​ค วาม​คิ ด ​เห็ น ​ป ระชาชน​จี น ​ม าก​ ขนาด​ที่​รัฐบาล​ไม่​สามารถ​เพิก​เฉย​ต่อ​เสียง​ วิ พ ากษ์ ​วิ จ ารณ์ ​ไ ด้ ด้ ว ย​ค วาม​ที่ ​ช าว​จี น​ เกลียด​การ​ทุจริต​เข้า​ไส้ พวก​เขา​จึง​เห็น​ว่า ผูก​้ ระทำ​ผดิ ฐ​ าน​ฉอ้ โกง​ไม่ส​ มควร​ได้ร​ บั ส​ ทิ ธิ​์ ใน​การ​ลด​โทษ หลาย​ครั้ง​การ​ประหาร​ชีวิต​ จึง​เป็น​ไป​ตาม​ความ​เห็น​ของ​ประชาชน ที่มา: www.time.com


9

UK

อวสาน​สิงห์​อม​ควัน ต้น​ปี 2011 บริษัท​การ​เงิน​ข้าม​ชาติ​ของ​สหรัฐอเมริกา​ราย​หนึ่ง​ ได้​เผย​แพร่​งาน​วิจัย​ว่า ภายใน​ครึ่ง​ศตวรรษ การ​สูบ​บุหรี่​จะ​หมด​ไป​ จาก​สห​ราช​อาณาจักร​อย่าง​สิ้น​เชิง ราว​ศ ตวรรษ​ที่ 60 กว่ า ​ค รึ่ ง ​ข อง​ผู้ ใ หญ่ ​ช าว​อั ง กฤษ​ เป็น​คน​สูบ​บุหรี่ แต่​โชค​ดี​ที่​สถิติ​ดัง​กล่าว​มี​แนว​โน้ม​ลด​ลง​เรื่อยๆ สวน​ท าง​กั บ ​ก าร​พั ฒนา​ข อง​โ ลก เนื่ อ งจาก​ช าว​อั ง กฤษ​ท ราบ​ ถึง​ปัจจัย​เสี่ยง​และ​อันตราย​ต่อ​สุขภาพ​อัน​เกิด​จาก​การ​สูบ​บุหรี่ รายงาน​ฉบับด​ งั ก​ ล่าว​คาด​วา่ ใ​น​ปี 2050 จำนวน​ผส​ู้ บู บ​ หุ รีจ​่ ะ​ลด​ลง​​ เป็น​ศูนย์ อย่างไร​ก็ตาม มี​ข้อ​สังเกต​เรื่อง​ราคา​บุหรี่​ที่​สูง​ขึ้น​เรื่อยๆ อาจ​เกิด​ปัญหา​ใน​ระยะ​ยาว เพราะ​ทำให้​บริษัท​ผลิต​ยาสูบ​ได้​กำไร​ เพิ่ม​เป็นก​อบ​เป็น​กำ แต่​ปัญหา​ดัง​กล่าว​ก็​น่า​กังวล​น้อย​กว่า​เรื่อง​ รูป​แบบ​ซอง​บุหรี่ ที่​รัฐบาล​อังกฤษ​กำลัง​วางแผน​ให้​ผลิต​ซอง​บุหรี่​ แบบ​ธร​รม​ดาๆ ไม่​ดึงดูด​ใจ​วัย​รุ่น ผล​ก าร​วิ จั ย ​นี้ ให้ ​ค วาม​เ ห็ น ​แ ย้ ง ​กั บ ​วิ ธี ​ที่ ​รั ฐ บาล​เ สนอ​ ด้วย​เหตุผล​ที่​ว่า รูป​แบบ​ซอง​ไม่มี​ผล​ต่อ​การ​ดึงดูด​ให้​คน​หัน​มา​สูบ​ บุหรี่ ฉะนั้น​การ​ปรับ​รูป​แบบ​ซอง​จึง​ไม่​ทำให้​อัตรา​ผู้​สูบ​และ​กำไร​ ​ลด​ลง​เท่า​ไหร่ นอกจาก​นี้ ยา​เสพ​ติด​ทั่วไป​ที่​ซื้อ​ขาย​กัน​ก็​ไม่​ได้​มี​ แม้แต่​ซอง​บรรจุ​ภัณฑ์ ที่มา: www.telegraph.co.uk

SAUDI ARABIA

มหาวิทยาลัย​เพื่อ ‘ผู้​หญิง’

FRANCE

ฟาร์มแ​สง​อาทิตย์ หาก​ดู​ภาพถ่าย​ทาง​อากาศ ที่ราบสูง ปุ​ยมิเชล ทาง​ด้าน​ใต้​ของ​ เทือก​เขา​แอลป์ ใน​ประเทศ​ฝรั่งเศส สิ่ง​ที่​พบ​อาจ​ไม่ใช่​ทุ่ง​หญ้า แต่​เป็น​แผง​โซ​ลาร์​เซลล์​ที่​ทอด​ยาว​เรียง​กัน​เป็น​ระเบียบ​อยู่​บน​ เนื้อที่​กว่า 90 ไร่ เซลล์​พลังงาน​แสง​อาทิตย์​เหล่า​นี้ ติด​ตั้ง​โดย​บริษัท เอ็น​ ฟิ​นิ​ตี (Enfinity) สามารถ​ผลิต​กระแส​ไฟฟ้า​ได้​ประมาณ 18.2 เมกะ​วัตต์ ซึ่ง​มาก​พอ​สำหรับ​จ่าย​กระแส​ไฟฟ้า​ให้​กับ 8,000 ครัว​เรือน ฟาร์ ม ​แ สง​อ าทิ ต ย์ ​นี้ ​ยั ง ​มี ​โ ครงการ​ร ะยะ​ต่ อ ​ไ ป โดย​ กำหนดการ​ตดิ ต​ งั้ แ​ ผง​โซ​ลาร์เ​ซลล์ใ​ห้ค​ รอบคลุมพ​ นื้ ที่ 1,250 ไร่ กำลัง​การ​ผลิต​ราว 100 เมกะ​วัตต์ เพื่อ​เป็น​แหล่ง​ผลิต​พลังงาน​ สูง​ที่สุด​ใน​ประเทศ​ภายใน​สิ้น​ปี​นี้ เอ็น​ฟิ​นิ​ตี​ใช้​เงิน​ลงทุน​ประมาณ 70 ล้าน​ยูโร ใน​การ​ ออกแบบ​โดย​ไม่ใ​ช้โ​ครงสร้าง​ฐาน​คอนกรีต เพือ่ เ​ว้นท​ ว​ี่ า่ ง​สำหรับ​ ต้นไม้​ใหญ่​และ​คง​สภาพ​ภูมิ​ทัศน์​เดิม​ให้​มาก​ที่สุด ที่มา: www.guardian.co.uk

UK

เศรษฐกิจ​เล็ก​ใน​โครงการ​ใหญ่ บรรดา​ผนู้ ำ​ทาง​เศรษฐกิจแ​ ละ​ผใู้ หญ่แ​ วดวง​ ขนส่ ง ​ใ น​เ มื อ ง​แ มน​เ ชส​เ ตอร์ ประเทศ​ อังกฤษ พูด​เป็น​เสียง​เดียวกัน​ว่า โครงการ​ รถ​ราง​ข้าม​เมือง​แห่ง​ใหม่ (Second City Crossing: 2CC) นั้น “สำคัญ​ยิ่ง​ชีพ!”… แม้​มัน​จะ​กระทบ​ธุรกิจ​เล็กๆ อย่าง​หนัก​ ก็​เถอะ ริ​ชาร์ด ค​ริทช์​ลีย์ ผู้​จัดการ​นโยบาย​ ขนส่ง​แห่ง​หอการค้า​เมือง​แมน​เชส​เตอร์ กล่าว​ว่า หาก​มี​การ​ก่อสร้าง​รถ​ราง​จริง จะ​ ทำให้​ถนน​ใหญ่​หลาย​สาย​ต้อง​หยุด​ชะงัก ซึ่ง​จะ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ธุรกิจ​ใน​ระยะ​ยาว เพราะ​โครงการ 2CC มีก​ ำหนด​เริม่ ด​ ำเนิน​ การ​สร้าง​ใน​ปี 2013 และ​สามารถ​เปิด​ใช้​ งาน​ได้​ประมาณ​ปลาย​ปี 2016 สำนักงาน​ขนส่ง​แห่ง​เมือง​แมน​เชส​ เตอร์ (Transport for Greater Manchester: TfGM) รูอ​้ ยูเ​่ ต็มอก​วา่ การ​เผชิญ​

หน้า​กับ​ธุรกิจ​เล็กๆ ทั้ง​หลาย​นั้น​ลำบาก และ​ขัด​กับ​ยุทธศาสตร์ ‘เศรษฐกิจ​เข้ม​แข็ง​ มั่งคั่ง’ ดัง​ที่ 2CC กล่าว​ไว้ เพื่ อ ​แ ก้ ไ ข​ปั ญ หา​อ ย่ า ง​เ ป็ น ​ธ รรม​ กับ​ทุก​ฝ่าย ทาง TfGM จึง​จับ​มือ​กับ​สภา​ เมือง​แมน​เชส​เตอร์ จัด​ประชุม​สาธารณะ​ แลก​เปลี่ยน​ความ​คิด​เห็น ซึ่ง​จะ​ดำเนิน​ไป​ จนถึง​วัน​ที่ 9 กันยายน 2011 เพื่อ​บรรลุ​ ข้อ​ตกลง​ของ​แผน​โครงการ​ให้​สามารถ​เดิน​ ต่อ​ไป​ได้ ที่มา: www.bbc.co.uk

มหา​ลัย​ที่​ใหญ่​ที่สุด​ใน​ซา​อุดิอา​ระ​เบีย​เปิด​ อย่ า ง​เ ป็ น ​ท างการ​แ ล้ ว ​โ ดย​ก ษั ต ริ ย์ ​อั บ​ ดุล​ลาห์ ตั้ง​อยู่​บริเวณ​ชานเมือง​นอก​กรุง​ ริ ห์ ​ย าด สามารถ​รั บ ​นั ก ศึ ก ษา​ไ ด้ ​ถึ ง 50,000 คน และ​จะ​พัฒนา​ให้​ผู้​หญิง​ สามารถ​เข้า​ถึง​หลักสูตร​ต่างๆ ได้ เช่น ธุรกิจ​และ​วิทยาศาสตร์ พร้อม​สิ่ง​อำนวย​ ความ​สะดวก อาทิ สถาน​พยาบาล ห้อง​ ปฏิบัติ​การ และ​ห้อง​สมุด เป็น​เรื่อง​น่า​ยินดี​อย่าง​มาก​สำหรับ​ สาวๆ ใน​ซ า​อุ ดิ อ า​ร ะ​เ บี ย ที่ ​พ วก​เ ธอ​ ​จะ​ได้​รับ​การ​ศึกษา แต่​ปัญหา​ก็​คือ หลัง​ จาก​เรียน​จบ​แล้ว​พวก​เธอ​จะ​นำ​ความ​รู้​ ไป​ทำ​อะไร หญิง​ชาว​ซา​อุฯ​ที่​ได้​รับ​การ​ ศึกษา​อย่าง​ดี​มี​อยู่​มาก แต่​พวก​เธอ​มี​สิทธิ์​ ทำงาน​ได้ไ​ม่ถ​ งึ 15 เปอร์เซ็นต์ข​ อง​จำนวน​ ประชากร​วัย​ทำงาน​ทั้ง​ประเทศ และ​ยัง​ได้​ ค่า​จ้าง​ต่ำ​กว่า​ผู้ชาย​มาก “สิ่ง​ที่​เรา​ต้อง​ประเมิน​คือ สถาบัน​ แห่ ง ​นี้ ​จ ะ​เ ปิ ด ​โ อกาส​ใ ห้ ​ผู้ ​ห ญิ ง ​ม าก​ขึ้ น​ ภาย​ใ ต้ ​สั ง คม​ที่ ​ช าย​เ ป็ น ​ใ หญ่ ​ห รื อ ​ไ ม่ ” นาเดีย คา​ลีฟ จาก Human Rights Watch กล่าว ใน​ก าร​ป ระชุ ม ​เ ศรษฐกิ จ ​โ ลก​ รายงาน​ช่อง​ว่าง​ระหว่าง​เพศ​ว่า ซา​อุดิ​ อา​ระ​เบียร​ งั้ อ​ นั ดับ 129 จาก 134 ประเทศ​ และ​เป็น​ประเทศ​เดียว​ที่​ได้ 0 คะแนน จาก​การ​ให้​อำนาจ​ทางการ​เมือง​แก่​ผู้​หญิง เพราะ​ที่​นั่น ​ผู้​หญิง​ยัง​ไม่มี​สิทธิ์​ออก​เสียง​ เลือก​ตั้ง แม้​จะ​เปิด​มหาวิทยาลัย​ใหญ่​กว่า​นี้ สิทธิ​สตรี​ใน​ซาอุดิอาระเบีย​ก็​ไม่​ได้​เปลี่ยน​

ไป​แม้แต่​น้อย เมื่อ​ทางการ​ซา​อุฯ​แบ่ง​ แยก​หน้าที่​หญิง​ชาย​ใน​ที่​ทำงาน ทำให้​ ​ผู้​หญิง​ไม่​สามารถ​หา​งาน​ที่​มั่นคง​ได้ อย่าง​ ด้าน​กฎหมาย ทนาย​ผู้​หญิง​มี​สิทธิ์​ทำงาน​ ด้าน​ธรุ การ รับค​ ดี แต่ไ​ม่ส​ ามารถ​ตดั สินใ​จ​ ​ใดๆ ได้ การ​เปิด​มหาวิทยาลัย​ใหญ่​คือ​ตัว​ บ่ง​ชี้​ว่า​ซา​อุฯ​สนใจ​การ​ให้การ​ศึกษา​แก่ ​ ผ​ ห​ู้ ญิง แต่ท​ ต​ี่ อ้ ง​ทำ​มากกว่าน​ นั้ ค​ อื ยกเลิก​ การ​จำกัด​สิทธิ​ด้าน​การ​ทำงาน​แก่​ผู้​หญิง​ ด้วย ที่มา: www.guardian.co.uk


10

เรื่องจากปก

กองบรรณาธิการ

อำนาจ

ในแนวราบ การเปลี่ ย นแปลงเพื่ อ ประชาชน

ข้อ​เสนอ

ท​ ี่​ออก​มา​จาก คณะ​ กรรมการ​ป ฏิ รู ป (คปร.) ข้อ​สำคัญ คือ เสนอ​ให้​ประเทศไทย​มี​การ​ ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ ด้วย​จุด​ประสงค์ ‘ลด​ความ​ เหลื่อม​ล้ำ’ ใคร​หลาย​คน​เริ่ม​สงสัย​ว่า คำ​ใหญ่​โต​อย่าง ‘อำนาจ’ มา​เกีย่ วข้อง​กบั ช​ าว​บา้ น​ตา​ดำๆ ได้อ​ ย่างไร ใน​เมื่อเ​รา​เข้า​คูหา​กา​บัตร​ใช้​สิทธิ์​เลือก​ตั้ง​แล้ว ทำไม​ รัฐบาล​ที่​เรา​เลือก​ไป​ทำงาน​แทน ไม่​จัดการ​กันเอง ปฏิเสธ​ไม่ไ​ด้เ​ลย​วา่ โครงสร้าง​อำนาจ​เดิมข​ อง​ ไทย​นั้น เป็น​แบบ​รวม​ศูนย์ มี​การก​ระ​จุก​ตัว​จน​เป็น​ ทีม่ า​ของ​ปญ ั หา ทัง้ ใ​น​ระดับบ​ ริหาร ถึงร​ ะดับป​ าก​ทอ้ ง​​ ชาว​บ้าน อย่าง​ไม่​ต้อง​สงสัย ทั้ง​จุด​ประสงค์​และ​ขั้น​ตอน​ของ​การ​ปฏิรูป​ โครงสร้าง​อำนาจ ที่​เรียก​กัน​ง่ายๆ ว่า ‘การก​ระ​จา​ย​ อำ​นาจ’ นั้น ยัง​คง​เป็น​ปริศนา​ท้าทาย​ว่า ท้าย​ที่สุด​ ใคร​จะ​ได้​รับ​ประโยชน์ และ​วิธี​การ​เพิ่ม​อำนาจ​ให้​กับ​ ประชาชน​นนั้ จ​ ะ​เป็นการ​ถม​ชอ่ ง​วา่ ง​ความ​เหลือ่ ม​ลำ้ ​ ที่​ถูก​วิธี​หรือ​ไม่ ตาม​ตรรกะ​ง่ายๆ เมื่อ​ปัญหา​คือ ‘กระจุก’ ทาง​แก้ก​ ต​็ อ้ ง ‘กระจาย’ ว่าก​ นั ว​ า่ การ​กระจาย​อำนาจ หรือ การ​เพิ่ม​พลัง​ทาง​ราบ​นั้น เป็น​วิธี​หนึ่ง​ที่​จะ​ ช่วย​เพิ่ม​ความ​มั่นคง​ให้​กับ​ฐาน​ของ​ประเทศ เพิ่ม​ ศักยภาพ​ของ​ประชาชน​ระดับ​ท้อง​ถิ่น จน​สามารถ​ พัฒนา​ไป​พร้อมๆ กัน​ได้ ต้อง​ทำความ​เข้าใจ​กอ่ น​ทอดตา​สบู่ รรทัดต​ อ่ ไ​ป​​ ว่า ประเด็น​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ​นั้น เป็น​ ข้อ​เสนอ​ที่​ถูก​ส่ง​ออก​มา​จาก​กลุ่ม ‘นัก​คิด’ ผู้​สวม​ บทบาท Think Tank แน่นอน​ว่า​ยัง​ไม่มี​ผู้รับ​ลูก​ไป​ ปฏิบตั จ​ิ ริง ขณะ​ทผ​ี่ ม​ู้ ส​ี ว่ น​รว่ ม​หลาย​คน​บอก​วา่ “อาจ​ ต้อง​ฝาก​ความ​หวัง​ไว้​กับ​รัฐบาล​ใน​อนาคต” ซึ่ง​ก็​ยัง​ ไม่รู้​ว่า​จะ​ออก​หัว​หรือ​ก้อย

อำนาจ​แนว​ดิ่ง ถ้า​เปรียบ​ประเทศ​เป็น​เครื่องจักร​ขนาด​มหึมา อำนาจ​การ​ปกครอง​คง​เทียบ​ได้​ กับ​กลไก​ควบคุม​ระบบ​ทั้งหมด​ที่​ยิ่ง​ใหญ่​และ​ยุ่งเหยิง เรื่อง​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ (Decentralization of Powers) เป็น​เรื่อง​ที่​พูด​กัน​มา​ เนิ่น​นาน บาง​คน​รู้​และ​เข้าใจ​ความ​หมาย ขณะ​ที่​หลาย​คน​ยัง​งง​และ​สงสัย​ว่า อำนาจ​ นั้น​เป็น​สิ่ง​ที่​สามารถ​กระจาย​ได้​จริง​หรือ เพราะ​หาก​วัด​ตาม​ความ​เข้าใจ​แบบ​ไทยๆ ‘อำนาจ’ นั้น คือ​สิ่ง​ที่​อยู่​สูง​ขึ้น​ไป มี​ลักษณะ​รวม​ศูนย์ และ​มัก​อยู่​ใน​มือ​คน​หรือ​คณะ​ บุคคล​ใด​บุคคล​หนึ่ง​เสมอ พูด​ให้​เข้าใจ​ง่ายๆ ก็​คือ อำนาจ​อยู่​ใน​มือ​ข้าราชการ​และ​นักการ​เมือง​นั่นเอง ใน​สว่ น​การ​บริหาร ประเทศ​ทม​ี่ ร​ี ปู แ​ บบ​การ​ปกครอง​ประชาธิปไตย อำนาจ​สว่ น​น​ี้ จะ​เป็น​ของ​ฝ่าย​การเมือง ใน​นาม ‘รัฐบาล’ ที่​ได้​มา​จาก​กระบวนการ​เลือก​ตั้ง ส่วน​ อำนาจ​การ​ปกครอง​นั้น จะ​เป็น​ลำดับ​สั่ง​การ​รอง​ลง​มา​จาก​ฝ่าย​บริหาร เรียก​ให้​ง่าย​คือ ฝ่าย​ข้าราชการ ซึ่ง​ต้อง​ทำงาน​ตาม​นโยบาย​ที่​ถูก​กำหนด​จาก​รัฐบาล ก่อน​จะ​ลง​ไป​ถึง​ ระดับ​ชาว​บ้าน​อีก​ทอด​หนึ่ง ระบบ​ตาม​แนว​ดิ่ง​นี้ นโยบาย​ด้าน​ต่างๆ เป็น​แบบ​รวม​ศูนย์​ทั้ง​สิ้น ไม่มี​การ​แยก​ เป็น​ท้อง​ถิ่น ทั้ง​ที่​แต่ละ​พื้นที่​ต่าง​มี​วัฒนธรรม​และ​ความ​ต้องการ​ไม่​เหมือน​กัน ไม่​ว่า​ จะ​เป็น​เรื่อง​ระดับ​ก้น​ครัว ตำบล อำเภอ แต่​รัฐก็​ลงมือ​จัดการ​ให้​เป็น​รูป​แบบ​เดียวกัน​ ทั้งหมด กล่าว​กนั ว​ า่ ต้นตอ​ของ​ความ​วนุ่ วาย​ทงั้ ห​ ลาย​ใน​บา้ น​เรา​ชว่ ง 4-5 ปีท​ ผ​ี่ า่ น​มา คือ อำนาจ​ที่​รวม​ศูนย์ จน​ก่อ​ให้​เกิด​ความ​เหลื่อม​ล้ำ​ทาง​สังคม การ​จัดสรร​ทรัพยากร​ทาง​ อำนาจ​ที่​ไม่​เป็น​ธรรม สิ่ง​เหล่า​นี้​สะสม​เรื้อรัง​ยาวนาน กระทั่ง​ปะทุ​ออก​มา​ใน​ที่สุด จุด​อ่อน​สำคัญ​อีก​ข้อ​ของ​การ​รวม​อำนาจ​รัฐ​ไว้​ที่​ศูนย์กลาง คือ เมือง​หลวง​กับ​ ชนบท​แยก​ขาด​ออก​จาก​กนั ด้วย​ความ​แตก​ตา่ ง​ทงั้ ร​ ะบบ​เศรษฐกิจ การ​ศกึ ษา รวม​ทงั้ ก​ าร​​ มีส​ ว่ น​รว่ ม​ทางการ​เมือง ซึง่ ช​ อ่ ง​วา่ ง​ทร​ี่ ฐั จ​ ดั การ​ไม่ท​ วั่ ถ​ งึ น​ ี้ นับว​ นั ย​ งิ่ ถ​ า่ ง​กว้าง​ขนึ้ เ​รือ่ ยๆ จน​กลาย​เป็น​สาเหตุ​ของ​ความ​เหลื่อม​ล้ำ​ใน​ทุกๆ ด้าน


11 ความ​ง่อน​แง่น​ของ​พีรามิด กว่า 120 ปี ที่​ระบบ​อำนาจ​เมือง​ไทย​ถูก​วาง​ โครงสร้าง​ไว้​ใน​ลักษณะ​รวม​ศูนย์ โดย​มี​รัฐบาล​เป็น​ ผู้ ​บั ง คั บ ​บั ญ ชา​สู ง สุ ด ​ข อง​ร ะบบ​บ ริ ห าร ตาม​ด้ ว ย​ กระทรวง​ทบวง​กรม ซึ่ง​มี​อำนาจ​บริหาร​จัดการ​สังคม​ ใน​ทุกข​อบ​เขต​ปริมณฑล ลอง​จินตนาการ​เปรียบ​ประเทศ​เป็น ‘พีรามิด’ ฝ่าย​ใช้​อำนาจ​รัฐ​อยู่​ส่วน​ยอด ขณะ​ที่​ประชาชน​กว่า 60 ล้าน​คน เป็น​ฐาน...นั่น​คือ​โครงสร้าง​รัฐ​ชาติ​ที่​มี​การ​ บริหาร​งาน​จาก​บน​ลง​ล่าง ใน​ทาง​กลับ​กัน อำนาจ​ยิ่ง​ใหญ่​ก็​มา​พร้อม​ความ​ รับ​ผิด​ชอบ​มหาศาล เมื่อ​กลับ​หัว​พีรามิด​ลง จะ​เห็น​ว่า​ รัฐ​แบก​รับ​ภาระ​ไว้​เต็มๆ อย่างไร แทบ​เป็นไ​ป​ไม่ไ​ด้เ​ลย​ทอ​ี่ ำนาจ​รวม​ศนู ย์ต​ รง​สว่ น​ ปลาย จะ​สามารถ​ทาน​น้ำ​หนัก​และ​เลี้ยง​สมดุล​ของ​ ประเทศ​ชาติ​ไว้​ได้​ตลอด​รอด​ฝั่ง เมื่อ​เห็น​ว่า​ระบบ ‘พีรามิด’ ใกล้​จะ​เผชิญ​กับ​ ความ​ไม่​มั่นคง เมื่อ​การ​พัฒนา​ใน​ด้าน​ต่างๆ เพิ่ม​ขึ้น กระแส​สงั คม​ถกู ล​ าก​จงู ด​ ว้ ย ‘โลก’ ใน​นาม ‘โลกา​ภว​ิ ตั น​ ’์ ​

สังคม​และ​ประชาชน​โต​ขึ้น มี​การ​ขยาย​ตัว​ ทาง​เศรษฐกิจ ภาค​อตุ สาหกรรม การ​สง่ อ​ อก​ การ​ท่อง​เที่ยว ฯลฯ ซึ่ง​ใน​ความ​เป็น​จริง​ สิ่ง​เหล่า​นี้​ยิ่ง​ทำให้​สังคม​มี​ความ​เหลื่อม​ล้ำ​ มาก​ขึ้น เพราะ​ระบบ​เสรี​นั้น เปิด​กว้าง​ให้​มือ​ ที่​ยาว​กว่า​ฉกฉวย​โอกาส​ได้​มากกว่า ขณะ​ที่​ ความ​สามารถ​ของ​รัฐ​ใน​การ​ควบคุม​ระบบ​ การ​จัดการ​ต่างๆ เริ่ม​ลด​น้อย​ถอย​ลง จน​บาง​ครั้ง​ด้วย​กลไก​แนว​ดิ่ง​อัน​สลับ​ ซับ​ซ้อน​และ​ยุ่ง​ยาก​ก็​กลาย​เป็น​ปัญหา​ของ​ การ​เปลีย่ นแปลง​ทาง​เศรษฐกิจ การเมือง​และ​ สังคม​ด้วย​ตัว​ของ​มัน​เอง ซึ่ง​ภาพ​ที่​ออก​มา​ ​ก็​ฟ้อง​ถึง​ความ​เป็น​จริง​ที่​ว่า ระบบ​เช่น​นี้​ไม่มี​ ประสิทธิภาพ

การก​ร ะ​จ า​ย อำ​นาจ​ ใน​รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 78(2) จัดร​ ะบบ​

การ​บ ริ ห าร​ร าชการ​ส่ ว น​ กลาง ส่ ว น​ภู มิ ภ าค และ​ ส่ ว น​ท้ อ ง​ถิ่ น ให้ ​มี ​ข อบเขต​ อำนาจ​หน้าที่ และ​ความ​รับ​ ผิ ด ​ช อบ​ที่ ​ชั ด เจน​เหมาะ​ส ม​ แก่​การ​พัฒนา​ประเทศ และ​ สนั บ สนุ น ​ให้ ​จั ง หวั ด ​มี ​แ ผน​ และ​งบ​ประมาณ​เพื่อ​พัฒนา​ จังหวัด เพื่อ​ประโยชน์​ของ​ ประชาชน​ใน​พื้นที่ มาตรา 78(3) กระจาย​

การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ ความ​หมาย​ของ​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ (Decentralization) คือ การ​ ถ่าย​โอน​อำนาจ​การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​ด้าน​ต่างๆ จาก​ส่วน​กลาง​ให้​แก่​องค์กร​​ ใน​ระดับ​ท้อง​ถิ่น​ไป​ดำเนิน​การ​แทน ซึ่ง​การ​ถ่าย​โอน​อำนาจ​นี้ จะ​ถูก​แบ่ง​ ย่อย​ไป​ตาม​พื้นที่​ต่างๆ ทั่ว​ประเทศ การ​ปรับ​โครงสร้าง​ให้​อำนาจ​กระจาย​สู่​ระดับ​ท้อง​ถิ่น​นั้น จะ​มุ่ง​ ลด​บทบาท​ของ​รฐั ส​ ว่ น​กลาง​ให้เ​หลือเ​พียง​ภาร​กจิ ห​ ลักๆ เช่นก​ าร​กำหนด​ นโยบาย​และ​การ​ตดั สินใ​จ​ระดับช​ าติเ​พือ่ ค​ วาม​เป็นเ​อกภาพ​เท่านัน้ ส่วน​ ระดับท​ อ้ ง​ถนิ่ จะ​เปิดโ​อกาส​ให้ป​ ระชาชน​สามารถ​จดั การ​ชวี ติ แ​ ละ​ชมุ ชน​ ได้​มาก​ขึ้น มี​ส่วน​ใน​การ​บริหาร​งาน​ชุมชน มี​ส่วน​ร่วม​ตัดสิน​ใจ​บริหาร​ จัดการ​ตาม​แนวทาง​ของ​แต่ละ​พื้นที่​มาก​ขึ้น ดัง​นั้น ‘การก​ระ​จา​ยอำ​นา​จการ​ปกครอง’ คือ การ​ปรับ​รูป​แบบ​ ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ของ​ฝ่าย​ราชการ จาก​เดิมที​จะ​มี​การก​ระ​จุก​อำนาจ​ ไว้​ที่​ศูนย์กลาง กระทรวง ทบวง กรม เป็น​หลัก ไป​สู่​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​จริง​ ใน​ระดับ​ท้อง​ถิ่น เพื่อ​ให้​คนใน​ชุมชน​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​กำหนด​นโยบาย และ​แนวทาง​การ​บริหาร​ท้อง​ถิ่น​ด้วย​ตนเอง

อำนาจ​ให้ ​องค์การ​ปกครอง​ ส่วน​ท้อง​ถิ่น​พึ่ง​ตนเอง และ​ ตัดสินใ​จ​ใน​กจิ การ​ของ​ทอ้ ง​ถนิ่ ​ได้​เอง ส่ง​เสริม​ให้​องค์การ​ ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​มี​ส่วน​ ร่ ว ม​ใน​ก าร​ด ำเนิ น ​ก าร​ต าม​ แนว​นโยบาย​พื้น​ฐาน​แห่ง​รัฐ พัฒนา​เศรษฐกิจ​ของ​ท้อง​ถิ่น ​และ​ระบบ​สาธารณูปโภค​และ​ สาธารณู ป การ ตลอด​ทั้ ง​ โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​สารสนเทศ​ ใน​ท้ อ ง​ถิ่ น ให้ ​ทั่ ว ​ถึ ง ​แ ละ​ เท่ า ​เ ที ย ม​กั น ​ทั่ ว ​ป ระเทศ รวม​ทั้ ง ​พั ฒ นา​จั ง หวั ด ​ที่ ​มี ​ ความ​พร้อม​ให้​เป็น​องค์การ​ ปกครอง​สว่ น​ทอ้ ง​ถน่ิ ข​ นาด​ใหญ่ โดย​คำนึง​ถึง​เจตนารมณ์​ของ​ ประชาชน​ใน​จังหวัด​นั้น


12 ใน​บริบท​การเมือง​โลก มี​ชาติ​ประชาธิปไตย​เพียง​ไม่​กี่​ แห่ง ที่​พยายาม​จะ​ยึดแ​ นวทาง​อำนาจ​รวม​ศูนย์​เป็น​หลัก​ การ​บริหาร สังเกต​ได้​จาก​งบ​ประมาณ​ของ​เกือบ​ทุก​ชาติ​ ใน​โลก​​ตอน​นี้ ซึง่ ล​ ว้ น​ให้ค​ วาม​สำคัญก​ บั ท​ อ้ ง​ถนิ่ ม​ ากกว่าร​ฐั ​ ส่วน​กลาง จึงส​ ามารถ​วเิ คราะห์แ​ นว​โน้มก​ าร​เปลีย่ นแปลง​ อำนาจ​รัฐ​ใน​โลก​ได้ 2 รูป​แบบ 1. Downsizing the Government คือ การ​ลด​ ขนาด​ของ​อำนาจ​รัฐ​ลง เพิ่ม​อำนาจ​ประชาชน 2. Decentralization คือ การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ หรือ​ลด​ระดับ​การ​ใช้​อำนาจ​รัฐ จาก​ระดับ​รวม​กลุ่ม​ใหญ่​ ลง​มา​ใช้​ใน​ระดับ​ท้อง​ถิ่น เพื่อ​ให้​เกิด​การ​แบ่ง​แยก​อย่าง​ ชัดเจน เพื่อ​ให้​ท้อง​ถิ่น​มี​บทบาท​มาก​ขึ้น และ​ความ​ สามารถ​ใน​การ​ดำเนิน​การ​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ได้ ตาม​ความ​ พร้อม ความ​สามารถ ใน​เรื่อง​เกี่ยว​กับ​ท้อง​ถิ่น

ตัวอย่าง​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจใน​ต่าง​ประเทศ การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ใน​สห​ราช​อาณาจักร

เนือ่ งจาก​สห​ราช​อาณาจักร​เกิดข​ นึ้ จ​ าก​การ​รวม​ตวั ​ กันข​ อง​หลาย​ชาติท​ งั้ อ​ งั กฤษ​ เอง สก็อต​แลนด์ เวลส์ และ​ ไอร์แลนด์เหนือ จึง ​ต้อง​มี​ การก​ระ​จา​ยอำ​นา​จลง​สส​ู่ ว่ น​ ภู มิ ภ าค (Regionalized State) แต่​เป็น​ใน​ลักษณะ​ ของ​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ที่​ไม่​ สมมาตร ด้วย​เหตุผล​ดา้ น​ความ​แตก​ตา่ ง​และ​หลาก​หลาย​ ใน​แต่ละ​ชนชาติ ใน​ประมวล​กฎหมาย​ท้อง​ถิ่น ปี 2000 (Local Government Act of 2000) ได้​กำหนด​รูป​แบบ​การ​ บริหาร​งาน​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​เอา​ไว้ 3 รูป​แบบ โดย​เป็นการ​ ปรับ​สมดุล​อำนาจ​ระหว่าง​นายก​เทศมนตรี​ท้อง​ถิ่น​กับ​ คณะ​เทศมนตรีแ​ ละ​สภา เพือ่ ย​ ดื หยุน่ ก​ าร​ทำงาน​ใน​แต่ละ​ พื้นที่

การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ใน​ญี่ปุ่น

ใน​ปี 1999 รัฐบาล​ญี่ปุ่น​ได้​มี​การ​เริ่ม​ต้น​ปฏิรูป​ โครงสร้าง​อำนาจ​ใน​ประเทศ​อย่าง​จริงจัง ด้วย​การ​ออก​ ร่าง​กฎหมาย​ส่ง​เสริม​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ (The Package Promoting Decentralization Act) รากฐาน​ของ​การ​จัด​ตั้ง​รัฐ​ ใน​ระดับ​ท้อง​ถิ่น​นั้น ถูก​วาง​ไว้​ ตั้งแต่​สมัย​ปฏิรูป​เมจิ (Meiji Ishin) โดย​เปลี่ยน​จาก​การ​ มอบ​อำนาจ​ให้​ผู้​ว่า​ราชการ​ จั ง หวั ด ไป​เป็ น ​ท้ อ ง​ถิ่ น ​ได้ ​ รับ​การ​ถ่าย​โอน​อำนาจ​จาก​ รัฐบาล​กลาง​โดยตรง เพื่อ​ให้​ เกิด​ความ​คล่อง​ตัว​ใน​การ​ทำงาน แต่ ​ทั้ ง หมด​ยั ง ​ต้ อ ง​อ ยู่ ​ภ าย​ใต้ ​ก าร​ กำกับ และ​แนว​นโยบาย​ที่​รัฐบาล​กลาง​ กำหนด​ไว้ นอกจาก​นี้ เพือ่ เ​พิม่ ศ​ กั ยภาพ​และ​ขดี ค​ วาม​สามารถ​ ใน​การ​ทำงาน​ของ​องค์การ​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น รัฐบาล​ กลาง​ญี่ปุ่น​จึง​ได้​ยุบ​รวม​องค์การ​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น ​ย่อยๆ รวม​กัน​เป็น​ท้อง​ถิ่น​ใหญ่ โดย​มี​การ​เพิ่มอ​ ำนาจ​ให้​ ตาม​ขนาด โดย​เฉพาะ​ทาง​ด้าน​เศรษฐกิจ การ​คลัง และ​ การ​จัดสรร​ภาษี

จาก​พระเอก​ถึง​ผู้​กำกับ มี​คำ​เปรียบ​เทียบ​ว่า หาก​รัฐ​เป็น​พ่อ ก็​เป็น​พ่อ​ที่​ไม่​ ยอม​ปล่อย​ให้​ลูก​เดิน​เอง สุดท้าย ลูก​ก็​กลาย​เป็น​ลูก​แหง่​ที่​ ง่อย​เปลี้ย ไม่​สามารถ​พึ่งพา​ตัว​เอง​ได้ ดัง​ที่​เห็น​กัน​เป็น​ประจำ ม็อบ​เกษตรกร ไม่​ว่า​ข้าว ลำไย อ้อย ต่าง​ต้อง​ยก​ขบวน​กัน​มา​ตั้ง​เต็นท์​ปัก​หลัก​ชุมนุม​ หน้า​ทำ​เนีย​บฯ เพราะ​ผู้​ที่​จะ​สามารถ​จัดการ​เรื่อง​ราคา​ ผลผลิต​ได้ นั่ง​ทำงาน​อยู่​ที่​กรุงเทพฯ ยัง​ไม่​นับ​รวม​การ​ ประท้วง​ปลีก​ย่อย​ที่​ชุมนุม​เรียก​ร้อง​ความ​เป็น​ธรรม​อีก​กว่า​ พัน​ครั้ง​ต่อ​ปี ทั้ง​ที่​ใน​ความ​เป็น​จริง หาก​การ​บริหาร​ และ​กำหนด​นโยบาย​เป็น​ของ​ท้อง​ถิ่น​เอง การ​​ เรียก​ร้อง​เหล่า​นี้​อาจ​จะ​จบ​แค่​ระดับ​อำเภอ หรือ​จังหวัด โครงสร้าง​รัฐ​แบบ​เดิม​มี​ อำนาจ​มาก และ​รัฐบาล​ก็​ทำ​ หน้าที่​ตัดสิน​ใจ​ทุกๆ เรื่อง​แทน​ ประชาชน ทั้ง​เรื่อง​ระดับ​ชาติ​และ​ ระดับ​ชุมชน ซึ่ง​ชวน​สงสัย​ว่า ทำไม​ เรื่อง​เล็กๆ ระดับท​ ้อง​ถนิ่ ชาว​บา้ น​ ถึง​ตัดสิน​ใจ​เอง​ไม่​ได้ ต้อง​นั่ง​รอ​รัฐ​ จัดการ​ให้​ทุก​อย่าง

นั่ น ​เ ป็ น ​เ พราะ​ภ าค​รั ฐ ​กุ ม ​อ ำนาจ​ใ น​ การ​แก้ไข​ปัญหา​ไว้​เอง​ทั้งหมด เรียก​ได้​ว่า​เป็น ‘พระเอก’ สำหรับ​ทุก​งาน ไม่​ว่า​ใคร​มี​ปัญหา​อะไร​ ก็​ต้อง​ยก​ขบวน​มา​ตะโกน​ขอ​ความ​ช่วย​เหลือ​จาก​ รัฐ ‘ท่าน’ นี่ ​คื อ ​ส าเหตุ ​ส ำคั ญ ​ที่ ​ท ำให้ ​ท้ อ ง​ถิ่ น ​แ ละ​ ชุมชน​ออ่ นแอ โครงสร้าง​ของ​ชาติก​ พ​็ ลอย​งอ่ น​แง่น​ ​ตาม​ไป​ด้วย ข้อ​เสนอ​ใน​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ จึง​ เสนอ​ให้​มี​การ​ปรับ​บทบาท​ของ​ หน่ ว ย​ง าน​ภ าค​รั ฐ จาก​ฝ่ า ย​ที่ ​ ต้อง​ลงมือ​แก้​ปัญหา​เอง​ทุก​เรื่อง ให้ ​ห ลบ​ห ลั ง ​ม่ า น แล้ ว ​ป ล่ อ ย​ งาน​หน้า​ฉาก​ให้​ตัว​ละคร​ระดับ​ ท้ อ ง​ถิ่ น ​ไ ด้ ​อ อกโรง​ม า​จั ด การ​ ปัญหา​ต่างๆ เอง แทนทีจ​่ ะ​สวม​บท​พระเอก​ ตลอด​เวลา การก​ระ​จา​ยอำ​นา​จ​ บ่ ​ง บ​อ ก​ถึ ง ​ก าร​เ ปลี่ ย น​ สถานะ​ของ​รัฐ​ให้​เลื่อน​ขั้น​ เป็น​ผู้​กำกับ​แทน

จัดการ​ตนเอง ประเทศไทย​ได้​มี​การ​ออก​พระ​ราช​บัญญัติ​สภา​ตำบล และ​องค์การ​บริหาร​ส่วน​ตำบล เมื่อ​ปี 2537 ทำให้​มี​องค์การ​ บริหาร​ระดับ​ท้อง​ถิ่น​มาก​ขึ้น​เรื่อยๆ ขณะ​ที่​ส่วน​การ​ปกครอง​ ของ​ทาง​ราชการ​ก็​ยัง​คง​ทำงาน​ควบคู่​กัน​ไป ขั้น​ตอน​ต่อ​มา​ของ​การ​ปฏิรูป คือ การ​ปรับ​สมดุล​ทาง​ อำนาจ​ใหม่ร​ ะหว่าง​ศนู ย์กลาง​กบั ท​ อ้ ง​ถนิ่ ซึง่ ห​ มาย​ถงึ ก​ าร​เพิม่ ​ อำนาจ​ให้​กับ​องค์กร​ปกครอง​ท้อง​ถิ่น​ไป​พร้อมๆ กับ​ปรับ​ลด​ บทบาท​หน้าทีข​่ อง​รฐั บาล​บาง​สว่ น​ลง รวม​ไป​ถงึ ข​ า้ ราชการ​จาก​ รัฐบาล​ก็​ต้อง​ผัน​ตัว​ไป​เป็น​บุคลากร​ของ​ฝ่าย​ท้อง​ถิ่น​มาก​ขึ้น เมื่อ​อำนาจ​รวม​ศูนย์​ถูก​กระจาย​ออก 1 องค์กร​ใหญ่​ ก็​สามารถ​แบ่ง​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ไป​ให้ 77 สาขา​ย่อย​ ช่วย​แบ่ง​เบา​ได้ รูป​แบบ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ กลุม่ ต​ า่ งๆ ใน​สงั คม​ไทย​จะ​เปลีย่ น​ไป บริบท​ ของ​การ​ใช้​อำนาจ​จะ​ย้าย​แกน​จาก​แนว​ดิ่ง​ มา​เ ป็ น ​แ นว​ร าบ​ที่ ​ท ำงาน​ไ ด้ ​อ ย่ า ง​มี ​ ประสิทธิภาพ​มาก​ขึ้น เมื่อ​เกิด​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ สิ่ง​ ที่​เปลี่ยน​ไป​ก็​คือ ท้อง​ถิ่น​จะ​สามารถ​ จั ด การ​ตนเอง​ไ ด้ ​เ ต็ ม ​ที่ ตั้ ง แต่ ​เ ริ่ ม ​ต้ น​ กำหนด​นโยบาย แนวทาง​การ​พัฒนา การ​ ศึกษา การ​ท่อง​เที่ยว ระบบ​สาธารณสุข การ​ จัดการ​ทรัพยากร โดย​มี​องค์การ​ปกครอง​ส่วน​ ท้อง​ถิ่น​เป็น​ศูนย์กลาง​คอย​ประสาน​งาน อีกป​ ระเด็นส​ ำคัญท​ จ​ี่ ะ​มา​พร้อม​กบั ก​ ารก​ระ​จา​ยอำ​นา​จ​ การ​ป กครอง​คื อ การก​ร ะ​จ า​ย งบ​ป ระมาณ​แ ละ​ภ าษี ให้ ​ ชุ ม ชน​มี ​อิ ส ระ​ใ น​ก าร​จั ด สรร​ง บ​ป ระมาณ​ข อง​ตนเอง​แ ละ​​ งบ​ประมาณ​จาก​รฐั บาล​กลาง​ได้เ​ต็มท​ ี่ เพราะ​เดิมที ท้อง​ถนิ่ อ​ ยู​่ ใน​ฐานะ​ผู้​คอย​รับ​ส่วน​แบ่ง​จาก​การ​จัดสรร​งบ​ประมาณ​โดย​รัฐ​ เท่านัน้ ทำให้เ​กิดภ​ าวะ​ตอ้ ง​พงึ่ พ​ งิ ร​ ฐั ท้อง​ถนิ่ จ​ งึ เ​ปรียบ​เสมือน​

ครอบครัว​ขนาด​ใหญ่​ที่​ไม่​สามารถ​จัดการ​รายรับ​ ราย​จ่าย​ของ​ตัว​เอง​ได้ แม้​กระทั่ง​ใน​ประเทศ​จีน ที่​ยึดถือ​แนวคิด​ คอมมิวนิสต์​เป็น​ธง​นำ ก็​ยัง​มี​การ​เก็บ​ภาษี​เข้า​รัฐ​ เพียง​ร้อย​ละ 20 ที่​เหลือ​อีก​ร้อย​ละ 80 เป็น​ส่วน​ ของ​รัฐบาล​ท้อง​ถิ่น ใน​ขณะ​ที่​ประเทศไทย​ภาษี​ ถูก​เก็บ​โดย​รัฐ​ส่วน​กลาง แล้ว​ตก​ถึง​มือ​ท้อง​ถิ่น​ เพียง​ร้อย​ละ 25 เท่านั้น การ​จัดการ​ตนเอง​ของ​ท้อง​ถิ่น มี​ข้อ​ยกเว้น 2 เรื่อง ที่​พ้น​ขอบเขต​อำนาจ​ของ​คนใน​ชุมชน คือ เรื่อง​การ​รักษา​ความ​มั่นคง​ของ​ประเทศ เช่น การ​ ทหาร และ​นโยบาย​ดา้ น​ตา่ ง​ประเทศ ซึง่ จ​ ำเป็นต​ อ้ ง​ อยูใ​่ น​ขอบข่าย​การ​ตดั สินใ​จ​ของ​รฐั บาล​กลาง เพือ่ ​ ความ​เป็นเ​อกภาพ​ของ​รฐั ช​ าติ ไม่ว​ า่ ร​ ะดับท​ อ้ ง​ถนิ่ ​ จะ​มี​ส่วน​ได้​ส่วน​เสีย​มาก​น้อย​แค่​ไหน​ก็ตาม รูป​แบบ​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ที่​ก้าว​ไป​ไกล​ ที่สุด​ของ​ประเทศไทย​ใน​ขณะ​นี้ คือ ระบบ​เขต​ ปกครอง​พิเศษ​อย่าง​กรุงเทพฯ และ​พัทยา ซึ่ง​มี​ การ​เลือก​ตั้ง​ผู้​ว่าฯ นายก​เทศมนตรี​เมือง มี​ระบบ​ การ​ทำงาน​เป็น​สภา​ท้อง​ถิ่น ที่​มี​อิสระ​ใน​การ​ ตัดสิน​ใจ​เรื่อง​ต่างๆ ของ​ท้อง​ถิ่น​ได้​โดย​ไม่​ต้อง​ พึ่ง​รัฐบาล​กลาง ดัง​นั้น​สิ่ง​ที่​ประชาชน​ต้องเต​รี​ยม​รับมือ คือ การ​เปลี่ยน​สถานะ​จาก ‘ผู้​รอ​รับ’ เป็น ‘ผู้​จัดการ’​ เพราะ​ห ลั ง ​ก ารก​ร ะ​จ า​ย อำ​น าจ หน้ า ที่ ​ข อง​ พลเมือง​จะ​ไม่ใช่​แค่​การ​พก​บัตร​ประชาชน​ไป​ใช้​ สิทธิ์​เข้า​คูหา​เลือก​ตั้ง​ตาม​แบบ ‘ประชาธิปไตย​​ ไม่​กี่​วินาที’ อีก​ต่อ​ไป


ศ.ดร.สม​ชัย ฤชุพ​ ันธุ์ หนึ่ง​ใน​คณะ​กรรมการ​ปฏิรูป (คปร.) ผู้​ร่าง​ข้อ​ เสนอ​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ เพื่อ​เป็นการ​สมาน​ รอย​เหลือ่ ม​ลำ้ ข​ อง​สงั คม​ไทย ศ.ดร.สม​ชยั ฤชุพ​ นั ธุ์ เปรียบ​ระบบ​อำนาจ​เป็นค​ วาม​สมั พันธ์ท​ เ​ี่ ปลีย่ น​ไป​ จาก​ระบบ​ผู้​ปกครอง-ผู้​ถูก​ปกครอง กลาย​เป็น​ถูก​ กำหนด​ด้วย​ฐานะ​ทาง​เศรษฐกิจ เมื่อ​เวลา​ผ่าน​ไป ระบบ​อำนาจ​ที่​มี​ฐาน​มา​ จาก​เศรษฐกิจ​ก็​ถูก​ท้าทาย​ด้วย​โลกา​ภิ​วัต​น์ เมื่อ​ ประชาชน​ส่วน​ใหญ่​มี​ฐานะ​ดี​ขึ้น การ​รับ​รู้​เปลี่ยน การ​ศกึ ษา​เปลีย่ น คน​ทด​ี่ อ้ ย​กว่าก​ ม​็ โ​ี อกาส​มาก​ขนึ้ ​ ทำให้​สภาวะ​ความ​เป็น​จริง​เริ่ม​เป็น​ปฏิปักษ์​กับ​ รูป​แบบ​ความ​สัมพันธ์​ใน​ขนบ​เดิม “ความ​เ ปลี่ ย นแปลง​เ กิ ด ​ขึ้ น ​ไ ด้ ​ต าม​ ธรรมชาติ แต่ ​ค น​ที่ ​มี ​อ ำนาจ​แ ต่ ​ก่ อ น​เ ก่ า จะ​ พยายาม​ถว่ ง​ไม่ใ​ห้เ​กิดก​ าร​เปลีย่ นแปลง เนือ่ งจาก​ ภาย​ใต้​ระบบ​เก่า เขา​มี​อำนาจ สุข​สบาย คน​ที่​ ถูก​กด​ทับ ก็​ดิ้นรน​อยาก​ให้​เปลี่ยนแปลง​ความ​ สัมพันธ์ เรียก​ร้อง​ให้​มี​ความ​เท่า​เทียม​กัน​มาก​ขึ้น เรียก​ร้อง​สิทธิ​ใน​การ​มี​เสียง มี​ความ​เห็น มี​การ​ สร้างสรรค์​ได้” เมื่อ​พูด​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ความ​สัมพันธ์ โครงสร้าง​อำนาจ​ของ​ประเทศ​คือ​สิ่ง​หนึ่ง​ที่​ต้อง​ ปรับ​ตัว ซึ่ง​สิ่ง​ที่​มี​อิทธิพล​มาก​ที่สุด​ก็​คือ อำนาจ​ รัฐ ซึ่ง​เป็น​ระบบ​รวม​ศูนย์​อำนาจ​ที่​ส่วน​กลาง เมื่อ​ระบบ​ความ​สัมพันธ์​นี้​ต้องการ​เปลี่ยนแปลง แนวคิดก​ ารก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ไป​ให้อ​ งค์การ​ปกครอง​ ส่ ว น​ท้ อ ง​ถิ่ น (อปท.) จึ ง ​เ ริ่ ม ​ต้ น ​ขึ้ น ​ด้ ว ย​ก าร​ ถ่ายทอด​อำนาจ​ไป เพื่อ​ให้​ภาค​ประชาชน กำกับ​ ดูแล ตรวจ​สอบ และ​ได้​มี​ส่วน​ร่วม ใน​การ​ใช้​ อำนาจ​รัฐ​ระดับ​ท้อง​ถิ่น โดยที่​รัฐบาล​กลาง​ต้อง​ ถูก​ลด​บทบาท​หน้าที่​ลง “เรื่อง​ของ​รัฐบาล เช่น การ​ทหาร การ​ ป้องกัน​ประเทศ การ​ต่าง​ประเทศ การ​วางแผน​ เศรษฐกิจ​ส่วน​รวม การ​รักษา​ความ​มั่นคง หรือ​ ระบบ​ยุติธรรม ยัง​เป็น​ของ​ระดับ​ชาติ​อยู่ แต่​การ​ เก็บ​ขยะ กวาด​ถนน การ​สร้าง​สะพาน​ข้าม​คลอง การ​ทำ​ทาง​ระหว่าง​หมู่บ้าน ควร​เป็น​หน้าที่​ของ อปท. จะ​ขุด​บ่อน้ำ​ตรง​ไหน เป็น​รูป​อะไร ก็​ให้​เขา​ ตัดสิน​ใจ​ได้” อย่าง​ที่​เรา​รู้​กัน แนวคิด​นี้​ถูก​ทำให้​เป็น​จริง​ แล้ว​พร้อมๆ กับ​การ​เกิด​ขึ้น​ของ องค์การ​บริหาร​ ส่วน​ตำบล (อบต.) และ องค์การ​บริหาร​ส่วน​ จังหวัด (อบจ.) ซึ่ง​ผู้​หลง​อำนาจ​ใหม่​ส่วน​หนึ่ง ได้​ ผัน​ตัว​จาก​หัว​คะแนน​มา​เป็น​มาเฟีย​ท้อง​ถิ่น​ที่​มี​ กฎหมาย​รองรับ ทำให้บ​ าง​คน​มอง​วา่ สิง่ ท​ ผ​ี่ า่ น​มา​​ คือ​ร่อง​รอย​ของ​ความ​ล้ม​เหลว “รูป​แบบ​ของ​การ​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น จะ​ ไม่​เป็นการ​ส่ง​เสริม​ให้ อปท. มี​อำนาจ​เบ็ดเสร็จ​ เด็ด​ขาด แต่​ให้ อปท. ถูก​กำกับ​โดย​ประชาชน เป็น​สมัชชา​ประชาชน ให้​ประชาชน​เข้า​มา​ยึด​กุม​ อำนาจ​รัฐ​ใน​ระดับ​หนึ่ง และ​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​ใช้​ อำนาจ เพราะ​ฉะนั้น ความ​เสี่ยง​ที่​จะ​เกิด มาเฟีย ผูม​้ อ​ี ทิ ธิพล​มา​ยดึ ก็ย​ งั ม​ อ​ี ยู่ แต่ถ​ า้ ป​ ระชาชน​เข้าใจ

และ​กำกับด​ แู ล​อย่าง​ดี ทีส​่ ำคัญป​ ระชาชน​เลือก​ได้ เป็น​ได้ 4 ปี ถ้า​ไม่​ดี เขา​ก็​ไม่​เลือก” อีก​นวัตกรรม​หนึ่ง​ของ​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ ที่​เกิด​ขึ้น​แล้ว คือ​องค์การ​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​ ใกล้​ตัว​คน​เมือง​อย่าง ‘กทม.’ ซึ่ง​มี​ลักษณะ​เป็น​ เขต​ปกครอง​พิเศษ​ที่​มี​ระบบ​สภา และ​การ​บริหาร​ ที่​ค่อน​ข้าง​เป็น​เอกเทศ​จาก​รัฐบาล​กลาง “กทม. ก็​คือ​องค์การ​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น ที่​จะ​ต้อง​ให้​อำนาจ กทม. มาก​ขึ้น แล้ว​ก็​ต้อง​แยก​ เรื่อง​ของ กทม. กับ​ประเทศไทย ออก​เป็น​คนละ​ เรื่อง รัฐบาล​ตั้ง​อยู่​ใน​กรุงเทพฯ​ได้ แต่​ต้อง​ดู​เรื่อง​ ของ​ประเทศไทย ถ้าเ​ป็นเ​รือ่ ง​ของ กทม. ก็ใ​ห้ กทม. ดูแล เช่น เรื่อง​รถไฟ​ใต้ดิน เป็น​เรื่อง​คน กทม. ฉะนั้น คน กทม. ต้อง​เสีย​ภาษี​เข้า กทม. แล้ว​ เอา​มาส​ร้าง แต่​ตอน​นี้​ภาษี​รัฐบาล​เก็บ​รวม ยัง​ไม่​ กระจาย​ลง​ไป​ให้ท​ อ้ ง​ถนิ่ ถ้าก​ ระจาย​ไป​ให้ถ​ กู ต​ อ้ ง กทม. ก็​จะ​เก็บ​ภาษี​ได้​เยอะ และ​สามารถ​สร้าง​ได้ ไม่ต​ อ้ ง​เอา​ภาษีจ​ าก​ชาวนา​ทแ​ี่ ม่ฮอ่ งสอน มาส​รา้ ง​ รถไฟ​ให้​คน​กรุงเทพ​ใช้ ซึ่ง​มัน​ไม่​แฟร์” ใน​ค วาม​เ ป็ น ​จ ริ ง กรุ ง เทพฯ​ก็ ​เ ป็ น ​อี ก​ สัญลักษณ์ห​ นึง่ ข​ อง​การ​รวม​ศนู ย์ท​ าง​อำนาจ ทัง้ ใ​น​ เรือ่ ง​ราชการ เศรษฐกิจ การ​ศกึ ษา เมือ่ ร​ ะบบ​เมือง​ โต​ขึ้น ช่อง​ว่าง​ระหว่าง​เมือง​กับ​ชนบท​ที่​ถูก​ถีบ​ ออก​จาก​กัน​มาก​ขึ้น สิทธิ​ใน​การ​เข้า​ถึง​ทรัพยากร​ หลาย​อย่าง​ถูก​บั่นทอน​ด้วย​ระยะ​ทาง คน​เมือง​​ ไม่เ​คย​รสู้ กึ ข​ าดแคลน​อำนาจ ใน​ขณะ​ทก​ี่ าร​ปฏิรปู ​ โครงสร้าง​เป็น​เรื่อง​ใหญ่​โต​ของ​คน​ชนบท “จริงๆ ความ​มั่งคั่ง​ทั่ว​ประเทศ​มัน​ถูก​ดูด​ มา​รวม​ที่​ใกล้​กรุงเทพฯ เพราะ​อำนาจ​รัฐ (Force of Attraction) เป็ น ​แ ม่ ​เ หล็ ก ​ดึ ง ดู ด ​กิ จ กรรม​ ทาง​เศรษฐกิจ​และ​ความ​มั่งคั่ง ถ้า​อำนาจ​รัฐ​ไป​ ตั้ง​ที่ไหน กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​จะ​ไป​เกิด​อยู่​ รอบๆ แถว​นั้น ความ​มั่งคั่ง​ที่​เกิด​ขึ้น​จะ​ถูก​ดึงดูด​ ไป​กระจุก​ตัว​ที่​ศูนย์กลาง​อำนาจ ฉะนั้น เมื่อ​เรา​ เอา​อำนาจ​รัฐ​เกือบ​ทั้งหมด​ไว้​ที่​กรุงเทพฯ มัน​ก็​ เลย​เจ​ริญ​เอาๆ กิจกรรม​เศรษฐกิจ​คึกคัก วุ่นวาย เป็น​ศูนย์กลาง​ทุก​อย่าง ศูนย์กลาง​การ​ค้า การ​ ปกครอง การ​ศึกษา วัฒนธรรม อำนาจ “มาเลเซีย​เจริญ​กว่า​ไทย ราย​ได้​ต่อ​หัว​เขา​ สูง​กว่า​เรา เพราะ​เขา​มี​การก​ระ​จา​ยอำ​นา​จรัฐ แล้ว​ก็​มี​เมือง​ระดับ​รอง ที่​ต่าง​จาก​เมือง​หลวง​ไม่​ มาก เมือง​จีน​ก็​มี​เมือง​ใหญ่ๆ ที่​เจริญ​ทัดเทียม​ ปักกิ่ง จริงๆ เซี่ยงไฮ้​ก็​เจริญ​กว่า​ปักกิ่ง เพราะ​เขา​ กระจาย​ทวั่ ภ​ มู ภิ าค จริงๆ จุดร​ าก​เหง้าข​ อง​มนั ค​ อื ​ อำนาจ​รฐั ท​ ร​ี่ วม​ศนู ย์ เรา​กต​็ อ้ ง​ชว่ ย​กนั ค​ ดิ ช่วย​กนั ​ แก้​ปัญหา​ต่อ​ไป”

13

ความ​เปลี่ยนแปลง​เกิด​ขึ้น​ ได้​ตาม​ธรรมชาติ แต่​คน​ที่​ มี​อำนาจ​แต่​ก่อน​เก่า จะ​พยายาม​ถ่วง​ไม่​ให้​ เกิดก​ าร​เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก​ภาย​ใต้​ระบบ​เก่า เขา​มี​อำนาจ สุข​สบาย คน​ที่​ถูก​กด​ทับ ก็​ดิ้นรน​ อยาก​ให้​เปลี่ยนแปลง​ ความ​สัมพันธ์ เรียก​ร้อง​ให้​ มี​ความ​เท่า​เทียม​กัน​ มาก​ขึ้น


14

ชีวิตสมดุล ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว

คืนชีวิต คืนสิทธิ์ คืนโฉนดสู่ชุมชน เ

มื่อ​พูด​ถึง​อำเภอ​พุทธ​มณฑล จังหวัด​นครปฐม หลาย​คน​อาจ​นึกถึง​แต่​สถาน​ที่​สำคัญ​ ทาง​พุทธ​ศาสนา จะ​มี​ใคร​ทราบ​ว่า อีก​ด้าน​หนึ่ง​ของ​อำเภอ​นี้ มี​ชุม​ชน​เล็กๆ แห่ง​หนึ่ง สามารถ​รวม​พลังก​ นั พ​ ฒ ั นา​ตวั เ​อง​สพ​ู่ นื้ ทีน​่ ำร่อง​อนั เ​ป็นห​ มุดห​ มาย​สำคัญข​ อง​กระบวนการ​ ปฏิรูป​ที่ดิน​ประเทศไทย ‘ชุมชน​บา้ น​คลอง​โยง’ เป็นท​ ย​ี่ อมรับใ​น​วง​กว้าง​วา่ เกิดข​ นึ้ จ​ าก​การ​รวม​ตวั ก​ นั เ​หนียว​ แน่น​เป็น​ปึก​แผ่น​ของ​ชาว​บ้าน​ธรรมดา เพื่อ​ต่อ​ต้าน​ไม่​ให้​กลุ่ม​ทุน และ​ฝ่าย​อำนาจ​รัฐ เข้า​ มา​ฮุบ​ผืน​นา ที่​พวก​เขา​อาศัย​ทำ​กิน​มา​ตั้งแต่​ครั้ง​บรรพบุรุษ ตาม​ประวัตบ​ิ า้ น​คลอง​โยง พืน้ ทีบ​่ ริเวณ​นเ​ี้ ดิมทีเ​ป็นข​ อง หม่อม​เจ้าห​ ญิงป​ ระไพ​พศิ พระ​ธดิ า​ใน​รชั กาล​ที่ 4 ซึง่ ท​ รง​อนุญาต​ให้ป​ ระชาชน​เข้าม​ า​อาศัยท​ ำ​กนิ ไ​ด้ จน​กระทัง่ ภ​ าย​หลัง​ เปลี่ยนแปลง​การ​ปกครอง 2475 ที่ดิน​เกือบ​ทั้งหมด​ได้​ถูก​โอน​กรรมสิทธิ์​เป็น​ของ​ราช​ พัสดุ ขึน้ ต​ รง​ตอ่ ก​ รม​ธนารักษ์ หลังจ​ าก​นนั้ ไ​ด้ม​ ก​ี าร​จดั สรร​ทดี่ นิ ใ​ห้ป​ ระชาชน​ทำการ​เกษตร ครอบครัว​ละ 20 ไร่ และ​คิด​ค่า​เช่า​ไร่​ละ 200 บาท​ต่อ​ปี ปี 2518 มี​การ​ประกาศ ‘พระ​ราช​บัญญัติ​การ​ปฏิรูป​ที่ดิน​เพื่อ​เกษตรกรรม พ.ศ. 2518’ กรม​ส่ง​เสริม​สหกรณ์ จึง​ได้​ริเริ่ม​โครงการ​กองทุน​หมุนเวียน​เพื่อ​จัดหา​ที่ดิน​ทำ​กิน​ ใ​ห้เ​กษตรกร โดย​ใช้ง​ บ​ประมาณ​สว่ น​หนึง่ จ​ าก​ภาค​รฐั เ​ป็นเ​งินท​ นุ จ​ ดั ซ​ อื้ ท​ ดี่ นิ และ​ให้ส​ หกรณ์​ เป็น​ผู้​เช่า​ซื้อ​ต่อ​อีก​ทอด​หนึ่ง ‘สหกรณ์​เช่า​ที่ดิน​คลอง​โยง’ ตั้ง​ขึ้น​มา​ เพื่อ​รับ​หน้าที่​สำคัญ​นี้ ครัง้ น​ นั้ มีก​ าร​ตกลง​ซอื้ ข​ าย​กนั ใ​น​ราคา​ ไร่ล​ ะ 2,500 บาท รวม​เป็นเ​งินร​ าว 4.5 ล้าน​ บาท แต่​หลัง​จาก​ที่​ดำเนิน​การ​ไป​แล้ว สิทธิ์​ ใน​การ​ถือ​ครอง​ที่ดิน​ก็​ยัง​ไม่​ตก​มา​ถึง​มือ​ของ​ สห​กรณ์ฯ กลุ่ม​ชาว​บ้าน​ก็ได้​พยายาม​รวม​ตัว​ ​กั น ​เ พื่ อ ​ผ ลั ก ​ดั น ​เ รื่ อ ง​นี้ ​ม า​โ ดย​ต ลอด แต่ ​ หน่วย​งาน​เกีย่ วข้อง​กลับน​ งิ่ เ​ฉย ไม่เ​ร่งด​ ำเนิน​ การ ทำให้ ‘คลอง​โยง’ กลาย​เป็น​มหา​กาพย์​ การ​ต่อสู้​เพื่อ​ที่​ทำ​กิน ที่​มี​ปัญหา​คารา​คา​ซัง​ มากว่า 30 ปี กระบวนการ​สูญ​เสีย​ที่ดิน​ของ​เกษตรกร โดย​ป กติ การ​สู ญ ​เ สี ย ​ที่ ดิ น ​ข อง​ เกษตรกร​ไ ทย​เ ท่ า ​ที่ ​ผ่ า น​ม า​จ ะ​เ กิ ด ​จ าก 2 ปั จ จั ย ​ห ลั ก คื อ ปั จ จั ย ​ด้ า น​โ ครงสร้ า ง​ เศรษฐกิจ​ที่​รัฐ​ต้องการ​สร้าง​ความ​เติบโต​ให้​ แก่​เมือง​และ​ภาค​อุตสาหกรรม ราคา​สินค้า​ เกษตร​ถกู ก​ ำหนด​ให้ต​ ำ่ ใน​ขณะ​ทม​ี่ ลู ค่าส​ นิ ค้า​ อุตสาหกรรม​ถูก​กำหนด​ให้​สูง โครงสร้าง​ เศรษฐกิจ​ที่​บิดเบือน​ดัง​กล่าว ทำให้​ชาวนา​ ประสบ​ปัญหา​หนี้​สิน จน​ต้อง​เป็น​เหยื่อ​การ​ กว้าน​ซื้อ​ที่ดิน​ของ​กลุ่ม​ทุน

อีก​ปัจจัย​หนึ่ง​คือ ระบบ​กรรมสิทธิ์ ซึ่ง​เป็น​แนวคิด​ที่มา​พร้อม​กับ​ระบบ​เสรีนิยม การ​ตัดสิน​ใจ​ขาย​ที่ดิน เป็น​ธุรกรรม​ระหว่าง​ เจ้ า ของ​กั บ ​ผู้ ​ซื้ อ ชุ ม ชน​ไ ม่ มี ​อ ำนาจ​ม า​ ควบคุม​กำกับ หรือ​บังคับ​ไม่​ให้​เปลี่ยน​การ​ ใช้​ประโยชน์​ผืน​ดิน​นั้น จาก​การ​ทำ​นา ทำ​ไร่​ ไป​ท ำ​ธุ ร กิ จ ​อ ย่ า ง​อื่ น ​ซึ่ ง ​ส่ ง ​ผ ลก​ร ะ​ท บ​ต่ อ​ ทรัพยากร​ของ​ส่วน​รวม แต่​ใน​ความ​เป็น​จริง ยัง​มี​อีก​สาเหตุ​ หนึ่ง​ที่​อยู่​นอก​เหนือ​จาก​ปัจจัย​ข้าง​ต้น คือ การ​ป ระกาศ​พื้ น ที่ ​เ ขต​ป่ า ​อ นุ รั ก ษ์ ​แ ละ​ป่ า​ สงวน​แห่ง​ชาติ หรือ​ประกาศ​การ​ครอบ​ครอง​ สิทธิ์​ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ ทับ​ซ้อน​พื้นที่​ทางการ​ เกษตร จน​ท ำให้ ​ช าว​บ้ า น​ต้ อ ง​เ สี ย ​พื้ น ที่ ​ ดัง​กล่าว​ไป​โดย​ไม่​สามารถ​เรียก​ร้อง​อะไร​ได้ ใน​กรณี​ของ​ชุมชน​คลอง​โยง เรา​จะ​ พบ​ว่า​มี​ลักษณะ​สอดคล้อง​กับ​การ​เข้า​ถือ​ ครอง​โดย​รัฐ มากกว่า​ที่​จะ​เกิด​จาก​ปัจจัย​ ด้าน​เศรษฐกิจ หรือก​ าร​ใช้ป​ ระโยชน์จ​ าก​ทดี่ นิ ​ ผิด​ประเภท

ตั ว ​บ ท​ก ฎหมาย​กั บ ​ส ภาพ​ค วาม​เ ป็ น ​จ ริ ง เนื่องจาก​พื้นที่​เดิม​มี​สภาพ​เป็น​ที่​ราช​พัสดุ ซึ่ง​ตาม​มติ​คณะ​รัฐมนตรี (ครม.) เมื่อ​วัน​ที่​ 25 ธันวาคม 2544 ระบุ​ว่า “ที่ดิน​ราช​พัสดุ​ ไม่ ​ค วร​โ อน​ก รรมสิ ท ธิ์ ​ใ ห้ ​แ ก่ ​ส หกรณ์ ​นิ ค ม หรือ​องค์กร​อื่น​ใด และ​ควร​ดำเนิน​การ​จัด​ ทำ​สัญญา​เช่า” ทำให้​ไม่​สามารถ​โอน​ที่ดิน​ดัง​ กล่าว​เป็น​กรรมสิทธิ์​ของ​ชาว​บ้าน​ได้ แม้​จะ​มี​ การ​เช่า​ซื้อ​ก่อน​ไป​แล้ว​หน้า​นี้​หลาย​สิบ​ปี ด้วย​ความ​ไม่​ชัดเจน​ดัง​กล่าว จึง​นำ​ไป​ สู่​การ​ชุมนุม​ใหญ่​ที่​ทำเนียบ​รัฐบาล จน​กระทัง่ ร​ ฐั บาล​ได้ต​ งั้ คณะ​กรรมการ​ อำนวย​การ​เพื่อ​แก้ไข​ปัญหา​ของ​เครือ​ข่าย​ ปฏิ รู ป ​ที่ ดิ น ​แ ห่ ง ​ป ระเทศไทย และ​มี ​ม ติ ​ คณะ​รัฐมนตรี เมื่อ 30 มีนาคม 2553 ว่า​ ให้​ยกเว้น​มติ​คณะ​รัฐมนตรี 25 ธันวาคม 2544 เพื่อ​เปิด​ช่อง​ให้​กรม​ธนารักษ์​สามารถ​ โอน​กรรมสิทธิ์​ที่ดิน​ราช​พัสดุ​คลอง​โยง​เนื้อที่ 1,803 ไร่เ​ศษ ให้ส​ หกรณ์เ​ช่าท​ ดี่ นิ คลอง​โยง​ได้​ เมื่ อ ​ไ ด้ ​รั บ ​ที่ ดิ น ​ม า​แ ล้ ว ก็ ​เ ป็ น ​ง าน​ ใน​ส่วน​ของ​สหกรณ์ นำ​ไป​บริหาร​จัดการ​ การ​ทับ​ซ้อน​ของ​กฎหมาย​และ​ความ​จริง เพื่อ​ประโยชน์​แก่​สมาชิก​ตาม​วัตถุประสงค์​ ปัญหา​ทดี่ นิ ข​ อง​สหกรณ์เ​ช่าท​ ดี่ นิ ค​ ลอง​ เดิม เป็น​ที่มา​ของ​โฉนด​ชุมชน​ฉบับ​แรก​ของ​ โยง เกิด​จาก​ความ​ไม่​สอดคล้อง​กัน ระหว่าง​ ประเทศไทย


15 โฉนด​ชมุ ชน การ​ปรับป​ ระยุกต์เ​พือ่ ฟ​ นื้ ฟูอ​ ำนาจ​ ของ​คน​ธรรมดา แนวคิ ด ‘โฉนด​ชุ ม ชน’ นั้ น เป็ น​ สิทธิ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ร่วม​กัน​ของ​ทุก​ คน โดย​ได้​นำ​รูป​แบบ​การ​อาศัย​พึ่งพา​กัน​ ใน​ชุมชน​แบบ​ดั้งเดิม​ของ​ไทย ผนวก​เข้า​กับ​ การ​ถือ​ครอง​กรรมสิทธิ์​ขาด​ใน​ที่ดิน​แบบ​ สากล ซึ่ง​ทำให้​ที่ดิน​ทั้งหมด​นั้น​ไม่​ได้​เป็น​ เขตแดน​ที่ดิน​ของ​ปัจเจกบุคคล​เท่านั้น แต่​ ยั ง ​มี ​ข อบเขต​อ ำนาจ​ข อง​ชุ ม ชน​ทั บ ​ซ้ อ น​ กำกับ​ไว้​ด้วย บุญล​ อื เจริญม​ ี ประธาน​สหกรณ์เ​ช่า​ ทีด่ นิ ค​ ลอง​โยง เล่าใ​ห้ฟ​ งั ถ​ งึ ทีม​่ า​ของ​แนวคิด​ โฉนด​ชุมชน​ว่า “เรา​ต่ อ สู้ ​เรื่ อ ง​สิท ธิ​ที่ ดิน ​เป็ น​เรื่อ ง​

หลัก เรา​อยาก​ให้​ชาว​บ้าน​มี​สิทธิ์​ใน​พื้นที่​ที่​ ทำ​มา​หากิน​มา​ตั้งแต่​ครั้ง​บรรพบุรุษ ส่วน​ โฉนด​ชุมชน​เป็น​เรื่อง​รอง แรกๆ ชาว​บ้าน​ อยาก​ได้​สิทธิ​เป็น​ราย​ปัจเจก แต่​เมื่อ​มา​คุย​ กันว​ า่ พ​ นื้ ทีข​่ อง​เรา​คอ่ น​ขา้ ง​ลอ่ แ​ หลม​ตอ่ ก​ าร​ ถูก​นายทุน​ซื้อ เพราะ​ไม่​ไกล​จาก​กรุงเทพฯ จึงค​ ดิ ว​ า่ แ​ นวทาง​โฉนด​ชมุ ชน​นา่ จ​ ะ​ใช้ได้ก​ บั ​ พื้นที่​คลอง​โยง” โฉนด​ชุมชน​ของ​ชาว​คลอง​โยง​อาจ​ จะ​เป็น​เรื่อง​แปลก​อยู่​สัก​หน่อย เนื่องจาก​ ไม่​ได้​เป็น​โฉนด​ที่ดิน​ให้​เปล่า​โดย​รัฐ เพราะ​ ทีด่ นิ ผ​ นื ด​ งั ก​ ล่าว​นช​ี้ าว​บา้ น​มก​ี าร​ผอ่ น​ชำระ​ ค่า​งวด​ไป​แล้ว 5.7 ล้าน​บาท มา​ตั้งแต่​ปี 2519 จาก​มูลค่า​ทั้งหมด 6.9 ล้าน​บาท รัฐบาล​จึง​ดำเนิน​การ​มอบ​เงิน​ส่วน​ที่​ยัง​ค้าง​

ใ​ห้​สห​กรณ์ฯ นำ​ไป​จ่าย​กรม​ธนารักษ์ เพื่อ​ รับ​โอน​กรรมสิทธิ์​ที่ดิน​มา​ครอบ​ครอง​อย่าง​ สมบูรณ์ หลัง​จาก​นั้น สำนัก​นายก​รัฐมนตรี จึง​จัด​ทำ​โฉนด​ชุมชน​ขึ้น และ​ได้​มอบ​ให้​ กับ​ชาว​คลอง​โยง​ใน​วัน​ที่ 11 กุมภาพันธ์ 2554 ต่ อ ​ก รณี ​นี้ คลอง​โ ยง น่ า ​จ ะ​เ ป็ น​ ตัวอย่าง​นำร่อง​แก่​ชุมชน​ที่​ตั้ง​อยู่​บน​ที่ดิน​ ราช​พัสดุ​ได้ แต่​สำหรับ​ชุมชน​ใน​เขต​พื้นที่​ ป่า​อนุรักษ์​และ​ป่า​สงวน​แห่ง​ชาติ ก็​อาจ​จะ​ ต้อง​มี​การ​สืบ​ประวัติการ​ครอบ​ครอง​ที่ดิน​ อีกร​ ปู แ​ บบ​หนึง่ รวม​ทงั้ ว​ ธิ ก​ี าร​ออก​โฉนด​ชมุ และ​กฎหมาย​รองรับก​ อ​็ าจ​จะ​ตอ้ ง​มล​ี กั ษณะ​ เฉพาะ​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ไป

เพื่อ​ชุมชน ต้อง​จัดการ​แบบ​สหกรณ์ ด้ า น​แ นวทาง​บ ริ ห าร​จั ด การ​พื้ น ที่ ​ หลัง​ได้​รับ​มอบ​กรรมสิทธิ์ ชาว​คลอง​โยง​มี​ มติร​ ว่ ม​กนั ว​ า่ จะ​ใช้ก​ าร​บริหาร​แบบ​สหกรณ์ โดย​มข​ี อ้ ค​ วร​ระวังส​ ำคัญค​ อื ห้าม​ให้เ​กิดก​ าร​ เปลี่ยน​มือ​ผู้​ถือ​ครอง​ไม่​ว่า​กรณี​ใด หลักก​ าร​ใหญ่ คือ ผูม​้ ก​ี รรมสิทธิต​์ อ้ ง​ เป็น​สมาชิก​สหกรณ์ รับ​ช่วง​ต่อ​ด้วย​ระบบ​ ทายาท​เท่านั้น และ​ต้อง​ใช้​ประโยชน์​ที่ดิน​ ทำการ​เกษตร ห้าม​ปล่อย​ทิ้ง​รกร้าง​หรือ​ ทำ​กิจกรรม​อื่น​ใด​เด็ดข​ าด โดย​มี​ระยะ​เวลา​ ของ​โฉนด 25 ปี และ​ต่อ​ใบ​อนุญาต​ได้​ตาม​ เงื่อนไข​ที่​กำหนด ใน​ส่วน​ที่​ระบุ​ว่า “ต้อง​ใช้​ที่ดิน​เพื่อ​ ทำการ​เกษตร​เท่านั้น” จะ​เป็นการ​จำกัด​ สิทธิ์​ของ​ชาว​บ้าน​มาก​เกิน​ไป​หรือ​ไม่​นั้น เป็นส​ ว่ น​ทค​ี่ นใน​ชมุ ชน​ตอ้ ง​รว่ ม​กนั พ​ จิ ารณา​ ให้​ดี เนื่องจาก​อาจ​ก่อ​ให้​เกิด​ปัญหา​การ​ ผูกขาด​การ​จดั สรร​ทรัพยากร​ทดี่ นิ ท​ จ​ี่ ำเพาะ​ เจาะจง​แก่​กลุ่ม​เกษตรกร​จน​เกิน​ไป จน​ ทำให้​ไม่มี​การ​ขยับ​ขยาย​ใช้​ประโยชน์​ที่ดิน​ ใน​รูป​แบบ​อื่น​เลย นอก​เหนือ​ไป​จาก​เรื่อง​โฉนด​ชุมชน อีก​หนึ่ง​ข้อ​เสนอ​ที่​ชาว​คลอง​โยง​อยาก​ให้​รัฐ​ เข้า​มา​ช่วย คือ จัด​ตั้ง ‘ธนาคาร​ที่ดิน’ เพื่อ​

เข้าม​ า​ดแู ล​การ​จดั ซ​ อื้ ท​ ดี่ นิ บ​ าง​สว่ น​ซงึ่ ก​ ลาย​ เป็นก​ รรมสิทธิข​์ อง​เอกชน แล้วน​ ำ​มา​จดั สรร​ ให้​แก่​เกษตรกร และ​ผู้​ประสงค์​จะ​เช่า ทำ​ ประโยชน์​ใน​ที่ดิน เพื่อ​ป้องกัน​ปัญหา​ที่ดิน​ หลุด​มือ​ไป​สู่​นายทุน แต่​สิ่ง​หนึ่ง​ที่​รัฐบาล​ทั้ง​ใน​ปัจจุบัน​ และ​อนาคต​ต้อง​คำนึง​ถึง​โดย​มอง​ข้าม​ไม่​ ได้ คือ สถานะ​ทาง​กฎหมาย​ของ​ระบบ​ โฉนด​ทดี่ นิ ช​ มุ ชน ต้อง​มค​ี วาม​ชดั เจน​เพือ่ ใ​ห้​ สิทธิข​ อง​ชมุ ชน​ได้ร​ บั ก​ าร​รบั รอง​ถกู ต​ อ้ ง​ตาม​ กฎหมาย เนือ่ งจาก​ปจั จุบนั ม​ เ​ี พียง​ระเบียบ​ สำนั ก ​น ายก​รั ฐ มนตรี ​เ ท่ า นั้ น ที่ ​รั บ รอง​ สถานะ​การ​มี​อยู่​ของ​โฉนด​ชุมชน ซึ่ง​หาก​ ปราศจาก​หลัก​ยึด​ทาง​กฎหมาย​แล้ว ความ​ พยายาม​ที่​หลาย​ฝ่าย​ร่วม​มือ​กัน​ทั้งหมด ก็​ อาจ​กลาย​เป็น​เรื่อง​สูญ​เปล่า

ราคา ปัญหา​หนี้​สิน​ก็ตาม​มา จาก​ปัญหา​ดัง​กล่าว จึง​เป็น​ที่มา​ของ​ แนวคิดร​ ว่ ม​กนั ล​ ดละ​และ​เลิกก​ าร​ใช้ส​ าร​เคมี เพื่อ​ให้​ทั้งคน​และ​ข้าว​หลุด​ออก​จาก​วงจร​ วิกฤติน​ ี้ แต่น​ นั้ ไ​ม่ใช่เ​รือ่ ง​งา่ ย เนือ่ งจาก​เป็น​ แนวทาง​ทส​ี่ วน​กบั ก​ ระแส​ความ​เชือ่ ข​ อง​โลก​ ปัจจุบัน ที่​เกือบ​ทุก​ปัญหา​แก้​ได้​โดย​ด้วย​ สาร​เคมี “วัน​นี้​ชาว​บ้าน​คลอง​โยง​เกือบ​ทั้ง​ ชุมชน​พร้อมใจ​กัน​จะ​กลับ​ไป​ทำการ​เกษตร​ โดย​ไม่​พึ่ง​สาร​เคมี ใช้​ชีวิต​แบบ​บรรพบุรุษ แต่​ก็​คง​เริ่ม​แบบ​ค่อยๆ ทำ เพราะ​ชาว​บ้าน​ ยัง​มี​หนี้​อยู่​อีก​มาก ชาว​บ้าน​มี​ความ​คิด​แน่ว​ แน่ท​ จ​ี่ ะ​ทำให้ช​ มุ ชน​บา้ น​คลอง​โยง​เป็นช​ มุ ชน​ ปลอด​สาร​พษิ ปลอด​หนีส​้ นิ ใช้ช​ วี ติ แ​ บบ​พอ​ เพียง ทำให้พ​ อ​กนิ พ​ อใช้ก​ อ่ น เหลือม​ าก​แล้ว​ ค่อย​เก็บ​ขาย” บุญ​ลือ​กล่าว การ​ได้​รับ​โฉนด​ชุมชน​อาจ​เป็น​อีก​ หนึ่ง​ปัจจัย​ที่​ทำให้​ชาว​บ้าน​ได้​เริ่ม​ต้น​ปรับ​ เปลี่ยน​วิถี​ชีวิต เพราะ​มั่นใจ​แล้ว​ว่า เสียง​ เรียก​ร้อง​ของ​ตน​ได้​รับ​การ​ตอบ​กลับ​เป็น​ ความ​ช่วย​เหลือ​จาก​ภาค​รัฐ​อย่าง​จริงจัง และ​ใน​ส่วน​ของ​รัฐ​เอง​ก็​มี​ความ​จริงใจ​ที่​จะ​ ช่วย​เหลือ​ชาว​บ้าน ทำให้​ทุก​คน​กล้า​ที่​จะ​ ตัดสิน​ใจ​ปรับ​เปลี่ยน​รูป​แบบ​การเกษตร​

ปรับแ​นวคิด​เพื่อ​วิถี​แห่งค​ วาม​ยั่งยืน ไม่​ต่าง​จาก​เกษตรกร​ใน​ชุม​ชน​อื่นๆ ที่​ผ่าน​มา​ชาว​คลอง​โยง​ก็​ยัง​ยึด​วิธี​การ​ทำ​ เกษตร​แผน​ใหม่​เป็น​หลัก มี​การ​ใช้​ปุ๋ย​เคมี​ และ​ยา​กำจัด​ศัตรู​พืช​อย่าง​ไม่​ถูก​ต้อง ทำให้​ ต้นทุน​การ​ทำ​นา​สูง​ขึ้น สุดท้าย​ผล​ที่​เกิด​ขึ้น​ คือ สุขภาพ​ของ​ทงั้ ด​ นิ แ​ ละ​ชาวนา​ทรุดโ​ทรม คุณภาพ​ของ​ผลผลิต​ตกต่ำ เมื่อ​ข้าว​ไม่​ได้​

ออก​จาก​วัฏจักร​ของ​เกษตร​เคมี ไป​สู่​ชีวิต​ แบบ​เดิมๆ กับ​วิถี​ธรรมชาติ หาก​ระบบ​โฉนด​ที่ดิน​ชุมชน​มี​ความ​ ลงตั ว ก็ ​จ ะ​เ ป็ น ​แ นวทาง​ส ำคั ญ​ข อง​ก าร​ ปฏิรูป​นโยบาย​กฎหมาย​ที่ดิน ที่​จะ​ตอบ​ สนอง​ความ​เดือด​ร้อน​ของ​เกษตรกร​ผู้​ไม่มี​ ที่ดิน​ทำ​กิน ซึ่ง​หาก​นำ​ไป​ประสาน​กับ​การ​ ผลัก​ดัน​นโยบาย​ด้าน​อื่นๆ เช่น นโยบาย​ ด้าน​ภาษี​อัตรา​ก้าวหน้า การก​ระ​จา​ยกา​ร​ ถื อ ​ค รอง​ที่ ดิ น การ​พั ฒนา​เ กษตรกรรม​ ยัง่ ยืน การ​จดั การ​ทรัพยากร​โดย​ชมุ ชน และ​ เศรษฐกิจช​ มุ ชน​พงึ่ ต​ นเอง อันจ​ ะ​นำ​ไป​สก​ู่ าร​ จัด​ความ​สัมพันธ์​ใหม่​กับ​ระบบ​ตลาด และ​ โครงสร้าง​เศรษฐกิจ​ให้​มี​ดุลยภาพ​ยิ่ง​ขึ้น

ข้อมูล​อ้างอิง ‘โฉนด​ชุ ม ชน​ท าง​เ ลื อ ก​ข อง​ก าร​จั ด การ​ที่ ดิ น ​แ ละ​ ทรัพยากร​อย่าง​ยั่งยืน’ จาก​มหาวิทยาลัย​เที่ยง​คืน www. midnightuniv.org ‘โครงการ​ศกึ ษา​ระบบ​สทิ ธิใ​น​ทดี่ นิ ของ​ชมุ ชน​ทเ​ี่ หมาะ​ สม’ โดย ผศ.อิทธิพล ศรี​เสาวลักษณ์​ คณะ​นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย ‘โครงการ​วิจัย​เพื่อ​พัฒนา​ระบบ​การ​จัดการ​ที่ดิน​ใน​ เขต​ป่า​ของ​ชุมชน​จังหวัด​แม่ฮ่องสอน’ โดย อารยะ ภู​สาหัส​ (นัก​วิจัย​อิสระ​เพื่อ​การ​พัฒนา​สังคม)


16

เติมหัวใจใส่เงิน

พีชศิลป์ ชนินทร์พงศธร

ภาพ: ชัชชญา วุ่นจินา

ธุรกิจมีหัวใจ

หาก

ไ ข่ ไ ก่ อ า ร ม ณ์ ดี ​คุณ​กำลัง​อิ่ม​เอม​ใจ​ไป​กับ​โฆษณา​สินค้า​สัก​ตัว​

ด้ ว ย​เ หตุ ผ ล​ว่ า ​โ ฆษณา​ชิ้ น ​นั้ น ​แ สดง​ค วาม​​ รับผ​ ดิ ช​ อบ​อนั ด​ อ​ี ย่าง​ใด​อย่าง​หนึง่ ต​ อ่ ส​ งั คม ไม่ว​ า่ จ​ ะ​เป็นส​ ร้าง​ จิตสำนึก​ดี รัก​สุขภาพ รัก​ครอบครัว รักษ์​โลก ร่วม​ประหยัด​ พลังงาน สนับสนุน​การ​ศึกษา สร้าง​ฝัน​เยาวชน ทั้งหมด​ อาจ​พูด​ได้​ว่า เป็น​วิธี​สื่อ​ถึง​ตัว​สินค้า​ใน​รูป​แบบ​เกาะ​เกี่ยว​กับ​ คุณธรรม ค่า​นิยม วิถี​ปฏิบัติ แบบ​ที่​จิตสำนึก​เรา​คอย​เตือน​ให้​ มอง​หา ‘หัว​จิต​หัวใจ’ ท่ามกลาง​ทุนนิยม​ได้​อย่าง​เหมาะ​เหม็ง ถูก​อารมณ์​คน​ปัจจุบัน บทบาท​ที่​องค์กร​ธุรกิจ​แสดงออก​มา​ลักษณะ​นี้ เป็น​ที่​ รู้จัก​กัน​ดี​ใน​ชื่อ ความ​รับ​ผิด​ชอบ​ทาง​สังคม​เชิง​บรรษัท (Corporate Social Responsibility: CSR) ซึ่ง​เดิมที​นั้น ถูก​ ออกแบบ​มา​เพื่อ​เป็น​เครื่อง​ถ่วง​ดุล​องค์กร​ธุรกิจ​ขนาด​ใหญ่​ที่​ แสวงหา​กำไร​ให้​หัน​มา​รู้จัก ‘ตอบแทน’ สังคม​บ้าง และ​ไม่​ว่า​ จะ​อยู่​ใน​รูป​แบบ​โฆษณา​หรือ​กิจกรรม โครงการ​ของ​องค์กร​ ต่างๆ เหล่า​นั้น ก็​ยัง​คง​แอบ​อยู่​กับ​การ​ประชาสัมพันธ์​สินค้า และ​ที่​สำคัญ​คือ เป็น​วิธี​เสริม​สร้าง​ภาพ​ลักษณ์​องค์กร​อย่าง​ดี​ เยี่ยม ทว่า ณ ปัจจุบัน การ​ดำเนิน​ธุรกิจ​ของ​บาง​องค์กร​ก้าว​ ข้าม CSR สู่​การ​เป็น กิจการ​เพื่อ​สังคม (Social Enterprise: SE) มุง่ ด​ ำเนินก​ จิ การ​ตาม​กลไก​ตลาด​เพือ่ บ​ รรลุผ​ ล​ประโยชน์​ ทาง​สังคม สิ่ง​แวดล้อม และ​การ​เงิน ไป​พร้อม​กัน หรือ​พูด​ ง่ายๆ คือ สังคม​มา​ก่อน​กำไร

ปล่อย​ไก่

ต่าง​จาก​ผเ​ู้ ลีย้ ง​ไก่ร​ า​ยอืน่ ๆ อุดม​ชยั ฟ​ าร์ม อำเภอ​พระพุทธบาท จังหวัด​ สระบุรี เป็น​หนึ่ง​ใน​กลุ่ม​กิจการ​เพื่อ​สังคม​ของ​ประเทศไทย เพราะ​ผลิต​ไข่​ไก่​ โดย​ใช้​วิธี​เลี้ยง​แบบ​ปล่อย​ไก่​ตาม​ธรรมชาติ​มา​นาน​กว่า 50 ปี ทิพย์-สุธา​ทิพย์ แสง​วัฒน​กุล อดีต​ตำรวจ​ตระเวน​ชายแดน​ผู้​ทิ้ง​งาน​ ราชการ​มา​หา​ไก่ ใน​ฐานะ​ผด​ู้ แู ล​ดา้ น​การ​ตลาด​ของ​อดุ ม​ชยั ฟ​ าร์ม ซึง่ เ​ป็นธ​ รุ กิจ​ ใน​ครอบครัว ทิพย์ ให้​ข้อมูล​เรื่อง​การ ‘ปล่อย​ไก่’ ว่า “ลักษณะ​การ​เลี้ยง​ของ​เรา​ไม่​เหมือน​เพื่อน เรา​ไม่​ขัง​ไก่ เรา​ปล่อย​ ไก่ เพราะ​เขา​ทรมาน ธรรมชาติ​ของ​สัตว์​คือ​วิ่ง​เล่น ใน​แวดวง​คน​เลี้ยง​ไก่​ ด้วย​กัน​เรา​จะ​เป็น​คน​ที่​เชย เรา​เลี้ยง​ตาม​วิถี​บรรพบุรุษ ใช้​สายลม แสงแดด ตาม​ธรรมชาติ เรา​เชื่อ​ว่า​ธรรมชาติ​ให้​สิ่ง​ที่​ดี​ที่สุด ไม่​ทำ​อะไร​ที่​ผิด​เพี้ยน​จาก​ ธรรมชาติ เรา​ก็​ไม่​ได้​มี​อะไร​วิ​เศษ​วิ​โส​หรอก​นะ ก็​คือ​ธรรมชาติ​นั่น​แหละ” เป็น​ธรรมดา​ของ​ธรรมชาติ ที่​ไม่​สามารถ​ควบคุม​อะไร​ได้ สวน​ทาง​ กับ​ความ​ต้องการ​ของ​คน ไข่​ไก่​ก็​เช่น​กัน ไข่​ลูก​ใหญ่ และ​สี​สวย ย่อม​เป็น​ที่​ ต้องการ​ของ​คน​มากกว่า “เรา​ฝา่ ฟันก​ บั ค​ วาม​คดิ แ​ ปลก​แยก​จาก​คน​อนื่ ม​ า​นาน​พอ​สมควร ไข่ท​ เ​ี่ รา​ ได้ม​ า​คน​กจ​็ ะ​บอก​วา่ ส​ ไ​ี ม่ส​ วย​เมือ่ เ​อา​ไป​เทียบ​กบั ไ​ข่ท​ ไ​ี่ ด้จ​ าก​กรง​ตบั (กรง​เลีย้ ง​ ไก่​แบบ​เป็น​แถว​ยาว อาจ​ซ้อน​กัน 2-3 ชั้น มี​พื้นที่​สำหรับ​ไก่​เพียง​ประมาณ 20 ตาราง​เซนติเมตร ต่อ 1 ตัว นิยม​ใช้​สำหรับ​เลี้ยง​ไก่​ไข่​ขาย เพราะ​สะดวก​ แก่​การ​เติม​อาหาร เก็บ​ไข่ และ​ทำความ​สะอาด​มูล​ไก่) เพราะ​เรา​ไม่​ใส่​สาร​สี แต่​กรง​ตับ​เขา​ให้​อาหาร​ที่​มี​การ​ผสม Red Chlorophyll ลง​ไป กำหนด​สี​ได้​ว่า​ จะ​เอา​เฉด​ส้ม​ขนาด​ไหน ซึ่ง​คน​ไทย​ชอบ”


จุด​เริ่ม​ต้น​สู่​ธรรมชาติ

เริ่ม​แรก อุดม​ชัย​ฟาร์ม​ยัง​เลี้ยง​ไก่​แบบ​ใช้​ยา​ปฏิชีวนะ แต่​เมื่อ​น้อง​สะใภ้​ผู้​ดูแล​ การ​ขาย​ของ​ครอบครัวล​ ม้ ป​ ว่ ย​ดว้ ย​โรค​มะเร็ง ทิพย์พ​ ยายาม​เสาะ​หา​ทกุ ต​ ำรา​สขุ ภาพ​ เพื่อ​ดูแล​น้อง​สะใภ้ แนวคิด​การ​ดำเนิน​ธุรกิจ​จึง​เริ่ม​เปลี่ยน​ไป “การ​เลี้ยง​แบบ​ปล่อย​ไก่ ต้อง​เลือก​อาหาร​ที่​สมดุล​ทาง​โภชนาการ หาก​ซื้อ​ อาหาร​จาก​ผค​ู้ า้ ร​ าย​อนื่ จ​ ะ​คมุ ค​ ณ ุ ภาพ​ไม่ไ​ด้ หาก​สาร​อาหาร​ไม่เ​พียง​พอ ไก่จ​ ะ​มอ​ี าการ​ เครียด​และ​จิก​ตี​กัน​จน​ตาย” ทิพย์​เริ่ม​ต้น​ด้วย​การ​ผสม​อาหาร​เอง โดย​นำ​ขี้​ไก่​ไป​แลก​เปลี่ยน​กับข้าว​โพด​ จาก​ชาวไร่ ชาวไร่​ก็​นำ​เอา​ขี้​ไก่​ไป​เป็น​ปุ๋ย ใช้​ระบบ​แลก​เปลี่ยน​ระหว่าง​เกษตรกร​ด้วย​ กัน ไม่​ต้อง​เสีย​สตางค์​เพิ่ม “ตอน​นนั้ เ​รา​คยุ ก​ นั ใ​น​ครอบครัว รูว​้ า่ ม​ า​ถกู ท​ าง​แล้วเ​รือ่ ง​สวัสดิภาพ​สตั ว์ (Animal Welfare) แต่​ใน​ราย​ละเอียด​ที่​จะ​ไป​ให้​ลึก​กว่า​นั้น คือ​การ​ทำให้​เป็น​ออร์แกนิ​ก มัน​ยัง​ไป​ไม่​ถึง เพ​ราะ​ทุกๆ วัน​เรา​ยัง​เลี้ยง​ไก่ ยัง​ใช้​ยา เพราะ​ไก่​เรา​เยอะ การ​ถอน​ยา​ ออก​ไม่ใช่​เรื่อง​ง่าย เมือง​ไทย​อากาศ​ร้อน มัน​เป็น​โรค​ประจำ​ถิ่น หาก​เลี้ยง​ไก่​เยอะๆ มัน​ยัง​จำเป็น​ต้อง​พึ่ง​ยา​ปฏิชีวนะ​สารพัด” เมื่อ​เกิด​วิกฤติ​ไข้​หวัด​นก​ใน​ปี 2546-2547 อุดม​ชัย​ฟาร์ม​เป็น​หนึ่ง​ใน​ไม่​กี่​ แห่ง​ที่​เหลือ​รอด​มา​ได้ ทั้ง​ที่​ตอน​นั้น​ไข่​ไก่​ราคา​ตกลง​เหลือ​เพียง​ฟอง​ละ 50 สตางค์ หนำซ้ำ​ยัง​ถูก ‘ชัก​ดาบ’ โกง​ค่า​ไข่ ทำให้​ราย​จ่าย​เพิ่ม​ทวีคูณ จึง​จำเป็น​ต้อง​ขาย​ราคา​ ขาดทุน​เพื่อ​ความ​อยู่​รอด หลังผ​ า่ น​พน้ ว​ กิ ฤติ ทิพย์ก​ ลับม​ าท​บท​วน​วา่ จ​ ะ​ไป​ตอ่ ท​ าง​ไหน จึงล​ ด​ปริมาณ​ไก่​ จาก​หลักแ​ สน​เหลือเ​พียง​หลักห​ มืน่ หันม​ า​ใช้ร​ ะบบ​การ​จดั การ​ดา้ น​ความ​ปลอดภัยท​ าง​ ชีวภาพ (Biosecurity) โดย​ใช้ส​ มุนไพร​ไทย​และ​นำ้ ห​ มักช​ วี ภาพ​แทน​ยา​ปฏิชวี นะ ดูแล​​ รักษา​สภาพ​แวดล้อม ปลูก​ต้นไม้​เพิ่ม รักษา​ระบบ​นิเวศ เพื่อ​ให้​มี​อากาศ​ที่​ดี​และ​​ ปลอด​โปร่งบ​ ริเวณ​ฟาร์ม​ไก่ จน​ใน​ทส่ี ดุ ​ก​ส็ ามารถ​ถอน​ยา​ปฏิชวี นะ​ออก​จาก​ฟาร์ม​สำเร็จ “มัน​ค่อยๆ เริ่ม ไม่ใช่​ปุบปับ​เป็น​ออร์แกนิ​ค มัน​มี​ที่มา​ที่​ไป ที่​สำคัญ​คือ​เวลา​ ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน มัน​มี​ความ​เจ็บ​ปวด​ระหว่าง​ทาง มัน​มี​เหตุ มี​สิ่ง​ที่​เรา​รู้​ว่า ถ้า​เดิน​ ไป​ทาง​นี้ เรา​จะ​เดิน​สู่​เส้น​ทาง​แห่ง​ความ​ตาย สุขภาพ​เรา​จะ​ย่ำแย่ ธุรกิจ​เรา​ก็​จะ​ไป​ ไม่​รอด” กระทัง่ น​ อ้ ง​สะใภ้จ​ าก​ไป ทิพย์ต​ ดั สินใ​จ​ยา้ ย​มา​อยูท​่ ก​ี่ รุงเทพฯ และ​เริม่ ห​ นั ห​ ลัง​ ให้ฟ​ าร์ม จน​แทบ​จะ​ถาวร โชค​ดท​ี ร​ี่ ะหว่าง​นนั้ น​ ำ​ไข่ไ​ก่ม​ า​วาง​ขาย​ทร​ี่ า้ น​อาหาร​มงั สวิรตั ิ ‘บ้าน​สวน​ไผ่’ เป็น​จุด​เริ่ม​ต้น​ให้​พบ​กับ​กลุ่ม​ผู้​มี​ความ​ต้องการ​สินค้า​เกษตร​อินทรีย์ ลูกค้า​จึง​ชักชวน​ทิพย์​ให้​นำ​ไข่​ไก่​ไป​วาง​ขาย​ที่​โรงเรียน​รุ่งอรุณ เขต​จอมทอง “โรงเรียน​มีน​โย​บาย​ให้​ทุก​คน​หิ้ว​ตะกร้า​มา หรือ​แพ็ค​เก่า​ยี่ห้อ​ไหน​ก็ได้ คุณ​ไม่​ ต้อง​ทิ้ง​นะ คุณ​เอา​กลับ​มา เรา​จะ​หิ้ว​ไข่​เป็น​มัดๆ ไป​จัด​ใส่​แพ็ค เป็นการ​รี​ยูส ไม่​สิ้น​ เปลือง เขา​ประหยัด​ค่าที่​จะ​ต้อง​มา​ซื้อ​แพ็คเกจ​เรา เรา​ก็​ไม่​ต้อง​นั่ง​แพ็ค”

ธุรกิจ​ใส่ใจ ไม่​จำกัด

ไข่​ไก่​อารมณ์​ดี​ของ​อุดม​ชัย​ฟาร์ม​เปิด​ตลาด​อย่าง​ไม่​รีบ​ร้อน จาก​วาง​ขาย​​ ใน​เลมอน​ฟาร์ม ร้าน​ขาย​สินค้า​อินทรีย์ กระทั่ง​มี​โอกาส​วาง​ขาย​ใน​ห้าง​สรรพ​สินค้า​ ชั้น​นำ แต่​ด้วย​ราคา​ที่​สูง​กว่า​ไข่​ไก่​ปกติ จึง​ทำให้​กลุ่ม​ลูกค้า​ยัง​น้อย “เรา​มี​ค่า​การ​จัดการ​นะ ไม่ใช่​แค่​เลี้ยง​ไก่​อย่าง​เดียว เรา​ทำ​สภาพ​แวดล้อม​ให้​ ไก่​ด้วย ดูแล​ธรรมชาติ ดูแล​คน​เลี้ยง​ด้วย เขา​ต้อง​ตื่น​ตี 4 ตี 5 ประมาณ 5 โมง​ครึ่ง​ แล้ว เขา​ไม่​ได้​เซ็น​ชื่อ​ออก ยัง​ต้อง​ผูกพัน​กับ​ไก่ เช่น ดึกๆ อากาศ​เริ่ม​เย็น​ต้อง​ตื่น​มา​ ดู​ไก่ เปิด​พัดลม​แรง​ไป​ไหม ถ้า​เปิด​ไว้​ตอน​เช้า​ไก่​จะ​เป็น​หวัด” ไม่ใช่เ​พียง​เพราะ​เป็นส​ นิ ค้าท​ ำ​กำไร แต่เ​หมือน​สมาชิกใ​น​ครอบครัวท​ ต​ี่ อ้ ง​คอย​ ประคบประหงม การ​ดูแล​ไก่​จึง​ต้อง​ควบคุม​ใส่ใจ​อย่าง​ดี​ใน​ทุก​ขั้น​ตอน ไม่ใช่​คอย​แต่​ เวลา​ออก​ไข่ “อย่าน​ กึ ว​ า่ ซ​ อื้ ไ​ข่อ​ ย่าง​เดียว นึกไ​ป​ถงึ แ​ ม่ไ​ก่ด​ ว้ ย​วา่ ทีต​่ น้ ทาง​เขา​อยูย​่ งั ไ​ง นึกไ​ป​ ถึงค​ น​ปลูกข​ า้ วโพด​ดๆ ี ทำ​ขา้ ว​ดๆ ี คน​ทจ​ี่ บั ป​ ลา​มา​ทำ​ปลา​ปน่ คน​ทท​ี่ ำ​กาก​ถวั่ เ​หลือง​ ปลอด​จีเอ็มโอ กว่า​จะ​เป็น​ไก่ กว่า​จะ​ออก​มา​เป็น​ไข่” การ​ทำ​สนิ ค้าเ​กษตร​อนิ ทรียจ​์ งึ ไ​ม่ใช่เ​รือ่ ง​งา่ ย แม้แต่เ​กษตร​อำเภอ​ไป​นงั่ ค​ ยุ ด​ ว้ ย​ ตัวเ​อง เกษตรกร​ยงั ไ​ม่ย​ อม​ทำ เพราะ​ไม่ม​ นั่ ใจ​ปริมาณ​ผลผลิตท​ จ​ี่ ะ​ได้ ทิพย์บ​ อก​วา่ ถ้า​ ไม่ใช่ก​ ลุม่ ท​ ม​ี่ งุ่ ม​ นั่ แ​ ต่แ​ รก บางทีต​ อ้ ง​เป็นก​ลมุ่ ค​ น​ทเ​ี่ ดน​ตาย​จริงๆ ทีผ​่ า่ น​ประสบการณ์​ ไม่มี​เงิน​ซื้อ​ปุ๋ย​มา​แล้ว ถึง​จะ​พลิก​มา​อยู่​กับ​ธรรมชาติ​ได้ “ภาค​รัฐ​เอง​ก็​มี​งา​นอื่นๆ มากมาย​เกิน​กว่า​ที่​จะ​ให้​เวลา​กับ​เรื่อง​สำคัญ​ที่สุด​ ใน​ชีวิต เรื่อง​กิน​เป็น​เรื่อง​ที่​สำคัญ​ที่สุด​ใน​ชีวิต แต่​เรา​ไป​ห่วง​เรื่อ​งอื่นๆ แล้ว​ปล่อย​ เรื่อง​กิน​ไป​ตาม​ยถากรรม อยู่​อัน​ดับ​ท้ายๆ เรา​บอก​หน่วย​งาน​ที่​เกี่ยวข้อง​เสมอ​ว่า อุดม​ชัย​ฟาร์ม​อาจ​เป็น​แค่​ตำนาน​ของ​การ​เลี้ยง​สัตว์​แบบ​ปล่อย กรม​จะ​ยัง​อยู่ แต่​เรา​

อาจ​ไป​ก่อน เรา​พยายาม​พูด​แสดง​ความ​คิด​เห็น หวัง​ว่า​คน​ที่​มี​แรง​ใน​สังคม​จะ​หัน​มา​ช่วย​ กระตุ้น” ปัญหา​หนึง่ ท​ เ​ี่ กษตรกร​มกั พ​ บ​เมือ่ ร​ ฐั เ​ข้าไป​สง่ เ​สริมค​ อื องค์กร​ตา่ งๆ จะ​เข้าม​ า​ดง​ู าน​ ​จน​ชาว​บ้าน​ไม่มี​เวลา​ทำ​มา​หากิน เพราะ​ต้อง​คอย​มา​บรรยาย​สรุป​ให้​ฟัง สำหรับ​อุดม​ชัย​ ฟาร์มน​ นั้ ไม่อ​ นุญาต​ให้ค​ นนอก​เข้า เนือ่ งจาก​ตอ้ ง​รกั ษา​ความ​สะอาด​และ​ปอ้ งกันเ​ชือ้ โ​รค​ ที่​อาจ​ปน​เปื้อน​ติด​มา​กับ​ร่างกาย​ผู้​มา​เยือน “เรือ่ ง​ความ​สะอาด​เป็นเ​รือ่ ง​สำคัญ เพราะ​ถา้ เ​รา​สกปรก​เมือ่ ไ​หร่ โรค​จะ​มา​เยือน แต่​เรา​เป็น​ฟาร์ม​ที่​สะอาด​มาก นั่น​คือ​แหล่ง​ที่​เรา​จะ​ผลิต​อาหาร​ให้​คน​กิน ทุก​อย่าง​ต้อง​ดี สิ่ง​ที่​เรา​เอา​มา​ขาย​คือ​สิ่ง​ที่​ลูก​เรา​กิน​ได้ นั่น​คือ​มาตรฐาน”

ตลาด​ไข่อ​ ินทรีย์

กระทรวง​พาณิชย์​พยายาม​หา​ลู่ทาง​ให้​มี​สินค้า​เกษตร​อินทรีย์ แต่​เพราะ​ผู้​ผลิต​กับ​ ผู้​บริโภค​ไม่มี​โอกาส​เจอ​กัน ทำให้​เปิด​ตลาด​ยาก ตัว​สินค้า​ก็​ต้อง​มี​คุณภาพ มี​มาตรฐาน ซึ่ง​แน่นอน​ว่า คำ​ว่า​มาตรฐาน​หมาย​ถึง​เงิน​หลาย​แสน​ที่​ต้อง​จ้าง​องค์กร​เข้า​มา​รับรอง ค่า​ ใช้​จ่าย​เหล่า​นี้​ย่อม​สูง​กว่า​ระบบ​การ​เลี้ยง​แบบ​คอน​โด​ไก่ ยัง​ไม่​รวม​ถึง​ต้นทุน​อาหาร​ที่​คัด​ วัตถุดิบ จำนวน​ไก่​ที่​น้อย​กว่า​ต่อ​พื้นที่ ผลผลิต​ที่​น้อย​กว่า ราคา​ไข่​ที่​ขาย​แพง​กว่า​อาจ​ เทียบ​ไม่​ได้​กับ​ต้นทุน “การ​ทำ​ธุรกิจ​ทุกๆ ตัว​มัน​ต้อง​ดู​ต้นทุน ดู​การ​จัดการ ที่​เรา​ทำ​มัน​เหมือน​ช่วง​เวลา​ ผ่าน​มา​เรา​ค่อยๆ เปิด​ตลาด สิ่ง​ที่​เรา​พยายาม​ทำ​คือ​ดูแล​คุณภาพ​ของ​เรา​ให้​ดี​ที่สุด ทำ​ ไป ไม่​ต้อง​บ่น กำไร​ของ​เรา​เป็น​สตางค์ แต่​กำไร​ที่​ได้​ไม่ใช่​แค่​เม็ด​เงิน เรา​ได้​มากกว่า​นั้น ลูกค้า​โทร​มา​ขอบคุณ​ที่​ทำ​ไข่​แบบ​นี้ เพราะ​ลูกชาย​ของ​เขา​ทาน​ไข่​ของ​เรา​แล้ว​ไม่​แพ้ หรือ​ กลุ่ม​คนไข้​ที่​เป็น​โรค​ไต โรค​มะเร็ง ต้อง​ทาน​ไข่​ขาว เขา​รวม​ตัว​กัน​ซื้อ​ไข่​เรา ซึ่ง​เรา​ไม่​ได้​คิด​ มา​ก่อน​ว่า​ไข่​ของ​เรา​จะ​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​คน​ป่วย” นับ​ว่า​เป็น ‘Go Green’ ตาม​แบบ​ฉบับ​สมัย​ใหม่ แต่​ทิพย์​เรียก​ว่า เป็นการ ‘คืน​สู่​ สามัญ คืน​สู่​ธรรมชาติ’ มากกว่า ตัวอย่าง​ที่​เห็น​ชัด เช่น ใน​สหรัฐอเมริกา​กำลัง​จะ​ออก​ กฎหมาย​ว่า ปี 2012 จะ​ไม่มี​กรงขัง​สัตว์ ทุก​คน​ต้อง​เข้า​สู่​ระบบ​ปล่อย จะ​เป็น​ออร์แกนิ​ก​ ห​รือ​ไม่​ก็ได้ แต่​อย่าง​น้อย​ต้อง​มี​สวัสดิภาพ​ให้​สัตว์​มี​สิทธิ์​ดำรง​ชีวิต​ตาม​ธรรมชาติ “ถาม​ว่า​สุดท้าย​ไก่​ไป​ไหน ตาย​เหมือน​กัน คน​ก็​ตาย เพียง​แต่​การ​เดิน​ทางใน​ชีวิต​ ของ​เขา เขา​จะ​อยู่​ได้​นาน อยู่​ด้วย​สุขภาพ​ที่​แข็ง​แรง อยู่​อย่าง​สบาย” ถึง​จุด​นี้ ทิพย์​มี​ความ​สุข ภาค​ภูมิใจ และ​สุขใจ​ที่​ได้​ทำ​สิ่ง​ดีๆ ผลิต​ไข่​ไก่​ดีๆ ให้​ผู้​อื่น​ ​รับ​ประทาน ไม่​ว่า​บทบาท​ไหน อาชีพ​ไหน ปฏิเสธ​ไม่​ได้​ว่า​ชิ้น​ส่วน​นี้​คือ​เงื่อนไข​สำคัญ​ใน​การ​ทำ​ ธุรกิจ ที่​ทำให้​กล้า​บอก​ผู้​อื่น​ได้​เต็ม​ปาก​เต็ม​คำ​ว่า​เรา ‘กำลัง​ทำ​อะไร’ “ถ้าเ​รา​ไม่เ​ชือ่ ม​ นั่ ใ​น​สงิ่ ท​ ท​ี่ ำ เรา​จะ​อยูไ​่ ม่ไ​ด้ มันส​ ำคัญท​ ว​ี่ า่ เ​นือ้ ใ​น​เรา​คอื อ​ ะไร บางที​ บอก​ว่าการ​ทำ​ธุรกิจ​เพื่อ​สังคม​ต้อง​จน มัน​ไม่​จำเป็น การ​ทำ​ธุรกิจ​ของ​คน​สมัย​นี้​กับ​คน​​ สมัย​ก่อน​ไม่​เหมือน​กัน จะ​เห็น​ว่า​ระบบ​ที่​มัน​แย่ๆ โกง​กัน​ไป​โกง​กัน​มา เพราะ​คุณ​ไม่มี​ คุณธรรม คิด​แต่​จะ​รับ​อย่าง​เดียว คุณ​ทำ​นั่น​นี่ แล้ว​เดี๋ยว​ก็​ล้ม​บริษัท “แต่​ทำ​ธุรกิจ​แบบ​ดั้งเดิม เรา​คิดถึง​ว่า​คน​รุ่น​ลูก​เรา เขา​จะ​ยัง​สืบสาน​ธุรกิจ​ของ​ เรา​ได้​หรือ​เปล่า รุ่น​พ่อ​แม่​สร้าง​ชื่อ​เสียง​ไว้​ดี ใครๆ ก็​อยาก​ขาย​ของ​ให้​เรา เรา​ไม่​โกง​ใคร​ มี​เงินสด​จ่าย​สด เครดิต​กี่​วัน​จ่าย​ตาม​นั้น การ​รักษา​คำ​พูด​เป็น​เรื่อง​สำคัญ​ใน​การ​ทำ​ธุรกิจ ไม่ใช่​เรื่อง​แค่​ว่า ทำ​ไข่ แหม มี​คุณค่า มัน​ไม่ใช่ ทุกๆ ก้าว​ใน​การ​ทำ​ธุรกิจ ต้อง​คิด​ดี ทำ​ด​ี คิด​ให้​ถ้วน​ถี่”


18

ตอบปัญหาเศรษฐกิจ รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทศพร มัณฑน​วีร​กุล ผู้​ประกอบ​การ​รับ​ทำ​ป้าย​โฆษณา

ธวัช​ชัย เกษ​คำ​ขวา พนักงาน​บริษัท

มานพ ศรี​ทอง​สถิตย์ ผู้​ส่ง​ออก​เฟอร์นิเจอร์

สุภาพ วงศ์​จักร​คำ ข้าราชการ​บำนาญ

ไม่​ทราบ​ว่าการ​ทรี่​ ัฐ​จะ​ลด​วงเงิน​คุ้มครอง เงิน​ฝาก​เหลือ​ไม่​เกิน 50 ล้าน​บาท​ต่อ​ หนึ่ง​บัญชี ตั้งแต่​วัน​ที่ 11 สิงหาคม และ​ ปี​หน้าว​ ัน​เดียวกัน​ก็​จะ​ลด​วงเงิน​คุ้มครอง​ เงิน​ฝาก​อีก​จน​เหลือไ​ม่​เกิน 1 ล้าน​บาท ผม​ควร​จัดการ​เงิน​ฝาก​อย่างไร​ดี เพราะ​กลัว​ กระทบ​เงิน​หมุนเวียน​ใน​ร้าน

อยาก​จะ​ทราบ​ว่า ถ้าห​ าก​ขอ​กู้​เงิน​ซื้อ​ บ้าน​จาก​โครงการ​บ้าน​หลัง​แรก ดอกเบี้ย 0 เปอร์เซ็นต์ นาน 2 ปี ของ​ธนาคาร​ อาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ใน​ระหว่าง​ ที่ทำการ​ผ่อน​ค่าง​วด​อยู่ ธนาคาร​นำ​สิน​เชื่อ​ จำนอง​ไป​ขาย​ต่อ​ใน​ตลาด​หุ้น​กู้ (Bond Markets) ผม​มี​ความ​เสี่ยง​ไหม

ผม​มี​โครงการ​จะ​ขยาย​สินค้า​ไป​ทยี่​ ุโรป ไม่​ ทราบ​ว่าการ​ขยาย​อายุส​ ิทธิ​พิเศษ​ทาง​ภาษี​ ศุลกากร​เป็นการ​ทั่วไป (GSP) ของ​สหภาพ​ ยุโรป​ออก​ไป​อีก 2 ปี จนถึง 31 ธันวาคม 2556 จะ​ให้​ผล​ดี​ต่อ​ธุรกิจ​ผม​อย่างไร​บ้าง

หลัง​เกษียณ​อายุไ​ด้​เงิน​มา​ก้อน​หนึ่ง แต่​ว่า​ บ้าน​เดี่ยว​ใน​เขต​ชานเมือง​ก็​ราคา​แพง​เกิน​ที่​จะ​ ซื้อ​ได้ รัฐ​ควร​มีน​โย​บาย​ใน​การ​ช่วย​เหลือ ​ข้าราชการ​บำนาญ​ที่​ต้องการ​ซื้อ​บ้าน​ อย่างไร

รศ.ดร.ณรงค์ เพ็​ชร​ประเสริฐ: GSP อาจ​เป็น​ปัจจัย​หนึ่ง แต่​ที่​สำคัญ​กว่า คือ​ รศ.ดร.ณรงค์ เพ็​ชร​ประเสริฐ: การ​ ต้อง​ดู​ว่า​ศักยภาพ​ใน​การนำ​เข้า​ของ​ตลาด​ เอา​ตราสาร​หนี้​ไป​ขาย​ต่อ​ใน​ตลาด​หุ้น​กู้ ยุโรป​เพิ่ม​ขึ้น​หรือ​ลด​ลง ถ้า​ภายใน 1-2 คือผ​ ป​ู้ ล่อย​กจ​ู้ ะ​เอา​สนิ เ​ชือ่ จ​ ำนอง​ไป​รวมๆ ปี​นี้ ศักยภาพ​การนำ​เข้า​ไม่​ได้​เพิ่ม​ขึ้น ยิ่ง​ กันแ​ ล้วแ​ ปลง​เป็นห​ ลักท​ รัพย์ (Securitiza- ตอน​นี้​มา​เจอ​ปัญหา​การ​ล้ม​หนี้​ใน​สเปน​ tion) ซึ่ง​ตราสาร​จะ​โอน​มือ​กัน​ได้ เช่น ถ้า​ และ​โปรตุเกส​อีก จน​ส่ง​ผล​ต่อ​กำลัง​ซื้อ​ สัญญา​เงิน​กู้ 1 ล้าน​บาท ผู้​ปล่อย​กู้​อาจ​ โดย​รวม​ของ​คนใน​ยุโรป เมื่อ​กำลัง​ซื้อ​ไม่มี​ จะ​เอา​สัญญา​ไป​ขาย 1 ล้าน 5 หมื่น​บาท ศักยภาพ​ใน​การนำ​เข้า​ก็​ลด​ลง นอกจาก​นี้ ใน​ยุโรป​กำลัง​จะ​เกิด​ โดย​ผซ​ู้ อื้ ต​ ราสาร​นนั้ ห​ วังว​ า่ พ​ อ​ครบ​กำหนด​ ผ่อน​ชำระ​แล้ว​จะ​ได้​ดอกเบี้ย​มากกว่า​เงิน​ ปัจจัย​ขัด​ขวาง​การ​ค้า​ที่​ไม่ใช่​ภาษี (Non Tariff Barriers: NTBs) ตัว​ใหม่ คือ Carที่​จ่าย​ไป ผม​ว่ า ​ผู้ ​กู้ ​ไ ม่ ​น่ า ​ไ ด้ ​รั บ ​ผ ลก​ร ะ​ท บ bon Footprint (CF) หมายความ​วา่ สินค้า​ เพราะ​ไม่ว​ า่ ต​ ราสาร​จะ​เปลีย่ น​มอื ไ​ป​กค​ี่ รัง้ ​ ที่มา​จาก​ต่าง​แดน สิ้น​เปลือง​เชื้อ​เพลิง​ ผู้ ​กู้ ​ก็ ​ผ่ อ น​ต าม​สั ญ ญา​ที่ ​เ ซ็ น ​ไ ว้ ​ตั้ ง แต่ ​ ใน​ก าร​ข น​ส่ ง ​ม ากๆ สิ น ค้ า ​เ หล่ า ​นั้ น​ ครั้ง​แรก น่า​จะ​กระทบ​ผู้​ที่​ถือ​สัญญา​เงิน​ก​ู้ ​ก็ ​จ ะ​ถู ก ​ตั้ ง ​ก ำแพง​เ นื่ อ งจาก​ท ำให้ ​เ กิ ด​ สมมุ ติ ​ว่ า ​สั ญ ญา​กู้ ​มั น ​ล้ ม ​เ หลว ผู้ ​กู้ ​ไ ม่ ​ คาร์ บ อนไดออกไซด์ ​ม าก สมมุ ติ ​ร าคา​ สามารถ​จ่าย​เงิน​ตาม​สัญญา​ได้ สัญญา​ สินค้า 100 บาท อาจ​ถ​กู ก็บค​ ่าค​ าร์บอนฯ พวก​นี้​ก็​จะ​กลาย​เป็น Subprime Loan 10 บาท เป็น 110 บาท เพราะ​ฉะนั้น ใน 2-3 ปีข​ า้ ง​หน้า การ​ทเ​ี่ รา​จะ​ผลีผลาม​ขยาย​ คือ สัญญา​ที่​ไม่​สามารถ​คืนเ​งิน​กู้​ได้ ตลาด​ใน​ยุโรป​ไม่ใช่​สิ่ง​ที่​จะ​ทำได้​ง่ายๆ

รศ.ดร.ณรงค์ เพ็​ชร​ประเสริฐ: จริงๆ แล้ว​ข้าราชการ​บำนาญ​นี่​จัด​ว่า​อยู่​ใน​กลุ่ม​ ผูส​้ งู อ​ ายุ (Ageing People) รัฐค​ วร​จะ​สร้าง​ สิ่ง​ที่​เรียก​ว่า Ageing Community หรือ ชุมชน​ผู้​สูง​อายุ ซึ่ง​ถือว่า​เป็น​บริการ​เชิง​ ประกันส​ งั คม อาจ​เป็นล​ กั ษณะ​ทา​วน์เ​ฮา​ส​์ หรือ​เป็น​อาคาร​ไม่​เกิน 3 ชั้น ราคา​ก็​ ไม่​ควร​ตั้ง​จน​สูง​จน​เกิน อยู่​ใน​ลักษณะ​ที่​ รัฐ​ให้การ​สนับสนุน​ส่วน​หนึ่ง แต่​ก็​ไม่ใช่​ การ​ให้​เปล่า ใน​ชุ ม ชน​ค วร​มี ​ลั ก ษณะ​อ ำนวย​ ความ​สะดวก​แก่​คน​ชรา มี​โรง​พยาบาล​ ผูด​้ แู ล ร้าน​คา้ ต​ า่ งๆ แบบ​ทต​ี่ า่ ง​ประเทศ​ทำ​ ผม​คิด​ว่า​ถ้า​เป็น​บ้าน​คน​แก่​แล้ว​ไม่​ควร​ คิ ด ถึ ง ​บ้ า น​เ ดี่ ย ว ยกเว้ น ​จ ะ​อ ยู่ ​กั บ​ ครอบครัว

รศ.ดร.ณรงค์ เพ็​ชร​ประเสริฐ: การ​

ใน​ราคา​ถูก​ลง ทั้งนี้ สินค้า​บาง​อย่าง​ต้อง​ให้​รัฐ​เข้า​ มา​จดั การ อำนาจ​ทม​ี่ นั อ​ ยูเ​่ หนือต​ ลาด เป็น​ พลัง​ทำให้​ราคา​สินค้า​สูง​เกิน​ไป เช่น ไข่​ใน​ ประเทศ​มร​ี าคา​แพง​สง่ ผ​ ล​ให้อ​ าหาร​มร​ี าคา​ แพง เรา​ก็​ไป​สำรวจ​ตลาด​ต่าง​ประเทศ​​ ที่​ถูก​กว่า แล้ว​ก็​นำ​เข้า​มา​เพื่อ​ดึง​ราคา​ไข่​ ใน​ประเทศ​ให้​ต่ำ​ลง

รศ.ดร.ณรงค์ เพ็​ชร​ประเสริฐ: ผม​ แปลก​ใจ​ว่าน​โย​บาย​นี้ ทำ​ไป​เพื่อ​อะไร แต่​ ถ้า​กังวล​มากๆ จะ​แบ่ง​ฝาก​เป็น​หลายๆ บัญชี​ก็ได้ ส่วน​ใน​เรื่อง​ของ​ดอกเบี้ย​ก็​ไม่มี​ ผล​อะไร เพราะ​คิด​เป็น​อัตรา​เปอร์เซ็นต์​ ของ​เงิน​ฝาก​อยู่​แล้ว อาจ​มี​บาง​ธนาคาร​ที่​ ฝาก​มาก​ก็ได้​ดอกเบี้ย​มาก แต่​นโยบาย​นี้​ อาจ​ส่ ง ​ผ ล​ใ ห้ ​ธ นาคาร​เ ล็ ก ๆ มี ​ปั ญ หา คน​จะ​มี​ความ​รู้สึก​ว่า​ฝาก​เงิน​มากๆ น่า​ จะ​เลือก​ฝาก​ธนาคาร​ใหญ่ๆ ที่​มี​ความ​ ปลอดภัย​มากกว่า หลัก​ประกัน​มากกว่า

แก้​ปัญหา​ที่​ตรง​ที่สุด คือ​การ​ลด​ต้นทุน ก่อน​อื่น​ต้อง​ไป​ดู​ต้นทุน​ที่​เพิ่ม​ว่า​มา​จาก​ ส่วน​ไหน ผม​ยก​ตัวอย่าง​ว่าการ​แก้​ต้นทุน​ ใน​เชิง​ปริมาณ เช่น การ​เข้า​สำรวจ​ตาม​ รัฐ​ออก​มา​ควบคุม​ราคา​ขาย​ปลีก​อาหาร​ ตลาด​ต่างๆ หรือ​อาจ​ไป​ซื้อ​จาก​ผู้​ผลิต​ ทำให้​มี​ปัญหา​เรื่อง​ต้นทุน​มาก จะ​ลด​ โดยตรง หา​แหล่ง​ซื้อ​ที่​ถูก​ที่สุด อาจ​รวม​ ปริมาณ​ก็​กลัว​ขาย​ไม่​ได้ กลุ่ม​กับ​ผู้​ขาย​อาหาร​ราย​อื่น​แล้ว​สั่ง​ซื้อ​ ผม​ควร​ทำ​อย่างไร​ดี ​ใน​ปริ​มาณ​มากๆ ก็​น่า​จะ​ทำให้​ได้​สินค้า​ ประ​เสริม วงศ์​วิไล ผู้​ค้าขาย​อาหาร​ราย​ย่อย


โลกเสมือน

19

ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว

จะ

ว​ ่า​ไป​แล้ว หาก​ปราศจาก​คน​ขับ​ มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง กรุงเทพฯ​ อาจ​จะ​กลาย​เป็น​มหานคร​ที่​หยุด​นิ่ง ไร้​ ชีวิต ไร้​ความ​เคลื่อนไหว ทั้ง​บน​ถนน​ใหญ่ และ​ตาม​ตรอก​ซอก​ซอย เขา​เหล่า​นั้น​ต่าง​พยายาม​สอด​ส่าย​ หา​พนื้ ที่ และ​ชอ่ ง​ทาง​ขา้ ม​ผา่ น​ชนชัน้ ต​ า่ งๆ ใน​สังคม พวก​เขา​วิ่ง​อยู่​ระหว่าง​อาคาร​ สถาน​ที่​ต่างๆ และ​พวก​เขา​วิ่ง​อยู่​ระหว่าง​ สั ง คม​เ มื อ ง​แ ละ​สั ง คม​ช นบท พวก​เ ขา​ บุรษุ (สตรี) ผูว​้ งิ่ ข​ า้ ม​ฝา่ ค​ วาม​แตก​ตา่ ง​ของ​ สังคม​ไทย บรรดา​มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​ล้วน​แต่​ ดำรง​อยู่​ท่ามกลาง ‘ความ​สลับ​ซับ​ซ้อน​ ของ​สังคม’ หลาย​ประการ ทั้ง​เชิง​รูป​ธรรม​ และ​นามธรรม ใน​แง่โ​ครงสร้าง​และ​สถานะ​ ทาง​สังคม ถ้า​มอง​ให้​ลึก​ลง​ไป เรา​จะ​พบ​ว่า นอกจาก​บทบาท​ใน​ภาค ‘บริการ’ ทาง​ดา้ น​ การ​ขนส่งแ​ ล้ว บรรดา​ผส​ู้ วม​เสือ้ ก​ กั๊ ห​ ลาก​ส​ี ทั้ง​หลาย​ยัง​มี​อีก​บทบาท​หนึ่ง ที่​สังคม​ไทย​ อาจม​อง​ข้าม​ไป​โดย​ไม่​ได้​ตั้งใจ เมื่อ​ระบบ​สังคม​ที่​ห่าง​เหิน​กัน​ถูก​ ร้อย​เข้าหา​กัน​โดย​มี ‘พี่​วิน’ เป็น​อุปกรณ์​ เชื่อม​ต่อ​ชั้น​ดี บทบาท​ที่​ว่า​ของ​ผู้​อยู่​หลัง​ อาน​มอเตอร์ไซค์ คือ เป็นต​ วั กลาง-ตัวเ​ชือ่ ม ใน​หลายๆ เรื่อง ทั้ง​สังคม​เมือง​และ​สังคม​ ชนบท และ​ตัด​ข้าม​ผ่าน​ความ​แตก​ต่าง​ ​ทาง​ชนชั้น​ใน​สังคม​ไทย

บทบาทที่แท้ของมอเตอร์ไซค์รับจ้าง

ภาพ: ศรีศักดิ์ พิกุลแก้ว

‘ผู้​กว้าง​ขวาง’ ใน​พื้นที่​นั้น โดย​ไม่​ต้อง​ ​พึ่ ง พา​อ ำนาจ​รั ฐ หรื อ ​มี ​อิ ท ธิ พ ล​มื ด​ ​นอก​กฎหมาย​อยู่​ใน​มือ

คน​เมือง​หัวใจ​ชนบท

ไม่​ต่าง​จาก​คนใน​สาย​อา​ชี​พอื่นๆ วัฒนธรรม​เมือง​เป็น​เรื่อง​ที่​แพร่​กระจาย​ ได้​คล้าย​โรค​ติดต่อ เมื่อ​มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​ทำ​หน้าที่​ เป็น​สื่อ​กลาง​เชื่อม​ใคร​ต่อ​ใคร​เข้าหา​กัน เกื อ บ​ร้ อ ย​ทั้ ง ​ร้ อ ย มอเตอร์ ไ ซค์ ​ รูป​แบบ​ความ​สัมพันธ์​ดัง​กล่าว​ได้​สร้าง​ รับจ้าง​ใน​กรุงเทพฯ มัก​จะ​เป็น​คน​ต่าง-​ ปรากฏการณ์ ​ที่ ​ท ำให้ ​ชี วิ ต และ​วิ ถี ​ก าร​ จังหวัด​ผู้​เดิน​ทาง​เข้า​มา​หา ‘งาน’ และ บริโภค​ของ​พวก​เขา​เปลี่ยน​ไป เมื่อ​ต้อง​ ‘เงิ น ’ ใน​เมื อ ง​ใ หญ่ และ​เกือบ​ทั้งหมด​ ผ่าน​สังคม​หลาย​มิติ รูป​แบบ​ของ​เมือง​ที่​ เป็นผ​ ู้ชาย มี​ทั้ง​ที่​ทำ​เฉพาะ​ใน​ช่วง​พัก​จาก​ ซับ​ซ้อน​เริ่ม​ซึม​เข้าหา​พวก​เขา​โดย​ไม่รู้​ตัว งาน​เกษตรกร และ​ยึด​อาชีพ​สวม​เสื้อ​วิน​ จน​คน​กลุม่ น​ เ​ี้ ริม่ เ​ลียน​แบบ​วฒ ั นธรรม​สมัย​ เป็นการ​ถาวร ใหม่ ตาม​แนวคิด​วัตถุนิยม​ของ​คน​กรุง และ​หาก​มอง​ให้​พ้น​บทบาท​ด้าน​ ต่ อ ​เ รื่ อ ง​นี้ เรา​ต้ อ ง​เ ข้ า ใจ​ว่ า​ การขนส่ ง มอเตอร์ ไ ซค์ ​รั บจ้ า ง​ยั ง ​มี ​อี ก​ มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​เป็น​อาชีพ​ที่​มี​โอกาส​ สถานะ​ใน​สงั คม คือ เป็น ‘Mediator’ หรือ กลับบ​ า้ น​ใน​ตา่ ง​จงั หวัดบ​ อ่ ย​กว่าค​ น​ทำงาน​ สื่อ​กลาง ผู้​ทำ​หน้าที่​เชื่อม​ร้อย​หลายๆ​ บริการ​ประ​เภท​อนื่ ๆ อาจ​ดว้ ย​เหตุผล​ดา้ น​ ชิ้น​ส่วน​ของ​สังคม​เข้าด​ ้วย​กัน ความ​อิสระ​เสรี เพราะ​งาน​แบบ​นี้​ไม่มี​ โดย​เฉพาะ​เรื่อง​วิถี​ชีวิต ความ​เป็น​ ระบบ นาย-ลูกน​ อ้ ง จะ​เดินท​ าง​ไป​ไหน​กไ็ ด้ อยู่ ​แบบ​ไทยๆ ที่​อิ ง​อยู่​กับ​ระบบ​ความ​ ไม่​ต้อง​เขียน​ใบลา สัมพันธ์แ​ น่นแฟ้น ไว้เ​นือ้ เ​ชือ่ ใ​จ​คนใน​พนื้ ที่ ใน​ส ถานการณ์ ​แ บบ​นี้ พวก​เ ขา​ มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​เข้า​มา​รับ​บทบาท​นี้​ ได้​กลาย​เป็น​อีก​หนึ่ง​สื่อ​กลาง-ตัว​เชื่อม​ เพราะ​ระบบ​เครือข​ า่ ย​ทโ​ี่ ยงใย​ทกุ ซ​ อก​ซอย​ ระหว่าง​สังคม​เมือง​กับ​สังคม​ชนบท โดย​ ตั้งแต่​ปาก​ทาง​ถนน​ใหญ่​ถึง​ชุมชน​ลึก​สุด​ พบ​ว่า บ่อย​ครั้ง​เมื่อ​ยาม​ที่​พวก​เขา​กลับ​ ซอย ไม่ว​ า่ จ​ ะ​ยาก​ดม​ี จ​ี น ผูใ้ หญ่ หรือผ​ น​ู้ อ้ ย บ้าน​เกิด คน​กลุ่ม​นี้​จะ​นำ​สินค้า​ที่​เป็น​วัตถุ​ ราก​แก้ว ราก​หญ้า หรือ​ชนชั้น​กลาง ต่าง​ ทาง​วัฒนธรรม​เมือง​ติดตัว​ไป​ด้วย อาทิ ต้อง​เคย​ใช้ร​ ะบบ​ขนส่งส​ าธารณะ​หลังอ​ าน​ เสื้อผ้า อาหาร เทคโนโลยี เสื้อผ้า หรือ​ ​ร่วม​กัน ทำให้​พวก​เขา​เคย​เห็น​หน้า​ค่า​ตา​ จะ​เรียก​รวมๆ ว่า​เป็น​แฟชั่น​แบบ​คน​เมือง​ คน​เกือบ​ทั้ง​ซอย และ​รู้จัก​บ้าน​แทบ​ทุก​ ก็ได้ หลัง การ​เ ปลี่ ย นแปลง​นี้ ​ไ ม่ ​ไ ด้ ​เ กิ ด​ บรรดา​มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​จึง​เป็น ผลก​ระ​ทบ​เฉพาะ​ตัว​พวก​เขา​เท่านั้น แต่​

สื่อ​กลาง​ระหว่าง​มิติ

ยังไ​ด้ส​ ง่ ผ​ ลก​ระ​ทบ​ไป​ถงึ ค​ า่ น​ ยิ ม​ของ​คนใน​ ท้อง​ถิ่น​อีก​ด้วย

วัฒนธรรม​ใหม่​ทพี่​ ึง​ระวัง

ค่า​นิยม​ใหม่​ที่​คน​กลุ่ม​นี้​นำ​กลับ​ไป​ นั้น ไม่​ได้​มี​เฉพาะ​คุณ​ประโยชน์ ให้​ความ​ สะดวก​สบาย หรือ​โก้​หรู​เพียง​อย่าง​เดียว เพราะ​ขณะ​เดียวกัน สิง่ เ​หล่าน​ ไ​ี้ ด้ก​ อ่ ใ​ห้เ​กิด ‘ลัทธิ​บูชา​เงิน’ และ ‘สังคม​บ้า​บริโภค’ ขึ้น​ ซึง่ ก​ ระตุน้ ใ​ห้ช​ นบท​เกิดก​ าร​ใช้จ​ า่ ย หลาย​ครัง้ ​ ถึง​ขั้น​ต้อง​เอา​เงิน​ใน​อนาคต​มา​ใช้ โดย​ไม่​ คำนึง​ว่า การ​สร้าง​หนี้​สิน​จะ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ ​ต่อ​วิถี​ชีวิต​ชาว​บ้าน​ขนาด​ไหน และ​จะ​ส่ง​ ผล​ระยะ​ยาว​ต่อ​สังคม​โดย​รวม​อย่างไร นอกจาก​ปั ญ หา​ห นี้ ​สิ น ​แ ล้ ว ค่ า​ นิยม​แบบ​คน​เมือง อาจ​ทำให้​เกิด​กระแส​ การ​อพยพ​แรงงาน​เข้า​มา​อยู่​ใน​เมือง เป็น​ ที่มา​ของ​ปัญหา​ต่างๆ เช่น ปัญหา​การ​ ละทิง้ ถ​ นิ่ ฐาน ปัญหา​อาชญากรรม ปัญหา​ โสเภณี รวม​ไป​ถึง​ปัญหา​ด้าน​สาธารณสุข การ​แพร่​ระบาด​ของ​โรค​ติดต่อ​ชนิด​ต่างๆ อย่ า งไร​ก็ ต าม ค่ า ​นิ ย ม​ดั ง ​ก ล่ า ว​​ ไม่​ได้​ถูก​นำ​มา​โดย​แรงงาน​ที่​เข้าไป​ทำงาน​ ใน​กรุงเทพฯ​เท่านั้น แต่​แฟชั่น​คน​เมือง​ ถูก​สื่อ​ออก​สู่​ชนบท​เกือบ​จะ​ทุก​พื้นที่​ของ​ ประเทศไทย​ผ่าน​หลาย​ช่อง​ทาง พร้อมๆ กับก​ าร​พฒ ั นา​เทคโนโลยีส​ ารสนเทศ ไม่ว​ า่ ​ ​จะ​เป็น​ทีวี วิทยุ หรือ​อินเทอร์เน็ต ที่​ต่าง​​ ก็ ​มี ​ส่ ว น​ช่ ว ย​แ พร่ ​ก ระจาย​ก ระตุ้ น ​ใ ห้ ​ คน​ต่าง​จังหวัด​กระหาย​อยาก​จะ​มี​ชีวิต​ แบบ​คนใน​เมือง​ด้วย​กัน​ทั้ง​นั้น

เข้า​ทำงาน​ใน​เมือง​ของ​คน​กลุ่ม​นี้ ก็​เป็น​ เหมือน​การ​เพิ่ม​มุม​มอง​ให้​คน​ชนบท​ได้​มี​ โอกาส​เข้าไป​พบเห็น​ช่อง​ว่าง​ระหว่าง​ชีวิต​ ของ​ชนชั้น​สูง​ใน​กรุงเทพฯ​กับ​ชีวิต​ตัว​เอง​ มาก​ขึ้น มอง​ใน​แง่​ดี ภาพ​เปรียบ​เทียบ​ที่​ พวก​เขา​เห็นน​ ั้น อาจ​ทำให้​เกิดแ​ รง​กระตุน้ ​ ให้ส​ งั คม​ไทย​มอง​ปญ ั หา​ความ​เหลือ่ ม​ลำ้ ไ​ด้​ ชัดเจน​มาก​ขึ้น​กว่า​ใน​อดีต ท่าม​ ก​ลาง​โลกา​ภว​ิ ตั น​ ท​์ ถ​ี่ าโถม​และ​ รุก​กระหน่ำ​ทุก​ชีวิต​ใน​ทุก​พื้นที่ คำถาม​ จึง​มี​อยู่​ว่า​ถึง​เวลา​แล้ว​หรือ​ยัง ที่​สังคม​ เมือง​ต้อง​ยอมรับ​และ​ตระหนัก​ถึง​ความ​ สำคัญ​ของ​มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง ที่​ไม่​ได้​มี​ บทบาท​เฉพาะ​ทางการ​คมนาคมขนส่ง​ เพียง​อย่าง​เดียว แต่​เรา​จำเป็น​ต้อง​มอง​ ข้าม​ไป​ให้​ถึง​บทบาท​ใน​ด้าน​ชนชั้น​ทาง​ สังคม การ​เคลื่อน​ย้าย​ของ​พลเมือง และ​ การ​มี​ส่วน​ร่วม​ทางการ​เมือง รวม​ทั้ง​ให้​ ความ​สำคัญ​ใน​พื้นที่​ใหม่​ของ​สังคม​ผ่าน​ กระจก​แห่ง​ความ​เสมอ​ภาค​เท่า​เทียม​กัน อาจ​จะ​ไม่ใช่​ใน​ทุกๆ ด้าน แต่​อย่าง​น้อย​ ด้วย​ความ​เป็น​คน​ที่​เท่า​เทียม​กัน การ​วัด​ คุณค่า​แห่ง​ศักดิ์ศรี​ความ​เป็น​คน​จึง​ไม่​ควร​ มี​ใคร​สูง​กว่า​ใคร

ฟัง​ดู​เหมือน​การ​เข้า​มา​ทำงาน​ใน​ เมือง​ของ​มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​จะ​เกิด​ผล​ เสีย​มากกว่า​ผล​ดี แต่​ใน​อีก​ด้าน​หนึ่ง​การ​

อ้างอิง​ข้อมูล​จาก​งาน​วิจัย​เรื่อง ‘การเมือง​เรื่อง​มอเตอร์ไซค์​รับจ้าง​ใน​ประเทศไทย’ ของ เค​ลาดิ​โอ โซ​ปราน​เซตติ (Claudio Sopranzetti) มหา​วิทยา​ลัย​ฮาร์​วาร์​ด


20

Cut it out (เปลี่ยนเถอะ!)


21


22

สัมภาษณ์

อภิรดา มีเดช

กระจาย​อำนาจ​สม​ู่ อื ป​ ระชาชน ข้อ​เส​นอ​แรงๆ

หนึ่ง

ใ​น​ขอ้ เ​สนอ​ปฏิรปู ป​ ระเทศ​ สำคัญข​ อง​คณะ​กรรมการ​ ปฏิ รู ป ​ป ระเทศ (คปร.) ที่ ​มี อานั น ท์ ​ ปั น ​ย าร​ชุ น อดี ต นายกรั ฐ มนตรี เป็ น​ ประธาน ตั้ ง แต่ ​ช่ ว ง​เ ดื อ น​ก รกฎาคม 2553 จน​ก ระทั่ ง ​ห มด​ว าระ​ไ ป​เ มื่ อ 15 พฤษภาคม 2554 ที่ ​ผ่ า น​ม า​ มุ่ ง ​เ น้ น ​ไ ป​ที่ ​ป ระเด็ น ​ก าร​จั ด การ​กั บ​ โครงสร้าง​อำนาจ ซึ่ง​ถูก​มอง​ว่า​เป็นต้น​ตอ​ ​ของ​ความ​เหลื่อม​ล้ำ​และ​ไม่​เป็น​ธรรม​ใน​ สังคม โดย คปร. ถือว่า​เป็น​ปัญหา​หลัก​ ของ​ป ระเทศ​ที่ ​ส มควร​ไ ด้ ​รั บ ​ก าร​แ ก้ ไ ข​ ลำดับ​แรก แม้ ว่ า ​ร าย​ล ะเอี ย ด​ข อง​ข้ อ ​เ สนอ​ อาจ​ทำให้​หลาย​หน่วย​งาน​รัฐ โดย​เฉพาะ​ ใน​ส่วน​ภูมิภาค​นั่ง​ปฏิบัติ​งาน​ด้วย​ภา​วะ​ หนาวๆ ร้อนๆ กันถ​ ว้ น​หน้า เพราะ​ใน​หน้า​ กระดาษ​ข้อ​เสนอ​นั้น มี​คำ​ว่า ‘ยุบ’ ปรากฏ​ อยู่​ข้างๆ และ​ทำให้​ประชาชน​ส่วน​ใหญ่​ จับ​ต้น​ชน​ปลาย​ไม่​ถูก เมื่อ​เสรีภาพ​ใน​การ​ บริหาร​จัดการ​ตนเอง และ​งบ​ประมาณ​ มหาศาล จู่ๆ ก็​ร่วง​ลง​มา​บน​ตัก พงศ์ ​โ พยม วาศ​ภู ติ อดี ต ปลั ด​ กระทรวงยุติธรรม มี​บทบาท​ใน​แวดวง​ รั ฐ ศาสตร์ ​ร ะดั บ ​ช าติ ​ม า​ห ลาย​ต ำแหน่ ง ก่ อ น​จ ะ​มี ชื่ อ ​อ ยู่ ​ใ น คปร. ตั้ ง แต่ ​วั น​ แรก​จ นถึ ง ​วั น ​ที่ ​ยุ ติ ​บ ทบาท​กั น ​ทั้ ง ​ค ณะ กล่าว​ถึง ‘สาร’ สำคัญ​ที่​อยู่​ใน​ข้อ​เสนอ​​ ดังก​ ล่าว​คอื ก​ าร​เปลีย่ นแปลง​ทต​ี่ อ้ ง​เกิดข​ นึ้ ​ กั บ ​ทั้ ง ​ฝ่ า ย​ป กครอง และ​ประชาชน ที่​ ต้อง​เข้า​สู่​กระบวนการ​ปรับ​สมดุล​อำนาจ​ ครั้ง​ใหญ่ โดย​มี​ข้อแม้​ว่า...ต้อง​มี​รัฐบาล​ใหม่​ อาสา​เข้า​มา​ทำ​ข้อ​เสนอ​นี้​ให้​เป็น​จริง

จาก​การ​ปฏิรูป


23

ภาพ: ชัชชญา วุ่นจินา

แ ล้ ว ฝ่ า ย​ การเมือง​จะ​ยอม​ เสี ย ​อ ำนาจ​เ ห​ร อ?​ จะ​เ ห็ น ​ไ ด้ ​ว่ า ​เ ขา​ม า​สู้ ​ กัน​อยู่​ใน​กรุงเทพฯ เพราะ​ อำนาจ​มั น ​อ ยู่ ​ต รง​นี้ แต่ ​ถ้ า​ เรา​ก ระจาย​อ ำนาจ​ก ระจาย​ ​ผ ล​ป ระโยชน์ ​อ อก​ไ ป เขา​ก็ ​ต้ อ ง​ไ ป​​ สู้ ​กั น ​ข้ า ง​ล่ า ง บางที ​เ รา​อ าจ​จ ะ​​ ได้ ​เ ห็ น ​อ ดี ต ​รั ฐ มนตรี ​ไ ป​เ ป็ น ​น ายก อบจ. ก็ได้

คำ​ว่า ‘กระจาย​อำนาจ’ ดู​ใหญ่​โต​มาก​ใน​สายตา​ประชาชน ทำ​อย่างไร​ถึงจ​ ะ​อธิบาย​เรื่อง​นี้​ให้ช​ าว​บ้าน​เข้าใจ​ง่ายๆ ก็​ใหญ่​จริงๆ ไม่​เหมือน​ของ​เล่น​ที่​ให้​เด็ก​ไป​ ไม่​ตอ้ ง​สอน​อะไร​เขา​กห​็ ัดเ​ล่น​เอง​ได้ หรือ​คอมพิวเตอร์ ไม่​เคย​รู้จัก​เลย แต่​ถ้า​นั่ง​ปล้ำ​สัก​พัก​จะ​ทำได้ ใน​ความ​เป็น​จริง สิ่ง​หนึ่ง​ที่​เศร้า​ใจ​คือ อะไรๆ ก็​ ให้​รฐั ​แก้​ให้​หมด ที่ดิน หนอง​น้ำ ทั้ง​ที่​เขา​จัดการ​กันเอง​ ได้ ถ้าเ​รา​เปิดโ​อกาส​ให้เ​ขา​จดั การ แล้วค​ วาม​ขดั แ​ ย้งจ​ ะ​ ได้​ไม่​มา​ถึง​รัฐ ปัจจุบัน ฝ่าย​ที่​ไม่​พอใจ​ก็​จะ​โทษ​รัฐ แต่​ถ้า​เขา​ สามารถ​จัดการ​กันเอง​ได้ เขา​ต้อง​ไป​โทษ​กันเอง คน​ ส่วน​นอ้ ย​กต​็ อ้ ง​ยอม​แพ้ค​ น​สว่ น​ใหญ่ ถึงต​ วั ไ​ม่พ​ อใจ​กท​็ ำ​ อะไร​ไม่​ได้ แต่​นี่​ไม่​พอใจ​อะไร​ก็​โทษ​รัฐ เท่า​ที่​สังเกต​รัฐ​ ก็​ชอบ​ให้​โทษ จะ​ได้​เอา​มา​ทำ​เอง​ทุก​อย่าง มี​คน​ถาม​เหมือน​กัน​ว่า แล้ว​ฝ่าย​การเมือง​จะ​ ยอม​เสีย​อำนาจ​เห​รอ? จะ​เห็น​ได้​ว่า​เขา​มา​สู้​กัน​อยู่​ใน​ กรุงเทพฯ เพราะ​อำนาจ​มนั อ​ ยูต​่ รง​นี้ แต่ถ​ า้ เ​รา​กระจาย​ อำนาจ​กระจาย​ผล​ประโยชน์​ออก​ไป เขา​ก็​ต้อง​ไป​สู้​กัน​ ข้าง​ล่าง บางที​เรา​อาจ​จะ​ได้​เห็น​อดีต​รัฐมนตรี​ไป​เป็น​ นายก อบจ. ก็ได้ ดู​เหมือน​จะ​ต้อง​ปรับ​ตัว​ด้วย​กัน​ทั้ง​รัฐ​และ​ประชาชน แต่​ ชาว​บ้าน​น่า​จะ​ตกใจ จู่ๆ คน​ธรรมดา​อย่าง​ตัว​เอง​ก็​มี​ อำนาจ​อยูใ่​น​มือ? การ​ทำความ​เข้าใจ​กบั ป​ ระชาชน ต้อง​อาศัยเ​ครือ​ ข่าย เริ่ม​จาก​คน​ที่​สนใจ​ก่อน สมมุติ 100 คน สนใจ​ สัก 5-10 คน ก็​เอา​คน​กลุ่ม​นี้​เป็น​จุด​เริ่ม​ต้น รวม​ตัว​ เป็น​เครือ​ข่าย แล้ว​ช่วย​กัน ​ผลัก​ดัน ​ผ่าน​กระบวนการ​ และ​ช่อง​ทาง​ที่​เป็น​ไป​ได้ เดีย๋ ว​นเ​ี้ ครือข​ า่ ย​ตา่ งๆ อย่าง เอ็นจ​ โ​ี อ​กม​็ ไ​ี ม่น​ อ้ ย ต้อง​เริ่ม​จาก​คน​ที่​สนใจ​ก่อน ส่วน​ที่​คน​ที่​ไม่​ค่อย​สนใจ​ ก็​ค่อยๆ ตาม​มา แล้วไป​ดู​สิ​ว่า สถาบัน​ไหน​มี​พลัง… ก็​สื่อมวลชน เป็น​คน​ชี้นำ ก็​ต้อง​คอย​ถาม​รัฐบาล​ใหม่ ว่า เรื่อง​ปฏิรูป​ท่าน​จะ​ทำ​ไหม ก็​ต้อง​ทำ จะ​มี​ใคร​ไม่​ทำ​ ก็​คอย​จี้​คอย​ไช เหมือน​ต้นไม้​ใหญ่ มัน​ปลูก​มา 120 ปี​แล้ว ปฏิรปู ค​ รัง้ ล​ า่ สุดต​ งั้ แต่ส​ มัยร​ ชั กาล​ที่ 5 ราก​กไ​็ ป​ไกล​แล้ว เลย​ไม่​ง่าย แต่​ผม​ไม่​คิด​ว่า​แก้​แบบ​ถอน​ราก​ถอน​โคน​​ จะ​ดี ยังเ​ชือ่ ว​ า่ การ​ปฏิรปู เ​ป็นก​ระ​บวน​การ บาง​เรือ่ ง​เร็ว​ บาง​เรื่อง​ช้า ต้อง​ดู​ความ​สมดุล ตัว​ไหน​ด่วน​ก็​อาจ​จะ​ ทำตัว​นั้น​ก่อน ตัว​ไหน​รอ​ได้​ก็​รอ​ไป​ก่อน ที่​ต้อง​กระจาย​อำนาจ​แสดง​ว่า การ​สั่ง​การ​แนว​ดิ่ง​ แบบ​เดิม​มี​จุดบอด เวลา​คุณ​สั่ง ต้อง​สั่ง​เหมือน​กัน​ทั่ว​ประเทศ ทั้ง​ที่​ แต่ละ​พนื้ ที่ แต่ละ​อำเภอ แต่ละ​จงั หวัดม​ นั ไ​ม่เ​หมือน​กนั ​ นี่​คือ​ความ​ไม่​ดี​ของ​ทาง​ดิ่ง แต่​มันดี​ใน​ส่วน​ของ​เรื่อง​ที่​เรา​จะ​ทำ​เหมือน​กัน​ หมด อาทิ ฉลอง​ประเทศ หรือ​ถวาย​ความ​จงรัก​ภักดี​ พร้อม​กัน ชัก​ธงชาติ ร้อง​เพลง​ชาติ​พร้อม​กัน แต่บ​ าง​เรือ่ ง​ทม​ี่ นั เ​ป็นส​ า​ระ​เยอะๆ เช่น การ​ทำ​มา​​ หากิน เรือ่ ง​โอกาส การ​เข้าถ​ งึ ก​ ระบวนการ​ยตุ ธิ รรม มัน​


24 เริ่ม​ไม่​ดีแล้ว เพราะ​การ​สั่ง​อะไร​เห​มือ​นๆ​ กัน​หมด​มัน​แก้​ปัญหา​ไม่​ได้ จริงๆ การก​ระ​จา​ยอำ​นา​จก็​ดู​เหมือน​ไม่ใช่​ ของ​ใหม่ ข้อเ​สนอ​ของ คปร. มี​ข้อแ​ตก​ต่าง​ จาก​ที่​ผ่าน​มา​อย่างไร เท่าท​ อ​ี่ า่ น​ดู แม้แต่ท​ ส​ี่ มัชช​ าฯ (คณะ​ กรรมการ​สมัชชา​ปฏิรูป: คสป.) เสนอ ก็​ดู​ จะ​มงุ่ เ​รือ่ ง​ภารกิจ มุง่ เ​รือ่ ง​งบ​ประมาณ​เป็น​ หลัก ซึ่ง​ผม​เห็น​ว่า​ไม่​จำเป็น​ต้อง​พูด​เรื่อง​ ภารกิจ​ก็ได้ อย่าง​กรณี​รับ​เรื่อง​ต่างๆ ก็​ ปล่อย​ให้​ท้อง​ถิ่น​เป็น​คน​จัดการ​หมด​ได้ ยก​ตั ว อย่ า ง ถ้ า ​จ ะ​ตั้ ง ​โ รงงาน​ใ น​ หมูบ่ า้ น คุณไ​ม่ต​ อ้ ง​ไป​ตดิ ต่ออ​ ตุ สาหกรรม​ จังหวัด ไป​ตดิ ต่อไ​ด้เ​ลย​ที่ อบต. แต่ร​ ฐั บาล​ กลาง​จะ​แบ่ง​อำนาจ​มา​ขนาด​ไหน​ล่ะ ถ้า​ เป็ น ​โ รง​ง าน​เ ล็ ก ๆ ก็ ​อ าจ​จ ะ​แ ค่ อบต. อนุญาต​ได้​เลย ใน​เอเชีย ถือว่า​งบ​ประมาณ​ที่​ลง​ไป​ สู่​ท้อง​ถิ่น​เรา​เกือบ​ต่ำ​สุด ยก​ตัวอย่าง จีน งบ​ทร​ี่ ฐั บาล​ลง​ให้ท​ อ้ ง​ถนิ่ ร้อย​ละ 65 เขมร​ ร้อย​ละ 17 ของ​ไทย​อยู่​ที่​ประมาณ​ร้อย​ละ 12-13 หรือ 300,000 ล้าน​บาท จาก​ งบ​ทั้ง​ประเทศ 2,000,000 ล้าน​บาท ซึ่ง​ ถือว่า​น้อย​มาก กรณี ​ที่ ​ส มั ช ​ช าฯ​เ สนอ อยาก​ใ ห้ ​ เพิ่ม​งบ​ท้อง​ถิ่น จาก 300,000 ล้าน​เป็น 500,000 ล้าน แต่​ที่ คปร. เสนอ​ต้อง​เป็น 1,200,000 ล้าน​บาท หรือ​ร้อย​ละ 60 แล้วข​ า้ ราชการ เช่น ครู ก็เ​ป็นท​ อ้ ง​ถนิ่ ห​ มด ครู​อาจ​จะ​กลับ​ไป​สอน​เด็ก​ที่​บ้าน​เกิด จาก​ภาพ​รวม​ที่​ผ่าน​มา ตั้งแต่​เริ่ม​ด้วย​การ​มี อบต. เทศบาล ได้​ผลอ​ย่าง​ไร​บ้าง คือ​มัน​จะ​เป็น​ระบบ​ราชการ​ล้วนๆ แล้วก​ระ​ทรวง​มหาดไทย​ใน​ฐานะ​ผู้​ดูแล​ก็​ ออก​กฎ​กติกา​มา​เยอะ​แยะ มี​กติกา​มัน​ก็​ ดี แต่​ดี​สำหรับ​ป้องกัน​คนร้าย ประมาณ​​ ร้อย​ละ 5 จาก​คน​ทงั้ หมด ทำให้ค​ น​สว่ น​มาก​​ เดือด​ร้อน จริงๆ แล้ว​มัน​ควร​จะ​อยู่​ใน​ สายตา​ประชาชน เคย​มี​นายก (อบจ. อบต. เทศบาล) บาง​ค น​เ อา​ร ถ​ห ลวง​ไ ป​ข าย กระทรวง​ มหาดไทย​เลย​ต้อง​ออก​ระเบียบ​ห้าม ทั้ง​ ที่​เกิด​เพียง​แห่ง​เดียว แต่​คุณ​ไป​ล็อก​ไว้​ทุก​ เรื่อง จน​ท้อง​ถิ่น​แทบ​ไม่​ได้​หายใจ เขา​ก็​ อึดอัด ผม​เคย​เป็น​อธิบดี​กรม​การ​ส่ง​เสริม​ การ​ปกครอง​สว่ น​ทอ้ ง​ถนิ่ เรา​กพ​็ ยายาม​ให้​ อิสระ แต่​ก็​ให้​ใน​ลักษณะ​ไม่​ไว้ใจ ที่ ​ผ่ า น​ม า อบต. หรื อ ​เ ทศบาล เหมือน​เป็นการ​เอา​ระบบ​ราชการ​ไป​ครอบ มันไ​ม่ใช่ร​ ะบบ​ชาว​บา้ น จริงๆ นายก อบต. ไม่ ​ต้ อ ง​มี ​เครื่ อ ง​แ บบ ใส่ ​เสื้ อ ​ธ รรมดา​ก็ ​ ทำงาน​เพื่อ​ชาว​บ้าน​ได้ สิ่ง​สำคัญ​คือ ถ้า​เพิ่ม​งบ​ให้​ท้อง​ถิ่น ร้อย​ละ 60-70 อย่าง​ที่ คปร. เสนอ สิ่ง​ ที่​ตาม​มา​คือ คน​ไม่​เก่ง​เป็น​นายกไม่​ได้ เพราะ​พฤติกรรม​ของ​มนุษย์เ​ปลีย่ น​ไป​ตาม​ สภาพ​แวดล้อม มัน​ก็​ต้อง​ปรับ​ตัว อีกอ​ ย่าง คน​ชอบ​พดู ว​ า่ ป​ ระชาชน​ไม่​

สนใจ​ท้อง​ถิ่น แต่​ตอน​นี้​ท้อง​ถิ่น​มี​อะไร​ล่ะ​ เทศบาล​มี​เงิน 50-100 ล้าน จะ​สนใจ​ ทำไม แต่​ถ้า​ทุก​อย่าง​อยู่​ใน​มือ​เทศบาล มี​ งบ​เป็น​พัน​ล้าน ไม่​สนใจ​ไม่​ได้​แล้ว สมมุติ​ชาวนา​ปลูก​ข้าว​มา​แล้ว​ขาย​ ไม่​ได้ ก็​ไม่​ต้อง​ไป​เรียก​ร้อง​ที่​รัฐบาล​แล้ว ต้อง​กลาย​เป็น​นายก อบจ. หา​ทาง​ขาย​ ข้าว​ให้​ท้อง​ถิ่น ฉะนั้น ชาวนา​จะ​ไม่​สนใจ​ ก็​ไม่​ได้ เพราะ​นายก อบจ. จะ​ต้อง​เป็น​คน​ ขาย​ข้าว​ให้​เรา ดู​ใน​ราย​ละเอียด ทำไม​ใน​ข้อเ​สนอ​การ​ปฏิรูป​ โครงสร้าง​อำนาจ​ของ คปร. ต้อง​เริ่ม​ต้น​ ด้วย​คำ​แรงๆ อย่าง ‘ยุบเ​ลิก’ ราชการ​ส่วน​ ภูมิภาค ทีแ​่ รง เพราะ​ตอ้ งการ​ให้ค​ นใน​สงั คม รวม​ทงั้ ภ​ าค​รฐั หันม​ า​สนใจ ยก​ตวั อย่าง ถ้า​ เรา​บอก​วา่ คน​นป​ี้ ว่ ย กับคน​นก​ี้ ำลังจ​ ะ​ตาย อย่าง​หลัง​ก็​ต้อง​ฟัง​ดู​แรง​กว่า ทำให้​คน​หัน​ มา​สนใจ​กัน​มาก​ขึ้น ข้อเ​สนอ​ของ คปร. ไม่ไ​ด้ม​ งุ่ จ​ ะ​โจมตี​ กระทรวง​มหาดไทย แต่ม​ งุ่ โ​จมตีก​ ระทรวง​ ทบวง​กรม​ทุก​หน่วย ใน​การ​รวม​อำนาจ​ ตัดสิน​ใจ​ต่างๆ ไว้​ที่​ตัว​เอง จริ ง ๆ การ​เลื อ ก​ตั้ ง ​ผู้ ​ว่ า ​ร าชการ​ จังหวัด​ไม่ใช่​คำ​ตอบ จาก​ประสบการณ์​ ที่ ​เ คย​เ ป็ น ​ผู้ ​ว่ า ฯ 4 จั ง หวั ด มั น ​เ ป็ น ​ที่ ​ รั บ ​เ รื่ อ ง (Front Office) เท่ า นั้ น ​เ อง เช่น จะ​ตั้ง​โรงงาน​ก็​มา​ขอ​อนุญาต​ผู้​ว่าฯ​ และ​อุตสาหกรรม​จังหวัด แต่​ทั้ง​คู่​ไม่ใช่​ ผู้​อนุญาต ต้อง​ส่ง​เรื่อง​ไป​ที่​กรม​โรงงาน กระทรวง​อุตสาหกรรม และ​หน่วย​งาน​ เกีย่ วข้อง อาทิ สำนักน​ โยบาย​สงิ่ แ​ วดล้อม กระทรวง​ทรัพยากรธรรมชาติ

กระบวนการ​มนั เ​ยอะ ซึง่ จ​ งั หวัดไ​ม่​ สามารถ​ดำเนิน​การ​ได้​ด้วย​ตัว​เอง ฉะนั้น แม้ก​ าร​เลือก​ตงั้ ผ​ ว​ู้ า่ ฯ จะ​มา​จาก​ประชาชน แต่​ก็​ยัง​ทำ​อะไร​ไม่​ได้​เหมือน​เดิม ดัง​นั้น ข้อ​เสนอ​ของ คปร. ที่​ให้​ ยกเลิกภ​ มู ภิ าค ไม่ไ​ด้ห​ มายความ​วา่ เ​รา​เดิน​ ไป​ใน​แนวทาง​สหพันธรัฐ (Federation) เรา​ยงั เ​ดินไ​ป​ใน​รปู ร​ ฐั เ​ดีย่ ว แต่เ​ป็นร​ ฐั เ​ดีย่ ว​ ที่​กระจาย​อำนาจ​ให้​กับ​ท้อง​ถิ่น​มาก​ขึ้น แล้ว​รัฐ​ก็​ทำ​เท่า​ที่​จำเป็น รั ฐ ​ยั ง ​มี ​ง าน​อี ก ​เ ยอะ อาทิ การ​ ป้องกันป​ ระเทศ รักษา​ความ​มนั่ คง​ภายใน รั ก ษา​ค วาม​ส งบ​เรีย บร้ อ ย รวม​ถึง​การ​ กำหนด​มาตรฐาน​ต่างๆ เช่น มาตรฐาน​ การ​ศึกษา อุตสาหกรรม ฯลฯ เมื่อ​เรา​เดิน​ ไป​ใน​รูป​รัฐ​เดี่ยว​ที่​มี​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ​ ​สู ง ก็ ​ไ ม่ ​เ ห็ น ​ค วาม​จ ำเป็ น ​ที่ ​จ ะ​ต้ อ ง​มี ​ ภูมิภาค เพราะ​ภูมิภาค​กับ​ส่วน​กลาง​คือ​ อัน​เดียวกัน ท่าน​อานันท์บ​ อก​วา่ รัฐย​ งั ม​ อ​ี ำนาจ​ เหมือน​เดิม และ​อาจ​จะ​เรียก​คืน​เมื่อ​ไหร่​ ก็ได้ เพียง​แต่​มัน​กระจาย​ไป​อยู่​ตรง​นั้น​ ตรง​นี้ ต้อง​เข้าใจ​ตรง​นี้​ก่อน ถ้าอ​ ย่าง​นั้น ตำแหน่ง​ผู้​ว่าฯ นาย​อำเภอ หรือข​ ้าราชการ​ส่วน​กลาง​อื่นๆ อาจ​ต้อง​

ย้าย​สังกัด? ถ้า​เห็น​ว่า​จำเป็น...ก็​ควร​มี​อยู่​ต่อ​ไป เพียง​แต่​ทำงาน​น้อย​ลง เอางาน​เอา​เงิน​ เอา​คน​ไป​ให้ท​ อ้ ง​ถนิ่ ท​ ำ​มาก​ขนึ้ คุณก​ ก​็ ำกับ​ ดูแล​และ​คอย​ช่วย​เหลือ​แนะนำ หรือ​อาจ​จะ​เปลี่ยน​ชื่อ เช่น จาก​ ผู้​ว่า​ราชการ​จังหวัด เป็น ‘ผู้​ตรวจ​การ​ จังหวัด’ เป็น​ตัวแทน​รัฐบาล​กลาง เพราะ​ บอก​แล้ว​ว่า​เรา​ไม่ใช่​สหพันธรัฐ รัฐบาล​ กลาง​มี​อำนาจ​เต็ม​ใน​การ​ดูแล​ประเทศ​ทุก​ ตาราง​นิ้ว แต่​ไม่​ต้อง​ทำ​เอง ใช้​วิธี​กำกับ​ ดูแล แค่​ให้​คำ​แนะนำ และ​ช่วย​เหลือ​ทาง​ ด้าน​วิชาการ เคย​ไป​ดง​ู าน​ทเ​ี่ ยอรมนี เขา​มจ​ี งั หวัด ซึ่ง​ไม่ไ​ด้​มีหน้า​ท​อี่ นุญาต​อนุมัติ แต่​คอย​ให้​ คำ​แนะนำ เช่น เกิดป​ ญ ั หา​หนอน​ลงนา​ขา้ ว เกษตร​จังหวัด​จะ​มี​แค่ 1-2 คน คอย​ให้​ คำ​แนะนำ ช่วย​วิเคราะห์​ว่า​หนอน​เป็น​ พันธุ์​อะไร เสนอ​แนะ​วิธี​จัดการ​มา แต่​ ท้อง​ถิ่น​จะ​เชื่อ​หรือ​ไม่​เป็น​เรื่อง​ของ​เขา เขา​ก็​ไป​ตัดสิน​ชีวิต​เขา​เอง นี่​คือ​วิธี​จัดการ​ ตนเอง ฉะนั้น ข้าราชการ​ส่วน​กลาง ยัง​ สามารถ​มี​สำนักงาน​ใน​ต่าง​จังหวัด​ได้​อยู่ แต่​มี​เงื่อนไข​ว่า

ผม​เป็น​เทศบาล​มี​โครงการ​สร้าง​ถนน 10 กระบวนการ ก่อน​ทำ​ตอ้ ง​มก​ี าร​รบั ฟ​ งั ค​ วาม​ คิด ก็​ออก​มา​ต่อ​รอง ถ้า​ผู้​บริหาร​มา​จาก​การ​ เลือ


25 กรม​สง่ เ​สริมส​ หกรณ์ คุณจ​ ะ​ไป​สง่ เ​สริมอ​ ะไร​สหกรณ์ ทำไม​ ไม่​ให้​ท้อง​ถิ่น​เขา​ส่ง​เสริม​กันเอง หรือ​กรม​ตรวจ​บัญชี​สหกรณ์ ทำไม​คุณ​ไม่​จ้าง​คน​ข้าง​นอก​มา​ตรวจ ทำไม​ต้อง​มี​กรม​นี้ หนึ่ง ต้อง​มี​เพื่อ​ประสาน​นโยบาย หรือ​เกี่ยว​กับ​การ​วิจัย​ทาง​วิชาการ เช่น สถานี​ประมง ศูนย์วิจัย​พันธุ์​ข้าว สอง เป็น​กิจการ​ที่​ส่วน​กลาง​ยัง​ทำ​ อยู่ เช่น เรือ่ ง​การ​ตา่ ง​ประเทศ กรม​พธิ กี าร​ กงสุล กรม​การ​กงสุล จะ​ไป​ทำ​พาส​ปอร์ต หรือ​ตำรวจ​แห่ง​ชาติ ยัง​เป็น​ส่วน​กลาง ไม่ใช่​ท้อง​ถิ่น สาม เป็น​สำนักงาน​ใน​การ​กำกับ​ ดู แ ล ช่ ว ย​เ หลื อ ​แ นะนำ​ท้ อ ง​ถิ่ น ฝ่ า ย​ ปกครอง​แทนที่​จะ​ทำ​เอง พูด​ง่ายๆ คือ ถอย​ออก​มา จาก​พระเอก​เป็น​ผู้​กำกับ ส่วน​กำนัน ผู้ใหญ่​บ้าน เรา​ไม่​ได้​ เสนอ​อะไร เป็น​เรื่อง​ของ​รัฐบาล เห็น​ว่า​มี​ ความ​จำเป็นอ​ ยูไ​่ หม เพราะ​กำนัน ผูใ้ หญ่บ​ า้ น​ ท​ ำงาน 2 ซีก หนึง่ คือด​ แู ล​ทรัพยากร ป่าไ​ม้​ ที่ดิน รวม​ทั้ง​การ​พัฒนา​พื้นที่ สอง คือ​ การ​รักษา​ความ​สงบ​เรียบร้อย โจร​ผู้ร้าย​ ยา​เสพ​ติด กิจการ​ชายแดน งาน​ด้าน​พัฒนา​จัดการ​ทรัพยากร ถ้า​ให้​ท้อง​ถิ่น​ทำ​แล้ว กำนัน ผู้ใหญ่​บ้าน น่า​จะ​มา​หนัก​เรื่อง​การ​รักษา​ความ​สงบ​ เรี ย บร้ อ ย เป็ น ​ต ำรวจ​หมู่ บ้า น ตำรวจ​ ชุมชน แต่เ​มือ่ ใ​ด​กต็ าม​ทเ​ี่ ห็นว​ า่ ห​ มด​ความ​ จำเป็น ก็​ชอบ​ที่​จะ​ยกเลิก​ไป​ตาม​ความ​ จำเป็น​ของ​พื้นที่ แม้แต่​เรื่อง​การ​ป้องกัน​ โรค​และ​สง่ เ​สริมสุขภ​ าพ หาก​ทอ้ ง​ถนิ่ ท​ ำได้ ไม่​จำเป็น​เลย​ที่​รัฐ​จะ​ต้อง​ทำ​เอง แต่​ถ้าข​ ้อเ​สนอ​ปฏิรูป​สามารถ​กระจาย​อำนาจ​ ได้จ​ริง กรม​การ​พฒ ั นา​ชมุ ชน หรือห​ น่วย​งา​น อื่นๆ ต้อง​ยุบ​ไป ก็​ต้อง​มี​หลาย​คน​ตกงาน ไม่เ​ชิงต​ กงาน เหมือน​คณ ุ ย​ า้ ย​ไป​อยู​่ ใน​ท้อง​ถิ่น แต่​ถ้า​ทน​ไม่​ได้ ไม่​อยาก​เป็น​ ลูก​น้อง เลือก​ตั้ง​คุณ​รับ​ไม่​ได้ ก็​อาจ​จะ​มี​ ระบบ​ลา​ออก​แล้วร​ บั บ​ ำเหน็จบ​ ำนาญ คุณ​ ก็​ไป​ทำ​อย่าง​อื่น​ได้ ถ้าจ​ ะ​ทำ​จริงๆ ต้อง​อาศัยร​ ะยะ​เวลา​ ช่วย ปีแ​ รกๆ ต้อง​เริม่ แ​ บบ​คอ่ ย​เป็นค​ อ่ ย​ไป เช่น กรม​ส่ง​เสริม​สหกรณ์ คุณ​จะ​ไป​ส่ง​ เสริม​อะไร​สหกรณ์ ทำไม​ไม่​ให้​ท้อง​ถิ่น​

​เขา​ส่ง​เสริม​กันเอง หรือ​กรม​ตรวจ​บัญชี​ สหกรณ์ ทำไม​คุณ​ไม่​จ้าง​คน​ข้าง​นอก​มา​ ตรวจ ทำไม​ต้อง​มี​กรม​นี้ หรื อ ​ก รม​ท างหลวง ก็ ​มี ห น้ า ​ที่ ​ ออกแบบ​ถนน พอ​ท้อง​ถิ่น​บอก​ว่า​อยาก​ ได้​แบบ 6 เลน ก็​เสนอ​ให้​เขา​สัก 3 แบบ แบบ​แพง ปาน​กลาง และ​แบบ​ถูก​แต่​ได้​ มาตรฐาน คือค​ ณ ุ ช​ ว่ ย​เหลือเ​ขา ไม่ใช่ไ​ป​ทำ​ เอง แล้วไป​ซื้อ​ที่ดิน​ดัก​ไว้ (หัวเราะ) ถ้า​รัฐบาล​ยัง​กลัว​ว่า​ท้อง​ถิ่น​จะ​ทำ​ เละเทะ ก็​เก็บ​สิ่ง​ที่​ดู​แล้ว​ไม่​ควร​ปล่อย​ให้​ จัดการ​กันเอง​เอา​ไว้​ก็ได้ เหมือน​เรา​มี​ลูก​ เพิ่ง​เดิน​ได้​แล้ว​เขา​ไป​เดิน​เล่น​สนาม​หญ้า ก็​น่า​จะ​ปล่อย​ให้​เดิน​เอง​ได้ แต่​ถ้า​เขา​จะ​ ข้าม​ถนน คุณ​อาจ​จะ​ไป​ยืน​ดู​ใกล้ๆ หรือ​ ล็อค​ตวั เ​ขา​ไว้ ยังไ​ม่ใ​ห้ข​ า้ ม​กไ็ ด้ ไม่ใช่ป​ ล่อย 100 เปอร์เซ็นต์...แต่​นี่​คุณ​ไม่​คิด​จะ​ปล่อย​ ให้​เขา​เดิน​เอง​เลย แต่​ที่​ผ่าน​มา เรา​ก็​ปฏิเสธ​ไม่​ได้​ว่า พอ​ให้​ หน่วย​งาน​ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​บาง​ที่​มี​ อำนาจ​มาก ก็​กลาย​เป็นการ​สร้าง​ผู้​อิทธิพล​ ท้อง​ถิ่น​ไป​ใน​ตัว? ถูก​ต้อง...มัน​เป็น​จริงๆ แต่​แน่นอน ก็​ตรง​นี้​ไง​ผม​ถึง​บอก​ ว่า ถ้า​ผม​เป็น ป.ป.ช. (สำนักงาน​คณะ​ กรรมการ​ป้ อ งกั น ​แ ละ​ป ราบ​ป ราม​ก าร​ ทุจริต​แห่ง​ชาติ) ผม​ก็​ต้อง​เพิ่ม​จุด เพิ่ม​ วิธี​การ เรื่อง​การ​ป้องกัน​และ​ปราบ​ปราม มัน​ต้อง​ปราบ​ปราม​จนถึง​ที่สุด อย่าง​ฝรั่ง​ ขับ​รถ​มา​ถึง​ทางม้าลาย​แล้ว​ต้อง​หยุด​เลย อาจ​จะ​ตงั้ แต่ล​ กู ทำไม​ลกู ห​ ยุด เพราะ​เห็น​ พ่อห​ ยุด หรือถ​ กู จ​ บั จ​ น​หยุด ฉะนัน้ ตอน​หลัง​ ​มัน​ก็​ชิน​ที่​จะ​หยุด​ตรง​ทางม้าลาย แต่​ของ​ เรา​มัน​ไม่​ชิน ก็​เลย​ขับ​ไป​เรื่อยๆ ถ้า​จะ​ปราบ​คอรัปชั่น ปราบ​มาเฟีย เรา​ก็​มี​กฎหมาย​อาญา ควบคุม​เรื่อง​อั้งยี่ ซ่องโจร คุณ​ก็​ทำ​ไป​สิ ถ้า​เขา​ตั้ง​ตัว​เป็น​ ซุ้ม​มือปืน เจ้า​พ่อ​เจ้า​แม่ คุณ​ก็​ปราบ​ไป​สิ​ ตำรวจ​ก็​มี​อยู่​ใน​มือ อยู่​ที่​ความ​จริงใจ​ที่​

นน 10 สาย ต้อง​มา​ทำ​ประชา​พิจารณ์ ต้อง​มี​ าม​ คิดเ​ห็นก​ อ่ น เมือ่ ช​ าว​บา้ น​รบั ร​ ว​ู้ า่ ค​ ณ ุ จ​ ะ​ทำ​ าร​ เลือก​ต้งั เขา​ก็​ต้อง​ฟัง​เสียง​ประชาชน

ปราบ​เท่านั้น​แหละ ประชาชน​ก็​ต้อง​ให้​ เบาะแส คื อ ​ทุ ก ๆ เรื่ อ ง ประชาชน​จ ะ​ไ ป​​ งอ​มือ​งอ​เท้า​อยู่​ก็​ไม่​ได้ เรา​ก็​ต้อง​มี​วิธี​ยุยง​ ให้ป​ ระชาชน​แข็งข​ อ้ ก​ บั ค​ น​ไม่ด​ ี แล้วร​ ฐั บาล​ ก็เ​ข้าไป​ปราบ​ปราม ป.ป.ช. ก็ต​ อ้ ง​มเ​ี ทคนิค​ เพิม่ ข​ นึ้ เ​พือ่ จ​ ดั การ​กบั พ​ วก​ทอ้ ง​ถนิ่ อาจ​จะ​ แยก​ออก​มา​เป็น ป.ป.ช. ท้อง​ถิ่น หรือ​ตั้ง​ สาขา​เพื่อ​เล่น​งาน​โดย​เฉพาะ แล้ว​ประชาชน​จะ​ตรวจ​สอบ​องค์การ​ ปกครอง​ส่วน​ท้อง​ถิ่น​เหล่าน​ ี้​อย่างไร กลไก​ที่​ว่า​มัน​ต้อง​ไป​แก้​กฎหมาย ตัวอย่าง ผม​เป็นเ​ทศบาล มีโ​ครงการ​สร้าง​ ถนน 10 สาย ต้อง​มา​ทำ​ประชา​พิจารณ์ ต้อง​มก​ี ระบวนการ ก่อน​ทำ​ตอ้ ง​มก​ี าร​รบั ฟ​ งั ​ ค​ วาม​คดิ เ​ห็นก​ อ่ น เมือ่ ช​ าว​บา้ น​รบั ร​ ว​ู้ า่ ค​ ณ ุ ​ จะ​ทำ ก็อ​ อก​มา​ตอ่ ร​ อง ถ้าผ​ บ​ู้ ริหาร​มา​จาก​ การ​เลือก​ตั้ง เขา​ก็​ต้อง​ฟัง​เสียง​ประชาชน แต่​พอ​คุย​กัน​ดิบดี​อย่าง​หนึ่ง แล้ว​ ทำ​เหมือน​เดิม ประชาชน​ก็​จะ​ได้​จำ​ไว้ แต่​ ถ้า​ประชาชน​ไม่​จำ ก็​เป็น​เวร​กรรม​ของ​ บ้าน​เมือง เรา​ส อน​ใ ห้ ​ป ระชาชน​เ ข้ ม ​แ ข็ ง เหมือน​เรา​เป็น​พ่อ (กระทรวง​มหาดไทย)

สอน​ลูกสาว (ประชาชน) ที่​ไป​แต่งงาน​กับ​ ผู้ชาย (ท้อง​ถิ่น) ผม​ก็​ต้อง​สอน​การบ้าน​ การเรือน ลูกสาว​ต้อง​ทำ​กับข้าว​ให้​สามี แต่​ไม่ใช่​พอ​มี​ปัญหา​แล้ว​พ่อ​ต้อง​โดด​ลง​ไป​ ช่วย​ทุก​ครั้ง เรา​ต้อง​สอน​ลูก​เรา​ให้​จัดการ​ กับ​สามี ใน​ที่สุด ถ้า​อยู่​ไม่​ได้​จริงๆ ก็​ต้อง​ เปลี่ยน​สามี​ใหม่ มี​พรรคการเมือง​ไหน​ให้​ความ​สนใจ หรือ​มี​ ท่าที​ตอบ​รบั ข​ อ้ ​เสนอ​เรือ่ ง​การก​ระ​จา​ยอำ​นาจ ​ของ คปร. บ้าง หาก​ได้​เป็น​รัฐบาล​ใหม่ พอ​พู ด ​เ รื่ อ ง​ป ฏิ รู ป ทุ ก ​พ รรค​ ก็ ​รั บ ปาก​ห มด ว่ า ​จ ะ​ก ระจาย​อ ำนาจ​ สู่ ​ป ระชาชน​ม าก​ขึ้ น ไม่ มี ​ใ คร​บ อก​ว่ า​ ทำ​ไม่​ได้ แต่​ได้​รับ​เลือก​ตั้ง​แล้ว​จะ​ทำ​หรือ​ เปล่า​เท่านั้น แต่ท​ งั้ หมด​นี้ เวลา​เสนอ จะ​ไป​บอก​ ว่าม​ ท​ี งั้ ป​ ฏิรปู อ​ ย่าง​ออ่ น อย่าง​กลาง อย่าง​ แก่ ไม่​ได้ เรา​ก็​ต้อง​ออก​มา​ก่อน แล้ว​คุณ​ ค่อย​ไป​ดัดแปลง​เอา มี​พรรคการเมือง​ หนึ่ง​เข้า​มา​ถาม​ถึง​ราย​ละเอียด คือ​มัน​ให้​ ราย​ล ะเอี ย ด​ไ ม่ ​ไ หว​ห รอก ตอน​นี้ ​มี ​ คอนเซ็ปท์​แล้ว คุณ​ก็​ไป​จัดการ​เอา การ​จะ​ถ่าย​โอน​อำนาจ​รัฐ​ออก​ไป​ เป็น​เรื่อง​ใหญ่ คุณ​ก็​ไป​คิด​ต่อ เรา​คิด​แทน​ ไม่​ไหว แต่​บอก​ได้​เลย​ว่า ถ้า​ไม่​ถ่าย​โอน บ้าน​เมือง​ไป​ไม่​รอด จริงๆ มัน​อาจ​จะ​​ ไม่​ดี​ก็ได้ รวม​ศูนย์​แบบ​เดิม​ดีแล้ว ก็ได้​ พิสจู น์ก​ นั แต่ถ​ า้ เ​รา​ไป​ดท​ู วั่ โ​ลก​ทเ​ี่ ขา​เจริญ เขา​ก็​ล้วน​แต่​ให้​ประชาชน​รับ​ผิด​ชอบ​ตัว​ เอง​ทั้ง​นั้น เหมือน​ถ้า​คุณ​มี​ลูก​แล้ว​ทำให้​ลูก​ ทุก​อย่าง ถ้า​คุณ​ตาย​ไป ลูก​คุณ​เป็น​ง่อย​ แหง​เลย ทำ​อะไร​ไม่​เป็น


26

รู้เรียน

สันติสุข กาญจนประกร

ขยะ ชาวนา ข้าวอินทรีย์

และเรื่องขี้ๆ ในสถานศึกษา

วัด

จ​ าก​รูป​ทรง มวลสาร สถิตย์ เม่น​แต้ม ชาย​กลาง​คน​ผิว​สนิท​กับ​แดด แห่ง​ตำบล​​ หาด​สอง​แคว อำเภอ​ตรอน จังหวัด​อุตรดิตถ์ ไม่ใช่​คน​ยอม​ก้ม​หัว​ให้​ใคร​ง่ายๆ กล่าว​ให้ต​ รง​กว่าน​ นั้ สถิตย์เ​ป็นช​ าวนา​โดย​กำเนิด มีห​ รือจ​ ะ​ยอม​ให้ใ​คร​มา​สอน​ทำ​นา​ ของ​แบบ​นี้​มัน​เสีย​เหลี่ยม ยิ่ง​กับ​คน​ที่​ผิว​เหมือน​ไม่​เคย​ถูก​แสง​อาทิตย์​แตะ​ต้อง หลีก​ได้... หลีก​ไป​เลย ผู้​ช่วย​อธิการบดี วิ​รัตน์ จำนง​รัตน​พันธ์ แห่ง มหาวิทยาลัย​ราชภัฏ​อุตรดิตถ์ คือ​ชาย​ ทีผ​่ วิ เ​หมือน​ไม่เ​คย​ถกู แ​ สง​อาทิตย์แ​ ตะ​ตอ้ ง ใช้เ​วลา​สว่ น​ใหญ่อ​ ยูใ​่ น​สถาน​ศกึ ษา ไม่ต​ า่ ง​จาก​ นัก​วิชาการ​ทั่วไป แต่​เขา​ทำให้​ชาย​ผิว​เกรียม​แดด​อย่าง​สถิตย์​ยอม​ก้ม​หัว เปล่า-ไม่ไ​ด้ก​ ม้ อ​ ย่าง​ยอม​จำนน แต่เ​พือ่ แ​ สดง​การ​ยอมรับใ​น​สงิ่ ท​ เ​ี่ หล่าค​ ณาจารย์น​ ำ​ องค์​ความ​รู้​มา​ให้ “พวก​อาจารย์​นำ​สิ่ง​ดีๆ มา​ช่วย​พัฒนา​ชุมชน” สถิตย์​ว่า ไม่มี​ตำรา​เล่ม​โต ไม่มี​ใบ​ปริญญา สำคัญ​ยิ่ง​กว่า ความ​สำเร็จ​อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม​ของ​ ‘1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด’ ที่​มหาวิทยาลัย​ราชภัฏ​อุตรดิตถ์​ส่ง​ผ่าน​ไป​ยัง​ชุมชน คือ​การ​ ทำให้​ชาว​บ้าน​ยอมรับ และ​ไม่​ทำตัว​ประดุจ​เทพเจ้า​แห่ง​ความ​รู้ แต่​มัน​คือ​การ​แลก​เปลี่ยน​ ซึ่ง​กัน​และ​กัน สถิตย์ เม่น​แต้ม

ขยะ​และ​ลักษณะ​ของ​ชาวนา

ผู้​ช่วย​อธิการบดี วิ​รัตน์ จำนง​รัตน​ พันธ์ คือ​หัว​เรี่ยว​หัวแรง​สำคัญ​ที่​เข้าไป​ช่วย​

ชาว​บ้าน จัดการ​เรื่อง​ขยะ ไม่​ได้​มี​เศษ​ปฏิกูล​ล้น​เมือง​เกลื่อน​ กลาด ประเภท​ถึง​ขั้น​เศษ​ผัก​เศษ​อาหาร​ กอง​อยู่​ตาม​ริม​ถนน แต่​อาจารย์​ให้​ทัศนะ​ที่​ น่า​สนใจ​กว่า​นั้น “ปัญหา​การ​จดั การ​ขยะ​เป็นเ​รือ่ ง​ทมี่ า​ พร้อม​กับ​การ​พัฒนา​และ​ยุค​สมัย ทำไม​เรา​ ต้อง​ปล่อย​ปละ​ให้ม​ นั เ​กิดข​ นึ้ ก​ อ่ น แล้วค​ อ่ ย​ ตาม​เช็ด​ตาม​แก้” กระนัน้ ทีต​่ ำบล​หาด​สอง​แคว บาง​จดุ ​ บาง​แ ห่ ง ​เริ่ ม ​มี ​ค น​เอา​ข ยะ​ไ ป​ทิ้ ง ​ใ น​พื้ น ที่ ​ สาธารณะ ตาม​ข้าง​ทาง “เรา​ต้อง​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​ของ​ คน​ที่​ยัง​ไม่​ถูก​วาง​เงื่อนไข ยัง​ไม่​ได้​ถูก​วิธี​คิด​ ของ​คน​เมือง​มา​ครอบ อย่าง​การ​ที่​แก้​อะไร​

ไม่​ได้ ก็​จะ​พึ่ง​แต่​เทคโนโลยี ไม่​เคย​คิด​พึ่ง​ ตนเอง ส่วน​วิกฤติ​หรือ​ไม่​นั้น เรา​ดู​ได้​จาก​ ปริมาณ​การ​ผลิตข​ ยะ​ตอ่ ห​ วั ต่อค​ น ซึง่ ต​ วั เลข​ ต่อ​วัน​นี่​ถือว่า​อันตราย และ​วิธี​แก้​ปัญหา​ ขยะ ไม่​ได้​หมายความ​ว่า​เอา​ไป​เผา​เท่านั้น แต่​มัน​น่า​จะ​อยู่​ที่​คน​ต้น​เหตุ เพราะ​มัน​คือ​ การ​ลงทุน​ที่​น้อย​ที่สุด” นัน่ ห​ มายความ​วา่ ทาง​มหาวิทยาลัย​ ได้ ​ป ระสาน​กั บ ​ห น่ ว ย​ง าน​ภ าคี ​ท้ อ ง​ถิ่ น เข้าไป​ให้​ความ​รู้​เรื่อง​การ​คัด​แยก​ขยะ เพื่อ​ นำ​ไ ป​สู่ ​ก าร​ข าย​เ ชิ ง ​พ าณิ ช ย์ และ​น ำ​ไ ป​ หมักเ​ป็นป​ ยุ๋ เพือ่ ล​ ด​ตน้ ทุนก​ าร​ผลิตใ​น​ภาค​ เกษตรกรรม เป็น 1 ใน​งาน 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด ที่​เห็น​เป็น​รูป​ธรรม รศ.ดร.ฉัตร​นภา พรหม​มา หัวหน้า​ โครงการ เล่า​ให้​ฟัง​ว่า 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด ของ​มหาวิทยาลัย​ราชภัฏ​อุตรดิตถ์​

ทำ​กั น ​ม า​ต่ อ ​เ นื่ อ ง​ย าวนาน ที่ ​เ ห็ น ​ชั ด ๆ คือ​เริ่ม​จาก​ทุน​ของ สำนักงาน​สนับสนุน​ กองทุ น ​ก าร​วิ จั ย (สกว.) และ​ไ ด้ ​รั บ ​ทุ น​ จาก สำนักงาน​กองทุน​สนับสนุน​การ​สร้าง​ เสริมสุข​ภาพ (สสส.) เพื่อ​นำ​มา​ต่อย​อด​ใน​ ปี 2551 “ฐาน​คดิ ก​ าร​ทำงาน คือม​ หาวิทยาลัย​ เพื่อ​ท้อง​ถิ่น โดย​กา​รบู​รณา​การ​พันธ​กิจ​ ของ​มหาวิทยาลัย เข้า​กับ​สถานการณ์​จริง​ ใน​ชุ ม ชน มี ​ค วาม​ร่ ว ม​มื อ ​ตั้ ง แต่ ​ต้ น ทาง ระหว่าง​ทาง และ​ปลาย​ทาง มี​ศูนย์​เรียน​ร​ู้ และ​พั ฒ นา​สุ ข ​ภ าวะ​แ ห่ ง ​ม หาวิ ท ยาลั ย​ ราชภัฏ​อุตรดิตถ์​และ​เครือ​ข่าย​เป็น​กลไก​ การ​ทำงาน เพื่อ​เป็น​ศูนย์กลาง​เชื่อม​โยง​ ภาค​ประชาชน​กับ​มหาวิทยาลัย และ​ภาคี​ ให้​เกิด​ความ​ยั่งยืน” 3 ปี นับ​จาก 2551-2553 มี​การ​ สร้าง​กลไก​เชิงร​ ะบบ​เพือ่ ข​ บั เ​คลือ่ น​ได้อ​ ย่าง​


27

ยั่ ง ยื น นำ​ม า​สู่ ​ก าร​ส ร้ า ง​ชุ ด ​โ จทย์ ​ต ำบล ออกแบบ​ให้​มี​เจ้า​ภาพ​แต่ละ​พื้นที่ ใช้​หน่วย​ จัดการ​งาน​วจิ ยั แ​ ต่ละ​คณะ​เป็นผ​ รู้ บั ผ​ ดิ ช​ อบ 1 คณะ​อย่าง​น้อย 3 ตำบล “เรา​ทำ​ภาพ​ชดั ๆ ของ​แต่ละ​พนื้ ทีเ​่ ลย​ ว่า ใน​แต่ละ​ตำบล 30 ตำบล มีส​ ถานการณ์ ปัญหา​อะไร เพื่อ​มุ่ง​สู่​ตำบล​สุข​ภาวะ ทั้งนี้ มี​ฐาน​ย่อย​อยู่ 5 อย่าง คือ ศักยภาพ​และ​ ทุน​ชุมชน แหล่ง​เรียน​รู้​และ​เครือ​ข่าย องค์​ ความ​รู้ ​ด้ า น​นวั ต กรรม​ภู มิ ปั ญ ญา​ที่ ​มี ​อ ยู่ สถานการณ์ส​ ขุ ภ​ าวะ และ​ปญ ั หา​หรือโ​จทย์​ ที่​ยังข​ าด​องค์​ความ​รู้” แม้​มี​การ​แบ่ง​ความ​รับ​ผิด​ชอบ แต่​ การ​แก้โ​จทย์ต​ า่ งๆ มีก​ าร​เชือ่ ม​โยง​หน่วย​งาน​ ​ที่ ​เ หมาะ​ส ม​กั บ ​แ ต่ ล ะ​ด้ า น​เ ข้ า ​ด้ ว ย​กั น​ พูดง​ า่ ยๆ โจทย์เ​ชือ่ ม​กบั ค​ ณะ​ไหน คณะ​นนั้ ​ ก็​จะ​เข้า​มา​ช่วย ส่วน​สถิตย์​ชาย​ผิว​สนิท​กับ​แดด​ที่​มี​ บ้าน​ปลูก​อยู่​ใกล้ๆ แปลง​นา​เขียว​ชุ่ม​ตา เล่า​ว่า “แต่ละ​วนั เรา​บริโภค​เศษ​อาหาร เศษ​ ผัก เศษ​เนื้อ เรา​ก็​เอา​มา​ใส่​ถัง ซึ่ง​ได้​จาก​ การ​อบรม​ที่​เรา​เสีย​เงิน​ไป 29 บาท เอา​ จุลินทรีย์​แห้ง​มา​ใส่​เป็น​ชั้นๆ วัน​รุ่ง​ขึ้น​เรา​ ก็​ใส่อ​ ีก ประมาณ 15-20 วัน ก็​จะ​ได้​เป็น​ น้ำ​หมัก นำ​ไป​เจือ​จาง ถ้า 50 ซี​ซี ก็​ผสม​ น้ำ​ได้ 20 ลิตร เพราะ​มัน​มี​ความ​เป็นก​รด​ สูง เมื่อ​ปลาย​ปี 2546 หลัง​จาก อบต. กับ​ มหาวิทยาลัยล​ ง​นาม​รว่ ม​กนั จึงเ​ริม่ ม​ ก​ี าร​ทำ​ ปุ๋ย​ใช้​เอง ใน​โครงการ​ลด​ต้นทุน​การ​ผลิต” ที่​ต้อง​ลด​ต้นทุน เพราะ​จาก​การ​เก็บ​ ข้อมูล สาเหตุ​หนึ่ง​ที่​เกษตรกร​มี​หนี้​สิน มา​ จาก​ต้นทุน​การ​ผลิต​ที่​สูง หลัง​จาก​เรื่อง​ลด​ ต้นทุน มหาวิทยาลัย​จึง​ชักชวน​ให้​ชาวนา​ หัน​มา​ปลูก ‘ข้าว​อินทรีย์’ เพื่อ​สุขภาพ​ที่​ดี​ ถ้วน​หน้า โดย​อาจารย์​วิ​รัตน์​เชื่อ​ว่า ข้าว​ที่​ มี​คุณภาพ ต้อง​มา​จาก​คน​ทำ​ที่​มี​คุณภาพ​

ด้วย

ถาม​ว่า​ชาวนา​ที่​ยัง​มี​หนี้​สิน จู่ๆ จะ​ กลับ​ตัว​มา​ทำ​เกษตร​แบบ​อินทรีย์​เลย​ได้​ ไหม “ชาวนา​ทั่วไป​ขาย​ข้าว 8,000 บาท ใน​โครงการ​เรา​ขาย 18,360 บาท มัน​ต้อง​ มา​นั่ง​คุย​กัน​ว่า​อดีต​คุณ​เป็น​อย่างไร​ถึง​เป็น​ หนี้ เกี่ยว​ข้าว ทำไม​หน้าตา​หดหู่ ทั้งหมด​ที่​ หนักใจ ทำไม​ไม่​ลอง​วิธี​อื่น​บ้าง ซึ่ง​ไม่ใช่​สิ่ง​ แปลก​ใหม่​อะไร เรา​เคย​ทำ​มา​ตั้งแต่​ดั้งเดิม เรา​เปรียบ​เทียบ​ให้​เห็น​ว่า ต่อ​ไร่​ต้นทุน​มัน​ เท่า​ไหร่ ท้าย​สุด ต้นทุน​ก็​ต่ำ​กว่า ใน​ขณะ​ที่​ ขาย​ได้​ราคา​สูง​กว่า “อาจ​มี​บาง​คน​ที่​กังวล​ว่า ถ้า​ไม่​เป็น​ อย่าง​ที่​คิด จะ​เอา​เงิน​ไหน​ส่ง​ธนาคาร เรา​ ก็​บอก เอา​งี้ เริ่ม​ต้น​โดย​การ​ทำ​นา​แปลง​ รวม​ก่อน​ไหม ช่วย​กัน 5 ไร่ 3 ไร่ จน​มั่นใจ จุด​อ่อน​อย่าง​หนึ่ง​คือ การ​ทำ​แล้ว​ไม่​ครบ​ วงจร ที่​เรา​จะ​ทำ​ใน​อนาคต​คือ​แบบ​ครบ​ วงจร ตัง้ แต่ผ​ ลิต จนถึงส​ ง่ ข​ าย เป็นโ​ครงการ​ เกษตร​ข้าว​อินทรีย์​ครบ​วงจร แต่​ไม่ใช่​การ​ คลี่​ตำรา​มา​ทำ​แผน​ธุรกิจ”

ขี้​วัว...เหม็น​อย่าง​มี​คุณค่า

อี ก ​ห นึ่ ง ​ตั ว อย่ า ง​ข อง​ก ารนำ​อ งค์ ​ ความ​รจ​ู้ าก 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด ไป​ส​ู่ ชุมชน คือก​ าร​ทำ​แก๊สช​ วี ภาพ​จาก​ขว​ี้ วั ...แล้ว​ ทำไม​ต้อง​ขี้ แล้ว​ทำไม​ต้อง​วัว ที่​บ้าน​ห้วย​บง ตำบล​ป่า​เซ่า อำเภอ​ เมือง ชาว​บ้าน​เลี้ยง​วัว​กัน​เยอะ แต่​พวก​เขา​​ มอง​ข้ า ม​ค วาม​ส ำคั ญ​ข อง​สิ่ ง ​เ หม็ น ๆ นี้ เนื่องจาก​เห็น​อยู่​ทุก​เมื่อ​เชื่อ​วัน ผศ.ดร.เจษฎา มิ่ ง ​ฉ าย แห่ ง ​ค ณะ​ เกษตรศาสตร์ เล่า​ว่า ทีม​นัก​วิชาการ​เข้าไป​ ประเมินศ​ กั ยภาพ​ใน​ดา้ น​ตา่ งๆ ทีส่ ดุ จ​ งึ เ​ห็น​ ประกาย​จาก​สิ่ง​ที่​ชาว​บ้าน​ไม่​แยแส “คิด​ดู มี​วัว​ตั้ง 800 ตัว วัว 1 ตัว

ขี้​ประมาณ 6 กิโลกรัม แล้ว​ใน​พื้นที่​จะ​มี​ กี่​ตัน​ต่อ​วัน เมื่อ​ก่อน ชาว​บ้าน​ก็​แค่​ตาก​ แห้ง​ขาย ทำ​ปุ๋ย ซึ่ง​เป็น​ทาง​เลือก​หนึ่ง แต่​ นัก​วิจัย​ใน​คณะ​นั่ง​ประชุม​กัน ถ้า​เรา​เอา​วัว​ เ​ป็นต​ วั เ​กณฑ์ เหมือน​ทเ​ี่ รา​เอา​เด็กเ​ป็นต​ วั ต​ งั้ ​ ใน​การ​ศึกษา ใช้​วัว​เป็น​ศูนย์กลาง เรา​จะ​ พัฒนา​อะไร​ได้​บ้าง “สิ่ง​ที่​ได้​คือ แก๊ส​ใช้​ใน​ครัว​เรือน​จาก​ ขี้​วัว แต่​ก่อน​โดย​เฉลี่ย คน​บ้าน​ห้วย​บง ใช้​ แก๊ส​เฉลี่ย 2 เดือน ต่อ 1 ถัง ต่อ 1 ครัว​ เรื อ น เป็ น ​เงิ น 300 บาท มา​ใช้​ตรง​นี้ ​ สา​มารถ​ลด​คา่ ใ​ช้จ​ า่ ย​ไป​ได้เ​ฉลีย่ 100-150 บาท ของ​เสีย​ที่​ออก​มา​จาก​ระบบ นำ​มา​ ทำ​ปุ๋ย​ได้ เพราะ​ขี้​วัว ถ้า​นำ​มา​ใส่​ต้นไม้​เลย หญ้า​จะ​ขึ้น​เยอะ” ที่สุด​จึง​ตั้ง​เป็น หมู่บ้าน​วิทยาลัย​วัว โดย​มผ​ี ใู้ หญ่บ​ า้ น จินดา มาฮวด เป็นแ​ กน​นำ​ คน​สำคัญใ​น​การ​รบั ช​ ว่ ง​ความ​รจ​ู้ าก​อาจารย์​ มา​เล่า​ต่อ​ให้​ลูก​บ้าน​ฟัง “แรกๆ มันก​ น​็ า่ ก​ ลัวน​ ะ กลัวต​ มู ตาม แต่​พอ​มี​ความ​รู้ จริงๆ มัน​ไม่​อันตราย เรา​ สามารถ​ดูแล​ได้ แถม​ใช้​แทน​แก๊ส​ถัง​ได้​เลย​ นะ แต่​ยัง​ไง​เรา​ก็​ควร​มี​สำรอง​ไว้​ด้วย ผม​นี่​ อย่าง​เคย​ใช้อ​ ยู่ 2 เดือน​ตอ่ ถ​ งั ก็ข​ ยับไ​ป​เป็น 4 เดือน แก๊ส​จาก​ขี้​วัว​ไม่​เหม็น​ด้วย ปิ้ง​ปลา​ อะไร​ก็ได้ รสชาติ​อาหาร​ไม่​เสีย” ชาว​บ้าน​บาง​คน​ลงทุน​ทอด​ไข่​ให้​กิน ทั้ง​ไข่​ดาว ไข่​เจียว รสชาติ​ไม่​ต่าง​จาก​ไข่​ใน​ เมือง​กรุง “ประหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​ครัว​เรือน​ลด​ ครึ่ง​ต่อ​ครึ่ง​เลย หุง​ข้าว​ก็​ไม่​ใช้​ไฟฟ้า​แล้ว เปิดไ​ด้น​ าน​สดุ ก​ เ​็ ป็นช​ วั่ โมง​ตอ่ เ​นือ่ ง​กนั ข้าว​ เหนียว​สุก​แล้ว เปิด​ปุ๊บ ติด​ปั๊บ น้ำ​ที่​ออก​มา​ จาก​การ​ผลิต ผม​ได้​ทดลอง​นำ​แทน​ปุ๋ย​น้ำ​ ฉีด​ทาง​ใบ ได้​ผล​ดี อย่าง​มะนาว ตอน​แรก​ ไม่​ค่อย​มี​ลูก พอ​เอา​ราด​โคน​ต้น ลูก​ดก​ดี​ มาก มะม่วง​นี่​ต้อง​ค้ำ​กิ่ง​เลย”

ทั้ง​ยัง​มี​การ​ตั้ง​ธนาคาร​ขี้​วัว​ขึ้น เพื่อ​ การ​ค้าขาย​เชิง​พาณิชย์​ที่​เป็น​ระบบ “เรา​ได้​รับ​การ​เรียน​รู้ ประชาคม​กับ​ ทาง​มหาวิทยาลัย เลย​คิด​ตั้ง​ธนาคาร​ขี้​วัว​ เป็น​จุด​จำหน่าย​แห่ง​เดียว​ใน​หมู่บ้าน เรา​ จะ​ได้​กำหนด​ราคา​ได้​เสมอ​กัน มี​การ​ถือ​ หุ้น ก่อน​หน้า​นั้น เรา​ก็​ไม่มี​ข้อมูล ว่า​ทำ​กัน​ อย่างไร หา​จุด​พอดี​ไม่​ได้ พอได้​อาจารย์​มา​ ช่วย ก็​เหมือน​มี​ที่​พึ่ง ได้​รับ​ความ​รู้ มา​ช่วย​ มอง​ว่า​วัตถุดิบ​ใน​หมู่บ้าน​เรา อะไร​มี​คุณ​ ประโยชน์” ระหว่ า ง​นั่ ง ​ร ถ​ไ ป​ช ม​ส วน​ทุ เ รี ย น​​ พืน้ เ​มือง​บน​ภเู ขา​ทอ​ี่ ำเภอ​ลบั แล เรา​ถาม​ถงึ ​ หั ว ใจ​ส ำคั ญ ​ข อง​ค วาม​ส ำเร็ จ ​ใ น​ง าน 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด รศ.ดร.ฉัตร​นภา เฉลย​ว่า อันดับ​แรก​ผู้นำ​ต้อง​มี​เป้า​หมาย ผสาน​ด้วย​ความ​มุ่ง​มั่น​ของ​ผู้​ปฏิบัติ คือ​ อาจารย์ “ต้อง​สร้าง​การ​บริหาร​จดั การ​ให้ม​ อ​ี ยู​่ ใน​ทกุ ค​ ณะ ทุกอ​ งค์กร มีก​ าร​เชือ่ ม​โยง​ความ​ร​ู้ กับ​ชุมชน​ท้อง​ถิ่น​อย่าง​หมุนเวียน ต้อง​ได้​ ข้อมูล​สถานการณ์​จริง เรา​มี​ข้อมูล​จาก​ทุก​ ตำบล โดย​มี 30 ตำบล​หลักๆ ต้อง​อัพเดท​ ข้อมูล​ทุก​ปี” มี​คน​บอก​ว่า ทุเรียน​หลง​ลับแล​ของ​ จังหวัด​อุตรดิตถ์​หวาน เม็ด​เล็ก กิน​อร่อย เรา​ไ ม่ ​แ น่ ใ จ​นั ก​ว่ า ​จ ะ​เป็ น ​ต าม​นั้ น​ ไหม...แต่​เรา​เชื่อ และ​รู้​ว่า​สิ่ง​ไหน​เป็น​ความ​ แน่นอน คุณ​รู้​หรือ​ยัง


28

Media

วิไลวรรณ จงวิไลเกษม

สื่อยูโทเปีย: ความจริง-มายาคติ ป

รากฏการณ์แ​ ห่ง ‘Social Media’ ใน​การ​หา​เสียง​เลือก​ตงั้ ส​ มาชิกส​ ภา​ผแ​ู้ ทน​ราษฎร ใน​วนั ท​ ี่ 3 กรกฎาคม ของ 2 พรรค​ใหญ่ เช่น ประชาธิปตั ย์ และ เพือ่ ไ​ทย อย่าง​เต็มร​ ปู แ​ บบ​ครัง้ แ​ รก ถือเ​ป็นจ​ ดุ เ​ปลีย่ น(Turning Point) เพือ่ ก​ าร​ปฏิรปู ว​ ฒ ั นธรรม​ แบบ​ใหม่​สำหรับ​คน​ทำ​สื่อ เป็น​บท​เรียน​ที่​คน​ทำ​สื่อ​กระแส​หลัก(เก่า) ต้อง​ตระหนัก​รู้​ว่า ‘ใครๆ ก็​เป็น​เจ้าของ​สื่อ​ได้’ ทัศนะ​แม่บท​ดั้งเดิม​ที่​ว่า สื่อ​กระแส​หลัก​แบบ ต้อง​ทำ​หน้าที่​เป็น​นาย​ประตู​ข่าวสาร (Gatekeeper) หรือ​เป็นก​ระ​จก (Mirror) หรือเ​ป็น​ตะเกียง (Lamp) อุปมา​เพื่อ​ให้​เห็น​ความ​เป็น​ผู้ทรง​อิทธิพล​ต่อ​สังคม ใน​ด้าน​การ​รับ​รู้​ข้อมูล ข่าวสาร ความ​รู้​ และ​ความ​บันเทิง​ต่างๆ ถูก​ท้าทาย​แบบ​ม้วน​ตัว ชนิด​ที่​คน​ทำ​สื่อ​ต้อง​ถาม​ตัว​เอง​ว่า “ถึง​เวลา​พิจารณา​ตัว​เอง​หรือ​ยัง?”

เพราะ​ใน​โลก​ของ Social Media ไม่มี​คำ​ว่า นาย​ประตู​ข่าวสาร กระจก และ​ตะเกียง เมื่อ​สื่อ​เป็น​ของ​​ ทุก​คน และ​ที่​สำคัญ ใน​พื้นที่​นั้น ทุก​คน​เท่า​เทียม​กัน​หมด

สื่อ​ยูโทเปีย

สังคม​โดย​อัตโนมัติ​อยู่​แล้ว”

สังคม​ยูโทเปีย ไม่​เฉพาะ​เป็น​สังคม​ใน​จินตนาการ​จาก​ นิยาย ‘ยูโทเปีย’ ของ เซอร์ โท​มัส มอร์ (Sir Thomas More) ตัง้ แต่ป​ ี 1516 แต่เ​ป็นส​ งั คม​ใน​ฝนั ข​ อง​ใคร​หลาย​คน (คิดว​ า่ ไ​ม่​ ทั้งหมด) บน​โลก​ทุนนิยม​ใบ​นี้ เขา​เชื่อ​ว่า​ความ​หยิ่ง​ทะนง​เป็น​ หลักก​ าร​สำคัญท​ ท​ี่ ำให้เ​กิดค​ วาม​ชวั่ ร​ า้ ย​ทาง​สงั คม (Social Evil) ดังน​ นั้ ส​ ถาบันต​ า่ งๆ ใน​สงั คม​ยโู ทเปียจ​ งึ ไ​ด้ร​ บั ก​ าร​สร้าง​ขนึ้ เ​พือ่ ​ ควบคุม​ความ​ชั่วร​ ้าย (Vice) เหล่า​นั้น​ไว้ ขณะ​ทส​ี่ งั คม​ยโู ทเปียว​ าง​อยูบ​่ น​พนื้ ฐ​ าน​ความ​เข้าใจ​เรือ่ ง​ ธรรมชาติ​มนุษย์ และ​ความ​สุข​ของ​มนุษย์ นาย​แพทย์​ประเวศ วะ​สี ราษฎร​อาวุโส นักว​ ชิ าการ​ทม​ี่ ค​ี วาม​สนใจ​ดา้ น​สอื่ ไ​ด้เ​สนอ ‘สามเหลี่ยม​ระบบ​สื่อสาร​สร้างสรรค์’ ประกอบ​ด้วย ระบบ​ สื่อสาร ผู้รับ​สาร และ​ระบบ​ติดตาม​เฝ้า​ระวัง​สื่อ ผู้​เขียน​ขอ​ร่วม​วง​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล​จาก​ประสบการณ์​ ที่​เกิด​จาก​หน้าที่​การ​งาน (Lived Experience) โดย​เฉพาะ​ ระบบ​ติดตาม​เฝ้า​ระวัง​สื่อ​ที่ นาย​แพทย์​ประเวศ เสนอ​ให้​คณะ​ วารสารศาสตร์แ​ ละ​นเิ ทศศาสตร์ใ​น​มหาวิทยาลัยท​ งั้ หมด ควร​ จะ​รวม​ตัว​กัน​ตั้ง​สถาบัน​แห่ง​ชาติ​เพื่อ​ติดตาม​เฝ้า​ระวัง​สื่อ ประสบการณ์แ​รก เมื่อ​ปี 2553 ผู้​เขียน​ได้​เข้า​ร่วม​ทำงาน​ กับค​ ณะ​ทำ​งาน​ปฏิร​ ปู ส​ อื่ ท​ ม​ี่ ี รศ.ดร.ยุบล เบ็ญจ​ รงค์ก​ จิ คณบดี​ คณะ​นิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์​มหาวิทยาลัย เป็น​ประธาน ใน​บทบาท​หน้าที่​สัมภาษณ์​เชิง​ลึก​บรรณาธิการ​หนังสือพิมพ์​ ทัง้ หมด 20 กว่าฉ​ บับ ซึง่ ป​ รากฏ​วา่ ไ​ม่มบ​ี รรณาธิการ​ฉบับไ​หน​ ​เ ห็ น ​ด้ ว ย​ที่ ​รั ฐ ​จ ะ​เ ข้ า ​ม า​ป ฏิ ​รู ป ​สื่ อ ​พื้ น ​ฐ าน โดย​ใ ห้ ​เ หตุ ผ ล​​ ตรง​กัน​ว่า

ขณะ​ที่ อาจารย์ส​ ล​ุ กั ษณ์ ศิวร​ กั ษ์ หรือ ส.ศิวร​ กั ษ์ มอง​วา่ ​ สือ่ ท​ กุ ว​ นั น​ ร​ี้ บั ใ​ช้ท​ นุ นิยม​บริโภค​เต็มต​ วั อะไร​กต็ าม​ทส​ี่ ามารถ​ ทำ​เงินได้ อ้าง​ว่า​เพื่อ​ความ​อยู่​รอด​ของ​ธุรกิจ

“เป็นเ​พราะ​วา่ ส​ อื่ ไ​ม่ไ​ด้ร​ บั ก​ าร​ฝกึ อ​ บรม​มา ทำให้​ ไม่​เข้าใจ​เรื่อง​การ​แสวงหา​สัจจะ​ไม่มี​ความ​กล้า​หาญ​ ทาง​จริยธรรม” ส.ศิว​รักษ์ ฝาก​ย้ำ​ให้​ส่ง​ต่อ​ข้อความ​เหล่า​นี้​

ไป​ถึง​อาจารย์​ที่​สอน​ด้าน​สื่อ​ทุก​คน ประสบการณ์ส​ อง เมือ่ ห​ ลาย​ปก​ี อ่ น​ผเ​ู้ ขียน​ทำงาน​เป็นค​ น​ สอน​หนังสือท​ ส​ี่ มั พันธ์ก​ บั ส​ อื่ ใน​มหาวิทยาลัยเ​อกชน ครัง้ ห​ นึง่ คณะ​ได้ด​ ำเนินก​ าร​ปรับปรุงห​ ลักสูตร จึงต​ อ้ ง​เชิญผ​ ทู้ รง​คณ ุ วุฒ​ิ สาย​วิชาการ​และ​สาย​วิชาชีพ​มา​ให้​คำ​แนะนำ​เกี่ยว​กับ​เนื้อหา​ หลักสูตร​ที่​ต้อง​ปรับปรุง ปรากฏ​ว่า มี​คำ​ท้วง​ติง​จาก​นัก​วิชาการ​ทาง​ด้าน​สื่อสาร​ มวลชน​ทา่ น​หนึง่ ให้ป​ รับแ​ ก้ใ​น​สว่ น​ของ​การ​วดั ผล​และ​ประเมิน​ นักศึกษา โดย​อาจารย์​ท่าน​นี้​ให้​ความ​เห็น​ว่า

“มหาวิทยาลัย​ไม่ใช่​โรงเรียน​เทคนิค ดัง​นั้น​การ​ วัดผล​สอบไล่ใ​น​สว่ น​ทฤษฎีค​ วร​ให้น​ ำ้ ห​ นักเ​ท่ากับภ​ าค​ ปฏิบัติ” ซึ่ง​ข้อ​เสนอ​วัดผล​และ​ประเมิน​นักศึกษา​ดัง​กล่าว​นั้น มี​ คำ​แนะนำ​ของ​นกั ว​ ชิ าชีพส​ อื่ มวลชน​ทส​ี่ ะท้อน​ภาพ​นำ้ ห​ นักข​ อง​ การ​เรียน​ใน​ห้อง กับ​การ​ทำงาน​จริง​ออก​มา​ว่า

“นักศึกษา​ปัจจุบัน​ได้​แต่​ทฤษฎี ทำ​อะไร​ไม่​เป็น อย่าค​ าด​หวังไ​ป​ถงึ ว่าจ​ ะ​คดิ ป​ ระเด็นข​ า่ ว​ได้ แค่เ​ขียน​ขา่ ว​ ยัง​จับ​ประเด็น​ไม่​เป็น จึง​ต้องการ​ให้​มหาวิทยาลัย​เน้น​ ภาค​ปฏิบัติ​ให้​มาก เมื่อ​จบ​มา สามารถ​ใช้​การ​ได้​ทันที “เป็น​เรื่อง​ของ​คน​ทำ​สื่อ​ที่​จะ​จัดการ​กันเอง ทุก​ ทุก​วัน​นี้​ไม่รู้​สอน​อะไร​กัน” วัน​นี้​สื่อ​ถูก​กำกับ​โดย​กลไก​ตลาด​และ​การ​ควบคุม​จาก​

ส.ศิว​รักษ์ “สื่อ​วัน​นอี้​ ยูภ่​ าย​ใต้​อคติ 4 อย่าง คือ อคติ​ เพราะ​รัก อคติเ​พราะ​เกลียด อคติ​เพราะ​กลัว และ​ อคติ​เพราะ​หลง ปัจจุบัน​สื่อท​ ำ​ข่าว​เชิง​สืบสวน​น้อย​ เกิด​จาก​อคติ​เพราะ​ความ​กลัว...ณ วัน​นี้ หน้าที่​ของ​ สื่อค​ ือ​ประการ​แรก​ต้อง​ขาย​ได้ จริงๆ ใน​ปรัชญา​ของ​ สื่อ​ไม่มี แต่​ว่า​มัน​เป็น​สิ่ง​ที่​เรียก​ว่าน​อก​หลักสูตร อันดับ​แรก​ขาย​ไม่​ได้​คุณ​อยู่​ได้​ไง”

ฉัตร​ชัย นาม​ตาปี

หัวหน้า​บรรณาธิการ หนังสือพิมพ์​ไทย​โพสต์ “อย่าไ​ป​ฝนั เ​ลย ใคร​จะ​กำกับใ​คร​ได้…ใช่ห​ รือเ​ปล่า ทุกว​ นั น​ ค​ี้ น​ทำ​ สื่อ​รู้​ดี คุณจ​ ะ​ไป​กำกับย​ ัง​ไง คุณไ​ป​กำกับ​ไทย​รัฐ​ได้ร​ึ​เปล่า คือ​มัน​พูดไ​ด้​ มันท​ ำ​ได้ร​เ​ึ ปล่า จริงแ​ ล้วท​ ำ​ไม่ไ​ด้ห​ รอก คุณจ​ ะ​ทำ​ยงั ไ​ง​ถาม​วา่ ส​ มาคม​ จะ​กำกับไ​ทยรัฐไ​ด้ไ​หม สภา​การ​หนังสือพิมพ์ด​ ว้ ย เอา 2 สถาบันเ​ลย... กำกั บ ​ยั ง ​ไง? ทุ ก ​วั น ​นี้ ​ทั้ ง ​ส มาคม ทั้ ง ​ส ภา​ก าร​ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ​ ไม่ไ​ด้ม​ บ​ี ทบาท แค่ท​ ำ​กจิ ก​ ร​รม​เล็กๆ น้อยๆ เพราะ​ถงึ เ​วลา​คณ ุ ไ​ป​กำกับ​ ยัง​ไง มัน​เป็น​เรื่อง​ของ​ธุรกิจ​ไง ใช่​ไหม มันไ​ม่ใช่เ​รื่อง​การ​ทำงาน​เรื่อง​ จรรยา​บรรณ​อย่าง​เดียว คุณ​บอก​ว่า​ช่อง 3 ห้าม​เล่า​ข่าว​อย่าง​นี้ ให้​ ทำ​อย่าง​อื่น​ทำได้ห​ รือ​เปล่า...ทำ​ไม่​ได้”

ความ​จริง – มายา​คติ

จาก 2 ประสบการณ์ แม้​จะ​เป็น​ ความ​คิด​เห็น​ระดับ​ปัจเจกบุคคล แต่​ก็​ ถือว่า​เป็น​ภาพ​ตัวแทน(Representation) ของ​นัก​วิชาชีพ​สื่อ​และ​นัก​วิชาการ ที่​มี​ ปรัชญา​องค์​ความ​รู้​ด้าน​คน​ทำ​สื่อ​ต่าง​กัน ด้วย​เหตุ​นี้​เอง ผู้​เขียน​จึง ​ยัง​มอง​ ไม่​เห็น​ทางออก​สำหรับ​ข้อ​เสนอ​ให้​คณะ​ วารสารศาสตร์ ​แ ละ​นิ เ ทศศาสตร์ ​ใ น​ มหาวิทยาลัย​ทั้งหมด ควร​ที่​จะ​รวม​ตัว​ กัน​ตั้ง​สถาบัน​แห่ง​ชาติ​เพื่อ​ติดตาม​เฝ้า​ ระวัง​สื่อ เข้ า ใจ​ไ ด้ ​ไ ม่ ​ย าก​ว่ า หน่ ว ย​ง าน​​ ดัง​กล่าว​จะ​ทำ​หน้าที่​เป็น ‘คนกลาง’ ที่​ ไม่​ได้​มี​ส่วน​ได้​ส่วน​เสีย แต่​คุณสมบัติ​ที่​ คน​เป็นก​ลาง​ต้อง​มี​อันดับ​แรก​คือ ‘ความ​​ ไว้​วางใจ’ (Trust) จาก​ผู้​มี​ส่วน​ได้​ส่วน​เสีย​ ใน​เรื่อง​นั้นๆ ซึ่ง​ก็​คือ ‘คน​ทำ​สื่อ’ เอง ผู้​เขียน​ไม่​ได้​หมายความ​ว่า ไม่​เห็น​ ด้วย​กับ​ข้อ​เสนอ​ของ​นาย​แพทย์​ประเวศ เพราะ​เป็น​ข้อ​เสนอ​ที่​ดี สำหรับ​การนำ​ คนกลาง ซึ่ง​เป็น ​ผู้ทรง​คุณวุฒิ​มา​ติดตาม​ การ​ทำงาน​ของ​สื่อ แต่​จาก​ประสบการณ์​ ที่​ผู้​เขียน​สัม ผัส​ทั้ง​จาก​ฝ่าย​นัก​วิชาการ​ และ​นัก​วิชาชีพ ดู​เหมือน​ว่า​คน​ทำ​สื่อ​ตก​ อยู่​ใน​สภาวะ​ขาด ‘ความ​ไว้​วางใจ’ (Trust)​ นัก​วิชาการ​ด้าน​สื่อ​อย่าง​มาก

ที่ ​ส ำคั ญ ...คน​ท ำ​สื่ อ ​ป ระกาศ​ อย่าง​โจ่งแจ้งว​ า่ “เป็นเ​รือ่ ง​ของ​คน​ทำ​ สื่อ​ที่​จะ​จัดการ​กันเอง”

เมื่อ​เป็น​เช่น​นี้ สื่อ​อุดมคติ​เป็น ‘อุดมคติ’ อย่าง​มนั่ คง​และ​ถาวร​เพราะ​ลว้ น​ แต่ม​ ค​ี น​เข้าม​ า​วาง​โครงสร้าง​หรืออ​ อกแบบ (Design) ตาม​สิ่ง​ที่​ตน​คิด​ว่า สื่อ​ที่​ดี​ต้อง​ เป็น​อย่างไร แต่​คน​ทำ​สื่อ​เอง​กลับ​อยู่​ใน​ ภาวะ​นงิ่ เ​ฉย ทัง้ ๆ ทีป​่ รากฏการณ์แ​ ห่ง Social Media ใน​การ​หา​เสียง​เลือก​ตงั้ ส​ มาชิก​ สภา​ผู้​แทน​ราษฎร​เมื่อ​วัน​ที่ 3 กรกฎาคม​ ที่​ผ่าน​มา​ของ 2 พรรค​ใหญ่ เช่น พรรค​ ประชาธิปัตย์​และ​พรรค​เพื่อ​ไทย​อย่าง​เต็ม​ รูปแ​ บบ​ครัง้ แ​ รก​ถอื เ​ป็นการ​สถาปนา​ทศั นะ​ แม่บท​ใหม่​เกี่ยว​กับ​สื่อ​ใหม่​ที่​ว่า ‘ใครๆ

ก็เป็น​เจ้าของ​สื่อ​ได้’

คน​ทำ​สื่อ​กระแส​หลัก​คน​หนึ่ง​บอก​ กับ​ผู้​เขียน​ถึง​ปรากฏการณ์​นี้​ว่า “เป็ น​

เพียง​สื่อ​เฉพาะ​ไม่​ได้​กระทบ​อะไร​ กับ​สื่อ​กระแส​หลัก​ยิ่ง​ดี มี​ที่​ให้​ลอก​ ข่าว​มาก​ขึ้น” ถึง​ตรง​นี้ ผู้​เขียน​ได้​แต่​นึกถึง​คำ​ว่า ‘สื่อ​ยูโทเปีย’ ตาม​ความ​หมาย​ของ โท​มัส มอร์ ที่​เคย​เขียน​ไว้​ใน​คำ​แนบ​ของ​หนังสือ​ เขา​ว่า


29

สื่อ​เสายลม​ สรีแห่งก​ าร​ปฏิวตั ย​ิ คุ ส​ มัย เริม่ ต​ น้ ต​ งั้ เ​ค้าท​ ต​ี่ นู เิ ซีย และ​อยี ปิ ต์ ตัง้ แต่ป​ ลาย​ปี 2010 ก่อน​

Wherefore not Utopia, but rather rightly My name is Eutopie: A place of felicity ยูโทเปีย เป็น​สังคม​อัน​แสน​สมบูรณ์​แบบ แต่​มัน​ก็​ไม่มี​ทาง​จะ​ไป​ถึง

จะ​ลาม​ไป​ทั่ว​ดินแ​ ดน​กลุ่ม​ประเทศ​อาหรับ สถานการณ์​ลุกฮือ​ของ ‘ขบวน​ประชาชน​ปฏิวัติ’ เป็น​เหตุการณ์​ประวัติศาสตร์​ที่​ยัง​บันทึก​ ตัว​เอง​ไม่​จบ หลาย​ฝ่าย​คาด​ว่า​รูป​แบบ​ของ ‘ระเบียบ​โลก’ ใน​อนาคต ไม่ใช่เ​รื่อง​ที่​คาด​เดา​ได้​ง่าย​ อีก​ต่อ​ไป โชค​ยงั ด​ ท​ี บ​ี่ า้ น​เรา​กล้าเ​ปิดร​บั เ​รือ่ ง​ราว​เหล่าน​ พ​ี้ อ​สมควร แม้ไ​ม่ใช่ข​ า่ ว​ใหญ่บ​ น​หน้าส​ อื่ ก​ ระแส​ หลัก แต่ส​ ำหรับ​ช่อง​ทา​งอื่นๆ โดย​เฉพาะ​โซ​เชียล​ มี​เดียอ​ ย่าง เฟ​ซบุ๊ค หรือ ทวิ​ต​เตอร์ กระแส​ลม​ จาก​ทะ​เล​ทราย​อาจ​พัด​มา​แตะ​จมูก​ราว​อยู่​ข้าง​บ้าน ผิดก​ ับ​บาง​ประเทศ ซึ่ง ‘เสรีภาพ’ เป็นเ​รื่อง​ เปราะ​บาง เช่น จีน ยัง​มี​ความ​พยายาม​กวาด​ข่าว​การ​ลุกฮือ​ครั้ง​นไี้​ว้​ใต้พ​ รม ถึงก​ ระนัน้ ส​ ถานการณ์ ‘สือ่ ’ ใน​ไทย ก็ใ​ช่ว​ า่ จ​ ะ​เป็นบ​ าน​ประตูท​ เ​ี่ ปิดก​ ว้าง จน​เรา​สามารถ​เลือก​ เสพ​ได้ท​ ุก​อย่าง บาง​ครั้ง​เรา​เห็น​หมอก บาง​ครั้ง​เรา​เห็น​โมเสก และ​บาง​ครั้ง​จอ​ดำ​มืด​ก็​ปรากฏ แม้​ กระทั่ง​เว็บไซต์ใ​น​โลก​ไซเบอร์​อัน​เสรี ยัง​ไม่ใช่ท​ ี่ทาง​ให้​ใคร​ได้​สูด​ดม​กลิ่น​อิสรภาพ​อย่าง​เต็ม​ปอด โดย​เฉพาะ​ชว่ ง​สถานการณ์ ‘รอย​ตอ่ ’ ของ​ประวัตศิ าสตร์ไ​ทย ทีด​่ ำเนินผ​ า่ น​ทาง​โค้งแ​ คบๆ ไป​ เรื่อยๆ เสียง​จาก​มุม​หนึ่ง​เริ่ม​เรียก​ร้อง​หา​เสรี ประท้วง​เรื่อง ‘ปิด​กั้น’ และ ‘ปิดปาก’ ยังไ​ม่​นับก​ าร​ เซ็นเซอร์ ที่​ส่ง​ผล​โดยตรง​ต่อ​ทั้งข​ ่าวสาร ละคร และ​ภาพยนตร์ อย่าง​ไม่​เคย​มี​มา​ก่อน หลาย​คน​สรุป​ได้​ว่า นี่​คือ​ความ​พยายาม​ควบคุม​สื่อ เพื่อ​คัด​กรอง​สาร​ทั้ง​หลาย​ให้​มี​รูป​ร่าง​ หน้าตา​และ​ถ้อยคำ​ตาม​ที่ ‘รัฐ’ กำหนด...เท่านั้น

MAP OF FREEDOM 2010

MAP OF FREEDOM 2011

Freedom Status NOT FREE PARTLY FREE FREE

ที่มา: http://freedomhouse.org

สถานการณ์ ส ​ อ ่ ื 2011 ฟรีด​ อม​เฮา​ส์ (Freedom House) องค์กร​อสิ ระ​เพือ่ เ​สรีภาพ​

สากล ออก​รายงาน​ประจำ​ปี 2011 ว่า สิทธิข​ อง​ประชากร​โลก​ ใน​การ​เข้า​ถึง​แหล่ง​ข้อมูล​ข่าวสาร​อยู่​ใน​สภาวะ​ตกต่ำ​ที่สุด​ใน​รอบ 10 ปี แม้ว่า​ช่อง​ทางการ​สื่อสาร และ​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่​จะ​เปิด​ กว้าง​ขึ้นก​ ็ตาม ไม่​เฉพาะ​ประเทศ​ที่​มี​ความ ‘ไม่​เสรี’ เป็น​ทุน​เดิม​อยู่​แล้ว อย่าง​เกาหลีเหนือ อิหร่าน พม่า หรือก​ ลุ่ม​ประเทศ​ใน​คาบสมุทร​ อาหรับ​ที่​ต้อง​เผชิญ​การ​ปฏิวัติ​ประชาชน​เท่านั้น ประเทศ​ที่​ยึด​ธง​ ประชาธิปไตย​อย่าง ฮังการี เม็กซิโก เกาหลีใต้ และ​ไทย ก็ม​ อ​ี นั ดับ​ เสรีภาพ​ของ​สื่อ​ลด​ลง​เช่นเ​ดียวกัน “ประเทศ​ทน​ี่ กั ข​ า่ ว​ไม่ส​ ามารถ​รายงาน​ขา่ ว​ได้ โดย​กลัวว​ า่ จ​ ะ​ ถูก​แทรกแซง​จาก​รัฐบาล​หรือ​กลุ่ม​ใดๆ ย่อม​มี​ความ​หวัง​ที่​ริบ​หรี่​ ใน​การ​ดำรง​ไว้​ซึ่งป​ ระชาธิปไตย” เดวิด เจ เคร​เม​อร์ ผูอ้​ ำนวย​การ​ ของ ฟรี​ดอม​เฮา​ส์ กล่าว ใน​ปี 2010 การ​สำรวจ ‘เสรีภาพ’ ของ​สื่อ จาก​ทั้งหมด 196 ประเทศ พบ​ว่า มี 68 ประเทศ (ร้อย​ละ 35) มีส​ ื่อ​เสรี อีก 65 ประเทศ (ร้อย​ละ 33) เป็นก​ ึ่ง​เสรี และ​อีก 63 ประเทศ (ร้อย​ละ 32) จัดว​ า่ ไ​ม่เ​สรี แต่จ​ าก​ผล​ลา่ สุดข​ อง Freedom of the Press 2011: A Global Survey of Media Independence พบ​ ว่า​ประเทศ​ที่​มี​สื่อ​เสรี​นั้น เหลือเ​พียง 1 ใน 6 ของ​โลก​เท่านั้น จาก​รายงาน​ดัง​กล่าว ฟรี​ดอม​เฮา​ส์ ได้​รวบรวม​เหตุผล​ที่​มี​ ส่วน​ใน​การ​ลด​ทอน​เสรีภาพ​ของ​สื่อล​ ง เช่น การ​บังคับใ​ช้ก​ ฎหมาย​ ของ​รัฐ​เพื่อ​ปิด​กั้น​ช่อง​ทาง​สื่อสาร ผ่าน​ทั้ง​มาตรการ​ทั้ง​ละมุน​ ละม่อม​และ​รุนแรง โดย​เฉพาะ​ทาง​อินเทอร์เน็ต ยก​ตัวอย่าง​เช่น ประเทศไทย ที่​มี​การ​ปิด​เว็บไซต์ และ​ควบคุม​เนื้อหา​ออนไลน์​ อย่าง​เข้ม​งวด​ขึ้น การ​ใช้​กฎหมาย​ว่า​ด้วย​การก​ระ​ทำความ​ผิด​ ทาง​คอมพิวเตอร์​ที่​จงใจ​ปิด​กั้น​การ​แสดง​ความ​คิด​เห็น จน​ทำให้​ ไทย​อยู่​ใน​อันดับ 138 จาก 196 ประเทศ และ​เปลี่ยน​จาก​กลุ่ม ‘กึ่ง​เสรี’ เป็น ‘ไม่​เสรี’ สำหรับ​ชาติ​ผู้​ได้​ชื่อ​ว่า​มี​เสรีภาพ​ใน​การ​สื่อสาร​มาก​ที่สุด คือ ฟินแลนด์ ซึ่งค​ รอง​แชมป์​ใน​การ​จัด​อันดับ​นี้​มา​เป็น​สมัย​ที่ 2 ติดต่อก​ ัน​แล้ว ส่วน​กลุ่ม​ประเทศ​ที่​สื่อ​อยู่​ใน​อาการ ‘โคม่า’ ประกอบ​ด้วย เบ​ลา​รุส พม่า คิวบา เอ​ค​วา​ทอ​เรี​ยล กินี เอ​ริ​เท​รีย อิหร่าน ลิเบีย เกาหลีเหนือ เติรก์ เ​ม​นส​ิ ถาน และ​อซุ เบกิส​ ถาน ซึง่ ส​ อื่ ข​ อง​ประเทศ​ เหล่าน​ แ​ี้ ทบ​จะ​ไม่ต​ อ้ ง​ทำงาน​เลย เพราะ​รฐั บาล​มม​ี าตรการ​รนุ แรง​ ใน​การ​ควบคุม และ​การ​เข้าถ​ งึ ข​ อ้ มูลข​ า่ วสาร​ของ​คน​ธรรมดา​กแ​็ ทบ​ เป็น​ไป​ไม่ไ​ด้ เพราะ​ชาติเ​หล่า​นี้​จะ​มี​แต่​การ ‘สื่อสาร​ทาง​ตรง’ คือ รัฐเ​ท่านั้น มี​สิทธิ์​พูด


30

Justice for All

เป็น

ท​ ี่​คาด​การณ์​ตรง​กัน​ว่า หลัง​เลือก​ตั้ง 3 กรกฎาคม นี้ คำ​ว่า ‘นิรโทษ​กรรม’ หรือ​ การ​ลบล้าง​ความ​ผิด​ติดตัว​ให้​กลาย​เป็น​โมฆะ ไม่​ต้อง​รับ​โทษ​นั้น จะ​ต้อง​กลาย​ เป็น​ประเด็น​ร้อน​ของ​สังคม​ไทย​อย่าง​แน่นอน นิรโทษ​กรรม (Amnesty) ถูก​กล่าว​ถึง​มา​ตั้งแต่​ชนวน​ความ​ขัด​แย้ง​ทางการ​เมือง​​ ใน​ประเทศไทย​ถกู จ​ ดุ ข​ นึ้ ใ​น​ปี 2549 ไม่ว​ า่ จ​ ะ​เป็น การ​นริ โทษ​กรรม​ผล​ู้ ม้ อ​ ำนาจ​รฐั ผ่าน​มาตรา 309 ใน​รัฐธรรมนูญ 2550 นิรโทษ​กรรมการ​ยึด​สนามบิน การ​ชุมนุม​ปิด​สี่​แยก ล้อม​ทำเนียบ ก่อ​วินาศกรรม​กลาง​เมือง คดี​คอรัป​ชั่น และ​การ​ลั่น​กระสุน​จริง​ใน​วัน ‘กระชับ​พื้นที่’ โดย​หลาย​ฝ่าย​มี ‘ความ​เชื่อ’ พื้น​ฐาน​ว่า การ​นิรโทษ​กรรม​คือ​การ​ล้ม​กระดาน ล้าง​ไพ่​ ทำความ​ส ะอาด​ค ราบ​ไ คล ให้ ​ทุ ก​อ ย่ า ง​ก ลั บ​ม าปก​ติ ​เหมื อ น​เดิ ม และ​เป็น​ยา​ดี​สู่​ภาวะ ‘ปรองดอง’ ใน​วงการ​เมือง ฝัง่ พ​ รรค​เพือ่ ไ​ทย ได้เ​อ่ยถ​ งึ ก​ าร​นริ โทษ​กรรม อดีตน​ ายก​รฐั มนตรี ทักษิณ ชิน​วัตร ทั้ง​กระซิบ​ใน​ทาง​ลับ​และ​ประกาศ​ใน​ทาง​เปิด​เผย​มา​ตั้งแต่​ยัง​เป็น​พรรค​พลัง​ประชาชน โดย​มี​เป้า​หมาย​อยู่​ที่​การ​ลบล้าง​ข้อ​หา​คอรัป​ช่ัน เพื่อ​กรุย​ทาง​ให้​อดีต​ผู้นำ​ได้​กลับ​บ้าน แต่​เมื่อ​มี ‘การก​ระ​ทำ’ เกิด​ขึ้น​ไป​แล้ว บาง​ครั้ง​ผล​คือ​การ​สูญ​เสีย​ทาง​เศรษฐกิจ บาง​ครั้ง​ ​คือ​การ​สูญ​เสีย​ชีวิต ทำไม​ความ​ผิด​ที่​ดู​ร้าย​แรง​เหล่า​นี้​ถึง​กลาย​เป็น​เรื่อง ‘โมฆะ’ ได้ ดัง​นั้น​ ทุกค​ รัง้ เ​มือ่ เ​อ่ยถ​ งึ นิรโทษ​กรรม ก็ย​ อ่ ม​มฝ​ี า่ ย​ตรง​ขา้ ม​คอย​สกัดก​ นั้ ต​ อ่ ต​ า้ น​การ​ฟอก​ดำ​เป็นข​ าว​ อยู่​เป็น​ระ​ยะๆ แน่นอน​วา่ ภาษา​กฎหมาย เป็นข​ อง​แสลง​สำหรับ ‘คนนอก’ และ​โดย​ตวั ก​ ฎหมาย​เอง​นนั้ ​ ความ​หมาย​ของ​มัน​ก็​ไม่​ได้​ถูก​แปล​ออก​มา​จาก​ตำรา​เสมอ​ไป ทำให้​หลาย​ครั้ง​ต้อง​มี​การ​ ตีความ เรื่อง​ที่​เป็น​ขื่อ​แป​เช่น​นี้ ยัง​ต้อง​อาศัย​ทัศนะ และ​วิจารณญาณ 2 ‘คน​วงใน’ ชาญ​เชาวน์ ไชยา​นก​ุ จิ และ รศ.ดร.เจษฎ์ โทณะ​วณิก อาสา​ตอบ​คำถาม​เรือ่ ง ‘นิรโทษ​กรรม’ ว่า เป็นย​ า​วเิ ศษ​ สำหรับ​ยุติ​ปัญหา​ต่างๆ ใน​บ้าน​เรา​ได้​จริง​หรือ ชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ

รศ.ดร.เจษฎ์ โทณะวณิก

อธิบดีกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย สาขานิติศาสตร์ ​ มหาวิทยาลัยสยาม

ล้างไพ่ด้วยนิรโทษกรรม 01

ใน​บริบท​ของ​กฎหมาย​สากล การ​ ส่งผ​ ล​ให้การ​ปฏิบตั ข​ิ อง​เจ้าห​ น้าทีท​่ ผ​ี่ า่ น​มา​ ของ​ฝ่าย​บริหาร (Order: พระ​ราช​กำหนด ที่​จะ​ประท้วง​ด้วย​การก​ระ​ทำ​ผิด​อีก ซึ่ง​ใน​ ออก พ.ร.บ.นิรโทษ​กรรม จะ​อยู​ภ่ าย​ใต้​ เป็นการ​กระทำ​ผิด จึง​ต้อง​ออก​กฎหมาย​ หรือ​รฐั ​กำหนด) เพื่อ​เพิก​ถอน​การก​ระ​ทำ​ มุม​หนึ่ง​ก็​คือ การนำ​ความ​สงบ​เรียบร้อย​ หลัก​คิด​แบบ​ไหน สถานการณ์​ใด ฉบับ​ใหม่​ออก​มา​นิรโทษ​กรรมการ​กระทำ​ ของ​ราษฎร​ซึ่ง​อาจ​จะ​ได้​เป็น​ความ​ผิด​ต่อ​ กลับเ​ข้า​สู่​สังคม ชาญ​เชาวน์: โดย​ทั่ ว ไป​ก ฎหมาย​

ใน​ลักษณะ​นี้ มัก​จะ​มี​หลัก​คิด​ใน​บริบท​ ทางการ​เมือง​ที่​มัก​ส่ง​ผล​ย้อน​หลัง​ไป​ยัง​ การก​ร ะ​ท ำ​ห รื อ ​เ หตุ ก ารณ์ ​ใ น​อดี ต ซึ่ ง​ ส่วน​ใหญ่​แล้ว​จะ​เกี่ยวข้อง​กับ​การก​ระ​ทำ​​ ทีม​่ โ​ี ทษ​ทาง​อาญา ดังจ​ ะ​พบ​ได้ม​ าก​ใน​เรือ่ ง​ ของ​การ​เปลี่ยน​ผ่าน​อำนาจ​การ​ปกครอง​ ใน​รู ป ​แ บบ​ต่ า งๆ เช่ น การ​ยึ ด ​อ ำนาจ เป็นต้น นอกจาก​นี้ อาจ​เป็นก​ รณีเ​หตุการณ์​ ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ใช้​อำนาจ​หน้าที่​ของ​​ เจ้าห​ น้าทีต​่ าม​กฎหมาย ซึง่ ป​ รากฏ​ภาย​หลัง​ ว่า จำเป็น​ต้อง​มี​การ​ดำเนิน​การ​ที่​ต่อ​เนื่อง แต่​เพื่อ​ให้​เกิด​ประโยชน์​ใน​ทาง​นโยบาย จำเป็น​ต้อง​เปลี่ยนแปลง​วิธี​ปฏิบัติ ซึ่ง​อาจ​

ของ​เจ้ า ​ห น้ า ที่ ​แ ละ​ผู้ ​ที่ ​เกี่ ยวข้ อ ง​ใ น​ก าร​ ก​ระ​ทำ หรือ​เหตุ​กา​รณ์​นั้นๆ ดัง​นั้น​จึง​อาจ​กล่าว​ได้​ว่า​กฎหมาย​ นิรโทษ​กรรม​มี​หลัก​คิด​ใน​การ​บังคับ​ใช้​ที่​ กว้าง​ขวาง​สามารถ​เชื่อม​โยง​เหตุการณ์​ หรือ​กรณี​ที่​เกิด​ขึ้น​แล้ว​กับ​เหตุการณ์​หรือ​ กรณีป​ จั จุบนั แ​ ละ​ใน​อนาคต​ได้ ทัง้ นีข​้ นึ้ อ​ ยู​่ กับ​เป้า​หมาย​และ​วัตถุประสงค์ เจษฎ์: คำ​ว่า​นิรโทษ​กรรม​ใน​ภาษา​ อังกฤษ​คอื Amnesty ซึง่ ม​ ร​ี าก​ศพั ท์ม​ า​จาก​ ภาษา​กรีก Amnestia และ​เป็น​ราก​ศัพท์​ เดียวกัน​กับ​คำ​ว่า Amnesia ซึ่ง​แปล​ว่า ความ​จำ​เสือ่ ม หรือก​ าร​ลมื ส​ งิ่ ท​ เ​ี่ คย​เกิดข​ นึ้ ​ โดย​ทั่วไป​แล้ว นิรโทษ​กรรม​คือ การ​ตรา​ กฎหมาย​ของ​ฝ่าย​นิติบัญญัติ (Act: พระ​ ราช​บญ ั ญัติ หรือร​ ฐั บ​ ญ ั ญัต)ิ หรือก​ ฎหมาย​

รัฐ ให้​บรรดา​ผู้​ที่​อาจ​จะ​ได้​กระทำ​ความ​ ผิด​เหล่า​นั้น กลับ​เป็น​ผู้​บริสุทธิ์ ซึ่ง​การ​นิรโทษ​กรรม​นั้น​มี​ขอบเขต​ ที่ ​กว้ า ง​กว่ า ​ก าร​ย ก​โ ทษ หรื อ ​อ ภั ย โทษ เนื่องจาก​รวม​การ​ยก​โทษ หรือ​อภัยโทษ และ​การ​ลา้ ง​มลทินไ​ป​ดว้ ย ใน​สภาวการณ์​ โลก​ปจั จุบนั นิรโทษ​กรรม​มกั ถ​ กู ใ​ช้เ​ชือ่ ม​โยง​ ​กับ​อิสรภาพ เพื่อ​เป็นการ​แสดง​ให้​เห็น​ว่า​ นิรโทษ​กรรม​นั้น เป็น​ไป​เพื่อ​ให้​บุคคล​ได้​ มี​อิสรภาพ นิ ร โทษ​ก รรม​มี ​พื้ น ​ฐ าน​อ ยู่ ​ที่ ​ก าร​ ทำให้​ราษฎร​กลับ​เข้า​สู่​การ​ปฏิบัติ​ตัว​ให้​ อยู่ ​ภ าย​ใ ต้ ​ก ฎหมาย แทนที่ ​จ ะ​เ อาผิ ด หรือ​ลงโทษ​พวก​เขา ซึ่ง​อาจ​ทำให้​บรรดา​ ผู้​กระทำ​ผิด​ออก​มา​ทำ​ผิด และ​ถูก​ลงโทษ​ อีก หรือ​บรรดา​พรรค​พวก​ของ​เขา​ก็​เลือก​

อีก​เหตุผล​หนึ่ง​ที่​อาจ​จะ​เป็น​ได้ คือ การนำ​เอา​ผู้คน​จำนวน​มาก​มา​ลงโทษ​นั้น สู้​ทำให้​พวก​เขา​สามารถ​กลับ​เข้า​สู่​สังคม และ​เลิก​ทำตัว​ไม่​ดี​จะ​ดี​กว่า แต่​ก็​มี​ข้อ​ควร​ ระวัง​เนื่องจาก​นิรโทษ​กรรม​อาจ​จะ​ถูก​ ใช้​เป็น​เครื่อง​ต่อ​รอง เช่น กรณี​ที่​รัฐบาล​ ​อู​กัน​ดา เสนอ​ที่​จะ​นิรโทษ​กรรม​ให้​แก่​ โจ​เซฟ โค​นี ซึ่ง​เป็น​อาชญากรสงคราม เพื่อ​ไม่​ให้​ผู้​ที่​สนับสนุน​เขา​ก่อการ​ลุกฮือ ซึ่ง​กรณี​นี้​อาจ​กลาย​เป็นการ​ปลด​ปล่อย​​ ผู้​กระทำ​ความ​ผิด​ซึ่ง​สมควร​จะ​ถูก​ลงโทษ​ ด้วย​เหตุผล​ที่​ไม่​สมควร


31 02

และ​หลัก​นิติธรรม ที่​ให้​ประชาชน​มี​ส่วน​ ร่วม​ใน​กระบวนการ​นิติบัญญัติ และ​การ​ ตัดสิน​ใจ​ทางการ​เมือง ดัง​นั้น​หาก​จะ​นำ​ กฎหมาย​นิรโทษ​กรรม​มา​เป็น​เครื่อง​มือ​ ใน​การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง จะ​ต้อง​มุ่ง​สู่​ กระบวนการ​ที่​ชัดเจน โดย​มี​กลไก​กลาง​ ชาญ​เชาวน์: ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ ของ​ ทำ​หน้าทีป​่ ระสาน​งาน​ทกุ ฝ​ า่ ย และ​บริหาร​ การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง กฎหมาย​อาจ​ จัดการ​ให้​เกิด​กระบวนการ​มี​ส่วน​ร่วม​ทาง​ เป็น​เครื่อง​มือ​หนึ่ง​ใน​เชิง​สถาบัน เพื่อ​วาง​ สังคม โครงสร้าง​แนวทาง​การ​จดั การ​ความ​ขดั แ​ ย้ง​ แต่ก​ าร​จะ​ทำ​เช่นน​ น้ั ไ​ด้ กระบวน​ทศั น์​ ได้​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ แต่​หาก​จะ​ต้อง​มี​ ที่​เกี่ยว​กับ​กฎหมาย​นิรโทษ​กรรม​จะ​ต้อง​ กระบวนการ​หรือ​มาตร​กา​รอื่นๆ ทั้ง​ทาง​ ไม่​คับแค​บอ​ยู่​เพียง​การ​ลบล้าง​ความ​ผิด​ สังคม​และ​ทางการ​เมือง​ควบคู่​กัน​ไป​ด้วย ของ​บุ ค คล​ห รื อ ​ก ลุ่ ม ​บุ ค คล​ห รื อ ​ฝ่ า ย​ใ ด​ ลำพัง​เพียง​แต่​บทบัญญัติ​ของ​กฎหมาย​คง​ ​ฝ่าย​หนึ่ง​เท่านั้น ต้อง​เปลี่ยนแปลง​จาก​ ไม่​อาจ​ทำ​หน้าที่​ได้​สมบูรณ์ เพราะ​มอง​ว่า​ หลั ก ​คิ ด ​ข อง​ก าร​ส ร้ า ง​ว าท​ก รรม​ท าง​ กระบวนการ​นำ​ไป​สู่​การ​ยุติ​ความ​ขัด​แย้ง​ การ​เมือง และ​ต้อง​มี​ความ​ชัดเจน​เพื่อ​มุ่ง​ นัน้ จ​ ะ​ตอ้ ง​เริม่ ต​ น้ ท​ ก​ี่ ระบวน​ทศั น์เ​สียก​ อ่ น การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง​อย่าง​จริงจัง โดย​ หลัง​จาก​นั้น​จึง​ค่อย​พัฒนา​กระบวนการ มี​กระบวนการ​นำ​เสนอ​ตาม​แนวทาง​ของ​ สร้าง​เครื่อง​มือ​ที่​เหมาะ​สม แล้ว​กำหนด​ การ​กำหนด​นโยบาย​สาธารณะ​เพื่อ​สังคม เป็น​นโยบาย จึง​จะ​เป็นการ​มี​กระบวน​ทัศน์​ที่​ถูก​ต้อง​ เนื้อหา​ของ​กฎหมาย​นิรโทษ​กรรม​ ​ข อง​ก าร​อ อก​ก ฎหมาย​นิ ร โทษ​ก รรม​​ จึง​มิใช่​เพียง​การ​ลบล้าง​หรือ​ยกเว้น​การ​ ใน​สถานการณ์​ความ​ขัด​แย้ง​ของ​ไทย ก​ระ​ทำ​ผิด​แต่​เพียง​ประการ​เดียว แต่​เป็น​ เจษฎ์ : ดั ง ​ที่ ​ไ ด้ ​ก ล่ า ว​ไ ป​แ ล้ ว ​ว่ า​ กฎหมาย​ที่​กำหนด​เป้า​หมาย แนวทาง นิรโทษ​กรรม​นั้น​จะ​ต้อง​กระทำ​โดย​ฝ่าย​ และ​วิธี​การ​ใน​การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง​ นิติบัญญัติ หรือ​ฝ่าย​บริหาร นั่น​ก็​คือ โดย​ ด้วย ​ผู้​ที่​ถือ​อำนาจ​รัฐ​ผ่าน​ทาง​รัฐสภา หรือ​ผู้​ที่​ เจษฎ์: ว่า​กัน​อย่าง​ตรง​ไป​ตรง​มา ถือ​อำนาจ​รัฐ​ผ่าน​ทาง​รัฐบาล ซึ่ง​ใน​บริบท​ นิรโทษ​กรรม​ให้​แก่​บรรดา​ผู้คน​ทั้ง​หลาย​ที่​ ของ​สังคม​ไทย​มอง​ใน​มุม​หนึ่ง​ก็​คือ ผู้​ที่​ เข้า​ร่วม​ชุมนุม ก่อการ​ร้าย หรือ​คอรัปชั่น​ ได้​เสียง​ข้าง​มาก​จาก​การ​เลือก​ตั้ง​นั่นเอง โดย​ให้​แก่​ทุก​ผู้คน ไม่​น่า​จะ​สามารถ​ยุติ​ (ไม่ใช่​พรรค​ที่​ได้​คะแนน​เป็น​อันดับ​หนึ่ง ความ​ขดั แ​ ย้งไ​ด้ อาจ​จะ​ยงิ่ เ​ป็นการ​กระพือ​ หาก​แต่​เป็นก​ลุ่ม​ที่​รวม​ตัว​กัน​แล้ว​ได้​เสียง​ บรรดา​ผคู้ น โดย​เฉพาะ​ทเ​ี่ ป็นแ​ กน​นำ หรือ​ ข้าง​มาก​ของ​สมาชิก​สภา​ผู้​แทน​ราษฎร​ใน​ ผู้​ที่​นำ​ความ​คิด​ของ​คน​ทั้ง​หลาย (Master- รัฐสภา) โดย​เ ฉพาะ​ก าร​แ ก่ ง แย่ ง ​ท างการ​ mind) มี​ความ​ลำพอง และ​รู้สึก​ว่า​ตน​อยู่​ เหนือก​ ฎหมาย เนือ่ งจาก​สามารถ​ใช้ก​ ำลัง​ เมือง​ใน​ประเทศไทย ที่​เอาแต่​จะ​ยืน​กราน​ มวลชน​เข้า​กดดัน​เพื่อ​สิ่ง​ที่​ตน​ต้องการ​ได้​ ว่าพ​ รรค​ทไ​ี่ ด้ค​ ะแนน​สงู สุดเ​ป็นอ​ นั ดับห​ นึง่ ​ จาก​การ​เลือก​ตั้ง​เท่านั้น จึง​จะ​มี​ความ​​ ทั้ง​นั้น การ​ลงโทษ​ทเ​ี่ ด็ดข​ าด​ใน​การก​ระ​ทำ​ ชอบ​ธรรม​ใน​การ​จัด​ตั้ง​รัฐบาล และ​กุม​ ความ​ผิ ด ​ที่ ​ส มควร​ไ ด้​รับ​โทษ และ​การ​ อำนาจ​ทั้ ง ​ใ น​ฝ่ า ย​นิ ติ บั ญ ญั ติ และ​ฝ่ า ย​ ประกาศ​นริ โทษ​กรรม​อย่าง​รอบคอบ ด้วย​ บริหาร ยิ่ง​ทำให้​ผู้​สมัคร​ทุก​คน​พยายาม​ เหตุผล​อนั ส​ มควร และ​เลือก​แต่ก​ รณีท​ ค​ี่ วร​ เต็ ม ​ที่ ​ใ ห้ ​ไ ด้ ​ม า​ซึ่ ง ​อ ำนาจ​รั ฐ เพื่ อ ​เ ป็ น​ จะ​ได้ร​ บั น​ ริ โทษ​กร​รม​จริงๆ จึงจ​ ะ​สง่ ผ​ ล​ให้​ เครื่อง​มือ​ปลด​แอก​ทุกๆ อย่าง หาก​ประชาชน​ไม่​เห็น​ด้วย​กับ​การ​ เกิดค​ วาม​สงบ​ใน​สังคม​ได้ ก​ระ​ทำ​เช่น​นี้ ก็​สามารถ​แสดง​พลัง​กัน​โดย​ การ​พร้อมใจ​กัน​ไม่​ไป​เลือก​ตั้ง​เลย หรือ​ 03 การ​ประกาศ​ใช้ พ.ร.บ.นิรโทษ​กรรม​ ไม่​เลือก​ใคร​เลย โดย​แสดง​จุดยืน​ร่วม​กัน​ ให้​นักการ​เมือง​ทั้ง​หลาย​รู้​ว่า​ประชาชน​ นี้ สามารถ​ทำได้​เฉพาะ​ผู้​ถืออ​ ำนาจ​ รัฐ​หรือไ​ม่ จึง​ทำให้​หลาย​คน​พยายาม​ ไม่​ต้องการ​ให้​พวก​ที่​ลง​สมัคร​รับ​เลือก​ตั้ง​ เข้าไป​ให้​ถึงอ​ ำนาจ​นั้น​เพื่อ​ลบล้าง​ความ​ เข้า​มา​ทำงาน​เลย แต่​การ​จะ​ทำ​เช่น​นี้​ให้​มี​ ผิด และ​สำหรับ​ผู้​ที่​ไม่​เห็น​ด้วย ซึ่ง​ไม่มี​ ประสิทธิผล​อาจ​จะ​ตอ้ ง​มก​ี าร​แก้ก​ ฎหมาย​ อำนาจ มีช​ ่อง​ทาง​ใด​บ้าง​ที่​จะ​คัดค้าน​ บาง​ฉบับ ให้​พลัง​ของ​ประชาชน​มี​ผล​ตาม​ กฎหมาย หรือ​อย่าง​น้อย​ต้อง​ได้​สัญญา​ การ​ออก พ.ร.บ. นี้ ประชาคม (Social Contract) จาก​บรรดา​ ชาญ​เชาวน์: เมื่อ​มอง​หลัก​คิด​เกี่ยว​ ผู้​สมัคร​รับ​เลือก​ตั้ง​ว่า ให้​ยอมรับ​ความ​ กับ​กฎหมาย​นิรโทษ​กรรม และ​หลัก​คิด​ พ่าย​แพ้​หาก​ผู้​ออก​มา​ใช้​สิทธิ์​ไม่​ถึง​จำนวน​ ของ​ก ฎหมาย​โ ดย​ทั่ ว ไป​แ ล้ ว ​ป ระกอบ​ เกิน​กึ่ง​หนึ่ง​ของ​ผู้​มี​สิทธิ์​ทั้งหมด หรือ​หาก​ กั บ ​บ ทบั ญ ญั ติ ​ข อง​รั ฐ ธรรมนู ญ ​ฉ บั บ​ พวก​เขา​ไม่​สามารถ​ชนะ​คะแนน ‘ไม่​เลือก​ ปัจจุบัน ที่​ยืนยัน​หลัก​การ​ประชาธิปไตย​ ผู้​ใด’ ได้

ใน​สถานการณ์​ประเทศไทย การ​ นิรโทษ​กรรม​ให้​กับ​ทุก​ฝ่าย ทั้ง​การ​ ปราบ​ปราม​ผู้​ชุมนุม ก่อการ​ร้าย และ​ ความ​ผิด​คอรัปชั่น​จะ​สามารถ​ยุติ​ ความ​ขัด​แย้ง​ลง​ได้​จริง​หรือ

04

แนวคิด​ของ​การ​นิรโทษ​กรรม​ต่าง​ จาก​การ​ลด​หย่อน​โทษ​อย่างไร ชาญ​เชาวน์: หาก​มอง​เฉพาะ​มิติ​

ของ​การก​ระ​ทำ​ผิด​ที่​มี​โทษ​ทาง​อาญา การ​ นิรโทษ​กรรม​มี​แนวคิด​ของ​กฎหมาย​ที่​มี​ ผล​ยอ้ น​หลังไ​ป​ให้ถ​ อื ว่าก​ ารก​ระ​ทำ​ใน​อดีต​ ไม่​เป็น​ความ​ผิด เพราะ​ยกเลิก​กฎหมาย​ที่​ ระบุ​การก​ระ​ทำ​ที่​เป็น​ความ​ผิด​ใน​ขณะ​นั้น​ เสีย หรือร​ ะบุก​ ารก​ระ​ทำ​เฉพาะ​เหตุการณ์ หรือร​ ะบุช​ ว่ ง​เวลา​ของ​การก​ระ​ทำ​ทเ​ี่ กิดข​ นึ้ หรือ​กำหนด​เงื่อน​ไข​ใดๆ ให้​กระทำ​เพื่อ​ ให้การ​กระทำ​ที่​ผ่าน​มา​ไม่​เป็น​ความ​ผิด​ ก็ได้ ฉะนั้น​จึง​ไม่​ต้อง​รับ​โทษ​ที่​ได้​กำหนด​ ไว้​หรือ​หาก​กำลัง​ได้​รับ​โทษ​อยู่​ก็​ให้​ถือว่า​ การ​ลงโทษ​สิ้น​สุด​ลง ส่ ว น​ก าร​อ ภั ย โทษ​ห รื อ ​ก าร​ล ด​ หย่ อ น​โ ทษ​เป็ น ​ก รณี ​ข อง​ก าร​ใ ช้ ​อ ำนาจ​ สู ง สุ ด หรื อ ​อ ำนาจ​ต าม​ก ฎหมาย​ห รื อ​ ระเบียบ​ที่​มี​อยู่​งด​เว้น​โทษ​หรือ​ลด​หย่อน​ โทษ​ที่​ได้​กำหนด​ไว้​แล้ว โดย​ยัง​คง​ถือว่า​ บุคคล​ดัง​กล่าว​เป็น ​ผู้​กระทำ​ผิด​แต่​ได้​รับ​ การ​งด​เว้น​หรือ​ลด​หย่อน​โทษ​เท่านั้น ทั้ง 2 กรณี​จึง​มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน​ ใน​หลัก​คิด​และ​วิธี​การ โดย​การ​อภัยโทษ​ หรือ​ลด​หย่อน​โทษ​นั้น​มุ่ง​เน้น​การ​ฟื้นฟู​ แก้ ไ ข​ผู้ ​ก ระทำ​ผิ ด ​โ ดย​ก าร​ใ ห้ ​โ อกาส​​ กลับค​ นื ส​ ส​ู่ งั คม ไม่ก​ ระทำ​ผดิ ซ​ ำ้ อ​ กี โดย​มกั ​ จะ​มี​เงื่อนไข​กำหนด​ให้​ผู้​กระทำ​ผิด​ปฏิบัติ​ ตาม​เรียก​ว่า ‘การ​คุม​ประพฤติ’ อีก​ทั้ง​ ยัง​มี​มาตรการ​ทาง​สังคม​ใน​การ​ติดตาม​ ประเมิน ​ผล​การ​ฟื้นฟู​ผู้​กระทำ​ผิด​ควบคู่​ ไป​ด้วย เจษฎ์ : นิ ร โทษ​ก รรม​นั้ น ​มั ก ​จ ะ​ เป็นการ​ไม่​เอาผิด หรือ​การ​เพิก​ถอน​โทษ​ ทั้งหมด ซึ่ง​โดย​มาก​มัก​กระทำ​โดยที่​ยัง​ไม่​ ได้ม​ ก​ี าร​พจิ ารณา​ความ​ผดิ หรือก​ าร​ลงโทษ​ จาก​ก ารก​ร ะ​ท ำ​ที่ ​อ าจ​จ ะ​เป็ น ​ความ​ผิด​ ​เหล่า​นั้น​เลย แต่​การ​ลด​หย่อน​โทษ​นั้น​ โดย​ทั่วไป​เป็น​เพียง​การ​งด​เว้น​การ​เอาผิด​ บาง​ส่วน หรือ​การ​เพิก​ถอน​ความ​ผิด​ที่​ อาจ​จะ​เหลือเ​ป็นบ​ าง​สว่ น แต่ม​ ใิ ช่ค​ วาม​ผดิ ​ ​ทั้งหมด และ​มัก​จะ​เกิด​ขึ้น​ภาย​หลัง​จาก​ ที่​ได้​มี​การ​พิจารณา​ความ​ผิด และ​การ​ ลงโทษ​แล้ว 05

พ.ร.บ.นิรโทษ​กรรม​หลาย​ครั้ง​ ที่​ผ่าน​มา มัก​เป็น​คดี​ที่​เกี่ยวข้อง​ กับ​ความ​มั่นคง​ภายใน​ประเทศ หมายความ​ว่าข​ อบเขต​ของ​การ​ นิรโทษ​กรรม​นั้น เลือก​ตาม​ลำดับ​ ความ​สำคัญ​ของ​คดี​หรือไ​ม่ ชาญ​เชาวน์: เห็น​ว่า​เป็นการ​มอง​ กฎหมาย​นิรโทษ​กรรม​อย่าง​แคบ หาก​ มอง​สถานการณ์​ความ​ขัด​แย้ง​ของ​ไทย​ใน​ ปัจจุบัน​กฎหมาย​นิรโทษ​กรรม​มี​ศักยภาพ​

ใน​การ​กำหนด​โครงสร้าง​กระบวนการ และ​ วิธี​การ​จัดการ​ความ​ขัด​แย้ง​ได้ ขอบเขต​ ของ​กฎหมาย​จึง​มิได้​จำกัด​อยู่​เพียง​เรื่อง​ การ​ลบล้าง​ความ​ผิด​ทาง​อาญา​แต่​เพียง​ ประการ​เดียว ควร​จะ​ตอ้ ง​มอง​สถานการณ์​ ความ​ขดั แ​ ย้งอ​ ย่าง​กว้าง ด้วย​การ​พจิ ารณา​ สาเหตุ​ของ​ความ​ขัด​แย้ง​ที่​เกิด​ขึ้น และ​วาง​ เป้า​หมาย​ให้​ชัดเจน จาก​นั้น​จึง​พิจารณา​ ขอบเขต​ของ​กฎหมาย​นริ โทษ​กรรม​ใน​การ​ เป็น​เครื่อง​มือ​อีก​ชั้น​หนึ่ง จะ​เ ห็ น ​ไ ด้ ​ว่ า การ​นิ ร โทษ​ก รรม​ มี​ขอบเขต​ที่​กว้าง​ขวาง​ไม่​จำกัด​เฉพาะ​ เรื่อง​ของ​คดี​ที่​เกี่ยว​กับ​ความ​มั่นคง แต่​ ยอมรับ​ว่า​นิรโทษ​กรรม​มี​ความ​สำคัญ​เชิง​ โครงสร้าง​ที่​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​สังคม​โดย​ ส่วน​รวม ไม่​ควร​มุ่ง​เน้น​เพียง​ผล​โดยตรง​ ที่ ​เ กิ ด ​ขึ้ น ​เ ฉพาะ​บุ ค คล​ห รื อ ​ก ลุ่ ม ​บุ ค คล​ เท่านั้น เจษฎ์: ขอบเขต​ของ​นิรโทษ​กรรม​ นั้น​โดย​ทั่วไป​พิจารณา​จาก​ความ​รุนแรง​ ของ​ความ​ผิด และ​โทษ​ที่​อาจ​จะ​ลง​แก่​ การก​ระ​ทำ​ที่​ได้​เกิด​ขึ้น​ไป​นั้น เช่น การ​เผา​ ทำลาย หรือ​ทำร้าย​เจ้า​หน้าที่ หรือ​การ​ ฝ่าฝืน​กฎหมาย​บ้าน​เมือง จำนวน​ผู้คน​ที่​ เกี่ยวข้อง เช่น คน​นับ​จำนวน​พัน จำนวน​ หมื่น ผล​ที่​จะ​ตาม​มา​จาก​การ​ลงโทษ​ผู้คน​ เหล่า​นั้น เช่น จะ​ทำให้​พวก​เขา​กลับ​ใจ​ ได้​สำนึก​หรือ​ไม่ และ​องค์​ประ​กอ​บอื่นๆ เพื่อ​ใคร่ครวญ​ดู​ว่าการ​เอา​โทษ​กับ​นิรโทษ​​ อัน​ไหน​จะ​ได้​ประโยชน์​ต่อ​สังคม​มากกว่า​ กัน ที่​ผ่าน​มา​นั้น​จะ​เห็น​ตัวอย่าง​เช่น พระ​ราช​บัญญัติ​นิรโทษ​กรรม​แก่​ผู้​กระทำ​ การ​ยึด​และ​ควบคุม​อำนาจ​การ​ปกครอง​ แผ่นดิน เมื่อ​วัน​ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2534 ซึ่ง มาตรา 3 กำหนด​ให้ “บรรดา​การ​ ก​ระ​ทำ​ทั้ง​หลาย​ทั้ง​สิ้น​ของ​บุคคล​ใดๆ ซึ่ง​ ได้ ​ก ระทำ​เ นื่ อ ง​ใ น​ก าร​ยึ ด ​แ ละ​ค วบคุ ม​ อำนาจ​การ​ปกครอง​แผ่นดิน เมื่อ​วัน​ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 และ​การก​ระ​ทำ​ ​ข อง​บุ ค คล​ที่ ​เ กี่ ยว​เ นื่ อ ง​กั บ ​ก ารก​ร ะ​ท ำ​​ ดั ง ​ก ล่ า ว...หาก​ก ารก​ร ะ​ท ำ​นั้ น ​ผิ ด ​ต่ อ​ กฎหมาย ก็​ให้​ผู้​กระทำ​พ้น​จาก​ความ​ผิด​ และ​ความ​รับ​ผิด​โดย​สิ้น​เชิง” อย่ า งไร​ก็ ต าม นิ ร โทษ​ก รรม​นั้ น อาจ​จะ​มใ​ี ห้แ​ ก่ก​ รณีอ​ นื่ ๆ ก็เ​ป็นไ​ด้ หาก​แต่​ การ​พิจารณา​ให้​มี​นิรโทษ​กรรม ต้อง​เป็น​ ไป​เพื่อ​ให้​เกิด​ความ​ผาสุก​ของ​สังคม มิใช่​ เป็นการ​ยอม​ให้ก​ บั ก​ าร​ขม่ ขูข​่ อง​คน​บาง​คน​ บาง​กลุ่ม บาง​พวก และ​ต้อง​ไม่​เป็น​ไป​ เพื่อ​ให้​คน​ฮึกเหิม​กระทำ​การ​หยาบ​ช้า​ต่อ​ กฎหมาย​บ้าน​เมือง


32

ดิน ฟ้า ป่า น้ำ

เดชรัต สุขกำเนิด : tonklagroup@yahoo.com

ทุ

ก​วัน​นี้​คง​ไม่มี​ใคร​ปฏิเสธ​ว่า ‘โลก​ร้อน’ ได้​เข้า​มา​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ของ​ชีวิต​ของ​เรา​ เรียบร้อย​แล้ว โลก​ร้อน​กลาย​เป็น​ส่วน​หนึ่ง​ที่​ทำให้​ชีวิต​ของ​เรา​ยุ่ง​ยาก​ซับ​ซ้อน จาก​ความ​ผันแปร​ ของ​ภูมิ​อากาศ สภาพ​อากาศ และ​ภัย​พิบัติ​ต่างๆ มาก​ขึ้น จน​ดู​เหมือน​ทุก​อย่าง​จะ​ต้อง​ มา​ลง​ที่ ‘โลก​ร้อน’ แม้ว่า ภัย​พิบัติ​บาง​อย่าง เช่น แผ่น​ดิน​ไหว หรือ​สึ​นา​มิ จะ​ไม่​เกี่ยวข้อง​ กับ​โลก​ร้อน​ก็ตาม สำหรับ​คน​เมือง​อย่าง​ผม โลก​ร้อน​นั้น ทำให้​เรา​รู้สึก​หงุดหงิด ทรมาน​กับ​ทั้ง​ความ​ ร้อน และ​ฟา้ ฝ​ น​ทไ​ี่ ม่เ​ป็นไ​ป​ตาม​ฤดูกาล และ​มกั ต​ าม​มา​ดว้ ย​การ​ใช้พ​ ลังงาน​มาก​ขนึ้ ก​ บั ร​ ถ​ ที่​ติด​อยู่​บน​ถนน หรือ​ไม่​ก็​เดิน​ตาก​แอร์​ใน​ห้าง นั่น​คือ​ตัวอย่าง​เฉพาะ​คน​เมือง ที่​แม้​ชีวิต​จะ​เต็ม​ไป​ด้วย​ความ​สะดวก​สบาย​เพียง​ ไหน ก็​ยัง​ต้องเต​รี​ยม​ตัว​รับมือ​กับ ‘โลก​ร้อน’ แล้ว​ชีวิต​ของ​เกษตรกร​ที่​ต้อง​พึ่งพา​ลม​ฟ้า​ อากาศ​ใน​การ​เพาะ​ปลูก​พืช​ผล จะ​ทวี​ความ​ยุ่ง​ยาก​มาก​ขึ้น​เพียง​ใด

โลก​ ร อ ้ น: การ​พลิก​วิกฤติ​เป็น​โอกาส​ของ​ชาวนา​ยโสธร ชะตา​ชีวิต​เกษตรกร เมื่อ​อากาศ​เปลี่ยนแปลง​บ่อย

ฝ่า​ข้าม​วิกฤติ​โลก​ร้อน เกษตรกร​เป็ น ​อ าชี พ ​ข อง​เผ่ า ​พั น ธุ์ ​ มนุ ษ ย์ ​ที่ ​มี ​ค วาม​ยิ่ ง ​ใ หญ่ ​ท าง​วั ฒนธรรม เพราะ​ผ่าน​การ​ปรับ​ตัว​เพื่อ​รับมือ​กับ​ความ​ เปลี่ ย นแปลง​ต่ า งๆ ทั้ ง ​ท าง​ธ รรมชาติ และ​ทาง​สังคม​มา​หลาย​ต่อ​หลาย​ศตวรรษ เกษตรกร​ไทย​จึง​มิใช่​ผู้​ที่​ยอม​แพ้​ต่อ​การ​ เปลี่ยนแปลง​ของ​โลก โดย​ไม่​ปรับ​ตัว​รับมือ

แน่นอน ความ​ผัน ผวน​ของ​ลม​ฟ้า​ อากาศ ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ความ​แปรปรวน​ของ​ ฤดู​มรสุม (โดย​เฉพาะ​ฤดู​ฝน) ภาวะ​ฝน​ทิ้ง​ ช่วง การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​อุณหภูมิ หรือ​แม้​ กระทั่ง​การ​ระบาด​ของ​โรค​แมลง​เนื่องจาก​ ภาวะ​อากาศ​เป็นใจ (กับ​พวก​มัน) ล้วน​ กระทบ​ชีวิต​ของ​เกษตรกร​ทั้ง​สิ้น โดย​เฉพาะ​หาก​ประสบ​กับ​ภัย​พิบัติ​ ที่มา​กับ​โลก​ร้อน​ด้วย​แล้ว เกษตรกร​ยิ่ง​ต้อง​ แบก​รับ​หนี้​สิน​จาก​การ​ลงทุน​ใน​การ​ผลิต​ ของ​ตน​มาก​ขึ้น​ไป​อีก ดร.วิเชียร เกิดสุข เคย​วิเคราะห์​ไว้​ ว่า หาก​ชาวนา​ใน​ทุ่ง​กุลา​ร้องไห้​ประสบ​ กับ​ความ​แปรปรวน​ของ​อากาศ (เช่น ฝน​ แล้ง) ใน​ฤดูกาล​ผลิต​หนึ่ง เขา​จะ​ต้อง​แบก​

รับ​ภาระ​หนี้​สิน และ​ปัญหา​ทาง​เศรษฐกิจ​ ต่อ​ไป​อีก 7 ปี กว่า​จะ​หลุด​พ้น​จาก​ภาระ​ เศรษฐกิจ​ดัง​กล่าว (หาก​ไม่​โชค​ร้าย​เพิ่ม​ขึ้น​ อีก​ใน​ระหว่าง 7 ปี​นั้น) ใน​ภาพ​รวม​ของ​ทงั้ โ​ลก วิลเ​ลียม ไค​ลน์​ (William Klein) นักว​ ชิ าการ​ดา้ น​พชื ศ​ าสตร์​ และ​การ​เปลีย่ นแปลง​ภมู อ​ิ ากาศ คาด​การณ์​ ว่า ผลผลิต​ทางการ​เกษตร​ทั่ว​โลก​จะ​ได้​ รั บ ​ค วาม​เ สี ย ​ห าย​จ าก​ก าร​เ ปลี่ ย นแปลง​​ ภูมิ​อากาศ​ประมาณ​ร้อย​ละ 3-16 โดย​ ประเทศ​กำลังพ​ ฒ ั นา ซึง่ ม​ กั ต​ อ้ ง​พงึ่ พา​ราย​ได้​ ​จาก​ภาค​การ​ผลิต​ทางการ​เกษตร​จะ​ได้​รับ​ ผลก​ระ​ทบ​มากกว่า​ประเทศ​ที่​พัฒนา​แล้ว สำหรับป​ ระเทศไทย วิลเ​ลียม ไค​ลน์ ได้ว​ เิ คราะห์ไ​ว้ว​ า่ ผลผลิตท​ างการ​เกษตร​จะ​

ลด​ลง​ประมาณ​ร้อย​ละ 15-26 หลาย​ฝ่ า ย โดย​เ ฉพาะ​นั ก ​ธุ ร กิ จ​ การเกษตร เห็น​ว่า นี่​น่า​จะ​เป็น​โอกาส​ทอง​ ของ​ไทย เพราะ​ราคา​ผลผลิตท​ างการ​เกษตร​ จะ​สู ง ​ขึ้ น แต่ ​เ ขา​เ หล่ า ​นั้ น ​อ าจ​ลื ม ​ไ ป​ว่ า ประเทศไทย​ยัง​มี​คน​ยากจน​อีก​กว่า 6 ล้าน​ คน หรือป​ ระมาณ​รอ้ ย​ละ 10 ของ​ประชากร​ ทัง้ หมด ทีย​่ งั ต​ อ้ ง​ใช้เ​งินเ​กือบ​ครึง่ ข​ อง​ราย​ได้​ เพื่อ​แลก​กับ​อาหาร เมื่อ​ราคา​อาหาร​เพิ่ม​มาก​ขึ้น โอกาส​ ที่​จะ​หลุด​พ้น​จาก​ความ​ยากจน​ของ​เขา​จึง​ ยาก​ขึ้น​ตาม​ไป​ด้วย ดั ง ​นั้ น โอกาส​ท อง​ข อง​นั ก ​ธุ ร กิ จ​ การเกษตร จึงย​ อ่ ม​เป็น ‘หลุมด​ ำ’ ของ​คนจน​ ใน​ประเทศ​นี้ อย่าง​หลีก​เลี่ยง​ไม่​ได้

อย่าง​น้อย​ก็​ไม่ใช่​สำหรับ ‘ชาวนา​ เกษตร​อิ น ทรี ย์ ’ ใน​โ ครงการ​ข อง​มู ล นิ ธิ ​ สายใย​แผ่นดิน (Earth Net Foundation) จังหวัด​ยโสธร เมื่อ​โจทย์​ที่​ตน​ต้อง​เผชิญ​เริ่ม​ชัดเจน​ ขึ้น จาก​ปัญหา​ภัย​แล้ง​ใน​ปี 2550 กลุ่ม​ ชาวนา​อินทรีย์​จึง​หารือ​กับ​มูลนิธิ​สายใย​ แผ่นดิน และ​องค์​กรอ็​อกซ์แฟม​แห่ง​สห​ราช​ อาณาจักร (Oxfam) เพื่อ​เริ่ม​ต้น​โครงการ​ ปรั บ ​ตั ว ​เ พื่ อ ​รั บ มื อ ​กั บ ​ก าร​เ ปลี่ ย นแปลง​​ ภูมิ​อากาศ ใน​ปี 2551 โดย​มี​หลัก​การ​ที่​ สำคัญ 4 ประการ​คือ หลั ก ​ป ระการ​แ รก คื อ ‘การ​เ ติ ม​ ความ​ร’ู้ เกีย่ ว​กบั ค​ วาม​แปรปรวน​ของ​สภาพ​ อากาศ ความ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ภูมิ​อากาศ และ​ผลก​ระ​ทบ​ที่​มี​ต่อ​กระบวนการ​ผลิต​ ใน​ภาค​เกษตรกรรม โดย​นำ​ความ​รู้​ทาง​ วิทยาศาสตร์​จาก ศูนย์​จัดการ​ความ​รู้​ด้าน​ การ​เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ จุฬาลงกรณ์​ มหาวิทยาลัย มา​ประสาน​กับ​ภูมิปัญญา​ ท้อง​ถิ่น​ใน​การ​เพาะ​ปลูก การ​ประสาน​หรือก​ า​รบูร​ ณา​การ​ตรง​

จุด​นี้​สำคัญ​มาก เพราะ​การ​เปลี่ยนแปลง​ ของ​ภูมิ​อากาศ​นั้น ลำพัง​องค์​ความ​รู้​หรือ​ ภูมิปัญญา​ท้อง​ถิ่น อาจ​ไม่​สามารถ​ใช้​แก้​ ปั ญ หา​ไ ด้ ​อ ย่ า ง​เ ต็ ม ​ที่ ​ใ น​ส ถานการณ์ ​ที่ ​ แตก​ต่ า ง​ไ ป​จ าก​สิ่ ง ​ที่ ​เ คย​เ ป็ น ​ม า​ตั้ ง แต่ ​ ปู่ ย่ า ​ต า​ย าย ขณะ​เดี ยวกั น องค์ ​ค วาม​รู้ ​ ทาง​วิทยาศาสตร์​เพียง​อย่าง​เดียว​ก็​มิ​อาจ​ เชื่อม​ต่อ​กับ​ความ​เป็น​จริง​ของ​ระบบ​นิเวศ​ วัฒนธรรม​ใน​แต่ละ​ท้อง​ถิ่น​ได้ การ​เชือ่ ม​ประสาน​ของ​องค์ค​ วาม​รท​ู้ งั้ 2 จึงเ​ป็นห​ วั ใจ​สำคัญข​ อง​การ​วางแผน​รบั มือ​ กับ​ความ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ภูมิ​อากาศ เช่น การ​คาด​การณ์​ช่วง​เวลา​ทำ​นา​ที่​เหมาะ​สม​ กับ​สภาพ​อากาศ​ใน​แต่ละ​ปี โดย​พิจารณา​ จาก​แ บบ​จ ำลอง​ก าร​พ ยากรณ์ ​อ ากาศ เทคนิค​การ​ปลูก​ข้าว​ของ​ชาวนา และ​พันธุ์​ ข้าว​ที่​เหมาะ​สมใน​แต่ละ​พื้นที่ เช่ น ใน​ปี 2553 ชาวนา​ห ลาย​ ราย​ที่​ยโสธร ตัดสิน​ใจ​เลื่อน​การ​ตก​กล้า​ ของ​ตน​อ อก​ไ ป​อี ก 1 เดื อ น เมื่อ​ทราบ​ ข้อมูลจ​ าก​แ​ บบ​จำลอง​การ​พยากรณ์อ​ ากาศ​ ว่า ฤดู​มรสุม​จะ​มา​ล่าช้า​ไป​ประมาณ 1

เดือน เนื่องจาก​อิทธิพล​ของ​ปรากฏการณ์​ ​เอ​ลนีโญ หลัก​ประการ​ที่​สอง คือ ‘การเกษตร​ อินทรีย์’ เพื่อ​สร้าง​ความ​เข้ม​แข็ง​ให้​กับ​พืช​ ที่​ปลูก ไป​พร้อมๆ กับ​ฟื้นฟู​ระบบ​นิเวศ​ ใน​แ ปลง​น า​ใ ห้ ​มี ​ค วาม​ส มดุ ล ​ม าก​ขึ้ น มี ​ กลไก​ก าร​ค วบคุ ม ​แ ละ​ป รั บ ​ส มดุ ล ​ต าม​ ธรรมชาติ ดังน​ นั้ จึงส​ ามารถ​รบั มือก​ บั ค​ วาม​ เปลี่ยนแปลง​ของ​สภาพ​อากาศ​ได้​ดี​ขึ้น ข้ อ มู ล ​จ าก พรรณี เสมอ​ภ าค​ ผู้​อำนวย​การ​ศูนย์​เกษตร​อินทรีย์ มูลนิธิ​ สายใย​แผ่นดิน ชี้​ให้​เห็น​ว่า เมื่อ​เกิด​ภาวะ​ ฝน​แล้ง ใน​ปี 2551 ผลผลิตข​ า้ ว​จาก​เกษตร​ อิ น ทรี ย์ ​จ ะ​ล ด​ล ง​เ พี ย ง​ป ระมาณ​ร้ อ ย​ล ะ 8-10 แต่​ผลผลิต​ข้าว​จาก​แปลง​เกษตร​เคมี​ จะ​ลด​ลง​ถึง​ประมาณ​ร้อย​ละ 30-40 นอกจาก​นั้น เนื่องจาก​การ​ทำการ​ เกษตร​อินทรีย์​ลด​การ​ใช้​ปัจจัย​การ​ผลิต​ ทีม่ า​จาก​เชือ้ เ​พลิงซ​ ากดึกดำบรรพ์ (เช่น ปุย๋ ​ ​ยู​เรีย​ทำ​จาก​ก๊าซ​ธรรมชาติ หรือ​สาร​กำจัด​ ศัตรู​พืช​ก็​สกัด และ​พัฒนา​มา​จาก​น้ำมัน​ ปิโตรเลียม) การเกษตร​อินทรีย์​จึง​สามารถ​


33 สู่​โอกาส​อัน​ยิ่ง​ใหญ่

กังหันล​ ม​รุ่น​ใหม่ข​ อง​ชาว​ยโสธร ต่อ​ไป​จะ​ผลิต​ไฟฟ้า​ได้​ด้วย

จาก​จุด​เริ่ม​ต้น​เล็กๆ ของ​การ​เรียน​รู้ ขณะ​นี้​ชาวนา​ยโสธร​กำลัง​ก้าว​สู่​การ​เรียน​รู้​ และ​โอกาส​ที่​ยิ่ง​ใหญ่​ขึ้น เริ่ ม ​ต้ น ​จ าก​ก าร​ตั้ ง ​เ ป้ า ​ที่ ​จ ะ​จั ด ​ตั้ ง ศูนย์พ​ ยากรณ์อ​ ากาศ​ชมุ ชน (ชือ่ แ​ บบ​ไม่เ​ป็น​ ทางการ) เพือ่ ท​ จ​ี่ ะ​เก็บร​ วบรวม​ขอ้ มูลส​ ภาพ​ ดิน​ฟ้า​อากาศ​ใน​พื้นที่ และ​เป็น​จุด​เชื่อม​ต่อ​ ข้อมูลร​ ะหว่าง​แบบ​จำลอง​การ​พยากรณ์ท​ ม​ี่ ​ี ความ​ละเอียด​สงู ซึง่ ร​ ะบุไ​ด้ถ​ งึ ร​ ะดับห​ มูบ่ า้ น กับ​ข้อมูล​สภาพ​จริง​ใน​พื้นที่ อัน​จะ​เป็นการ​ นำ​ไป​สู่​การ​ปรับปรุง​การ​พยากรณ์​ที่​แม่นยำ ละเอียด และ​ใช้​ประโยชน์​โดยตรง​กับ​การ​ ทำ​มา​หากิน​ของ​ประชาชน

ปั จ จุ บั น แนวคิ ด ​ก าร​จั ด ​ตั้ ง ​ศู น ย์ ​ พยากรณ์​อากาศ​ชุมชน กำลัง​ขยาย​ตัว​ไป​ ยัง​พื้น​ที่​อื่นๆ เช่น ชาวนา ชาวไร่ และ​ครู​ที่​ จังหวัดส​ ระแก้ว ก็ก​ ำลังเ​รียน​รแ​ู้ ละ​เตรียม​ตวั ​ ​ตั้ง​ศูนย์​พยากรณ์​อากาศ​ชุมชน​เช่น​กัน ยิ่ง​ไป​กว่า​นั้น กังหัน​ลม​สูบ​น้ำ ซึ่ง​ เริ่ม​ต้น​จาก​กิจ​กร​รม​เล็กๆ ใน​การ​จัดการ​​ ระบบ​น้ำ ก็​กำลัง​ได้​รับ​การ​ต่อย​อด โดย​ การ​จัดการ​ความ​รู้​ร่วม​กัน​ใน​ชุมชน จาก​ การ​ส นั บ สนุ น ​จ าก สสส. (สำนั ก งาน​ กองทุน​สนับสนุน​การ​สร้าง​เสริมสุข​ภาพ) ทำให้ชาวนา​ยโสธร ซึง่ ก​ ลาย​เป็นช​ า่ ง​ประจำ​ ชุมชน ได้พ​ ฒ ั นา​กงั หันล​ ม​รปู แ​ บบ​ตา่ งๆ ขึน้ ​ มา​อีก 3 รูป​แบบ เพื่อ​ให้​มี​ความ​คงทน​และ​

สามารถ​ใช้ง​ าน​ได้อ​ ย่าง​มป​ี ระสิทธิภาพ​มาก​ ยิ่ง​ขึ้น ปัจจุบัน ช่าง​ชุมชน​ชาว​ยโสธร เช่น พ่ อ ​เ อี่ ย ม หรื อ พ่ อ ​ม นู ​ญ ก็ ​ก ลาย​เ ป็ น​ วิทยากร​รว่ ม​กบั ม​ ลู นิธพ​ิ ฒ ั นา​อสี าน จังหวัด​ สุรนิ ทร์ เปิดฝ​ กึ อ​ บรม​การ​ทำ​กงั หันล​ ม​ให้ก​ บั ​ เกษตรกร​ใน​ภาค​อีสาน​ตอน​ล่าง เป้า​หมาย​ใน​อนาคต​ของ​ช่าง​ชุมชน​ ชาว​ยโสธร คือ การ​พฒ ั นา​กงั หันล​ ม​ทส​ี่ บู น​ ำ้ ​ ​และ​ผลิต​ไฟฟ้า​ได้​ใน​ตัว​เดียวกัน รวม​ถึง​ ต่อย​อด​ความ​รู้​ไป​สู่​การ​จัดการ​พลังงาน​รูป​ แบ​บอื่นๆ เช่น การ​ใช้​ก๊าซ​ชีวภาพ และ​ พลังงาน​ชีว​มวล เพื่อ​ลด​ราย​จ่าย และ​ลด​ โลก​ร้อน​ไป​ด้วย​ใน​ตัว

สุดท้าย ชาวนา​ยโสธร​ร่วม​กับ​มูลนิธิ​สายใย​แผ่นดิน และ​มูลนิธิ​นโยบาย​สุข​ภาวะ กำลัง​รวบรวม​แนวทาง องค์​ความ​รู้ และ​ประสบการณ์​ทาง​เทคนิค ใน​การ​รับมือ​กับ​ภาวะ​ โลก​ร้อน​ให้​ได้​อย่าง​น้อย 20 วิธี เพื่อ​เป็น​คลัง​ข้อมูล​และ​เป็น​ทาง​เลือก​ให้​กับ​เกษตรกร โดย​เฉพาะ​ชาวนา ใน​การ​ดำรง​อยู่​กับ​โลก​ที่​ไม่​แน่นอน​ใบ​นี้ สำหรับ​ชาวนา​กลุ่ม​นี้ คำ​ว่า ‘โลก​ร้อน’ จึง​มิใช่​สิ่ง​ที่​มี​ไว้ ‘กล่าว​โทษ’ หรือ ‘พร่ำ​บ่น’ อีกต​ อ่ ไ​ป แต่ก​ ลาย​เป็นโ​จทย์ ‘ปัญหา’ ทีน​่ ำ​ไป​สู่ ‘ปัญญา’ ซึง่ พ​ า​ไป​สโ​ู่ อกาส และ​การ​เรียน​ร​ู้ ที่​ไม่รู้​จบ สิ่ง​เหล่า​นี้​กำลัง​เป็น​หนทาง​รอด​ของ​เกษตรกร​ราย​ย่อย เพื่อ​รับมือ​กับ​ความ​ แปรปรวน​ของ​ภูมิ​อากาศ ด้วย​การ​สร้าง​ความ​มั่นคง​ทาง​อาหาร ไป​พร้อมๆ กับ​การ​สร้าง​ สมดุล​ของ​ระบบ​นิเวศ​ใน​ไร่​นา และ​การ​เรียน​รู้​ตลอด​ชีวิต ‘ตลอด’ ใน​ที่​นี้​ไม่​ได้​แปล​ว่า​เกิด​จน​ตาย​เท่านั้น แต่​เป็น ‘ตลอด’ ทุก​องค์​ประกอบ​ ของ​การ​ดำเนิน​ชีวิต ประสบการณ์​เหล่า​นี้ ทำให้​ผม​นึกถึง​ สุ ภ าษิ ต ​ข อง​ช าวนา​เ นเธอร์ แ ลนด์ ​ผู้ ​คิ ด ค้ น​ กั ง หั น ​ล ม เพื่ อ ​กู้ ​แ ผ่ น ​ดิ น ​ที่ ​อ ยู่ ​ต่ำ​กว่า​ระดับ​ น้ำ​ทะเล ให้​กลาย​เป็น​แผ่น​ดิน​ที่​อุดม​สมบูรณ์​ และ​มั่นคง​ยั่งยืน​สืบ​มา “เรา​ไม่​อาจ​หยุด​ลม​ที่​พัด​โหม​ได้ แต่​เรา​ สามารถ​สร้าง​กังหัน​ลม​ได้” เรา​กำลัง​เริ่ม​ทำความ​ฝัน​ที่​ยิ่ง​ใหญ่​แบบ​ เดียวกัน ที่​ยโสธร

ช่วย​ลด​การ​ปล่อย​ก๊าซ​เรือน​กระจก อัน​เป็น​ สาเหตุ​ของ​โลก​ร้อน​ได้​อีก​ทาง​หนึ่ง​ด้วย หลักป​ ระการ​ทส​ี่ าม คือ ‘การ​ปลูกพ​ ืช​ แบบ​ผสม​ผสาน’ โดย​การก​ระ​จาย​ความ​เสีย่ ง​ จาก​การ​ปลูก​พืช​หลัก หรือ​ข้าว​เพียง​ชนิด​ เดียว ไป​สู่​การ​ปลูก​พืช​อื่นๆ อีก 31 ชนิด เพื่อ​สร้าง​ความ​มั่นคง​ทาง​ด้าน​อาหาร​ให้​แก่​ ครัวเ​รือน​และ​ชุมชน ตาม​หลัก​การ​ที่​ว่า ‘อย่า​ใส่​ไข่​ทั้งหมด​ ไว้​ใน​ตระ​กร้า​ใบ​เดียว’ พรรณี ได้​ติดตาม​ดู​ใน​พื้นที่ พบ​ว่า ชาวนา​ที่​เข้า​ร่วม​โครงการ​ทั้งหมด 57 คน มี​ผลผลิต​พืช​อาหาร​เฉลี่ย 29 ชนิด ส่วน​ เกษตรกร​โดย​ทั่วไป​ที่ทำการ​เกษตร​แบบ​ใช้​ สาร​เคมี​จะ​มี​ผลผลิต​พืช​อาหาร​เพียง 16 ชนิด นั่น​เป็น ​ผล​ให้​ชาวนา​อินทรีย์​ที่​เข้า​ ร่วม​โครงการ​สามารถ​พึ่ง​ตนเอง​ทาง​ด้าน​ อาหาร ทั้ง​ข้าว ผัก ผล​ไม้ และ​เนื้อ​สัตว์​ได้​

ประมาณ​ร้อย​ละ 90 ใน​ขณะ​ที่​เกษตรกร​ ทั่วไป​ที่ทำการ​เกษตร​เคมี​จะ​พึ่ง​ตนเอง​ทาง​ ด้าน​อาหาร​ได้​ประมาณ​ร้อย​ละ 70 เท่านั้น หลั ก ​ป ระการ​สุ ด ท้ า ย คื อ ‘การ​ จัดการ​น้ำ​ใน​ไร่​นา’ เพราะ​น้ำ​คือ​หัวใจ​ของ​ การเกษตร และ​นำ้ ก​ เ​็ ป็นต​ วั แปร​หนึง่ ท​ จ​ี่ ะ​ได้​ รับ​ผลก​ระ​ทบ​จาก​โลก​ร้อน และ​สร้าง​ความ​ เดือด​ร้อน​ให้​กับ​เกษตรกร​มาก​ที่สุด แทนทีช​่ าวนา​กลุม่ น​ จ​ี้ ะ​รอ​คอย​ฟา้ ฝ​ น​ มาโปรด หรือ​เฝ้า​รอ​โครงการ​แสน​ล้าน​จาก​ รัฐบาล ชาวนา​ได้ต​ ดั สินใ​จ​ลงทุนท​ ำ​ระบบ​นำ้ ​ ของ​ตนเอง ประกอบ​ดว้ ย แหล่งน​ ำ้ ธ​ รรมชาติ เช่น บ่อบ​ าดาล แหล่งก​ กั เ​ก็บน​ ำ้ ด้วย​การ​ขดุ ​ สระ​นำ้ ระบบ​สบู แ​ ละ​กระจาย​นำ้ ผ​ า่ น​กงั หัน-​ ลม​สูบ​น้ำ และ​คู​ส่ง​น้ำ รวม​ถึง​ออกแบบ​ ระบบ​หมุนเวียน​น้ำ​ใน​แปลง​นา​เพื่อ​การ​ใช้​ น้ำ​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ โดย​ใช้​เงิน​ลงทุน​ ทั้งหมด​เพียง​ประมาณ 30,000 บาท ปรากฏ​ว่ า แม้ว่ า ​ชาวนา​ก ลุ่ ม​นี้ ​จะ​

ต้อง​เสีย​พื้นที่​บาง​ส่วน​ไป​เป็น​พื้นที่​เก็บ​น้ำ แต่ ​ช าวนา​ก ลุ่ ม ​นี้ ​ก ลั บ​มี ​ผ ลผลิ ต ​ข้ า ว​ม าก​ ขึ้น เพราะ​มี​หลัก​ประกัน​ใน​เรื่อง​น้ำ​มาก​ขึ้น ดัง​นั้น จึง​สามารถ​จัดการ​ไร่​นา​ของ​ตนเอง โดย​ลด​การ​พึ่ง​พิง​ฟ้า​ฝน​ตาม​ธรรมชาติ​ลง​ ได้​ระดับ​หนึ่ง อีก​ทั้ง​การ​มี​แหล่ง​น้ำ​ยัง​สร้าง​ราย​ได้​ อื่นๆ ให้​กับ​เกษตรกร​ได้​อีก​ด้วย ไม่​ว่า​จะ​ เป็น ​ผัก​และ​ไม้​ผล​ตาม​ริม​บ่อน้ำ หรือ​ปลา​ ใน​สระ​น้ำ​ก็ตาม สิ่ ง ​ที่ ​น่ า ​ส นใจ​คื อ ชาวนา​ก ลุ่ ม ​นี้ ​ สามารถ​คืน​เงิน​ลงทุน​ดัง​กล่าว​ได้​ใน​ระยะ​ เวลา​ไม่​เกิน 3 ปี ส่วน​เงิน​ที่​ได้​กลับ​มา ก็​ สามารถ​นำ​มา​รวม​กนั เ​ป็นก​อง​ทนุ หมุนเวียน และ​สามารถ​ไป​ขยาย​ให้​กับ​ชาว​นา​อื่นๆ ที่​ ต่อ​คิว​อยู่​ใน​พื้นที่​ได้​อีก โครงการ​ดัง​กล่าว​ จึง​ขยาย​ตัว​จาก​สิบ​เป็น​ร้อย​ครัว​เรือน​ใน​ ปัจจุบัน


34

เทศาภิวัฒน์

กองบรรณาธิการ

ถนน

​สาย​นั้น​ทอด​ ยาว มีท​ วิ เ​ขา​เขียว​ เป็ น ​ฉ าก​ห ลั ง เรา​ผ่ า น​บ้ า น​เ รื อ น​ที่ ​ตั้ ง ​อ ย่ า ง​ สงบเสงี่ยม 2 ข้าง​ทาง รู้สึก​ถึง​ความ​เงียบ​และ​น่า​อยู่ ต่าง​จาก​เมือง​ท่อง​เที่ยว​อื่นๆ ที่​ความ​เจริญ​เข้าไป​เบียด​รุก​ อย่าง​ไร้​ความ​เกรงใจ ที่​นี่ อำเภอ​ลับแล จัง​หวัด​อุต​รดิตถ์ เป็น​อีก​หนึ่ง​แห่ง​ที่​น่า​ มา​เที่ยว มา​ซึมซับ​วิถี​ชีวิต ชาว​บ้าน​เล่า​ให้​เรา​ฟัง​ว่า คน​ส่วน​ใหญ่​ กว่า 80 เปอร์เซ็นต์​เป็น​ชาวสวน ปลูก​ทุเรียน​พื้น​เมือง​หลง​ลับแล ลางสาด มังคุด บน​ภเู ขา สลับก​ บั พ​ ชื พันธุธ​์ รรมชาติอ​ ย่าง​เหมาะ​สม ​ เรียก​ว่า ‘วน​เกษตร’ และ​ยัง​มี​โฮม​สเตย์​น่า​รักๆ ที่​คนใน​ชุมชน ‘ร่วม​มือ’ กัน​ทำ เป็น​ความ​ร่วม​มือ​ที่​ทำให้​บ้าน​เมือง​น่า​อยู่​จริงๆ จั ง ​ห วั ด ​อุ ต ​ร ดิ ต ถ์ ​ยั ง ​มี ​อี ก ​ห ลาย​อ ย่ า ง​ที่ ​ น่า​มา​เรียน​รู้ เรา​ค่อยๆ ทำความ​รู้จัก​ ที่​นี่​กัน

เรื่อง​ของ​คน​มี​ความ​สุข ​ใน​อุตรดิตถ์

โฮม​สเตย์​กับข้าว​พันผ​ ัก

ตำบล​แม่​พูล อำเภอ​ลับแล เป็น​ พื้นที่​สงบ ผศ.ดร.อุดม คำขาด ภาค​วิชา​ หลักสูตร​และ​การ​สอน คณะ​ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย​ราชภัฏ​อุตรดิตถ์ บอก​ว่า นอกจาก​ภูเขา​ผล​ไม้​ที่​เรา​เกริ่น​ไป​ตอน​ต้น โฮม​สเตย์​ของ​ที่​นี่​ก็​น่า​เที่ยว ผศ.ดร.อุ ด ม และ​ค ณะ​อ าจารย์ ​ เข้า​ช่วย​ชาว​บ้าน​เติม​เต็ม​ความ​รู้​เรื่อง​การ​ ท่อง​เที่ยว เป็น​หนึ่ง​ใน​การ​ทำงาน​แบบ 1 มหาวิทยาลัย 1 จังหวัด “ทีน​่ อ​ี่ าจ​เป็นพ​ นื้ ทีเ​่ ดียว​ใน​ประเทศ​ ก็​ว่า​ได้ ที่​ชาวสวน​ปลูก​ผล​ไม้​กัน​บน​เขา​ แบบ​วน​เกษตร คือ​ปลูก​แซม​ไป​กับ​ไม้​เดิม ทั้ง​ทุเรียน ลางสาด เวลา​เก็บ​เกี่ยว​กัน​ที จะ​เห็น​เข่ง​ผล​ไม้​ไหล​มา​ตาม​สาย​เคเบิล​

จาก​เขา​สู่​เขา นี่​คือ​เอกลักษณ์​ที่​ยาก​จะ​หา​ ใคร​เหมือน” “เมื่อ​มี​ของดี ชาว​บ้าน​ท่ี​นี่​จึง​คิด​ อยาก​ให้ค​ น​ตา่ ง​ถนิ่ ไ​ด้เ​ห็นถ​ งึ ค​ วาม​งดงาม” อาจารย์​อุดม​ว่า โฮม​สเตย์​ของ​ตำบล​แม่​พูล เกิด​ขึ้น​ ​จาก​การ​ที่​ชุมชน​เคย​พบ​ปัญหา​ยา​เสพ​ติด​ ใน​เยาวชน ชาวสวน​บน​ดอย​จึง​นำ​วัย​รุ่น​ หลบ​ไป​อยูท​่ า่ มกลาง​ธรรมชาติ พอ​ปญ ั หา​ ทุเลา เลย​อยาก​ให้​คน​อื่น​มา​เห็น​ของดี​ใน​ บ้าน​ตัว​เอง​บ้าง จึง​เปิด​รับ​นัก​ท่อง​เที่ยว​ ทั่วไป

เมื่อ​มหาวิทยาลัย​เข้า​มา​ช่วย ก็ได้​ นั ก ศึ ก ษา​ม า​ถ่ า ย​รู ป ​ส ถาน​ที่ ​ท่ อ ง​เ ที่ ย ว​ ต่างๆ เพือ่ ท​ ำ​สอื่ เ​ผย​แพร่ท​ าง​อนิ เทอร์เน็ต มี​ข้อมูล​ต่างๆ ให้​นัก​ท่อง​เที่ยว​รับ​ทราบ วนิดา วันทา เจ้าของ​โฮม​สเตย์เ​มือง​ ลับแล หมู่ 4 ตำบล​แม่​พูล เล่า​หน้า​บ้าน​ พัก​ของ​เธอ​ว่า “ที่ ​นี่ ​เ น้ น ​กิ จ กรรม​เ ข้ า ไป​ดู ​ สวน​ผล​ไม้ ที่​นี่​มี​ผล​ไม้​ตลอด​ทั้ง​ปี​ เงาะ มังคุด ลางสาด ทุเรียนพืน้ เ​มือง​​ หลง​ลับแล​ก็​มีชื่อ​เสียง มี​เที่ยว​ น้ำตก ทำ​กับข้าว​กิน​กัน เป็น​

เมนู​อาหาร​ท้อง​ถิ่น พา​ไป​ดอย​ม่อน​ฤาษี​ ซึ่ง​เห็น​วิว​ทั้ง​จังหวัด หน้า​หนาว​ก็​มา​รับ​ บรรยากาศ ดู ​ห มอก อากาศ​บ ริ สุ ท ธิ์ ​ คน​จาก​ระยอง​แถว​มาบตาพุด​นี่​ชอบ​มาก มา​กาง​เต็นท์น​ อน บาง​คน​มา ไม่ย​ อม​ นอน​ใน​บ้าน” เธอ​บอก​ว่า ค่า​ใช้​จ่าย​ต่อ 1 คน 1 คืน เพียง 100 บาท อาหาร​เช้า 50 บาท กลาง​วันเย็น 80 บาท ซึง่ น​ บั ว​ า่ ถ​ กู ม​ าก เจ้าของ​โฮม​สเตย์บ​ อก​วา่ จ​ ะ​ขนึ้ ​ ราคา ก็​สงสาร​นัก​ท่อง​เที่ยว


35 “คน​ที่ ​รู้ จั ก ​ค ำ​ว่ า ​โ ฮม​ส เตย์ ​จริ ง ๆ ถึ ง ​เข้ า ​ม า เพราะ​มั น ​คื อ ​ก าร​ใ ช้ ​ชี วิ ต ​กั บ​ เจ้าของ​บ้าน เหมือน​มา​เยี่ยม​ญาติ มัน​ ไม่​สะดวก​สบาย​มาก มา​ลอง​ดู​ว่า​คน​ที่​นี่​ ใช้ ​ชี วิ ต ​กั น ​อ ย่ า งไร บาง​ค น​อ ยาก​ สบาย​เรา​กแ​็ นะนำ​วา่ ใ​ห้ไ​ป​นอน​ ใน​เมือง​ดก​ี ว่า ยอมรับเ​ลย​วา่ อาจารย์​เข้า​มา​ช่วย​ให้การ​ ท่ อ ง​เ ที่ ย ว​ดี ​ขึ้ น คน​ม า​ เยอะ​ขึ้น” อาหาร​ขึ้น​ชื่อ​ของ​ ที่​นี่​คือ ‘ข้าว​พัน ​ผัก’ ซึ่ง​ เป็ น ​อ าหาร​พื้ น ​เมื อ ง​ข อง​ จั ง หวั ด ​อุ ต รดิ ต ถ์ เกิ ด ​จ าก​ ภู มิ ปั ญ ญา​ข อง​ค น​ไ ทย​โบราณ มี​มา​นาน​หลาย​ชั่ว​อายุ​คน เพื่อ​ถนอม​ อาหาร​ใ ห้ ​ส ามารถ​เก็ บ ​ไ ว้ ​ไ ด้ ​น าน และ​ ง่าย​ต่อ​การนำ​ติดตัว​ออก​ไป​กิน​ระหว่าง​ วัน เมื่อ​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​ทำ​นา ทำ​ไร่ นอก​ บ้าน​ไกลๆ ชาว​บ้าน​ที่​นี่​ยัง​มี​การ​คิด​สูตร​ใหม่ๆ เพิ่ม​เติม​เข้าไป​ให้​นัก​ท่อง​เที่ยว​ได้​ลอง​ชิม มี​การ​พัฒนา​กระบวนการ​ผลิต​ให้​สะอาด​ สะอ้าน และ​ได้​มาตรฐาน​ความ​ปลอดภัย เป็นการ​ยก​ระดับภ​ มู ปิ ญ ั ญา​ทอ้ ง​ถนิ่ ​ ด้าน​อาหาร เห็น​แล้ว​น้ำลาย​สอ​จริงๆ

“ประหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​ครัว​เรือน​ลด​ ครึ่ง​ต่อ​ครึ่ง​เลย” คน​บ้าน​ห้วย​บง ใช้​แก๊ส​เฉลี่ย 2 เดือน ต่อ 1 ถัง ต่อ 1 ครัว​เรือน เป็น​ เงิ น 300 บาท เมื่ อ ​มี ​ก าร​ใ ช้ ​ พลั ง งาน​ท าง​เ ลื อ ก จะ​​ สา​ม ารถ​ล ด​ค่ า ​ใ ช้ ​จ่ า ย​ ไป​ได้​เฉลี่ย 100-150 บาท ส่ ว น​ข อง​เ สี ย​ ที่​ออก​มา​จาก​ระบบ​ แก๊ส ก็​นำ​มา​ทำ​ปุ๋ย​ ได้ อีก​ทั้ง ​ยัง​มี​การ​ ตั้ง​ธนาคาร​ขี้​วัว​ขึ้น เพื่อ​ การ​คา้ ขาย​เชิงพ​ าณิชย์ท​ เ​ี่ ป็น​ ระบบ เป็นจ​ ดุ จ​ ำหน่าย​แห่งเ​ดียว​ใน​ หมู​บ้าน เพื่อ​ให้​คน​ซื้อ​ไป​ทำ​ปุ๋ย “เรา​จะ​ได้​กำหนด​ราคา​ได้​เสมอ​กัน มี​การ​ถือ​หุ้น ตอน​แรก​สมาชิก​มี 18 ราย มา​ปี​นี้​จึง​เพิ่ม​ขึ้น สำหรับ​คน​ไม่​เลี้ยง​วัว​ก็​ เข้า​มา​ถือ​หุ้น​ได้ หุ้น​ละ 20 บาท ลูกค้า​ ที่มา​ซื้อ ก็​ซื้อ​ที​เป็น 100 กระสอบ ล็อ​ต​ มัน​ใหญ่​ขึ้ น มี ​บ ริ ก าร​ส่ ง ​ด้ ว ย สิ้ น ​ปี ​ก็ ​มี ​ การ​ปัน ผล เรา​วาง​กติกา​ต่างๆ กันเอง​ ทั้งหมด” เด็ก​อายุ 3-4 ขวบ​ต่อ​ไป น้องๆ ละแวก​ เดียวกัน เห็น​เรา​ทำ ก็​อยาก​ทำ อีก​อย่าง นา​ยกฯ​บอก​ว่า ถ้า​ใคร​ไป​เก็บ​ขยะ​จะ​พา​ จักรยาน​กับ​ขยะ ไป​เที่ยว​ทะล แต่​ตอน​นี้​ยัง​ไม่​ได้​ไป หาง​บ​ ศิริ​พร เพชรรัตน์ นักเรียน​มัธยม 5 อ​ยู่ (หัวเราะ) ส่วน​ปี​ที่​แล้ว ไป​จังหวัด​ ไข่​เจียว​กับ​แก๊ส​ชีวภาพ และ ชลธิก​ าญ​จน์ กัลยา นักเรียน​มัธยม 4 สุพรรณฯ​มา” ผูใ้ หญ่บ​ า้ น จินดา มาฮวด คือแ​ กน​นำ​ ชอบ​ขี่​จักรยาน ไม่​ได้​เอา​เท่​แบบ​คน​เมือง​ ทั้ง​คู่​ทิ้ง​ท้าย​ว่า บ้าน​ตัว​เอง ถ้า​ไม่​ ​คน​สำคัญ​ใน​การ​ให้​ความ​รู้​ลูก​บ้าน​เรื่อง​ ​นั่ง​ห้อง​แอร์​ห่วง​โลก​ร้อน เธอ​ทั้ง​คู่​ขี่​เพื่อ​ ทำ...แล้ว​ใคร​จะ​มา​ทำ การ​ใช้​พลังงาน​ทดแทน​จาก​ขี้​วัว เรา​เห็น​ เก็บ​ขยะ “การ​เก็บ​ขยะ ไม่​ได้​คิด​ว่า​เป็น​เรื่อง​ แล้ว​ต้อง​บอก​ว่า​เป็น​นวัตกรรม​พลังงาน​ ชาว​บ้าน​แห่ง​ตำบล​หาด​สอง​แคว น่า​อาย บ้าน​เรา​สะอาด หมู่บ้าน​เรา​ก็​น่า​ ทดแทน​ที่​ล้ำ​หน้า​จริงๆ อำเภอ​ตรอน มีนโ​ย​บาย​ใน​การ​จดั การ​ขยะ​ อยู่ ทำ​มา​ตั้งแต่​เด็ก​แล้ว​ด้วย ทำ​มากกว่า จาก​ข้ อ มู ล ​พื้ น ​ฐ าน​ท ะเบี ย น​ อย่าง​เป็น​รูป​ธรรม ทั้ง​การ​คัด​แยก​ไป​ขาย 20 ครั้ง มัน​ก็​กลาย​เป็น​ความ​เคยชิน รัก​ เกษตรกร​ราย​ครัว​เรือน (ระหว่าง​วัน​ที่​ และ​เก็บ​ขยะ​ตาม 2 ข้าง​ทาง ขึ้น​ทุก​วันๆ” 1 กรกฎาคม 2552 – 12 มกราคม 2553) “เรา​คือ​กลุ่ม​จักรยาน​สาน​ฝัน​รักษ์​ ขยะ​ทั้งหมด​ใน​ชุมชน มี​ขยะ​ที่​ย่อย​ ของ​อ งค์ ก าร​บ ริ ห าร​ส่ ว น​ต ำบล​ป่ า ​เ ซ่ า​ สิ่ง​แวดล้อม​ค่ะ” สลาย​ได้ 55 เปอร์เซ็นต์ ขยะ​รีไซเคิล 40 อำเภอ​เ มื อ ง จั ง หวั ด ​อุ ต รดิ ต ถ์ พบ​ว่ า​ เริ่ม​แรก​พวก​เธอ​ทำ​เรื่อง​ปุ๋ย​หมัก​ เปอร์เซ็นต์ ขยะ​อันตราย เช่น แบตเตอรี่ บ้าน​ห้วย​บง หมู่​ที่ 7 ของ​ผู้ใหญ่​จินดา มี​ เพื่อ​ลด​ต้นทุน​การ​ผลิต มี​การ​ขี่​จักรยาน​ หลอด​ไฟ ประมาณ 1 เปอร์เซ็นต์ ข้อมูล​ ผ​ เ​ู้ ลีย้ ง​โค​เนือ้ ร​ วม 45 ราย มีโ​ค​เนือ้ ล​ กู ผสม​ ไป​ขาย​ผัก . ทาง​วิชาการ​บ่ง​ว่า ขยะ 90 เปอร์เซ็นต์ อเมริ กั น ​บ รา​ห์ ​มั น ​แ ละ​พั น ธุ์ ​พื้ น ​เ มื อ ง​​ “ทำ​กับ​รุ่น​พี่ๆ ทีนี้​ทาง​นายก อบต. เป็น​ขยะ​ที่​สามารถ​นำ​กลับ​มา​ใช้​ใหม่​ได้ รวม​กัน​กว่า 778 ตัว ชวน​ให้​ช่วย​เก็บ​ขยะ​ไป​ด้วย เพราะ 2 ข้าง​ เรื่ อ ง​ทั้ ง หมด​จึ ง ​อ ยู่ ​ที่ ​ก าร​จั ด การ​ เมื่ อ ​มี ​ขี้ ​วั ว ​เ ยอะ จึ ง ​น ำ​ม า​ใ ช้ ​ ทาง​มัน​เยอะ เรา​ก็​เก็บ​ทุก​สัปดาห์ ตอน ล้วนๆ ประโยชน์​เสีย​เลย 5 โมง​เย็น ขยะ​ทุก​ชิ้น​ที่​นี่​สามารถ​ขาย​ได้ “แรกๆ ก็​คล้าย​หน่วย​กล้า​ตาย ลุย​ เศษ​อาหาร​ก็​ทำ​ปุ๋ย​หมัก​ได้ บำรุง​ต้นไม้​ ใช้​แก๊ส​ขี้​วัว​เอง​ก่อน” ผู้ใหญ่​ว่า โดย​ไม่​ต้อง​ใช้​สาร​เคมี กล่อง​นม​ก็​ขาย​ได้ ชาวนา​กับข้าว​อินทรีย์ “แรกๆ มันก​ น​็ า่ ก​ ลัวน​ ะ กลัวต​ มู ตาม กิโล​ละ 10 บาท เเต่​ต้อง​ล้าง​ให้​สะอาด​ ทีต​่ ำบล​หาด​สอง​แคว อำเภอ​ตรอน แต่​พอ​มี​ความ​รู้ จริงๆ มัน​ไม่​อันตราย เรา​ ถุง​พลาสติก​ก็​ไป​ปู​ถนน​ก่อน​ลาดยาง” ยั ง ​มี ​ก าร​ท ำ​เ รื่ อ ง​ล ด​ต้ น ทุ น ​ก าร​ผ ลิ ต ​ใ น​ สามารถ​ดแู ล​ได้ แถม​ใช้แ​ ทน​แก๊สถ​ งั ไ​ด้เ​ลย​ กลุ่ม​นัก​ปั่น​เพื่อ​สิ่ง​แวดล้อม​นี้ มี​ การเกษตร โดย​การนำ​ผลผลิต​จาก​ขยะ​ นะ แต่​ยัง​ไง​เรา​ก็​ควร​มี​สำรอง​ไว้​ด้วย ผม​ สมาชิก​ประมาณ 20 คน สด มา​ทำ​เป็น​ปุ๋ย เป็นการ​ช่วย​ให้​คุณภาพ​ นี่​อย่าง​เคย​ใช้​อยู่ 2 เดือน​ต่อ​ถัง ก็​ขยับ​ไป​ “นี่ ​แ ค่ ​ห มู่ บ้ า น​เ ดี ย ว​น ะ​ค ะ เมื่ อ​ ชีวิต​ชาวนา​ดี​ขึ้น พอดี​ขึ้น จึง​เริ่ม​คิดถึง​การ​ เป็น 4 เดือน แก๊สจ​ าก​ขว​ี้ วั ไ​ม่เ​หม็นด​ ว้ ย ปิง้ ​ ก่อน​ไม่มี​งบ คน​เฒ่า​ก็​ให้​เงิน​มา​ลง​หม้อ​ ปลูกข​ า้ ว​ดี ไม่ใช่แ​ ค่เ​พือ่ ผ​ บ​ู้ ริโภค แต่เ​พือ่ ต​ วั ​ ปลา​อะไร​ก็ได้ รสชาติ​อาหาร​ไม่​เสีย” ก๋วยเตี๋ยว​บ้ า ง แต่ ​ต อน​นี้ ​เรา​ไ ด้ ​ง บ​จ าก คน​ปลูก​เอง​ด้วย มื้อ​กลาง​วัน​ที่​ตำบล​ป่า​เซ่า เรา​ได้​ อบต. แล้ว ทำ​เป็น​รุ่น​สู่​รุ่น ตอน​เด็กๆ เรา​ กลุม่ ช​ าวนา​ไทย​แท้จ​ าก​หาด​สอง​แคว​ กิน​ไข่​เจียว ไข่​ดาว จาก​แก๊ส​ขี้​วัว ยืนยัน​ ก็ตาม​รุ่น​พี่ๆ พอ​พี่​โต​ขึ้น ไป​เรียน​ต่าง-​ บอก​ว่า ตอน​นี้​กระแส​ข้าว​อินทรีย์​มา​แรง ว่า​ไม่​เหม็น แถม​อร่อย​แบบ​ไข่ๆ จังหวัด เรา​ก็​มา​ทำ​แทน และ​ก็​กำลัง​สอน​ “ปีแ​ รก​ทท​ี่ ำ มีส​ มาชิกท​ งั้ หมด 26 ราย​

พืน้ ทีท​่ ำ​นา 132 ไร่ ล่าสุด ยอด​สมาชิกอ​ ยู​่ ที่ 50 ราย มี​พื้นที่ 515 ไร่ คน​ที่​เข้า​มา​ก็​ ด้วย​ใจ เป็นอ​ กี แ​ นวทาง​ทท​ี่ ำให้เ​รา​สขุ ภาพ​ ดี บริโภค​ข้าว​ที่​ตัว​เอง​ทำ ไม่มี​สาร​เคมี ชาวนา​ทเ​ี่ คย​หนีส​้ นิ เ​ยอะ เริม่ ผ​ อ่ น​คลาย​ได้ ลด​ต้นทุน​ได้ มี​หนี้​นะ แต่​สามารถ​จัดการ​ ได้ ไม่​ถึง​กับ​ต้อง​ให้​ยกเลิก​หนี้” โดย​ได้​รับ​องค์​ความ​รู้​ต่างๆ จาก​ อาจารย์ ​ม หาวิ ท ยาลั ย ​ร าชภั ฏ ​อุ ต รดิ ต ถ์ เป็น​หลักสูตร 3 คืน 4 วัน รุ่น​ละ 50 คน ที่​เอา​ชาวนา​มา​กิน มา​นอน​ร่วม​กัน แชร์​ ความ​เห็น​กัน มี​การ​เจาะ​เลือด​ให้​ชาว​บ้าน​ดู​ก่อน​ เลย​ว่า ใน​ร่างกาย​มี​สาร​พิษ สาร​เคมี​มาก​ น้อย​แค่ไ​หน จาก​วธิ ก​ี าร​ผลิตแ​ บบ​เก่าๆ ซึง่ ​ เป็น​ข้อมูล​เชิง​ประจักษ์ นอกจาก​นี้ ยัง​มี​การ​รวม​ตัว​ไป​ดู​ พื้น​ที่​อื่นๆ ที่​ทำ​นา​อินทรีย์​สำเร็จ เพื่อ​ให้​ เกิด​แรง​กระตุ้น บาง​เสียง​บอก​ว่า “จริงๆ ข้าว​ไทย​ ใน​สมัย​ก่อน​ดี​อยู่​แล้ว แต่​หลัง​ปฏิวัติ​เขียว เรา​ต้องการ​ปริมาณ​ที่​มาก เพื่อ​เป็น​อัน​ดับ​ ต้ น ๆ ของ​โ ลก เรา​เ อา​เ ขื่ อ น​ม า เอา​ ชลประทาน​มา เอา​ธนาคาร​เกษตร​มา เอา​ปุ๋ย​เคมี​มา ซึ่ง​มัน​เห็น​ผล​ใน​ระยะ​แรก​ แน่นอน ว่า​มัน​มี​ความ​ต่าง​จา​กอ​ดีต​คือ​ สบาย แต่​มรดก​ที่​ตกทอด​มา คือ​การ​เกิด​ หนี้​สิน สิ่ง​แวดล้อม​เสีย” เมื่อ​รู้​อย่าง​นั้น จึง​เกิด​การก​ลับ​ตัว​ ไป​สู่​วิถี​การ​ผลิต​แบบ​ไม่​ทำลาย​โลก ไม่​ ทำร้าย​ธรรมชาติ ที่​สำคัญ ยัง​ได้​ความ​สามัคคี​ของ​​ ชาว​บ้าน​เป็น​ของ​แถม


36

ปฏิทิน-ปฏิรูป

01

สรุปบ​ ท​เรียน​ การ​จัด​สมัชชา​ปฏิรูป​ ระดับ​ชาติ ครั้ง​ที่ 1/2554 11 มิถุนายน 2554 สำนักงาน​ปฏิรูป (สปร.) ได้​จัด​ประชุม​เชิง​ปฏิบัติ​การ ‘สรุป​บท​เรียน​ การ​จัด​สมัชชา​ปฏิรูป​ระดับ​ชาติ ครั้ง​ที่ 1/2554’ ณ โรงแรม เดอะ​ไทด์ รีสอร์ท บาง​แสน จังหวัด​ ชลบุรี เพื่อ​แลก​เปลี่ยน​ความ​คิด​เห็น และ​การ​เรียน​รู้​ร่วม​กัน โดย​เฉพาะ​การ​กำหนด​บทบาท และ​ สร้าง​เป้า​หมาย​เพื่อ​การ​ทำงาน​ร่วม​กัน​ใน​ฐานะ​สมัชชา​ให้​มี​ความ​ชัดเจน​มาก​ขึ้น

อัต​ลักษณ์​เฉพาะ​ของ​สมัชชา​ปฏิรูป • มี​เป้า​หมาย​ใหญ่​ที่​ชัดเจน​คือ ‘สร้าง​ความ​เป็น​ธรรม ลด​ความ​เหลื่อม​ล้ำ’ โดย​เป้า​หมาย​เชิง​ ยุทธศาสตร์ คือ การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ​ใน​สังคม​ไทย • มี​ความ​กว้าง​ขวาง​และ​หลาก​หลาย​เชิง​ประเด็น เชิง​ความ​คิด เชิง​กระบวนการ และ​ภาคี​ เครือ​ข่าย โดย​การ​จัด​กระบวนการ​สมัชชา​ที่​ยอมรับ​ความ​หลาก​หลาย เพื่อ​นำ​ไป​สู่​นโยบาย​ สาธารณะ • เปิด​พื้นที่​ทาง​สังคม​ให้​กับ​ทุก​ฝ่าย​ได้​มี​โอกาส​ขับ​เคลื่อน​นโยบาย​สาธารณะ​ใน​ประเด็น​ที่​ ตนเอง​สนใจ • เน้น​กระบวนการ​ที่​ผู้​ที่​เป็น​เจ้าของ​ปัญหา​มี​ส่วน​ร่วม​อย่าง​เข้ม​แข็ง​ใน​กระบวนการ​นโยบาย

ความ​คาด​หวัง​ของ​สมัชชา​ปฏิรูป​ประเทศไทย​ครั้งท​ ี่ 1 • ให้​กระบวนการ​สมัชชา​เป็นก​ระ​บวน​การ​ขับ​เคลื่อน​การ​ปฏิรูป​สังคม​อย่าง​กว้าง​ขวาง จริงจัง ต่อ​เนื่อง และ​เป็น​ระบบ • ให้​กระบวนการ​สมัชชา​เป็นก​ระ​บวน​การ​ใน​การ​สร้าง​ความ​เข้ม​แข็ง เพิ่ม​ศักยภาพ​ใน​การ​ ​ขับ​เคลื่อน​การ​ปฏิรูป​ประเทศไทย • ให้​กระบวนการ​สมัชชา​เป็นก​ระ​บวน​การ​สร้าง​จิตสำนึก​พลเมือง​และ​ศักยภาพ​ของ​บุคคล องค์กร เครือ​ข่าย ให้​ตระหนัก​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​การ ‘ไม่​พึ่งพา​รัฐ’ • ให้ก​ ระบวนการ​สมัชชา​เป็นก​ระ​บวน​การ​ทท​ี่ ำให้ป​ ระชาชน​และ​สงั คม​ไทย​เข้าใจ​ถงึ ป​ ญ ั หา​เชิง​ โครงสร้าง ซึ่ง​เป็น​รากฐาน​ของ​ปัญหา​ของ​สังคม​ทั้งหมด • ให้​กระบวนการ​สมัชชา​เป็น​เวที​ที่​จะ​นำ​เอา​ทุก​ฝ่ายใน​สังคม​ที่​มี​ความ​เห็น​แตก​ต่าง​กัน​อย่าง​ สุด​ขั้ว เข้า​มา​ร่วม​กัน​พิจารณา​ปัญหา​สำคัญๆ • ให้​กระบวนการ​สมัชชา​เป็น​เวที​ที่​ภาค​ประชาชน ภาค​รัฐ ภาค​เอกชน ได้​มาส​ร้าง​ความ​เข้าใจ​ ร่วม​กัน​ใน​ปัญหา​ที่​สำคัญ • ให้​กระบวนการ​สมัชชา​เป็น​เวที​ที่​ช่วย​เปิด​พื้นที่​ทาง​สังคม และ​พื้นที่​ทาง​ปัญญา​อย่าง​กว้าง​ ขวาง • ให้ก​ ระบวนการ​สมัชชา​สร้าง​ความ​ตระหนักต​ อ่ ภ​ าคีเ​ครือข​ า่ ย​ให้เ​ข้าใจ​วา่ การ​ปฏิรปู ส​ งั คม​ไทย​​ ไม่​ได้​มี​แต่​เวที​สมัชชา​ปฏิรูป​เท่านั้น


37

02

คณะ​กรรมการ​ปฏิรูป​ประเทศ (คปร.) ประกาศ​ลา​ออก​ทั้ง​คณะ 14 พฤษภาคม ใน​วง​เสวนา​เพื่อ​เสนอ​แนวทาง​ปฏิรูป​ต่อ​ พรรคการเมือง ‘เลือก​ตงั้ ท​ งั้ ที ควร​ตอ้ ง​มก​ี าร​ปฏิรปู ’ อานันท์ ปันย​ าร​ชนุ ​ ใน​ฐานะ​ประธาน คปร. พร้อม​ด้วย พงศ์​โพยม วาศ​ภูติ ศ.ดร.สม​ชัย ฤชุ​พันธุ์ เพิ่ม​ศักดิ์ มก​รา​ภิรมย์ และ​พระ​ไพศาล วิ​สาโล ได้​ประกาศ​ ลา​ออก​ทั้ง​คณะ การ​ประกาศ​ลา​ออก​ครั้ง​นี้ ด้วย​เหตุผล​ว่า เมื่อ​รัฐบาล​ประกาศ​ ยุบส​ ภา และ​กำลังจ​ ะ​มก​ี าร​เลือก​ตงั้ ค​ รัง้ ใ​หม่ใ​น​วนั ท​ ี่ 3 กรกฎาคม คปร. จึง​อยาก​จะ​ให้​อำนาจ​การ​คิด​และ​ตัดสิน​ใจ​ตก​เป็น​ของ​คณะ​ผู้​แทน​ใน​ สภา​ชุด​ใหม่​มากกว่า แม้ว่า คปร. จะ​มีอายุ​ตาม​ระเบียบ​สำนัก​นายก​ รัฐมนตรี 3 ปี ก็ตาม ทั้งนี้ คปร. ได้​นำ​เสนอ​รายงาน​ฉบับ​สุดท้าย​ไว้​เป็น​พิมพ์เขียว​ ก่อน​ทิ้ง​ทวน ส่ง​มอบ​ให้​ภาค​ประชาชน​นำ​ไป​ปฏิบัติ และ​ให้​ฝ่าย​ การเมือง​นำ​ไป​ใช้​ประโยชน์​ใน​การนำ​เสนอ​นโยบาย​ระดับ​ชาติ ซึ่ง​ รัฐบาล​ใหม่​ใน​อนาคต​อาจ​นำ​แนวทาง​นี้​ไป​ศึกษา​และ​สาน​ต่อตาม​ แนวทาง​ของ คปร. ก็ได้ ผล​งาน​แนวทาง​การ​ปฏิรูป​ของ คปร. ที่​รวบรวม​มา​ตลอด 10 เดือน​ที่​ผ่าน​มา​นั้น ได้​ข้อ​สรุป​ว่า ปัญหา​หลัก​ของ​สังคม​ไทย คือ ความ​แตก​ต่าง เหลื่อม​ล้ำ และ​การก​ระ​จุก​ตัว​ของ​อำนาจ ดัง​นั้น​การ​ แก้​ปัญหา​ที่​ตรง​จุด คือ การ​ลด​อำนาจ​รัฐ เพิ่ม​ความ​เข้ม​แข็ง​ให้​กับ​ ประชาชน สำหรับ​ข้อ​เสนอ​หลัก​ของ คปร. สามารถ​แบ่ง​ได้​เป็น 2 หมวด คือ การ​ปฏิรปู ท​ ดี่ นิ เ​พือ่ ก​ าร​เษตร โดย​การ​กำหนด​เพดาน​ถอื ค​ รอง​ทดี่ นิ ​ ไม่​เกิน 50 ไร่​ต่อ​ครัว​เรือน และ​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง​อำนาจ โดย​การ​ ก​ระ​จา​ยการ​ปกครอง​ออก​สู่​ท้อง​ถิ่น

03

เวที​สัญจร ‘เสียง​ประชาชน เปลี่ยน​ประเทศไทย ก่อน​การ​เลือก​ตั้ง 54’ สำนักงาน​ปฏิรูป (สปร.) ร่วม​กับ​สถานี​โทรทัศน์ ไทย​พี​บี​เอส (Thai PBS) จัด​ เวทีส​ ญ ั จร​ปฏิบตั ก​ิ าร​พลเมือง​เลือก​ตงั้ 54 ชีอ​้ นาคต​ประเทศไทย​ขนึ้ ภาย​ใต้ช​ อื่ ‘เสียง​ ประชาชน เปลี่ยน​ประเทศไทย’ 4 ภาค โดย​เวทีส​ ญ ั จร​ครัง้ ท​ ี่ 1 จัดข​ นึ้ ท​ โ​ี่ รง​ละคร​กาด​สวน​แก้ว จังหวัดเ​ชียงใหม่ ครัง้ ท​ ี่ 2 จัด​ที่​อาคาร​วิทย​ทัศน์​มหาวิทยาลัย​สุโขทัย​ธร​รมาธิ​ราช ครั้ง​ที่ 3 จัด​ที่​ศูนย์​ประชุม​ อเนก​ประ​สงค์ก​ าญจนา​ภเิ ษก มหาวิทยาลัยข​ อนแก่น และ​ครัง้ ท​ ี่ 4 จัดท​ ศ​ี่ นู ย์ป​ ระชุม​ นานาชาติเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัย​สงขลา​นครินทร์ เป้าประสงค์ข​ อง​การ​จดั เ​วทีส​ ญ ั จร​ใน​ครัง้ น​ ี้ เพือ่ ร​ วบรวม​ขอ้ มูล ระดม​ความ​คดิ ​ เห็น เพื่อ​นำ​เสนอ​นโยบาย​ต่อ​พรรคการเมือง​ใน​การ​เลือก​ตั้ง 54 โดย​ระดม​ความ​ คิด​เห็น​จาก​องค์กร​เครือ​ข่าย​ต่างๆ และ​ประชาชน​ทั่วไป เพื่อ​ผลัก​ดัน​นโยบาย​สำคัญ​ ใน​การ​ปฏิรูป​ประเทศ​สำหรับ​รัฐบาล​ที่​จะ​จัด​ตั้ง​ขึ้น​ใน​อนาคต​อัน​ใกล้ นอกจาก​นี้ ยังม​ ผ​ี แ​ู้ ทน​จาก​พรรคการเมือง​มา​รว่ ม​ตอบ​ปญ ั หา และ​รบั ข​ อ้ เ​สนอ​ นโยบาย​จาก​เวที​สัญจร​ใน​แต่ละ​ภาค​ด้วย เช่น พรรค​เพื่อ​ไทย, พรรค​ประชาธิปัตย์, พรรค​ชาติ​พัฒนา​เพื่อ​แผ่นดิน, พรรค​กิจสังคม​และ​พรรค​ภูมิใจ​ไทย เป็นต้น


38

โรคเหลื่อมล้ำ อ้าว ! คุณปอง ไหนเห็นบ่นอยากจะลาออกจากงานไปเป็นชาวนา ได้ที่ ได้ทางรึยังล่ะ แถวบ้านผมดินดำน้ำดี คุณปองสนบ่

คน​กรุงเทพฯ​นี่​ความ​จำ​สั้น​ แท้​น้อ ก็​ที่​ครั้ง​ก่อน​ผม​บอก​คุณป ​ อง​ ไป​ไง เดือนๆ ผม​ไม่เ​คย​เห็น​ เงิน​พัน​เงิน​หมื่น แล้วค​ น​เงิน​เดือน 2 แสน​ แบบ​คุณ​ปอง​จะ​ทิ้งง​ าน ​มา​ทำ​ไร่​ทำ​นา​เฮ็ด​หยัง

โห พี่ปลิกก็พูดไป ใครจะไปคิดปุ๊บทำปั๊บ แป๊บเดียวเก๋ ผมไม่ ใช่อุ้ม สิริยากร นะ เอ่อ ว่าแต่พี่ปลิก ถามอีกทีเหอะ เดือนๆ พี่ ได้ตังค์เท่าไหร่

พูดก็พูดนะพี่ ไอ้เงินเดือน 2 แสนน่ะ ผมใช้แบบเดือนชนเดือน เผลอๆ มีรูดล่วงหน้าอีกต่างหาก ... ไอ้ลืมน่ะไม่ลืมหรอกพี่ แต่ถามอีกทีเผื่อตัวเลขมัน จะขยับขึ้นมั่งน่ะ

ป้าด​ มี​เรื่อง​ต้อง​ใช้​ ขนาด​นั้น คุณ​ปอง​ จะ​ไป​ทำ​นา​หา​มะเขือ​ อันใ​ด๋

แหม่ พี่​ป​ลิก​ไม่​เข้าใจ มัน​เป็น​สภาวะ​เปลี่ยว​เหงา​ ทาง​จิต​วิญญาณ​น่ะ บาง​เวลา​ คน​แบบ​พวก​ผม​กอ็​ ยาก​ออก​ ไป​พูด​คุย​กับ​แม่​โพส​พบ้าง

.. .ก ร ู อ ย า ก

ปลูก​ผัก​ปลอด​สาร​พิษ ขุด​บ่อเ​ลี้ยง​ปลา หา​แม่ ​ไก่​อารมณ์ด​ ี​มา​ออก​ไข่ ปลูก​ข้าว​อินทรีย์ สร้าง​บ้าน​รีส​ อร์ทเ​ก๋ๆ ขับ​ออฟ​โรด​ไป​บริจาค​เสื้อผ้าท ​ ีโ่​ รงเรียน​ข้างๆ ชวน​เพื่อน​บ้าน​จาก​กรุงเทพฯ​มา​ปาร์ตีด้​ ำนา เช้าๆ ชวน​แม่​อห ี​ นู​ไป​ทำบุญ​ที่​วัด ดึกๆ ชวน​อห ี​ นู​ไป​ส่อง​กบ ฯลฯ

ไหนต้องผ่อนบ้านให้ลูกอยู่ ผ่อนคอนโดให้นักศึกษา ช่วยเมียเปิดสปา กันเอาไว้เล่นหุ้น เก็บตังค์เที่ยวเมืองนอก ค่าเทอมโรงเรียนอินเตอร์ลูกอีก ฯลฯ

ฮาก

ใจคอเมิงจะเอาทุกอย่างเลยรึนั่น...


ʹѺ

¡Ô¨

µ¡Å§ä´Œ

Ò¹

ͧ¤ ¡Ã»¡¤Ãͧ ·ŒÍ§¶Ôè¹

ÊÔ·¸ÔàÅ×Í¡µÑ้§/ ŧ»ÃЪÒÁµÔ/ ÂѺÂÑ้§/¶Í´¶Í¹

ÈÒÅ»¡¤Ãͧ á¼¹¡¤´Õ·ŒÍ§¶Ôè¹

µ¡Å§äÁ‹ä´Œ

à¡Ô´¢ŒÍ¾Ô¾Ò· ãËŒÁÕ͹ØÞÒâµµØÅÒ¡ÒÃ

Ò¹§

ʹع §º

» Ã ÐÊ

͹/

¶‹ÒÂâ ͹À ÒÃ

¶‹ÒÂâ

Ñ้§ Í¡µ

»ÃЪҪ¹

» ÃÖ ¡

ÉÒ

ع§º ¹ Ê º Ñ Ê¹

µÑ้§/

¸Ô/ · Ô Ê § Í ÃѺà ¹ÀÒáԨ ¶‹ÒÂâÍ

ÊÔ·¸Ô¨Ñ´

ËÒ

Êӹѡ§Ò¹µÃǨÊͺ áÅÐàʹÍá¹Ð

Êӹѡ§Ò¹ ÊҢҢͧÃÑ°ºÒÅ

Êӹѡ§Ò¹ »ÃÐÊÒ¹¹âºÒÂ

ÃÑ°ºÒÅ

สวนกลาง

·

× ¸ÔàÅ

ÊÔ

à¢ŒÒ Ã‹Ç Á

ทองถิ่น

¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà »ÃЪÒÊѧ¤Á ¨Ñ§ËÇÑ´/µèӡNjҨѧËÇÑ´

ͧ¤ ¡ÃªØÁª¹/ ÀÒ¤»ÃЪÒÊѧ¤Á

ªØÁª¹/ »ÃЪÒÊѧ¤Á

¹ÓÊÔ·¸Ô㹡ÒõѴÊÔ¹ã¨/ÂѺÂÑ้§/¶Í´¶Í¹¤×¹ÊÙ‹»ÃЪҪ¹

39

Ã× Í


2

Decentralization


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.