Rattapong Thongsri

Page 1

THESIS

MTC.

THESIS

MUSIC THERAPY CENTER.

โครงการออกแบบภายในศูนย์ดนตรีบำบัดเพื่ อส่งเสริมสุขภาพ จิตและพัฒนาคุณภาพชีวิต


โครงการเตรียมศิลปนิพนธ์

สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื่อโครงการ

โครงการออกแบบภายในศูนย์ดนตรีบำบัด เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและพัฒนาคุณภาพชีวิต

ประเภทของงานศิลปนิพนธ์

ประเภทงานตกแต่งภายใน ( Interior Design )

ผู้ดำเนินโครงงานศิลปนิพนธ์

นายรัฐพงษ์ ทองศรี รหัส 5903965 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์


PROJECT BACKGROUND

MUSIC THERAPY. ศาสตร์ในการใช้ดนตรี ไม่ว่าจะเป็นการฟังดนตรีการร้องเพลงการขยับร่างการประกอบ เสียงเพลง และการเล่นดนตรี เพื่อบำบัดรักษาฟื้ นฟูผู้ป่วยทางจิตใจ อารมณ์ และโรคทาง กาย ผลในการบำบัดของดนตรีมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและสภาพจิตใจโดย ผ่านกลไกที่หลากหลาย ในการปรับตัวต่อการกระตุ้นด้วยดนตรี


Objectives ศึกษาค้นหาข้อมูลและ การใช้ดนตรีบำบัด

ศึกษากลุ่มเป้าหมายและ สาเหตุที่เข้ารับการบำบัด

ศึกษาพื้นที่และสภาพแวด ล้อมที่ส่งผลต่อการบำบัด


Expectations ออกแบบพื้นที่ตอบสนองความ ต้องการของผู้เข้ารับการรักษา

ออกแบบพื้นที่และสภาพ แวดล้อมที่ส่งผลต่อการบำบัด

สิ่งที่ผู้เข้ารับการบำบัด และบุคคลทั่วไปจะได้รับ


Areas of Study ศึกษาปัญหาและสาเหตุของ ผู้ที่มารับการรักษาบำบัด

ศึกษาวิธีการบำบัดด้วยการ ใช้ดนตรี

ศึกษาการออกแบบและสิ่ง แวดล้อมต่อผู้รับการบำบัด


TIMELINE MUSIC THERAPY. สงครามโลกครั้งที่ 1 ช่วงหลังสงครามโลกนักดนตรีใน ชุมชนทุกประเภท ได้ไปที่โรงหมอทหารผ่านศึกทั่ว ราชอาณาจักรเพื่อการตอบสนอง ทางร่างกายรวมทั้งอารมณ์ของผู้ บาดเจ็บจากการทำสงคราม

MICHIGAN STATE UNIVERSITY ดนตรีบำบัดที่โรงเรียนดนตรีมหาวิทยาลัยมิชิ แกนสเตตก่อตั้งขึ้นในปี 1944 โดยเป็น โครงการแรกในโลกที่ออกแบบมาเพื่อฝึกนัก บำบัดด้วยดนตรีโดยเฉพาะ

ค.ศ. 1939 - 1945 ค.ศ. 1914 - 1918

สงครามโลกครั้งที่ 2 การอ้างอิงถึงดนตรีบำบัด ในนิตยสาร COLUMBIAN ชื่อ “MUSIC PHYSICALLY" งานประพันธ์เกี่ยวกับคุณค่า ทางการรักษาของดนตรี

ค.ศ. 1998 ค.ศ. 1944

AMERICAN MUSIC THERAPY ASSOCIATION จากโปรแกรมและหลักสูตรที่ให้ความรู้และ ศึกษาวิจัยด้านดนตรีบำบัดในช่วง ค.ศ. 1940 – 1960 ส่งผลให้ “THE AMERICAN MUSIC THERAPY ASSOCIATION” (AMTA) ถูกก่อตั้ง ขึ้นในปี ค.ศ. 1998

08


WHAT IS MUSIC ?


ดนตรีเพื่ อสุขภาพ เสียงดนตรีจะกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางร่างกายในเรื่อง อัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต การตอบสนอง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ ดนตรีสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ สติ และความนึกคิด

จังหวะหรือลีลา

ทำนองเพลง

ความเข้มของเสียง

คุณภาพของเสียง


สาเหตุ. สาเหตุของการเกิดความเครียดแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท 1. จากภายในตัวบุคคล เกิดจากการเจอสถานการณ์ตรงหน้า ที่ทำให้ บุคคลนั้นมีความกดดัน แข่งขันสูง หรือ มลพิษทางอารมณ์สูง 2. จากภายนอกบุคคล เกิดจาก สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย

จากการวิจัยค้นพบว่า 5 ปัจจัยหลักของการเกิดความเครียด 1. ปัญหาการปรับตัวเข้ากับสถานที่ทำงาน และ สภาพสังคมในที่ทำงาน 2. สภาพเศรษฐกิจที่มีผลต่อค่าครองชีพ 3. ปัญหาครอบครัว 4. ปัญหาสภาพแวดล้อม 5. คู่รัก

ข้อมูลอ้างอิงผลวิจัยเชิงสำรวจ : ผลวิจัยเชิงสำรวจ สถิติความเครียดของคน กรุงเทพฯ ของ สถาบันวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (เอยูโพล)


WHO SHOULD JOIN A MUSIC THERAPY GROUP? ใ ค ร บ้า ง ที่ ค ว ร เ ข้า ก ลุ่ ม ด น ต รีบำบัด ?

บุคคลที่มีปัญหาพัฒนาการด้านร่างกายและสมอง ผู้สูงอายุ หรือผู้ที่มีปัญหาไม่เห็นคุณค่าในตนเอง มีพฤติกรรมแยกตัวจากสังคม มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ขาดทักษะด้านการสื่อสาร ขาดทักษะด้านการคิด ไม่มีสมาธิ ซึมเศร้า ภาวะสมองเสื่อม (สูญเสียความจำ)

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาดนตรีบำบัด


TARGET GROUP

CHILDHOOD. วัยเด็ก 4 - 18 ปี เด็กพิเศษ บกพร่องทางด้านร่างกาย พฤติกรรม อารมณ์ และการเข้าสังคม

ADULT. ผู้ใหญ่ 18 ปีขึ้นไป ที่มีปัญหาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ การเข้าสังคม

OTHER. บุคคลที่ต้องการคลายเครียด ผ่อนคลายด้วยดนตรี สามารถ เข้ามาใช้งานในสถานที่ได้


TARGET GROUP

25%

50%

25%

CHILDHOOD.

ADULT.

OTHER.


PROGRAMMING Information. & Reception. - Information. - Reception Private room. - Assessment Room. - Advisory Room. Common Area. - Music Park. - Canteen. - Shop & Cafe. Co-working Space. - Co-working. Therapy Room. - Group Therapy Room. - Single Therapy Room. - Private Therapy Room. Training Room. - Training Room.


AREA REQUIREMENT & RELATIONSHIP. พื้นที่ที่เหมาะสมกับโครงการ ควรจะเป็นพื้นที่กว้าง เดินทางสะดวก ไม่ซับซ้อนมีพื้นที่ใช้งาน ไม่แออัด โดดเด่น และมีความน่าสนใจ ซึ่งอาจจะมีธรรมชาติในบริเวณเพื่อเป็นตัวช่วยกับโครงการ ให้มีความน่าสนใจและสบายใจต่อบุคคลที่ใช้งานในพื้นที่

RESEARCH METHODOLOGY. ศึกษาข้อมูล และ หาข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อให้มีความเป็นไปได้ของโครงการ ศึกษาขอบเขตของพื้นที่เหมาะสมโครงการที่จะทำ และ สภาพแวดล้อม ศึกษาวิธีการรักษาด้วย ดนตรีบำบัด และ ประโยนช์ที่ได้รับต่อการบำบัด ศึกษาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายและสาเหตุที่เข้ารับการบำบัด


WHAT IS MUSIC THERAPY ?

ด น ต รีบำ บั ด : เ ป็ น ท ฤ ษ ฎี ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ที่ ห ล อ ม ร ว ม เ อ า เ รื่ อ ง ข อ ง ศ า ส ต ร์ด้ า น จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ศิ ล ป์ท า ง ด้ า น ด น ต รีเ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น แ ล ะ นำ ม า ป รับ เ ป ลี่ ย น ใ ห้เ ข้ า กั บ ก า ร รัก ษ า พั ฒ น า ร ว ม ถึ ง ก า ร บำ บั ด ใ น ด้ า น สุ ข ภ า ว ะ ข อ ง ร่า ง ก า ย จิ ต ใ จ แ ล ะ สั ง ค ม สำ ห รับ ค น ที่ มี ปั ญ ห า ด้ า น สุ ข ภ า พ โ ด ย เ ฉ พ า ะ

งานดนตรีบำบัด สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ


MUSIC THERAPY. ดนตรีบำบัด เป็นดนตรีบำบัดฟื้ นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย ด้วยกิจกรรมบำบัดและกายภาพบำบัด โดยใช้ศาสตร์ทางด้านดนตรีบำบัด ซึ่งอาศัยองค์ประกอบต่างๆทางดนตรีตามหลักการของดนตรีบำบัดที่เป็นสากล โดยจะมีกิจกรรมทางดนตรี เช่น การร้อง การฟัง การเล่นเครื่องดนตรี และการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะ โดยมุ่งเน้นผลทางด้านการฟื้ นฟูสมรรถภาพ เช่น ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การสื่อสาร การเรียนรู้ การรับรู้ ความคิด และความจำ

งานดนตรีบำบัด สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ


ประเภทการบำบัด การบำบัดแบบเดี่ยว (Individual Music Therapy)

เหมาะสมกับผู้ที่ชอบเก็บตัวและผู้ป่วยที่ถูกควบคุมใกล้ชิด ถ้าผู้ป่วยภาวะปกติสนใจการ บำบัดแบบเดี่ยวก็ทำได้เช่นกัน ขึ้นอยู่กับความพึงพอใจและความพร้อมของผู้เข้ารับการ บำบัด

การบำบัดแบบกลุ่ม (Community Music Therapy)

เหมาะสมกับผู้ที่ไม่อาจใช้ดนตรีบำบัดตัวเองเพียงลำพัง ข้อดีของการบำบัดแบบกลุ่มคือ โอกาสที่ผู้เข้ารับการบำบัดจะได้สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนอื่นซึ่งการเรียนรู้ ร่วมกันก็จะลดทัศนคติเชิงลบของตัวเอง คลายความเหงาได้จากการปฏิสัมพันธ์กับผู้ อื่น ส่วนดนตรีที่นำมาใช้บำบัดก็จะเลือกจากค่าเฉลี่ยแนวดนตรีที่ทุกคนในกลุ่มนิยมฟัง

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาดนตรีบำบัด


ประเภทการบำบัด กิจกรรมดนตรีบำบัดแบบเดี่ยว

• กิจกรรมร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรี เช่น กีต้าร์ กลอง และเครื่อง เคาะแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มทักษะด้านการสื่อสาร ความจำ และทักษะการใช้ กล้ามเนื้อมือและแขน • กิจกรรมเล่นคีบอร์ดตามตัวโน้ตสีต่างๆ เพื่อเพิ่มสมาธิ เพิ่มทักษะการใช้ กล้ามเนื้อมือ การประสานสัมพันธ์การเคลื่อนไหว การจดจำสีและตัวเลข • กิจกรรมฝึกการทรงตัวและฝึกเดินร่วมกับจังหวะดนตรี เพื่อเพิ่มการ ทรงตัว ปรับจังหวะการเดิน และปรับท่าทางการยืนและเดินให้ถูกต้อง • กิจกรรมการเติมเนื้อเพลงและแต่งเพลง เพื่อเพิ่มทักษะทางด้านความ คิดความเข้าใจ การอ่านและเขียน เพิ่มความมั่นใจในตัวเอง กระตุ้นการ แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึก

กิจกรรมดนตรีบำบัดแบบกลุ่ม

• กิจกรรมร้องเพลงแบบกลุ่ม เพื่อกระตุ้นการเข้าสังคม ความจำ และปรับ สภาพอารมณ์และจิตใจ • กิจกรรมเต้นและแสดงท่าทางประกอบจังหวะ เพื่อกระตุ้นการเคลื่อนไหว เพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ การทรงตัว ความจำ • กิจกรรมเกมส์ดนตรีต่างๆ เช่น กิจกรรมสันทนาการ เพื่อกระตุ้นการเข้า สังคม ผ่อนคลายความตึงเครียด เบี่ยงเบนความสนใจจากความเจ็บป่วย

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาดนตรีบำบัด


โปรแกรมการบำบัด

โดยจะแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ผู้ป่วยเด็ก , ผู้ป่วยผู้ใหญ่ และ ผู้ป่วยที่ต้องการความเป็นส่วนตัว

ห้องบำบัดเดี่ยว : จะมีกิจกรรมร้องเพลง เล่นเครื่องดนตรี เล่นคีบอร์ดตามตัวโน๊ต ฝึกเดินร่วมกับจังหวะ แต่งเพลง เติมเนื้อเพลง ห้องบำบัดแบบ Private. : จะมีกิจกรรมร้องเพลง เล่น เครื่องดนตรี เล่นคีบอร์ดตามตัวโน๊ต ฝึกเดินร่วมกับจังหวะ แต่งเพลงเติมเนื้อเพลง และกิจกรรมสันทนาการกับแพทย์ และที่ปรึกษา ห้องบำบัดแบบกลุ่ม : จะมีกิจกรรมร้องเพลงแบบกลุ่ม เล่น เครื่องดนตรี เต้นแสดงท่าทางเข้าประกอบจังหวะ และ กิจกรรมสันทนาการ และกิจกรรมกระตุ้นการทำงานของสมอง Brain Training ของ Brain Enrichment.

การบำบัดจะอยู่ที่เป้าหมายของผู้บำบัด ว่าจะต้องการรักษาด้านไหน ความต้อง การเป็นไหน แล้วแพทย์จะเป็นคนจัดวาง โปรแกรมการบำบัด


วิธีการบำบัด กลุ่มที่รับการบำบัด โดยส่วนใหญ่การรักษาจะอยู่ที่ผู้บำบัดต้องการรักษาและเป้าหมายไปทางไหน และการรักษาแต่ละครั้งจะแตกต่างกันออกไปด้วยความเหมาะสม

ก า ร รัก ษ า ใ น ก ลุ่ ม เ ด็ ก โ ด ย ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ ใ ช้ ไ ฟ O P T I C ส่ อ ง ล ง ม า แ ล้ ว ใ ห้เ ด็ ก ใ ช้ มื อ เ ล่ น กั บ แ ส ง ไ ฟ พ ร้อ ม กั บ กิ จ ก ร ร ม ท า ง ด น ต รี เ ช่ น เ ต้ น ต า ม เ สี ย ง เ พ ล ง แ ล ะ ป ร บ มื อ ต า ม จั ง ห ว ะ

ก า ร รัก ษ า ใ น ก ลุ่ ม ผู้ ใ ห ญ่ จ ะ อ ยู่ ที่ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ผู้ รับ บำ บั ด ว่ า อ ย า ก จ ะ บำ บั ด ไ ป ท า ง ไ ห น โ ด ย ที่ แ พ ท ย์ จ ะ เ ป็ น ค น ว า ง โ ป ร แ ก ร ม ก า ร บำ บั ด แ ล ะ ก า ร บำ บั ด แ ต่ ล ะ ค รั้ง จ ะ ไ ม่ เ ห มื อ น กั น จ ะ ป รับ เ ป ลี่ ย น ไ ป ต า ม ค ว า ม เหมาะสม

ก า ร รัก ษ า แ บ บ ก ลุ่ ม เ ดี่ ย ว ห รือ ร ว ม จ ะ มี ก า ร เ ข้ า ค อ ร์ส มี ตั้ง แ ต่ 1 สั ป ด า ห์ ขึ้ น ไ ป แ ล ะ เ ข้ า รับ บำ บั ด สั ป ด า ห์ล ะ 1 - 2 ชั่ว โ ม ง 1 - 2 ค รั้ง แ ล้ ว แ ต่ อ า ก า ร

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาดนตรีบำบัด


กระบวนการและรูปแบบดนตรีบำบัด. ดนตรีบำบัด ไม่มีกระบวนการและรูปแบบที่ตายตัว แต่มีการออกแบบการบำบัดรักษาให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลทที่มาบำบัด

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผู้ รับ ก า ร บำ บั ด รัก ษ า ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล ป ร ะ วั ติ ส่ ว น ตั ว แ ล ะ ป ร ะ วั ติ ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ ปั ญ ห า แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย ที่ ต้ อ ง ก า ร บำ บั ด ป ร ะ เ มิ น สุ ข ภ า ว ะ ท า ง ร่า ง ก า ย จิ ต ใ จ สั ง ค ม แ ล ะ ภู มิ ปั ญ ญ า

ว า ง แ ผ น ก า ร บำ บั ด รัก ษ า อ อ ก แ บ บ โ ป ร แ ก ร ม ที่ เ ห ม า ะ ส ม เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล แ ล ะ ร า ย ก ลุ่ ม โ ด ย ยึ ด เ ป้ า ห ม า ย จั ด รู ป แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ า ง ๆ ท า ง ด น ต รี เ ช่ น ร้อ ง เ พ ล ง แ ต่ ง เ พ ล ง ป ร ะ ส า น เ สี ย ง จิ น ต น า ก า ร ต า ม ห รือ แ ส ด ง ลี ล า ประกอบเพลง

ดำ เ นิ น ก า ร บำ บั ด รัก ษ า เ ส ริม ส ร้า ง สั ม พั น ธ ภ า พ ร ะ ห ว่ า ง ผู้ บำ บั ด กั บ ผู้ รับ ก า ร บำ บั ด โ ด ย ใ ช้ ด น ต รีเ ป็ น สื่ อ ก ล า ง ดำ เ นิ น ก า ร ทำ ด น ต รีบำ บั ด ค ว บ คู่ ไ ป กั บ ก า ร บำ บั ด รัก ษ า รู ป แ บ บ อื่ น ๆ

ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร บำ บั ด ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร บำ บั ด รัก ษ า อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ ป รับ เ ป ลี่ ย น แ ผ น ก า ร บำ บั ด รัก ษ า ใ ห้เ ห ม า ะ ส ม

งานดนตรีบำบัด สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ


"BRAIN ENRICHMENT" “Brain Enrichment” โปรแกรมดนตรีบำบัดเชิง Brain Training กระตุ้นและส่งเสริมการทำงานของสมองผ่านการเล่นเปียโน ที่เข้าถึงได้ แม้กระทั่งผู้ที่ไม่มีพื้นฐานการเล่นเปียโนมาก่อน เสมือนเป็น “วิตามินบำรุง สมอง” ได้ออกกำลังกายสมอง ไปกับการเล่นเปียโน พร้อมทำกิจกรรมที่ ไม่ทำให้เครียด และได้รับการพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมกับผู้รับบริการทุกๆวัย

อาจารย์ตรีรัตน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์ ผู้คิดค้นแและผู้อำนวยการหลักสูตรการสอนเปียโนวันทูไฟว์ (1 to 5)


โปรแกรม "BRAIN ENRICHMENT" กับ ผลลัพธ์ที่ทรงประสิทธิภาพ

Coordination Benefit ช่วยฝึกฝนการประสานงานของการมองเห็น การได้ยิน และการใช้กล้าม เนื้อ ที่จะช่วยกระตุ้นการทำงานของสมองส่วนหน้าในการรับรู้ ประสาท สัมผัสต่างๆผ่านการเล่นเปียโนตามตัวเลข และยังช่วยปรับสมดุลให้กับ สมองทั้งซีกซ้ายและขวา

Self-Achievement Benefit

Emotional Benefit

การตั้งจุดหมายที่จะเล่นเปียโนให้จบเพลงและความอยากบรรลุจุดหมาย เป็นการกระตุ้น การใช้ความมุ่งมั่นและจดจำความเชื่อมโยงของตัวเลขและ นิ้วมือยังมีส่วนในการเสริมสร้างพัฒนาการด้าน ควบคุมความคิด อารมณ์ และการกระทำเพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย

ช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ไปในเชิงบวก สร้างความเพลิดเพลิน และ ความรู้สึกที่ผ่อนคลายด้วยเสียงเปียโนที่ไพเราะ โดยไม่ต้องรู้สึกกดดัน หรือเครียดจากการอ่านหรือจดจำตัวโน้ต

อาจารย์ตรีรัตน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์ ผู้คิดค้นแและผู้อำนวยการหลักสูตรการสอนเปียโนวันทูไฟว์ (1 to 5)


ACOUSTIC DESIGN.

(วิธี ก า ร อ อ ก แ บ บ อ ะ คูส ติ ก ข อ ง เสีย ง) การสร้างสภาพแวดล้อมของเสียงภายในห้อง ให้เป็นไปตามมาตรฐาน โดยคำนึงถึงข้อกำหนดทางด้านเสียง ตั้งแต่การดูดซับเสียง เพื่อป้องกัน การก้องสะท้อนของเสียง การปกปิด เพื่อควบคุมไม่ให้เสียงรบกวนและ การสั่นสะเทือน จากภายนอกเล็ดลอดเข้ามาภายในห้องเกินค่ามาตรฐาน

วิธีการออกแบบแบ่งเป็น 2 แบบ 1 . Reduce Sound Transmission การป้องกันเสียงรบกวน เพื่อช่วยลดเสียงจากภายนอกไม่ให้เข้ามา ภายในห้อง 2. Control Sound Reverberant วิธีควบคุมและแก้ไขเสียงสะท้อนภายในห้อง และวัสดุที่เลือกใช้จะต้อง ให้มีความเหมาะสม


ACOUSTIC MATERIAL. วัส ดุอ ะคูส ติ ก

วัสดุอะคูสติกเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติในการช่วยลดปัญหาเสียง เช่น เสียงก้อง เสียงสะท้อน เสียงลอดจากห้อง โดยสามารถแบ่งวัสดุอะคูสติกออกเป็น 3 ประเภท

ABSORBERS MATERIALS. วั ส ดุ ดู ด ซับ

INSULATION MATERIALS. วั ส ดุ ฉ น ว น

DIFFUSERS MATERIALS. วั ส ดุ ก ร ะ จ า ย เ สี ย ง


ACOUSTIC CEILING. ก า ร อ อ ก แ บ บ ฝ้ าอ ะคูส ติ ก

วิธีในการออกแบบ เพื่อให้ได้ระดับเสียงในพื้นที่ คือการสร้างสมดุลย์ในการ ออกแบบอะคูสติก (Balanced Acoustical Design)

ก า ร ดู บ ซับ เ สี ย ง ( A B S O R B T I O N )

เ พื่ อ ดู ด ซับ เ สี ย ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ น พื้ น ที่ โ ด ย ใ ช้ ร ะ บ บ ฝ้ า เ พ ด า น ที่ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร ดู ด ซับ เ สี ย ง เ ป็ น ก า ร ดู ด ซับ เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ก า ร ส ะ ท้ อ น ข อ ง เ สี ย ง

ก า ร กั้น เ สี ย ง ( B L O C K I N G )

กั้น เ สี ย ง ที่ จ ะ ส่ ง ผ่ า น ร ะ ห ว่ า ง พื้ น ที่ ซึ่ ง เ ป็ น ก า ร ร ว ม กั น ข อ ง ร ะ บ บ ฝ้ า อ ะ คู ส ติ ก เ ข้ า กั บ ผ นั ง ฉ า ก กั้น แ ล ะ รู ป แ บ บ ก า ร จั ด ว า ง

ก า ร ป ก ปิ ด ( C O V I N G )

เ สี ย ง ที่ เ ล็ ด ล อ ด เ ข้ า ม า ใ น พื้ น ที่ ส า ม า ร ถ ป รับ แ ต่ ง ใ ห้เ ข้ า กั บ ค่ า P I ที่ ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ ด้ ว ย ร ะ บ บ เ สี ย ง สั ง เ ค ร า ะ ห์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์


ACOUSTIC WALL. ก า ร อ อ ก แ บ บ ผ นั ง อ ะ คูส ติ ก

ลดความก้องของเสียง เพิ่มความชัดเจนของเสียง ช่วยให้ห้องมีความเงียบ สงบ หรือใช้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งที่ต้องการความชัดเจนของเสียง โดยไม่ ต้องการให้เสียงออกไปนอกห้อง แผ่นอะคูสติก ก็จะทำหน้าที่หลัก คือ ดูดซับเสียง ที่มาจากภายในห้อง ซึ่งเป็น การช่วยปรับเสียงให้มีคุณภาพดีขึ้น และลดความก้องของเสียง


SPACE THERAPY. ก า ร อ อ ก แ บ บ พื้ น ที่ ก า ร รัก ษ า

การออกแบบห้องที่ส่งผลต่อการรับรู้ของผู้ใช้บริการที่เกี่ยวกับความ ปลอดภัยทางจิตใจ ความใกล้ชิด ความเต็มใจที่สามารถเปิดเผยตัวตนได้ และจะต้องมีพื้นที่ ที่ทำให้รู้สึกมีความเป็นอิสระ พื้นที่ในการรักษาที่สะดวกสบาย มีความอบอุ่น เป็นกันเอง และปลอดภัย ห้องดนตรีบำบัดและด้านบรรยากาศของห้อง ก็จะมี ลักษณะของห้อง แสง อุณหภูมิ กลิ่น สี และการออกแบบ การจัดวาง และอุปกรณ์ของ ห้อง

ดร.สเตฟานี ลิดดิโคท (Dr Stephanie Liddicoat) นักวิจัยและนักวิชาการด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย และเป็น ที่ปรึกษาด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมบำบัด


SPACE THERAPY. ก าร อ อ ก แ บ บ พื้ น ที่ ก าร รัก ษ า

องค์ประกอบของการออกแบบพื้นที่

COLOR.

SEATING.

ADJUSTABLE LIGHTING.

PRIVACY.

NATURE.

AGE-APPROPRIATE FURNITURE.

MATERIAL.

SOFT FURNISHING.

ดร.สเตฟานี ลิดดิโคท (Dr Stephanie Liddicoat) นักวิจัยและนักวิชาการด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมแห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย และเป็น ที่ปรึกษาด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมบำบัด


Theory Music Therapy ทฤษฎีดนตรีบำบัด เ ป็ น ท ฤ ษ ฎี ท า ง ก า ร แ พ ท ย์ ที่ เ อ า เ รื่ อ ง ข อ ง ศ า ส ต ร์ด้ า น จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ศิ ล ป์ท า ง ด้ า น ด น ต รีเ ข้ า ไ ว้ ด้ ว ย กั น ด น ต รีจ ะ ช่ ว ย ใ ห้ค น ฟัง ผ่ อ น ค ล า ย จ า ก อ า ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย แ ล ะ จ า ก ค ว า ม กั ง ว ล ห รือ ล ด ค ว า ม เ ค รีย ด น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ง า น วิ จั ย ที่ ศึ ก ษ า ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก า ร ฟัง ด น ต รีบำ บั ด ข อ ง ผู้ ป่ ว ย เ พ ร า ะ ทำ ใ ห้ฮ อ ร์โ ม น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม เ ค รีย ด ล ด ล ง ม า ก ก ว่ า ก า ร ใ ช้ ย า ล ด ค ว า ม เ ค รีย ด ก า ร ฟัง ด น ต รียั ง ช่ ว ย ล ด ภ า ว ะ ซึม เ ศ ร้า ไ ด้ อี ก ด้ ว ย โ ด ย ช่ ว ย ป รับ ใ ห้อ า ร ม ณ์ ส ง บ ขึ้ น ทำ ใ ห้น อ น ห ลั บ ง่ า ย ขึ้ น เ รีย ก ไ ด้ ว่ า ด น ต รีบำ บั ด เ ป รีย บ เ ห มื อ น ย า ที่ มี ผ ล กั บ ส ภ า พ จิ ต ใ จ ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น ส ม อ ง ป รับ ร ะ ดั บ ฮ อ ร์โ ม น ที่ เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม เ ค รีย ด ใ ห้ค น ฟัง รู้สึ ก ผ่ อ น ค ล า ย


CONCEPT. "ADAGIETTO" แ น ว คิ ด ใ น ก า ร อ อ ก แ บ บ ม า จ า ก ก า ร นำ จุ ด เ ด่ น ข อ ง ด น ต รีบำ บั ด ม า ใ ช้ โ ด ย ก า ร นำ เ พ ล ง จั ง ห ว ะ “ A D A G I E T T O ” ห รือ จั ง ห ว ะ บี ท ที่ 7 0 - 8 0 บี ท เ ป็ น จั ง ห ว ะ ข อ ง ก า ร เ ต้ น ข อ ง หัว ใ จ แ ล ะ เ ป็ น จั ง ห ว ะ ที่ ทำ ใ ห้รู้สึ ก ผ่ อ น ค ล า ย ม า ก ที่ สุ ด ม า แ ป ล ง อ อ ก เ ป็ น P A T T E R N ที่ ค ล้ า ย ๆ กั บ ค ลื่ น ค ว า ม ถี่ ข อ ง เ สี ย ง แ ล ะ นำ ม า ใ ช้ กั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ ที่ ทำ ใ ห้รู้สึ ก ผ่ อ น ค ล า ย ม า ก ที่ สุ ด

KEYWORDS. Music.

Community.

Relieve Stress.

Therapy.


COLLEGE OF MUSIC MAHIDOL UNIVERSITY รูปแบบการออกแบบใกล้กับงานศิลปะ โดยมีบุคลิกภาพของการเป็นชุมชนทาง ดนตรีที่มีความอบอุ่นและมีชีวิตชีวา และ การออกแบบเสียงภายในห้องดนตรี ต่างๆจะใช้วัสดุอคูสติกบอร์ดเพื่อป้องกัน เสียงกระจายสู่ภายนอก


COLLEGE OF MUSIC MAHIDOL UNIVERSITY ห้องดนตรีบำบัด ของเด็ก จะมีการใช้ไฟ OPTIC ส่องลงมาที่พื้นและให้เด็กเล่นกับ แสงไฟ ร่วมกับกิจกรรมดนตรี และจะมีห้องบันทึกวิดีโอเพื่อไว้ดูการ พัฒนาในด้านการบำบัด และจะต้องมี เรื่องของความปลอดภัยเป็นหลัก


COLLEGE OF MUSIC MAHIDOL UNIVERSITY

ห้องดนตรีบำบัดในกลุ่มผู้ใหญ่ โดยส่วน ใหญ่จะต้องมีการแบ่งห้อง ที่เป็นแบบ กลุ่มและเดี่ยว เพราะว่าผู้บำบัดบางกลุ่ม จะต้องการความเป็นส่วนตัว และถ้า ภายในห้องมีกระจก จะต้องใช้ผ้าม่านปิด ไว้ในเวลาทำกิจกรรมบำบัด ส่วนใหญ่จะใช้ วัสดุอะคูสติกดีไซน์เป็นหลัก


MUSIC PARK LUMPINI PARK ดนตรีในสวน ใจกลางสวน ณ ศาลา ภิรมย์ภักดี บริเวณสวนปาล์มที่ สวนลุมพินีจัดแสดงคอนเสิร์ต เพื่อส่ง เสริม พัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งจะเป็น ดนตรีบทเพลงพระราชนิพนธ์ เพลง คลาสสิก เพลงสากล และเพลงไทย สากล ซึ่งจะจัดทุกวันอาทิตย์ ของเดือน ธันวาคม - มีนาคม ของทุกปี


NORDOFF ROBBINS CENTRE เป็นองค์กรการกุศลด้านดนตรีบำบัดที่ ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร และ บริการดนตรีอื่นๆ เพื่อช่วยเหลือเด็กและ ผู้ใหญ่ที่มีความพิการและเจ็บป่วย และ ต้องการเรียนเปียโน คีย์บอร์ด ร้อง เพลงและแต่งเพลงก็จะมีครูช่วยสอน การตกแต่งทั้งหมดจะใช้ อะคูสติกดิไซน์ Bradley Van Der Straeten.


SUNBEAMS MUSIC CENTRE อาคารดนตรีบำบัดได้รับการออกแบบมา เพื่อรวบรวมคุณสมบัติทางดนตรีของ จังหวะ เสียงต่ำ และทำนองภายในภูมิ ทัศน์ รูปทรงโค้งมนตามส่วนโค้งตาม ธรรมชาติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ เสียง และ สะท้อนการสังเคราะห์ระหว่าง บริบททางธรรมชาติกับดนตรีร่วมสมัย


ENTER PROJECTS EDGECLIFF MEDICAL CENTER เป็นโครงการที่พัฒนามาจากศูนย์การ แพทย์ เด็กออทิสติก ในประเทศ ออสเตรเลีย ที่เน้นการออกแบบและตกแต่งที่อ่อน ไหวและใช้เฟอร์นิเจอร์ที่เป็นแนวโค้งตาม การออกแบบ ทำให้ผู้ที่เข้าไปใช้งานมีอา รมรณ์ที่ต่อเนื่องกับกิจกรรม


43


ลุมพินีสถาน LUMPINI HALL สวนลุมพินี(ตรงข้ามตึกอื้อจือเหลียง) Lumphini, Pathum Wan District, Bangkok 10330 อาคาร ลุมพินีสถาน , Lumpini Hall.


1.RATCHADAMRI GATE. 2 . เ ก า ะ ล อ ย ส ว น ลุ ม พิ นี 3 . ส น า ม บ า ส ส ว น ลุ ม พิ นี

1 2

4 . ช ม ร ม จั ก ร ย า น ส ว น ลุ ม พิ นี

3 4

5 6

5 . ส ว น ลุ ม พิ นี L U M P I N I P A R K . 6 . ห้อ ง ส มุ ด ส า ธ า ร ณ ะ BANGKOK PUBLIC LIBRALY. 7 . ส ถ า น ที่ อ อ ก กำ ลั ง ก า ย FITNESS CENTER.

7

8 . ส ร ะ ว่ า ย น้ำ LUMPINI PARK OUTDOOR SWIMMING POOL.

8

บ ริเ ว ณ ร อ บ ๆ ส ว น ลุ ม พิ ณี 1 . ม ห า วิ ท ย า ลั ย จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ 2 . โ ร ง พ ย า บ า ล จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ 3 . โ ร ง ง า น แ ล ะ โ ร ง เ รีย น


Public Transportation. ร ถ ไ ฟ ใ ต้ ดิ น : ส า ย เ ฉ ลิ ม รัช ม ง ค ล M R T B L U E L I N E . ส า ย สี ล ม S I L O M L I N E . ร ถ บั ส : 1 5 , 4 , 5 0 ( ป อ . ) ( A C ) , 5 0 7 ( ป อ . ) ( A C ) , 7 6 ( ป อ . ) (AC) จ า ก เ ก รีย ง ไ ท ย วั ฒ น า ก รุ๊ป ( K T W G R O U P ) , จ อ ม ท อ ง : 3 7 น า ที : 76 (ปอ.) (AC) จ า ก J A M S A I P U B L I S H I N G . บ า ง ก อ ก น้ อ ย : 4 9 น า ที : 68 (ปอ.) (AC) + 507 (ปอ.) (AC) จ า ก ศ ร แ ก้ ว ต้ ม ยำ กุ้ ง เ ผ า , ทุ่ ง ค รุ : 5 4 น า ที : 75 + 76 (ปอ.) (AC) จ า ก C O L O U R , ทุ่ ง ค รุ : 5 4 น า ที : 75 + 76 (ปอ.) (AC) จาก MAHAPHANT FIBRE-CEMENT PLC(HA HUANG & S H E R A P R O D U C T S ) , บ า ง ค อ แ ห ล ม : 3 1 น า ที : 1 + 115 จ า ก แ ม๊ ก ซ์แ ว ลู ทั น ใ จ , บ า ง ซื่ อ : 4 5 น า ที : 49 + 4

จ า ก อ า ค า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ( โ ด ม ข า ว ) ท . 0 3 1 , บ า ง ก ร ว ย : 5 7 น า ที : 50 (ปอ.) (AC) จ า ก L O V E F I T N E S S , ทุ่ ง ค รุ : 5 3 น า ที : 75 + 76 (ปอ.) (AC) จ า ก ธ น า ค า ร ก สิ ก ร ไ ท ย , บ า ง ก อ ก ใ ห ญ่ : 2 8 น า ที : 56 (ปอ.) (AC) + 4

เดินทางโดยรถส่วนตัว


MOOD.


Information Private. Co-working space.

Common Area.

Music Park. Shop .

Zoning. 1.Information & Reception. / 275 ตาราเมตร 2.Canteen & Cafe / 275 ตารางเมตร 3.Music Park. / 1342.5 ตารางเมตร 4.Co-working space. / 168.5 ตารางเมตร 5.Shop. / 121 ตารางเมตร 6.Information Private. / 121 ตารางเมตร

Canteen.

Cafe.

Information. Reception. Assessment Room.


Group Therapy Room.

Private Therapy Room.

Recording Room. Advisory Room.

Training Room. Recording Room.

Zoning. Group Therapy Room. 1.Group Thearapy Room. / 57.2 ตาราเมตร 2.Single Therapy Room. / 37.8 ตารางเมตร 3.Private Therapy Room. / 37.8 ตารางเมตร 3.Advisory Room. / 168.5 ตารางเมตร 4.Training Room. / 170 ตารางเมตร

Single Therapy Room.


2nd. MAIN ENTRANCE

MAIN ENTRANCE PRIVATE.

MAIN ENTRANCE




















LOGO.

MTC. MUSIC THERAPY

MTC. MUSIC THERAPY


Branding.

MTC. MUSIC THE

RAPY

2 TEL. 083-932118 i hongsr FB.Rattapong T

MU

SIC

MT TH

C.

ER

AP

FB TEL. .Ra ttap 083-93 2 ong Tho 1182 ngsr i

Y

MTC. MUSIC THERAPY

MTC. MUSIC THERAPY


Branding.

MTC. MUSIC THERAPY

CT MUSI

HE

MTC. Natureaal Water.

RAPY

e : NOW m a n k c i N hongsri T g n o p a Ratt Name : 4 Age : 2

MTC.


Research Reference. แหล่งข้อมูลอ้างอิง H T T P S : / / W W W . G O L D E N L I F E H O M E . C O M / 2 0 1 6 / ด น ต รีบำ บั ด / HTTPS://WWW.HAPPYHOMECLINIC.COM/ALT05-MUSICTHERAPY.HTM HTTPS://WWW.EKACHAIHOSPITAL.COM/TH/MUSIC-BUMBUD/ HTTPS://WWW.MEPHOOMSCHOOL.COM/HISTORY-OF-MUSIC-THERAPY/ HTTP://CJF.OR.TH/?PAGE_ID=368 HTTP://WWW.SNMRI.GO.TH/MT/ HTTPS://VOICES.NO/INDEX.PHP/VOICES/ARTICLE/VIEW/1590/1349 HTTPS://WWW.GOTOKNOW.ORG/POSTS/690244 HTTPS://WWW.MANAROM.COM/MUSIC_THERAPY_THAI.HTML HTTPS://WWW.MUSIIKKIOPPILAITOKSET.ORG/ HTTPS://WWW.ARCHDAILY.COM/803064/SUNBEAMS-MUSIC-CENTRE-MAWSONKERRARCHITECTS HTTPS://WWW.ARCHDAILY.COM/278890/EDGECLIFF-MEDICAL-CENTRE-ENTERARCHITECTURE HTTPS://WWW.DESIGNBOOM.COM/DESIGN/ATIPUS-IDENTITY-FOR-RITMIA-MUSICTHERAPY-CENTER/ HTTPS://AVL.CO.TH/SERVICES/ACOUSTIC-DESIGN/ H T T P S : / / W W W . 7 R A N G E S T U D I O . C O M / 1 7 1 7 4 9 0 4 / วั ส ดุ อ ะ คู ส ติ ก HTTPS://WWW.MEPHOOMSCHOOL.COM/HISTORY-OF-MUSIC-THERAPY/ HTTPS://WWW.MMTONLINE.ORG/SCHOOLS.HTML H T T P S : / / T H E P A P P Y N E S S . C O M / A - P O T P O U R R I - O F - S O U N D / ด น ต รีบำ บั ด - M U S I C - T H E R A P Y ป ร ะ วั ติ - ท ฤ ษ ฎี - แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น์ / ข้ อ มู ล เ พิ่ ม เ ติ ม ส า ข า วิ ช า ด น ต รีบำ บั ด วิ ท ย า ลั ย ดุ ริย า ง ค ศิ ล ป์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิด ล

Designer By Rattapong Thongsri


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.