Thanakorn Roopmorh

Page 1

ศูนย์ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน (หมอลำ)



ชื่อโครงการ

ศูนย์ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน (หมอลำ)

ประเภทศิลปนิพนธ์

ออกแบบภายในศูนย์การเรียนรู้ศิลปะและวัฒนธรรม

ผู้ดำเนินโครงการ

นายธนากรณ์ รูปเหมาะ รหัสนักศึกษา 6105125 นักศึกษาชั้นปีที่4 สาขาออกแบบภายใน

อาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์วริศว์ สินสืบผล


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน …………………………………. คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (รองศาสตราจารย์ พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

…………………………………. ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) …………………………………. กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชำนาญ) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ กาลัญญู สิปิยารักษ์) ………………………………… กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์

………………………………………… (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล)


ก หัวข้อศิลปนิพนธ์ ชื่อนักศึกษา สาขา อาจารย์ที่ปรึกษา ปีการศึกษา

: : : : :

โครงการออกแบบศูนย์ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน (หมอลำ) นายธนากรณ์ รูปเหมาะ การออกแบบภายใน อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล 2564

บทคัดย่อ

ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพื้นดินไม่เก็บน้ำ ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝน น้ำจะท่วม แต่ชาวอีสานก็มีอาชีพทำไร่ทำนา และเป็นคนรักสนุกจีงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดง ของภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจำวัน หรือประจำฤดูกาล ด้วยวัฒธรรมเหล่านี้ถูกสานต่อมารุ่นต่อ รุ่น จึงทำให้ศิลปะการแสดงเหล่านี้ยังคงอยู่ แต่ในบัจจุบันได้มีการปรับเปลี่ยนแสดง จังหวะ ทำนอง รวม ไปถึงการแต่งกาย ให้เข้ากับยุคสมัยมากขึ้น แต่ยังคงมีกลิ่นอายความเป็นอีสานอยู่ไม่ได้ลดลงแม้แต่น้อย หมอลำ เป็นศิลปะการแสดงที่เกิดจากวัฒนธรรมดังกล่าว เป็นการแสดงเพื่อใช้เล่าเรื่องราว การพรรณนา รวมไปถึงเพื่อใช้ผ่อนคลาย ในปัจจุบันหมอลำมีการพัฒนาเป็นอย่างมาก โดยการปรับเปลี่ยนจังหวะคำร้อง การเล่าเรื่อง การแสดง รวมไปถึงการทำเวทีให้มีขนาดใหญ่ขึ้น มีการทำฉาก แสงสีเสียงให้อลังการ มีการ เพิ่มตัวนักแสดงให้มากขึ้น และดนตรีมีการผสมผสานกับดนตรีฝั่ งยุโรป ทำให้ฟังง่ายและมีจังหวะสนุกจึง ทำให้คนนิยมดูหมอลำในปัจจุบัน และมีฐานแฟนคลับเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการพัฒนาของหมอลำในปัจจุบันถูกแพร่หลายเป็นอย่างมาก แต่ในเฉพาะพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ถิ่นกำเนิดหมอลำเท่านั้น การเข้าถึงของคนเมืองยังน้อย หรือกลุ่มคนภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มา ทำงานในเมืองหลวง ไม่ค่อยได้มีโอกาสได้รับชมหมอลำมากเท่าไหร่ และคนรุ่นหลังไม่ได้เข้าใจถึงหมอลำ และวัฒนธรรมอีสานอย่างถูกต้อง ดังนั้นการสร้างพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้ เพื่อช่วยเติมเต็มคนไกลบ้าน เสริมความรู้ให้คนรุ่นใหม่ มีพื้นที่ ให้ชาวหมอลำได้ทำการแสดง และเป็นแหล่งแพร่วัฒนธรรมภาคอีสานที่ทุกคนสามารถเข้าาถึงได้


ART THESIS SUBJECT STUDENT NAME PROGRAM ADVISOR ACADEMIC YEAR

: : : : :

DESIGN PROJECT FOR THE CENTER FOR THE PROMOTION OF ARTS AND CULTURE OF THE NORTHEASTERN REGION (MOR LAM) THANAKORN ROOPMORH INTERIOR DESIGN TEACHER WARIT SINSUEBPOL 2021

ABSTRCT

The northeastern landscape is a plateau. Quite arid because the ground does not store water. the dry season will be dry the rainy season will flood But Isan people have a career in farming and are fun-loving, seeking entertainment at every opportunity. Northeastern show Usually caused by daily routine or seasonal with these cultures being passed on from generation to generation Therefore, these performing arts still exist. But in the present, there have been changes in performance, rhythm, melody, including dress. to be more in line with the era But still has the aura of Isan has not decreased in the slightest Mo Lam is a performing arts that originated from the aforementioned culture. It is a show to use to tell stories, to describe, as well as to relax. At present, Mo Lam has developed a lot. by modifying the tempo of the request storytelling, acting, as well as making the stage bigger There is a spectacular light and sound scene. More actors were added. And the music is mixed with European music. It makes it easy to listen to and has a fun rhythm, making it popular nowadays to watch Mo Lam. and has a growing fan base With the development of Mo Lam today is widely spread. but only in the northeastern region where Mo Lam originated. The accessibility of the city people is still low. or the Northeastern people who come to work in the capital I rarely have a chance to see Mo Lam much. And later generations do not understand Mo Lam. and Isan culture properly Therefore, creating a space to solve these problems. to help fill people far from home Enhance knowledge for the new generation to have space for the Mo Lam people to perform and is the source of spreading Isan culture that everyone can access


กิตติกรรมประกาศ

ผลงานศิลปนิพนธ์โครงการ ศูนย์ส่งเสริมการแสดงศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน (หมอลำ) นั้น สำเร็จได้ด้วยบุพการีที่ช่วยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียน รวมถึงคอยช่วยเหลือและสนับสนุน มาตลอดจนถึงปัจจุบัน ขอขอบพระคุณไว้ใน ณ ที่นี้ด้วย ขอขอบพระคุณอาจารย์ภาควิชาการออกแบบภายในทุกท่านที่ให้คำปรึกษาและชี้แนะแนวทางวิธีการ ในการพัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพจนสำเร็จไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์ วริศว์ สินสืบผล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ที่คอยช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และชี้แนวแนวทางในการทำโครงการนี้ให้สำเร็จ รวมทั้งประเมิณผลภาพรวมของเนื้องานให้เสมอ พร้อม ทั้งช่วยวิเคราะห์แนวทางแก้ไขปัญหาที่พบเจอระหว่างทำโครงการจนสำเร็จ ขอขอบคุณเพื่อนๆ รุ่นพี่ รุ่นน้อง ที่คอยให้คำปรึกษาและช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือในการทำผล การสำรวจของโครงการ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวิจัยโครงการให้สำเร็จ และเป็นแรงสนับสนุนให้กระ ผมอยู่เสมอ สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณพ่อครูแม่ครูหมอลำ ที่สร้างสรรค์วัฒนธรรมให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้มา จนถึงปัจจุบัน ขอขอบคุณบทเพลงลูกทุ่งหมอลำทุกเพลงที่ช่วยทำให้มีแรงผลักดันในการทำโครงการมาก ขึ้นจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

นาย ธนากรณ์ รูปเหมาะ 1 มิถุนายน 2565


สารบัญ บทที่

หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ

ก ข ค ง

บทที่ 1 บทนำ ( CHAPTER 1) 1.1 ที่มาและความสำคัญ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ขอบเขตการสร้างสรรค์ผลงาน

3 5 6

บทที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน และราบละเอียดโครงการ ( CHAPTER 2) รายละเอียดเบื้องต้นของโครงการ กรณีศึกษา ลักษณะทางการภาพและสภาพแวดล้อมของโครงการ รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม

9 16 25 31

บทที่ 3 หลักการ ทฤษฎี แนวคิดที่ศึกษา (CHAPTER 3) แนวคิดในการออกแบบ กรณีศึกษา

37 39

บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ (CHAPTER 4) ผลงานการออกแบบ

45

บทที่ 5 บทสรุป และข้อเสนอแนะ ( CHAPTER 5) สรุปผล และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัติ

89 90 91


CHAP


TER 01


03

PROJECT BA เคน ดาเหลา ปรมาจารย์ผู้มีความสามารถโดนเด่นด้านหมอลำกลอนแห่งภาคอีสาน


ACKGROUND

"หมอลำ เป็นศิลปะการแสดงที่เกิดจาก กิจวัตรประจำวัน หรือประจำฤดูกาล เป็นการแสดงเพื่อใช้เล่าเรื่องราว การพรรณนา รวมไปถึงเพื่อใช้ผ่อนคลาย ใน ปัจจุบันหมอลำมีการพัฒนาเป็นอย่างมาก โดยการปรับเปลี่ยนจังหวะคำร้อง การ เล่าเรื่อง การแสดง รวมไปถึงการทำเวทีให้มีขนาดใหญ่ขึ้น มีการทำฉาก แสงสี เสียงให้อลังการ มีการเพิ่มตัวนักแสดงให้มากขึ้น และดนตรีมีการผสมผสานกับ ดนตรีฝั่ งยุโรป ทำให้ฟังง่ายและมีจังหวะสนุกจึงทำให้คนนิยมดูหมอลำในปัจจุบัน และมีฐานแฟนคลับเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ"

04


05

objective จุดประสงค์ในการสร้างศูนย์การเรียนรู้ศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน(หมอลำ) เพื่อแก้ไขปัญหาและสร้าง ความตระหนักถึงปัญหาดังนี้ 1. เพื่ออนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน(หมอลำ) ให้คงอยู่ในยุคปัจจุบันจนถึงอนาคตในภายภาคหน้า 2. เพื่อเป็นศูนย์ความรู้วัฒนธรรมภาคอีสานเกี่ยวกับหมอลำอย่างครบวงจร 3. เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาและเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของวัฒนธรรมภาคอีสาน 4. เพื่อเป็นพื้นที่เรียนรู้เกี่ยวกับดนตรีอีสานและการขับร้องหมอลำให้กับคนรุ่นใหม่ หรือผู้ที่สนใจ 5. เพื่อเป็นศูนย์ศึกษาและต่อยอดศิลปะและวัฒนธรรมภาคอีสาน ที่สามารถอยู่ร่วมได้ในทุกยุคสมัย 6. เพื่อเป็นพื้นที่เสริมสร้างรายได้ให้กับหมอลำ และพ่อค้าแม่ค้าที่ขายของตามงานหมอลำ 7. เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนพื้นที่ หรือผู้ว่าจ้าง จึงทำให้หมอลำขาดแคลนงานในช่วงนั้น 8. เพื่อเป็นพื้นที่บันเทิงให้แก่ผู้คนในระแวกใกล้เคียง รวมถึงฐานแฟนคลับหมอลำ ได้มีพื้นที่ร่วมชมการแสดง


AREA OF STUDY

1. ศึกษาประวัติความเป็นมาของหมอลำ และการส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น 2. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของหมอลำแต่ละยุคสมัย และการพัฒนาของวงหมอลำจากอดีตสู่ปัจจุบัน 3. ศึกษาวิถีชีวิตของหมอลำ การอยู่อาศัย และการเดินทางเพื่อทำการแสดงในแต่ละพื้นที่ 4. ศึกษาการติดตั้งเวที และขนาด ความสูง ของเวที และการวางเส้นทางเข้าออก ตำแหน่งของนักแสดงและ นักดนตรีบนเวที 5. ศึกษาเอกลักษณ์ลวดลายที่นำมาใช้ในการออกแบบเวที ว่าได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมยุคไหน 6. ศึกษาพฤติกรรมของคนฟังหมอลำ รวมไปถึงกลุ่มคนที่ชื่นชอบการแสดง 7. ศึกษาโรงมหรสพเพื่อการวางตำแหน่งที่นั่ง ความเหมาะสม รวมไปถึงการเก็บเสียงเพื่อไม่ให้รบกวนพื้นที่ ใกล้เคียง 8. ศึกษาเอกลักษณ์ของภาคอีสาน เพื่อนำมาพัฒนาตัวโครงการ ให้มีเอกลักษณ์พื้นถิ่นให้มากที่สุด

06


CHAP


TER

02


09

WHAT IS MOH LUM Isan folk performance

IT IS A CULTURAL STYLE IN THE NORTHEASTERN REGION OF THAILAND. CAN BE DIVIDED INTO MANY TYPES ACCORDING TO THE NATURE OF THE MELODY

MOH Expert

+

lu

Narratin with beauti


MOH LUM?

um

g stories iful melodies

หมอลำ

ศิลปะและการแสดงภาคอีสาน ห ม อ ลำ เ ป็ น ก า ร แ ส ด ง ท า ง ภ า ค อี ส า น ช นิ ด ห นึ่ ง โ ด ย เ ป้ น ก า ร บ ร ร ย า ย เ รื่ อ ง ร า ว ต่ า ง ๆ ด้ ว ย ทำ น อ ง อั น เ ป็ น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ แ ล ะ ห ม อ ลำ มี ห ล า ย ทำ น อ ง ต า ม ภู มิ ภ า คิ ข อ ง อี ส า น เ ช่ น ลำ เ พ ลิ น ลำ ห มู่ ลำ ภุ ไ ท เ ป้ น ต้ น

=

who are skilled in narrating various stories with melody

10


11

TYPES OF M

หมอลำพื้น

หมอลำกลอน

หมอลำหมู่

หมอ


OH LUM

ลำเพลิน

หมอลำเต้ย

หมอลำซิ่ง

หมอลำผีฟ้า

12


13

timeline

2490 กำเนิดหมอลำวงแรก โดยนาย ก่ำ

3-4ปี ไปดูลิเก แล้วนำมา พัฒนาวงหมอลำตัวเอง

นายก่ำเสีย


ส.บุญมา

โด่งดังด้างฝั่ งลาว

อัศวินสีหราช

-เป็นวงแรกที่นำดนตรีสากลเข้าร่วม -เป็นวงแรกที่มีหางเครื่อง

ยชีวิต

อัศวินสีฟ้า

อัศวินสีหมอก

เป็นวงแรกที่ได้อัดแผ่นเสียง

อัศวินหอมหวน สุพรีคะนองศิลป์

14


15

การแสดงโชว์ศิลปะการแสดงพื้นถิ่นอีสาน หรือหมอลำในปัจจุบันได้รับความนิยม เป็นอย่างมาก ซึ่งปัจจุบันรูปแบบการแสดงโชว์ได้ปรับเปลี่ยนให้เข้าตามยุคตามสมัย เนื้อหาทำนอง ดนตรี บทกลอนลำได้ปรับเปลี่ยนให้เป็นสมัยใหม่มากขึ้นแต่ยังคง ความเป็นหมอลำมีกลิ่นอายอีสานปะปนอยู่ไม่ลดทอนลงแต่อย่างใด การแสดงโชว์ในแต่ละวงหมอลำเน้นโชว์ที่อลังกาล เกี่ยวกับตำนานต่างๆในภาค อีสานเป็นการเปิดวงก่อนทำการแสดง ยิ่งนักแสดงบนเวททีเยอะ ยิ่งตอกย้ำความอ ลังกาลของวงหลอลำนั้นๆ รวมไปถึงการเต้นที่มีท่วงท่าที่สนุก และเร้าใจคนดู ฉาก หลังและเวทีก็สำคัญ ลวดลายวิจิตรศิลป์เป็นที่มาของเอกลักษณ์ของจังหวัดหรือ หมู่บ้านวงหมอลำนั้นๆอยู่อาศัย แต่ละวงหมอลำจะมีแนวทางและการแสดงแตกต่างกัน แต่จะประยุกต์มากจาก ต้นกำเนิดหมอลำเดียวกัน การแสดงอาจขึ้นอยู่กับพื้นถิ่นอาศัยของวงหมอลำนั้นๆ ว่าได้รับอิทธิพลแนวการลำมาจากถิ่นใด


CASE STUDY

เสียงอีสาน

เสียงอิสาน ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 555 บ้านหนองใน ตำบลหนองนาคำ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เป็นวงหมอลำที่มี แสดงโชว์ที่อลังกาล นำทีมโดย คุณแม่ นกน้อย อุไรพร (อุไร สีหวงศ์) เป็นหัวหน้าวง โดยเสียงอิสานได้ถือกำเนิดเปิด วงเมื่อ พ.ศ.2518 โดยนายหลอด (สามีของนางอุไร) เป็นคนลงทุนเปิดคณะหมอลำเป็นของตัวเองวงเสียงอิสานเป็นวง หมอลำประเภทลำเรื่องต่อกลอน รวมทั้งมีการแสดงบนเวที่น่าสนใจ จึงได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก อีกทั้งในวงหมอลำ มีคณะตลกที่คอยสร้างสีสันให้บนเวที จึงมีฐานแฟนคลับที่อุนหนาฝาคั่ง

16


17

CASE STUDY

สาวน้อยเพชรบ้านแพง คณะสาวน้อยเพชรบ้านแพง ตั้งอยู่ที่ บ้านแพง ตำบลแพง อำเภอโกสุมพิสัน จังหวัดมหาสารคาม ก่อตั้ง โดยคุณแม่สุภาพ และคุณพ่อสงกรานต์ นามวงษ์ษา ในปี พ.ศ.2526 ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจปัจุบัน สาวน้อยเพชร บ้านแพงได้ลำทำนองลำเพลิน แต่ทางวงได้มีการเปลี่ยนแปลงพัฒนามาเป็น วงหมอลำเรื่องต่อกลอนทำนองขอนแก่น ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 จนถึงปัจปัจุบัน มาเป็นเวลาได้ 3 ปี ได้มีการตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงจากแฟนเพลงและแฟน หมอลำ เป็นอย่างดี แต่การแต่งกายยังเป็นเอกลัษณ์ของลำ เพลินอยู่เหมือนเดิม


วิถีชีวิตคนหมอลำ

*แสดงในพื้นที่ต่างจังหวัด

18


19

คำผุนร่วมมิตร

150 คิวงาน 180K-200K

เสียงอิสาน

175 คิวงาน 180K-200K

ศิลปินภูไท

188 คิวงาน 200K

ประถมบันเทิงศิลป์

195 คิวงาน 210K

RATEร และ อัตราคิว ของวงห


ราคา ะ วงาน หมอลำ คิวงาน/ปี

202 คิวงาน 200K

หมอลำใจเกินร้อย

218 คิวงาน 200K

ระเบียบ วาทะศิลป์

150 คิวงาน 200K

สาวน้อย เพชร บ้านแพง

150 คิวงาน 180K-200K

ริตนศิลป์

ข้อมูลจากประชาชาติธุรกิจรวบรวม ปี2561

20


21

WHY DO PEOPLE LIKE TO LISTEN MO้H LUM?

50%

rhythm and melody

35%

15%

culture and life

asmostphere


life style 60

เป็นคนสนุกสนาน ชื่นชอบเสียงดนตรี

รักถิ่นฐานบ้านเกิด รักความสงบ

40

แรงงาน / กลุ่มคนพลัดถิ่น

20

0 อ้างอิงจากการตั้งผลสำรวจผ่านเว็บไซต์FACEBOOK เมื่อวันที่20 พ.ย 2561

22


23

target region

GENDER

North

central

MEN

LGBT

Northeast south

WOMEN


t group span of age

nationallity

CHILD

WORKING PEOPLE

foreigners

thai

STUDENTS ELDERLY

24


25

SITE ANA

boxing st

rangsit tha


ALYSIS

tadium

ailand

26


27

boxing stadium

RANGSIT

323 PHAHONYOTHIN RD. PRACHATHIPAT, THANYABURI, PHATHUMTHANI เริ่มแรกเมื่อปี พ.ศ.2505 โดยผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี ในสมัยนั้น คือนายประสิทธิ์ อุไรรัตน์ ต้องการส่งเสริมกีฬามวยไทย ในจังหวัดปทุมธานีได้จัดตั้งสนามมวยขึ้นเพื่อเป็นการอนุรักษ์กีฬามวย ไทย โดยเวทีมวยรังสิตมีพื้นที่ 7ไร่เศษ สามารถจุคนได้ถึงเกือบ1500 คน


ท่ารถต่างจังหวัด รังสิต

ฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต

การเดินทาง

สายรถประจำทาง 29/34/39/59/95ก/185/187/503/504/510/520 522/538/554 ลงป้ายแมคโครรังสิต

BTS สายสีแดง ลงสถานีหลักหก(ม.รังสิต) / MRT -

boxing stadium

323 PHAHONYOTHIN RD. PRACHATHIPAT, THANYABURI, PHATHUMTHANI

ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนพหลโยธิน 87 BTS สายสีแดง บางซื่อ-รังสิต แมคโคร รังสิต

มหาวิทยาลัย รังสิต

SITE LOCATION

28


29

อู่ช่างขาว

SIAM HOTEL จักวาลยนต์

boxin ถนนวิภาวดีรังสิต

323 P PRACHATHIPAT,


โกดังเจริญประดับยนต์

ng stadium

ศาลเจ้าพ่อเสือ รังสิต

โรงแรมรังสิต

PHAHONYOTHIN RD. THANYABURI, PHATHUMTHANI

30


31

BOXING STADIUM


BOXING STADIUM PLAN

BOXING STADIUM ELEVATION PLAN

BOXING STADIUM SECTION PLAN

32


33

BOXING SCHOOL


BOXING SCHOOL PLAN

BOXING SCHOOL ELEVATION

34


CHAP


TER

03


37

ชิงช้าสวรรค์ ม้าหมุน

exhibiti

เครื่องเล่น

program

temple fair

ร้านขายของ

moh lum

กิจกรรมเสริม บ้านผีสิง

ด้านหน้าเวที

ด้านหลังเ

สาวน้อยตกน้ำ

ปาโป่ง / ปากระป๋อง ยิงตุ๊กตา

พื้นที่นั่งชมการแสดง พื้นที่ยืนชมการแสดง


นิทรรศการหมุนเวียน แยกเป็นภูมิภาค

เล่าประวัติความเป็นมา

แยกประเภทการแสดง

เพลง ดนตรี ทำนองต่างๆ

การแสดงประเภทต่างๆ

digital exhibition เครื่องดนตรี

on

หมอลำ ลูกทุ่ง

ming

learning local music

m

ร้องเพลง

เครื่องดนตรี

เวที

เวที

แคน ความมสูง

ห้องพักนักแสดง

มาตรฐานของเวที

ห้องพักคนงาน

พื้นที่แสดง

พื้นที่เข้า-ออก

พื้นที่สำหรับนักดนตรี

ห้องน้ำ

พิณ โปงลาง โหวด

คนงานชาย-หญิง นักแสดง ชาย-หญิง

38


39

CASE STUDY

IMPACT ARENA

เป็นสนามกีฬาในร่ม ตั้งอยู่ภายใน ศูนย์แสดง สินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี สร้างขึ้นเพื่อรองรับการแข่งขัน เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 ที่ ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพ และใช้ เป็นเป็นสถานที่จัดคอนเสิร์ต กิจกรรมเพื่อการ บันเทิง การประชุมอื่นๆ อีกมากมายจนถึง ปัจจุบัน อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี มีลักษณะ ภายในเป็นอัฒจันทร์ 2 ชั้น 3 ด้าน อีกด้านเว้น ไว้สำหรับสร้างเวทีแสดงคอนเสิร์ตและการ ประกวดต่างๆ สามารถในการรองรับผู้เข้าชม ภายในอาคารได้จำนวน 12,000 คน พื้นที่ตรง กลางอาคารมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยม เหมาะ กับการจัดคอนเสิร์ต กิจกรรมเพื่อการบันเทิง การประชุม และการจัดการแข่งขันกีฬาต่างๆ เพดานมีความสูง 24 เมตร และมีพื้นที่สำหรับ การจำหน่ายบัตรหน้างาน หรือการจำหน่ายของ ที่ระลึก โดยผู้จัดงานคอนเสิร์ต ศูนย์อาหาร รวมทั้งลานจอดรถของผู้ร่วมงานทั้งหมด

ตัวอย่างกาารจัดเวทีตามรูปแบบอีเวนต์ที่ต้องการ


CASE STUDY

the structure of moh lum stage

การตั้งเวที ใช้การเสียบข้อต่อของท่อฟุตเหล็ก เป็นโครงนั่งร้านดังภาพข้างล่าง ที่ใช้การต่อแบบนี้เพื่อให้ง่ายต่อการประกอบและเคลื่อนย้ายไปแสดงพื้นที่อื่น ฉาก ในอดีตมีการสร้างฉากเวทีที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน เน้นการใช้ผ้าม่านในการตกแต่งเวทีการใช้ไฟหลากสีสันไม่ เน้นถึงอารมณ์เพลง จะใช้เพื่อให้เกิดความสวยงามตื่น เต้น แต่ในปัจจุบันมีการใช้ระบบจอ LED อิเล็กทรอนิกส์ เสริมฉากให้เวทีมี ความยิ่งใหญ่อลังการ สร้างความประทับใจให้แก่ผู้ชมที่เดินเข้ามาในบริเวณงานตั้งแต่แรก เห็น การออกแบบฉากในแต่ละปีจะแฝง เรื่องราวความเชื่อของคนในคณะและคนในภาคอีสาน คือ พญานาค นอกจากนี้ยังมีการใช้สลิงเพิ่มเติมในฉากที่แสดงถึงการ เหาะ หรือลอยตัว แสง – สี ในอดีตไฟที่ใช้เป็นไฟสปอร์ตไลท์หลอดใส้เพื่อให้ความสว่างบนเวที มีการใช้ไฟสีย้อมเวทีหลอดไส้ ไฟ ย้อมเวทีจะเป็นสีเหลืองส้มแต่จะมีแผ่นสีต่าง ๆ เช่น สีน้ำเงิน สีเขียว สีแดง สีเหลือง ปิดหน้าหลอดไฟทำให้ไฟเปลี่ยนสีไปตามแผ่นสี ที่ใช้ปิด และใช้ไฟฟอลโล เพื่อส่องให้นักร้องดูเด่นขึ้น แต่ในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนมา ใช้ไฟระบบ LED ทั้งหมด ทำให้การควบคุม แสงง่ายขึ้น และให้สีที่สวยกว่าไฟหลอดใส้ เสียง ในอดีตใช้ลำโพงขยายเสียงแบบตั้ง โดยตั้งโครงเหล็กนั่งร้านเพื่อเป็นที่รองของลำโพง มีโทรโข่งขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนลำโพงเพื่อช่วยขยายเสียง ลำโพงจะตั้งอยู่ ข้างเวทีทั้งสองข้าง และมีลำโพงมอนิเตอร์วางเรียงเป็นระยะ ๆ อยู่หน้าเวที ประมาณ 4 ตัวเพื่อให้นักร้อง นักแสดง และนักดนตรีได้ยินเสียงร้องและเสียงเครื่อง ดนตรีเวลาทำการแสดง แต่ในปัจจุบัน ใช้ลำโพง ขยายเสียงแบบตั้งบนนั่งร้านและเพิ่มเติมลำโพงแบบแขวนระบบชักรอก ลำโพงมอนิเตอร์วางด้านข้างเวที ข้างละ 2 ตัว มีระบบการ ปรับแต่งเสียงในช่วงการแสดงคอนเสิร์ต การเปิดซาวด์ประกอบการแสดง โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการควบคุม

นักดนตรี

นักดนตรี

หางเครื่อง

หางเครื่อง นักร้อง

40


41

CASE STUDY

ธ.ไก่ชน ธ.ไก่ชน คือบริษัทสถาปนิกไม้ไผ่ของ ตั้บ–ธน พัฒน์ บุญสนาน สถาปนิกหนุ่มที่รับออกแบบ รับเหมาก่อสร้าง และจัดจำหน่ายวัสดุธรรมชาติ อย่างไม้ไผ่หลากสายพันธุ์ที่ปลูกโดยเกษตรกร ไทย ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา… ความท้าทายมีอยู่ในการทำงานทุกครั้ง เพราะงานแต่ละชิ้นของเรานั้นไม่เคยซ้ำหรือ เหมือนกันเลย ดีไซเนอร์คนอื่นอาจจะมี เอกลักษณ์เฉพาะตัวบางอย่างที่ซ่อนอยู่ในชิ้น งาน แต่ถ้าเอางานของเรามาเรียงต่อกันตั้งแต่ รูปแรกยันรูปสุดท้ายก็ไม่รู้เลยว่าเป็นดีไซเนอร์ คนเดียวกัน เราทดลองตลอดเวลา เพราะ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงตลอดเหมือนกัน เรา ต้องยอมรับความเปลี่ยนแปลงเหล่านั้นให้ได้ สถาปัตยกรรมกับงานไม้ไผ่… ชาวต่างชาติบางคนจะมองว่างานไม้ไผ่เป็น งานชุ่ย เน้นทำเร็ว เสร็จไว ทำไว้แค่ชั่วคราว เดี๋ยวเดียวก็รื้อออก แต่สำหรับเราไม่ใช่ ทุกขั้น ตอนต้องเป็นระบบแบบแผนตามหลัก สถาปัตยกรรม มีการเขียนแบบ ทำดรอว์อิ้ง ขึ้น ภาพสามมิติ ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาก็ย่อมแตกต่าง ระหว่างงานที่ทำแบบมั่วๆ กับงานที่เป็นระบบ คุณค่าที่มองเห็น… ศาสตร์ของการใช้ไม้ไผ่เริ่มต้นที่แถวบ้าน เรานี่แหละ ไม้ไผ่เป็นพืชพื้นเมืองที่ขึ้นในเอเชีย และอเมริกาใต้ ฉะนั้น ไม่มีทางที่ชาวต่างชาติจะ เข้าใจไม้ไผ่ไปได้ดีกว่าเรา ขึ้นอยู่กับว่าคุณจะ มองเห็นคุณค่าของมันหรือเปล่าเท่านั้นเอง


ข้อกฎหมายกับการออกแบบโรงมหรสพ

หมวดที่ 1 ทั่วไป ข้อที่2 ประเภทโรงมหรสพ

(๒) โรงมหรสพประเภท ข หมายความถึง โรงมหรสพที่เป็นอาคารเดี่ยว ซึ่งไม่มีการจัดที่นั่งคนดูในลักษณะยึดติดกับพื้น

ข้อ ๓ สถานที่ตั้งโรงมหรสพต้องมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

(๑) โรงมหรสพต้องตั้งอยู่ในระดับไม่ต่ำกว่าระดับพื้นดินที่ก่อสร้าง (๒) โรงมหรสพประเภท ก ประเภท ข และประเภท จ ต้องตั้งอยู่ในที่ดินที่มีด้านใดด้านหนึ่งของที่ดินนั้นยาว ไม่น้อยกว่า ๑๒.๐๐ เมตร และที่ดินด้านนั้นต้องอยู่ติดถนนสาธารณะที่มีเขตทางกว้างไม่น้อยกว่า ๑๐.๐๐ เมตร

หมวดที่ 4 จำนวนและระยะห่างของสิ่งของหรือ ส่วนต่าง ๆ ภายในและภายนอกอาคารที่ใช้เป็น โรงมหรสพ ข้อ ๓๔ โรงมหรสพจะต้องมีจำนวนทางออกหรือประตูทางออก ดังต่อไปนี้ (๔) โรงมหรสพที่มีความจุคนตั้งแต่หกร้อยเอ็ดคนขึ้นไป ต้องมีทางออกหรือประตูทางออกไม่น้อยกว่าห้าแห่ง เพื่อประโยชน์ในการคำนวณจำนวนทางออกหรือประตูทางออกตามข้อนี้ ในกรณีของโรงมหรสพที่ไม่มีการจัดที่นั่ง คนดู ให้คิดจำนวนที่นั่งคนดูเท่ากับความจุคนโดยมีความจุคนไม่เกินอัตราส่วนหนึ่งคนต่อพื้นที่ ๐.๖๐ ตารางเมตร

42


CHAP


TER

04


45

AUDITORIOUM


พื้นที่เรียนดนตรีอีสาน และการขับร้องหมอลำ

อาคารนิทรรศการ และสำนักงาน

ลานจอดรถ

อาคารมหรสพ

ลานอเนกประสงค์

46


47

AUDITORIUM อาคารมหรสพ

อาคารมหรสพได้รับแรงบันดาลใจมากจากสิมอีสานในสมัยก่อน ซึ่งวัดกับงาน ประเพณีอีสานเป็นสิ่งที่อยู่คู่กันมานาน และสะท้อนความเป็นอีสานได้อย่างมาก จึงนำ รูปทรงมาดัดแปลงให้อยู่ในรูปแบบกึ่งร่วมสมัย โดยใช้แผ่น Polycarbonate มาทำ เป็นผนังในส่วนต้อนรับ ด้วยคุณสมบัติกึ่งทึบแสง ทำให้แสงที่สว่างในอาคารสามารถ สะท้อนออกมาได้ และทำให้อาคารมีสันมากขึ้น ดูสนุกสนาน และตัวโครงสิมใช้โครง เหล็กดัดแปลงรูปทรงทำเป็นโครงFacde คลุมด้านนอก และในตัวอาคารใช้วัสดุ ธรรมชาติพร้อมทั้งนำงานสาน เอกลักษณ์ทางภาคอีสานมาร่วมประดับภายในงานให้มี กลิ่นอายความเป็นพื้นถิ่นมากขึ้น

"หอบสาดมาฟังลำ"


17.00 16.00 15.00 12.00 9.45

9.45

12.00

16.00

15.00 17.00

7.80

48


49

PLAN


การจัดพื้นที่รับชม

279 ตารางเมตร = 465 คน

436 ตารางเมตร = 727 คน

รวม = 1192 คน ในกรณีของโรงมหรสพที่ไม่มีการจัดที่นั่งคนดู ให้คิดจำนวนที่นั่งคนดูเท่ากับความจุคนโดยมีความจุคน ไม่เกินอัตราส่วนหนึ่งคนต่อพื้นที่ ๐.๖๐ ตารางเมตร

50


51

ELEVATION

2 1

3

4

5

1. บันไดทางขึ้น 2. reception 3. ห้องควบคุม 4. ทางลงไปห้องน้ำ 5. พื้นที่รับชม 6. พื้นที่ multifunction


11

8

6

7

9

10

7. เวทีหลัก 8. โซนนักดนตรี 9. พื้นที่ด้านหลังเวที 10. ห้องพักนักแสดง 11. ไม้ระแนงห้อยประดับฝ้า

52


53

AUDITORIUM


54


55

PERSPECTIVE RECEPTION


56


57

PERSPECTIVE

AUDITORIUM


58


59

PERSPECTIVE

AUDITORIUM


60


61

PERSPECTIVE

AUDITORIUM


62


63

EXHIBITION


พื้นที่เรียนดนตรีอีสาน และการขับร้องหมอลำ

อาคารEXHIBITON

ลานจอดรถ

อาคารมหรสพ

ลานอเนกประสงค์

64


65

EXHIBITION BUILLDING อาคารนิทรรศการ

อาคารนิทรรศการได้รับแรงบันดาลใจมากจาก ก่องข้าว (กระติ๊บข้าวเหนียว) ที่ เป็นอุปกรณ์สำหรับเก็บข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ให้มีความเหนียวนุ่มได้ตลอดวัน ด้วยลวดลายและคุณสมบัติเหล่านี้ จึงถูกนำมาออกแบบเป็นอาคาร และด้านหลัง ของอาคารยังเป็นพื้นที่จำลองการใช้วิถีชีวิตของชาวอีสานแบบพื้นบ้าน และยังเป็น ที่เรียนรู้เกี​ี่ยวกับดนตรีอีสาน และการขับร้องหมอลำอีกด้วย

"ก่องข้าวห่อฮัก"


14.00 7.00

14.00

66


67

PLAN


PLAN

68


69

ELEVATION

3

1

5 4

2

6

1. facade 2. ผนังจอ led 3. ห้องทำงาน 4. พื้นที่ถ่ายรูป 5. ห้องผู้บริหาร 6. ทางเข้าพื้นที่เรียนรู้พื้นถิ่นอิสาน


10

7

8

9

7. กระท่อมหลังใหญ่ 8. กระท่อมหลังเล็ก 9. บ้านหลัก 10. โครงหลังคาไม้ไผ่

70


71


EXHIBITION

72


73

PERSPECTIVE

EXHIBITION AREA


74


75

PERSPECTIVE

LEARNING LOCAL MUSIC AREA


76


77

PERSPECTIVE

LEARNING LOCAL MUSIC AREA


78


79


80


81

LOGO BRANDING

SUMALEE

สุมาลี นพเก้า

แรงบันดาลใจในการทำงานก็คืออยากให้เกิดฟอนต์ที่เข้ากับงานไทยๆ ก็เลยคิด ทำขึ้นมา สำหรับชื่อ ฟอนต์ “สุมาลี” คือชื่อภรรยาครับ

#a06715


TICKET

82


83

ADVERTISMENTS


84


85


86


CHAP


TER

05


89

SUMMARY โครงการออกแบบภายในศูนย์ส่งเสริมศิลปะและการแสดงภาคอีสาน(หมอลำ) ข้าพเจ้าได้ศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูลเพื่อออกแบบสร้างสรรรค์ผลงาน โดยหยึดหลักประวัติความเป็นมา วัฒนธรรม ของภาคอีสาน การแสดง หมอลำ การขับร้อง รวมไปถึงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงมาเป็นแนวทางการทำวิจัยชุดนี้ โดยเพื่อออกแบบ ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและการแสดงภาคอีสาน(หมอลำ) เพื่อให้คนพื้นถิ่นที่ห่างจากบ้านไกล ได้มีพื้นที่ผ่อนคลาย และซึมซับบรรยากาศที่คุ้นเคย เพื่อเพิ่มแรงผลักดันให้กลับไปทำหน้าที่ต่อ และเป็นพื้นที่ให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของวัฒนธรรมอีสาน ประวัติความเป็นมาของหมอลำ เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้ซึมซับและ สานต่อให้คงอยู่สืบไป และพื้นที่นี้ยังเป็นพื้นที่ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรมการแสดงอีสานให้คนนอกพื้นที่ได้ เรียนรู้ และรับชม อีกทั้งยังช่วยเหลือวงหมอลำให้มีพื้นที่ทำการแสดงอยู่เสมอ รวมทั้งพ่อค้าแม่ค้าที่ขายของตาม งานวัด ได้มีพื้นที่ทำกิน และหวังว่าตัวโครงการจะเป็นประโยชน์ต่อคนพื้นที่แถวนั้นไม่มากก็น้อย

ปัญหาและข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการทำศิลปนิพนธ์ มีความเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการเขียนเล่มศิลปนิพนธ์ เกิดการตั้งคำถามกับ ความถูกต้องของศิลปนิพนธ์ ซึ่งอาจมีข้อมูลที่ผิดพลาประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่นี้


research reference https://www.stou.ac.th/study/sumrit/11-58(500)/page2-11-58(500).html https://www.fungjaizine.com/quick_read/snacks/molam-subgenre https://www.lib.ru.ac.th/journal/isan/art/index.html ประวัติหมอลำ ที่คุณยังไม่เคยได้ยิน - https://www.youtube.com/watch?v=Roc2W5LHt5w ขั้นตอนการตั้งเวทีหมอลำใหญ่ คณะระเบียบ วาทะศิลป์ ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงการแสดง https://www.youtube.com/watch?v=0QDj61FLgC0 วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ปีที่11 ฉบับที่1 มกราคม-เมษายน 2564 :ดนตรี พื้นบ้านอีสาน - อิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงมนุษย์ : วิชญ์ บุญรอด https://th.wikipedia.org/wiki/อิมแพค_อารีนา_เมืองทองธานี https://adaymagazine.com/thor-kaichon-bamboo ธ.ไก่ชน - บริษัทสถาปนิกไทยรุ่นใหม่ผู้มีใจรักในงานออกแบบและสถาปัตยกรรมไม้ไผ่ | Founder - https://www.youtube.com/watch?v=3nxZG5FXWtY บ้านและสวน : ธ.ไก่ชน กูรูรู้จริงเรื่องไม้ไผ่ 23 ต.ค. 59 (3/4) - https://www.youtube.com/watch? v=z2BoDYnyYU8 เปิด 6 วงหมอลำที่มีคิวงานจ้างมากที่สุดในประเทศไทย ฤดูกาล 2561-2562 | คุยข่าวหมอลำ https://www.youtube.com/watch?v=NAfeAgjpMhE เปิดเบื้องลึก! กว่าจะเป็นฉากเวทีหมอลำของวงเสียงอิสาน ตามหาคนออกแบบ | ตามติดชีวิตหมอลำ - https://www.youtube.com/watch?v=SIHgyefu3TA เวทีหมอลำไฮเทค - https://www.youtube.com/watch?v=fsG35kl4rpg https://th.wikipedia.org/wiki/เวทีมวยนานาชาตืรังสิต สัมภาษณ์พี่เบิร์ด ผู้จัดการบริหาร เวทีมวยรังสิต เรื่องพื้นที่และขนาดของตัวโครงสร้างอาคาร

90


91

personal information


ประวัติ

ชื่อ-นามสกุล ชื่อเล่น วัน-เดือน-ปีเกิด อายุ ที่อยู่

: นายธนากรณ์ รูปเหมาะ : แซ็ก : 30 ธันวาคม 2542 : 22ปี : 2/7 บ้านเจริญสุข ต.นาดี อ.เฝ้าไร่ จ.หนองคาย 43120

โทรศัพท์ E-mail Facebook

: 061-112-2927 : Thanakon1531@gmail.com : Zack Kiez

การศึกษา ประถมศึกษา

: โรงเรียนบ้านโนนยาง-ดอนเม็ก

มัธยมศึกษาตอนต้น

: โรงเรียนนาดีพิทยาคม

มัธยมศึกษาตอนปลาย

: โรงเรียนนาดีพิทยาคม

อุดมศึกษา

: มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน

92




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.