BRUTALIST ARCHITECTECTURE boutique hotel
โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัย รังสิต
ชื�อโครงการศิลปนิพนธ์ ประเภทศิลปนิพนธ์ ผูด้ าํ เนินโครงการ อาจารย์ท�ีปรึกษา ปี การศึกษา
โครงการศึกษาสถาปั ตยกรรม Brutalist Architecture เพื�อการออกแบบ Boutique Hotel ประเภทงานออกแบบภายใน นางสาว วรรณวนัช รักขพันธ์ ������� นักศึกษาชัน� ปี ท�ี� สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ����
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต
สาขาวิชาออกแบบภายใน คณบดีคณะศิลปกรรม ( รศ. พิศประไพ สาระศาลิน ) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์
ประธานกรรมการ ( อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล ) กรรมการ ( อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ) กรรมการ ( อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์ ) กรรมการ ( อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์ ) กรรมการ ( อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ ) กรรมการ ( อาจารย์ กาลัญญู สิปิยารักษ์ ) กรรมการ ( อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์ ) กรรมการ ( อาจารย์ ไพลิน โภคทวี )
อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ (
)
หัวข้อศิลปนิพนธ์ ชื�อนักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ท�ีปรึกษา ปี การศึกษา
โครงการศึกษาสถาปั ตยกรรม Brutalist Architecture เพื�อการออกแบบ Boutique Hotel นางสาว ววรณวนัช รักขพันธ์ ออกแบบภายใน อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ ����
บทคัดย่อ สถาปั ตยกรรม บรูทลั สิ ต์ เป็ นหนึง� ในสถาปั ตยกรรมสายหนึง� ของสถาปั ตยกรรมในยุคโมเดิรน์ ซึง� เป็ นสถาปั ตยกรรมที� คนมักไม่คอ่ ยรูจ้ กั โดยสถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ เกิดขึน� ในยุคที�เกิดการปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรม (Industrial Revolution) อยูใ่ นช่วงปี ศตวรรษที� ��-��เป็ นการนําเอานวัตกรรมใหม่ๆมาใช้ในการก่อสร้าง โดยเปลี�ยนจากการใช้แรงงานคนกลายมาเป็ นการพึง� พา แรงงานจากเครือ� งจักร โดยหลังจากนัน� ก็ได้เกิดสถาปั ตกรรมโมเดิรน์ ขึน� และกลายมาเป็ นที�รูจ้ กั มากขึน� ในปี ค.ศ.����-���� และได้มีโรงเรียนแห่งหนึง� เปิ ดสอนสถาปั ตยกรมม ที�สอนเกี�ยวกับสถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ แบบสมัยใหม่และมีอิทธิพลเป็ นอย่างมาก และในยุคนัน� ได้มีสถาปนิกท่านหนึง� ที�ช�ือว่า Hans เขาเป็ นสถาปนิกชาวสวีเดน เขาคือผูท้ �ีรเิ ริม� สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ โดยต่อมา สถาปนิกที�ช�ือว่า Le Corbusier ได้ศกึ ษาแล้วนํามาออกแบบกลายเป็ นที�รูจ้ กั มากขึน� โดยสถาปั ตยกรรมที�เด่นชัด และเป็ นเอกลักษณ์ของสถาปั ตยกรรมชนิดก็คือ การใช้สจั จะวัสดุอย่างคอนกรีตมาใช้ อย่างเห็นได้ชดั เจน ซึง� เป็ นสถาปั ตกรรม ที�มีความโดดเด่นและน่าสนใจในสมัยนัน� และทําให้สถาปั ตยกรมมชนิดนีไ� ด้รบั ควาามสนใจและรุง่ เรือง ในช่วงระหว่างปี ค.ศ.���� จนถึง ค.ศ.���� ซึง� เหตุผลที�สถาปั ตยกรรมชนิดนีไ� ด้เสื�อมความนิยมลงไป เพราะว่าได้ถกู มองว่าไปเชื�อมโยงเกี�ยวกับ ลัทธิคอมมิวนิสต์ เลยถูกเชื�อมโยงไปถึงเรือ� งของการเมือง จึงทําให้คนมองว่าดูโหดร้ายและเข้าถึงยาก ปั จจุบนั ได้มีการเคลื�อนไหวมากขึน� มีการอนุรกั ษ์และฟื � นฟูสถาปั ตยกรรมนีเ� พิ�มขึน� แต่ก็ยงั ไม่คอ่ ยมีการประสบความสําเร็จเท่า ที�ควร เลยเกิดความคิดที�จะนําเอาสถาปั ตยกรรมบรูทลั ลิสต์ สถาปั ตยกรรมที�คนมองว่าดูโหดร้ายในกลับมาเป็ นที�รูจ้ กั และเป็ น นําเสนอ บรูทลั ลิสต์ ในแบบใหม่ โดยการนําเอาสถาปั ตยกรรมแบบ บรูทลั ลิสต์ในอดีตมาผสมผสานความเป็ นสมัยใหม่เข้าไป ที�คนสามารถเข้าใจมากขึน� จึงทําให้เกิดสถาปั ตยกรIมในรูปแบบใหม่ ที�มีช�ือว่า “ New Brutalist Architecture”
กิตติประกาศ ศิลปนิพนธ์ฉบับนี � สําเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ด้วยความช่วยเหลือและชีแ� นะอย่างดีย�ิงจาก อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์ อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์ ที�คอยแนะนําให้คาํ ปรึกษาในทุกๆส่วนของโครงการ และคอยให้กาํ ลังใจ รวมถึงคณะ กรรมการศิลปนิพนธ์ทกุ ท่าน ที�คอยให้คาํ แนะนําและข้อคิดเห็นต่างๆที�เป็ นประโยชน์ในการทําศิลปนิพนธ์ จึงขอขอบพระคุณอาจารย์ทกุ ท่านไว้ ณ ที�นี � ขอขอบคุณ สิริ อพาร์ทเม้นท์ ที�เอือ� เฟื � อ ให้เข้าไปทําการศึกษาภายในอาคาร และได้ให้แปลนโครงสร้าง อาคารที�มีประโยชน์ตอ่ การทําศิลปนิพนธ์ ขอขอบคุณเพื�อน ทัง� ในและนอกคณะที�ให้ความช่วยเหลือในการทํางาน ในการใช้ชีวิตตลอดระยะเวลา ที�ได้ศกึ ษาในมหาวิทยาลัยรังสิต สุดท้ายนี � ขอขอบพระคุณครอบครัวที�ให้การสนับสนุน และให้ทนุ ทรัพย์ในการทําศิลปนิพนธ์และตลอด ระยะเวลาที�ได้ศกึ ษาในมหาวิทยาลัยรังสิต ขอขอบพระคุณไว้ ณ ที�นี �
นางสาว วรรณวนัช รักขพันธ์ นักศึกษาชัน� ปี ท�ี � สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัย รังสิต
สารบัญ
บทคัดย่อ กิตติประกาศ สารบัญ บทที� � บทนํา ที�มาของโครงการศิลปนิพนธ์ วัตถุประสงค์การวิจยั สิ�งที�คาดว่าจะได้รบั ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ท�ีจะได้รบั บทที� � การศึกษาข้อมูลพืน� ฐานของโครงการ ประวัติ สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ แนวคิดของ สถาปั ตยกรรมยุคโมเดิรน์ รูปแบบสถาปั ตยกรรมที�โดดเด่นในแต่ละยุค สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ ในประเทศไทย ศึกษาเนือ� หาหลักที�เอามาใช้ในงานออกแบบ การกลับมาของสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ สถานที�ตงั� โครงการ การวิเคาระห์อาคาร กลุม่ เป้าหมาย บทที� � ทฤษฏีและแนวคิดในการออกแบบ กรณีศกึ ษา บทที� � ผลงานการออกแบบ กระบวนการคิดในการออกแบบ การวางผังและออกแบบพืน� ที�ใช้สอย การออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบภาพลักษณ์ของโครงการ บทที� � บทสรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจยั ปั ญหาและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ประวัตผิ วู้ ิจยั
ก ข ค
PROJECT BACKGROUND สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ เป็ นหนึง� ในสถาปั ตยกรรมของยุคโมเดิรน์ ที�เก่าแก่ โดยเริม� ต้นมาจากยุคของการปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง� ยิ�งใหญ่ของโลก มีผลต่อการ เปลี�ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ เป็ นการนําเอานวัฒกรรมใหม่มาใช้ในงาน ก่อสร้าง สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ เป็ นสถาปั ตยกรรมที�มีเอกลักษณ์ และ ความ โดดเด่นเฉพาะตัวในรูปแบบของ สถาปั ตยกรรม คอนกรีต ตามความเรียบง่ายของ รูปทรงเลขาคณิต ปั จจุบนั สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ ได้เสื�อมความนิยมลงตัง� แต่ชว่ ง ปี �� เพราะถูกมองว่า ไปเชื�อมโยงกับลัทธิคอมมิวนิสต์ และยังถูกมองว่าเป็ นสถาปั ตยกรรมที�ดโู หดร้าย และเผด็จการ จึงเป็ นเหตุผลที�ทาํ ให้สถาปั ตยกรรมค่อยๆจางหายไปตามกาลเวลา
OBJECTIVER เพื�อศึกษาสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ เพื�อมาใช้ในงานออกแบบ บรูทีค โฮเทล เพื�ออนุรกั ษ์และฟื � นฟูสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ ในรูปแบบใหม่
EXPECTATIONS เพื�อศึกษาและนําเสนอการอนุรกั ษ์สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ ในรูปแบบของ บรูทีค โฮเทล ทําให้สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ ที�หมดความนิยมให้กบั มาเป็ นที�รูจ้ กั มากขึน� มีความรูค้ วามเข้าใจ้ก�ียวกับสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ จนนํามาใช้ในงานออกแบบ บรูทีค โฮเทล
AREA OF STUDY ศึกษาเรือ� งราวของสถาปั ตยกรรม โมเดิรน์ ของแต่ละยุค เพื�อสามารถจํากัดขอบเขต ที�จะนํามาใช้ในงานอกกแบบ ศึกษารูปแบบของสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ของแต่ละยุคทัง� ในต่างประเทศ และไทยเพื�อนํามาปรับใช้ในงานออกแบบ
WHAT IS BRUTALIST ARCHITECTURE ?
DEFINITION -MASSIVE -AGGRESSIVE
HISTORY OF BRUTALIST ARCHITECTUER
สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ เป็ นสถาปั ตยกรรมสายหนึง� ของสถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ โดยสถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ เกิดขึน� ในยุคที�ประเทศอังกฤษเกิดการปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรม (lndustrial Revolution) อยูใ่ นช่วงปี ศตวรรษที� ��-�� การเปลี�ยนแปลงครัง� ยิ�งใหญ่อย่างรวดเร็ว ซึง� ส่งผลกระทบทัง� ทางด้านสังคมวัฒนธรรม และ เศรษฐกิจ การปฎิวตั ิ อุตสาหกรรมครัง� แรก เป็ นผลจากการใช้เครือ� งจักรไอนํา� เข้ามาช่วยในการผลิต การปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง� แรกเกิด ในประเทศอังกฤษกระบวนการเริม� ต้นขึน� ในช่วงปลายของคริสต์ศตวรรษที� �� ด้วยการเปลี�ยนผ่าน ซึง� เป็ นส่วนหนึง� ในการเปลี�ยนจากเศรษฐกิจแบบพึง� พาแรงงานคน เป็ นเศรษฐกิจแบบพึง� พาเครือ� งจักรเป็ นหลักของสหราชอาณาจักร โดยเริม� ในอุตสาหกรรมสิ�งทอเป็ นอุตสาหกรรมแรกและรวมไปถึงการก่อสร้าง โดยการก่อสร้างสามารถพัฒนาไปอย่าง รวดเร็วเช่นโดยเครือ� งจักรสามารถผลิตวัสดุจาํ นวนหลายๆชิน� ได้ในระยะเวลาที�รวดเร็วและรวมถึงการก่อสร้างอาคาร โดยหลังจากนัน� สถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ เริม� เป็ นที�รูจ้ กั มากขึน� โดยในปี ค.ศ.����-���� ได้มีโรงเรียนแห่งหนึง� ที�สอน เกี�ยวกับสถาปั ตยกรรมแบบโมเดิรน์ สมัยใหม่และมีอิทธิพลเป็ นอย่างมาก (Bauhaus)
และในยุคนัน� ได้มีสถาปนิกคนหนึง� เขามีช�ือว่า Le Corbusier สถาปนิกสายโมเดิรน์ ที�มีช�ือเสียงเป็ นอย่างมาก และ เป็ นผูท้ �ีรเิ ริม� แนวคิดของสถาปั ตยกรรมในรูปแบบของ Brutalist Architectuer โดยสถาปั ตยกรรมในยุคนีอ� าจจะยังไม่คอ่ ย เป็ นที�นิยมมากเท่าไหร่นกั จึงทําให้สถาปั ตยกรรมบรูทลั ลิสต์คอ่ ยๆลดความนิยมลง ต่อมาในปี ���� ได้มีนกั วิจารณ์ สถาปั ตยกรรมชาวอังกฤษ (Reyner Banham) ได้หยิบยกสถาปั ตยกรรมบรูทลั ลิสต์มาพูดถึงและได้เขียนหนังสือ New Brutalist Architecture ขัน� มาโดยหลังจากนัน� สถาปั ตยกรรมแบบบรูทลั ลิสต์ก็กลับมาเคลื�อนไหวต่อสังคมมากขึน� และช่วงที�สถาปั ตยกรรมนีร� ุง่ เรือง อยูใ่ นช่วง ค.ศ ���� ขึน� ไปจนถึง ค.ศ.���� ได้มีความหมดความนิยมลงไป สาเหตุก็เพราะว่า สถาปั ตยกรรมนีถ� กู มองว่าไปเชื�อมโยง กับลัทธิคอมมิวนิสต์ เลยถูกมองไปถึงเรือ� งของการเมืองทําให้คนมองว่าดูโหดร้ายและเข้าถึงได้ยาก ปั จจุบนั สถาปั ตยกรรมในรูปแบบ บรูทลั ลิสต์ได้มีกระแสความเคลื�อนไหวในการอนุรกั ษ์ในช่วงไม่ก�ีปีท�ีผา่ นมา แต่ก็ยงั ไม่คอ่ ยประสบความสําเร็จเท่าที�ควร
BRUTALIST ARCHITECTURE TIMELINE
INDUSTRIAL REVOLUTION
1760 - 1850
WALTER GROPIUS
ยุคปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรม ( ��� ปี ) ศตวรรษที� ��-��
MODERN
1919 - 1933
BAUHAUS
ศตวรรษที� �� ผูร้ เิ ริม� สถาปั ตยกรรมแบบโมเดิรน์
โรงเรียนสอนสถาปั ตยกรรม และเป็ นโรงเรียนต้นแบบที�สอนสถาปั ตยกรรมที�มรอิทธิพล ให้กบั สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่
BRUTALIST ARCHITECTURE TIMELINE
HANS ASPLUND
LE CORBUSIER
1950 1951
สถาปนิกชาวสวีเดน ผูร้ เิ ริม� BRUTALIST ARCHITECTUER
REYNER BANHAM “ THE BE MODERN IS NOT FASHION BUT IT IS A STATE ”
1955 นักวิจารณ์สถาปั ตยกรรมชาวอังกฤษ ผูเ้ ขียนหนังสือ New Brutalist Architectuer
1951 - 1970 สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ท�ีสืบเนื�องช่วงต้นศตวรรษที� ��
WALTER GROPIUS
หนึง� ในสถาปนิกที�เป็ นที�จดจํามากที�สดุ ในศตวรรษที� �� บิดา แห่งสถาปั ตยกรรมโมเดิรน์ และผูก้ ่อตัง� BAUHAUS โรงเรียนเฉพาะทางเกี�ยวกับศิลปะ สถาปั ตยกรรม มัณฑนศิลป์ และออกแบบผลิตภัณฑ์ตงั� แต่เริม� ต้นจนจบกระบวนการ ออกแบบ โกรเปี ยสมีความสนใจในสถาปั ตยกรรมที�เกี�ยวกับเครือ� งกลและอุตสาหกรรม ในยุคใหม่เป็ นพิเศษ เขามีเพื�อนร่วมงานเป็ น LE CORBUSIER และ MIES VAN DER ROHE � สถาปนิกผูโ้ ด่งดังยุคโมเดิรน์ โดยผูร้ เิ ริม� แนวคิดโมเดิรน์ ก็คือ WALTER GROPIUS อาคารที�มีรูปลักษณ์เรียบง่ายและมีรูปแบบตรงไปตรงมาคล้ายกับโรงงาน อุตสาหกรรม แต่ก็ไม่แข็งกระด้างจนเกินไปนัก เพราะมีการนําแสงะรรมชาติ รวมทัง� นําศาสตร์ศลิ ปะด้านอื�นๆ มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ ลักษณะเด่นและแนวคิดของผลงานสถาปั ตยกรรม -รูปทรงเลขาคณิต เน้นประโยชน์ใช้สอยของพืน� ที�ให้คมุ้ ค่า
HANS ASPLUND
สถาปนิกชาวสวีเดน เป็ นผูร้ เิ ริม� ของสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ ในช่วงปี ค.ศ. ���� - ����
LE CORBUSIER
LE CORBUSIER เป็ นสถาปนิก นักผังเมือง มัณฑนากร จิตรกรและ นักเขียนชาวฝรั�งเศษและเป็ นสถาปนิกที�เป็ นต้นแบบของสถาปั ตยกรรม MODERN LE CORBUSIER เป็ นเจ้าพ่อฟั งก์ช� นั “การใช้งาน” เป็ นหัวใจสําคัญ ของการออกแบบดังประโยคที�เขาพูดว่า “A HOUSE IS A MACHINE FOR LIVINE IN ” หมายถึงบ้านพักอาศัยควรตอบสนองประโยชน์ใช้สอย อย่างแท้จริง โดยเขามองว่าบ้านเป็ นเครือ� งจักรเช่นเดียวกับรถยนต์ ที�ชิน� ส่วนแต่ละชิน� ที�ผลิตขึน� มานัน� มรหน้าที�ชดั เจน LE CORBUSIER ยังเป็ นต้นตํารับทฏษฎี LE MODULOR หรือ หลัก ความสอดคล้องของสัดส่วนมนุษย์ (HUMAN SCALE) เพื�อกําหนดสเกล ของสิ�งต่างๆ ในงานสถาปั ตยกรรมให้เกิดความพอดีระยะการหยิบจับ สื�งของหรือตําแหน่งของเฟอร์นิเจอร์ภายในบ้านไปจนถึงการกําหนด สัดส่วนของพืน� ที�เพื�อให้เกิดฟั งก์ช� นั ที�ตอบวัตถุประสงค์การใช้งานของ สถานที�นนั� และการอยูร่ ว่ มกันในสังคม สําหรับ LE CORBUSIER แล้ว ความโมเดิรน์ ไม่ใช่แค่เรือ� งของแฟชั�น แต่คือการศึกษาเบือ� งหลังในสิ�งที�จะออกแบบ ไม่วา่ จะเป็ นอาคาร บ้านเรือน เฟอร์นิเจอร์ หรือผังเมือง โดยต้องทําความเข้าใจตัง� แต่พืน� ฐาน ธรรมชาติ เป้าหมายที�ตอ้ งการ ไปจนถึงความสัมพันธ์ ไปจนถึงความ สัมพันธ์ของบริบท
MODERNISM CONCEPT
MODERN ARCHITECTURE ตรงกับยุคแห่งความก้าวหน้าแห่งอุตสาหกรรม แนะนําการออกแบบด้วยระบบการก่อสร้างสําเร็จรูป การใช้รูปทรงเลขาคณิต ความเรียบง่ายและความงามของวัสดุ การเน้นความสําคัญของกระจกและเหล็กเป็ นวัสดุกา้ วหน้าทาง อุตสาหกรรม เน้นความประหยัดตรงไปตรงมาในเรือ� งการใช้สอย ตัดความฟุ่ มเฟื อยหรูหราหรือการเอาใจใส่ในรายละเอียด ปลีกย่อยของสถาปั ตยกรรมทิง� ไป
MODERN ARCHITECTURE TYPE
CEMENT ARCHITECTURE
VILLA SAVOYE ARCHITECT : LE CORBUSIER
GLASS ARCHITECTURE
THE GLASS HOUSE ARCHITECT : PHILIP JOHNSON
STEEL ARCHITECTURE
SEAGRAM BUILDING ARCHITECT : LUDWIG MIES VAN DER ROHE PHILIP JOHNSON
CONCRETE ARCHITECTURE
BRUTALIST CONCRETE ARCHITECTURE ?
สถาปัตยกรรม คอนกรีต
BRUTALIST ARCHITECTURE
BRUTALIST ARCHITECTURE
BRUTALUST ARCHITECTURE ถือเป็ นสิ�งแปลกใหม่ทเ�ี อาชนะ ความคิดเก่าๆในวงการสถาปั ตยกรรม เพราะแนวคิดทางสถาปั ตยกรรม ทีโ� ดดเด่นเน้นการแสดงออกทางโครงสร้างและถูกมองว่าไปเชื�อมโยง กับลัทธิคอมมิวนิสต์ ทีด� โู หดร้าย
ในช่วงปี ค.ศ. ���� เป็ นช่วงทีส� ถาปั ตยกรรมคอนกรีตรู ปลักษณ์ทรงพลัง ทีร� ู้จกั กันในชื�อ “ BRUTALIST ARCHITECTURE ” มีบทบาทในโลก สถาปั ตยกรรมตะวันตกมาก ความใหญ่โต การใช้จงั หวะหรือ แพทเทิรน์ ขององค์ประกอบซํา� ๆ และการเผยให้เห็นสัจจะวัสดุ คือจุดเด่นทีเ� ห็น ได้ชัดน BRUTALIST ARCHITECTURE
BRUTALIST ARCHITECTURE
BRUTALISM ซึง� เป็ นหนึง� ในการเคลื�นไหวทางสถาปั ตยกรรม ที�มีการโต้เถียงกันมากที�สดุ ในศตวรรษที� �� เป็ นรูปแบบสถาปั ตยกรรมที�มีช�ือเสียงที�สดุ แห่งหนึง� ในศตวรรษที�ผา่ นมา สไตล์ BRUTALISM ส่วนใหญ่เน้นวัสดุพืน� ผิวและโครงสร้างการผลิตรูปแบบที�แสดงออกอย่างมากเป็ นที�นิยมใน ศตวรรษที� ����-���� เกิดขึน� หลังสงครามโลกครัง� ที�� เมื�อการออกแบบที�อยูอ่ าศัยราคาประหยัดและอาคารของรัฐ ประกอบด้วยวัสดุดบิ และไม่ผา่ นการกลั�นเป็ นหลัก และช่วงนัน� เหล็กมีราคาแพงในการนําเข้าในเวลานัน� ผูส้ ร้างจึง หันมาใช้คอนกรีตที�ราคาไม่แพง อาคาร BRUTALIST ได้พฒ ั นาในรูปแบบที�หนักหน่วงและทนทาน โดยความ โหดเหีย� ม และพืน� ผิวที�มีความโหดร้ายถูกมองว่า “ซื�อสัตย์ตอ่ วัสดุ” อาคาร BRUTALIST มักจะสร้างขึน� ด้วย องค์ประกอบแบบแยกส่วนที�เกิดขึน� ซํา� ๆ ซึง� ก่อให้เกิดมวลที�แสดงถึงโซนการทํางานที�เฉพาะเจาะจง ซึง� มีการ ประกบกันอย่างชัดเจนและจัดกลุม่ เข้าด้วยกันเป็ นหนึง� เดียว
CASES STUDY
1952
UNITE D’ HABITATION UNITE D’HABITATION คืออาคารที�พกั อาศัยตัง� อยูท่ �ีเมือง มาร์กเซย ทางตอนใต้ของประเทศฝรั�งเศษ เป็ นอพาร์ตเมนต์แห่งแรกของ LE CORBUSIER ในรูปแบบสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ถือว่าเป็ นแบบ อย่างที�เป็ นจุดเริม� ต้นที�เห็นได้ชดั ของสถาปั ตยกรรมชนิดนีแ� ละถือเป็ น รุปแบบของคอนดดมิเนียมในปั จจุบนั โดยอพาร์ตเมนต์มีทงั� หมด ��� ยูนิต รองรับผูอ้ ยูอ่ าศัยราว �,��� คน
ความโดดเด่นอย่างหนึง� ของอาคารคือ การเลือกใช้คอนกรีตเปลือยเพื�อให้ได้พืน� ผิวที�หยาบ และเน้นเรือ� งสัดส่วน การใช้งานของผูค้ น บริเวณชัน� ล่างของตัวอาคารก็มีความน่าสนใจในวิธีการยกพืน� ที�ตรงตามลักษณะสถาปั ตยกรรม � ประการ ของ เลอ กอร์บซู เิ ยร์ เพื�อช่วยเรือ� งความปลอดภัยและแก้ปัญหาความชืน� ภายในอาคาร และที�สาํ คัญยังให้ความสําคัญกับแสงและเงา
CASES STUDY
ORANGE COUNTY GOVENMENT CENTER
ศูนย์ราชการ อาคารสไตล์ BRUTALIST ด้วยการใช้แผ่นคอนกรีตขนาดใหญ่ เล่นกับรูปทรงเลขาคณิตแบบซํา� เดิม ให้ความสําคัญกับที�วา่ ง แสงและเงา ที�ตกกระทบพืน� อาคาร การวางผังอาคารทอดยาวไปด้านทิศเหนือและทิศใต้ เพื�อเปิ ดรับแสงธรรมชาติ และส่งผลให้แสงภายในอาคาร มีความต่อเนื�องและเข้าถึงทุกพืน� ที� โดยรูปแบบอาคารภายนอกจะคล้ายกับกล่องคอนกรีตสี�เหลี�ยม หลายกล่องต่อกัน
IIM AHMEDABAD
CASES STUDY
อาคารนีเ� ป็ นตัวอย่างสถาปั ตยกรรม BRUTALIST ในอินเดีย เพื�อสร้างความก้าวหน้าของวิชาชีพเฉพาะเพื�อ พัฒนาอินเดียในด้านอุตสาหกรรม โดยรูปแบบอาคารจะเป็ นรูปทรงเลขาคณิตขนาดใหญ่สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างที�วา่ งและฟั งก์ช� นั อย่างเด่นชัด และยังใส่ใจถึงรูปแบบและทิศทางของแสงธรรมชาติ จากภายนอกอาคารส่องเข้ามายังสเปซภายใน เพราะแสงธรรมชาติ ที�เกิดขึน� ไม่ได้มาจากช่องเปิ ดขนาดใหญ่ แต่เป็ นแสงที�สอดแทรกเข้าสูส่ เปซ ช่วยแบ่งฟั งก์ช� นั ได้อย่างชัดเจน การออกแบบมีการผสมผสานวัสดุทอ้ งถิ�น (อิฐและคอนกรีต) การผสมผสานสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่และประเพณีของ อินเดียเข้าด้วยกัน
BRUTALIST ARCHITECTURE IN THAILAND
BRUTALIST ARCHITECTURE IN THAILAND
ในประเทศไทยเอง กระแสของ BRUTALIST ARCHITECTURE เริม� ราวๆช่วงปี พ.ศ. ����-���� ก็มีปรากฏในหลายอาคารเก่าแก่ให้เห็นบ้าง ซึง� ปั จจุบนั ก็แทบ จะหาได้ยากเพราะเกิดการถูกลืมและการทําลายอาคารเหล่านีท� ิง� หรือมีการปล่อยร้างซึง� อาคารเหล่านีม� กั เป็ นอาคารราชการและ อาคารของมหาวิทยลัยที�สาํ คัญเป็ นส่วนใหญ่
FOTO_MOMO
เบียร์ วีระพล สิงห์นอ้ ย (เจ้าของเพจ) FOTO_MOMO เบียร์ สิงห์นอ้ ย เป็ นช่างภาพสถาปั ตยกรรมที�ถ่ายภาพตึกเก่ายุคโมเดิรน์ หรืออาจจะรูจ้ กั ในฐานะผูก้ ่อตัง� โปรเจกต์ FOTO_MOMO ที�คอย ตะเวนเก็บบันทึกภาพ อาคารเก่าแก่ยคุ โมเดิรน์ อายุ ��-��ปี ในเมืองไทย
ตึกวงกลม มหาวิทยาลัยมหิดล
โรงพิมพ์ผา้ ปี นงั
ตึกภาควิชาชีวะ มหวิทยาลัยเชียงใหม่
CASES STUDY ตึกฟิ สกิ ส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาคารคอนกรีตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แบบสถาปั ตยกรรมแบบ บรูทลั ลิสต์ เป็ นผลงานการออกแบบของสถาปนิกชาวไทย “องอาจ สาตรพันธุ”์ สร้างในปี พ.ศ. ���� โดยได้แนวคิดจากสถาปนิก เลอ คอบูซเิ ยร์
CASES STUDY กฟผ. อาคาร ท.���
เริม� สร้างในปี พ.ศ. ���� เสร็จในปี ���� ได้รบั การออกแบบให้อยูใ่ นรูปทรงของเลขาคณิต และการใช้โครงสร้างแสดงออกถึงความมั�นคงและแข็งแรง ด้วยผนังคอนกรีตเปลือย ไม่เน้นความหรูหรา โดยตัวอาคารถูกออกแบบให้มีพืน� ที�ไหลเวียนและเผยให้เห็นถึงโครงสร้างที�เด่นชัด ที�สาํ คัญมีการเปิ ดช่อง เพื�อรับแสงจากธรรมชาติ
STUDY AND USE IN DESIGN
BRUTALIST ARCHITECTURE STYLE
FORM INTERIOR SPACE PATTERN LIGHTING AND SHADOW FURNITURE
BRUTALIST ARCHITECTURE FORM
MASSIVE FORMS
โครงสร้างที�ดทู รงพลัง โดดเด่นในเรือ� งความแตกต่างของรูปทรงสถาปั ตยกรรมที�ดดุ นั และแข็งกร้าว หนักหน่วง ใช้รูปแบบเรขาคณิตในหลัของโมเดิรน์ มาประกอบกันทับซ้อนกับซํา� ๆ โดยใช้คอนกรีตทึบแผ่น คอนกรีตเปลือย เป็ นโครงสร้างที�ใช้แผ่นคอนกรีตสําเร็จรูป สามารถก่อสร้างได้ในระยะเวลาที�รวดเร็ว
MASSIVE FORMS
1970
FOOTSCRAY PSYCHATRIC CENTER
WHITNEY MUSEUN OF AMERICAN ART
สถาปั ตยกรรมของตัวอาคารแต่ละหลังจะมีเกลักษณ์ท�ีเด่นชัดและบ่งบอกถึงความเป็ นสถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ และมีรากฐาน ตัวโครงสร้างที�มาจากตัวรูปทรงของเลขาคณิตทัง� หมด
BRUTALIST ARCHITECTURE INTERIOR SPACE
ความเป็ น MODERN จะแสดงถึงความเรียบง่าย แต่ดดู ี สเปซในอาคารและภายในห้อง จะดูกว้างขวาง ให้อิสระในการตกแต่ง ยังเน้นความสะดวกสบายเป็ นหลัก ตกแต่งน้อย แต่ใช้งานสะดวก เฟอร์นิเจอร์ทกุ ชิน� ถูกจัดวางอย่างดีในทิศทางที�ถกู ต้อง นอกจากกาารตกแต่งที�เน้นใช้คอนกรีตมาใช้ในสเปซภายในแล้ว ยังคงมีการใช้โลหะที�เป็ นอีกตัวเลือกที�สาํ คัญ และสอดคล้องกับเฟอร์นิเจอร์และสไตล์ท�ีดจู ะเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะในรูปแบบสไตล์ บรูทลั ลิสต์ และถือเป็ นสไตล์ท�ี ผสมผสานความดิบเข้ากับความหรูหราและความซับซ้อนได้อย่างลงตัว
BRUTALIST ARCHITECTURE PATTERN
แพทเทิรน์ เป็ นหนึง� ในวิธีการสร้างสรรค์อนั เป็ นเอกลักษณ์ของสถาปั ตยกรรมในยุคนี � เกิดจากการทดลองใช้วสั ดุใหม่ๆคือ คอนกรีต ทํามาสร้างเป็ นรุปทรงเลขาคณิต แล้วประกอบซํา� ๆกันทั�วอาคาร
BRUTALIST ARCHITECTURE LIGHTING AND SHADOW
ปั จจุบนั เราจะมีแสงไฟประดิษฐ์ตา่ งๆ ที�ควบคุมได้งา่ ยแต่แสงไฟธรรมชาติท�ีมีความแตกต่างกันช่วงกัน แสงที�สอ่ งเข้สมากระทบกับโครงสร้าง หรือ ผนังสมารถสร้างเฉดของเงา เช่นแสงธรรมชาติท�ีลอด่านโครงสร้างคอนกรีต ทําให้เกิดมิตกิ บั พืน� ผิวอาคารทัง� ภายนอกและภายใน
LIGHTING AND SHADOW
LOUIS KAHN สถาปนิกแหงแสง
MASS & VOID Mass & Void คือ เทคนิคการจัดการพืน� ที�วา่ งหลักและพืน� ที�วา่ งสนับสนุน เพื�อให้เกิดส่วนทึบและช่องว่างที�อนุญาตให้แสงและเงานทําหน้าที�ของมัน อย่างสมบูรณ์แบบและบวกกับการวางทิศทางของอาคารให้ถกู ต้อง ความหมายของการออกแบบ ก็คือ Mass หรือ Solid นัน� หมายถึงมวลทึบ ส่วน Void คือ พืน� ที�เปิ ดโล่ง
BRUTALIST ARCHITECTURE FURNITURE
เฟอรนิเจอร ในยุคของ บรูทัลิสต เปนอะไรที่ดูโดดเดนเปนอยางมาก และถือเปนจุดที่สําคัญที่ควบคูกับอินทีเรีย เรียกไดวาเปนเอกลักษณ เฉพาะของสไตลบรูทัลลิสต เฟอรนิเจอรที่เปนเอกลักษณโดยการนําวัสดุอยาง คอนกรีต มาใชรวมถึงโลหะที่ประดิษฐดวยมือและแกะสลัก เฟอรนิเจอรอุตสาหกรรแฮนดเมด สือ่ ถึงวัสดุเทคโนโลยีสมัยใหมในยุคนั้น
FURNITURE KELLY WEARSTLER เป็นนักออกแบบชาวอเมริกัน เป็นหนึ่งในนักออกแบบเฟอร์นิเจอร์ที่มีชื่อเสียงเกี่ยวกับเฟอร์นิเจอร์แบบ บรูทัลลิสต์
ROXBURY LONG CONSOLE
CHRISTOPHER CLUB CHAIR
MORPHO SWIVEL VELVET ARMCHAIR
FURNITURE LE CORBUSIER สถาปนิกยุคโมเดิรน์ และผูบ้ กุ เบิก สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ เฟอร์นิเจอร์ของเขาจะให้ความเป็ นโมเดิรน์ สมัยใหม่
SOFA LC2 2 CUERPOS
LE CORBUSIER LC1
LC4 CHAISE LONGUE
WHY BRUTALIST ARCHIECTURE HAS LOTS ITS POPULARITY ?
ในแวดวงสถาปั ตยกรรมแและการออกแบบมีการเปลี�ยนแปลงเกิดขึน� อยูต่ ลอดเวลา และ ไม่ได้มีอะไรมายืนยัน ว่าดีไซน์และวัสดุชิน� ใดจะสามารถอยูใ่ นวงการนีไ� ด้อย่างเป็ นอมตะ เทรนด์ของสถาปั ตยกรรมหากแต่เป็ นการสับเปลี�ยน หมุนเวียนของแนวคิด มียคุ ที�เฟื� องฟูและต้องมียคุ ที�เสื�อมลง ในช่วงปี ค.ศ.����-���� นับเป็ นช่วงเวลาที� BRUTALIST ได้รบั ความนิยมอย่างมาก เพราะแนวความคิดทาง สถาปั ตยกรรมที�โดดเด่น เน้นการแสดงออกถึงโครงสร้างโดยใช้สจั จะวัสดุอย่าง คอนกรีต และในอดีตถือว่าเป็ นสิ�งแปลกใหม่ ที�เอาชนะความคิดเก่าๆ ในขณะที�สภาพสังคมมีการเปลี�ยนแปลงและก้าวหน้ามุมมองของผูค้ นก็เปลี�ยนไปด้วยเช่นกัน ไม่นานแน้วโน้มทางสถาปั ตยกรรมก็เปลี�ยน โดยสถาปั ตยกรรมนีไ� ด้ถกู มองว่าเชื�อมโยงกับลัทธิคอมมิวนิสต์ ผูค้ นจึงมอง ว่าเป็ นสถาปั ตยกรรมที�ดโู หดร้าย เป็ นนามธรรม จับต้องยาก และหยุดออกจากความนิยมไปอย่างง่ายดาย
RESTORATION การกลับมาของสถาปั ตยกรรมที�ถกู ลืม
แนวคิดที�เคยมองว่าน่าเกลียดในอตีด แต่ในช่วงไม่ก�ีปีท�ีผา่ นมา มีการหยิบยกเอางานรูปแบบสถาปั ตยกรรม ที�หายไป กลับมาดัดแปลงให้เข้ากับยุคสมัยปั จจุบนั โดยมีการลดทอนรูปทรงที�แข็งกร้าวแต่ยงั คง เล่นแพตเทิรน์ และคอนกรีตที�เป็ นเอกลักษณ์ของ บรูทลั ลิสต์อยู่
CASE STUDY
THE FLORA / NEW YOK พื้นที่ชั้นใตดินของพิพิธภัณฑ THE MET BRUEUER MUSEUM ไดถูกรีโนเวท กลายเปนรานอาหารและบาร ซึ่งอาคารนี้เปนอาคารเกา ถูกสรางในป 1966 โดยการเก็บงานเดิมๆ เอาไวเกือบทั้งหมด ไมไดเปลี่ยนแปลงอะไรเยอะ แตมีการเปลี่ยนแปลงใหเขากับยุคสมัย และลดความนาเกรงขามลงไป
KEYWORDS NEW BRUTALIST ARCHITECTURE
CONSERVATION
PRESERVATION
DEVERLOP
SITE LOCATION
SITE LOCATION SIRI APARTMENT
BANGKOK
ถนนวิทยุ แขวงปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
SIRI APARTMENT
สิริ อพาร์ตเมนต์ เดิมชื�ออาคาร “เกษมสานต์แมนชั�น” เป็ นอาคารที�มีทงั� หมด � ชัน� รูปแบบของ Brutalist รูปทรงเลขาคณิตเรียบง่าย หรือเป็ นอาคารคอนกรีตทึบตัน สร้างเมื�อ ค.ศ.���� ออกแบบ มีผงั เป็ น รูปวงกลมใหญ่แล้วรายล้อมด้วยแท่งทรงกระบอกเล็กอีก �� แท่ง แต่ละแท่งทําหน้าที�ตา่ งกัน เช่น เป็ นปล่องลิฟต์ ปล่องบันได เพื�อเป็ นทางสัญจรหลักของผูอ้ ยูอ่ าศัย บางแท่งแบ่งไปตามยูนิตต่างๆ ห้องนํา� และ ห้องครัว
SIRI APARTMENT
TRAVEL
สามารถเดินทางด้วยรถยนต์สว่ นตัว เพื�อความสะดวกสบาย
เดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ ที�มีบริการมากมาย ทัง� วินมอเตอร์ไซค์,รถแท็กซี� รถโดยสารประจําทาง, รถไฟฟ้าให้บริการ
รถบัส ��,��,��,��(ปอ.) ��(ปอ.)
สามารถเดินทางด้วย BTS ที�ใกล้ท�ีสดุ ได้ � สถานี เพลินจิต,ศาลาแดง,ชิดลม สถานีท�ีใกล้ท�ีสดุ คือ สถานีเพลินจิต อยูห่ า่ งจาก สิริ อพ่รต์ เมนต์ ประมาณ ��� เมตร สามารถเดินเท้าได้อย่างสะดวก
TARGET GROUP
FAMILY กลุม่ ครอบครัวที�เดินทางาท่องเที�ยวทัง� ไทยและต่างชาติ
A COUPLE กลุม่ คนคูร่ กั ทัง� ชาวไทยและต่างชาติ
WORKING REOPLE กลุม่ คนวัยทํางาน
BUSINESS
กลุม่ นักธุรกิจชาวไทยและต่างชาติ
GROUP OF PEOPLE WHO LIKE ARCHITECTURE
PROGRAMMING
LOBBY RECEPTION
ROOM TYPES -STANDARD ROOM -DELUXE ROOM -SUITE ROOM -FAMILY SUITE ROOM
RESTAURANT -BEVERAGE BAR
L or
COWORKING SPACE -CAFE
SPA -THAI MASSAGE
-MEETING ROOM
-AROMA THERAPY MASSAGE
MOOD
1.THE ROOM 2.SAUNA - FITNESS ROOM 3.THAI PAVLION
4.THE ROOM -PENTHOUSE -DUPLEX -2 BED ROOM -3 BED ROOM
5.STAFF ROOM 6.SWIMMING POOL
ZONING EXISTING
1.RESTAURANT 1st FLOOR RESTAURANT & BEVERAGE BAR 2nd FLOOR SPA 3nd FLOOR -THAI MASSAGE -AROMATHERPY MASSAGE
3. RECEPTION BUILDING
2.CAFE 1st FLOOR & 2nd FLOOR COWORKING SPACE & MEETING ROOM 3rd FLOOR
4.LOBBY & RECETION 1st FLOOR -STANDARD ROOM 2nd FLOOR -DELUXE ROOM 3rd FLOOR & 4th FLOOR -SUITE ROOM 5th FLOOR -FAMILY SUITE ROOM 6th FLOOR 5.STAFF ROOM 6.SWIMMING POOL
NEW ZONING & PROGRAMIMING
MASTER PLAN
PLAN
PLAN
PLAN
PLAN
PLAN
PLAN
PLAN
PLAN
FURNITURE LAYOUT PLAN 1st FLOOR
PLAN
FURNITURE LAYOUT PLAN 2nd FLOOR
PLAN
FURNITURE LAYOUT PLAN 3rd FLOOR
PLAN
FURNITURE LAYOUT PLAN 4th FLOOR
PLAN
FURNITURE LAYOUT PLAN 5th FLOOR
PLAN
FURNITURE LAYOUT PLAN 6th FLOOR
PLAN
PERSPECTIVE
RESTAURANT
RESTAURANT 2 nd FLOOR
BEVERAGE BAR
SPA / RECEPTION
AROMATHERAPY MASSAGE
THAI MASSAGE
CAFE
LOBBY / RECEPTION
STANDARD ROOM
DELUXE ROOM
SUITE ROOM
SUITE ROOM / LIVING ROOM
FAMILY SUITE ROOM / LIVING ROOM
FAMILY SUITE ROOM
TWIN BED ROOM
BRANDING
บทสรุปและข้อเสนอแนะ โครงการศิลปนิพนธ์ครัง� นีม� ีวตั ถุประสงค์ เพื�อศึกษาปประวัตแิ ละความเป็ นมา ของสถาปั ตยกรรม บูรทัลลิสต์ ้พ�ือนํามาใช้ในการออกแบบโรงแรม ข้อมูลของสถาปั ตยกรรมแขนงนีค� อ่ นข้างน่าสนใจ และมีหลายมุมมอง จึงจําเป็ นต้องศึกษา ในมุมมองที�ใกล้เคียง และถูกต้องที�สดุ จึงการมาเป็ นโรงแรมตามแนวคิดการออกแบบ ของผูศ้ กึ ษาที�ตอ้ งการให้สถาปั ตยกรรม บรูทลั ลิสต์ กลับมาอีกครัง� และสามารถเปลี�ยนความคิดและทัศนคติ ที�มีตอ่ สถาปั ตยกรรมแขนงนี � ข้อเสนอแนะ ควรจะศึกษาสถาปั ตยกรรมและวิเคาระห์ขอ้ มูลให้มากกว่านี � พยายามหาแหล่งที�มาและแหล่งข่าวนอกจากอินเตอร์เน็ต ควรจะศึกษารายละเอียดและนําเอาสิ�งที�ศกึ ษามาใช้กบั งานออกแบบให้มากกว่านี �
บรรณานุกรม
�.อาสาสมัครวิกิพีเดีย. "สถาปั ตยกรรมบรูทลั ลิสต์." วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. วิกิพีเดีย, สารานุกรมเสรี 2.Brutalist Architectureสถาปั ตยกรรมคอนกรีต ฉีกทุกกฎการออกแบบ https://www.tipsdd.com/living/brutalist-architecture �.งานรีโนเวทที�เปลี�ยนความแข็งกร้าวของตึกสไตล์ ‘Brutalism’ https://www.dooddot.com/brutalism-architecture-renovation-design/ �.รูจ้ กั Brutalist Architecture สถาปั ตยกรรมกล้าแสดงออก ที�กาํ ลังจะกลับมาโลดแล่นอีกครัง� https://dsignsomething.com 5.Brutalism in architecture https://www.architecture.com/explore-architecture/brutalism 6.The New Brutalism, Reyner Banham, Architectural Press, London 1966 7.Banham, Reyner (1966). The New Brutalism. London: Architectural Press
ประวัติผวู้ ิจยั
ชื�อ-สกุล
นางสาว วรรณวนัช รักขพันธ์
วัน-เดือน-ปี เกิด
�� ธันวาคม พ.ศ.����
อายุ
�� ปี
ที�อยู่
����/� หมู่ �� ต.บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10570
โทรศัพท์
���-�������
Wanwanach.r59@rsu.ac.th
Wanwanach Rakkapan
การศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับอุดมศึกษา
โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ โรงเรียน นวมินทราชินทู ิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โรงเรียน นวมินมราชินทู ิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สาขา ออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต