Wanvara Meenutchanart

Page 1



วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ชื�อโครงการ

โครงการศึกษาผ้าไหมสุรนิ ทร์สกู่ ารออกแบบโรงแรม

ประเภทศิลปนิพนธ์

ประเภทออกแบบภายใน (Interior Design)

ผูด้ าํ เนินโครงการ

นางสาว วรรณวรา มีนชุ นารถ รหัสนักศึกษา ������� นักศึกษาชัน� ปี ท�ี � สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ

ที�ปรึกษาโครงการ

อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ


สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมตั ใิ ห้นบั ศิลปนิพนธ์ฉบับนีเ� ป็ นส่วนหนึง� ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน …………………………………. คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ รองศาสตราจารย์ พิศประไพ สาระศาลิน)

คณะกรรมการศิลปนิพนธ์

…………………………………. ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) …………………………………. กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทยั กาญจน์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปงุ วิวฒ ั น์) ………………………………… กรรมการ (อาจารย์ กาลัญ�ู สิปิยารักษ์) ………………………………… กรรมการ (ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ไพลิน โภคทวี)

อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์

………………………………………… (

)


หัวข้อศิลปนิพนธ์ ผูด้ าํ เนินงาน อาจารย์ท�ีปรึกษา ปี การศึกษา สาขาวิชา

: : : : :

โครงการศึกษาผ้าไหมสุรนิ ทร์สกู่ ารออกแบบโรงแรม นางสาว วรรณวรา มีนชุ นารถ อาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ ���� ออกแบบภายใน

บทคัดย่อ ในปั จจุบนั พบว่าผ้าไหมมีราคาที�แพงขึน� เนื�องจากต้นทุนการผลิตที�เพิ�มขึน� อีกทัง� ยังมี ผ้าชนิดอื�นๆ ที�สามารถนํามาใช้ทดแทนได้อีกด้วย จึงทําให้ปัจจุบนั คนหันมาสนใจผ้าไหม กันน้อยลง เลยเลือก ผ้าไหมสุรนิ ทร์ เพราะว่า ผ้าไหมสุรนิ ทร์นนั� มีสีสนั ที�ไม่ฉดู ฉาดเพราะ ย้อมมาจากสีธรรมชาติ อาทิ ครั�ง แกแล เป็ นต้น อีกทัง� ยังมีกลิ�นหอมจากเปลือกไม้อีกด้วย โดยจะถ่ายทอดความเป็ นผ้าไหมสุรนิ ทร์ผา่ นด้วย “Surin Silk Process” ซึง� จะเป็ นการ ถ่ายทอดกระบวนการในการผลิตผ้าไหมผ่านการออกแบบโดยจะแบ่งเป็ นโซนต่าง อาทิเช่น โซนทอผ้าไหม โซนมัดหมี�ื โซนเลีย� งไหม และโซนผ้าไหม ซึง� ทําให้ผทู้ �ีมาเข้าพักนัน� จะสัมผัส ได้ถงึ รูป รส กลิ�น และ เสียง นอกจากนัน� ยังมุง่ เน้นเกี�ยวกับการสร้างรายได้ให้ชมุ ชนอีกด้วย หลักแนวคิดในการออกแบบนัน� เน้นให้ผใู้ ช้บริการสามารถเข้าถึง ใกล้ชิด และเข้าใจการ ทอผ้าไหม โดยจะเลือกใช้วสั ดุท�ีเป็ นวัสดุเดียวกับอุปกรณ์ทอผ้าไหมทัง� สิน� อาทิ ไม้ ไม้ไผ่ ไหม เป็ นต้น เพื�อจะให้คนไทยในสมัยปั จจุบนั หันกลับมาใส่ใจและอนุรกั ษ์ให้การทอผ้าไหมคงอยู่


กิตติกรรมประกาศ ศิลปนิพนธ์ฉบับนีส� าํ เร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ด้วยความช่วยเหลือและชีแ� นะอย่างดีย�ิง จากอาจารย์ เรวัฒน์ ชํานาญ อาจารย์ท�ีปรึกษาศิลปนิพนธ์ ที�คอยแนะนําให้คาํ ปรึกษา ในทุกๆส่วนของการทําโครงการนี � และคอยให้กาํ ลังใจ รวมถึงคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ทุกท่าน ที�คอยให้คาํ แนะนําและข้อคิดเห็นต่างๆในการทําศิลปนิพนธ์ จึงขอขอบพระคุณ อาจารย์ทกุ ท่านไว้ ณ ทีนี � ขอขอบคุณบุพการี ที�ชว่ ยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรียน และพิมพ์งาน และ ขอ ขอบคุณเพื�อนๆทุกคนที�อยูท่ าํ งานด้วยกันตัง� แต่ตน้ จนจบ สุดท้ายนี � ขอขอบคุณตัวเองที�พยายามทําโครงการนีส� าํ เร็จไปได้ดว้ ยดี

นางสาว วรรณวรา มีนชุ นารถ � มิถนุ ายน ����


สารบัญ หน้ากรรมการอนุมตั ิ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ บทที� � บทนํา ที�มาของโครงการศิลปนิพนธ์ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ท�ีคาดว่าจะได้รบั ขอบเขตการศึกษา ระเบียบวิธีวิจยั แผนการดําเนินการวิจยั

� � � � � �

บทที� �

การศึกษาข้อมูลพืน� ฐานของโครงการ กรณีศกึ ษา ความต้องการด้านพืน� ที�และความสัมพันธ์ดา้ นการใช้สอย สถานที�ตงั� โครงการ การวิเคราะห์อาคาร การวิเคราะห์พืน� ที�ออกแบบ กลุม่ เป้าหมาย

� - �� �� - �� �� - �� �� - �� �� - ��

บทที� �

ทฤษฎีและแนวความคิดในการออกแบบ

�� - ��

บทที� �

ผลการออกแบบ กระบวนการในการออกแบบ การวางผังและการออกแบบพืน� ที�ใช้สอย การออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบภาพลักษณ์ของโครงการ

�� - ��

บทที� �

บทสรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลของโครงการ สรุปผลการวิจยั ปั ญหาและข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม ประวัตผิ วู้ ิจยั

��

�� ��


1

CHAPTER 1


2

Project Background Surin Silk

ปจจุบันพบวาผาไหมไทยมีราคาที่แพงขึ้นเนื่องจากตนทุนการผลิตที่ มากขึน ้ และยังมีสน ิ คาจำพวกผาทีส ่ ามารถทดแทนการใชผา ไหมไดจง ึ ทำใหคนในสมัยปจจุบันมีการใชและเรียนรูเกี่ยวกับผาไหมลดลงเปน จำนวนมาก (ที่มา : บทวิจัยของ คุณหทัยรัตน บุณยรัตพันธุ ) ซึ่ง ผูจัดทำเลยมีความคาดหวังที่อยากจะยกระดับผาไหมไทยใหเปนสิ่ง ทำใหทั้งคนไทยและชาวตางชาติเขาถึงไดงายมากยิ่งขึ้น โดย มีการ เลือกใช“ผาไหมของจังหวัดสุรน ิ ทร” เนือ ่ งจากผาไหมสุรน ิ ทรเปนทีข ่ น ึ้ ชือ และยังมีสีสันที่ไมฉูดฉาดเกินไป เนื่องจากใชสีจากธรรมชาติ คือ สีจะออกโทนสีขรึม เชน นํ้าตาล แดง เขียว ดำ เหลือง อีกทั้งยังมีกลิ่น หอมจากเปลือกไมซง ึ่ จะเหมาะสมกับการสรางโรงแรมเพือ ่ การพักผอน


3

OBJECTIVE

1

เพื่อศึกษาการสรางพื้นที่ใหมีความ สัมพันธกับผาไหมสุรินทร

2

เพื่อศึกษาการสรางการเชื่อมโยงระหวาง โรงงานและโรงแรม

3

เพื่อศึกษาวัสดุที่ใชในการทอผาไหมใหมี ความสัมพันธกับโรงแรม


4

EXPECTATIONS

1

ตองการใหการทอผาไหมสุรินทร ยังคงถูกอนุรักษเอาไว

2

ตองการยกระดับใหผาไหมสุรินทร

3

ตองการใหคนสามารถเขาถึง ผาไหมสุรินทร ไดงายมากกวาเดิมขึ้น


5

AREA OF STUDIES

1

ศึกษาสีที่ใชยอมผาไหม

2

ศึกษาขั้นตอนกระบวนการผลิตผาไหม

3

ศึกษาวัสดุที่ใชในการทอผาไหมเพื่อนำมาออกแบบ

4

ศึกษาลวดลายผาไหม

5

ศึกษาแหลงที่ตั้งโครงการ


6

1.การคนควาขอมูล ศึกษาขอมูลจากแหลงตางๆ ที่เกี่ยวกับโรงแรม และผาไหม พฤติกรรมการใชชีวิต รวมถึงคนควาสถานที่ ที่เหมาะสมในการจัดตั้งโครงการ 2.การรวบรวมขอมูล รวบรวมขอมูลที่เกี่ยวกับความตองการเขามาใชงานในพื้นที่ที่เลือก กลุมเปาหมาย พื้นที่ภายในและโดยรอบของสถานที่ การเดินทางการเขาถึงตางๆ 3.วิธีการรวบรวมขอมูล การลงพื้นที่จริงเพื่อทำการรวบรวมขอมูล เริ่มจากใชการสังเกตุอาคารเดิม พื้นที่ โดยรอบอาคาร บรรยากาศ สภาพแวดลอม กิจกรรม ลักษณะบริเวณใกลเคียง ตอดวยการสอบถามขอมูลภายในตัวโรงแรมจากเจาหนาที่ดูแล 4.การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลจะดำเนินไปพรอมๆกับการรวบรวมขอมูล สวนการตรวจสอบ ขอมูลจะนำมาจากขอมูลที่ไดมาจากการลงพื้นที่มาวิเคราะหอีกครั้ง เพื่อพิจารณา ขอมูลที่ไดวาการทำ Surin Silk Process มีอะไรทีแ่ ตกตางจากรูปแบบเดิมของโครง การเพื่อนำไปสูกระบวนการออกแบบ 5.การศึกษาเพิ่มเติม เปนการศึกษาขอมูลเพิ่มเติม เชน กรณีศึกษาของกิจกรรม กรณีศึกษาของโครงการ อื่นๆรวมถึงแนวคิดและทฤษฎีที่สนใจหรือที่จะนำมาใชในการออกแบบ 6.นำขอมูลไปใชในการออกแบบ นำขอมูลทั้งหมดมารวบรวมและออกแบบออกมาเปนโครงการของเรา


7

RESEARCH SCHEDULE ภาคเรียนที่ 1 06/09/64 14/09/64 16/09/64 18/09/64 22/09/64 25/09/64 27/09/64 29/09/64 30/09/64 01/10/64 04/10/64 06/10/64 19/10/64 09/11/64 21/11/64 24/11/64 26/11/64 29/11/64 15/12/64

พบอาจารยที่ปรึกษา / เสนอหัวขอโครงการกับอาจารยที่ปรึกษา พบอาจารยที่ปรึกษา เพื่อนำเสนอความคืบหนาของโครงการ และนำคำแนะนำมาปรับแก ทำการทดลองนำสียอมผามายอมกับเสนดายฝายเพื่อหา Pantone พบอาจารยที่ปรึกษา เพื่อนำเสนอความคืบหนาของโครงการ และนำคำแนะนำมาปรับแก ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที1่ / นำเสนอหัวขอโครงการ / ขอมูลโครงการ / Programming Development ติดตอเจาของสถานที่ เดินทางไปดูพื้นที่ ที่จะนำมาใชในโครงการที่จังหวัดสุรน ิ ทร พบอาจารยที่ปรึกษา เพื่อนำเสนอความคืบหนาของโครงการ และนำคำแนะนำมาปรับแก ไดรับแปลน / สำรวจพื้นที่โครงการ / สัมภาษณเจาของสถานที่ สัมภาษณนักศึกษาธิการจังหวัดสุรินทรที่ กศน.จังหวัดสุรินทร / สัมภาษณชาวบานตำบล ทาสวาง / สัมภาษณชาวบานที่อาศัยบริเวณโดยรอบพื้นที่โครงการ ทำการทดลองโดยการนำสียอมผาไหมมาผสมปูนเพื่อใชในการออกแบบ พบอาจารยที่ปรึกษา เพื่อนำเสนอความคืบหนาของโครงการ และนำคำแนะนำมาปรับแก ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 2 / เสนอหัวขอโครงการ / ที่มา / วัตถุประสงค / กลุมเปาหมาย / ที่ตั้งโครงการและการวิเคราะหโครงการ / แนวคิดในการออกแบบ พบอาจารยที่ปรึกษา เพื่อนำเสนอความคืบหนาของโครงการ และนำคำแนะนำมาปรับแก ทำการทดลองโดยการนำสียอมผาไหมมาผสมปูนเพื่อใชในการออกแบบ ติดตามการทดลองโดยการนำสียอมผาไหมมาผสมปูนเพื่อใชในการออกแบบ พบอาจารยที่ปรึกษา เพื่อนำเสนอความคืบหนาของโครงการ และนำคำแนะนำมาปรับแก การทดลองโดยการนำสียอมผาไหมมาผสมปูนเพื่อใชในการออกแบบ (ผลสำเร็จ) ตรวจเตรียมศิลปนิพนธครั้งที่ 3 / เสนอหัวขอโครงการ / ที่มา / วัตถุประสงค / กลุมเปาหมาย / ที่ตั้งโครงการและการวิเคราะหโครงการ / แนวคิดในการออกแบบ

ภาคเรียนที่ 2 10/02/65 24/03/65 05/05/65

ตรวจศิลปนิพนธครั้งที่ 1 / Design Process & DEsign Development / พัฒนาและ นำเสนอการวางผัง Planning / นำเสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสูการออกแบบ ตรวจศิลปนิพนธครั้งที่ 2 / Design Process & DEsign Development / พัฒนาและ สรุปการวางผัง Planning / นำเสนอการพัฒนาแนวความคิดไปสูการออกแบบ / สรุป Construction Concept / เสนอรูปแบบการกอสรางในบางสวนที่เปนจุดเดนโครงการ ตรวจศิลปนิพนธครั้งที่ 3 / Design Finalize Presentation / สรุปเนื้อกงานทั้งหมด ทั้ง 2 เทอม / ทำ Presentation ใหไดมาตรฐาน


8

CHAPTER 2


9

ขอมูลพื้นฐานของโครงการ


10

History Surin Silk

Surin Thailand จังหวัดสุรน ิ ทรเปนจังหวัดหนึง ่ ทีม ่ ว ี ฒ ั นธรรม การทอผาไหมมานานและไดสบ ื ทอดเปนมรดก ทางวัฒนธรรมมานานจนเปนเอกลักษณของ ตนเองทีน ่ า สนใจยิง ่ หากศึกษาอยางลึกซึง ่ แลว จะคนพบเหตุผลหลายประการทีส ่ นับสนุนวา จังหวัดสุรน ิ ทรมเี อกลักษณเฉพาะของตนเอง ในเรื่องผาไหม ตลอดจนประเพณีวัฒนธรรม ตาง ๆ ซึ่งสงผลตอการผลิตและการทอ ไม วาจะเปนลวดลายของผาไหมการผลิตเสนไหม นอย และกรรมวิธก ี ารทอจังหวัดสุรน ิ ทรนย ิ ม นำเสนไหมขั้นหนึ่งหรือไหมนอย (ภาษาเขมร เรียก “โซกซัก”) มาใชในการทอผา ไหมนอย จะมีลก ั ษณะเปนผาไหมเสนเล็ก เรียบ นิม ่ เวลา สวมใสจะรูส  ก ึ เย็นสบาย นอกจากนีก ้ ารทอผา ไหมของจังหวัดสุรินทร ยังมีกรรมวิธีการทอ ทีส ่ ลับซับซอน และเปนกรรมวิธท ี ย ี่ าก ซึง ่ ตอง ใชความสามารถและความชำนาญจริง เชน การทอผามัดหมี่พรอมยกดอกไปในตัว ซึ่ง ทำใหผา ไหมทีไ่ ดเปนผาเนือ ้ แนนมีคณ ุ คา มีการ ทอที่เดียวใบประเทศไทย จนเปนที่สนพระทัย และเป น ที่ ชื่ น ชอบของสมเด็ จ พระนางเจ า พระบรมราชินีนาถ ทรงรับสั่งวา ใสแลวเย็น สบาย อีกทั้งยังใชฝมือในการทออีกดวย


11

characteristic

มีลวดลายเปนเอกลักษณโดย ไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรม จากกัมพูชา และ ลวดลายที บรรจงประดิษฐขึ้นลวนมีที่มา และมีความหมายเปนมงคล

นิยมใช สีธรรมชาติใน การทอทำให มีสีไมฉูด ฉาดมีสีสันที่มีลักษณะ เฉพาะ คือสีโทนสีขรึม เชนนํ้าตาล แดง เขียว ดำ เหลือง มีกลิ่นหอม จากเปลือกไม

ฝมือการทอจะทอแนนมี ความละเอียดออนในการ ทอและประณีต รูจักผสม ผสานลวดลายตาง ๆ เขา ดวยกัน แสดงถึงศิลปะที่ สวยงามกวาปกติ

นิยมใชไหมนอยในการ ทอซึ่งไหมนอยคือไหม ที่สาวมาจากเสนใยภาย ในรังไหมมีลักษณะนุม เรียบเงางาม


12

การยกดอกเปนเทคนิคการทำลวดลายใน การทอซึง ่ เกิดจากวิธก ี ารยกและแยกเสน ไหมหรือทีเ่ รียกวาดายเสนพุง  ขึน ้ ลงและมี การเพิม ่ เสนไหมหรือทีเ่ รียกวาดายเสนพุง  จำนวน 2 เสนหรือมากกวานั้นเขาไปรวม ทัง ้ การเพิม ่ ดิน ้ เงินดิน ้ ทองเขาไปในการทอ เพือ ่ ไดลวดลายและสีสน ั ทีง ่ ดงามการยก ดอกนีท ้ ำไดทง ั้ การทอผาฝายและผาไหม

ไหมนอย หมายถึงไหมเสนที่อยูในลำดับ ถัดไปจากการหลืบไหม จะมีเปนไหม คุณภาพดี เสนใยมีความสมํ่าเสมอ สี เหลืองของไหมพืน ้ บานจะแวววาวและออน นุมกวาไหมหลืบมาก ไหมกลุมนี้จึงมีเสน เล็ก แมหญิงอีสานเรียก ไหมนอย ใน กระบวนการสาวไหมนอยนี้ ชางสาวไหม จะพีถีพิถันมาก โดยเฉพาะการควบคุม คุณภาพของอุณหภูมน ิ ํ้ารอนจากการสาว ไหม การเขี่ยรังไหมใหพอดีไมมากเกินไป และนอยเกินไปรวมทัง ้ จังหวะการสาวไหม เ พื่ อ ใ ห เ ส น ไ ห ม มี ค ว า ม ส มํ่า เ ส ม อ


13

ขั้นตอนการทำผาไหม

เลี้ยงไหม / สาวไหม / เตรียมเสนไหม

การมัดหมี่ / ยอมสีไหม

การแกหมี่ / ทอผา


14

ผามัดหมี่ลายโฮลLorem ipsum ผาโฮล เปนผาไหมมัดหมี่ของกลุมชาติ พันธุไทยเชื้อสายเขมรในจังหวัดสุรินทร ผามัดหมี่โฮลถือเปนลายเอกลักษณของ ลายผาไหมมัดหมี่จังหวัดสุรินทร

โฮลไสร

โฮลปะนะ

โฮลลายซิกแซก

โฮลเปราะห

โฮลประยุกต

โฮลทะนังอำปล


15

ผามัดหมี่ลายรูปLorem ipsum ลวดลายผาไหมมัดหมี่ชนบทลวด ลายดั้งเดิมเปนลวดลายที่สืบทอด มาจากบรรพบุรุษใชวิธีการมัดหมี่ และทอแบบดั้งเดิมเปลี่ยนแปลงสี สันไดตามความตองการ ลายเล็ก

ลายบวก

ลายพนมบะ

ลายรวงขาว

ลายนกยูง

ลายเตางับ

ลายแหวนเพชร


16

ผาลายตารางum ผาที่ถูกทอใหเกิดเปนลวดลายตารางขนาดตางๆ ไมวาจะเปนตารางสี่เหลี่ยม หรือ ตารางหกเหลี่ยม

ลายผาสาคู

ลายผาสโรงชาย

ลายผาทมอ / สมอ

ลายผาขาวมา ( กลุมกูย )

ลายผาสโรงหญิง

ลายผาขาวมา ( กลุมเขมร )


17

ผาอันปรมum เปนผามัดหมี่สองทางคือ โดยมีการ มัดยอมทั้งเสนพุงและเสนยืนซึ่งแตก ตางจากผามัดหมี่ทั่วไป ของประเทศ ไทย ที่สวนใหญเปนมัดหมี่เฉพาะเสน พุง อัมปรม เปนผามัดหมี่ของกลุม ชาวไทยเชื้อสายเขมรในชวงอิสานใต

ลายผาอันปรม

ลายผาอันปรมคีว

ลายผาอันปรมขวะ / ขาด


18

ผายกดอกแบบดั้งเดิม การยกดอกเปนเทคนิคการทำลวดลาย ในการทอซึ่งเกิดจากวิธีการยกและแยก เสนไหมหรือที่เรียกวาดายเสนพุงขึ้นลง และมีการเพิ่มเสนไหมหรือที่เรียกวาดาย เสนพุงจำนวน ๒ เสนหรือมากกวาเขาไป

ลายลูกแกว

ละเบิก

ลายดอกพริกไทย


19

สีธรรมชาติที่ใชยอมผาไหม สีแดง ไดจาก ครั่ง รากยอ สีนํ้าเงิน ไดจาก ตนคราม ใบคราม สีเหลือง ไดจาก แกแล ขมิ้นชัน แกนเข สีเขียว ไดจาก เปลือกสมอและใบหูกวาง ใบเตย สีมวงออน ไดจาก ลูกหวา สีชมพู ไดจาก ตนฝาง ตนมหากาฬ สีดำ ไดจาก เปลือกสมอ และลูกมะเกลือ ลูกระจาย สีสม ไดจากลูกสะตี (หมากชาตี) สีนํ้าตาลแก ไดจาก จานแกนอะลาง สีกากีแกมเขียว ไดจาก เปลือกเพกากับแกนขนุน สีกากีแกมเหลือง ไดจาก หมากสงกับแกนแกแล


20

กรณีศึกษา


21

Silk Path Grand Resort & Spa Sapa

Doi Quan 6, Group 10, Sa Pa Township, Sa Pa District, Lao Cai Province, Vietnam, 330000


22

ความตองการดานพื้นที่ และความสัมพันธดานการใชสอย


23

รานขายผาไหมสุรินทรและของที่ระลึกใหกับ คนที่เขามาพัก และ บุคคลทั่วไป

โชวการทอผาไหมจากชาวบานและยังสราง รายไดใหกับคนในชุมชนอีกดวย

PROGRAMING FOR HOTEL

บารสมุนไพรจากสียอมผา ใหบริการผูที่มาเขาพัก

สปาสมุนไพรจากสียอมผา สำหรับผูที่มาเขาพัก

shop factory bar spa


24

Bar / Sleep room

Spa / Sleep room / Outdoor

Spa / Sleep room

Lobby / Office / Storage / Laundry

Factory / All day dinning / Kitchen

Parking


25

สถานที่ตั้งโครงการ


26

SITE

พื้นที่ปจจุบัน เปนพืน ้ ที่ของโรงแรม Slive ที่ตั้ง 169 หลักเมือง ตำบล ในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร สุรินทร 32000


27

วัดบูรพาราม

วัดศาลาลอย

วัดปทุมเมฆ

ซอย สระโบ ราณ2

วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร

ตลาดถนน คนเดินสุรินทร

SITE สนามกีฬา ศรีณรงค

สวนเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสุรินทร

Surrounding วัดบูรพาราม วัดศาลาลอย วัดปทุมเมฆ ตลาดถนนคนเดินสุรินทร สนามกีฬาศรีณรงค วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร สวนเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสุรินทร 2.1 กม. จาก บขส.จังหวัดสุรินทร 2.4 กม. จาก สถานีรถไฟสุรินทร 69.7 กม.จาก สนามบินบุรีรัมย


28

7 6

5

2 4 3

SITE 1

รานอาหารยอดนิมยม ในระยะทางไมเกิน 2 กม. 1. ดิชอัพสเตีกคาเฟ 400 ม. 2. ชาบูตะ 750 ม. 3. สวีทฮารท 1 กม. 4. โกนขแมร แหนมเนือง 1.7 กม. 5. แมพิมปลาเผา 1 กม. 6. สติ คาเฟ 1.4 กม. 7. ตำกะเทย 1.7 กม


29

4

5

2

3

SITE

1

โรงแรมและหองพัก ในระยะทางไมเกิน 2 กม. 1. ฟอรจูนแมนชั่น 180 ม. 2. กิบาอพารทเมน 450 ม. 3. โรงแรมเซเวนบี 1 กม. 4. โรงแรมออรคิด 1.3 กม. 5. บานตฤณ2 1.9 กม.


30

N

SITE

ทิศทางลมเปนลมตะวันออกเฉียงเหนือทำใหลมผานเขาบริเวณหนาอาคาร แดดขึ้นจากบริเวณดานขางอาคารดานซาย และไปตกลงที่ดานหลังอาคาร


31

ฺBad view - Basement floor floor 1 / 2 / 3 / 4 / 5

N

ฺBad view - Basement floor - floor 1

ฺBad view - Basement floor - floor 1 / 2 / 3 / 4 / 5

Good view - floor 2 / 3 / 4 / 5

SITE

ฺBad view - Basement floor Traffic view - floor 1 / 2 Good view - floor 3 / 4 / 5


32

กลุมเปาหมาย


33

TARGET GROUP

55%

d] กลุมนักทองเที่ยว นักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวตางชาติ ที่มาทองเที่ยว

10%

d] กลุมขาราชการ กลุมขาราชการที่ตองการ ซื้อผาไหมเพื่องานเกษียณ

30%

d] กลุมคนที่ชื่นชอบผาไหม โดยผูเขาพักกลุมนี้มีความหลงไหล และ ชื่นชอบผาไหมเปนทุนอยูแลว

5%

d] กลุมวัยรุน กลุมวัยรุนอายุ 18 ป ขึ้นไปเพื่อ ตองการใหใสใจผาไหมมากยิ่งขึ้น


34

d]

พันลาน

กราฟแสดงขอมูลรายไดการทองเที่ยวในจังหวัดสุรินทร d] อางอิง - สำนักงานสถิติจังหวัดสุรินทร

3

2

1

d]

2558

d]

2559

d]

2560

d]

2561

d]

2562

d]

2563

ป พ.ศ.


35

CHAPTER 3


36

แนวความคิดและทฤษฎี ที่ใชในการออกแบบ


37

CONCEPT

“Surin Silk Process” แตละโซนจะเปนการแสดงออกถึงกระบวนการในการผลิตผาไหมสุรินทร โดยจะแแบงออกเปนทั้งหมด 4 โซน ไดแก โซนทอผาไหม โซนผาไหม โซนมัดหมี่ โซนเลี้ยงไหม


38

การทดลองผสมสียอมผากับปูน เพื่อใชทำผนังหอง โดยจะสรางสัมผัสที่สี่ในเรื่องกลิ่นที่จะคลายคลึงกับผาไหม

ครั่ง 30 กรัม นํ้า 200 ml ใชเวลาตม 1.30 ชั่วโมง / ปูน 100 กรัม นํ้าตมครั่ง 50 ml


39

การทดลองผสมสียอมผากับปูน เพื่อใชทำผนังหอง โดยจะสรางสัมผัสที่สี่ในเรื่องกลิ่นที่จะคลายคลึงกับผาไหม

แกแล 50 กรัม นํ้า 550 ml ใชเวลาตม 2 ชั่วโมง / ปูน 110 กรัม นํ้าตมแกแล 50 ml


40

การทดลองผสมสียอมผากับปูน เพื่อใชทำผนังหอง โดยจะสรางสัมผัสที่สี่ในเรื่องกลิ่นที่จะคลายคลึงกับผาไหม

ใบเตย 50 กรัม นํ้า 100 ml / ปูน 100 กรัม นํ้าใบเตย 50 ml


41

การคัดลอกลวดลายจากผาไหม เพื่อใชในการออกแบบ

ผาโฮลไสร เปนผาซิ่นผูหญิงที่ถือกันวาเปนผาที่มีฝมือประณีต และเปนเครื่องชี้วัดใหเห็นความเปนกุลสตรีของชาวสุรินทรอีกดวย


42

การคัดลอกลวดลายจากผาไหม เพื่อใชในการออกแบบ

ผาโฮลเปราะห หรือ ผาปูมเขมร มักใชเปนผาพระราชทานแกเสนาบดีผใู หญ


43

การคัดลอกลวดลายจากผาไหม เพื่อใชในการออกแบบ

ผาอันปรม เปนผามัดหมี่ของกลุมชาวไทยเชื้อสายเขมรในบริเวณอิสานใต ไดแก บริเวณจังหวัดสุรินทร การทอผาแบบนี้มีเพียงแหงเดียวในประเทศไทย


44

การคัดลอกลวดลายจากผาไหม เพื่อใชในการออกแบบ

ผาละเบิก เปนการทอยกดอกแบบตาราง แตมีการยกดอกใหเดนชัด มักนิยมทอในจังหวัดสุรินทร


45

เนื่องจากวัสดุที่ใชเลี้ยงไหม คือ จอ (ไมไผสาน) วัสดุที่ใชในการทอผา คือ ไม (อาทิ กี่ กระสวย อัก) จึงทำให วัสดุหลักที่ใชในการออกแบบจะอางอิงมาจากวัสดุที่ทำให เกิดผาไหม นั่นคือ ไม ไมไผ เชือก ปูน และ ลวดลายผาไหมสุรินทร


46

CHAPTER 4


47

PERSPECTIVE


48

FACTORY AND RESTAURANT

ในสวนของโรงงานและหองอาหารนั้นคือ โซนทอผาไหม โดยที่จะทำใหเห็นเปนลักษณะของเสนไหมและบนเพดานจะทำใหเหมือนกับ ลักษณะของเสนไหมเวลาถูกพาดลงบนกี่ทอ และตรงกลางที่วางอาหารจะเปนเหมือนกระสวยที่ใชทอผา


49

FACTORY AND RESTAURANT

ENTRANCE

ชั้น 1


50

RECEPTION

ในสวนของแผนกตอนรับจะเปน โซนผาไหม โดยที่จะใสลวดลายของผาไหมตางๆ


51

RECEPTION

ENTRANCE

ชั้น 2


52

SPA

สปา จะเปนโซน โรงเลี้ยงไหม โดยวัสดุหลักจะเปนไมไผ เพราะ การเลี้ยงไหมนั้นจะใช จอ (ไมไผ) สวนลายตารางนั้นจะมาจาก ตาขายที่ใชทำโรงเลี้ยงไหม


53

SPA

ชั้น 3


54

SPA

ชั้น 3


SPA

สปา จะเปนโซน โรงเลี้ยงไหม โดยวัสดุหลักจะเปนไมไผ เพราะ การเลี้ยงไหมนั้นจะใช จอ (ไมไผ) สวนลายตารางนั้นจะมาจาก ตาขายที่ใชทำโรงเลี้ยงไหม

55


56

SPA

ชั้น 4


BAR

ในสวนของบารนั้นจะเปน โซนมัดหมี่ ตรงบริเวณหนาตางและเคาเตอร ถูกทอดแบบมาจากการมัดหมี่

57


STANDARD ONE BED

ในสวนของหองพักจะเปน โซนผาไหม จะใชสีธรรมชาติ และบริเวณหัวเตียงจะเปนลวดลายของผาไหม มีการใชเสนไหมเขามา

58


59

STANDARD ONE BED

ชั้น 3


STANDARD TWIN BED

ในสวนของหองพักจะเปน โซนผาไหม จะใชสีธรรมชาติ และบริเวณหัวเตียงจะเปนลวดลายของผาไหม มีการใชเสนไหมเขามา

60


61

STANDARD TWIN BED

ชั้น 3


FAMILY ROOM

ในสวนของหองพักจะเปน โซนผาไหม จะใชสีธรรมชาติ และบริเวณหัวเตียงจะเปนลวดลายของผาไหม มีการใชเสนไหมเขามา

62


63

FAMILY ROOM


64

SUITE ROOM

ในสวนของหองพักจะเปน โซนผาไหม จะใชสีธรรมชาติ และบริเวณหัวเตียงจะเปนลวดลายของผาไหม มีการใชเสนไหมเขามา


65

SUITE ROOM


66

WALK WAY


67

WALK WAY


68

SHOP

ENTRANCE

ชั้น 1


69

BRANDING


70

LOGO


71


72


73


74


75

CHAPTER 5


76

PROJECT SUMMARY & RESEARCH SUMMARY จากการศึกษาวิจัย โครงการศึกษาผาไหมสุรินทรสูการออกแบบโรงแรม โดยไดศึกษา รูปแบบในการออกแบบพื้นที่พบวา ปจจุบันตำบลทาสวาง จังหวัดสุรินทรนั้นเปนแหลง เรียนรูผาไหม ที่ผสมผสาน กับเสนทองรวมกับลวดลายที่ถูกประยุกต เลยทำใหผูคน ที่มาทองเที่ยวนั้น ยังไมไดสัมผัสกระบวนการทอผาไหมอยางแทจริง ซึ่งโครงการเอง จึงไดจัดทำพื้นที่โครงการใหไดสัมผัสถึงประสาททั้งสี่ ใน รูป รส กลิ่น และเสียง เปนตน


77

บรรณานุกรม ปญหาของกลุมผลิตผาไหม (2558) (ออนไลน) เขาถึงไดจาก https://www.tci-thaijo.org ตำนานผาไหมจังหวัดสุรินทร (2555) (ออนไลน) เขาถึงไดจาก http://www.industry.in.th/dip/knowledge_detail.php?id=1273&uid=41077 ที่มา เอกลักษณ กรรมวิธีผลิตผาไหมทอมือสุรินทร (ออนไลน) เขาถึงไดจาก https://research-system.siam.edu เทคนิคการทอผาไหม (ออนไลน) เขาถึงไดจาก https://qsds.go.th คุณภาพเสนไหมสาวมือ (2551) (ออนไลน) เขาถึงไดจาก https://www.gotoknow.org/posts/225935 ผาไหมทอยังไง? คอรสเจาสาวแบบไทยที่บุรีรัมย #เที่ยวรูไทย | Point of View On Tour EP.48 (ออนไลน) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=KYB1WskBo9I การเลี้ยงไหม สาวไหม และทอผาไหม (ออนไลน) (2560) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=YHtIiWi5lxM การผลิตและทอผาไหมโบราณ Thai Silk EP.01 (ออนไลน) (2562) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=t-AcxyuDH9U&t=3s การผลิตและทอผาไหมโบราณ Thai Silk EP.02 (ออนไลน) (2562) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=-MfhKVrHMc8 การผลิตและทอผาไหมโบราณ(ขั้นตอนการยอมสีไหม) Thai Silk EP.03 (ออนไลน) (2562) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=0cK5XcE3WNk การผลิตและทอผาไหมโบราณ Thai Silk EP.04 (ออนไลน) (2562) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=BJV4iZVDsws การผลิตและทอผาไหมโบราณ (การมัดหมี่)Thai Silk EP.05 (ออนไลน) (2562) เขาถึงไดจาก https://www.youtube.com/watch?v=WhmIK0c8MhE การสอบถามจากชาวบานชุมชนทาสวาง หนังสือผาไหมสุรินทร โดย นาง วัชรี สวัสดี


78

CURRICULUM VITAE ชื่อ - นามสกุล

นางสาว วรรณวรา มีนุชนารถ

รหัสนักศึกษา

6002402

การศึกษา

นักศึกษาชั้นปท4ี่ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ปการศึกษา

2564

การติดตอ

โทร 096-863-8638 e-mail : wanvara.m60@rsu.ac.th



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.