ACADEMY
โครงการออกแบบภายใน YG’’MM ACADEMY COLLEGE OF DESIGN
DEPARTMENT OF INTERIOR
RANGSIT UNIVERSITY
โครงการศิลปนิพนธ สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ชื่อโครงการ
โครงการออกแบบภายใน YG’’MM ACADEMY
ประเภทของศิลปนิพนธ
ประเภทงานออกแบบภายใน
ผูดําเนินโครงการศิลปนิพนธ
นายปณณวิชญ เนื้อทอง รหัส 6104629 นักศึกษาชั้นปที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ
อาจารยไพลิน โภคทวี
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต
สาขาวิชาออกแบบภายใน ................................................................... คณะบดีวิทยาลัยการออกแบบ ( รองศาสตราจารย พิศประไพ สาระศาลิน )
สาขาวิชาออกแบบภายใน ................................................................... ประธานกรรมการ ( อาจารย วริศว สินสืบผล ) ................................................................... กรรมการ ( อาจารย ถวัลย วงษสวรรค ) ................................................................... กรรมการ ( อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน ) ................................................................... กรรมการ ( อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย ) ................................................................... กรรมการ ( อาจารย เรวัฒน ชํานาญ ) ................................................................... กรรมการ ( อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน ) ................................................................... กรรมการ ( อาจารย กาลัญู สิปยารักษ ) ................................................................... กรรมการ ( ผูชวยศาสตราจารย ไพลิน โภคทวี )
อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ ................................................................... (
)
ก
หัวขอศิลปนิพนธ
โครงการออกแบบภายใน YG’’MM ACADEMY
ชื่อนักศึกษา
นายปณณวิชญ เนื้อทอง
สาขาวิชา
ออกแบบภายใน
อาจารยที่ปรึกษา
อาจารย ไพลิน โภคทวี
ปการศึกษา
2564
บทคัดยอ ในปจจุบันวงการดนตรีในดานของ KPOP TPOP ในรับความสนใจมากขึ้นในทุกป จนในป 2021 ไดเกิดบริษัท YG’’MM เปนบริษัทที่เกิดจากการรวมทุนกันของ YG Entertainment ของ เกาหลีกับ GMM Grammy ของไทยเพื่อผลิตศิลปนไอดอลระดับโลกในอนาคต ผูวิจัยจึงเล็งเห็น ถึงความสําคัญของความสนใจที่จะเปนศิลปน YG’’MM ACADEMY จึงเปนพื้นที่ที่เปดโอกาสใหเด็ก และบุคคลทัว่ ไปไดมาเรียนรูก ารเปนศิลปนไอดอลดวยหลักสูตรทีไ่ ดมาตรฐานและอยูภ ายใตการดูแล ของบริษัทหลัก YG’’MM ACADEMYคือสถาบันศึกษาที่มีหลักสูตรสอนการเปนศิลปนไอดอลอยางครบครัน ที่อยูภายใตการดูแลของYG’’MM เปนสถานที่ที่ใหโอกาสและรวบรวมกลุมคนที่มีความฝน สนใจ การเปนศิลปนไอดอลใหเขามาเรียนรูในหลักสูตรที่ไมมีสอนในโรงเรียนทั่วไป ทั้งการเตน การรอง ภาษา รวมถึงบุคคลิกภาพการเปนศิลปน อีกทั้งทางบริษัทสามารถคัดเลือกเด็กจากในสถาบัน และพัฒนาตอไปจนเปนศิลปนไดอก ี ดวย เปนสถานทีท ่ เี่ ปดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูใ นสิง ่ ทีส ่ นใจและเขา ใกลความฝนของตนเอง
ก
กิตติกรรมประกาศ ศิลปนิพนธเลมนี้ไดรับความสนับสนุนและอนุเคราะหหลาย ๆ ดานจาก บุคคลหลายทาน ทั้งเรื่องของคําแนะนํา กําลังใจ กําลังทรัพย และการสนับสนุน ตาง ๆ อีกมากมาย ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่ทําใหเกิดผลงานที่ภาคภูมิใจ และความสําเร็จ ขึ้นมา ขอขอบคุณบุคคลในครอบครัวที่ชวยเหลือมาตั้งแตเริ่มดําเนินโครงการทั้ง ที่อนุเคราะหในเรื่องราวตาง ๆ ทั้งเวลา สถานที่ และกําลังใจที่มอบใหมาตลอด ขอขอบคุณ อาจารย ไพลิน โภคทวี อาจารยที่ปรึกษาที่ใหความใสใจ ขอ แนะนําและคําปรึกษาดานการพัฒนาแบบตางๆ ใหมีความสมบูรณเปนอยางดี และ ขอขอบคุณคณะกรรมการที่ใหขอเสนอแนะ และปรับปรุงเกี่ยวกับโครงการไดเปน อยางดี ขอขอบคุณ คุณอังคณา คุณานุพันธชัย (พี่ฟา) ฝายดูแลอาคารและ สํานักงานของตึก GMM GRAMMY PLACE ที่ใหความใสใจ ใหความอนุเคราะหใน การขอขอมูลและสอบถามขอมูลโดยละเอียด ขอขอบคุณเพื่อนๆทุกคนที่คอยสนับสนุนใหกําลังใจจนสําเร็จลุลวงดวยดี
ปณณวิชญ เนื้อทอง
ข
สารบัญ
หนา
บทคัดยอ
ก
กิตติกรรมประกาศ
ข
สารบัญ
ค
บทที่ 1 บทนํา (CHAPTER1) 1.1 ที่มา หลักการและเหตุผลของโครงการศิลปนิพนธ
03
1.2 วัตถุประสงคของโครงการ
05
1.3 ผลที่คาดวาจะไดรับ
05
1.4 ขอบเขตของโครงการ
06
บทที่ 2 การศึกษาขอมูลพื้นที่ฐานของโครงการ (CHAPTER2) 2.1 วิเคราะหแบรนด
10
2.2 กลุมเปาหมาย
14
2.2 กิจกรรม
15
2.5 สถานที่ตั้งโครงการ
17
2.6 การวิเคราะหอาคาร
18
บทที่ 3 ทฤษฎี และ แนวคิดในการออกแบบ (CHAPTER3) 3.1 ทฤษฎี
21
3.2 แนวความคิด
22
3.3 ภาพประกอบในการออกแบบ
24
3.4 การศึกษาวัสดุ
25
บทที่ 4 ผลงานการออกแบบ (CHAPTER4) 4.1 แปลน
28
4.2 ทัศนียภาพ
31
4.3 แบรนด
41
บทที่ 5 กรณีศึกษา (CHAPTER5) 5.1 กรณีศึกษา
45
บรรณานุกรม
47
ค
CHAPTER 1 บทนํา
PROJECT BACKGROUND ในปจจุบันวงการดนตรีในดานของ KPOP TPOP ในรับความสนใจมากขึ้นในทุกป จนในป 2021 ไดเกิดบริษัท YG’’MM เปนบริษัทที่เกิดจากการรวมทุนกันของ YG Entertainment ของ เกาหลีกับ GMM Grammy ของไทยเพื่อผลิตศิลปนไอดอลระดับโลกในอนาคต ผูวิจัยจึงเล็งเห็น ถึงความสําคัญของความสนใจที่จะเปนศิลปน YG’’MM ACADEMY จึงเปนพื้นที่ที่เปดโอกาสใหเด็ก และบุคคลทัว่ ไปไดมาเรียนรูก ารเปนศิลปนไอดอลดวยหลักสูตรทีไ่ ดมาตรฐานและอยูภ ายใตการดูแล ของบริษัทหลัก YG’’MM ACADEMYคือสถาบันศึกษาที่มีหลักสูตรสอนการเปนศิลปนไอดอลอยางครบครัน ที่อยูภายใตการดูแลของYG’’MM เปนสถานที่ที่ใหโอกาสและรวบรวมกลุมคนที่มีความฝน สนใจ การเปนศิลปนไอดอลใหเขามาเรียนรูในหลักสูตรที่ไมมีสอนในโรงเรียนทั่วไป ทั้งการเตน การรอง ภาษา รวมถึงบุคคลิกภาพการเปนศิลปน อีกทั้งทางบริษัทสามารถคัดเลือกเด็กจากในสถาบัน และพัฒนาตอไปจนเปนศิลปนไดอก ี ดวย เปนสถานทีท ่ เี่ ปดโอกาสใหเด็กไดเรียนรูใ นสิง ่ ทีส ่ นใจและเขา ใกลความฝนของตนเอง
03
ที่มาและความสําคัญ
YG’’MM ACADEMY 1
General Public บุคคลทั่วไป
Academy
2
พืน ้ ทีท ่ ร่ี วบรวมกลุม คนทีส ่ นใจในการเรียนรูแ ละฝกฝน เปนศิลปนไอดอล
YG’’MM Entertainment
3
บริษท ั สามารถคัดเลือกเด็กจากในสถาบันและพัฒนา ตอไปเปนศิลปน
04
ที่มาและความสําคัญ
OBJECTIVES เพื่อออกแบบ Community สําหรับกลุมคนที่สนใจการเปนศิลปนนักรอง เพื่อออกแบบพื้นที่สงเสริมและผลักดันวงการศิลปนไอดอล เพื่อออกแบบพื้นที่เปนตัวกลางระหวางกลุมคนที่สนใจและบริษัทผูผลิต
EXPECTATIONS กลุมคนที่สนใจการเปนศิลปนมีแหลงศึกษาที่ตรงกับความตองการของตัวเอง กลุมคนที่สนใจการเปนศิลปนกลาที่จะเรียนรูและเปดโอกาสใหตัวเอง เกิดแหลงรวมตัวของกลุมที่สนใจการเปนศิลปนนักรอง
05
วัตถุประสงคและผลที่คาดวาจะไดรับ
AREAS OF STUDIES ศึกษา Branding และ Character ของบริษัท YG’’MM ศึกษารูปแบบการผลิตศิลปนของบริษัท YG’’MM ศึกษาวัฒนธรรมของดนตรีในแตละยุคสมัย ศึกษากิจกรรมที่มีในโครงการ ศึกษาการควบคุมเสียงและแสง ศึกษาพื้นที่โดยรอบโครงการ
06
ขอบเขตของโครงการ
CHAPTER 2
การศึกษาขอมูลพื้นฐานของโครงการ
BRANDING ANALYSIS
Audition Training Concept & Production Media Marketing Music Marketing Distribution Copyright
เนื่องจากปจจุบันบริษัท YG’’MM เปนบริษัทที่เพิ่งเปดตัว อยูในขั้นตอนของการสรางพื้นที่สําหรับผลิต ศิลปน ทําใหยังไมมีในสวนของ Concept & Production และแนวทางของสไตลดนตรี จึงทําการวิเคราะหตัว แบรนดจากขอมูล บทสัมภาษณ และการคิดวิเคราะหของผูจัดทําเอง
10
วิเคราะหแบรนด
“ ในการคัดเลือกเด็กฝก เราจะตองไดเพชร ใน อุตสาหกรรมดนตรีจะชอบพูดเรื่องหินกับเพชร หินขัดเทาไหรก็ยังเปนหิน แตเพชรเจียระไนก็ยัง เปนเพชรอยู หัวใจสําคัญอยูที่หาเพชรใหไดกอน ” ภาวิต จิตรกร ประธานเจาหนาที่บริหารสายธุรกิจ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จํากัด(มหาชน)
THE STANDARD
11
วิเคราะหแบรนด
THE STANDARD
“ สื่อถึงการเลือกที่ถูกตองวาตองการที่จะหาเพชร ฟอนโลโกมค ี วามสมมาตรกันสือ ่ ถึงความรวมกันของ ทั้งสองบริษัท และเพชรคือไมมีเพศและสะทอนสีออก มาไดหลากสีมาก สื่อถึงความUnisex หลายบุคลิก หลายอารมณ หลายสไตล” Danu Phumalee Visual Communication Design, College of Design Rangsit University
12
วิเคราะหแบรนด
DIVERSITY GENDER
STYLE
AGE
CULTURE
Diversity หมายถึง ความหลากหลาย ของทั้งเพศ สไตล อายุ วัฒนธรรม เปนความหลากหลายที่ สะทอนออกมาของเพชรที่หลากสีสันหลากมุมมอง
13
วิเคราะหแบรนด
TARGET GROUP
กลุม ผูส นใจในการเรียนรูแ ละฝกฝนเพือ ่ เปนศิลปนไอดอล
กลุม ผูส นใจในการออกกําลังกาย
ดวยการเตน
14
กลุมเปาหมาย
กลุมผูที่สนใจในการเรียนรูและฝกฝน เพื่อการแขงขัน
PROGRAMMING
Dance
Singing
Acting&Model
K-pop
Language Thai English Korean
Street Dance Funk Hip Hop Jazz Popping B-Boy Locking Contemporary
15
กิจกรรม
Personality
ACTIVITIES COMMON Lobby Counter Staff Storage Toilet Elevator Locker Shower
LEARNING Dance Acting Model Personality Singing Music studio Language
SHOP
Studio
Souvenirs Cafe
16
กิจกรรม
LOCATION
เลขที่ 50 อาคาร จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส ถนน สุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขต วัฒนา กรุงเทพ 10110 มีทั้งหมด 43 ชั้น 49000 ตารางเมตร ชั้น 1,B1 และB2 ของตึก จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพลส เปนพื้นที่ Lobby และศูนยอาหารของตึก ติดตอ 0-2669-9000, 0-2669-9009 เว็บไซต http://www.gmmgrammy.com/ วันและเวลาทําการ อังคาร - ศุกร เวลา 10:00 - 20:00 น. เสาร - อาทิตย เวลา 09:00 - 20:00 น. หยุดทุกวันจันทร
17
สถานที่ตั้งโครงการ
SITE ANALYSIS
Midtown Asoke
GMM Grammy Place
7.00
1st
B1
3.50
B2
3.50
8.50
18
การวิเคราะหอาคาร
8.50
8.50
CHAPTER 3
ทฤษฎีและแนวคิดในการออกแบบ
THEORY cross culture music 1980S
TECHNOLOGY
MUSIC
FUTURISTIC
ในยุคสมัย 1980s เปนยุคที่อยูในชวงสงครามเย็น มีการแขงขันทางดานความเจริญกาวหนาของ เทคโนโลยี ใหความสนใจในเรื่องของอนาคตความลํ้ายุค ดูไดจากแนวภาพยนตในยุคสมัยนั้น ทําใหเปนยุค แรกที่เกิดเทคโนโลยีท่ีมีการนําดนตรีมาผสมผสานกัน เกิดเปนความหลากหลายของแนวดนตรีขึ้น โดยนิยามวาเปนสไตล POP คือดนตรีที่ไดรับความนิยมในสมัยนั้น
21
ทฤษฎี
DIAMOND DESIGN CONCEPT
DIAMOND เปนแนวคิดที่สื่อถึงแบรนดในเรื่องของความหลากหลาย สะทอนถึงตัวศิลปนที่มีการเปรียบเปรยวาเปนเพชรที่รอการเจียระไน สะทอนถึงความหลากหลายของสไตลเพลงในยุค 1980s
22
แนวความคิด
CYBERPUNK STYLE
Cyberpunk คือคํานิยามยุคสมัยที่เทคโนโลยีเติบโตสวนทางกับคุณภาพชีวิตของมนุษย เปนโลกยุค อนาคตที่ถูกนิยามเอาไวจากภาพยนตในป 1983s
23
แนวความคิด
MOOD AND TONE
MATERIALS 1.Aluminium 2.Stainless Steel 3.Stone 4.Bare Cement
24
ภาพประกอบในการออกแบบ
6.Solid Wood 7.Clear Glass 8.Fluted Glass 9.Leather
MATERIALS RESEARCH อลูมิเนียมเปนโลหะชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติที่โดด เดนและไดรบ ั ความนิยมในการนํามาใชงานเปนอยาง มาก เนื่องจากมีนํ้าหนักเบา เปนตัวนําความรอน ไดดแี ละมีความแข็งแกรงไมเปนสนิมไดงา ย ทีส ่ าํ คัญ คือ ราคาถูกมาก และหาซื้อไดไมยาก มีความยืด หยุนมากกวาสแตนเลส
สแตนเลสนั้นฉันมีคุณสมบัติและการใชงานเหมือน กันกับเหล็กทุกอยางแตวา มีคณ ุ สมบัตท ิ ส ี่ ามารถกัน สนิมได มีความแข็งแรงทนทานมากกวาอลูมิเนียม
25
การศึกษาวัสดุ
ผนังกั้นเสียง (หองซอมเตน) ผนังกออิฐฉาบปูนสองดาน ชองตรงกลาง ใสฉนวนใยหิน 50 มิลลิเมตร 2 ชั้น จะไดคา STC (คาประสิทธิภาพในการกั้นเสียง) 68-70 ทําใหภายในเสียงดัง ภายนอกสามารถนอน ได และภายในหองไมอึดอัดเกินไป
พื้น (หองซอมเตน) 1.ชั้นอีลาสโตเมอร รับแรงกระแทก (คุณสมบัติยืดหยุน นิ่ม ตานทานไฟ ตัวอยาง ยางธรรมชาติ ยางสังเคราะห) 2.ไมสามชั้นวางทํามุมฉากกัน 3.หุมดวยชั้นไมอัด 4.ปดทับดวยพื้นผิวไมเนื้อแข็งหรือไวนิล
26
การศึกษาวัสดุ
CHAPTER 4 ผลงานการออกแบบ
LAYOUT PLAN 1ST FLOOR FURNITURE LAYOUT PLAN
ENTRANCE
28
แปลน
LAYOUT PLAN B1 FLOOR FURNITURE LAYOUT PLAN
ENTRANCE
29
แปลน
LAYOUT PLAN
B2 FLOOR FURNITURE LAYOUT PLAN
ENTRANCE
30
แปลน
PERSPECTIVE LOBBY
31
ทัศนียภาพ
32
ทัศนียภาพ
PERSPECTIVE LOBBY
33
ทัศนียภาพ
PERSPECTIVE
SOUVENIRS
34
ทัศนียภาพ
PERSPECTIVE ACADEMY LOBBY
35
ทัศนียภาพ
36
ทัศนียภาพ
PERSPECTIVE WAITING AREA
37
ทัศนียภาพ
38
ทัศนียภาพ
PERSPECTIVE
DANCING ROOM
39
ทัศนียภาพ
BRANDING
MAIN LOGO
FONTS
ABCDEF
Raleway TOPIC
36pt
HEADLINE
24pt
INFORMATION
16pt
ACADEMY
GHIJKLMNO PQ R STUVWXYZ 123456789
Sukhumvit
COLOR
TOPIC
36pt
HEADLINE
24pt
INFORMATION
16pt
กขฃคฅฆงจฉชซ ฌญฎฏฐฑฒณดตถท
ธนบปผฝพฟภมรลวศษสทฬ อฮ123456789
PANTONE
PANTONE
PANTONE
976DAF R : 151 G : 109 B : 175
3E5F9B R : 62 G : 95 B : 155
5CC7D0 R : 92 G : 199 B : 208
41
แบรนด
42
แบรนด
CHAPTER 5 กรณีศึกษา
CASE STUDIES
XACADEMY - Under YGX company - It originated from people who viewed the company's standards as too high. - There are 3 classes: Y G X - The CEO and choreographer will personally evaluate the audition.
45
กรณีศึกษา
Minizize
- Children's dance practice room - 2 layers thick wall
46
กรณีศึกษา
บรรณานุกรม การรวมทุนของ YG และ GMM, จาก https://thestandard.co/ygmm-aims-to-make-boy-band-and-girl-group-debut-within-5-years/ บทสัมภาษณคุณเตอ, จาก https://www.youtube.com/watch?v=61-kSMpxNWI ยุคสมัย 1980s, จาก https://www.history.com/topics/1980s/1980s ผนังกั้นเสียง, จาก https://www.youtube.com/watch?v=j8IIEgZv7yM&list=PL25NKKirIrO9GhEX8cD4lxCoamHQEXgYe&index=26&t=558s Cyberpunk, จาก https://www.makeuseof.com/tag/give-room-cyberpunk-deCyberpunk, จาก https://www.nextwider.com/cyberpunk/ Cyberpunk, จาก https://decoratorist.com/tron-legacy-interiors/ ขอมูลอลูมีเนียม, จาก https://www.alphabetassociate.com/ALUMINIUM_Und_ขอมูลสแตนเลส, จาก https://www.reviewsth.com/stainlesssteel/ ขอมูลพื้นหองซอมเตน, จาก https://www.wikihow.com/Build-a-Dance-Floor X ACADEMY, จาก https://www.soompi.com/article/1243435wpp/yg-entertainments-x-academy-reveals-photos-details-class-structure Minizize, จาก https://www.youtube.com/watch?v=jnGJ0-0aKOY
47
บรรณานุกรม
บทสรุป การออกแบบ YG’’MM ACADEMY เพื่อเปนสถานที่ที่รวบรวมกลุมคนที่มีความฝนและ ความหลากหลายในการเปนศิลปนไอดอลใหเขามาเรียนรูในหลักสูตรที่ไมมีสอนในโรงเรียนทั่วไป ทั้งการเตน การรอง ภาษา รวมถึงบุคคลิกภาพการเปนศิลปน อีกทั้งทางบริษัทสามารถคัด เลือกเด็กจากในสถาบันและพัฒนาตอไปจนเปนศิลปนไดอีกดวย เปนสถานที่ที่เปดโอกาสใหเด็ก ไดเรียนรูในสิ่งที่สนใจและเขาใกลความฝนของตนเอง ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาแบรนดและนํามาวิเคราะหถึงสไตล ตัวตนของแบรนดรวม ไปถึงศึกษาสไตลแนวดนตรีในยุคสมัยที่มีความหลากหลายและมีความเหมาะสมกับแบรนด เพื่อ นํามาออกแบบใหมีความนาสนใจ แตยังคงเอกลักษณและความเปนแบรนด YG’’MM ไวอยู
ขอเสนอแนะ ควรจะแสดงความเปนสไตล Cyberpunk ใหชัดเจนมากขึ้น ทั้งองคประกอบและโทนสีี
48
บทสรุปและขอเสนอแนะ
ประวัติผูวิจัย ชื่อ-สกุล
: นายปณณวิชญ เนื้อทอง
รหัสนักศึกษา
: 6104629
การศึกษา
: นักศึกษาชั้นปที่ 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต
ปการศึกษา
: 2561-2565
การติดตอ
: 062-7302020 nuathong2543@gmail.com
49
ประวัติผูวิจัย