Patcharaporn Lapho

Page 1

PROJECT

THESIS

STADIUM FITNESS CENTER

โครงการออกแบบศูนย์สุขภาพรูปแบบใหม่ เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย

FITNESS CENTER



โครงการศิ ล ปนิ พ นธ์ วิ ท ยาลั ย การออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต

ชื ่ อ โครงการ

:

โครงการออกแบบศู น ย์ ส ุ ข ภาพรู ป แบบใหม่ เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม การออกกำลั ง กาย

ประเภทโครงการศิ ล ปนิ พ นธ์

:

ที ่ ป รึ ก ษาโครงการศิ ล ปนิ พ นธ์

ผู ้ ด ำเนิ น โครงการ

ประเภทงานออกแบบภายใน

:

:

อาจารย์ ก าลั ญ ญู สิ ป ิ ย ารั ก ษ์

นางสาว พั ช รพร ลาโพธิ ์ รหั ส 6002783 นั ก ศึ ก ษาชั ้ น ปี ท ี ่ 4สาขาออกแบบภายใน วิ ท ยาลั ย การออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต


APPROVAL SHEET - กรรมการอนุ ม ั ต ิ -

สาขาวิ ช าออกแบบภายใน วิ ท ยาลั ย การออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต อนุ ม ั ต ิ ใ ห้ น ั บ ศิ ล ปนิ พ นธ์ ฉ บั บ นี ้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าออกแบบภายใน

........................................ คณบดี ค ณะวิ ท ยาลั ย การออกแบบ (รศ.พิ ศ ประไพ สาระศาลิ น )


คณะกรรมการศิ ล ปนิ พ นธ์

......................................... ประธานกรรมการ (อาจารย์ ว ริ ศ น์ สิ น สื บ ผล)

......................................... กรรมการ (อาจารย์ ถวั ล ย์ วงษ์ ส วรรค์ )

......................................... กรรมการ (อาจารย์ อ รรถกฤษ์ อุ ท ั ย กาญจน์ )

........................................ กรรมการ (อาจารย์ บ ั ณ ฑิ ต เนี ย มทรั พ ย์ )

........................................ กรรมการ (อาจารย์ เ รวั ฒ น์ ชำนาญ)

........................................ กรรมการ (อาจารย์ ณ ั ฐ พงศ์ ศรี ป ุ ง วิ ว ั ฒ น์ )

........................................ กรรมการ (อาจารย์ ก าลั ญ ญู สิ ป ิ ย ารั ก ษ์ )

........................................ กรรมการ (อาจารย์ ไ พลิ น โภคทวี )

อาจารย์ ท ี ่ ป รึ ก ษาศิ ล ปนิ พ นธ์ ........................................ (อาจารย์ ก าลั ญ ญู สิ ป ิ ย ารั ก ษ์ )


New health center design project to promote the exercise In the present, human lifestyles have been found to have changed dramatically in terms of economy, society, and technology, all resulting in health behaviors in various fields. changes, including neglect of exercise and lack of movement in the nature of daily exercise As a result, various health problems followed. You can see that more and more people are starting to pay attention to body shape and healthy eating. changing one's own body shape But at the same time, the problem is that there is no time to exercise. inhospitable place I feel like exercising is boring. And modern fitness is too expensive cost. As a result, people turn to exercise less. Therefore proposed a project to design a new health center to promote exercise. Add new types of activities that are more interesting and more accessible to people than before.


ABSTRACT - บทคั ด ย อ ปั จ จุ บ ั น การดำเนิ น ชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย์ พ บว่ า มี ว ิ ถ ี ช ี ว ิ ต ที ่ เ ปลี ่ ย นแปลงไปอย่ า งมาก ทั ้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม เทคโนโลยี ล้ ว นส่ ง ผลให้ พ ฤติ ก รรมสุ ข ภาพในด้ า นต่ า งๆ เปลี ่ ย นแปลงไปจากเดิ ม รวมถึ ง ละเลยการออกกำลั ง กายและขาดการเคลื ่ อ นไหวในลั ก ษณะ ของการออกกำลั ง กายประจำวั น จึ ง ทำให้ เ กิ ด ปั ญ หาสุ ข ภาพด้ า นต่ า งๆตามมา

จะเห็ น ว่ า ผู ้ ค นจำนวนมากเริ ่ ม ให้ ค วามสนใจกั บ รู ป ร่ า งและการรั บ ประทานอาหาร เพื ่ อ สุ ข ภาพ การเปลี ่ ย นแปลงรู ป ร่ า งของตั ว เอง แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น ก็ ต ิ ด ปั ญ หาตรงที ่ ไม่ ม ี เ วลาที ่ จ ะออกกำลั ง กาย สถานที ่ ไ ม่ เ อื ้ อ อำนวย รู ้ ส ึ ก ว่ า การออกกำลั ง กายนั ้ น น่ า เบื ่ อ และฟิ ต เนสที ่ ท ั น สมั ย ก็ ม ี ร าคาแพงเกิ น ไป ส่ ง ผลให้ ค นหั น มาออกกำลั ง กายน้ อ ยลง

จึงเสนอ โครงการออกแบบศูนย์สุขภาพรูปแบบใหม่เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย เพิ ่ ม กิ จ กรรมรู ป แบบใหม่ ใ ห้ น ่ า สนใจมากขึ ้ น และทำให้ ผ ู ้ ค นเข้ า ถึ ง ได้ ง ่ า ยมากกว่ า เดิ ม


ACKNOWLEDGEMENTS


ACKNOWLEDGEMENTS - กิ ต ติ ก รรมประกาศ ผลงานศิ ล ปนิ พ นธ์ โ ครงการออกแบบศู น ย์ ส ุ ข ภาพรู ป แบบใหม่ เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม การออกกำลั ง กาย นั ้ น สํ า เร็ จ ได้ ด ้ ว ย ด้ ว ยความช่ ว ยเหลื อ และชี ้ แ นะจากอาจารย์ ท ี ่ ป รึ ก ษาโครงการ อาจารย์ ก าลั ญ ญู สิ ป ิ ย ารั ก ษ ษ์ ที ่ ค อยให้ ค ำปรึ ก ษาตั ้ ง แต่ ก ่ อ นเลื อ กหั ว ข้ อ ศิ ล ปนิ พ นท์ จนถึ ง วั น นี ้ ข ้ า พเจ้ า ได้ เ ขี ย นกิ ต ติ ก รรมประกาศนี ้ ขอบคุ ณ ที ่ ไ ม่ เ คยปิ ด กั ้ น ความคิ ด และคอยประคองความคิ ด ไม่ ใ ห้ อ อกนอกลู ่ น อกทาง และคอยให้ ก ำลั ง ใจข้ า พเจ้ า มาโดย ตลอด จึ ง ขอขอบพระคุ ณ ใว้ ใ น ณ ที ่ น ี ้ ด ้ ว ย

ขอขอบคุ ณ คณะอาจารย์ ส าขาวิ ช าออกแบบภายใน วิ ท ยาลั ย กาsออกแบบทุ ก ท่ า นที ่ ค อยบอก คอยสอน ให้ ค ำแนะนำ และข้ อ คิ ด ต่ า งๆ ทั ้ ง คำติ แ ละคำชมแก่ ข ้ า พเจ้ า มาโดยตลอดตั ้ ง แต่ อ ยู ่ ช ั ้ น ปี ท ี ่ 1 ขอบคุ ณ อาจาร์ โ ต้ ง ที ่ เ ข้ า ใจและเชื ่ อ มั ่ น ในตั ว ของข้ า พเจ้ า จากคนที ่ ไ ม่ ม ี พ ื ้ น ฐานใดๆ ในด้ า นสาขาวิ ช านี ้ เ ลย จนส่ ง ผลให้ ข้ า พเจ้ า มี ค วามเชื ่ อ ในตั ว เอง ว่ า จะสามารถศึ ก ษาในวิ ช าชี พ นี ้ ต ่ อ ไปได้ ซึ ่ ง เป็ น อี ก หนึ ่ ง แรงผลั ก ดั น ของข้ า พเจ้ า ขอบคุ ณ อาจารย์ แ ทนที ่ ใ ห้ ค ำปรึ ก ษาเป็ น ห่ ว งและคอยถามตลอดว่ า ข้ า พเจ้ า เป็ น ยั ง ไงบ้ า ง ไหวไหม เป็ น อี ก หนึ ่ ง กำลั ง ใจที ่ ด ี เ ป็ น อย่ า งมาก ขอบคุ ณ อาจารน์ โ ป้ ง อาจารย์ ท ี ่ ป รึ ก ษาประจำวิ ช า Design 3 ที ่ ค อยให้ ค ำปรึ ก ษาใน วิ ช าเรี ย นและแนะนำสิ ่ ง ต่ า งๆที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ งานที ่ ท ํ า เพื ่ อ ประโยชน์ ใ นผลงานแก่ ข ้ า พเจ้ า มาโดยตลอดและอยาก ขอบคุ ณ อาจารย์ ท ุ ก ๆท่ า นที ่ ข ้ า พเจ้ า ไม่ ไ ด้ เ อ่ ย นามในที ่ น ี ้ ด ้ ว ยทุ ก ท่ า นมี ส ่ ว นร่ ว มในการช่ ว ยเหลื อ ข้ า พเจ้ า จน ผลงานศิ ล ปนิ พ นธ์ ส ำเร็ จ ลุ ล ่ ว งไปได้ ด ้ ว ยดี

ขอขอบคุ ณ ทางมหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต และสถาบั น กี ฬ า มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ที ่ เ ห็ น ศั ก ยภาพในการ เป็ น นั ก กี ฬ าและได้ ใ ห้ ท ุ น การศึ ก ษาและให้ โ อกาสข้ า พเจ้ า ได้ เ รี ย นสาขาวิ ช าออกแบบภายใน วิ ท ยาลั ย กาsออกแบบ ที ่ ข ้ า พเจ้ า อยากเรี ย น ตั ้ ง แต่ ข ้ า พเจ้ า ศึ ก ษาอยู ่ ใ นชั ้ น ปี ท ี ่ 1 จนถึ ง ปี ท ี ่ 4

ขอขอบคุ ณ ทุ ก คนในครอบครั ว ไม่ ว ่ า จะเป็ น คุ ณ แม่ คุ ณ ตา คุ ณ ยาย และญาติ ๆ ที ่ ค อยสนั บ สนุ น ทุ น ทรั พ ย์ ใ นการเรี ย น ตลอดจนช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น ในการเรี ย นและให้ ก ำลั ง ใจข้ า พเจ้ า เสมอมา

ขอขอบคุ ณ เพื ่ อ นๆ พี ่ ๆ น้ อ งๆ ทุ ก คนที ่ ไ ม่ ไ ด้ เ อ่ ย นามในที ่ น ี ้ ม ี ส ่ ว นร่ ว มใจการช่ ว ยเหลื อ และให้ กำลั ง ใจกั น จนสำเร็ จ ลุ ล ่ ว งไปได้ ด ้ ว ยดี ขอขอบพระคุ ณ มา ณ โอกาสนี ้

และสุ ด ท้ า ยขอบคุ ณ ตั ว เองที ่ พ ยายามและอดทนทำศิ ล ปนิ พ นธ์ จ นสำเร็ จ

ขอบคุ ณ ค่ ะ พั ช รพร ลาโพธิ ์


TABLE OF CONTENTS


TABLE OF CONTENTS - สารบั ญ CHAPTERS

PAGE

ABSTRACT

ACKNOWLEDGEMENTS

TABLE OF CONTENTS

LIST OF ILLUSTRATIONS

(บทคั ด ย่ อ )

(กิ ต ติ ก รรมประกาศ)

(สารบั ญ )

(สารบั ญ ภาพ)

CHAPTER 1

00

CHAPTER 2

00

CHAPTER 3

00

CHAPTER 4

00

CHAPTER 5

00

บรรณานุ ก รม

00

ภาคผนวก

00

ประวั ต ิ

00

(บทนำ)

(ข้ อ มู ล พื ้ น ฐานและรายละเอี ย ดประกอบโครงการ)

(หลั ก การ ทฤษฎี แนวคิ ด ที ่ ศ ึ ก ษา)

(ผลงานการออกแบบ)

(บทสรุ ป )



CHAPTER CHAPTER CHAPTER CHAPTER

1 1 1 1


PROJECT BACKGROUND ที ่ ม าและความสำคั ญ

ปั จ จุ บ ั น การดำเนิ น ชี ว ิ ต ของมนุ ษ ย์ พ บว่ า มี ว ิ ถ ี ช ี ว ิ ต ที ่ เ ปลี ่ ย นแปลงไปอย่ า งมาก ทั ้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม เทคโนโลยี ล้ ว นส่ ง ผลให้ พ ฤติ ก รรสุ ข ภาพในด้ า น ต่ า งๆเปลี ่ ย นแปลงไปจากเดิ ม รวมถึ ง ละเลยการออกกำลั ง กายและขาดการ เคลื ่ อ นไหวในลั ก ษณะของการออกกำลั ง กายประจำวั น จึ ง ทำให้ เ กิ ด ปั ญ หา สุ ข ภาพด้ า นต่ า งๆตามมา

จะเห็ น ว่ า ผู ้ ค นจำนวนมากเริ ่ ม ให้ ค วามสนใจกั บ รู ป ร่ า งและการรั บ ประทานอาหาร เพื ่ อ สุ ข ภาพ การเปลี ่ ย นแปลงรู ป ร่ า งของตั ว เอง แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น ก็ ต ิ ด ปั ญ หา ตรงที ่ ไ ม่ ม ี เ วลาที ่ จ ะออกกำลั ง กาย สถานที ่ ไ ม่ เ อื ้ อ อำนวย รู ้ ส ึ ก ว่ า การออกกำลั ง กายนั ้ น น่ า เบื ่ อ และฟิ ต เนสที ่ ท ั น สมั ย ก็ ม ี ร าคาแพงเกิ น ไป ส่ ง ผลให้ ค นหั น มาออก กำลั ง กายน้ อ ยลง จึ ง เสนอ โครงการออกแบบศู น ย์ ส ุ ข ภาพรู ป แบบใหม่ เ พื ่ อ ส่ ง เสริ ม การออกกำลั ง กาย เพิ ่ ม กิ จ กรรมใหม่ ๆ ให้ น ่ า สนใจมากขึ ้ น และทำให้ ผ ู ้ ค นเข้ า ถึ ง ได้ ง ่ า ยมากกว่ า เดิ ม


OBJECTIVES - เพื ่ อ พั ฒ นาสถานที ่ ใ ห้ ค นเข้ า ถึ ง มากขึ ้ น - เพื ่ อ ให้ ค นสนใจการออกกำลั ง กายมากขึ ้ น - เพื ่ อ เป็ น สถานที ่ ใ ห้ เ หล่ า คนที ่ ช อบออกกำลั ง กายได้ ม ารวมตั ว กั น - เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม พฤติ ก รรมการออกกำลั ง กายในกลุ ่ ม วั ย รุ ่ น และวั ย ทำงาน

EXPECTATIONS - ออกแบบพื ้ น ที ่ เ พื ่ อ ดึ ง ดู ด ให้ ค นสนใจการออกกำลั ง กายมากขึ ้ น - ออกแบบพื ้ น ที ่ ใ ห้ ค นที ่ ง บน้ อ ยมี ท างเลื อ กในการดู แ ลสุ ข ภาพ - เพื ่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของคนที ่ ม าออกกำลั ง กาย - ออกแบบแสง สี เสี ย ง

AREAS OF STUDIES - ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการ - ศึ ก ษาเรื ่ อ งการไม่ อ อกกำลั ง กายของคนไทย - ศึ ก ษารู ป แบบการจั ด พื ้ น ที ่ ส ำหรั บ คนที ่ ต ้ อ งการฟิ ต เนสแบบเข้ า ถึ ง ง่ า ย - ศึ ก ษารู ป แบบการออกกำลั ง กายแบบและ Dimension ของอุ ป กรณ์ อ อกกำลั ง กายต่ า งๆ



CHAPTER CHAPTER CHAPTER CHAPTER

2 2 2 2


ไม่ออกกำลังกายส่งผล ‘ร้าย’ มากกว่าสูบบุหรี่ วารสารการแพทย์ JAMA ของสหรัฐอเมริกาเผยว่า คนที่ไม่ออกกำลัง กายอาจเสี่ยงกับการมีปัญหาด้านสุขภาพมากกว่าคนสูบบุหรี่ การ ศึกษาดังกล่าวดำเนินการโดยคลีฟแลนด์คลินิก (Cleveland Clinic) ซึ่งเป็นโรงพยาบาลที่ใหญ่ที่สุดของเมืองคลีฟแลนด์ ได้ศึกษาคนไข้ จำนวน 122,007 คนตั้งแต่ปี 1991-2014 โดยให้พวกเขาวิ่งบนลู่วิ่ง และบันทึกอัตราการเสียชีวิตหลังจากนั้น นักวิจัยได้ค้นพบความเชื่อมโยงที่ชัดเจนระหว่างการมีอายุยืน การมี สุขภาพดี และการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ กล่าวคือ ผู้ที่มีความ ฟิตของร่างกาย หรือร่างกายสามารถนำออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อ และส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะทำให้คนๆ นั้น เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องแคล่ว ไม่ติดขัด และไม่อ่อนล้าง่าย ซึ่งส่งผล ให้มีความเสี่ยงในการเสียชีวิตลดลงโดยเฉพาะในคนไข้สูงวัยและผู้ที่มี ภาวะความดันโลหิตสูง “ผู้ที่มีร่างกายไม่ฟิตหรือไม่ชอบออกกำลังกายจะเสี่ยงมีโรคภัย รวมไป ถึงเสี่ยงเสียชีวิตเร็วขึ้น ซึ่งเร็วกว่าผู้ที่ภาวะความดันโลหิตสูง ผู้ป่วย เป็นเบาหวาน และคนสูบบุหรี่” ดร.วาเอล จาเบอร์ กล่าวกับสำนักข่าว ซีเอ็นเอ็น “นับเป็นผลลัพธ์ที่น่าประหลาดใจมาก เนื่องจากเราไม่เคย เห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจนขนาดนี้มาก่อน” นอกจากนี้ การทดลองดังกล่าวยังพบด้วยว่า ผู้ที่ออกกำลังกายหนัก ไม่เสี่ยงกับการเสียชีวิต ในทางตรงกันข้ามผู้ที่ออกกำลังกายอย่าง สม่ำเสมอจะช่วยลดความเสี่ยงเสียชีวิตได้


เหตุผลทำไมคนจึงไม่ออกกำลังกาย - ขี้เกียจ - ไม่มีเวลา - ไม่มีวินัย - ไม่มีทักษะ - ขาดแรงจูงใจ - มีปัญหาการบาดเจ็บ - ฟิตเนสมีราคาแพงเกินไป

เหตุผลทำไมคนจึงออกกำลังกาย - สร้างสุขภาพที่ดีขึ้น - เพื่อความสนุกสนาน - เพื่อเข้าสังคมกับคนอื่น - ลดและคลายความเครียด - เพื่อควบคุมน้ำหนักหรือลดความอ้วน


How to exercise for good health ?


ออกกำลั ง กาย คื อ การทำกิ จ กรรมที ่ ไ ด้ อ อกแรงหรื อ เคลื ่ อ นไหวร่ า งกายซึ ่ ง มี หลากหลายรู ป แบบ การออกกำลั ง กายอย่ า งสม่ ำ เสมอก่ อ ให้ เ กิ ด ผลดี ต ่ อ สุ ข ภาพ โดยช่ ว ยจั ด ระเบี ย บร่ า งกายและควบคุ ม อารมณ์ ไ ด้ เ ป็ น อย่ า งดี รวมทั ้ ง เสริ ม สร้ า งสมรรถภาพร่ า งกายด้ า นต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ ความทนทาน ความแข็ ง แรง การทรงตั ว และความยื ด หยุ ่ น ดั ง นี ้ - ความทนทาน (Endurance) ช่ ว ยให้ ห ั ว ใจแข็ ง แรง เพื ่ อ ร่ า งกายจะได้ ล ำเลี ย ง ออกซิ เ จนไปเลี ้ ย งเซลล์ ต ่ า ง ๆ ดี ข ึ ้ น และไม่ เ หนื ่ อ ยง่ า ยเมื ่ อ ทำกิ จ กรรมหนั ก ๆ - ความแข็ ง แรง (Strenght) ช่ ว ยให้ แ บกของหนั ก ออกแรง รวมทั ้ ง ทำกิ จ กรรม ต่ า ง ๆ ที ่ ต ้ อ งใช้ ก ล้ า มเนื ้ อ ได้ ด ี ข ึ ้ น - การทรงตั ว (Balance) ช่ ว ยให้ ท รงตั ว รวมทั ้ ง เคลื ่ อ นไหวร่ า งกายโดยไม่ ห กล้ ม ได้ ง ่ า ย - ความยื ด หยุ ่ น (Flexibility) ช่ ว ยให้ ย ื ด ตั ว เอี ้ ย วตั ว หรื อ เคลื ่ อ นไหวร่ า งกาย ได้ ง ่ า ยขึ ้ น

ประเภทการออกกำลั ง กายมี อ ะไรบ้ า ง ?

การออกกำลั ง กายมี ห ลายรู ป แบบ ผู ้ ค นมั ก เลื อ กออกกำลั ง กายเฉพาะที ่ ต นเอง สนใจ ซึ ่ ง การออกกำลั ง กายให้ ค รบทุ ก รู ป แบบจะช่ ว ยเสริ ม สร้ า งสมรรถภาพ ร่ า งกายทุ ก ด้ า นให้ ด ี ข ึ ้ น โดยการออกกำลั ง กายแบ่ ง ออกเป็ น 4 ประเภทหลั ก ได้ แ ก่ การออกกำลั ง กายแบบแอโรบิ ก การออกกำลั ง กายฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ การยื ด กล้ า มเนื ้ อ และการออกกำลั ง กายเสริ ม การทรงตั ว


การออกกำลั ง กายแบบแอโรบิ ก (Aerobic Exercise) การออกกำลั ง กายประเภทนี ้ ถ ื อ ว่ า สำคั ญ ต่ อ การทำงานของร่ า งกาย โดยช่ ว ยให้ อ ั ต ราการเต้ น ของหั ว ใจและการหายใจดี ข ึ ้ น ช่ ว ยขยายผนั ง หลอด เลื อ ด ลดความดั น โลหิ ต เผาผลาญไขมั น ส่ ว นเกิ น ในร่ า งกาย ลดระดั บ น้ ำ ตาลใน เลื อ ด ลดอาการอั ก เสบ และเพิ ่ ม ระดั บ ไขมั น ดี อ ย่ า งไรก็ ต าม การออกกำลั ง กาย แบบแอโรบิ ก ควรอยู ่ ใ นขอบเขตที ่ เ หมาะสม ไม่ ค วรหั ก โหมจนหายใจไม่ ท ั น เวี ย น ศี ร ษะ เจ็ บ หรื อ แน่ น หน้ า อก หรื อ รู ้ ส ึ ก แสบร้ อ นกลางทรวงอก ทั ้ ง นี ้ ควรอบอุ ่ น ร่ า งกายหรื อ คลายกล้ า มเนื ้ อ ทุ ก ครั ้ ง จิ บ น้ ำ ระหว่ า งออกกำลั ง กายให้ เ พี ย งพอ ส่ ว นผู ้ ท ี ่ ม ี ป ั ญ หาสุ ข ภาพบางอย่ า ง เช่ น ป่ ว ยเป็ น โรคหั ว ใจวาย หรื อ โรคไต ควร จำกั ด ปริ ม าณของเหลวตามแพทย์ ส ั ่ ง ไม่ ค วรดื ่ ม น้ ำ ขณะออกกำลั ง กายมากเกิ น ไป อี ก ทั ้ ง ควรแต่ ง ตั ว ให้ เ หมาะสมกั บ สภาพอากาศในกรณี ท ี ่ อ อกกำลั ง กลาง แจ้ ง และไม่ อ อกกำลั ง ในที ่ ท ี ่ อ ากาศหนาวหรื อ ร้ อ นเกิ น ไป เนื ่ อ งจากอาจเป็ น ลม แดด หากอากาศร้ อ นมาก หรื อ อุ ณ หภู ม ิ ร ่ า งกายลดต่ ำ ลงในกรณี ท ี ่ อ ากาศหนาว จั ด

การออกกำลั ง แบบฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ (Strenght Training) ร่ า งกายจะสู ญ เสี ย มวลกล้ า มเนื ้ อ ตามอายุ ท ี ่ ม ากขึ ้ น การออกกำลั ง ฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ จะช่ ว ยสร้ า งกล้ า มเนื ้ อ ที ่ ส ู ญ เสี ย ไปได้ โดยสามารถใช้ อ ุ ป กรณ์ ส ำหรั บ ฝึ ก กล้ า ม เนื ้ อ ยางยื ด สำหรั บ ออกกำลั ง กาย ทั ้ ง นี ้ ควรบริ ห ารกล้ า มเนื ้ อ มั ด ใหญ่ ส ั ป ดาห์ ละ 2 วั น หรื อ มากกว่ า นั ้ น และฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ ครั ้ ง ละประมาณ 30 นาที โดยห้ า ม ฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ กลุ ่ ม เดี ย วกั น ติ ด กั น 2 วั น การออกกำลั ง ชนิ ด นี ้ จ ะช่ ว ยให้ ก ล้ า ม เนื ้ อ แข็ ง แรง กระตุ ้ น การเจริ ญ เติ บ โตของกระดู ก ลดน้ ำ ตาลในเลื อ ด ช่ ว ยควบคุ ม น้ ำ หนั ก ช่ ว ยจั ด ท่ า ทางร่ า งกายและการทรงตั ว รวมทั ้ ง ลดอาการตึ ง หรื อ ปวด บริ เ วณหลั ง ส่ ว นล่ า งและข้ อ ต่ อ อย่ า งไรก็ ต าม การออกกำลั ง ฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ ควร คำนึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ต่ อ สุ ข ภาพเป็ น สำคั ญ


การยื ด เส้ น (Stretching) เมื ่ อ อายุ ม ากขึ ้ น อาจทำให้ ส ู ญ เสี ย ความยื ด หยุ ่ น ของกล้ า มเนื ้ อ และเส้ น เอ็ น ซึ ่ ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด อาการปวดกล้ า มเนื ้ อ หรื อ เป็ น ตะคริ ว กล้ า มเนื ้ อ ถู ก ทำลาย ตึ ง กล้ า มเนื ้ อ ปวดข้ อ ต่ อ หรื อ หกล้ ม ได้ การยื ด เหยี ย ดกล้ า มเนื ้ อ เป็ น ประจำจะช่ ว ย ให้ ก ล้ า มเนื ้ อ ยื ด หยุ ่ น มากขึ ้ น ส่ ง ผลให้ เ คลื ่ อ นไหวได้ ด ี แ ละลดอาการปวดหรื อ เสี ่ ย งได้ ร ั บ บาดเจ็ บ น้ อ ยลง การยื ด เส้ น ควรทำทุ ก วั น หรื อ อย่ า งน้ อ ยสั ป ดาห์ ล ะ 3-4 ครั ้ ง โดยยื ด เส้ น กล้ า มเนื ้ อ ช้ า ๆ พยายามยื ด ให้ ไ ด้ ม ากที ่ ส ุ ด ค้ า งไว้ 10-30 วิ น าที แล้ ว ค่ อ ยผ่ อ น หายใจ และทำซ้ ำ ทั ้ ง นี ้ ควรอบอุ ่ น ร่ า งกายยื ด เส้ น เพื ่ อ ให้ เลื อ ดและออกซิ เ จนไหลเวี ย นไปที ่ ก ล้ า มเนื ้ อ จากนั ้ น จึ ง เริ ่ ม บริ ห ารร่ า งกายด้ ว ย ท่ า ยื ด เส้ น ตามส่ ว นต่ า ง ๆ ของร่ า งกาย

การออกกำลั ง เสริ ม การทรงตั ว (Balance Exercise) ผู ้ ท ี ่ ม ี อ ายุ ม ากขึ ้ น จะสู ญ เสี ย ระบบที ่ ช ่ ว ยเรื ่ อ งการทรงตั ว ของร่ า งกาย ได้ แ ก่ การ มองเห็ น หู ช ั ้ น ใน หรื อ กล้ า มเนื ้ อ ขาและข้ อ ต่ อ การออกกำลั ง เสริ ม การทรงตั ว จะ ช่ ว ยให้ ร ่ า งกายทรงตั ว ได้ ด ี ข ึ ้ น อี ก ทั ้ ง ยั ง ป้ อ งกั น การหกล้ ม โดยทั ่ ว ไปแล้ ว การ ออกกำลั ง ชนิ ด นี ้ ท ำได้ บ ่ อ ยตามต้ อ งการ เนื ่ อ งจากการออกกำลั ง เสริ ม การ ทรงตั ว บางท่ า ก็ ร วมอยู ่ ใ นการฝึ ก กล้ า มเนื ้ อ ร่ า งกายส่ ว นล่ า งบางท่ า ด้ ว ย ทั ้ ง นี ้ การออกกำลั ง เสริ ม การทรงตั ว สามารถฝึ ก ได้ เ อง


01

WEIGHT TRAINING คือ การออกกำลังกายรูปแบบหนึ่ง โดยการให้กล้ามเนื้อ ส่วนต่างๆของร่างกาย เคลื่อนไหวออกแรงต้านหรือน้ำหนัก ในลักษณะซ้ำๆตามจำนวนครั้งที่กำหนดในแต่ละรอบหรือแต่ละ เซ็ตของการฝึก โดยกล้ามเนื้อมัดนั้นๆจะเกิดการหดตัวเพื่อ ออกแรงยกน้ำหนักในจังหวะ concentric และยืดตัวในจังหวะ ออกแรงต้านน้ำหนัก (eccentric) ช่วยเสริมความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อส่วนต่างๆทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ต่อกล้ามเนื้อในเรื่อง ของ strength,endurance,powerและ hypertrophy เป็นต้น.

SMITH MACHINE

WEIGHT BENCH

BENCH MULTI-FUNCTION

MULTI-STATION WEIGHT

MULTI-STATION WEIGHT BENCH

DUMBBELL RACK


DIMENSION

TREADMILL ลู่วิ่งไฟฟ้า

UPRIGHT BIKE จักรยานแบบตั้งตรง

ความสูง : 149.9 ซม

ความสูง : 150.9 ซม

ความกว้าง : 90.2 ซม

ความกว้าง : 63.2 ซม

ความยาว : 199.4 ซม

ความยาว : 110.7 ซม

ELLIPTICAL ไดรฟ์ด้านหลังรูปไข่

ELLIPTICAL STEPPER

ความสูง : 170.2 ซม

ความสูง : 188 ซม

ความกว้าง : 81.3 ซม

ความกว้าง : 74.9 ซม

ความยาว : 203.2 ซม

ความยาว : 148.6 ซม

SPIN BIKE จักรยานออกกำลังกาย

ROWING MACHIN เครื่องกรรเชียงบก

ความสูง : 144.5 ซม

ความสูง : 107.3 ซม. (เปิด) | 116.8 ซม. (ปิด)

ความกว้าง : 55.6 ซม

ความกว้าง : 55.9 ซม

ความยาว : 139.7 ซม

ความยาว : 219.7 ซม

ขนาดพื้นที่ในการวางเครื่องออกกำลังกาย - มีระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ไม่น้อยกว่า 60 ซม. และเว้นช่องทางเดินร่วมไม่น้อยกว่า 1.50 ม. - พื้นที่กิจกรรมการออกกำลังกายแบบกลุ่ม มีพื้นที่บริการไม่น้อยกว่า 4 ตารางเมตร ต่อคน


CIRCUIT TRAINING คือ การออกกำลังระหว่าง บอดี้เวทผสมกับคาร์ดิโอ จะเป็นการเอาท่าที่เป็นบอดี้เวท หลายๆท่ามารวมกัน ประมาณ 4 – 6 ท่า ถึงจะนับว่าเป็น 1 Circuit ซึ่งการออกกำลังกายแบบ Circuit Training จะทำให้เราได้ใช้ทุกสัดส่วนของร่างกาย เรียก ได้ว่าครบวงจร ทั้งได้ฝึกความแข็งแรงของกระดูกและกล้ามเนื้อ ได้ทุกส่วน ที่สำคัญยังกระตุ้นการทำการของหัวใจ และระบบการ ไหลเวียนของเลือดให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

การออกกำลังแบบ Circuit Training จึงเหมาะมากสำหรับผู้ที่ ต้องการเพิ่มความฟิตให้กับร่างกาย

“ ไม่มีลู่วิ่ง ไม่มีเครื่องออกกำลังกาย ออกแบบมาเพื่อการฝึก ความแข็งแกร่งความเร็ว ความคล่องตัว พละกำลังและอื่นๆ” “ ทำให้รู้สึกว่ากำลังเข้ามาเพื่อสัมผัสประสบการณ์ที่สนุกสนาน แต่ได้รับหนึ่งในการออกกำลังกายที่ดีที่สุด”

02


03 mountain crimbing

คือ การปีนหน้าผาจริงหรือหน้าผาจำลองตามแนว ไม่ว่าจะเป็นแนวสูงหรือแนวขวาง หลักๆ

ที่ปีนกันในเมืองไทย จะเป็นการปีนแบบ Sport Climbing คือมีการใช้เชือกและอุปกรณ์ ป้องกัน ตามเส้นทางที่กำหนดและมีการเจาะหน้าผาไว้ เพื่อให้สะดวกในการปีน คือการปีนผา แบบที่เรารู้จักกัน ปีนแบบเป็นเส้นเชือก ขึ้นไปสูงๆประมาณ 8-15 เมตร โดยจะต้องมีผู้ปีน (climber) และผู้จับเชือกดูแลผู้ปีน (Belayer) เวลาปีนให้ถูกต้อง จะต้องปีนไปตามสีที่กำหนดและใช้ทักษะในการปีนขึ้นไปให้จบเส้น ทางโดยไม่ตก โดยจะมีอุปกรณ์ความปลอดภัยคือต้องสวม harness และรัดเชือกเข้ากับ harness ทุกครั้ง


04 pilates คือ รูปแบบการออกกำลังกายที่จะช่วยเสริมสร้าความแข็งแรงของโครงสร้างภายในร่างกาย รวมทั้งท่วงท่าและเป็นการออกกำลังกายเพื่อสร้างความฟิตด้วย เป็นรูปแบบของออก กำลังกายที่จะช่วยทำให้กล้ามเนื้อของคุณสมบูรณ์แข็งแรงและป้องกันอาการบาดเจ็บ ด้วย



05 YOGA FLY

โยคะฟลายเป็นโยคะประเภทแรงโน้มถ่วง และเป็นการออกกำลังกาย ที่นำโยคะดั้งเดิมมาผสมผสาน อยู่ด้วยกัน 5 ศาสตร์ ได้แก่ - Yoga (โยคะ) - Pilates (พิลาทีส) - Dance (การเต้น) - Calisthenics (การออกกำลังกายที่เน้นการสร้างความแข็งแรงและสร้างสัดส่วนที่สวยงาม หรือการเพาะกาย) - Aerial Art (การแสดงที่เหมือนลอยอยู่กลางอากาศ) อุปกรณ์ที่ใช้ในการเล่น คือ ผ้าแฮมมอค (Hammock) ท่าของโยคะฟลาย นอกจากจะท้าทายและห้อยโหนกลางอากาศแล้ว แถมยังมีประโยชน์อีกด้วยนะ - ช่วยทำให้ระบบย่อยอาหารดีขึ้น - ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง - ทำให้ร่างกายเผาผลาญได้ดี - จากการฝึกท่าห้อยหัว จะทำให้ดูดีอ่อนวัย


การติดเปลผ้าโยคะ ความสูงจากพื้นถึงเพดาน (หรือคาน) ควรมีความสูงอย่างน้อย 3 เมตร เพื่อ ที่จะรองรับความสูงของตัวผ้าหลังติดตั้งด้วย ควรติดเปลผ้าให้ห่างจากผนังห้องอย่างน้อย 1.8 เมตร เพราะเวลาเราเล่นโยคะฟลาย จะเล่นได้ อย่างไม่ติดขัด และไม่ต้องคอยกังวลว่าจะเล่นแล้วชนกับผนังห้อง หากติดเปลผ้าโยคะ 2 ชุดในแถวเดียวกัน ควรเว้นระยะห่างอย่างน้อย 3 เมตรค่ะ เพื่อให้ผู้เล่นยืด เหยียดได้เต็มที่และไม่ชนกับผู้เล่นที่เล่นอยู่ใกล้ๆกัน การติดเปลผ้าโยคะ 1 ผืน ต้องติด 2 จุด ไม่ว่าจะติดกับเพดานหรือคาน ต้องเว้นช่วงให้ห่างกัน ประมาณ 32 นิ้วค่ะ หากแคบหรือกว้างเกินไปจะส่งผลต่อการเล่นโยคะฟลายได้ไม่สะดวกเท่าที่ควร


YOGA

06

คือ การรวมกาย จิต และวิญญาณ ให้เป็นหนึ่งเดียว การฝึกโยคะ เป็นกระบวนการสำหรับฝึกกาย ฝึกการหายใจ และฝึกจิตให้มีความ จดจ่อกับเรื่องลมหายใจเข้าออก อันจะนำไปสู่การมีสมาธิที่ดีขึ้น ใน แง่ปฏิบัติต้องรวมสามอย่างเข้าด้วยกัน คือ การเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ การประสานลมหายใจเข้าออกกับการเคลื่อนไหว และมีจิตสงบนิ่งใน ขณะที่เคลื่อนไหว

ขนาดแผ่นโยคะ


07 SLEEP POD คือ เตียงนอนที่มีที่ปิดครอบหน้า เปิดเพลงไพเราะ เบาๆ คลอเคลียให้เราหลับไหลในท่ามกลางความวุ่นวาย ระหว่างวัน เตียงนอนปรับระดับการเอนได้ เลือกเพลง ได้ ทำให้รู้สึกเคลิ้มและผ่อนคลายขึ้น


STUDIO CYCLING

08

คือ การออกกำลังกายแบบปั่นจักรยานในร่มเป็นกลุ่ม จะได้สนุกไปกับดนตรีจังหวะมันๆ และนำการออกกำลัง กายโดยครูฝึก เริ่มด้วยการปั่นเร็วๆ และค่อยๆช้า สลับ ขึ้นเนินเป็นระยะ และปั่นเร็วขึ้น

SPIN BIKE ความสูง : 144.5 ซม ความกว้าง : 55.6 ซม ความยาว : 139.7 ซม


09

CADIO DANCE


CADIO BOXING

10

คือ การผสมผสานการชกมวยสากลกับมวยไทยเข้าด้วยกัน แต่มีการเพิ่ม ความสนุกสนานในการฝึกกับ Personal Trainer ทำให้การเตะ การต่อย เป็น เรื่องสนุก ตื่นเต้น และใครๆก็ฝึกได้ โดยเน้นไปที่การทำงานของระบบหัวใจ และหลอดเลือด และเป็นการเพิ่มความแข็งแรงของระบบกล้ามเนื้อเป็นหลัก การออกกำลังกายแบบนี้จะช่วยให้คุณเห็นผลในระยะเวลาอันสั้น ทำไมต้องออกกำลังกาย Cardio Boxing เพราะ การต่อยมวยสิ่งแรกที่ได้คือ ความสนุก คลายเครียดจากการทำงาน ส่วนเหงื่อที่ออกมาจะทำให้มีการเผาผลาญไขมันและใช้พลังงานที่สะสมอยู่ใน ร่างกาย ออกมาใช้โดยที่คุณไม่รู้ตัว ซึ่งเมื่อเทียบกับการออกกำลังแบบอื่นๆ ในระยะเวลาที่เท่ากัน


11

PHYSICAL ROOM

เป็นห้องที่ีไว้รองรับคนที่เกิดอาการบาดเจ็บขณะออกกำลังกาย หรือคนที่ ต้องการยืดคลายกล้ามเนื้อ เนื่องจากมีนักกายภาพบำบัดคอยให้คำแนะนำ และดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด


12

RUNNING TRACK

CASE STUDY Narita Airport Wayfinding System โดย Nikken Sekkei บริษัท สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น นิกเก้นเสกเค แก้ปัญหาการหาทางออกที่ชาญฉลาดนี้สำหรับนักเดินทาง สายการบินราคาประหยัดที่สนามบินโตเกียวนาริตะ “ งบประมาณสำหรับอาคารผู้โดยสารแห่งนี้อยู่ที่ประมาณครึ่งหนึ่งของจำนวนเงินปกติ เพื่อลดค่าใช้ จ่าย พวกเขาเลือกที่จะไม่ติดตั้งทางเดินเคลื่อนที่ทั่วไปหรือป้ายไฟส่องสว่าง โซลูชันของพวกเขาใช้ งานง่าย (และสนุก!) มากกว่าสนามบินอื่น ๆ ที่เราเคยเห็น และเห็นได้ชัดว่าลู่วิ่งเข้ากับโอลิมปิกที่ โตเกียว 2020”



13

STREAM & SAUNA

SAUNA ROOM

STREAM ROOM

STREAM ROOM

SAUNA ROOM

Steam จะใช้ไอน้ำ โดยจะมีเครื่องกำเนิดไอ

Sauna จะเป็นการอบแห้ง โดยใช้ความร้อน

น้ำ คอยต้มน้ำให้กลายเป็นไอน้ำ แล้วปล่อย

จากการเผาถ่าน ไม้ แก๊ส ไฟฟ้า หรือ

เข้ามาในห้องอย่างต่อเนื่อง อุณหภูมิ

เทคโนโลยีอินฟราเรด ที่ตั้งไว้ภายในห้อง

ประมาณ 40-55 องศาเซลเซียส ด้วยความ

ทำให้เกิดความร้อน อุณหภูมิของการ

ที่เป็นไอน้ำก็จะทำให้เรารู้สึกตัว

Sauna จะสูงกว่าการ Steam ค่อนข้าง

ไม่แห้งมากนัก ทั้งยังไม่ทำให้ร่างกายขาดน้ำ

มาก ประมาณ 60-80 องศาเซลเซียส

ด้วย - ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ - กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต - กระตุ้นระบบหายใจ ทำให้หายใจสะดวกขึ้น - ช่วยเปิดรูขุมขน - ช่วยรักษาสมดุลความเป็นกรด-ด่าง ของผิวหนังจาก แสงแดดและสารเคมี - กระตุ้นระบบประสาทและระบบฮอร์โมน - ช่วยให้ผิวหนังอ่อนนุ่มและชุ่มชื้น


14

SALT ROOM THERAPHY

SALT ROOM

SALT ROOM คือ การบำบัดด้วยเกลือ เป็นการบำบัดที่แพร่หลายมาก ในตะวันออกและยุโรป แต่ที่เอเชียเรานั้นยังเป็นที่รู้จักกันน้อยอยู่ ช่วยบำบัดอาการ - ภูมิแพ้ - ความเครียด - นอนไม่หลับ - หอบหืด - หลอดลมอักเสบเรื้อรัง - ทางเดินหายใจติดเชื้อ - ไอมีเสมหะ - ปวดเมื่อย นอนไม่หลับ เครียด


CASE STUDY


CASE STUDY

SIAM DISCOVERY , THAILAND “เป็นฟิตเนสคลับที่มีอุปกรณ์ที่ทันสมัย สะอาด บรรยากาศสบายๆ มีกิจกรรมให้เลือกมากมาย มีพื้นที่สำหรับทำงาน และพักผ่อน”

ที่เลือก VIRGIN ACTIVE มาเป็ีน CASE STUDY ก็เพราะว่าที่นี่เป็นฟิตเนสที่มี PROGRAMMING ที่หลากหลาย และตรงกับความต้องการของโครงการมากที่ต้องการให้มี PROGRAMMING ที่มากขึ้นเพื่อดึกดูดกลุ่มลูกค้า


CASE STUDY LONDON , ENGLISH

ที่ THIRD SPACE มีคลาสที่หลากหลายที่ทำให้การออกกำลังกายเป็นเรื่องสนุกมากยิ่งขึ้น เค้ามีการจัดวาง SPACE ได้ดีเป็นระบบ และใช้หลอดไฟLED ในการตกแต่ง จึงได้เลือกที่นี่มาเป็นกรณีศึกษา ในด้านการจัดวาง ตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างๆหรือแม้กระทั้งบันไดที่เดินขึ้นจากตรงกลางแล้วแยกออกไปได้2ฝั่ง ก็ได้ไอเดียร์มา จากที่นี่


CASE STUDY NORWAY “ ไม่มีลู่วิ่ง ไม่มีเครื่องออกกำลังกาย ออกแบบมา เพื่อการฝึกความแข็งแกร่งความเร็ว ความคล่อง ตัว พละกำลังและอื่นๆ” “ ทำให้รู้สึกว่ากำลังเข้ามาเพื่อสัมผัสประสบการณ์ ที่สนุกสนาน แต่ได้รับหนึ่งในการออกกำลังกายที่ดี ที่สุดในชีวิต”

ที่ PRAMA นี้เป็นสถานที่ออกกำลังกายที่เรียกว่า CIRCUIT TRAINING ซึ่งจะแตกต่างจากที่อื่นๆเพราะ มีการนำเสนอบรรยากาศที่สมบูรณ์แบบเพื่อให้การออกกำลังกายเป็นเรื่องสนุก โดยเน้นที่ประสบการณ์ เป็น กิจกรรมทางกาย โดยตัวห้องเองจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมผ่านพื้นและผนังแบบอินเทอร์แอคทีฟ ดนตรีที่สร้างแรงบันดาลใจ แสงไฟที่น่าดึงดูด และการฉายภาพมัลติมีเดียที่น่าทึ่ง ประสบการณ์แบบกลุ่มที่มีส่วนร่วมและสร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงจูงใจ ท้าทาย และแบ่งปันกับเพื่อนร่วมชั้น ของคุณในสภาพแวดล้อมที่น่าดึงดูดและมีการโต้ตอบกัน


TRAGET GROUP

- กลุ ่ ม คนที ่ ไ ม่ ค ่ อ ยออกกำลั ง กาย - กลุ ่ ม คนที ่ เ ริ ่ ม ออกกำลั ง กายมาซั ก พั ก แล้ ว - กลุ ่ ม คนที ่ อ อกกำลั ง กายเป็ น ประจำ

อายุ เ ฉลี ่ ย 18 - 50 ปี ฐานเงิ น เดื อ น 8000+ ต้ อ งการคนที ่ อ ยากออกกำลั ง กายดู แ ล

นักเรียน /นักศึกษา อายุ 18 - 24 ปี รายได้ 8,000 - 10,000 บาท/ต่ อ เดื อ น

คนวัยทำงาน อายุ 25 - 50 ปี รายได้ 15,000 - 50,000 บาท


การเปรียบเทียบราคาฟิตเนสใกล้เคียง ชื่อฟิตเนส

STADIUM

จำนวนเดือน

ราคาต่อเดือน

ค่าแรกเข้า

รวมเป็นเงิน

แบบ 1 เดือน

5,073

2,140

7,213

แบบ 12 เดือน

3,358

-

40,296

แบบ 5 เดือน

2,990

-

14,950

แบบ 12 เดือน

2,562

-

30,744

แบบ 1 เดือน

1,600

3,000

4,600

แบบ 12 เดือน

1,400

3,000

19,800

แบบ 1 เดือน

1,500

1,000

2,500

แบบ 12 เดือน

1,400

1,000

17,800


site analysis

อาคารจันทนยิ่งยง


TRANSPORTATION - BTS สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ (ทางออก 2) - MRT สถานีสามย่าน, สถานีหัวลำโพง - รถปรับอากาศ สาย 11, 73, 73ก, 93, 113, 157, 183, 204 - รถธรรมดา สาย 15, 47, 48, 93, 73, 73ก, 113, 204 - เรือโดยสาร ขึ้นท่าสะพานหัวช้าง หรือ ท่าเจริญผล (หลังห้างโลตัส)

SURROUNDING - อยู่ในบริเวณของสนามกีฬาแห่งชาติ - BTS สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ - MBK CENTER แยกปทุมวัน - โรงแรม ปทุมวัน ปริ๊นเซส - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


SITE SURROUNDING

อาคารจั น ทนยิ ่ ง ยง


BTS สนามกี ฬ าแห ง ชาติ

อาคารกี ฬ านิ ม ิ บ ุ ต ร

SIAM DISCOVERY

MBK CENTER

PATHUMWAN PEINCESS HOTEL

สนามศุ ภ ชลาศั ย


สี่แยก บรรทัดทอง

Siam at Siam Design Hotail & Spa

หอศิลปวัฒนธรรม แหงกรุงเทพมหานคร

TESCO LOTUS พระราม1

ถนน พระรามที่1 รานศึกษาภัณฑ

ลานกีฬาอเนกประสงค

SIAM DISCOVERY สี่แยก ปทุมวัน

MBK CENTER

ซอย จุฬาลงกรณ 6

สนามกีฬาเทพหัสดิน

สนามศุภชลาศัย

ถ.พญาไท

ถนน บรรทัดทอง

ซอย จุฬาลงกรณ 5

อาคารนิ อาคารนิมมิบิบุตุตรร

สระวายน้ำวิสุทธรารมณ

สนาม จินดารักษ

อาคารจันทนยิ่งยง โรงแรม PATHUMWAN PRINCESS

สนามเทนนิส ซอย จุฬาลงกรณ 12

ซอย จุฬาลงกรณ 12


อาคารจันทนยิ่งยง ก่อสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2508 ได้ดำเนินการและจัดสร้างสนามกีฬาต่างๆ เพื่อเตรียมการในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี พ.ศ. 2509 ได้ตั้งชื่อเป็นอาคารจันทนยิ่งยงเพื่อเป็นอนุสรณ์และเกียรติประวัติแก่ หลวงประเวศ วุฑฒศึกษา (นายประเวศ จันทนยิ่งยง) อดีตอธิบดีกรมพลศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วยสนามดังนี้ 1. บาสเกตบอล 1 สนาม 2. ฟุตซอล 1 สนาม 3. สนามแบดมินตัน 4 สนาม โทร. 0 2218 2868

เปิดให้บริการ ตั้งแต่เวลา 07.00 – 12.00 น. ทุกวัน ยกเว้นวันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์


LAY - OUT PLAN 1

2 4.00

4

3 4.00

4.00

5 4.00

4.00

8

7

6 4.00

4.00

9 4.00

11

10 4.00

4.00

12 4.00

14

13 4.00

4.00

28.20

A

B

ผังพื้นชั้น 1

2

AR-08

3

AR-09

1

AR-07

4

AR-10


LAY - OUT PLAN 2

1 4.00

4

3 4.00

4.00

5 4.00

4.00

8

7

6 4.00

4.00

9 4.00

4.00

4.00

4.00

14

13

12

11

10

4.00

4.00

28.20

A

B

ผังพื้นชั้น 2

2

AR-08

3

AR-09

1

AR-07

4

AR-10



CHAPTER CHAPTER CHAPTER CHAPTER

3 3 3 3


CONCEPT : RHYTHM

line

led light

color


พื ้ น ที ่ ข องการทำงานที ่ ไ ด้ แ นวคิ ด มาจาก RHYTHM ซึ ่ ง จะใช้ จ ั ง หวะของเสี ย ง เพลง จั ง หวะของคลื ่ น หั ว ใจ แสงและสี มาใช้ ใ นการออกแบบตกแต่ ง

MOOD & TONE

CONCEPT : RHYTHM



CHAPTER CHAPTER CHAPTER CHAPTER

4 4 4 4


2 nd floor plan

mezzanine floor

1 st floor plan

GROUND FloOR


- CADIO - YOGA - CADIO + WEIGHTTRAINING

- RECEPTION & CAFE - OFFICE - WEIGHT TRAINING - PHYSICAL ROOM - STAFF ROOM - RELAX ZONE

- RELAX ZONE - LOCKER + WOMEN - LOCKER MEN


PLAN


PLAN

1 ST FlOOR PLAN

FITNESS CENTER

UP

UP

DOWN

UP

UP

DOWN

1 st floor plan

RECEPTION & CAFE

OFFICE

STRETCHING ZONE

RUNNING TRACK

MOUNTAIN CLIMBING

CIRCUIT TRAINING

FREE WEIGHT

PHYSICAL ROOM

STAFF ROOM

RELAXING ZONE GUEST CIRCULATION STAFF CIRCULATION


PLAN

GROUND FlOOR PLAN

FITNESS CENTER

UP

UP

DOWN

DOWN

GROUND FloOR PLAN

TOILET

LOCKER & SHOWER

SAUNA ROOM

STREAM ROOM

SALT ROOM GUEST CIRCULATION STAFF CIRCULATION


PLAN

2 ND FlOOR PLAN

FITNESS CENTER

DOWN

DOWN

UP

DOWN

UP

DOWN

2 nd floor plan

RECEPTION & CAFE

WEIGHT TRAINING

REST ZONE

STUDIO DANDE

STUDIO CYCLING

BOXING

SHOE CHANGING

YOGA PILATIES

SLEEP POD ROOM

YOGA & YOGAFLY GUEST CIRCULATION


RECEPTION + CAFE

1 ST FLOOR PLAN


PLAN

RECEPTION + CAFE

FITNESS CENTER




STAIRCASE

1 ST FLOOR PLAN


PLAN

STAIRCASE

FITNESS CENTER




MOUNTAIN CLIMBING

1 ST FLOOR PLAN


PLAN

FITNESS CENTER

MOUNTAIN CLIMBING




FREE WEIGHT TRAINNING

1 ST FLOOR PLAN


PLAN

FITNESS CENTER

FREE WEIGHT TRAINNING




STRETCHING

1 ST FLOOR PLAN


PLAN

STRETCHING

FITNESS CENTER




RECEPTION + CAFE

1 ST FLOOR PLAN


PLAN

RECEPTION + CAFE

FITNESS CENTER




RUNNING TRACK + CADIO

RUNNING TRACK + CADIO

2 ND FLOOR PLAN


PLAN

FITNESS CENTER




RUNNING TRACK + BOXING

2 ND FLOOR PLAN


PLAN

FITNESS CENTER

RUNNING TRACK + BOXING




STUDIO DANCE

2 ND FLOOR PLAN

STUDIO DANCE


PLAN

FITNESS CENTER




STUDIO CYCLING

2 ND FLOOR PLAN

STUDIO CYCLING


PLAN

FITNESS CENTER




FOR YOUR GOOD HEALTH

NEW NEW NEW

2020


BRANDING

FITNESS CENTER


NEW FITNESS CENTER

2020


FOR YOUR GOOD HEALTH

STADIUM

ACTIVE

RELAX



STADIUM FITNESS CENTER



STADIUM FITNESS CENTER

S TA DIU M

STADIUM

S TA DIU M

STADIUM



STADIUM FITNESS CENTER



CHAPTER CHAPTER CHAPTER CHAPTER

5 5 5 5


บทสรุ ป โครงการออกแบบศู น ย์ ส ุ ข ภาพรู ป แบบใหม่ เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม การออกกำละงกาย ถู ก ค้ น คว้ า ข้ อ มู ล ถามความเห็ น จากคณะกรรมการและ อาจารย์ ท ี ่ ป รึ ก ษา ผลตอบรั บ ไปในทางที ่ ด ี แต่ ย ั ง มี จ ุ ด บกพร่ อ งในบางส่ ว นของโครงการ อย่ า งเช่ น ไม่ ไ ด้ ม ี ก ารขยายแปลนให้ เ ห็ น ขนาด อย่ า งชั ด เจน และงานสามารถพั ฒ นาให้ ม ี ความเป็ น ไปได้ ม ากกว่ า นี ้

PROJECT S


SUMMARY

ข อ เสนอแนะ


RESEARCH AND REFERENCE


SOURCE https://40plus.posttoday.com/health/26858/ http://www.getfitwithsarinee.com/ https://www.facebook.com/FitnessFirstThailand/posts/2898318383527670/ https://www.kidactiveplay.com/kidactiveplay/index.php/content_detail?id=219 https://www.livingpop.com/steam-and-sauna/ https://akaforeveryoung.com/2017/01/08/salt-cave-faq https://www.facebook.com/BananaRunning/posts/899295216780170/ http://yogahousebangkok.com/ https://www.livingpop.com/steam-and-sauna/ https://www.facebook.com/thestaryoga/posts/274352629597027/ https://sites.google.com/site/karxxkkalangkayebebpilates/pilates-khux-xari https://healthserv.net/948 https://plusaround.com/ https://www.pinterest.com/pin/387661480428913028/ https://www.pramafitness.com/en/why-what-prama https://www.pobpad.com/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8% 81%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8 %B2%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0% B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B9%89%E0 %B8%94


CURRICULUMVITAE


NAME

PATCHARAPORN LAPHO

BIRTH

31 JANUARY 1999

AGE

22 YEAR

ADDRESS

9/11 PHAENDIN THONG 1 ,TAMBON TALAT, AMPHOE MUEANG, CHANTHABURI 22000

TEL

0944940671

E-MAIL

PLOYSM118@GMAIL.COM

EDUCATION ELEMENTARY

STREEMANDAPITAK SCHOOL (CHANTHABURI)

SECONDARY

PRINCESS SIRINDHORN COLLEGE (NAKHON PATHOM)

UNIVERSITY

DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN,


STADIUM FITNESS CENTER


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.