DEGREE SHOW 2014

Page 1



WWW.DEGREESHOWS.ORG


INSPIRING THE FUTURE ทุกๆ ครั้ง เวลาจบกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับงาน Degree Shows ลง เรามักจะวิตกทันทีเลยว่า ปีหน้างานเด็กรุ่นต่อๆ ไปจะดีเท่านี้มั้ย? เพราะคุณภาพของงานแต่ละปีนั้นดีขึ้นๆ มาโดยตลอด หลังจากที่ได้ ชมการนำ�เสนอผลงานเข้ารอบสุดท้ายทั้ง 7 สาขาในปีนี้ ข้อวิตกกังวล เรื่องคุณภาพของงานเป็นอันตกไป เราได้พบกับงานศิลปนิพนธ์ที่ดี อีกครั้งหนึ่ง ทั้งในเรื่องของโปรแกรม กระบวนการ และผลลัพธ์ใน ขั้นตอนสุดท้าย นิทรรศการรวมสุดยอดศิลปนิพนธ์ 7 สาขา หรือ Degree Shows ประจำ�ปี 2557 เป็นอีกครั้งหนึ่งที่เราจะได้เห็นผลงานที่เป็นนวัตกรรม ทางความคิดและผลผลิตเชิงสร้างสรรค์ของสถาบันการศึกษาของ ประเทศไทย ซึ่งมีความหลากหลายในเรื่องของโจทย์และวิธีการ คลี่คลายโจทย์ ให้ออกมาเป็นงานสร้างสรรค์ได้อย่างน่าชื่นชม ไม่ว่าจะ เป็นงานออกแบบสถาปัตยกรรม งานออกแบบภายใน งานออกแบบ ผลิตภัณฑ์ แฟชั่น เครื่องประดับ กราฟิก หรือว่าอนิเมชั่น ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตใหม่ทุกๆ ท่านที่สามารถคว้ารางวัล ประจำ�ปีนี้ได้ในแต่ละสาขา เราจะจับตาดูชื่อของทุกๆ ท่านไปตลอด ด้วยความหวังที่จะได้เห็นชื่อเหล่านี้บนเวทีระดับประเทศและระดับโลก ในอีกเวลาไม่นาน


Every year when we are wrapping up all the activities regarding ‘The Degree Shows’ project we’re always a bit worried whether the next Degree Shows could possibly be as good as the previous one, as the quality of works submitted each year just keeps getting better and better. This year was no different and, after seeing the finalists presentations in the seven categories during the jury sessions, we are confident that the event will again promise to challenge the public as the creative works presented were very exciting and impressive in all aspects ranging from concept and process to the final design presentations. The Degree Shows 2014 celebrates the talent and innovative work of our final year design and creative students within a variety of fields including architecture, interior design, product design, fashion design, jewelry design, graphic design and animation. Congratulations to the winners of this year’s Degree Shows in all seven categories. We will keep our eyes out for your work and look forward to hearing your names pop up again and again on both the local and international stages.


ARCHITECTURE DESIGN O6

INTERIOR DESIGN 20 PRODUCT DESIGN 34 GRAPHIC DESIGN 48


ANIMATION AND MOTION GRAPHIC 62

FASHION DESIGN 76

JEWELRY DESIGN 90


ARCHITECTURE DESIGN


กรรมการตัดสิน

ฉัตรพงษ์ ชืน่ ฤดีมล ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั เเชท อาร์คเิ ต็คส์ พันธุพ ์ งษ์ วิวฒ ั น์กลุ กรรมการบริษทั สถาปนิก สมดุล ศาวินี บูรณศิลปิน ผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั ธิงสแมธเธอร์ JUDGES

Chatpong Chuenrudeemol Director CHAT architects Punpong Wiwatkul Director Somdoon Architects Savinee Buranasilapin Founding Partner thingsmatter


DEGREE SHOWS 2014

9


10 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF ARCHITECTURE DESIGN

โครงการออกแบบและพัฒนาศูนย์อพยพผูล้ ภ้ี ยั สงคราม อำาเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน สนิทวงศ์ สว่างแจ้ง

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ‘ปรากฏการณ์ตามตะวัน’ ความธรรมดาทีแ่ สนพิเศษของธรรมชาติ ถูกนำามาสร้างความสมดุลของการอยู่อาศัย การสร้างบ้านเรือน อาคาร การใช้ชวี ติ โดยดึงความธรรมดาทีเ่ กิดขึน้ ในทุกๆ วันของ ดวงอาทิตย์ มาสร้างกฎและเกณฑ์ สร้างเวลาเพือ่ ให้การเดินทาง ของชีวิตผู้อพยพนั้นเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่ใช่ด้วยนาฬิกา บอกเวลา แต่เป็นเวลาจากดวงตะวัน จากธรรมชาติ ธรรมชาติท่ี แสนซือ่ ตรงและงดงามโดยจะไม่มกี ารเพิม่ สิง่ ใหม่เข้าไปในวิถชี วี ติ เนื่องจากความเป็นอยู่ การดำารงของชาวเขาผู้ลี้ภัยนั้นได้สืบสาน กันมาหลายชัว่ อายุคน ประเพณีตา่ งๆ ทีด่ งี ามถูกสอดแทรกเข้ามา จากยุคสมัยก่อนจนถึงปัจจุบนั ดังนัน้ งานออกแบบหลายๆ อย่าง จึงไม่ได้มกี ารเปลีย่ นแปลง แต่มกี ารปรับใช้ธรรมชาติรอบๆ ตัว ธรรมชาติทแ่ี สนธรรมดาแต่พเิ ศษให้เกิดผลลัพธ์ในการอยูอ่ าศัย ความงดงามที่เรียบง่าย ความสมดุลของผืนป่าที่เกี่ยวโยงและ สัมพันธ์กับชีวิต WAR RESCUE AND REFUGEE SHELTER CENTRE Sanitwong Sawanjange Faculty of Architecture Rangsit University This project therefore aims to create a better housing system without altering the residents’ way of life. The main purpose is to improve the quality of life, sufficiency and security while ensuring that the area’s traditional heritage and lifestyle remain unaltered. Successful and moral development must be conscious and friendly to existing contexts, surroundings, lifestyles and nature. por.sekino@gmail.com +66 91 005 3222

DEGREE SHOWS 2014 11


12 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 13


โครงการสยามปรากฏการณ์ บุญยนุช ตันวัฒนาดำาเนิน

ภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ‘ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่ทำาให้เกิดวัฒนธรรมและประเพณี ไทยใน 12 เดือน’ การปรับตัวและเรียนรูเ้ พือ่ อยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ โดยใช้พลังแห่งความศรัทธาและจิตวิญญาณของคนในอดีต ในการรังสรรค์ผลผลิตทางวัฒนธรรมและเกิดความสัมพันธ์ ระหว่างคนกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ PHENOMENON OF SIAM Boonyanuch Tanwattanadamnoen Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang “Thai culture and festivals have a direct relationship with natural phenomena that occurs throughout the year.” My thesis focus on Thai people’s adaptability to co-exist with nature using their faith and spiritual belief in order to create cultural creation and have a tighter bond with nature. tue_clup@hotmail.com +66 87 564 1368

14 DEGREE SHOWS 2014


โครงการฟืน้ ฟูสภาพพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ในเมือง กรณีศกึ ษาสะพานปลากรุงเทพและบริษทั อูก่ รุงเทพ รดาการ ตัง้ มหัทธนะกุล

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การเปลีย่ นแปลงการใช้งานของพืน้ ทีต่ า่ งๆ ภายในเขตเมืองเป็น ปรากฏการณ์ปกติทเ่ี กิดขึน้ ในเมืองใหญ่ อย่างกรุงเทพมหานคร ปรากฏการณ์ดังกล่าวมีผลต่อพื้นที่ต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่ บริเวณเดิมเป็นเขตอุตสาหกรรมหนักในเมือง การเปลี่ยนแปลง ส่งผลต่อการทำาให้ตอ้ งย้ายรากฐานของกิจการให้เหลือไว้เพียงแต่ พื้นที่อุตสาหกรรมที่ว่างเปล่า แต่ก็ยังคงเหลือไว้ซึ่งโครงสร้าง พืน้ ฐานทีจ่ ะต้องคำานึงถึงการจัดการโครงสร้างเหล่านีใ้ ห้เหมาะสม และสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นการจัดการ โครงการ การออกแบบสถาปัตยกรรมที่คำานึงถึงโครงสร้างพื้น ฐานเดิมภายใต้คุณลักษณะสำาคัญของพื้นที่อุตสาหกรรมทั้งใน แง่สถาปัตยกรรม วิศวกรรม และภูมิสถาปัตยกรรมที่มีอยู่ใน โครงการ ดังนั้นการศึกษาช่องว่างทางสถาปัตยกรรมที่จะเข้าไป มีบทบาทในพื้นที่อุตสาหกรรมเดิม ต้องมีความเหมาะสมและ สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที่เปลี่ยนไปของเมือง จึงเป็นการ เติมเต็มที่ว่างนี้เพื่อตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงในยุคสมัยนี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ Urban Industrial Area Rejuvenation Bangkok Fish Market and Bangkok Dock Radakarn Tangmahattanakul Faculty of Architecture Kasetsart University The change of land use within the city is a common phenomenon in a big metropolis such as Bangkok. This phenomenon has widely affected every area, especially those that were previously designated as heavy industrial zones. The relocation of such industries has left the area with many abandoned buildings that must be properly managed and taken into consideration in response to developments in the area, policies and concerns regarding their existing architectural, engineering and landscape contexts. For example, considering the use of a non-foundational structure, such as a prefabricated structure, or giving due attention to the existing context is therefore utilized here as the primary design method. Studies of the possibilities for the existing architecture within an industrial area have to be appropriate for the changing situation of the city and its present urban condition. radakarn.t@gmail.com +66 81 655 9776 DEGREE SHOWS 2014 15

URBAN INDUSTRAIL AREA REJUVEN BANGKOK FISH MARKET AND BANGKOK DOCK

YEAR : 2013 TYPE : MIXED USE LOCATION : BANGKOK FISH MARKET AND BANGKOK DOCK AREA : 67 RAI

การเปลี่ยนแปลงการใชงานของพื้นที่ตางๆภายในเขตเมืองเปนปรากฏการณปกติที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ อยางก ปรากฏการณดังกลาวมีผลตอพื้นที่ตางๆโดยเฉพาะพื้นที่ที่เดิมเปนเขตอุตสาหกรรมหนักในเมืองการเปลี่ยนแป ตองยายรากฐานของกิจการไปเหลือไวเพียงแตพื้นที่อุตสาหกรรมที่วางเปลาแตก็ยังคงเหลือไวซึ่งโครงสรางพื้น การจัดการโครงสรางเหลานี้ใหเหมาะสมและสอดคลองกับแนวทางการพัฒนาไมวาจะเปนการจัดการโครงการ ยกรรมที่คำนึงถึงโครงสรางพื้นฐานเดิมภายใตคุณลักษณะสำคัญของพื้นที่อุตสาหกรรมทั้งในแง สถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม ที่มีอยูในโครงการเชนการเลือกใชระบบโครงสรางที่ปราศ-จากฐานราก การใชโครงสรางสำ การคำนึงถึงบริบทของพื้นที่เดิมก็ตาม


ARCHITECTURE

URBAN INDUSTRIAL AREA REJUVE

NATION

กรุงเทพมหานคร ปลงสงผลตอการทำให นฐานที่จะตองคำนึงถึง รการออกแบบสถาปต มวิศวกรรมและ ำเร็จรูปหรือแมกระทั่ง

16 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 17


สภารัฐประชา สิทธิวฒ ั น์ สุทธิจารุ

ภาควิชาสถาปัตยกรรมนานาชาติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ทัศนคติของผูค้ นในปัจจุบนั แตกแต่างและไม่มขี อบเขตทีจ่ าำ กัดได้ กระบวนการการตัดสินจึงเป็นเรื่องที่ซับซ้อนและละเอียดอ่อน แนวทางปฏิบัติในสังคมเพื่อความเท่าเทียมนั้นขึ้นอยู่กับความ ร่วมมือและเสียงส่วนมากในสังคม การตัดสินใดๆ ต้องเปิดออก สู่สาธารณชน เพื่อให้โอกาสในการสนับสนุน พัฒนาเป็นเสียง ข้างมาก และเข้าสู่การพิจารณาและตัดสินในที่สุด สังคมจึงมี ส่วนรับผิดชอบต่อความเปลี่ยนแปลง ด้วยเหตุนี้เครื่องมือใน การสื่อสารที่กรอง เก็บ และเผยแพร่สิทธิของประชาชนจึงเป็น สิ่งสำาคัญต่อสังคมในปัจจุบัน ACTIVE FIELD: POLITICS OF AGORAPHILIA Sitthiwat Suddhijaru International Program in Design and Achitecture Faculty of Architecture Chulalongkorn University People’s opinions are diverse and infinite, which makes decision-making processes a complex and delicate matter. Civic practices rely on participation and consensus and, to provide fair discussion and filtering methods, decisions need to be made public so that others can show their support and a majority can be formed, identified and taken into consideration. Thus, society can contribute to change. For these reasons, communication networks that filter, archive and propagate public requests are necessary tools for our society today. sitthiwat.suddhijaru@cuinda.com +66 83 494 4225

18 DEGREE SHOWS 2014


Tianguis of the Maize ธนพร หล่าำ

ชาสถาปัตยกรรมนานาชาติ ภาควิ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย โครงการตลาดข้าวโพดเม็กซิโก ณ ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ โซคาโล เป็นต้นแบบของการผสมผสานระหว่างเกษตรกรรมและ สถาปัตยกรรม โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างสถาปัตยกรรมแห่ง อนาคตทีส่ ามารถตอบสนองถึงการกอบกูว้ ถิ ขี องชาวเม็กซิโก สู่เศรษฐกิจโลก และละเว้นการดัดแปลงพันธุกรรมข้าวโพดใน ปัจจุบนั ด้วยสาเหตุน้ี ตลาดข้าวโพดของเม็กซิโกจึงเป็นสือ่ กลาง ระหว่างอดีต ปัจจุบัน และอนาคตที่มุ่งเน้นเรื่องวัฒนธรรมและ ก้าวล้ำาด้วยเทคโนโลยี TIANGUIS OF THE MAIZE Thanaporn Lam International Program in Design and Achitecture Faculty of Architecture Chulalongkorn University Tianguis of the Maize is a prototype urban agriculturalarchitecture for tomorrow that tackles maize(corn)’s current role within genetic modification and considers the crops power in shaping the economy, social and environmental patterns of the world. Here, the reinvented market is posed to function as a medium between past, present and future while the proposed design aids in a greater understanding of the crop’s life cycle and shifts perceptions to consider this holistic approach toward urban agricultural-architecture. thanaporn.lam@gmail.com +66 86 372 6689

DEGREE SHOWS 2014 19


20 DEGREE SHOWS 2014


INTERIOR DESIGN


กรรมการตัดสิน

สมชาย จงแสง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เดกา อาทีเรีย จำ�กัด วรการ ทิพย์ประภา กรรมการผูจ้ ดั การ เท็นบายเท็นดีไซน์สตูดโิ อ สะคราญ ปุญญทลังค์ สถาปนิก / นักออกแบบตกแต่งภายใน JUDGES

Somchai Jongsaeng Managing Director DECA ATELIER Varakan Tipprapa Managing Director Ten by Ten Design Studio Sakran Punyatalung Architect / Interior Design


DEGREE SHOWS 2014 22


23 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF INTERIOR DESIGN

โครงการพัฒนาการเข้าไม้ ของเล่นไม้ เพือ่ สร้างพืน้ ที่ กิตติพงษ์ เรืองกิตติธ์ าริน

สาขาการออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต โครงการนี้มีแนวคิดที่ต้องการศึกษาเพื่อหาความเป็นไปได้ใน การพัฒนาการเข้าไม้ ‘เถรอดเพล’ เพื่อใช้สร้างและทำาประโยชน์ ให้กบั พืน้ ทีร่ กร้าง ว่างเปล่า ห่างไกล ในแบบโครงสร้างถาวรหรือ ชั่วคราวเพื่อทดลองความต้องการของคนในพื้นที่นั้นๆ และ ยังสามารถถอดประกอบเพือ่ เคลือ่ นย้ายไปในทีต่ า่ งๆ ได้ โดยไม่ จำากัดว่าจะเป็นที่พักอาศัย ห้องสมุด ลานกิจกรรม แปลงผัก และเฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ JOINERY (TOY) + SPACE Kittipong Ruangkittharin Faculty of Architecture Interior Design Rangsit university The idea for this design stems from a need to study the possibility of developing joinery ‘Tan ot Pan’, Thai traditional toys to utilize spaces in vacant areas through the form of permanent or temporary structures. These structures consider the needs of people in each local area and are also easy to disassemble, move or transport without the limitations imposed by indoor or outdoor furniture installation. spaceless_design@hotmail.com +66 84 929 9145

DEGREE SHOWS 2014 24


25 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 26


ห้องทดลองชีวติ ธราดล สุจริตวรกุล

ภาควิชาสถาปัต ยกรรมภายใน คณะสถาปัต ยกรรมศาสต ร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ห้องทดลองชีวิตเกิดจากการตั้งค่าคำาถามชีวิตเชิงปรัชญา เกี่ยวกับการมีอยู่ของตัว ตนที่แท้จริงที่นำาไปสู่การออกแบบ พื้นที่ว่างทางสถาปัตยกรรมภายในเชิงทดลอง 3 การทดลอง ได้แก่ การค้นหาตัวตน การพบปะแลกเปลี่ยนและปฎิสัมพันธ์ ไปจนถึงการสร้างแรงบันดาลใจ THE LABORATORY OF LIFE I LOL Taradol Sutjaritvorakul Interior Design School of Architecture Bangkok University This Laboratory of Life design stems from the question, can space define human existence. s.taradol@hotmail.com +66 84 940 5070

27 DEGREE SHOWS 2014


โครงการออกแบบปรับปรุงสถาปัตยกรรมภายใน ศูนย์ทางเลือกการเรียนรูส้ กู่ ารพัฒนาและ การป้องกันชีวติ เด็ก บ้านนานา ญาดา เพียรพานิชย์

ภาควิชาสถาปัต ยกรรมภายใน คณะสถาปัต ยกรรมศาสต ร์ ์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน หรือ ‘บ้านนานา’ เป็นองค์กร การพัฒนาเอกชนที่ทำางานด้านการให้ความช่วยเหลือเด็ก เร่ร่อน ขอทาน และเด็กด้อยโอกาสทางสังคมบริเวณสะพาน ข้ามแดนระหว่างไทย-พม่า โดยการสร้างสถานพักฟื้นฟูให้กับ เด็ก รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กเข้ารับการศึกษาทั้งในและนอก ระบบ โดยเชื่อว่าการศึกษาจะสามารถป้องกันไม่ให้เด็กกลาย เป็นอาชญากรหรือเข้าสู่ขบวนการค้ามนุษย์ โดยบ้านนานา มีความต้องการที่จะจัดการศึกษาที่เหมาะสมให้แก่เด็กใน โครงการ จึงมีความต้องการที่จะเปิดโรงเรียนเป็นของตัวเอง เป้าหมายหลักของโครงการจึงเป็นการสร้างสถาปัตยกรรม และสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการศึกษา ให้กับเด็ก โดยมีความเชื่อว่าการศึกษาจะช่วยลดความรุนแรง และสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นในสังคมภายใต้แนวความคิดของ สถาปัตยกรรมแบบยัง่ ยืน (SUSTAINABLE ARCHITECTURE) INTERIOR ARCHITECTURAL RENOVATION FOR THE ALTERNATIVE EDUCATION AND PREVENTION FOR CHILDLIFE CENTER, BAAN NANA Yada Pianpanit Interior Architecture Faculty of Architecture Chulalongkorn University The Interior Architectural Renovation for The Alternative Education and Prevention for Childlife Center, Baan Nana was designed to assist kids living around the Thai-Burma Bridge who have had no chance to study under the ideology and support of sustainable architecture. y.pianpanit@gmail.com +66 87 357 7469

DEGREE SHOWS 2014 28


29 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 30


โครงการปรับปรุงโรงแรม ออน ออน จังหวัดภูเก็ต สหัสชัย ชูฉมิ

สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต The Memory at Phuket Old Town ได้มีการนำารูปแบบของ ชิโนโปรตุกีส (Chino Portuguese) กับอดีตของอุตสาหกรรม เหมืองแร่ดีบุกมาผสมผสานกันเพื่อให้เกิดเป็นรูปแบบ Chino Portuguese Industry โดยมีโปรแกรมและความอบอุ่นใน วิถีชีวิตของคนในอดีตเกิดขึ้นภายในโรงแรม ออน ออน แห่งนี้ PROJECTS RENOVATION ON ON HOTEL PHUKET Sahudchai Chochim faculty of Architecture Interior Design Rangsit university The renovation of the On On Hotel Phuket was created to bring the Chino-Portuguese and old mining industry styles together, resulting in a new approach known as the Chino -Portuguese Industry. Furthermore, the program throughout this interior project will allow visitors to connect with a sense of history and the lifestyle of the past. sahudchai@gmail.com +66 87 623 5443

31 DEGREE SHOWS 2014


โครงการเสนอแนะออกแบบสถาปัตยกรรมภายในชุมชน ท่ากำานันขาว ณ บางกระเจ้า ภูมพ ิ ฒ ั น์ วรัทเกียรติธนา

สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะสถาปัต ยกรรมศาสต ร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสต ร์ บางกระเจ้ามีความลึกซึ้งของภูมิทัศน์วัฒนธรรมสูง การใช้ชีวิต อย่างเรียบง่ายกับธรรมชาติ โดยไม่ถกู รบกวนจากความเป็นเมือง หรือความเจริญ ที่สั่งสมมาเป็นระยะเวลานานหลายร้อยปี ด้วย ปัจจัยดังกล่าวทำาให้เกิดการผสมผสานกันของธรรมชาติ วิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ และสถาปัตยกรรมได้อย่างลงตัว การเรียนรูบ้ างกระเจ้า จึงไม่ใช่เพียงแค่การบอกเล่าเรื่องราว แต่ต้องให้ผู้ใช้รับรู้อย่าง ค่อยเป็นค่อยไป เป็นลำาดับขั้นตอน ทำาให้ผู้ใช้งานเข้าถึงคุณค่า ของบางกระเจ้าอย่างได้ชัดเจนมากขึ้น เรียบง่าย และไม่รีบร้อน คุณค่าที่เก็บไว้ในโครงการจะเข้าถึงตัวนักท่องเที่ยวอย่างช้าๆ รวมทั้งการผสมผสานกันของการใช้งานระหว่างกลุ่มชาวบ้าน และนักท่องเทีย่ ว ทำาให้โครงการมีการดำาเนิน เรือ่ งบอกเล่าเรือ่ งราว ได้อย่างลงตัว อีกทัง้ ยังสร้างความชัดเจนได้มากขึน้ แนวความคิด ในการออกแบบนัน้ จะลงลึกถึงการดำาเนินเรือ่ ง ราว ระดับการรับรู้ การเข้าถึงจุดต่างๆ ของโครงการผ่านการจัดวางผังของโครงการ อย่างเหมาะสมและเสริมเนือ้ หาการเรียน รู้ให้แทรกเข้าไปตามจุด ต่างๆ ภายในโครงการ จากบทวิเคราะห์ที่ผ่านมาสามารถแบ่ง ข้อมูลของระดับการรับรู้เป็น 3 ส่วนหลัก ได้แก่ VISITING, EXPERIENCING และ INHABITING จากนั้นจึงนำาข้อมูลของ ทั้ง 3 ส่วนหลักนี้มาสังเคราะห์เป็นข้อมูลของการออกแบบ โดย การออกแบบจะวางเนื้อหาที่ลดระดับจากความเป็นเมืองลงมา เรือ่ ยๆ และเพิม่ ความเป็นบางกระเจ้าโดยใช้กบั ผังแม่บท ลักษณะ อาคาร การออกแบบพืน้ ทีว่ า่ งภายในอาคาร และเรียบเรียงลำาดับ ขั้นตอนเป็นฉาก โดยมีสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์เกิดขึ้นแทรกอยู่ ในบางฉาก จึงเกิดเป็นแนวความคิดที่ชื่อว่า ‘PHENOMENON SCENARIO’ ‘PHENOMENON SCENARIO’ Poompat Waratkiachthana Interior Architecture Thammasat Design School Thammasat University Bang Kra Jao or ‘The Lung of Bangkok’ is the site of this project. The design forces people to study together with the nature of the site and allows for them to learn through three different approaches: Visiting, Experiencing and Inhabiting, which come together under the concept of a ‘PHENOMENON SCENARIO’. jobchen.ds@outlook.com +66 81 696 4640 DEGREE SHOWS 2014 32


33 DEGREE SHOWS 2014


PRODUCT DESIGN


กรรมการตัดสิน

จิตริน จินตปรีชา นักออกแบบ สุรเสกข์ ยุทธิวฒ ั น์ Creative Director บริษทั สุรเสกข์ จ�ำกัด สุรยิ ะ ครุฑพันธุ์ Design Director Amin Baba JUDGES

Jitrin Jintaprecha Designer Surasekk Yuthiwat Creative Director Surasekk Suriya Garudabandhu Design Director Amin Baba


DEGREE SHOWS 2014 36


37 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF PRODUCT DESIGN

โครงการออกแบบเครือ่ งเรือนแมวส�าหรับน�าพาและอาศัย แพรศิริ ศิลป์ศรีกลุ

ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ‘Purru’ (เพอ-รุ) มาจากเสียงร้องครางของแมวทีก่ า� ลังมีความสุข เป็นเสียงทีแ่ สดงออกถึงความสบายใจ การออกแบบผลงานชุดนี้ เกิดจากความต้องการที่จะสร้างชิ้นงานเพื่อช่วยลดความ ตื่น ตระหนกของแมวเมือ่ ต้องเดินทางออกนอกบ้านหรืออาณาเขตที่ คุน้ เคย หลังจากการเฝ้าสังเกตอุปนิสยั ของแมวทีช่ อบท�าสัญลักษณ์ และปล่อยฟีโรโมนเพือ่ ก�าหนดอาณาเขตได้กลายไปเป็นทีม่ าของ การออกแบบกับแนวคิดหลักอย่าง ‘travelling with their territory’ หรืออาณาเขตทีส่ ามารถเดินทางไปด้วยได้ โดยเลือก สร้างพืน้ ทีอ่ าณาเขตทีแ่ มวใช้ประจ�าวันอย่างทีน่ อน ทีเ่ ล่น ให้สามารถ แปลงเป็นกระเป๋าส�าหรับเดินทางเพือ่ เพิม่ ความคุน้ ชิน ความรูส้ กึ ปลอดภัย และลดภาวะความเครียดจากการตืน่ ตัวทีอ่ าจน�าไปสู่ อันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้ PORTABLE CAT FURNITURE Pearsiri Silpsrikul Department of Industrial Design Faculty of Architect Chulalongkorn University This portable cat accessory is a multi-functional product for our feline friends. The cat is not only able to sleep and play on the product while at home, but can also enjoy traveling in the portable bag without feeling panicked or nervous. Furthermore, the bag protects the cat from feeling frightened when traveling to new places, as it is already familiar and comfortable with the product. pearsiri.s@gmail.com +66 83 901 9646

DEGREE SHOWS 2014 38


39 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 40


โครงการออกแบบชุดบูชาพระพุทธรูปภายในอาคารชุด อักษรินทร์ เอือ้ มโนวิไล

สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทยมี ‘ศาสนาพุทธ’ เป็นศาสนาประจ�าชาติ การมีหิ้ง หรือโต๊ะหมู่บูชาพระพุทธรูปไว้ในที่พักอาศัยเพื่อกราบไหว้บูชา จึงเป็นสิ่งที่ชาวไทยโดยมากปฏิบัติกันมาช้านาน แต่เนื่องด้วย ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมักมีรูปแบบที่ดูโบราณดั้งเดิม ไม่เหมาะกับ ที่พักอาศัยในปัจจุบัน จึงเกิดแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ‘ชุดบูชาพระพุทธรูป’ ในรูปแบบร่วมสมัยเพื่อให้เกิดประโยชน์ และความงามสูงสุด และเหมาะสมกับการเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อ พุทธบูชา SET OF FURNITURE FOR BUDDHA’S IMAGES WORSHIP IN CONDOMINIUM Aksarin Eurmanowilai Department of Product Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University This set of furniture is used to hold Buddha’s images for worship in condominiums, the contemporary approach and modernization of the form adeptly blending the traditional accessories into the modern home. yes_sir43@hotmail.com +66 89 177 6951

41 DEGREE SHOWS 2014


โครงการออกแบบชุดอุปกรณ์ เพือ่ ส่งเสริมประสบการณ์ การปลูกผัก ส�าหรับเด็กวัย 6-8 ปี กมลวรรณ กวีรตั นธนะ

ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แนวคิดของผลงานชิ้นนี้คือการเชิญชวนเด็กๆ ให้มาเข้าใจกับ ‘ภาษาต้นไม้’ โดยสิ่งที่ต้นไม้แสดงออกมาทางกายภาพนั้นคือ การบ่งบอกถึงสุขภาพและความเป็นไปของต้นไม้ในระยะต่างๆ ซึ่งชุดอุปกรณ์การสังเกตชิ้นนี้สามารถใช้ในการวัดความสูง เปรียบเทียบสี และแปลค่าการวัดต่างๆ เป็นเสียง ซึ่งท�าให้เด็กๆ สามารถได้เข้าใจง่ายโดยอาศัยเทคโนโลยี RFID TALKING PLANTS Kamolwan Gaviratanathana Department of Product Design Faculty of Decorative Arts Silpakorn University The concept behind this work is to encourage children to learn how to interpret tree language via RFID technology. Children are encouraged to study tree health through various approaches presented in a game-like format. kamolwan.ping@gmail.com +66 86 416 1259

DEGREE SHOWS 2014 42


43 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 44


โครงการออกแบบภาพเคลือ่ นไหวจากวัสดุสงิ่ ทอเพือ่ สร้าง บรรยากาศผ่อนคลาย พิชญา คูวฒ ั นาถาวร

ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานชิ้นนี้เป็นระบบการสร้างภาพเคลื่อนไหว ประกอบไปด้วย กลไกการดึงด้ายเป็นรูปคลื่น โคมไฟฮาโลเจน ถาดน�้า และฉาก รับภาพ เมือ่ แสงส่องผ่านวัตถุทกี่ า� ลังเคลือ่ นทีอ่ ย่างสม�า่ เสมอและ เกิดการสัมผัสผิวน�้า ก็จะก่อให้เกิดเงาขึ้นบนฉากรับภาพเป็นรูป วงน�า้ ทีก่ ระจายตัวออกและทับซ้อนกันเป็นลวดลายทีส่ วยงาม โดย องค์ประกอบในงานออกแบบชิน้ นีไ้ ด้รบั แรงบันดาลใจมาจาก ‘น�้า’ เพราะการเคลือ่ นทีข่ องน�า้ สามารถสร้างความรูส้ กึ ผ่อนคลายได้ดี โดยมีการน�าวัสดุลกู ตุม้ มาใช้สร้างรูปคลืน่ เพือ่ น�าเสนอความประทับใจ ในความโปร่งใส ความแวววาวเมือ่ กระทบกับแสง และการแยกตัว เป็นหยดขณะทิง้ ตัวในแนวดิง่ อีกทัง้ กลไกการดึงด้ายยังน�าเสนอ ความประทับใจในเรือ่ งของการวน-ซ�า้ ทีต่ อ่ เนือ่ งของการเคลือ่ นที่ บนผิวคลืน่ ) ผลงานออกแบบชุดนีส้ ามารถน�าไปใช้ตกแต่งสถานที่ เพือ่ เสริมสร้างบรรยากาศทีด่ ี เช่น บริเวณโถงโรงแรม สปา หรือ สถานที่สาธารณะอื่นๆ รวมไปถึงสามารถปรับเปลี่ยนการติดตั้ง ให้เหมาะสมกับแต่ละสถานที่ได้ตามต้องการด้วยเช่นกัน WATER REVERIE Pitchaya Koowattanatawor Department of Industrial Design Faculty of Architecture Chulalongkorn University This double-effect kinetic installation is inspired by the movement of water and consists of two parts; an upper wave mechanism reminiscent of the work of artist Reuben Margolin turns in a circular motion creating a continuous three-dimensional wave. The second element below supports a specific setting meant to echo each movement on top, allowing for an unexpected enthralling show of shadow play. pearppt@gmail.com +66 89 049 7672

45 DEGREE SHOWS 2014


al

โครงการออกแบบเครือ่ งเรือนส�าหรับเด็กอายุ 3-6 ปี เพือ่ ส่งเสริมกิจกรรมด้านจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ สไบทิพย์ บุตรไธสง

ภาควิชานฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมือง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลงาน ‘JOIN AND JOY’ สนุกกับการต่อสนุกกับการเล่นเป็น การออกแบบชุดเฟอร์นเิ จอร์และของเล่นทีไ่ ด้แรงบันดาลใจมาจาก แนวคิด ‘วอลดอร์ฟ’ (WALDORF) ด้วยความตัง้ ใจทีจ่ ะมุง่ พัฒนา เด็กให้มบี คุ ลิกภาพทีส่ มดุลกลมกลืน และเน้นการเล่นเพือ่ ให้เด็ก สามารถปลดปล่อยจินตนาการ เติบโต และสัมผัสโลกที่เป็น ธรรมชาติ ชุดเฟอร์นเิ จอร์และของเล่นจึงมีความเรียบง่าย วิธกี าร เล่นไม่ซบั ซ้อน เป็นมิตรกับธรรมชาติ ส่งเสริมให้เกิดการใช้จนิ ตนาNatural On Tabel การสร้Toy างสรรค์ ผ่านการเล่น และสามารถปรับเปลีย่ นการใช้งาน จากโต๊ะเก้าอีไ้ ป เป็นชัน้ วางสิง่ ของได้เมื่อผ่านพ้นช่วงวัยเด็กเพือ่ ตอบโจทย์ UNIVERSAL DESIGN ด้วยการค�านึงถึงการใช้งาน ให้คมุ้ ค่าสมประโยชน์ครอบคลุมส�าหรับทุกคนทุกวัยอีกทัง้ พ่อแม่ ยังสามารถมีส่วนร่วมกับการเล่นซึ่งเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ ใน ครอบครัวได้อีกทางหนึ่ง FURNITURE DESIGN FOR KIDS AGE 3-6 YEARS TO PROMOTE THE IMAGINATION AND CREATIVITY Sabathip Budthaison Faculty of Architecture Urban Design and Creative Arts Mahasarakham University ‘Join and Joy’ is a furniture toy that was created for kids and their family members to trigger the imagination. The design is flexible and can be transformed from a chair to a table or a shelf and back again. sabeisabui09@gmail.com +66 98 148 5586

DEGREE SHOWS 2014 46

ของเล่นในกล่อง


47 DEGREE SHOWS 2014


GRAPHIC DESIGN


กรรมการตัดสิน

วรทิตย์ เครือวาณิชกิจ Design Director Farmgroup จักรกฤษณ์ อนันตกุล นักวาดภาพประกอบและนักออกแบบ Hello I am JK อัญชลี อนันตวัฒน์ ผูก้ อ่ ตัง้ แกลเลอรี่ Speedy Grandma JUDGES

Vorathit Kruavanichkit Design Director Farmgroup Jackkrit Anantakul Illustrator & Designer Hello I am JK Unchalee Anantawat Founder Speedy Grandma Gallery


DEGREE SHOWS 2014 50


51 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF GRAPHIC DESIGN

โครงการออกแบบลวดลายจากลิงและยักษ์ในวรรณคดี เรือ่ ง รามเกียรติ์ ชนกนันท์ นิยมทรัพย์

สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ลิงและยักษ์เป็นตัวละครส�าคัญในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ โดยแต่ละตัวจะมีลักษณะเด่นประจ�ากายที่แตกต่างกัน เช่น สี อาวุธ อิทธิฤทธิ์ เครื่องแต่งกาย เป็นต้น การออกแบบนี้จึง น�าแนวคิดการถอดรูปมาใช้ โดยถอดจากเรือ่ งราวและภาพเขียน มาออกแบบเป็นลวดลายกราฟิกแบบไทยร่วมสมัย ซึง่ ผสมผสาน สีไทยที่ใช้ท�าหัวโขนมาออกแบบร่วมด้วย MONKEYS AND DEMONS Chanoknun Niyomsap Communication Design School of Fine and Applied Arts Bangkok University The design of this project was inspired by The Ramakien, the Thai national epic that has monkeys and demons as its main characters, the results of the project bringing together contemporary Thai graphics inspired by patterns and colors of the Ramakien era. chanoknun.niyo@gmail.com +66 80 562 4747

DEGREE SHOWS 2014 52


53 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 54


หนังสือเกีย่ วกับความตายและการเตรียมตัว พิชญา โชนะโต

ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชุดหนังสือเกี่ยวกับความตายแบบไม่หม่นหมองน่าสยองขวัญ มุ่งให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความตาย พร้อมภาพประกอบ ดูสดใสเพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อความตาย ด้วยแนวทางการ ออกแบบที่เป็นมิตร สดชื่น มองโลกในแง่บวก มีความเป็นมนุษย์ เพือ่ เตือนสติวา่ ความตายสิง่ ทีท่ กุ คนต้องเผชิญไม่ชา้ ก็เร็ว ไว้ระลึก ถึงความตายอย่างมีอารมณ์ขันและผ่องใส DEADLINE Pitshaya Chonato Department of Industrial Design Faculty of Architecture Chulalongkorn University The deadline book takes on a positive demeanor in both context and visual approach that reminds everyone to think about the fact that death is something we will meet, so why not confront it with interest and in a lighthearted manner. sychonato@gmail.com +66 89 765 2756

55 DEGREE SHOWS 2014


เดอะสแตนด์ ปิยนุช อัครธรรมกุล

สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล THE STAND หาช่องทางใหม่ๆ ในการเชื่อมต่อคนกับงานศิลปะ ออกแบบ มีเป้าหมายเพือ่ สร้างสังคมส�าหรับกลุม่ คนทีม่ คี วามคิด สร้างสรรค์ในเชิงออกแบบ โดยให้โอกาสพวกเขาใช้พื้นที่เป็น ช่องทางในการแสดงผลงานสู่สาธารณะ THE STAND : BEHIND THE ZINES Piyanoot Akkarathammakul Communication Design Fine & Applied Arts Mahidol University International College The Stand was designed with a goal of connecting people with art and design in mind. Aimed at not only consumers but also the creative community alike, the Stand provides a space for creatives to share their works in an accessible public format. feimuiz@gmail.com +66 89 810 1256

DEGREE SHOWS 2014 56


57 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 58


กุศโลบาย หรือ งมงาย อรณัฐ ปิยะเขตร

สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล งานชุดนี้ใช้การประยุกต์เรื่องความเชื่อไทยในอดีตที่แฝงไว้ด้วย กุศโลบายให้เผยออกมา เป็นการออกแบบหนังสือและภาพประกอบ โดยอาศัยรูปแบบการออกแบบและเทคนิคที่หลากหลายในการ ผลิตหนังสือเพื่อดึงดูดความสนใจของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นวัยรุ่น HIDDEN AGENDA Oranut Piyakeat Communication Design Fine & Applied Arts Mahidol University International College Hidden Agenda is a book that reinterprets Thai beliefs from the past through a format specifically designed with the modern day teenager in mind. ploypiyakeat@gmail.com +66 93 695 6265

59 DEGREE SHOWS 2014


โครงการอาสาสะดวก กรกมล เธียไพรัตน์

ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การออกแบบแอพพลิเคชัน่ และสือ่ ประชาสัมพันธ์โครงการอาสา สะดวก เกิดขึน้ โดยมีจดุ มุง่ หมายเป็นศูนย์กลางระหว่างอาสาสมัคร กับมูลนิธิต่างๆ ให้มาเจอกันโดยการออกแบบแอพพลิเคชัน่ ให้ ใช้งานง่าย เหมาะกับการใช้งานของคนโดยทัว่ ไป และดูไม่น่าเบื่อ เพื่อเป็นการเปลี่ยนทัศนคติเดิมๆ ว่างานอาสาสมัครน่าเบื่อ แต่ ที่จริงแล้วยังมีงานอาสาสมัครที่สนุกและเหมาะกับเรารออยู่อีก หลายอย่าง EASY VOLUNTEER Kornkamol Thiapairat Department of Industrial Design Faculty of Architecture Chulalongkorn University The Easy Volunteer project is a public application created to function as a tool of connection between volunteers and foundations that is flexible and suitable for a variety of users. kornkamol.koy@gmail.com +66 86 773 2111

DEGREE SHOWS 2014 60


61 DEGREE SHOWS 2014


ANIMATION AND MOTION GRAPHIC


กรรมการตัดสิน

สมคิด เปีย่ มปิยชาติ บรรณาธิการอ�ำนวยการ ส�ำนักพิมพ์ฟลู สต๊อป นวรัตน์ รุง่ อรุณ นักเขียนและนักท�ำหนังอิสระ ทรงศีล ทิวสมบุญ นักวาดภาพประกอบ และนักเขียนอิสระ JUDGES

Somkid Paimpiyachat Editor in Chief FULLSTOP Navarutt Roongaroon Writer and filmmaker Songsin Tiewsomboon Writer & Illustrator


DEGREE SHOWS 2014 64


65 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF ANIMATION AND MOTION GRAPHIC

PULLETERNITY วรัฎฐา อัครลาวัณย์

สาขาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต ด้วยความเป็นคนช่างเสียดาย ไม่ชอบให้ของต้องเสียไปอย่าง เปล่าประโยชน์ ในเมือ่ ของทีค่ นไม่ตอ้ งการจะกลายเป็นขยะ คิดดีๆ แล้วของทีเ่ ราจะทิง้ บางทีกไ็ ม่ได้ไร้คา่ ขนาดทีจ่ ะต้องเป็นขยะไปจริงๆ PULLETERNITY Waradtha Akaralawan Faculty of Digital art Bachelor of Fine Arts Program in Computer Art Rangsit university From the idea that things we want to throw away, indeed they would give an advantage to us. hewtred@gmail.com +66 82 015 4510

DEGREE SHOWS 2014 66


67 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 68


CIRCLE ธาวิต เวชกิจ วริศา สินธุธาน จิระกุล ราษฎร์พทิ กั

ภาควิชามีเดียอาร์ต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในปัจจุบนั สังคมไทยมีการเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก ท�าให้บรรดา คนที่อาศัยอยู่ในสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นภูมิภาคใด จะเป็นชนบท หรืออยู่ในเมืองหลวงก็จ�าเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตไป ตามยุคสมัย โดยเฉพาะคนที่อาศัยอยู่ในเมืองหลวงในยุคที่มีแต่ การแข่งขันสูงในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นการงานอาชีพ ความรู้ หรือ แม้แต่เรื่องการเดินทางในชั่วโมงเร่งด่วนที่มีแต่การจราจรติดขัด สิ่งเหล่านี้จึงเป็นตัวบังคับให้มนุษย์ต้องใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบใน ทุกๆ วัน เลยไปจนถึงมองข้ามบางสิ่งบางอย่างที่ส�าคัญในชีวิต CIRCLE Thavit Vechakij Warisa Sinthuthan Jirakun Ratpitak Media Art King Mongkut’s University of Technology Thonburi The plot for this work stems from the fact that the human life is something of a routine not unlike a cycle. People are constantly surrounded by the rush of time, a fact which often causes us to lose focus on that which is really important. Thavitv36@hotmail.com +66 89 018 5442

69 DEGREE SHOWS 2014


TO THE LIGHT เจน ฮ่อสกุล

วิชาเอกการผลิตอนิเมชั่น หลักสูตรสร้างสรรค์สื่อบันเทิง วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นการเล่าเรือ่ งราวของต้นกล้าต้นหนึง่ ทีพ ่ ยายามตามหาแสงสว่าง อย่างไม่ยอ่ ท้อเพือ่ ทีจ่ ะได้เบ่งบานดอกไม้ของตนเอง ตัวละครหลัก ไม่มีหน้าและไม่มีบทพูด ใช้ลักษณะท่าทางในการสื่อถึงความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของตัวละคร สาสน์ส�าคัญที่ต้องการสื่อใน อนิเมชั่นเรื่องนี้ คือ ไม่ว่าเราจะเป็นใคร ไม่ว่าจะมีเป้าหมายเป็น อะไร ถ้าเราพยายามทุ่มเทเพื่อมันมากพอ แล้วเราไม่ย่อท้อต่อ อุปสรรคที่เข้ามา ที่ส�าคัญที่สุดคือถ้าเราไม่ยอมแพ้ใจตัวเอง ไม่ล้มเลิกความตั้งใจไปเสียก่อน ไม่ว่าเป้าหมายใดๆ ก็จะไม่ไกล เกินเอื้อม TO THE LIGHT Jane Horsakul Entertainment Media Program Animation Production Mahidol University International College ‘To the Light’ tells the story of a seedling that perseveres in search of light required for its flower to bloom. The protagonist remains faceless and without dialog allowing for their thoughts, emotions and feelings to come through in the form of gestures. The underlying message of the animation is that: no matter who you are or what your goal may be, if you work hard enough for it, refuse to surrender and most importantly never give up on yourself, no goal is too great to be achieved. jh_city@hotmail.com +66 84 199 8474

DEGREE SHOWS 2014 70


71 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 72


แม่ยา่ นาง ธนสรณ์ บุญลือ ดวงหทัย โสตถิเสาวภาค ชัญญา เถียรชินวรา

ภาควิชามีเดียอาร์ต คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี แม่ย่านาง เป็นอนิเมชั่น 2 มิติ ที่อ้างอิงมาจากเรื่องราวความเชื่อ ของวิญญาณหญิงสาวผู้ท�าหน้าที่ปกปักรักษาเรือทีมปลาหมึก เย็นบนดวงจันทร์ (ประกอบด้วยสมาชิก 3 คน คือ ดวงหทัย โสตถิเสาวภาคย์ ธนสรณ์ บุญลือ และ ชัญญา เถียรชินวรา) จัดท�าอนิเมชัน่ ชิน้ นีเ้ พือ่ งานศิลปนิพนธ์ ด้วยความตัง้ ใจจะบอกเล่า เนื้อหาที่มีความเป็นไทย โดยได้แรงบันดาลใจเนื้อเรื่อง ตัวละคร และสถานที่มาจากหมู่บ้านชาวประมง ป่าโกงกาง และชายทะเล ที่จังหวัดตราด MAE YA NARNG Tanasorn Boonlue Duanghathai Sotthisaowaphak Chanya Teanchinwara Media Art King Mongkut’s University of Technology Thonburi This 2D animation project references the story of ‘Mae Yar Nang,’ a woman whose spirit protects boats on the sea. stopmedia1991@gmail.com +66 87 358 1249

73 DEGREE SHOWS 2014


KINDO AND FROSKY ศรัญย์ภทั ร แซ่หวอง

ภาควิชาดิจิทัลอาร์ต คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม อนิเมชัน่ เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งราวของตัวละคร 2 ตัว ทีเ่ ป็นนักประดิษฐ์ ทั้งสองได้ช่วยกันประดิษฐ์ยานพาหนะ แต่ด้วยความกวนของ ตัวละครตัวเล็กจึงท�าให้เกิดเรื่องวุ่นวายต่างๆ ขึ้น KINDO AND FROSKY Sarunpat Saewong Digital Arts School Digital Media Sripatum University Two innovators have created a unique vehicle but, due to some interruptions and conflicts, problems also begin to find their way into the stor. kunyawee.ph@spu.ac.th +66 86 933 9614

DEGREE SHOWS 2014 74


75 DEGREE SHOWS 2014


FASHION DESIGN


กรรมการตัดสิน

สธน ตันตราภรณ์ บรรณาธิการนิตยสาร ลอปติมมั ไทยแลนด์ ภูมศิ กั ดิ์ เฑียรฆประสิทธิ์ ผูก้ อ่ ตัง้ แบรนด์ PAINKILLER T PARTY วิชระวิชญ์ อัครสันติสขุ ผูก้ อ่ ตัง้ แบรนด์ WISHARAWISH JUDGES

Ston Tantraporn Editor-in-Chief L’optimum Thailand Poomsak Teankaprasith Founder of PAINKILLER T PARTY Wisharawish Akarasantisook Founder of WISHARAWISH


DEGREE SHOWS 2014 78


79 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF FASHION DESIGN

MODERN LIFE IS RUBBISH ณัฐหทัย เหมะวิรยิ าพรวัฒนา

ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จากการศึกษาชีวิตยุคใหม่ของคนท�างานชาวญี่ปุ่นที่เลือกด�ารง ชีวิตแบบคนไร้บ้าน โดยอาศัยอยู่ตามร้านอินเตอร์เน็ต หรือ ตามโรงแรมแคปซูล สิ่งที่ท�าให้คนไร้บ้านชาวญี่ปุ่นสมัยใหม่ แตกต่างคือการมีหน้าที่การงานและรายได้ที่สามารถด�ารงชีวิต ได้ แต่ไม่สามารถบริหารจัดการได้ ท�าให้เกิดความสนใจในการ ด�ารงชีวิตและรูปแบบของการแต่งกายโดยดึงเอารูปแบบการ แต่งตัวของชาวญี่ปุ่นมาผสมผสานกับข้อจ�ากัดในการใช้พื้นที่ใน ที่อยู่อาศัย จนเกิดรูปแแบการแต่งกายเหมือนและแตกต่างกับ คนไร้บ้านทั่วโลก MODERN LIFE IS RUBBISH Nathathai Hemaviriyapornwattana Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University Some homeless Japanese have jobs and salaries to live in huge cities; however, they are unable to handle the typical Japanese way of life. Therefore, they choose to live as a homeless person in Internet cafés and capsule hotels, taking on a modern, Japanese homeless lifestyle very different from a typical living situation. This work takes this incredible concept as its inspiration resulting in a homeless costume that appears attractive and fashionable to passersby. Combing both the formality of black and white with contemporary casual wear and materials such as clothing and rags, a unique blend of the typical dress of the homeless and formal wear focused on neatness and layering through a patchwork technique is achieved. The logo of the design further references the concept, combing the imagery of a silver coin with a sense of illusion. nathathai.h@gmail.com +66 85 827 2469

DEGREE SHOWS 2014 80


DEGREE 81 DEGREE SHOWS SHOWS 2014 00 2014 - 00


DEGREE SHOWS 2014 82


ดอกไม้แห้ง วิวฒ ั น์ จินดาไทย

ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผลงานชุดนี้ได้เเรงบันดาลใจมาจากผลงานศิลปะภาพปะติดโดย ศิลปิน บาเเซน โซนี ศิลปินผู้ถ่ายทอดเเนวคิดภายใต้ความงาม ในอุดมคติโดยสื่อผ่านเรื่องราวความงามที่ธรรมชาติรังสรรค์ ขึ้น ความน่าสนใจของผลงานศิลปินท่านนี้คือการน�าดอกไม้เศษ วัสดุที่ถูกทิ้งไปตามธรรมชาติมาปะติดจนเกิดเป็นเรื่องราว โดย ศิลปินต้องการสอดเเทรกให้ผทู้ มี่ าชมผลงานได้ตระหนักเเละรูส้ กึ ในการทีจ่ ะรักธรรมชาติมากขึน้ จึงเกิดเเนวคิดการออกเเบบเสื้อ ในคอลเล็คชัน่ นีส้ อื่ ผ่านเรือ่ งราวทีถ่ กู ถ่ายทอดมาจากระบวนการ ความคิดต่างๆ ที่เกิดขึ้นโดยผ่านการใช้เทคนิคผ้าลายพิมพ์ ธรรมชาติเเละการน�าสิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ดอกไม้เเห้ง และใบไม้มาปะติดจนเกิดเป็นเรื่องราวขึ้นมา ตลอดจนการใช้วิธี การพิมพ์ผ้าในรูปเเบบที่เเตกต่างไปจากเดิม คือการน�าผลงาน ส�าเร็จไปกดทับด้วยความร้อนเพือ่ ให้เกิดมุมมองในการพิมพ์ลาย ทีเ่ เปลกใหม่ รวมไปถึงวิธกี ารสร้างรูปเเบบเสือ้ ผ้าทีผ่ สมผสาน เอาไว้หลากหลายรูปเเบบเพือ่ ให้เกิดความลงตัวเเละสร้างความ น่าสนใจให้กับเสื้อผ้า DRY FLOWERS Wiwat Jidathai Program in Fashion and Textile Design Fine and Applied Arts Bangkok University The inspiration for this work is drawn from a collage by the artist Basan Sony who reflected a sense of idealized beauty through a story formed by nature. In response, the clothing is designed with prints of natural scenes and novel cloth patterns. jindathai_79@hotmail.com +66 85 379 1888

83 DEGREE SHOWS 2014


คนข้างๆ สิรพ ิ มิ พูลสมบัติ

ภาควิชานฤมิตศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานชุดนี้กล่าวถึงสินค้า ลักษณะการใช้ชีวิตผ่านแนวคิด เกีย่ วกับจิตใจ อารมณ์ และความรูส้ กึ (MIND) เพือ่ สือ่ ความหมาย และความเชื่อมโยงกัน (CONNECTION) ตอบสนองประโยชน์ การใช้สอย (FUNCTION) สร้างความสมดุล (BALANCE) และ เพือ่ สร้างภาพลักษณ์ใหม่ (IMAGE) ตอบสนองการใช้งานส�าหรับ คูร่ กั ในแบบต่างๆ ทัง้ เวลาอยูด่ ว้ ยกัน หรือแม้กระทัง่ เวลาห่างไกลกัน เสื้อผ้ามีรูปแบบโครงสร้างที่แตกต่าง บางชิ้นสามารถส่วมใส่ได้ 2 คน โดยมีรูปแบบที่เปลี่ยนไปเหมาะกับแต่ละคน (หญิง-ชาย) การวางลายและสีทนี่ า� เรือ่ งของการรับรูแ้ ละมุมมองทีแ่ ตกต่างกัน ด้วยแนวทางการสร้างลวดลายด้วยศิลปะแนวแอ๊บสแตร็คอาร์ต การใช้สีและสัดส่วนที่เหมาะสมกับการมองเห็น การรับรู้ผ่าน ประสาทสัมผัสโดยใช้กลิ่นซึ่งท�าให้รู้สึกดี ผ่อนคลาย และนึกถึง คู่รักเมื่อต้องอยู่ห่างไกลกัน BESIDE ME Siripim Poolsombat Faculty of Fine and Applied Arts Chulalongkorn University This project takes on the principle of finding a balance between the mind, human connections, and function all within a new image outlined through clothing. The clothes are created with the different aspects of couples in mind and some are meant for two, coming together in design through patterns and colors when couples wear the items together. siripimchanok12@hotmail.com +66 85 121 7733

DEGREE SHOWS 2014 84


85 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 86


โรงงานมนุษย์ อลิสา ตรีประเสริฐ

ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การปลูกฝังความคิดตามระบบสังคมผลิตมนุษย์เพื่อตอบสนอง และขับเคลื่อนตัวมันเองด้วยการอบรมบ่มเพาะผ่าน ‘โรงงาน มนุษย์’ การออกแบบแนวคิดข้างต้นก�าเนิดชุดที่สวมใส่ง่ายโดย ใช้วัสดุที่สามารถดัดแปลงจากรูปทรงแบนราบลดทอนความงาม ส่วนเกินที่บดบังตัวตนของผู้สวมใส่ HUMAN FACTORY Alisa Treprasert Department of Fashion Design Faculty of Decorative Art Silpakorn University This concept reflects the character of manufacturing, where all mankind is steered towards meeting the requests and demands of society. Furthermore, all of the suits are designed to reduce any sense of aesthetic surplus while still allowing for the wearer’s unique identity to come through. knot_7th@hotmail.com +66 94 180 4204

87 DEGREE SHOWS 2014


ตุก๊ ตากระดาษ ปาณิสา นุชโพธิ์

ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ตุ๊กตากระดาษ เป็นของเล่นที่ปรากฏขึ้นในทุกยุคทุกสมัยและ เป็นที่น่าประทับใจสาหรับเด็กที่รักในการเล่นแต่งตัวและผู้ใหญ่ ที่ชื่นชมเก็บสะสม ผ่านกาลเวลาเนิ่นนานและเป็นส่วนหนึ่งของ ความทรงจาในวัยเยาว์ของผู้คน ทว่าในปัจจุบันของเล่นทาง เทคโนโลยีได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่องและเข้ามาแทนที่ของ เล่นรูปแบบดั้งเดิมทาให้การเล่นตุ๊กตากระดาษถูกลืมเลือนไป จากเด็กในยุคปัจจุบัน การศึกษาตุ๊กตากระดาษเพื่อพัฒนา สร้างสรรค์เป็นคอลเลกชั่นเครื่องแต่งกายที่แสดงแนวความคิด นี้จึงเกิดขึ้น โดยดึงเอาเอกลักษณ์ของตุ๊กตากระดาษในด้าน โครงชุด(รูปทรง (SILHOUETTE)) ลวดลาย (PRINTED) และ ความเป็นสองมิติมาผสมผสานกับการออกแบบใหม่ด้วยเทคนิค เฉพาะตน เพื่อให้ผู้คนได้ระลึกถึงการเล่นตุ๊กตากระดาษที่กลับ มาฟื้นความทรงจาอีกครั้งในรูปแบบเครื่องแต่งกายบนร่างกาย ของมนุษย์ PLAY AGAIN Panisa Nuchpho Department of Fashion Design Faculty of Decorative Art Silpakorn University This project was inspired by paper dolls that were a common toy for children in the past. Reminding us of the antique plaything that has faded away in modern times, the project brings elements of both form (silhouette) and pattern (printed) together to create new styles of clothing for the modern fashion enthusiast. panisanuch.n@gmail.com +66 94 601 7792

DEGREE SHOWS 2014 88


89 DEGREE SHOWS 2014


JEWELRY DESIGN


กรรมการตัดสิน

เอมไอ ลีลาศ ศิลปินอิสระ ฐิตริ ตั น์ คัชมาตย์ นักออกแบบ / ศิลปิน ปัญจพล กุลปภังกร Creative Director แบรนด์ This means That JUDGES

Aem.i leelas Artist Tithi Kutchamuch Designer / Artist Panjapol Kulpapangkorn Creative Director of This means That


DEGREE SHOWS 2014 92


93 DEGREE SHOWS 2014


BEST OF JEWELRY DESIGN

เครือ่ งประดับไทยร่วมสมัย ‘ว่าด้วยเรือ่ งความงาม อันปราศจากพืน้ ทีว่ า่ ง’ เดชณรงค์ คงเย็น

ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จากความประทับใจในศิลปะการตกแต่งข้าวของเครื่องใช้ด้วย วิธีการซ�้าลวดลายที่วิจิตรลงบนวัตถุข้าวของ เครื่องใช้จนเกิด พลวัตการขับเคลื่อนที่มีชีวิต ในฐานะนักออกแบบจึงอาศัย องค์ประกอบ การผลิ การปะทุ แสดงอารมณ์ความงามแห่ง ลวดลายที่มีชีวิตให้เป็นที่ประจักษ์ โดยปรากฎรูปออกมาเป็น ผลงานเครื่องประดับไทยร่วมสมัยอันทรงคุณค่า CONTEMPORARY JEWELRY EMBELLISHED WITH PATTERN OF MITIFS Dachnarong Kongyen Department of Jewelry Design Faculty of Decorative Art Silpakorn University This project was inspired by repeating patterns of traditional and decorative Thai housewares to create new and contemporary works of jewelry. Furthermore, the two-dimensional designs are rendered in three-dimensional forms creating an illusion of the imagery radiating out and evoking a sense of the pattern itself having life. cach.kongyen@gmail.com +66 83 654 8505

DEGREE SHOWS 2014 94


95 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 96


โครงการออกแบบเครือ่ งประดับทีส่ ร้างคุณค่าด้วย เรขาคณิตของอัญมณีผสานแสงและเงา ธนิสรา โพธิน์ ทีไท

ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การค้นหาคุณค่าในแนวทางใหม่ดว้ ยแสงและเงาเป็นแรงบันดาลใจ ของเครื่องประดับ โดยใช้อัญมณีอันเป็นสิ่งที่มนุษย์ยอมรับว่า มีคุณค่า มาเป็นตัวแทนที่ท�าให้แสงและเงาจับต้องได้ THE FACET Tanisara Poenateetai Department of Industrial Design Faculty of Architecture Chulalongkorn University This design was inspired by light and shadow, the temporality of these two elements captured in a tangible reality within the jewelry forms. jazztanis@gmail.com +66 86 052 0205

97 DEGREE SHOWS 2014


เครือ่ งประดับหลากมุมมอง ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจาก ตัวละคร ‘โมรา’ พลัฏฐ์ จิรพุฒนิ นั ท์

ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ชุดผลงานศิลปะเครื่องประดับกายที่ต้องการน�าเสนอความ ก�ากวมผ่านสัญลักษณ์แทนผู้หญิงทั้ง 2 อุปนิสัยที่ขัดแย้งกัน เพื่อสร้างความประหลาดใจและกระตุ้นให้ผู้ชมได้เห็นถึงมุมมอง อื่นๆ ที่ต่างออกไป โดยเลือกใช้ ‘โมรา’ เป็นกรณีศึกษา เพื่อ ชี้ให้เห็นว่าจากที่เคยได้มองตัวละครนี้เป็นต้นแบบของผู้หญิงที่ ไร้ซึ่งสามัญส�านึกและมักมากในประเวณี แท้จริงแล้ว หากผู้ชม เข้าใจบริบทของเนื้อหาในบทประพันธ์ ก็จะพบว่าตัวละครนี้เป็น อีกตัวอย่างหนึ่งของผู้ถูกกระท�าที่เกิดจากการเข้าใจ ผิด โดย แก่นสาระที่เจ้าของผลงานต้องการน�าเสนอนั้น คือ ‘จงอย่า ตัดสินสิ่งใดเพียงผิวเผิน หากยังไม่ได้เปิดใจสัมผัสด้วยตนเอง ว่าแท้จริงเป็นเช่นไร’ MOLA Palat Jiraputtinan Department of Jewelry Design Faculty of Decorative Art Silpakorn University Inspired by the female character in the epic known as ‘Mola,’ this project design celebrates a woman’s two different personalities within one jewelry design. palatman@hotmail.com +66 87 588 3922

DEGREE SHOWS 2014 98


99 DEGREE SHOWS 2014


DEGREE SHOWS 2014 100


โครงการออกแบบเครือ่ งประดับทีม่ สี มั ผัส ตรงข้ามกับรูปลักษณ์ ธัญญา ลือชาพัฒนพร

ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นอกจากประสาทรับรู้ทางการมองเห็น ประสาทสัมผัสอีกอย่าง ที่ถูกใช้ในการสวมใสเครื่องประดับคือการรับรู้ทางผิวสัมผัส ซึ่งหลายครั้งที่เรามักจะจินตนาการ สัมผัสจากรูปลักษณ์ที่เรา มองเห็นแต่บางครั้งสิ่งที่เราเห็นเมื่อสัมผัสแล้วกลับไม่เป็นอย่าง ที่เราคิด HUG ME Tanya Luechapatanaporn Department of Industrial Design Faculty of Architect Chulalongkorn University This jewelry was created with the sense of not only sight, but also touch in mind. The synesthetic nature of the design creates a new and different experience for the wearer. tanya-lue@hotmail.com +66 89 811 6672

101 DEGREE SHOWS 2014


เครือ่ งประดับทีร่ ะลึกถึงความทรงจ�าในรถจักรยานยนต์ HONDA รุน่ SUPER CUB ทีผ่ ลิตใน ค.ศ.1958-1979 พูก่ นั บาลไธสง

ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประสบการณ์ระหว่างรถจักรยายนต์โบราณซึ่งมีความใกล้ชิด กับกลุม่ คนกลุม่ นีท้ มี่ คี วามคิดและความทรงจ�าในรถจักรยานยนต์ โบราณของตัวเอง ดังนัน้ จึงเลือกรถจักรยานยนต์ทมี่ ปี ระวัตศิ าสตร์ ที่ยาวนานรุ่นหนึ่ง คือ รถจักรยานยนต์ HONDA รุ่น SUPER CUB จึงหยิบอัตลักษณ์และวิธกี ารมีปฏิสมั พันธ์ของผูค้ รอบครอง ของรถจักรายานยนต์มาเล่าผ่านเครื่องประดับในชุดนี้ REMEMBRANCE OF HONDA MODEL SUPER CUB SINCE 1958-1979 Pugun Banthaisong Department of Jewelry Design Faculty of Decorative Art Silpakorn University The project was inspired by the 50s motorcycle: Honda Super Cub with an aim of creating a contemporary jewelry work that can remind and take people back to places and times of the past. pugun.ban@gmail.com +66 81 567 5554

DEGREE SHOWS 2014 102


103 DEGREE SHOWS 2014


FINALISTS

Architecture ณัฐพงษ์ ประดิษฐ์ธรรม ภาควิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ Nattapong Pradisthum Faculty Of Architecture Rajamangala University Of Technology / ยุทธการณ์ บุญณรงค์ ภาควิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Yoothakarn Boonnarong Faculty Of Architecture Rajamangala University Of Technology / กิตติพันธุ์ อนันเต่า ภาควิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Kittipan Anantao Faculty Of Architecture Rajamangala University Of Technology / ปานฝัน จิตต์มิตรภาพ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Bahnfun Chittmittrapap Bahnfun Chittmittrapap Chulalongkorn University / ถมทอง รุ่งสว่าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Tomthong Rungsawang International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / มิลิน วินทะไชย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Milin Wintachai School Of Architecture And Design, King Mongkut’s University Of Technology / สุพพัต พรพัฒน์กลุ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Suppat Pornputtkul Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / วรัญชลี สุวรรณพิมลกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Waranchalee Suwanpimolkul International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / พิชญา พูลศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัย ศิลปากร Pitchaya Poonsin Faculty Of Architecture Silpakorn University / ศิราภา ศุภะกะลิน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Sirapa Supakalin International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / ธนวัฒน์ พิทักสิทธิ์เกษม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thanawat Phituksithkasem International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / บุณยนุช ตันวัฒนาดำ�เนิน คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Boonyanuch Tanwattanadamnoen Faculty Of Architecture King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / พลอยนิสา มงคลอดิสัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Ploynisa Mongkoladisai International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / สิทธิวฒ ั น์ สุทธิจารุ degree shows 2014 104


คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Sitthiwat Suddhijaru International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / ธิติ คุณาจิตพิมล คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร Thiti Kunajitpimol Faculty Of Architecture Silpakorn University / จริยาพร ประชาศรัทธา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Jariyaporn Prachasartta International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / รดาการ ตั้งมหัทธนะกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Radakarn Tangmahattanakul Faculty Of Architecture Kasetsart University / ธนพร หล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (สถาปัตยกรรม) นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thanaporn Lam International Program In Design And Architecture (Inda) Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / สนิทวงศ์ สว่างแจ้ง คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Sanitwong Sawanjange Faculty Of Architecture Rangsit University / พงศ์พสุ ศัสตราพฤกษ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Pongphasu Sattrapruek Faculty Of Architecture Kasetsart University

Interior Design วราภรณ์ เลิศทวีชยั สกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Waraporn Lertthaveechaisakul Interior Design / School Of Architecture Bangkok University / มนัญญา ภากรศิรวิ งศ์ สถาปัตยกรรมภายใน สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Mananya Pakornsiriwongs Faculty Of Architecture King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / ชาญเทพ แซ่ลี้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ Chanthep Sae-Lee Faculty Of Architecture Interior Design King Mongkut’s University Of Technology North Bangkok / คณิศร์ อภิสิทธิพิชญ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Kanit Apisitipich Faculty Of Architecture Interior Design Chulalongkorn University / ธราดล สุจริตวรกุล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Taradol Sutjaritvorakul Interior Design School Of Architecture Bangkok University / ญาดา เพียรพานิชย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Yada Pianpanit Faculty Of Architecture Interior Design Chulalongkorn University / คมสันต์ เกิดสลุง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Komsun Kerdsalung Faculty Of Architecture Interior Design Rajamangala University Of Technology / สโรชา ด่านจิระมนตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Sarocha Danjiramontri Faculty Of Architecture Interior Design Rajamangala University Of Technology / ทิพรัตน์ เล็กศิริมนตรี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Thipparat Leksirimontri Faculty Of Architecture Interior Design King Mongkut’s University Of Technology North Bangkok / อานุภาพ ปลายขอก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี Anuparp Plaikhok Faculty Of Architecture Interior Design Rajamangala University Of Technology / น้ ใส วิมุตตินันท์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Namsai Vimuttinunt Faculty Of Architecture Interior Design Chulalongkorn University / อภิวัฒน์ สุธีพงศ์ โสภณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Apiwat Sutheepongsopon Faculty Of Architecture Interior Design Rangsit University / วิชชากร วณิชเดโชชัย คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Wichchakorn Wanichdechochai Faculty Of Architecture Interior Design Chulalongkorn University / ฐาน์ณิชา ภูษณชาคร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบ ตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Tanicha Pasunachakorn Faculty Of Architecture Interior Design King Mongkut’s University Of Technology / กิตติพงษ์ เรืองกิตติธ์ าริน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยรังสิต Kittipong Ruangkittharin Faculty Of Architecture Interior Design Rangsit University / สหัสชัย ชูฉมิ คณะศิลปะและการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต Sahudchai Chochim Faculty Of Architecture Interior Design Rangsit University / อภิญญา สุขจิตต์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี Apinya Sukjit Faculty Of Architecture Interior Design Rajamangala University Of Technology / ปาณัสม์ เจริญมนตรี ภาควิชาสถาปัตยกรรม ภาควิชาออกแบบภายใน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Panat Charoenmontree Faculty Of Architecture Interior Design King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / วรรณิดา สิงหเดช คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ออกแบบตกแต่งภายใน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Wannida Singhadej Faculty Of Architecture Interior Design Chulalongkorn University / ภูมพ ิ ฒ ั น์ วรัทเกียรติธนา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Poompat Waratkiachthana Interior Architecture Thammasat Design School Thammasat University 105 degree shows 2014


Product Design อักษรินทร์ เอื้อมโนวิไล สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Aksarin Eurmanowilai Department Of Product Design Faculty Of Decorative Arts Silpakorn University / ภัททะพงศ์ วงศ์เมฆ ภาควิชาออกแบบ อุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Pattapong Wongmek Industrial Design Program, School Of Architecture And Design King Mongkut’s University Of Technology Thonburi / พงศกร อัครมณีตระกูล คณะศิลปะและการออกแบบ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยรังสิต Pongsakon AkaramaNeethakul Department Of Product Design Art And Design Rangsit University / กมลวรรณ กวีรัตนธนะ ภาควิชา ออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Kamolwan Gaviratanathana Department Of Industrial Design, Faculty Of Architecture, Chulalongkorn University / อรรถพงษ์ หล้าคำ�มูล ภาควิชา ออกแบบอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Autapong Lakhammoon Industrial Crafts Design Fine And Applied Arts Thammasat University / พิชญา คูวัฒนาถา ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pitchaya Koowattanatawor Department Of Industrial Design, Faculty Of Architecture, Chulalongkorn University / แพรศิริ ศิลป์ศรีกุล ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pearsiri Silpsrikul Department Of Industrial Design, Faculty Of Architecture, Chulalongkorn University / ชานนท์ ลินด์บลัด คณะศิลปะและการออกแบบ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยรังสิต Chanon Lindblad Faculty Of Art & Design Department Of Product Design Rangsit University / ณัฐฐ์ศศิ คงกวินวงศ์ คณะครุศาสตร์ สาขาศิลปศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Nutsasi Konggawinwong Art Education Chulalongkorn University / ณัฐฏิยา รัชตราเชนชัย สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nuttiya Ratchtrachenchai Department Of Product Design Faculty Of Decorative Arts Silpakorn University / นันทิพัชร ลิมพะสุต สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Natipat Limbasuta Department Of Product Design Faculty Of Decorative Arts Silpakorn Universit / ปนิดา โพธารากุล คณะศิลปะและการออกแบบ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยรังสิต Panida Potarakul Faculty Of Art & Design Department Of Product Design Rangsit University / สไบทิทย์ บุตรไธสง ภาควิชา นฤมิตศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมือง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Sabathip Budthaisong Faculty Of Architecture Urban Design And Creative Arts Mahasarakham University / การิตา เฮงสกุลวัฒน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เอกออกแบบ ทัศนศิลป์-ออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Karita Hengsakulwat Faculty Of Fine Arts- Major In Product Design Srinakharinwirot University / กนกลักษณ์ คงสำ�ราญ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เอกออกแบบทัศนศิลป์ ออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Kanoklak Kongsamran Faculty Of Fine Arts- Major In Product Design Srinakharinwirot University / สุกฤตา บึงสว่าง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาศิลปะบอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Sukkritta Buengsawang Industrial Design Program, School Of Architecture And Design King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / จุรีย์ สินสวัสดิ์มงคล สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Juree Sinsawatmongkon Department Of Product Design Faculty Of Decorative Arts Silpakorn University / จักรกฤษณ์ คำ�ไสล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาศิลปะบอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Jakkit Kamsai Industrial Design Program, School Of Architecture And Design King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / อติพร ใจสุภาพ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น Atiphorn Jaisuphap Industrial Design Program, School Of Architecture And Design Khon Kaen University / ณัฐกานต์ ถาวรธรรมฤทธิ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น Nutthakan Thawornthammarith Industrial Design Program, School Of Architecture And Design Khon Kaen University

Graphic Design กันตพร วิรบุตร์ ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Kantaporn Wirabutra Industrial Design, Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / ธนภัทร ศิลโสภิต คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขา การออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Thanapat Silsopit Communication Design Fine And Applied Arts Bangkok University / กฤติน ธีรวิทยาอาจ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Krittin Teerawittayart Visual Communication Design, Faculty Of Decorative Arts Silpakorn University / ศรัณย์ โพธาเจริญ คณะศิลปกรรมศาสตร์ เอก ออกแบบสื่อสาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Sarun Pothacharoen Faculty Of Fine Arts Srinakharinwirot University / พิชญา โชนะโต ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pitshaya Chonato Industrial Design , Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / สุจิตตรา ติยะโสภณจิต คณะศิลปกรรมศาสตร์ degree shows 2014 106


เอกออกแบบสือ่ สาร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Sujittra Tiyasophonjit Faculty Of Fine Arts Srinakharinwirot University / กิตติพันธ์ วิมุกตะนันทน์ สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Kittipan Vimooktanan Visual Communication Design Dept Faculty Of Art And Design Rangsit University / อัครพล หมุนรอด สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Kkarapon Munlod Visual Communication Design Dept., Faculty Of Art And Design Rangsit University / จิรายุทธ กุลพฤกษ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Jirayut Kunlaphuk Communication Design Fine And Applied Arts Bangkok University / นริศรา สกุลไพศาลสิน ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Narissara Sakulpaisansin Visual Communication Design, Faculty Of Decorative Arts Silpakorn University / นวพรรษ หมวดเจริญ สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและ การออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Nawaphat Muadcharoen Visual Communication Design Dept., Faculty Of Art And Design Rangsit University / ปิยนุช อัครธรรมกุล สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล Piyanoot Akkarathammakul Communication Design Fine & Applied Arts Mahidol University International College / ภูริวัจน์ ไชยภัทร์นิธิกุล สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล Phuriwat Chaipatnithikul Communication Design/ Fine & Applied Arts Mahidol University International College / อรณัฐ ปิยะเขตร สาขา ออกแบบนิเทศศิลป์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล Oranut Piyakeat Communication Design/ Fine & Applied Arts Mahidol University International College / กฤษฎานันท์ สินชัยสิทธิพร สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต Kritsadanan Sinchaisittiporn Visual Communication Design Dept., Faculty Of Art And Design Rangsit University / กรกมล เธียไพรัตน์ ภาควิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Kornkamol Thiapairat Industrial Design, Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / ชนกนันท์ นิยมทรัพย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Chanoknun Niyomsap Communication Design Fine And Applied Arts Bangkok University / ศศิวมิ ล สุนทรวิกรานต์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Sasiwimon Sunthonwikran Visual Communication Design, Faculty Of Decorative Arts / บุษยาภรณ์ ยูโซะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบสนเทศสามมิติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Bussayabhorn Yuso Faculty Of Information Technology King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / ปัญญวัฒน์ พิทกั ษวรรณ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาการออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Panyawat Phitaksawan Communication Design Fine And Applied Arts Bangkok University

Animation And Motion Graphic กรกช ภูมิใจสกุล, นัยน์ปพร อัครโชติชัย คณะครุศาสตร์ สาขามีเดียอาร์ต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Kokrakot Poomjaisakul, Naipaporn Akrachotchai Media Art King Mongkut’s University Of Technology Thonburi / ชนาวิชญ์ กิจสมุทร ภาควิชาศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบสื่อนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร Chanawit Kitsamui Art And Design Faculty Of Architecture Major Innovative Media Design Naresuan University / ธาวิต เวชกิจ, วริศา สินธุธาน, จิระกุล ราษฎร์พิทักษ์ คณะครุศาสตร์อุตสหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี Jirakun Ratpitak,Thavit Vechakij, Warisa Sinthuthan Media Art King Mongkut’s University Of Technology Thonburi / ชัยสัญญ์ ศรีวราธนานันท์ คณะดิจิทัลมีเดีย สาขาวิชาดิจิทัลอาร์ตส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Chaisund Srivaratananun School Digital Media Digital Arts Sripatum University / เจน ฮ่อสกุล สาขาสร้างสรรค์สื่อบันเทิง (การผลิตอนิมชัน) มหาวิทยาลัยมหิดล Jane Horsakul Entertainment Media Program (Animation Production) Mahidol University International College / วรัฎฐา อัครลาวัณย์ คณะดิจิทัลอาร์ต สาขาคอมพิวเตอร์อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต Waradtha Akaralawan Faculty Of Digital Art Bachelor Of Fine Arts Program In Computer Art Rangsit University / ธนสรณ์ บุญลือ, ดวงหทัย โสตถิเสาวภาคย์, ชัญญา เถียร ชินวรา คณะครุศาสตร์ สาขามีเดียอาร์ต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี Tanasorn Boonlue Duanghathai Sotthisaowaphak Media Art King Mongkut’s University Of Technology Thonburi / ณัฐวัตร คำ�ดี คณะดิจิทัลมีเดีย สาขาวิชาดิจิทัลอาร์ตส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Nattharat Khumdee School Digital Media Digital Arts Sripatum University / ณัชวี ศรีวัย คณะดิจิทัลมีเดีย สาขาวิชาดิจิทัลอาร์ตส์ มหาวิทยาลัย ศรีปทุม Natchawee Sriwai School Digital Media Digital Arts Sripatum University / ศรัญย์ภทั ร แซ่หวอง คณะดิจทิ ลั มีเดีย สาขาวิชาดิจิทัลอาร์ตส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Sarunpat Saewong School Digital Media Digital Arts Sripatum University / ปาจรีย์ รอดสมบูรณ์ คณะดิจิทัลมีเดีย สาขาวิชาดิจิทัลอาร์ตส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม Pajaree Roadsamboon School Digital Media Digital Arts Sripatum University / อธิชาติ อมราพิทกั ษ์ คณะดิจทิ ลั อาร์ต สาขาคอมพิวเตอร์อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต Apichat Aummarapitak Faculty Of Digital Art Bachelor Of Fine Arts Program In Computer Art Rangsit University / ฐิติชนม์ จุ้ยเจริญ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Thitichon Juicharoen Faculty Of 107 degree shows 2014


Information And Communication Technology Silpakorn University / ณัฐ ถนอมสัมพันธ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nut Tanomsampan Faculty Of Information And Communication Technology Silpakorn University / ประจักษ์ชัย มิ่งขวัญสถิตย์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Phajagchai Mingkwansatit Faculty Of Information And Communication Technology Silpakorn University / ชนิดา ตันติยาพิทักษ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Chanida Tantiyapitak Faculty Of Information And Communication Technology Silpakorn University / อุฬาร อ่อนโอภาส ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Uran On-O-Pas Faculty Of Information And Communication Technology Silpakorn University / พรเทพ เหลืองอ่อน ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Porntep Lueangon Faculty Of Information And Communication Technology Silpakorn University / กำ�พล เฉลิมนิรันดร ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Kumpon Chalormnirandorn Faculty Of Information And Communication Technology Silpakorn University / ภาวิณี เอี่ยมเพชร การออกแบบสื่อปฎิสัมพันธ์และมัลติมีเดีย วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Pawinee Eiampetch Interactive And Multimedia Design College Of Social Communication Innovation Srinakharinwirot University

Fashion Design ปพลพัตน์ เพชรศิริธำ�รงค์ ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Papolpat Petsiritamrong Fine And Applied Arts Program In Fashion And Textile Design Bangkok University / กรุณนิสา โพธิ์เกตุ คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Karoonnisa Pogate Faculty Of Fine Arts Srinakharinwirot University / ณัฐหทัย เหมะวิริยาพรวัฒนา คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชาการ ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Nathathai Hemaviriyapornwattana Faculty Of Fine Arts Srinakharinwirot University / นภัสสร โล่ห์สถาพรพิพิธ คณะศิลปกรรมศาสตร์ ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Napatsorn Losathapornpipit Faculty Of Fine Arts Srinakharinwirot University / วรภัสร์ เทียนหล่อ ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Worapat Tianlor Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / วิวัฒน์ จินดาไทย ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Wiwat Jidathai Fine And Applied Arts Program In Fashion And Textile Design Bangkok University / อารยะพร อารีประชากุล ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Arayaporn Areeprachakul Fine And Applied Arts Program In Fashion And Textile Design Bangkok University / แพรวทิพย์ ศรีลาจันทร์ ภาควิชาการออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Praewthip Srilachan Fine And Applied Arts Program In Fashion And Textile Design Bangkok University / นิตยา เทียมสอน ภาควิชาการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ Nitthaya Thiamsorn Fine And Applied Arts Program In Fashion And Textile Design Bangkok University / สิริพิม พูลสมบัติ ภาควิชานฤมิตศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Siripim Poolsombat Faculty Of Fine And Applied Arts Chulalongkorn University / ชาตรี มณีรัตน์ ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Chatree Maneerat Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ปกรณ์สรภัฏ อัจนาศรัณย์ ภาควิชา ออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Pakornsornrapat Ajjanasarun Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / มนุชา ทองบัณฑิต ภาควิชาออกแบบเครือ่ งแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Manucha Tongbundit Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / อริศา ตรีประเสริฐ ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Alisa Treprasert Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ณิชารีย์ อำ�พันพงษ์ ภาควิชาออกแบบ เครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nicharee Ampunpong Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ปาณิสา นุชโพธิ์ ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร มหาวิทยาลัยศิลปากร Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ลลิตา นริสรานนท์ ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Lalita Narisaranont Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ดวงกมล อินทะรุกขา ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Duangkamon Intarukka Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / อทิตา ชิตอรุณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาศิลปะบอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง Atita Chitaroon Industrial Design Program, School Of Architecture And Design King Mongkut’s Institute Of Technology Ladkrabang / กฤษฎา รุ่งเป้า ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Kritsada Rungpao Department Of Fashion Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University degree shows 2014 108


Jewelry Design ธนิสรา โพธิน์ ทีไท ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Tanisara Poenateetai Industrial Design , Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / สุพชิ ญา แก้วบางกะพ้อม คณะศิลปะและการออกแบบ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยรังสิต Supichaya Kaewbangkaphom Faculty Of Art & Design Department Of Product Design Rangsit University / ภัทรียา ณ ถลาง ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pattareeya Nathanang Industrial Design, Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / ภัทรนันท์ ลิ้มโอฬารสุขสกุล ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Pattaranun Lim-Olansuksakul Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ณิญาภัทร ภู่ชยานันต์ ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Niyapat Puchayanan Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / พลัฏฐ์ จิรพุฒินันท์ ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Palat Jiraputtinan Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ธวัลพร วรศิวะ ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thawaporn Vorasiwa Industrial Design , Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / ธัญญา ลือชาพัฒนพร ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Tanya Luechapatanaporn Industrial Design, Faculty Of Architecture Chulalongkorn University / นันทกุล ซีตันติเวช ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Nantakul Seetantivaj Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / เดชณรงค์ คงเย็น ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Dachnarong Kongyen Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / จิระพงษ์ เดชรัตน์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีศิลปอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ Jirapong Dechrat Department Of Industrial Art Technology, Faculty Of Architecture And Design King Mongkut’s University Of Technology North Bangkok / พุทธณี เลาหวิทยะรัตน์ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์ เอกออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Puttanee Laohavittayarat Department Of Visual Design - Jewelry Design, Faculty Of Fine Arts Srinakarinwirot University / พู่กัน บาลไธสง ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Pugun Banthaisong Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / วิรัชยา เตชะโกมล สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์ เอกออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Wirachaya Tachakomol Department Of Visual Design - Jewelry Design , Faculty Of Fine Arts Srinakarinwirot University / ธนิพล บุษยะกษิษฐ์ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์ - เอกออกแบบเครื่องประดับ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Tanipon Busayakanit Department Of Visual Design -Jewelry Design, Faculty Of Fine Arts Srinakarinwirot University / ชาลิตษร วรวุฒิคุณา ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Chalitsorn Varavutikum Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / กุลธิดา กุลพักตรพงษ์ ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Kulthida Kullapakphong Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ชเนตตี ไซร้สุวรรณ ภาควิชาการออกแบบ เครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร Chanettee Saisuwan Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / จุฑามาศ สินธุฉาย ภาควิชาการออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร Jutamas Sintuchay Department Jewelry Design, Faculty Of Decorative Art Silpakorn University / ฑิตาพร นาคะเกศ สาขาวิชาออกแบบทัศนศิลป์ เอกออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Department Of Visual Design Jewelry Design, Faculty Of Fine Arts Srinakarinwirot University

109 degree shows 2014


degree shows 2014 110


111 degree shows 2014


degree shows 2014 112


113 degree shows 2014


degree shows 2014 114


115 degree shows 2014


degree shows 2014 116


117 degree shows 2014


degree shows 2014 118


119 degree shows 2014


degree shows 2014 120


121 degree shows 2014





www.domusacademy.com

For further info please contact Domus Academy Educational Counselor Mr Atichai Poshyanonda tel 089.424.2916 atichai.dathailand@gmail.com

Learn from the Masters at Domus Academy and have an internship in Milan

Carpe Diem project by Mednis Kaspars in collaboration with Park Hyatt Milano, Master in Interior & Living Design 2012




DEGREE SHOWS COMMITTEE

Mongkon Ponganutree มงคล พงศ์อนุตรี Pratarn Teeratada ประธาน ธีระธาดา Chamatorn Robinson ชมธร โรบินสัน Areewan Suwanmanee อารีวรรณ สุวรรณมณี PROJECT CO-ORDINATORS

Nathakan Ploysri ณฐกันต์ พลอยศรี Poorinun Peerasunun ภูรนิ นั ท์ พีรสุนนั ท์ BOOK EDITORS

Sudaporn Jiranukornsakul สุดาพร จิรานุกรสกุล Worarat Patumnakul วรรัตน์ ปทุมนากุล PROJECT DESIGNERS

Wilapa Kasviset วิลภา กาศวิเศษ Vanicha Srathongoil วณิชชา สระทองออย Jintawach Tasanavites จินตวัชร ทรรศนะวิเทศ

DEGREE SHOWS 2014 | FAST FORWARD TO 2015

PUBLISHED / EDITED & PRODUCED BY ART4D / CORPORATION 4D PRINTED BY FOCAL IMAGE FURTHER DETAILS ARE AVAILABLE ON WWW.DEGREESHOWS.COM

© Copyright 2O14 All Rights Reserved. No Part Of This Publication May Be Reproduced Or Transmitted In Any Form Or By Any Means, Electronic, Photocopying, Recording, Or Otherwise, Without The Prior Written Permission Of The Copyright Holder. While The Publisher Has Made Every Effort To Publish Full And Correct Credits For Each Piece Included In This Volume, Error Of Omission Or Commission Sometimes Occur. For This, The Publisher Is Most Regretful, But Hereby Disclaim Any Liability. Since This Book Is Printed In Four-Color Process, Some Of The Images Reproduced In It May Appear Slightly Different From Their Original Reproduction.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.