ชื่อโครงการ
โครงการศึกษากลุ่มผู้ใช้ HARLEY-DAVIDSON สู่การออกแบบ COMMUNITY SPACE
ประเภทของงานศิลปนิพนธ์
ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน (Interior Design)
ผู้ดำเนินงานศิลปนิพนธ์
นายศุภวิชญ์ ชูชื่น รหัส 6002391 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต
ที่ปรึกษาโครงงการศิลปนิพนธ์
อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์แห่งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน .............................................. คณบดีคณะวิทยาลัยการออกแบบ (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน) .............................................. ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชำนาญ) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ กาลัญญู สิปียารักษ์) .............................................. กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี) อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์
............................................................. ( อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์ )
TITLE
HARLEY-DAVIDSON USERS STUDY TO A COMMUNITY SPACE DESIGN PROJECT
NAME
SUPAWICH CHUCHUEN
MAJOR / UNIVERSITY
DEPARTMENT OF INTERIOR,RANGSIT UNIVERSITY
ADVISOR
ATTHAKRIT UTHAIGARN
ACADEMIC YEAR
2020
ARSTRACT Beginning of Harley-Davidson before it succeeded and was such a blast, it had been through thick and thin. The beginning came from two siblings, Arthur and Walter Davidson who came up with a new idea to set motors on their bikes. Their small storeroom was a place where the project was experimented in 1903. The result turned out that the first motorbike must be immediately demolished as it did not have adequate power to run up and down the hill in Milwaukee. Later in 1907, V-twin motor was successfully invented which became the identity of the brand. It was also the heart of the blasting sales rate many years later. Accordingly, Harley-Davidson has grown by leaps and bounds even though it is not the No.1 brand of America, it is not a small brand in the market anymore and this has brought continuous reputation to the brand up until now. The important thing of products that still makes reputation for the brand for 100 years consists of a number of elements but one thing that can never miss out is users. Brand loyalty is the thing that the company prioritizes even though it has to adapt along the global trends but history, values and the charisma are something that is touchable by everyone. When we see or hear the name ‘Harley-Davidson’, we all know what its character is and how different it is from other brands. One thing is equally important is that there are loyal customers who always support the company regardless of the change of product lines, strategies, or production base, these fans would still always support. The truth is a lot of Harley-Davidson owners do not consider whether to buy or not based on the price but on the belief, faith and love that they have for this brand. Nowadays, the number of Harley-Davidson lovers in Thailand have increasingly and continuously grown which can be seen from the births of gatherings and clubs of those who are passionate about riding while they would have their own names for each group. There are groups of these bikers not less than 10 groups in every province in Thailand which apparently shows that Harley-Davidson bikes are very popular in this country.
ACKNOWLEDGEMENTS ACKNOWLEDGEMENTS ศิลพปนิ นี้สจำเร็ ล่วงไปได้ ด้วด้ ยดี ด้วยความช่ วยเหลื อและชี ้แนะอย่ ยิ่งจาก ศิลปนิ นธ์พฉนธ์ บับฉนีบั้สบำเร็ ลุลจ่วลุงไปได้ ด้วยดี วยความช่ วยเหลื อและชี ้แนะอย่ างดีายงดี ิ่งจาก อาจารย์ อาจารย์อรรถกฤษณ์ อรรถกฤษณ์อุอุททัยัยกาญจน์ กาญจน์อาจารย์ อาจารย์ทที่ปี่ปรึรึกกษาศิ ษาศิลลปนิ ปนิพพนธ์ นธ์ทีที่ค่คอยให้ อยให้คคำแนะนำให้ ำแนะนำให้คคำปรึ ำปรึกกษา ษา ในทุ ในทุกกๆส่ ๆส่ววนของการทำโครงการนี นของการทำโครงการนี้แ้และคอยให้ ละคอยให้กกำลั ำลังงใจ ใจ รวมถึ รวมถึงงคณะกรรมการศิ คณะกรรมการศิลลปนิ ปนิพพนธ์ นธ์ททุกุกท่ท่าานน ทีที่ให้่ให้คคำแนะนำ ำแนะนำและ และข้ข้ออคิคิดดเห็เห็นนต่ต่าางๆในการทำศิ งๆในการทำศิลลปนิ ปนิพพนธ์ นธ์จึจึงงขอขอบคุ ขอขอบคุณ ณอาจารย์ อาจารย์ททุกุกท่ท่าานไว้ นไว้ณ ณทีที่น่นี้ ี้ ขอขอบคุ ณณ พี่ๆพีกลุ ่มสมาชิ กก HARLEY-DAVIDSON กลุกลุ ่มต่่มาต่งๆที ่เกี่เ่ยกีวข้ องที ่ให้่ใขห้้อขมู้อลมูทีล่สทีำคั ญญ ต่อต่การ ขอขอบคุ ่ๆกลุ ่มสมาชิ HARLEY-DAVIDSON างๆที ่ยวข้ องที ่สำคั อการ ดำเนิ น งาน และ ให้ ข อ ้ เสนอแนะที เ ่ ป็ น ประโยชน์ ต อ ่ การทำงานและพั ฒ นางานในด้ า นต่ า งๆ ดำเนินงาน และ ให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานและพัฒนางานในด้านต่างๆ ยนี้ข้ขอขอบคุ อขอบคุณ ณครอบครั ครอบครัววทีที่ให้่ให้โอกาสในการศึ โอกาสในการศึกกษาสนั ษาสนับบสนุ สนุนนทุทุนนทรั ทรัพพย์ย์ในการทำโครงการ ในการทำโครงการ สุสุดดท้ท้าายนี ตลอดจนช่ วยเหลื อและให้ รวมถึ ่อนๆ ้องทุ กคนที ยนามที บสนุ ตลอดจนช่ วยเหลื อและให้ กำลักงำลัใจงใจ รวมถึ งเพืง่อเพืนๆ พี่นพี้อ่นงทุ กคนที ่ไม่ไ่ได้ม่เไอ่ด้ยเอ่นามที ่สนั่สบนัสนุ น น และให้กจำลัลุงลใจจนสำเร็ จลุขอขอบคุ ล่วงได้ด้วณยดี ณมา และให้กำลังใจจนสำเร็ ่วงได้ด้วยดี มาขอขอบคุ ณ โอกาสนี ้ ณ โอกาสนี้ ชญ์ชูชชูื่นชื่น ศุภศุวิภิชวิญ์
CONTENTS APPROVAL SHEET ABSTRACT ACKNOWLEDGEMENTS TABLE OF CONTENTS
A B C D
1. INTRODUCTION
1
2. INFORMATION AND DETAILS OF THE PROJECT
6
3. THE THEORY AND CONCEPTUAL TO DESIGN
33
4. DESIGN PROCESS / DEVELOPMENT
48
PROJECT BACKGROUND OBJECTIVES EXPECTATIONS AREA OF STUDIES RESEARCH SCHEDULE
RESEARCH METHODOLOGY TIMELINE HISTORY HARLEY-DAVIDSON INFORMATIONS HARLEY-DAVIDSON OWNERS LIFESTYE RIDE TO HAPPINESS PROBLEM PROGRAMMING TARGET CASE STUDY LOCATION / SITEANLYSIS SITE SERROUNDING BUILDING EXISTING PLAN CIRCULATION ZONNING
CONCEPTUAL DESIGN MOOD AND TONE PLAN PERSPECTIVE BRANDING
5. RESULT / SUGGESTIONS BIBLEIOGRAPHY CURRICULUM VITAE
1 3 4 5 6 7 9 19 21 23 25 27 29 33 35 41 43 45
48 50 57 61 85
97 97 99
PROJECT BACKGROUND จุดเริ่มต้นของแบรนด์ Harley-Davidson
กว่าจะประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียงได้ขนาดนี้ Harley-Davidson ได้ผ่านร้อนผ่านหนาวมาไม่น้อยเช่นกัน จุดเริ่มต้นของแบรนด์นี้เกิดจากสองพี่น้อง Arthur และ Walter Davidson เกิดไอเดียต้องการติดเครื่องยนต์ ไปบนจักรยานของพวกเขา โดยใช้ห้องเก็บของเล็ก ๆ แห่งหนึ่งในการทดลองโปรเจกต์นี้ขึ้นในปี 1903 ปรากฏว่ามอเตอร์ไซค์คันแรกที่สร้างขึ้น ต้องถูกโละทิ้งทันที เนื่องจากไม่มีพละกำลังมากพอในการวิ่ง ขึ้นเขาลงเขาในเมือง Milwaukee หลังจากนั้นในปี 1906 Harley-Davidson ก็มีโรงงานจริงจังเป็นของตัวเอง ครั้งแรก และในปี 1907 ได้คิดค้นเครื่องยนต์ V-Twin อันเป็นเอกลักษณ์ของแบรนด์ออกมาได้สำเร็จ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญที่ช่วยสร้างยอดขายให้กับแบรนด์ในอีกหลายสิบปีถัดมา หลังจากนั้น Harley-Davidson ได้เติบโตอย่างก้าวกระโดด แม้จะไม่ใช่แบรนด์อันดับหนึ่งของอเมริกา แต่ก็ถือว่าไม่ใช่แบรนด์เล็ก ๆ ในตลาด อีกต่อไป และสร้างชื่อเสียงแบรนด์เรื่อยมาจนถึงปันจุบัน สิ่งที่สำคัญของแบรนด์สินค้าต่างๆที่จะสามารถ สร้างชื่อเสียงมาได้ยาวนานนับ 100 ปี เช่นนี้มีหลายสิ่งประกอบกันอยู่แต่สิ่งที่ขาดไม่ได้เลยคือผู้ใช้งานนั่นเอง
ความภักดีในแบรนด์คือสิ่งสำคัญ
แม้บริษัทจะมีการปรับตัวให้เข้ากับเทรนด์โลกมากขึ้น แต่ประวัติศาสตร์ คุณค่า และเสน่ห์ของแบรนด์ยังคง เป็นสิ่งที่สัมผัสได้สำหรับทุกคน เมื่อเราเห็นหรือได้ยิน แบรนด์ “Harley-Davidson” เราต่างรู้ทันทีว่า คาแรคเตอร์ของแบรนด์นี้เป็นอย่างไร และแตกต่างจากแบรนด์อื่นอย่างไร สิ่งที่สำคัญไม่แพ้กันคือ การมีกลุ่มลูกค้าที่จงรักภักดีต่อแบรนด์ที่ค่อยสนับสนุนบริษัทอยู่เสมอ ไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนไลน์สินค้า เปลี่ยนกลยุทธ์ หรือย้ายฐานการผลิตไปที่ใด แฟน ๆ ฮาเลย์เหล่านี้ก็จะคอยสนับสนุนอยู่เสมอ ความจริงก็คือ เจ้าของมอเตอร์ไซค์ Harley-Davidson หลายคนไม่ได้ซื้อโดยคำนึงถึงราคาเป็นหลัก พวกเขาซื้อด้วยความเชื่อ ความศรัทธา และความรักที่มีต่อแบรนด์นี้ต่างหากและในปัจจุบันกลุ่มผู้ที่รักและหลงใหลการขับขี่ รถจักรยานยนต์ ฮาร์เล่ย์-เดวิดสัน(Harley-Davidson)ในประเทศไทยก็มีมากขึ้นเรื่อยๆโดยดูจากการรวบรวม และก่อตั้งชมรม-กลุ่มผู้ที่มีความชื่นชอบ ความรักในการขับขี่ขึ้นมาและตั้งชื่อเฉพาะของกลุ่มนั้นๆ โดยทั่วทุกจังหวัดในประเทศไทยมีกลุ่มนักขับขี่เหล่านี้ไม่น้อยกว่า 10 กลุ่ม ทำให้เห็นได้ว่า รถจักรยานยนต์ ฮาร์เล่ย์-เดวิดสัน (Harley-Davidson) ในประเทศไทยก็ได้รับความนิยมไม่น้อยเลยทีเดียว
CREDIT : www.darkrider.net
OBJECTIVES วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.
การศึกษากลุ่มผู้ใช้งาน HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหาต่างๆ
2.
เพื่อศึกษาวิธีข้อดีและข้อเสียของการใช้งาน HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย
3.
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของแบรนด์ HARLEY-DAVIDSON
EXPECTATIONS ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.
เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ HARLEY-DAVIDSON ในด้านที่ยังขาดไป
2.
ได้รับข้อมูลและเทคนิดต่างๆเพื่อใช้ในการศึกษาในด้านต่างๆ ต่อไปในอนาคต
3.
ข้อมูลพ้ืนฐานด้านต่างๆของแบรนด์ HARLEY-DAVIDSON
AREAS OF STUDIES ขอบเขตการวิจัย
- ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของแบรนด์ HARLEY-DAVIDSON - ศึกษาการใช้งาน HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย - วิเคราะห์จำนวนการใช้งาน HARLEY-DAVIDSON ในปรประเทศไทย - ศึกษาวิธีการใช้งานของกลุ่ม HARLEY-DAVIDSON ต่างๆในประเทศไทย - ศึกษาความต้องการในด้านต่างๆของผู้ใช้งาน - ศึกษาและวิเคราะห์การใช้พื้นที่ของผู้ใช้งาน HARLEY-DAVIDSON - ศึกษาบริบทต่างๆของกลุ่มผู้ใช้งาน
CONTENTS
RESEARCH SCHEDULE
A
AUGUST - ส่งหัวข้อศิลปนิพนธ์และรายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
S
SEPTEMBER - นำเสนอหัวข้อศิลปนิพนธ์และเสนอร่าง PROPOSAL ครั้งที่ 1 - ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 1 - เสนอหัวข้อโครงการ ที่มา วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ที่ตั้ง โครงการและวิเคราะห์ที่ตั้ง - เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คำแนะนำของ อาจารย์ที่ปรึกษา
O
OCTOBER - นำเสนอความคืบหน้าของ PROPOSAL /RESEARCH PROCESS - ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 2
N
NOVEMBER - ค้นคว้า / วิเคราะห์ ข้อมูลภายใต้การปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษา
D
DECEMBER - นำเสนอความคืบหน้าของ PROPOSAL / RESEARCH PROCESS PROGRAMMING DEVOLOPMENT และ CONCEPTUAL IDEA - ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครั้งที่ื 3
J
JANUARY - พัฒนาและนำเสนอการวางผัง PLANNING สรุปแนวคิดการออกแบบ DESIGN CONCEPTUAL - นำเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสู่การออกแบบและออกแบบ DESIGN ด้วยการนำเสนอ PLAN / ELEVATION / PERSPECTIVE
F
FEBUARY - พัฒนาและนำเสนอการวางผัง PLANNING สรุปแนวคิดการออกแบบ DESIGN CONCEPTUAL - นำเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสู่การออกแบบและออกแบบ DESIGN ด้วยการนำเสนอ PLAN / ELEVATION / PERSPECTIVE
M
MARCH - นำเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสู่การออกแบบและออกแบบ DESIGN ด้วยการนำเสนอ PLAN /ELEVATION / PERSPECTIVE - ตรวจศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 1
A
APRIL - นำเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสู่การออกแบบและออกแบบ DESIGN ด้วยการนำเสนอ PLAN /ELEVATION / PERSPECTIVE - ตรวจศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 2
M
MAY - นำเสนอการพัฒนาแนวคิดไปสู่การออกแบบครั้งสุดท้ายและ จัดการความเรียบร้อยของงาน - ตรวจศิลปนิพนธ์ครั้งที่ 3
RESEARCH METHODOLOGY
1
การค้นคว้าข้อมูล ศึกษาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสถานที่ที่ศึกษา จากแหล่งที่ เชื่อถือได้ รวมถึงค้นคว้าประวัติของแบรนด์
2 การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของกลุ่มผู้ใช้งานบริเวณพื้นที่ โครงการ และโดยรอบของสถานที่
3
วิธีรวบรวมข้อมูล ทำการลงพื้นที่จริงเพื่อรวบรวมข้อมูล เริ่มจากใช้การสังเกตจากบุคคล วัตถุ บรรยากาศสภาพแวดล้อม กิจกรรม วิถีชีวิตของผู้ขับขี่ ต่อด้วย การสัมภาษณ์เจาะลึกในประเด็นคำถามและข้อสงสัยต่างๆที่น่าสนใจ ทั้งรายบุคคล และแบบสอบถามรายกลุ่ม โดยใช้คำถามปลายเปิดหรือ ข้อคิดเห็นความรู้สึก
4
การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะดำเนินไปพร้อมๆ กับการรวบรวมข้อมูล ส่วนการ ตรวจสอบข้อมูลจะนำมาจากข้อมูลที่ได้มาจากการลงพื้นที่มาวิเคราะห์อีกครั้ง เพื่อพิจารณาข้อมูลที่ได้ เพื่อนำไปสู่กระบวนการออกแบบต่อไปได้
5
การศึกษาเพิ่มเติม เป็นการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น กรณีศึกษาของกิจกรรม กรณีศึกษา ของโครงการอื่นๆ รวมถึงแนวคิดและทฤษฎีที่สนใจหรือที่จะนำมาใช้ ในการออกแบบ
TIME LINE HARLEY-DAVIDSON 1900-1905
ในปี 1900 Willaim S Harley นักออกแบบที่ทำงานในโรงงานเหล็ก ในมิลวอคกี้ และ เพื่อน Authur Davidson ที่รักในกีฬาตกปลา มีความคิดที่จะสร้างรถมอเตอร์ไซด์ของตนเอง ทั้งนี้ เพื่อที่พวกเค้า จะได้เข้าไปถึงสถามที่ตกปลาได้สะดวกมากขึ้นเท่านั้นเอง
1906-1907
ปี ค.ศ.1906, Motor Company ซึ่งมีลูกจ้างเต็มเวลาจำนวน 6 คน ได้ผลิตรถ Harley Davidson 50 models เครื่องยนต์สูบเดี่ยว ขนาดความจุกระบอกสูบ 439.90 cc (26.8 cu in) ออกมา
1920-1930
ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยอดการผลิตของฮาเลย์ได้ลดลง อย่างมาก เป็นผลมาจากเศรษฐกิจภายในประเทศที่หดตัว ฮาเลย์ หาทางแก้โดยการส่งออกสินค้าไปยังตลาดต่างประเทศและปรับวิธี เพื่อรองรับลูกค้าในหลายๆด้าน แล้วยังมีการส่งลงแข่งทาง ฮาเลย์ ก็ทำได้เป็นอย่างดีทำให้ขึ้นมาเป็นที่ 1 ของอเมริกาได้ในขณะนั้น
1930-1940
ในปี 1929 เกิดวิกฤตทางการเงินขึ้นในสหรัฐอเมริกาที่เรียกว่า The Wall Street Crash ส่งผลให้หลายธุรกิจต้องปิดตัวลง และยังเป็น จุดเริ่มต้นของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (The Great Depression) ที่ส่งผลกระทบไปยังอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลก ทางบริษัทได้ปรับลด ขนาดตัวเครื่องยนต์ สีของตัวรถก็ออกสีใหม่เพื่อให้เข้ากับยุค Art Deco
1940-1950
ในปี 1941 อเมริกาประกาศเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างเป็น ทางการ ฮาเลย์ได้ทำการผลิตรถทั้งหมดเพื่อส่งให้กลุ่มสัมพันธมิตร ทำให้แบรนด์เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ทำให้หลังจากสงครามโลกมีความ ต้องการมากขึ้นเป็นอย่างมาก
1950-1960
หลังจากผ่านยุคสงครามโลกครั้งที่ 2 มาทำให้มีการพัฒนาเข้ามาใน หลายๆด้านและอีกสิ่งที่ตามมานั่นคือคู่แข่งจากต่างประเทศ ทำให้มีการ แข่งขันเพิ่มมากขึ้น จึงต้องหาวิธีการเพื่อตอบโต้คู่แข่งเหล่านั้น ฮาเลย์ มีการสร้างรุ่น Sportster ต่อมาฮาเลย์มีความนิยมเพิ่มมากขึ้น ดาราใน วงการก็เริ่มเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ทำให้บริษัทยังได้รับความนิยมอยู่ได้
THE FIRST HARLEY-DAVIDSON
OFFICAIL COMPANY
CHANGE AND BEING No.1 IN AMERICA
THE GREAT DEPESSION
WORLD WAR II
UNIQUE STYLE
CREDIT : www.darkrider.net
1960-1970
เนื่องจากอิทธิพลที่เข้ามาของญี่ปุ่นทำให้ฮาเลย์ต้องการตอบสนองกลุ่ม ลูกค้าด้วยการสร้างสกูตเตอร์ แต่การจะสร้างมอเตอร์ไซต์ขนาดเล็ก แต่ฮาเลย์เองมีความชำนาญไม่พอจึงต้องเข้าไปมีหุ้นส่วนในบริษัทอิตาลี อย่าง Aermacchi ซึ่งการตัดสินใจของฮาเลย์ครั้งนี้ล้มเหลว ทำให้ความ น่าเชื่อถือของแบรนด์ลดลง จึงกลับไปเพิ่มระบบไฟฟ้าเข้ากับรถรุ่นใหญ่ และกลับไปทำตลาดในกลุ่มรถใหญ่เช่นเดิม
1970-1980
ยุคนั้นได้มีการปรับแต่งด้านหน้ารถเพื่อให้มีการยืดยาวออกไปทำให้เกิด สไตล์ใหม่ขึ้นมาคือ Chopper แต่ก็มีข้อเสียด้านสมรรถนะ แต่เมื่ออกรุ่น ใหม่ออกมาก็ยังต้องเจอกับวิกฤติเรื่องน้ำมัน บริษัทจึงต้องตัดสินใจขาย หุ้นส่วนในบริษัทผลิตมอเตอร์ไซค์ไซส์เล็กอย่าง Aermacchi ออกไป และคิดหาวิธีที่จะขึ้นมาเป็นที่หนึ่งอีกครั้ง
1980-2000’s
จุดเปลี่ยนที่สำคัญเกิดขึ้นในปี 1981 เมื่อผู้บริหารของฮาเลย์ทั้ง 13 คน รวมถึง Willie G. Davidson ตัดสินใจซื้อบริษัทกลับมาจาก AMF ทำให้ พวกเขามีอิสระภาพในการบริหารแบรนด์ที่ตัวเองรักอีกครั้ง และนับ เป็นจุดเริ่มต้นของฮาเลย์ยุคใหม่ก็ว่าได้ เมื่อเข้าสู่ปี 1981 ประธานาธิบดี สหรัฐ โรนัลด์ เรแกน ได้ปลุกกระแสนิยมรักชาติขึ้นมา ซึ่งหนึ่งใน สัญลักษณ์ตัวแทนของชาติอเมริกา ก็คือบริษัทที่มีประวัติศาสตร์ มายาวนานอย่าง Harley-Davidson นั่นเอง ฮาเลย์รู้ดีกว่าสิ่งที่ลูกค้า มองหา ไม่ใช้สมรรถนะเครื่องยนต์ที่ไร้เทียมทาน แต่คือ ประวัติศาสตร์ มนต์ขลัง และเอกลักษณ์ เลือดเนื้อชาวอเมริกัน ที่ซ่อนอยู่ในมอเตอร์ไซค์ คันหนึ่งต่างหาก
JAPANESE STYLE
CHOPPER STYLE
COME BACK
Harley-Davidson ได้รักษาแนวคิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนี้ตั้งแต่ ช่วง 80s ไปจนถึง 90s และมาจนถึงปัจจุบัน
CREDIT : www.darkrider.net
การจดทะเบียนรถใหม่ของ HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2558-2562 ปี 2559
การจดทะเบียนรถใหม่ของ HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2558-2562 ปี 2560
การจดทะเบียนรถใหม่ของ HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2558-2562 ปี 2561
การจดทะเบียนรถใหม่ของ HARLEY-DAVIDSON ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี 2558-2562 ปี 2562
กลุ่มของผู้ใช้งาน H.O.G.
กลุ่ม HARLEY-DAVIDSON มีจุดเริ่มต้นมาจากการตั้งกลุ่มเพราะขาดเงินทุน ในการลงโฆษณาจึงใช้วิธีสร้างกลุ่มคนรัก Davidson ขึ้นมา ชื่อว่ากลุ่ม H.O.G. ย่อมาจาก “Harley Owners Group” เป็นวิธีสร้างคอนเนคชันกับลูกค้าโดยตรง โดยไม่ต้องใช้เงิน ลงทุนมาก ตั้งแต่วันนั้นมา กลุ่ม H.O.G. ได้เติบโตขยายใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ จนกลายเป็น ฐานลูกค้าขาขนาดใหญ่ ที่คอยสนับสนุนแบรนด์ Harley-Davidson ด้วยชีวิตและจิตใจ หลังจากที่เริ่มสร้างกลุ่มนี้ขึ้นมาก็มีการตั้งกลุ่มย่อยขึ้นมาตาม Life Style ของแต่ละกลุ่ม เพื่อการพบปะสังสรรค์ และเพื่อการขับรถเล่นหรือการออกไป Road Trip ต่างๆ ในประเทศไทยก็ได้รับอิทธิพลการตั้งกลุ่มแบบนี้มาด้วยเช่นกัน ปัจจุบันตัวอย่างกลุ่มผู้ใช้ Harley-Davidson ในประเทศไทยมีกลุ่มใหญ่ๆหลายกลุ่ม
MC History Of Motorcycle Club
Motorcycle Club หรือที่บรรดาสมาชิกทั้งหลายจะเขียนย่อๆ ว่า MC และพูดสั้นๆ ว่า Club นั้น ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการตั้ง Motorcycle Club ในประเทศขึ้นมาครั้งแรกในปี 1903 พวกเค้าใช้ชื่อกลุ่มของเค้าว่า The Yonkers Motorcycle Club ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นความรุ่งเรืองของ Motorcycle Club และเหล่า Biker เลยก็ว่าได้ โดยพวกเค้าใช้ Club เพื่อเป็นการนัดรวมตัวกัน พูดคุยแรกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น เกี่ยวกับรถมอเตอร์ไซค์ และแข่งขันกันเพื่อความสนุกสนานๆ กันภายในคลับ ซึ่งในตอนนั้น Club เปรียบเสมือนเป็นการสร้างมิตรภาพ และความสัมพันธ์รูปแบบใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน
CREDIT : www.darkrider.net
NECROMANCERS MC THAILAND
MONGKOLS MC THAILAND
X-BONE THAILAND
IMMORTALS THAILAND
LIFE STYLE
FESTIVAL
MOTORCYCLE
ROAD TRIP
CLUB
HANG OUT
RIDE
RIDE TO HAPPINESS งานวิจัยเผย การขี่มอเตอร์ไซค์ช่วยลดความเครียดและเพิ่มสมาธิ
อ้างอิง : HD-Playground.com
สำหรับเหล่านักขี่แล้ว ต่างทราบกันดีถึงความรู้สึกผ่อนคลาย และเลือดลมที่สูบฉีดกับมิตรภาพ ที่ได้จากการรวมกลุ่มกันออกไปขี่รถหรือทำกิจกรรมต่างๆ แต่สำหรับคนที่ไม่เคยได้สัมผัสกับเสน่ห์ ของมอเตอร์ไซค์ก็ยังคงตั้งคำถามว่า “ทำไมถึงชอบขี่มอเตอร์ไซค์” อยู่เสมอ ด้วยความที่ยังไม่มี การศึกษาอย่างจริงจังว่าขณะที่ขี่มอเตอร์ไซค์จะเกิดปฏิกิริยาอย่างไรภายในร่างกายมนุษย์บ้าง ทำให้คำถามว่าทำไมถึงชอบขี่มอเตอร์ไซค์ ยังคงไม่ได้คำที่ชัดเจนในเชิงวิทยาศาสตร์ แต่ล่าสุดได้ มาผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ออกมารองรับทฤษฎีที่บอกว่า สำหรับคนที่ชอบการขี่มอเตอร์ไซค์ นั้นส่วนหนึ่งเกิดจากการระบายความเครียด งานวิจัยของมหาวิทยาลัย UCLA ที่ได้รับการสนับสนุนจาก Harley-Davidson ได้เปิดเผยข้อมูล ออกมายืนยันแล้วว่าแม้แต่การขี่สกู๊ตเตอร์ก็ให้ผลลัพธ์แบบเดียวกับการออกกำลังกาย และช่วยลดฮอร์โมนคอร์ติซอล ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดความเครียด ซึ่งงานวิจัยด้านประสาทวิทยา ของสถาบัน Semel Institue มหาวิทยาลัย UCLA ชิ้นนี้ เป็นการศึกษาพฤติกรรมของนักขี่มาก ประสบการณ์ที่ดูแลสุขภาพของตัวเองปันอย่างดี โดยให้นักขี่เหล่านี้ขี่มอเตอร์ไซค์ไปตามเส้นทางที่ กำหนดเอาไว้ล่วงหน้าระยะทาง 22 ไมล์ (35 กิโลเมตร) ภายใต้สภาวะปกติ โดยทีมวิจัยได้บันทึกผลการทำงานของสมองและค่าฮอร์โมนจากเหล่านักขี่ทั้งตั้งแต่ก่อนเริ่มขี่ ขณะขี่ และหลังจากขี่ รวมไปถึงขณะขับรถยนต์และตอนพักผ่อน รวมถึงเก็บข้อมูลคลื่นไฟฟ้า ในสมองและอัตราการเต้นของหัวใจไปพร้อมๆกับระดับการหลังสารอะดรีนาลีน นอร์อะดรีนาลีน และคอร์ติซอล ด้วยเทคโนโลยี EEG แบบเคลื่อนที่ ผลที่ได้คือนักขี่จะมีสมาธิเพิ่มมากขึ้น และมีความยืดหยุ่นต่อสิ่งรบกวน โดยในระหว่างขี่รถอยู่นั้นระดับของอะดรีนาลีนกับอัตราการเต้น ของหัวใจยังเพิ่มขึ้นอีกด้วย โดยระดับคอร์ติซอลลดลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งส่งผลให้เกิดความรู้สึก แบบเดียวกับการออกกำลังกายเบาๆ และคลายความเครียด ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ได้ข้อสรูปประเด็นสำคัญๆดังต่อไปนี้ - การขี่มอเตอร์ไซค์ช่วยลดการหลั่งฮอร์โมนกระตุ้นให้เกิดความเครียดได้ถึง 28 เปอร์เซ็นต์โดยทั่วไป - การขี่มอเตอร์ไซค์เป็นระยะเวลา 20 นาทีสามารถเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจได้ราว 11 เปอร์เซ็นต์ และเพิ่มอะดรีนาลีนในร่างกายได้ 27 เปอร์เซ็นต์ เทียบเท่ากับการออกกำลังกายเบาๆ - ขณะที่ขี่มอเตอร์ไซค์นักขี่จะมีระดับสมาธิเพิ่มมากขึ้นกว่าเมื่อเทียบกับขณะขับรถยนต์ซึ่งเปรียบเทียบ ได้กับระดับสมาธิของคนที่ผ่านการฝึกสมาธิมาแล้วกับคนที่ไม่ได้รับการฝึก - ขณะขับขี่สมองจะหลั่งสารกระตุ้นเพื่อเพิ่มความตื่นตัวเทียบได้กับการดื่มกาแฟนหนึ่งแก้ว
SPACE
COMMUNITY
DISTURB
PROBLEM เกิดจากการที่ไม่มีพื้นที่รองรับสำหรับคนกลุ่มนี้เนื่องจากกลุ่มผู้ใช้ มีขนาดกลุ่มที่ใหญ่จำเป็นต้องใช้พื้นที่เยอะ และเสียงของตัวรถ เนื่องจากมีขนาดของเครื่องยนต์ที่ใหญ่ทำให้เกิดเสียงดังรบกวนผู้อื่นได้
เนื่องจากพื้นที่ที่จะรองรับคนกลุ่มนี้มีน้อย ทำให้เกิดการรวมกลุ่มที่เป็น Club House ของแต่ละกลุ่มเองมากกว่า ทำให้การพบปะพูดคุยกับกลุ่มอื่นๆ เป็นไปได้ยาก
คนส่วนมากมักมองว่าการเป็นกลุ่มของผู้ใช้งาน Harley-Davidson นั้นสร้างสร้างความรบกวนให้กับผู้อื่น และมองว่าเป็นกลุ่มคนที่มี ความไม่เป็นมิตรกับผู้อื่น
PROGRAMMING
PARKING
EVENT ZONEE
CAFE
COMMUNITY SPACE
FOOD ZONE
NIGHT CLUB
HARLEY - DAVIDSON
HOSTEL
Harley-Davidson
Harley-Davidson ในประเทศไทย
TARGET GROUP คนทว่ัไป
นก ั เรย ี นนก ั ศก ึ ษาท่ี ศก ึ ษาเกย ่ี วกบ ั Harley-Davidson
SITE ANALYSIS “THE BLOC”
94 Ratchaphruek Rd, Taling Chan, Bangkok 10170
RATCHAPHRUEK ROAD
THE BLOC
EXISTING PLAN
CIRCULATION
ZONNING
KEYWORDS RIDE FUN FRIEND WEEKEND
“NEW EXPERIENCE IN OLD HOME” COMMUNITY สำหรับกลุ่ม HARLEY-DAVIDSON ที่สามารถเข้ามา พบเจอสังคมใหม่ที่รักในสไตล์เดียวกัน เป็นสถานที่พักผ่อนใน แบบคนที่รักใน HARLEY-DAVIDSON เข้ามาแลกเปลี่ยนความรู้ และ HANG OUT ได้ในสถานที่เดียว ด้วยการตกแต่งแนว INDRUSTRIAL ให้ความรู้สึกที่เหมือนกับภาพจำของผู้ใช้ที่มีต่อแบรนด์ HARLEY-DAVIDSON
INDUSTRIAL STYLE
CASE CASE STUDY STUDY
THE COMM
THON
MONS
NGLOR
46.50
36.1000
2.5000
6.0000
LAYOUT PLAN G FLOOR
00
18.0000
1.5000
11.3000
CARPET FLOOR FIN. DINING
12.0000
58.5000
43.4000
7.4000
2.6000
14.6000
14.5000
36.7083
12.2083
4.0000
6.0000
4.5000
21.5000
18.8000
24.0000
56.0000
LAYOUT PLAN 2’ND FLOOR
CAFE : INDOOR
CAFE : OUTDOOR
CAFE : INDOOR
CAFE : 2’ND FLOOR
CAFE : MEETING ROOM
CAFE : MEETING ROOM
NIGHT CLUB
NIGHT CLUB
NIGHT CLUB
NIGHT CLUB
HOSTEL : RECEPTION
CAFE : FRONT
RESULT หลังจากได้นำโครงการศึกษา ผู้ใช้งาน HARLEY-DEVIDSON สู่การออกแบบ COMMUNITY SPACE ไปเสนอต่อคณะกรรมการ ได้ผลลัพท์ตอบกลับที่ดี โดยโครงการมีความเป็นไปได้ที่จะสามารถสร้านขึ้นจริง เพื่อส่งเสริมพื้นที่ของกลุ่ม ผู้ใช้ HARLEY-DAVIDSON ให้มีเพิ่มขึ้น ทำให้มีพื้นที่สำหรับรองรับกลุ่มคนกลุ่มนี้ ได้มากขึ้น และ ตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้าในพื้นที่ต่างๆ ที่ต้องการ ใช้พื้นที่แห่งนี้ อีกทั้งยังคืนกำไรให้กับ OWNER
SUGGESTION ข้อเสนอแนะและข้อคิดความรู้ที่ได้จากการวิจัยเรื่องนี้ โครงการนี้ให้อะไรหลายๆอย่าง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการศึกษาหลากหลายสไตล์เชื่อมโยงกัน และ ได้เปิดใจหาความ ท้าทายใหม่ๆ ให้กับตัวเอง ซึ่งสุดท้ายก็สามารถที่จะทำสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี
BIBLIOGRAPHY https://www.harley-davidson.com/th/th/index.html
http://darkrider.net/1966-bth-bobcat/
http://darkrider.net/1960-flh-duo-glide/
https://car.kapook.com/view81306.html
https://marketeeronline.co/archives/143553
https://sites.google.com/site/prawatiharliydewidsan/prawati
https://www.brandage.com/article/2142/Harley-Davidson-
https://www.facebook.com/HDBKK/posts/1390292341013556/
CURRICULUM VITAE NAME
SUPAWICH CHUCHUEN
STUDENT CODE
6002391
EDUCATION
DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN COLLEGE OF DESIGN RANGSIT UNIVERSITY
YEAR
2020
CONTACT
+66 638567894 SUPAWICH.CHUCHUEN@GMAIL.COM