IN NEW NORMAL
SPACE
CO WORKING
D EVEL O PMEN T & D ESIG N
โครงการพัฒนาและออกแบบ CO - WORKING SPACE สู่ยุค New Normal
ชือโครงการ
โครงการพัฒนาและออกแบบ CO - WORKING SPACE สูย ่ ุค New Normal
ประเภทของศิลปนิพนธ์
ประเภทงานออกแบบตกแต่งภายใน (Interior Design)
ผูด ้ าํ เนินโครงการศิลปนิพนธ์
นางสาว ปรียารัตน์ ศรีสข ุ รหัสนักศึกษา 6004178 นักศึกษาชันปที 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต
ทีปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์
อาจารย์ ไพลิน โภคทวี
ปการศึกษา
2563
สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมต ั ิให้นับศิลปนิพนธ์ฉบับนีเปนส่วนหนึงของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต
สาขาวิชาออกแบบภายใน
คณะกรรมการศิลปนิพนธ์
........................................................คณะบดีวท ิ ยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ ศาระสาลิน) .......................................................ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุ ทัยกาญจน์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์วริศน์ สินสืบผล) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์บณ ั ฑิต เนียมทรัพย์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชํานาญ) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวฒ ั น์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์กาลัญ ู สิปยารักษ์) ............................................................ กรรมการ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี)
อาจารย์ทีปรึกษาศิลปนิพนธ์
............................................................ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี)
หัวข้อศิลปนิพนธ์
โครงการพัฒนาและออกแบบ CO - WORKING SPACE ในยุค NEW NORMAL
ชือนักศึกษา
นางสาว ปรียารัตน์ ศรีสข ุ
สาขาวิชา
ออกแบบภายใน
อาจารย์ทีปรึกษา
อาจารย์ ไพลิน โภคทวี
ปการศึกษา
2563
บทคัดย่อ
จากเหตุการณ์โรคระบาด ไวรัส COVID-19 ทีเกิดขึนกับสังคมในปจจุบน ั ทําให้เกิดการ เปลียนแปลงครังใหญ่ในสังคมของคนทัวโลกไม่วา่ จะในประเทศไทยและต่างประเทศ โรคระบาดครังนีได้ ส่งผลกระทบในหลายๆด้านให้กับผูค ้ น ไม่วา่ จะเปนด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และชีวต ิ ความเปนอยูต ่ ่าง เกิดผลกระทบจึงทําให้หลายๆฝายต้องหันมาปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ในยุคปจจุบน ั เพือความอยู่ รอดในสังคม และในการเปลียนแปลงครังนียังรวมถึงการเปลียนแปลงในด้านการทํางาน ชีวต ิ ความเปนอยู่ ของคนวัยทํางานกิจกรรมต่างๆทีทํางานเปลียนแปลงไป โดยหลายๆคนหันมาทํางานทีบ้านกันมากขึน หรือเรียกว่า WORK FROM HOME ทําให้ในปจจุบน ั การทํางานทีออฟฟศจึงไม่จาํ เปนอีกต่อไป เนือง จากหลายๆคนสามารถทํางานทีบ้านได้ แต่ในขณะเดียวกันการทํางานทีบ้านก็ไม่ใช่ผลดีเสมอไป หลายๆ คนพบเจอปญหาต่างๆทีเกิดขึนของแต่ละบ้านทีแตกต่างกัน ไม่ใช่ทก ุ ๆบ้านจะเหมาะกับการ WORK FROM HOME จึงทําให้ CO - WORKING SPACE จึงเปนอีกหนึงทางเลือกทีดีของคนทีต้องการใช้ พืนทีการทํางาน รวมไปถึงกลุ่มนักเรียนนักศึกษาทีต้องการใช้พนที ื ในการเรียนออนไลน์ด้วยเช่นกัน โดยตังใจศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในยุค NEW NORMAL ว่ามีความต้องการอย่างไร และ ต้องการปรับเปลียนไลฟสไตล์ไปในทิศทางไหน เพือนํามาสูก ่ ารออกแบบ CO -WORKING SPACE ทีมี การใช้พนที ื ร่วมกันอย่างจํากัด โดยได้นําแนวความคิดมาจาก BUBBLE สือถึงความใสสะอาดเปรียบ เสมือนโล่ทีสามารถปกปองเราได้จากสังคมภายนอกและสร้างความรูส ้ ก ึ ทีสะอาดปลอดภัยให้กับผูใ้ ช้ งาน แต่ในขณะเดียวกันนันก็ยง ั ให้ความเปนสังคมอยู่ ยังสามารถมีปฏิสม ั พันธ์กับสังคมภายนอกได้ เนืองจากผูค ้ นในปจจุบน ั ต้องการความเปนส่วนตัวมากขึนแต่ก็ยง ั ต้องการความเปนสังคมอยูเ่ ช่น เดียวกัน ทําให้ได้นําไอเดียแนวความคิดนีมาออกแบบในพืนทีขนาดเล็กเพือจํากัดพืนทีของคนทีใช้งาน ร่วมกัน โดยต้องการให้พนที ื ของการทํางานนีได้กระจายไปอยูต ่ ามจุดต่างๆของสังคมในปจจุบน ั เพือ สะดวกสบายต่อการใช้งาน อยูใ่ กล้ตัวและใกล้บา้ นมากขึน เหมาะสําหรับคนในยุค NEW NORMAL ทีไม่ อยากเดินทางไกลๆด้วยความเสียงทียังเกิดขึนอยูใ่ นสังคม
กิตติกรรมประกาศ
ผลงานศิลปะนิพนธ์โครงการพัฒนาและออกแบบ CO -WORKING SPACE ในยุค NEW NORMAL นันสําเร็จได้ด้วยบุพการีทีช่วยสนับสนุนทุนทรัพย์ในการเล่าเรียนและพัฒนางานมาจนถึง ปจจุบน ั ขอขอบพระคุณไว้ใน ณ ทีนีด้วย ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์ภาควิชาวิทยาลัยการออกแบบสาขาวิชาออกแบบภาคในทุกท่านทีให้ คําปรึกษาและคอยชีแนะวิธก ี ารในการพัฒนาตัวโครงการให้มป ี ระสิทธิภาพมากขึนจนสําเร็จไปได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณอาจารย์ทีปรึกษา อาจารย์ไพลิน โภคทวี ทีคอยช่วยเหลือและให้คําแนะนําหลายๆ อย่างตลอดตังแต่เริมจนจบโครงการ ขอขอบคุณเพือน รุน ่ พี ทังในและนอกคณะทีให้ความช่วยเหลือในการทํางาน ในการใช้ชวี ต ิ ตลอดระยะเวลาทีได้ศึกษาในมหาวิทยาลัย ให้ได้พบประสบการณ์ต่างๆทีดี ขอบคุณมิตรภาพทีดีทีมีให้ ต่อกันใน ณ ทีนี
นางสาว ปรียารัตน์ ศรีสข ุ 14 พฤษภาคม 2564
สารบัญ
บทที
หน้า
บทคัดย่อ
ก
กิตติกรรมประกาศ
ข
สารบัญ
ค
บทที1 บทนํา
1
1.1 ทีมาและความสําคัญ
3
1.2 วัตถุประสงค์
4
1.3 ผลทีคาดว่าจะได้รบ ั
5
1.4 ขอบเขตการวิจย ั
6
1.5 ระเบียบวิธวี จ ิ ย ั
7-8
1.6 แผนการดําเนินงานวิจย ั
9-10
บทที 2 ข้อมูลพืนฐาน และรายละเอียดโครงการ
11-24
กลุ่มเปาหมาย
25-26
ความต้องการด้านพืนทีและความต้องการด้านการใช้สอย
27-28
กรณีศึกษา
29-32
สถานทีตังโครงการ การวิเคราะห์อาคาร การวิเคราะห์พนที ื ออกแบบ
33-38
การศึกษาองค์ประกอบ รูปแบบและวัสดุในงานออกแบบภายในโครงการ
39-44
บทที 3 ทฤษฎีและแนวความคิดในการออกแบบ กรณีศึกษา บทที 4 ผลงานการออกแบบ
45-48 49-50 51
กระบวนการในการออกแบบ
53-56
การออกแบบพืนทีใช้สอย
57-74
การออกแบบ LOGO & BRANDING
75-76
การออกแบบภายในและการวางผังแปลน
77-86
การออกแบบแบบภาพลักษณ์ของโครงการ
87-100
บทที 5 สรุปผลการวิจย ั
101
RESULT
104
SUGGESTIONS
104
1
2
1
3
PROJECT BACKGROUND ทีมาและความสําคัญ
จากเหตุการณ์ COVID-19 ระบาด ทําให้พฤติกรรมของผูค ้ นเปลียนไป ส่งผลกระ ทบในหลายๆด้านทังการใช้ชวี ต ิ ไลฟสไตล์ของมนุษย์ รวมไปถึงการทํางานทีผูค ้ นหันมา ทํางานทีบ้านมากขึน การทํางานทีออฟฟศอาจไม่จาํ เปนอีกต่อไป เพราะคนต้องการ ความเปนส่วนตัวมากขึน แต่ในขณะเดียวกันผูค ้ นยังต้องการความเปนสังคมอยู่ รวมไป ถึงปญหาต่างๆทีเกิดขึนจาก Work from home ทําให้ในปจจุบน ั นี Co- Working Space จึงเปนอีกหนึงทางเลือกทีดีของคนวัยทํางาน
4
OBJECTIVES วัตถุประสงค์ของโครงการ
ตอบโจทย์การใช้ทํางานในสังคมยุคใหม่ ด้วยการพัฒนาสถานทีทํางานและพืนที ส่วนรวมให้ตอบโจทย์ฟงก์ชนและไลฟสไตล์ ู้ นได้ใช้ชวี ต ิ ทีมีคณ ุ ภาพ ของมนุษย์ ให้ผค ั และปลอดภัย ปลอดเชือ อีกทังยังเปนสถานทีเชือมต่อภาคธุรกิจ ภาคสังคม และ บุคคลทัวไปให้ได้ใช้ประโยชน์รว่ มกัน 1.เพือแก้ไขปญหาต่างๆทีเกิดขึนจาก Work From Home 2.เพือเสริมสร้างและพัฒนาพืนทีของ Co-Working Space ให้ผค ู้ นได้ใช้พนที ื ร่วมกัน อย่างสะอาด ปลอดภัย ปลอดเชือ 3.เพือให้ผค ู้ น ได้ใช้ประโยชน์จากพืนทีโดยตอบโจทย์ไลฟสไตล์ของมนุษย์ที เปลียนแปลงไปในปจจุบน ั
5
EXPECTATIONS ผลทีคาดว่าจะได้รบ ั
1.พืนทีของ Co-Working Space มีสภาพแวดล้อมทีตอบโจทย์ไลฟ สไตล์ของคนในปจจุบน ั 2. ได้ใช้ประโยชน์จากการทํางานที Co-Working Space มากกว่าการ ทํางานทีบ้านหรือออฟฟศ 3. สร้างภาพลักษณ์ของการทํางานในพืนทีส่วนรวมให้มค ี วามสะอาด ปลอดภัย ปลอดเชือ
6
AREAS OF STUDIES ขอบเขตการวิจย ั
1.ศึกษาการเปลียนแปลงด้านต่างๆในยุคNew Normal 2. ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ไลฟสไตล์ในปจจุบน ั 3. ศึกษาข้อดี ข้อเสีย จากการ Wotrk From Home 4. ศึกษาเรืองวัสดุในการออกแบบทีสะอาด ปลอดภัย 5. ศึกษาเทคโนโลยีใหม่เพือนํามาปรับใช้ 6. ศึกษาข้อมูลและความสําคัญของ Co-Working Space ในปจจุบน ั และอนาคต 7. ศึกษาความต้องการในปจจุบน ั ของคนวัยทํางาน พนักงานออฟฟศ 8. ศึกษาและวิเคราะห์ในเรืองของตําแหน่งทีตัง สภาพแวดล้อม
7
RESEARCH METHODOLOGY
8
ระเบียบวิธวี จ ิ ย ั
1. การค้นคว้าข้อมูล ศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทีเกียวข้องกับพฤติกรรมการใช้ชวี ต ิ ของ คนในสังคมยุคปจจุบน ั จากผลสํารวจจากแหล่งทีเชือถือได้ รวมถึง ค้นคว้าสถานทีทีหมาะสมในการจัดตังโครงการ 2.การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลเกียวกับพฤติกรรมการใช้งานงานในสถานทีทํางาน กลุ่มเปาหมาย พืนทีภายในและโดยรอบของสถานที การเดินทางการ เข้าถึงต่างๆ 3.วิธก ี ารรวบรวมข้อมูล การลงพืนทีจริงเพือทําการรวบรวมข้อมูล เริมจากใช้การสังเกตจาก บุคคล วัตถุ บรรยายกาศ สภาพแวดล้อม กิจกรรม วิถีชวี ต ิ ของชุมชน ในยุคปจจุบน ั และติดตามข้อมูลของบุคคลทัวไปและคนรอบตัวทีได้ ทํางานแบบ Work from home โดยการสอบถามกิจกรรมและความ เปนอยูท ่ ีเกิดขึนระหว่างการทํางานทีบ้าน 4. การวิเคราะห์ขอ ้ มูล ในการวิเคราะห์ขอ ้ มูลจะดําเนินไปพร้อมๆกับการรวบรวมข้อมูล ส่วน การตรวจสอบข้อมูลจะนํามากจากข้อมูลทีได้มาจากการสอบถามและ ติดตามข่าวสารมาวิเคราะห์อีกครังเพือพิจารณาข้อมูลทีได้ ทีต่างวัน และเวลาว่ามีผลเปนอย่างไร มีอะไรทีแตกต่างกัน เพือนําไปสู่ กระบวนการออกแบบต่อไป 5. การศึกษาเพิมเติม เปนการศึกษาข้อมูลเพิมเติม เช่น กรณีศึกษาของโครงการทีมีประเภท คล้ายกัน กรณีศึกษาของวัสดุทีนํามาใช้ รวมถึงแนวคิด และทฤษฎีที สนใจหรือทีจะนํามาใช้ในการออกแบบ
9
RESEARCH SCHEDULE
10 แผนการดําเนินงานวิจย ั
ภาคเรียนที 1/2563 9 กันยายน 2563 15 กันยายน 2563 23 กันยายน 2563
5 ตุลาคม 2563 22 ตุลาคม 2563 27 ตุลาคม 2563
6 พฤศจิกายน 2563 18 ธันวาคม 2563
ภาคเรียนที 2/2563 19 กุมภาพันธ์ 2564 25 กุมภาพันธ์ 2564 2 มีนาคม 2564 22 มีนาคม 2564 1 เมษายน 2564 8 เมษายน 2564 3 พฤษภาคม 2564 5 พฤษภาคม 12 พฤษาคม 2563
เสนอโครงการศิลปนิพนธ์ในหัวข้อคอนโดในยุคของ New normal ความเปนมาและปญหาในด้านเศรษฐกิจ เสนอข้อมูลทีได้ Research เรืองคอนโด อสังหาริมทรัพย์หลายๆประเภท และสามารถแก้ไขปญหาอะไรได้ จะสามารถตอบโจทย์ New normal อย่างไร ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครังที 1 - ปรับเปลียนหัวข้อศิลปนิพนธ์ใหม่ มุง ่ เน้นในเรืองของการทํางานในยุคของ New normal - เข้าพบอาจารย์ทีปรึกษา คิดแนวทางใหม่ การทํางานในพืนทีลักษณะใหม่ วิเคราะห์เรืองไซต์โลเคชันทีเหมาะสม ปรึกษาอาจารย์ทีปรึกษาในเรืองของระยะห่างกับเทคโนโลยีใหม่ๆ การจัดสรร พืนทีให้ตอบโจทย์ New normal ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครังที 2 - นําเสนอโครงการศิลปนิพนธ์ในหัวข้อใหม่ ภายใต้ชอโครงการพั ฒนา ื และออกแบบ Co-Working Space ในยุค New normal เข้าพบอาจารย์ทีปรึกษา เสนอการจัดพืนทีด้วยระยะห่างใหม่ ทําโมเดล Space ทีช่วยอธิบายพืนที ตรวจเตรียมศิลปนิพนธ์ครังที3 - เสนอการจัดพืนทีในรูปแบบระยะห่างใหม่ๆด้วยโมเดล
เข้าพบอาจารย์ทีปรึกษา นําเสนอไซต์โลเคชันใหม่ และโปรแกรมทีใช้ในแต่ละ พืนที แก้ไขและปรับปรุงในส่วนของPlaning ใหม่ ตรวจศิลปนิพนธ์ครังที 1 - นําเสนอในส่วนของการจัด Zoning และPlan ในแต่ละพืนที ปรึกษาอาจารย์ทีปรึกษาผ่าน Zoom ขอคําแนะนําในเรืองของการจัด Plan ใหม่ แก้ไขในส่วนของพืนที Fitness ให้เปนการออกกําลังกายแบบนันทนาการ และแก้ไข Plan ในบางส่วน เข้าพบอาจารย์ทีปรึกษาผ่าน Zoom ตรวจศิลปนิพนธ์ครังที 2 - นําเสนอ ในส่วนของดีไซน์คอนเซป และภาพPerspective แก้ไของค์ประกอบภายในงานในส่วนของดีไซน์ ปรับเปลียนเฟอร์นเิ จอร์ใหม่ที ใช้ในงาน แก้ไขในส่วนของ Perspective ในเรืองของแสงไฟ และวัสดุทีใช้ภายในงาน ตรวจศิลปนิพนธ์ครังที3 - นําเสนอโครงการทังหมด ทังในส่วนของข้อมูล Research และในส่วนของ การออกแบบทังหมดภายในงาน
11
12
2
13
CHANGE NEW NORMAL กับการเปลียนแปลง
' NEW NORMAL' ERA
SOCIAL CHANGE
New Normal ที เกิ ด ขึ น ได้ ส ร้า งให้เ กิ ด การเปลี ยนแปลงเปนตั ว กระตุ้ น ผลั ก ดั น ให้
ผู้ ค นเกิ ด การคิ ด นอกกรอบมากขึ นเพื อการอยู่ ร อดในปจจุ บั น ของสั ง คม จากเดิ ม อาจจะ มี ทั งที สนใจ หรือ ไม่ ส นใจในการเปลี ยนแปลงของโลก เพราะ ไม่ ไ ด้ ถู ก บี บ บั ง คั บ ให้ต้ อ ง เปลี ยน แต่ วัน นี เปนการเปลี ยนแปลงที บั ง คั บ ให้ทุ ก คนต้ อ งคิ ด ใหม่ ทํา ใหม่ หรือ ฉี ก
กรอบไปจากเดิ ม เพื อให้ชีวิต ประจํา วัน เดิ น หน้ า ต่ อ ไปได้ นั นเปนเพราะว่า การเปนอยู่ ใ นรู ป แบบเดิ ม จะไม่ ส ามารถตอบโจทย์ ก ารใช้ชีวิต ในยุ ค นี ได้ ดั ง นั นเราจึ ง ต้ อ งปรับ เปลี ยนฟง ก์ ชันการใช้ง านด้ า นต่ า งๆตามพฤติ ก รรมที เปลี ยนไปด้ ว ย
NEW NORMAL
14
LIFESTYLE พฤติ กรรมและไลฟสไตล์มนุษย์ในปจจุ บัน นั บ ตั งแต่ วิก ฤต COVID-19 เข้ า มากระทบการใช้ชีวิต ของผู้ ค นจํา นวนมาก ส่ ง ผลทํา ให้ พฤติ ก รรมหลาย ๆ อย่ า งของผู้ บ ริโ ภคเปลี ยนแปลงไป ไม่ ว่า จะเปน การทํา งาน การซือ ของออนไลน์ ใช้บ ริก ารดิ ลิ เ วอรีม ากขึ น การใส่ ใ จดู แ ลสุ ข ภาพที มากขึ นทั งการใส่ หน้ า กากอนามั ย พกเจลแอลกอฮอล์ อี ก ทั งยั ง ได้ ส ร้า งมาตรกฐาน เงื อนไขการ เปลี ยนแปลงใหม่ ๆ ให้เ กิ ด ขึ นในสั ง คม เช่น การรัก ษาระยะห่า ง (Social
Distancing) หรือ การทํา งานจากบ้ า น (Work From Home) เปนต้ น สิ งเหล่ า นี
เองที ถู ก เรีย กว่า เปน New Normal หรือ ความปกติ รู ป แบบใหม่ ที หลายคนเริมจะคุ้ น หูม ากขึ นเรือย ๆ
' NEW NORMAL' ERA
SOCIAL CHANGE
อยูต ่ ิดบ้าน ช่วงการระบาดของ COVID-19 ทําให้พฤติกรรมของคนถูกปรับ เปลียนมาเปนแบบ HomeBased เกือบจะทังหมด ทําให้ อาณาจักรของผูบ ้ ริโภคเวลานี จึงไม่ใช้ Outdoor แต่เปน Indoor ในปจจุบน ั
เทคโนโลยีสาํ คัญมากขึน โลกจะถูกขับเคลือนด้วย เทคโนโลยี โดยเทคโนโลยีจะ ทําลาย (Disrupt) รูปแบบธุรกิจ แบบเดิมๆ เช่น การเรียนการสอน และการ ทํางานผ่านออนไลน์ ด้วย เทคโนโลยีต่างๆ และเทคโนโลยี แบบไร้สม ั ผัสจะเข้ามามากขึน เช่นการแสกนจดจําใบหน้า คําสัง ด้วยเสียง
ติด Online Community เมือเกิดระยะห่างทางสังคมทีเปลียนแปลง ไปผูค ้ นหันมาให้ความสนใจสังคมผ่านทาง ออนไลน์มากขึน ทังการซือสินค้าออนไลน์ กลายเปน New Normal ของผูบ ้ ริโภคไป แล้ว และ พฤติกรรมทีเห็นได้ชด ั ในการ ช้อปออนไลน์ คือ ผูบ ้ ริโภคติด Online Community
กลัวการติดเชือ ผูบ ้ ริโภคจะใส่ใจสุขภาพมากขึน โดย ผูค ้ นเลือกซือผลิตภัณฑ์ทีเน้นด้าน ความสะอาด และ สุขอนามัย และ ด้วยสถานการณ์ทีทําให้คนเกิด ความเครียดได้ง่าย เรืองของ สุขภาพจิตจึงเปนอีกสิงทีคนหันมา ดูแลเพิมขึนด้วยเช่นกัน
รูปภาพจาก https://www.propdna.net/news/awii-house--safe-house-
การเปลียนแปลงด้านไลฟสไตล์ไปสูก ่ าร ปรับตัวของนักออกแบบ การพัฒนาการออกแบบสถาปตยกรรมต่างๆเปนหนึงในสิงที ต้องปรับรูปแบบและพัฒนาให้สอดคล้องกับวิถีชวี ต ิ ใหม่นเช่ ี นเดียวกัน เพราะเราไม่อาจล่วงรูไ้ ด้เลยว่า ในอนาคตนันโลกของเราต้องเผชิญ กับโรคระบาดใหม่อีกครังหรือไม่ ผูค ้ นจะเริมใส่ใจสุขภาพและรักษา ความสะอาดเพิมมากขึน ความสะอาดทังทีอยูอ ่ าศัย และร่างกาย ทีส่ง ผลต่อสุขอนามัย คนจะหันมาออกกําลังกายจากคอสออนไลน์มากกว่า ไป fitness รวมถึงคนจะเริมมองหาความมันคงทางอาหารมากขึน เพือทีจะอยูใ่ ห้ได้ในสภาวะทีไม่ปกติ
15
การเปลียนแปลงส่งผลต่อการออกแบบอย่างไร นอกจากหลักการออกแบบทีต้องคํานึงถึงสุขลักษณะแล้ว การ ออกแบบยังต้องคํานึงถึงความสะดวกต่อการใช้งาน (User friendly) โดยหลักการออกแบบเพือผูใ้ ช้ทก ุ กลุ่ม (Universal design) จะต้องคิดครอบคลุมมากขึน ไปถึงการออกแบบให้ทก ุ คน เข้าถึงสิงอํานวยความสะดวกได้อย่างปลอดภัย และปลอดเชือใน ขณะเดียวกัน การออกแบบเพือความสวยงามก็ยง ั คงเปนสิงทีนัก ออกแบบต้องพัฒนาควบคู่กันไป และผูค ้ นยังให้ความสําคัญกับ การออกแบบมากขึน ทังรายละเอียดต่างๆ ทําให้ผอ ู้ อกแบบควร เรียนรูส ้ งใหม่ ิ ๆตลอดเวลา ในเชิงฟงก์ชน ั - เรืองความสะอาด - ทีอยูอ ่ าศัยควรใช้ทํางานและเรียนได้ - เปนสถานทีทีอยูแ ่ ล้วมีการRelax ผ่อนคลาย - เทคโนโลยีใหม่ๆควรตามให้ทัน ในเชิงของความสวยงาม - การเลือกใช้วส ั ดุ - รูปแบบอาคาร - ความสวยงามทีสอดคล้องกับฟงก์ชนและไลฟสไตล์ ั
การเปลียนแปลงส่งผลต่อUSER อย่างไร ผูค ้ นใส่ใจสุขภาพมากขึน หันมาออกกําลังกายมากขึน คนให้ความสําคัญเรืองความสะอาด ความปลอดภัยสําคัญ มากขึน ผูค ้ นโหยหาธรรมชาติ และพืนทีส่วนตัวในสังคมมากขึน สถานทีทีอยู่ มุมถ่ายรูปสําคัญ หลายคนต้องการอวดทาง โซเชียลมีเดีย หลายคนต้องการสถานทีทีมีบริการครบวงจร แต่ก็ยง ั คง ความเปนส่วนตัวและพืนทีปลดภัย
16
17
NEW NORMAL ม นุ ษ ย์ เ รี ย น รู ้ อ ะ ไ ร ?
พบว่ า การทํา งานที บ้ า นได้ ดี กว่ า ทํา ที ออฟฟศ งานวิจย ั หลายชิน พู ดเปนเสียงเดียวกันว่า การทํางานจากทีบ้านให้ผลทีดีต่อทังบริษัทและพนักงาน เพราะทําให้ ประสิทธิภาพในการทํางานดีกว่าเดิม แถมพนักงานมีความสุขมากขึนด้วย งานวิจย ั จากมหาวิทยาลัยซิดนียท ์ ีเข้าไปศึกษาพนักงานกว่า 47,264 คน และงานวิจย ั อีกหลายชินจากสถาบันต่างๆ รวม ถึงงานจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด เห็นตรงกันว่า การทํางานจากทีบ้านส่งผลให้พนักงานทํางานได้ดข ี นและมี ึ ความสุข มากขึน ส่วนบริษัทเองก็ได้ลดต้นทุนในการบริหารจัดการ
1. เพิ มประสิ ท ธิ ภ าพในการ ทํา งาน
2. ลดอั ต ราการลาออกของ พนั ก งาน
3. ลดต้ นทุ น ของบริ ษั ท ส่ ว น พนั ก งานมี ค วามสุ ข มากขึ น
จากงานศึกษาของนักวิจย ั จากมหาวิทยา ลัยสแตนฟอร์ดทีตีพม ิ พ์ใน Harvard Business Review พบว่า พนักงานที ทํางานจากทีบ้านทํางานได้สาํ เร็จมากกว่า กลุ่มทีถูกบังคับใช้เข้าออฟฟศ
จากการศึกษาบริษัท Ctrip ยังพบว่า การ ทํางานจากทีบ้านทําให้พนักงานมีความพึง พอใจในงานทีสูงมาก (much higher job satisfaction) มากกว่านันทําให้ อัตราการลาออกจากทีทํางานลดตําลงถึง ครึงหนึง
เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จา่ ยกับการมี ออฟฟศทีหรูหราหรือเฟอร์นเิ จอร์ที อลังการ เพราะถ้าพนักงานทํางานทีบ้าน พวกเขาก็จะซือของเหล่านันด้วยเงินของ เขาเอง ทําให้ต้นทุนของบริษัทลดตําลงไป อีก
4. พนั ก งานจะลาปวยน้ อ ยลง
5. ลดรายจ่ า ย (เงิ นเดื อน) ให้ กั บ บริ ษั ท
หากพนักงานทํางานจากทีบ้านได้ จะลดความเครียดไปได้สง ู มาก โดยเฉพาะความเครียดจากการเดินทาง หรือหากพนักงาน เกิดปวยขึนมาจริงๆ ก็สามารถทํางานจากทีบ้านได้ ไม่ต้องไป ออฟฟศเพือเพิมความเสียงในการกระจายเชือโรคให้กับเพือน ร่วมงานในบริษัท
จากการศึกษาของ American Economic Review พบว่า บริษัทในสหรัฐอเมริกาทีอนุญาตให้พนักงาน Work From Home จะหักรายได้จากพนักงานประมาณ 8% จากเงินเดือน นัน หมายความว่า จะทําให้บริษัทมีกําไรเพิมมากขึนโดยทีไม่ต้องเพิม ผลิตผลของงานใดๆ เลย
18
ข้ อ เสี ย จาก
WORK FORM HOME
นอกจากจะมีขอ ้ ดีหลายๆข้อแล้วจากการทํางานทีบ้าน แต่หลายคนก็ยง ั พบข้อเสียอีกหลายๆอย่างในแต่ละบุุคคลซึง อาจแตกต่างกันไป แต่ไม่วา่ อย่างไรแล้ว ข้อเสียจากการทํางานทีบ้านทีหลายๆคนมักประสบปญหาบ่อยๆก็จะมีดังนี
1. เหงา และเบื อ
2.เสี ย สมาธิ ค่ อ นข้ า งง่ าย
คุณจะต้องรูส ้ ก ึ เหงาและเบือ อย่างแน่นอน เมือการเปลียน จากการพักเทียงไปหาข้าว กลางวันกินกับเพือนๆหรือ ทักทาย คุยกันระหว่างหรือข้าม แผนก
ไม่ใช่ทก ุ บ้านทีพร้อมสําหรับเปน สถานทีสําหรับทํางาน บางบ้าน ก็มข ี องเยอะและมีสถานทีคับ แคบอุ ดอู ้เอามากๆ รวมถึงมี สมาชิกอยูใ่ นบ้านมากมาย หลากหลายคนทีพร้อมจะ รบกวนเราอยูต ่ ลอดเวลา
4.ปญหาด้ านสุ ข ภาพ เวลาทํางานอยูท ่ ีบ้านเรามักจะ นังเปนเวลานานๆ เพราะ ร่างกายจะไม่ค่อยได้ใช้ พลังงาน ทําให้เกิดสภาวะ เหนือย ตึง เพราะไม่ได้เปลียน สภาพแวดล้อมในแต่ละวัน
7.ทํา งานตลอดเวลา หลายคนเมือทํางานทีบ้าน ทําให้แยกเวลางานกับเวลาส่วน ตัวไม่ได้ ทังเวลาเลิกงาน เวลา พักผ่อน เวลาพักเทียง ส่ง ผลกระทบต่อสุขภาพและโรคที อาจจะเพิมขึน
5. ค่ า ใช้ จ่ า ยสู ง แม้จะไม่มภ ี าระเรืองค่าเดินทาง ไปทํางานทีออฟฟศแล้วก็ตาม แต่ก็จะมีภาระด้านอืนๆ เพิม แทน ทังค่าไฟทีจะต้องเปด คอมพิวเตอร์ทํางานทังวัน แถมอากาศร้อนทนไม่ไหวก็ อาจจะต้องเปดแอร์ทํางานอีก ยิงทําให้ค่าไฟเพิม
8. ไร้ แ รงบั ล ดาลใจ อยูบ ่ า้ นเปนเวลานานก็ทําให้ หมดอารมณ์ในการทํางานได้ หลายคนต้องการเปลียน บรรยากาศ หาแรงบัลดาลใจ ใหม่ๆในการทํางาน
3. ไม่ ส ะดวกเท่ าทํา งานที ออฟฟศ ไม่ใช่ทก ุ งานทีเหมาะจะนํามาทํา ทีบ้านเลย รวมถึงระบบ ออนไลน์ทีบ้านเอง ก็อาจจะไม่ พร้อมสําหรับการใช้ทํางานด้วย เช่นเดียวกัน
6. เครี ย ดมากขึ น ไม่ ไ ด้ ออกพบเจอใคร เมือการทํางานทีบ้านอาจเปน สาเหตุให้เราไม่ได้ออกเจอผูค ้ น หรือสังคมภายนอก อาจทําให้ มีความเครียดจากการทํางาน เพิมได้
9. ทํา งานเสร็ จ ช้ า กว่ า ปกติ ในบางคนทีอาจโดนความสบาย จากการอยูท ่ ีบ้านครอบงํา ทําให้มผ ี ลกระทบต่อเวลา ทํางาน เนืองจากมีอะไรหลายๆ อย่างทีสามารถดึงดูดความ สนใจจากทีบ้านได้
19
CO-WORKING SPACE
IN
NORMAL
NEW ERA
ปฏิเสธไม่ได้วา่ สถานการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัส COVID-19 เข้ามาเปลียนแปลงวิถีชวี ต ิ ของเราในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการทํางาน เห็นได้ชด ั ว่าหลายบริษัทได้เปลียนกระบวนการ ทํางานของพนักงานเปนแบบ Work from
Homeหรือ Remote Working มากขึน ซึง หลายบริษัทรวมถึงตัวของพนักงานก็สามารถปรับ ตัวได้อย่างรวดเร็วจนหลายบริษัทชันนําทัวโลก ประกาศให้ปรับใช้มาตรการ Work from
Homeได้อย่างถาวร แม้จะผ่านช่วงการระบาด ของไวรัสนีไปแล้วก็ตาม ทําให้เกิด New Normal หรือ ความปกติรป ู แบบ ใหม่ทีน่าจับตามองหลังวิกฤตครังนีคือเมือองค์กร ใหญ่ลดขนาดการเช่าพืนทีสํานักงานของบริษัทลง เพราะสามารถให้พนักงานบางส่วนทํางาน แบบ
Remote Working ได้ แต่ในขณะเดียวกันก็อาจ ต้องการให้พนักงานเหล่านันมาประชุม หรือมา พบปะพู ดคุย ทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันเปนครัง คราว ซึงสิงทีมาตอบโจทย์ความต้องการและ พฤติกรรมทีเปลียนไปของการทํางานแบบนีนันก็ คือ Co-working Space
Co-Working Space ในยุคของ New normal อาจเข้ามามีบทบาทมากขึน เนืองจาก หลายคนหลายบริษัทสามารถทํางานทีบ้านได้ แต่ ด้วยเหตุผลหรือปญหาหลายอย่างทีบ้านไม่เหมาะ กับพืนทีในการทํางานเสมอไป ทําให้สถานทีทีเปน
Co-Working Space จึงเปนอีกทางเลือกหนึง สําหรับคนวัยทํางาน NEW NORMAL
สถานทีเชือมต่อภาคธุรกิจ ภาคสังคม บุคคลทัวไป ให้ทก ุ คนได้ใช้ประโยชน์ ร่วมกัน
1. Co-working space ประเภท Service office อาจจะอยูใ่ นรูปแบบของ Real estate ซึงมีบทบาทในการ ให้บริการสํานักงาน หรือพืนทีทํางานแก่กลุ่มคน องค์กร หรือหน่วยงานทีต้องการพืนทีทํางานทีเปนส่วนตัว
27
20
2. Co-working space ประเภท Cafe’ ด้วยฟงก์ชน ั การใช้งานก็สามารถตอบโจทย์การนัง ทํางานได้เช่นกัน เพียงแต่ในร้านกาแฟอาจจะมีความ เปนส่วนตัวน้อย มีการจํากัดชัวโมงการใช้งาน 3. Co-working space ประเภท Private work space เน้นทีการให้บริการพืนสํานักงานทีมีความเปนส่วนตัว ซึงอาจจะเกิดขึนภายใต้องค์กรหรือหน่วยงานใดหน่วย งานหนึงเปนเจ้าของ
รู ป แ บ บ ข อ ง CO-WORKING SPACE ในไทย
4. Co-working space ประเภท Educational Focus เปนการให้บริการพืนทีเน้นการเรียนการสอนเปนส่วน ใหญ่ ในเมืองไทยเองมีกลุ่มผูใ้ ห้บริการประเภทนีเพียง ไม่กีเจ้า ซึงกลุ่มธุรกิจนีจะเน้นการให้บริการ Coworking space ควบคู่ไปกับการสร้างแวดล้อมในการ เรียนรู ้ หรือมุง ่ พัฒนาระบบการศึกษาควบคู่กันไปด้วย 5. Co-working space ประเภท Communityled Co-working space ถือเปนกลุ่มผูใ้ ห้บริการทีมีน้อยมากในประเทศไทย นอก เหนือจากการให้บริการพืนทีทํางานแล้วก็ยง ั โฟกัสไปที การสร้างคอมมูนิตี และการสร้างปฏิสม ั พันธ์กับคนใน คอมมูนิตี
รูปภาพจาก https://dsignsomething.com/-covid-19/
เหตุผ ลความสํา คั ญ ของ CO-WORKING SPACE 1.ในยุคของ Work from home ผู้คนสามารถ ทํางานทีบ้านได้มากขึน และเกิดกลุ่มคนทีต้องการ ทํางานทีไม่ใช่ทีบ้าน เพือ เปลียนบรรยากาศและ ปญหาต่างๆทีเกิดขึน
2.สิงอํานวยความสะดวก พนักงานยังมีความจําเปน ต้องเข้าถึงฮาร์ดแวร์ และ ระบบภายในของบริษัท สัญญาณอินเทอร์เน็ตทีดี และอุ ปกรณ์สาํ นักงานบาง อย่าง
3.อนาคตแรงงานหลักจะ เปนกลุ่มมิลเลนเนียน ทีไม่ ชอบรูปแบบออฟฟศเดิมๆ ต้องการบรรยากาศใหม่ๆ
5.ออฟฟศเกรดAใน ใจกลางเมืองมีน้อยลง แต่ ราคาสูงขึน
8.สามารถสร้างภาพ ลักษณ์ทีดี โดนใจคนรุน ่ ใหม่
21
4.มีสภาพแวดล้อมทีช่วย สร้างแรงจู งใจในการ ทํางาน
6.สามารถเลือกชุมชนและ สภาพแวดล้อมทีดีเองได้
7.ความสะดวกสบาย เพราะอยูใ่ นทีทีเดินทาง สะดวก
9.ยืดหยุน ่ ได้ตามขนาดที องค์กรต้องการ
10.ตอบโจทย์กลุ่มSME ที กําลังอยูในช่วงเริมต้น
รูปภาพจากhttps://dsignsomething.com
HYGIENIC DESIGN Hygienic concept คือ การออกแบบทีคํานึงถึงสุขอนามัย ในการอยูอ ่ าศัย เช่น การเลือกใช้วส ั ดุ ตกแต่งทีไม่สะสมเชือแบคทีเรีย การใช้ระยะห่างทีเปลียนแปลงไปในปจจุบน ั รวมไปถึงการนํา เทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการออกแบบ อย่างง่ายทีสุดสถาปนิกอาจต้องหยิบยืมองค์ความรูจ้ ากสาขาวิทยาศาสตร์สข ุ ภาพและวิทยาศาสตร์ อาหารมาใช้ คือ หลักการออกแบบห้องสะอาด เช่น การเลือกใช้วส ั ดุและเทคโนโลยีเพือความสะอาด การควบคุมระบบปรับอากาศ
ให้ความสําคัญกับวัสดุทีใช้ (Construction materials) เปนวัสดุที แข็งแรง ผิวเรียบ ทําจากวัสดุทีไม่เปนพิษ ทําความสะอาดได้ง่าย ฆ่าเชือได้ ไม่เปนสนิมทน ต่อการกระแทกการขัดถู และทนทานต่อการกัดกร่อนจากสารทําความสะอาดและฆ่าเชือ วัสดุทีเหมาะสมเช่น สแตนเลส พลาสติก พืนผิว (Surface finish) พืนผิวเรียบ ไม่มรี อ ่ งรูพรุน มุมอับและเปนแหล่งเพิมจํานวนของเชือจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียรา ทําความสะอาดได้ง่าย และฆ่าเชือได้
22
บทความจาก https://www.buildernews.in.th/news-cate/
MATERIAL New Normal กับการเลือกใช้วส ั ดุ “ วัส ดุ ก่ อ สร้า ง ” บางตั ว สามารถเปนแหล่ ง สะสมและแพร่เ ชือได้ ยกตั ว อย่ า งที เห็น ได้ ชัด เลย คื อ
ลู ก บิ ด มื อ จั บ ประตู ต ามห้า งสรรพสิ น ค้ า หรือ ในพื นที สาธารณะขณะที วัส ดุ จาํ พวกราวจั บ ลู ก บิ ด ก๊ อ กนํา สุ ข ภั ณ ฑ์ ใ นห้อ งนํา ที ทํา จากทองแดง หรือ ทองเหลื อ ง ได้ ร บ ั การรับ รองจากองค์ ก ร
ปกปองสิ งแวดล้ อ มแห่ง สหรัฐ อเมริก า (EPA) ว่า มี ป ระสิ ท ธิภ าพในการปองกั น การเจริญ เติ บ โต ของเชือโรคได้ ' NEW NORMAL' ERA
SOCIAL CHANGE
วัสดุปดผิว ตามเคาน์เตอร์บาร์ โต๊ะอาหาร ท็อปครัว หรือ ท็อปห้องนํา เปนอีกพืนทีทีควรให้ความสําคัญใน การออกแบบและการเลือกใช้วส ั ดุ เพราะอาจ เกิดการสะสมของเชือโรคได้ตามพืนผิว ตาม ซอก หรือตามมุมอับ การออกแบบจึงต้องเน้น การหลบเหลียมมุมและซอก ทําให้เกิดเปนมุม ปานหรือมุมโค้ง และควรเลือกใช้วส ั ดุทีไม่มรี อย ต่อ หรือมีรอยต่อน้อย เพือง่ายต่อการทําความ อย่างทัวถึง
ระบบ Automation อืน ๆ ประตูทีเปดปดด้วยลูกบิดหรือมือจับทุกประเภท ล้วนเปนจุดทีทุกคนใช้เปดปดประตูเข้ามาจะต้อง สัมผัส ตรงนีเองจึงเปนเหมือนแหล่งรวมเชือ โรคต่าง ๆ และเปนจุดเสียงทีก่อให้เกิดโรค ติดต่อ ยิงเปนพืนทีสาธารณะอย่าง ห้างสรรพ สินค้า ร้านกาแฟ หรือพืนที Co-working space ซึงเปนพืนทีทีเปนแหล่งรวมของผูค ้ น จํานวนมาก ต้องหันมาใช้ประตูทีปราศจากการ สัมผัส หรือประตูอัตโนมัติกันมากขึน
23
สุขภัณฑ์ ห้องนําเรียกได้วา่ เปนแหล่งสะสมของเชือ แบคทีเรียชันดี โดยเฉพาะห้องนําตามพืนที สาธารณะอย่างห้างสรรพสินค้า หรือตามปม นํามัน ทีมีคนมากหน้าหลายตาต่างพากันผลัด เข้ามาใช้งาน ฉะนันการเลือกสุขภัณฑ์สาํ หรับ ห้องนําก็ควรจะคํานึงถึงเรืองการสัมผัสของพืน ผิว ซึงควรจะหลีกเลียงเปนอย่างยิง
กระเบือง กระเบืองเปนอีกพืนผิวสัมผัสทีทุกย่างก้าวของ เราจะต้องถูกสัมผัส และไม่สามารถทีจะหลีก เลียงได้ สิงทีต้องทําคือหมันถูพนทํ ื าความ สะอาดอยูเ่ สมอ ส่วนในเรืองการดีไซน์ออกแบบ พืนหลังสถานการณ์โควิด-19 ผ่านพ้นไป แนวทางการดีไซน์ควรคํานึงถึงเรืองรอยต่อ ระหว่างกระเบืองทีไม่ควรถีจนเกินไป เพราะจะ ทําให้เกิดการสะสมของเชือโรคได้ตามซอก ยาก ทีจะทําความสะอาด รวมถึงวัสดุทีเลือกใช้ควรที จะมีคณ ุ สมบัติต้านทานแบคทีเรียได้ดี
TECHNOLOGY เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึน
มนุ ษ ย์ ไ ม่ อ าจปฏิ เ สธได้ ว่า ต้ อ งปรับ ตั ว เทคโนโลยกํา ลั ง ตอบโจทย์ ชีวิต วิถี ใ หม่
(New Normal) ที หลายคนต้ อ งเจอ และนั บ เปนโอกาสของธุ ร กิ จ หรือ สถานที ต่ า งๆที ควรปรับ ตั ว ให้ทั น
ในยุ ค นี ผู้ ค นเริมสนใจเทคโนโลยี ม ากขึ นและใช้มั น ได้ ดี ขึ น โดยเทคโนโลยี จ ะ
ทํา ลาย (Disrupt) รู ป แบบการทํา งานและธุ ร กิ จ แบบเดิ ม ๆที ไม่ ส ามารถปรับ ตั ว ให้ทั น ต่ อ พฤติ ก รรมที เปลี ยนแปลงไปของผู้ บ ริโ ภคได้ เช่น การทํา งานแบบ
ออนไลน์ การเรีย นการสอนออนไลน์ แม้ ก ระทั งแรงงานคนจะถู ก ทดแทนด้ ว ย เทคโนโลยี แ ละหุ่น ยนต์ ม ากขึ น
Health
Work
Study
Safety
Clean
Shopping Online
' NEW NORMAL' ERA
SOCIAL CHANGE
24
25
USER
GENERATION Z
GENERATION Z ช่วงอายุประมาณ 15-25 ป
กลุ่มคนวัยทํางาน
20 %
นักเรียน นักศึกษา
80 %
ชาว Gen Z ใช้เวลาอยูบ ่ นโลกออนไลน์เปนส่วนใหญ่ พร้อมเชือมต่อกับงานตลอด 24 ชัวโมง สามารถทํางานได้จากทุกที อุ ปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์พร้อม องค์กรจึงต้องปรับ ตัวให้เข้ากับยุคและสมัยในปจจุบน ั ซึงคนกลุ่มเจเนอร์เรชัน Z เปนกลุ่มคนทีอายุน้อย ทีสุดทีกําลังจะก้าวเข้าสูต ่ ลาดแรงงาน ณ ตอนนี พฤติกรรมของคนชาว Gen Z เปนอย่างไร 1.ติดอยูใ่ นโลกออนไลน์ จึงสามารถรับข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็ว ทําให้ชาว Gen Z ชอบตัดสินใจทําอะไรอย่างรวดเร็ว 2.ใช้เวลาส่วนใหญ่อยูบ ่ นโลกออนไลน์ สือสารผ่านอินเทอร์เน็ตเปนหลัก 3.เปดกว้างทางความคิดและวัฒนธรรมทีแตกต่างน่าจะมีแนวโน้มทีจะปรับทัศนคติได้ดี 4.มีความกล้าแสดงออก มันใจในตัวเองสูงมากและกล้าทีจะโชว์ 5.มีความอดทนตํา ชอบทํางานหลายอย่างพร้อมกัน
26
13% 38%
9%
22%
18%
“ตําแหน่งทีตัง” ของสถานทีทํางานมีความสําคัญสูงสุด ผลสํา รวจล่ า สุ ด โดยนี ล เส็ น ประเทศไทย ร่ ว มกั บ โครงการ The PARQ ซึ งพั ฒ นาโดยบริ ษั ท ที ซี ซี แอสเซ็ ท (ประเทศไทย) จํา กั ด ผยเทรนด์ ค วามต้ อ งการที กํา ลั ง มาแรงของมนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ น ในกรุ ง เทพฯ
OFFICE WORKER BEHAVIOR เทรนด์พฤติกรรมของ พนักงานออฟฟศคนรุน ่ ใหม่
27
ชี ว่ า ออฟฟศซึ งมี ทํา เลที ตั งสะดวกสบายและเข้ า ถึ ง ระบบขนส่ ง มวลชนได้ ส ะดวก นอกจากนี กระแสความต้ อ งการด้ า นสุ ข ภาวะที ดี การมี บ ริก ารที อํา นวยความสะดวกต่ า งๆ อย่ า งครบครัน และ เทคโนโลยี ลําสมั ย ภายในอาคารสํา นั ก งานก็ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความ ต้ อ งการที เปลี ยนแปลงไปของพนั ก งานออฟฟศ ซึ งบ่ ง บอกถึ ง เทรนด์ ใ หม่ ที จะพลิ ก โฉมรู ป แบบอาคารสํา นั ก งานชั นนํา ของ กรุ ง เทพฯ ในอนาคต ผลสํา รวจยั ง พบว่ า เทรนด์ ข องหนุ่ ม สาวชาวออฟฟศรุ ่น ใหม่ ย กให้ ความสะดวกสบายในการเดิ น ทาง และที ทํา งานที อยู่ ใ กล้ ร ะบบ ขนส่ ง มวลชนเปนปจจั ย สํา คั ญ เหนื อ กว่ า ด้ า นอื นๆ โดยมี ถึ ง 72% ของผู้ ร ่ว มตอบแบบสํา รวจระบุ ว่ า ต้ อ งการเดิ น ในระยะทางที ตํากว่ า 500 เมตร ระหว่ า งที ทํา งานกั บ จุ ด บริก ารขนส่ ง มวลชน นอกจากเรืองสถานที ตั งของที ทํา งาน ผลสํา รวจยั ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า ปจจุ บั น มนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ นต้ อ งการให้ อ อฟฟศเปนมากกว่ า แค่ สถานที ทํา งาน โดยระบุ ว่ า ปจจั ย สํา คั ญ อี ก 3 ประการที จะช่ ว ยเพิ ม ความพึ ง พอใจในการทํา งานนั น คื อ สิ งอํา นวยความสะดวกและ บริก ารต่ า งๆ ภายในอาคารสํา นั ก งาน เช่ น ร้า นค้ า ยิ ม ร้า นอาหาร บริก ารรับ ส่ ง ไปรษณี ย์ มากถึ ง 43% เทคโนโลยี ก ารรัก ษาความ ปลอดภั ย และสวั ส ดิ ภ าพที ดี 42% และมี พื นที สี เ ขี ย วและพื นที สาธารณะสํา หรับ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจระหว่ า งการทํา งาน 36%
NEW NORMAL
35% 44% 21%
สุขภาวะทีดี คือ หัวใจหลักทีจะสร้างความสุข และ ประสิทธิภาพในการทํางาน
ไลฟสไตล์ของคนในปจจุบน ั ทีหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึน อย่างต่อเนืองนันสอดรับกับผลสํารวจนีเปนอย่างดี โดยผูร้ ว่ ม ตอบแบบสํารวจระบุวา่ 3 ปจจัยหลักทีมีผลต่อความพึงพอใจ และส่งเสริมประสิทธิภาพการทํางานได้อย่างมากคือ อากาศ ภายในอาคารทีปลอดมลพิษ 64% รองลงมาคือ การเข้าถึงแสงธรรมชาติและสามารถมองเห็นวิว ภายนอกอาคารได้ 45% และการมีพนที ื สีเขียวในอาคาร สํานักงาน 40% นอกจากนี ความต้องการมีสงอํ ิ านวยความ สะดวกและบริการต่างๆ เช่น ยิมบริการเสริมความงามหรือสปา ในอาคาร 39% ก็สะท้อนถึงเทรนด์สข ุ ภาพทีอยูใ่ นกระแสความ สนใจของคนยุคนีได้เปนอย่างดี
OFFICE WORKER BEHAVIOR เทรนด์พฤติกรรมของ พนักงานออฟฟศคนรุน ่ ใหม่
ในทางกลับกันสภาพอาคารสํานักงานทีกลุ่มผูต ้ อบแบบสํารวจไม่ พึงพอใจคือ สภาพออฟฟศทีคับแคบพืนทีทํางานไม่สะดวกสบาย ซึงมาเปนอันดับหนึง 41% ตามมาด้วยคุณภาพอากาศภายใน อาคารทียําแย่ 40%
NEW NORMAL
28
29
CASE STUDY
30
เรือนกระจกส่วนตัว
Mediamatic ETEN Amsterdam, Netherlands
นอาหารทีชือว่า “Mediamatic ETEN” ซึงตังอยูใ่ นกรุง อัมสเตอร์ดัม เปนส่วนหนึงขององค์กร “Mediamatic” ที เกียวกับการพัฒนาด้านศิลปะ เชือมโยงกับธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ โดยร้านอาหารแห่งนีมีแนวคิดใหม่ทีจะเปดให้ ลูกค้าได้เข้ามาใช้บริการในร้าน โดยเปนการนังกินข้าวใน เรือนกระจกส่วนตัว เรือนกระจกส่วนตัวนีถูกตังชือว่า “Serres Séparées” เปนเรือนกระจกส่วนตัวทีสามารถนังได้ 2 ที นัง สามารถมองเห็นบรรยากาศภายนอกได้โดยรอบ สามารถชมความสวยงามริมแม่นํา แต่ขณะเดียวกันก็ยง ั เปนการรักษาระยะห่างระหว่างบุคคลตามมาตรการ Social Distancing ของเนเธอร์แลนด์ ทีจะต้องมีระยะ ห่างระหว่างบุคคล 1.5 เมตร โดยเรือนกระจกนีจะทําให้ สามารถเว้นระยะห่างระหว่างลูกค้าแต่ละโต๊ะ และระหว่าง ลูกค้ากับพนักงานได้
CASE STUDIES HTTPS://POSITIONINGMAG.COM/1276978
AMAZON LOCATION : SEATTLE, W.A. / USA
ถ้ า พู ดถึ ง การสร้า งสรรค์ ส ภาพแวดล้ อ มใน การทํา งานได้ เ จ๋ ง ที สุ ด ในยุ ค นี โปรเจกต์ ล่ า สุ ด ที ได้ ร ับ การชื นชมมากที สุ ด นั นคงต้ อ งยกให้ กั บ การสร้า งสรรค์ ค รังยิ งใหญ่ ข องแบรนด์ ยั ก ษ์ อย่ า ง Amazon ที เนรมิ ต รปาจํา ลองขึ นที สํา นั ก งานใหญ่ ข องตั ว เองในเมื อ งซี แ อทเทิ ล สห รัฐ อมเริก า เพื อมอบความสดชื นและอากาศบริ สุ ท ธิ ใ ห้ กั บ พนั ก งานของตั ว เองโดยไม่ ต้ อ งเดิ น ทางไปไหนไกล
โปรเจกต์ ที ว่ า นี ก็ คื อ การสร้า ง Amazon Spheres โดมแก้ ว สุ ด ลําขึ นที สํา นั ก งานใหญ่ ใจกลางเมื อ ง ภายในโดมนั นสร้า งปาจํา ลองอั น เขี ย วขจี ขึ นมาโดยคั ด เลื อ กเอาพื ช นานาพั น ธุ์ ก ว่ า 40,000 ต้ น ที นํา มาจาก 50 ประเทศทั วโลก มา ปลู ก รวมกั น อยู่ ใ นอาณาจั ก รแห่ ง นี ที ควบคุ ม อุ ณหภู มิ ใ ห้ ค งที อยู่ ที ราวๆ 22 °C และความชื น อยู่ ที 60% ตลอดทั งวั น บริเ วณต่ า งๆ ภายใน โดมแก้ ว นี นอกจากความสดชื นเขี ย วขจี แ ล้ ว ก็ ยั ง มี โ ซนพั ก ผ่ อ นแทรกตั ว อยู่ ห ลายจุ ด เอาไว้ ใ ห้ พ นั ก งานได้ นั งหย่ อ นใจ บํา บั ด ด้ ว ยธรรมชาติ สู ด อากาศ บริสุ ท ธิ เพื อเพิ มความกระปรีกระเปร่า ในการ ทํา งานได้ ตลอดจนสามารถหอบเอาโน๊ ต บุ๊ ค มา นั งทํา งานท่ า มกลางธรรมชาติ ไ ด้ อ ย่ า งสะดวก สบายอี ก ด้ ว ย และในโดมแก้ ว นี ก็ ยั ง เต็ ม ไปด้ ว ย สิ งสร้า งความสุ ข อี ก มากมายหลายมุ ม ที Amazon ต้ อ งการมอบคุ ณ ภาพชี วิ ต ตลอดจน สุ ข ภาพที ดี ก ลั บ คื น สู่ พ นั ก งานของตน สํา หรับ โปร เจกต์ สุ ด เจ๋ ง ที ทั วโลกกํา ลั ง ให้ ค วามสนใจนี เปน ฝมื อ การออกแบบของ NBBJ บริษั ท สถาปนิ ก ที เลื องชื อระดั บ โลกนั นเอง
ขอมูลจาก https://th.hrnote.asia/tips/190814-working-environment/
SEIDUTS ESAC
31
32
รูปภาพจาก https://th.hrnote.asia/tips/190814-working-environment/
33
SITE LOCATION
34
COMMERCIAL BUILDING ม า ต ร ฐ า น อ า ค า ร พ า ณิ ช ย์
อาคารพาณิชย์ หมายถึง อาคารทีใช้เพือประโยชน์ ในการพาณิชยกรรม หรือบริการธุรกิจซึงอาจใช้เปนอาคารเพือประโยชน์ในการพาณิชยกรรมได้ และประกอบด้วยวัสดุทนไฟเปนส่วนใหญ่
ชันล่างต้องมีขนาดไม่ตํากว่า 30 ตร.ม. (4.00x7.50 ม.) ยาวสุดไม่เกิน 24.00 ม ความกว้างไม่นอ ้ ยกว่า 4 ม.
35
อาคารขนาดเล็ ก 1 คู ห า อ า ค า ร พ า นิ ช ย์
4
ชั น
TYPE A
PROGRAMING
Co-Working Space
Post Office
Meeting Room
Fitness
36
SITE ANALYSIS
Between the alley Ramkhamhang 161-162 Ratpattana Road (MISTINE Alley) Saphansung County Saphansung District Bangkok 10240
ย่านราษฎร์พฒ ั นาตังอยูใ่ นพืนทีรามคําแหง มีถนน ราษฎร์พฒ ั นาเปนถนนสายหลัก ซึงเปนถนนทีแยกมาจากถนน รามคําแหง ประมาณช่วงรามคําแหง 160 เปนย่านทีมีหมูบ ่ า้ น จัดสรรเกิดขึนจํานวนมาก และส่วนใหญ่จะถูกเรียกว่าหมูบ ่ า้ น จัดสรรในซอยมิสทีน
NEARBY LANDMARKS สถานทีสําคัญใกล้เคียง
เดอะมอลล์บางกะป มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต โรงเรียนเตรียมอุ ดมศึกษาน้อมเกล้า โรงเรียนนวมินทร์เตรียมน้อม โรงพยาบาลเกษมราษฎร์
37
อาคารขนาด 4 คู ห า อ า ค า ร พ า นิ ช ย์
2
ชั น
4
คู ห า
PROGRAMING
Co-Working Space
Cafe & Dining Area
Meeting Room
TYPE B
38
SITE
LOCATION
อ า ค า ร พ า นิ ช ย์
2
ชั น
2
คู ห า
ถนนบางกรวย - ไทรน้ิ อย ตํา บล บางกร่า ง อํา เภอเมื อ งนนทุ ร ี นนทบุ ร ี 1 1 0 0 0 Bangkruy-Sainoy Road, Bangkrang County, MuangNontaburi District, Nontaburi 11000
NEARBY LANDMARKS สถานทีสําคัญใกล้เคียง
โรงเรียนนานาชาติรว่ มฤดี ราชพฤกษ์ โรงเรียนเตรียมอุ ดมศึกษาพัฒนาการ นนทบุร ี ตลาดเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ The walk ราชพฤกษ์ เซ็นทรัลพลาซ่ารัตนาธิเบศร์ โรงพยาบาลปากเกร็ด2 วัดสวนแก้ว
39
MATERIAL
เปนวัสดุที แข็งแรง ผิวเรียบ ทําจากวัสดุทีไม่เปนพิษ ทําความสะอาดได้ง่าย ฆ่าเชือได้ ไม่เปนสนิมทนต่อการ กระแทกการขัดถู และทนทานต่อการกัดกร่อนจากสาร ทําความสะอาดและฆ่าเชือ
พืนผิวเรียบ ไม่มรี อ ่ งรูพรุน ทําความสะอาดได้ง่าย และฆ่าเชือได้
HYGIENICE TILE
กระเบืองยับยังแบคทีเรีย
คอตโต้ แบรนด์ผน ู้ ําในตลาดกระเบืองเซรามิกปูพน ื บุผนัง ตอบรับกระแสสุขอนามัยทีดี เพือสร้างเสริมคุณภาพชีวต ิ ทีดี ให้กับผูพ ้ ก ั อาศัยให้ ด้วยกระเบือง Hygienic Tile (ไฮจีนิก ไทล์) ซึงมี คุณสมบัติในการปองกันและยับยังการเจริญเติบโตของ “เชือแบคทีเรีย” โดยส่วนทีสําคัญทีสุดอยูท ่ ีสารซิลเวอร์ นาโน (Silver Nano) ทีถูกผสมลงในเนือสีกระเบือง ซึง อนุภาคซิลเวอร์นาโนสามารถยับยังการเติบโตของเชือ แบคทีเรียทีเกียวกับมนุษย์ได้จาํ นวนมาก จึงนิยมนํามาใช้ ในผลิตภัณฑ์หลายประเภท
HTTPS://SCGCERAMICS.COM
40
41
นวัตกรรมตะแกรงอลูมเิ นียมฆ่าเชือ ก่อนเข้าอาคาร ไม่ทําร้ายรองเท้า
ครืองก้าวสะอาดประกอบด้วยอ่างนํายาฆ่าเชือทีมีตะแกรง อลูมเิ นียมกรองสิงสกปรก ถังใส่นํายาฆ่าเชือ และพรม สําหรับซับและกระจายนําฆ่าเชือ โดยจะติดตังไว้หน้าอาคาร หรือทางเข้า ผูใ้ ช้งานเพียงก้าวลงพบอ่างนํายาฆ่าเชือและ ก้าวเหยียบพรมการเข้าพืนที ถือเปนด่านแรกของการช่วยลดความเสียงในการนําเชือ ไวรัสเข้าบ้านหรืออาคารต่างๆ ซึงชุดอุ ปกรณ์ฆา่ เชือพืน รองเท้านีสามารถล้างพืนรองเท้าได้ในขณะทีสวมใส่โดยไม่ ต้องถอดรองเท้า เมือก้าวลงในอ่างนํายาฆ่าเชือ มีเพียง ส่วนของพืนรองเท้าเท่านันทีสัมผัสนํายาฆ่าเชือ ด้านล่าง ของอ่างส่วนทีอยูใ่ ต้พนรองเท้ ื ามีตะแกรงทําหน้าทีกรอง ฝุน ดินและสิงไม่พง ึ ประสงค์ต่างๆ ออกจากพืนรองเท้า ส่วนถังบรรจุนํายาฆ่าเชือมีระบบรักษาระดับความสูงของ นํายาฆ่าเชือ และเติมนํายาฆ่าเชือในอ่างเมือมีการใช้งาน แนวคิดในการพัฒนาเครืองก้าวสะอาดนี นําแนวคิดของ เครืองทําความสะอาดพืนรองเท้าในโรงงานผลิตอาหารมา ประยุกต์ใช้ โดยตัวเครืองทังหมดเปนสแตนเลส 304 ทุก ชินส่วนสามารถทอดออกมาทําความสะอาดได้ โดยใช้นํา ร้อนลวกทําความสะอาด และเครืองมีอายุการใช้งาน ประมาณ 4-5 ป ส่วนถังใส่นํายาได้ 10 ลิตร และสามารถ เลือกนํายาฆ่าเชือได้ตามความต้องการ เช่นนํายาฆ่าเชือที นํายมใช้ตามท้องตลาด
HTTPS://SCGCERAMICS.COM
42
ชุดเครืองมือการฆ่าเชือโรคบนวัสดุพนผิ ื ว
3M™ MBS Disinfectant Cleaner Fresh Scent Concentrate ผลิตภัณฑ์ทําความสะอาดฆ่าเชือโรคชนิดเข้มข้น เปนวิธท ี ี ง่ายสําหรับพนักงานทําความสะอาดในการฆ่าเชือโรคบน พืนผิวได้อย่างรวดเร็ว แค่ทิงไว้เพียง 5 นาที ก็สามารถฆ่า เชือโรคในบริเวณทีมีการสัญจรหนาแน่น ได้รบ ั การพิสจ ู น์ แล้วว่าต่อต้านจุลินทรียห ์ ลากหลายชนิด เช่น Norovirus, MRSA, VRE, ไวรัสตับอักเสบ B และ C, Acinetobacter baumannii และไวรัสไข้หวัดใหญ่ A
Scotchgard™ Stone Floor Protector Plus นํายาเคลือบปกปองพืนหิน อุ ปกรณ์ปกปองพืนประสิทธิภาพสูงนีต้องการการเคลือบ เพียงสองชันเท่านัน และให้ความทนทานต่อคราบ รอย ครูด และรอยขีดข่วนได้ดีเยียม
Scotchgard™ นํายาปกปองพืนทีมีความยืดหยุน ่ ปกปองและปรับปรุงลักษณะของพืนทีมีความยืดหยุน ่ และเพิมความต้านทานต่อคราบในอนาคต
43
เทคโนโลยี โอโซนฆ่าเชือในอากาศ (Air Disinfection)
ตัวอย่างกราฟแสดงการใช้โอโซนฆ่าเชือไวรัสทีลอยใน อากาศ(Airborne Virus)
เปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้ ECONOWATT ozone gas generator
HTTPS://ECONOWATT.CO.TH
หนึงในปญหาเชือโรคในอากาศทีหลีกเลียงได้ ยากและเปนภัยต่อสุขภาพ อันเปนสาเหตุทําให้เกิด โรคต่าง ๆ เช่น โรคติดเชือทางเดินหายใจ ไข้หวัด ภูมแ ิ พ้ เปนต้น จึงมีการนําระบบโอโซนเข้ามาใช้ใน การฆ่าเชือ โดยโอโซนมีสถานะเปนก๊าซจึงแพร่การก ระจายได้ทัวพืนทีมากกว่าการฉีดหรือพ่นละอองนํา มี คุณสมบัติ ทําปฏิกิรย ิ าออกซิเดชันกับสารอินทรีย์ สา รอนินทรียไ์ ด้เกือบทุกชนิดทังในนําและในอากาศ มี ฤทธิในการฆ่าเชือทีรุนแรงและเร็วกว่าคลอรีนถึง 3,125 เท่า สามารถฆ่าเชือโรคในอากาศ ทําลาย และ ยับยังการเจริญเติบโต ของเชือโรคต่าง ๆ ได้ถึง 99% เช่น เชือแบคทีเรีย เชือรา และเชือไวรัส จากบทความวิจย ั การฆ่าเชือโรคในอากาศ พบ ว่าผลทดสอบการใช้โอโซนฆ่าเชือไวรัสทีลอยใน อากาศ (Airborne Virus) โอโซนสามารถกําจัดเชือ ได้ 99% ทีระยะเวลา 15 นาที (Chun-Chieh Tseng& Chih-Shan Li [2006]) และการใช้โอโซน ฆ่าเชือไวรัสบริเวณผิววัสดุเรียบ เช่น ไวรัสบนแก้ว พลาสติก หรือสแตนเลส ผลการทดลองพบว่า ระยะ เวลาการฆ่าเชือ (Contact Time) ทีความเข้มข้น โอโซน 20 ppm ระยะเวลา 20 นาที สามารถฆ่าเชือ ไวรัสได้ (Hudson [2009]) ECONOWATT OZONE GAS GENERATOR เครืองกําเนิดโอโซนก๊าซ ECONOWATT มี ประสิทธิภาพในการควบคุมระดับความเข้มข้นของ ก๊าซโอโซนที 0.5-2.5 ppm ตลอดการทํางานของ เครืองกําเนิดโอโซนก๊าซ ECONOWATT ซึงเพียง พอสําหรับการฆ่าเชือโรคในอากาศ โดยมีสญ ั ญาณ แจ้งเตือนขณะใช้งาน อีกทังขจัดกลินไม่พง ึ ประสงค์ ในพืนทีส่วนตัวหรือสถานที ทีมีความอับชืนและไม่สง ่ ผลต่อสุขภาพในระยะยาว
44
ฆ่าเชือในอากาศ
โรงแรม
กําจัดกลิน
ครัวเรือน
โรงพยาบาล
ร้านอาหาร
OZONE GAS GENERATOR OZG 1000 3000 mg/hr กําจัดไวรัส แบคทีเรีย และเชือราในอากาศ 99.99% ทํางานด้วยระบบตังเวลา 60 นาที ปลอดภัยด้วยระบบแจ้งเตือน เหมาะสําหรับฆ่าเชือในห้อง หรือในอาคาร ศูนย์ทันตกรรม ร้านอาหาร
OZONE GAS GENERATOR OZG GAS 0125G BASIC BLOWER กําจัดไวรัส แบคทีเรีย และเชือราในอากาศ 99.99% สามารถปรับความเข้มข้นของก๊าซโอโซนได้ ขนาดห้องทีเหมาะสม 800 ถึง 2,500 ตารางเมตร เหมาะสําหรับฆ่าเชือในห้องขนาดใหญ่ โรงพยาบาล โรงแรม โรงภาพยนตร์
HEAVY DUTY OZONE GAS OZG GAS 25G ทนทาน ทํางานได้ยาวนาน 24 ชัวโมง มีระบบผลิตออกซิเจนบริสท ุ ธิ 100% สังงานผ่านจอ LCD Touch Screen สามารถดูการทํางานของเครืองแบบ Real Time ผ่าน อินเทอร์เน็ต ใช้สาํ หรับฆ่าเชือผ่านท่อ Duct ในระบบปรับอากาศ ห้อง ปลอดเชือ อาคารสํานักงานขนาดใหญ่ ศูนย์จด ั แสดง สินค้า
45
46
3
47
BUBBLE พืนทีของการทํางานทีได้แนวความคิดจาก Bubble จึงเกิดเปน Space ทีถูกแบ่งเปนวงกลมหรือวงรี เล็กและใหญ่ทีแตกต่างกันไป และยังสามารถ เปนการสร้างระยะห่างความเปนส่วนตัวของพืนทีนันๆไปในตัว
48
ภาพตัวอย่างของระยะห่างทีเกิดขึนจากการใช้คอนเซ็ปฟองบับเบิล เพือเปนแนวปองกันความเปนส่วนตัวของแต่ละบุคคลทีต้องทํางาน รวมกัน เช่นห้องประชุมขนาดเล็ก
49
CASE STUDY SPACE
50
PONS + HUOT’s Futuristic Bubbly Offices
สํานักงานในปจจุ บน ั ออกแบบโดย Christian Pottgiesser
โครงการนีรองรับสํานักงานใหญ่ของสอง บริษัท ในปารีสคือ PONS และ HUOT โดยมีผบ ู้ ริหารทังหมดสิบห้าคน ด้วยเหตุนีจึงมี ห้องทีเปนโดมกระจกใสคล้ายฟองสบูเ่ จ็ดห้องสําหรับผูอ ้ ํานวยการ แต่ละคน และห้องทํางานแบบเปดโล่ง 1 ห้องสําหรับพนักงานที เหลืออีกแปดคน นอกจากนียังมีหอ ้ งประชุม 1 ห้อง ห้อง สันทนาการส่วนกลาง ห้องครัว ห้องพักผ่อน และมีต้นไม้เขียวชอุ ่ม อยูท ่ ัวพืนทีหลัก โครงการประกอบด้วยการแทรกยูนิตไม้โอ๊คสูง 1.7 ม. ยาว 22 ม. และกว้าง 14 ม. สถานทีทํางานแต่ละจุดทําด้วยพืนผิวไม้และด้านบน ปดด้วย telephone-dome โดมทีมีรูปทรงคล้ายฟองสบู่ เพือสร้าง ความเปนส่วนตัวของผูใ้ ช้งาน
51
52
4
53
CONCEPTAUL IDEA
54
BUBBLE แนวความคิดมาจากฟองสบูห ่ รือ ฟองอากาศทีเกิดขึน ด้วย ลักษณะและรูปลักษณ์ของมันที สือถึงความใสสะอาด ทีช่วยให้ เปนกรอบทีสามารถ Protectเรา ได้จากสิงรอบข้างและยังช่วย สร้างความเปนส่วนตัวในแต่ละ พืนที
55
MOOD AND TONE
56
57
PROGRAMING
58
Co-Working Space
Post office
Meeting Room
Gym
Cafe
Quick Chat Room
59
COMMERCIAL BUILDING ม า ต ร ฐ า น อ า ค า ร พ า ณิ ช ย์
อาคารพาณิชย์ หมายถึง อาคารทีใช้เพือประโยชน์ ในการพาณิชยกรรม หรือบริการธุรกิจซึงอาจใช้เปนอาคารเพือประโยชน์ในการพาณิชยกรรมได้ และประกอบด้วยวัสดุทนไฟเปนส่วนใหญ่
ชันล่างต้องมีขนาดไม่ตํากว่า 30 ตร.ม. (4.00x7.50 ม.) ยาวสุดไม่เกิน 24.00 ม ความกว้างไม่นอ ้ ยกว่า 4 ม.
60
TYPE
1
พื น ที ข น า ด เ ล็ ก ที สุ ด ไ ม่ เ กิ น 3 0 ต ร ม .
Meeting Room
61
TYPE อ า ค า ร ที มี
Co - Working Space
Post Office
1 - 2
2 ชั น
Meeting Room
Coffee Cafe
62
TYPE อ า ค า ร ที มี
2 - 4
3 ชั น ขึ น ไ ป
Co - Working Space
Meeting Room
Fitness
Post Office
Coffee Cafe
63
PROTOTYPE
64
TYPE 1 พื น ที ข น า ด เ ล็ ก ที สุ ด ไ ม่ เ กิ น 1 5 ต ร ม .
65
MEETING ROOM
BUBBLE BOX
66
BUBBLE BOX
ห้องประชุมภายใต้คอนเซป Bubble Box แนวคิดจาก Bubble ที ให้ความรูส ้ ก ึ เหมือนการได้รบ ั การปกปองจากสิงภายนอก เปนพืนที ส่วนตัวทีเชือมต่อกันทัง 4ห้อง ภายในห้องประชุมเพียง 1เดียว โดย แต่ละ 4ห้องนันยังคงความเปนส่วนตัวให้กับผูใ้ ช้งานทุกท่านในห้อง ประชุม โดยพืนทีในแต่ละห้องสามารถใช้งานเชือมต่อกับคนอืนหรือต้องการใช้ อสารโดยใช้ไมค์โคร งานแบบส่วนตัวก็ได้ โดยเลือกใช้ฟงก์ชนการสื ั โฟนและลําโพงในแต่ละห้องกระจก เพือสือสารกับผูอ ้ ืนหากต้องการใช้ พืนทีร่วมกันเพือประชุมหรือพู ดคุย โดยแนวคิด Bubble Box นี ยังเปนการปกปองผูท ้ ีใช้งานภายในจาก สิงรอบข้าง โดยทียังสามารถมีปฏิสม ั พันธ์กับคนรอบข้างได้อีกด้วย นอกจากนีตัว Bubble Box ถูกออกแบบให้สามารถตังตามจุดสําคัญ ต่างๆหรือพืนทีสาธารณะได้ โดยใช้โปรแกรมหรือแอพลิเคชันในการ ควบคุมการใช้งานภายใน ไม่วา่ จะเปนการจองห้อง หรือการใช้ Wi-Fi และระบบไฟฟาต่างๆภายใน Bubble Box
67
TYPE 2 อ า ค า ร ที มี
1 - 2
ชั น
68
COWORKING SPACE
CAFE
MEETING ROOM
POST OFFICE
โต๊ะในส่วนของคาเฟ ทีสามารถปรับฟงก์ชนการใช้ งานได้ ั
เฟอร์นเิ จอร์ต่างๆทีอยูใ่ นพืนทีประเภทที 2 นอกจากในส่วนของ Meeting Room ทีใช้งานพืนทีโดย ใช้Bubble Box แล้ว โดยส่วนใหญ่ก็จะเปนพืนทีของทีนังในคาเฟ และ Co-Working Space โดยเฟอร์นเิ จอร์ งานได้ โดยเลือก ทีใช้เปนหลักก็จะเปนชุดเฟอร์นเิ จอร์โต๊ะ-เก้าอี เปนโต๊ะทีสามารถปรับเปลียนฟงก์ชนในการใช้ ั ได้วา่ จะใช้สาํ หรับเปนทีนังสําหรับคนเดียว หรือจะขยายโต๊ะออกเปนสําหรับ 2-3 ทีนังก็ได้ และในส่วนของคาเฟ นอกจากชุดเฟอร์นเิ จอร์ทีเปนโต๊ะทีนังสําหรับใช้งานแล้ว ทุกคาเฟจะมีมุมทีนังทีเปนพืนที สําหรับนังเล่น หรือถ่ายรูปเช็คอิน โดยใช้เฟอร์นเิ จอร์เก้าอีทีเปนทรงกลมใส ตามคอนเซปของ Bubble อีก ด้วย นอกจากนีส่วนของเฟอร์นเิ จอร์ทีเปนของตกแต่งในโซนคาเฟ ก็จะมีรป ู แบบเดียวกันหมด เช่น กระจกเงา โคม ไฟระย้า หรือฝาเพดาน
69
POST OFFICE จุดรับ-ส่งพัสดุไปรษณีย์ สําหรับในยุคนีมีความจําเปนอย่างมาก เนืองจากผูค ้ นจํานวนมากมีการซือขาย ของออนไลน์ในยุคดิจต ิ อลกันมากขึน จุดรับ-ส่งพัสดุจง ึ เปนทีต้องการของผูค ้ น โดยด้วยเทคโนโลยีในตอนนี ทําให้สามารถมีจุดรับ-ส่งพัสดุได้โดยไม่ต้องใช้พนักงานควบคุม เปนระบบ Post Box หรือตู้รบ ั -ฝากพัสดุ โดย ใช้งานผ่านสมาทโฟนหรือแอพลิเคชัน โดยจะมีพนักงานทางบริษัทขนส่งพัสดุมารับหรือส่งของเปนเวลา
70
POST BOX
71
TYPE 3 อ า ค า ร ที มี
2 - 4
ชั น ขึ น ไ ป
72
CO-WORKING SPACE CAFE MEETING ROOM POST OFFICE FITNESS
พืนทีทีเปนประเภทที3 คืออาคารทีมี 2-4 ชันขึนไป โดยในพืนทีประเภทนีแตกต่างจากประเภท อืนๆตรงทีมีพนที ื ของฟตเนสสําหรับออกกําลังกายแบบนันทนาการ เปนการรีแล็ค ผ่อนคลายยืด เส้นยืดเส้นระหว่างการทํางานมากกว่าการออกกําลังกายแบบเต็มรูปแบบ ด้วยการใช้เครืองเล่นที เปนประเภทบาร์สาํ หรับโหน ลูกบอลออกกําลังกาย ส่วนของพืนทีปนปาย หรือนวมสําหรับต่อยมวย และกิจกรรมการเล่นอืนๆทีไม่ต้องใช้เครืองเล่นทีอยูใ่ นฟสเนต นอกจากจะได้ออกกําลังกายแล้วยัง ถือเปนการผ่อนคลายระหว่างการทํางานอีกด้วย โดยพืนทีของฟตเนสจะอยูใ่ นส่วนของชัน4 แยกออกจากพืนทีทํางานชันอืนๆเนืองจากเพือเปนความ ส่วนตัวแยกออกจากกลุ่มคนทีกําลังใช้พนที ื ในการทํางานส่วนอืนๆ
73
อ า ค า ร ข น า ด เ ล็ ก อาคารขนาด
1
คู ห า
1-2 Bubble Box
ตู้จาํ หน่ายเครืองดืม 1ตู้
โต๊ะสําหรับ 1-2ทีนัง อย่างน้อย 5โต๊ะ
ตู้รบ ั -ส่งพัสดุ 1 ตู้
74
อ า ค า ร ข น า ด ก ล า ง - ใ ห ญ่ อ า ค า ร ที มี ตั ง แ ต่
4
คู ห า ขึ น ไ ป
โต๊ะสําหรับ 1-2ทีนัง อย่างน้อย 9โต๊ะ
Bubble Box ตังแต่ 4ห้องขึนไป
เคาท์เตอร์จาํ หน่ายขนมและเครืองดืม
โต๊ะสําหรับประชุม 2-3ที อย่างน้อย 6โต๊ะ
ห้องนําแยก ชาย-หญิง
ตู้รบ ั -ส่งพัสดุ 1ตู้ พร้อมทีจําหน่าย อุ ปกรณ์กล่องพัสดุ
75
BRANDING &LOGO
76
77
ZONING PLAN อ า ค า ร พ า นิ ช ย์ 4 ชั น ห น้ า ก ว้ า ง 4 เ ม ต ร ย า ว 1 6 เ ม ต ร
78
1 FLOOR
2 FLOOR
Co-Working Space Meeting Room Cafe Post office 3 FLOOR
Fitness
4 FLOOR
79
FLOOR 1
80
FLOOR 2
81
FLOOR 3
82
FLOOR 4
83
ZONING PLAN อ า ค า ร พ า นิ ช ย์ ห น้ า ก ว้ า ง 5 เ ม ต ร
ชั น ยาว
2
คู ห า 2 เ ม ต ร
4 1
84
1 FLOOR
Co-Working Space Meeting Room Cafe Post office Fitness
2 FLOOR
85
FLOOR 1
86
FLOOR 2
87
PERSPECTIVE
88
CAFE ZONE
89
CAFE ZONE
90
CAFE ZONE
91
CAFE ZONE
92
MEETING ZONE
93
อาคาร 1 คูหา
94
95
MEETING ZONE
96
FITNESS ZONE
97
FITNESS ZONE
98
FITNESS ZONE
99
อาคาร 1 คูหา
100
อาคาร 1 คูหา
101
102
5
103
RESULT& SUGGESTIONS
104
RESULT
จากการศึกษาวิถีชวี ต ิ ความเปนอยูข ่ องคนในยุคปจจุบน ั ว่ามีการ เปลียนแปลงไปอย่างไรและเปลียนแปลงไปในทิศทางไหน เพือออกแบบสถานที สําหรับบริการในด้านของ Co - Working Space เพือพัฒนาสถานทีบริการนี ให้ตอบโจทย์รป ู แบบการใช้ชวี ต ิ ใหม่ของผูค ้ นในปจจุบน ั โดยใช้สถานทีเล็กๆ สามารถกระจายไปตามทีต่างๆทัวมุมเมืองได้เพือสะดวกต่อการใช้งานของ คนในสังคม และเปนการจํากัดผูค ้ นทีมาใช้งานได้อีกด้วย รวมไปถึงพัฒนาและ ออกแบบไปตามความต้องการของคนในยุคนี ไม่วา่ จะเพิมบริการด้านต่างๆ ไม่ ว่าจะเปน คาเฟ บริการรับส่งพัสดุ สถานทีออกกําลังกาย เปนต้น ให้ทังหมด ออกมาอยูใ่ นรูปแบบการบริการทีตอบโจทย์การใช้ชวี ต ิ ในยุคของNew Normal
SUGGESTIONS
จากผลในการศึกษาข้อมูลของโครงการนี จึงแนะนําให้หลายๆสถานทีบริการมี การออกแบบทีสะดวกต่อการใช้งานและการเดินทาง ใกล้บา้ น และมีอุปกรณ์ อํานวยความสะดวกครบครันไม่ต่างจากการ Work From Home และยังคง คํานึงถึงความสะอาดปลอดภัย ให้ผค ู้ นสบายใจต่อการใช้งานอีกด้วย
105
RESEARCH REFERENCES WEBSITE https://www.dmh.go.th/news/view https://kasikornbank.com/th/personal/the-wisdom/articles/Pages/K-SME-INSPIRED https://www.ananda.co.th/blog/thegenc/new-normal-covid-19/ https://th.jobsdb.com/th-th/articles/workfromhome/ https://marketeeronline.co/archives/ https://www.prachachat.net/public-relations/news https://www.marketingoops.com/news/lark-new-normal/ https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/ https://www.bot.or.th/Thai/BOTMagazine/Pages/256402CoverStory.aspx http://www.onedeedee.com/lifestyle-news/28741/ https://www.tmbameastspring.com/insights/new-normal https://th.jobsdb.com/th-th/articles/ https://www.wazzadu.com/article/2596 https://www.wazzadu.com/article/5031
106
CURRICULUM VITAE
NAME
PREEYARAT SRISUK
STUDENT CODE
6004178
EDUCATION
DEPARTMENT OF INTERIOR DESIGN, COLLAGE OF DESIGN, RANGSIT UNIVERSITY
YEAR
2020
CONTACT
+66 92 587 0490 PREEYARAT.S60@RSU.AC.TH