Proposal
โครงการปรับปรุงตลาดนางเลิ้ง
Research Topic
โครงการปรับปรุงตลาดนางเลิ้ง
โดย น.ส.ปวีณา ณ พัทลุง 5401538
ภาพที่ 1 ตึกแถวหลังตลาดนางเลิ้ง
ภาพที่ 2 ตลาดสดเทเวศร์
ภาพที่ 4 ตลาดนางเลิ้ง
ภาพที่ 3 ตลาดสดเทเวศร์
ภาพที่ 5 ตลาดนางเลิ้ง
Project Background ประเทศไทยมีการค้าขายมาตั้งแต่อดีตไม่ว่าจะเป็นการค้าภายในประเทศ หรือต่างประเทศก็ล้วนแล้วแต่ต้องใช้พื้นที่ในการค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าโชว์ สินค้า พื้นที่ในการทำ�กิจกรรมนี้ถูกเรียกว่า“ตลาด”ซึ่งในปัจจุบันประเทศไทยได้ เกิดตลาดหลากหลายแห่ง หลากหลายประเภท ทั่วทั้งประเทศ เมื่อย้อนกลับไป ดูในประวัติศาสตร์จะพบว่า“ตลาดนางเลิ้ง” เป็นตลาดบนบกแห่งแรกที่ถูกสร้าง มาให้เป็นตลาดแบบกิจจะลักษณะ ซึ่งโดยก่อนหน้านั้นประเทศไทยมีการค้าขาย ในแถบแม่นำ�้ลำ�คลองซะมากกว่าและตลาดนางเลิ้งจึงถือเป็นต้นแบบในการสร้าง ตลาดทั่วประเทศไทย คือ มีคอร์ทเป็นพื้นที่ขายของตรงกลาง ล้อมรอบด้วย ตึกแถวทั้ง 4 ด้าน หรืออาจจะแค่ 3 ด้าน และมีทางเดินเข้าออกโดยรอบ
แต่เมื่อเวลาเปลี่ยนไป คนไทยในปัจจุบันเลือกที่จะเดินตลาดน้อยลง หันไปเดินในซุปเปอร์มาเก็ต มากขึ้น อาจเป็นเพราะภาพลักษณ์ของคำ�ว่า “ตลาด” ที่ทำ�ให้เราไม่อยากไปเดิน ทำ�ให้ผู้คนให้ความสนใจ มาเดินเลือกซื้อของในตลาดน้อยลง ทั้งที่ของบางอย่างมีคุณภาพของสินค้าแทบไม่ต่างกันเลย เมื่อคนมา เดินตลาดน้อยลงทำ�ให้ตลาดถูกละเลย ขาดการบำ�รุงดูแลรักษา แม่ค้าก็ขาดรายได้ทำ�ให้ไม่สามารถ ดูแล พื้นที่ขายของได้เท่าที่ควร และด้วยเวลาที่ผ่านไปทำ�ให้ตลาดโทรม สกปรก ขยะเน่าเสีย พื้นระบายนำ�้ไม่ ดี พื้นเปียกเฉอะแฉะ มีหนูและแมลงสาปอยู่เยอะ ตลาดจึงกลายเป็นสถานที่ไม่น่าเดิน เมื่อเป็นอย่างนี้ไป เรื่อยๆ ตลาดอาจจะเจ๊งและปิดตัวลงได้ และอาจจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจประเทศไทยให้เสียสมดุล ซึ่งสิ่งที่น่าเสียดายยิ่งกว่าด้านเศรษฐกิจถ้าตลาดส่วนใหญ่ในประเทศปิดตัวลง คือ การที่เราเสียพื้นที่ใน การหาของกินอร่อยๆ ขนมไทยโบราณ พืชผักและของกินพื้นบ้าน สิ่งเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นภูมิปัญญาที่ สืบตกทอดมา ความมีชีวิตชีวา ความทรงจำ� และความมีนำ�้ใจระหว่างแม่ค้าและลูกค้า เราไม่สามารถเห็น สิ่งเหล่านี้ได้ในห้างสรรพสินค้าเลย
Objective 1.เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในตลาด นางเลิ้ง ด้วยการออกแบบ เช่น ป้ายร้านค้า สัญลักษณ์ ความไม่เป็นระเบียบ ความสกปรก เป็นต้น 2.เพื่ อ พั ฒ นาตลาดนางเลิ้ ง ให้ เ ป็ น สถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าไปเที่ยว และช่วยเพิ่ม รายได้ให้กับชาวบ้านในชุมชน 3.เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ภู มิ ปั ญ ญาชาวบ้ า น วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมให้คงอยู่
Goals 1.สามารถแก้ปัญหาภายในตลาดด้วยการ ออกแบบได้และตลาดนางเลิ้งดูสะอาดสวยงาม เป็น ระเบียบเรียบร้อยมากขึ้น 2.ตลาดนางเลิ้งกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ที่น่าเที่ยว มีผู้คนอยากไปเที่ยว 3.ชาวบ้าน แม่ค้า มีรายได้เพิ่มมากขึ้น 4.ชาวบ้ า นในชุ ม ชนมี ค วามภาคภู มิ ใจใน ชุมชนของตัวเอง 5.ชาวบ้าน หน่วยงานรัฐบาลช่วยกันอนุรักษ์ ภูมิปัญญาชาวบ้าน วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรม ให้คงอยู่
2. ทำ�แบบประเมินสอบถาม สัมภาษณ์แม่ค้าและ ลูกค้า
1. หาข้อมูล • ประวัติศาสตร์ของตลาดนางเลิ้งและที่ เกี่ยวข้อง • สถาปัตยกรรม และรูปแบบของตึกแถว โดยรอบตลาดนางเลิ้ง • ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในตลาด เช่น ความ สกปรก
3. วิเคราะห์ข้อมูลและวิธีการแก้ปัญหา • สังเกตหรือสอบถามปัญหาที่เกิดขึ้น • สอบถามความต้องการเพื่อเป็นแนว ทางในการแก้ไข • วิเคราะห์ข้อมูล • ศึกษาจากตัวอย่างวิทยานิพนธ์
4. ออกแบบและนำ�การออกแบบเข้าไปช่วยในการแก้ปัญหา • คิด Concept ในการออกแบบ • ทำ� Sketch Design • ตัด Mass Model เพื่อศึกษาและทดลอง Space ที่เกิดขึ้น • นำ�งานออกแบบไปปรึกษา พูดคุยกับอาจารย์ที่ปรึกษาและ ชาวบ้าน • ปรับปรุง แก้ไขงานให้ดีขึ้น
1. ข้อมูล • ประวัติ ความเป็นมาของตลาดนางเลิ้ง • รูปแบบของสถาปัตยกรรมโดยรอบ • สถานที่ส�ำ คัญโดยรอบตลาดนางเลิ้ง • การเดินทาง • ปัญหาและวิธีการแก้ไข • วัสดุที่น�ำ มาใช้ • กฎหมาย ข้อห้าม ข้อบังคับเกี่ยวกับ สถานที่ • งานระบบสาธารณูปโภค
Area of Study
2. การออกแบบ • แผงร้านค้าภายในตลาดนางเลิ้ง • ทางเข้าตลาดบริเวณริมถนนนครสวรรค์ และ ถนนกรุงเกษม • ป้าย สัญลักษณ์ เครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้ใน ตลาด • งานระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบแสงสว่าง ระบบท่อดูดอากาศ ระบบระบายอากาศ
3
2
1
5
4
6
ภาพที่ 6 แผนที่บริเวณตลาดนางเลิ้ง
Location ตลาดนางเลิ้ง ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100
ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เปิด ขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2443 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเอง สันนิษฐานว่าแต่เดิมเรียก ว่า “อีเลิ้ง” ตามชื่อคือตุ่มชนิดหนึ่งของชาวมอญ จน มาเปลี่ยนชื่ออีกครั้งในยุคจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็น นายกรัฐมนตรีว่า “นางเลิ้ง”
ภาพที่ 7 แผนที่ภายในตลาดนางเลิ้ง
ภาพที่ 8 ตึกแถวริมถนนนครสวรรค์
ถนนนครสวรรค
ภาพที่ 9 ร้ายขายยาไชยเภสัช
บริเวณทิ้งขยะ
หองน้ำ
ของกิน
ของกิน
ของสด
แผงราง
ภาพที่ 10 ตึกแถวริมถนนนครสวรรค์
ภาพที่ 11 ทางเข้าตลาดนางเลิ้ง ริมถ.นครสวรรค์
ตึกแถว 2 ชั้น ริมถนนนครสวรรค์และถนนกรุงเกษม เป็นอาคารยุคแรกที่ สร้างมาพร้อมกับตลาด ก่อสร้างในช่วงปีพ.ศ.2443 - พ.ศ.2473 (โดยประมาณ) สร้างเป็นแถวยาวขนานกับถนน มีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลซึ่งได้รับ อิทธิพลมาจากทางตะวันตก ผสมกับการก่ออิฐฉาบปูนแบบจีน ซึ่งมีคนจีนอาศัย อยู่ในแถวนั้นมาก ส่วนใหญ่จะใช้ชั้น 1 เพื่อค้าขาย และพักอาศัยในชั้น 2 ปัจจุบัน มีห้องว่างที่ทรุดโทรมขาดการดูแลอยู่เยอะ เนื่องจากไม่มีผู้อยู่อาศัย
ภาพที่ 12 ตึกแถว 1ชั้นครึ่ง หลังตลาดนางเลิ้ง
ภาพที่ 13 ตึกแถว 1ชั้นครึ่ง รอบตลาดนางเลิ้ง
ตึกแถว 1 ชั้นครึ่ง รอบตลาด เป็นอาคารยุคแรกที่สร้างมาพร้อมกับตลาด ก่อสร้างในช่วงปีพ.ศ.2443 - พ.ศ.2473 (โดยประมาณ) สร้างล้อมรอบตลาดเพื่อ ทำ�การค้าขาย มีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากทาง ตะวันตก โดยในช่วงแรกใช้เป็นที่เก็บสินค้าเท่านั้น ภายหลังมีการต่อเติมเพื่อเป็น ที่อยู่อาศัยจึงกลายเป็นตึกแถว2ชั้น
ภาพที่ 14 ภาพภายในตลาด ถนนนครสวรรค
บริเวณทิ้งขยะ
หองน้ำ
ของกิน
ของกิน
ของสด
แผงราง
ภาพที่ 15 ภาพภายในตลาด
ภาพที่ 17 ภาพภายในตลาด ถนนนครสวรรค
บริเวณทิ้งขยะ
ภาพที่ 16 ภาพภายในตลาด
หองน้ำ
ของกิน
ของกิน
ของสด
แผงราง
ถนนนครสวรรค
บริเวณทิ้งขยะ
ภาพที่ 18 ภาพภายในตลาด
ของกิน
ของกิน
ของสด
แผงราง
หองน้ำ
ภาพที่ 19 ภาพภายในตลาด
User แม่ค้า 20% ของจำ�นวนผู้ใช้ทั้งหมด
พนักงานออฟฟิศและข้าราชการ 75%
นักท่องเที่ยว 5%
100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 5% 6.00 น.
7.00 น.
8.00 น.
9.00 น.
10.00 น.
11.00 น.
12.00 น.
13.00 น.
14.00 น.
15.00 น.
16.00 น.
ภาพที่ 20
ภาพที่ 21
ภาพที่ 22
ภาพที่ 23
จุดเด่นของตลาดนางเลิ้ง 1.ตัวอาคารของตลาดและบริเวณโดยรอบส่วนใหญ่เป็นตึกเก่า โดยยังคงรูป แบบสถาปัตยกรรมเดิมเอาไว้ 2.ของที่ขายส่วนใหญ่เป็นของกินสำ�เร็จรูป และมีขนมไทยโบราณขายเยอะ 3.คนขายมีความตั้งใจและปราณีตในการทำ�ทุกขั้นตอน 4.บรรยากาศภายในตลาดเหมือนกับตลาดโบราณ 5.คนขายมีความเป็นกันเองกับลูกค้า
จุดด้อยของตลาดนางเลิ้ง 1.หาที่จอดรถยาก 2.ตลาดมีความสกปรก 3.ทางเข้าตลาดสังเกตหายาก 4.ตลาดเริ่มเก่าและขาดการดูแลอย่างต่อเนื่อง 5.ตลาดเปิดแค่วันจันทร์-วันศุกร์ เฉพาะช่วงเวลา 10.00น. - 14.30น. โดยประมาณ 6.งานระบบต่างๆ ภายในตลาดไม่ได้ถูกออกแบบไว้เพื่อการใช้งานจริง และบางส่วนเป็นของเก่าที่ช�ำ รุดขาดการดูแล
ภาพที่ 24
ภาพที่ 25
ภาพที่ 26
ภาพที 27
เมษา ย มนี าคม
ศจ
าพ
ิก า ย
กุ ม ภ
นธ
2014
น
2015
ตลุ าคม ยน นั ยา
ภาคม สงิ หาคม พฤษ ก น
ั
ม พฤ กราคม ม ค ธั น ว า
Plan of Research ช่วงเตรียมความพร้อมในการทำ�โครงการ
ช่วงวิเคราะห์ข้อมูลในการทำ�โครงการ
• หาหัวข้อในการทำ�โครงการ • หาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ • หาและสำ�รวจที่ตั้งของโครงการ
• • • •
กระบวนการออกแบบ
การทำ� Final Presentation
• คิด Concept • ทำ� Sketch Design • นำ�งานออกแบบไปปรึกษา พูดคุยกับอาจารย์ที่ปรึกษา และชาวบ้าน • ปรับปรุง แก้ไขงานให้ดีขึ้น
ลงพื้นที่เพื่อศึกษาพื้นที่จริง สอบถามและสัมภาษณ์ชาวบ้านในพื้นที่ วิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไข ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลจากวิทยานิพนธ์ที่มีหัวข้อเดียวกัน หรือใกล้เคียง • สรุปข้อมูล • • • •
ตัดโมเดล Perspective Presentation ถ่ายรูปผลงาน
References 1. ศุภชัย เณรวาที, แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาสถาปัตยกรรม ชุมชนนางเลิ้ง. วิทยานิพนธ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง, 2547. 2. สมชาย เกตุรัตนมาลี, ศักยภาพในการพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้อยู่ อาศัยย่านเมืองเก่า กรณีศึกษาชุมชนนางเลิ้ง. วิทยานิพนธ์ (คพ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 3. จิราภรณ์ วิหวา. ร้านหวานหวานวันวาน. กรุงเทพฯ: ลายจุด, 2554. 4. ศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). ตลาดในชีวิต ชีวิตใน ตลาด. กรุงเทพฯ: ศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2549. 5. สุจิตต์ วงษ์เทศ และคนอื่นๆ. กรุงเทพฯ กรุงธนฯ มีภูมิสถาน ชื่อ บ้านนามเมือง. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์, 2556. 6. กิตติ วัฒนะมหาตม์. วังเจ้า วังเดิม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสาร, 2537.
7. สุดารา สุจฉายา และคนอื่นๆ. กินย่านเก่า. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2544. 8. กุศล เอี่ยมอรุณ. เดินถนนชมย่านเก่า. กรุงเทพฯ: สารคดี, 2546. 9. ปราณี กลำ�่ส้ม. ย่านเก่าในกรุงเทพฯ (เล่ม1). กรุงเทพฯ: เมือง โบราณ, 2549. 10. เอนก นาวิกมูล. ถนนสายอดีต เล่ม1. กรุงเทพฯ: สายธาร, 2547. 11. ตลาด. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/% E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94 (วันที่ค้น ข้อมูล: 1 กันยายน 2557). 12. ตลาดนางเลิ้ง. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/ wiki/%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94 (วันที่ค้นข้อมูล: 1 กันยายน 2557).