Thanwa Kavinun

Page 1

PUT YOUR ‘NERVE’ ON BOARD


ชื่ อโครงการ

โครงการออกแบบภายในศูนย์ส่งเสริม และพัฒนากีฬาสเก็ตบอร์ด

ประเภทของงานศิลปนิพนธ์

ประเภทงานออกแบบภายใน

ผู ้ดําเนินโครงงานศิลปนิพนธ์

นาย ธันวา กาวินันท์ รหัส 5905035 นักศึกษาชั�นปี ท่ี 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์

อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล



APPROVEAL SHEET กรรมการอนุมัติ

สาขา วิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติให้นับศิลปนิพนธ์แห่งนี�เป�นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน

.................................. คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (รศ.พิศประไพ สาระศาลิน)


สาขาวิชาการออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อณุมัติให้นับศิลปนิพนธ์แห่งนี�เป�นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัญฑิต

................................................................. คณบดีคณะวิทยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน)

................................................................. ประธานกรรมการ (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ อรรถกฤษณ์ อุ ทัยกาญจน์) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ ไพลิน โภคทวี) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ ถวัลย์ วงศ์สวรรค์) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ เรวัฒน์ ชํ านาญ) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ บัณฑิต เนียมทรัพย์) ................................................................. กรรมการ (อาจารย์ กาลัญ�ู สิปิยารักษ์)

อาจารย์ท่ีปรึกษาศิลปนิพนธ์

................................................................. (อาจารย์ วริศว์ สินสืบผล)



ABSTRACT

สเก็ตบอร์ด หลายคนอาจจะคิดว่ามันเป�นกีฬาเอ็กซ์ตรีมที่เล่นผาดโผน เพียงอย่างเดียวแต่ปัจจุ บันสเก็ตบอร์ดได้กลายมาเป�น วัฒนธรรม ซึ่ ง แสดงออกผ่านการแต่งกาย รสนิยมการฟั งเพลง และ กิจกรรมอื่นๆ อีกมากจนปั จจุ บันสเก็ตบอร์ดได้กลายมาเป�นหนึ่งในรู ปแบบวัฒนธรรม ที่เป�นกระแสหลัก ในประเทศไทย สเก็ตบอร์ด กลับมาเป�นที่นิยมแต่ด้วยภาพลักษณ์ท่ถี ูก มองว่าเป�นความคึกคะนองของวัยรุ ่นทําให้สเก็ตบอร์ดถูกมองว่าเป�นกี ฬาที่ไม่เหมาะสม และด้วยสถานที่เล่นที่ยังมีน้อยและไม่ได้รับการให้การ สนับสนุนอย่างเต็มที่ จึงทําให้เกิดการลักลอบใช�สถานที่และนํามาสู่การ ไม่ได้ถูกยอมรับจากสังคมในวงกว้าง โครงการนี�มีจุดประสง ค์เพื่อสนับสนุนผู ้ท่ชี อบในการเล่น สเก็ตบอร์ด ให้มีพื�นที่ทํากิจกรรมที่ได้มาตรฐาน และปลอดภัย อีกทัง� ยังเป�นแหล่ง รวมของผู ้ท่ีสนใจสเก็ตบอร์ดให้ได้มีท่พ ี ู ดคุยแลกเปลี่ยนความคิด และ ยังส่งเสริมให้นักกีฬามีอาชี พและไปแข่งขันสู่ระดับสากล



ACKNOWLEDGEMENTS

ขอขอบคุณอาจารย์ วริศว์ สินสืบผล หรืออาจารย์โป�ง อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ ที่คอยให้คําปรึก ษาคําแนะนําในการทําโครงการ รวมถึงให้กําลังใจทําให้ ข้าพเจ้ามีความเชื่ อมั่นในตัวเองที่จะดําเนินโครงการจน สําเร็จ ขอบคุณอาจารย์ท่ใี ห้ความคิดใหม่ๆไม่ใช่ แค่ใน การทําโครงการแต่เป�นถึงการใช�ชีวิตในอนาคตขอบพระ คุณอาจารย์เป�นอย่างสูง ขอขอบพระคุณคณะอาจารย์สาขาวิชาออกแบบภายใน ทุกท่านที่คอยให้คําปรึกษาแนะนํา และเชื่ อในตัวข้าพเจ้า ไม่เพียงแต่ความรู ้ในห้องเรียนแต่เป�นการใช�ชีวิตด้วยขอ ขอบพระคุณอาจารย์ทุกๆท่านอย่างสูง ขอบคุณเพื่อนๆ และน้องๆทุกคนที่คอยช่ วยเหลือให้คํา ปรึกษา ทํางานอดหลับอดนอนมาด้วยกันและให้กําลัง ใจมาทุกๆโปรเจค ขอบคุณที่อยู ่ด้วยกันมาจากใจจริง #TEAMWAVE ขอขอบคุณ พี่อิง ที่เป�นที่ปรึกษาเกี่ยวกับความรู ้ด้าน สเก็ตบอร์ดที่คอยช่ วยเหลือให้ความรู ้ในเรื่องที่ไม่เคยรู ้ ขอบพระคุณเป�นอย่างสูง



15

CONTENTS

APPROVAL SHEET

A

ABSTRACT

B

ACKNOWLEDGEMENTS

C

TABLE OF CONTENTS

D

CHAPTER 1 CHAPTER 2

CHAPTER 3

CHAPTER 4

CHAPTER 5


1


CHAPTER 1

2


3


PROJECT BACKGROUND

สเก็ตบอร์ด หลายคนอาจจะคิดว่ามันเป�นกีฬาเอ็กซ์ตรีมที่เล่นผาดโผน เพียงอย่างเดียวแต่ปัจจุ บันสเก็ตบอร์ดได้กลายมาเป�น วัฒนธรรม ซึ่ ง แสดงออกผ่านการแต่งกาย รสนิยมการฟั งเพลง และ กิจกรรมอื่นๆ อีกมากจนปั จจุ บันสเก็ตบอร์ดได้กลายมาเป�นหนึ่งในรู ปแบบวัฒนธรรม ที่เป�นกระแสหลัก ในประเทศไทย สเก็ตบอร์ด กลับมาเป�นที่นิยมแต่ด้วยภาพลักษณ์ท่ถี ูก มองว่าเป�นความคึกคะนองของวัยรุ ่นทําให้สเก็ตบอร์ดถูกมองว่าเป�นกี ฬาที่ไม่เหมาะสม และด้วยสถานที่เล่นที่ยังมีน้อยและไม่ได้รับการให้การ สนับสนุนอย่างเต็มที่ จึงทําให้เกิดการลักลอบใช�สถานที่และนํามาสู่การ ไม่ได้ถูกยอมรับจากสังคมในวงกว้าง โครงการนี�มีจุดประสง ค์เพื่อสนับสนุนผู ้ท่ชี อบในการเล่น สเก็ตบอร์ด ให้มีพื�นที่ทํากิจกรรมที่ได้มาตรฐาน และปลอดภัย อีกทัง� ยังเป�นแหล่ง รวมของผู ้ท่ีสนใจสเก็ตบอร์ดให้ได้มีท่พ ี ู ดคุยแลกเปลี่ยนความคิด และ ยังส่งเสริมให้นักกีฬามีอาชี พและไปแข่งขันสู่ระดับสากล

4


5


OBJECTIVE - เพื่อเป�นแหล่งรวมตัวของคนชอบกีฬาสเก็ตบอร์ดให้ ได้มีท่พ ี ู ดคุยและแลกเปลี่ยนความคิด - เพื่อส่งเสริมและผลักดันกีฬาสเก็ตบอร์ดให้เป�นที่ยอม รับในวงกว้างและมีภาพลักษณ์ท่ดี ีขึ�น - เพื่อส่งเสริมให้นักกีฬามีอาชี พและหารายได้จากสิ่งที่ รักและชื่ นชอบ

EXPECTATION - เพื่อที่จะให้กีฬาสเก็ตบอร์ดเป�นที่รู้จักในภาพลักษณ์ ที่ดีขึ�นจากทางสังคม - เพื่อให้เกิดแหล่งที่เป�นศูนย์รวมของคนที่ชอบเล่นกีฬา สเก็ตบอร์ด - เพื่อให้มีการเกิดอาชี พจากกีฬาสเก็ตบอร์ด

AREA OF STUDY - เพื่อศึกษาประวัติความเป�นมาและการแข่งขันประเภท ต่างๆของสเก็ตบอร์ด - เพื่อศึกษาขนาดของสนามที่ได้มาตราฐานและทําให้ เกิดการพัฒนาของผู ้เล่น - เพื่อศึกษาโปรแกรมต่างๆที่มีผลต่อการพัฒนากีฬา สเก็ตบอร์ด

6


7


CHAPTER 2 RESEARCH METHODOLOGY

8


SKATE CULTURE หากพู ดถึงวัฒนธรรมอันยิ่งใหญ่ในโลกปั จจุ บันอย่าง “ SKATE CULTURE ” ไม่น่าเชื่ อว่าจะเกิดขึ�นจากกีฬาเอ็กซ์ตรีม ธรรมดาเพราะแต่เดิมมันเป�นเพยงการเล่นผาดโผนแม้แต่ผู้ปกครองเองยังไม่ค่อยที่จะอณุญาตก่อนที่จะค่อยๆ ขยายตัว ฝั งลึกเข้าไปถึงแก่นสารของวัฒนธรรมซึ่ งแสดงออกผ่านทางการ แต่งกาย รสนิยมการฟั งเพลง และ รวมไปถึงสถานที่ เที่ยว กิจกรรมอื่นๆอีกมากยิ่งในตอนนี�มันได้หลอมรวมกลายเป�น วัฒนธรรมหลัก ชนิดที่เราเองยังแทบไม่รู้ตัว 9


1950’s

1976

Surfers in Califonia get the bright idea to surf concreteand invent skateboard.

Starting in Florida the first skate parks are built.

1960’s Surfers first start skating empty pools.

1978 Olie is created by Alan Gelfand

1980’s 1965 Skateboard die. Attributed to being to dangerous.

1972 Urethane invented by Frank Nasworthy made it possible for skateboarding to make it’s come back

Bones brigade shoots there recordings on VHS. Tape spread like wild fire increasing the popularity of skateboard by the masses

1990’s

::::;

Skateboard starts to rise again as it finds some common ground with the emerging punk music.

1995 1975 In Del Mar California, New wheels are used by Zephyr team. Giving skating the boost to the top!

1st ever X-Games. Sparks the interest of the up incoming youth.

2000 Rep changes for skaters. Now seen as acceptable in society.

10


at

b

rd oa

type sk

type

ard

SK

bo

AT

RD TYPE s ka

te

E

A BO

eb

oa

rd type

sk a

te

SKATEBOARD

สเก็ตบอร์ด เป�นต้นกําเนิดของกีฬาสเก็ตบอร์ด ที่นํามา เล่นแทนเซิ ร์ฟ แผ่นบอร์ดส่วนใหญ์จะทํามาจากไม้เมเปิ� ล เพราะทนทานและยืดหยุ ่นมาก มีขนาดความกว้างตัง� แต่ 7.5 - 8.5 นิ�วส่วนความยาวจะอยู ่ท่ปี ระมาณ 32 นิ�ว

LONGBOARD

ลองบอร์ด เป�นกีฬาสเก็ตบอร์ดที่มีความผาดโผนมากกว่า ขนาดความกว้างจะอยู ่ท่ี 8″ – 8.5″ และมีความยาวตัง� แต่ 34″ – 40″ การเคลื่อนไหวยากขึ�นกว่า สเก็ตบอร์ดส่วนตัว ล้อก็จะยื่นออกมานอกแผ่นบอร์ดอย่างชั ดเจนต่างจากสเก็ต บอร์ดธรรมดา

11


PENNYBOARD

เพนนีบอร์ด เป�นการผสมระหว่าง สเก็ตบอร์ด และ ลองบอร์ด แต่มีขนาดทีเล็กกว่า มีสองขนาดคือความยาว 22 และ 27 ถือกําเนิดขึ�นจากออสเตรเลีย วัสดุทํามาจากพลาสติก บวกกับ ล้อยางขนาดใหญ่ ทําให้มีขนาดเบากว่าสเก็ตบอร์ดทั่วไปที่ทําจากไม้

SURF SKATE

เซิ ร์ฟสเก็ต เป�นกีฬาบนแผ่นกระดานชนิดหนึ่งที่เกิดจากการผสม ผสานกันระหว่างสเก็ตบอร์ดกับกีฬาเซิ ร์ฟ โดยการออกแบบแผ่น Surf Skate นัน� ก็เพื่อให้เราสามารถเล่นเซิ ร์ฟบนบก ขนาดความ ยาวมีตงั� แต่ 26 จนถึง 40 นิ�วโดยแผ่น Surf Skate ไม่แข็งเท่ากับ Skate Board และล้อหน้าของ Surf Skate สามารถหมุ นซ�าย-ขวา หรือ 360 องศา

12


PARK

ตรงข้ามกับแบบถนนที่เน้นความเร็ว การแข่งในประเภทพาร์คนัน� จะเน้นไปที่การแสดง ทักษะขัน� สูงเพื่อโชว์ลีลาการเล่นสเก็ตบอร์ดบนสนามทรงโดมควํ่า ที่จะมีทงั� ความชั น ความลาดเอียง และสิ่งกีดขวางต่างๆ ที่เป�นทัง� อุ ปสรรค และจุ ดสําหรับโชว์ทักษะการ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า ซึ่ งการให้คะแนนนัน� จะอยู ่ท่กี ารโชว์ลีลากลางอากาศ และการ เล่นกับอุ ปสรรคต่างๆ ในสนาม ซึ่ งแม้จะเป�นสิ่งที่นักสเก็ตบอร์ดอาชี พต่างฝึ กฝนมา เป�นอย่างดี แต่เมื่อเป�นสิ่งที่ทุกคนต่างทําได้ งานนี�จึงขึ�นอยู ่กับความคิดสร้างสรรค์ ของผู ้เล่นแต่ละคน

STREET

เป�นประเภทการแข่งขันที่เน้นความเร็ว ความคิดริเริ่ม และทักษะในการควบคุมสเก็ตบอร์ด ให้เคลื่อนไปตามเส้นทางต่างๆ ที่กําหนดขึ�น โดยจะตัดสินให้คะแนนจากการทําเวลา การ โชว์ลีลาต่างๆ เพื่อผ่านอุ ปสรรคในเส้นทาง และด้วยความที่สภาพถนนของแต่ละประเทศ มีความแตกต่างกันไป รวมทัง� ยังมีอุปสรรคเป�นสภาพภูมิประเทศรอบตัวที่อาจไม่เหมือน กับที่นักกีฬาแต่ละคนเคยประสบมาก่อน จึงทําให้การแข่งในประเภทนี� ต้องอาศัยทัง� ความ ชํ านาญและประสบการณ์ในการเล่นอย่างมาก

13


14


01

พื�นที่เล่นไม่เพียงพอ

02

CAUSE

ไม่มีท่ีเก็บสัมภาระ

03

04

ขาดคนดูแล

มีความสว่า

- ใต้สะพานพระราม 8 เนื่องจากมีคน เดินสวนไปมาอยู ่ตลอดทําให้การเล่น ติดขัดไม่ต่อเนื่อง

KOOK CITY PHRA NAKHON

- ใต้บีทีเอสวงเวียนใหญ่ เนื่องจากระ หว่าง สะพานมีรูทางแยกของตัวสะ พานทําให้เกิดการชํ ารุ ดของอุ ปกรณ์ จากฝนตก


05

างไม่เพียงพอ

ไม่มีท่จี อดรถ

06

ไม่มีการปรับปรุ งซ่ อมแซม

HUAMARK EXTREME PARK BANGKAPI

RAMA 8 BRIDGE BANGPHLAT

RK 69 DIY SUANLUANG

PINK PARK WATTANA

QUEEN PARK KHLONG TOEI

BTS WONGWIAN YAI KHLONG SAN


SKATEBOARD : FASHION

17


16

18


19


CASE STUDIES

20


01 SCOB WEAVES THREE SKATE PARKS INTO BARCELONA’S URBAN FABRIC

weaving public skateparks into the urban fabric: SCOB arquitectura i paisaje has designed three, each located in a different district in barcelona: poble nou, les corts and nou barris. what differentiates this scheme is their location, predominantly, skate parks have been isolated on the outskirts of the city. however, ‘landskate parks’ combines the activity of skating into a new and alternative public space.

the strategy is to blend the sport, a park, a square into one. creating new meeting points, uniting people of different backgrounds, encouraging social interaction and expose children to develop an interest in skating. the concrete bowls, dips and ramps seamlessly interact with the park landscape, allowing the two public, recreational spaces to evolve together.

21


22


02 HOUSE OF VANS SKATEPARK OPEN BENEATH LONDON’S WATERLOO STATION

spread across five tunnels winding their way beneath the city’s waterloo station, ‘house of vans london‘ has opened with a celebration of art, music and skateboarding. the free creative space offers visitors a chance to experience the british capital’s only indoor skatepark, comprised of a pool-style concrete bowl, street section and mini-ramp. helping integrate the project within the community, the initiative is affiliated with three local charities. .

following in the footsteps of house of vans brooklyn, the 3,000 square meter complex also serves as a 850-person capacity music venue and public gallery, containing artist labs, a café, a cinema and a selection of bars. nurturing and promoting a variety of creative talent, four arts studios are available free of charge, with artists given the opportunity to exhibit within the space at the end of their tenancy.

23


A

B

EL

SCA

24


03 BIG COMPLETES THE DANISH NATIONAL MARITIME MUSEUM

BIG in collaboration with kossmann dejong, rambøll, freddy madsen and KiBiSi have completed the danish national maritime museum in helsingør. combining the existing historic elements with an innovative concept of galleries and way-finding, the scheme reflects denmark’s historical and contemporary role as one of the world’s leading maritime nations. located just 50 km north of copenhagen the 6,000 m² (65,000 ft²) museum is situated next to one of denmark’s most important buildings, kronborg castle, a UNESCO world heritage site – known from shakespeare’s hamlet. .

25


26


27


TARGET GROUP

MALE 50 %

FEMALE 50 % 100 %

100 %

SKATEBOARDER 45 %

PARENT 25 %

ETC. 10 %

100 %

3 - 15 35 %

16 - 24 35 %

24 UP 30 %

28


29


LOCATIONS SITE ANALYSIS

30


31


BANGKOKDOCK

32


RAMA 8 BRIDGE BANGPHLAT

KOOK CITY PHRA NAKHON

QU

KHLO

BTS WON

KHLONG SAN

33


HUAMARK EXTREME PARK BANGKAPI

RK 69 DIY SUANLUANG

PINK PARK WATTANA

UEEN PARK

ONG TOEI

NGWIAN YAI

N

SATHON - ย่านสาทรเป�นสถานที่ท่ใี กล้กับสเก็ตพาร์ค ที่นิยมจึงง่ายต่อการเข้าถึง

34


SAPHAN TAKSIN

35

15, 17, 17 (AC


C), 547 (AC), 75

SAPHAN TAKSIN

36


37


38


PLAN AND SECTION

A

B

C

D

1

39

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14


15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

PLAN SCALE

1:250

40


PLAN AND SECTION

A

C

B

D

SECTION B

SCALE

A

ELEVATION B SCALE

41

2

3

4

5

6

1:200

C

B

1

D

1:200

A

C

B

1

2

SECTION B

SCALE

3

4

5

6

1


7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

SECTION A SCALE

1:250

D

1:200

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

ELEVATION A SCALE

27

28

1:250

42


43


CHAPTER 3 THEORY AND DESIGN CONCEPT

44


KEYWORD

PAST

45

+

PRESENT

+

COLOURFUL


46


47


CONCEPT

COLOURFUL

48


01

DESIGN GUIDELINE

HIGH LOOP

เปลี่ยนสะพานเดิม ๆ ให้กลายเป�นสถานที่สําคัญของเมืองที่สะดุดตาที่สุด บริษัทสถาปนิก 100 ได้เปิ ดตัว "High Loop" เป�นการปรับปรุ งสะพานคนเดินถนนผู ่จี�ในเซี่ ยงไฮ้ สะพานแห่งนี�ทอด ยาวกว่า 1 กิโลเมตร ผู ้ออกแบบมีจุดมุ ่งหมายที่จะเปลี่ยนสะพานนี�ให้เป�นสวนสาธารณะที่ยกระดับข้ามเมือง ทําให้ผู้ สัญจรไปมาได้สัมผัสประสบการณ์การเดินทางที่ไม่เหมือนใคร จากการเพิ่ม space ให้ยืนออกมาจากตัวสะพานเป�น การเพิ่มพื�นที่น่งั และเพิ่มระยะให้ว่งิ ได้ยาวขึ�น

49


50


51


CHAPTER 4 PROJECT DESIGN

52


53


PROGRAMMING

54


CAMP

SKATEPARK ( VERT AND INDOOR )

HOSTEL

CAFE

FITNESS

SKATEBOARD SHOP

FAC

CANTEEN SERVICE LOCKER ROOM

W.C.

55


SKATEPARK

SKATEPARK ( VERT AND OUTDOOR )

ACADEMY

CANTEEN AND RESTAURANT

CILITY

CAFE

HANG OUT ARE

WORKSHOP INFORMATION FIRST AID ROOM

CARPARK

EVENT

FILM SCREENING

MARKET

56


PLAN . . . . . . . . . SKATEBOARD ZONE

57


58


PLAN . . . . . . . . . 1FL

59


60


PLAN . . . . . . . . . 2ND

61


62


PLAN . . . . . . . . . 3RD

63


64


65


PERSPECTIVES

66


67


SKATEBOARD ZONE

68


69


SKATEBOARD ZONE

70


71


SKATEBOARD ZONE

72


73


CAFE

74


75


HOSTEL

76


77


HOSTEL

78


79


BRANDING

80


LOGO

81


82


83


84


85


CHAPTER 5 SUMMARY

86


PROJECT SUMMARY

โครงการศึกษาเกี่ยวกับกีฬาสเก็ตบอร์ดเพื่อการออกแบบถูกค้นคว้าข้อมู ลตามความเห็นของคณะกรรมการ และอา จารย์ท่ปี รึกษา ผลตอบรับกลับมาในทางที่ดี แต่ในบางส่วนของโครงการยังมีข้อผิดพลาดอยู ่มาก เช่ น วัสดุบางส่วน ยังไม่เหมาะสักเท่าไหร่ และการใช�สีท่ยี ังไปได้อีก

87


ข้อเสนอแนะ

88


RESEARCH REFERENCE

https://www.designboom.com/ https://www.dezeen.com/ https://streetleague.com/ https://theberrics.com/

89



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.