Pusita Ponphuch

Page 1

DUA NG S UDA KR A Y A S A R T P R OJ E C TOFT HE S I S

P US I T AP ONP HUC H 5 9 0 2 2 3 1


THESIS


THESIS


KRAYASART DUANGSUDA

โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบ ภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ โครงการออกแบบปรับปรุงสถานประกอบการณ์กระยาสารทดวงสุดา ประเภทของงานศิลปะนิพนธ์ ประเภทงานออกแบบภายใน ผู้ดาเนินโครงการศิลปะนิพนธ์ นางสาว ภูษิตา ผลพืชน์ รหัส 5902231 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขา ออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์ กาลัญญู สิปิยารักษ์ ปีการศึกษา 2563

00


00 สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติ ให้นักศึกษานิพนธ์ฉบับนนี้ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบภายใน .............................................................คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน) คณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ..........................................................................ประธานกรรมการ (อาจารย์วริศว์ สินสืบผล) .....................................................................................กรรมการ (อาจารย์ถวัลย์ วงษ์สวรรค์) .....................................................................................กรรมการ (อาจารย์อรรถกฤษณ์ อุทัยกาญจน์) .....................................................................................กรรมการ (อาจารย์บัณฑิต เนียมทรัพย์) .....................................................................................กรรมการ (อาจารย์เรวัฒน์ ชานาญ) .....................................................................................กรรมการ (อาจารย์ณัฐพงศ์ ศรีปุงวิวัฒน์)

.....................................................................................กรรมการ (อาจารย์ไพลิน โภคทวี) อาจารย์ทีปรึกษาศิลปะนิพนธ์ .......................................................... (.........................................................)

KRAYASART DUANGSUDA

.....................................................................................กรรมการ (กาลัญญู สิปิยารักษ์)


KRAYASART DUANGSUDA

หัวข้อศิลปะนิพนธ์ ชื่อนักศึกษา สาขาวิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ปีการศึกษา

โครงการออกแบบปรับปรุงสถานประกอบการณ์กระยาสารทดวงสุดา นางสาว ภูษิตา ผลพืชน์ ออกแบบภายใน อาจารย์ กาลัญญู สิปิยารักษ์ 2563 บทคัดย่อ

สาหรับคนไทยและชาวอุษาคเนย์ที่ดารงชีวิตด้วยการกสิกรรม ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะมี พิธีกรรมที่แสดงความขอบคุณต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นตัวแทนของดินฟ้าอากาศ ซึ่งเชื่อว่าได้ ช่วยอานวยความอุดมสมบูรณ์และคุ้มครองให้พืชที่เพาะปลูกได้เจริญเติบโตจนสามารถเก็บ เกี่ยวเป็นอาหารเลี้ยงชีพได้ โดยจะนาพืชพันธ์ธัญญาหารที่เป็นผลผลิตแรกเก็บเกี่ยวไปแปร รูปเป็นอาหารเฉพาะเทศกาล แล้วนาอาหารนั้นไปบวงสรวงเซ่นไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ และกระยาสารทก็เป็นหนนึ่งในขนมที่ใช้ในเทศการสารทไทย ที่เป็นขนมที่จากภูมิปัญญา ที่ถูกสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน ที่กลุ่มคนรุ่นใหม่ไม่รู้จักนัก แนวทางในการขยายกลุ่มเป้าหมายให้ขนมไทยโบราณชนิดนี้ให้เป็นที่รจู้ ักในกลุ่มคนรุ่น ใหม่ จึงเป็นแนวทางที่ช่วยให้ขนมโบราณนี้ยังเป็นที่รู้จักและไม่ถูกลืมตามกาลเวลา แนวคิดที่ใช้ในการออกแบบสถานประกอบการณ์และตัวผลิตภัณฑ์ให้ดึงดูด กลุ่มเป้าหมายใหม่แต่ยังให้ความเป็นพื้นถิ่นของขนมไทยพื้นบ้านจาฏ CONCEPT LIFE OF LIFE ชีวิตเพื่อชีวิตสู่วิถีชีวิต การออกแบบร้านกระยาสารทดวงสุดาต้องศึกษาในหลายๆด้าน ในการปรับปรุงแบรนด์ ดิ่ง การจัดวางสินค้า และการสร้างบรรยากาศโดยรอบในร้านให้กระตุ้นความต้องการซื้อ สินค้าที่จะเกิดขึ้นสาหรับผู้ที่จะเข้ามาใช้บริการ สิ่งที่คาดหวังในการออกแบบร้านค้าคือการสร้างตัวตนให้กับแบรนด์สินค้า สถานประกอบการ และสร้างความทรงจาให้แก่ลูกค้าที่มาใช้บริการว่าเลยมา ณ ที่แห่งนี้ แทนการแค่มาซื้อสินค้าแล้วกลับไป

00


00

กิตติกรรมมประกาศ ศิลปนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีด้วยความช่วยเหลือและชี้แนะอย่างดียิงจาก อาจารย์ กาลัญญู สิปิยารักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาศิลปนิพนธ์ที่คอยแนะนาให้คาปรึกษาใน ทุกส่วนในของในการ ทาโครงการนี้และคอยให้กาลังใจ รวมถึงคณะกรรมการศิลปนิพนธ์ ทุกท่านที่ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นต่างๆในการทาศิลปนิพนธ์ จึงขอขอบพระคุณอาจารย์ ทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ ขอขอบคุณ ร้านและโรงงานกระยาสารทดวงสุดา ที่อานวยความสะดวกในการวัดพื้นที่ และการถ่ายภาพสถานประกอบการณ์เพื่อนามาใช้ในการทาศิลปนิพนธ์ครั้งนี้ สุดท้ายนี้ขอขอบคุณ ครอบครัว ที่ให้การสนับสนุนในทุกด้าน คาแนะนา ข้อมูลต่างๆ ที่นามาประกอบในการทาศิลปะนิพนธ์ รวมทั้งเพือ่ นของข้าพเจ้าทั้งหลาย ที่ช่วยพยายาม ให้คาแนะนา กระตุ้นการทางานจนสามารถเสร็จลุล่วงได้ด้วยดี ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาศนี้ ภูษิตา ผลพืชน์

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

CONTENTS CONTENTS CONTENTS 00


00

01. 02. 03.

01 03 05

RICE OF LIFE SART THAI BRANDING DESIGN SHELF CASE STUDY DUANGSUDA KRAYASANT SITE ANALYSIS

07 09 11 15 17 19 23

CONCEPT WICKER AND BARN TROPICAL MODERN THAI KITCHEN ECONOMIC STOVE ORIGINAL USABLE AREA ADDITIONAL BUILDING NEW PROGRAMMING DIAGRAM

43 51 53 55 56 57 67 70 71

KRAYASART DUANGSUDA

PROJECT BACKGROUND RESEARCH METHODOLOGY RESEARCH SCHEDULE


KRAYASART DUANGSUDA

CONTENTS CONTENTS CONTENTS 00


00

04.

81 82 83 85 93 105 107

PROJECT SUMMARY บรรณานุกรม

121 123

109 110 111 113

KRAYASART DUANGSUDA

05.

73 75 77 79

ZONING MASTER PLAN NEW ZONING ORIGINAL BUILDING DEVELOPMENT FURNITURE LAN-OUT PLAN ORIGINAL BUILDING ISOMETRIC ORIGINAL BUILDING MOOD MATERIAL AND TONE FACADE SHOP DESIGN SHOP AND FACTORY PRODUCTS NEW ZONING ORIGINAL BUILDING DEVELOPMENT FURNITURE LAN-OUT PLAN ORIGINAL BUILDING ISOMETRIC ADDITIONAL BUILDING MOOD MATERIAL AND TONE FACADE RESTAURANT DESIGN RESTAURANT


KRAYASART DUANGSUDA 01

PROJECT BACKGROUND


02

01.

KRAYASART DUANGSUDA

สาหรับคนไทยและชาวอุษาคเนย์ที่ดารงชีวิต ด้วยการกสิกรรม ในฤดูกาลเก็บเกี่ยวจะมี พิธีกรรมที่แสดงความขอบคุณต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ เป็นตัวแทนของดินฟ้าอากาศ ซึ่งเชื่อว่าได้ ช่วย อานวยความอุดสมบูรณ์และคุ้มครอง ให้พืชที่ เพาะปลูกได้เจริญเติบโตจน สามารถเก็บเกี่ยว เป็นอาหารเลี้ยงชีพได้ โดยจะนาพืชพันธ์ ธัญญาหารที่เป็นผลผลิต แรกเก็บเกี่ยวไปแปรรูป เป็นอาหารเฉพาะ เทศกาล แล้วนาอาหารนั้นไป บวงสรวงเซ่น ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ในพิธีสารทจึงมีการนา อาหารเทศกาล สารทไปถวายเป็นภัตตาหาร แด่พระสงฆ์เพื่อ เป็นการทาบุญอุทิศส่วน กุศลแก่บรรพบุรุษและ ผู้ล่วงลับของ ครอบครัว ต่อมาภายหลังจึงได้ กลายเป็น เทศกาลทาบุญที่ปฏิบัติกันทั่วทุก ภูมิภาคใน สังคมไทย เช่น ประเพณีชิงเปรตใน ภาคใต้ การทาบุญข้าวสารทในภาคอีสาน


RESEARCH METHODOLOGY

KRAYASART DUANGSUDA 1.

2.

3.

03

การค้นคว้าข้อมูลศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมความต้องการของคนที่มาใช้ บริการ สารวจจาก แหล่งที่เชื่อถือได้ รวมถึงค้นคว้าความเหมาะสมในการจัดการ พื้นที่ การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการจัดวางสินค้า กลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาพื้นที่โดยรอบเพื่อตอบโจทย์ กับการบ่งบอกอัต ลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ผ่านการดีไซน วิธีการรวบรวมข้อมูลการลงพื้นที่จริงเพื่อทาการรวบรวมข้อมูล เริ่มจากใช้การสังเกตจากบุคคล วัตถุ บรรยายกาศ สภาพแวดล้อม กิจกรรม วิถีชีวิตของบริเวณใกล้เคียง ทั้งนี้ เพื่อข้อมูลที่ครอบคลุม จึงลงพื้นที่ทั้งวัน จันทร์-ศุกร์ และใน วัน เสาร์-อาทิตย์และลงพื้นที่ในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อรวบรวม ข้อมูล การเข้าใช้พื้นที่ กิจกรรมที่เกิดขึ้น บรรยากาศที่เกิดขึ้น ภายในพื้นที่


04

OBJECTIVES - เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์กระยาสารทให้ทันสมัย - เพื่อให้เกิดการนาเอกลักษณ์ของกระยาสารทมาทาให้การออกแบบ - เพื่อออกแบบร้านให้เข้ากับกลุ่มลูกค้าเข้าถึงวัยรุ่นปัจจุบันและ นักท่องเที่ยวมากขึ้นผ่านกระบวนการ

EXPECTATIONS - เพื่อสร้างเอกลักษณ์และเป็นที่รู้จักมากขึ้น - เพื่อให้กระยาสารทเป็นขนมที่เข้าถึงได้ง่าย - เพื่อให้เกิดประสบการณ์สร้างความทรงจาให้กับลูกค้าที่เข้ามาใช้ บริการ

AREAS OF STUDIES - ศึกษาความสาคัญของข้าว และกระยาสารทเพื่อนามาใช้ในการ ออกแบบ - ศึกษาพฤติกรรมการซื้อของฝากของคนไทยและการจัดวางให้เกิด การดึงดูด เกิดความอยากในการซื้อสินค้า - ศึกษาพฤติกรรม วิถีชีวิตคนในชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการใช้ งานพื้นที่ 4.

5.

KRAYASART DUANGSUDA

การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิเคราะห์ข้อมูลจะดาเนินไปพร้อมๆกับการรวบรวมข้อมูล ส่วนการตรวจ สอบข้อมูลจะนามากจากข้อมูลที่ได้มาจากการลงพื้นที่มาวิเคราะห์ อีกครั้ง เพื่อพิจารณาข้อมูลที่ได้ ที่ ต่างวันและเวลาว่ามีผลเป็นอย่างไร มีอะไรที่ แตกต่างกัน เพื่อนาไปสูก่ ระบวนการออกแบบต่อไป การศึกษาเพิ่มเติมเป็นการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เช่น กรณีศึกษาของกิจกรรม กรณีศึกษาของโครง การอื่นๆรวมถึงแนวคิดและทฤษฎีที่สนใจหรือที่จะนามาใช้ใน การออกแบบ


KRAYASART DUANGSUDA

RESEARCH SCHEDULE AUGUST -

ส่งหัวข้อศิลปะนิพนธ์และรายชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา

SEPTEMBER -

นาเสนอหัวข้อศิลปะนิพนธ์และเสนอร่าง Proposal ครั้งที่1 ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครั้งที่ 1 เสนอหัวข้อโครงการ ที่มา วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ที่ตั้ง โครงการและวิเคราะห์ที่ตั้ง เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คา แนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา

OCTOBER -

นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ ครั้งที่ 2

NOVEMBER -

นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea

DECEMBER -

05

นาเสนอความคืบหน้าของ Proposal / Research Process Programming Development และ Conceptual Idea ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ ครั้งที่ 3


06

JANUARY -

นาเสนอความคืบหน้าของ Programming Planning Design Development และ Conceptual Idea เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คา แนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา

FEBRUARY -

นาเสนอความคืบหน้าของ Programming Planning Design Development และ Conceptual Idea เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คา แนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา

MARCH -

นาเสนอความคืบหน้าของ Programming Planning Design Development และ Conceptual Idea เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คา แนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ ครั้งที่ 1

APRIL -

MAY -

จัดนิทัศการแสดงงานศิลปะนิพนธ์ ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ครั้งสุดท้าย Art Thesis

KRAYASART DUANGSUDA

-

นาเสนอความคืบหน้าของ Programming Planning Design Development และ Conceptual Idea เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาและค้นคว้า / วิเคราะห์ข้อมูลภายใต้คา แนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา ตรวจเตรียมศิลปะนิพนธ์ ครั้งที่ 2


07

https://thaienews.blogspot.com/2019/10/blog-post_24.html

KRAYASART DUANGSUDA

RICE OF LIFE

02.


08

วิถีชีวิตคนไทยและเอเชีย แต่อดีตจะปลูกข้าวเพื่อบริโภคเป็น หลักประเพณีต่างๆจึง อยู่ในวงจรของการทานา โดยเฉพาะใน ช่วงหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต เมื่อชาวนาได้ผล ผลิตจากการลงแรงแล้ว ไม่ลืมถึงบุญคุณของสิ่งต่างๆ - “บรรพชน” ที่ส่งทอดผืนดินอันเป็นมรดกตกทอด นั่นหมาย รวมถึงการระลึกถึง วิญญาณของผู้ที่ล่วงลับและทาบุญเพื่อให้รับ สิ่งที่เป็นดอกผลจากการทางานของผู้ เป็นลูกหลาน - “แม่โพสพ” คนไทยเชื่อว่าข้าวเป็นสิ่งมีบุญคุณ" มีจิตวิณญาณ แม่โพสพ จึงต้องจัด ให้มีพิธีกรรมเพื่อคารวะแม่โพสพ ตั้งแต่ก่อน เริ่มเพาะปลูกข้าวไปจนกระทั่งเก็บ เกี่ยวขึ้นยุ้งฉางทุกขั้นตอน ของการทานาจะต้องมีการบอกกล่าวแม่โพสพ เป็น วัฒนธรรม ไทยที่สืบต่อมาแต่โบราณความ เชื่อที่ว่าข้าวมีแม่โพสพ ดินมี แม่ธรณี น้ามีแม่คงคายังทาให้คนไทยเกิดความอ่อนน้อมถ่อม ตนต่อธรรมชาติที่เกื้อหนุนให้ เกิดความอุดมสมบูรณ์ พิธีกรรมในสังคมการเกษตรเหล่านี้ยังเชื่อมโยงกับพุทธศาสนา ดังจะปรากฏให้เห็น ถึงพระภิกษุที่เป็นส่วนหนึง่ ของการประกอบ พิธีอยู่เนื่อง ๆ ดั้งเดิมแล้วพิธีกรรมที่เกี่ยว กับข้าวอยู่ในเกือบทุก ขั้นตอนของการทานา ตั้งแต่ก่อนการเพาะปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว แต่ปัจจุบันพิธีกรรมหลายอย่างลดความสาคัญลง หรือ เปลี่ยนแปลงรูปแบบการปฏิบัติ เช่นการลดความซับซ้อนใน การเตรียมเครื่องประกอบพิธี ความเป็นทางการของการ ประกอบ พิธีด้วยต้องอาศัยงบประมาณจากองค์กรปกครองในพื้นที่ ไปจนถึงการพัฒนาให้ พิธีกรรมเป็นกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว ที่ดึงดูดคนจากภายนอกชุมชน

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA https://goodlifeupdate.com/healthy-food/164352.html/2

09


10

SART THAI สารทเดือนสิบ อันหมายถึง การทาบุญเดือนสิบ หรือ วัน สารทไทย ของเรานั้น พระยาอนุมานราชธนได้สันนิษฐาน ว่า น่าจะนามาจากคติของอินเดีย เกี่ยวกับความเชื่อ เรื่อง ผลแรกได้ อย่างที่กล่าวข้างต้นเช่นกัน แต่ช่วงเก็บเกี่ยวข้าว ในฤดูสารทหรือช่วงฤดู ใบไม้ร่วงของบางประเทศที่ว่า จะตก อยู่ในราว ๆ เดือน ๑๐ ทางจันทรคติของไทย ซึ่ง โดยความ จริงข้าวของเราจะยังไม่สุก มีเพียงผลไม้บางชนิดเท่านั้นที่ สุก ครั้นเรารับ ความเชื่อนี้มา จึงมีปรับเปลี่ยนใช้ข้าวเก่าทา เป็นข้าวเม่า ผสมกับถั่ว งาและสิ่งอื่น กลายเป็น ขนมกระยาสารท ขึ้นมา ซึ่งเมื่อแรกๆก็คงมีการนาไปสังเวย เทวดา และผีสาง ต่างๆตามความเชื่อดั้งเดิมด้วย ต่อมา เมื่อ เรานับถือศาสนาพุทธ จึงได้เปลี่ยนมาเป็นการ ทาบุญถวายพระ และมักมีการกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลแด่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับตามความเชื่อ เดิมที่ว่าหากไม่ ได้ทาบุญตักบาตรกระยาสารท ผีปู่ย่าตายายจะได้รับความเดือนร้อนอดๆ อยากๆ เท่ากับลูกหลานไม่กตัญญู นอกจากนี้ ระยะเวลาดังกล่าว ยังเป็น ช่วงกล้วยไข่ สุกพอดี จึงมักถวายไปพร้อม ๆ กัน การทาบุญเดือนสิบนี้มีในหลายภูมิภาค เช่น ทาง อีสานเรียกว่า บุญข้าวสาก หรือสลากภัต เป็นหนึ่งในสิบสอง อันเป็นการทาบุญอุทิศให้ ผู้ตายหรือเปรต โดยข้าวสากจะทาด้วยข้าวเม่า ข้าวพอง ข้าวตอกคลุกเข้ากันผสมกับ น้าตาล น้าอ้อย ถั่ว งา มะพร้าวคล้ายๆกระยาสารทของภาคกลาง โดยมักจะทาราว กลางเดือนสิบ ห่างจากการทาบุญข้าวประดับดิน ที่ทาในช่วงสิ้นเดือน ๙

KRAYASART DUANGSUDA


BRANDING

KRAYASART DUANGSUDA

Branding เป็นวิธีการที่มีไว้ให้คุณสร้างภาพลักษณ์ของบริษัทออกเผยเพร่สู่สายตา ของผู้บริโภค ไม่ว่าจะเป็นเว็ปไซต์การออกเเบบโฆษณาการเลือกสีที่เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว ขององค์กร โลโก้ หรือการใช้งานโซ เชียลมีเดีย หลักการทางานของเเบรนด์ ดิ้งจุดประ สงค์หลักๆก็เพื่อ ให้ลูกค้าเข้าใจได้ง่าย ขึ้น ว่าบริษัทของคุณต้องการจะสื่อ หรือนาเสนออะไรเเละมีความเเตกต่างจากบริษัทอื่น ยังไง ซึ่งก็ขึ้นอยู่ กับ ว่าวิธีการสื่อสารที่คุณนาเสนอออกไป เช่น บรรยากาศเเละ สภาพเเวดล้อมของร้านค้า การบริการของพนักงาน ภายในร้าน เครื่องเเบบพนักงาน การโฆษณาเเละการประชาสัมพันธ์การ สร้างแบรนด์

BRAND CHARACTER Brand Character คือ ตัวตน ของเเบรนด์คุณ ที่รวมเอาลักษณะของธุรกิจ คุณเเละ สะท้อนมันออกมา นอกจากนี้ยังสร้างคุณค่า การรับรู้ หรือ ประสบการณ์ร่วมบางอย่างให้ เเก่ผู้บริโภคด้วย Brand Character มีด้วยกัน 2 เเบบ คือ

11

https://anthonysmoak.com/2019/01/04/starbucks-digital-and-analytics-a-perfect-blend/ https://hotcanadadeals.ca/mcdonalds-canada-holiday-promotions-free-big-mac-or-mcnuggets


12

BRAND PERSONALITY - ความตื่นเต้น ( Excitement ) - ความจริงใจ ( Sincerity ) - ความรุนเเรง ( Ruggedness ) - ความทรงอานาจ ( Competence )

BRAND ARCHETYPES

MARKETING OF BRANG CHARACTER การลงทุนทาธุรกิจ ธุรกิจจะต้องโดดเด่น เละมีเอกลักษณ์ เพราะว่าอุตสาหกรรมหนึ่ง จะมี สินค้าเเละบริการเเบบเดียวกันหลายแบรนด์ โดยเเต่ละเเบรนด์ต่างก็เเข่งขันกัน ด้วยกลยุทธ์ของตัวเองจาเป็นต้องหาจุดเด่นของตน เช่นการเล่าเรื่อง การสร้างผู้เล่าเรื่อง หรือ Brand Character อาจจะตอบโจทย์ผู้คนในยุคนี้ก็ได

KRAYASART DUANGSUDA

Brand Character คือ ตัวตน ของเเบรนด์คุณ ที่รวมเอาลักษณะของธุรกิจคุณเเละ สะท้อนมันออกมา นอกจากนี้ยังสร้างคุณค่า การรับรู้ หรือประสบการณ์ร่วมบางอย่าง ให้ เเก่ผู้บริโภคด้วย Brand Character มีด้วยกัน 2 เเบบ คือ


RETAILING

KRAYASART DUANGSUDA

การค้าปลีก (Retailing) คือกิจกรรมทางธุรกิจที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้า และบริการเพือ่ จาหน่ายแก่ผู้บริโภคโดยทั่วไปมัก มีความเข้าใจว่า การค้าปลีกเกี่ยวข้องกับการจาหน่ายสินค้า ใน ร้านค้าเท่านั้นแต่ความจริงการค้าปลีกครอบคลุมไปถึงธุรกิจบริการด้านต่าง ๆ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร ฟาสต์ฟู้ดการให้บริการด้านการแพทย์ ร้านตัดผม ร้านเช่าวีดีโอ หรือแม้กระทั่ง การ ให้บริการส่งสินค้าถึงบ้าน เช่น พิซซา เป็นต้นนอกจากนี้ยัง รวมถึงการจาหน่ายสินค้าผ่าน อินเทอร์เน็ต และการจาหน่าย สินค้าด้วย แค็ตตาล็อก เช่นกัน

RETAILING DESIGN เป็นเรือ่ งที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและปรับปรุงสิง่ แวดล้อม เพื่อกระตุน้ การตัดสินใจซื้อสินค้า และสร้างความจงรักภักดีตอ่ สินค้าของผู้บริโภคการสร้างเอกลักษณ์ของร้านและความโดด เด่นของตราสินค้าล้วนถูกสร้างสรรค์โดยการออกแบบผ่านการจัดพืน้ ที่ ใช้สอยการใช้วัสดุที่ เหมาะสมเพื่อตอบสนองความต้องการของ

BEHAVIRO

13

https://crunchtimenews.com/2020/07/21/ top-8-breakthrough-apple-products/

ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่มี ผลต่อการซื้อของฝากปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้า ของที่ ระลึกนักท่องเที่ยวให้ ความสาคัญมากกับปัจจัยต่าง ๆ โดยเรียงตามลาดับค่าเฉลี่ย คือ

-ด้านตัวผลิตภัณฑ์ -ด้านราคา -ด้านช่องทางการจาหน่าย


RETAILING

14

AESTHEICS ปัจจัยด้านสุนทรียภาพและการจัดวางสินค้าด้านการส่งเสริมการตลาด การสร้างบรรยากาศ เป็นการออกแบบสภาพ แวดล้อมโดยผ่านการมองเห็นของลูกค้า การจัด แสดง สินค้า การให้แสงในพื้นที่ รวมถึง ดนตรีและกลิ่น ที่ ดึงดูดและกระตุ้นความอยากที่จะใช้ บริการและซื้อ สินค้า

MANAGEMENT

-

สัมผัส ความรู้สึก ความคิด การกระทา ความสัมพันกันของ 4 ข้อข้างต้น

KRAYASART DUANGSUDA

ปัจจัยด้านการบริหารและการจัดการการตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายโดยคานึงถึง ประสบการณ์ลูกค้า แบ่งเป็น 5 ด้าน


KRAYASART DUANGSUDA 15

https://www.inrecordtime.com/supreme https://corporate.tops.co.th/central-food-retail/


16

DESIGN SHELF

KRAYASART DUANGSUDA

การจัดวางสินค้า เป็นอีกวิธีที่ช่วยลดปัญหาลูกค้าหาของไม่เจอ และเพิ่มโอกาสในการ ขาย ให้กับร้าน ซึ่งเป็นเรื่องที่พ่อค้าแม่ค้าไม่ควรมองข้าม การจัดวางสินค้าบนชั้นวาง ไม่ ว่าจะเป็น ร้านเล็กหรือร้านใหญ่ โดยทั่วไปแล้วรูปแบบการจัดวางสินค้า มักส่งผลต่อการ ตัดสินใจซื้อ ของลูกค้า (Shoppers) เมื่อผลิตภัณฑ์หรือสินค้าถูกจัดวางให้ดูสวยเด่น สะดุดตา สร้างความ สะดุดใจ (Attention) สนใจ (Interest) อยากได้ (Desire) และใคร่ซื้อ (Action) ผลิตภัณฑ์หรือสินค้านั้น ๆ ก็ส่งผลให้มีโอกาสที่จะขายออกได้ง่าย กว่า - Visibility จัดวางสินค้าให้สามารถ “มองเห็นได้ง่าย” จัดเรียงสินค้าโดยแบ่งกลุ่ม สินค้า ให้เป็นหมวดหมู่ โดยให้จัดวางสินค้าลงมาเป็นแนวดิ่งของชั้นวาง สินค้าขายดี ที่ ทายอดขายให้ร้าน ค้าได้มาก วรจัดวางสินค้าเหล่านี้ให้อยู่ในระดับสายตา ในจุดที่โดด เด่นเห็นได้ชัดเจน แยกสินค้าประเภทของใช้และสารเคมีหากเป็นสินค้าที่ต้องจัดวางใน แนวราบ ต้องเลือกชั้นวางสิน ค้าที่มีความลาดเอียง เพื่อให้การตั้งโชว์สินค้า ดูมีมิติ และมองเห็นด้านหน้าตัวสินค้าแบบ ตรงๆ ได้สะดุดตาและมองเห็น ชัดเจน - Impact จัดวางสินค้าให้ “มีผลสะท้อน” จัดเรียงสินค้าให้สัมพันธ์กันและเพิ่มโอกาส ใน การขายรอธิบายคุณสมบัติ ตัวอักษรที่แสดง ควรมีขนาดใหญ่พอเหมาะ ให้อ่านได้ ง่าย มีการจัดมุม สาหรับชั้นวางสินค้าโชว์ จัดวางสินค้าพรีเมี่ยม จัดวางสินค้าขายดี หรือจัดวางสินค้าที่จัดรายการ โปรโมชั่นต่างๆ - Stability จัดวางสินค้าให้ “คงทน ถาวร” สินค้าที่มีน้าหนักเบาควรวางชั้นบน สินค้า ที่มี น้าหนักมากวางลงชั้นล่าง จัดวางสินค้าให้เต็มชั้นโชว์อยู่ตลอดเวลาทุกวัน มีการเดิน ตรวจปริมาณสินค้า ที่พร่อง หรือหมดไป และให้นามาเติมบนชั้นโชว์สินค้า โดย กาหนดเวลาที่เดินตรวจด้วย - Appeal จัดวางสินค้าให้ดู “ชวนมอง” สินค้าขายดีควรวางอยู่ในระดับสายตา สินค้ามี ราคาควรว่างอยู่ใกล้บริเวณเคาน์เตอร์ มีป้ายโฆษณา สาหรับสินค้าขายดี และควรมีป้าย ราคาวางตรง กับสินค้าทุกชิ้นการจัดวางสินค้า ไม่ควรจัดวางสินค้าชิดกันมากจนเกินไป เวลาลูกค้ามาเลือกหยิบจะ โดนสินค้าอื่นที่จัดเรียงชิดกันล้มหรือเคลื่อนที่ไปด้วย


REBRAND AND PROBLEM SOLVING

CASE STUDY

KRAYASART DUANGSUDA

ตั้งเซ่งจั่ว ขนมเปี๊ยะมาเปิดร้านอยู่ที่ตลาดบางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา เมื่อปี 2475 หรือ 76 ปีที่ แล้ว จาก การที่แบรนด์ไม่เป็นที่จดจา ทายาทรุ่น 2 ที่ต่อยอด สร้างธุรกิจให้มั่นคง เป็นที่รู้จักในชื่อขนมเปี๊ยะ บางคล้า แต่ไม่เป็นที่จดจาในการเป็นแบรนด์"ตั้งเซ่งจั้ว" ทายาทรุ่น 3 โดยเปลี่ยนจุดยืนสินค้า จากขนมที่มักใช้เฉพาะเทศกาลของชาวจีน อย่าง ตรุษจีน และปีใหม่ มาเป็นขนมของฝากที่ขายได้ ตลอดทั้งปี

การแก้ปัญหา

เกิดจากต้องการสร้างตัวตนให้กับแบรนด์ ทาให้แบรนด์แข็งแรงโดยการทาให้ครบทา ให้ใหญ่เพื่อให้ เป็นเอกลักษณ์กับแบรนด์ โดยตัวร้านสร้างติดถนน ใหญ่ ทาให่ร้าน กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว แทนการ ที่มาแค่ซื้อของแล้วกลับ สร้างความทรงจาให้ ลูกค้าว่าครั้งหนึ่งเคยมาที่นี้

17

https://www.posttoday.com/life/travel/395630/ https://reviewaroii.com/


REBAND AND PRODUCT PLACEMENT

CASE STUDY

18

ดอยคา

กลยุทธ์ในการรีแบรนด์ ดอยคา 1. 2.

3. 4. 5.

ใช้งบในการลงทุนรีแบรนด์ ขยายกลุ่มฐานเป้าหมายเป็นคนกลุ่มอายุ 25 ปีขึ้นไปจากกลุ่มลูกค้าเดิมคือคน รักสุขภาพ อายุ 35 ปีขึ้นไป ปรับภาพลักษณ์ให้ทันสมัย ทั้งด้านโลโก้และ ผลิตภัณฑ์ มีที่ปรึกษาด้านการตลาด ใช้วิธีการาโฆษณาออนไลน์ และการ โปรโมทในสถานที่ ภายนอก

KRAYASART DUANGSUDA

กลุ่มลูกค้าเดิมของดอยคาเป็นกลุ่มคนรักสุขภาพ อย่างกลุ่มคนกินเจ หรือซื้อเป็น ของฝากให้คนอายุ 35 ปีขึ้นไป แต่ด้วยเทรนด์สุขภาพ และเทรนด์เรื่องความงาม เติบโต ทาให้คนหันมาดื่มน้าผลไม้ และ ดอยคาเองก็มีน้ามะเขือเทศเป็นพระเอกที่คน เชื่อว่ากินแล้วสวย เป็นจุดที่จะขยับขยับไปหากลุ่มคนรุ่น ใหม่มากขึ้น ดอยคาก็ใช้ จังหวะนี้ซึ่งเป็นช่วงที่แบรนด์กาลังโตเต็มที่ ในการรีแบรนด์ครั้งใหญ่ ภายใต้คอน เซ็ปต์ “ดอยคา โฉมใหม่ หัวใจเดิม” มีการปรับโลโก้ และดีไซน์ของแพ็กเกจจิ้งใหม่ ทั้งหมดทุกสินค้า เพื่อให้มีความทันสมัย และเน้นภาพลักษณ์สินค้าพรีเมียม


KRAYASART DUANGSUDA

19


20

DUANGSUDA KRAYASANT เป็นสูตรกระยาสารทดั่งเดิมที่ถูกถ่ายทอดรุ่นต่อรุ่น เป็น ระยะเวลา 45 ปี และมีการพัฒนา สูตรมาเรื่อยๆเพื่อให้เข้า กับยุคสมัย จุดเด่นของสินค้าอยู่ที่ใช้วัตุดิบที่หาได้ในพื้นที่ หรือใกล้เคียง และการทากระยาสารทนี้ยังใช้เตาฟืนในการ ผลิตซึ้งเป็นวิถีโบราณ จะทาให้ขนมมีความหอม ของกลิ่น ถ่าน และมีการพัฒนาคุณภาพสินค้าของผลิตภัณฑ์อย่างต่อ เนื่อง จนได้รับ เครื่องหมายรับรองคุณภาพจากหน่วยงาน และสถาบันต่างๆเป็นต้นเป็นโรงงานขนาดเล็กที่ถูก จัดตั้ง เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเทศบาลบ้านสร้างเพื่องสงเสริมการ สร้างรายได้ให้คนในพื้นที่ ได้รับการสนับสนุนของกรมส่ง เสริมการเกษตร เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ 4 ดาว

CONCEPT PRODUCTS

KRAYASART DUANGSUDA

ขนมไทยที่ทามาจากธัญพืช เป็นขนมที่เหมือนคอนเฟลก หรือ พาวเวอร์บาร์ ของไทย มี ความสาคัญกับประเพณี และตานานนิยมซื้อไปทาบุญ และซื้อไปเป็นของฝาก ตัวโลโก้ มาจากภาพรวงข้าว คุมโทนด้วยสี เขียวเหลือง และแดง


KRAYASART DUANGSUDA

21


22

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA กระยาสารทดวงสุดา 23 ที่อยู่ : 44/1 หมู่ 7 ต.บ้านสร้าง อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี 25150


LOCATION

24

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

SITE ANALYSIS SITE CONTEXT

25

จะพบว่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของไซต์ที่มีส่วนที่ติดกับเขื่อนกั้น แม่น้าบางปะกง ยังเป็นส่วนของ พื้นที่ว่างซึ่งถ้าในไซต์มีการต่อเติมพื้นที่ใช้ งาน หรือเพิ่มพื้นที่สีเขียวไว้ในส่วนทิตะวันตกเฉียงเหนือ ก็จะเกิดการ เชื่อมต่อของพื้นที่ว่างและพื้นที่ภายนอกได้


26

TRAFFIC ANALYSIS

SITE CONTEXT 1. 2.

ถนน ราชภักดี3 โดยข้ามสะพานข้ามแม่น้าบางปะกง โดยร้านจะอยู่ทางด้านขวามือ หลังจากลงสะพานข้ามแม่น้าบางปะกง ถนนสาย 3076 โดยจะอยู่ฝั่งตรงข้ามวัดบ้านสร้าง ทางซ้ายมือ

KRAYASART DUANGSUDA

เนื่องจากถนนที่ติดกับพื ้นที่เป็ นทางผ่านไปสาหรับเข้ า จังหวัดนครนายก โดยทางอาเภอปากพลี อาเภอเมืองปราจีน อาเภอศรี มโหสถ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยทาง อาเภอพนมสารคาม อาเภอราชสาส์น อาเภอบางคล้ า อาเภอคลองเขื่อน อาเภอบางน ้าเปรี ย้ ว อาเภอองครัก์​์



VIEW ANALYSIS มุมมองของไซต์ที่เป็นมุมมองที่ดีที่สุดคือ ทางทิศตะวันตก เพราะเป็นมุมที่ สามารถมองเห็นสันเขื่อน แม่น้าบางปะกง และสะพานข้ามแม่น้าได้


KRAYASART DUANGSUDA

29


30

SURROUNDIN AREA -

พื้นที่ที่ใช้ในการปลูกสวนผลไม้หลากหลายชนิด และใช้ในการวางฟืนสาหรับใช้ทากระยาสารท

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

31


32

SURROUNDIN AREA -

พื้นที่ที่ใช้ในการปลูกสวนผลไม้หลากหลายชนิด และใช้ในการวางฟืนสาหรับใช้ทากระยาสารท

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

33


34

SURROUNDIN AREA -

โดมสาหรับปลูกกระบองเพชร

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

35


36

SURROUNDIN AREA -

พื้นที่ที่ใช้ในการปลูกสวนผลไม้หลากหลายชนิด และใช้ในการวางฟืนสาหรับใช้ทากระยาสารท

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

37


38

1.

พื้นที่ด้านหน้าจะถูกแบ่งเป็น หน้าร้านที่จอดรถ และจุดส่งของ

KRAYASART DUANGSUDA

ACTIVITIES WITHIN THE AREA


KRAYASART DUANGSUDA

39


40

ACTIVITIES WITHIN THE AREA พื้นที่ส่วนกลางจะถูกแบ่งเป็นพื้นที่อาศัยทั้งชั้น 1 และ ชั้น 2

KRAYASART DUANGSUDA

1.


KRAYASART DUANGSUDA

41


42

ACTIVITIES WITHIN THE AREA พื้นที่ส่วนกลางจะถูกแบ่งเป็นพื้นที่อาศัยทั้งชั้น 1 และ ชั้น 2

KRAYASART DUANGSUDA

1.


KRAYASART DUANGSUDA

LIFE OF RICE

43

https://thaienews.blogspot.com/2019/10/blog-post_24.html https://board.postjung.com/962142 https://www.iurban.in.th/inspiration/thai/

LIFE OF LIFE


03.

44

CONCEPT CONCEPT CONCEPT WAY OF LIFE

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

45


46

GRAPHICS STANDARD SUPPORT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

47


LIFE OF RICE

48

GRAIN AND LOGO

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

49


LIFE OF PEOPLE

50

THAI FABRIC PATTERN

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA 51

https://www.baanstraw.com/ https://www.instagram.com/p/CBNGvyKAqMo https://art-culture.cmu.ac.th/Museum/detail/10 https://art-culture.cmu.ac.th/gallery_detail.


52

LIFE OF PEOPLE WICKER AND BARN

KRAYASART DUANGSUDA

เป็นสถาปัตยกรรมที่พบเห็นได้ทั่วไปคู่กับบ้านเรือนใน ชนบทของ มีลักษณะเป็นเรือนหลังเดี่ยว ขนาดเล็ก แยกออกมา จากตัวบ้าน ใช้สาหรับเก็บรักษาข้าวเปลือก และ ผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ โดยในอดีต ยุ้งฉาง ถือ เป็นสถาปัตยกรรมที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิต ของชาวนา ถือเป็นสมบัติ ที่มีมูลค่ามากที่สุดของ ชาวนา นอกจากนี้ ยุ้งฉาง ยังเป็นเครื่องบ่งบอกสถานะทางเศรษฐกิจของ เจ้าของเล้า บ้านไหนมีเล้า ใหญ่อาจหมายความว่ามีที่นามาก มีควายมาก มี กาลังการผลิตและผลผลิต สูง น่าจะเป็นคนขยันขัน แข็ง เป็นผู้มีฐานะดีและเป็นที่นบั ถือของคนในชุมชน ปริมาณข้าวที่อยู่ ภายในเล้าจะเป็นหลักประกันว่า ชาวนาจะสามารถยังชีพอยู่รอดไปได้ตลอดทั้งปีจนกว่าจะถึงฤดูการ เก็บเกี่ยวใหม่อีกครั้ง ภูมิปัญญาในการก่อสร้าง ยุ้งข้าว(เล้าข้าว) ไว้ว่า ยุ้งข้าวเป็นภูมิปัญญาโบราณที่รับใช้ชาวนา ทุก ชนชาติมาอย่างยาวนาน และยังสืบทอดพัฒนาจน เป็นสถาปัตยกรรมที่สมบูรณ์แบบทั้งประโยชน์ ใช้ สอยและรูปแบบ ถึงแม้จะเป็นสถาปัตยกรรมพื้น ถิ่น ที่เกิดจากการสั่งสมศึกษาลองผิดลองถูกจน เหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่ แต่หลักในการ ออกแบบเล้าข้าว(ยุ้งข้าว)มีลักษณะร่วมกันอยู่อย่าง มีนัยสาคัญ เพราะ ประโยชน์ใช้สอยหลักของเล้าข้าว(ยุ้งข้าว)ไม่ว่าของพื้นที่ใดก็คือการป้องกันเมล็ด ข้าว จากความร้อน ความชื้น สัตว์ และแมลงที่มาทาลาย ข้าวให้เกิดความเสียหาย


KRAYASART DUANGSUDA

53


54

TROPICAL MODERN การออกแบบช่องแสง ช่องลม หลังคาสูง

การสร้างสเปซที่โปร่งโล่งขนาดใหญ่ ด้วยเส้นสายการ ออกแบบเรียบง่ายคานึงถึงสภาพอากาศและ ภูมิประเทศเป็นปัจจัย หลัก เป็นสไตล์ที่มีไว้สาหรับรับมือกับอุณหภูมิความร้อนได้ดี การ ตกแต่งให้เข้า กับภูมิประเทศสภาพอากาศร้อนชื้น การตกแต่ง พื้นที่จะใช้วัสดุพื้นที่มาปรับรูปลักษณ์ให้ทันสมัย ใช้สี เอิร์ทโทนที่ เป็นสีมาจากเรียนแบบธรรมชาต

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

THAI KITCHEN ครัวไทย ส่วนใหญ่มักสร้างแยกกับตัวเรือนที่พักอาศัย บริเวณหน้าจั่วทั้ง 2 ด้านของห้องครัว มี การออกแบบโดยกั้นพื้นที่ส่วนห้องครัวทาช่องระบายอากาศเพื่อให้สามารถถ่ายเพทกลิ่นอาหาร และควันไฟ ออกจากครัวด้สะดวก โดยการใช้ไม้ตีเว้นช่อง รวมไปถึงใช้ชายคากันสาดยื่นออก จากตัวเรือน เพื่อให้ สามารถป้องกันแสงแดดและฝนสาด

55


56

ECONOMIC STOVE KRAYASART DUANGSUDA

เป็นเตาหุงต้มประเภทหนึ่งที่ประยุกต์มาจากเตาอั้งโล่และเตาฟืนที่ใช้กันอยู่ทั่วไป ในชนบท สามารถ ใช้ได้ทั้งฟืนและถ่าน จุดเด่นของเตาชนิดนี้อยูต่ รงที่สามารถนาเศษวัสดุ เหลือใช้จาก ภาคเกษตรที่มีอยู่ จานวนมาก ไม่ว่าจะเป็น แกลบ ซังข้าวโพดชานอ้อย กะลามะพร้าว ลาต้น มัน สาปะหลังรวมถึงเศษ ใบไม้ กิ่งไม้ ที่ได้ จากการตัดแต่งกิ่ง ต้นไม้มาใช้ได้ จุดหลักของเตา อยู่ที่การมีปล่องไฟ ทาหน้าที่ช่วยดูด เขม่าควันออกไป ทาให้การเผา ไหม้ระหว่างเชื้อเพลิงผสม กับอากาศได้อย่างต่อเนื่อง


ORIGINAL USABLE AREA KRAYASART DUANGSUDA

1ST FLOOR

57


58

KRAYASART DUANGSUDA

2ND FLOOR


KRAYASART DUANGSUDA

FACTORY MACHINERY

59


60

-

เครื่องกระเทาะมะพร้าว เครื่องขูดมะพร้าว เครื่องคั้นกระท

KRAYASART DUANGSUDA

LAUNDRY


KRAYASART DUANGSUDA

FACTORY MACHINERY

61


62

-

กระทะเคี่ยวกะทิทากระยาสารท กระทะคั่วข้าวเม่าและงา

KRAYASART DUANGSUDA

STOVE


KRAYASART DUANGSUDA

FACTORY MACHINERY

63


64

-

พื้นที่เก็บวัตถุดิบ พื้นที่คั่วถั่วและก็บมะพร้าว

KRAYASART DUANGSUDA

STOVE


KRAYASART DUANGSUDA

FACTORY MACHINERY

65


66

-

เครื่องผสมน้าตาลกระทิ กับส่วนผสมอื่นๆให้เข้ากัน เครื่องแพ็คถุงชิ้น 10 บาท

KRAYASART DUANGSUDA

PRODUCTION


KRAYASART DUANGSUDA

1ST FLOOR

67


68

ADDITIONAL BUILDING

KRAYASART DUANGSUDA

2ND FLOOR


ADDITIONAL BUILDING

KRAYASART DUANGSUDA

69


70

NEW PROGRAMMING SHOP WORKSHOP FACTORY OFFICE CUSTOMER LOUNGE CAFE RESTAURANT PRIVATE RESTAURANT KITCHEN

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DIAGRAM 71

ACCESS AREA MAIN WALKWAY


72

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

73


04.

74

ZONING ZONING ZONING ORIGINAL USABLE AREA อาคารเดิมที่ภายใน ประกอบด้วย - SHOPWORK - SHOP - FACTORY - OFFICE ADDITIONAL BUILDING อาคารเพิ่มเติมที่ภายใน ประกอบด้วย - RESTAURANT - PRIVATE RESTAURAN - CAFE - KITCHEN PARKING

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

75


MASTER PLAN

76

WALKING PATH SPECIAL ROUTE

KRAYASART DUANGSUDA

ROUTE


KRAYASART DUANGSUDA

77


78

NEW ZONING ORIGINAL BUILDING

SHOP FACTORY OFFICE CANTEEN

KRAYASART DUANGSUDA

WORKSHOP


LAN-OUT PLAN DEVELOPMENT FURNITURE ORIGINAL BUILDING

KRAYASART DUANGSUDA

79

1ST FLOOR


80

KRAYASART DUANGSUDA

2ND FLOOR


KRAYASART DUANGSUDA

ISOMETRIC ORIGINAL BUILDING 81


82

MOOD MATERIAL AND TONE

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

83


84

FACADE SHOP

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

85


86

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

87


88

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

89


90

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

91


92

KRAYASART DUANGSUDA


PRODUCTS

KRAYASART DUANGSUDA

93


KRAYASART DUANGSUDA

PRODUCTS

94


PRODUCTS

KRAYASART DUANGSUDA

95


KRAYASART DUANGSUDA

PRODUCTS

96


PRODUCTS

KRAYASART DUANGSUDA

97


KRAYASART DUANGSUDA

PRODUCTS

98


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

99


100

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

101


102

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

DESIGN SHOP AND FACTORY

103


104

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

105


106

NEW ZONING ORIGINAL BUILDING

RESTAURANT ( IN DOOR ) CAFE RESTAURANT ( OUR DOOR ) SERVICE AREA PRIVATA RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA

KITCHEN


DEVELOPMENTI FURNITURE LAYOUT PLAN

KRAYASART DUANGSUDA

107

1ST FLOOR


108

KRAYASART DUANGSUDA

2ND FLOOR


KRAYASART DUANGSUDA

ISOMETRIC ADDITIONAL BUILDING 109


110

MOOD MATERIAL AND TONE

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

111

FACA


112

ADE RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

113


114

DESIGN RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

115


116

DESIGN RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

117


118

DESIGN RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

119


120

DESIGN RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

119


120

DESIGN RESTAURANT

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

05.

PROJECT SUMMARY AND RESEARCH SUMMARY

121


122

จากการศึกษาวิจัย แนวทางการพัฒนาร้านประกอบการเพื่อนาไปสู่การออกแบบปรับปรุง สถานประกอบการกระยาสารทดวงสุดา โดยการศึกษาแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา Branding เพื่อไปสู่การพัฒนาร้านค้าปลีก ( Retailing ) เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดการ พื้นที่ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อกระตุ้นในความอยากซื้อสินค้าของลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ รวมถึงการจัดวางสินค้า และปรับปรุง Products ให้มีความหน้าสนใจและตอกย้าใน ภาพลักษณ์แบรนด์มากยิ่งขึ้น จากการศึกษาทาให้พบว่า ความต้องการของกลุ่มลูกค้ามี หลายประเภท ขึ้นอยู่กับวัยและความสามารถในการเข้าถึงสินค้า รวมถึงแรงกระตุ้นต่างๆที่ จะมีผลต่อการซื้อสินค้าด้วย ทาให้ต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงจุดกลางที่จะนามาใช้ในการ ปรับปรุงรูปแบบการดีไซน์ทั้งตัวอาคารร้านค้า โรงงาน ร้านอาหาร และโปรดักส์ ซึ่งสามารถ ผ่านไปได้ด้วยดี ข้อเสนอแนะ ความสามารถในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้ารุ่นใหม่ในปัจจุบันต้องขยายเข้าสู่ตลาดออนไลน์ และใช้กราฟฟิคร่วมด้วยเพื่อเพิ่มความหน้าสนใจ

KRAYASART DUANGSUDA


KRAYASART DUANGSUDA

บรรณานุกรม BOOK พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ.2562.สู่ขวัญข้าว พระเจ้าแผ่นดิน(พิมพ์ครั้งที่2).กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สายลมลอย.เรื่องเล่าจากสวนขี้คร้าน 1 วิถีในนา.กรุงเทพมหานคร:โพสต์บกุ๊ ส์ ปรีชา นุ่นสุข.2540.ประเพณีสารทเดือนสิบ หนังสือชุดความรู้ไทย(พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

ONLINE JOURNAL ตารา 12 เดือนคัดแต่สมุดขุนทิพมนเทียรชาววังไว้. (2545). กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. (เลขเรียกหนังสือ DS 589 น49ต64) ศรีสมร คงพันธุ์. (2561). อาหารขึ้นทะเบียน: มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ. กรุงเทพฯ: ส.ส.ส.ส. (เลขเรียกหนังสือ TX 724.5 ท9ศ48) สุภาพร จินดามณีโรจน์. (2554). “การละเล่นขอทานกระยาสารทกับวิถีชีวิตวัฒนธรรมของ ชาวคลองบ้านไทร แขวงบางระมาด เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร” 10,2 (กรกฏาคมธันวาคม) : 39-62 สุรพล หลินมา. (2552). หมฺรับเดือนสิบ. ศิลปนิพนธ์ (ศ.บ. (ศิลปไทย))—มหาวิทยาลัย ศิลปากร. (เลขเรียกหนังสือ NB1910 ส74)

INTERVIEW สาภาษณ์ นาง สงบ ผลพืชน์ ผู้ก่อตั้งแบรนด์กระยาสารทดวงสุดา สาภาษณ์ นางสาว สุดา ผลพืชน์ ทายาทรุ่นที่ 2

123


124

WEBSITE

KRAYASART DUANGSUDA

เกษร ผลจานงค์ (2548). สายสัมพันธ์ระหว่างภพ. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2563, จาก http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Kaysorn_Po njumnong/Fulltext.pdf วริสรา แสงอัมพรไชย. (2559). สารทเดือนสิบ. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2563, จาก https://www.sac.or.th/databases/rituals/detail.php?id=88 สุรพล หลินมา. (2555). อาภรณ์สาหรับบรรพบุรุษ. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2563, จาก http://www.thapra.lib.su.ac.th/.../Surapon.../fulltext.pdf Tic group.(2562). ข้าวและวิถีชีวิต .สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2563, จาก https://www.toumi.com/news/detail/ สุเธยรโล้ กูลประกิจ.(2546). หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2563, จาก https://www.academia.edu/ Dsign Something. (2559). Modern Tropical ร่วมสมัยสไตล์เขตร้อน.สืบค้นเมื่อ 11 กันยายน 2563, จาก https://dsignsomething.com/2016/04/02/moderntropical MGR Online.(2551). 'ตั้งเซ่งจั้ว' มากที่สุดขนมเปี๊ยะบางคล้าต่างชาติเบอร์หนึ่งแปดริ้ว. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://mgronline.com/smes/detail/9510000137077?fbclid=IwAR357b9LoCG7Ajzi9V0dFbZcOaZciM5Q-hUVzruZ6SwFAKdsKKA_N23ZT8 Department Of Industrial Promotion.ลูกค้าของเราคือใคร รู้หรือยัง. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://bsc.dip.go.th/th/category/marketing2/ OmdsiGlobal.(2562).รีแบรนด์ (rebranding) คืออะไร ควรทาหรือไม่เรามีคาตอบ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://www.mdsiglobal.com/rebranding/ Paranut Lueangsanit.(2557). สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://kimpool1122.wordpress.com/ กระทรวงพลังงาน.(2562). แบบก่อสร้างเตาเศรษฐกิจประยุกต์แบบมณฑล. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก http://ppp.energy.go.th


KRAYASART DUANGSUDA

บรรณานุกรม WEBSITE Tipsdd.(2561).MODERN TROPICALเขยิบอีกนิด ใกล้ชิดธรรมชาติ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://www.tipsdd.com/living/modern-tropical/ Positioning.(2558).เจาะเบื้องหลัง รีแบรนด์ “ดอยคา” 40 ปีแล้วต้องเด็กลง. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก https://positioningmag.com/ SMELeader. คัมภีร์รีแบรนด์ดิ้ง Rebranding Strategy. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2563, จาก https://www.smeleader.com/ ปัทมาพร ท่อชู, ดร.วิทยา อินทร์สอน. การออกแบบตราสัญลักษณ์หรือโลโก้เพื่อธุรกิจ (Logo Design for Business). สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563, จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/ ITCOMGRAPH.LOGO. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563, จาก https://itcomgrap.wordpress.com TCDC.(2559). Fashion Visual Merchandiser นักสร้างสรรค์พื้นที่ร้านค้ากับศาสตร์ และศิลป์ในการมัดใจคน. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563, จาก http://www.tcdc.or.th/articles/business-industrial/25953 Ideogram. 5 ทริคง่ายๆ วิธีเลือกใช้ Display โชว์สินค้าให้สะดุดตาโดนใจ. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563, จาก https://ideogram-design.com/blog/ อรวรรณ กองพิลา.ยุ้งหลองไทย-ลาว. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2563, จาก https://sites.google.com/site/

125


126

ประวัติผู้วิจัย CURRICULUM VITAE

ชื่อ-นามสกุล รหัสนักศึกษา การศึกษา ปีการศึกษา ช่องทางการติดต่อ

นางสาว ภูษิตา ผลพืชน์ 5902231 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต 2563 โทรศัพท์ : 094-237-4659 E-mail : Pusita.knne@gmail.com ID-Line : ka-ningy-ts IG : kaning.pp Facebook : Pusita Ponphuch

KRAYASART DUANGSUDA


THESIS


THESIS


T


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.