Atiya Singlo

Page 1

TOURIST CENTER n’ GUESTHOUSE THESIS BOOK ATIYA

PHROM

LOK

NAKORN

SRI

SINGLO

THAMMARAT



ชื่อโครงการ ประเภทของงานศิลปนิพนธ ผูดำเนินโครงงานศิลปนิพนธ

ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ

ศึกษาวิถีชีวิตชุมชนพรหมโลกเพื่อการออกแบบภายใน ประเภทงานออกแบบตกแตงภายใน นางสาว อติญา สิงหลอ ATIYA SINGLO รหัสนักศึกษา 6002254 นักศึกษาชั้นปที่4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย วริศว สินสืบผล


A P P R O VA L

SHEET

กรรมการอนุมัติ

สาขาวิชาออกแบบภายใน วิทยาลัยการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต อนุมัติใหนับศิลปนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของ การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาออกแบบภายใน

................................................................................................................. คณบดีวิทยาลัยการออกแบบ (รศ. พิศประไพ สาระศาลิน)


คณะกรรมการศิลปนิพนธ

......................................... (อาจารย วริศน สินสืบผล)

ประธานกรรมการ

......................................... (อาจารย วริศน สินสืบผล)

กรรมการ

......................................... (อาจารย เรวัฒน ชำนาญ)

กรรมการ

......................................... (อาจารย ถวัลย วงษสวรรค)

กรรมการ

......................................... กรรมการ (อาจารย อรรถกฤษณ อุทัยกาญจน) ......................................... กรรมการ (อาจารย ณัฐพงศ ศรีปุงวิวัฒน) ......................................... กรรมการ (อาจารย บัณฑิต เนียมทรัพย) ......................................... (ผศ. ไพลิน โภคทวี)

กรรมการ

......................................... กรรมการ (อาจารย กาลัญู สีปยารักษ) อาจารยที่ปรึกษาศิลปนิพนธ

......................................... (อาจารย วริศน สินสืบผล)


บทคัดยอ

จังหวัดนครศรีธรรมราชเปนจังหวัดที่ประชากรเยอะที่สุดในภาคใต เปนหนึ่งในจังหวัดที่มีเสนหชวนใหผูคนมาทองเที่ยวนอกเที่ยว นอกจากเปน เมืองประวัติศาสตรแลวยังมีแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจ ดานแหลงทองเที่ยว ทางธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณมาก แตเมื่อมองกลับมาสถานที่ทองเที่ยว ทางธรรมชาติในจังหวัดนครศรีธรรมราช ยังไมไดเปนที่นาสนใจเทากับ จังหวัดกาญจนบุรีเขาใหญหรือจังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทยทั้งที่มีแหลงทอง เที่ยวทางธรรมชาติมากมายที่ยังอุดมสมบูรณ และมีชุมชนที่มีเสนหเปน ชุมชนที่มีความสมดุลในการปรับตัวใหเขากับฤดูกาลไดเปนอยางดีทุกอยาง ในชุมชนถือเปนเอกลักษณที่นาสนใจ แตการเขาถึงยังยากลำบากหากไมมี รถยนตสวนตัวการโฆษณายังไมมากพอและไมมีศูนยบริการนักทองเที่ยวที่ คอยใหคำปรึกษาแกนักทองเที่ยวตางชาติซึ่งมีเปนจำนวนมาก จึงหยิบยก ประเด็นนี้นำมาออกแบบภายใน จากการศึกษาวิถีชีวิตชุมชนพรหมโลกมา ออกแบบที่พักโฮมสเตย

A


ABSTRACT Nakhon Si Thammarat is the province that has the most population in the South. It is a province that has such a charm inviting people to come visit. Apart from being a city of history, it also has a lot of interesting attractions. Its natural attractions are very exuberant but when looking back to natural attractions in Nakhon Si Thammarat, they are not as interesting as those in Kanchanaburi, Khao Yai or other provinces in Thailand that have a lot of natural attractions. With its abundance in nature and enchanted community well balancing in adjusting with the change of seasons. Everything in community is interestingly unique but the access is still hard if you do not have a car. Advertisements are not enough and there is no traveler center giving suggestions for foreign travelers in such a number. Therefore, this issue is brought to a homestay interior design from studying Promlok’s community.

B


C /

ACKNOWLEDEGE


A C K N OWL E DE GE M E NT S

ผลงานศิลปนิพนธโครงการศึกษาวิถีชีวิตชุมชนพรหมโลก เพื่อการออกแบบภายใน นั้นไดสำเร็จไดดวยครอบครัวที่สนับสนุนทุนทรัพย ในการเลาเรียน คำชื่นชมกับความเชื่อมั่นในตัวบุตรคนนี้วาสามารถทำทุก อยางไดลุลวงดวยตัวเอง รวมถึงแรงกดดันบางอยางที่ครอบครัวไมทันได สังเกต ุมาทำใหตัวขาพเจาตั้งใจที่จะเรียนจบดวยผลการเรียนที่นาพึงพอใจ และทำมันอยางเต็วท ี่และไดรับทั้งคำติชมจากคนรอบขางที่ขาพเจายินดีรับ ไว ขอขอบพระคุณมา ณ ที่นี้ดวย ขอขอบพระคุณคณะอาจารยสาขาวิชาออกแบบภายใน ทุก ทานที่คอยใหคำปรึกษาและแนะนำทั้งในเรื่องของการใชชีวิตและการเรียนวิธี การในการพัฒนาตัวโครงการใหมีมีประสิทธิภาพมากขึ้นจนสำเร็จไปไดดวย ดี ขอขอบพระคุณอาจารยกอลฟ ที่มองเห็นสักยภาพบางอยางขอขาพเจา ในเวลาที่ขาพเจาศึกษาอยูในชั้นปที่1ซึ่งเปนอีกหนึ่งแรงผลักดันและความเชื่อ มั่นในตัวเองจากคนที่ไมมีพื้นฐานใดๆในสาขาวิชานี้เลย และขอขอบพระคุณ อาจารยโตง ที่ทำใหขาพเจามองเห็นคุณคาในการตั้งใจเรียนทุกวิชาและแนะ นำความรูมากมายทั้งในวิชาเรียนและนอกวิชาเรียนซึ่งเปนความรูที่มีประ โยชนอยางมากในการเรียนตอและการทำงานในอนาคต ขอขอบพระคุณมา ณที่นี้ดวย ขอขอบคุณอาจารย วริศว สินสืบผล หรืออาจารยโปง อาจารยที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ ที่คอยใหคำปรึกษาคำแนะนำในการ ทำโครงการ รวมถึงใหกำลังใจทำใหขาพเจามีกำลังใจและเชื่อมั่นในตัวเองที่ จะทำโครงการศิลปนิพนธนี้สำเร็จตั้งแตวันแรกที่เลือกอาจารยเปนที่ปรึกษา จนถึงวันนี้ที่ขาพเจาเขียนกิตติกรรมประกาศนี้ ขอบคุณอาจารยที่ไมปดกั้น ความคิดแตจะคอยประคองความคิดไมใหอยูนอกกรอบ ขอบคุณเพื่อนทุกคนที่อยูดวยกันมาตั้งแตป1 กลุมเพื่อนที่ แตละคนมีเอกษณทางความคิด ขอบคุณที่ทำใหขาพเจาเคารพและยอมรับ ความแตกตางนี้ดวยความเต็มใจ ขอบคุณที่คอยชวยเหลือในทุกๆดานและ คอยใหกำลังใจถามมไถในการทำงานทุกโปรเจคขอบคุณที่รวมทำงานดวย กันมาตั้งแตวันแรก ขอบคุณเหลารุนพี่ที่คอยเปนที่ปรึกษาที่ดีและที่พึ่งในหลาย อยางไมวาจะเปนพี่โจ พี่สาม พี่ดิวคอยถามไถทุกครั้งหลังจากการนำเสนอ งาน ขอขอบคุณที่ที่คอยสนับสนุนทุกขั้นตอนการทำศิลปนิพนธชิ้นนี้ สุ ด ท า ยนี ้ ข อบคุ ณ ตั ว เองที ่ ไ ม ถ อดใจและคอยพั ฒ นา ศักยภาพในตัวเองมารื่อยๆตั้งแตป1 จนถึงปจจุบันจากคนที่ไมมีพื้นฐานใด จนลงมือทำศิลปะนิพนธชิ้นนี้จนจบสำเร็จลุลวงตามเปาหมาย อติญา สิงหลอ

D


E


TA B L E OF CONT ENT

CHAPTERS

PAGE

A B S TRA CT (TH) (บทคัดยอ ภาษาไทย)

A

A B S TRA CT (E NG) (บทคัดยอ ภาษาอังกฤษ)

B

A CK NOW L E DE GE ME NTS (กิตติกรรมประกาศ)

C

TA B L E OF CONTE NT (สารบัญ)

E

L IS T OF IL L S TRATIONS (สารบัญภาพ) CHA P TE R 1 (บทนำ)

02

CHA P TE R 2 (ขอมูลพื้นฐานและรายละเอียดประกอบโครงการ)

12

CHA P TE R 3 (หลักการ ทฤษฏี แนวคิดที่ศึกษา)

43

CHA P TE R 4 (ผลงานการออกแบบ)

55

CHA P TE R 5 (บทสรุป)

159

บรรณานุกรม

163

ภาคผนวก ประวัติ

165


CHAPTER 1


INTRODUCTION

PROJECT BACKGROUND OBJECTIVE EXPECTATION AREA OF STUDY RESEARCH SCHEDLE


C HA PT ER 1

3


P R O JECT BACKGROUND

จังหวัดนครศรีธรรมราชเปนจังหวัดที่ประชากรเยอะที่สุดในภาคใต เปนหนึ่งในจังหวัดที่มีเสนหชวนใหผูคนมาทองเที่ยวนอกเที่ยว นอกจากเปน เมืองประวัติศาสตรแลวยังมีแหลงทองเที่ยวที่นาสนใจ ดานแหลงทองเที่ยว ทางธรรมชาติที่ยังอุดมสมบูรณมาก แตเมื่อมองกลับมาสถานที่ทองเที่ยว ทางธรรมชาติในจังหวัดนครศรีธรรมราช ยังไมไดเปนที่นาสนใจเทากับ จังหวัดกาญจนบุรีเขาใหญหรือจังหวัดอื่นๆ ในประเทศไทยทั้งที่มีแหลงทอง เที่ยวทางธรรมชาติมากมายที่ยังอุดมสมบูรณ และมีชุมชนที่มีเสนหเปน ชุมชนที่มีความสมดุลในการปรับตัวใหเขากับฤดูกาลไดเปนอยางดีทุกอยาง ในชุมชนถือเปนเอกลักษณที่นาสนใจ แตการเขาถึงยังยากลำบากหากไมมี รถยนตสวนตัวการโฆษณายังไมมากพอและไมมีศูนยบริการนักทองเที่ยวที่ คอยใหคำปรึกษาแกนักทองเที่ยวตางชาติซึ่งมีเปนจำนวนมาก จึงหยิบยก ประเด็นนี้นำมาออกแบบภายใน จากการศึกษาวิถีชีวิตชุมชนพรหมโลกมา ออกแบบที่พักโฮมสเตย

4


C HA PT ER 1

OBJECTIVE

1. เพื่อศึกษาอัตลักษณของชุมชนและพัฒนางานออกแบบ 2. เพื่อศึกษาการออกแบบกลยุทธการทองเที่ยว และการออกแบบภายใน 3.เพื่อเผยแพรใหบุคคลทั่วไปไดรูจักชุมชนพรหมโลก

5


C H AP TE R 1

EXPECTATION

1. ไดเรียนรูวัฒนธรรม และศึกษาวิถีชีวิตในชุมชนที่มีเสนห 2. ไดเรียนรูถึงแนวคิดการออกแบบการสรางแบรนดิ้ง และออกแบบกลยุทธในการทองเที่ยว 3. ผูคนทั่วไปรูจักอัตลักษณของชุมชนพรหมโลกมากขึ้น

6


C HA PT ER 1

7


CH AP TE R 1

AREAS OF STUDIES

1 . ศึกษาวิถีชีวิตคนในชุมชน ความเปนมา และวัฒนธรรมของอำเภอคนในพรหมคีรี 2. ศึกษาและวิเคราะหอัตลักษณของวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของอำเภอพรหมคีรี 3. ศึกษาการนำอัตลักษณ วิถีชีวิตของคนในชุมชนมาประยุกตใชในงานออกแบบ 4. ศึกษาการออกแบบกลยุทธในการทองเที่ยว 5. ศึกษาขอจำกัดในการออกแบบในพื้นที่ที่มาขอกำจัด

8


C HA PT ER 1

RESEARCH

ศึกษาความเปนอยูพื้นฐานในชุมชน ศึกษาระยะทางจากเมืองสูชุมชน ศึกษาลักษณะของชุมชน ศึกษากิจกรรมในชุมชน ศึกษาสถานที่ทองเที่ยวในชุมชน

9

SCHEDULE


CHAP T ER 1

RESEARCH

SCHEDULE

ศึกษาลักษณะบานที่อยูอาศัยในชุมชน ศึกษาผลิตภัณฑของชุมชนและภาคใต ศึกษาทิศทางแดดลมฝนของชุมชน ศึกษาทิศทางแดดลมที่จะผานเขาไปในตัวบาน

10


C HAP T E R 2

11


CHAPTER2 A STUDY OF BASIC INFORMATION O F T H E P R O J E CT

BASIC RESEARCH INFORMATION FOR PROKECT REDMEY TARGET GROUP LOCATION / SITE LOCATION RESEARCH SCHEDULE

12


CHAPTER 2

13


CHAPTER 2

BASIC RESEARCH I N F O R M AT I O N FOR PROJECT

14


CHAPTER 2

NAKORN SRI THAMMARAT นครศรีธรรมราชเปนจังหวัดในประเทศไทยมีประชากรมากที่สุดในภาคใตและ มีขนาดพื้นที่ใหญเปนอันดับสองของภาคใตรองจากสุราษฎรธานีเปนจังหวัดที่มี อำเภอมากที่สุด ในภาคใตหางจากกรุงเทพมหานครประมาณ 780 กิโลเมตร มี จังหวัดที่อยูติดกัน ไดแก สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษธานี นครศรีธรรมราช เปนนครประวัติศาสตรที่เคยมีชื่ออันเรืองนามวาตามพรลิงคมี อารยธรรมโบราณที่เกาแกที่สุดบนแหลมมาลายูดวยความเปนเมืองพุทธและมี ศิลปวัฒนธรรมที่มีความเจริญรุงเรืองจึงไดชื่อวา เมืองพุทธแดนใตซึ่งชุมชนเริ่ม แรกไดรับวัฒนธรรมมาจากอินเดีย แตไมไดอยูในอำเภอเมืองปปจจุบันแตกระจาย ไปตามแนวชายฝงทั้งในดานความเชื่อ อักษร ประเพณีและการปกครองจนกลาย เปนพื้นฐานของจังหวัด ในปจจุบันนอกจากจะเปนดานประวัติศาสตรยังเปนแหลง วัฒนธรรมทั้งหนังตะลุงและมโนราหทุกสิ่งแฝงไปดวยความเปนเมืองพุทธแดนใต และยังมีวัดพระมหาธาตุวริหารเปนมรดกวัฒนธรรมทางประวัติศาตร 15


CHAPTER 2

16


CHAPTER 2

17


CHAPTER 2

มีคำกลาวที่วานครศรีธรรมราชเปนเมืองคนดุอาจ ดวยรูปลักษณคมคายสำเนียงสั้นหวนตัดคำน้ำเสียงไม หวานและเสียงดังฟงชัดเพราะสภาพภูมิศาสตรติดทะเล และภูเขาทำใหตองตะโกนคุยกันจึงจะไดยินแตหากใครได มาคลุกคลีหรือสัมผัสคนคอนจะพบความนุมนวลเอื้อเฟอ และใจกวางอยางนาประทับใจหันไปทางไหนก็จะพบแตผู นำที่มีความรูแตกฉานเมืองคอนเปนเมืองนักปราชญและ มีความหลากหลายในทุกดานแมจะไดชื่อวาเปนเมืองพระ แตสวรรคแดนใตแหงนี้ก็มีชาวเมืองที่นับถืออิสลาคริสต และศาสนาอื่นๆอยูรวมกันอยางสันติสุขเกื้อกูลบางพื้นที่ มีกลุมคนนานาชาติเขามาตั้งรกรากเพราะหลงเสนหเมือง แหงนี้จนฃกลายเปนชุมชนที่มีความหลากหลายทาง วัฒนธรรมธรรมชาติของเมืองคอนก็หลากหลายและอุดม สมบูรณทั้งสภาพอากาศที่ไดชื่อวาดีที่สุดในโลกและ ทรัพยากรครบถวนทั้งผืนปาเทือกเขาเรือกสวนไรนาและ ทองทะเลจึงยังรักษาทรัพยากรธรรมชาติไวไดอยางดี แตในขณะเดียวกันคนที่นี้ยังก็ใจกวางโอบรับนักเดินทาง ตางถิ่นไวดวยมิตรไมตรีคงเพราะความสมดุลนี้เองทำให ดินแดนแหงนี้ยังมีปาดึกดำบรรพที่เต็มไปดวยความหลาก หลายทางชีวภาพมีภูมิปญญาในการทำสวนผลไมแบบ ผสมผสานที่โดงดังไปทั่วและมีความสรางสรรคใน แบบไมเหมือนใคร

18


CHAPTER 2

K H AO

18

LU A N G

AL N AT ION

PAR

K


CHAPTER 2

เขาหลวงนครศรธีรรมราชคอ ื เทอ ื กเขาสงูชน ั ทต ี งัขวางกงึกลางแผน  ดน ิ ภาคใตท  ำใหไดรบ ั มรสม ุ ทงัจากอาวไทยและ ทะเลอน ั ดามน ั กอ  เกด ิ เปน  ปาดงดบ ิ ชน ื อน ั อด ุ มสมบรูณไปดวยสงิมชีวีต ิ เฉพาะกลวยไมบ  นเขาหลวงมม ี ากกวาสามรอ  ย สายพน ั ธส ุ ต ั วป  าอก ี หลายรอ  ยชนด ิ และยงัเปน  แหลงตน  นำของสายธารหลายสบ ิ สายดวยความความสงูชน ั ทส ี ด ุ ใน ภาคใตธรรมชาตท ิ ย ี งัสมบรูณและผน ื ปาดก ึ ดำบรรพห  นาทบ ึ ทำใหเขาหลวงเปน  หนงึในจด ุ หมายทเีหลานก ั เดน ิ ปาอยากมาพชิต ิ

19


CHAPTER 2

PHROM LOK

20


CHAPTER 2

ACCESSIB ILITIES

21


CHAPTER 2 RESEARCH

METHODOLOGY

LO CAT I ON

CHAPTER2

A CCESS

way to city 40 kilomaters. Road number 4016. River Location way to location 1 kilomater wat to airport 14 kolomaters.

22


CHAPTER 2 RESEARCH

METHODOLOGY

CHAPTER2

P T T S TAT I O N

LOCAL MARKET

H O S P I TA L LOCAL TEMPLE

DISTRICT

OFFICE

23


เขอ ื นเลน  นำ จด ุ ลอยหว  งยาง หางจาก ทพ ี ก ั แค 300 เมตร

ทำผามด ั ยอ  มหากจาก ตว ั ทพ ี ก ั เพย ี งแค1  0เมตร

ฟารม  เหด ็ และสวนผลไม สวนสมรม อยห ู างจาก ทพ ี ก ั 50เมตร

17


รานนำชาพน ื บานของภาคใต หางจากทพ ี ก ั แค8  00เมตร

รานอาหารพน ื บาน ทม ี ช ี อ ื เสย ี งหางจากทพ ี ก ั 14 กโิลเมตร

คาเฟ ยง ั ทำฟารม  หางจาก ทพ ี ก ั 14กโิลเมตร

18


LOCAL RES E ARCH

INTERVIEW Lo calist intervi e w bussi ness own e r

ACTIVITIES PROGRAM Hiking Waterfall Natural tie dye clothe Volunteer etc.

26


/ IDENTITY

PROBLEMS Communication Transportation No tourist center Rest

27


CHAPTER 2 LOCALIST INTERVIEW

คนนำทางรน ุ บก ุ เบก ิ ผเูดน ิ ทางขน ึ เขาหลวง หลง ั คาแดนใตม  ากวา 30 ป “ บานมนษ ุ ยชาตริก ั เขาหลวง ”

28


CHAPTER 2

เขาหลวงนครศรธ ี รรมราชคอ ื เทอ ื กเขาสง ู ชน ั ทต ี ง ั ขวางกง ึ กลางแผน  ดน ิ ภาคใตท  ำใหไดรบ ั มรสม ุ ทง ั จากอาวไทยและทะเลอน ั ดามน ั กอ  เกด ิ เปน  ปาดงดบ ิ ชน ื อน ั อด ุ มสมบรูณไปดว  ยสง ิ มช ี ว ี ต ิ เฉพาะกลว  ยไมบ  นเขา หลวงมม  ตน  นำของสายธารหลายสบ ิ สายดว  ย ี ากกวาสามรอ  ยสายพน ั ธส ุ ต ั วป  าอก ี หลายรอ  ยชนด ิ และยง ั เปน  แหลง ความความสง  นาทบ ึ ทำใหเขาหลวงเปน  หนง ึ ในจด ุ ู ชน ั ทส ี ด ุ ในภาคใตธ  รรมชาตท ิ ย ี ง ั สมบรูณและผน ื ปาดก ึ ดำบรรพห ั เดน ิ ปาอยากมาพช ิ ต ิ หมายทเีหลานก

29


CHAPTER 2 LOCALIST INTERVIEW

ยง ั ทำฟารม  nity

n

r

desig

BUSINESS OWNER HIKER FARMER LOCALIST

udy f o

สวนสมรมเปน  ภาษาใตแปลวาสวนทป ี ลก ู พช ื หลายชนด ิ ในพน ื ทเีดย ี วโดยพช ื ทง ั หมดจะเตบ ิ โตอยาง พง ึ พาเกอ ื หนน ุ กน ั และกน ั อบ ุ ญ ุ -สภ ุ าวดี สว ุ รรณ ฤทธบ ิ อกวาตง ั แตจ  ำความไดเธอกเ็ตบ ิ โตขน ึ มา ทามกลางสวนสมรมทม ี พ ี ช ื ผก ั ผลไมผ  ลด ั กน ั ออกผลใหเกบ ็ กน ิ ตลอดทง ั ปค  าเฟและราน อาหารเลก ็ ๆในยง ั ทำฟารม  ถอ ื กำเนด ิ ขน ึ ดว  ยแรงกาย แรงใจของอบ ุ ญ ุ และอาสาสมค ั รจากทว ั โลกที เธอเปด  บานตอ  นรบ ั ใหม  าชว  ยกน ั กอ  รางสรางจน สำเรจ ็ สมย ั อยก ู รง ุ เทพฯอบ ุ ญ ุ เคยทำงานอยท ู ี มล ู นธ ิ เิกษตรกรรมยง ั ยน ื ทำใหเธออน ิ เรอ ื งแนวคด ิ ใน การอยก ู บ ั ธรรมชาตป ิ ระกอบกบ ั ความรก ั ในการ ทำอาหารเมอ ื กลบ ั บานมาอยส ู วนสมรมอก ี ครง ั มี วต ั ถด ุ บ ิ มากมายอยใูกลม  อ ื เธอจง ึ เรม ิ แปรรป ู วต ั ถุดบ ิ ธรรมชาตเิปน  อาหารจานอรอ  ยโดยไมใชส  าร เคมเีดย ี วนค ี นไมค  อ  ยรจ ู ก ั ขาวพน ั ธอ ุ น ื ๆนอกทอ  ง ตลาด อยางขาวหว ั บอน ทม ี ก ี ลน ิ เผอ ื กผสมอยู ไป จนถง ึ ขาวทอ  งถน ิ อก ี หลายๆพน ั ธข ุ อง นครศรธ ี รรมราช อยางขาวไร ขาวลก ู ลาย ขาวชอ  หลม ุ พี เธอจง ึ นำมาประยก ุ ตเปน  แปง  พซ ิ ซาทก ี น ิ งาย และถก ู ปากคนรน ุ ใหมอ  บดว  ยเตาทป ี น  เองและหยบ ิ จ ั บ ั รอบขนำ(เรอ ื นไมห  รอ ื กระทอ  ม) มาทำเปน  ซอส ผก ทก ุ สด ุ สป ั ดาหต  น  เดอ ื นทน ี จ ี ด ั ตลาดนด ั ชอ ื ‘ ยง ั หลาด’ ยง ั แปลวายง ั มี หลาดแปลวาตลาด เพอ ื ใหค  นในชม ุ ชนไดม  าขายผลผลต ิ พน ื บานและใหเพอ ื นๆ ทต ี ง ั ใจทำในสง ิ เดย ี วกน ั ไดม  าออกรานขายของรวม ถง ึ แลกเปลย ี นแบง  ปน  ความรใูนการทำเกษตรกรรม และงานสรางสรรคต  างๆไมว  าจะเปน  เลน  ดนตรไีปจน ถง ึ เวริก  ชอ ็ ปทำขนมเปน  ตลาดนด ั ทต ี ง ั ใจรก ั ษา ภม ู ป ิ ญ  ญาและสง ิ แวดลอ  มในบรรยากาศรม  รน ื ของ สวนสมรมแบบชาวใตแทๆ 

30

mu

co

m

st

หญง ิ สาวผก ู ลบ ั บานมาเปด  รานพซ ิ ซาแปง  ขาว และทำตลาดนด ั รก ั ษาสง ิ แวดลอ  มในสวนสมรม


CHAPTER 2

P HO RM L OK

A ct i vi t i es P ro g ram.

31


CHAPTER 2

T

A

R

G

E

T

G

R

O

32

U

P.


CHAPTER 2

ECO

TOURISM

of vacations and visits to places of interest. not harming the environment; eco-friendly. the commercial organization and operation การทองเที่ยวรูปแบบหนึ่งที่เกี่ยวของกับการเดินทางไป ยังแหลงธรรมชาติและแหลงวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณมี การอนุรักษสภาพแวดลอมโดยมีการควบคุมผลกระทบ และสรางบรรยากาศของการศึกษาเรียนรูธรรมชาติ แวดลอมพรอมใหชุมชนทองถิ่นเขามามีสวนรวมและไดรับ ประโยชนเพื่อเพิ่มพูนคุณภาพชีวิตแหลงธรรมชาติรวมทั้ง แหลงวัฒนธรรมอยางมีความรับผิดชอบโดยไมกอใหเกิด การรบกวนหรือทำความเสียหายแกทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมและมีวัถตุประสงคอยางมุงมั่นเพื่อชื่นชม ศึกษาเรียนรูและเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพพืชพรรณและ สัตวปาตลอดจนลักษณะทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในแหลง ธรรมชาตินั้นอีกทั้งชวยสรางโอกาสทางเศรษฐกิจที่สงผล ใหการอนุรักษปกปกรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดลอมใหเกิดประโยชนตอชุมชนทองถิ่นดวยแนวคิดพื้น ฐานของการทองเที่ยวเชิงนิเวศ

33


CHAPTER 2

WHO ?

RESEARCH ME

ECO

TOURISM

34

not harming the environment; eco-friendly. the commercial organization and operation of vacations and visits to places of interest.

A style environmen intended to


CHAPTER 2

ETHODOLOGY

TA R G E T G R O U P

of travel in which an emphasis is placed on unspoiled,natural destination and on disturbing the t as little as possible.tourism directed toward exotic, often threatened, natural environments, support conservation efforts and observe wildlife.

35


CHAPTER 2

TARGET BEHAVIOR

CONSERVATION การนำเสนอโซลูชั่นระยะยาวที่เชื่อมโยงกับ ตลาดการทองเที่ยวเชิงนิเวศใหแรงจูงใจทาง เศรษฐกิจมีประสิทธิภาพสำหรับการอนุรักษ และเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพทาง วัฒนธรรมและปกปองมรดกทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมของโลกที่สวยงามของเรา

36

COMMUNITIES การเพิ่มขีดความสามารถในการสรางศักย ภาพและโอกาสการจางงานในทองถิ่นการ ทองเที่ยวเชิงนิเวศเปนเครื่องมือที่มีประสิทธิ ภาพในการเสริมสรางศักยภาพใหกับชุมชน ทองถิ่นทั่วโลกในการตอสูกับความยากจน และเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

INTERPRETATION ดวยการเนนที่การเสริมสรางประสบการณ สวนตัวและความตระหนักดานสิ่งแวดลอม ผานการตีความการทองเที่ยวเชิงนิเวศสง เสริมความเขาใจและความซาบซึ้งในธรรมชาติ สังคมทองถิ่นและวัฒนธรรมมากขึ้น


CHAPTER 2

THE

N I DEF

ON I T I

ปจจุบันการทองเที่ยวเชิงนิเวศถูกกำหนดใหเปน “ การเดินทางไปยังพื้นที่ธรรมชาติอยางรับผิดชอบ ที่อนุรักษสิ่งแวดลอมค้ำจุนความเปนอยูของคนใน ทองถิ่นและเกี่ยวของกับการตีความและการศึกษา”

37


PRINC

IP

ล ด ผ ล ก ร ะ ท บท า พ ฤ ต ิ ก ร ร ม แ ละ ง ร  า ม ค จิต งก สัง ใจ าย ให นอ ยท

LE

S

OF

ECO

-T

RISM U O

ี่สุด

สรางจิตสำน

ตอสิ่งแวด

มอ

บ ระส

ที่ด ารณ

ีใหกับผูเยี่ยมชมและเจาของท

ึกแล

ลอม

ะคว

และ

าม

วัฒ

เค

นธ

ารพ

รรม

ี่พัก

ใหผลประโ

โด

ยต ุรั

รง

อน

น

เพื่อการ

ยช

ทา

การเงิน

ษ

38


บก า ร ณ  ก า ร ต ี ค

วามท ึ่ง ี่นา จ ด จ ำ ซ คว า ม อ  อ น ไ ห ว ม ่ ิ ตอ ส พ ภา พ อ า ก า ศ ยเ อมของ เ จ  าขอ ล ด ง ป ระเท ศ แว

บป

แช

ว

มอ

ร ะส

M

สิ่

E

อ อ ก แ บบส ช ง ร ส ิ ่ ง อ ำ นวย  า ง แ ล ะ ใ า น ค ว า ม ส ะ ดวก ผ ี ม ่ ล ี ท กร ะ ท บ ต่ำ

างจ ิ ตว ิ ญญา อท ณ ช เ ม ธ า ิ แ ว ล ค ะ ท ิ ส บ งค ุ ณ รั ม อ อ ของคน ใ น ช ุ ม ช น

ื่

OF

OURIS

ES

P

N I R

PL I C

-T CO

39


กร อ บ ค ิ ด ใ นการจ ั ด ทำ H o me St a y - การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - การพัฒนาสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ สังคม และจิตวิญาณใหสมดุลกัน - ชุมชนเปนเจาของกิจการเอง - รายไดจากโฮมสเตยและการทองเที่ยวเปนเพียงรายไดเสริม มิใชรายไดหลักของชุมชน - การมีสวนรวมของชุมชนเปนประเด็นหลักในการบริหาร จัดการโฮมสเตย - ชุมชนตองมีความเขมแข็ง มีความรูเทาทันสิ่งที่นำไปสูความเปลี่ยนแปลงและ เขาใจวัตถุประสงคของสิ่งที่ตนกำลังดำเนินการ - ผูประกอบการรายเดียวและไมทำในนามกลุมไมเขาขายที่จะขอรบมาตรฐานโฮมสเตยไทย เพราะจัดอยูในการดำเนินการคลายรีสอรท หรือ เกสตเฮาส ั - ทุกฝายตั้งแตรัฐบาล ชุมชน ไปจนถึงผูประกอบการจะตองเขาใจโฮมสเตยไปในทิศทางเดียวกัน - ไมใชทุกหมูบานจะตองมีโฮมสเตย ตองคำนึงถึงความพรอม ความรู ความเขาใจของชุมชนเปนสำคัญ - เนนจุดขายอยูที่วิถีชีวิตดั่งเดิมของชุมชน ภูมิปญญาทองถน ที่นาสนใจ - มีการทองเที่ยวเชิงนิเวศ(ธรรมชาติ + วัฒนธรรม)

40


กรอบดัชนีชี้วัดคุณภาพมาตรฐานการจัดการ Home Stay ACCOMMODATIONS ลักษณะบานที่เปนสัดสวน ที่พักสะอาดและสบาย มีหองน้ำและหองสวมมิดชิด มีมุมพักผอนภายในบานหรือชุมชน

FOOD AND BEVERAGE

TRIP มีรายการนำเที่ยวที่ชัดเจนสำหรับนักทองเที่ยวซึ่ง ตองผานการยอมรับจากชุมชน CALTURAL ชุมชนมีแหลงทองเที่ยวภายในชุมชนหรือใกลเคียง

ชนิดของอาหารและวัตถุดิบที่ใชระกอบอาหาร น้ำดิ่มสะอาด มีหองครัวและอุปกรณสะอาด

NATURAL RESOUSRCES AND ENVIRONMENT การดำรงไวซึ่งวัฒนธรรมทองถิ่น

FRIENDLY

VALUE CREATION AND VALUE OF THE PRODUCT

การตอนรับและสรางความคุนเคย การสรางกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูในวิถีชีวิตในชุมชน

ผลิตภัณฑจากชุมชนเพื่อเปนของที่ระลึก

SECURITY

กฏ กติกา การทำงานของคณะกรรมการ ระเบียบบานพักเมืองอนโฮมสเตย

การเตรียมความพรอมเกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องตน มีการจัดระบบดูแลความปลอดภัย

MANAGEMENT OF THE HOMESTAY GROUP

PUB LIC R ELA TIONS

41


C HAP T E R 3

42


CHAPTER2 THEORY AND DESIGN CONCEPT.

43


CHAPTER 3

44


CHAPTER 3

45


CHAPTER 3

PROGRAMMING

Y E WO K HIKING CULTURE HOMEMADE SLOW LIFE ECO-TOUR CULTURE - TOUR

46

S

WATERFALL

R

D

NATURE

RESEARCH ME


ETHODOLOGY

CHAPTER 3

KEYWORDS

47


CHAPTER 3

C O N C E P TA U L

48


CHAPTER 3

PHROM LOK

49


CHAPTER 3

AB

SU

OU T

TH

FE MA

E

เขาหลวงนครศรีธรรมราช คือ เทือกเขาสูงชันที่ ตั้งขวางกึ่งกลางแผนดินภาคใตทำใหไดรับมรสุม จากทางอาวไทยและทะเลอันดามัน กอเกิดเปนา ดงดิบชื้นที่สมบูรณไปดวยสิ่งมีชีวิตเฉพาะกลวยไม บนเขาหลวงมีมากกวาสามรอยสายพันธสัตวปา อีกหลายรอยชนิด และยังเปนแหลงตนน้ำของสาย ธารหลายสิบสายดวยความสูงชันที่สุดในภาคใต ธรรมชาติที่ยังสมบูรณและผืนปาดึกดำบรรพหนา ทึบทำใหเขาหลวงเปนหนึ่งในจุดหมายที่เหลานักเดิน ปามาพิชิต

50

W

EA


ลม ม ร ส ุ ม ต

รา

คม

-ม ก

ว ัน

ออ

เฉ ี ย ง เ ห น ื อ

พฤษจ ิ ก า ย

ตุล

าค

ตก

เฉ

SEASON S

รส ุ ม ต ะ ว ั น

พฤ ษ ภ า ค ม -

งใต อก

ันอ

กว

ลม ม ร ส ุ ม ต

าค

-ม ก

พฤ ษ ภ า ค ม

เฉ ี ย ง เ ห น ื อ

พฤษจ ิ ก า ย

ั สุ ม มม ร ต ะ ว

กเ

ฉ ีย

าค

HER

มม

นต

AT

JUNE JANUARY

-ต ุล

AY

ย ี งใ ต 

EBUARY

G

E

R

AINN

IN

UMM

R

CHAPTER 3

51


52


53


CHAPTER

N4 O

54


Project Design

Programming. Lay-out. Zonning. Perspective. Branding/ Corperate Identity 55


CHAPTER 4

SHARED

56

HOUSE


CHAPTER 4

01

57


CHAPTER 4

Share house 1st floor layout plan

58


CHAPTER 4

Share house 2nd floor layout plan

59


CHAPTER 4

60


CHAPTER 4

Share house Perspective

61


CHAPTER 4

#Livingspace.

62


CHAPTER 4

63


CHAPTER 4

#Livingspace.

64


CHAPTER 4

65


CHAPTER 4

#Livingspace.

66


CHAPTER 4

67


CHAPTER 4

#StandartBedroom

68


CHAPTER 4

69


CHAPTER 4

#Kitchen

70


CHAPTER 4

72


CHAPTER 4

#Kitchen

72


CHAPTER 4

73


CHAPTER 4

#SingleBedroom

74


CHAPTER 4

75


CHAPTER 4

#SingleBedroom

76


CHAPTER 4

77


CHAPTER 4

#Kitchen

78


CHAPTER 4

79


CHAPTER 4

BEDROOM

HOST’S BEDROOM

KITCHEN

PANTRY

SINGLE BEDROOM

TWIN BEDROOM

SERVICE OPTION

Host will prepare 3 meal for guest 350 THB. / person 300 THB. / person **(no meal)

Can accept to 8 guest maximum.

80

DINNING

FLEXIBLE SPACE

LIVING SPACE


CHAPTER 4

81


CHAPTER 4

jumpion house 1st floor layout plan

82


CHAPTER 4

jumpion house 2nd floor layout plan

83


CHAPTER 4

84


CHAPTER 4

85


CHAPTER 4

86


CHAPTER 4

87


CHAPTER 4

88


CHAPTER 4

89


CHAPTER 4

90


CHAPTER 4

91


CHAPTER 4

92


CHAPTER 4

93


CHAPTER 4

94


CHAPTER 4

95


CHAPTER 4

96


CHAPTER 4

97


CHAPTER 4

98


CHAPTER 4

99


CHAPTER 4

MULTI PURPOSE SPACE

READING GAMING MEETING LELAXING

100


CHAPTER 4

101


CHAPTER 4

102


CHAPTER 4

103


CHAPTER 4

104


CHAPTER 4

105


CHAPTER 4

106


CHAPTER 4

107


CHAPTER 4

Southern food Work Shop

114


CHAPTER 4

furniture layout plan

11 5


CHAPTER 4

116


CHAPTER 4

11 7


CHAPTER 4

118


CHAPTER 4

11 9


CHAPTER 4

SINGLE HOUSE IN THE WOOD *PRIVACY SPACE AND PET FRIENDLY

FOR COUPLE OR LONG STAY GUEST

120


CHAPTER 4

SINGLE HOUSE IN THE WOOD PLAN

121


CHAPTER 4

122


CHAPTER 4

123


CHAPTER 4

124


CHAPTER 4

125


CHAPTER 4

126


CHAPTER 4

127


CHAPTER 4

128


CHAPTER 4

129


CHAPTER 4

Private house (with host)

130


CHAPTER 4

Private house (with host) layout plan

131


CHAPTER 4

132


CHAPTER 4

133


CHAPTER 4

134


CHAPTER 4

135


CHAPTER 4

136


CHAPTER 4

137


CHAPTER 4

Local restaurant (Day) Local Bar (Night)

138


CHAPTER 4

Restaurant layout plan

139


CHAPTER 4

140


CHAPTER 4

141


CHAPTER 4

142


CHAPTER 4

143


CHAPTER 4

144


CHAPTER 4

145


CHAPTER 4

146


CHAPTER 4

147


CHAPTER 4

148


CHAPTER 4

149


CHAPTER 4

150


CHAPTER 4

BRANDING / CORPERATR IDENTITY

151


CHAPTER 4

152


CHAPTER 4

153


CHAPTER 4

154


CHAPTER 4

155


CHAPTER 4

156


CHAPTER 4

157


158


CHAPTER 5 SUMMARY

159


CHAPTER 5

PROJECT SUMMARY

โครงการศึกษาวิถีชีวิตชุมชนพรหมโลกเพื่อการออกแบบภายใน ถูกคนควาขอมูลตามความเห็นของคณะกรรมการและอาจารยที่ปรึก ษา ผลตอบรับกลับมาในทางที่ดี แตในบางสวนของโครงการยังมีขอ ผิดพลาดอยูมาก เชน ยังดึงเอาความเปนชุมชนมาใสในงานไมมาก พอ ยังมีความโมเดิรนอยูมากในบางสวน และการเลือกเฟอรนิเจอร ที่ไมเหมาะกับคอนเซป

160


CHAPTER 5

ขอเสนอแนะ

161


CHAPTER 5

162


CHAPTER 5

RESEARCH / REFERANCE

163


CHAPTER 5

WEBSITE.

http://www.nakhonsithammarat.go.th/ https://readthecloud.co/nakhon-si-th ammarat-travel-guide/ http://dspace.spu.ac.th/bitstream/ 123456789/5640/6/%E0%B8%9A%E 0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5 %E0%B9%88%203.pdf http://www.tnrr.in.th/?page=resul t_search&record_id=10162913

164


CHAPTER 5

CURRICULUMVITAVE

NAME

ATIYA SINGLO

BIRTH

30 AUGUST 1997

EDUCATION elementary school (grade 1- 6)

Watpramahatat School

middle school (grade 7-9)

Hua-Hin School (English Program) exchange student - la consolacion bulacan - Tzu Chi Senior High School)

high shcool

Wangklaikangwon School (german major)

university

Rangsit University College of design department of interior

ADDRESS

197/30 Condo Mueng-ek villa lak hok, pathumthani , pathumthani 12000. / 1334/319 ploen pluk sa villege, Wangpong, Pranburi, Prachuanb kirikhan 77120

CONTACT

061-8281221 Atiya.palmmy@gmail.com

165


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.