สาส์นอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มรดกภู มิ ปั ญ ญาของแผ่ น ดิ น ทั้ ง ที่ เ ป็ น ส่วนกลาง และส่วนท้องถิ่น ย่อมมีเอกลักษณ์เฉพาะที่ โดดเด่น และทั้ง หมดนี้ ได้มีผู้ที่ทางานเพื่อมรดกของ แผ่นดินนี้ ข้าพเจ้าขอแสดงความยินดีกับผู้ได้รับรางวัล คนดี ศ รี ร าชมงคล เชิ ด ชู ผู้ มี ผ ลงานดี เ ด่ น ทางด้ า น วัฒนธรรม ทุกท่าน ซึ่งผลงานเป็นที่ประจักษ์และเป็น คุณูปการแก่ชาติและแผ่นดิน ด้วยวัฒนธรรมนั้นเป็นสิ่ง ที่ บ่ ง บอกถึ ง ความเป็ น อารยะของชาติ การที่ ท่ า น ทั้งหลายได้ทานุบารุง อนุรักษ์ และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม เท่ากับว่าเป็นการรักษาชาติ เอาไว้ ไม่ว่าจะอยู่พื้นที่ใดในภาคเหนือ (ล้านนา) แต่ละพื้นที่ก็มีมรดกทางภูมิปัญญาที่ ทรงคุณค่าเป็นอย่างยิ่ง การที่ท่านทั้งหลายได้ช่วยกันสานต่อ สืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น เป็นสืบ ต่อลมหายใจของบรรพชนผู้รังสรรค์ผลงานให้ยืนยาวต่อชั่วลูกชั่วหลาน จากผลงานของท่านทั้งหลาย ที่ได้กระทาให้เป็นที่ประจักษ์ และเป็นคุณูปการ ต่างๆ ต่อแผ่นดิน ประเทศชาติ ข้าพเจ้าขอเป็นกาลัง ใจให้ทุกท่านสืบสานงานศิล ป์คู่กับ แผ่นดินล้านนา แผ่นดินไทยสืบต่อไป
(นายชัยยง เอื้อวิริยานุกูล) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
๑๑
สาส์นผู้อานวยการศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วั ฒ นธรรม คื อ สิ่ ง ที่ ดี ง าม ที่ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ และ กลั่นกรองมาจากบรรพชน ที่เห็นว่าสิ่ง นั้นเหมาะสมส าหรับ พวกเราทุกคน และได้สั่งสมภูมิปัญญามาทุกยุคทุกสมัย แม้ว่า ในสัง คมปัจ จุบันจะมีการไหลบ่าของวัฒนธรรมต่างชาติต่าง ภาษาเข้ามาอย่างต่อเนื่อง และคนไทยบางกลุ่มยอมที่จะละทิ้ง ความเป็นตัวตนของตนเอง โดยพยายามที่จะเป็นอื่นดังที่เห็นกันอยู่ทุกที่ แต่กระนั้นยังมีผู้ที่ได้ทางานเพื่อรักษาเอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของตนเองไว้ได้ อย่างเหนียวแน่น และถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานจนเป็นที่ประจักษ์ ตลอดถึ งผู้ที่สืบทอด เจตนารมย์ของบรรพชนที่ต้องการเห็นบ้านเมืองเจริญด้วยมรดกภูมิปัญญา อันงดงามของ ชาติ ทางศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ประจักษ์ใน ความรู้และความสามารถ จึงได้มอบรางวัลคนดีศรีราชมงคล (เชิดชูผู้มีผลงานดีเด่นทางด้าน วัฒนธรรม) แก่บุคคลเหล่านี้ กระผมขอแสดงความยินดีกับทุกท่านที่เข้ารับ รางวัลคนดีศรีราชมงคล (เชิดชูผู้มี ผลงานดีเด่ นทางด้านวั ฒนธรรม) ในครั้ง นี้ ที่ได้เ สียสละแรงกาย แรงใจ ความคิ ดและ สติปัญญา ในการสร้างสรรค์ผลงานให้เป็นที่ประจักษ์จนถึงทุกวันนี้ได้ และขอเป็นแรงใจใน การสานต่อให้ค งอยู่คู่แผ่นดินสืบต่อไป ขอให้ทุกท่านจงประสบแต่ความส าเร็จในทุกสิ่ง ที่ ตั้งใจ ด้วยคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่เคารพของแต่ละท่าน จงบันดาลให้ ทุกท่านมีความสุขตลอดไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ลิปิกร มาแก้ว) รักษาราชการแทน ผู้อานวยการศูนย์วัฒนธรรมศึกษา
๒
๒
คานา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา นอกจากจะจัดการเรียนการสอนด้าน วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ล้ ว ยั ง มี ภ าระงานด้ า นส่ ง เสริ ม และท านุ บ ารุ ง งาน ศิลปวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะศิลปวัฒนธรรมของภาคเหนืออันเป็นสิ่งที่มีเสน่ห์ดึงดูดใ ห้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและต่ า งประเทศได้ เ ข้ า มาเยื อ นภาคเหนื อ เป็ น สาเหตุ ต้ น ๆ ก่อให้เกิดรายได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่ท้องถิ่น เรื่องดังกล่าวข้างต้นเกิดขึ้นจากบุคคล หลายกลุ่ม โดยเฉพาะผู้ที่ทากิจกรรมเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมทุกสาขา เพื่อเป็นขวัญและกาลังใจในการทางานด้านศิลปวัฒนธรรม นักศึกษา บุคลากร ทางการศึกษา อาจารย์ และประชาชนทั่วไป ศูนย์วัฒนธรรมศึกษาจึงจัดงานเชิดชูเกียรติ ผู้ ที่มีผลงานดีเด่นทางด้านศิลปวัฒนธรรมขึ้น อันจะเป็นตัวอย่างที่ดีสืบไป
คณะผู้จัดทา
๓๓
สารบาญ
หน้า
สาส์นจากอธิการบดี ๑ สาส์นจากผู้อานวยการศูนย์วัฒนธรรมศึกษา ๒ คานา ๓ สารบาญ ๔ ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เรื่อง การคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ครั้งที่ ๓ ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๕๖ ๕ ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประเภทบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา หรือบุคคลทั่วไป ๑๑ นายสุพจน์ ใหม่กันทะ ๑๒ นายเดชา ก๋องทอง ๑๔ นางสาวขนิษฐา อะปาลา ๑๕ นางสาวแสงจันทร์ วงค์ขัดนนท์ ๑๖ นายญาณ สองเมืองแก่น ๑๗ นายอภิเดช กรรณิกา ๑๙ นายคุณากร สุปน ๒๑ นางสาวต้องฤทัย ทองงามขา ๒๓ ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประเภทนักศึกษา ๒๔ นายสุธีระ ฝั้นแก้ว ๒๕ นางสาววราภรณ์ ยาวิจิตร ๒๗ นายภูวดล มหาวรรณ์ ๒๘ นายพูนทรัพย์ แก้วกาแพง ๓๐ คณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัติผู้ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ๓๑ คณะกรรมการจัดทาเข็มและสูจิบัตร ๓๒
๔
๔
ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เรื่อง การคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ครั้งที่ ๓ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ --------------------------------------------------มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เห็นสมควรยกย่องผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นเกียรติและขวัญกาลังใจ สาหรับผู้ประกอบคุณงามความดีในการส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ พัฒนา และเผยแพร่งานศิลปวัฒนธรรม จึงขอเชิญหน่วยงานและบุคคลเสนอชื่อผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม เข้ารับการคัดเลือกผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประเภทของผู้ได้รับการคัดเลือก แบ่ง ๓ ประเภท ได้แก่ ๑. ประเภทบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ๒. ประเภทนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ๓. ประเภทบุคคลทั่วไป การจาแนกสาขาทางวัฒนธรรม จาแนกออกเป็น ๖ สาขา ดังนี้ ๑. สาขามนุษ ย์ศาสตร์และสั งคมศาสตร์ ได้แก่ บุคคลที่ เป็นแบบอย่า งและสร้างสรรค์งาน ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่า นิยม ขนบธรรมเนี ยมประเพณี ศาสนาและปรั ชญา กฎหมาย การปกครอง ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ภาษาศาสตร์ และวรรณศิลป์ ๒. สาขาศิลปะ ๒.๑ ศิลปะ(ทัศนศิล ป์) ได้แก่ บุ คคลที่ เป็ นแบบอย่า งและสร้า งสรรค์ผลงานทั ศนศิล ป์ ได้ แ ก่ จิ ตรกรรม ประติ ม ากรรม ภาพพิ ม พ์ ภาพถ่ า ย สื่ อ ประสม และการออกแบบ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ ศิลปวัฒนธรรมไทย ๒.๒ ศิลปะ(สถาปัตยกรรม) บุคคลที่เป็นแบบอย่างและสร้างสรรค์ผลงานด้าน สถาปัตยกรรมไทย เช่นการออกแบบอาคารทางสถาปัตยกรรมไทย เรือนไทยของภาคต่าง ๆ ๒.๓ ศิลปะ(การแสดง) บุคคลที่เป็นแบบอย่างและสร้างสรรค์ผลงานด้านการแสดง ซึ่งจะ เป็นได้ทั้งวิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ รวมทั้งศิลปะพื้นบ้าน แบ่งออกได้ดังนี้
๕๕
ก. การละคร รวมทั้งนาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่าเต้น ท่ารา การกากับการแสดงการ เขียนบทละคร ข. ดนตรี รวมถึงนักดนตรี คีตศิลป์ การประพันธ์เพลง และการอานวยเพลง ๒.๔ ศิลปะ (การช่างฝีมือ) บุคคลที่เป็นแบบอย่างและสร้างสรรค์ผลงานด้านช่าง ๑๐ หมู่ ได้แก่ ช่างเขียน ช่างปั้น ช่างแกะ ช่างสลัก ช่างหล่อ ช่างกลึง ช่างหุ่น ช่างรัก ช่างบุ ช่างปูน และด้าน ช่างฝีมือพื้นบ้าน เช่น ช่างแทงหยวก ช่างตีมีด ช่างจักสาน ช่างถักช่างทอ ช่างทาเครื่องมือเครื่องใช้ ช่างทา ตุ๊กตา ช่างทาของเล่น เป็นต้น ๓. สาขาคหกรรมศาสตร์ บุคคลที่เป็นแบบอย่างและสร้างสรรค์ผลงานภูมิปัญญา ด้านคหกรรมศาสตร์ เช่น ผ้าและเครื่องแต่ง กาย ศิลปะสัม พันธ์ อาหารและโภชนาการ พัฒ นาผลิ ตภัณ ฑ์อาหาร พัฒนาการ ครอบครัว การจัดบ้านเรือน นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ์ ๔. สาขากี ฬาและนันทนาการ บุ คคลที่เป็นแบบอย่า งและสร้างสรรค์ผ ลงานด้ านกีฬาและ นั นทนาการ เช่ น มวยไทย กระบี่ ก ระบอง ตะกร้ อ ว่ า วไทย หมากรุ ก ไทย สกา แข่ ง เรื อพาย สะบ้ า การละเล่นพื้นบ้าน และงานสะสมต่าง ๆ ซึ่งเป็นงานสร้างสรรค์ ๕. สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต บุคคลที่เป็นแบบอย่างและสร้างสรรค์ผลงานด้าน การพั ฒ นาการศึ กษา ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ให้ ดีขึ้ นและเป็ น ประโยชน์ต่อสังคม ๖. สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม บุคคลที่มีความคิดริเริ่ม ส่งเสริม สนับสนุนให้ เกิดกิจกรรม ทางศิลปวัฒนธรรมที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและสังคม คุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับคัดเลือกเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม ๑. คุณสมบัติส่วนบุคคล ๑.๑ มีสัญชาติไทยและมีชีวิตอยู่ถึงวันเสนอผลงาน ๑.๒ เป็นผู้ส่งเสริม อนุรักษ์ พัฒนา และเผยแพร่ ผลงานทางวัฒนธรรม ๑.๓ เป็นผู้มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรมไม่เคยมีประวัติเสียหาย ๑.๔ เป็นผู้ใช้ความรู้ความสามารถในสาขาของตน ให้บริการและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม อย่างต่อเนื่อง ๑.๕ เป็นผู้ได้รับการเสนอชื่อจากบุคคล, หน่วยงาน หรือสมัครด้วยตนเอง ๒. คุณสมบัติของผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม ๒.๑. ประเภทบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ๒.๑.๑ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๑) เป็นผู้สนใจศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับงานศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ โดยมีผลงานเผยแพร่มาอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี
๖
๖
๒) มีผลงานศึกษาค้นคว้า มีข้อมูลใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การศึกษาหรือต่อ ชุมชน ต่อสังคม ๓) มีผลงานหรือตัวอย่างผลงานเป็นที่ยอมรับของสาธารณชนทุกระดับ ๒.๑.๒ สาขาศิลปะ ๑) เป็นผู้สนใจในการศึกษาค้นคว้า หรือเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะมาอย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็ นผู้ ที่ ไ ด้ รับ เกี ย รติ ย ศเป็ นที่ ย อมรั บ ในวงการศิ ล ปะทั้ ง ภายในและ ภายนอกสถานศึกษาในระดับท้องถิ่น หรือระดับประเทศ หรือระดับต่างประเทศ ๓) เป็นผู้ มี ผลงานสร้ างสรรค์ ชิ้นส าคัญๆ เป็ นของตนเอง เป็ นที่ ยอมรั บและ ได้รับการยกย่อง ๒.๑.๓ สาขาคหกรรมศาสตร์ ๑) เป็ นผู้ ศึ ก ษาค้ นคว้ า สร้ า งสรรค์ ผ ลงานด้ า นคหกรรมศาสตร์ มี ผ ลงาน เผยแพร่มาอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นผู้สามารถดัดแปลง/ปรับปรุง งานให้ใช้ได้กับชีวิตประจาวัน ๓) มีผลการศึกษาค้นคว้ามีข้อมูลใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การศึกษา ๔) มีตัวอย่างผลการศึกษาค้นคว้า เป็นที่ยอมรับและได้รับการยกย่อง ๒.๑.๔ สาขากีฬาและนันทนาการ ๑) เป็นผู้สร้างสรรค์ เผยแพร่ ถ่ายทอดการละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยมาอย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นผู้ส ร้างสรรค์ เผยแพร่ ถ่ ายทอดความรู้ เรื่องการท่องเที่ ยวและทัศ น ศึกษา (หมายถึงบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม) ๓) เป็นผู้นาหรือผู้ริเริ่มด้านนันทนาการ เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน กี ฬาไทย และงานสะสมที่เกี่ยวกับงานศิลปวัฒนธรรม ๒.๑.๕ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ๑) เป็ นกิ จกรรมที่บุ ค คลนั้นมี ส่ว นพั ฒ นาการเรี ยนรู้ ในการแก้ ปัญ หาชี วิตใน ชุมชน หรือสังคม อย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรมอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์และก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๓) เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์ทางการค้า หรือประโยชน์ ส่วนตัว ๒.๑.๖ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ๑) เป็นผู้นาทางความคิดในกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้ เข้ากับเศรษฐกิจและสังคม ๒) เป็ นผู้ นาความรู้ ท างวั ฒ นธรรม จริ ยธรรม ศาสนาธรรม และประเพณี ดั้งเดิม มาประยุกต์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ๓) มีผลงานเป็นที่ยอมรับและได้รับการยกย่อง
๗๗
๒.๒ ประเภทนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ๒.๒.๑ เป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาทั้ง ๖ เขตพื้นที่ ๒.๒.๒ มีผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรมจาแนกตามสาขาที่มหาวิทยาลัยฯ กาหนดไว้ ทั้ง ๖ สาขา คือ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาศิลปะ สาขาคหกรรมศาสตร์ สาขากีฬาและ นันทนาการ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ๒.๒.๓ ได้รับการรับรองจากหัวหน้าสถานศึกษาและมหาวิทยาลัย แนวทางการคัดเลือก เป็นไปตามเอกสารที่แนบ ๒.๓ ประเภทบุคลทั่วไป ๒.๓.๑ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ๑) เป็นผู้สนใจศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับงานศิลปวัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ โดยมีผลงานเผยแพร่มาอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) มีผลงานศึกษาค้นคว้า มีข้อมูลใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การศึกษาหรือ ต่อชุมชน ต่อสังคม ๓) มีผลงานหรือตัวอย่างผลงานเป็นที่ยอมรับของสาธารณชนทุกระดับ ๒.๓.๒ สาขาศิลปะ ๑) เป็นผู้สนใจในการศึกษาค้นคว้า หรือเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะมาอย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นผู้ ที่ไ ด้ รับ เกี ยรติ ยศเป็ นที่ ยอมรับ ในวงการศิล ปะในระดับ ท้ องถิ่ น หรือระดับประเทศ หรือระดับต่างประเทศ ๓) เป็นผู้มีผลงานสร้างสรรค์ ชิ้นสาคัญๆ เป็นของตนเอง เป็ นที่ยอมรับและ ได้รับการยกย่อง ๒.๓.๓ สาขาคหกรรมศาสตร์ ๑) เป็ นผู้ ศึกษาค้ นคว้า สร้ างสรรค์ ผลงานด้า นคหกรรมศาสตร์ มี ผลงาน เผยแพร่มาอย่างต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นผู้สามารถดัดแปลง/ปรับปรุง งานให้ใช้ได้กับชีวิตประจาวัน ๓) มีผลการศึกษาค้นคว้ามีข้อมูลใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ ๔) มีตัวอย่างผลการศึกษาค้นคว้า เป็นที่ยอมรับและได้รับการยกย่อง
๘
๘
๒.๓.๔ สาขากีฬาและนันทนาการ ๑) เป็นผู้สร้างสรรค์ เผยแพร่ ถ่ายทอดการละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยมา อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นผู้สร้างสรรค์ เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ เรื่องการท่องเที่ยวและทัศ น ศึกษา (หมายถึงบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม) ๓) เป็นผู้นาหรือผู้ริเริ่มด้านนันทนาการ เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน กีฬา ไทย และงานสะสมที่เกี่ยวกับงานศิลปวัฒนธรรม ๒.๓.๕ สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ๑) เป็นกิจกรรมที่บุคคลนั้นมีส่วนพัฒนาการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาชีวิตใน ชุมชนหรือสังคมอย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรมอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า ๕ ปี ๒) เป็นกิจกรรมสร้างสรรค์และก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๓) เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยมิได้มุ่งหวังประโยชน์ทางการค้า หรือประโยชน์ ส่วนตัว ๒.๓.๖ สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ๑) เป็นผู้นาทางความคิดในกิจกรรมต่าง ๆ และสามารถนามาประยุกต์ใช้ให้ เข้ากับเศรษฐกิจและสังคม ๒) เป็นผู้นาความรู้ทางวัฒนธรรม จริยธรรม ศาสนาธรรม และประเพณี ดั้งเดิมมาประยุกต์ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ๓) มีผลงานเป็นที่ยอมรับและได้รับการยกย่อง การส่งผลงานเพื่อคัดเลือก ให้หน่วยงาน/บุคคลที่ประสงค์ส่งผลงานเข้าคัดเลือก ส่งรายชื่อและเอกสารประกอบเป็นรูปเล่ม ไปยังศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภายในวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๔ หรือ ขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทางโทรศัพท์ หมายเลข ๐๕๓-๙๒๑๔๔๔ ต่อ ๑๖๐๐-๑๖๐๑ หมายเหตุ : กลุ่มทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ขอสงวน สิทธิ์ในการส่งคืนผลงาน การพิจารณาคัดเลือกและประกาศผล ๑. มหาวิทยาลัยฯ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาขั้นต้น ๒. มหาวิทยาลัยฯ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกแต่ละสาขา ๒.๑ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก จานวน ๑-๒ ท่าน ๒.๒ คณะกรรมการภายใน จานวน ๓-๕ ท่าน รวมเป็น ๓ – ๗ ท่าน (ขึ้นอยู่กับจานวนผลงานที่ส่งเข้ารับการคัดเลือกแต่ละสาขา)
๙๙
๓. คณะกรรมการดาเนินงานรับทราบผลการตั ดสินและนาเสนอมหาวิท ยาลัยฯ เพื่ อจัดท า ประกาศต่อไป ๔. ประกาศผลการคัดเลือก ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และวิธีการให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยฯ กาหนด และให้ถือว่าการพิจารณาและประกาศผลของมหาวิทยาลัยฯ เป็นที่สิ้นสุด รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ ๑. เข็มเชิดชูเกียรติ ๒. ใบประกาศเกียรติคุณ ๓. นาประวัติและผลงานตีพิมพ์ในหนังสือเพื่อเป็นการประกาศเกียรติคุณ และเผยแพร่ให้แก่ หน่วยงานต่าง ๆ ๔. ได้รับการจารึกในทาเนียบผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยฯ ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ เดือน ธันวาคม ๒๕๕๕
(นายชัยยง เอื้อวิริยานุกูล) อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
๑๐
๑๐
ประเภทบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา หรือประชาชนทั่วไป
๑๑๑๑
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นายสุพจน์ ใหม่กันทะ อายุ ๓๔ ปี เกิดวันที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ภูมิลาเนา จังหวัดลาปาง ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๓๓ หมู่ที่ ๖ ตาบลเสริมซ้าย อาเภอเสริมงาม จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ ๕๒๒๑๐ โทรศัพท์ ๐๘๑-๐๒๑๕๑๐๕ ผลงานที่ปรากฏ ๑. เป็นวิทยากรอบรมศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนา หลักสูตร ฟ้ อ นนกกิ ง กะหร่ า ระหว่ า งวั นที่ ๖ – ๑๔ มี น าคม ๒๕๕๓ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ๒. เป็นวิทยาการการฝึกอบรมศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนา หลักสูตรฟ้อนวี ฟ้อนผาง ฟ้อนสาว ไหม ระหว่างวันที่ ๗ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ๓. เป็นวิทยาการฝึกอบรมศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านล้านนา หลักสูตร นาฏศิลป์ล้านนา ระหว่างวันที่ ๑๗ – ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ๔. ได้ เข้า ร่ วมกิจกรรมพิ ธีสั ก การะกู เจ้า หลวงเมื องเชี ยงใหม่ ปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔ ในโครงการ อนุรักษ์ส่งเสริมศิลปะการแสดงแบบล้านนา ๕. ได้ผ่านการฝึกอบรมงานใบตอง งานกระดาษ งานจัดโต๊ะอาหาร การประดิษฐ์ดอกไม้ไหว การ แกะสลักผักผลไม้ การจักสาน การตอกลาย ของสถาบันภาษา ศิลปะ และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่
๑๒
๑๒
รางวัลหรือเกียรติคุณที่ได้รบั ๑. ใบเกียรติ บั ต รการผ่ า นการฝึ ก อบรมศิ ล ปวั ฒ นธรรมพื้ นบ้ า นล้ า นนา มหาวิ ท ยาลั ยราชภั ฏ เชียงใหม่ และวิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ ๒. รางวั ล การแต่ ง กายพื้ นเมื อง งานสงกรานต์ รางวั ล ชนะเลิ ศ ประจ าปี พ.ศ.๒๕๕๒ จั ง หวั ด เชียงใหม่ ๓. รางวัลผู้แต่งการชุดพื้นเมือง ในหัวข้อ แต่งหย้องครัวเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ๔. รางวัลพิไลพิลาศล้านนา การแต่งกายชุดพื้นเมืองดีเด่น ประจาปี พ.ศ.๒๕๔๘ ๕. รางวั ล ชนะเลิ ศ การประกวดเครื่ อ งประดั บ ส าหรั บ สุ ภาพสตรี กรมส่ ง เสริ ม อุ ตสาหกรรม ภาคที่ ๑ ทุ่งโฮเตล จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ.๒๕๔๗
๑๓๑๓
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นายเดชาชัย ก๋องทอง อายุ ๓๕ ปี เกิดวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ภูมิลาเนา จังหวัดเชียงราย ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๓๓๔ หมู่ที่ ๖ ตาบลทรายขาว อาเภอพาน จังหวัดเชียงราย รหัสไปรษณีย์ ๕๗๒๕๐ โทรศัพท์ ๐๘๘-๒๕๒๓๕๗๔ อาชีพและหน้าที่ปัจจุบัน อาจารย์ประจามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ผลงานที่ปรากฏ ๑. โครงการวิจัย การศึกษารูปแบบอาหารพื้นถิ่น จังหวัดเชียงราย (สถาปัตยกรรมล้านนา) ๒๕๕๐ ๒. โครงการวิจัย แผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรั กษ์ในเขตอาเภอ เมืองเชียงราย (แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม) ๒๕๕๒ ๓. ดาเนินโครงการด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมภายใต้ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา เชียงราย
๑๔
๑๔
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นางสาวขนิษฐา อะปาลา อายุ ๒๗ ปี เกิดวันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ภูมิลาเนา จังหวัดพะเยา ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๐ ตาบลศรีก้อย อาเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา รหัสไปรษณีย์ ๕๖๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๙๐-๙๘๐๙๕๓๔ โทรสาร ๐๕๓-๗๒๓๙๘๐ อาชีพและหน้าที่ปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ศูนย์วัฒนธรรม เชียงราย ผลงานที่ปรากฏ ๑. ดาเนินการด้านการจัดทาโครงการ ด้านศิลปวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ ๒. ดาเนินงานโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ใต้ร่มพระบารมีระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ ๓. ดาเนินงานด้านการวิจัย ด้านการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ปี พ.ศ.๒๕๕๕
๑๕๑๕
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นางสาวแสงจันทร์ วงค์ขัดนนท์ อายุ ๓๓ ปี เกิดวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๒ ภูมิลาเนา จังหวัดลาปาง ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๐๐ หมู่ที่ ๑๗ ถนน ลาปาง-งาว ตาบลพิชัย อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ ๕๒๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๒-๑๘๐๑๔๖๖ โทรสาร ๐๕๔-๓๔๒๕๔๙ อาชีพและหน้าที่ปัจจุบัน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารงานทั่วไปศูนย์วัฒนธรรม ลาปาง ผลงานที่ปรากฏ ๑. งานประกันคุณภาพการศึกษาองค์ประกอบที่ ๖ สมศ.ที่ ๑๐-๑๑ อยู่ในระดับดี-ดีมาก ๒. ได้รับรางวัลชนะที่ ๓ การประกวดสะเปารถใหญ่งานประเพณีล่องสะเปาจาวเวียงละกอน ในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ ๓. ได้รับรางวัลชมเชย การประกวดขบวนงานเทศน์มหาชาติเมื่อวันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๔. ได้ รับ รางวัล ชนะเลิศอั นดั บที่ ๑ การประกวดขบวนแห่ง านเทศน์ม หาชาติ วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ ๕. การประกวดสะเปารถใหญ่งานประเพณีล่องสะเปาจาวเวียงละกอนชนะที่ ๓ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔
ได้รับรางวัลชนะที่ ๑ การประกวดขบวนงานเทศน์มหาชาติ วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๕
๑๖
๑๖
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นายญาณ สองเมืองแก่น อายุ ๔๗ ปี เกิดวันที่ ๒๓ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๘ ภูมิลาเนา จังหวัดน่าน ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๘๔ หมู่ที่ ๔ ถนนเจ้าฟ้า ตาบลกลาง เวียง อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รหัสไปรษณีย์ ๕๕๑๑๐ โทรศัพท์ ๐๕๔-๗๘๑๑๐๕ ผลงานที่ปรากฏ ๑. เรียบเรียง รวบรวมข้อมูลและเรื่องราวต่าง ๆ ให้หนังสืออนุสรณ์งานบุญประเพณีงานศพ ให้กับเจ้าภาพซึ่งมีความประสงค์แจกเป็นของที่ระลึกงานต่างๆ อีกเป็นจานวนมาก ฯลฯ ๒. กรรมการสภาวัฒนธรรม ฝ่ายวิชาการ จนถึงปัจจุบัน ๓. อนุคณะกรรมการวัฒนธรรมจังหวัดน่าน ๔. อดีตผู้ใหญ่บ้านบ้านบุญยืน หมู่ที่ ๔ ตาบลกลางเวียง อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ๕. ปัจจุบันที่ปรึกษานายกเทศมนตรีเมืองน่าน ๖. เป็นผู้จัดทากลองบูชาให้กับวัดต่างๆ และคณะผู้ที่สนใจไม่น้อยกว่า ๓๐ คณะ ๗. เป็นผู้จัดสร้างทาบุษบกให้กับวัดต่างๆ ในจังหวัดน่าน ๘. ซ่อมสร้างธรรมมาสน์เอกให้กับวัดต่างๆ ๙. ถ่ายทอดสืบทอดการตีกลองบูชาให้กับเยาวชนกลุ่มต่างๆ และโรงเรียนสถานศึกษาที่สนใจ ๑๐. ถ่ายทอดการฟ้อนหางนกยูง ฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง ให้กับเยาวชนและผู้ที่สนใจ ๑๑. เป็นผู้แกะสลักหัวเรือแข่ง หางเรือแข่ง และเรือแข่งจาลอง ๑๒. เป็นวิทยากรสอนและทาตุงและโคมเมืองน่าน ให้กับนักเรียนและประชาชนทั่วไป ๑๓. เป็นผู้จัดทาหัวตุงไม้แกะสลักใช้ในงานพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระ เจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงสงขลานครินทร์ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง โดยจังหวัดน่าน เป็นผู้จัดตุงไปถวายในการนี้ ๑๔. เป็นผู้ประกอบพิธีการวางศิลาฤกษ์และอนุสาวรีย์สาคัญ ต่างๆ ในจังหวั ดน่าน พร้อมให้ คาปรึกษา ช่วยเหลือวัดและศาสนพิธีที่สาคัญในจังหวัดน่านมาโดยตลอด ๑๕. เป็นวิทยากรและให้ความรู้ด้านกลองและศิลปะการแสดงแก่เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจ
๑๗๑๗
รางวัลหรือเกียรติคุณที่ได้รบั ๑. ได้เข้าร่วมเวทีการเรียนรู้เครือข่ายภาคประชาชน เครือข่ายชุมชนอาเภอเวียงสา จังหวัด น่าน โดยกลุ่มฮักเวียงสา วันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๕ ๒. ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดตีกลองปู่จา ในงานวันผู้สูงอายุ อาเภอเวียงสา จังหวัด น่าน ประจาปี พุทธศักราช ๒๕๔๖ เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๖ ๓. ได้รับยกย่องเป็นปราชญ์ท้องถิ่น รุ่นที่ ๑/๒๕๔๗ สาขาผู้รู้ ภูมิปัญญาประเพณี วัฒนธรรม จังหวัดน่าน จากโรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ๔. เป็นผู้ส่งเสริม สนับสนุน ภูมิปัญญาพื้นบ้าน จังหวัดน่าน เมื่อวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๐ จากสภาวัฒนธรรมจังหวัดน่าน ๕. เป็นวิทยากรในโครงการสัมมนา “กลองเมืองน่าน” เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๕ จาก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๑๘
๑๘
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นายอภิเดช กรรณิกา (ชื่อเดิมนายปิยะ กรรณิกา) อายุ ๒๘ ปี เกิดวันที่ ๒๑ เดือน ตุลาคม ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ภูมิลาเนา จังหวัดน่าน ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๒๕ หมู่ที่ ๙ ถนน น่าน - สันติสุข ตาบลฝายแก้ว อาเภอภูเพียง จังหวัดน่าน รหัสไปรษณีย์ ๕๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๖-๑๘๐๑๒๔๘ ผลงานที่ปรากฏ ๑. เข้าร่วมเป็นฝีพายเรือแข่งของหมู่บ้านบุปผาราม ตั้งแต่ ปี ๒๕๔๐ – ปัจจุบัน ในการเข้า ร่วมงานประเพณีแข่งเรือของจังหวัดน่าน ตามสนามต่างๆ ทีไ่ ด้กาหนดไว้ ในนามทีมเรือ มณีสายชล กาย รัตนา จังหวัดน่าน ๒. ผู้ประสานงานทีมเรือแม่ป้อมราชมงคลน่าน ประจาปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ ๓. เป็นผู้ร่วมขับเคลื่อนข่วงละอ่อนน่าน ในนามสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดน่าน ตั้งแต่ปี ๒๕๔๙ – ปัจจุบัน (ซึ่งอดีตได้รับการคัดเลือกเป็นประธานสภาเยาวชนจังหวัดน่าน) ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อ เป็น “ถนนเด็กเดิน” และทางรายการทุ่งแสงตะวัน ได้มาทารายการ ในช่วงเดือน มกราคม ๒๕๕๐ และ ทางหนังสือพิมพ์ข่าวสด ได้ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ ในฉบับวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๙ หน้า ๒๒ จนทาให้ จังหวัดน่านได้รับรางวัล ๑ ใน ๒๐ จังหวัด ของประเทศไทยเป็นเมืองน่าอยู่สาหรับเด็ก และได้รับรางวัล ณ ตึกสันติไมตรี ทาเนียบรัฐบาล ๒ ปีซ้อน จากท่านนายกทักษิณ ชินวัตร ปี ๒๕๔๗ – ๒๕๔๘ และท่านนายก สุรยุทธ์ จุลานนท์ ปี ๒๕๔๙ -๒๕๕๐ รางวัลหรือเกียรติคุณที่เคยได้รับ ๑. รางวัลชนะเลิศอันดับ ๒ การอ่านทานองเสนาะ ระดับชั้น ม.๔ เนื่องในวันภาษาไทย แห่งชาติ ปี ๒๕๔๔ โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร ๒. ร่วมเป็นฝีพายเรือแข่งหมู่บ้านบุปผาราม ในงานแข่งเรือนัดชิงถ้วยพระราชทาน ฯ ปี ๒๕๔๔ วันที่ ๖- ๗ ตุลาคม ๒๕๔๔ ได้รับรางวัลที่ ๒ สาย ข ประเภทเรือเล็ก ๓๐ ฝีพาย เรือมณีสายชล ๓. ได้ รั บ เกียรติ บั ตรเนื่ อ งด้ ว ยการปฏิ บั ติง านของสหกรณ์ โรงเรี ยนศรี ส วั ส ดิ์ วิ ท ยาคาร ปี การศึกษา ๒๕๔๔-๒๕๔๕ ๔. ได้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรค่ายยุวชนต้านยาเสพติด “เพื่อนรักเพื่อน”รุ่นที่ ๕ ระหว่าง วันที่ ๒๕ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๔ จากกองทัพบก ๕. ได้เข้าร่วมโครงการ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ค่ายพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ณ โรงเรียนบ้านทุ่ง เฮ้า อ.ปัว จ.น่าน ระหว่างวันที่ ๒๕ – ๒๗ เมษายน ๒๕๔๖ จากโรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร
๑๙๑๙
๖. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องด้ วยการปฏิบัติงานคณะกรรมการจัดงานวันสิ่งแวดล้อมโลก ของ โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๖ ๗. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องด้วยการผ่านการอบรม ผู้นาเยาวชนโรตารี่ ระหว่างวันที่ ๑๖-๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๖ ณ โรงเรียนตารวจภูธร ๕ จังหวัดลาปาง ๘. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องด้วยการเป็นวิทยากรในการอบรมแกนนาประหยัดน้า – ไฟฟ้า ใน วันที่ ๑ – ๒ มีนาคม ๒๕๔๗ ณ โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคาร ๙. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องด้วยการประกวดการพากย์เรือประเพณี จังหวัดน่าน ระดับเยาวชน อายุไม่เกิน ๒๐ ปี “งานมหกรรมกาดสุขภาพดี วิถีคนน่าน” ๑๐. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องด้วยการเข้าร่วมค่าย “ผู้นาเยาวชนชาวพุทธ ครั้งที่ ๓” ในระหว่าง วันที่ ๑ – ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ณ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ๑๑. ได้ผ่านการอบรมการปฏิบัติธรรมโครงการเพิ่มศักยภาพ(ประจาปี ๒๕๔๘) ๑๒. เกียรติบัตรการจัดงานวันเยาวชนแห่งชาติ ประจาปี ๒๕๔๘ ร่วมกับพัฒนาสังคมและความ มัน่ คงของมนุษย์ จ.น่าน ๑๓. เกียรติบัตรเป็นนักศึกษาดีเด่นด้านกิจกรรม ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ประจาปีการศึกษา ๒๕๔๘ ๑๔. เป็ น คณะท างานในการจั ด อบรมยุ ว มั ค คุ เ ทศก์ ในโครงการเครื อ ข่ า ยมรดกทาง ศิลปวัฒนธรรม วันที่ ๑๒ – ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๙ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติน่าน ๑๕. ได้สาเร็จการฝึกอบรมตามโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กและเยาวชนเพื่อเป็นศรีแห่งแผ่นดิน ค่ายวาทศิลป์ ๑๐ – ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ ณ จังหวัดเชียงราย ๑๖. ได้รับเกียรติบัตร “ลด ละ เลิก เหล้าเข้าพรรษา” จังหวัดน่าน ประจาปี ๒๕๕๐ ๑๗. ได้คัดเลือกเป็นเยาวชนดีเด่นระดับจังหวัด น่าน ประจาปี ๒๕๕๐ ๑๘. ได้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ การดาเนินงานศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น TO BE NUMBER ONE ๒๘ – ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ฯลฯ
๒๐
๑๙
๒๐
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นายคุณากร สุปน อายุ ๒๔ ปี เกิดวันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ ภูมิลาเนา จังหวัด อุตรดิตถ์ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๖/๑ หมู่ที่ ๓ ตาบลร่วมจิตร อาเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ รหัสไปรษณีย์ ๕๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๑-๒๘๔๓๐๕๘ อาชีพและหน้าที่ปัจจุบัน คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ผลงานที่ปรากฏ ๑. มี ความรู้ ความชานาญในการประดิษฐ์ใบตอง โดยเฉพาะบายศรี และกระทง เช่น บายศรีเทพ บายศรีพรหม กระทงใบเตย เป็นต้น ผลงานที่ปรากฏ และโดดเด่ นเช่ น การเป็นวิ ท ยากรบรรยายหั ว ข้ อ “บายศรี ข องสู ง ที่ ท รงคุณ ค่ า ” โครงการอบรมเชิ ง ปฏิบัติการทาบายศรีปากชามสืบทอดประเพณีวิถีวัฒนธรรมล้านนา และมีส่วนร่วมประดับตกแต่งกระทง นา กระทงตามของมหาวิทายาลัยเพื่อส่งเข้าประกวดงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง ชิง ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นประจาทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ –๒๕๕๕ เป็นต้น (เอกสารเพิ่มเติมในภาคผนวก ก ) ๒. มี ค วามรู้ ความช านาญในการตกแต่ ง ดอกไม้ ส ดและดอกไม้ แ ห้ ง ในพิ ธี ต่ า งๆ ของ มหาวิ ทยาลั ย เช่น การประดั บดอกไม้ สดตกแต่ ง สถานที่ต้อนรับ ผู้มี เกี ยรติข องมหาวิ ทยาลั ย ประดั บ ตกแต่งสถานที่ในพิธีส่งมอบประกาศณียบัตรประจาปีการศึกษา ๒๕๔๔ และการจัดประดับดอกไม้สดรถ บุปผชาติประกอบขบวนแห่ในงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง เป็นต้น(เอกสารเพิ่มเติมใน ภาคผนวก ก ) ๓. ความรู้ ความเชี่ยวชาญ เรื่องมารยาทไทยเป็นอย่างดี ผลงานที่ปรากฏและโดดเด่น คือ ควบคุมการฝึกซ้อมมารยาทไทยให้นักศึกษาที่เข้าร่วมประกวดมารยาทไทย งานวันวิชาการบริหารธุรกิจ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ครั้งที่ ๑ และได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นต้ น (เอกสารเพิ่มเติมในภาค ผนวก ก) ๔. มี ความรู้ และประสบการณ์ ในการจั ดรู ป แบบขบวนแห่ที่ สะท้อนถึ งศิ ลปวัฒ นธรรมของ ท้องถิ่นจังหวัดตาก ผลงานที่ปรากฏและโดดเด่น เช่น รางวัลชมเชยในการจัดรูปแบบขบวนประเพณีลอย กระทงสายไหลประทีปพั นดวง ประจ าปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔ และถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็ จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช งานลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวงชิงถ้วยพระราชทาน ประจาปี ๒๕๕๕ ประเภทการประกวดขบวนแห่ เป็นต้น ( เอกสารเพิ่มเติมภาคผนวก ก ) ๕. มีความรู้และความชานาญเรื่อง “ภูมิปัญญาท้องถิ่น” ผลงานที่ปรากฏและโดดเด่น เช่น เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อ “การสืบสานและสร้างสรรค์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ” โครงการสร้างภาคีอนุรักษ์
๒๑๒๑
ภูมิปัญญาท้องถิ่นบรรยายให้แก่เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน และผู้นาชุมชน วันที่ ๑๖- ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ ณ โรงแรมเวียงตาก อาเภอเมือง จังหวัดตาก รางวัลหรือเกียรติคุณที่เคยได้รับ ๑. พ.ศ. ๒๕๕๕ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานลอยกระทงสายไหล ประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๕ ประเภทคะแนนรวม มีส่วนร่วมในการจัดขบวนแห่ประดิษฐ์กระทงนา กระทงตาม และการประกวดการเชียร์ ๒. พ.ศ. ๒๕๕๕ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานลอยกระทงสายไหล ประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๕ ประเภทขบวนแห่ มีส่วนร่วมในการจัดรูปแบบริ้วขบวน ออกแบบ พร้อมจัดเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายและส่วนอุปกรณ์อื่นๆ ให้ประณีตสวยงาม และควบคุมผู้เข้าร่วมขบวนทุก คนแสดงออกด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ๓. พ.ศ. ๒๕๕๕ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานลอยกระทงสายไหล ประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๕ ประเภทกระทงตาม มีส่วนร่วมในการตกแต่งดอกไม้สดกระทงตามที่ สะท้อนถึงภูมิปัญญาอันเป็นศิลปะที่สวยงาม ๔. พ.ศ. ๒๕๕๕ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานลอยกระทงสายไหล ประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๕ ประเภทการประกวดการนา มีส่วนร่วมในการตกแต่งดอกไม้สดกระทง ตามที่สะท้อนตามที่แสดงถึงความพิถีพิถัน ประเพณีสวยงาม ๕. พ.ศ. ๒๕๕๕ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานลอยกระทงสายไหล ประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๕ ประเภทประกวดการเชียร์ มีส่วนร่วมในการออกแบบท่าทางการแสดง การฝึกซ้อมนักแสดง และการออกแบบเครื่องแต่งกายที่ให้แสดงสวมใส่ ๖. พ.ศ. ๒๕๕๔ รางวัลชมเชยประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๔ ประเภทการประกวดขบวนแห่ มีส่วนร่วมในการจัดรูปแบบริ้วขบวน ออกแบบพร้อมจัดทาเสื้อผ้าเครื่อง แต่งกายและส่วนอุปกรณ์อื่นให้ประณีตสวยงามและควบคุมผู้เข้าร่วมขบวนทุกคน คิดค้นประดิษฐ์ท่าราที่ ใช้ประกอบการเดินในขบวนฝึกซ้อมชุดแสดง “ฟ้อนผางประทีปประยุกต์” และควบคุมการแสดงเพื่อให้ผู้ แสดงนั้นแสดงออกด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ๗. พ.ศ. ๒๕๕๓ รางวัลชมเชยประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง ประจาปี ๒๕๕๓ ประเภทการประกวดขบวนแห่ มีส่วนร่วมในการจัดรูปแบบริ้วขบวน ออกแบบพร้อมจัดทาเสื้อผ้าเครื่อง แต่งกายและส่วนอุปกรณ์อื่นให้ประณีตสวยงาม จัดประดับรถบุพชาติด้วยดอกไม้สด และควบคุมผู้เข้าร่วม ขบวนทุกคนแสดงออกด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ๘. พ.ศ. ๒๕๕๑ ถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานลอยกระทงสายไหล ประทีปพั นดวง ประจาปี ๒๔๔๑ประเภทคะแนนรวม มีส่ว นร่ ว มในการประกวดการเชี ยร์ “การเซิ้ ง กะลา” ๙. พ.ศ. ๒๕๔๖ เกียรติบัตรนักศึกษาผู้มีมารยาทงาม ๑๐. พ.ศ. ๒๕๔๖ เกียรติบัตรนักศึกษาดีเด่นด้านกิจกรรม
๒๒
๒๒
สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นางสาวต้องฤทัย ทองงามขา อายุ ๓๖ ปี เกิดวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๙ ภูมิลาเนา จังหวัดพิษณุโลก ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๘๒๐/๑ ถนน พิษณุโลก-บึงพระ ตาบลอรัญญิก อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก รหัสไปรษณีย์ ๖๕๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๙-๖๔๔๒๘๘๖ อาชีพและหน้าที่ปัจจุบัน ข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา ผลงานที่ปรากฏ ๑. จัดเทศกาลอาหารนานาชาติ ส่ งเสริม การนาเสนอวั ฒ นธรรมด้ านอาหารนานาชาติใ นรูป แบบ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ครั้งที่ ๑ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๓ ๒. จัดเทศกาลอาหารนานาชาติ ส่ งเสริม การนาเสนอวั ฒ นธรรมด้ านอาหารนานาชาติใ นรูป แบบ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ครั้งที่ ๑ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๓. จัดทาโครงการศิลปวัฒนธรรมสากล ไทย-อังกฤษ-จีน หัวข้อ “นาเสนอวัดไทยในจังหวัดพิษณุโลก ๓ ภาษา” ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๓ ได้แก่ วัดพระยายมราช วัดมะสระ ๔. จัดทาโครงการศิลปวัฒนธรรมสากล ไทย-อังกฤษ-จีน หัวข้อ “นาเสนอวัดไทยในจังหวัดพิษณุโลก ๓ ภาษา” ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ ได้แก่ วัดพระขาวไชยสิทธิ์ วันจันทร์ตะวันออก วัดแหลมโพธิ์ วันตูม วัดหนองหัวยาง ๕. จัดทาโครงการศิลปวัฒนธรรมสากล ไทย-อังกฤษ-จีน หัวข้อ “นาเสนอวัดไทยในจังหวัดพิษณุโลก ๓ ภาษา” ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ได้ แก่ วัดเด่นโบสถ์ วัดคูหาสวรรค์ วัดจั นทร์ ตะวั นตก วัดธรรม เกษตร วัดนิมิตธรรมาราม ๖. จัดนิทรรศการ นาเสนอวัดไทยในจังหวัดพิษณุ โลก ๓ ภาษา จานวน ๑๒ วัด ในงานเปิ ดรั้วราช มงคลล้านนาพิษณุโลก ร่วมกับงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๗. พานักศึกษาไปทัศนศึกษาเชิงศิลปวัฒนธรรมนอกสถานที่ ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดใหญ่ ) วัดราชบูรณะ วัดนางพญา พิ พิธภั ณฑ์ พื้นบ้ านจ่ าทวี ศาลสมเด็จ พระนเรศวร(วังจั นทร์) และ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย รางวัลหรือเกียรติคุณที่เคยได้รับ ได้รับประกาศนียบัตรมัคคุเทศก์ทั่วไป(ต่างประเทศ)จากมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งความรู้ที่ได้รับ เป็นการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านประวัติศาสตร์ไทย วัฒนธรรม ประเพณีไทย การนาเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยวเชิง ประวัติศ าสตร์ไทย เช่ น วั ดพระศรี รัตนศาสดาราม อุทยานประวัติศาสตร์อยุธยา อุ ทยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นต้น
๒๓๒๓
ประเภทนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
๒๔
๒๔
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นายสุธีระ ฝั้นแก้ว อายุ ๒๒ ปี เกิดวันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๓ ภูมิลาเนา จังหวัดเชียงใหม่ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๖ หมู่ ๑ ตาบลสง่าบ้าน อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ ๕๐๒๒๐ โทรศัพท์ ๐๘๗-๑๗๕๓๘๒๖ ผลงานที่ปรากฏ ๑. การแสดงดนตรี ณ ท้ อ งสนามหลวงในงานพุ ท ธชยั น ตี ๒๖๐๐ ปี ๒. ได้รับยกย่องผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ด้านการชกมวยไทย ๓. ร่วมแสดงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัย ฟ้อนดาบ ฟ้อนเจิง ๔. ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปะในสาขาวิชาเพื่อเผยแพร่ให้กับประชาชนทั่วไป ๕. จัดการแสดงศิลปวัฒนธรรมในงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัย เช่น การเกษียณอายุราชการ งาน ลอยกระทง งานพิ ธี เ ปิ ด กี ฬ าเวี ย งเจ็ ด ลิ น เกมส์ ต านานเวี ยงเจ็ ด ลิ น งานสั ก การะกู่ เ จ้ า หลวง งาน ศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา งานสืบฮีตสานฮอยวิถีไทยอง
๒๕๒๕
รางวัลหรือเกียรติคุณที่ได้รบั ๑. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องในโอกาสแสดงศิลปวัฒนธรรม “นาฏดุริยางคศิลป์ ณ ถิ่นล้านนา” งานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาครั้งที่ ๑๑ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องในโอกาสการแสดงศิลปวัฒนธรรม “อัตลักษณ์วัฒนธรรมนยองบวก ค้าง อดีต ปัจจุบันและอนาคต” ณ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ๓. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องในการแสดงดนตรีพื้นบ้านล้ านนา เนื่องในพิธีกินอ้อผญาและมอบ เกียรติบัตรผู้ผ่านการอบรมศิลปวัฒนธรรม หลักสูตรระยะสั้นในวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๒ ๔. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องในการเข้าร่วมการแข่งขันตีกลองสะบัดชัย ในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๑ ๕. ได้รับเกียรติบัตรเนื่องในพิธีเปิดการแข่งขันทักษะวิชาชีพชุดกลองสะบัดชัย ระหว่างวันที่ ๒๑ – ๒๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๑
๒๖
๒๖
สาขาส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม นางสาว วราภรณ์ ยาวิจิตร อายุ ๒๒ ปี เกิดวันที่ ๒๖ เดือนกันยายน ปี พ.ศ.๒๕๓๓ ภูมิลาเนา จังหวัดเชียงใหม่ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๒๕ หมู่ที่ ๗ ถนน โชตนา ตาบลแม่ข่า อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ ๕๐๓๒๐ โทรศัพท์ ๐๘๔-๔๘๑๔๐๕๒ ผลงานที่ปรากฏ ๑. ผลงานเกี่ยวกับการฟ้อนรา เช่น ฟ้อนที ฟ้อนเจ้าดารารัศมี ฟ้อนขันดอก ฟ้อนหน้ากากฟ้อนคืน ศรัทธา ฟ้อนเจิงมือ และฟ้อนปั่นฝ้าย และอื่นๆ ๒. เป็นสันทนาการในงานรับน้องที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลาปาง และสาขา อุตสาหกรรมเกษตร ๓. เชียร์หลีดเดอร์ของสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร รางวัลหรือเกียรติคุณที่เคยได้รับ ๑. ผ่านการอบรมฝึกปฏิบัติธรรม โครงการค่ายพุทธธรรม คุณธรรม จริยธรรม ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๒ ณ วัดบรรพตสถิต อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ระหว่างวันที่ ๑๒ – ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ ๒. ได้เข้าร่วมโครงการฝึกอบรมค่ายพุทธธรรม คุณธรรม จริยธรรม ณ วัดบรรพตสถิต อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ระหว่างวันที่ ๒๐ – ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ ๓. ได้เข้าร่วมเป็นพี่เลี้ยงในโครงการฝึ กอบรมค่ายพุทธธรรม คุณธรรม จริยธรรม ณ วัดบรรพต สถิต อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ระหว่างวันที่ ๒๗ – ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๓
๒๗๒๗
สาขาคหกรรมศาสตร์ นายภูวดล มหาวรรณ์ อายุ ๒๒ ปี เกิดวันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๓๓ ภูมิลาเนา จังหวัดเชียงใหม่ ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๕๖ หมู่ที่ ๖ ตาบลโหล่งขอด อาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ ๕๐๑๙๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๐-๑๓๒๘๐๘๖ ผลงานที่ปรากฏ ๑. การประกวดกระทงนาและกระทงปิดท้าย ชิงโล่ พระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ปี ๒๕๕๔ – ๒๕๕๕ ๒. ประกวดการร้อยมาลัยดอกไม้สด ในงานอลังการภูมิปัญญาศิลปหัตถกรรมปี ๒๕๕๑ ๓. ประกวดการจั ด ดอกไม้ ใ นท้ อ งถิ่ น ในงาน ส่ ง เสริ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ล้ า นนา ชิ ง โล่ อธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๕๑ ๔. ประกวดบายศรีในงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนา ชิงโล่อธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ปี ๒๕๕๑ ๕. ประกวดบายศรี เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ชิ ง โล่ พ ระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปี ๒๕๕๔
๒๘
๒๘
รางวัลหรือเกียรติคุณที่ได้รบั ๑. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กระทงนาและรางวัล ชนะเลิศกระทงปิดท้าย โล่พระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี ๒๕๕๕ ในงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง จังหวัด ตาก ๒. รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กระทงนาและรางวัล ชนะเลิศกระทงปิดท้าย โล่พระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี ๒๕๕๔ ในงานประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีป ๑๐๐๐ ดวง จังหวัด ตาก ๓. รางวัลยอดเยี่ยมการแข่งขันการร้อยมาลัยดอกไม้สด ในงานอลังการภูมิปัญญาศิลปหัตถกรรม ในปี ๒๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง จังหวัดลาปาง ๔. รางวั ลชนะเลิศการประกวดการจัด ดอกไม้ ในท้องถิ่น ในงานส่ง เสริม ศิลปวัฒนธรรมท้ องถิ่ น ล้านนา ปี ๑๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ๕. รางวัลชนะเลิศการประกวดบายศรี ในงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนา ปี ๑๕๕๑ ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
๒๙๒๙
สาขาการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต นายพูนทรัพย์ แก้วกาแพง อายุ ๒๓ ปี เกิดวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓ ภูมิลาเนา จังหวัดสุโขทัย ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๔๖๒ หมู่ที่ ๖ ตาบลแม่สิน อาเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย รหัสไปรษณีย์ ๖๔๑๓๐ โทรศัพท์ ๐๘๗-๘๔๔๗๕๕๓ ผลงานที่ปรากฏ ๑. การเข้ า ร่ ว มกิจ กรรมของมหาวิ ท ยาลั ยทุ ก กิ จกรรมไม่ ว่ า จะเป็ นในฐานะของผู้ ร่ว มงาน และผู้ ดาเนินงาน ก็จะเข้าร่วมอย่างเต็มกาลังความสามารถเสมอ ๒. การเข้าร่วมกิจกรรมช่วยเหลือสังคม กิจกรรมพัฒนาสังคมทั้งของมหาวิทยาลัย และของหน่วยงาน องค์กรใด หากเป็นประโยชน์ต่อสังคม ก็จะเข้าร่วมกิจกรรมเหล่านั้นเสมอ ๓. การเข้ารับหน้าที่ ดารงตาแหน่งนายกสโมสรนักศึกษาของ มทร.ล้านนาพิษณุโลก ซึ่งต้องมีหน้าที่ ทางานร่วมกับทีมงานสโมสรนักศึกษา จัดกิจกรรมทั้งหมดในมหาวิทยาลัย ๔. การเข้ ารับหน้าที่ ตาแหน่งอุ ปนายกองค์การนักศึก ษา มทร.ล้ านนา ซึ่งท าหน้ าที่ทางานร่ วมกั บ นายกสโมสรนักศึกษาอีก ๖ เขตพื้นที่ เพื่อทางานกิจกรรมของ มทร.ล้านนา ๕ การได้รับ เลือกให้เป็ นผู้มี ผลการเรียนยอดเยี่ ยม ในการศึกษาระดับ ปริญ ญาตรี ๒ ปี สาขาวิช า วิศวกรรมไฟฟ้า โดยมีคะแนนสะสม ๓.๙๗ ในงานไหว้ครูของมหาวิทยาลัย รางวัลหรือเกียรติคุณที่เคยได้รับ ๑. เกียรติบัตร เป็นผู้มีผลการเรียนยอดเยี่ยม ในการศึกษาระดับปริญญาตรี ๒ ปี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ด้วยคะแนนสะสม ๓.๙๗ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ มทร.ล้านนา พิษณุโลก ๒. ประกาศนียบัตรผ่านการอบรมค่ายพัฒนาศักยภาพผู้นาต้นแบบด้านศีลธรรม(V-Leader Camp) ๓. เกียรติบัตร การเข้าร่วมโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการสภานักศึก ษา และองค์การ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประจาปี ๒๕๕๕ ๔. ประกาศนียบัตรการทาหน้าที่เป็นผู้นากิจกรรมด้านศีลธรรม(หัวหน้าห้อง V-Cheer) และรางวัล สถาบันน้องใหม่ที่ทาหน้าที่ยอดเยี่ยม วันรวมพลังเด็กดี V-Star ครั้งที่ ๖ ๕. วุฒิบัตร การเข้าปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน และการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรม และ วุฒิบัตรการเข้าร่วมอบรมค่ายเยาวชนฯของ กกต. รวมทั้งการเข้าอบรมการจัดการพลังงานฯ
๓๐
๓๐
คณะกรรมการพิจารณาคุณสมบัติผู้ได้รับการเชิดชูผลงานวัฒนธรรมดีเด่น มีหน้าที่ - คัดเลือกผู้มีวัฒนธรรมดีเด่นทั้งบุคลากรมหาวิทยาลัย นักศึกษา และประชาชน - ประสานงานในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการประกอบด้วย ๑. ผู้อานวยการศูนย์วัฒนธรรมศึกษา ๒. รองผู้อานวยการศูนย์วัฒนธรรมศึกษาฝ่ายบริหาร ๓. ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์วัฒนธรรมศึกษาฝ่ายวิชาการ ๔. คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ๕. คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ๖. คณบดีคณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ๗. คณบดีคณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ ๘. รองคณบดี ทุกเขตพื้นที่ ๙. ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ ๑๐. หัวหน้าศูนย์วัฒนธรรมศึกษา ๖ พื้นที่ ๑ วิทยาลัย และสถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร ๑๑. นายชวรินทร์ คามาเขียว ๑๒. นายศักดิ์นรินทร์ ชาวงิ้ว ๑๓. นางสาวอุไรพร ดาวเมฆลับ
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๓๑๓๑
คณะกรรมการจัดทาเข็มเชิดชูเกียรติและสูจิบัตร มีหน้าที่ - จัดทาเข็มและสูจิบัตร ประสานงานในส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการประกอบด้วย ๑. ดร.ภาณุพงศ์ จงชานสิทโธ ๒. นายชวรินทร์ คามาเขียว ๓. นางสุชาดา อรุณศิโรจน์ ๔. นายสมบัติ เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ๕. นายสุพจน์ ใหม่กันทะ ๖. นายธนพล มูลประการ ๗. นางสาววิภาพรรณ ติปัญโญ ๘. นายศักดิ์นรินทร์ ชาวงิ้ว ๙. นางสาววันทนา มาลา ๑๐. นางสาวอุไรพร ดาวเมฆลับ
๓๒
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๓๒