เครื่องเขิน lacquerware มทร.ล้านนา

Page 1

เครื ่ อLacquerware งเขิ น เอกสารประกอบการเสวนา Global Concerns, Local Solutions. : International Lacquerware เครื่องเขินนานาชาติ วันที่ ๑๘ – ๑๙ มกราคม ๒๕๕๗ ณ ศาลาราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา


เครื่องเขิน �฿ฯรฯ�฿ฯหาฯ Lacquerware

เอกสารประกอบการเสวนา Global Concerns, Local Solutions.: International Lacquerware เครื่องเขินนานาชาติ วันที่ ๑๘ – ๑๙ มกราคม ๒๕๕๗ ณ ศาลาราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา


คํานํา ตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดกําหนดจัดกิจกรรมเฉลิมฉลอง วันสถาปนา 1 ทศวรรษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ขึ้น ระหวางวันที่ ๑๘ – ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ นั้น กอปรกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มีโครงการที่ จะจั ด ตั้ ง ศู น ย เ ครื่ อ งเขิ น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล า นนา ขึ้ น โดยได มี ก าร ดําเนินงานไปสวนหนึ่ง เชน เบื้องตนไดสงบุคลากรไปศึกษาเครื่องเขิน ณ ประเทศพมา และ ในครั้งนี้มีการประชุมสัมมนาเครื่องเขินนานาชาติ (International Lacquer Ware) เนื่อง ในวันครบรอบสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ครบ ๑๐ ป เพื่อเปนการ ถายทอดองคความรูดานเครื่องเขินและพัฒนางานเครื่องเขินของไทยใหทัดเทียมกับนานา ประเทศ นอกจากนี้ในปลายป ๒๕๕๘ จะมีการเปดเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทําใหการแขงขันทางดานการคาสูงขึ้น ฉะนั้น เพื่อใหเครื่องเขินของไทยมีคุณภาพและ สามารถกาวไปสูแถวหนาของอาเซียนได ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา กําลังศึกษาหาแนวทางในการเปดหลักสูตรวาดวยเครื่องเขินแกนักศึกษา เพื่อสืบทอดภูมิ ปญญาและพัฒนาเพื่อกาวสูความเปนสากลตอไป จึงไดจัดโครงการเสวนาในครั้งนี้ขึ้น เพื่อ เตรียมการจัดตั้งศูนยเครื่องเขินสืบตอไป คณะผูจัดทํา


สารบัญ คํานํา สารบัญ กําหนดการ เครื่องเขิน Lacquering Culture - Thai Lacquer ware

๒ ๓ ๔ ๖ ๓๓


กําหนดการเสวนา Global Concerns, Local Solutions International Lacquerware (เครื่องเขินนานาชาติ) ณ ศาลาราชมงคล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ๑๘ – ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๘ ๑๓.๐๐ – ๑๓.๒๐ ลงทะเบียน ๑๓.๒๐ – ๑๓.๓๐ กลาวเปดงานโดย ดร.ภาสวรรธน วัชรดํารงศักดิ์ รองอธิการบดี ดานวิจัยและการถายทอดเทคโนโลยี ๑๓.๓๐ – ๑๓.๕๐ นําเสนอเครื่องเขินในพมา ในการกํากับดูแลของภาครัฐ โดย Mr.U Win Zaw Soe ผูอํานวยการ Lacquer-ware Technology College ๑๓.๕๐ – ๑๔.๑๐ นําเสนอเครื่องเขินในพมา จากภาคเอกชน โดย Mr.Maung Maung จาก EVER STAND LACQUERWARE WORKSHOP ๑๔.๑๐ – ๑๔.๓๐ นําเสนอเครื่องเขินในเวียดนาม โดย Dr.Nguyen Van Minh Head Department for Academic Administration and International Cooperation of HO CHI MINH CITY UNIVERCITY OF FINE ARTS ๑๔.๓๐ – ๑๔.๕๐ นําเสนอเครือ่ งเขินในเวียดนาม โดย Mr.Le Ba Linh Director TU BON COMPANY LIMITED, Thu Dau Mot City ,Binh Duong Province ๑๔.๕๐ – ๑๖.๑๐ นําเสนอเครือ่ งเขินในประเทศไทย โดย อ.วิถี พานิชพันธ ผูกอตั้งคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม


๕ ๑๖.๑๐ – ๑๗.๐๐ แลกเปลี่ยนเรียนรูความคิดเห็น ๑๗.๐๐ – ๑๘.๐๐ ลงนามความรวมมือ ( MOU) ๑๙ มกราคม ๒๕๕๘ ๐๙.๐๐ – ๐๙.๓๐ ลงทะเบียน ๐๙.๓๐ – ๑๑.๓๐ เสวนาเรื่อง หลักสูตรเครื่องเขิน


เครื่องเขิน

ประยูร สุขพัทธี

เครื่ อ งรั ก จั ด เป น งานหั ต ถกรรมชั้ น ประณี ต ศิ ล ปะ ที่ มี เ รื่ อ งราวเกี่ ย วข อ งกั บ วัฒนธรรมไทยมาแตครั้งโบราณ เขาใจกันวามีมาตั้งแตสมัยครั้งกรุงสุโขทัย เชนเดียวกับงาน เครื่องเขินที่ชาวไทใหญในอาณาจักรลานนาทํากัน จนกลาวไดวางานเครื่องรัก หรืองาน เครื่ อ งเขิ น ได นิ ย มทํ า กั น อย า งกว า งขวางในภาคเหนื อ ตอนบน นานนั บ ร อ ยๆป ซึ่ ง ได วิวัฒนาการมาตามลําดับ จนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทรจึงไดลดความนิยมลงไป เนื่องจาก อิทธิพลทางดานศิลปวัฒนธรรมของชาติตะวันตกไดแพรขยายเขามา งานเครื่องรักกลับมา ฟนฟูอีกครั้ง เมื่อมีการจัดตั้งชางสิบหมูขึ้นในสถาบันการศึกษาทางดานศิลปะจนเปนที่รูจัก กันทั่วไป

เครื่องรักหรือเครื่องเขิน ที่รูจักกันทั่วไปในรูปของผลิตภัณฑภาชนะใชสอย มี คุณลักษณะเบา แข็งแรง ทนทาน และมีคุณคารวมอยูในตัวของมันเองการนําเอาวัสดุใน ทองถิ่นมาผสมผสานกับเทคโนโลยีการผลิตพื้นบานในสมัยโบราณ ซึ่งนิยมทําและใชในงาน บุญกันมากที่สุดในภาคเหนือ อาทิจังหวัดเชียงใหม แมฮองสอน ลําปาง แพรและนาน การใชไมไผมาจักตอกแลวสานหรือขดใหเปนรูปทรงของภาชนะใชสอย เชนขันน้ํา ตะลุม ถวย โถ โอ พาน หรือแมแตการนําไมเนื้อออนมาทํา โตะ ตู กลอง กลัก หรือหีบยา โดยใชยางรักทาเคลือบใหผิวเรียบ ตกแตงดวยการขูดขีด เขียนลาย ฝงสี หรือลงรักปดทอง


๗ เมื่อรักแหงสนิทแลวนี้ ลวนเปนกระบวนการที่ทําดวยมือตั้งแตตน จนสําเร็จ ไมไดพึ่งพา เครื่องจักรในการผลิตแตประการใดเลย ดวยระยะเวลาการผลิตที่ยาวนาน ตลอดจนเทคนิค และความละเอียดประณีต ของฝมือในการทําเครื่องเขินแตละชิ้นในสมัยโบราณ นับเปน ผลงานศิลปหัตถกรรมที่มีคุณคาทั้งทางดานศิลปกรรมและวัฒนธรรม ควรแกการอนุรักษไว เปนอยางยิ่ง

หากจะนับรับเอางานเครื่องเขินเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรม และเอกลักษณของ ชาติแลวปลอยใหงานอาชีพ อันเปนหลักฐานสําคัญทางดานวัฒนธรรม สูญสลายไปดวยเหตุ ของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแลว ก็คงจะตองเสียใจและคงไมมีใครรูจักงาน เครื่องเขิน เครื่องรักกันอีกตอไป การใชเครื่องเขิน เปนวัฒนธรรมสําคัญอยางหนึ่งของประเทศไทย โดยเฉพาะ อยางยิ่งในเขตภาคเหนือ ชาวลานนาไดผลิตและใชเครื่องเขินในชีวิตประจําวัน และใน พิ ธี ก รรมต า งๆ ซึ่ ง สิ่ ง นี้ เ กิ ด จากศรั ท ธาของผู ค นชาวล า นนา ที่ มี ต อ ศาสนาและ ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ใ นอดี ต อั น เป น ผลให เ กิ ด รู ป ธรรมในงานหั ต ถศิ ล ป ที่ แ สดง เอกลักษณของตนเอง เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงใหปรากฏเปนหลักฐานของความ เจริญรุงเรื่องในอดีต


เครื่องเขิน หมายถึงเครื่องสานที่ทาดวยรักและชาด (ราชบัณฑิตยสถาน , ๒๕๓๒ , น. ๑๑๙) แตโดยทั่วไปแลว เครื่องเขินหมายถึง ภาชนะเครื่องใชสอยที่ทําขึ้นโดยชาว เชียงใหมที่สืบเชื้อสายมาจากชาวไทเขินแตโบราณ คําวา เครื่องเขิน นาจะบัญญัติขึ้นโดยคน ไทยภาคกลางหรือขาราชการที่ขึ้นมาอยูในจังหวัดเชียงใหมเมื่อราว ๑๐๐ ปที่แลว โดยใช วิธีการเฉพาะอยางของชาวไทเขิน เชนเดียวกับเครื่องรักที่นิยมทํา และเรียกกันในภาคกลาง วัสดุที่ใชประกอบดวยไม หรือไมไผ ทําเปนรูปภาชนะเครื่องใชสอยตางๆ ตามที่คนตองการ แลวใชกรรมวิธีตกแตงใหเสร็จสมบูรณ สวยงามดวยยางรัก สี ชาด มุก ทองคําเปลวหรือ อื่นๆ ไดตามความตองการ ชาวเขินหรือไทเขิน คือชนพื้นเมืองหรือคนไทที่อยูในลุมแมน้ําเขินในแควนเชียงตุง เปนชนกลุมหนึ่งในตระกูลไทลื้อ ออกเสียงสําเนียงพื้นเมืองวา “ขืน” ซึ่งแปลวายอนขึ้น ขัด ขืน หรื อฝน เพราะวา แมน้ํ าสายนี้ ไหลยอ นขึ้ นทางเหนื อ ก อนที่จะรวมเข ากั บแม น้ํา โขง ปจจุบันเชียงตุงอยูในรัฐฉาน ตะวันออกของพมา


คํ า ว า เครื่ อ งเขิ น ในภาษาอั ง กฤษใช คํ า ว า LACQUER WARE ซึ่ ง คํ า ว า LACQUER มีใชมาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ ๑๗ ตรงกับภาษาฝรั่งเศสวา LACQUE ซึ่ง หมายถึงกาวยาง หรือครั่งที่ใชสําหรับติดประทับเอกสาร สวนสเปนและโปรตุเกสใช LACRE ในคริสตศตวรรษที่ ๑๖ อิตาลีใช LACRA และเปลี่ยนมาเปน LACQUAR ภาษาอังกฤษคําวา LACQUER มิไดหมายถึงแตเพียงยางหรือครั่งเทานั้นแตยัง หมายถึงน้ํามันขัดเงาหรือน้ํามันเคลือบผิว ซึ่งเปนสีใสใชทาวัตถุประเภทโลหะและไม ฉะนั้น คําวา LACQUER ในเรื่องเครื่องเขินหรือเครื่องรัก จึงเปนศัพทที่หมายถึงยางรัก ดังนั้น เครื่องเขินหรือเครื่องรัก LACQUER WARE ก็คือผลิตภัณฑชนิดหนึ่งที่ทํา ดวยวัสดุจากธรรมชาติ เชนไม ไมไผ ฯลฯ และยางรัก แลวจึงตกแตงผิวใหสวยงามดวยแร ธาตุ สีสัน เชน ถาด โถ พานลายทอง ตะลุมมุก ตลอดจนเครื่องเรือน เครื่องประดับตางๆ เปนตน เครื่องเขินจากสวนหนึ่งของหนังสือ Aspects Fact Of Thailand กรม ประชาสัมพันธพิมพเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๑ กลาววา เครื่องเขินเรียกชื่อชนเผาหนึ่งในตอนเหนือ ของไทย พวกเหลานี้เปนเชลยที่ถูกกวาดตอนมาเมื่อประมาณ ๒๐๐ ปกอน โดยสมเด็จพระ


๑๐ รามาธิบดีที่ ๑ ในขณะที่ดํารงตําแหนงแมทัพไปตีเวียงจันทน เชลยเหลานี้ไดตั้งรกรากใน เชียงใหม และถายทอดวิชาหัตถกรรมใหกับชาวเชียงใหม เครื่องเขินนั้นมีจุดเริ่มตนมาจาก จีนโดยที่ตามประวัติพิพิธภัณฑสถานจีน กลาววากรรมวิธีการผลิตเครื่องเขินไดเริ่มใน สมัย ฉางโจว( Shang Chou Period ๑๗๖๖ – ๒๒๑ BC.) และพัฒนาในสมัยจิ้น (Chin ๒๒๑ – ๒๐๗ BC.) จนถึงสมัยราชวงศฮั่น (Han Dynasty ๒๐๖ BC- ๒๒๐ AD.) ซึ่งเครื่องเขินมี ความสําคุญมากใประวัติศาสตรจีน และไดถูกอางไวในหนังสือ เซีย ซิ หลู ที่เขียนขึ้นในสมัย ราชวงศหมิง ไดกลาวถึงตนกําเนิดของเครื่องเขินไวอยางชัดเจน โดยกลาววาเครื่องเขินทํา มาจากไมไผ และยาดวยยางรัก ซึ่งเมื่อ ๔๐๐๐ ปมาแลว จักรพรรดิชุน เสวยอาหารใน ภาชนะที่เคลือบดวยยางรัก จักรพรรดิยูแหงราชวงศเซี่ย ก็มีภาชนะใสเครื่องหอมที่ทาดวย ยางรักสีดําชั้นในและชั้นนอกสีแดงเชนกัน และสมัยราชวงศโจว รถศึกจะถูกตกแตงดวยการ ลงรัก เพราะมีน้ําหนักเบาและทนทาน ในสมัยกอน จีนรูจักวิธีการผสมสีแดงและดําในการผลิตเครื่องเขินแลว โดยพบ หลักฐานวาเครื่องเขินสมัยฮั่นที่พบในเมืองเลลางของเกาหลี และเครื่องเขินของอาณาจักรจู ที่ขุดไดจากเมืองชางชา ก็รูจักการใชสีเหลานี้แลว


๑๑ ดังนั้นจึงพอสั นนิษฐานไดว า เครื่องเขิ นนั้นควรจะมี จุดกําเนิดมาจากจีน และ แพรหลายไปในที่ตางๆโดยผานทางเกาหลีถึงญี่ปุนหรือผานทางตอนใตของจีนจนมาถึงไทย ก็ได ซึ่งในหนังสือเครื่องเขินพมา กลาววาพมาไดรับกรรมวิธีการทําเครื่องเขินจากจีนตั้งแต สมัยปยู โดยชนเผาเชียง ซึ่งอยูทางพรมแดนตะวันตกของพมา ซึ่งรับเทคโนโลยีนี้ตั้งแตสมัย ฮั่นเปนตนมา มณฑลเสฉวนของจีนจัดเปนแหลงวัตถุดิบสําคัญในการผลิต เชนมีชาดและยางรัก ซึ่งพวกเทียนและโปในมณฑลยูนนาน ก็รูจักการใชวัตถุดิบเหลานี้ผลิตเชนกัน และอาจ ถายทอดไปทั่วเอเชียอาคเนยทั้งหมด แตก็มีแนวคิดอีกทางหนึ่งที่เชื่อวา วัฒนธรรมเครื่อง เขินนาจะเกิดขึ้นกอนในมณฑลยูนนาน และรัฐฉานเพราะเปนแหลงวัตถุดิบที่อุดมสมบูรณ อีกทั้งเปนแหลงผลิตและใชเครื่องเขินอยางจริงจัง จากนั้นจึงคอยๆแพรหลายเขาไปในจีน หลักฐานที่ขุดคนพบอาจเปนเพราะจีนรูจักวิธีเก็บรักษาของไดดีกวา ตอมาพวกทางเหนือ ของนานเจาไดอพยพลงมาสูดินแดนปยู และไดนําความรูในการผลิตเครื่องเขินลงมาดวย ซึ่ง เครื่องเขินพมาที่เกาแกที่สุดจะพบในเจดียมินกาลาเชติ หรือมันตระเจดีย อายุราว ค.ศ. ๑๒๗๔ เปนกลองไม สักทรงกระบอกเขียนดวยยางรัก และสีโอค โดยที่มีศิลาจาลึกยุคศตวรรษที่ ๑๑ ของพุกามกลาววาเครื่องเขินเปนที่นิยมแพรหลายมากในสมัยนั้น จนถุงปจจุบันพุกาม ยังคง เปนศูนยกลางของการทําเครื่องเขินในพมาอยู


๑๒ เครื่องเขินที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในพุกามจะไดกรรมวิธีมาจากยวน (Yun) เปน ภาษาฉาน (Shan) ที่ใช เรียกดิน แดนลา นนาตั้ง อยูยูนนาน ลงมาจนถึง เชียงใหม โดย นักวิชาการสวนใหญมีความเห็นตรงกันวาคงไดรับวิธีการผลิตผานพวกยวนมาก็ไดซึ่งนาจะ เปนไปไดวาวิธีทําเครื่องเขินนี้คงไดรับแตกรรมวิธีในคนละชวงเวลา และจากเอ็นไซโคพิเดีย บริเตนนิกา กลาวไววาจีนเปนตนตําหรับทําเครื่องเขิน มาเกาแก ไมนอยกวา ๓๐๐๐ ปมาแลว และในสมัยตนราชวงศหมิง ก็มีโรงงานทําเครื่องเขิน หลายโรงงาน ทําอยูที่เมืองตาลีฟู ในยูนนานและที่ตังเกี๋ย ดังนี้ จึงนาจะยุติวา วิชาการทํา เครื่ อ งเขิ น นี้ แ พร อ อกมาจากจี น ลงมาทางใต ล ะตะวั น ตกสู ป ระเทศต า งๆ ในดิ น แดน ตะวันออกไกลนี้ เครื่องเขินไทย จากขอสันนิษฐานแรกที่วา ไดรับมาจากไทเขินที่อพยพมาจากเชียงตุงนั้นคาดวา คงจะไดรับกรรมวิธีตางๆ จากจีนผานนานเจามาเปนเวลานานจนถึงแหลงที่อยูของไทยทาง รัฐฉานแลว จึงแยกเขาพุกามหรือเชียงใหม กระทั่งเมื่อบุเรงนองเขามาตีเมืองเชียงใหมในป พ.ศ. ๒๐๙๔ – ๒๑๒๔ ก็กวาดตอนชางฝมือ ๕๐,๐๐๐ คนรวมทั้งชางเครื่องเขินเชียงใหมไป พมาดวยและในชวงป ๒๐๐๑- ๒๓๑๘ ที่พมาครองลานนา กษัตริยเชียงใหมตองสงเครื่อง บรรณาการประกอบดวย ชาง มา ผาไหม และเครื่องเขินไปใหพมาดวยตอมาพญาอลอง พญา ยกทับมาปราบลานนาในป พ.ศ. 2305 ไดอีก และไดกวาดตอนผูคนไปอยูเมืองไลขา ในรัฐฉานของพมา จนเกิดการผสมผสานเชื้อชาติระหวางเผาไทย และเผาลาวตามชายแดน ซึ่งทําใหเพิ่มจํานวน ชางฝมือมากขึ้น มีหลักฐานวาคูครองรัฐฉาน เคยนําชางฝมือตามชายา ของตนจากเมือง Linzin ใกลเวียงจันทร ไปตกแตงเจดียดวยกรรมวิธีลงรักปดทองและ ประดับกระจกสี หลังจากนั้นอิทธิพลของพมาในลานนาก็ออนกําลังจนกระทั่ง พระยากาวิละ ไดรับตําแหนงเจาเมืองเชียงใหม ในป พ.ศ.๒๓๒๕ จึงไดฟนฟูเมืองเชียงใหม โดยรบรวม พลเมืองเขามาไวใน ตัวเมือง เปนยุค "เก็บผักใสชา เก็บขาใสเมือง " พระยากาวิละกวาด


๑๓ ตอนชาวเมืองเชียงใหมที่หลบหนีเขาปากลับสูเมืองพรอมดวยผูคนจากสิบสองปนนา ไท ใหญ ไทลื้อ และไทเขินมาเชียงใหม ใหไทเขินตั้งบานเรือนอยูที่ถนนวัวลายดังนั้นเครื่องเขิน จึงเดินทางกลับเขาสูไทยอีกครั้งหนึ่งจนเปนที่รูจักแพรหลายในปจจุบัน สวนกรรมวิธีการลงรักปดทองที่พบวาอยูทั่วไปในประเทศไทยนั้น คงจะไดรับวิธี มาจากจีนเชนกัน และในขั้นตนอาจเปนการทํากันเฉพาะของใชที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา (จากสุโขทัยถึงภาคใต) หรือของสูง เชน ตะลุมมุก หรือพานแวนฟา เปนตน ไมไดทําของใช แพรหลายเหมือนทางลานนา ดังนั้นศัพทเครื่องเขินจึงนาจะเปนที่รูจักในยุคหลังป ๒๓๗๘ มากกวา เนื่องจากมีคนไทยจํานวนมากเขาใจวา ไทยรับวิชาการทําเครื่องเขินมาจากพมา แตที่จริงนั้นพมาไดนําเครื่องเขินไปจากไทย มีเอกสารหลายฉบับที่รับรองความขอนี้ เชน สมเด็จกรมพระยาดํารงราชนุภาพ ทรงกลาวไวในเรื่องเที่ยวพมา พ.ศ. ๒๔๗๘ วาทรงไดรับ ความรูแปลกในทางโบราณคดี เรื่องการทําของลงรักในเมืองพมาไวอยางหนึ่ง จะกลาวไวตรงนี้ดวย “ ฉันไดเห็นในหนังสือพงศาวดารพมาฉบับหนึ่ง วา วิชาทํา ลงรักนั้น พระเจาหงสาวดีบุเรงนองไดไปจากเมืองไทย (คือไดชางรักไทยไปเมื่อตีกรุงศรี อยุธยาไดใ น พ.ศ.๒๑๑๒) ถาจริ งดังว าก็พึง สันนิษ ฐานว าครั้ง นั้นได ไปแต วิธีทํา รัก “น้ํ า เกลี้ยง” กับทํา “ลายรดน้ํา” จึงมีของพมาทําเชนนั้นแตโบราณ แตวิธีที่ขุดพื้นรักลงไปเปน รูปภาพ และลวดลายตางๆ นั้น พวกชางชาวเมืองพุกาม บอกฉันวา เพิ่งไดวิธีไปจากเมือง เชียงใหมเมื่อชั้นหลัง” อาจารยไกรศรี นิมมานเหมินท ปราชญทางศิลปวัฒนธรรมลานนาไดกลาววา ชาว พมาเรียกภาชนะประเภทเครื่องเขินวา “โยนเถ” ซึ่งแปลวา เครื่องของคนโยนหรือคนยวน ซึ่งหมายถึงชาวเชียงใหม ขอมูลนี้ชี้ใหเห็นวาชาวพมาอาจมีการทําเครื่องเขินมากอน แต เทคนิคพิเศษที่เรียกวาโยนเถ นั้นเกิดหลังจากที่ไดชางฝมือเชียงใหมไปเปนเชลยและชาง หัต ถกรรมในหงสาวดี เครื่ อ งเขิน พม ามี ล วดลายดั้ งเดิม จากเชี ยงใหม ตั้ งแตป ลายสมั ย ราชวงศมังราย ราวป พ.ศ.๒๑๐๐ มีหลักฐานบางอยางที่ชี้ใหเห็นถึง การใชยางรักสําหรับ เคลือบผิวภาชนะตางๆ กอนยุคราชวงศมังรายคือ ในสมัยหริภุญไชย เชนที่อาจารยจอหน


๑๔ ชอว ผู เชี่ ย วชาญเกี่ย วกับ เครื่ องป นดิ น เผาไทย ไดค น พบวา เครื่ อ งป น ดิน เผาบางชิ้น ใน วัฒนธรรมหริภุญไชย มีการเคลือบยางรัก สวนเครื่องจักสาน และไมที่เคลือบดวยยางรักใน ยุคนั้น คงเปอยและผุสลายไปกับกาลเวลา เพราะเปนสารอินทรียถาไมเก็บรักษาอยางดีก็จะ แปรสภาพภายในไมกี่ป สวนที่ติดอยูกับดินเผาในหลุมศพนั้น บังเอิญมีการหอหุมอยางดี ทํา ใหยางรักบางสวนตกคางเปนหลักฐานใหเห็นถึงปจจุบันที่พิพิธภัณฑโตกุกาวา (Tokugawa) นครนาโกยา ประเทศญี่ปุนมีการจัดแสดงของใชสวนตัวของโชกุนหลายๆ อยาง มีของใชชิ้น หนึ่งเปนตลับเครื่องเขินทรงกลม ที่เปนแอ็บหมาก (ตลับหมาก) ของเชียงใหม สีดําแดงตาม แบบฉบับของเชียงใหมทุกประการ แตคําอธิบายบอกวาเปนของขวัญจากกรุงศรีอยุธยา ไดมาเมื่อประมาณป พ.ศ. ๒๒๐๐ เขาใจวาเครื่องเขินคงแพรหลายจากเชียงใหมลงมาถึง อยุธยา และเปนของสงออกตามเสนทางคาขายชายทะเลดวย เสนทางวัฒนธรรมเครื่องเขิน


๑๕ จุดเริ่ม : นาจะเริ่มจากจีนตอนใต หรือตะวันออกเฉียงใต เพราะเคยเปนราชธานี ของราชวงคแรกๆ ของจีน กอนแมนจูจะปกครองจีน และมีภูมิอากาศที่ตนรักเจริญเติบโต ไดดี การขยายตัวเขาประเทศไทย: ครั้งแรกนาจะเปนทางบกผานรัฐฉานเขามาลานนา ไปจนถึงสุโขทัย อยุธยา หรืออีกทางอาจจะผานมาตามเสนทางเรือสําเภา ที่เขามาคาขายใน สมัยกรุงศรีอยุธยาก็ได คนแถบลานนา ไดถูกยกยองวาเปนผูที่มีฝมือในการทําเครื่องเขินอยางมาก เชน บันทึกที่วัดประดองอุ ของพมา ไดกลาวถึงเรื่องการใชเครื่องเขินในพุกาม ซึ่งบอกวาเครื่อง เขินที่ดีที่สุดจะมาจากดินแดนชาวยวนในความหมายของคนพมาหมายถึง คนในแถบลานนา ทั้งหมดในชวงหนึ่งที่ชาวไทเขินจากลุมแมน้ําเขิน ไดถูกกวาดตอนลงมาอยูในเมืองเชียงใหม ในสมัยเจากาวิละและไดมาสรางชุมชนวัวลายขึ้นใหชาวไทเขินอยูอาศัยและกําหนดงาน อาชีพใหเปนผูผลิตฝมือตางๆ เชน เครื่องเงิน เครื่องเขิน และอื่นๆ เปนตนโดยเฉพาะเครื่อง เขินจะเปนงานที่เดนมากสําหรับพวกเขา กรรมวิธีใชยางรัก สี ชาด มุก ทองคําเปลว หรือเงินเปลวไปตกแตงภาชนะหรือ วัตถุอื่นใหสําเร็จรูปและสวยงามนั้น ไมไดมีอยูแตในการทําเครื่องเขินของชาวเชียงใหม เทานั้น ประเทศไทยไดใชวิธี ลงรักปดทอง มาแตโบราณกอนอายุเครื่องเขินเชียงใหมแตไมมี คําเรียกชื้อไวโดยเฉพาะ มีแตคําแสดงวิธีการกระทํา เชน คร่ําเงิน คร่ําทอง และเดินทอง ลองชาด คําวาเครื่องเขินนี้เพิ่งมาเกิดขึ้นภายหลัง นายตรี อมตยกุล กลาวไวในหนังสือ ประวัติศิลปกรรมไทยวา การลงรักปดทองนาจะมีขึ้นมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย พระพุทธรูป ซึ่งเปนพระประธานในอุโบสถ ครั้งกรุงสุโขทัย เชน พระพุทธชินราช และพระศรีศากยมุนี ก็ ไดเคยปดทองกันมาแลว และตกมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา เขาใจวาคงจะทําเครื่องรักไดดีแลว จึงมีหลักฐานทางประวัติศาสตรปรากฏอยู ดังนี้จึงกลาวไดวาการทําเครื่องเขินมีที่มาคนละทางและหลังการลงรักปดทองของ สุโขทัยหลายรอยป แตทางสุโขทัยใชกันตั้งแตของใหญ เชนพระพุทธรูปซึ่งถือวาเปนของ สําคัญที่สูงสงจะไมใชกับเครื่องใชประจําครอบครัวทั่วไป ดังนั้นชางจึงไมทําเครื่องลงรัก อยางแพรหลายจนกระทั่งสมัยกรุงศรีอยุธยา และกรุงรัตนโกสินทรวิชาลงรักปดทอง ทําสี และประดับมุก ไดกาวหนารุงโรจนเปนศิลปวัตถุอันงามเลิศ ดังจะเห็นไดจากลวดลายบาน


๑๖ ประตู หนาตาง เชนโบสถ วิหารตามวัดวาอารามมากแหง หรือพระแทนที่ประทับของ พระมหากษัตริย เปนตน สําหรับภาชนะใชสอยตางๆ เชน ตู เตียง และตั่งผูที่เขาไปใน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จะไดเห็นตูพระธรรม ตูใสหนังสือ หีบใสพระธรรมมีลวดลายทอง งดงามวิจิตร ฝมือของชางสมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทรตั้งอยูเปนอัน มาก แตถึงกระนั้นก็ตาม การลงรักปดทองประดับมุก ก็ไมไดทําเปนสิ่งของเครื่องใชประจํา ครอบครั ว ทั่ ว ไปอยู นั่ น เอง คงใช สํ า หรั บ ของที่ เ คารพของศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ และเครื่ อ งใช ข อง พระมหากษัตริย เราจึงไมเห็นเครื่องใชลงรักปดทองแพรหลายตามบานคนธรรมดาสามัญ จะมีบางที่เปนของเกา แตก็เปนสวนนอย เชน พวกของสูงพานแวนฟา และตะลุม เปนตน คงจะเปนเพราะเหตุนี้คนภาคกลางจึงไมมีชื่อเรียกเฉพาะ เหมือนกับคําวาเครื่องเขินของ เชียงใหมและเมื่อเครื่องเขินแพรออกจากเชียงใหมลงมา คนทั้งหลายก็ยอมรับใชกันไปทั่ว และเขาใจความหมายของเครื่องเขินทั่วกัน นอกจากจะแพรไปทางพมาแลว วิธีทําเครื่อง เขินไทยยังแพรไปถึงญี่ปุนและมีชื่อเรียกวา คิมา-เด (kimma - da) ซึ่งเมื่อไดลงรักที่พื้นครั้ง สุดทาย ก็เอาไปแกะหรือขุดใหเปนลวดลาย และจึงนําไปลงสี (แดง น้ําเงิน เหลืองและ น้ําตาล) ใหเต็มตามเสนที่แกะไวเมื่อแหงแลวก็ขัดใหเสมอกัน ศาสตราจารยโตยิโอ โยชิโน อาจารยศิลปะเครื่องเขินในมหาวิทยาลัยโตเกียวกลาววา ‘กรรมวิธีแรกเริ่มในประเทศไทย และพมา ใชภาชนะสําหรับใสคิมมา (ยารักษาโรคชนิดหนึ่ง) ไดเขาไปสู และญี่ปุนไดรับเอา กรรมวิธีนี้ในสมัยอิโค พ.ศ ๒๑๕๘ – ๒๔๑๑ ชาวญี่ปุนที่เขาใจภาษาไทยดีอธิบายคําวา คิมา ไม ใ ช ภ าญี่ ปุ น เห็ น จะเพี้ ย นไปจากคํ า ไทยว า กิ น หมากหรื อ เชี่ ย นหมาก หนั ง สื อ ชื่ อ INROVAND OTHERMINIATURE FORMS JAPPANESS LACQUER ART เขียนโดย Melive และ Jahss เลาถึงกรรมวิธีการทําเครื่องรักญี่ปุนอยางหนึ่ง ซึ่งชื่อ KIMMA มี ลักษณะเดนคือ โครงภายในเปนไมไผสานลงรักสีแดงคล้ํา มีลายขุดที่ผิด เปนภาพลายเสน ตางๆ เชน นกและอื่นๆในรองเสนเหลานั้นถมดวยสีตางๆ หลากสี อางวาเปนเทคนิคญี่ปุนที่ ไดจากกกรุงสยามตั้งแตสมัย Momoyama ( พ.ศ. ๒๑๖๖-๒๑๕๘ ) และคําวา Kimma ไม มีในภาษาญี่ปุน ( ฟงเสียงคลายคําวา กินหมาก ) การลงรักปดทอง ทําสี ประดับมุก หรือประดับกระจก ของทางภาคกลาง ได เสื่อมลงตามลําดับเชนเดียวกับของเขินของเชียงใหมในปจจุบัน ไมมีชางที่จะเทียบฝมือได เทากับชางในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือ กรุงรัตนโกสินทรทั้งดานการลงรักปดทอง หรือเรียก กันวาลายรดน้ําและลงรักประดับมุกลายรดน้ําของเกาจะไดเห็นจากตูพระธรรมตางๆใน พิพิธภัณฑแหงชาติสวนลงรักประดับมุกจะไดเห็นจากวัดพระอุโบสถตางๆ เชน วัดศรีรัตน


๑๗ ศาสดาราม ในคณะไตหวันของจีนกําลังฟนฟูเครื่องลงรักของเขาเชนเดียวกับไทย สวนทาง ญี่ปุนที่เชื่อกันวาไปเรียนจากจีนจากเกาหลีนั้น ไดเจริญกวาหนาตามลําดับ เครื่องเขินหรือ เครื่องลงรักของญี่ปุนประณีต งดงาม นิยมกันทั้งโลก สามารถผลิตขายเปนสินคาสงออก สําคัญอยางหนึ่ง สําหรับไทยเรากรมศิลปากรเคยจางอาจารยชาวญี่ปุน ชื่อ เอส วิกี้ มาสอนวิชาลง รักอยูเปนระยะเวลายาวนานหนึ่งป พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๔๘๓ และไดยกเลิกไหนภายหลัง อาจารยผูนี้ไดเพาะศิษยไวประมาณ ๒๐ คนแตปจจุบันไดสิ้นชีวิตไปบางแลวก็มี ไปมีอาชีพ อื่นเพราะไดประโยชนมากกวาชางรักบางก็มี คงเหลือทําศิลปะชางรักอยูเพียงไมกี่คน เมื่อ รวมชางรุนเกาที่สืบทอดวิชากันมาตั้งแตบรรพบุรุษเขาดวยกันแลว วานที่ชางเหลานี้ทําก็คือ ชอฟา ประตู หนาตาง โบสถ วิหาร ธรรมาสน ตูพระไตรปฎก หัวโชน เรือหงส โตะหมูบูชา เปนสวนใหญกรมศิลปากรไดเริ่มกลับมาสอนวิชาลายรดน้ําอีกครั้งใน พ.ศ. ๒๔๙๘ เปน เพียงวิชาที่แทรกอยูในหลักสูตรของคณะวิชาตางๆ เชน สถาปตยกรรม และ โรงเรีย น เพราะชางเปนตน เครื่องเขินเชียงใหม ตั้ ง แต เ ดิ ม มา คนในเมื อ งเชี ย งใหม และ บริเวณใกลเคียง มีการทําเครื่องเขินแบบพื้นเมืองอยู แลว ซึ่งสวนใหญเปนเครื่องเขินประเภทใชโครงสาน ด ว ยไม ไ ผ ทาด ว ยยางรั ก เพี ย งไม กี่ ค รั้ ง และตบแต ง ประดั บ ประดาอย า งง ายๆ สํ าหรั บ ของใช ป ระจํ า วั น และภาชนะในพิ ธีก รรม เช น งานบุ ญ ตรุ ษสงการณ งานบูชาเสาอินทขิล งานบุญดอกไม งานถวายขาวพระ เปนตน ตอมาเมื่อการนําเอาชาวไทเขินเขามาเปนชาง เครื่องเขิน ตามแบบอยางที่เคยทํามา เมื่อครั้งอยูใน กลุ มน้ํ า ขืน ที่เ ชี ยงตุง รูป แบบเครื่ องเขิ น ใหมๆ จึง ได เกิดขึ้นในระยะหลัง จากการผสมผสานรูปแบบดั้งเดิม ของเชี ย งใหม กั บ รู ป แบบจากเชี ย งตุ ง เพื่ อ เป น การ สนองตอบตอความตองการ และรสนิยมใหมในลานนา


๑๘ ดังนั้นจึงกลาวไดวาเครื่องเขินเชียงใหมสามารถจําแนกออกเปนสองกลุมใหญๆ ไดคือ แบบ พื้นเมือง ซึ่งจะพบมากในชนบทของเชียงใหม และ แบบเครื่องเขินวัวลาย ซึ่งเรียกชื่อตาม ละแวกหมูบานที่มีการผลิตเครื่องเขินของเมืองเชียงใหม ในเขตบานวัวลาย บานนันทาราม และบานระแกงทางดานใตของตัวเมือง เครื่องเขินแบบพื้นเมือง

สวนใหญมีโครงสานเปนลายลายขัดหรือขดใหเกิดรูปทรงแบบตางๆ ตามความ ตองการ มีการดามและรัดขอบเปนชั้นๆ ใหเกิดความแข็งแรง และสวยงามดวยตอกหรือ หวาย การตกแตงประดับประดาเกิดจากลวดลายของการสานเสนตอกไมไผในบางสวน


๑๙ และอีก หลายส วนเป นการถมพื้นใหเรียบ เขีย นลวดลายดว ยชาดสี แดง บาทีมีก ารแตะ ทองคําเปลวเนนสวนสําคัญของลวดลายใหเดนชัดขึ้น ลักษณะของการเขียนลวดลายคือ การใชพูกันจุมยางรัก หรือรักผสมชาด หรือหยดบนพื้นของภาชนะเปนจุดจอดวยการลาก ใหเปนทางยาวออกไปทําใหเกิดลวดลายคลายกับลูกออดและเมื่อมีลวดลายเชนนี้ติดตอกัน เปนชุด ก็จะไดรูปของกลีบดอกไม หรือลายเครือเถาตางๆมากมายอยางไมสิ้นสุด รูปทรงอัน นี้ทําใหเกิดลวดลายที่เปนแบบเอกลักษณของศิลปะลานนา การเขียนลวดลายดวยยางรัก ซึ่งไมสามารถเขียนไดรวดเร็วเชนสีน้ํามัน เพราะยางรักมีความหนืดสูง การเขียนลวดลาย ตองอาศัยความใจเย็น ความชํานาญ และความแมนยําในการวางลวดลายถาผิดพลาดแลว ยากตอการลบทิ้ง ประเภทของเครื่ อ งเขิ น แบบพื้ น เมื อ ง ที่ แ พร ห ลายในอดี ต คื อ ขั น หมากใหญ ทรงกระบอก เสนผานศูนยกลางประมาณ ๑๒ นิ้ว ถึง ๑๘ นิ้ว สูงประมาณ ๑๒ นิ้ว ปุงใส เมล็ดพืชและของจุกจิ กทั่วไป กระบุงเล็กหรือขันโอสําหรับใสของถวายพระและเครื่อ ง ประกอบพิธีกรรม หีบใสผาสําหรับพิธีแตงงาน แตเดิมเครื่องเขินประเภทนี้ชาวพื้นเมืองจะ ผลิตขึ้นใชเอง ในพื้นที่ของตนไมไดมีการซื้อขายอยางจริงจังดังนั้นระดับงานฝมือในเขต ลานนาจึงเปนศิลปะพื้นบานที่เดนชัดไมไดมีแบบแผนที่ตายตัว ลวดลายที่เขียนก็มีลักษณะ เปนการวาดแบบสดๆ มีลีลาและแนวทางการสรางสรรคสูงมาก แหลงผลิตที่พอติดตามไดก็ คือ หมูบานชาวไทยเขินที่บานตนแหน อ.สันปาตอง บางหมูบานในจังหวัดลําพูน ตลอดจน บางพื้นที่ของอําเภอแมริม และอําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม เครื่องเขินแบบวัวลาย สวนใหญมาจากแหลงผลิตบริเวณเขตหมูบานวัวลาย และ หมูบานนันทาราม บางสวนมาจากบานระแกง บานศรีปนครัว บานดอนปน และบานดอน จั่น ลักษณะการผลิตเปนงานหัตถกรรมกึ่งอุตสาหกรรม โดยมีการแบงหนาที่และขั้นตอน การผลิ ต เป น สั ด ส ว น บางบ า นก็ รั บ ทํ า งานเฉพาะตบแต ง เท า นั้ น การทํ า การผลิ ต การ ดําเนินการตลอดทั้งปไมไดทําแบบชั่วคราวหรือสมัครเลน ตางจากผูผลิตเครื่องเขินพื้นเมือง ซึ่งเปนชาวไร ชาวนาเสียสวนมาก ที่นิยมทําตอเมื่องอยูชวงหนาแลงยามวางจากกิจกรรม ทางเกษตร โครงสรางของเครื่องเขินวัวลาย นิยมเปนโครงสานลายขัดดวยเสนตอกไมไผ ที่มี การเหลาใหไดขนาดเล็ก เรียบ บางคลายหางมะพราว สานขัดตอกเสนบางสานขัดกับตอก เสนบางแบบเปนรูปแฉกรัศมีจากกนของภาชนะจนไดรูปทรงตามความตองการ โดยไมไดมี การดามโครงใหแข็งเปนสวนๆ เชนโครงเครื่องเขินพื้นเมือง เครื่องเขินวัวลายจะมีโครงที่


๒๐ แนน แข็งแรง เรียบเสมอกันโดยตลอด เมื่อยารองและลงสมุกแลวขัดดวยใบหนอดหลายๆ ครั้งก็จะไดรูปภาชนะที่คอนขางเรียบ เกลี้ยงบาง มีความเบา ยืดหยุนไดมากกวา โครง เครื่องเขินพื้นเมือง โครงสรางของเครื่องเขิน ผลิตในหมูบานศรีปนครัว บานดอนจั่น นิยม การขดตอกไมไผเปนทรงกลม เชน พาน ตะลุม และภาชนะทรงกระบอกตางๆ มีความหนา แลวเทอะทะกวาของบานวัวลาย แตก็เหมาะสมกับหนาที่การใชสอยของภาชนะนั้นๆ

การตกแตงของเครื่องเขินวัวลายสวนใหญ นิยมการขูดลาย หรือภาษาถิ่นเรียกวา “ฮายดอก” ภาชนะที่จะฮายดอกตองมีผิวยางรักที่แหงสนิทและเรียบ การฮายดอกตอง อาศัยความชํานาญเปนอยางมาก โดยที่ไมใหเกิดเสนลึกมากจนยางรักกะเทาะออก หรือ


๒๑ แผวเบาเกินไปจนทําใหลวดลายมองเห็นไดยาก การขีดเสนดวยเหล็กเข็มบนผิวดําเงาวาว นั้น เปนการยากลําบากที่จะมองเห็นตัวลวดลาย ฉะนั้นความชํานาญ และประสบการณจึง เปนสิ่งสําคัญมากสําหรับผลงานที่สวยงามเมื่อทําเสร็จแลว ตอจากนั้นจึงนํายางรักที่ผสมกับ ชาดสีแดง ถมลงไปในรองที่กรีดไว รอใหแหงซึ่งใชเวลาหลายวัน แลวจึงขัดสวนนอกสุดออก จึงมองเห็นลวดลายสีแดงที่ฝงอยูบนพื้นสีดําของยางรัก จากนั้นจะเคลือบดวยยางรักใส หรือ รักเงา เพื่อเปนการปดเคลือบลวดลายทั้งหมด ใหติดแนนกับภาชนะอีกครั้งหนึ่ง แตเดิมงานบางชิ้นมีการประดับกระจกเกรียบฉาบบนดีบุก เรียกวา แกวอังวะ (แกวจืน) บนภาชนะที่เปนเครื่องเขิน โดยใชยางรักเปนกาวติด และรักปนปดขอบกระจกให ติดแนน การติดกระจกเกรียบแบบภาคกลาง กระจกสีแบบพมา หรือกระจกสีชาจากญี่ปุน เปนรูปแบบที่เกิดขึ้นภายหลังโดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสมัยที่มีการสงเสริมการทองเที่ยว และ สินคาตกแตงบานประเภทเลียนแบบของโบราณ การติดเปลือกหอยมุก เปลือกไขและ กระดูกสัตวก็เชนกัน เปนเทคนิคสมัยใหมที่นํามาจากแหลงอื่น การเขียนสีน้ํามัน สีอะคริลิค (Acrylic) พนสี ทาน้ํามันวานิช ตลอดจนการทําใหเครื่องเขินดูคลายของโบราณดวยวิธีการ สมัยใหม ก็เปนสวนที่รวมสมัยของเครื่องเขินเชียงใหมซึ่งนิยมทํากันในปจจุบัน เครื่องเขินแบบไทใหญ ไทใหญหรือไต หรือเงี้ยว เปนชนกลุมนอยที่อาศัยตาม ชายแดนดานจังหวัดแมฮองสอนนิยมทํางานเครื่องเขิน เพื่อใชในครัวเรือนและพิธีกรรมทาง ศาสนา ในแบบอยางที่ทําขึ้นเพื่อประโยชนใชสอยทั้งสองประการ ดูคอนขางจะชัดเจนใน แนวความคิดและรูปแบบของงาน ที่ทําขึ้นใชเพื่อตนเอง และทําขึ้นใชดวยศรัทธาสูงสุดตอ พระพุทธศาสนา ชาวไทใหญมีขนบธรรมเนียม และประเพณี เปน ของตนเองมาอยางยาวนาน สิ่งที่เดนชัดจนเปนเอกลักษณ และวั ฒ นธรรมของเขา คื อ ความเคารพ เลื่ อ มใสใน พระพุทธศาสนา งานบุญจะถูกจัดเปนพิธีกรรมที่ใหญและ เป ยมล นด วยศรัท ธา ไตทุ กคนทุก ครั ว เรื อ นจะไปวัด ไป ทําบุญดวยขาวปลาอาหาร และเครื่องบูชาพระ ภาชนะที่ ใชบรรจุสิ่งเหลานี้ก็คือ เครื่องเขินประเภทขันขาว ขันโตก และขันดอก ซึ่งทําขึ้นอยางประณีตสวยงามดวยไมสัก ไม ไผสาน ขดเคลือบยางรัก หรือหางแลวตกแตงดวยวิธีการ และวัสดุตางๆ เชน สมุก ทองคําเปลว กระจกสี พลอย


๒๒ และหินสีตางๆ รูปแบบและขนาดของการตกแตงภาชนะดังกลาวจะแสดงถึงฐานะและ ศรัทธาของผูทํา ผูใดมีฐานะและศรัทธาสูงสงก็จะทําอยางใหญโต พรอมกับการตกแตงที่ วิจิตรพิสดาร ดวยลวดลายตกแตงที่มีความละเอียด โดยการปนสมุกใหนูนต่ํา และนูนสูง เปนพันธุพฤกษาลวนๆ หรือลายพันธุพฤกษากับรูปสัตวชั้นสูง เชน นกยูง สิงโต กิเลน นาค ปดดวยทองคําเปลวประดับ (ฝง) กระจกสี หินสีและพลอยสีตางๆ ผูใดมีฐานะยากจนแตเปยมลนดวยศรัทธา ก็จะทําเพียง เคลือบดวยหางสีแดงคล้ํา แลวเขียนลายดวยรักดํา หรือรักแดง ถาหาซื้อทองคําเปลวไดบาง ก็จะมีสีทองผสมผสานอยูในลายนั้นดวย หรือ การตกแตงอีกแบบหนึ่งก็คือ การใชเหล็ก แหลมขุดเขียนลายลงบนยางรักที่เคลือบไวพอเห็น แบบภาชนะจึงมีใหเห็นอยางหลาหลาย เมื่อไปชุมนุมงานบุญกันที่วัด กิจกรรมทั้งการสราง การใชขันขาว ขันโตก ขันหมากและขันดอกในงานบุญ และ การทําการใชปุง ขันโตก ขันโอ หีบผาสําหรับตนเอง ก็จะทําดวยรูปแบบและการตกแตงที่ เรียบงาย ไมหรูหราอลังการเหมือนที่ใชในงานบุญ เชน ใชยางรักหรือหางฉาบทาบนผิวภา ชะบางๆ เพื่อความคงทนของวัสดุ อาจตกแตงขุดเขียนลายดวยสี และเหล็กแหลมบาง การ ทํา การสรางและการใชที่สืบทอดกันมาอยางยาวนาน จึงเปนกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่มี คุ ณ ค า และสํ า คั ญ ยิ่ ง ของชาวไทใหญ ค วรที่ จ ะได อ นุ รั ก ษ รั ก ษาไว เ ป น มรดกทาง ศิลปวัฒนธรรมของชาติสืบไป ประเภทของเครื่องเขิน การใช เ ครื่ อ งเขิ น เป นวั ฒ นธรรมสํ า คัญ อยา งหนึ่ง ของภาคพื้ น เอเชีย อาคเนย โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ชาวลานนาไดใชเครื่องเขินมาชานาน แลว และมีรูปแบบรูปทรงที่หลากหลาย สนองตอบการใชสอย คานิยมและรสนิยมของ สังคม รูปแบบที่แพรหลายและมีลักษณะเดนเฉพาะของเครื่องเขินลานนามีดังนี้ ๑. ปุง ตั้งแตโบราณมาแทบทุกครัวเรือนของชาวลานนา จะมีภาชนะประเภทนี้ไว ใชเรือนละอยางนอย ๒ ถึง ๓ ใบ ปุงมีโครงเปนเครื่องสานคลายกลองขาวเหนียว มีกน สี่ เ หลี่ ย ม ส ว นใหญ เ ส น ผ า ศู น ย ก ลางประมาณ ๑๒ นิ้ ว สู ง ประมาณ ๑๘ นิ้ ว คอคอด ทรงกระบอก มีฝาปดคลาย ๆ ขวดโหลแกว ฐานของปุง ทําดวยไมจริงเปนกรอบสี่เหลี่ยม


๒๓ จัตุรัส สูงประมาณ ๒ ถึง ๓ นิ้ว คาดรัดติดกับปุงดวยเสนหวาย ถักยึดกับคอของภาชนะ ตัว ของปุง มีลักษณะอวนปอง ทาดวยยางรักหนาพอสมควรจึงมีลักษณะแข็งแรง รองรับการก รทบกระทั่งไดดี การตกแตงสวนใหญเปนการเขียนลวดลายดวยชาด เปนลายพันธุพฤกษา แบบพื้นเมือง ไมนิยมมีรูปสัตว ลวดลายตกแตงจะเนนดานขางสี่ดานของภาชนะ เปดเปน ลายชองกระจก ไมปรากฏวามีการปดทองคําเปลวหรืองานประดับกระจกปกติจะมีรูสําหรับ รอยเชือกจากฐานไม โยงผานหูปลวกหวายที่คอของภาชนะ สําหรับหิ้วหรือหาบดั้งเดิมมี หนาที่ใชสอยสําหรับเก็บเมล็ดพันธุพืช และของใชสวนตัว มิไดใชรับแขกหรือเปนหนาตา ของเจาของบาน ไมปรากฏวามีปุงที่ตกแตงดวยเทคนิคการฮายดอก สวนใหญเจาของบาน ทําขึ้นใชเองหรือไหววานเพื่อนบานคนคุนเคยทําให มิไดทําสําหรับการซื้อขาย ดังนั้นขีด ความสามรถ ทั ก ษะอารมณ แ ละความเฉพาะตั ว ทางศิ ล ปะพื้ น บ า นแท ๆ ของล า นนา ปราศจากกรอบและแบบแผนของสกุลชางที่เปนกฎเกณฑบังคับ


๒๔ ๒.ขั น หมาก การกิ น หมากเคี้ยวหมากเปนวัฒนธรรม ของคนเอเชียโดยทั่วไป ภาชนะ ใส ข องประกอบการกิ น หมาก ภ า ษ า ไ ท ย ก ล า ง เ รี ย ก ว า เชี่ยนหมาก ชาวลานนาเรียกวา ขันหมาก ลักษณะของขันหมาก พื้ น เมื อ งของชาวล า นนา โดย เฉลี่ยมีขนาดคอนขางใหญ และ หรูหรากวาภาชนะที่เกี่ยวของกับ การกิ น หมากในภู มิ ภ าคอื่ น ขันหมากลานนามีโครงเปนไมไผสาน และขดเปนทรงกระบอกกลมหรือหักเหลี่ยมโคง กวาง ประมาณ ๑๕ นิ้ว สูง ๑๒ นิ้ว ถึง ๒๐ นิ้วเปนกลองขนาดใหญสําหรับใสใบพลูชั้นลาง และมี ถาดเปนฝาปดขางบนเพื่อรองรับตลับหมากขนาดเล็ก ใหญใสเครื่องเคี้ยวอื่นรวมทั้งมีดผา หมาก และเตาปูน ขันหมากสวนใหญตกแตงดวยการเขียนลวดลายสีชาด และรักพิมพ บางครั้งมีก ารเติมดว ยทองคําเปลวเพิ่มความสวยงาม หรูหรามากขึ้น การติดเบี้ ยที่ตี น ขันหมากแสดงออกถึงความร่ํารวย และมีกินมีใชของเจาของบาน ดังนั้น หนาที่ใชสอย สําคัญของขันหมากนอกจากใชเปนของใชประจําบานแลว ยังเปนหนาเปนตาและความ ภูมิ ใจของเจา ของเรื อน โดยเฉพาะอย างยิ่ง ในการตอ นรั กแขกที่ม าเยี่ ยมเยื อน ในอดี ต เจาของเรือนจะนําเอาขันหมากใบสวยงามออกมาตอนรับแขกที่มาถึงบนเรือน เปนการ แสดงออกถึงไมตรีและการใหเกียรติ อีกทั้งเปนการแสดงออกถึงรสนิยมที่ดีและความมั่งมี ของเจาของเรือน แตเดิมชุดตลับเล็กๆบนถาดฝาขันหมากเปนไมกลึงสวยงามบางครั้งก็เปน ตลับขดดวยดอกไมไผทารัก เชนเดียวกับตัวขันหมาก ในสมัยหลัง ๆ นิยมใชตลับเงินตีดุน เปนลวดลายแทนไมกลึง ทําใหแลดูหรูหราภูมิฐานมากขึ้น


๒๕ การผลิตขันหมากพื้นเมืองแตละพื้นที่ จะมีผูชํานาญการ หรือผูผลิตในเชิงธุรกิจ นับตั้งแตการขึ้นโครงสาน การทารัก ทาชาดและเขียนลวดลายประดับประดา รูปแบบของ งานจะปรากฏออกมาเปนกลุมสกุลชางประจําถิ่น พบอยูกันเปนละแวกกวาง ๆ แตรัศมีไม ไกลจากแหลงผลิตเทาใดนักลูกคาผูซื้อจะมาสั่งทําเปนราย ๆ มิไดมีการผลิตแลวนําไปเรขาย ทั่ว ๆ ไปดังนั้นความหรูหราประณีตและวิจิตร จะขึ้นอยูกับผูสั่งทําขันหมาก ประกอบกับขีด ความสามารถและทักษะของชางผูผลิต บางครั้งพบวาชางเครื่องเขินพื้นเมืองประเภทนี้เปน ภิกษุ สามเณรที่ชํานาญทางดานงานศิลปะ และงานชางทั่วไป และทํางานเครื่องเขินเปน งานอดิเรก เชน อดีตเจาอาวาสวันตนแหนนอย เชื้อสายไทเขินที่บานทุงเสี้ยว อําเภอสันปา ตอง จังหวัดเชียงใหม อยา งไรก็ต าม รู ปแบบขั นหมากพื้น เมื องนี้ คอ ยขา งจะมี โครงสรา ง และการ ตกแตงคลาย ๆ กัน คือมีโครงสานดวยตอกแบน ตามดวยตอกเสนหนาขดเปนวงกลม เสริม ใหแข็งแรงเปนปลอง ๆ ตีนขันหมากจะผายออกเล็กนอย ถาดฝาบนตัวขันหมากมีขอบสูง ปองกันตลับกลิ้งตกจากขันหมากชวงตัวตอนกลาง จะมีลวดลายประดับเปนลวดลายหลัก ใชรักสีดําและชาดสีแดงตัดกัน เปนองคประกอบทางศิลปะ ลักษณะรูปทรงเชนนี้ พบทั่วไป อยางหนาแนนในเขตเชียงใหม ลําพูน ลําปางแพร นาน และประปรายในพื้นที่ใกลเคียง ขันหมากแบบวัวลาย มีลักษณะตางจากขันหมากพื้นเมืองมากพอที่จะเห็นขอ แตกตางอยางชัดเจน เชน โครงสรางทําดวยตอกเสนกลมเล็ก สานลายขัดกับตอกเสนแบนที่ จัดเปนรัศมีจากกลางของกนขันหมากออกไปเมื่อสานไดเปนวงกลมขนาด ๑๒ นิ้วก็จะหัก ขึ้นและสานตอเปนทรงกระบอกเตี้ย ๆ สูงประมาณ ๖ – ๘ นิ้ว ไมนิยมรัดขอบเปนปลอง ดังนั้นจึงมีรูปทรงเปนกระบอกเกลี้ยง ถมดวยสมุกและขัด ใหเรียบหลาย ๆ ครั้ง กอนที่ ตกแตงดวยเทคนิคการฮายดอก ดานนอกของรูปทรงกระบอก ภายในทาสีแดงชาดเรียบ รวมทั้งถาดปดและกนขันหมาก ลวดลายขูดจะมีโครงลายที่คอนขางแนนอน แตมองเห็นไม คอยชัดเจนเพราะลวดลายมีพื้นผิว และสีสันที่ทําใหแลดูเสมอกันทั่วทั้งภาชะนะ คือ เปนสี แดงคล้ํ า ๆ ตัด กับ สีแ ดงเรี ยบของถาดและกน ภาชะนะ ลวดลายที่ นิย มกั นแตอ ดีต เป น ลักษณะดอกไมที่มีกานตอ เรียกวาดอกกากอก และดอกสารภี บางครั้งมีลักษณะเปนกาน


๒๖ เกสรดอกไม หรือดอกบัวเล็ก ๆเต็มเปนพื้นคลุมทั้งภาชะนะ การผลิตก็ทํากันอยางพิถีพิถัน เพราะเปนงานฝมือที่ละเอียด อาศัยชางผูชํานาญที่ทํากันเปนกลุม มีการผลิตตลอดป โดยที่ ไมตองรอการสั่งของลูกคา บางที่มีการทําเก็บเอาไวมาก ๆ เมื่อไดจํานวนตามตองการก็ เดินทางไปจําหนายในตลาด ตางบานตางเมือง ในสมัยโบราณมีการหาบคอนเปนคาราวาน เพื่ อนํ า ขัน หมากเครื่ องเขิ น วัว ลายไปขายตามเมือ งสํา คั ญในลา นนาและพื้น ที่ ใกล เคี ย ง ขันหมากแบบวัวลายเปนที่นิยมของผูคนในเมืองมากกวาคนในชนบท อีกทั้งยังมีราคาสูง สําหรับชาวบานธรรมดา เมื่อเทียบกับเครื่องเขินพื้นเมือง ดังนั้นขันหมากแบบวัวลายสวน ใหญ จึงปรากฏพบอยูในเขตเมืองสําคัญของลานนา ในพื้นที่ ที่กวางและไกล ชุดขันหมากวัว ลายบางทีก็ขายพรอมกับตลับชุดที่มีลวดลายแบบเดียวกัน หรือเปนตลับเงิน ซึ่งก็ผลิตจาก แหลงเดียวกับตัวขันหมาก ขันหมากวัวลายนี้โดยหลักการแลว ถือวาเปนการผลิตงานหัตถอุตสาหกรรมตาม เทคนิคของชางไทเขินในรัฐฉาน แตรูปแบบของภาชนะไดปรับใหคลอยตามกับหนาที่ใชสอย ใหม ที่นิยมกันในเขตลานนา ทั้งคุณภาพและรูปแบบนับวาประณีตและวิจิตร เปนที่ยอมรับ ในระดับสากลวา เปนงานที่ดีมีคุณคาทางศิลปะ อีกทั้งยังเปนตัวแทนของวัฒนธรรมไทยที่ ควรไดรับการยกยอง และสงเสริมใหมีการอนุรักษไว ๓. ขันดอกและขันโตก พานใสดอกไม และเครื่องเซนไหวของชาวลานนาเรียกวา ขันดอกมีลักษณะคลายจานที่มีฐานยกสูงขึ้นไป เขาใจวาคงไดรูปแบบหรืออิทธิพลมาจาก จานเชิงของคนจีน ซึ่งเปนเครื่องปนดินเผา แตวาขันดอกจะมีสวนจาน และฐานเปนรูปของ บัวคว่ํา บัวหงายอยางชัดเจนหรืออีกชื่อหนึ่งที่เรียกวา ฐานปทม สวนใหญขันดอกแบบ โบราณจะทําจากไมสักกลึง สองหรือสามตอนมาสวมตอกันเปนรูปพาน ทาดวยยางรัก และ ตกแตงดวยการเขียนลวดลายสีดํา สีแดงเปนกลีบบัวสอดไส ขนาดทั่ว ๆ ไปของขันดอกสูง ประมาณ ๑๒ นิ้ว และเสนผาศูนยกลางประมาณ ๑๐ นิ้ว ใชสําหรับใสขาวตอกดอกไม ธูป เทียนไปวัดหรือในพิธีกรรม บางทีก็ใชใสเครื่องเซนไหวและของที่มอบใหเปนทางการในพิธี สําคัญ


๒๗

ขันดอกไมกลึง เปนขันดอกประเภทหนึ่งที่ชาวลานนา ไดรับอิทธิพล และแบบ จากขันดอกของชาวไทเขิน เรียกวา “ขันซี่” หรือ “ขันตีนถี่” ซึ่งมีลักษณะเฉพาะที่เดนมาก กลาวคือชวงที่เชื่อมระหว างตัวพานไมกลึง กับฐานไมกลึง แทนที่จะเปนไมกลึงทรงบั ว ลูกแกว ก็จะเปนซี่ไมกลึงขนาดเล็ก ๆ เรียงชิดกันเปนแถวรอบฐานทรงกลมคลายขันโตก ขัน ซี่ทั่วไปจะทาสีแดงชาดเทานั้นไมนิยมมีลวดลายประดับ เหมือนขันดอกแบบพื้นเมือง ขันซี่ บางชุ ด มี ก ารกลึ ง ลวดบั ว ที่ มี สั ด ส ว นสวยงามแปลกตา บางชุ ด ก็ มี ค วามกว า งขนาด เสนผาศูนยกลางประมาณ ๑๘ นิ้ว หรือมากกวานั้น ใชสําหรับเปนขุนตั้ง หรือภาชนะในพิธี สําคัญทางศาสนา ซี่ไมที่เปนขามีการเหลาเปนปลอง ๆ สวยงาม เมื่อเรียงเปนแถวจะมี ลักษณะคลายลูกกรงระเบียงบาน ขันโตกเปนภาชนะที่มีโครงสราง และวัสดุเชนเดียวกับขันดอก แตวามีขนาด การ ตกแต ง และประโยชน ใ ช ส อยที่ แ ตกต า งออกไป ปกติ ขั น โตกจะเป น ไม ก ลึ ง ขนาด เสนผาศูนยกลาง ๑๕ - ๒๐ นิ้ว มีขาเปนไมกลึงเรียกวา ลูกติ่ง ( ลูกกรง ) ๖ หรือ ๘ ขา เชื่อมระหวางตัวโตกกับฐาน ขันโตกที่ชาวบานใชโดยทั่วไป เปนโตกไมธรรมดาหรือทายาง


๒๘ รักสีดํา สําหรับเปนภาชนะรองถวยใสอาหารขันโตกสําหรับชนชั้นสูงและพระสงฆสวนมาก นิยมทาชาดสีแดง มีขนาดใหญกวาขันโตกของชาวบานบางครั้งมีฝาชีปดครอบ ทําดวย เครื่องสานหรือไมจริงเรียกวา อูบขาว ( ตะลุม ) ขันโตกทาชาดสีแดงบางครั้งก็ใชในพิธีกรรม เชน การจัดขันตั้ง ( ขันไหวครู ) ขันขวัญ ( บายศรี ) และขันใสเครื่องไทยทานถวายพระเปน ตน

ขันดอกของเชียงใหมที่นิยมกันมาแตอดีต มีโครงเปนไมไผขดเปนโครงสรางเกือบ ทั้งใบตั้งแตฐานจนถึงขอบของพาน จะมีสวนที่เปนการสานลายขัดก็เฉพาะแตกนของตัว ถาดเพียงเล็กนอยสวนมากทาสีแดงชาดเชนเดียวกับขันซี่ ยกเวนกลุมที่ผลิตขึ้นในเขตบาน วัวลาย บานนันทาราม ซึ่งนิยมทําขันดอกมีลวดลาย การฮายดอกเปนกลีบบัวมีลวดลาย แปลก ๆ แลดู ล ะเอี ย ดประณี ต มี ร สนิ ย มสวยทั้ ง รู ป ทรงและลวดลายตกแต ง ปรากฏ แพรหลายในตัวเมืองสําคัญตาง ๆ ในลานนา ขันดอกแบบวัวลายบางชุด มีการตกแตงดาน นอกเปนลายรดน้ําปดทองแบบพานแวนฟา ของไทยภาคกลางซึ่งนาจะปรากฏขึ้นในยุคหลัง ใชสํ าหรั บตั้ง เครื่ องพิ ธี เพราะวา ลายทองไมเ หมาะสํา หรับ หนา ที่ใช สอยของตัวภาชนะ ทองคําเปลวจะหลุดเมื่อมีการสัมผัส ถูไถบอย ๆ ถึงแมขันดอกจะมีรูปทรงคลายขันโตก แต โดยทั่วไปแลวจะไมใชสําหรับใสอาหารรับประทาน จะใชเฉพาะของแหงและเครื่องไหว เทานั้น


๒๙ ๔.ขั น โอ ภาชนะเครื่ อ งรั ก ที่ มี ลักษณะรูปทรง ที่พัฒนามาจากกระบุงไม ไผ ส านสํ า หรั บ ใส ข องหลายประเภทใน พิธีกรรมและการไปทําบุญเรียกวา ขันโอ รู ป ทรงขั น โอเหมื อ นกระบุ ง ขนาดเล็ ก ปอม ๆ เตี้ย ๆ ทาดวยยางรักเรียบ ดาน นอกสี ดํ า ด า นใน สี แ ดง มี หู เ ล็ ก ๆ สี่ หู สําหรับรอยเชือกหาบปากขันโอมีถาดวาง ปดไว ก นขัน โอมี การเสริ มปุม สี่ปุม ดว ย การปนยางรักใหหนารองรับการถูไถไดดี บางทีก็ใชหอยเบี้ยเสริมความแข็งแรงของปุมรองกน ขันโอจะนิยมผลิตเปนคูเสมอ เรียกวา หาบ ไมคานหาบสวนใหญจะเปนไมคานเรียวเล็ก ตอปลายทั้งสองใหงอนขึ้นหรือแกะสลัก เปนลวดลายอยางสวยงาม ขันโอที่เปนใบเดี่ยวไมมีคูจะมีขนาดเล็กกวา เสนผาศูนยกลางประมาณ ๑๐ ถึง ๑๒ นิ้วประดับดวยลวดลายการเขียนสีหรือปดทอง ไมมีหูรอยเชือกเพราะใชอุมเหมือนขัน เงิน หรือสลุงเงิน นาจะเปนอิทธิพลจาก “กอกโอ” หรือ “ซาของ” ของชาวไทเขินจากเชียง ตุง ขั น โ อ ที่ ผ ลิ ต ใ น จั ง ห วั ด เชี ย งใหม โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ละแวก บานวัวลาย จะมีโครงสรางเปนลายสาน ขัดตอกคลาย ๆ ขันหมากวัวลาย คือมี ทรงกลมผสมกับทรงกระบอก มิไดมีกน และตัว แบบกระบุง รูปทรงเหมือนขั น น้ําทั่ว ๆ ไป ขันโอบานวัวลายจะมีขนาด ใหญเกือบเทากระบุง ทายางรักสีแดงทั้ง


๓๐ นอกและใน ไมมีหูรอยเชือก แตใชสาแหรกหวายรองรับสําหรับการหาบ ขันโอวัวลายบาง ชุดมีการตกแตงดวยการฮายดอกดานนอกของภาชนะ แตลวดลายคอนขางใหญตามขนาด ของภาชนะ คือใหญกวาลวดลายของขันดอกไม และขันหมาก ขันโอบานวัวลาย ไดพัฒนาไปสูรูปแบบของขันน้ําพานรอง และขันน้ําสาครตาม ความตองการของตลาดในยุคสมัยรัชกาลที่ ๖ เพื่อสงไปยังภาคกลางพรอมกับของใช ของที่ ระลึกอื่น ๆ ในยุคนั้นขันโอวัวลายนาจะใหอิทธิพลตอการตีขันเงินและสลุงเงินแบบตาง ๆ ของเชียงใหม โดนเฉพาะอยางยิ่งสลุงเงินดอกที่นิยมผลิตเปนคู ๆ แบบเดียวกับขันโอเครื่อง เขิน ๕. หีบผาใหม ในอดีตเมื่อผูชายชาวลานนาจะเขาสูพิธีแตงงานและยายไปอยูกับ ฝายภรรยา สิ่งที่ตองนําติดตัวไปดวยคือ ดาบประจําตัว และหีบผาใหมสําหรับใสเสื้อผาใน การยายบาน เพื่อเปนการแสดงความมีหนามีตา มีรสนิยมของวงศตระกูล พอแมและญาติ ของฝายชายจะสรรหาหีบผาใหมสําหรับงานแตงงานที่หรูหรา และวิจิตรเลอคาตามยุคตาม สมัย ในอดีต หีบผาเครื่องเขินทรงแปดเหลี่ยมยาวสําหรับใสผา พบขนากกวางประมาณ ๑๐ นิ้ว ยาว ๑๘ นิ้ว สูงประมาณ ๑๕ นิ้วเปนที่นิยมมาก เทคนิคการสานไมไผคาดดวยตอก ทา ยางรักสีดําสีแดงในลักษณะตาง ๆ เปนแบบมาตรฐานของหีบผาใหม ผูมีฐานะดีจะวาจาง ชางใหตกแตงเขียนลายพันธุพฤกษาดวยชาดและแตมทองคําเปลวอยางสวยงาม ฝาดานบน ของหีบผาจะอูมนูน เนนความรูสึกเกี่ยวกับความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ เชิงของหีบผาจะบาน ผายออกคลายกับขันหมากพื้นเมือง ไมปรากฏวาการตกแตงหีบผาใหมดวยการฮายดอก หรื อ ติ ด กระจกแก ว อั งวะ หี บ ผ า ใหม จ ะเป นจุ ด สนใจในพิ ธี แ ต ง งาน แต จ ะถู ก เก็ บ ไว ใ น หองนอนอยางมิดชิด เปนสมบัติของลูกหลานตอไปหลังจากเสร็จพิธี


๓๑

ในชวง ๘๐ ปมานี้ ความนิยมใชหีบผาเครื่องเขินไดลดนอยลง สวนใหญหันมาใช หีบไมสักมีขาแบบกําปนจีน ตอมานิยมกําปนเหล็กของฝรั่งแทน ปจจุบันนี้ใชปกระเปา เสื้อผาเดินทาง หรือเป หรือไมก็เปนตูเสื้อผาสมัยใหมไปเลย หีบผาใหมจึงเปนรูปแบบของ เครื่องเขินในอดีตเทานั้น นอกจากนี้ประเภทของเครื่องเขินตามที่กลาวมาแลว ที่ถือวาเปนแบบมาตรฐาน ทั่ว ๆ ไป ในลานนา ยังมีเครื่องเขินรูปแบบอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นอยางมากมายหลายประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งเครื่องเขินวัวลาย เชน หมวกนับรบโบราณ ขันน้ําพานรอง คนโท ถาด กระโถน ตะกราหมากกระเปาหมาก ถวยฝาปนโต พานโตก ซึ่งนิยมในกลุมสังคมระดับหนึ่ง ของเมืองไทย เมื่อประมาณ ๔๐ ถึง ๘๐ ปที่แลว อางลางหนา เหยือกน้ํา กลองสบู กลองยา สีฟน แปรงสีฟน ที่ใสซองจดหมายโตะทํางาน และตูโชวของ ตามแบบแผนวั ฒนธรรม ตะวันตก ก็มีอยูบาง ประกับคัมภีรใบลานฝาบาตร เชิงบาตร กลองพระธรรมก็มีปรากฏตาม วัดวาอาราม บางแหงสนองตอบกิจกรรมของสงฆและศาสนา ปจจุบันการผลิตเครื่องเขินแบบวัวลายดูเหมือนวาจะสิ้นสุดลง เหลือเพียงแตการ ผลิตเพื่อตลาดการทองเที่ยว เปนของที่ระลึกราคาถูก ที่ไรคุณภาพและรสนิยมการฮายดอก ทํากันอยางลวก ๆ ใชสีฝุน สีน้ํามันและสีสะทอนแสงแทนชาด ไมมีการเคลือบลวดลายให


๓๒ ติดแนนกับผิวภาชนะ ดังนั้นสีสันจึงมักหลุดหายไปอยางรวดเร็ว ดูเหมือนวาเครื่องเขินใหม จากเมืองพุกามเทานั้น ที่ยังคงเปนงานเครื่องเขินแท ๆ ถาเปรียบเทียบกับสิ่งที่เกิดขึ้นใน เมืองไทย ศูนยวัฒนธรรมวิทยาเขตภาคพายัพ จังหวัดเชียงใหม ตระหนักในคุณคาของงาน ศิล ป ที่มี ส ว นเสริ มสร างวั ฒ นธรรมของท อ งถิ่น เช น งานเครื่อ งเขิน ซึ่ งมี ข นบธรรมเนี ย ม ประเพณีเขามาเกี่ยวของอยางยาวนาน ประกอบกับป ๒๕๔๒ เปนปของการเฉลิมพระ เกีย รติ พระบาทสมเด็ จพระเจ าอยูหั วเนื่อ งในวโรกาสเฉลิม พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ จึงเปนการสมควรอยางยิ่งที่จะฟนฟูงานเครื่องเขินใหคงอยู ควบคูกับ วัฒนธรรมของชาติตอไป เอกสารฉบับนี้จะเสนอรายละเอียดประวัติความเปนมาของงาน เครื่องเขิน และวัฒนธรรมของชุมชนชาวไทเขิน เพื่อประโยชนในการอนุรักษและศึกษา คนควาของบุคคลทั่วไป เอกสารอางอิง กรมสงเสริมอุตสาหกรรม. เครื่องเขิน. เอกสารทางวิชาการลําดับที่ ๒/ ๒๕๒๑ ,กรุงเทพฯ . ๒๕๒๑. ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน ภาคเหนือ. เครื่องเขิน . ลําปาง : กิจเสรีการพิมพ , ๒๕๓๘. สุรัสวดี อองสกุล . ประวัติศาสตรลานนา . เชียงใหม : โรงพิมพชางเผือก ,๒๕๒๙.


ŕš“ŕš“ Lacquering Culture - Thai Lacquer-ware Prayoon Sukpatthee Lacquering can be considered as a handicraft in fine arts. It has been a part of the Thai culture since ancient time, spanning back to the era of the Sukhothai Kingdom. Lacquering is also done by the Tai Yais during the period of the Lanna Kingdom as well. Obviously, lacquering has become predominant in the northern part of Thailand for hundreds of years. Lacquering had gradually evolved in the Ratanakosin Era. Unfortunately, despite its role in Thai historic culture, the popularity of Lacquering has been slightly declining due to the influence of western culture. However, tt regained its popularity when the Department of the Ten Crafts was established in educational institutions.


ŕš“ŕš” Thai Lacquer ware is generally known as an application of possessing attributes such as being in light weight, strong, durable, and valuable as a collector’s item. It is integrated between local materials and folk wisdom technology. It is used mostly in religious ceremony in the Northern provinces: namely, Chiang Mai, Mae Hong Son, Lampang, Phrae, and Nan.

Bamboo sticks are used to form the shape of appliance such as a bowl, or a receptacle tray with a pedestal. Softwood can also be used to make a table, closet, box and casket. After that, the appliances are lacquered with rubber to smoothen the surface area. They are later decorated and painted in various patterns. The whole process of producing is done by hand and does not involve using a machine. Therefore, it may take a long time just to produce one item with an aesthetic appeal. It also requires some special skills and details for making the finished product. For


๓๕ this reason, Thai Lacquer ware has become one of the most challenging handicrafts in terms of art and culture; however, it is worth to conserve. If Lacquering can be referred as the cultural heritage of Thailand that portrays Thai identity, then it is a fragile piece of national culture that is at a high risk of being damaged by new social or economic differences in value. It would be such a pity if Lacquering becomes slowly destroyed while nobody is aware about it. Lacquering is one the most important culture of Thailand, especially in the northern region. Lanna produces and uses Lacquer ware in their daily lives as well as for religious rituals. It reflects the belief of northern people towards a certain belief and tradition through handicraft. Additionally, it shows the identity of the northern people. Moreover, this cultural heritage demonstrates prosperity during ancient time. Lacquer ware is described as wickerwork Lacquered by using rubber. However, in general, Lacquer ware is referred to as the appliance used by people in the north who were descended from the Tai Kheun. The word “Kheun” might be defined by the central Thai area or governor who worked a hundred years ago in the north. Using the same techniques of Tai Kheun, Lacquer ware was also manufactured in the central part of Thailand. Woods or bamboos were used to form the shape of appliances decorated by lacquering rubber, color, pearl, and gold for preference in terms of fashion or style.


๓๖

The origin and history of Lacquer Ware in Thailand What is Lacquer Ware? The lacquer ware, which is sometimes referred to as “Krueng Kheun” Thai, is a domestic houseware in the northern region of Thailand. Normally it is made from wood or bamboo and coated with lacquer (Melanorrhoea usitata). They are made as a tray, jar, offering tray, tray with pedal, and furniture. Some lacquer wares are inlayed with mother pearl or a golden pattern.


๓๗ Kheun in Thai is the name of a Thai ethnic race that lived in Chiang Tung, which is a northeastern province in Myanmar. According to history, the Thai kheun migrated to the northern province of Thailand and a large number of them resided in Chiang Mai. The lacquer wares have been used as a domestic house ware since the 17th century. The word “lacquer” is derived from lacquer in French, or lacre in Portuguese ,or lacra in Italian.


๓๘ The history of Lacquer Ware in Thailand From the book “Aspects Fact of Thailand” which had been published by the Department of Information, at the Ministry of Office of the Prime Minister, it was mentioned that Kheun is one branch of Thai ethnic race of Tai. A number of them were taken as prisoners of war during the Thai-Lao war period during King Taksin’s reign. The commander of the Thai army of that time was Chao Praya Maha Kasartsuek who later acceded to the title of King Rama I. Those prisoners of war were forced to settle down in Chaing Mai. They inherited their culture as skilled craftsmen and bestowed this unique handicraft to the people living in Chiang Mai. Originally, lacquer ware in South East Asia came from China. It originated in the Shang-Chou Period (1768-221 B.C.) The process of making lacquer ware was much more developed during the Chin Dynasty (221-207 B.C.). During the Han Dynasty (221 B. C.-220 A.D.) it played a vital role in Chinese history. The lacquer ware was stated in the book by Hsia Shish Lu, which was written in the Ming Dynasty, as being made from bamboo and coated with lacquer, and that Emperor Chun used lacquer ware for his dining festivities. Emperor Yu burnt the fragrant stick in lacquer ware. Moreover, in the Chou Dynasty, the chariot was made form lacquer ware because it possessed more strength and was quite durable when taking part in battles with the enemy state.


ŕš“ŕš™

During ancient times, China had the technology to coat red and black color to lacquer ware. We had some evidences from the lacquer wares which were found in the historical site of Lelang town in Korea and the Ju state during the Warring State Period (481-221 B.C.). We can draw the conclusion that lacquer ware originated in China and then spread to Korea and Japan, as well as to the Southeast Asian region such as Thailand. The Burmese lacquer ware received the know how from the Chiang since the Pyu Period (500-900 A.D.). The Chiang tribal race lived in the western border of Myanmar. They received the technological knowledge from the Chiang since the Han Dynasty. The lacquer ware in the Southeast Asian region received the mechanical process from the Sichuan province in China: this is the main resource of making red and black lacquer ware. It theory, lacquer ware in the Pyu Era received the know how of making lacquer ware from the Tian and Bai tribe in Yunnan because Yunnan in China and Shan State in Myanmar were recognized for its plentiful resource for making lacquer ware. According to our findings from the research, we found a teak box which had


ŕš”ŕš? black lacquer pattern on its cover in the form of the Min-gala-Zai Jedi style (1274 A.D.) which was located in Pagan. In addition, the manuscript in the Pyu Era also mentioned that lacquer ware was popular in that period. At present Pagan is famous for its lacquer ware in Myanmar. Thai Lacquer Ware It is believed that Lan Na or the Northern Thai people learned how to make Lacquer ware from the Tai Kheun people who were forced to migrate and settle down in Chiang Mai as prisoners of war during the reign of King Rama I. Tai Kheun people received the know how of making lacquer ware from the Nan Chau Kingdom for a long time. After that the Tai Kheun people were relocated to Pagan and Chiang Mai. At that time, King Ba Yin Naung invaded and occupied Chiang Mai. He forced 80,000 skilled laborers to migrate to Pegu. During 2011-2318 B.E., the Burmese ruled over Chiang Mai. The Lan Na King had to send tributes of elephants, horses, silk, and lacquer ware to Burma. When King Along Pya of Burma invaded Lan Na in 2305 B.E., he forced the Lan Na people to be removed to Laikha city in the Shan State. This caused a cross cultural marriage between the Thai race and Laotian race along the border. As a result, there was an increase of skill laborers within that region. After that, the Burmese influence over Lan Na had decreased when the first prince of Chiang Mai, King Kavila, recaptured Chaing Mai back to the Lan Na kingdom with the assistance and cooperation from Siam in 2305 B.E. In the reign of the first Chiang Mai king, the main principal policy of Chiang Mai was “picking the vegetable into the basket and collecting citizens to


๔๑ live in the city”. The policy was initiated because of the lack of food supply and citizens; Chiang Mai was under war for a long period of time. King Kavila tried to convince the Lan Na people, who fled from the city to forest in order to escape the war, to come back to the city. Furthermore, King Kavila also convinced people from Sibsong Panna or Jing Hong (Chiang Rung) in Yunnan, the Shan people (Ngiew), Tai Lue, and Tai Kheun to reside in Chiang Mai. The Tai Kheun people managed to settle down at the Woa Lai neighborhood. This area is famous for its handicraft silver and lacquer ware. The technic of golden leaves coating on black lacquer in Thailand was derived from China. In the beginning this technic was only used for Buddhist rituals. For instance, Buddhism’s objects in Sukhothai period included the Buddhism’s objects in the Southern part of Thailand. These kinds of objects normally were used for high ranking people such as offering tray inlayed with the mother pearl. Therefore, the technic was done with high technology. The process was done for a specific purpose but was not quite so popular with ordinary people until 2325 B.E. A large number of Thai people believed that they learned the technic of making lacquer ware from Burma but actually this process was originally from Thailand. This was mentioned by H.R.H. Prince Damrongrajanuphap, the famous archeologist of Thailand, in his book “Journey to Burma” whereas the Burmese history book quoted that the Burmese learned the technic of coating lacquer ware from Thailand: when King King Ba Yin Naung occupied Ayuddhaya he took many of lacquer ware smith back to Pegu with him. Prince Damrong also thought at first that the Burmese knew only the ordinary technic of black


๔๒ lacquer coating, but the golden leaves coating technic of Burmese lacquer ware smith had later learned it from Chiang Mai.

Mr.Kraisri Nimmanhemin, the prominent Lan Na Art and Culture scholar, stated that the Burmese called lacquer ware as “Yon The” which means “Yon people ware”... “Yon or Yuan” is known as the former name of Chiang Mai people. This information shows that the Burmese has her own lacquer ware but the special technic which is called “Yon The” was known when Chiang Mai lacquer ware smiths were the prisoners of war in Pegu. The Burmese lacquer ware smith called one category of lacquer ware pattern as “Zinme” which means “Chiang Mai pattern”, and this pattern came from Chiang Mai since the late Mangrai Dynasty around 2100 B.E. Dr. John Shaw, the expert of Thai earthen ware, said that some of earthen wares in Hari Phun Chai period were coated by black lacquer. Nevertheless, the wooden and bamboo handicraft coated with black


ŕš”ŕš“ lacquer were not found. This might have been that those objects were made of organic materials which were easy to decorate after some period of time, whereas the earthen ware is able to maintain its original condition for longer time. At the Tokugawa museum in Nagoya, Japan there are displays of personal objects of the ancient Shogun and there is one betel box which is in black and red color . This kind of pattern is a specific pattern of lacquer ware that was made in Chiang Mai. However, the display describes that it is a gift from Ayutthaya in 2200 B.E.. We can conclude that Chiang Mai lacquer was popular from Chiang Mai to Ayutthaya in that period and was also exported as goods from Thailand. The Road of Lacquer Ware Culture Starting Point: The road started from South or South Western region of Chian because the early capitals of ancient China were around there. This was before the Manchuu or Qing Dynasty had occupied the central region of China (Zhong Yuan). Moreover, parts of China also had appropriate weather for growing Melon Orrhoea (black lacquer tree) How lacquer Ware came to Thailand? It was believed that the lacquer ware in Thailand received the technology of making lacquer ware from the Shan State in Burma. The first place in Thailand that learned how to make lacquer ware was Lan Na or the Northern Thai region. It then spread to the Sukhothai and Ayutthaya kingdom respectively.


๔๔ Lan Na people are known as a skillful silver smith. There is a manuscript at the Pakho-U temple in Myanmar which stated that the best silver ware must be the Yon silver ware (Yon is an ancient name of Lan Na). During King Gavila’s reign as the first king of Chiang Mai, the Tai khen people who lived around Khen River were forced to move to Chiang Mai. They settled down at Woa Lai neighborhood. This place is known as the best place for silver and lacquer ware in Chiang Mai. During the ancient period, Thai people knew how to make golden or silver ware and the method for embroiling them. The technic of coating lacquer ware was later known as Mr. Tri Amatayakula. He stated in his book “The History of Ancient Thai Art” that “The technic of black lacquer coating should be started after the Sukhothai period because, although the principal Lord Buddha images in Sukhothai period were coated with black lacquer, the coating was not in good work when in comparison with the technic of black lacquer coating in the Ayutthaya period.” We can say that in the Sukhothai period ‘though we knew the technic of coating black lacquer but Thai people used this technic only for famous things such as coating the Lord Buddha image’. Thai people did not use this technic for household ware. “Kruen Khen” or lacquer ware has been used in a popular manner among Thai people since the Ayutthaya and Rattanakosin (Bangkok) period. The technic of black lacquer coating with embroiling golden leaves in them was highly developed not only in the Ayutthaya period but also in the Thonburi and Rattanakosin period. In those periods, the technique in black lacquer coating with golden leaves


๔๕ and embroiling were a popular use for a large number of things: examples have been demonstrated from the doors and windows of the main chapel of Buddhism temple, to the household wares for high ranking class people which includes religious objects . Additionally, the technic also spread to Japan which is known as the Kim-Ma-De technic. Professor Toyio Yochino, professor of lacquer ware of Tokyo University, said that the word “Kim-MaDe” is not a Japanese word but it came from the Thai word “kin-mak” which means eating betel because the early lacquer ware in Japan came from Thailand and it contained a betel in it. The book “Inro” and other “Miniature from Japan Lacquer Ware” also quoted that the Japanese Lacquer Ware has many patterns and colors such as birds and flowers. This technique was the practice that the Japanese learned from ‘Siam. At present these kinds of delicacy and beautiful art works have been decorated whether its lacquer ware, a mother pearl inlayed object, or a mirror decoration. The current products cannot be compared with the ancient ones. A good example is the ancient products from the Ayutthaya and Rattanakosin period which is on displayed at the National Museum. Those products are more delicate and beautiful than the new ones. In Japan lacquer ware has been finely developed and has become important in exporting goods which brings a lot of income to the country. However, the Department of Fine Arts have made a tremendous effort to preserve this national heritage and to transfer the practice to the new generation. For instance, during 1932-1940 the department invited the world expert of lacquer ware Mr. Ami Miki to teach twenty Thai students. Unfortunately, almost of them have passed away. Now we can see that these kinds of art


ŕš”ŕš– works, mother pearl inlayed, embroiling objects, lacquer ware coated with golden leaves are only visible in the main chapel of Buddhism temple. We rarely see them as household products because they are difficult to make and quite expensive. Chiang Mai Lacquer Ware In the past the lacquer ware in Chiang Mai nearby the area was just a plain design and only made for daily use or for a merit making ceremony. The ware was made by bamboo that was coated with black lacquer and drew simple pattern. After the forced migration of Tai kheun who lived in Chiang Tung, Shan State of Myanmar, there was a mix of Chiang Mai style and Chiang Tung style together. As a result, a new style of lacquer ware has occurred. Since then, there had been two styles of Lan Na lacquer ware: the typical Chiang Mai style and the Woa Lai style (the mix style between typical style and Chaing Tung style). Chiang Mai typical style of Lacquer Ware As mentioned above, Chiang Mai lacquer ware can be categorized into 2 categories: the local or typical style and Woa Lai (Tai Kheun) style. The local or typical style; almost all of them have cross or knot pattern. They have hard wood as their supporter in the case to strengthen their structure. The beauty of the ware comes from its pattern of bamboo craft and the drawing pattern design on black lacquer coat. Those drawing pattern designs were always drawn with red lacquer and sometimes covered with golden leaves. The characteristics of drawing pattern design is the way


ŕš”ŕš— the paint brush is dipped in to make a mixture of lacquer (black and red lacquer mix with together) then drawn or dropping the mixture of black lacquer on the surface. After that a long small line is drawn continually on the hole surface. Sometimes the lacquer ware smith draws flora pattern on the surface instead. This results in aspecific character of Lan Na drawing pattern design. Drawing a pattern on the surface of lacquer is not easy as drawing with oil color because the black lacquer has a property of glutinous and requires a heavy form of concentration when drawing

The popular local style of Chiang Mai lacquer ware are big betel bowls in cylindrical shape which is 12 to 18 inches wide and 12 inches high. The big basket is used for containing grains and gadgets. The small basket can be used for making an offering to the monk. Furthermore, it can be used as the accessories for a religious ceremony or a wedding ceremony. Chiang Mai lacquer ware that is designed in the local style is always produced by the local people for themselves for their own personal use. Therefore, the pattern is simple but doen with creativity. The main outlet for this kind of lacquer ware are located in the Ban Ton Nhan, San Pa Tong district Mae Rim and Doi SaKet district in Chiang Mai, and some villages in the Lampoon province.


๔๘ Woa Lai style: Most of them are produced in the Woa Lai neighborhood, Nantaram village, Rakaeng village, Sri Pan Kroau village, Don Pin village, and Don Chan village. The obvious character of this kind of lacquer ware is produced in mass portion unlike the local style which is mostly produced for use in their family or community. This kind of lacquer ware is more delicate and beautiful than the former one. They cut the bamboo into small thread and weave them. The Woa Lai style of lacquer ware does not use the hard wood for making a supporter. However, the Woa Lai style has a smooth and strong surface. The lacquer ware produced in Sri Pan Kroa, Don Pin, and Don Chan prefer weaving the bamboo in a round or cylindrical shape that becomes thicker and durable than the lacquer ware that is produced in the Woa Lai area. The Woa Lai style lacquer ware prefers digging into a pattern which is called “Hai Dok” in the Lan Na dialect. The lacquer ware, which can be made as a “Hai Dok or digging into a pattern, must have a smooth and completely dry surface. Moreover, the surface of the lacier must have an appropriate thickness. If the lacquer surface is too thin the digging of the lacquer may start to tear out or become extremely difficult to dig. If all is done well, one should mix black lacquer with red lacquer into the digging pattern. The next step is to wait until it dries and polish the outer surface out. The final stage is to coat with a clear lacquer in order to make it shiny. Chiang Mai lacquer ware is very famous and popular, even in Myanmar. In Burma, they called this kind of technique as “Yonok Technique”. But the Burmese use a different material and color from the


ŕš”ŕš™ Chiang Mai lacquer ware. Nowadays, most of the Woa Lai lacquer ware prefers black lacquer coating with golden leaves technique which is the technique of the central Thai region. This kind of lacquer ware has been normally used in high-end places, noble houses, or as a form for religious ceremony since 1958. The Chiang Mai lacquer ware is also a good souvenir to buy or just have as a collection. Shan or Ngiew Lacquer Ware The Han lacquer ware is different from the Chiang Mai lacquer ware. The ware is more decorated with precious things like gems and valuable stones. The Shan or Tai Yai or Ngiew in Lan Na dialect are the people who live in Burma. They are one branch of the Thai race. They have a strong belief in Buddhism. Hence their lacquer ware is generally a ware for religious ceremony. Shan or Tai Yai people have their own tradition and culture. As mentioned before they have a strong belief in Buddhism. They often go to make a merit at the temple. Their lacquer ware are always decorated with precious things; thus depicting how much wealth they have. If they are rich, their lacquer ware is decorated with gems or precious stones. If they are ordinary people, their lacquer ware has a plain design or decorated with golden leaves or colored mirror.


๕๐ The categories of Lacquer Ware Lacquer ware is the main culture of South East Asia especially in the Northern part of Thailand. Lacquer ware is used in everyday life and in several form according to its purpose. We can divide lacquer ware in many types according to its form and usage. 1. Basket: Since the former time, every family has a basket in the house. Some family has more than one basket. The basket is made from bamboo and wood. Normally it is in a bottle shape. The basket’s base is made from wood and has a square shape. Its size is 12 inches wide and 18 inches high. A part of its form is like a sticky rice basket. It also has a lid on the top. The basket’s surface is coated with black lacquer and quite thick in order to be strong and durable. The size of the basket can be large or small depending on its purpose of being used. The basket is used for containing grains or small gadget in the house.


๕๑ 2. Betel Bowl: Eating betel is a traditional custom in Asia. In Thai we call the ware for containing betel as “Qian Mak”. The Lan Na people call it “Khan Mak” or “Betel Bowl”. In Lan Na the betel bowl is quite big and more luxurious than in other regions of Thailand. The betel bowl is made of bamboo craft and is 5 inches high and 12-20 inches high. The Lan Na’s betel bowl shape is round or cylindrical in shape. Like the basket, the betel bowl has a lid on its top. Betel bowl always contains betel accessories such as knife and red lime container. The betel nut bowl is an important ware in Lan Na house. Every house should have a betel nut bowl because chewing nut was an important custom for people living in Southeast Asia. When there was a visitor in your house it was considered as good manner to offer the guest a betel nut. The style of betel nut bowl depends on its origin of making. Each area has its own style. Most of the lacquer ware smiths are local people. Some smiths are Buddhist monks or novices. The local betel nut bowl style has the same form. It has a bamboo stripe that is structured in a round shape with a supporter in case to strengthen its structure. The original pattern is a black lacquer as a background with red lacquer being drawn for decoration. This style is generally found in provinces of


๕๒ Chiang Mai, Lumphun, Lam Pang, Prae, and Nan. The Woa Lai style betel nut bowl is different from the local betel nut bowl. This style is more popular among the city dwellers than the rural people. It is also more expensive than the local one. The Woa Lai betel nut bowl is always sold as a betel pedal and as accessories. The Woa Lai betel nut bowl is a handicraft which is imitated from the Tai Kheun style in the Shan State of Burma but it was adapted according to its new usage in Lanna. Its quality, pattern, and style isare more delicate and it is distinctively accepted on an international level. 4. The flower bowl, dish bowl and flower tray are used for worshipping. These bowls have the same style as that of the high base. The lotus like shape was influenced from China. The ancient flower bowl was made from teak coated with black lacquer. The normal size is 12 inches high, 10 inches wide. It used to contain popped rice, flower, incense and a candle. The teak flower bowl received its influence from the Thai Khen bowl called “Kan Si” or “Kan Teen Ti”. The obvious characteristic of this bowl is the base. It is made by the small bars of wood instead of the whole trunk. Normally, Kan Si is only in red without any decoration. Kan Tok has the same structure and material as the flower bowl. However, its only


๕๓ difference is in decoration and usage. Normally, Kan Tok is a trunk that is 1520 inches wide. It has 6 or 8 legs joint in body and in base. The normal Kan Tok for ordinary people is just the plain bowl that is coated with black lacquer to serve food. High class individuals and Buddhist monks have used the red bowl that has been painted with red lacquer. It is only the bigger and ordinary Tok that sometimes has a cover on top made by bamboo stripes or a wood called “Ub-kaw”. The red bowl is sometimes used in a religious ceremony.


๕๔


ศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.