
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

(Fair Finance Guide International)
การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์
“แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ” (Fair Finance Guide International)
พิมพ์ครั้งแรก มกราคม 2568
จัดพิมพ์โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org
Facebook Fair Finance Thailand
กรุงเทพฯ 10110; อีเมล info@salforest.com;
02 258 7383
สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ
ปีที่ 7 ที่มีการนํามาตรฐาน Fair Finance Guide International (แนวปฏิบัติ ของแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ เว็บไซต์ www.fairfinanceinter
)
กับธนาคารแต่ละแห่ง
พ ศ 2567 ผลการประเมินนโยบายของธนาคารไทย
พ ศ 2567 เนื่องจากธนาคารหลายแห่งได้ปรับปรุงนโยบายให้
สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินมากขึ้นและเปิดเผยสู่สาธารณะ หรือมี การลงนามในมาตรฐานสากลหรือแนวปฏิบัติในการดําเนินงานด้านสังคม และสิ่งแวดล้อม อาทิ UN Global Compact (UNGC) หรือ Equator
Principles
(37.25%) ธนาคารกรุงเทพ (30.63%)
8 แห่ง พบว่าธนาคาร พาณิชย์ในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 28.76% ในปี พ ศ 2566
เป็น 31.06% ในปี พ ศ 2567 ขณะที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง
พบว่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเช่นกันจาก 18.41% ในปี พ . ศ . 2566 เป็น 21.15% ในปี พ ศ 2567
ผลการประเมินแสดงเป็นแผนภาพในหน้าแทรกพิเศษ 1 และดูสรุป
อันดับของธนาคารเปรียบเทียบกับปี พ ศ 2566 ได้ในหน้าแทรกพิเศษ 2
Fair Finance Guide International (FFGI)
ธนาคารไทยโดยรวมตื่นตัวเรื่องการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
ความตื่นตัวของภาคธนาคารไทยสะท้อนจากข้อเท็จจริงที่ว่า
มีธนาคาร 7 แห่งที่เปิดเผยรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศตามข้อแนะนําของ Task Force on Climate-related
Financial Disclosures (TCFD) (ข้อ 6 ในเกณฑ์การประเมินหมวดนี้
ได้คะแนนในข้อนี้จากการเปิดเผยรายงานอยู่ก่อนแล้ว
(ข้อ 2)
ถึงแม้จะมีความตื่นตัวต่อภาวะโลกรวนมากขึ้น
ยังไม่มีธนาคารไทยแห่งใดเปิดเผยแผนการเปลี่ยนผ่าน (transition plan)
รายภาคที่มีกําหนดเวลาชัดเจน ในการทยอยลดการสนับสนุนทาง การเงินแก่กิจกรรมที่ปล่อยคาร์บอนสูงในพอร์ตสินเชื่อและพอร์ตการ ลงทุนของธนาคาร
ธนาคารไทยโดยรวมตื่นตัวมากขึ้นต่อการรับมาตรฐานสากลด้าน
หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) (ข้อ 1) ในจํานวนนี้มีธนาคารกสิกรไทยและธนาคารทหารไทย
ที่มีนโยบายกําหนดให้ลูกค้าเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการ
ได้คะแนนเพิ่มขึ้นในขอบเขตบริษัทจัดการลงทุนในเครือของธนาคารด้วย
ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกรุงไทย
นโยบายกําหนดให้ลูกค้าเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการชี้แนะ UNGPs โดยตรง แต่ได้คะแนนบางส่วนในข้อเหล่านี้โดยอัตโนมัติ จากการรับ
หลักการ Equator Principles (EPs) ในกรณีของธนาคารไทยพาณิชย์
รับหลักการข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN Global Compact: UNGC)
ชัดเจนว่าผู้มีส่วนได้เสียของลูกค้าธนาคารสามารถเข้าถึงกลไกรับเรื่อง ร้องเรียนของธนาคาร ในการสะท้อนข้อกังวลต่อการดําเนินธุรกิจของ
ลูกค้าธนาคารได้ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในหมวดสิทธิมนุษยชน บน
เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org)
ธนาคารทหารไทยธนชาตจัดทําและเปิดเผยรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามข้อแนะนําของ Task Force on Climate- related Financial Disclosures (TCFD) เป็นปีแรก ( ข้อ 6) (ธนาคารไทยพาณิชย์
ดังกล่าวของแต่ละธนาคารยังมีระดับการเปิดเผยข้อมูลไม่เท่ากัน
การเปิดเผยข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เชื่อมโยงกับพอร์ต บางส่วนที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน (
การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวในรายงานของธนาคารไทยพาณิชย์
ไม่พบว่ามีการเปิดเผยข้อมูลปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เชื่อมโยง กับพอร์ตบางส่วนที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน จึงทําให้ไม่ได้คะแนน
ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกสิกรไทยได้คะแนนในข้อ 22 ( การ ส่งเสริมลูกค้าในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน) เป็นปีแรก
ที่สนับสนุนให้ลูกค้าเปลี่ยนจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงาน
หมุนเวียน โดยธนาคารกรุงเทพมีสินเชื่อสนับสนุนการลงทุนให้ลูกค้าเปลี่ยน อุปกรณ์ที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ปั๊มความร้อน
ธนาคารกสิกรไทยมีสินเชื่อให้กับลูกค้าที่ต้องการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต จากการใช้พลังงานหลักจากถ่านหิน มาเป็นการใช้พลังงานสะอาดทดแทน
5 แห่งประกาศเคารพในสิทธิมนุษยชนตามหลักการ ชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United
Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) (ข้อ 1) ในจํานวนนี้มีธนาคารกสิกรไทยและธนาคารทหารไทยธนชาต ที่มีนโยบายกําหนดให้ลูกค้าเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการชี้แนะ UNGPs ด้วย
คะแนนเพิ่มขึ้นในขอบเขตบริษัทจัดการลงทุนในเครือของธนาคารด้วย ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกรุงไทย แม้ว่าจะยังไม่มี นโยบายกําหนดให้ลูกค้าเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการชี้แนะ UNGPs
แต่ได้คะแนนบางส่วนในข้อเหล่านี้โดยอัตโนมัติ จากการรับ หลักการ EPs หรือรับหลักการข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UN
Global Compact: UNGC) (ธนาคารกรุงไทยได้คะแนนในข้อเหล่านี้เป็น
ประกาศนโยบายเพิ่มเติมให้พนักงานหญิงที่ลาคลอดได้สิทธิในการกลับ มาทํางานในตําแหน่งเดิมหรือตําแหน่งที่ได้รับค่าตอบแทนไม่น้อยกว่าเดิม ส่งผลให้มีนโยบายที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองความเป็น มารดา (Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่าง ประเทศ (International Labour Organization: ILO)
การให้สิทธิพนักงานหญิงที่ลาคลอดได้รับค่าจ้างเต็มจํานวนในช่วงก่อน
ในตําแหน่งเดิมหรือตําแหน่งที่ได้รับค่าตอบแทนไม่น้อยกว่าเดิม และการ จัดให้มีพื้นที่หรือสิ่งอํานวยความสะดวกแก่พนักงานที่เป็นคุณแม่สําหรับ ปั๊มนํ้านม
ขณะที่ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนในข้อ 3 เป็นปีแรก
มีนโยบายให้สิทธิพนักงานหญิงที่ลาคลอดได้รับค่าจ้างเต็มจํานวนในช่วง ก่อนและหลังคลอดรวมกันสูงสุด
อํานวยความสะดวกแก่พนักงานที่เป็นคุณแม่สําหรับปั๊มนํ้านม (ธนาคาร ไทยพาณิชย์ได้คะแนนอยู่แล้ว จากการเปิดเผยนโยบายที่ใกล้เคียงกัน)
ธนาคารกรุงไทยและธนาคารกสิกรไทยได้คะแนนในข้อ
ธนาคารทหารไทยธนชาตเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่มีนโยบาย ชัดเจนในการกําหนดให้ลูกค้ารับรองสิทธิในการรวมกลุ่มของแรงงาน (ข้อ 5)
จึงได้คะแนนเต็มในข้อนี้ ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย
และธนาคารกสิกรไทย ได้คะแนนบางส่วนจากการรับหลักการ EPs หรือ
รับหลักการ UNGC (ธนาคารกรุงไทยได้คะแนนเป็นปีแรก)
5 แห่งได้คะแนนตั้งแต่ปีก่อนจากการมีนโยบายกําหนด
ให้ลูกค้าต้องไม่ยอมรับการใช้แรงงานบังคับทุกรูปแบบ และไม่ยอมรับการ
ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่มีนโยบายชัดเจนใน การกําหนดให้ลูกค้าต้องไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและใน
ค่าธรรมเนียมภายใน
) การขยาย บัร
ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนในข้อ 1
หากปรากฏภายหลังจากที่ได้เงินไปแล้วว่าได้รับโบนัสโดยมิชอบ (กลไก clawback) ความโป
ธนาคารมีผลิตภัณฑ์ที่สนับสนุนให้ลูกค้าเปลี่ยนจาก การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน - BBL มีสินเชื่อสนับสนุนการลงทุนให้ลูกค้าเปลี่ยน
อุปกรณ์ที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น
- KBANK มีสินเชื่อให้กับลูกค้าที่ต้องการปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิตจากการใช้พลังงานหลักจากถ่านหิน มาเป็นการใช้พลังงานสะอาดทดแทน
(human
หรือมีส่วนในการก่อ
ธนาคารมีนโยบายที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยการ
(Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
4 ธนาคารมีขั้นตอนชัดเจนในการจัดการกับข้อร้องเรียน
คณะวิจัยและธนาคารได้แลกเปลี่ยนข้อมูลเบื้องต้นหรือสอบถามประเด็น
4–6) เป็นข้อที่ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน
กับธนาคารเพิ่มเติมในช่วงรับฟังความคิดเห็น
และประกาศแนวปฏิบัติดังกล่าวบนเว็บไซต์ของธนาคาร
คะแนนไว้ได้
5
(UNESCO World Heritage)
บริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่อนุรักษ์ตาม อนุสัญญาแรมซาร์ว่าด้วยพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความสําคัญระหว่าง ประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) ภายในเขต
ปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อประชากรสัตว์ที่อยู่ใน บัญชีแดงสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ของ IUCN (IUCN Red List of Threatened Species)
Global Compact: UNGC)
องค์กรต้องเป็นไปตามหลักการที่ได้รับการยอมรับโดยสากล ในขอบเขต
คะแนนเพิ่มขึ้นหลายข้อ ได้แก่
เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม
บริษัทเคารพในสิทธิมนุษยชนทุกข้อตามหลักการชี้แนะ ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights)
9
เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและ สิ่งแวดล้อมของการจัดการและปฏิบัติการของสถาบันการเงิน และเปิดเผยเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดสรรค่าตอบแทน ผันแปร (variable remuneration เช่น โบนัส)
เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและ สิ่งแวดล้อมของการลงทุนและการให้บริการทางการเงินของ สถาบันการเงิน และเปิดเผยเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
จัดสรรค่าตอบแทนผันแปร (variable remuneration
เช่น โบนัส)
ด้านการเงินเพื่อความยั่งยืน (sustainable financing)
และเปิดเผยค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดดังกล่าว
หมวดความโปร่งใสและความรับผิด ธนาคารให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การลงทุนของบริษัทจัดการลงทุน
เป็นต้น) 3 สถาบันการเงินเผยแพร่ชื่อของบริษัทที่ตนไปลงทุน
สถาบันการเงินเผยแพร่จํานวนบริษัทที่องค์กรเคยมีส่วนร่วม ด้วยในประเด็นสังคมและสิ่งแวดล้อม
อุตสาหกรรม (ข้อ 4) และการมีผลิตภัณฑ์ที่สนับสนุนให้ลูกค้าเปลี่ยน จากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน โดยธนาคาร กสิกรไทยมีสินเชื่อให้กับลูกค้าที่ต้องการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจาก การใช้พลังงานหลักจากถ่านหิน มาเป็นการใช้พลังงานสะอาดทดแทน (ข้อ 22)
มีการประกาศนโยบายเพิ่มเติมให้พนักงานหญิงที่ลาคลอดได้สิทธิในการ กลับมาทํางานในตําแหน่งเดิมหรือตําแหน่งที่ได้รับค่าตอบแทนไม่น้อย
กว่าเดิม ส่งผลให้มีนโยบายที่สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครอง
ความเป็นมารดา (Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงาน
ระหว่างประเทศ (ILO)
ประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความเสี่ยงด้านสภาพภูมิอากาศ (climate risks)
(Politically Exposed Persons: PEP)
(ILO)
การมีนโยบายการขับเคลื่อนด้านกิจกรรมหรือการมีส่วนร่วมทางการเมือง ซึ่งระบุว่าธนาคารไม่มีนโยบายการสนับสนุนหรืออุดหนุนนักการเมือง และกิจกรรมล็อบบี้หรือล็อบบี้ยิสต์ (ข้อ 6 และข้อ 7)
หมวดสิทธิแรงงาน
สถาบันการเงินมีนโยบายต่อต้านการจ่ายเงินบริจาค หรืออุดหนุนนักการเมืองหรือพรรคการเมือง (political contributions)
สถาบันการเงินเผยแพร่ข้อมูลสําคัญเกี่ยวกับคําตัดสินทาง
landmines) รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของทุ่นระเบิดสังหารบุคคล
(lethal autonomous weapons systems: LAWS)
รายงานดังกล่าวได้บูรณาการรายงานความยั่งยืนเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ของรายงานกิจการประจําปี และเผยแพร่ในหัวข้อการขับเคลื่อนธุรกิจ
ความโปร่งใสและ
17 สถาบันการเงินเผยแพร่รายงานความยั่งยืน
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทยได้เลือกธนาคารไทย 11 แห่ง
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
111,599
2567 อันประกอบด้วย • แบบ 56-1 One Report1 (ในกรณีที่ธนาคารเป็นบริษัทจดทะเบียน
รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย)
• รายงานประจําปี (annual report) พ ศ 2566
รายงานความยั่งยืน (sustainability report) หรือรายงานความ
(CSR Report) ประจําปี พ.ศ. 2566
One Report
เกณฑ์การประเมินครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีของ Fair Finance Guide Methodology ฉบับปี ค ศ 2023 ที่ได้รับการปรับปรุงจากฉบับปี ค ศ 2021 ซึ่งคําอธิบายโดยละเอียดของเกณฑ์การประเมิน
1. การเปลี่ยนแปลงสภาพ
(28)
2. การทุจริตคอร์รัปชัน (13)
3. ความเท่าเทียมทางเพศ (20)
4. สุขภาพ (16)
5. สิทธิมนุษยชน (15)
6. สิทธิแรงงาน (19)
7. ธรรมชาติ (15)
8. ภาษี (17)
9. อาวุธ (15)
10. การคุ้มครองผู้บริโภค (19)
11. การขยายบริการทาง การเงิน (14)
12. นโยบายค่าตอบแทน (10)
13. ความโปร่งใสและ ความรับผิด (24)
การแสดงผลการประเมินในรายงานฉบับนี้ใช้วิธีปรับคะแนนดิบ
1. ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศ ไทย (ธพว.) ไม่ประเมินในหมวดนโยบายค่าตอบแทน เนื่องจากธนาคาร
3 แห่งอยู่ภายใต้การกํากับดูแลของกระทรวงการคลัง ทําให้ธนาคาร
3. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศ
(ธพว.) ไม่ประเมินในหมวดการคุ้มครองผู้บริโภค
ให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้ารายย่อย
กับเกณฑ์การประเมินมากขึ้นและเปิดเผยสู่สาธารณะ หรือมีการลงนาม
ในมาตรฐานสากลหรือแนวปฏิบัติในการดําเนินงานด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม อาทิ UN Global Compact (UNGC) หรือ Equator Principles ประกอบกับแนวร่วมฯ ได้ปรับปรุงเกณฑ์การให้คะแนนให้เหมาะสม
กสิกรไทย (37.25%) ธนาคารกรุงเทพ (30.63%)
(29.57%) โดยหากพิจารณาเฉพาะคะแนนของธนาคารพาณิชย์ 8 แห่ง
พบว่าธนาคารพาณิชย์ในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 28.76% ในปี พ ศ 2566 เป็น 31.06% ในปี พ ศ 2567
เฉพาะกิจ 3 แห่ง พบว่าคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเช่นกันจาก 18.41% ในปี พ ศ 2566 เป็น 21.15% ในปี พ ศ 2567
เมื่อพิจารณาธนาคารที่ได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นในปีนี้
สมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) ได้ เปิดเผยข้อมูลสินเชื่อโครงการในรายงานความยั่งยืนของธนาคาร พ ศ 2567
ที่สอดคล้องกับเกณฑ์การรายงานภายใต้หลักการ EPs เป็นปีแรก ส่งผล
ให้ธนาคารไทยพาณิชย์ต้องปฏิบัติตามแนวปฏิบัติของบริษัทเงินทุนระหว่าง ประเทศ (International Finance Corporation: IFC)
ดําเนินงานด้านความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมและสังคมสําหรับสินเชื่อโครง
บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตและ
Montreal
Protocol (สารที่ทําให้ชั้นโอโซนเป็นรู
Stockholm
Convention (ว่าด้วย Persistent Organic Pollutants: POPs)
Basel Convention
Rotterdam Convention
บริษัทจัดตั้งกระบวนการรับและจัดการกับเรื่องร้องเรียนจาก
(High Conservation Value: HCV areas)
ภายในเขตปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่ระดับ I-IV ตาม
การจัดหมวดขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์
(International Union for Conservation of Nature: IUCN)
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่มรดกโลกยูเนสโก (UNESCO World Heritage)
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่อนุรักษ์ตาม อนุสัญญาแรมซาร์ว่าด้วยพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความสําคัญระหว่าง ประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands)
ปฏิบัติการของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ
บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อประชากรสัตว์ที่อยู่ใน บัญชีแดงสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ของ IUCN (IUCN Red List of Threatened Species)
(invasive alien species) (
11 แห่ง
4 ใน พ ศ 2566 มาอยู่ที่
2 ใน พ ศ 2567 เนื่องจากได้รับคะแนนการประเมินในปีนี้เพิ่มขึ้น หลายข้อ ขณะที่ธนาคารกรุงไทยและธนาคารกรุงศรีอยุธยา
การประเมินในบางข้อ ส่งผลให้อันดับของธนาคารทั้งสองแห่งขยับลงด้วย
ผลการประเมินแสดงเป็นแผนภาพในหน้าแทรกพิเศษ
4.97 คะแนน ขณะที่หมวดที่ธนาคารทั้งหมดได้รับคะแนนน้อยที่สุด 3 อันดับแรก ยังคงเป็นหมวดเดียวกับหมวดที่ได้คะแนนน้อยที่สุดใน
ผลการประเมินนโยบายปีก่อนเช่นกัน
0.72 คะแนน
เมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของคะแนนเฉลี่ยเปรียบเทียบกับ
ระบบอาวุธอัตโนมัติรุนแรง รวมถึงการส่งสินค้าทางทหารไปยังประเทศ หรือเขตแดนที่ติดเงื่อนไขด้านสิทธิมนุษยชนจึงทําให้คะแนนเฉลี่ยใน เกณฑ์หมวดนี้ลดลง (เป็นข้อที่ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน แต่ไม่ได้ คะแนนในปีนี้)
พ ศ 2566 (หน่วย: คะแนน)
เกณฑ์ในหมวดนี้มุ่งประเมินบทบาทของธนาคารในการลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากการดําเนินงานของ
ธนาคารทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยรวมถึงการตั้งเป้าหมายเพื่อบรรลุ
การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดําเนินงานของธนาคารทั้งใน
ระดับการผลิตและการบริโภค การวัดและเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบ
ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามแนวทางของ Task Force on Climate-related Financial Disclosures (TCFD) นอกจากนี้ยังรวมถึง การตัดสินใจไม่สนับสนุนทางการเงินหรือการลงทุนในบริษัทที่มีส่วน เกี่ยวข้องในการพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่
ธนาคารส่วนใหญ่ได้คะแนนจากการกําหนดเป้าหมายการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกขององค์กรทั้งทางตรงและทางอ้อม
ได้คะแนนเต็มในข้อนี้ เนื่องจากการกําหนดเป้าหมายดังกล่าวสอดคล้อง กับการจํากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ขณะที่ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย
2065 ซึ่งไม่สอดคล้องกับเป้าหมายการจํากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลก
จัดทําและเปิดเผยรายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตามข้อแนะนําของ Task Force on Climate-related Financial
Disclosures (TCFD) เป็นปีแรก
มีการกําหนดรายการสินเชื่อที่ธนาคารไม่ประสงค์ให้กู้หรือให้การสนับสนุน
ทางการเงิน (Exclusion List) สําหรับธุรกิจเหมืองถ่านหิน (ข้อ 7) และ
โรงไฟฟ้าถ่านหิน (ข้อ 8) (ยกเว้นธนาคารกรุงศรีอยุธยา) แต่ยังไม่มีธนาคาร
ใดกําหนดรายการสินเชื่อที่ธนาคารไม่ประสงค์ให้กู้หรือให้การสนับสนุน ทางการเงินครอบคลุมถึงบริษัทที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจเหมืองถ่าน และโรงไฟฟ้าถ่านหิน
ธนาคารกรุงเทพและธนาคารกสิกรไทย ได้รับคะแนน เพิ่มขึ้นจากการมีผลิตภัณฑ์ที่สนับสนุนให้ลูกค้าเปลี่ยนจากการใช้
เชื้อเพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน (ข้อ 22) โดยธนาคาร กรุงเทพมีสินเชื่อสนับสนุนการลงทุนให้ลูกค้าเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิลมาเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า
มีสินเชื่อให้กับลูกค้าที่ต้องการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจากการใช้ พลังงานหลักจากถ่านหิน มาเป็นการใช้พลังงานสะอาดทดแทน
สําหรับธนาคารที่ได้รับคะแนนลดลงในหมวดการเปลี่ยนแปลงสภาพ
(high-carbon stock) (ข้อ 24) (เป็นข้อที่ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน
แต่ไม่ได้คะแนนในปีนี้)
เกณฑ์ในหมวดนี้มุ่งประเมินบทบาทของธนาคารในการป้องกัน
รวมถึงดําเนินการตามมาตรการต่อต้านการ
ฟอกเงินและการสนับสนุนการก่อการร้าย อีกทั้งยังเน้นการพัฒนากลไก
ที่มีความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้เพื่อยืนยันตัวตนของผู้รับ ประโยชน์ที่แท้จริง (ultimate beneficiary) ของบริษัทลูกค้าของธนาคาร
ผลการประเมินหมวดการทุจริตคอร์รัปชันในปี พ ศ 2567 พบว่า
ภาพรวมคะแนนในหมวดนี้เพิ่มขึ้นจาก 4.79 คะแนน ในปี พ ศ 2566 เป็น 4.97 คะแนน ในปี พ ศ 2567 (เพิ่มขึ้น 0.18 คะแนน) โดยธนาคาร
ทุกแห่งได้รับคะแนนจากการประกาศไม่รับสินบน (ข้อ 1) มีนโยบายการ
(ข้อ 2)
(ข้อ 3) มีการเปิดเผยผู้ได้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง (ข้อ 4) และมีมาตรฐานเพิ่มเติมเมื่อทําธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีส่วนเกี่ยว
ข้องทางการเมือง (ข้อ 5) ซึ่งการประกาศนโยบายเหล่านี้เป็นการปฏิบัติ
ตาม พ ร บ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ ศ 2542 มาตรการ
ป้องกันปราบปรามการฟอกเงิน และการต่อต้านการสนับสนุนทาง
การเงินแก่การก่อการร้าย และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
หลักเกณฑ์การรับฝากเงินหรือการรับเงินจากประชาชน (Guideline on Acceptance of Deposits or Money from Customers) สําหรับธนาคารที่ได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดการทุจริตคอร์รัปชัน
(lobbyist) (ข้อ 6)
นโยบายไม่สนับสนุนหรืออุดหนุนนักการเมือง ( ข้อ 7) และธนาคาร
จากการเข้าร่วมเป็นสมาชิกข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Global Compact: UNGC) ที่กําหนดให้ธนาคารจะต้อง ดําเนินธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานที่สอดคล้องกับ หลักการสากล
จากการมีรายการสินเชื่อที่ธนาคารไม่ประสงค์ให้กู้หรือให้การสนับสนุน ทางการเงิน (Exclusion List) ในธุรกิจที่มีเหตุอันเชื่อได้ว่ามีกระบวนการ จัดซื้อจัดจ้าง
เกณฑ์ในหมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารและบริษัทที่ได้รับการสนับสนุน ทางการเงินจากธนาคารสะท้อนถึงคุณค่าความเท่าเทียมในบริบทของเพศ
โดยความเท่าเทียมทางเพศ หมายถึง
โอกาสที่เท่าเทียมกันโดยไม่มีข้อกําหนดด้านเพศ โดยนโยบายที่คาดหวัง
เช่น การมีนโยบายไม่ยอมรับการล่วงละเมิดทางเพศ (zero-tolerance policy)
นโยบายรับประกันการมีส่วนร่วมของสตรีในคณะกรรมการบริษัท
และมาตรการส่งเสริมให้สตรีได้เข้าสู่ตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ได้คะแนนเป็นปีแรกในเกณฑ์การประเมิน 2 ข้อ
นโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy)
และทางเพศ (ข้อ 2) และธนาคารมีการจัดฝึกอบรมเรื่อง
อคติทางเพศและการเลือกปฏิบัติระหว่างเพศในสถานที่ทํางานให้แก่
พนักงาน (ข้อ 3)
ธนาคารกสิกรไทย ได้คะแนนเพิ่มขึ้นจากการประกาศนโยบายสิทธิ
มนุษยชนและการลงทุนอย่างมีความรับผิดชอบ ที่คาดหวังให้ลูกค้าธนาคาร และธุรกิจที่ธนาคารจะเข้าไปลงทุนเคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการ ชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งใน
ถึงความเสี่ยงที่แตกต่างกันที่ผู้หญิงและผู้ชายอาจเผชิญอย่างเหมาะสม กล่าวคือ ลูกค้าต้องมีนโยบายบรรเทาความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอัน
เป็นผลมาจากเพศสภาพ (ข้อ 10)
ธนาคารทหารไทยธนชาตและธนาคารไทยพาณิชย์
ข้อ 14 โดยธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนจากการที่เป็นธนาคาร เพียงแห่งเดียวที่มีนโยบายกําหนดให้ลูกค้าต้องมีการจ้างงานที่ต้องให้ ค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกันโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติทางเพศ ซึ่งสะท้อน ให้เห็นว่าลูกค้าต้องมีการบริหารการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม จึงทํา ให้ได้คะแนนในข้อนี้บางส่วน ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์ได้คะแนนจาก การเข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) โดย EPs เป็นกรอบการบริหารความเสี่ยงสําหรับสถาบัน
การเงินที่ได้ชี้แนะแนวทางในการ
ด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม
ดังกล่าวส่งผลให้ธนาคารต้องปฏิบัติตามแนวปฏิบัติของบริษัทเงินทุน ระหว่างประเทศ (IFC) ในด้านมาตรฐานการดําเนินงานด้านความยั่งยืน ทางสิ่งแวดล้อมและสังคม (Performance Standard: PS)
กําหนดแนวปฏิบัติของธนาคารต่อลูกค้าในประเด็นการจ้างงานบนพื้นฐาน ของโอกาสที่เท่าเทียมกันและการปฏิบัติที่เป็นธรรม และการไม่เลือกปฏิบัติ
ในด้านใดๆ ของความสัมพันธ์ในการจ้างงาน ซึ่งรวมถึงความเท่าเทียมและ
เป็นธรรมในค่าตอบแทนที่รวมถึงค่าจ้างและสวัสดิการ ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่มีสัดส่วนผู้หญิงใน ตําแหน่งคณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูงที่สัดส่วนร้อยละ 40 และ
คณะกรรมการบริหารที่สัดส่วนร้อยละ 30 จึงทําให้ได้คะแนนในข้อ 6
พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เคยได้คะแนน ในปีก่อนจากการมีสัดส่วนผู้หญิงในตําแหน่งบริหารตามที่เกณฑ์กําหนดไว้
อย่างไรก็ตาม ในปีนี้พบว่าธนาคารเหล่านี้มีสัดส่วนผู้หญิงในตําแหน่ง
บริหารลดลงตํ่ากว่าที่เกณฑ์กําหนด จึงไม่ได้คะแนนในปีนี้
สนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจที่มีผู้หญิงเป็นเจ้าของ
(Krungsri Women SME
Bond)
(health)
ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า
ความรอบคอบ (precautionary principle) รวมถึงการกําหนดให้เคารพและ
ปฏิบัติตามข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการผลิตและการใช้สารพิษ และสารอันตรายตามที่กําหนดใน Stockholm Convention (เกี่ยวกับสารพิษ
อินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ยาก หรือ Persistent Organic Pollutants: POPs)
Performance Standards และ IFC Environmental, Health, and Safety
Guidelines โดยการรับหลักการดังกล่าวส่งผลให้ธนาคารไทยพาณิชย์ได้รับ
คะแนนเพิ่มขึ้นในหลายข้อ เช่น การกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารเคารพ
Montreal Protocol (สารที่ทําให้ชั้นโอโซนเป็นรู
Stockholm Convention (ว่าด้วย Persistent Organic Pollutants: POPs) ข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการค้าสารเคมีและของเสียเคมี ตาม
Basel Convention และข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการค้า
Rotterdam Convention (ข้อ 4–7)
ธนาคารไม่ประสงค์ให้กู้หรือให้การสนับสนุนทางการเงิน (Exclusion List)
ในกิจกรรมการผลิตหรือการค้ายาสูบ (ข้อ 14)
ประเมินของธนาคารกรุงไทยลดลง เนื่องจากไม่พบนโยบายรายการสินเชื่อ ที่ธนาคารไม่ประสงค์ให้กู้หรือให้การสนับสนุนทางการเงินของธนาคารที่ เกี่ยวข้องกับการกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารป้องกันไม่ให้สุขภาพของ ลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษัท (ตามหลักความรอบคอบ— precautionary principle) ( ข้อ 1) และการกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารต้องเคารพในข้อตกลง ระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตและใช้สารพิษและสารอันตรายตามที่
ระบุใน Stockholm Convention (ข้อ 5)
Rotterdam Convention (ข้อ 7) (ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน
เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิมนุษยชน ตาม หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ
(United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) และมีกลไกติดตามตรวจสอบให้ลูกหนี้ธุรกิจของธนาคารปฏิบัติ
และธนาคารกสิกรไทย เนื่องการจากลงนามเข้าร่วมมาตรฐานสากล การประกาศนโยบายฉบับใหม่ด้านสิทธิมนุษยชน และการเปิดเผย
นโยบายด้านสิทธิมนุษยชนที่ครอบคลุมโครงสร้างการปฏิบัติของธนาคาร เพิ่มเติม
UNGPs และ
ด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (human rights due diligence:
HRDD) และต้องจัดตั้งหรือมีส่วนร่วมในกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับ ปฏิบัติการจากปัจเจกและชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบ
(zero-tolerance policy)
โดยมีการพิจารณาประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนซึ่งคาดหวังให้ธุรกิจ
ที่ธนาคารจะเข้าไปลงทุนแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจในด้าน สิทธิมนุษยชนที่สอดคล้องไปตามกรอบของหลักการชี้แนะว่าด้วย
ธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs)
ระดับโลกที่กําหนดในหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน การกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารต้องป้องกันความขัดแย้งเรื่องสิทธิ
โดยสมัครใจที่เป็นอิสระและได้รับข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) จากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการใช้ที่ดิน
rights)
เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิแรงงานสอด
คล้องกับคําประกาศขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทํางาน นอกจากนี้เกณฑ์การประเมินยังครอบคลุมนโยบายด้านสิทธิแรงงานของ
บริษัทที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคาร
ประกาศนโยบายที่กําหนดให้ลูกค้าของธนาคารต้องให้ความสําคัญกับการ ดําเนินการด้านสิทธิแรงงานที่ครอบคลุมในประเด็นแรงงานที่หลากหลาย มากยิ่งขึ้นเมื่อเทียบกับการประเมินในปีก่อน รวมถึงการรับหลักการ สากลมาเป็นแนวปฏิบัติดังนี้
ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้คะแนนเพิ่มในหมวดสิทธิแรงงานจากการ
อย่างยั่งยืน (Sustainable Finance & Advisory Statement) โดย
(Exclusion List)
ดําเนินงานด้านความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม (PS) และ
(Environmental, Health, and Safety: EHS) ซึ่งระบุถึงการกําหนดแนว
ปฏิบัติอย่างเท่าเทียมของแรงงานข้ามชาติและแรงงานนอกระบบ
และการมีสภาพการทํางานที่เท่าเทียมกับลูกจ้างคนอื่นๆ (ข้อ 14)
ลูกค้ามีระบบการบริหารจัดการที่ชัดเจนในการติดตาม การปฏิบัติ
ตามมาตรฐานแรงงานตามกฎหมายแรงงาน ( ข้อ 16) จัดตั้ง
กระบวนการรับและจัดการกับเรื่องร้องเรียนจากพนักงาน (ข้อ 17)
การ กําหนดให้ลูกค้าบูรณาการหลักเกณฑ์ด้านสิทธิแรงงาน
(ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work) (ข้อ 1)
( ข้อ 4) รวมถึงการประกาศเข้าร่วมรับหลักการ
(Maternity Protection Convention) ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) (ข้อ 3) และ
เปิดเผยนโยบายด้านการลงทุนของธนาคารเพิ่มเติม โดยมีการ
พิจารณาประเด็นด้านสิทธิแรงงานซึ่งคาดหวังให้ธุรกิจที่ธนาคาร จะเข้าไปลงทุนแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจในด้านสิทธิแรงงาน
การรับรองสิทธิในการรวมกลุ่มและตระหนักอย่างมีประ
สิทธิผลในสิทธิในการรวมกลุ่มต่อรอง
(ข้อ 16)
ธรรมชา ต (nature)
เกณฑ์หมวดนี้ประเมินนโยบายเกี่ยวกับธุรกิจที่ธนาคารให้การสนับ
อุตสาหกรรมที่สุ่มเสี่ยงต่อการสร้างผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
IFC Performance Standards ส่งผลให้ธนาคารได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นใน
ผลกระทบทางลบต่อพื้นที่ที่มีคุณค่าด้านการอนุรักษ์สูง (High Conservation Value: HCV areas)
ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) พื้นที่มรดกโลกยูเนสโก (UNESCO World Heritage) พื้นที่อนุรักษ์ตามอนุสัญญาแรมซาร์ว่าด้วยพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความ
สําคัญระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) และประชากร
สัตว์ที่อยู่ในบัญชีแดงสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ของ IUCN (IUCN Red List of Threatened Species) (ข้อ 2–6)
ธนาคารกรุงเทพ ได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดนี้ จากการมีนโยบาย การพิจารณาสินเชื่อธุรกิจและสินเชื่อโครงการที่ผนวกผลกระทบด้าน
ESG ซึ่งรวมถึงการก่อผลกระทบต่อสัตว์ป่าหรือพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ตาม
IUCN Red List (ข้อ 6)
ที่เกี่ยวข้องกับการกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารต้องป้องกันผลกระทบทาง ลบต่อพื้นที่ระดับ I-IV ตามการจัดหมวดขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อ
3–5) (เป็นข้อที่ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน แต่ไม่ได้คะแนนในปีนี้)
ภา ษ (tax)
เกณฑ์ในหมวดดังกล่าวมุ่งเน้นให้ธนาคารมีกลไกและกระบวนการใน
อยู่ในประเทศเขตปลอดภาษี
ธนาคารกําหนดให้บริษัทที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคาร จําเป็นต้องปรับใช้นโยบายด้านภาษีและการรายงานที่เกี่ยวข้องกับภาษี เช่นเดียวกันกับธนาคารด้วย
ผลการประเมินธนาคารใน
คะแนนในหมวดนี้ โดยธนาคาร
พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย มีเฉพาะสาขา
1–3 ด้วยเช่นกัน
ทางภาษีที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดหรือลดภาระทางภาษีผ่านการ วางแผนหรือโครงสร้างที่ซับซ้อน และไม่ใช้ประโยชน์จากกฎหมายภาษี ในการดําเนินธุรกิจที่ไม่สอดคล้องต่อหลักการและเจตนาของกฎหมาย ภาษีทั้งธุรกรรมในประเทศและต่างประเทศ (ข้อ 5)
ธนาคารกรุงเทพและธนาคารไทยพาณิชย์ ได้คะแนนจากการเปิดเผย
ว่า ธนาคารไม่ได้รับคําตัดสินทางภาษีที่มีนัยสําคัญใดๆ จากหน่วยงาน กํากับดูแลภาษีในปีที่ผ่านมา (ข้อ 6) นอกจากนี้ ธนาคารเฉพาะกิจทั้ง
เฉพาะในประเทศไทย ทําให้ได้คะแนนจากการไม่มีบริษัทในเครือ
หรือบริษัทร่วมลงทุนใดๆ
เงินได้ (ข้อ 7)
(arms)
(jurisdiction)
(anti-personnel landmines)
(cluster munition) และ
ส่วนประกอบสําคัญของระเบิดลูกปราย (ข้อ 1–2) นอกจากนี้
ออมสินได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นจากการมีนโยบายไม่ยอมรับการใช้
อาวุธอัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึงส่วนประกอบที่ออกแบบมาสําหรับ LAWS (ข้อ 7)
4.36 คะแนน
พ.ศ. 2566 เป็น 3.81 คะแนน ใน
เนื่องจากไม่พบนโยบายรายการสินเชื่อที่ธนาคาร ไม่ประสงค์ให้กู้หรือให้การสนับสนุนทางการเงิน (Exclusion List) เช่น การไม่ยอมรับการส่งสินค้าทางทหารไปยังคู่ขัดแย้งที่มีส่วนร่วมในความ
ยกเว้นว่าเป็นฝ่ายที่กําลังทําตามมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่ง
(UN Security Council)
อย่างรุนแรง
งบประมาณมากเกินสัดส่วนที่สมควรไปกับการซื้ออาวุธ ( ข้อ 12–15)
เป็นต้น (ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน แต่ไม่ได้คะแนนในปีนี้)
นโยบายอบรมจรรยาบรรณของพนักงานและกํากับให้พนักงานให้บริการ ต่อลูกค้าโดยไม่เลือกปฏิบัติ การสร้างหลักประกันว่าลูกค้ารายย่อยเข้าถึง กลไกรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยาที่มีกระบวนการค้นหาความจริง (due diligence) รวมไปถึงการปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม
ผลประโยชน์ทับซ้อนและมีนโยบายที่จะเปิดให้ลูกค้ารายย่อยที่เป็นผู้พิการ
หรือมีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงสาขาทางกายภาพและบริการ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น แพลตฟอร์มออนไลน์ได้อย่างครอบคลุม
(market conduct) ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม
การประกาศมาตั้งแต่ พ ศ 2562 ด้วยเหตุนี้ธนาคารส่วนใหญ่จึงมีการ ประกาศนโยบายและมาตรการคุ้มครองผู้บริโภครายย่อยที่คล้ายคลึงกัน ส่งผลให้ธนาคารส่วนใหญ่ได้รับคะแนนในข้อเดียวกัน อาทิ ธนาคาร
ทุกแห่งมีการประกาศนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้ารายย่อย และความ
เสี่ยงของผลิตภัณฑ์และบริการ (ข้อ 1) ธนาคารทุกแห่งมีการประกาศ
นโยบายในการจัดการข้อร้องเรียนของลูกค้าอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่
ช่องทางการร้องเรียน ระบบการดําเนินการข้อร้องเรียน ระยะเวลาการ ดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน รวมไปถึงการรายงานผลและจัดให้มีการ
มากีดกันไม่ให้ลูกค้ารายย่อยเข้าถึงบริการทางการเงิน (ข้อ 18)
เปิดเผยนโยบายที่มีจุดประสงค์เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้นดังนี้
เป้าหมายว่าจะลดจํานวนเรื่องร้องเรียน
บริหารจัดการด้านการให้บริการแก่ลูกค้าอย่างเป็นธรรม (market conduct) และประกาศว่าธนาคารจะสื่อสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และ
บริการของตนอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส (ข้อ 8) • ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกรุงไทย ได้คะแนนเพิ่มขึ้นจาก
การประกาศว่าจะแจ้งลูกค้าอย่างทันท่วงทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ค่าธรรมเนียม (ข้อ 14)
เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายให้การสนับสนุนทาง การเงินแก่ลูกค้าที่ยังเข้าไม่ถึงบริการทางการเงินในระบบ ผู้มีรายได้น้อย
และกลุ่มเปราะบาง โดยให้บริการทางการเงินที่เหมาะสม สะดวก และ
นอกจากนี้ยังให้คะแนนธนาคารที่มีบริการทางโทรศัพท์
มือถือ (mobile banking) และบริการไร้เงินสด (e-money)
หรือโครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องทางการเงิน (financial literacy) แก่
ลูกค้ากลุ่มผู้มีรายได้น้อย
ขนาดย่อมและขนาดกลาง (MSME: micro-enterprise and SMEs)
เป็นเพียงธนาคารเดียวที่ได้คะแนนเต็มในข้อนี้ จากการมีผลิตภัณฑ์ Kept by krungsri
ที่ไม่กําหนดเงินคงเหลือในบัญชีขั้นตํ่าและไม่มีเงื่อนไข ในหมวดการขยายบริการทางการเงิน
(mobile banking) และบริการไร้เงินสด (e-money) (ข้อ 3)
•
สถาบันการเงินเผยแพร่เงื่อนไขของบริการทางการเงินในภาษา
(ข้อ 7)
• สถาบันการเงินมีนโยบายปรับปรุงความรู้เรื่องทางการเงิน (financial literacy)
เปราะบาง และ MSME (ข้อ 8)
ข้อ 4)
การไม่กําหนดว่า MSME ต้องมีหลักประกันในการกู้ (ข้อ 5) และการมี
และเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อ สาธารณะ (ข้อ 11)
ทั้งนี้มีเกณฑ์บางข้อที่มีธนาคารเพียงไม่กี่แห่งได้คะแนน อาทิ
ออมสินและธนาคารกสิกรไทย เป็นธนาคารเพียง
จากการมีผลิตภัณฑ์สินเชื่อที่อยู่อาศัยให้กับผู้มีรายได้น้อย (ข้อ 13)
ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกรุงศรีอยุธยา เป็นธนาคาร 2 แห่ง ที่ได้รับคะแนนเต็มจากการมีผลิตภัณฑ์และบริการที่ช่วยให้สตรีและ ผู้ประกอบการสตรีเข้าถึงการเงินและบริการของธนาคารได้มากขึ้น (ข้อ 14)
โดยผลิตภัณฑ์ของธนาคารไทยพาณิชย์คือ
ซึ่งเป็นสินเชื่อสําหรับธุรกิจที่มีผู้ประกอบการที่เป็นผู้หญิงถือ
(Green Forward)
หุ้นมากกว่าร้อยละ 50 ส่วนผลิตภัณฑ์ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา
พันธบัตรสําหรับผู้ประกอบการหญิงในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (Women SME Bond)
คะแนนบางส่วนในข้อนี้จากการมีผลิตภัณฑ์สําหรับคู่รัก LGBTQ+ ที่
ต้องการกู้ซื้อบ้านและซื้อคอนโดร่วมกัน
นโย บั าย ค ่าตอ บั แทน (remuneration)
เกณฑ์หมวดนี้มุ่งเน้นการเปิดเผยโครงสร้างค่าตอบแทน และคาดหวัง ให้ธนาคารมีนโยบายการจ่ายโบนัสที่เอื้อต่อการสร้างแรงจูงใจที่เหมาะสม
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
ทําให้ธนาคาร ไม่มีอํานาจในการกําหนดนโยบายด้านการตอบแทนได้เอง คณะวิจัยได้หารือร่วมกับ Profundo และเห็นสมควรให้ยกเว้นการประเมินในหมวดการตอบแทนตั้งแต่ พ ศ 2566
การตั้งเงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ของการปฏิบัติงานการจัดการและการปฏิบัติการภายใน ( ข้อ 8) โดย
ธนาคารทหารไทยธนชาตเป็นเพียงธนาคารแห่งเดียว ที่ได้รับคะแนนเพิ่มขึ้น ในข้อนี้ จากการกําหนดให้โบนัสของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
(ข้อ 9) โดยธนาคารทหารไทยธนชาตได้รับคะแนนเพิ่มขึ้นในข้อนี้ จาก การกําหนดให้โบนัสของประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนที่เชื่อมโยงกับการ ลงทุนและการให้บริการทางการเงินของสถาบันการเงิน เช่น
ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมในเชิงบวก และยอดการรวบหนี้
เพื่อแบ่งเบาภาระหนี้ของครัวเรือน ขณะที่ธนาคารไทยพาณิชย์ได้รับ คะแนนในข้อนี้เป็นครั้งแรก จากการกําหนดให้ค่าตอบแทนของผู้บริหาร ระดับสูงพิจารณารวมตัวชี้วัดและเป้าหมายด้านความยั่งยืนของการให้
บริการทางการเงิน กล่าวคือ ตัวชี้วัดด้านการสนับสนุนด้านการเงินเพื่อ
ความยั่งยืน (sustainable finance)
(transparency and accountability)
เกณฑ์หมวดนี้มุ่งเน้นให้ธนาคารมีกลไกและกระบวนการเปิดเผย
การลงทุนขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับประเด็นทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (ข้อ 1) การเผยแพร่สถิติการออกเสียง (ข้อ 16) และการเผยแพร่รายงาน
ชื่อของบริษัทบางส่วนที่บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ลงทุน ส่วนธนาคารกรุงเทพและธนาคารทหารไทยธนชาต ได้รับคะแนนจาก
การเผยแพร่ชื่อกิจการต่างๆ
ธนาคารไทยพาณิชย์
ธนาคารทุกแห่งมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสําหรับปัจเจกและชุมชนที่ อาจได้รับผลกระทบทางลบจากกิจกรรมของสถาบันการเงิน ( ข้อ 24)
อย่างไรก็ตาม
รับเรื่องร้องเรียนดังกล่าวครอบคลุมถึงผลกระทบทางลบจากกิจกรรมที่ สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินด้วย
ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารแห่งเดียวที่ระบุชัดเจนถึงการจัดให้มี กระบวนการการร่วมมือกันระงับข้อพิพาทโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ครอบคลุม ทั้งการระงับข้อพิพาทภายในและภายนอก
กระบวนการระงับข้อพิพาทนั้นๆ ทําให้เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่ ได้รับคะแนนในเรื่องของการยินดีให้ความร่วมมือในกระบวนการร้องทุกข์
เมื่อกรณีที่สถาบันการเงินมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยต้องเข้าสู่
(ข้อ 27)
Fair Finance Guide International (FFGI)
Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)
(Dow Jones Sustainability Indices: DJSI)
S&P Dow Jones Indices และ RobecoSAM โดยเชิญบริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่ทั่วโลกใน 60 อุตสาหกรรม
เข้าร่วมการประเมินการดําเนินงานด้านความยั่งยืน บริษัทจะถูกประเมิน ด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า Corporate Sustainability Assessment หรือ CSA
ซึ่งครอบคลุม 3 มิติ ทั้งด้านเศรษฐกิจ
แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ (Fair Finance Guide Interna-
tional: FFGI) คือ
1) ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายต่างกัน
DJSI นําเสนอดัชนีความยั่งยืนของบริษัทแก่นักลงทุน ส่วน FFGI
เน้นเสริมสร้างมาตรฐานด้านสังคม
อุตสาหกรรมธนาคารและสร้างการรับรู้แก่ลูกค้าธนาคารและบุคคลทั่วไป
DJSI ประเมินทุกอุตสาหกรรม
3) การเปิดเผยข้อมูลวิธีการประเมินและแบบสอบถามที่สมบูรณ์
DJSI
ประเมินทั้งในระดับเนื้อหานโยบายและขอบเขตของนโยบาย อันเนื่องมาจากหลายครั้งนโยบายของธนาคารไม่ได้ถูกนําไปปรับใช้ใน
ทุกผลิตภัณฑ์ ส่วน DJSI ไม่มีการระบุขอบเขตของการประเมินที่แน่ชัด
มีเพียงตัวอย่างด้านสิทธิมนุษยชน ที่ระบุว่าเกณฑ์จะครอบคลุมด้าน สิทธิมนุษยชนเท่าที่ปรากฏในเนื้อหานโยบายภายในของบริษัทเท่านั้น1
DJSI
โดย DJSI
“Measuring Intangibles”
วิธีนี้ช่วยให้การประเมินเรื่องความยั่งยืนมีความลึกซึ้งมากขึ้น2 ส่วน FFGI
ใช้ข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยต่อสาธารณะในการประเมินเท่านั้น โดย เป็นการประเมินจากบุคคลภายนอก
1 [page 6] https://eerlijkegeldwijzer.nl/media/494706/eb-ev-ana lyse-duurzaam heidsbeoordelingen-180323.pdf
2 [page 1] https://www.robecosam.com/media/c/2/f/c2fb51336d 88cfe5d5cba 1241da83d26_measuring-intangibles-csa-methodology_tcm1016-14370.pdf
ผลคะแนนต่างกัน หาก DJSI พบว่าบริษัทไม่ปฏิบัติตามนโยบายที่ระบุ
ไว้และส่งผลกระทบทางลบต่อธนาคารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของธนาคาร คะแนนที่ประเมินจะถูกหักตามความรุนแรงของเหตุการณ์ 3
FFGI ที่ข้อมูลจากสื่อหรือแนวร่วมไม่ส่งผลต่อคะแนน เพราะการประเมิน
ใช้จากข้อมูลนโยบายที่ธนาคารเปิดเผยเท่านั้น
” (Best in Class)
อาจได้คะแนนน้อยและมิใช่ผู้นําด้านความยั่งยืนอย่างที่คาดหวัง ต่างจาก เกณฑ์ FFGI ซึ่งถูกพัฒนาตามแนวปฏิบัติที่
คะแนนเต็มหรือเกือบเต็ม 100% จึงนับเป็นธนาคารที่มีแนวปฏิบัติที่เป็น
เลิศตามอุดมคติของแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม (ideal best practice)
3 [page 12] https://www.robecosam.com/media/c/2/f/c2fb51 336d88cfe5d5cba 1241da83d26_measuring-intangibles-csa-methodology_tcm1016-14370.pdf
ธรรมาภิบาล (Corporate and governance)
• ความปลอดภัยของข้อมูลและ ความปลอดภัยทางไซเบอร์
(Codes of business conduct)
• การจัดการความเสี่ยงและวิกฤต (Risk and crisis management)
• สาระ (Materiality)
• ความมั่นคงทางการเงินและ
ความเสี่ยงของระบบ (Financial instability and systemic risk)
•
(Information security and cyber security)
(Tax strategy)
• อิทธิพลของนโยบาย (Policy influence)
• การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer relationship management)
4 [page 3] https://www.robecosam.com/media/e/3/5/e3545dc00f11f2515ff00da bee0bed61_robecosam-corporate-sustainability- assessment-weightings-2018_ tcm1016-14374.pdf
(Business risk and opportunities)
(Environmental reporting)
มิติด้านสังคม:
•
(Talent attraction and retention)
• การพัฒนาทุนมนุษย์ (Human capital development)
• ประเด็นที่ถกเถียง
การปล่อยสินเชื่อและการจัดหา
เงิน (Controversial issues, dilemmas in lending and financing)
• การขยายบริการทางการเงิน (Financial inclusion)
(Climate strategy)
จัดการ (Operational policy and management)
• รายงานสังคม (Social reporting)
(Occupational health and safety)
• การเป็นพลเมืองที่ดีในภาค
ธุรกิจและการสาธารณกุศล (Corporate citizenship and philanthropy)
• ตัวชี้วัดการปฏิบัติด้านแรงงาน (Labor practice indicators)
• สิทธิมนุษยชน (Human rights)
กลุ่มหัวข้อรายประเด็น:
• สวัสดิภาพสัตว์ (Animal welfare)
• การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Climate change)
• การทุจริตคอร์รัปชัน (Corruption)
• ความเท่าเทียมทางเพศ
(Gender equality)
• สุขภาพ (Health)
• สิทธิมนุษยชน (Human rights)
• สิทธิแรงงาน (Labour rights)
• ธรรมชาติ (Nature)
• ภาษี (Tax) กลุ่มหัวข้อรายอุตสาหกรรม
• อาวุธ (Arms)
• ภาคการเงิน (Financial sector)
• การประมง (Fisheries)
• อาหาร (Food)
• ป่าไม้ (Forestry)
• บ้านและอสังหาริมทรัพย์ (Housing and real estate)
กลุ่มหัวข้อการดําเนินงานภายใน:
• ความโปร่งใสและความรับผิด (Transparency and accountability)
• การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer protection)
• อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing industry)
• เหมือง (Mining)
• นํ้ามันและแก๊ส (Oil and gas)
• การผลิตกระแสไฟฟ้า (Power generation)
• การขยายบริการทางการเงิน (Financial inclusion)
• นโยบายค่าตอบแทน (Remuneration)