ผลการประเมินธนาคารตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจำปี 2565 และสรุปโครงการระยะที่ 1

Page 1



การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”



การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ” (Fair Finance Guide International) รายงานประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565

และสรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561–2565)

แนวร่​่วมการเงิ​ินที่​่�เป็​็นธรรมประเทศไทย Fair Finance Thailand

กุมภาพันธ์ 2566


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ” (Fair Finance Guide International) สรุปภาพรวมโครงการระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561–2565) พิมพ์ครั้งแรก กุมภาพันธ์ 2566 จัดพิมพ์โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)

เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org Facebook

สถานที่ตั้ง

Fair Finance Thailand

บ ริษัท ป่าสาละ จํากัด 2 สุขุมวิท ซอย 43 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110; อีเมล info@salforest.com; โทรศัพท์ 02 258 7383


สารบั​ัญ

บทสรุ​ุปสํ​ําหรั​ับผู้​้�บริ​ิหาร

7

ผลการประเมินธนาคารประจําปี พ.ศ. 2565 บอกอะไรกับเราบ้าง?

16

นโยบายที่​่�มี​ีการเปลี่​่�ยนแปลงน่​่าสนใจในปี​ี พ.ศ. 2565 21 สรุ​ุปผลการประเมิ​ินธนาคาร 5 ปี​ี ระหว่​่าง 39 ปี​ี พ.ศ. 2561–2565 นโยบายที่​่�ธนาคารประกาศในช่​่วงรั​ับฟั​ังความคิ​ิดเห็​็น 43 ปี​ี พ.ศ. 2565 ผลการประเมิ​ินธนาคารไทยตามเกณฑ์​์ 55 Fair Finance Guide International ประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565

—5—


สรุ​ุปผลคะแนนรายหมวด และนโยบายที่​่�น่​่าสนใจ ประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565 ความแตกต่​่างระหว่​่าง Fair Finance Guide International (FFGI) และ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)

123

ภาคผนวก

135

หัวข้อประเมินตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International 2021 รายหมวด แนะนําโครงการ Fair Finance Thailand แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ (Fair Finance Guide International)

—6—

65

137

187 191


บทสรุ​ุปสํ​ําหรั​ับผู้​้�บริ​ิหาร


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ในปี พ.ศ. 2565 Fair Finance Thailand (แนวร่วมการ เงินที่เป็นธรรมประเทศไทย เว็บไซต์ www.fairfinancethai​ land.org, “แนวร่ ว มฯ ”) จั ด ทํ า การประเมิ น นโยบายด้ า น ต่างๆ ของสถาบันการเงินไทย 11 แห่ง ประกอบด้วย ธนาคารพาณิชย์ที่ใหญ่ที่สุดในไทย 8 แห่ง และสถาบัน การเงินเฉพาะกิจของรัฐ 3 แห่ง ทีเ่ ปิดเผยสูส่ าธารณะ นับ เป็นปีทหี่ า้ ทีม่ กี ารนํามาตรฐาน Fair Finance Guide International ( แนวปฏิ บั ติ ข องแนวร่ ว มการเงิ น ที่ เ ป็ น ธรรม นานาชาติ เว็บไซต์ www.fairfinanceguide.org) มาใช้ใน ประเทศไทยตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International 13 หมวด ประจําปี พ.ศ. 2565 โดยใช้ขอ ้ มูลทีธ่ นาคารเปิด เผยต่อสาธารณะ ณ 30 กันยายน 2565 การเปรียบเทียบ ระหว่างธนาคารจะแสดงผลเป็นร้อยละ (%) ของคะแนน รวม เพื่อเปรียบเทียบอันดับบนฐานเดียวกัน เนื่องจาก ธนาคารเฉพาะกิจบางแห่งมีลักษณะการดําเนินธุรกิจที่ แตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ แนวร่วมฯ จึงยกเว้นบางหมวด ในการประเมิน

—8—


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ผลการประเมิ น ธนาคารไทย 11 แห่ ง ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International 13 หมวด ประจํ า ปี พ.ศ. 2565 โดยใช้ข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยภายในปี พ.ศ. 2565 พบว่ า ธนาคารได้ ค ะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม ขึ้ น จาก 30.66 คะแนนในปี พ.ศ. 2564 เป็น 33.94 คะแนน ในปี พ.ศ. 2565 (เพิ่ ม ขึ้ น 11.94%) โดยธนาคารที่ ไ ด้ ค ะแนนสู ง สุ ด 5 อันดับแรก ได้แก่ ธนาคารทหารไทยธนชาต (42.56%) ธนาคารกสิกรไทย (34.03%) ธนาคารกรุงไทย (33.43%) ธนาคารไทยพาณิชย์ (32.00%) และธนาคารกรุงศรีอยุธยา (29.68%)

หากพิจารณาเฉพาะผลคะแนนของธนาคารพาณิชย์ 8 แห่ง พบว่าธนาคารพาณิชย์ในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ย เพิ่มขึ้นจาก 34.98 คะแนน ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 38.32 คะแนน ในปี พ.ศ. 2565 (เพิ่มขึ้น 9.96%) ขณะที่สถาบัน การเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง ทีไ่ ด้รบั การประเมินเป็นปีทสี่ าม พบว่ามีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเช่นกันจาก 19.12 คะแนน ในปี พ .ศ . 2564 เป็ น 22.25 คะแนนในปี พ .ศ . 2565

—9—


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

เพิม่ ขึน้ 17.22% มากกว่าการเพิม่ ขึน้ ของคะแนนเฉลีย่ ของ ธนาคารพาณิชย์) นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาธนาคารที่ได้คะแนนเพิ่มขึ้น ในปีนี้ พบว่าธนาคารพาณิชย์ 8 แห่ง มีคะแนนเพิ่มขึ้น ค่ อ นข้ า งมากเมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ คะแนนในปี ที่ สี่ โดย ธนาคารที่ได้คะแนนเพิ่มขึ้นสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ (เพิ่มขึ้น 22.16%) ธนาคารกรุงศรี­ อยุธยา (เพิม่ ขึน้ 20.77%) และธนาคารกสิกรไทย (เพิม่ ขึน้ 17.25%) ส่วนสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 3 แห่ง พบว่าได้ คะแนนเพิ่มขึ้นทุกแห่งเมื่อเปรียบเทียบกับคะแนนในปีที่สี่ โดยสามารถจัดอันดับสถาบันการเงินเฉพาะกิจทีม่ คี ะแนน เพิ่มขึ้นสูงสุด ได้แก่ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (เพิม่ ขึน้ 25.49%) ธนาคาร ออมสิน (เพิ่มขึ้น 15.59%) และธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร (เพิ่มขึ้น 10.60%) อย่างไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาถึงการเปลีย่ นแปลงอันดับ ของธนาคารไทย 11 แห่ง พบว่าธนาคารส่วนใหญ่ยังคง (

— 10 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

อยูใ่ นอันดับเดิม ยกเว้นธนาคารกสิกรไทยทีไ่ ด้คะแนนเพิม่ ขึ้นทําให้อันดับเพิ่มขึ้นเป็นที่ 2 ของการประเมินในปีนี้ ขณะที่ธนาคารกรุงไทยได้คะแนนลดลง (ลดลง 0.77%) เนื่องจากมีการปรับนโยบายบางส่วนที่ไม่สอดคล้องกับ เกณฑ์การประเมิน จึงทําให้ธนาคารกรุงไทยมีอนั ดับลดลง มาเป็นที่ 3 ของการประเมินในปีนี้ ผลการประเมิ น สรุ ป เป็ น แผนภาพได้ ใ นหน้ า แทรก พิเศษ 1 และดูสรุปอันดับของธนาคารสําหรับปี พ.ศ. 2565 เปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2564 ได้หน้าแทรกพิเศษ 2 เมือ่ พิจารณาผลการประเมินรายหมวด หมวดทีธ่ นาคาร ทั้งหมดได้คะแนนเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ยังคงเป็น หมวดเดียวกันกับหมวดที่ได้คะแนนสูงสุดในการประเมิน นโยบายธนาคารปีที่สี่ ได้แก่ หมวดการขยายบริการทาง​ การเงินคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 64.39% ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 67.48% ในปี พ.ศ. 2565 รองลงมาเป็นหมวดการ คุ้มครองผู้บริโภค ที่ได้คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 65.26% ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 65.54% ในปี พ.ศ. 2565 และหมวด

— 11 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน ได้คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จาก 43.18% ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 45.08% ในปี พ.ศ. 2565 ขณะที่หมวดที่ธนาคารทั้งหมดได้คะแนนเฉลี่ยน้อย ทีส่ ดุ 3 อันดับแรก ยังคงเป็นหมวดเดียวกันกับหมวดทีไ่ ด้ คะแนนน้อยที่สุดจากการประเมินนโยบายธนาคารปีที่สี่ เช่นกัน ได้แก่ หมวดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หมวดสุขภาพ และหมวดนโยบายค่าตอบแทน อย่างไร ก็ตาม ธนาคารก็ยังมีการพัฒนาและเปิดเผยนโยบายใน หมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและหมวดสุขภาพ ทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การประเมินมากขึน้ ทําให้หมวดการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ได้คะแนนเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ จาก 4.11% ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 8.57% ในปี พ.ศ. 2565 และ หมวดสุขภาพ ได้คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 5.54% ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 6.30% ในปี พ.ศ. 2565 สําหรับหมวดนโยบายค่าตอบแทน ได้คะแนนเฉลี่ย ลดลงจาก 8.96% ในปี พ.ศ. 2564 เป็น 6.21% ในปี พ.ศ. 2565 เนือ ่ งจากเกณฑ์การประเมินฉบับปรับปรุงในปี ค.ศ.

— 12 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

มีการปรับลดเกณฑ์การประเมินในหมวดนโยบาย ค่าตอบแทน 2 ข้อ ที่คาดหวังให้ธนาคารมีการเปิดเผย นโยบายเงินโบนัสอิงกับความพึงพอใจของพนักงานและ ลูกค้า ส่งผลให้ธนาคารทีเ่ คยได้คะแนนในข้อดังกล่าวไม่ได้ รับคะแนน รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาการประเมิน ในข้อ 8 และ 9 ที่คาดหวังเพิ่มเติมให้ธนาคารกําหนด เป้าหมายการจัดสรรเงินโบนัสที่อิงกับการปรับปรุงผล­ กระทบทางสังคมและสิง่ แวดล้อม สําหรับการจัดการและ การปฏิบตั กิ ารของธนาคาร และสําหรับการลงทุนและการ ให้บริการทางการเงินของธนาคาร จึงส่งผลให้ธนาคารที่ เคยได้คะแนนในข้อดังกล่าว ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารทหาร­ ไทยธนชาตได้คะแนนลดลง ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยของ ธนาคารในภาพรวมลดลงด้วย สํ า หรั บ พั ฒนาการของคะแนนในแต่ ล ะหมวดของ ธนาคารในภาพรวมทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2565 เปรียบเทียบ กับปี พ.ศ. 2564 หมวดที่ธนาคารทั้งหมดได้คะแนนเฉลี่ย 2021

— 13 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

เพิ่ ม ขึ้ น มากที่ สุ ด 3 อั น ดั บ แรก ได้ แ ก่ หมวดอาวุ ธ ได้ คะแนนเพิม่ ขึน้ 0.69 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน รองลงมาเป็นหมวดสิทธิมนุษยชนได้คะแนนเพิ่มขึ้น 0.65 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และหมวดความเท่า เทียมทางเพศได้คะแนนเพิม่ ขึน้ 0.52 คะแนนจากคะแนน เต็ม 10 คะแนน ขณะทีห่ มวดทีไ่ ด้คะแนนลดลงเมือ่ เปรียบเทียบกับปีที่ แล้วมี 2 หมวด ได้แก่ หมวดความโปร่งใสและความรับผิด และหมวดนโยบายค่าตอบแทน โดยหมวดความโปร่งใส และความรับผิดได้คะแนนลดลง 0.21 คะแนนจากคะแนน เต็ม 10 คะแนน เนือ่ งจากเกณฑ์การประเมินฉบับปรับปรุง ในปี ค.ศ. 2021 มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาการประเมินใน ข้อ 25 ที่คาดหวังเพิ่มเติมให้ธนาคารมีการเปิดเผยกลไก รับเรื่องร้องเรียนสําหรับปัจเจกบุคคลและชุมชน ที่อาจได้ รับผลกระทบทางลบจากกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การ สนับสนุนทางการเงินด้วย ส่งผลให้ธนาคารส่วนใหญ่ได้รบั คะแนนลดลงในข้อดังกล่าว ส่วนหมวดนโยบายค่าตอบแทน

— 14 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ได้คะแนนลดลง 0.28 คะแนนจากคะแนนเต็ม 10 คะแนน เนื่องจากเกณฑ์การประเมินฉบับปรับปรุงในปี ค.ศ. 2021 มี ก ารปรั บ ลดและเปลี่ ย นแปลงเนื้ อ หาของเกณฑ์ ก าร ประเมินในข้อที่ธนาคารเคยได้รับคะแนนดังที่กล่าวถึง ข้างต้น จึงส่งผลให้ธนาคารในภาพรวมมีคะแนนลดลง

— 15 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ผลการประเมิ​ินธนาคารประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565 บอกอะไรกั​ับเราบ้​้าง?

แนวร่วมฯ เห็นว่า ผลการประเมินนโยบายธนาคาร ประจําปี 2565 มีประเด็นน่าสนใจดังต่อไปนี้ ธนาคารพาณิชย์หลายแห่งปรับปรุงนโยบายสินเชือ่ และรายการธุรกิจที่ธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทาง​ การเงิน (exclusion list) ที่มีความชัดเจนมากกว่าทุกปีที่ แล้วมา โดยเฉพาะการให้ความสําคัญมากขึ้นกับธุรกิจที่ ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ ตัวอย่างเช่น ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ล้วนประกาศว่าจะไม่ให้​ การสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน และธุรกิจเหมืองถ่านหิน ส่วนธนาคารกสิกรไทยประกาศ เป้าหมายทีช่ ดั เจนว่า ธนาคารจะทยอยลดเงินกูใ้ นโครงการ โรงไฟฟ้าถ่านหินและเหมืองถ่านหินทีม่ อี ยูแ่ ล้วให้เป็นศูนย์ ภายในปี พ.ศ. 2573 (ค.ศ. 2030) 1.

— 16 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ธนาคารไทยพาณิชย์ เป็นธนาคารไทยแห่งแรกทีร่ บั หลักการ Equator Principles มาตรฐานทีไ่ ด้รบั การยอมรับ ในระดับสากลว่าด้วยเรื่องการบริหารความเสี่ยงด้านสิ่ง­ แวดล้อมและสังคมสําหรับสถาบันการเงินในการสนับสนุน สินเชื่อโครงการขนาดใหญ่ ทําให้ได้คะแนนเพิ่มขึ้นหลาย ข้อย่อยจากการรับหลักการดังกล่าว รวมถึงธนาคารเอง ก็มีการปรับปรุงนโยบายบางด้านในทางที่สอดคล้องกับ มาตรฐานดังกล่าว อาทิ การกําหนดให้มกี ารประเมินความ เสีย่ งด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในกระบวนการ พิจารณาสินเชือ่ สําหรับโครงการขนาดใหญ่ทม่ี คี วามเสีย่ งสูง อีกทัง้ ยังประกาศเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สุทธิเป็นศูนย์ (net zero commitment) จากการดําเนินงาน กลุ่มธุรกิจที่ SCBX Group ดูแลอยู่ภายในปี ค.ศ. 2030 และจากการให้สินเชื่อและการลงทุนภายในปี ค.ศ. 2050 อย่างไรก็ดี ความชัดเจนของผลลัพธ์จากการนํา Equator Principles ไปใช้ในทางปฏิบัติ โดยเฉพาะในกระบวนการ กลั่ น กรองสิ น เชื่ อโครงการขนาดใหญที่มีค วามเสี่ยงสูง 2.

— 17 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ยังเป็นประเด็นที่ต้องติดตามอย่างใกล้ชิดต่อไป 3. ณ สิ้ น ปี พ .ศ . 2565 มี ธ นาคารถึ ง 7 แห่ ง จาก 11 แห่งที่แนวร่วมฯ ประเมินนโยบาย (คิดเป็น 64%) ที่ ประกาศว่าธนาคารเคารพในสิทธิมนุษยชนตามหลักการ ชีแ้ นะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชา­ ชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) อย่ า งไรก็ ดี ความเข้ ม ข้ น ในการประกาศแนวปฏิบตั ดิ า้ นสิทธิมนุษยชนยังคงมีความ แตกต่างกันมากระหว่างธนาคารต่างๆ โดยธนาคารที่ ประกาศนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนที่ครอบคลุมลูกค้า ธุรกิจของธนาคารด้วย (กล่าวคือ ลูกค้าต้องเคารพในสิทธิ มนุษยชนภายใต้หลักการชีแ้ นะ UNGPs ด้วย) อย่างชัดเจน ได้แก่ ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารไทยพาณิชย์ และ ธนาคารกสิกรไทย ยกตัวอย่างเช่น ธนาคารทั้งสามแห่ง ระบุวา่ ลูกค้าธุรกิจของธนาคารจะต้องมีกระบวนการเยียวยา ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนที่บริษัท (ลูกค้า) เป็น ผู้ก่อ หรือมีส่วนในการก่อ และมีการจัดตั้งหรือมีส่วนร่วมใน

— 18 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

กลไกเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการจากปัจเจกและชุมชน ที่อาจได้รับผลกระทบ เป็นต้น 4. ธนาคารที่รัฐเป็น ผู้ถือหุ้นใหญ่และสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรัฐมีพัฒนาการที่น่าสนใจ เช่น ธนาคาร กรุงไทยเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวทีป่ ระกาศเป็นนโยบาย ว่าลูกค้าของธนาคารไม่เพียงต้องปฏิบัติตามมาตรฐาน แรงงานตามกฎหมายแรงงานเท่านัน้ หากต้องมีระบบการ บริหารจัดการที่ชัดเจนในการติดตามและแก้ไขให้เป็นไป ตามกฎหมายแรงงานด้วย ธนาคารออมสินได้คะแนน เพิม่ ขึน้ ในหมวดความเท่าเทียมทางเพศ จากการประกาศ นโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ (zero-​ tolerance policy) ในที่ทํางาน ซึ่งรวมถึงการคุกคามทาง วาจา ทางร่ า งกาย และทางเพศ อี ก ทั้ ง มี ก ารเปิ ด เผย ช่ อ งว่ า งค่ า ตอบแทน gender pay gap เป็ น ปี แ รก ซึ่ ง สะท้อนให้เห็นว่าธนาคารให้ความสําคัญกับการจัดการ ความเท่าเ­ทียมของค่าตอบแทนระหว่างเพศมากขึ้น 5. การคุ้มครองผู้บริโภคเป็นหมวดที่ธนาคารไทยได้

— 19 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

คะแนนค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับหมวดอื่นตั้งแต่ปี แรกๆ ของการประเมิน ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2565 ยังพบพัฒนาการที่น่าสนใจ เช่น ธนาคารกสิกรไทยเป็น ธนาคารเพียงแห่งเดียวที่ระบุว่าจะรักษาสัดส่วนปริมาณ เรื่องร้องเรียนต่อจํานวนธุรกรรมของธนาคารไม่ให้เกิน เป้าหมายทีธ่ นาคารกําหนด จึงทําให้ได้คะแนนบางส่วนใน หมวดการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค เป็นต้น อย่างไรก็ดี แนวร่วมฯ มีข้อสังเกตว่า เกณฑ์การประเมินในหมวดนี้ยังไม่ครอบ คลุมบริการธนาคารออนไลน์หรือแอปพลิเคชันโทรศัพท์ มือถือของธนาคารมากนัก ผลคะแนนจึงไม่อาจสะท้อนว่า ธนาคารไทยมีนโยบายที่เพียงพอหรือไม่ในการรับมือกับ ปัญหาทีผ่ ใู้ ช้บริการธนาคารทางโทรศัพท์มอื ถือหรือออนไลน์ ประสบ (อนึ่ง ณ สิ้นปี พ.ศ. 2565 Fair Finance Guide International อยู่ระหว่างการปรับปรุงเกณฑ์การประเมิน ในหมวดนีใ้ ห้ครอบคลุมบริการธนาคารทางโทรศัพท์มอื ถือ และออนไลน์มากขึ้น)

— 20 —


ผลการประเมิ​ินธนาคารไทยตามเกณฑ์​์ Fair Finance Guide International ประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565 60

55.33 (42.56%)

50 41.60 (32.00%)

40

44.24 (34.03%)

43.46 (33.43%)

38.58 (29.68%)

35.09 (26.99%)

33.94 (26.11%) 30.16 (23.20%)

30 22.99 (17.68%)

25.25 (19.43%) 19.75 (16.46%)

20

16.84 (14.03%)

10

0

BBL

SCB

KTB

KBANK

BAY

TTB

TISCO

KKP

GSB

BAAC

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

สิทธ�แรงงาน

การขยายบร�การทางการเง�น

การทุจร�ตคอร รัปชัน

ธรรมชาติ

นโยบายค าตอบแทน

ความเท าเทียมทางเพศ

ภาษี

ความโปร งใสและความรับผิด

สุขภาพ

อาวุธ

สิทธ�มนุษยชน

การคุ มครองผู บร�โภค

SMEB

เฉลี่ย

คะแนนรวม (รวมทั้งหมด = 130, rebased ให้แต่ละหัวข้อ = 10) หน้​้าแทรกพิ​ิเศษ 1


สรุ​ุปอั​ันดั​ับของธนาคารเปรี​ียบเที​ียบกั​ับปี​ี 2564 คะแนนปี 2565

คะแนนเพิ่ ม/ลด

1

42.56%

+1.59%

2

3

34.03%

+17.25%

3

2

33.43%

-0.77%

4

4

32.00%

+22.16%

5

5

29.68%

+20.77%

6

6

26.99%

+16.21%

7

7

23.20%

+15.59%

8

8

19.43%

+0.95%

9

9

17.68%

+1.54%

10

10

16.46%

+10.60%

11

11

14.03%

+25.49%

อันดับปี 2565

อันดับปี 2564

1

อันดับเพิ่ม/ลด

หมายเหตุ: จํานวนธนาคารที่ประเมินในปีนี้ 11 แห่ง ลดลงจากปี 2563 ซึ่งมีจํานวน 12 แห่ง หน้าแทรกพิเศษ 2


นโยบายที่​่�มี​ีการเปลี่​่�ยนแปลง น่​่าสนใจในปี​ี พ.ศ. 2565


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

นโยบายของธนาคารทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงน่าสนใจในปี พ.ศ. 2565 รายหมวดมีดังต่อไปนี้ การเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ

ธนาคารกสิ ก รไทยและธนาคารไทยพาณิ ช ย์ เป็ น ธนาคารเพียง 2 แห่ง จาก 11 แห่งที่แนวร่วมฯ ประเมิน นโยบาย ที่เปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ เชื่อมโยงกับกลุ่มบริษัทหรืออุตสาหกรรมที่ธนาคารให้การ สนับสนุนทางการเงิน (ข้อ 3) ธนาคารไทยพาณิชย์มกี ารเปิดเผยนโยบายทีส่ อดคล้อง กับเกณฑ์การเปลีย่ นแปลงในหมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมิอากาศเพิ่มขึ้นหลายข้อจากปีก่อนๆ เช่น • การกําหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงด้านการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในกระบวนการพิจารณา สินเชื่อสําหรับโครงการขนาดใหญ่ที่มีความเสี่ยงสูง หรือโครงการขนาดใหญ่ที่อาจก่อให้เกิดก๊าซเรือน­ กระจกเกินกว่าค่าที่กําหนด (ข้อ 5)

— 22 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

• การกําหนดเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือน­ กระจกสุทธิเป็นศูนย์ (net zero commitment) จาก การดําเนินงานกลุ่มธุรกิจที่ SCBX Group ดูแลอยู่ ภายในปี ค.ศ. 2030 และจากการให้สนิ เชือ่ และการ ลงทุนภายในปี ค.ศ. 2050 ตามที่ประชาคมโลกได้ ตกลงใน Paris Agreement (ข้อ 6) • การกํ า หนดให้ ลู ก ค้ า ของธนาคารเปิ ด เผยข้ อ มู ล การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งทางตรงและทางอ้อม (ได้คะแนนเนื่องจากธนาคารประกาศรับหลักการ Equator Principles) (ข้อ 12) • การกําหนดรายการธุร กิจที่ธนาคารจะไม่ให้การ สนับสนุนทางการเงิน (exclusion list) ทีค่ รอบคลุม ธุรกิจเหมืองถ่านหิน (ข้อ 18) และธุรกิจทรายนํา้ มัน (ข้อ 19) ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวทีร่ ะบุธรุ กิจ ทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจกรรมการล็อบบี้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม

— 23 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

พยายามส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจของหน่วยงานกํากับ ดูแล) ที่พุ่งเป้าไปยังการทําให้นโยบายการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศอ่อนแอลง ไว้ในรายการธุรกิจที่ธนาคาร จะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน (ข้อ 24) (

การทุ​ุจริ​ิตคอร์​์รั​ัปชั​ัน

ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ แ ละธนาคารกสิ ก รไทย เป็ น ธนาคารเพียง 2 แห่ง ที่ประกาศรับหลักการ UN Global Compact ซึง ่ ครอบคลุมหลักการทีก่ าํ หนดให้ธรุ กิจต่อต้าน การทุจริตในทุกรูปแบบ รวมถึงการขู่กรรโชกและการติด สินบน จึงทําให้ได้คะแนนบางส่วนในข้อย่อยที่ 8 ซึ่งระบุ​ ว่าธนาคารต้องกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารไม่นําเสนอ สัญญา เรียกรับสินบน และข้อได้เปรียบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เป็นธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม นอกจากนี้ ธนาคารกสิกรไทยประกาศจะไม่พิจารณาให้ สินเชื่อแก่ลูกค้าที่มีเหตุอันเชื่อได้ว่ามีการจัดซื้อจัดจ้างที่มี การเรียกร้องสินบน ตลอดจนการใช้อํานาจตามตําแหน่ง

— 24 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ธุรกิจและข้อได้เปรียบทีไ่ ม่เป็นธรรม จึงทํา ให้ได้คะแนนบางส่วนในข้อย่อยที่ 11 ซึง่ กําหนดว่าธนาคาร ต้องกําหนดให้ลกู ค้าของธนาคารบูรณาการหลักเกณฑ์ดา้ น คอร์ รั ป ชั น ไว้ ใ นนโยบายการจัด ซื้อจัด จ้างและนโยบาย ปฏิบัติการของบริษัทด้วย สุ​ุขภาพ

ธนาคารกรุงไทยประกาศนโยบายการให้สินเชื่ออย่าง มีความรับผิดชอบ ซึ่งเนื้อหาระบุว่าธนาคารจะพิจารณา ให้การสนับสนุนทางการเงินเฉพาะบริษัทที่ป้องกันไม่ให้ สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอน โดยผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษทั (ตามหลัก ความรอบคอบ—precautionary principle) และจะพิจารณา ให้การสนับสนุนทางการเงินเฉพาะบริษัทที่เคารพในสิทธิ แรงงานว่าด้วยสุขอนามัยและความปลอดภัยในที่ทํางาน ตามอนุสัญญา ILO และ MNE Declaration จึงทําให้ได้ คะแนนเพิ่มขึ้นในข้อย่อยที่ 1 และ 2

— 25 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธนาคารทหารไทยธนชาตเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียว ที่ระบุชัดเจนว่า ธนาคารตั้งเป้าหมายการให้สินเชื่อแก่ อุตสาหกรรมยาสูบเป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2566 โดยเป้า­ หมายดังกล่าวครอบคลุมธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรม ยาสูบตัง้ แต่การปลูก การผลิต และการค้ายาสูบและผลิต­ ภัณฑ์ยาสูบ โดยธนาคารจะทยอยลดสินเชือ่ ทีป่ ล่อยให้แก่ ลูกค้ากลุ่มดังกล่าวลงจนเป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2566 โดยที่ยังคงเคารพในสัญญาที่มีกับลูกค้าในปัจจุบัน ซึ่ง สะท้อนให้เห็นว่าธนาคารให้ความสําคัญกับการป้องกัน ผลกระทบต่อสุขภาพจากยาสูบ (ข้อ 13) สิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน

ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกสิกรไทย มีการ ประกาศนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนที่ครอบคลุมถึงลูกค้า ของธนาคารเพิ่มเติมจากปีก่อนๆ กล่าวคือ กําหนดให้ ลูกค้าของธนาคารเคารพในสิทธิมนุษยชนตามหลักการ ชีแ้ นะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชา­

— 26 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights) มีนโยบายที่แสดงความรับผิดชอบ ในการเคารพสิทธิมนุษยชน มีกระบวนการตรวจสอบด้าน สิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (human rights due diligence) มีกระบวนการเยียวยาผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนทีบ่ ริษทั (ลูกค้า) เป็นผูก ้ อ่ หรือมีสว่ นในการก่อ และมีการจัดตัง้ หรือ มี ส่ ว นร่ ว มในกลไกเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารจาก ปัจเจกและชุมชนทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบ โดยธนาคารจะนํา ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนมาใช้ประเมินหรือพิจารณาการ ให้การสนับสนุนทางการเงินหรือบริการแก่ลูกค้าด้วย สิ​ิทธิ​ิแรงงาน

ธนาคารกสิกรไทยและธนาคารกรุงศรี­อยุธยา มีการ ประกาศนโยบายเพิม่ เติมในการจัดซือ้ จัดจ้างและนโยบาย ปฏิบตั กิ ารขององค์กร ทีม่ กี ารบูรณาการมาตรฐานแรงงาน ตามคํ าประกาศของ ILO ว่าด้ว ยหลัก การและสิทธิขั้น พื้นฐาน​ในที่ทํางาน (ILO Declaration on Fundamental

— 27 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

Principles and Rights at Work)

จึงทําให้ได้คะแนนใน

ข้อย่อยเพิ่มขึ้น (ข้อ 2) ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวทีป่ ระกาศ ในนโยบายการให้สนิ เชือ่ อย่างมีความรับผิดชอบว่า ลูกค้า ของธนาคารต้องปฏิบตั ติ ามมาตรฐานแรงงานตามกฎหมาย แรงงาน และมีระบบการบริหารจัดการที่ชัดเจนในการ ติดตาม และแก้ไขให้เป็นไปตามกฎหมายแรงงาน (ข้อ 13) ธรรมชาติ​ิ

ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวที่เข้า ร่วมเป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) เพือ ่ นําหลักการ EP 10 ประการ ซึง่ เป็น มาตรฐานทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับสากลว่าด้วยเรือ่ งการ บริ ห ารความเสี่ ย งด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมสํ า หรั บ สถาบันการเงินในการสนับสนุนสินเชือ่ โครงการขนาดใหญ่ มาใช้เป็นกรอบแนวทางในการระบุ ประเมิน และบริหาร จัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างเป็น

— 28 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ระบบในกระบวนการพิจารณาสินเชื่อโครงการขนาดใหญ่ ของธนาคาร จึงทําให้ได้คะแนนบางส่วนในข้อย่อย (ข้อ 13) อาวุ​ุธ

ธนาคารกรุงไทยและธนาคารกสิกรไทย เป็นธนาคาร เพียง 2 แห่งที่กําหนดในรายการธุรกิจที่ธนาคารจะไม่ให้​ การสนับสนุนทางการเงิน ให้รวมการใช้ การผลิต การ พัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และ การค้าระบบอาวุธอัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึงส่วนประกอบทีอ ่ อกแบบ มาสําหรับ LAWS (ข้อ 7) นอกจากนี้ ธนาคารกรุงไทยยัง กําหนดให้สินค้าที่สําคัญสําหรับเป้าหมายทางการทหาร แต่ยงั สามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์พลเรือน (สินค้า “dual-use”) ธนาคารจัดประเภทสินค้าชนิดนี้เป็นสินค้าทางทหาร เมื่อ มีเป้าหมายทีไ่ ม่ใช่เป้าหมายทางพลเรือน จึงทําให้ได้คะแนน ในข้อย่อยนี้เพิ่มขึ้น (ข้อ 8)

— 29 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การคุ้​้�มครองผู้​้�บริ​ิโภค

ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารเพียงแห่งเดียวทีร่ ะบุวา่ จะรักษาสัดส่วนปริมาณเรื่องร้องเรียนต่อจํานวนธุรกรรม ของธนาคาร ไม่ให้เกินเป้าหมายที่ธนาคารกําหนด จึงทํา ให้ได้คะแนนบางส่วนในข้อย่อย (ข้อ 5) การขยายบริ​ิการทางการเงิ​ิน

ธนาคารกสิ ก รไทยมี สิ น เชื่ อ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ที่ มุ่ ง เป้ า ให้ บริการแก่ผมู้ รี ายได้นอ้ ย (ข้อ 13) นับเป็นธนาคารพาณิชย์ แห่งเดียวทีม่ สี นิ เชือ่ สําหรับกลุม่ เป้าหมายดังกล่าว (ไม่นบั สถาบันการเงินเฉพาะกิจ อาทิ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ซึ่งได้คะแนนในหัวข้อนี้อยู่เดิม)

— 30 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ตารางที่ 1 นโยบายที่มีการเปลี่ยนแปลงน่าสนใจ ของสถาบันการเงินที่ได้คะแนนสูงสุด 5 อันดับแรก ✓ เป็นเกณฑ์ที่ธนาคาร ได้คะแนนใหม่ในปี พ.ศ. 2565 ✗ เป็นเกณฑ์ที่ธนาคารเคยได้คะแนนในปีก่อน

แต่ ไม่ได้คะแนนในปี พ.ศ. 2565 ● เป็นเกณฑ์ที่ธนาคาร ได้คะแนนต่อเนื่อง

3

เปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เชื่อมโยง กับกลุ่มบริษัทหรืออุตสาหกรรมที่สถาบันการเงินให้การ สนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน (โดยที่สถาบันการเงิน ✓ เลือกกลุ่มบริษัทหรืออุตสาหกรรมนั้นๆ ในการเปิดเผย ข้อมูลดังกล่าว)

5

ประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูล การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความเสี่ยงด้าน สภาพภูมิอากาศ (climate risks) เป็นข้อมูลประกอบ ✓ การประเมิน สําหรับสินเชื่อโครงการขนาดใหญ่

— 31 —

TTB

BAY

KBANK

นโยบาย

KTB

SCB

เกณฑ์

หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ


12

กําหนดว่าลูกค้าต้องเปิดเผยข้อมูลการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกทั้งทางตรงและทางอ้อม

18

ไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทเหมืองถ่านหิน ✓ ชนิดให้ความร้อน

19

ไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจทรายนํ้ามัน

✓ ✗

กําหนดว่าลูกค้าต้องไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการล็อบบี้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม (พยายามส่งอิทธิพลต่อการ 24 ตัดสินใจของหน่วยงานกํากับดูแล) ที่พุ่งเป้าไปยังการ ทําให้นโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อ่อนแอลง

— 32 —

TTB

BAY

SCB

6

กําหนดเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกที่วัดได้ และ สอดคล้องกับการจํากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ย โลกไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส สําหรับปริมาณการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ธนาคารให้การสนับสนุน ทางการเงินหรือลงทุน

KBANK

นโยบาย

KTB

เกณฑ์

การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

● ●


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

11

กําหนดว่าลูกค้าต้องบูรณาการหลักเกณฑ์ด้าน คอร์รัปชันไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบาย ปฏิบัติการของบริษัท

— 33 —

TTB

BAY

SCB

8

กําหนดว่าลูกค้าต้องประกาศว่าจะไม่นําเสนอ สัญญา เรียกร้องสินบนและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและ ข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม

KBANK

นโยบาย

KTB

เกณฑ์

หมวด: การทุจริตคอร์รัปชัน


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

2

กําหนดว่าลูกค้าต้องเคารพในสิทธิแรงงานว่าด้วย สุขอนามัยและความปลอดภัยในที่ทํางาน ตามอนุสัญญา ILO และ MNE Declaration

✓ ✓

กําหนดว่าลูกค้าที่เป็นผู้ผลิตบุหรี่ต้องทําตาม WHO Framework Convention on Tobacco Control และ 13 ประกาศอื่นๆ ว่าด้วยการพิทักษ์สุขภาพของคนรุ่น ปัจจุบนั และคนรุน่ หลังจากผลกระทบด้านสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจที่แอบแฝงจากควันบุหรี่

— 34 —

TTB

BAY

1

กําหนดว่าลูกค้าต้องป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือ กระบวนการผลิตของบริษัท (ตามหลักความรอบคอบ —precautionary principle)

KTB

นโยบาย

SCB

เกณฑ์

KBANK

หมวด: สุขภาพ


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

3

กําหนดว่าลูกค้าต้องเคารพในสิทธิมนุษยชนทุกข้อตาม หลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของ ✓ องค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding

TTB

BAY

KBANK

นโยบาย

KTB

SCB

เกณฑ์

หมวด: สิทธิมนุษยชน

Principles on Business and Human Rights) 4

กําหนดว่าลูกค้าต้องมีความทุ่มเทเชิงนโยบายที่จะแสดง ✓ ความรับผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชน

5

กําหนดว่าลูกค้าต้องมีกระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิ มนุษยชนอย่างรอบด้าน (human rights due ✓ diligence) เพื่อระบุ ป้องกัน บรรเทา และรายงานวิธี ที่บริษัทจัดการกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน

6

กําหนดว่าลูกค้าต้องมีกระบวนการที่นําไปสู่การเยียวยา ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนเชิงลบใดๆ ก็ตาม ✓ ที่บริษัทเป็นผู้ก่อหรือมีส่วนในการก่อ

7

กําหนดว่าลูกค้าต้องจัดตั้งหรือมีส่วนร่วมในกลไกรับ เรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการจากปัจเจกและชุมชนที่ อาจได้รับผลกระทบ

— 35 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

TTB

BAY

KBANK

นโยบาย

KTB

SCB

เกณฑ์

หมวด: สิทธิแรงงาน

มีการบูรณาการมาตรฐานแรงงานตามคําประกาศของ ILO ว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทํางาน 2

(ILO Declaration on Fundamental Principles and

● ✗ ✓ ✓ ●

Rights at Work) ไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและ

นโยบายปฏิบัติการขององค์กร กําหนดว่าลูกค้าต้องมีระบบการบริหารจัดการที่ 13 สามารถติดตามได้อย่างชัดเจน และแก้ไขการปฏิบัติ ตามมาตรฐานแรงงานตามกฎหมายแรงงานเมื่อจําเป็น

กําหนดว่าลูกค้าต้องจัดทําการประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมว่าด้วยผลกระทบโดยรวมของโครงการ 13 ขนาดใหญ่ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างน้อย ✓ ตามแนวทางทีร่ ะบุในมาตรฐาน GRI 304: Biodiversity 2016 หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง — 36 —

TTB

BAY

KBANK

นโยบาย

KTB

SCB

เกณฑ์

หมวด: ธรรมชาติ


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

8

สําหรับสินค้าที่สําคัญสําหรับเป้าหมายทางการทหาร แต่ยังสามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์พลเรือน (สินค้า “dual-use”) สถาบันการเงินจัดประเภทสินค้าชนิดนี้ เป็นสินค้าทางทหาร เมื่อมีเป้าหมายที่ไม่ใช่ เป้าหมายทางพลเรือน

— 37 —

TTB

✓ ✓

BAY

7

ไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระบบอาวุธ อัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึงส่วนประกอบ ที่ออกแบบมาสําหรับ LAWS

KTB

นโยบาย

SCB

เกณฑ์

KBANK

หมวด: อาวุธ


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

BAY

TTB TTB

ประกาศว่าจะลดจํานวนเรื่องร้องเรียน กําหนด เป้าหมายที่ชัดเจน และเปิดให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย เข้าถึงข้อมูลนี้ได้

KBANK

KTB

นโยบาย

BAY

5

SCB

เกณฑ์

หมวด: การคุ้มครองผู้บริโภค

13

สถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้กับ ผู้มีรายได้น้อย

— 38 —

KBANK

นโยบาย

KTB

SCB

เกณฑ์

หมวด: การขยายบริการทางการเงิน


สรุ​ุปผลการประเมิ​ินธนาคาร 5 ปี​ี ระหว่​่างปี​ี พ.ศ. 2561–2565


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

จากการติดตามประเมินนโยบายธนาคารตลอด 5 ปี ของโครงการแนวร่ ว มการเงิ น ที่ เ ป็ น ธรรมประเทศไทย ระยะที่ 1 ระหว่างปี พ.ศ. 2561–2565 แนวร่วมฯ พบว่า ธนาคารพาณิชย์ส่วนใหญ่ที่ร่วมการประเมิน โดยเฉพาะ ธนาคารทีไ่ ด้คะแนนสูงสุด 6 อันดับแรก ล้วนมีพฤติกรรม “แข่ ง กั น ทํ า คะแนน ” เพื่ อ ช่ ว งชิ ง อั น ดั บ การประเมิ น ตาม เกณฑ์ FFGI ดังสังเกตได้จากคําถามของธนาคารในช่วง รับฟังความคิดเห็นต่อร่างผลการประเมิน ซึง่ ธนาคารหลาย แห่งให้ความสําคัญกับการปรับปรุงนโยบายของธนาคารให้ ทั ด เที ย มหรื อดี กว่านโยบายของคู่แข่ง บรรยากาศการ แข่งขันดังกล่าวส่งผลให้แนวร่วมฯ มีสว่ นผลักดันให้ธนาคาร ปรับปรุงและเปิดเผยนโยบายใหม่ๆ ไม่ตํ่ากว่า 35 เรื่อง ตลอดระยะเวลา 5 ปี โดยในปี พ.ศ. 2565 เพียงปีเดียว มีนโยบายมากถึง 25 เรือ่ ง ทีธ่ นาคารประกาศระหว่างช่วง รับฟังความคิดเห็นต่อผลการประเมินเบื้องต้น (ดูข้อมูล นโยบายที่ ธ นาคารประกาศในช่ ว งรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ประจําปี พ.ศ. 2565 ได้ในส่วนถัดไปของรายงานฉบับนี)้

— 40 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เนื่ อ งจากเกณฑ์ ก ารประเมิ น Fair Finance Guide International ล้วนตัง ้ อยูบ่ นความคาดหวังของภาคประชา­ สังคมระดับโลกทีอ่ ยากเห็นธนาคารแสดงความรับผิดชอบ ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม นโยบายใหม่ๆ เหล่านี้จึงเป็น ประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้บริการ ผูม้ สี ว่ นได้เสียของธนาคาร ตลอด จนสังคมส่วนรวม การเปลี่ยนแปลงของคะแนนประเมินตลอด 5 ปีของ ธนาคารและสถาบันการเงินเฉพาะกิจทุกแห่ง สามารถ แสดงเป็นกราฟได้ดังแผนภูมิที่ 1

— 41 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

50%

TTB KBANK KTB SCB BAY BBL GSB KKP TISCO BAAC SMEB

40%

30%

20%

10%

0%

2561

2562

2563

2564

2565

แผนภูมิที่ 1 คะแนนธนาคารทั้ง 11 แห่ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 ถึง พ.ศ. 2565

— 42 —


นโยบายที่​่�ธนาคารประกาศในช่​่วง รั​ับฟั​ังความคิ​ิดเห็​็นปี​ี พ.ศ. 2565


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

แนวร่วมฯ จัดให้มีกระบวนการหารือและรับฟังความ คิดเห็นจากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ที่ เ ข้ า ร่ ว มการประเมิ น ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจํ า ปี พ . ศ . 2565 ระหว่ า งวั น ที่ 20 กันยายน ถึง 30 พฤศจิกายน 2565 โดยในช่วงรับฟัง ความคิดเห็นดังกล่าว พบว่าธนาคารหลายแห่งให้ความ สําคัญกับการปรับปรุงและเปิดเผยนโยบายด้านความยัง่ ยืน ที่สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินมากขึ้นกว่าทุกปีที่ผ่าน มาอย่างมีนัยสําคัญ โดยธนาคารที่มีการปรับปรุงและเปิด เผยนโยบายด้านความยั่ง ยืนที่สอดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมินเพิ่มขึ้นมากที่สุดในช่วงรับฟังความคิดเห็น ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย จํานวน 10 ข้อ รองลงมา ได้แก่ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จํานวน 6 ข้อ ธนาคารกรุงเทพ จํานวน 4 ข้อ ธนาคารทหารไทยธนชาต จํานวน 3 ข้อ และธนาคาร ออมสิน จํานวน 2 ข้อ สามารถสรุปรายละเอียดได้ดังนี้

— 44 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ธนาคารกรุ​ุงไทย

ธนาคารกําหนดสินเชื่อที่ธนาคารไม่ประสงค์ให้กู้หรือ ให้การสนับสนุน (exclusion list) ซึ่งระบุเนื้อหาที่มีความ ชัดเจนมากยิง่ ขึน้ ในหมวดการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ธรรมชาติ และอาวุธ ส่งผลให้ธนาคารได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ใน หมวดเหล่านี้ นอกจากนี้ ธนาคารมีนโยบายการให้สนิ เชือ่ อย่างมีความรับผิดชอบ ซึ่งระบุว่าธนาคารจะพิจารณา ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ลูกค้าของธนาคารที่ให้ ความสําคัญกับสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง การ เคารพสิทธิแรงงาน และมีระบบการบริหารจัดการทีช่ ดั เจน ในการติดตามและแก้ไขปัญหาสิทธิแรงงาน การเคารพ สิทธิผู้พิการ ส่งผลให้ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวด สุขภาพ สิทธิมนุษยชน และสิทธิแรงงาน

— 45 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ตารางที่ 2 ข้อที่ธนาคารกรุงไทยได้คะแนนเพิ่มขึ้น ในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

24

บริษัทไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการล็อบบี้ ทั้งทางตรงและทางอ้อม (พยายามส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจของหน่วยงานกํากับดูแล) ที่พุ่งเป้า ไปยังการทําให้นโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่อนแอลง หมวด: สุขภาพ

1

บริษัทป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียง ถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการผลิตของบริษัท (ตามหลักความรอบคอบ—precautionary principle)

2

บริษัทเคารพในสิทธิแรงงานว่าด้วยสุขอนามัยและความปลอดภัย ในที่ทํางาน ตามอนุสัญญา ILO และ MNE Declaration หมวด: สิทธิมนุษยชน

12

บริษัทให้ความสําคัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิของผู้พิการ หมวด: สิทธิแรงงาน

13

บริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถติดตามได้อย่างชัดเจน และ แก้ไขการปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงานตามกฎหมายแรงงานเมื่อจําเป็น

— 46 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: ธรรมชาติ

2

บริษัทป้องกันผลกระทบทางลบต่อพื้นที่ระดับ I-IV ตามการจัดหมวด ขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) ภายในเขตปฏิบัติการ ของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ หมวด: อาวุธ

1

สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าทุน่ ระเบิดสังหารบุคคล (anti-personal land mines) รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของทุ่นระเบิดสังหารบุคคล

2

สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระเบิดลูกปราย (cluster munition) รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของระเบิดลูกปราย

7

สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้าระบบอาวุธอัตโนมัติรุนแรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึงส่วนประกอบ ที่ออกแบบมาสําหรับ LAWS

8

สําหรับสินค้าที่สําคัญสําหรับเป้าหมายทางการทหารแต่ยังสามารถใช้เป็น ผลิตภัณฑ์พลเรือน (สินค้า “dual-use”) สถาบันการเงินจัดประเภทสินค้า ชนิดนี้เป็นสินค้าทางทหาร เมื่อมีเป้าหมายที่ไม่ใช่เป้าหมายทางพลเรือน

— 47 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธนาคารไทยพาณิ​ิชย์​์

ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศจากการปรับปรุงแนวทางการสนับสนุน ทางการเงินแก่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงฟอสซิล โดย ธนาคารประกาศว่าจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ บริษัทที่ดําเนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน ธุรกิจทราย­ นํ้ามัน เป็นต้น ตารางที่ 3 ข้อที่ธนาคารไทยพาณิชย์ได้คะแนนเพิ่มขึ้น ในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

8

สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือไม่ลงทุน ในบริษัทที่มีธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน และ/หรือเหมืองถ่านหิน ชนิดให้ความร้อน (thermal coal) มากกว่า 20% ของกิจกรรมทั้งหมด ของบริษัท (เช่น วัดจากรายได้รวม)

— 48 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์

สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือไม่ลงทุน ในบริษัท ที่มีธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน และ/หรือเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน 10 (thermal coal) มากกว่า 0% ของกิจกรรมทั้งหมดของบริษัท (เช่น วัดจากรายได้รวม) สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทผลิตไฟฟ้า 15 จากถ่านหินที่ไร้มาตรการลดผลกระทบ (นั่นคือ ไม่ใช้เทคโนโลยีกักเก็บ คาร์บอน—carbon capture and storage) 16

สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทผลิตไฟฟ้า จากถ่านหิน

18

สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษัทเหมืองถ่านหิน ชนิดให้ความร้อน (thermal coal)

19

สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจทรายนํ้ามัน

ธนาคารกรุ​ุงเทพ

ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ จากการประกาศนโยบายการให้บริการ ทางการเงินอย่างมีความรับผิดชอบ โดยในการพิจารณา​

— 49 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

คําขอสินเชือ่ โครงการขนาดใหญ่ ธนาคารกําหนดให้มกี าร พิจารณาความเสี่ยงและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและ สังคมอย่างรอบด้าน รวมถึงการนําข้อมูลการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกขอบเขตที่ 1 และ 2 และการบริหารจัดการ ความเสี่ ย งและผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คม ของโครงการมาประกอบการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อด้วย นอกจากนี้ ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นในหมวดภาษี จาก การเปิดเผยว่าธนาคารไม่ได้รับคําตัดสินทางภาษีที่มีนัย­ สําคัญใดๆ จากหน่วยงานกํากับดูแลด้านภาษี ในหมวด การคุ้มครองผู้บริโภค ธนาคารได้คะแนนเพิ่มขึ้นจากการ เปิดเผยขั้นตอนการติดตามทวงถามหนี้และเรียกเก็บหนี้ บุคคลธรรมดา และรายชื่อของบริษัทที่ได้รับมอบหมาย จากธนาคาร (บุคคลทีส่ าม) ให้เป็นตัวแทนในการทวงหนี้ และในหมวดการขยายบริการทางการเงิน ธนาคารได้คะแนน เพิ่มขึ้นจากการปรับปรุงการเปิดเผยข้อมูลสัดส่วนสินเชื่อ ที่ปล่อยให้กับธุร กิจขนาดจิ๋วจนถึงขนาดกลางมากกว่า ร้อยละ 10 ของสินเชือ่ ทัง้ หมด ให้มคี วามชัดเจนมากยิง่ ขึน้

— 50 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ตารางที่ 4 ข้อที่ธนาคารกรุงเทพได้คะแนนเพิ่มขึ้น ในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

5

สําหรับสินเชื่อโครงการขนาดใหญ่ สถาบันการเงินประเมินผลกระทบ ด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความเสี่ยง ด้านสภาพภูมิอากาศ (climate risks) เป็นข้อมูลประกอบการประเมิน หมวด: ภาษี

6

สถาบันการเงินเผยแพร่ข้อมูลสําคัญเกี่ยวกับคําตัดสินทางภาษีที่เฉพาะ เจาะจงระดับบริษัท ซึ่งองค์กรได้รับมาจากหน่วยงานกํากับดูแลด้านภาษี หมวด: การคุ้มครองผู้บริโภค

สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่นโยบายหรือขั้นตอนการติดตามหนี้ 12 และบริษัทที่ได้รับมอบหมายจากสถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้เป็นตัวแทนในการทวงหนี้ หมวด: การขยายบริการทางการเงิน 4

สถาบันการเงินมีสัดส่วนสินเชื่อที่ปล่อยให้กับธุรกิจขนาดจิ๋วจนถึงขนาด กลาง (Micro to SME: MSME) มากกว่า 10% ของสินเชื่อทั้งหมด

— 51 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธนาคารทหารไทยธนชาต

ธนาคารได้ ค ะแนนเพิ่ ม ขึ้ น ในหมวดการคุ้ ม ครอง ผูบ้ ริโภค จากการเปิดเผยนโยบายการติดตามทวงถามหนี้ สําหรับบุคคลธรรมดา ในหมวดการขยายบริการทางการเงิน ธนาคารระบุเพิ่มเติมว่า ธนาคารไม่คิดค่าธรรมเนียมใน การเปิดบัญชีเงินฝากพื้นฐาน และในหมวดความโปร่งใส และความรับผิด ธนาคารประกาศกลไกรับเรื่องร้องเรียน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ทั้งลูกค้าของธนาคาร คูค่ า้ ประชาชนและสังคม ซึง่ ครอบคลุมข้อร้องเรียนทีเ่ กีย่ ว กับสิง่ แวดล้อมและสังคม รวมถึงกิจกรรมทีธ่ นาคารให้การ สนับสนุนทางการเงินด้วย

— 52 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ตารางที่ 5 ข้อที่ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนเพิ่มขึ้น ในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: การคุ้มครองผู้บริโภค

12

สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่นโยบายหรือขั้นตอนการติดตามหนี้ และบริษัทที่ได้รับมอบหมายจากสถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้เป็นตัวแทนในการทวงหนี้ หมวด: การขยายบริการทางการเงิน

9

สถาบันการเงินไม่คิดค่าธรรมเนียมในการเปิดบัญชีเงินฝากพื้นฐาน หรือคิดค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อยอย่างสมเหตุสมผล หมวด: ความโปร่งใสและความรับผิด

สถาบันการเงินมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสําหรับปัจเจกบุคคลและชุมชน 25 ทีอ ่ าจได้รบั ผลกระทบทางลบจากกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับสถาบันการเงิน และ กลไกนั้นรวมถึงกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินด้วย

— 53 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธนาคารออมสิ​ิน

ธนาคารได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ในหมวดความเท่าเทียมทาง เพศ จากการประกาศนโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศ ทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในทีท่ าํ งาน ซึง่ รวมถึง การคุกคามทางวาจา ทางร่างกาย และทางเพศ รวมถึงมี การเปิดเผยช่องว่างค่าตอบแทน gender pay gap เป็นปีแรก ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าธนาคารให้ความสําคัญกับการจัดการ ความเท่าเทียมของค่าตอบแทนระหว่างเพศมากขึ้น ตารางที่ 6 ข้อที่ธนาคารออมสินได้คะแนนเพิ่มขึ้น ในช่วงรับฟังความคิดเห็น ข้อ

เนื้อหาเกณฑ์ หมวด: ความเท่าเทียมทางเพศ

2

สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในที่ทํางาน ซึ่งรวมการคุกคามทางวาจา ทางร่างกาย และทางเพศ

3

สถาบันการเงินมีระบบการจัดการความเท่าเทียมของค่าตอบแทน (pay equity) เชิงรุก

— 54 —


ผลการประเมิ​ินธนาคารไทย ตามเกณฑ์​์ Fair Finance Guide International ประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

แนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมประเทศไทยได้เลือกธนาคาร พาณิชย์สญ ั ชาติไทย 11 แห่ง ตามขนาดสินทรัพย์รวมจาก มากไปหาน้อย โดยอ้างอิงข้อมูลสินทรัพย์ล่าสุดที่เปิดเผย ต่อสาธารณะ รายนามธนาคารดังตารางในหน้า 57 ข้อมูลทีใ่ ช้ในการประเมิน ได้แก่ เอกสารนโยบายและ ข้อมูลต่างๆ ที่ธนาคารเปิดเผยต่อสาธารณะ ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 รวมถึงข้อมูลทีธ่ นาคารเปิดเผยเพิม่ เติมบน เว็บไซต์ระหว่างช่วงรับฟังความคิดเห็น สิน้ สุด ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 อันประกอบด้วย • แบบ 56-1 One Report1 (ในกรณีที่ธนาคารเป็น บริษัทจดทะเบียน รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย) 1

One Report คือการรายงานทีร่ วมเนือ ้ หาจากรายงานประจําปี (annual

report) และแบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) เข้าไว้ใน

รายงานเดียว (กลต. เริม่ บังคับใช้ให้บริษทั จดทะเบียนจัดทํารายงานแบบ ดังกล่าวตั้งแต่ปี 2565)

— 56 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ตารางที่ 7 รายนามของธนาคารที่ได้รับการประเมิน ธนาคารไทย ตามเกณฑ์ Fair Finance Guide International ประจําปี พ.ศ. 2565 ชื่อธนาคาร ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารออมสิน ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ธนาคารทิสโก้ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย

ตัวอักษรย่อ

สินทรัพย์*

BBL

4,437,758.79

KBANK

4,229,795.37

KTB

3,691,704.43

SCB

3,399,305.66

GSB

3,002,992.43

BAY

2,590,135.14

BAAC

2,120,833.66

ttb

1,823,533.42

KKP

526,758.26

TISCO

255,937.92

SMEB

116,521.98

*ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 (หน่วย: ล้านบาท)

— 57 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

• รายงานประจําปี (annual report) พ.ศ. 2564 • รายงานความยั่งยืน (sustainability report) หรือ รายงานความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ (CSR Report) ประจําปี พ.ศ. 2564 • ข้อมูลหรือเอกสารเผยแพร่บนเว็บไซต์ธนาคาร • แถลงการณ์สาธารณะของธนาคารเอง • จดหมายข่าวที่ออกโดยธนาคารเอง (ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี) ขั้​้�นตอนการประเมิ​ิน

การประเมินนโยบายทีเ่ ปิดเผยต่อสาธารณะของธนาคาร ครั้งนี้ ใช้เวลารวมทั้งสิ้น 6 เดือน โดยมีขั้นตอนต่อไปนี้ สิงหาคม–กันยายน 2565

คณะวิ จั ย ประเมิ น นโยบายที่ ธ นาคารเปิ ด เผยต่ อ สาธารณะ ส่งผลการประเมินเบื้องต้นพร้อมรายละเอียด และเกณฑ์การประเมินให้ธนาคารทุกแห่ง

— 58 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ตุลาคม–พฤศจิกายน 2565

ช่วงเวลารับฟังความคิดเห็นและข้อมูลเพิ่มเติมจาก ธนาคาร ในช่วงเวลาดังกล่าว คณะวิจยั ได้เข้าพบปะหารือ ผลการประเมินกับธนาคาร 8 แห่ง ในจํานวนนีม้ ธี นาคาร 4 แห่ง ทีเ่ ปิดเผยนโยบายเพิม ่ เติมบนเว็บไซต์ของธนาคาร ในระดับที่เข้าข่ายได้คะแนนเพิ่ม ธันวาคม 2565–มกราคม 2566

คณะวิจยั ปรับปรุงผลการประเมิน จัดทํารายงาน และ เผยแพร่ผลการประเมินผ่านเว็บไซต์ www.fairfinancethai​ land.org

— 59 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

หั​ัวข้​้อที่​่�ใช้​้ในการประเมิ​ิน

เกณฑ์ ใ นการประเมิ น ครั้ ง นี้ ใ ช้ ร ะเบี ย บวิ ธี ข อง Fair 2 Finance Guide Methodology 2021 ที่ได้รับการปรับปรุง จากฉบั บ ปี ค .ศ . 2020 ซึ่ ง คํ า อธิ บ ายโดยละเอี ย ดของ การเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การประเมิน สามารถอ่านได้ใน ภาคผนวก ก ของรายงานฉบับนี้ ในการประเมิ น ครั้ ง ที่ ห้ า โดยใช้ ข้ อ มู ล ปี พ .ศ . 2565 คณะวิจัยประเมินนโยบายธนาคารในด้านต่างๆ รวม 13 หมวด เช่ น เดี ยวกั บ ปี 2564 โดยใช้ เ กณฑ์ บั ง คั บ ขั้ น ตํ่ า (minimum requirement) ตาม Fair Finance Guide International จํ า นวน 10 หมวด และเกณฑ์ ท างเลื อ ก (optional) ที่เห็นว่ามีความสําคัญสําหรับประเทศไทย 3 หมวด โดยประกอบด้วยรายการต่อไปนี้3 2

ดาวโหลดได้จาก https://fairfinanceguide.org/media/497246/ffg-​

policy-assessment-methodology-2021.pdf

หมายเหตุ: ตัวหนา คือหมวดบังคับขั้นตํ่า และตัวเลขในวงเล็บคือ จํานวนข้อที่มีการให้คะแนนในหมวดนั้นๆ 3

— 60 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

หมวดรายประเด็​็น

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (26) 2. การทุจริตคอร์รัปชัน (12) 3. ความเท่าเทียมทางเพศ (17) 4. สุขภาพ (16) 5. สิทธิมนุษยชน (15) 6. สิทธิแรงงาน (16) 7. ธรรมชาติ (15) 8. ภาษี (17) 1.

หมวดรายอุ​ุตสาหกรรม 9.

อาวุธ (15)

หมวดการปฏิ​ิบั​ัติ​ิการภายใน

การคุ้มครองผู้บริโภค (19) 11. การขยายบริการทางการเงิน (13) 12. นโยบายค่าตอบแทน (10) 13. ความโปร่งใสและความรับผิด (28) 10.

— 61 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การแสดงผลการประเมินในรายงานฉบับนี้ ใช้วธิ ปี รับ คะแนนดิ บ ตามส่ ว น (pro rata) ให้ ทุ ก หมวดมี ผ ลรวม เท่ากับ 10 เพือ่ ความสะดวกในการเปรียบเทียบข้ามหมวด หมวดที่​่�ไม่​่ ใช้​้ในการประเมิ​ินสถาบั​ันการเงิ​ิน เฉพาะกิ​ิจ

เนือ่ งจากสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 2 แห่ง ปัจจุบนั มี ลักษณะการดําเนินธุรกิจที่แตกต่างจากธนาคารพาณิชย์ คณะวิ จั ย จึ ง ยกเว้ น บางหมวดในการให้ ค ะแนน โดยมี รายละเอียดดังนี้ 1. ธ นาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร ( ธ . ก . ส .) ไม่ ป ระเมิ น ในหมวดอาวุ ธ เนื่ อ งจาก ธนาคารไม่มีการให้บริการทางการเงินแก่ธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับอาวุธ 2. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย (ธนาคารเอสเอ็มอี) ไม่ประเมิน ในหมวดการคุ้มครองผู้บริโภค เนื่องจากไม่มีการ ให้บริการทางการเงินแก่ลูกค้ารายย่อย

— 62 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ส่วนธนาคารออมสิน แม้เป็นสถาบันการเงินเฉพาะกิจ แต่มีลักษณะการประกอบธุรกิจเช่นเดียวกันกับธนาคาร พาณิชย์ทั่วไป จึงไม่มีหมวดใดที่ได้รับการยกเว้น

— 63 —



สรุ​ุปผลคะแนนรายหมวด และนโยบายที่​่�น่​่าสนใจ ประจํ​ําปี​ี พ.ศ. 2565

รายละเอี ย ดคะแนนรายหมวดแสดงดั ง ต่ อ ไปนี้ โดยสามารถอ่ า นรายการหั ว ข้อทั้ ง หมดที่ มี ก าร ประเมินได้ ในภาคผนวก ก ของรายงานฉบับนี้ อนึ่ง การแสดงผลการประเมินรายหมวดทั้งหมด ในส่วนนี้ ใช้วิธีปรับคะแนนดิบตามส่วน (Pro Rata) ให้ มี ค ะแนนรวมเท่ า กั บ 10 เท่ า กั น ทุ ก หมวด เพื่อความสะดวกในการเปรียบเทียบข้ามหมวด


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ (climate change)

เกณฑ์หมวดนี้มุ่งประเมินบทบาทของธนาคารในการ ลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิด จากการดําเนินงานทั้งทางตรงและทางอ้อมของธนาคาร เช่น การตั้งเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของ ธนาคารทั้งทางตรงและทางอ้อม การจํากัดการสนับสนุน ทางการเงินแก่อตุ สาหกรรมทีผ่ ลิตไฟฟ้าจากถ่านหินไม่เกิน ร้อยละ 30 การมีนโยบายสินเชือ่ สนับสนุนให้ธรุ กิจเปลีย่ น จากการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่งพลังงานหมุนเวียน เป็นต้น ในปีน้ี ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคาร กรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และ ธนาคารทหารไทยธนชาต เป็นธนาคาร 6 แห่งทีไ่ ด้คะแนน ในหมวดนี้ ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นธนาคารแห่งแรกในประเทศ​ ไทยที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) เพือ ่ นําหลักการ EP 10 ประการ

— 66 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ที่เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าด้วย เรือ่ งการบริหารความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมสําหรับ​ สถาบันการเงินในการสนับสนุนสินเชื่อโครงการ มาใช้ เป็นกรอบแนวทางในการระบุ ประเมิน และบริหารจัดการ ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างเป็นระบบใน กระบวนการพิจารณาสินเชือ่ โครงการขนาดใหญ่ของธนาคาร โดยธนาคารไทยพาณิชย์มีการเปิดเผยข้อมูลการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกทั้งทางตรงและทางอ้อม (ข้อ 12) ตาม มาตรฐานสมาคมอีเควเตอร์ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และ ธนาคารทหารไทยธนชาตมีการกําหนดนโยบายไม่ให้การ สนับสนุนทางการเงินในบริษัทที่มีธุรกิจผลิตไฟฟ้าจาก ถ่านหิน และ/หรือเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) (ข้อ 8, 10, 15, และ 16) นอกจากนี้ ธนาคาร ไทยพาณิชย์และธนาคารกรุงศรีอยุธยาประกาศนโยบาย ไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่โครงการเหมืองถ่านหิน ชนิดให้ความร้อน (thermal coal) (ข้อ 18) และโครงการ

— 67 —


0.5 0.0

2.44 1.92 1.92 0.57

KKP

GSB

BAAC

SMEB

เฉลี่ย

0.86

4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0

0.00 0.12 0.23 0.27 0.41

TISCO

0.00 0.00 0.00

TTB

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.87 1.15

1.54

BAY

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.42 0.42 0.38 0.58

0.96 0.77

0.00 0.00 0.38

KBANK

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.63 0.68 0.00 0.19

KTB

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.42 0.00 0.00 0.38

SCB

0.00

BBL

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

4.0 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0

3.65

การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ป 2018

ป 2019

ป 2020

ป 2021

ป 2022

แผนภูมิที่ 2 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) — 68 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ทรายนํ้ามันอีกด้วย (ข้อ 19) (อนึง ่ ธนาคารกสิกรไทยประกาศละเว้นการสนับสนุน สินเชือ่ ให้แก่โรงไฟฟ้าถ่านหินเกิดใหม่ แต่มขี อ้ ยกเว้นสําหรับ “โรงไฟฟ้าถ่านหินทีม ่ กี ารเปลีย่ นรูปแบบพลังงานเป็นแหล่ง พลังงานคาร์บอนตํ่า” จึงไม่ได้คะแนนในข้อที่เกี่ยวข้อง) ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกสิกรไทย มีการวัด และเปิดเผยผลกระทบที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ตามแนวทางที่แนะนําโดย Task Force on Climate-related Financial Disclosures หรือ TCFD (ข้อ 7) ซึ่งในรายงาน TCFD ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคาร กสิกรไทยได้คะแนนจากเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกที่เชื่อมโยงกับกลุ่มบริษัทหรืออุตสาหกรรมที่ ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงิน (ข้อ 3) ธนาคารกรุงเทพกําหนดเป้าหมายการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกตามแนวทางการกําหนดเป้าหมายการลด ก๊าซเรือนกระจกที่อิงหลักวิทยาศาสตร์ (science-based targets) ซึง ่ สอดคล้องกับเป้าหมายการควบคุมการเพิม่ ขึน้

— 69 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ของอุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกไม่ให้เกิน 2 องศาเซลเซียสตาม ความตกลงปารีส ทําให้ธนาคารได้คะแนนในข้อนี้ (ข้อ 1) (ธนาคารเคยได้คะแนนในปี พ.ศ. 2562 แต่ไม่ได้คะแนน ในปี พ.ศ. 2563 และ 2564) นอกจากนี้ ธนาคารประกาศ ใช้นโยบายประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมโดยใช้ขอ้ มูล การปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความเสี่ยงด้านสภาพภูมิ­ อากาศ (climate risk) ส่งผลให้ได้คะแนนเพิม่ ขึน้ ด้วย (ข้อ 5) การทุ​ุจริ​ิตคอร์​์รั​ัปชั​ัน (corruption)

เกณฑ์หมวดนี้มุ่งประเมินบทบาทของธนาคารในการ ป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน รวมถึงมีมาตรการต่อต้านการ ฟอกเงิน การก่อการร้าย และมีกลไกที่สามารถยืนยันได้ ถึ ง ผู้ รั บ ประโยชน์ ที่ แ ท้ จริ ง (ultimate beneficiary) ของ บริษัทลูกค้า ในหมวดนี้ ธ นาคารไทยได้ ค ะแนนทั้ ง หมด 5 ข้ อ จาก 12 ข้อเท่ากันทุกธนาคาร ยกเว้นธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารทหารไทยธนชาตที่ได้

— 70 —


4

2

0 KBANK BAY TTB

TISCO

KKP

ป 2018

ป 2019

GSB

BAAC

ป 2020

— 71 — 0.00 0.00

0.00 0.00

2.50 2.50

KTB

SMEB

ป 2021 4.17 4.26 4.44 4.32 4.51

4.17

4.17 4.17

8.33

SCB

4.17 4.17 4.17

BBL

0.00 0.00

4.17 5.00 5.00 5.00 5.00

6 4.17 4.17 4.17 4.17 4.17

8 4.17 4.17 4.17 5.00 5.83

10 4.17 4.17 5.00 5.00 4.17

0 4.17 4.17 5.00 5.00 5.42

2

4.17 4.17 4.17 4.17 4.17

4 4.17 4.17 4.17 4.17 4.17

6

4.17 4.17 4.17 4.17 4.17

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

10

8

เฉลี่ย

ป 2022

แผนภูมิที่ 3 การทุจริตคอร์รัปชัน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

คะแนนมากกว่าธนาคารอื่น ธนาคารทุกแห่งได้คะแนนจากการประกาศไม่รบั สินบน (ข้อ 1) มีนโยบายการต่อต้านการฟอกเงิน (ข้อ 2) ป้องกัน การสนับสนุนทางการเงินกับกลุ่มก่อการร้าย (ข้อ 3) มี การเปิดเผยผู้ได้รับผลประโยชน์ที่แท้จริง (ข้อ 4) และมี มาตรฐานเพิม่ เติมเมือ่ ทําธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับบุคคลทีม่ สี ว่ น เกี่ยวข้องทางการเมือง (ข้อ 5) ซึ่งการประกาศนโยบาย เหล่านี้เป็นการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปราม การฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรการป้องกันปราบปรามการ ฟอกเงิน และการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การ ก่อการร้าย และประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เรือ่ งหลักเกณฑ์การรับฝากเงินหรือการรับเงินจากประชาชน (Guideline on Acceptance of Deposits or Money from Customers)

ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย และธนาคาร ทหารไทยธนชาต ได้คะแนนจากการรายงานการมีสว่ นร่วม ในกระบวนการตัดสินใจของการกําหนดปทัสถานระหว่าง

— 72 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ประเทศและกระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรมการ ล็อบบี)้ (ข้อ 6) ธนาคารไทยพาณิชย์และธนาคารกสิกรไทย ประกาศ รับหลักการ UN Global Compact ซึ่งครอบคลุมหลักการ ที่กําหนดให้ธุรกิจต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ รวมถึง การขูก่ รรโชกและการติดสินบน จึงทําให้ได้คะแนนบางส่วน ในข้อ 8 ซึ่งกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารต้องไม่นําเสนอ สัญญา เรียกร้องสินบน และข้อได้เปรียบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เป็นธรรม เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม ความเท่​่าเที​ียมทางเพศ (gender equality)

เกณฑ์ในหมวดนีค้ าดหวังให้ธนาคารสะท้อนถึงคุณค่า ความเท่าเทียมในบริบทของเพศ โดยความเท่าเทียมทาง เพศ หมายถึง การมีสิทธิ ความรับผิดชอบ และโอกาสที่ เท่าเทียมกันโดยไม่มีข้อกําหนดด้านเพศ โดยนโยบายที่ คาดหวัง อาทิ การมีนโยบายไม่ยอมรับการล่วงละเมิดทาง เพศ (zero-tolerance policy) นโยบายรับประกันการมีสว่ น

— 73 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ร่วมของสตรีในคณะกรรมการบริษทั และมาตรการส่งเสริม ให้สตรีได้เข้าสู่ตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง ธนาคารเกือบทุกแห่งได้คะแนนจากการมีนโยบายคํานึง ถึงความหลากหลายทางเพศ โดยไม่ยอมรับการเลือกปฏิบตั ิ ทางเพศทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการ จ้างงานและการปฏิบัติงาน และไม่ยอมรับความรุนแรง ทางเพศทุกรูปแบบในที่ทํางาน ซึ่งรวมถึงการคุกคามทาง วาจา ทางร่างกาย และทางเพศ (ข้อ 1 และ 2) ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทยธนชาต และธนาคาร ออมสิน ได้คะแนนจากการเปิดเผย Pay Gap ระหว่างชาย และหญิง อย่างไรก็ตาม ธนาคารเหล่านี้ยังไม่ได้แสดงให้ เห็นถึงระบบการจัดการความเท่าเทียมของค่าตอบแทน และระบบติดตามเรือ่ งความเท่าเทียมของค่าตอบแทนทาง เพศ จึงทําให้ได้คะแนนไปเพียงบางส่วน (ข้อ 3) ธนาคารกรุงไทยและธนาคารทหารไทยธนชาต ได้ คะแนนจากการระบุวา่ ธนาคารนําหลัก Market Conduct

— 74 —


0.5

0.0

TISCO

ป 2018

KKP

ป 2019 1.03

2.0

1.55

KBANK

GSB

BAAC

ป 2020

— 75 —

BAY

SMEB

ป 2021 0.15 0.28 0.33

KTB

0.67 0.59

SCB 0.00

0.00 0.00 0.00

0.00

0.50

0.33

0.67 0.67

0.67

1.33

1.67

2.00

1.76

2.35

2.06

2.94

2.67

3.0

0.00 0.00 0.00

3.0 2.65

1.00 1.18

2.5

0.00 0.00 0.00 0.00 0.29

1.5 1.33

BBL 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00

1.33 1.47

1.5

0.67 0.67 0.67 0.67 0.88

0.67 0.67

2.0

0.00 0.00 0.00

1.0 0.88

0.0

0.33

0.5

0.00

1.0

0.00 0.00 0.00

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

TTB

2.5

เฉลี่ย

ป 2022

แผนภูมิที่ 4 ความเท่าเทียมทางเพศ (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

มาใช้ในการป้องกันและบรรเทาการเลือกปฏิบัติทางเพศ ต่อลูกค้า (ข้อ 4) ธนาคารกสิกรไทยเป็นธนาคารเดียวที่เปิดเผยอัตรา ความก้ า วหน้ า ของผู้ บ ริ ห ารหญิ ง ระดั บ กลางสู่ ก ารเป็ น ผู้บริหารระดับสูง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการส่งเสริมให้สตรี เข้าถึงตําแหน่งบริหาร (ข้อ 7) ธนาคารทหารไทยธนชาตเป็นธนาคารเดียวที่ระบุว่า จะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ลกู ค้าทีม่ กี จิ กรรมทาง ธุรกิจทีไ่ ม่เคารพ/ละเมิดสิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน หรือ มี ห ลั ก ฐานที่ แ สดงถึ ง กรณี ดั ง กล่ า ว โดยแรงงานหรื อ พนักงานของลูกค้า จะต้องได้รับโอกาส ค่าแรง และผล­ ตอบแทนที่เท่าเทียมกันโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติทางเพศ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าลูกค้าของธนาคารต้องให้ความสําคัญ กับการจัดการความเท่าเทียมของค่าตอบแทนระหว่างชายหญิงด้วย (ข้อ 11)

— 76 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สุ​ุขภาพ (health)

เกณฑ์ในหมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารกําหนดนโยบาย เพือ่ พิทกั ษ์สขุ ภาพของชุมชน ลูกจ้าง และลูกค้าของบริษทั ลูกค้าทีธ่ นาคารให้การสนับสนุนทางการเงิน เช่น กําหนด ว่าบริษัทต้องมีมาตรการป้องกันไม่ให้สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือ กระบวนการผลิ ต ของบริ ษั ท ตามหลั ก ความรอบคอบ (precautionary principle), กํ าหนดว่ าบริ ษัท เคารพในข้อ ตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตและใช้สารพิษและ สารอันตรายตามทีร่ ะบุใน Stockholm Convention (ว่าด้วย Persistent Organic Pollutants: POPs), กําหนดว่าบริษัท หาวิธีลดการปล่อยสารอันตรายออกสู่ผิวดิน นํ้า และ อากาศ ด้วยการใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุดที่มี (best available technologies: BAT) และกําหนดให้บริษัทจํากัดการใช้สาร เคมีทม่ี ขี อ้ สงสัยในงานวิจยั วิทยาศาสตร์วา่ อาจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพ และถ้าใช้กใ็ ช้อย่างระมัดระวังทีส่ ดุ (ตามหลัก ความรอบคอบ) เป็นต้น

— 77 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ในหมวดนี้มีธนาคารเพียง 3 แห่งที่ได้คะแนน ได้แก่ 1) ธนาคารกรุงไทย ได้คะแนนจากการระบุนโยบาย การให้ สิ น เชื่ อ อย่ า งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ซึ่ ง จะพิ จ ารณา ให้การสนับสนุนทางการเงินเฉพาะบริษัทที่ป้องกันไม่ให้ สุขภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชนใกล้เคียงถูกลิดรอน โดยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ กระบวนการผลิ ต ของบริ ษั ท (ตาม หลักความรอบคอบ—precautionary principle) (ข้อ 1) จะ พิจารณาให้การสนับสนุนทางการเงินเฉพาะบริษทั ทีเ่ คารพ ในสิทธิแรงงานว่าด้วยสุขอนามัยและความปลอดภัยใน ที่ ทํ า งาน ตามอนุ สั ญ ญา ILO และ MNE Declaration (ข้อ 2) บริษัทที่ธนาคารให้การสนับสนุนทางการเงินต้อง มีนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยที่รอบด้านครบถ้วน มีความพยายามที่จะยกระดับสุขภาพและความปลอดภัย ของลูกจ้างอย่างเป็นระบบ และสนับสนุนให้เป็นวัฒน­ ธรรมองค์กร (ข้อ 3) นอกจากนี้ ธนาคารกําหนดรายการ ธุรกิจที่ธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน (exclusion list) ที่สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ได้แก่ การ

— 78 —


3.02

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

2.50

3.0 2.19 2.19

2.5

1.41

1.72

2.0 1.5

KTB

KBANK

BAY

0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00

0.00 0.00 0.00

SCB

0.00 0.00 0.00

0.00

0.00 0.00 0.00

BBL

0.00 0.00 0.00

0.00

0.00 0.00 0.00

0.0

0.00 0.00 0.00

0.5

0.63

1.0

TISCO

KKP

GSB

BAAC

SMEB

TTB

3.0 2.5 2.0 1.5

0.0

ป 2018

ป 2019

ป 2020

ป 2021

แผนภูมิที่ 5 สุขภาพ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) — 79 —

0.06

0.5

0.55 0.63

1.0

เฉลี่ย ป 2022


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ผลิตและใช้สารพิษและสารอันตรายตามที่ระบุใน Stockholm Convention (ข้อ 5) และการค้าสารเคมีและของเสีย เคมีตามข้อตกลง Rotterdam Convention (ข้อ 7) จึงทําให้ ได้คะแนนในข้อย่อยนี้ด้วย 2) ธนาคารกสิกรไทย ได้คะแนนจากการนําประเด็น ด้านสภาพแวดล้อมการทํางาน สุขภาพและความปลอดภัย ในการทํางาน มาใช้ในการพิจารณาการให้สนิ เชือ่ และการ ลงทุน โดยกําหนดให้ผขู้ อสินเชือ่ ต้องปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ข้อ 2) นอกจากนี้ ธนาคารกําหนดรายการธุรกิจที่ธนาคารจะไม่ให้การสนับ­ สนุนทางการเงิน (exclusion list) ทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์การ ประเมิน ได้แก่ การผลิตและใช้สารพิษและสารอันตราย ตามที่ระบุใน Stockholm Convention (ข้อ 5) การค้าสาร เคมีและของเสียเคมีตามข้อตกลง Basel Convention (ข้อ 6) และการค้าสารเคมีและของเสียเคมีตามข้อตกลง Rotterdam Convention (ข้อ 7) จึงทําให้ได้คะแนนในข้อย่อยนี้ด้วย 3) ธนาคารทหารไทยธนชาต ได้คะแนนจากการประกาศ

— 80 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

นโยบายความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมเป็นแนว การประเมินความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อมและสังคม สําหรับ ลูกค้าที่ต้องการขอสินเชื่อใหม่หรือเพิ่มวงเงินเครดิตและ การทบทวนเครดิตประจําปี โดยลูกค้าของธนาคารต้องรับ ผิดชอบในการหลีกเลีย่ ง หรือลดความเสีย่ งและผลกระทบ ที่อาจเกิดจากการปฏิบัติงานหรือผลิตภัณฑ์ สอดคล้อง ตาม Precautionary Principle (ข้อ 1) การกําหนดให้ลกู ค้า เคารพสิทธิแรงงานในเรือ่ งสุขภาพและความปลอดภัยในที่ ทํางานตาม ILO Conventions (ข้อ 2) ลูกค้าควรมีการ พั ฒนากระบวนการปฏิ บั ติ ง านด้ า นสุ ข ภาพและความ ปลอดภัยของพนักงานอย่างเป็นระบบและส่งเสริมเป็น วัฒนธรรมความปลอดภัยที่ดีในสถานที่ทํางาน (ข้อ 3) สําหรับลูกค้าทีอ่ ยูใ่ นธุรกิจทีม่ ปี ระเด็นด้านสิง่ แวดล้อม และสังคม ได้แก่ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ธนาคาร ระบุว่า “ลูกค้าควรตระหนักถึงความเป็นพิษและความ อันตรายของสารเคมีและ by-products ตลอดจนมีวิธีการ ใช้ที่ชัดเจน เหมาะสม และปลอดภัย (เช่น การปิดฉลาก

— 81 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การขนส่ง การจัดเก็บ ของเสียอันตราย เป็นต้น) ตาม หลักการสากล Precautionary Principle” เพือ่ ลดความเสีย่ ง ในการสัม ผัสกับสารเคมี สารอันตรายของพนักงานและ ชุ ม ชนโดยรอบ และลดความเสี่ ย งในการปนเปื้ อ นสิ่ ง ­ แวดล้อม (ข้อ 9) จึงทําให้ได้คะแนนในข้อย่อยนี้ด้วย สําหรับธุรกิจการผลิต/การค้ายาสูบ ธนาคารทหาร­ ไทย­ธนชาตเป็นเพียงธนาคารเดียวทีร่ ะบุชดั เจนว่า ธนาคาร ตั้งเป้าหมายการให้สินเชื่อแก่อุตสาหกรรมยาสูบเป็นศูนย์ ภายในปี พ.ศ. 2566 โดยเป้าหมายดังกล่าวครอบคลุมธุรกิจ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมยาสูบตัง้ แต่การปลูก การผลิต และการค้ายาสูบและผลิตภัณฑ์ยาสูบ โดยธนาคารจะ ทยอยลดสินเชื่อที่ปล่อยแก่ลูกค้ากลุ่มดังกล่าวลงจนเป็น ศูนย์ภายในปี พ.ศ. 2566 โดยที่ยังคงเคารพในสัญญาที่มี กับลูกค้าในปัจจุบัน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าธนาคารให้ความ สํ า คั ญ กั บ การป้ อ งกั น ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพจากการใช้ ยาสูบ (ข้อ 13) จึงทําให้ได้คะแนนในข้อย่อยนี้ด้วย

— 82 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน

เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิ มนุษยชน ตามหลักการชีแ้ นะว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs) และมี กลไกติดตามตรวจสอบให้ลูกหนี้ธุรกิจของธนาคารปฏิบัติ ตามหลักการชี้แนะดังกล่าวด้วย ผลการประเมินในปีนมี้ ธี นาคาร 8 แห่งทีไ่ ด้คะแนนใน หมวดนี้ ได้แก่ ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารกสิกร­ ไทย ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ธนาคารกรุ ง ไทย ธนาคาร กรุงเทพ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารเกียรตินาคินภัทร และธนาคารออมสิน โดยธนาคารกรุงศรีอยุธยาและธนาคาร ออมสินได้รับคะแนนในหมวดนี้เป็นปีแรก ธนาคารพาณิ ช ย์ 7 แห่ ง ได้ แ ก่ ธนาคารกรุ ง เทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต และ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ได้คะแนนจากการประกาศว่า

— 83 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธนาคารเคารพในสิทธิมนุษยชนตามหลักการชีแ้ นะว่าด้วย ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human

โดยสําหรับธนาคารกรุงศรีอยุธยาได้มกี ารประกาศ นโยบายดังกล่าวเป็นปีแรก (ข้อ 1) ขณะที่ธนาคารออมสิน และธนาคารพาณิชย์ 6 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต และ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร ได้รับคะแนนจากการประกาศ ว่าธนาคารไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติทุกรูปแบบ (zero-​ tolerance policy) ในกระบวนการจ้างงานและในการปฏิบต ั ­ิ งาน ทัง้ บนฐานของ เพศสภาวะ เชือ้ ชาติ ชาติพนั ธุ์ รสนิยม ทางเพศ และสมรรถภาพทางกาย (ข้อ 2) ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนเพิม่ เติม จากการ ประกาศนโยบายการให้สนิ เชือ่ อย่างรับผิดชอบทีก่ าํ หนดให้ ลูกค้าของธนาคารควรมีการดําเนินงานให้มนั่ ใจได้วา่ ธุรกิจ ของลูกค้าเคารพในการใช้ชีวิตของชนพื้นเมืองที่อาจได้รับ Rights)

— 84 —


0

2

TISCO

ป 2018

6

4

KKP KBANK BAY TTB

0.17 0.26 0.66 1.23 1.88

8 KTB

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

SCB

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

ป 2019

ป 2020

— 85 —

ป 2021

1.33 0.00 0.77

0.00 0.00 0.00 0.00

2.67

2.08

0.83 1.46 2.17 0.77 0.77 0.83

0.00 0.00

0.77 0.77 0.83 0.83

1.25 0.83 1.33

4.17

3.83

4

0.00 0.00 0.00 0.00 0.67

0.83 1.33

BBL

0.00 0.00 0.00

0 0.00 0.00

2

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

8 7.50 7.33

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

6

GSB

BAAC

SMEB

เฉลี่ย

ป 2022

แผนภูมิที่ 6 สิทธิมนุษยชน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ผลกระทบจากการดําเนินธุรกิจ โดยควรคํานึงถึงการหลีก เลีย่ งหรือลดผลกระทบเชิงลบทีเ่ กิดขึน้ กับชนพืน้ เมือง ควร มีการปรึกษาหารือร่วมกับชุมชนและได้รบั การยินยอมโดย สมัครใจโดยให้ข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) แก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ควรมี ก ารแจ้ ง ถึ ง ผล­ ประโยชน์ของการพัฒนาธุรกิจ เคารพในจารีต (traditional land) และสิ ท ธิ ที่ ดิ น ตามจารี ต (customary land) ของ ชนพื้นเมือง ตลอดจนหากมีความจําเป็นต้องย้ายถิ่นฐาน ของชนพื้นเมือง จะต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่เป็นเลิศ ในระดับสากล (ข้อ 8–10) ธนาคารกรุงไทยได้คะแนนเพิ่มเติม จากการประกาศ นโยบายการให้สนิ เชือ่ อย่างรับผิดชอบเช่นกัน โดยธนาคาร มีการกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารต้องเคารพในสิทธิของ ผู้พิการ (ข้อ 12) นอกจากนี้ ธนาคารไทยพาณิชย์ยังได้รับคะแนนเพิ่ม เติม จากการประกาศรับหลักการ UN Global Compact ซึ่งครอบคลุมหลักการที่กําหนดให้ธุร กิจสนับสนุนและ

— 86 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เคารพสิทธิมนุษยชนตามหลักการในระดับสากล รวมถึง ธนาคารได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคมอีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) เพื่อนําหลักการ EP 10 ประการ ที่เป็นมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับในระดับ สากลว่าด้วยเรื่องการบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และสังคม ซึง่ รวมไปถึงประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน สําหรับ​ สถาบันการเงินในการสนับสนุนสินเชื่อโครงการ มาใช้ เป็นกรอบแนวทางในการระบุ ประเมิน และบริหารจัดการ ความเสี่ ย งด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คมอย่ า งเป็ น ระบบ ในกระบวนการพิจารณาสินเชื่อโครงการขนาดใหญ่ของ ธนาคาร (ข้อ 3–7) สิ​ิทธิ​ิแรงงาน

เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายด้านสิทธิ แรงงานสอดคล้องกับคําประกาศขององค์กรแรงงานระหว่าง ประเทศ (International Labour Organization: ILO) ว่าด้วย หลักการและสิทธิขน้ั พืน้ ฐานในทีท่ าํ งาน นอกจากนี้ เกณฑ์

— 87 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การประเมินยังครอบคลุมนโยบายด้านสิทธิแรงงานของ บริษัทที่ได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากธนาคารด้วย ผลการประเมินในปีนี้มีธนาคาร 8 แห่ง ที่ได้คะแนน ในหมวดนี้ ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารออมสิน และธนาคาร พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย โดยสําหรับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมแห่งประเทศไทยได้รับคะแนนในหมวดนี้เป็นปีแรก ธนาคาร 7 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคากรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหาร­ไทยธนชาต และธนาคาร ออมสิน ได้คะแนนจากการประกาศนโยบายด้านสิทธิ แรงงานที่อ้างอิงคําประกาศขององค์กรแรงงานระหว่าง ประเทศว่าด้วยหลักการและสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทํางาน (ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work)

อาทิ มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีแนวทาง

— 88 —


1

0

3

ป 2018

4

2

TISCO

KKP

ป 2019 KTB

GSB

BAAC

SMEB

ป 2020

— 89 —

ป 2021 0.89 1.19 1.63 2.02

BAY

0.26

KBANK

0.00 0.00 0.00 0.00 0.63

SCB 0.00

0.00

0.71 0.63

1.63

2.32

2.81

2.46 2.13

1.79

1.29

2.81

3.36

3.75

4

0.89

0.71 0.71

2 1.79 2.29 2.29

2.33 2.33 2.19

4.63 4.63 4.38

4.29

5

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

2.29

0.00

0.71

3

0.00 0.00 0.00 0.63

5 BBL

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0 0.00

1

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

TTB

เฉลี่ย

ป 2022

แผนภูมิที่ 7 สิทธิแรงงาน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การไม่เลือกปฏิบัติต่อพนักงานในเรื่องเพศ อายุ สัญชาติ ไม่ใช้แรงงานเด็กและแรงงานผิดกฎหมาย และเปิดโอกาส ให้พนักงานสามารถสมัครเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานได้ โดยไม่มีการปิดกั้น (ข้อ 1) ขณะที่ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน และ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง ประเทศไทย ได้คะแนนเพิ่มขึ้นจากการประกาศขั้นตอน ในการจัดการกับข้อร้องเรียนของพนักงานและแก้ปัญหา การละเมิดสิทธิแรงงาน โดยมีการกําหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลา และกระบวนการในการพิจารณาข้อร้องเรียนที่ ชัดเจน ตลอดจนมีการให้ความสําคัญกับการปรึกษาหารือ กับสหภาพแรงงาน (ข้อ 3) ธนาคารพาณิชย์ 4 แห่ง ได้แก่ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารทหาร­ ไทยธนชาต ได้คะแนนเพิ่มเติมจากการประกาศนโยบาย การให้ สิ น เชื่ อ อย่ า งรั บ ผิ ด ชอบ ที่ กํ า หนดให้ ลู ก ค้ า ของ ธนาคารต้องมีการรับรองสิทธิในการรวมกลุม่ และตระหนัก

— 90 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

อย่างมีประสิทธิผลในสิทธิการรวมกลุ่มต่อรอง (ข้อ 4) ธนาคาร 7 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคากรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหาร­ไทยธนชาต และธนาคาร ออมสิน ได้รับคะแนนจากการประกาศนโยบายการให้ สินเชือ่ อย่างรับผิดชอบ โดยธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุน ทางการเงินแก่ลูกค้าที่มีการใช้แรงงานบังคับและแรงงาน เด็ ก ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ (ข้ อ 5 และ 6) ซึ่ ง ธนาคาร ออมสินประกาศนโยบายดังกล่าวเป็นปีแรก ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคาร ทหารไทยธนชาต ได้คะแนนเพิ่มเติมจากกําหนดให้ลูกค้า ของธนาคารมีนโยบายหรือแนวทางในการกํากับดูแลด้าน สุขภาพและความปลอดภัยในที่ทํางาน (ข้อ 11)

— 91 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธรรมชาติ​ิ (nature)

เกณฑ์หมวดนีป้ ระเมินนโยบายเกีย่ วกับธุรกิจทีธ่ นาคาร ให้การสนับสนุนทางการเงิน เกณฑ์หลายข้อมุ่งเน้นให้ ธนาคารมีนโยบายสินเชื่อเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่สุ่มเสี่ยง ต่ อ การสร้ า งผลกระทบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น อุตสาหกรรมทรายนํา้ มัน การค้าชนิดพันธุส์ ตั ว์ปา่ และพืช ป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ซึ่งอยู่ในรายการแนบท้ายของอนุสัญญา ไซเตส (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora: CITES) เป็นต้น หมวดนี้มีธนาคารพาณิชย์ 6 แห่งได้คะแนน ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต และ ธนาคารไทยพาณิชย์ โดยสําหรับธนาคารไทยพาณิชย์ ได้รับคะแนนในหมวดนี้เป็นปีแรก ธนาคารทหารไทยธนชาตได้คะแนนเป็นอันดับหนึ่ง ในหมวดนี้ เนือ่ งจากธนาคารมีการกําหนดรายการธุรกิจที่ ธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินเพื่อเฝ้าระวัง

— 92 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมจากกิจกรรม หรือธุรกิจบางประเภทเป็นพิเศษ ซึ่งสอดคล้องกับเกณฑ์ การประเมินหมวดธรรมชาติ 9 ข้อ ตัวอย่างข้อที่ธนาคาร ทหารไทยธนชาตได้คะแนน ดังนี้ • การประกาศว่าธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทาง​ การเงินกับธุรกิจที่มีกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยน​ แปลงหรือเสือ่ มโทรมของพืน้ ทีค่ มุ้ ครองหรือถิน่ ทีอ่ ยู่ อาศัยที่มีความเปราะบาง ได้แก่ แหล่งมรดกโลก ขององค์การยูเนสโกพืน้ ทีค่ มุ้ ครอง (UNESCO World Heritage Sites Protected areas) (ข้อ 3) อนุสญ ั ญา แรมซาร์วา่ ด้วยพืน้ ทีช่ มุ่ นํา้ (Ramsar Convention on Wetlands) ( ข้ อ 4) และพื้ น ที่ ที่ มี คุ ณ ค่ า ด้ า นการ อนุรกั ษ์สงู (High Conservation Value Forest) (ข้อ 1) • การประกาศว่าธนาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทาง​ การเงินกับธุรกิจที่มีการผลิตหรือการค้าผลิตภัณฑ์ หรือบริการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต/การค้าสัตว์ป่า

— 93 —


1

0

ป 2018 1.38 1.68

BAY

TISCO

KKP

GSB

BAAC

SMEB

ป 2019

ป 2020

— 94 —

ป 2021

แผนภูมิที่ 8 ธรรมชาติ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 0.00 0.17 0.52

0.00

1.50

1.67

3 2.50

3.50

3.00 3.00

4.67

4.50

5

0.00 0.00 0.00

1.50

4

0.00 0.00 0.00

KBANK

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

2 KTB

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

3 0.00 0.00 0.00

4 SCB

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

5 0.00 0.00 0.00 0.00

6 BBL

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0 1.00 1.00 1.00

1

0.00 0.00

2

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

6 6.00 6.00

การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

TTB

เฉลี่ย

ป 2022


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

หรื อผลิ ต ภัณฑ์จ ากสัตว์ป่าที่ขัด ต่อ กฎหมายหรือ ระเบียบของประเทศ สัตว์ป่าหรือผลิตภัณฑ์ตามที่ ระบุในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทาง วัฒนธรรมและธรรมชาติ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna

และบัญชีสายพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ ของ IUCN (IUCN Red List) (ข้อ 5) • การกําหนดให้ลูกค้าของธนาคารมีการป้องกันและ แก้ไขการรุกรานของพันธุ์ต่างถิ่นตามที่กําหนดใน IUCN Invasive Species ซึ่งอาจเป็นความเสี่ยงต่อ การคงอยูพ่ นั ธุพ์ นื้ เมืองและความสมบูรณ์ของระบบ นิเวศ (ข้อ 10) and Flora: CITES)

ปี นี้ ห ลายธนาคารกํ า หนดนโยบายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เนื้ อ หาในการประเมิ น หมวดธรรมชาติ ม ากขึ้ น ทํ า ให้ คะแนนในหมวดนี้เพิ่มมากขึ้น ตัวอย่างเช่น

— 95 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

• ธนาคารไทยพาณิชย์ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกสมาคม อีเควเตอร์ (The Equator Principles Association: EP) ซึ่งได้นําหลักการ EP 10 ประการ มาใช้เป็นกรอบ แนวทางในการระบุ ประเมิน และบริหารจัดการ ความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมอย่างเป็นระบบ ในกระบวนการพิจารณาสินเชื่อโครงการขนาดใหญ่ ของธนาคาร ซึง่ ครอบคลุมการกําหนดให้ลกู ค้าของ ธนาคารมีการจัดทําการประเมินผลกระทบด้านสิ่ง­ แวดล้อมว่าด้วยผลกระทบโดยรวมของโครงการขนาด ใหญ่ตอ่ ความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างน้อยตาม​ แนวทางที่ระบุในมาตรฐาน GRI 304: Biodiversity 2016 หรือมาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ข้อ 13) • ธนาคารกสิกรไทยประกาศนโยบายนโยบายเครดิต ด้านสิง่ แวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล และแนว ปฏิบัติในการพิจารณาสินเชื่อสําหรับอุตสาหกรรม เฉพาะที่ ส อดคล้ อ งกั บ แนวปฏิ บั ติ บ อนน์ (Bonn Guidelines) หรือพิธส ี ารนาโกยา (Nagoya Protocol)

— 96 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ข้ อ 8) และปฏิ บั ติ ต ามข้ อ กํ า หนดของพิ ธี ส าร คาร์ตาเฮนา (ข้อ 9) • ธนาคารกรุงศรีอยุธยาประกาศไม่สนับสนุนสินเชื่อ แก่ ธุ ร กรรมที่ มี ลั ก ษณะธุ ร กรรมพึ ง ระมั ด ระวั ง (restricted transactions) มีแนวโน้มความเสี่ยงด้าน ESG เว้ น แต่ จ ะมี ก ารพิ จ ารณาธุ ร กรรมด้ ว ยความ ระมัดระวัง ควบคู่ไปกับการตรวจสอบในเชิงลึก (due diligence) หรือจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ดําเนินการตรวจสอบเชิงลึก เพือ่ ป้องกันผลกระทบ ทางลบต่อพื้นที่ที่มีคุณค่าด้านการอนุรักษ์สูง (High Conservation Values) ภายในเขตปฏิ บั ติ ก ารของ บริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ (ข้อ 1) (

ภาษี​ี (tax)

เกณฑ์หมวดนีม้ งุ่ เน้นให้ธนาคารมีกลไกและกระบวนการ ในการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับรายได้ กําไร อัตรา​ กําลัง สินทรัพย์ การสนับสนุนทางการเงิน การจ่ายภาษี

— 97 —


0

TISCO

ป 2018

KKP

ป 2019

GSB

BAAC

ป 2020

— 98 —

BAY

SMEB

ป 2021

แผนภูมิที่ 9 ภาษี (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 1.46 1.73

KBANK

2.50 0.00

0.63 0.63 0.59

0.59 0.59 0.59

0.59

1.18 1.18

1.18 1.76 1.76

2.35

2.06 2.06

3

0.27 0.60 0.90

1.25 1.25

0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

KTB

2.86 2.50 2.50

2.50 2.50

0.00

0.00

SCB

0.00 0.00

2 1.25

4

2.94 3.13

BBL

0.00 0.00

0.59

0.59 0.00 0.00 0.29

2

0.00 0.00

1

0.00 0.00

3 2.50 2.50

0 0.00

1

0.63 0.63 0.63

การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

5

4

TTB

5

เฉลี่ย

ป 2022


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ตลอดจนการให้คาํ แนะนําในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการลงทุน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น การหลบเลี่ ย งภาษี ข อง ธนาคาร และธุรกิจทีเ่ ป็นลูกค้าของธนาคารโดยใช้ประโยชน์ จากโครงสร้างระหว่างประเทศ และการให้บริการทางการ เงินแก่บริษัทที่ตั้งอยู่ในประเทศเขตปลอดภาษี ผลการประเมิ น ธนาคารในปี พ .ศ . 2565 พบว่ า มี ธนาคาร 9 แห่ง จาก 11 แห่งได้คะแนน โดยประกอบด้วย​ ธนาคารพาณิชย์ 6 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทย­ ธนชาต ธนาคารทิสโก้ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร และ สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคาร ออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยาและธนาคารเกียรตินาคินภัทร ประกาศว่าธนาคารจะไม่ใช้โครงสร้างทางภาษีที่มีวัตถุ­ ประสงค์หลักเพือ่ ขจัดหรือลดภาระทางภาษีผา่ นการวางแผน

— 99 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

หรือโครงสร้างทีซ่ บั ซ้อน และไม่ใช้ประโยชน์จากกฎหมาย ภาษีในการดําเนินธุรกิจที่ไม่สอดคล้องต่อหลักการและ เจตนาของกฎหมายภาษีทั้งธุรกรรมในประเทศและต่าง ประเทศ (ข้อ 5) ธนาคารกรุงเทพและธนาคารไทยพาณิชย์ ได้คะแนน บางส่วนจากการระบุวา่ ธนาคารไม่ได้รบั คําตัดสินทางภาษี ที่ มี นั ย สํ า คั ญ ใดๆ จากหน่ ว ยงานกํ า กั บ ดู แ ลด้ า นภาษี ในปีที่ผ่านมา แต่ไม่ได้เผยแพร่ข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับคํา­ ตัดสิน ข้อหารือ หรือประเด็นทางภาษีทเี่ กีย่ วข้อง (ข้อ 6) ธนาคารพาณิชย์ 2 แห่ง ได้แก่ ธนาคารทิสโก้ ธนาคาร เกียรตินาคินภัทร และสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐทัง้ 3 แห่ง ได้แก่ ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์การเกษตร และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ระบุวา่ ธนาคารไม่มี บริษัทในเครือ สาขา หรือบริษัทร่วมลงทุนใดๆ ในเขต​ อํานาจศาลที่ไม่มีภาษีเงินได้ (ข้อ 7) สําหรับธนาคารเกียรตินาคินภัทรสามารถทําคะแนน

— 100 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

รายข้อได้เท่ากับในปีที่ผ่านมา แต่เนื่องจากธนาคารไม่ได้ ประกอบกิจการในต่างประเทศ ทําให้ไม่มีการประเมินใน ส่วนของการให้บริการทางการเงินแก่บริษัทที่ตั้งอยู่ในเขต ปลอดภาษี (ข้อ 8) จึงทําให้คะแนนที่ได้รับเพิ่มขึ้นเมื่อ พิจารณาเป็นร้อยละของคะแนนเต็ม อาวุ​ุธ (arms)

เกณฑ์ ใ นหมวดนี้ มี จุ ด ประสงค์ ห ลั ก ให้ ธ นาคารมี ​ นโยบายไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่บริษทั ทีเ่ กีย่ วข้อง กับอุตสาหกรรมอาวุธทีม่ อี านุภาพทําลายล้างสูง ซึง่ มีความ เสี่ยงสูงที่จะเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน การ คอร์รัปชัน การฟอกเงิน และการก่อการร้าย ผลการประเมินในปีนพ้ี บว่าธนาคารทุกแห่งได้คะแนน ในหมวดนี้ เนือ่ งจากทุกธนาคารประกาศนโยบายไม่ให้การ สนับสนุนทางการเงินและสินเชื่อแก่ธุรกิจที่ผลิตหรือค้า “อาวุธที่มีอานุภาพทําลายล้างสูง” โดยอาวุธกลุ่มดังกล่าว หมายถึง อาวุธนิวเคลียร์ อาวุธชีวภาพ อาวุธเคมี หรือ

— 101 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

อาวุธอื่นใดซึ่งมีอานุภาพที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต มนุษย์ สัตว์ พืช จํานวนมากหรือต่อสิ่งแวดล้อมอย่าง ร้ายแรงทํานองเดียวกับอาวุธดังกล่าว รวมทัง้ ระบบการส่ง อาวุธ ส่วนประกอบหรืออุปกรณ์ของอาวุธนั้นด้วย (ข้อ 3–6) ซึง ่ การประกาศนโยบายดังกล่าวเป็นไปตามพระราช­ บัญญัติป้องกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงิน แก่การก่อการร้าย และการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพ ทําลายล้างสูง พ.ศ. 2559 ธนาคารกรุงเทพได้คะแนนเพิ่มขึ้นมาก จากการที่ ธนาคารให้ความสําคัญกับการไม่ยอมรับการพิจารณา สินเชื่อที่มีความเกี่ยวข้องกับการส่งอาวุธและระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทางทหาร อื่นๆ ไปยังพื้นที่ที่มีความเสี่ยง เช่น ประเทศที่ถูกห้ามส่ง สินค้าเข้าโดยองค์การสหประชาชาติ หรือองค์กรระหว่าง ประเทศอื่น เป็นต้น (ข้อ 9–15) นอกจากนี้ ธนาคารหลายแห่งมีการกําหนดรายการ ธุรกิจทีธ่ นาคารจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน (exclusion

— 102 —


0

6

2

— 103 — 2.59 3.29 3.73 4.42

KBANK

0.37

KTB

2.67 2.67 2.67

SCB

0.00 0.00

0.00

0.00

0.00

3.56 3.56

4.33

3.33

2.50 2.67

1.67 2.50 2.67 3.56 4.00

2.50 2.67

6.78

6.67

แผนภูมิที่ 10 อาวุธ (ปรับ: คะแนนรวม = 10) 6.33 6.33

6.22 6.22

6

2.67 2.67 2.67

BBL

2.50 2.67 2.67 2.67

2 1.67 2.50 2.67 2.67 3.56

2.50

8.00

8

0.00 0.00

0.00

4 0.00

0

2.50 2.67 2.67 2.67

4

0.00

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

10

BAY TTB

10

8

TISCO

KKP

GSB

SMEB

เฉลี่ย

ป 2018

ป 2019

ป 2020

ป 2021

ป 2022


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

list)

เพิ่มเติมจากปีก่อน ส่งผลให้ได้คะแนนเพิ่มขึ้น เช่น • ธนาคารกรุงไทยและธนาคารกสิกรไทย ประกาศ ไม่ให้สนับสนุนทางการเงินแก่ธุรกิจ การใช้ การ ผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การ กักตุน และการค้าระบบอาวุธอัตโนมัตริ นุ แรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึ ง ส่วนประกอบที่ออกแบบมาสําหรับ LAWS (ข้อ 7) • ธนาคารกรุงไทย เป็นเพียงธนาคารเดียวทีร่ ะบุชดั เจน ว่าสินค้าทีส่ าํ คัญสําหรับเป้าหมายทางการทหารแต่ยงั สามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์พลเรือน (สินค้า dual-u​ se) ธนาคารจัดประเภทสินค้าชนิดนีเ้ ป็นสินค้าทางทหาร เมือ่ มีเป้าหมายทีไ่ ม่ใช่เป้าหมายทางพลเรือน (ข้อ 8)

— 104 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

การคุ้​้�มครองผู้​้�บริ​ิโภค (consumer protection)

เกณฑ์หมวดนีม้ จี ดุ ประสงค์หลักให้ธนาคารมีมาตรการ คุม้ ครองผูบ้ ริโภครายย่อยทีค่ รอบคลุม เช่น มีนโยบายเปิด เผยสิทธิของลูกค้ารายย่อย และความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์ และบริการ สร้างหลักประกันว่าลูกค้ารายย่อยสามารถเข้า ถึงกลไกรับเรือ่ งร้องเรียนและเยียวยาทีม่ กี ระบวนการค้นหา ความจริง (due diligence) มีนโยบายปรับโครงสร้างหนี้ สําหรับผู้บริโภคที่ประสบปัญหาเป็นหนี้เกินตัว มีนโยบาย และขั้นตอนที่จะหลีกเลี่ยงการพ่วงขายผลิตภัณฑ์ หรือ พฤติกรรมการขายที่ไม่เหมาะสม ออกแบบโครงสร้างค่า ตอบแทนสําหรับพนักงานและตัวแทน ในทางที่ส่งเสริม พฤติกรรมการทําธุรกิจอย่างรับผิดชอบ การปฏิบตั ติ อ่ ลูกค้า อย่างเป็นธรรม และการหลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อน และมีนโยบายทีจ่ ะเปิดให้ลกู ค้ารายย่อยทีเ่ ป็นผูพ้ กิ ารหรือ มีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึงสาขาทางกายภาพและ บริการอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเช่นแพลตฟอร์มออนไลน์ได้ เป็นต้น

— 105 —


0

10

8 SCB

— 106 — 4.68 5.46

6.53 6.55

KBANK

3.47

KTB

4.00 4.50 5.28

6.00 5.26

BBL

4.50

2.86

6.32

6.67 7.38 6.84

4.86 5.71 6.43 7.11 4.67

3.75

4.05 4.86 4.76 5.24

8.57 7.89

8.10 7.63 7.14

6.19

5.48 5.00

4.24

7.62 7.62 7.89

8

2.86

5.27

10

0.00 0.00

4

0.00 0.00

0

3.10 4.05 4.76 5.71 5.53

6 3.33

4

4.95 5.24 5.71 5.79

6

3.52

การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

2

BAY TTB

2

TISCO

KKP

GSB

BAAC

เฉลี่ย

ป 2018

ป 2019

ป 2020

ป 2021

ป 2022

แผนภูมิที่ 11 การคุ้มครองผู้บริโภค (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ผลการประเมินในปี พ.ศ. 2565 พบว่าธนาคารทุกแห่ง ได้รบั คะแนนในหมวดการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค ส่วนหนึง่ เป็น ผลมาจากการปฏิบัติตามเกณฑ์การให้บริการอย่างเป็น ธรรม (market conduct) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม ซึ่งมีการประกาศ ออกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 ดังนั้นธนาคารส่วนใหญ่จึงมี การประกาศนโยบายหรือมาตรการคุ้มครองผู้บริโภคราย ย่ อ ยที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น ส่ ง ผลให้ ธ นาคารส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ คะแนนในข้อเดียวกัน เช่น • ธนาคารทุกแห่งมีการประกาศนโยบายในการจัดการ ข้อร้องเรียนของลูกค้าอย่างเป็นขั้นตอน ตั้งแต่ช่อง ทางการร้องเรียน ระบบการดําเนินการข้อร้องเรียน ระยะเวลาการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน รวม ไปถึงการรายงานผลและจัดให้มีการเยียวยาลูกค้า (ข้อ 3) • ธนาคารทุ ก แห่ ง มี โ ครงการอบรมพนั ก งานใน

— 107 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ประเด็นสิทธิผู้บริโภค นโยบายคุ้มครองผู้บริโภค และธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ ด้ า นนี้ รวมถึ ง มี โ ครงการ อบรมพนักงานในประเด็น ผลิตภัณฑ์และบริการ ต่างๆ ทีน่ าํ เสนอต่อผูบ้ ริโภค อย่างไรก็ตาม มีเพียง ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคาร กรุงไทย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ที่ระบุชัดเจน ว่าการอบรมดังกล่าวครอบคลุมถึงกลุ่มตัวแทนของ ธนาคารด้วย จึงทําให้ได้คะแนนเต็ม (ข้อ 16 และ 17) นอกจากนี้ ประเด็ น โดดเด่ น ที่ ส่ ง ผลให้ ธ นาคารได้ คะแนนในปีนี้เพิ่มเติม ได้แก่ • ธนาคารกสิกรไทย เป็นเพียงธนาคารเดียวที่มีการ ประกาศนโยบายในการรักษาจํานวนข้อร้องเรียน ไม่ให้เกินเป้าหมายทีธ่ นาคารกําหนด อย่างไรก็ตาม ธนาคารไม่ได้มีการประกาศครอบคลุมไปถึงการ ลดจํานวนเรื่องร้องเรียนลง (ข้อ 5)

— 108 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

• ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคาร กรุงไทย และธนาคารกรุงศรีอยุธยา มีการประกาศ นโยบายหรือขั้นตอนการติดตามหนี้และบริษัทที่ ได้รับมอบหมายจากสถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้เป็นตัวแทนในการทวงนี้ (ข้อ 12) • ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคาร กรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารทหารไทย­ ธนชาต มีการประกาศนโยบายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และบริการเพื่อสร้างการเข้าถึงบริการทางการเงิน สํ า หรั บ ลู ก ค้ า รายย่ อ ยที่ เ ป็ น ผู้ พิ ก ารหรื อ มี ค วาม ต้ องการพิเศษ เช่น การจัด ทําโครงการเอทีเ อ็ม​ สําหรับ​ผู้พิการทางสายตา (ATM for Blind Man) หรือจัดทําแอปพลิเคชันธนาคารที่รองรับการใช้งาน ของผู้พิการทางสายตา เป็นต้น (ข้อ 19)

— 109 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การขยายบริ​ิการทางการเงิ​ิน (financial inclusion)

เกณฑ์หมวดนี้คาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายให้การ สนับสนุนทางการเงินแก่ลกู ค้าทีย่ งั เข้าไม่ถงึ บริการทางการ เงินในระบบ ผู้มีรายได้น้อย และกลุ่มเปราะบาง โดยให้ บริการทางการเงินทีเ่ หมาะสม สะดวก และลูกค้ามีกาํ ลังซือ้ นอกจากนี้ ยังให้คะแนนธนาคารที่มีบริการทางโทรศัพท์ มือถือ (mobile banking) และบริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-money) รวมถึงมีนโยบายหรือโครงการเสริมสร้างความรู­้ เรื่องทางการเงิน (financial literacy) แก่ลูกค้ากลุ่ม ผู้มี รายได้น้อย กลุ่มเปราะบาง และผู้ประกอบการขนาดจิ๋ว ขนาดย่อมและขนาดกลาง (MSME: micro-enterprise and SMEs)

หมวดการขยายบริการทางการเงินเป็นหมวดทีค่ ะแนน เฉลี่ยสูงที่สุด โดยธนาคารส่วนใหญ่สามารถทําคะแนนใน หมวดนีไ้ ด้หลายข้อ สําหรับธนาคารทีม่ นี โยบายเด่น หรือ มีการปรับปรุงและเปิดเผยนโยบายในหมวดนีท้ ี่สอดคล้อง กับเกณฑ์การประเมินเพิ่มขึ้นที่น่าสนใจ เช่น

— 110 —


8

6

0

10

4

2

TISCO

KKP

ป 2018

ป 2019

GSB

BAAC

ป 2020

— 111 —

7.69 7.69 7.69

7.31 8.08 6.38 5.62

5.81 5.59 6.15

BAY

SMEB

ป 2021

6.01 6.15 6.15 6.15

KBANK

4.08

5.46 5.62 6.15 6.92 6.92

2 4.71 5.44 6.15 6.92 7.69

4

4.93 5.44 5.71 6.44 6.75

5.83 5.38

5.38 5.38 5.38

KTB

0.00 0.00

0.00 0.00

3.85

SCB

5.38 6.15

BBL

0.00 0.00 7.69

0

4.73 5.40 6.15 6.15 6.15

6 4.60 5.28 6.15 6.92 7.69

8

4.42 4.77 5.38 5.38 5.38

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

10

TTB

เฉลี่ย

ป 2022

แผนภูมิที่ 12 การขยายบริการทางการเงิน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

• ธนาคารไทยพาณิชย์ เป็นธนาคารเดียวทีม่ นี โยบาย เปิดเผยสิทธิของลูกค้า และความเสีย่ งของผลิตภัณฑ์ หรือบริการ (รวมถึงความเสี่ยงที่จะเป็นหนี้เกินตัว) สํ า หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ไ ม่ รู้ ห นั ง สื อ อย่ า งชั ด เจน (ข้ อ 6) นอกจากนี้ ปี นี้ เ ป็ น ปี แ รกที่ ธ นาคารไทยพาณิ ช ย์ ประกาศไม่คิดค่าธรรมเนียมในการเปิดบัญชีออม ทรัพย์ออนไลน์ ซึง่ เป็นบัญชีเงินฝากพืน้ ฐาน (ข้อ 9) จึงทําให้ได้คะแนนข้อนี้เป็นปีแรก (ธนาคารที่ได้ คะแนนในข้อนีแ้ ล้ว ได้แก่ ธนาคารกรุงเทพ ธนาคาร กรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย­ ธนชาต และธนาคารออมสิน) • ธนาคารกรุงเทพ ได้คะแนนเพิม่ ขึน้ จากการปรับปรุง การเปิดเผยข้อมูลสัดส่วนสินเชือ่ ทีป่ ล่อยให้กบั ธุรกิจ ขนาดจิ๋วจนถึงขนาดกลางมากกว่าร้อยละ 10 ของ สินเชื่อทั้งหมดให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น (ข้อ 4) • ธนาคารออมสิน มีการกําหนดระยะเวลาในการ พิ จ ารณาสิ น เชื่อ อย่ า งชั ด เจน (ข้ อ 11) ทํ า ให้ ไ ด้

— 112 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

คะแนนข้อนีเ้ ป็นปีแรก (ธนาคารส่วนใหญ่ได้คะแนน ในข้อนี้อยู่แล้ว) • ธนาคารกสิกรไทยและธนาคารออมสิน เป็นธนาคาร เพียง 2 แห่​่งที่มีนโยบายเกี่ยวกับสินเชื่อเพื่อที่อยู่ อาศัยให้กับผู้มีรายได้น้อย (ข้อ 13) นโยบายค่​่าตอบแทน (remuneration)

เกณฑ์ ห มวดนี้ มุ่ ง เน้ น การเปิ ด เผยโครงสร้ า งค่ า ตอบแทน และคาดหวังให้ธนาคารมีนโยบายการจ่ายโบนัส ที่ไม่เอื้อต่อการสร้างแรงจูงใจที่ไม่เหมาะสมแก่พนักงาน และผู้บริหาร ในปีน้ี ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคาร กสิกรไทย ธนาคารทหารไทยธนชาต ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร และ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง ประเทศไทยเป็นธนาคาร 7 แห่งที่ได้คะแนนในหมวดนี้ โดยในปีนคี้ ะแนนเฉลีย่ ลดลง เนือ่ งจากเกณฑ์การประเมิน

— 113 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ฉบับปรับปรุงในปี ค.ศ. 2021 มีการปรับลดเกณฑ์การ ประเมินในหมวดนโยบายค่าตอบแทน 2 ข้อ ทีค่ าดหวังให้ ธนาคารมีการเปิดเผยนโยบายเงินโบนัสอิงกับความพึงพอใจ ของพนักงานและลูกค้า ส่งผลให้ธนาคารที่เคยได้คะแนน ในข้อดังกล่าวไม่ได้รับคะแนน รวมถึงมีการเปลี่ยน​แปลง เนือ้ หาการประเมินในข้อ 8 และ 9 ทีค่ าดหวังเพิม่ เติมให้ ธนาคารกําหนดเป้าหมายการจัดสรรเงินโบนัสทีอ่ งิ กับการ ปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและสิง่ แวดล้อม สําหรับการ จัดการและการปฏิบัติการของธนาคาร และสําหรับการ ลงทุนและการให้บริการทางการเงินของธนาคาร จึงส่งผล ให้ธนาคารที่เคยได้คะแนนในข้อดังกล่าวคะแนนลดลง ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยของธนาคารในภาพรวมลดลงด้วย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ได้คะแนนจากการกําหนด เพดานการจ่ายโบนัสไว้ไม่เกิน 100% ของเงินเดือนตลอดปี (ข้อ 2)

— 114 —


0

TISCO

ป 2018 0.18 0.41 0.56 0.90 0.62

KTB

ป 2019 KBANK

GSB

BAAC

SMEB

เฉลี่ย

ป 2020

— 115 — 0.67

SCB

0.67

0.00 0.00 0.00 0.00

KKP 0.00 0.00 0.00 0.00

0.56 0.67

ป 2021

0.00 0.00

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00 0.00

1.00

1.00

2.22

2.64

2.22

1.67 1.67 1.83

1.60 1.60 1.67

1.11

1.00

1.58 1.67

3

0.00 0.00 0.00

BBL 0.00

0.56

2

0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

0.00

0.00 0.00 0.00

1

0.00 0.00

1 0.52 0.56

0

0.00

แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

5

4

BAY TTB

5

4

3

2

ป 2022

แผนภูมิที่ 13 นโยบายค่าตอบแทน (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกร­ ไทย และธนาคารทหารไทยธนชาต ได้คะแนนในส่วนของ การเปิดเผยหลักเกณฑ์ของเงินโบนัสที่อิงกับการปรับปรุง ผลกระทบทางสังคมและสิง่ แวดล้อมทัง้ ในการจัดการ การ ปฏิบตั กิ าร (ข้อ 8) และการลงทุนของสถาบันการเงิน (ข้อ 9) ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ ได้ ค ะแนนลดลงในเรื่ อ งการ​ กําหนดสัดส่วนเงินโบนัสอย่างน้อย 1 ใน 3 ให้อิงกับ หลักเกณฑ์ที่ไม่ใช่เกณฑ์ทางการเงิน เนื่องจากธนาคาร ไทยพาณิชย์ประกาศนโยบายการประเมินผลความสําเร็จ และค่าตอบแทนของผู้บริหารระดับสูงฉบับใหม่ซึ่งไม่ระบุ สัดส่วนเงินโบนัส (ข้อ 6) ธนาคารทหารไทยธนชาต เป็นธนาคารแห่งเดียวที่ได้ คะแนนจากการอธิบายอย่างชัดเจนถึงหลักการทีใ่ ช้กบั การ จ่ายค่าตอบแทนพนักงานแต่ละกลุ่ม (ข้อ 10)

— 116 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ความโปร่​่งใสและความรั​ับผิ​ิด (transparency and accountability)

เกณฑ์หมวดนีม้ งุ่ เน้นให้ธนาคารมีกลไกและกระบวนการ ในการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกเงินสนับสนุน และการลงทุนขององค์กร ผ่านการเผยแพร่ชื่อของรัฐบาล บริษทั โครงการ ตลอดจนพอร์ตการลงทุนต่างๆ ทีธ่ นาคาร ได้มีการไปลงทุนหรือปล่อยสินเชื่อ ตามมาตรฐานสากล ที่ได้รับความน่าเชื่อถือ นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้นให้มีการเผย แพร่ข้อมูลและมีกลไกที่เกี่ยวข้องกับการจัดทํารายงาน ความยั่งยืน การตรวจสอบรับรองโดยบุคคลที่สาม แนว ปฏิบัติในการใช้สิทธิออกเสียงในประเด็นต่างๆ และการ รับเรื่องร้องเรียน ผลการประเมินธนาคารในปี พ.ศ. 2565 พบว่าธนาคาร ทุกแห่งสามารถทําคะแนนได้ในหมวดนี้ โดยธนาคารส่วน ใหญ่สามารถทําคะแนนได้ในเรื่องการอธิบายกรอบการ ออกเงินสนับสนุนและการลงทุนขององค์กรทีเ่ กีย่ วข้องกับ ประเด็นทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (ข้อ 1) การเผยแพร่

— 117 —


0

1

TISCO

ป 2018

KKP

ป 2019

GSB

BAAC

ป 2020

— 118 — 0.50 0.50 0.20

0.00 0.00

1.97 1.95 1.74

1.10 1.43

2.29 2.29 2.00

KBANK BAY

SMEB

ป 2021

2.71 2.50 2.40

2.16 2.16 1.98 2.50 2.25 0.34 0.68

0.80 0.80

2.50 2.66 2.34 2.05

1.70

2.29 1.88 2.00

2.10 2.10 2.40 2.40 2.10

KTB

1.50 1.30 1.50

SCB

0.00 0.00

2.00 2.00 1.60

BBL

0.00 0.00

2 1.48

3

1.88 1.88 1.40

0

0.34 0.68

1 0.34

2

1.36 1.70 1.98 1.88 1.60

การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

5

4

TTB

5

4

3

เฉลี่ย

ป 2022

แผนภูมิที่ 14 ความโปร่งใสและความรับผิด (ปรับ: คะแนนรวม = 10)


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สถิติการออกเสียง (ข้อ 17) การเผยแพร่รายงานความ ยั่งยืนที่ทําตามมาตรฐาน GRI บางข้อหรือทั้งฉบับ (ข้อ 18–19) และการมีกลไกรับเรื่องร้องเรียนสําหรับปัจเจก­ บุคคลและชุมชนทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบทางลบจากกิจกรรม ของสถาบันการเงิน (ข้อ 25) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากเกณฑ์การประเมินฉบับปรับ­ ปรุงในปี ค.ศ. 2021 มีการเปลีย่ นแปลงเนือ้ หาการประเมิน ในข้อ 25 ทีค่ าดหวังเพิม่ เติมให้ธนาคารมีการเปิดเผยกลไก รับเรือ่ งร้องเรียนสําหรับปัจเจกบุคคลและชุมชน ทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบทางลบจากกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การ สนับสนุนทางการเงินด้วย ส่งผลให้ธนาคารได้รับคะแนน ลดลงในข้อดังกล่าว ทัง้ นี้ มีเพียงธนาคารทหารไทยธนชาต ที่สามารถรักษาคะแนนเต็มไว้ได้ เนื่องจากมีการประกาศ อย่างชัดเจนว่า “ในส่วนของข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับสิ่ง­ แวดล้อมและสังคมรวมถึงกิจกรรมที่ธนาคารให้การสนับ­ สนุนทางการเงินนั้น ธนาคารจะทําการบันทึกข้อมูลและ ส่งต่อเรื่องไปยังหน่วยงานที่ดูแลเกี่ยวกับความรับผิดชอบ

— 119 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและสั ง คม (environmental and social responsibility) โดยตรง” ในขณะทีธ ่ นาคารอืน่ ส่วนมากจัด ให้มีกลไกการรับเรื่องร้องเรียนครอบคลุมเฉพาะกิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงินโดยตรงเท่านั้น ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทยธนชาต และ ธนาคารออมสิน (ได้คะแนนเป็นครั้งแรก) ได้คะแนนบาง ส่วนจากการประกาศแนวทางการออกเงินสนับสนุนและ การลงทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นทางสังคมและสิง่ แวดล้อม พร้อมทัง้ ได้รบั การตรวจสอบจากบุคคลภายนอก และเผย แพร่ผลการตรวจสอบสูส่ าธารณะ (ข้อ 2) โดยเป็นประกาศ ทีจ่ าํ กัดอยูใ่ นการลงทุนเฉพาะกลุม่ ทําให้ยงั ไม่ได้รบั คะแนน เต็มเนื่องจากยังไม่ครอบคลุมในการลงทุนทั้งหมดของ ธนาคาร ธนาคารกรุงเทพ (ได้คะแนนเป็นครั้งแรก) ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคารทหารไทยธนชาต มีการจัดให้มกี ารตรวจทาน รายงานความยั่งยืนโดยบุคคลที่สาม (ข้อ 20)

— 120 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เป็น ธนาคารแห่งเพียงเดียวที่ได้รับคะแนนบางส่วนจากการ จัดให้มีกลไกรับเรื่องร้องเรียนที่เข้าถึงได้ง่าย และอธิบาย กระบวนการรับมือกับข้อร้องเรียนอย่างชัดเจน (ข้อ 26) เนือ่ งจากมีการระบุกรอบเวลาในการจัดการเรือ่ งร้องเรียน ผ่านช่องทางต่างๆ อย่างชัดเจน แต่ยงั ไม่ได้รบั คะแนนเต็ม เนื่องจากยังไม่ได้จัดให้มีช่องทางการรับเรื่องร้องเรียนที่ รองรับผู้ใช้งานในภาษาอื่นๆ นอกเหนือจากภาษาไทย ธนาคารกรุงไทย เป็นธนาคารแห่งเดียวที่มีการระบุ ชัดเจนถึงการจัดให้มีกระบวนการการร่วมมือกันระงับ ข้อพิพาทโดยปราศจากค่าใช้จ่ายครอบคลุมทั้งการระงับ ข้อพิพาทภายในและภายนอก โดยเป็นไปตามมาตรฐาน ของกระบวนการระงับข้อพิพาทนัน้ ๆ ซึง่ ทําให้เป็นธนาคาร เพียงธนาคารเดียวที่ได้รับคะแนนในเรื่องของการยินดี ให้ความร่วมมือในกระบวนการร้องทุกข์ที่เกิดขึ้นในรัฐ เมื่อกรณีที่สถาบันการเงินมีส่วนเกี่ยวข้องด้วยต้องเข้าสู่ กระบวนการร้องทุกข์ดังกล่าว (ข้อ 28)

— 121 —



ความแตกต่​่างระหว่​่าง Fair Finance Guide International (FFGI) และ Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)



ดัชนีความยั่ง ยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices: DJSI) จัดทําขึ้นด้วยความร่วมมือของ S&P Dow Jones Indices และ RobecoSAM โดยเชิ ญ บริ ษั ท จด ทะเบียนขนาดใหญ่ทั่วโลกใน 60 อุตสาหกรรม เข้าร่วม การประเมินการดําเนินงานด้านความยั่งยืน บริษัทจะถูก ประเมินด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า Corporate Sustainability Assessment หรื อ CSA ซึ่ ง ครอบคลุ ม 3 มิ ติ ทั้ ง ด้ า น เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ในขณะที่แนวปฏิบัติ การเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ (Fair Finance Guide International: FFGI) คือ ดัชนี และ เครือ ่ งมือ สําหรับผูบ้ ริโภค ในการเจรจาต่อรอง การรณรงค์ การให้การสนับสนุน การ มีส่วนร่วมในภาครัฐและสถาบันการเงิน เพื่อสร้างความ ร่วมมือด้านการเงินที่เป็นธรรม ความแตกต่างระหว่าง FFGI กับ DJSI อาจสรุปได้ดงั นี้

— 125 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมายต่างกัน DJSI นําเสนอดัชนีความยั่งยืนของบริษัทแก่นักลงทุน ส่วน FFGI เน้นเสริมสร้างมาตรฐานด้านสังคม สิง่ แวดล้อม และสิทธิมนุษยชนในอุตสาหกรรมธนาคารและสร้างการ รับรู้แก่ลูกค้าธนาคารและบุคคลทั่วไป 1)

อุตสาหกรรมที่ประเมิน DJSI ประเมิ น ทุ ก อุ ต สาหกรรม และนํ า คะแนนมา เปรียบเทียบกันภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน ส่วน FFGI ประเมินอุตสาหกรรมธนาคารเท่านั้น 2)

การเปิดเผยข้อมูลวิธกี ารประเมินและแบบสอบถาม ที่สมบูรณ์ DJSI ไม่เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณชน ต่างจาก FFGI ที่เน้นกระบวนการประเมินที่เข้มงวดและมีหลักฐาน สนับสนุน เปิดเผยกระบวนการประเมินบนเว็บไซต์ 3)

— 126 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เนื้อหาการประเมิน FFGI ประเมินทัง ้ ในระดับเนือ้ หานโยบายและขอบเขต ของนโยบาย อันเนือ่ งมาจากหลายครัง้ นโยบายของธนาคาร ไม่ได้ถกู นําไปปรับใช้ในทุกผลิตภัณฑ์ ส่วน DJSI ไม่มกี าร ระบุขอบเขตของการประเมินทีแ่ น่ชดั มีเพียงตัวอย่างด้าน สิทธิมนุษยชน ที่ระบุว่า เกณฑ์จะครอบคลุมด้านสิทธิ มนุษยชนเท่าทีป่ รากฏในเนือ้ หานโยบายภายในของบริษทั เท่านั้น1 นอกจากนี้ FFGI มีเกณฑ์อีกส่วนหนึ่งที่ระบุถึงบริษัท ทีธ่ นาคารให้การสนับสนุน เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าบริษทั ทีธ่ นาคาร ให้การสนับสนุนมีนโยบายด้านความยั่งยืน 4)

ข้อมูลที่ใช้ในการประเมิน DJSI ใช้ขอ ้ มูลทัง้ ทีเ่ ปิดเผยและไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ 5)

1

[page 6] https://eerlijkegeldwijzer.nl/media/494706/eb-ev-ana​

lyse-duurzaamheidsbeoordelingen-180323.pdf

— 127 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ให้บริษัทผู้สมัครเป็นผู้ให้ข้อมูล จึงมีข้อมูลบางส่วน เป็นข้อมูลภายในของบริษัท โดย DJSI ระบุใน รายงาน เล่ ม ขาว “Measuring Intangibles” ว่ า วิ ธี นี้ ช่ ว ยให้ ก าร ประเมินเรือ่ งความยัง่ ยืนมีความลึกซึง้ มากขึน้ 2 ส่วน FFGI ใช้ข้อมูลที่ธนาคารเปิดเผยต่อสาธารณะในการประเมิน เท่านั้น โดยเป็นการประเมินจากบุคคลภายนอก คือแนว ร่วมการเงินที่เป็นธรรมในประเทศนั้นๆ DJSI

6)

การเปลีย่ นแปลงคะแนนเมือ่ พบว่าข้อมูลไม่ตรงกับ

ที่ให้ไว้ ในการประเมินทั้งสองแบบ จะใช้ข้อมูลจากสื่อและ แนวร่วมเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของธนาคาร โดย ข้ อมู ลดั งกล่ าวมีผ ลกระทบต่อ ผลคะแนนต่างกัน หาก 2

[page 1] https://www.robecosam.com/media/c/2/f/c2fb51336d​

88cfe5d5cba1241da83d26_measuring-intangibles-csa-methodo​ logy_tcm1016-14370.pdf

— 128 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

พบว่าบริษัทไม่ปฏิบัติตามนโยบายที่ระบุไว้และส่ง ผลกระทบทางลบต่อธนาคารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของ ธนาคาร คะแนนที่ประเมินจะถูกหักตามความรุนแรงของ เหตุการณ์3 ต่างจาก FFGI ทีข่ อ้ มูลจากสือ่ หรือแนวร่วมไม่ ส่งผลต่อคะแนน เพราะการประเมินใช้จากข้อมูลนโยบาย ที่ธนาคารเปิดเผยเท่านั้น DJSI

ระบบคะแนน DJSI ใช้ระบบคะแนนสัมพัทธ์ (relative score system) ในขณะที่ FFGI ใช้ระบบคะแนนสัมบูรณ์ (absolute score system) โดย DJSI จะคัดเลือกบริษัทที่มีคะแนนสูงสุดใน แต่ละอุตสาหกรรม และยกให้เป็น “บริษัทที่ดีที่สุดในรุ่น” (Best in Class) ระบบนีม ้ ขี อ้ เสียคือ บริษทั ทีด่ ที สี่ ดุ อาจได้ 7)

3

[page 12] https://www.robecosam.com/media/c/2/f/c2fb51​

336d88cfe5d5cba1241da83d26_measuring-intangibles-csa-meth​ odology_tcm1016-14370.pdf

— 129 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

คะแนนน้อยและมิใช่ผู้นําด้านความยั่งยืนอย่างที่คาดหวัง ต่างจากเกณฑ์ FFGI ซึ่งถูกพัฒนาตามแนวปฏิบัติที่ “ดี ทีส่ ดุ ” ดังนัน้ ธนาคารทีไ่ ด้คะแนนเต็มหรือเกือบเต็ม 100% จึงนับเป็นธนาคารทีม่ แี นวปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศตามอุดมคติของ แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรม (ideal best practice)

— 130 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เกณฑ์​์ที่​่� ใช้​้ในการประเมิ​ิน DJSI4

มิติด้านธุรกิจ: -  ธรรมาภิบาล (Corporate and

-  ความปลอดภัยของข้อมูลและ

governance)

ความปลอดภัยทางไซเบอร์

-  จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ

(Information security and

(Codes of business conduct)

cyber security)

-  การจัดการความเสี่ยงและวิกฤต

-  กลยุทธ์ด้านภาษี (Tax

(Risk and crisis

strategy)

management)

-  อิทธิพลของนโยบาย (Policy

-  สาระ (Materiality)

influence)

-  ความมั่นคงทางการเงินและ

-  การจัดการลูกค้าสัมพันธ์

ความเสี่ยงของระบบ (Financial

(Customer relationship

instability and systemic risk)

management)

4

[page 3] https://www.robecosam.com/media/e/3/5/e3545dc​

00f11f2515ff00dabee0bed61_robecosam-corporate-sustainability-​ assessment-weightings-2018_tcm1016-14374.pdf

— 131 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

มิติด้านสิ่งแวดล้อม: -  ความเสี่ยงและโอกาสทางธุรกิจ

-  กลยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ

(Business risk and

(Climate strategy)

opportunities)

-  นโยบายการดําเนินงานและการ

-  รายงานสิ่งแวดล้อม

จัดการ (Operational policy

(Environmental reporting)

and management)

มิติด้านสังคม: -  การสร้างแรงจูงใจและการรักษา พนักงานที่มีความสามารถ

-  รายงานสังคม (Social

(Talent attraction and

-  อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

reporting)

retention)

(Occupational health and

-  การพัฒนาทุนมนุษย์ (Human

safety)

capital development)

-  การเป็นพลเมืองที่ดีในภาคธุรกิจ

-  ประเด็นที่ถกเถียง ขัดแย้ง ใน

และการสาธารณกุศล

การปล่อยสินเชื่อและการจัดหา เงิน (Controversial issues,

(Corporate citizenship and

dilemmas in lending and

-  ตัวชี้วัดการปฏิบัติด้านแรงงาน

financing)

(Labor practice indicators)

-  การขยายบริการทางการเงิน

-  สิทธิมนุษยชน (Human rights)

philanthropy)

(Financial inclusion)

— 132 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

FFGI

กลุ่มหัวข้อรายประเด็น: -  สวัสดิภาพสัตว์ (Animal

-  สุขภาพ (Health)

welfare)

-  สิทธิมนุษยชน (Human rights)

-  การเปลี่ยนแปลงสภาพ

-  สิทธิแรงงาน (Labor rights) ภูมิอากาศ (Climate change) -  ธรรมชาติ (Nature) -  การทุจริต (Corruption) -  ภาษี (Tax) -  ความเท่าเทียมทางเพศ (Gender equality)

กลุ่มหัวข้อรายอุตสาหกรรม: -  อาวุธ (Arms) -  อุตสาหกรรมการผลิต -  ภาคการเงิน (Financial sector) (Manufacturing industry) -  การประมง (Fisheries) -  เหมือง (Mining) -  อาหาร (Food) -  นํ้ามันและแก๊ส (Oil and gas) -  ป่าไม้ (Forestry) -  การผลิตกระแสไฟฟ้า (Power -  บ้านและอสังหาริมทรัพย์ generation) (Housing and real estate)

— 133 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

กลุ่มหัวข้อการดําเนินงานภายใน: -  ความโปร่งใสและการรับผิด -  การขยายบริการทางการเงิน (Transparency)

(Financial inclusion)

-  การคุ้มครองผู้บริโภค

-  นโยบายค่าตอบแทน

(Consumer protection)

(Remuneration)

— 134 —


ภาคผนวก



ภาคผนวก ก

หั​ัวข้​้อประเมิ​ินตามเกณฑ์​์ Fair Finance Guide International 2021 รายหมวด

“บริษัท”

หมายถึง บริษัทที่สถาบันการเงินให้การ สนับสนุนทางการเงิน หรือเข้าไปลงทุน

ตัวเอนขีดเส้นใต้

หมายถึง หัวข้อใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในปี 2021 เทียบกับปี 2020

ตัวเอน

หมายถึง หัวข้อเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงใน สาระสําคัญ อาจส่งผลให้คะแนนเปลี่ยนแปลง

— 137 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การเปลี่​่�ยนแปลงสภาพภู​ูมิ​ิอากาศ

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินกําหนดเป้าหมายการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกขององค์กรทั้งทางตรงและทางอ้อม ทีส่ ามารถวัดได้ ซึง่ สอดคล้องกับการจํากัดการเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมิโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส 2. สถาบั น การเงิ น ประกาศว่ า จะใช้ พ ลั ง งานจากแหล่ ง พลังงานหมุนเวียนเท่านั้นในปฏิบัติการของตัวเอง 1.

องค์ประกอบต่อไปนี้สําคัญสําหรับนโยบายเกี่ยวกับการ จัดการพอร์ตสินเชือ่ และพอร์ตการลงทุนของสถาบันการเงิน 3.

สถาบันการเงินเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน­ กระจกที่เชื่อมโยงกับกลุ่มบริษัทหรืออุตสาหกรรมที่

— 138 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน (โดยที่ ส ถาบั น การเงิ น เลื อ กกลุ่ ม บริ ษั ท หรื อ อุ ต สาห­ กรรม​นั้นๆ ในการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าว) 4. สถาบันการเงินเปิดเผยปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน­ กระจกที่เชื่อมโยงกับบริษัทและโครงการทั้งหมดที่ สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน 5. สํ า หรั บ สิ น เชื่ อ โครงการขนาดใหญ่ สถาบั น การเงิ น ประเมิน ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ข้อมูลการ ปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกและความเสี่ ย งด้ า นสภาพ ภูมิอากาศ (climate risks) เป็นข้อมูลประกอบการ ประเมิน 6. สํ า หรั บ ปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ ใ ห้ ก าร สนับสนุนทางการเงินหรือลงทุน สถาบันการเงินกําหนด เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกที่วัดได้ และสอด​ คล้องกับการจํากัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยโลก ไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส 7. สถาบันการเงินวัดและเปิดเผยผลกระทบทีเ่ กีย ่ วกับการ

— 139 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ตามแนวทางทีแ่ นะนําโดย Task Force on Climate-related Financial Disclosures

สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือไม่ ลงทุนในบริษัทที่มีธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน และ/ หรือเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) มากกว่า 20% ของกิจกรรมทั้งหมดของบริษัท (เช่น วัดจากรายได้รวม) 9. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือไม่ ลงทุนให้บริษทั ทีม่ กี ารผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงฟอสซิล และ/หรือการขุดเจาะนํา้ มันและก๊าซธรรมชาติมาก​กว่า 30% ของกิ จ กรรมทั้ ง หมดของบริ ษั ท (เช่ น วั ด จาก รายได้รวม) 10. สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือไม่ ลงทุนในบริษัทที่มีธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากถ่ายหิน และ/ หรือเหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) มากกว่า 0% ของกิจกรรมทั้งหมดของบริษัท (เช่น วัดจากรายได้รวม) 8.

— 140 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

11.

สถาบันการเงินไม่ให้การสนับสนุนทางการเงิน หรือไม่ ลงทุนให้บริษทั ทีม่ กี ารผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงฟอสซิล และ/หรือการขุดเจาะนํา้ มันและก๊าซธรรมชาติมาก​กว่า 0% ของกิ จ กรรมทั้ ง หมดของบริ ษั ท ( เช่ น วั ด จาก รายได้รวม)

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษัทเปิดเผยข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้ง ทางตรงและทางอ้อม 13. บริษัทลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งทางตรงและ ทางอ้อม 14. บริษท ั เปลีย่ นจากการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลมาเป็นแหล่ง พลังงานหมุนเวียน 15. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ บริษทั ผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินทีไ่ ร้มาตรการลดผลกระทบ 12.

— 141 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

(

นั่ น คื อ ไม่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี กั ก เก็ บ คาร์ บ อน— carbon

capture and storage)

สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ บริษัทผลิตไฟฟ้าจากถ่านหิน 17. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ บริษัทผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิล 18. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ บริษทั เหมืองถ่านหินชนิดให้ความร้อน (thermal coal) 19. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ ธุรกิจทรายนํ้ามัน 20. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ ธุรกิจขุดเจาะนํ้ามันและก๊าซธรรมชาติ 21. สถาบันการเงินจะไม่ให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ โครงการเกษตรกรรมทีแ่ ปลงมาจากพืน้ ทีช่ มุ่ นํา้ ป่าพรุ หรือพื้นที่อื่นๆ ที่กักเก็บคาร์บอนในระดับสูง (high-​ 16.

carbon stock) 22.

การผลิตวัสดุชวี ภาพ (biomaterials) เป็นไปตามหลักการ

— 142 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

12

ข้อ ของ Roundtable on Sustainable Biomaterials

(RSB)

การชดเชยก๊ า ซเรื อ นกระจก (CO compensation) ได้รับการรับรองตามมาตรฐานระดับสากล (ดูหัวข้อ 2.2.2 ในระเบียบวิธีการประเมิน) 24. บริษัทไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการล็อบบี้ทั้งทางตรง และทางอ้อม (พยายามส่งอิทธิพลต่อการตัดสินใจของ หน่วยงานกํากับดูแล) ทีพ่ งุ่ เป้าไปยังการทําให้นโยบาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่อนแอลง 25. บริษัทบูรณาการประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ­ อากาศไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบาย ปฏิบัติการของบริษัท 26. บริ ษั ท กํ า หนดหลั ก เกณฑ์ เ กี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศเป็นเงื่อนไขในสัญญาที่ลงนามกับ ผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 23.

2

— 143 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การทุ​ุจริ​ิตคอร์​์รั​ัปชั​ัน

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน สถาบั น การเงิ น ประกาศว่ า จะไม่ นํ า เสนอ สั ญ ญา เรียกร้องสินบนและข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและ ข้อได้เปรียบอื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม 2. สถาบันการเงินมีนโยบายต่อต้านการฟอกเงิน 3. สถาบัน การเงิ นมี นโยบายป้ อ งกั นการสนั บสนุนทาง​ การเงินแก่กลุ่มก่อการร้ายและอาวุธนิวเคลียร์ 4. สถาบั น การเงิ น ยื น ยั น ได้ ถึ ง ผู้ รั บ ประโยชน์ ที่ แ ท้ จ ริ ง (ultimate beneficiary) ของบริษัท (ที่ตนให้การสนับ­ สนุนทางการเงิน) 5. สถาบั น การเงิ น มี ม าตรฐานเพิ่ ม เติ ม เมื่ อ ทํ า ธุ ร กิ จ ทั้ ง ทางตรงหรือทางอ้อมกับบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องทาง​ 1.

— 144 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

การเมือง (Politically Exposed Persons: PEP) 6. สถาบันการเงินรายงานการมีส่วนร่วมในกระบวนการ ตัดสินใจของการกําหนดปทัสถานระหว่างประเทศและ กระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรมการล็อบบี)้ องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษัทเปิดเผยผู้รับประโยชน์ที่แท้จริง หรือเจ้าของที่​ แท้จริง รวมถึงชื่อจริงนามสกุลจริง วันเกิด สัญชาติ แหล่งพํานัก จํานวนและประเภทหุน้ และสัดส่วนการ ถือหุ้นหรือสัดส่วนอํานาจควบคุมบริษัท 8. บริ ษั ท ประกาศว่ า จะไม่ นํ า เสนอ สั ญ ญา เรี ย กร้ อ ง สินบนและข้อได้เปรียบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่เป็นธรรมทัง้ ทางตรง และทางอ้อม เพื่อให้ได้มาซึ่งธุรกิจและข้อได้เปรียบ อื่นๆ ที่ไม่เป็นธรรม 9. บริษัทมีระบบการบริหารจัดการซึ่งลงมือทันทีที่เกิด 7.

— 145 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ข้ อสงสั ยว่ าพนัก งานหรือ คู่ค้ากระทําความผิดฐาน ทุจริตคอร์รัปชัน 10. บริษัทรายงานการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ของการกํ า หนดปทั ส ถานระหว่ า งประเทศและ กระบวนการออกกฎหมาย (พฤติกรรมการล็อบบี)้ 11. บริ ษั ท บู ร ณาการหลั ก เกณฑ์ ด้ า นคอร์ รั ป ชั น ไว้ ใ น นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของ บริษัท 12. บริษท ั กําหนดหลักเกณฑ์เกีย่ วกับการทุจริตคอร์รปั ชัน เป็นเงือ่ นไขในสัญญาทีล่ งนามกับผูร้ บั เหมาช่วงและคูค่ า้

— 146 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ความเท่​่าเที​ียมทางเพศ

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินมีนโยบายที่คํานึงถึงความหลากหลาย ทางเพศอย่างชัดเจน โดยไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติ ทางเพศทุ ก รู ป แบบ (zero-tolerance policy) ใน กระบวนการจ้างงานและในการปฏิบัติงาน 2. สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับความรุนแรงทาง เพศทุกรูปแบบ (zero zero--tolerance policy policy)) ในที่ ทํ า งาน ซึง่ รวมการคุ รวมการคุกคามทางวาจา ทางร่างกาย และทางเพศ 3. สถาบันการเงินมีระบบการจัดการความเท่าเทียมของ ค่าตอบแทน (pay equity) เชิงรุก 4. สถาบั น การเงิ น มี ร ะบบการป้ อ งกั น และบรรเทาการ เลือกปฏิบัติทางเพศต่อลูกค้า 5. สถาบันการเงินรับประกันว่าผูห ้ ญิงและผูช้ ายจะสามารถ 1.

— 147 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

เข้าถึงตําแหน่ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ได้อย่างเท่าเทียมกัน อย่างน้อย 30% ของตําแหน่งเหล่านี้ 6. สถาบันการเงินรับประกันว่าผูห ้ ญิงและผูช้ ายจะสามารถ เข้าถึงตําแหน่ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และผูบ้ ริหารระดับสูง ได้อย่างเท่าเทียมกัน อย่างน้อย 40% ของตําแหน่งเหล่านี้ 7. สถาบั น การเงิ น มี โ ครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพในสาย อาชี พ สํ า หรั บ พนั ก งาน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ส ตรี เ ข้ า ถึ ง ตําแหน่งบริหารและกรรมการบริษัทอย่างเท่าเทียม องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน 8.

บริษทั มีความทุม่ เทเชิงนโยบายทีจ่ ะบรรเทาความเสีย่ ง ด้านสิทธิมนุษยชนที่คนประสบ อันเป็น ผลมาจาก เพศสภาพของตนเอง

— 148 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

บริษัทมีนโยบายที่คํานึงถึงความหลากหลายทางเพศ อย่างชัดเจน โดยไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติทางเพศ ทุกรูปแบบ (zero-tolerance policy) ในกระบวนการ จ้างงานและในการปฏิบัติงาน 10.. บริ ษั ท มี น โยบายไม่ ย อมรั บ ความรุ น แรงทางเพศทุ ก 10 รูปแบบ แบบ (zero zero--tolerance policy policy)) ในที่ทํางาน ซึ่งรวม การคุกคามทางวาจา ทางร่างกาย และทางเพศ 11. บริษท ั มีระบบการจัดการความเท่าเทียมของค่าตอบแทน (pay equity) เชิงรุก 12. บริษท ั มีระบบการป้องกันและบรรเทาการเลือกปฏิบตั ิ ทางเพศต่อลูกค้า 13. บริษัทรับประกันว่าผู้หญิงและผู้ชายจะสามารถเข้าถึง ตําแหน่ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และ ผู้บริหารระดับสูง ได้อย่างเท่าเทียมกัน อย่างน้อย 30% ของตําแหน่งเหล่านี้ 14. บริษัทรับประกันว่าผู้หญิงและผู้ชายจะสามารถเข้าถึง ตําแหน่ง คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร และ 9.

— 149 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ผูบ้ ริหารระดับสูงได้อย่างเท่าเทียมกัน อย่างน้อย 40% ของตําแหน่งเหล่านี้ 15. บริษัทมีโครงการพัฒนาศักยภาพในสายอาชีพสําหรับ พนักงาน เพื่อส่งเสริมให้สตรีเข้าถึงตําแหน่งบริหาร และกรรมการบริษัทอย่างเท่าเทียม 16. บริษัทบูรณาการหลักเกณฑ์ด้านความเท่าเทียมทาง เพศและสิทธิสตรีไว้ในนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและ นโยบายปฏิบัติการของบริษัท 17. บริษัทกําหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับความเท่าเทียมทาง เพศและสิทธิสตรีเป็นเงื่อนไขในสัญญาที่ลงนามกับ ผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า

— 150 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สุ​ุขภาพ

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน 1.

บริษทั ป้องกันไม่ให้สขุ ภาพของลูกจ้าง ลูกค้า และชุมชน ใกล้เคียงถูกลิดรอนโดยผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ ผลิตของบริษทั (ตามหลักความรอบคอบ—precautionary principle)

2.

บริษทั เคารพในสิทธิแรงงานว่าด้วยสุขอนามัยและความ ปลอดภัยในที่ทํางาน ตามอนุสัญญา ILO และ MNE Declaration

บริษทั พยายามอย่างต่อเนือ่ งทีจ่ ะยกระดับสุขภาพและ ความปลอดภัยของลูกจ้างอย่างเป็นระบบ และพัฒนา วัฒนธรรมป้องกันไว้ก่อนในองค์กร 4. บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการ ผลิ ต และใช้ ส ารพิ ษ และสารอั น ตรายตามที่ ร ะบุ ใ น 3.

— 151 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

สารที่ทําให้ชั้นโอโซนเป็นรู) 5. บริษัทเคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการ ผลิ ต และใช้ ส ารพิ ษ และสารอั น ตรายตามที่ ร ะบุ ใ น Stockholm Convention (ว่าด้วย Persistent Organic Montreal Protocol (

Pollutants: POPs) 6.

บริ ษั ท เคารพในข้ อ ตกลงระหว่ า งประเทศว่ า ด้ ว ย การค้าสารเคมีและของเสียเคมี ตามข้อตกลง Basel Convention

7.

บริษทั เคารพในข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการค้า สารเคมีและของเสียเคมี ตามข้อตกลง Rotterdam Convention

8.

บริ ษั ท ลดการปล่ อ ยสารอั น ตรายออกสู่ ผิ ว ดิ น นํ้ า และอากาศ ด้วยการใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุดที่มี (best available technologies: BAT)

9.

บริ ษั ทจํ า กั ด การใช้ ส ารเคมี ที่ มี ข้ อ สงสั ย ในงานวิ จั ย วิทยาศาสตร์วา่ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และถ้าใช้ ก็ใช้อย่างระมัดระวังที่สุด (ตามหลักความรอบคอบ)

— 152 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

บริษัทยาสร้างความมั่นใจว่าผู้ป่วยที่มีโรคที่สามารถ หลีกเลี่ยงได้และรักษาให้หายได้ จะได้เข้าถึงยา 11. บริษท ั ใช้ยาปฏิชวี นะอย่างระมัดระวังในมนุษย์ เพือ่ ลด อาการดื้อยาปฏิชีวนะให้เหลือน้อยที่สุด 12. บริ ษั ท ผู้ ผ ลิ ต นมผงทํ า ตามหลั ก เกณฑ์ ข ององค์ ก าร อนามัยโลก (WHO) ว่าด้วยการโฆษณานมผง 13. บริษัทผู้ผลิตบุหรี่ทําตาม WHO Framework Convention on Tobacco Control และประกาศอื่นๆ ว่าด้วย การพิทักษ์สุขภาพของคนรุ่นปัจจุบันและคนรุ่นหลัง จากผลกระทบด้านสุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม และ เศรษฐกิจที่แอบแฝงจากควันบุหรี่ 14. บริษัทไม่ยอมรับการผลิตบุหรี่และผลิตภัณฑ์ที่ทําจาก ยาสูบ 15. บริษัทบูรณาการเกณฑ์ด้านสุขภาพในนโยบายจัดซื้อ จัดจ้างและการปฏิบัติการ 16. บริษท ั รวมเงือ่ นไขทําตามหลักเกณฑ์ดา้ นสุขภาพไว้ใน สัญญาที่ทํากับผู้รับเหมาและคู่ค้า 10.

— 153 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

สิ​ิทธิ​ิมนุ​ุษยชน

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน 1.

สถาบันการเงินเคารพในสิทธิมนุษยชนตามหลักการ ชี้ แ นะว่ า ด้ ว ยธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนขององค์ ก าร สหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights)

2.

สถาบันการเงินมีนโยบายไม่ยอมรับการเลือกปฏิบตั ทิ กุ รูปแบบ (zero zero--tolerance policy policy)) ในกระบวนการจ้าง งานและในการปฏิบัติงาน ทั้งบนฐานของเพศสภาวะ เชื้อชาติ ชาติพันธุ์ รสนิยมทางเพศ และสมรรถภาพ ทางกาย

— 154 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน 3.

บริ ษั ท เคารพในสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนทุ ก ข้ อ ตามหลั ก การ ชี้ แ นะว่ า ด้ ว ยธุ ร กิ จ กั บ สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนขององค์ ก าร สหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights)

บริ ษั ท มี ค วามทุ่ ม เทเชิ ง นโยบายที่ จ ะแสดงความ รับผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชน 5. บริ ษั ท มี ก ระบวนการตรวจสอบด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน อย่างรอบด้าน (human rights due diligence) เพื่อ ระบุ ป้องกัน บรรเทา และรายงานวิธที บี่ ริษทั จัดการ กับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน 6. บริษัทมีกระบวนการที่นําไปสู่การเยียวยาผลกระทบ ด้านสิทธิมนุษยชนเชิงลบใดๆ ก็ตาม ทีบ่ ริษทั เป็นผูก้ อ่ หรือมีส่วนในการก่อ 7. บริษท ั จัดตัง้ หรือมีสว่ นร่วมในกลไกรับเรือ่ งร้องเรียนระดับ 4.

— 155 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ปฏิบตั กิ ารจากปัจเจกและชุมชนทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบ 8. บริษท ั เคารพในสิทธิของชนพืน้ เมืองในการดําเนินงาน ของบริษัท 9. บริษท ั ป้องกันความขัดแย้งเรือ่ งสิทธิในทีด่ นิ ทํากินและ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยการใช้กระบวนการปรึกษา หารืออย่างมีความหมายกับชุมชนท้องถิ่น และได้รับ ความยินยอมโดยสมัครใจและได้รับข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) ในประเด็น ที่เกี่ยวกับชนพื้นเมือง 10. บริ ษั ท ป้ อ งกั น ความขั ด แย้ ง เรื่ อ งสิ ท ธิ ใ นที่ ดิ น ทํ า กิ น และใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยได้รบั ความยินยอมโดย สมัครใจที่เป็นอิสระและได้รับข้อมูลล่วงหน้า (free, prior, and informed consent: FPIC) จากผู้ใช้ที่ดินที่ เกี่ยวข้องก่อนเท่านั้น 11. บริษท ั ให้ความสําคัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิเด็ก 12.. บริษท 12 ั ให้ความสําคัญเป็นพิเศษกับการเคารพสิทธิของ ผู้พิการ

— 156 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

บริษัทไม่ยอมรับให้มีการตั้งถิ่นฐานใดๆ รวมถึงการ ตั้งถิ่นฐานกิจกรรมทางเศรษฐกิจของตนเองในเขตที่ ถูกบุกรุก (occupied territories) เพือ่ เคารพในกฎหมาย มนุษยธรรมระหว่างประเทศ 14. บริษัทบูรณาการหลักเกณฑ์ด้านสิทธิมนุษยชนไว้ใน นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของ บริษัท 15. บริ ษั ท กํ า หนดหลั ก เกณฑ์ ด้ า นสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ น เงื่อนไขในสัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 13.

— 157 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

สิ​ิทธิ​ิแรงงาน

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน 1.

สถาบันการเงินเคารพคําประกาศของ ILO ว่าด้วยหลัก­ การและสิทธิขั้นพื้นฐานในที่ทํางาน (ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work)

สถาบันการเงินอย่างน้อยมีการบูรณาการมาตรฐาน แรงงานตามคําประกาศของ ILO ว่าด้วยหลักการและสิทธิ ขั้นพื้นฐานในที่ทํางาน (ILO Declaration on Fundamental Principles and Rights at Work) ไว้ในนโยบาย การจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการขององค์กร 3. สถาบันการเงินมีขั้นตอนชัดเจนในการจัดการกับข้อ ร้องเรียนของพนักงานและแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิ แรงงาน โดยควรให้ความสําคัญกับการปรึกษาหารือ กับสหภาพแรงงาน 2.

— 158 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษทั รับรองสิทธิในการรวมกลุม่ และตระหนักอย่างมี ประสิทธิผลในสิทธิในการรวมกลุ่มต่อรอง 5. บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานบังคับทุกรูปแบบ 6. บริษัทไม่ยอมรับการใช้แรงงานเด็ก 7. บริษัทไม่ยอมรับการเลือกปฏิบัติในการจ้างงานและ ในที่ทํางาน 8. บริ ษั ท ประกาศว่ า จะจ้ า งงานอย่ า งเป็ น ธรรม (fair 4.

recruitment practices)

บริษัทจ่ายค่าแรงที่เลี้ยงชีพและครอบครัวได้ (living wage) แก่พนักงาน 10. บริษท ั กําหนดเพดานเวลาทํางาน (สูงสุด 48 ชัว่ โมงต่อ สัปดาห์ และทํางานล่วงเวลาสูงสุด 12 ชัว่ โมงต่อสัปดาห์) 11. บริษท ั มีนโยบายสุขภาพและความปลอดภัยทีร่ อบด้าน ครบถ้วน 9.

— 159 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

บริษทั รับประกันได้วา่ แรงงานข้ามชาติจะได้รบั การปฏิบตั ิ อย่างเท่าเทียม และมีสภาพการทํางานทีเ่ ท่าเทียมกับ ลูกจ้างคนอื่นๆ 13. บริษัทมีระบบการบริหารจัดการที่สามารถติดตามได้ อย่างชัดเจน และแก้ไขการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานแรงงาน ตามกฎหมายแรงงานเมื่อจําเป็น 14. บริษัทจัดตั้งกระบวนการรับและจัดการกับเรื่องร้อง เรียนจากพนักงาน และเพื่อแก้ไขข้อพิพาทและการ ละเมิดต่างๆ โดยควรปรึกษาหารือกับสหภาพแรงงาน ที่เกี่ยวข้อง 15. บริ ษั ท บู ร ณาการหลั ก เกณฑ์ ด้ า นสิ ท ธิ แ รงงานไว้ ใ น นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัท 16. บริษท ั กําหนดหลักเกณฑ์ดา้ นสิทธิแรงงานเป็นเงือ่ นไข ในสัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 12.

— 160 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ธรรมชาติ​ิ

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษทั ป้องกันผลกระทบทางลบต่อพืน้ ทีท่ มี่ คี ณ ุ ค่าด้าน การอนุรกั ษ์สงู (High Conservation Value—HCV—areas) ภายในเขตปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท และพื้ น ที่ ที่ บ ริ ษั ท บริหารจัดการ 2. บริ ษั ท ป้ อ งกั น ผลกระทบทางลบต่ อ พื้ น ที่ ร ะดั บ I-IV ตามการจัดหมวดขององค์กรระหว่างประเทศเพือ่ การ อนุรกั ษ์ธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature: IUCN) ภายในเขตปฏิ บั ติ ก ารของ บริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ 3. บริ ษั ท ป้ อ งกั น ผลกระทบทางลบต่ อ พื้ น ที่ ม รดกโลก ยูเนสโก (UNESCO World Heritage) ภายในเขตปฏิบตั ­ิ การของบริษัทและพื้นที่ที่บริษัทบริหารจัดการ 1.

— 161 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

บริษัทป้องกัน ผลกระทบทางลบต่อพื้นที่อนุรักษ์ตาม อนุสัญญาแรมซาร์ว่าด้วยพื้นที่ชุ่มนํ้าที่มีความสําคัญ ระหว่างประเทศ (Ramsar Convention on Wetlands) ภายในเขตปฏิ บั ติ ก ารของบริ ษั ท และพื้ น ที่ ที่ บ ริ ษั ท บริหารจัดการ 5. บริษท ั ป้องกันผลกระทบทางลบต่อประชากรสัตว์ทอี่ ยู่ ในบัญชีแดงสัตว์ใกล้สญ ู พันธุข์ องไอยูซเี อ็น (IUCN Red 4.

List of Threatened Species)

การค้าพืชและสัตว์ใกล้สูญพันธุ์เป็นไปตามเงื่อนไขใน อนุสัญญาไซเตส (CITES) 7. บริษัทไม่ยอมรับการค้าพืชและสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ที่อยู่ ในรายการแนบท้ายอนุสัญญาไซเตส (CITES) 8. การดําเนินงานในสาขาวัสดุพันธุกรรมและวิศวพันธุ­ กรรม (genetic materials & genetic engineering) จะ เกิดได้ก็ต่อเมื่อการดําเนินการนั้น ผ่านเงื่อนไขการ อนุญาตและประมวลผลตามอนุสัญญาว่าด้วยความ หลากหลายทางชีวภาพขององค์การสหประชาชาติ 6.

— 162 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

และแนว ปฏิบตั บิ อนน์ (Bonn Guidelines) หรือพิธสี ารนาโกยา (Nagoya Protocol) เท่านั้น 9. การผลิตหรือการซื้อขายสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม สามารถทํ า ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ ได้ รั บ อนุ ญ าตจากประเทศ ผู้นําเข้าสินค้าและปฏิบัติตามข้อกําหนดของพิธีสาร คาร์ตาเฮนา 10. บริษท ั ป้องกันการนําชนิดพันธุต์ า่ งถิน่ รุกราน (invasive alien species) (พืชหรือสัตว์) เข้าสู่ระบบนิเวศ 11. บริษท ั จัดทํารายงานประเมินผลกระทบจากภาวะขาด แคลนนํ้า (water scarcity impact assessment) ใน พื้นที่ที่ขาดแคลนนํ้า 12. บริษท ั มีมาตรการบรรเทาผลกระทบทีค่ รอบคลุม เพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการนํ้าของชุมชนและระบบ นิเวศ ในพืน้ ทีท่ รี่ ายงานผลกระทบสิง่ แวดล้อมระบุวา่ โครงการหรือปฏิบัติการของบริษัทอาจมีผลกระทบ อย่างมีนัยสําคัญต่อแหล่งนํ้า (UN Convention on Biological Diversity)

— 163 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

บริษทั จัดทําการประเมินผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมว่า ด้วยผลกระทบโดยรวมของโครงการขนาดใหญ่ต่อ ความหลากหลายทางชีวภาพ อย่างน้อยตามแนวทาง ที่ระบุในมาตรฐาน GRI 304: Biodiversity 2016 หรือ มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 14. บริ ษั ท บู ร ณาการหลั ก เกณฑ์ ด้ า นธรรมชาติ ไ ว้ ใ น นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของ บริษัท 15. บริษท ั กําหนดหลักเกณฑ์ดา้ นธรรมชาติเป็นเงือ่ นไขใน สัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า 13.

— 164 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ภาษี​ี

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินรายงานรายได้ กําไร อัตรากําลังพนักงาน เงินอุดหนุนจากรัฐ และเงินภาษีทจ่ี า่ ยรัฐ สําหรับกิจการ ในแต่ละประเทศที่สถาบันเปิดให้บริการ ไม่ตํ่ากว่า 3 ใน 4 ของประเทศทั้งหมด และ/หรือไม่ตํ่ากว่า 3 ใน 4 ของรายได้ทั้งหมด และรายงานในทางที่สอดคล้อง กับงบการเงินรวม 2. สถาบันการเงินรายงานรายได้ กําไร อัตรากําลังพนักงาน เงินอุดหนุนจากรัฐ และเงินภาษีทจ่ี า่ ยรัฐ สําหรับกิจการ ในแต่ ล ะประเทศที่ ส ถาบั น เปิ ด ให้ บ ริ ก าร ครบทุ ก ประเทศทีเ่ ปิดให้บริการ และรายงานในทางทีส่ อดคล้อง กับงบการเงินรวม 3. สถาบั น การเงิ น เปิ ด เผยข้ อ มู ล สิ น ทรั พ ย์ ร วมในทุ ก 1.

— 165 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ประเทศทีเ่ ปิดให้บริการ และรายงานในทางทีส่ อดคล้อง กับงบการเงินรวม 4. สถาบั น การเงิ น ไม่ ใ ห้ คํ า ปรึ ก ษาแก่ ลู ก ค้ า ในการทํ า ธุรกรรมกับโครงสร้างระหว่างประเทศ ซึ่งมีเป้าหมาย ที่จะหนีภาษีหรือหลบเลี่ยงภาษี 5. สถาบันการเงินไม่มีส่วนร่วมใดๆ ในธุรกรรมกับโครง­ สร้างระหว่างประเทศ ซึง่ มีเป้าหมายทีจ่ ะหนีภาษีหรือ หลบเลี่ยงภาษี 6. สถาบันการเงินเผยแพร่ขอ ้ มูลสําคัญเกีย่ วกับคําตัดสิน ทางภาษีทเี่ ฉพาะเจาะจงระดับบริษทั ซึง่ องค์กรได้รบั มาจากหน่วยงานกํากับดูแลด้านภาษี 7. สถาบันการเงินไม่มีบริษัทในเครือ สาขา หรือบริษัท ร่วมลงทุนใดๆ ในเขตอํานาจศาล (jurisdiction) ทีไ่ ม่มี ภาษีเงินได้ หรือเก็บภาษีเงินได้ในอัตราศูนย์เปอร์เซ็นต์ หรือในเขตอํานาจศาลทีม่ พี ฤติกรรมการเก็บภาษีธรุ กิจ ทีเ่ ป็นอันตรายต่อสังคม ยกเว้นว่าสถาบันการเงินจะมี กิจกรรมทางธุรกิจจริงๆ และได้กาํ ไรจากกิจกรรมทาง

— 166 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เศรษฐกิจในท้องถิ่นนั้นจริงๆ 8. สถาบันการเงินไม่ให้บริการทางการเงินแก่บริษัทที่ตั้ง อยู่ในเขตปลอดภาษี (tax haven) ยกเว้นว่าบริษัท นั้นๆ จะมีกิจกรรมทางธุรกิจจริงๆ และได้กําไรจาก กิจกรรมทางเศรษฐกิจในท้องถิ่นนั้นจริงๆ องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน บริษัทเผยแพร่โครงสร้างกลุ่มบริษัททั้งหมด รวมถึง องค์กรที่บริษัทมีอํานาจควบคุมทางอ้อมและร่วมกับ องค์กรอื่น 10. บริษท ั เผยแพร่คาํ อธิบายกิจกรรม ขอบเขตการปฏิบตั ­ิ การ และเจ้าของทีแ่ ท้จริง (ultimate shareholder) ของ กิจการในเครือ สาขา กิจการร่วมทุน หรือกิจการร่วมค้า ที่ตั้งอยู่ในเขตอํานาจศาล (jurisdiction) ที่ไม่มีภาษี เงินได้ หรือเก็บภาษีเงินได้ในอัตราศูนย์เปอร์เซ็นต์ 9.

— 167 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

หรือในเขตอํานาจศาลทีม่ พี ฤติกรรมการเก็บภาษีธรุ กิจ ที่เป็นอันตรายต่อสังคม 11. บริษท ั รายงานรายได้ กําไร อัตรากําลังพนักงาน เงิน อุดหนุนจากรัฐ และเงินที่จ่ายรัฐ (เช่น ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินค่าสัมปทาน และภาษีเงินได้ธุรกิจ) จาก แต่ละประเทศที่บริษัทมีกิจการ ครบทุกประเทศที่ บริษัทมีกิจการ 12. บริษท ั จัดโครงสร้างกิจการระหว่างประเทศและธุรกรรม ระหว่างประเทศในทางที่สะท้อนสาระทางเศรษฐกิจ ของกิจกรรมและธุรกรรมของบริษทั โดยไม่ผา่ นขัน้ ตอน​ ที่ทําไปเพื่อแสวงความได้เปรียบทางภาษีเป็นหลัก 13. บริษท ั เผยแพร่ขอ้ มูลสําคัญเกีย่ วกับคําตัดสินทางภาษี ที่เฉพาะเจาะจงระดับบริษัท ซึ่งบริษัทได้รับมาจาก หน่วยงานกํากับดูแลด้านภาษี 14. บริษท ั เผยแพร่คาํ ตัดสินหรือคําระงับข้อพิพาทเกีย่ วกับ ภาษี ซึ่งบริษัทหรือบริษัทในเครือเป็นฝ่ายเกี่ยวข้อง เท่าที่จะทําได้ตามกฎหมายและเป็นไปได้ (practical)

— 168 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ไม่ว่าจะในชั้นศาลหรือชั้นอนุญาโต­ตุลาการก็ตาม 15. บริษัทมีระบบการบริหารจัดการซึ่งส่งผลทางปฏิบัติ ทันทีที่เกิดข้อสงสัยว่าพนักงานหรือคู่ค้าอาจช่วยหลบ เลี่ยงภาษี 16. บริษท ั บูรณาการหลักเกณฑ์ดา้ นภาษีไว้ในนโยบายการ จัดซื้อจัดจ้างและนโยบายปฏิบัติการของบริษัท 17. บริ ษั ท กํ า หนดหลั ก เกณฑ์ ด้ า นภาษี เ ป็ น เงื่ อ นไขใน สัญญาที่ลงนามกับผู้รับเหมาช่วงและคู่ค้า

— 169 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

อาวุ​ุธ

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายเกีย่ วกับบริษทั ที่สถาบันการเงินลงทุนหรือให้การสนับสนุนทางการเงิน สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า ทุ่นระเบิดสังหารบุคคล (anti-personal land mines) รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของทุน่ ระเบิดสังหารบุคคล 2. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า ระเบิดลูกปราย (cluster munition) รวมถึงส่วนประกอบ สําคัญของระเบิดลูกปราย 3. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า อาวุธนิวเคลียร์ รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของอาวุธ นิวเคลียร์ ในประเทศหรือไปยังประเทศทีไ่ ม่ให้สตั ยาบัน 1.

— 170 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ในสนธิ สั ญ ญาไม่ แ พร่ ข ยายอาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ (Non-​ Proliferation Treaty)

สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า อาวุธนิวเคลียร์ รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของอาวุธ นิวเคลียร์ 5. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า อาวุธเคมี รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของอาวุธเคมี 6. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า อาวุธชีวภาพ รวมถึงส่วนประกอบสําคัญของอาวุธชีวภาพ 7. สถาบันการเงินไม่ยอมรับการใช้ การผลิต การพัฒนา การบํารุงรักษา การทดสอบ การกักตุน และการค้า ระบบอาวุ ธ อั ต โนมั ติ รุ น แรง (lethal autonomous weapons systems: LAWS) รวมถึ ง ส่ ว นประกอบที่ ออกแบบมาสําหรับ LAWS 4.

— 171 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

สําหรับสินค้าที่สําคัญสําหรับเป้าหมายทางการทหาร แต่ยงั สามารถใช้เป็นผลิตภัณฑ์พลเรือน (สินค้า “dual-​ use”) สถาบันการเงินจัดประเภทสินค้าชนิดนีเ้ ป็นสินค้า ทางทหาร เมื่ อ มี เ ป้ า หมายที่ ไ ม่ ใ ช่ เ ป้ า หมายทาง พลเรือน 9. สถาบัน การเงิ นไม่ ยอมรั บการส่ ง อาวุ ธ และระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทาง ทหารอื่นๆ ไปยังประเทศที่ถูกห้ามส่งสินค้าเข้าโดย องค์การสหประชาชาติ หรือองค์กรระหว่างประเทศอืน่ 10. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการส่ ง อาวุ ธ และระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทาง ทหารอืน่ ๆ ถ้าหากมีความเสีย่ งสูงว่าอาวุธเหล่านัน้ จะ ถูกใช้ในการละเมิดสิทธิมนุษยชนและกฎหมายด้าน มนุษยธรรมอย่างรุนแรง 11. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการส่ ง อาวุ ธ และระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทางทหาร อืน่ ๆ ไปยังประเทศทีล่ ะเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรง 8.

— 172 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สถาบันการเงินไม่ยอมรับการส่งอาวุธและระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทางทหาร อืน่ ๆ ไปยังคูข่ ดั แย้งทีม่ สี ว่ นร่วมในความรุนแรง ยกเว้น ว่าเป็น ฝ่ายที่กําลังทําตามมติของคณะมนตรีความ มั่นคงแห่งสหประชาชาติ (UN Security Council) 13. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการส่ ง อาวุ ธ และระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทางทหาร อื่นๆ ไปยังประเทศที่อ่อนไหวต่อการทุจริตคอร์รัปชัน 14. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการส่ ง อาวุ ธ และระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทางทหาร อื่นๆ ไปยังประเทศที่รัฐล้มเหลวหรือเปราะบาง 15. สถาบันการเงิ นไม่ ยอมรั บการส่ ง อาวุ ธ และระบบส่ง อาวุธ ระบบลําเลียงทางการทหาร และสินค้าทางทหาร อืน่ ๆ ไปยังประเทศทีใ่ ช้เงินงบประมาณมากเกินสัดส่วน ที่สมควรไปกับการซื้ออาวุธ 12.

— 173 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การคุ้​้�มครองผู้​้�บริ​ิโภค

องค์ประกอบต่อไปนี้สําคัญสําหรับนโยบายของสถาบัน การเงินที่สัมพันธ์กับลูกค้ารายย่อย สถาบันการเงินมีนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้ารายย่อย และความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์และบริการ 2. สถาบั น การเงิ น มี น โยบายอบรมจรรยาบรรณของ พนักงานและกํากับให้พนักงานให้บริการต่อลูกค้าโดย ไม่เลือกปฏิบัติ 3. สถาบันการเงินสร้างหลักประกันว่าลูกค้ารายย่อยเข้า ถึงกลไกรับเรื่องร้องเรียนและเยียวยาที่มีกระบวนการ ค้นหาความจริง (due diligence) 4. สถาบั น การเงิ น เปิ ด เผยผลการติ ด ตามสถิ ติ ก ารร้ อ ง เรียนของลูกค้ารายย่อย อาทิ จํานวนเรื่องร้องเรียน ประเด็นร้องเรียนหลัก องค์กรทีล่ กู ค้าติดต่อร้องเรียน ทั้งทางตรงและทางอ้อม แบ่งตามช่องทางที่รับเรื่อง 1.

— 174 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ร้องเรียน (เช่น ทางโทรศัพท์ เว็บไซต์ สาขา ฯลฯ) 5. สถาบันการเงินประกาศต่อสาธารณะว่าจะลดจํานวน เรื่องร้องเรียน กําหนดเป้าหมายที่ชัดเจน และเปิดให้ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายเข้าถึงข้อมูลนี้ได้ 6. สถาบั น การเงิ น มี ก ลไกจั ด การข้ อ พิ พ าททางเลื อ ก [Alternative Dispute Resolution (ADR) Mechanisms]

กระบวนการเยียวยาอิสระสําหรับการจัดการกับข้อ ร้องเรียนทีไ่ ม่อาจคลีค่ ลายได้ดว้ ยกระบวนการภายใน ของสถาบันการเงิน หรือตัวแทนที่ได้รับมอบหมาย จากสถาบันการเงิน 7. สถาบัน การเงิ นมี นโยบายปรั บโครงสร้ างหนี้สําหรับ ผู้บริโภคที่ประสบปัญหาเป็นหนี้เกินตัว 8. สถาบั น การเงิ น มี น โยบายหรื อ แนวปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจน ในการคุ้มครองผู้บริโภคไม่ให้เป็นหนี้เกินตัว 9. สถาบั น การเงิ น พั ฒนาและลงมื อ ใช้ บั ญ ชี ค วามเสี่ ย ง สําหรับลูกค้า (risk profile) ในการเสนอขายผลิตภัณฑ์ ด้านการลงทุน

— 175 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

สถาบันการเงินคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของลูกค้า รายย่ อ ย (ไม่ เ ปิ ด เผยต่ อ บุ ค คลอื่ น เว้ น แต่ จ ะได้ รั บ อนุญาตจากลูกค้า) 11. ข้ อ มู ล ทางการเงิ น และข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลของลู ก ค้ า ได้รับการคุ้มครองอย่างเหมาะสม ด้วยกลไกควบคุม และคุ้มครอง มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนและเผยแพร่ต่อ สาธารณะว่าสถาบันการเงินจะจัดเก็บ ประมวลผล บันทึก ใช้ และเปิดเผยข้อมูลเหล่านี้อย่างไรบ้าง 12. สถาบันการเงินตีพิมพ์เผยแพร่นโยบายหรือขั้นตอน การติ ด ตามหนี้ และบริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บมอบหมายจาก สถาบันการเงิน (บุคคลที่สาม) ให้เป็นตัวแทนในการ ทวงหนี้ 13. สถาบันการเงินมีนโยบายและขั้นตอนที่จะหลีกเลี่ยง การพ่วงขายผลิตภัณฑ์ หรือพฤติกรรมการขายที่ไม่ เหมาะสม 14. สถาบันการเงินประกาศว่าจะแจ้งลูกค้าอย่างทันท่วงที เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าธรรมเนียม

10.

— 176 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สถาบันการเงินออกแบบโครงสร้างค่าตอบแทนสําหรับ พนักงานและตัวแทน ในทางทีส่ ง่ เสริมพฤติกรรมการ ทําธุรกิจอย่างรับผิดชอบ การปฏิบัติต่อลูกค้าอย่าง เป็นธรรม และการหลีกเลี่ยงผลประโยชน์ทับซ้อน 16. สถาบันการเงินมีโครงการอบรมพนักงานและตัวแทน อย่างเหมาะสม ในประเด็นสิทธิผู้บริโภค นโยบาย คุ้มครองผู้บริโภค และธรรมเนียมปฏิบัติด้านนี้ 17. สถาบันการเงินมีโครงการอบรมพนักงานและตัวแทน อย่างเหมาะสม ในประเด็นผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ที่นําเสนอต่อผู้บริโภค 18. สถาบันการเงินรับประกันได้ว่าไม่มีข้อจํากัดใดๆ ด้าน เทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ (ICT) ที่จะกีดกัน ไม่ให้ลูกค้ารายย่อยเข้าถึงบริการทางการเงิน 19. สถาบันการเงินมีนโยบายที่จะเปิดให้ลูกค้ารายย่อยที่ เป็น ผู้พิการหรือมีความต้องการพิเศษสามารถเข้าถึง สาขาทางกายภาพและบริการอิเล็กทรอนิกส์ อย่าง เช่นแพล็ตฟอร์มออนไลน์ได้ 15.

— 177 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

การขยายบริ​ิการทางการเงิ​ิน

องค์ประกอบต่อไปนี้สําคัญสําหรับนโยบายของสถาบัน การเงินที่สัมพันธ์กับลูกค้ารายย่อย สถาบันการเงินมีนโยบาย บริการ และผลิตภัณฑ์ทพี่ งุ่ เป้าไปยังกลุม่ คนจนและคนชายขอบอย่างเฉพาะเจาะจง 2. สถาบันการเงินมีสาขาในเขตชนบท ไม่ใช่เฉพาะในเมือง 3. สถาบันการเงินมีบริการธนาคารทางโทรศัพท์มือถือ (mobile banking) และบริ ก ารเงิ น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ 1.

(e-money)

สถาบันการเงินมีสัดส่วนสินเชื่อที่ปล่อยให้กับธุรกิจ ขนาดจิ๋วจนถึงขนาดกลาง (Micro to SME: MSME) มากกว่า 10% ของสินเชื่อทั้งหมด 5. สถาบันการเงินไม่กา ํ หนดว่า MSME ต้องมีหลักประกัน ในการกู้ 6. สถาบันการเงินมีนโยบายเปิดเผยสิทธิของลูกค้า และ 4.

— 178 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ความเสีย่ งของผลิตภัณฑ์หรือบริการ (รวมถึงความเสีย่ ง ทีจ่ ะเป็นหนีเ้ กินตัว) สําหรับลูกค้าทีไ่ ม่รหู้ นังสือและ MSME 7. สถาบันการเงินเผยแพร่เงือ ่ นไขของบริการทางการเงิน ในภาษาท้องถิ่น 8. สถาบั น การเงิ น มี น โยบายปรั บ ปรุ ง ความรู้ เ รื่ อ งทาง​ การเงิน (financial literacy) ของลูกค้ากลุ่มผู้มีรายได้ น้อย กลุ่มชายขอบ และ MSME 9. สถาบั น การเงิ น ไม่ คิ ด ค่ า ธรรมเนี ย มในการเปิ ด บั ญ ชี เงินฝากพื้นฐาน หรือคิดค่าธรรมเนียมเพียงเล็กน้อย อย่างสมเหตุสมผล 10. สถาบันการเงินไม่กําหนดเงินคงเหลือในบัญชีขั้นตํ่า (minimum balance) สําหรับบัญชีเงินฝากพื้นฐาน 11. สถาบั น การเงิ น มี ม าตรฐานระยะเวลาการพิ จ ารณา สินเชื่อ และเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณะ 12. สถาบันการเงินมีบริการรับหรือโอนเงินในประเทศที่ เหมาะสม สะดวก และลูกค้ารายย่อยมีกําลังซื้อ 13. สถาบั น การเงิ น ปล่ อ ยสิ น เชื่ อ ที่ อ ยู่ อ าศั ย ให้ กั บ ผู้ มี รายได้น้อย — 179 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

นโยบายค่​่าตอบแทน

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน สถาบั น การเงิ น สงวนสิ ท ธิ ที่ จ ะเรี ย กเงิ น โบนั ส คื น ถ้าหากปรากฏภายหลังจากที่ได้เงินไปแล้วว่าได้รับ โบนัสโดยมิชอบ (กลไก clawback) 2. สถาบันการเงินกําหนดเพดานการจ่ายโบนัสไว้ไม่เกิน 100% ของเงินเดือนตลอดปี 3. สถาบันการเงินกําหนดเพดานการจ่ายโบนัสไว้ไม่เกิน 20% ของเงินเดือนตลอดปี 4. สถาบั น การเงิ น กํ า หนดเพดานการจ่ า ยเงิ น เดื อ นไว้ ไม่เกินยี่สิบเท่าของเงินเดือนที่ตํ่าที่สุดในองค์กร หรือ ขั้นสูงสุดของช่วงเงินเดือนที่ตํ่าที่สุดภายในสถาบัน 5. เงินโบนัสอย่างน้อย 60% ขึน ้ อยูก่ บั เป้าหมายระยะยาว (ซึง ่ ไม่เหมือนกับข้อตกลงทีจ่ ะเลือ่ นจ่ายโบนัสออกไป) 1.

— 180 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

เงินโบนัสอย่างน้อย 1 ใน 3 อิงกับหลักเกณฑ์ที่ไม่ใช่ เกณฑ์ทางการเงิน 7. เงินโบนัสอย่างน้อย 2 ใน 3 อิงกับหลักเกณฑ์ที่ไม่ใช่ เกณฑ์ทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความยั่งยืน 8. เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและ สิง่ แวดล้อมของการจัดการและปฏิบตั กิ ารของสถาบัน การเงิน และเปิดเผยเป้าหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดสรร ค่าตอบแทนผันแปร (variable remuneration เช่น โบนัส) 9. เงินโบนัสอิงกับการปรับปรุงผลกระทบทางสังคมและ สิ่งแวดล้อมของการลงทุนและการให้บริการทางการ เงินของสถาบันการเงิน และเปิดเผยเป้าหมายที่เกี่ยว​ ข้องกับการจัดสรรค่าตอบแทนผันแปร (variable remuneration เช่น โบนัส) 10. สถาบันการเงินอธิบายอย่างชัดเจนถึงหลักการทีใ่ ช้กบ ั การจ่ายค่าตอบแทนพนักงานแต่ละกลุม่ [คณะกรรมการ คณะกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหารระดับสูง พนักงาน​ ที่นําเงินลูกค้าไปเสี่ยง (risk takers) เป็นต้น] 6.

— 181 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ความโปร่​่งใสและความรั​ับผิ​ิด

องค์ประกอบต่อไปนีส้ าํ คัญสําหรับนโยบายระดับปฏิบตั กิ าร ของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินอธิบายกรอบการให้เงินสนับสนุนและ การลงทุนขององค์กร ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นทางสังคม และสิง่ แวดล้อม และอธิบายว่าองค์กรจะมัน่ ใจได้อย่างไร ว่าการลงทุนเป็นไปตามเงือ่ นไขในนโยบายขององค์กร 2. กรอบการให้เงินสนับสนุนและการลงทุนของสถาบัน การเงินได้รับการตรวจสอบโดยองค์กรภายนอก และ เผยแพร่ผลการตรวจสอบต่อสาธารณะ 3. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ ชื่ อ ของรั ฐ บาลที่ ต นเข้ า ไป ลงทุน (เช่น ลงทุนในกองทุนบํานาญของประเทศ นั้นๆ เป็นต้น) 4. สถาบันการเงินเผยแพร่รายชื่อของบริษัทที่ตนเข้าไป ลงทุน 1.

— 182 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สถาบันการเงินเปิดเผยรายชื่อบริษัทที่ปล่อยสินเชื่อ ใหม่ในปีที่ผ่านมา บนเว็บไซต์ของสถาบันการเงิน 6. สถาบันการเงินเปิดเผยรายชื่อบริษัทที่ปล่อยสินเชื่อ ทัง้ หมด (เก่าและใหม่) บนเว็บไซต์ของสถาบันการเงิน 7. สถาบันการเงินเผยแพร่รายชือ ่ สินเชือ่ โครงการ (project finance) และสินเชือ ่ ธุรกิจทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับโครง­ การ รวมถึงข้อมูลที่กําหนดในมาตรฐานอีเควเตอร์ 5.

(Equator Principles III)

สถาบันการเงินเผยแพร่พอร์ตสินเชือ่ ตามภูมภิ าค ขนาด และอุตสาหกรรม (ตามมาตรฐาน GRI FSSD FS6) 9. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ พ อร์ ต สิ น เชื่ อ ในตารางไขว้ ผสมข้อมูลสินเชื่อรายอุตสาหกรรมกับข้อมูลสินเชื่อ รายภูมิภาค 10. สถาบันการเงินตีพม ิ พ์เผยแพร่พอร์ตสินเชือ่ โดยละเอียด เช่น ตามมาตรฐานการเผยแพร่ข้อมูลสองหลักแรก ของ NACE และ ISIC 11. สถาบั น การเงิ น ตี พิ ม พ์ เ ผยแพร่ พ อร์ ต สิ น เชื่ อ โดย 8.

— 183 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ละเอียด เช่น ตามมาตรฐานการเผยแพร่ขอ้ มูลสีห่ ลัก แรกของ NACE และ ISIC 12. สถาบันการเงินเผยแพร่จํานวนบริษัทที่องค์กรเคยมี ปฏิ สั ม พั น ธ์ ด้ ว ยในประเด็ น สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม (ตามมาตรฐาน GRI G4 FSSD FS10) 13. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ ชื่ อ บริ ษั ท ที่ อ งค์ ก รเคยมี ปฏิสัมพันธ์ด้วยในประเด็นสังคมและสิ่งแวดล้อม 14. สถาบันการเงินเผยแพร่ผลของการมีปฏิสัมพันธ์ตาม ข้อ 12. รวมถึงหัวข้อ เป้าหมาย และเส้นตาย 15. สถาบั น การเงิ น เผยแพร่ ชื่ อ ของบริ ษั ท ที่ ตั ด สิ น ใจ ไม่ลงทุนเนื่องจากประเด็นด้านความยั่งยืน รวมถึง เผยแพร่เหตุผลที่ไม่ลงทุน 16.. สถาบันการเงินเปิดเผยนโยบายการออกเสียง ซึ่งรวม 16 แนวปฏิบัติว่าจะออกเสียงอย่างไรในวาระการประชุม ผูถ้ อื หุน้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นสิง่ แวดล้อม สังคม และ ธรรมาภิบาล 17. สถาบันการเงินเผยแพร่สถิติการออกเสียง

— 184 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

18.

สถาบันการเงินเผยแพร่รายงานความยั่งยืนที่เนื้อหา บางข้ อ ทํ า ตามมาตรฐาน GRI (ระดั บ Core หรื อ Comprehensive)

สถาบันการเงินเผยแพร่รายงานความยั่งยืนที่ทําตาม มาตรฐาน GRI (ระดับ Core หรือ Comprehensive) ทั้งฉบับ 20. รายงานความยัง ่ ยืนของสถาบันการเงินได้รบั การตรวจ ทานจากบุคคลที่สาม 21. สถาบันการเงิ นรายงานการปรึ ก ษาหารื อ กั บองค์ก ร ภาคประชาสังคมและผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มอื่นๆ 22. สถาบันการเงินเปิดเผยการจําแนกสินทรัพย์ แบ่งเป็น สินทรัพย์ท่ีบริหารภายใน และสินทรัพย์ที่บริหารโดย บุคคลภายนอก 23.. สถาบันการเงินเปิดเผยรายชื่อของผู้บริหารสินทรัพย์ 23 ภายนอก 24.. สถาบันการเงิ นจั ด ตั้ ง กลไกเพื่ อ สร้ างหลั ก ประกันว่า 24 ผู้บริหารสิ ารสินทรัพย์ภายนอกจะมีส่วนร่วมกับบริษัทที่

19.

— 185 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

เข้ า ไปลงทุ น และออกเสี ย งในฐานะผู้ ถื อ หุ้ น ตาม นโยบายความยั่งยืนของสถาบันการเงิน 25. สถาบันการเงินมีกลไกรับเรือ ่ งร้องเรียนสําหรับปัจเจกบุคคลและชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบทางลบจาก กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการเงิน และกลไกนั้น รวมถึงกิจกรรมที่สถาบันการเงินให้การสนับสนุนทาง​ การเงินด้วย 26. สถาบันการเงินมีกลไกรับเรือ ่ งร้องเรียนทีเ่ ข้าถึงได้งา่ ย และอธิบายกระบวนการรับมือกับข้อร้องเรียนอย่าง ชัดเจน 27. สถาบันการเงินรายงานความคืบหน้าและผลลัพธ์ของ กลไกรับเรื่องร้องเรียน 28. สถาบันการเงินต้องเคารพและยินดีให้ความร่วมมือใน กระบวนการร้องทุกข์ที่เกิดขึ้นในรัฐ ทั้งที่มีและไม่มี การพิจารณาคดี เมื่อกรณีที่สถาบันการเงินมีส่วน เกี่ยวข้องด้วยต้องเข้าสู่กระบวนการร้องทุกข์ดังกล่าว

— 186 —


ภาคผนวก ข

แนะนํ​ําโครงการ Fair Finance Thailand

— 187 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

แนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมประเทศ​ ไทย เว็บไซต์ www.fairfinancethailand.org) ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2561 สมาชิกประกอบด้วยบริษทั วิจยั 1 บริษทั และ องค์กรภาคประชาสังคม 4 องค์กร ทีม่ คี วามสนใจร่วมกัน ในการติ ด ตามผลกระทบและความท้ า ทายของธุ ร กิ จ ธนาคาร และประสงค์จะร่วมกันผลักดันภาคธนาคารไทย ให้ก้าวสู่แนวคิดและวิถีปฏิบัติของ “การธนาคารที่ยั่งยืน” (sustainable banking) อย่างแท้จริง ผ่านการนํามาตรฐาน Fair Finance Guide International (แนวปฏิบต ั ขิ องแนวร่วม การเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ เว็บไซต์ www.fairfinance​ guide.org) มาใช้ใ นการประเมิ นนโยบายด้ านต่ างๆ ของ ธนาคารพาณิชย์ไทยที่เปิดเผยสู่สาธารณะ เริ่มจาก พ.ศ. 2562 เป็นปีแรก Fair Finance Thailand (

— 188 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สมาชิกแนวร่วม Fair Finance Thailand ได้แก่

1.

บริษัท ป่าสาละ จํากัด

2. International Rivers

3.

มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

— 189 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

4.

มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw)

5.

มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH)

— 190 —


ภาคผนวก ค

แนวปฏิ​ิบั​ัติ​ิการเงิ​ินที่​่�เป็​็นธรรมนานาชาติ​ิ (Fair Finance Guide International)

— 191 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

— 192 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

— 193 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ คือ ดัชนี และ เครื่องมือ สําหรับผู้บริโภค ในการเจรจาต่อรอง รณรงค์ ให้การสนับสนุน มีส่วนร่วมในภาครัฐและสถาบันการเงิน เพื่อสร้างความร่วมมือด้านการเงินที่เป็นธรรม ในปี พ.ศ. 2559 องค์กรภาคประชาสังคม 39 แห่ง ได้ ดํ า เนิ น งานตามแนวปฏิ บั ติ ก ารเงิ น ที่ เ ป็ น ธรรมใน 9 ประเทศ (ประเทศไทยเป็นประเทศที่ 10 โดยเข้าเป็น สมาชิกแนวร่วมใน พ.ศ. 2561) โดยสามารถเข้าถึงบุคคล ทั่วไปกว่า 4 ล้านคน ผ่านช่องทางทวิตเตอร์และเฟซบุ๊ก ในขณะที่เว็บไซต์แนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรม มีสถิติ ผู้เข้าเยี่ยมชมมากกว่า 400,000 คน ใน พ.ศ. 2560 เพียง ปี เ ดี ย ว มี ป ระชาชนส่ ง ข้ อ คิ ด เห็ น หรื อ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นต่ อ ธนาคารที่ตนใช้บริการมากกว่า 60,000 คน ในปี พ.ศ. 2562 นโยบายการดําเนินธุรกิจของสถาบัน การเงินกว่า 110 แห่งใน 11 ประเทศถูกประเมินด้วยหลัก­ เกณฑ์การประเมินกว่า 422 ข้อ (ซึ่งผ่านความเห็นชอบ ระหว่างประเทศ) และเครือข่ายแนวปฏิบัติการเงินที่เป็น­

— 194 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ธรรมได้จดั ทํากรณีศกึ ษา 45 ชิน้ ซึง่ เปรียบเทียบนโยบาย กับการปฏิบัติจริงของธนาคาร รวมถึงได้ออกรายงาน เปรียบเทียบการลงทุนในกลุ่มนํ้ามันเชื้อเพลิงและแหล่ง พลังงานทดแทนของธนาคาร 75 แห่งทั่วโลก ในรายงาน ชื่อ “Undermining our Future” โดยใช้ข้อมูลปี พ.ศ. 2558 ระหว่างปี พ.ศ. 2552–2560 สมาชิกในแนวร่วมแนว ปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรมได้จัดประชุมร่วมกับธนาคาร ต่างๆ มากกว่า 100 ครั้งนอกเหนือจากการติดต่อผ่าน ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือโทรศัพท์ ซึ่งการประชุม 25 ครัง ้ จัดขึน้ ในหลายประเทศโดยมีวฒ ุ สิ มาชิกหรือสมาชิก สภาผู้ แ ทนราษฎรจากพรรคการเมื อ งเข้ า ร่ ว มประชุ ม กิ จ กรรมทั้ ง หมดนี้ นํ า ไปสู่ ก ารตกลงที่ จ ะเปลี่ ย นแปลง นโยบายของธนาคาร 25 แห่งทั่วโลก ความเป็​็นมา

การนํ า มุ ม มองด้ า นสั ง คม สิ่ ง แวดล้ อ ม และหลั ก​ ธรรมาภิบาล (Environmental, Social, Governance นิยม

— 195 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

ย่อว่า ประเด็น ESG) มาบูรณาการกับนโยบายและการ​ ดําเนินงานของธนาคารรวมถึงธุรกิจที่ได้รับการสนับสนุน ทางการเงินจากธนาคาร นําไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของผู้ ค น และการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ทั่ ว โลก ยกตั ว อย่ างเช่ น การลดการมีส่ว นในการเปลี่ย นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ การละเมิดสิทธิมนุษยชน ข้อตกลงเรือ่ ง การค้าอาวุธ การยึดครองทีด่ นิ การพัฒนาการบริการทาง การเงินสําหรับผูผ้ ลิตรายย่อย และการพัฒนาห่วงโซ่คณ ุ ค่า ที่เป็นธรรมมากขึ้น แนวปฏิบตั กิ ารเงินทีเ่ ป็นธรรมนานาชาติสนับสนุนการ​ บูรณาการและประยุกต์ใช้กรอบการดําเนินงานที่คํานึงถึง สังคม สิ่งแวดล้อม หลักธรรมาภิบาล และสิทธิมนุษยชน ในการดําเนินธุรกิจของธนาคาร รวมถึงลูกค้าของธนาคาร ซึ่งดําเนินงานในประเทศกําลังพัฒนา แนวปฏิบตั กิ ารเงินทีเ่ ป็นธรรรม มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ เกิดการแข่งขันสู่การเป็นที่หนึ่งระหว่างธนาคารภายใต้ กรอบ​การคํานึงถึงสิ่งแวดล้อม สังคม ธรรมาภิบาล และ

— 196 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

สิทธิมนุษยชน โดยใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ • เปิดโอกาสให้ผู้บริโภคได้เลือกบริการทางการเงิน ด้วยข้อมูลที่ถูกต้องเที่ยงตรง • เปิดช่องทางโดยตรงให้ลูกค้าของธนาคารสามารถ เสนอข้อคิดเห็น ข้อร้องเรียน หรือเปลี่ยนธนาคาร ที่ใช้บริการ • เสนอบรรทัดฐาน (benchmarks) ที่สถาบันการเงิน และหน่วยงานกํากับดูแลสามารถนําไปใช้พฒ ั นาการ​ ดําเนินงานให้มีความรับผิดชอบ เป็นธรรม และ ยั่งยืนมากยิ่งขึ้น • รณรงค์เรียกร้องการเปลี่ยนแปลงให้ระบบการเงิน โลกมีความเป็นธรรมและไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง (inclusive)

แนวปฏิบตั กิ ารเงินทีเ่ ป็นธรรมริเริม่ ใน พ.ศ. 2552 โดย องค์กรภาคประชาสังคมหลายแห่งในประเทศเนเธอร์แลนด์

— 197 —


การประเมินธนาคารไทยตามเกณฑ์ “แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมนานาชาติ”

โดยพัฒนาระเบียบวิธวี จิ ยั ร่วมกับสถาบันวิจยั PROFUNDO และแนวปฏิบตั นิ ไ้ี ด้ถกู นํามาใช้ในระดับนานาชาติ ใน พ.ศ. 2557 ปั จ จุ บั น เครื อ ข่ า ยแนวปฏิ บั ติ ก ารเงิ น ที่ เ ป็ น ธรรม​ ดํ า เนิ น งานใน 10 ประเทศ ได้ แ ก่ เบลเยี ย ม บราซิ ล ฝรัง่ เศส เยอรมนี อินโดนีเซีย ญีป่ นุ่ เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ สวีเดน และไทย ในแต่ละประเทศจะมีแนวร่วมขององค์กร ภาคประชาสังคมในท้องถิ่น ร่วมด้วยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ด้าน ดําเนินกิจกรรมหลัก ได้แก่ การวิจัย การติดตาม ตรวจสอบ การรณรงค์ตอ่ สาธารณะ และการหารือกับภาค การเงิน ภายใต้กรอบการดําเนินงานของแนวปฏิบัติการ เงินที่เป็นธรรมนานาชาติ การประเมินคุณภาพของนโยบายและการปฏิบัติของ ธนาคารภายใต้ ก รอบแนวคิ ด ด้ า นความยั่ ง ยื น ในหั ว ข้ อ เฉพาะด้านและเผยแพร่คะแนนการประเมินช่วยเพิ่มแรง กดดันจากสาธารณะ ซึง่ จะนําไปสูก่ ารพัฒนานโยบายและ การปฏิบัติที่เกี่ยวกับการลงทุนของธนาคาร โดยองค์กรที่ เข้าร่วมเป็นสมาชิกแนวร่วมแนวปฏิบัติการเงินที่เป็นธรรม

— 198 —


แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย

ในแต่ละประเทศ สามารถใช้ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการประเมิน ในการหารือและส่งอิทธิพลต่อหน่วยงานกํากับดูแลภาค ธนาคาร ในการเรียกร้องการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบการ เงินที่เป็นธรรม เช่น ผ่านกลไกของรัฐสภาหรือสื่อมวลชน

— 199 —





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.