กรณีศึกษา
สถานการณ์ และ ความต้ องการของ ลู กหนี้รายย่ อย ที่ได้ รั บผลกระทบ จากโควิด-19
จั ดทํ าโดย แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand) กั นยายน 2564
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19 เผยแพร่ ครั้ งแรก จั ดทำ �โดย เว็ บไซต์ Facebook สถานที่ตั้ ง
กั นยายน 2564 แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand) w ww.fairfinancethailand.org Fair Finance Thailand บริษั ท ป่าสาละ จํ ากั ด 2 สุ ขุ มวิท ซอย 43 แขวงคลองตั นเหนือ เขตวั ฒนา กรุ งเทพฯ 10110 อีเมล info@salforest.com โทรศั พท์ 02 258 7383
สารบั ญ บทสรุ ปสําหรั บผู้ บริหาร
7
• โควิด-19 กระทบต่อรายได้ของคนทุกช่วงชัน ้ รายได้ ยิง่ รายได้น้อยยิง่ ต้องกู้มา
“โปะ” หนี้เก่า 8
• มาตรการช่วยเหลือของสถาบันการเงิน: ลูกหนี้ 85% ต้องการมาตรการเพิม ่ เติม 8
• เหตุผลของลูกหนี้ท่ีไม่เข้าร่วม: 73% ไม่อยากรับภาระหนี้สินเพิม ่ หลังจบมาตรการ 9 • ข้อเสนอแนะของลูกหนี้: พักชําระหนี้โดยไม่คิดดอกเบี้ย และรัฐควรเยียวยา
อย่างจริงจัง 10
• ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression)
และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากแนวร่วมฯ 11
1 ระเบียบวิธีการศึกษาการจั ดการหนี้ของลู กหนี้รายย่ อย 2 ข้ อมู ลด้ านประชากรศาสตร์ ของลู กหนี้ที่ตอบแบบสอบถาม
15 18
• เพศ 18 • อายุ 18 • ระดับการศึกษา 19
3 สถานการณ์ ของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
20
• ผลกระทบต่อรายได้ 20 • ลักษณะภาระหนี้ของลูกหนี้ 22
• ภาระหนี้สินก่อนได้รบ ั ผลกระทบจากโควิด-19 28 4 การจั ดการหนี้ในช่ วงโควิด-19 และผลของมาตรการช่ วยเหลือลู กหนี้
30
• วิธก ี ารจัดการหนี้ของลูกหนี้
30
• มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ของ ธปท.
35
• การเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้ 35
5 ภาระหนี้นอกระบบของลู กหนี้ 6 ข้ อเสนอแนะของลู กหนี้ ถึงรู ปแบบความช่ วยเหลือและมาตรการที่ต้ องการเพิ่มเติม
44 47
7 ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย จากแนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
50
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
• อาชีพ 19
3
สารบั ญแผนภาพ รู ปที่ 1 เพศของลูกหนี้ รู ปที่ 2 อายุของลูกหนี้
รู ปที่ 3 ระดับการศึกษาของลูกหนี้ รู ปที่ 4 อาชีพของลูกหนี้
รู ปที่ 5 จํานวนเจ้าหนี้ต่อรายของลูกหนี้ รู ปที่ 6 ประเภทของเจ้าหนี้
รู ปที่ 7 ประเภทสินเชือ ่ ของลูกหนี้ รู ปที่ 8 จํานวนสัญญาสินเชือ ่ ต่อรายของลูกหนี้
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
รู ปที่ 9 จํานวนประเภทสินเชือ ่ ต่อรายของลูกหนี้ รู ปที่ 10 ประเภทหลักประกันสินเชือ ่ ของลูกหนี้
4
รู ปที่ 11 วิธจ ี ัดการหนี้หลังการระบาดของลูกหนี้ รู ปที่ 12 การเจรจากับเจ้าหนี้ก่อนมีมาตรการของ ธปท.
รู ปที่ 13 ประเภทมาตรการที่ลก ู หนี้ได้เข้าร่วม รู ปที่ 14 ประเภทมาตรการที่ลก ู หนี้ได้เข้าร่วมตามอาชีพ
รู ปที่ 15 จํานวนมาตรการต่อสถาบันการเงินที่ลก ู หนี้ได้เข้าร่วม รู ปที่ 16 สาเหตุที่ลก ู หนี้เลือกปฏิเสธจะเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือเอง รู ปที่ 17 สาเหตุที่สถาบันการเงินปฏิเสธลูกหนี้ รู ปที่ 18 ช่องทางการกู้เงินนอกระบบ
รู ปที่ 19 การทําสัญญาเงินกู้นอกระบบและระยะเวลา รู ปที่ 20 สัดส่วนข้อเสนอแนะถึงรู ปแบบความช่วยเหลือและมาตรการ ที่ต้องการเพิม ่ เติมของลูกหนี้
18 18 19 19
22 23
24
25 25
27 31
35 36 37
38
40 40 44
45
48
สารบั ญตาราง
ตารางที่ 3 สัดส่วนลูกหนี้ท่ีมห ี ลักประกันสินเชือ ่ กับแต่ละธนาคาร ตารางที่ 4 ภาระหนี้ต่อเดือนของลูกหนี้ ตารางที่ 5 ภาระหนี้ต่อเดือนของลูกหนี้แยกตามอาชีพ ตารางที่ 6 การจัดการหนี้หลังการระบาดตามอาชีพของลูกหนี้
ตารางที่ 7 สัดส่วนลูกหนี้ท่ีเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือของ ธปท. ตารางที่ 8 ความพึงพอใจต่อมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้
ตารางที่ 9 สาเหตุท่ีลก ู หนี้ไม่ได้เข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือ ตารางที่ 10 ปัจจัยทางกายภาพหรือประชากรศาสตร์ที่กําหนดการเข้าร่วม มาตรการของลูกหนี้
ตารางที่ 11 มาตรการที่ลก ู หนี้คิดว่าสามารถช่วยเหลือการบริหารจัดการหนี้สินได้
21
21
26
28 29 33 36 39 39 41
43
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงรายได้ของลูกหนี้ตามระดับรายได้ ตารางที่ 2 การเปลี่ยนแปลงรายได้ของลูกหนี้อาชีพต่าง ๆ
5
บทสรุ ปสําหรั บผู้ บริหาร
วิกฤติโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เป็น “ทวิวิกฤติ” นั่นคือเป็นทั้งวิกฤติสาธารณสุข และวิกฤติ เศรษฐกิจ ความเดือดร้อนทางเศรษฐกิจจากวิกฤติ นี้แผ่ขยายเป็นวงกว้างและซึมลึก
ยาวนาน มาตรการต่าง ๆ ของภาครัฐทีม ่ งุ่ จํากัดการระบาดของโรค อาทิ มาตรการล็อกดาวน์ ส่งผล ให้กจ ิ กรรมทางเศรษฐกิจชะงักงัน ประชาชนทัว ี้ า ํ้ เติมภาวะหนีส ิ ้ น ่ ประเทศขาดรายได้ สถานการณ์นซ ล้นพ้นตัวของครัวเรือนไทย ซึ่งอยูใ่ นระดับสูงอยูแ ่ ล้วก่อนวิกฤติ ให้ทวีความรุ นแรงมากยิง่ ขึ้น
ตัง้ แต่ตน ้ ปี พ.ศ. 2563 ทีส ่ งั คมไทยรับมือกับวิกฤติโควิด-19 ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วม
กับสมาคมธนาคารไทยและสถาบันการเงินอืน ่ ๆ ต่างออกมาตรการช่วยเหลือลูกหนีใ้ นช่วงโควิด-19 อย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของมาตรการเหล่านี้ รวมถึงคําถามที่ว่า
คําถามสําคัญทีย ี ารหาคําตอบอย่างเป็นระบบ ด้วยเหตุน้ี แนวร่วมการเงินทีเ่ ป็นธรรมประเทศ ่ งั ไม่มก ไทย (Fair Finance Thailand) จึงจัดทํากรณีศก ึ ษานีข ึ เพือ ิ ความเห็น ้ ้น ่ สํารวจสถานการณ์หนีส ้ น และความต้องการของลูกหนี้ต่อมาตรการช่วยเหลือของทางการ
จากการเก็บแบบสอบถามของแนวร่วมฯ ตั้งแต่วันที่ 23 เมษายน–21 พฤษภาคม 2564 ผ่านช่อง ทางออนไลน์ มีจํานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น 275 คน ในจํานวนนี้เป็นผู้ตอบแบบสอบถามที่
ไม่มีภาระหนี้สิน 18 คน เป็นลูกหนี้ท้ังในและนอกระบบที่ได้รบ ั ผลกระทบจากการระบาดของไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (โควิด-19) จํานวน 257 คน ส่วนใหญ่มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัท
99 คน คิดเป็นร้อยละ 38.5 ของลูกหนีท ้ ง้ั หมด ทําธุรกิจส่วนตัว 58 คน (ร้อยละ 22.6) ข้าราชการ
หรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ 51 คน (ร้อยละ 19.8) และอาชีพอื่น ๆ เช่น รับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์
ลูกจ้ างรายวั น เกษตรกร และนักเรียนนักศึ กษา 28 คน (ร้อยละ 10.9) อนึ่ง มีลูกหนี้ว่างงาน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 6.2 ของลูกหนี้ท้ังหมด
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ลูกหนี้รายย่อยเข้าถึงมาตรการเหล่านี้ได้มากน้อยเพียงใด รัฐบาลและ ธปท. ควรทําอะไรบ้าง เป็น
7
โควิด-19 กระทบต่ อรายได้ ของคนทุ กช่ วงชั้ นรายได้ ยิ่งรายได้ น้ อยยิ่งต้ องกู้ มา “โปะ” หนี้เก่ า สําหรับผลกระทบต่อรายได้จากการระบาดของโควิด-19 จากลูกหนี้ท่ีให้ข้อมูลรายได้ 240 คน พบว่าในช่วงก่อนการระบาดของโควิด-19 ลูกหนี้มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 116,049.5 บาท ขณะที่
ภายหลังเกิดการระบาดของโควิด-19 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของลูกหนี้ลดลงเหลือ 44,889.1 บาท หรือร้อยละ 29.7 และหากเรียงตามระดับรายได้ก่อนการระบาด พบว่ารายได้ของลูกหนี้ท่ีมีระดับ
รายได้ก่อนการระบาดน้อยกว่า 15,000 บาทต่อเดือน ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 31.4 ขณะที่ลูกหนี้ท่ีมี ระดั บรายได้ ก่ อ นการระบาด 30,001–45,000 บาทต่ อเดื อน รายได้ ลดลงเฉลี่ ย ร้อยละ 18.8 สําหรับล ก ู หนี้ท่ีมรี ายได้ก่อนการระบาดตั้งแต่ 45,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป รายได้หลังการระบาด
จะลดลงมากขึ้นตามระดับรายได้ท่ีเพิ่มขึ้น โดยลูกหนี้ท่ีระดับรายได้มากกว่า 100,000 บาทต่อ เดือน รายได้หลังการระบาดจะลดลงเฉลี่ยถึงร้อยละ 46.4
หากวิ เ คราะห์ ต ามลั ก ษณะการจั ด การภาระหนี้ แ ละอาชี พ พบว่ า ลู ก หนี้ ท่ี ป ระกอบอาชี พ อื่ น ๆ กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ส่วนใหญ่เลือกวิธก ี ารจัดการหนี้โดยไม่ก้เู งินเพิ่มเป็นหลัก ขณะที่ลก ู หนี้ท่ีเป็นเกษตรกรและลูกจ้าง
8
รายวั นเลื อกจั ดการหนี้โดยการกู้เงินเพิ่มเป็นหลั ก สั นนิษฐานว่ าเนื่องจากเกษตรกรและลูกจ้ าง
รายวันมีเงินออมน้อยมากหรือไม่มีเลย การรับมือกับหนี้สินจึงมีทางออกเดียวเท่านั้นคือ ไปกู้เพิ่ม
เพือ ่ มา “โปะ” หรือชําระหนี้เดิม
สําหรับวิธก ี ารจัดการหนีแ ี ารกูห ้ รือยืมเงินเพิม ุ อาชีพเลือกจัดการภาระหนีส ิ ้ บบไม่มก ้ ก ้ น ่ เติม ลูกหนีท ด้วยการลดรายจ่ายประมาณร้อยละ 57–70 ของลูกหนี้ท้ังหมดในแต่ละอาชีพ รองลงมาเลือกหา
รายได้เพิม ่ ประมาณร้อยละ 19–44 และเลือกที่จะเข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สินกับสถาบัน
การเงินประมาณร้อยละ 20–45 อย่างไรก็ตาม การสํารวจครัง้ นีไ้ ม่พบว่าลูกหนีท ้ ่ีเป็นเกษตรกรเข้า
ร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนีส ิ ของรัฐ เนือ ู หนีร้ ายย่อยและลูกหนี้ ้ น ่ งจากมาตรการของรัฐเน้นไปทีล ่ ก ธุรกิจ กลุม ่ อาชีพทีเ่ ลือกจัดการหนีโ้ ดยการเข้ามาตรการดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นลูกหนีท ี รุ กิจส่วนตัว ้ ม ่ี ธ ที่รอ ้ ยละ 44.8 รองลงมาเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจและพนักงานบริษัทที่รอ ้ ยละ 37.3
และ 35.4 ตามลําดับ และเป็นกลุม ่ ลูกจ้างรายวันและฟรีแลนซ์ท่รี อ ้ ยละ 30.8 และ 20 ตามลําดับ
มาตรการช่ วยเหลือของสถาบั นการเงิน: ลู กหนี้ 85% ต้ องการมาตรการเพิ่มเติม จากจํานวนลูกหนีท ู หนีท ้ ง้ั หมดทีต ่ อบแบบสอบถาม มีลก ้ ไ่ี ด้เข้ามาตรการช่วยเหลือจากสถาบันการเงิน
จํานวน 71 คน ทั้งที่ได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงินที่เป็นเจ้าหนี้ทุกแห่งหรือเข้าร่วมเพียง
บางแห่ง โดยลูกหนีแ ้ ต่ละรายสามารถเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือได้มากกว่า 1 ประเภท พบว่าส่วน
ใหญ่ลูกหนี้เข้าร่วมมาตรการพักหนี้มากที่สุดที่รอ ้ ยละ 46.5 รองลงมาลูกหนี้เข้าร่วมมาตรการพัก ชําระเงินต้นทีร่ อ ้ ยละ 43.7 ลดเงินผ่อน/ค่างวดทีร่ อ ้ ยละ 29.6 ขยายเวลาชําระหนีท ้ ยละ 14.1 ลด ้ ร่ี อ
อัตราดอกเบีย ้ ยละ 12.7 รวมหนีห ้ ยละ 5.6 และรีไฟแนนซ์ทรี่ อ ้ ยละ 2.8 ้ ทีร่ อ ้ รือเปลีย ่ นประเภทหนีท ้ ร่ี อ
ลักษณะการเข้าร่วมมาตรการของลูกหนี้แต่ละสายอาชีพ สะท้อนให้เห็นว่าผู้ประกอบอาชีพธุรกิจ ส่วนตัวที่ส่วนใหญ่ได้พก ั ชําระหนี้ เนื่องจากไม่สามารถดําเนินกิจการได้ และขาดรายได ้ในช่วงการ
ระบาดของโควิด-19 จึงจําเป็นอย่างยิง่ ที่จะต้องพักการชําระหนี้ ส่วนผูป ้ ระกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว
ที่ได้เข้าร่วมมาตรการอื่น ๆ เช่น ลดการผ่อนชําระหรือลดค่างวด หรือเลือกลดอัตราดอกเบีย ้ ฯลฯ ถื อเป็นกลุ่มธุรกิ จที่ ยังสามารถดํ าเนินกิ จการได้ แต่ รายได้ อาจน้อยกว่ าช่วงการระบาดของโรค
โควิด-19 ส่วนกลุ่มอาชีพพนักงานบริษัทที่ได้เข้าร่วมทุกมาตรการ สะท้อนให้เห็นถึงการลดลงของ รายได้จากการทํางาน เช่น อาจถูกลดเงินเดือน ไม่ได้รบ ั ค่าตอบแทนล่วงเวลา (OT) เนือ ่ งจากต้อง
ทํางานทีบ ้ น ฯลฯ ทําให้เป็นกลุม ่ ทีจ ํ เป็นต้องพยายามเข้าร่วมมาตรการหนีแ ่ า ่ า ้ ทบทุกมาตรการอย่าง เลีย ื เป็นกลุม ่ ที่ไม่ได้รบ ั ผลกระทบด้านรายได้มากนัก จะได้เข้าร่วม ่ งไม่ได้ ส่วนอาชีพข้าราชการที่ถอ
มาตรการพักชําระเงินต้นและยินดีจ่ายเพียงดอกเบีย ้ ราชการไม่กี่คนที่ได้รบ ั ้ เป็นส่วนใหญ่ และมีขา
การขยายระยะเวลาการชําระหนี้ หรือลดเงินผ่อนหรือลดค่างวด
เมื่อสอบถามความพึงพอใจของลูกหนี้ต่อมาตรการช่วยเหลือ พบว่ามีลูกหนี้เพียง 11 คนเท่านั้น (ร้อยละ 15) ที่คิดว่ามาตรการช่วยเหลือช่วยให้บริหารจัดการภาระหนีส ้ ินได้ และไม่ต้องการความ ช่วยเหลือหรือมาตรการอื่นเพิม ่ เติม ที่เหลืออีกร้อยละ 85 ยังต้องการมาตรการช่วยเหลือเพิม ่ เติม
เหตุ ผลของลู กหนี้ที่ไม่ เข้ าร่ วม: 73% ไม่ อยากรั บภาระหนี้สินเพิ่มหลั งจบมาตรการ จากจํานวนลูกหนี้ท่ีไม่ได้เข้าร่วมมาตรการทั้งหมดกับสถาบันการเงินจํานวน 121 คน ในจํานวนนี้
เนื่องจากสถาบันการเงินไม่มีมาตรการช่วยเหลือ และที่เหลือ 15 คน ถูกสถาบันการเงินปฏิเสธ คําขอเข้าร่วมมาตรการ
สําหรับสาเหตุที่ลก ู หนี้เลือกปฏิเสธการเข้าร่วมมาตรการ ลูกหนี้ส่วนใหญ่รอ ้ ยละ 73.4 ไม่ต้องการ
รับภาระหนีส ้ ยละ 31.3 ไม่เข้าร่วมมาตรการเนือ ้ ินที่จะเพิม ่ งจาก ่ ขึ้นภายหลังจบมาตรการ ลูกหนีร้ อ
คิดว่าการเข้าร่วมมาตรการช่วยบรรเทาภาระหนี้สินเพียงชั่วคราว ลูกหนี้รอ ้ ยละ 21.9 คิดว่ากระ-
บวนการในการเข้าร่วมมาตรการยุ่งยาก และใช้เวลาค่อนข้างนานในการอนุมัติ ลูกหนี้รอ ้ ยละ 7.8 ระบุว่าไม่เชือ ่ ถือสถาบันการเงินที่ออกมาตรการช่วยเหลือ ส่วนที่เหลือราวร้อยละ 14.1 ปฏิเสธที่จะ
เข้าร่วมมาตรการด้วยสาเหตุอ่ืน ๆ โดยมีสาเหตุการปฏิเสธ เช่น ประเมินว่าตนยังคงสามารถจ่าย ชําระหนี้ขน ้ั ตํ่าได้ หรือจ่ายหนี้ปีละหนึ่งครัง้ จึงเลือกไม่เข้าร่วม เป็นต้น
สําหรับลูกหนี้ 15 คน ที่ถูกสถาบันการเงินปฏิเสธคําขอเข้าร่วมมาตรการ พบว่าลูกหนี้รอ ้ ยละ 40
ถูกปฏิเสธเนือ ั การช่วยเหลือจากสถาบันการเงิน ่ งจากสภาวะของลูกหนีไ้ ม่ตรงตามเงือ ่ นไขที่จะได้รบ ลูกหนี้รอ ้ ยละ 26.7 ถูกปฏิเสธโดยที่สถาบันการเงินมิได้ระบุเหตุผลใด ๆ ลูกหนี้รอ ้ ยละ 13.3 ถูก
ปฏิ เสธจากสถาบันการเงินเนื่องจากมีการปรับเปลี่ ยนเงื่อนไขของมาตรการภายหลั งจากสมัคร
เข้าร่วมมาตรการ และลูกหนีร้ อ ้ ยละ 6.7 ถูกปฏิเสธเนือ ู หนีร้ วม ่ งจากเอกสารไม่ครบถ้วน ทั้งนี้ มีลก
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ส่วนใหญ่คอ ื 64 คน (ร้อยละ 53) ปฏิเสธการเข้าร่วมมาตรการ ลูกหนี้ 57 คน ไม่เข้าร่วมมาตรการ
9
ร้อยละ 20 ที่ถูกสถาบันการเงินปฏิเสธด้วยเหตุผลอื่น ๆ โดยมีสาเหตุการปฏิเสธ เช่น ไม่มีการ ติดต่อกลับจากสถาบันการเงิน จํานวนผู้เข้าร่วมมาตรการเต็มโควตา ฯลฯ
ข้ อเสนอแนะของลู กหนี้: พั กชํ าระหนี้โดยไม่ คิดดอกเบี้ย และรั ฐ ควรเยียวยาอย่ างจริงจั ง ลูกหนี้ท่ีตอบแบบสอบถามได ้ให้ข้อเสนอแนะหลากหลายถึงรู ปแบบความช่วยเหลือและมาตรการ
ที่ลูกหนี้ต้องการจากภาครัฐและสถาบันการเงิน โดยลูกหนี้ส่วนใหญ่ ร้อยละ 21.01 ต้องการให้
สถาบันการเงินขยายระยะเวลาพักชําระหนี้มากที่สุด โดยสถาบันการเงินควรขยายระยะเวลาการ
พักชําระหนี้ต่อไปอีกเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6–12 เดือน หรือจนกว่าสถานการณ์การระบาดของ โควิด-19 จะคลี่คลาย (ไม่มก ี ารล็อกดาวน์ หรือประชาชนได้รบ ั วัคซีนมากกว่ากึ่งหนึ่งของประเทศ)
ซึ่งระหว่างการพักชําระหนี้ สถาบันการเงินจะต้องไม่คิดดอกเบีย ั ชําระหนีจ ้ จากนัน ่ การพก ้ บลง ้ เมือ
สถาบันการเงินควรปรับมาตรการให้ลก ู หนีผ ่ นชําระเพียงดอกเบีย ้ อ ้ เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 12–36 เดือน ในอัตราดอกเบีย ู หนี้มก ี ําลังมากพอในการฟื้ นคืนกิจการหรือ ้ ตํ่าร้อยละ 2–5 ต่อปี เพือ ่ ให้ลก กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ธุรกิจของตนเอง ส่วนลูกหนีท ี า ํ ลังผ่อนชําระ สถาบันการเงินควรสร้างแรงจูงใจผ่านแคมเปญลด ้ ่ีมก
10
อัตราดอกเบี้ย เพื่อให้ลูกหนี้เร่งผ่อนชําระหนี้ให้หมดเร็วขึ้น นอกจากนี้ สถาบันการเงินควรขยาย
ระยะเวลาการขอเข้าร่วมมาตรการการพักชําระหนี้ เพื่อให้เวลาลูกหนี้ได้ตัดสินใจอย่างถี่ถ้วนก่อน เข้ารับการช่วยเหลือตามมาตรการจากสถาบันการเงิน
ความต้องการของลูกหนี้ในลําดับรองลงมาคือ ร้อยละ 15.56 ต้องการให้สถาบันการเงินลดอัตรา ดอกเบี้ย โดยสถาบันการเงินควรลดอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อประเภทต่าง ๆ ลงมากกว่าครึ่งหนึ่ง
ของดอกเบี้ยเดิม หรือปรับอัตราดอกเบี้ยให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ โดยเฉพาะสินเชื่อที่อยู่ อาศัยที่มส ี ินทรัพย์คํ้าประกัน เพือ ่ ช่วยลดภาระการจ่ายดอกเบีย ้ ของลูกหนี้ให้น้อยลง และสามารถ
ผ่อนชําระหมดได ้ในระยะเวลาทีเ่ ร็วขึ้น และสถาบันการเงินควรรายงานการปรับลดอัตราดอกเบีย ้ ของ ลูกหนีแ ้ ก่เครดิตบูโร เพือ ่ ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อประวัติของลูกหนีใ้ นอนาคต รวมถึงสถาบันการเงิน ต้องไม่ใช้ขอ ้ มูลการเข้าร่วมมาตรการเป็นเงือ ่ นไขในการพิจารณาการขอสินเชือ ่ เพิม ่ เติมของลูกหนี้
ลูกหนี้รอ ้ ยละ 9.73 ยังคงต้องการเงินเยียวยาจากรัฐบาล โดยระบุว่ารัฐบาลจําเป็นต้องให้เงินช่วย เหลือและเยียวยาแก่ประชาชนอย่างเร่งด่วนโดยไม่มีเงื่อนไขหรือขั้นตอนที่ยุ่งยาก รัฐบาลควรให้ ความสําคัญกับธุรกิจขนาดเล็ก (SMEs) ที่มอ ี ยูเ่ ป็นจํานวนมากในประเทศไทย และถือเป็นกิจการ ที่กา ํ ลังช่วยแบกรับเศรษฐกิจของประเทศเช่นกัน รวมถึงรัฐบาลควรกําหนดนโยบายลดค่านํ้า ค่าไฟ
ลดการจัดเก็บภาษีเงินได้ และลดภาระเงินต้นจากการกูย ้ ม ื เงินจากกองทุนเงินให้กย ู้ ม ื เพือ ่ การศึกษา
(กยศ.) นอกจากนี้ ยังต้องการให้รฐั บาลสนับสนุนเงินแก่แรงงานหรือลูกจ้าง โดยอาจใช้นโยบาย การประกันรายได้ลก ู จ้าง เพือ ่ กระตุ้นผู้ประกอบการให้เกิดการจ้างงานมากขึ้น
ทั้งนี้ แม้ลูกหนี้ส่วนใหญ่คาดหวังการขยายระยะเวลาพักชําระหนี้จากสถาบันการเงิน แต่ลูกหนี้
แต่ละรายยังคงคาดหวังให้รฐั บาลมีบทบาทสําคัญในการแบ่งเบาภาระของลูกหนี้ เช่น ออกนโยบาย
ช่วยเหลือเยียวยาสําหรับคนเป็นหนี้ มีส่วนช่วยในการเจรจากับธนาคาร เป็นต้น สําหรับบทบาท
ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ลูกหนี้คาดหวังให้ออกมาตรการสนับสนุนให้ผู้มีสินเชื่อใน สถานะปกติ สามารถปรับโครงสร้างหนี้ ในอั ตราดอกเบี้ยตํ่ า ก่ อนที่ จะกลายเป็นหนี้ เสี ย (NPL)
รวมถึงหากลูกหนี้ท่ีเป็นหนี้เสีย จําเป็นต้องเข้าร่วมโครงการคลินิกแก้หนี้หรือทางด่วนแก้หนี้ ก็ควร
กํ า หนดเงื่อ นไขการพิจ ารณาโดยเฉพาะเงื่อ นไขดอกเบี้ย และค่ า งวดที่ เ หมาะสม เพื่อ ให้ ลูก หนี้ สามารถผ่อนชําระได้จริงในวิกฤติครัง้ นี้
ผลการวิเคราะห์ การถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression) และข้ อเสนอแนะเชิงนโยบายจากแนวร่ วมฯ แนวร่วมฯ มีขอ ้ เสนอแนะเชิงนโยบายต่อ ธปท. ดังต่อไปนี้ ่ ปรับปรุ งมาตรการให้ตรงจุดมากขึ้น และแก ้ไข ➊ ควรมีการสํารวจความคิดเห็นของลูกหนี้ เพือ อุปสรรคของลูกหนี้ที่เข้าไม่ถึงมาตรการบรรเทาภาระหนี้
ผลการสํารวจของแนวร่วมฯ พบว่ามีลก ู หนี้เพียงร้อยละ 15 ที่คิดว่ามาตรการบรรเทาภาระหนี้ชว ่ ย
ให้สามารถบริหารจัดการภาระหนีส ิ ได้ ทีเ่ หลืออีกร้อยละ 85 ต้องการมาตรการเพิม ้ น ่ เติม นอกจากนี้ จากจํานวนลูกหนีท ้ ่ีไม่ได้เข้ามาตรการกับสถาบันการเงิน จํานวน 121 คน ในจํานวนนีส ้ ่วนใหญ่คือ
64 คน (ร้อยละ 53) ปฏิเสธการเข้าร่วมมาตรการ โดยสาเหตุท่ีลูกหนี้ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 73.4)
ผลจากการวิเคราะห์ตามแบบจําลองโลจิต (Logit Model) เกี่ยวกับประเภทของมาตรการที่ได้
เข้าร่วมซึ่งสามารถช่วยเหลือลูกหนี้ในการบริหารจัดการหนี้ได้ พบว่าลูกหนี้ส่วนใหญ่ยังเข้าร่วม
มาตรการทีไ่ ม่สามารถช่วยเหลือลูกหนีไ้ ด้อย่างมีนย ั สําคัญทางสถิติ อย่างมาตรการพักชําระเงินต้น และลดเงินผ่อน/ค่างวด ซึ่งมีลูกหนี้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 43.7 และ 29.6 ของลูกหนี้ท้ังหมด
ตามลําดับ ขณะที่มาตรการอย่างการขยายเวลาชําระหนี้และลดอัตราดอกเบี้ย ซึ่งสามารถช่วย เหลือลูกหนีไ้ ด้อย่างมีนย ั สําคัญทางสถิติ กลับมีลก ู หนีเ้ ข้าร่วมจํานวนไม่มากทีร่ อ ้ ยละ 14.1 และ 12.7 ตามลําดับ
ด้ วยเหตุนี้ แนวร่วมฯ จึ งเสนอว่ า ธปท. ควรมีการสํ ารวจความคิ ดเห็นของลูกหนี้ อย่างน้ อยราย
ไตรมาส โดยเฉพาะในประเด็นอุปสรรคของการเข้าถึงมาตรการบรรเทาภาระหนี้สิน และลักษณะ ที่มาตรการยังไม่ตอบโจทย์ของลูกหนี้อย่างเพียงพอ
ั ผลกระทบอย่างตรงจุด ➋ เสนอรัฐบาลให้มีการเยียวยาผู ้ได้รบ จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏว่า ลูกหนีจ ั หาการชําระหนีใ้ นช่วงวิกฤติโควิด-19 เนือ ้ ํานวนมากมีปญ ่ งจาก
มีรายได ้ไม่พอจ่ายหนี้ ลําพังการปรับโครงสร้างหนีแ ิ อืน ้ ละมาตรการบรรเทาภาระหนีส ้ น ่ ๆ ของ ธปท.
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ระบุคือ ไม่ต้องการรับภาระหนี้สินที่เพิม ่ ขึ้นภายหลังจบมาตรการ
11
จึงเป็นเพียงการแก้ปญ ั หาเพียงด้านเดียวเท่านัน ้ ไ่ี ด้รบ ั ผลกระทบ ้ ธปท. ควรเสนอรัฐบาลให้เยียวยาผูท
จากมาตรการต่าง ๆ ของรัฐ เช่น มาตรการล็อกดาวน์ สั่งปิดร้านอาหาร ฯลฯ อย่างเป็นธรรมและ เพียงพอ เนื่องจากรายได้ท่ีขาดหายไปจากมาตรการของรัฐย่อมเพิ่มแรงกดดันให้ลูกหนี้ต้องกู้ยืม เงินเพิม ่ มาใช้จ่ายประทังชีวิต และการออกมาตรการสินเชือ ่ ดอกเบีย ้ ตํ่าต่าง ๆ ก็มใิ ช่การแก้ ่ เติมเพือ ปัญหาที่ตรงจุด การแก้ปัญหาที่ตรงจุดคือการชดเชยรายได้ที่ขาดหายไปด้วยการเยียวยาเท่านั้น
➌ พิจารณายกเลิกเพดานอัตราดอกเบี้ยทุกชนิด เน้นการกํากับดูแลการให้บริการที่เป็นธรรม (Market Conduct)
การบัญญัติเพดานอัตราดอกเบีย ้ อาจมองอย่างผิวเผินได้ว่าเป็นการแบ่งเบาภาระของลูกหนี้ แต่ใน
ความเป็นจริง เพดานดอกเบี้ยส่งผลให้ผู ้ให้บริการทางการเงินขาดแรงจูงใจที่จะคิดค้นนวัตกรรม ใหม่ ๆ และออกแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ตอบโจทย์ผู้บริโภค รวมถึงอาจส่งผลเป็นการกีดกัน
ผูบ ้ ริโภคบางส่วนออกจากการเข้าถึงบริการทางการเงิน เนือ ่ งจากเพดานดอกเบีย ้ กลายเป็น “อัตรา ตลาด” โดยปริยาย ผู ้ให้บริการทุกรายมีแรงจูงใจที่จะคิดดอกเบีย ้ ในอัตราเพดานเท่ากันหมด และ
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
หาทางแสวงรายได้เพิม ่ ผ่านการกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมต่าง ๆ แทน
12
ด้วยเหตุนี้ แนวร่วมฯ จึงเสนอให้ ธปท. พิจารณายกเลิกเพดานอัตราดอกเบี้ยทุกชนิด โดยถ้าหาก
ผลิตภัณฑ์ทางการเงินชนิดใดมีลก ั ษณะตลาดผู ้ให้บริการน้อยราย (oligopoly) ธปท. ก็ควรมุง่ เน้น
ไปที่การเพิม ่ จูงใจให้ผู ้ให้บริการแข่งขันกันคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เพือ ่ ลด ่ ระดับการแข่งขันด้วย เพือ ต้นทุนการให้บริการ อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคในท้ายที่สุด และหลังจากที่ปล่อยให้อัตรา
ดอกเบีย ้ เป็นไปตามกลไกตลาดแล้ว ธปท. ควรหันไปมุง่ เน้นการกํากับดูแลการให้บริการทีเ่ ป็นธรรม (market conduct) แทน เช่น กําหนดความรับผิด (accountability) ของผู ้ให้บริการที่เข้มงวด
มากขึ้น และปรับปรุงแนวทางการปล่อยสินเชือ ่ อย่างรับผิดชอบ (responsible lending guidelines)
➍ จัดตั้งกลไกไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนอกศาล (Alternative Dispute Resolution: ADR) ก่อนทีธ ่ นาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกับสมาคมธนาคารไทย จะประกาศมาตรการให้ความ
ช่วยเหลือลูกหนีท ั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 แนวร่วมฯ พบจาก ้ ่ีได้รบ ผลการสํารวจว่า ลูกหนีส ้ ่วนใหญ่ไม่เคยเจรจาปรับโครงสร้างหนีก ้ ับสถาบันการเงินมาก่อน โดยคิด เป็นร้อยละ 61 ของสัญญาสินเชื่อของลูกหนี้ท้ังหมด มีลูกหนี้เพียงร้อยละ 20 ของสัญญาสินเชื่อ ทั้งหมดเท่านั้นที่เคยเจรจาปรับโครงสร้างหนี้กับสถาบันการเงินมาก่อน
ด้วยเหตุที่ลก ู หนีส ้ ่วนใหญ่ขาดประสบการณ์ในการเจรจากับเจ้าหนี้ ลูกหนีจ ้ ึงตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
ในการเจรจาปรับโครงสร้างหนีก ั เจ้าหนี้ และเมือ ็ าดแรงจูงใจในการเข้า ้ บ ่ เกิดข้อพิพาทขึ้น เจ้าหนีก ้ ข ร่วมกระบวนการไกล่เกลีย ้ ว ี า ่ สุดท้ายสามารถสัง่ ฟ้องลูกหนีใ้ นคดีลม ้ ละลายได้ ในขณะ ่ เนือ ่ งจากรู ด
ที่ลูกหนี้ไม่มีสิทธิรเิ ริม ่ กระบวนการฟื้ นฟู/ล้มละลายด้วยตัวเองแต่อย่างใด เนื่องจากไทยยังไม่มี กฎหมายล้มละลายส่วนบุคคล (ดูหัวข้อถัดไป)
ในระยะสั้น ธปท. สามารถรับบทบาทเป็นผู ้ไกล่เกลี่ยชั่วคราว (ดังที่ ธปท. ได้ก่อตั้งศูนย์ไกล่เกลี่ย และจัดทําข้อตกลงร่วมกับศาลมาแล้ว) แต่กลไกเช่นนีม ้ ใิ ช่กลไกที่ยง่ั ยืนในระยะยาว แนวร่วมฯ เห็น ว่า ธปท. ควรผลักดันกลไกไกล่เกลีย ่ ข้อพิพาททางเลือก (alternative dispute resolution: ADR)
หลายรู ปแบบ ซึ่งเป็นทีน ิ มในหลายประเทศ เนือ ี ารทีช ่ ยยกระดับกระบวนการให้การ ่ ย ่ งจากเป็นวิธก ่ ว คุ้มครองผู้บริโภคทางการเงินในด้านการเยียวยาจากข้อพิพาทโดยการหาคนกลางที่มีความน่า
เชื่อถือ (third party) มาทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและตัดสินข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างผู ้ใช้บริการและ สถาบันการเงิน
โดยหลักการ ADR ทางการเงินส่วนใหญ่จะมีกระบวนการไกล่เกลี่ยตามแนวทางที่ช่วยให้ “ผู้ยื่น
คําร้อง” (ในที่น้ีคือผู ้ใช้บริการทางการเงิน) สามารถดําเนินการเพื่อบรรลุข้อตกลงในการเจรจา ต่ อ รองกั บ คู่ก รณี (ในที่ น้ี คื อ สถาบั น การเงิ น ) โดยหวั ง ผลให ไ้ ด้ ข้ อ ตกลงร่ว มกั น (negotiated
settlement) กระบวนการเช่นนี้ภาษาทางกฎหมายเรียกว่า “mediation” ซึ่งจะแตกต่ างจาก กระบวนการ ADR ที่ใช ้ในวงการทั่วไปที่มก ั ใช้กระบวนการแบบ “arbitration” ที่เน้นหาข้อสรุ ปที่มี ผลทางกฎหมายเป็นสําคัญ
ประโยชน์ของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทจะช่วยลดช่องว่างทางการกํากับดูแล โดยเพิ่มศักยภาพแก่ ผู ้ใช้บริการ ด้วยการสร้างกระบวนการที่โปร่งใส มีประสิทธิภาพ และช่วยลดต้นทุนในการตัดสิน
ข้อพิพาททางการเงินอย่างมีนัยสําคัญ ดังนั้น ADR จึงเริม ่ เป็นที่นิยมในหลายประเทศ แต่ยังไม่มี การดําเนินการในประเทศไทย
เนือ ู หนีร้ ายย่อยจํานวนมากมีหนีส ิ ล้นพ้นตัว แต่ไม่สามารถ ่ งจากภาวะวิกฤติโควิด-19 ส่งผลให้ลก ้ น ยื่นล้มละลายด้วยตัวเองได้ เนื่องจากกฎหมายล้มละลายของไทยยังไม่เปิดช่องให้ลูกหนี้รายย่อย มี สิ ท ธิยื่ น ล้ ม ละลายโดยสมั ค รใจ แตกต่ า งจากนิ ติ บุ ค คลที่ มี สิ ท ธิย่ื น ล้ ม ละลายโดยสมั ค รใจได้ (กระบวนการฟื้ นฟูกิจการ)
แนวร่วมฯ เห็นว่า ธปท. ควรผลักดันให้รฐั ออกกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดา ในฐานะ “เครือ ํ เป็นต่อการรับมือกับวิกฤติหนีร้ ายย่อย เพราะนอกจากจะเป็นการ ่ งมือพืน ้ ฐาน” ที่จา
รับประกัน “สิทธิพื้นฐาน” ในการมี “ชีวิตใหม่” หลังโควิด-19 (อันเป็นวิกฤติที่ทําให้สูญเสียความ
สามารถในการชําระหนี้ ทัง้ ทีไ่ ม่ใช่ความผิดของลูกหนี)้ แล้ว ยังเป็นวิธรี บ ั มือกับวิกฤติทม ี่ ป ี ระสิทธิภาพ กว่าการปล่อยให้เจ้าหนี้ย่ืนฟ้องล้มละลายฝ่ายเดียว อีกทั้งยังทําให้ลูกหนี้รายย่อยมีสิทธิทัดเทียม กับลูกหนี้บริษัท ซึ่งได้รบ ั สิทธิในการยื่นล้มละลายโดยสมัครใจ (ยื่นขอฟื้ นฟูกิจการ) มากว่าสอง ทศวรรษแล้ว นับตั้งแต่เมือ ่ เกิดวิกฤติต้มยํากุ้ง พ.ศ. 2540
นอกจากนี้ การเพิม ู หนี้รายย่อยยืน ่ ล้มละลายโดยสมัครใจ ยังเป็นโอกาสให้รฐั และ ธปท. ่ สิทธิให้ลก สามารถยกระดับการให้ความรู ท ้ างการเงินในไทยอย่างเป็นระบบ เพราะสามารถกําหนดให้ลก ู หนี้
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
➎ ผลักดันกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดา
13
ที่ใช้ชอ ่ งทางนีต ้ ้องเข้ารับการอบรมและปรึกษาหารือระหว่างทําแผนฟื้ นฟู อีกทั้งยังจะเปิดโอกาสให้ มีการรวบรวมข้อมูลหนี้รายย่อยอย่างเป็นระบบเป็นครัง้ แรก เนื่องจากลูกหนี้ท่ีย่ืนล้มละลายโดย สมัครใจจะต้องเปิดเผยหนีส ิ และทรัพย์สน ิ ทัง้ หมดของตัวเองต่อศาล รวมถึงหนีน ้ น ้ อกระบบ เพือ ่ ขอ การคุ้มครอง
ทั้งนี้ แนวร่วมฯ เห็นว่าในการออกกฎหมายดังกล่าว การนิรโทษกรรมเจ้าหนี้นอกระบบน่าจะเป็น
ขัน ํ เป็น เพือ ุ รู ปแบบ ่ า ่ ให้สามารถรับมือกับปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและครอบคลุมหนีท ้ ก ้ ตอนทีจ
➏ ออกวงเงิน เครดิ ต สํ า หรับ ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ย สํ า หรับ แก้ ปั ญ หาระยะสั้ น และจั ด ตั้ ง ทะเบี ย น หลักประกันแห่งชาติ (National Collateral Registry) สําหรับแก้ปัญหาระยะยาว
เนื่องจากยังคงมีอป ุ สรรคในการเข้าถึงสินเชื่อที่เป็นธรรม โดยเฉพาะลูกหนี้รายย่อยที่มีรายได้น้อย ดังนัน ้ รี ายได้นอ ้ ย วงเงินคนละ 5,000– ้ กระทรวงการคลังอาจกําหนด “วงเงินเครดิต” สําหรับผูม
10,000 บาท โดยคิดอัตราดอกเบีย ้ ตํ่า เพือ ่ ช่วยผ่อนหนักเป็นเบาและหลีกเลีย ่ งความเสีย ่ งทีจ ่ ะเพิม ่ กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ภาระจากหนี้นอกระบบ
14
สํ าหรับการขยายการเข้าถึ งบริการทางการเงินในระยะยาว แนวร่วมฯ เห็นว่ า ธปท. ควรจั ดตั้ ง
ทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (National Collateral Registry: NCR) ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ อันเป็นนวัตกรรมทางการเงินที่ยงั ไม่เคยใช ้ในประเทศไทย บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (IFC) ใน
เครือธนาคารโลก (World Bank) ส่งเสริมมานานนับทศวรรษ ทะเบียนนี้เป็นระบบซอฟต์แวร์บน
เว็ บ ไซต์ โดยปกติ เ จ้ า ภาพจะเป็ น ธนาคารกลางของประเทศนั้น ๆ ใช้ เ พื่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สังหาริมทรัพย์ (สินทรัพย์ที่เคลื่อนย้ายได้ เช่น วัว ควาย คอมพิวเตอร์ รถไถ ฯลฯ) ที่ใช้เป็นหลัก
ประกันเงินกู้ โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้กับเจ้าหนี้ ซอฟต์ แวร์ของระบบทะเบียนจะกําหนด
หมายเลขทะเบียน วันเวลาที่เจ้าหนี้ย่ืนจดทะเบียนรายการทางการเงิน (financial statement) ที่ระบุสิทธิในทรัพย์สินนั้น ๆ โดยอัตโนมัติ ลําดับความสําคัญของเจ้าหนี้ท่ีอ้างสิทธิในหลักประกัน เดียวกันจะถูกจัดตามวันเวลาที่บันทึกไว้ เจ้าหนี้ท่ีลงทะเบียนก่อนมีสิทธิเหนือกว่า
ในภาวะวิกฤติหนีค ้ รี ายได้ ้ รัวเรือนและ SMEs ในช่วงโควิด-19 การออก “วงเงินเครดิต” สําหรับผูม
น้อย และเร่งจัดตั้งทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (โดยเฉพาะถ้าทําควบคู่ไปกับกฎหมายล้มละลาย โดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดา ที่จะกําหนดให้ลูกหนี้ต้องเปิดเผยหนี้สินและทรัพย์สินทั้งหมด รวมถึงหลักประกันสินเชือ ่ ) น่าจะช่วยให้กระบวนการเจรจาไกล่เกลีย ่ การยืน ่ ล้มละลายโดยสมัครใจ
และการประนอมหนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งยังจะวางรากฐานสู่การขยายโอกาสการเข้าถึง สินเชือ ่ ในระยะยาว และกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ในภาคการเงิน
1
ระเบียบวิธีการศึกษา การจั ดการหนี้ของ ลู กหนี้รายย่ อย
จากการเก็บแบบสอบถามของแนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand) ตั้งแต่วันที่ 23 เมษายน–21 พฤษภาคม 2564 ผ่านช่องทางออนไลน์ มีผต ู้ อบแบบสอบถามทั้งสิ้น 275 คน ในจํานวนนีเ้ ป็นผูต ้ อบแบบสอบถามทีไ่ ม่มภ ี าระหนีส ิ 18 คนและเป็นลูกหนีท ้ น ้ ง้ั ในและนอก
ระบบที่ได้รบ ั ผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุใ์ หม่ 2019 (โควิด-19) จํานวน
➊
➋
➌
ลูกหนีท ้ ี่เดิมไม่มีหนี้
ลูกหนีท ้ ี่มีหนีอ ้ ยู่แล้ว
ลูกหนีท ้ ี่มีหนีอ ้ ยู่แล้ว
ไม่เพิ่มขึ้นภายหลัง
หนีส ้ ินเพิ่มขึ้นภายหลัง
แต่เริม ่ มีภายหลัง การระบาด
18 คน (ร้อยละ 7
จำ�นวน
ของลูกหนีท ้ ั้งหมด)
ก่อนหน้านี้ แต่หนีส ้ ิน การระบาด
115 คน (ร้อยละ 44.7
จำ�นวน
ของลูกหนีท ้ ั้งหมด)
ก่อนหน้านี้ และมี การระบาด
124 คน (ร้อยละ 48.3
จำ�นวน
ของลูกหนีท ้ ั้งหมด)
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
257 คน แบ่งเป็น
15
ทั้งนี้ เพือ ่ ความเข้าใจเพิม ่ เติมเกี่ยวกับปัจจัยและผลลัพธ์ของการเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้
ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) อย่างชัดเจน เพือ ่ อ ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นรู ปธรรม แนวร่วม ่ นําไปสูข การเงินที่เป็นธรรมได้สร้างแบบจําลองโลจิต (Logit Model) ขึ้นมา 2 แบบจําลอง โดยเน้นตอบ โจทย์วิจัย 2 ข้อ ได้แก่
➊
➋
ปัจจัยด้านกายภาพและ
มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้
เข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือ
หนีส ้ ินของลูกหนี้ หรือทําให้
ประชากรศาสตร์ส่งผลต่อการ
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ลูกหนีห ้ รือไม่?
16
ประเภทใดที่แบ่งเบาภาระ ลูกหนีพ ้ ึงพอใจ?
สําหรับคําถามแรก ตัวแปรตาม (dependent variable) ของแบบจําลองแรกจะมีลักษณะเป็น
ตัวแปรทวิภาค (dichotomous variable) ระหว่างการเข้าร่วมและไม่ได้เข้าร่วมมาตรการ อย่างไร ก็ดี เนื่องจากลูกหนี้แต่ละคนมีเจ้าหนี้หลายราย ทําให้ลูกหนี้แต่ละคนอาจเข้าร่วมมาตรการกับ
สถาบันการเงินหนึ่งและไม่ได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงินแห่งอื่น ดังนั้น แนวร่วมฯ จึงใช้ นิยามว่า “ลูกหนี้ท่ีได้เข้าร่วมมาตรการ” หมายถึง ลูกหนี้ท่ีมจ ี ํานวนการเข้าร่วมมาตรการมากกว่า หรือเท่ากับจํานวนที่ไม่ได้เข้าร่วม
ขณะที่ ตั ว แปรต้ น (predictor variable) ของแบบจํ า ลองแรกจะประกอบไปด้ ว ยตั ว แปรหุ่ น (dummy variable) 2 ตัวแปร ได้แก่ อาชีพ (ว่างงานเป็นกรณีฐาน หรือ reference case) และ
ระดั บ การศึ ก ษา (ตํ่ า กว่ า ปริญ ญาตรีเ ป็ น กรณี ฐ าน) และตั ว แปรอื่ น ๆ 4 ตั ว แปร ได้ แ ก่ อายุ
จํานวนเจ้าหนี้ จํานวนภาระหนี้ การเปลี่ยนแปลงของรายได้หลังโควิด-19 ระบาด
สําหรับคําถามที่สอง ตัวแปรตาม (dependent variable) ของแบบจําลองแรกจะมีลักษณะเป็น ตัวแปรทวิภาค (dichotomous variable) ระหว่างการที่มาตรการ “สามารถ” และ “ไม่สามารถ”
ช่วยเหลือลูกหนี้ในการบริหารจัดการหนี้สินได้ เช่นเดียวกับคําถามแรกเนื่องจากลูกหนี้หนึ่งคนมี เจ้ าหนี้ ได้ ห ลายรายและสามารถเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลื อได้ ห ลายแห่ง แนวร่วมฯ จึ งนิ ย าม
“ลูกหนี้ท่ีเข้ามาตรการและได้รบ ั ความช่วยเหลือ” ว่าหมายถึงลูกหนี้ท่ีมีจํานวนการเข้ามาตรการ และระบุวา ่ มาตรการนัน ู หนีร้ ะบุ ้ ๆ สามารถช่วยเหลือลูกหนีไ้ ด้มากกว่าจํานวนการเข้ามาตรการที่ลก ว่าไม่สามารถช่วยเหลือได้
ขณะที่ตัวแปรต้นของแบบจําลองที่สองประกอบด้วยตัวแปรหุน ่ 6 ตัวแปร ตามประเภทของมาตรการที่มี โดยกรณีฐานคือไม่ได้เข้าร่วมมาตรการประเภทนั้น ๆ ได้แก่
➊
➋
➌
พั กหนี้ (ทั้ งเงินต้ น และดอกเบี้ย)
พั กชํ าระ เงินต้ น
(จ่ ายแต่ ดอกเบี้ย)
ลด เงินผ่ อน/ ค่ างวด
➍
➎
➏
ขยายเวลา การชํ าระหนี้/
ลดอั ตรา ดอกเบี้ย
รวมหนี้ หรือเปลี่ยน ประเภทหนี้
ค่ างวด
แบบจําลองที่ใช ้ในการวิเคราะห์ จะไม่ประมาณการผลของมาตรการยกหรือผ่อนปรนดอกเบี้ย/
ค่าปรับผิดนัดชําระหนี้และรีไฟแนนซ์สินเชื่อ เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างมีจํานวนน้อยจนไม่สามารถ
สํ า หรับ การแปลผลแบบจํ า ลอง เนื่ อ งจากความซั บ ซ้ อ นของความหมายของค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ (coefficient) หรือค่าเบต้ า (beta) ของแบบจําลองโลจิต แนวร่วมฯ จึงรายงานผลในรู ปแบบ
ผล ก ระทบส่ ว นเพิ่ม (marginal effects) แทนการรายงานผลเบต้ า จากแบบจํ า ลองโดยตรง กล่าวคือเป็นค่า “ความน่าจะเป็นส่วนเพิม ู หนี้มโี อกาสจะได้เข้าร่วมมาตรการเพิม ่ ” ที่ลก ่ ขึ้น/ลดลง
หากลูกหนี้ประกอบอาชีพหนึ่ง ๆ หรือมีระดั บการศึ กษาถึ งบางระดั บ หรือในกรณี คําถามที่ สอง คือความน่าจะเป็นส่วนเพิ่มหรือโอกาสที่ลูกหนี้จะพึงพอใจหรือคิดว่ามาตรการโดยรวมสามารถ ช่วยเหลือการบริหารจัดการหนี้สินได้ หากได้เข้าร่วมมาตรการบางประเภทโดยเฉพาะ
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ประมาณการได้ หรือไม่มก ี ลุ่มตัวอย่างที่ได้เข้าร่วมมาตรการเลย
17
2
ข้ อมู ลด้ าน ประชากรศาสตร์ ของลู กหนี้ที่ ตอบแบบสอบถาม อายุ
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
เพศ
18
จากจํ านวนลูกหนี้ 257 คน พบว่ าลูกหนี้เป็น
จากจํานวนลูกหนี้ 257 คน พบว่ากลุ่มลูกหนี้
ของลูกหนี้ท้ังหมด เป็นเพศหญิง 106 คน คิด
สัดส่วนร้อยละ 54.1 รองลงมาคือกลุม ่ ลูกหนีใ้ น
เพศชาย 142 คน คิ ดเป็ น สั ดส่ ว นร้อ ยละ 55 เป็นสัดส่วนร้อยละ 41 เพศวิถีอื่น ๆ 4 คน คิด
เป็ น สั ด ส่ ว นร้อ ยละ 2 และไม่ ร ะบุ เ พศ 5 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 2 ดังแสดงในรู ปที่ 1
ส่วนใหญ่อยูใ่ นช่วง 26–40 ปี 139 คน คิดเป็น
ช่ ว งอายุ 41–56 ปี 84 คน คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว น
ร้อยละ 32.7 กลุ่มลูกหนี้ในช่วงอายุ 57–74 ปี
12 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 4.7 และสุดท้าย คือลูกหนีใ้ นช่วงอายุตา ํ่ กว่า 25 ปี 4 คน คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 1.6 โดยมีลก ู หนีท ้ ไ่ี ม่ระบุอายุ 18
คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 7 ดังแสดงในรู ปที่ 2
อื�น ๆ
2%
ไม่ ระบุ
150
139
N = 257
2% 120
90
84
60
30 ชาย
หญิง
55%
41%
4
0
N = 257 รู ปที่ 1 เพศของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ)
<25 GenZ
18
12 0 26–40 GenY
41–56 57–74 >74 ไม่ ระบุ GenX Boomers Traditionalist
รู ปที่ 2 อายุ ของลู กหนี้ (หน่ วย: คน)
1.6% ไม่ ระบุ 12.1%
ปริญญาเอก
ระดั บ การศึกษา
1.6%
ประถมศึกษา
มั ธยมศึกษาตอนต้ น
2.3%
กํ าลั งศึกษาระดั บ ปริญญาตรี
3.5%
จากจํ า นวนลู ก หนี้ 257 คน พบว่ า ลู ก หนี้ ส่ ว น
ใหญ่มก ี ารศึกษาอยูใ่ นระดับปริญญาตรี 125 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 48.6 ของลูกหนี้ท้ังหมด
ระดับปริญญาโท 78 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 30.4 ของลูกหนี้ท้ั งหมด กํ าลั งศึ กษาในระดั บ ปริญญาตรีหรือตํ่ากว่า 19 คน คิดเป็นสัดส่วน
เอก 4 คน คิ ดเป็นสั ดส่ วนร้อยละ 1.6 และไม่
ปริญญาตรี ปริญญาโท
ระบุ ร ะดั บ การศึ ก ษา 31 คน คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว น ร้อยละ 12.1 ดังแสดงในรู ปที่ 3
N = 257 รู ปที่ 3 ระดั บการศึกษาของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ)
ลู กจ้ างรายวั น ฟรีแลนซ์
อาชีพ
48.6%
30.4%
1.9% 5.1%
นั กเรียน นั กศึกษา
1.2%
ทํ าการเกษตรหรือประมง ว่ างงาน
2.7%
6.2% ไม่ ระบุ
1.9%
ข้ าราชการ/พนั กงาน รั ฐวิสาหกิจ
19.8%
จากจํ านวนลูก หนี้ ท่ี ต อบแบบสํ า รวจ 257 คน พบว่าลูกหนีส ่ นใหญ่มอ ี าชีพเป็นพนักงานบริษัท ้ ว
99 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.5 ของลูกหนี้
ทัง้ หมด ทําธุรกิจส่วนตัว 58 คน คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 22.6 ข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาห
กิ จ 51 คน คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้อ ยละ 19.8 และ อาชี พ อื่ น ๆ เช่ น รับ จ้ า งอิ ส ระหรือ ฟรีแ ลนซ์
ลูกจ้างรายวัน เกษตรกร และนักเรียนนักศึกษา
28 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.9 อนึ่ง มีลก ู หนี้
ว่างงาน 16 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 6.2 ของ ลูกหนี้ท้ังหมด ดังแสดงในรู ปที่ 4
พนั กงานบริษั ท ธุ รกิจส่ วนตั ว
38.5%
22.6%
N = 257 รู ปที่ 4 อาชีพของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ)
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ร้อยละ 7.4 ของลูกหนี้ท้ั งหมด ระดั บปริญญา
19
3
สถานการณ์ ของลู กหนี้รายย่ อย ที่ได้ รั บผลกระทบ จากโควิด-19
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ผลกระทบต่ อรายได้
20
ผลกระทบต่อลูกหนี้ท้ังหมด สําหรับผลกระทบต่อรายได้จากการระบาดของโควิด-19 จากลูกหนี้ท่ีให้ข้อมูลรายได้ 240 คน พบว่าในช่วงก่อนการระบาดของโควิด-19 ลูกหนี้มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 116,049.5 บาท ขณะที่
ภายหลังเกิดการระบาดของโควิด-19 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของลูกหนี้ลดลงเหลือ 44,889.1 บาท หรือร้อยละ 29.7
หากเรียงตามระดับรายได้ก่อนการระบาด พบว่ารายได้ของลูกหนี้ท่ีมรี ะดับรายได้ก่อนการระบาด
น้อยกว่า 15,000 บาทต่อเดือน ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 31.4 ขณะที่ลูกหนี้ท่ีมีระดับรายได้ก่อนการ ระบาด 30,001–45,000 บาทต่อเดือน รายได้ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 18.8 สําหรับลูกหนี้ท่ีมีรายได้
ก่อนการระบาดตั้งแต่ 45,000 บาทต่อเดือนขึ้นไป รายได้หลังการระบาดจะลดลงมากขึ้นตาม
ระดับรายได้ท่ีเพิ่มขึ้น โดยลูกหนี้ท่ีระดับรายได้มากกว่า 100,000 บาทต่อเดือน รายได้หลังการ ระบาดจะลดลงเฉลี่ยถึงร้อยละ 46.4 รายละเอียดดังตารางที่ 1
ผลกระทบจําแนกตามอาชีพของลูกหนี้ แนวร่วมฯ พบว่าอาชีพของลูกหนีส ้ ่งผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงด้านรายได้ของลูกหนี้ โดยกลุ่ม
ทีร่ ายได้ลดลงน้อยทีส ุ ได้แก่ กลุม ่ ข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจทีร่ ายได้เฉลีย ่ ด ่ ต่อเดือนลดลง เพียงร้อยละ 3.7 จาก 45,369 บาท เป็น 42,825.1 บาท รองลงมาคือกลุม ่ นักเรียนนักศึกษาทีล ่ ดลง
ร้อยละ 3.8 จาก 19,000 บาท เป็น 12,666.7 บาท และกลุ่มพนักงานบริษัทที่ลดลงร้อยละ 15.6 จาก 62,672.8 บาท เป็น 51,555.9 บาท
ตารางที่ 1 การเปลี่ยนแปลงรายได้ ของลู กหนี้ตามระดั บรายได้ ระดั บรายได้ ก่ อน การระบาด (บาทต่ อเดือน)
รายได้ เฉลี่ยก่ อน โควิด-19 ระบาด (บาทต่ อเดือน)
รายได้ เฉลี่ยหลั ง โควิด-19 ระบาด (บาทต่ อเดือน)
ค่ าเฉลี่ยการ เปลี่ยนแปลงของ รายได้ (ร้ อยละ)
จํ านวนลู กหนี้ (คน)
น้ อยกว่ า 15,000
11,277.3
7,119.3
-31.4
30
15,001–30,000
25,300.0
18,863.6
-25.7
55
30,001–45,000
37,702.8
30,380.0
-18.8
46
45,001–60,000
53,277.8
36,625.0
-31.0
36
60,001–75,000
70,295.4
46,601.2
-33.3
13
75,001–90,000
82,350.0
62,535.7
-24.6
14
90,001–100,000
100,000.0
61,333.3
-38.7
15
มากกว่ า 100,000
609,774.2
142,096.8
-46.4
31
ขณะทีก ่ ทีไ่ ด้รบ ั ผลกระทบมาก โดยมีรายได้ลดลงมากกว่าร้อยละ 30 คือกลุม ่ ธุรกิจส่วนตัว ลดลง ่ ลุม
ร้อยละ 57.8 จาก 336,072.7 บาท เป็น 62,454.5 บาท รองลงมาคือกลุม ่ รับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์ รายได้ลดลงร้อยละ 55.8 จาก 37,090.9 บาท เป็น 11,909.1 บาท, กลุ่มเกษตรกร รายได้ลดลง ร้อยละ 40.3 จาก 16,666.7 บาท เป็น 10,416.7 บาท และกลุ่มลูกจ้างรายวัน ลดลงร้อยละ 38.3
จาก 11,375 บาท เป็น 6,625 บาท อนึ่ง สําหรับกลุ่มผู้ว่างงานพบว่าได้รบ ั ผลกระทบมากที่สุด
ตารางที่ 2 การเปลี่ยนแปลงรายได้ ของลู กหนี้อาชีพต่ าง ๆ อาชีพ
รายได้ เฉลี่ยก่ อน โควิด-19 ระบาด (บาทต่ อเดือน)
รายได้ เฉลี่ยหลั ง โควิด-19 ระบาด (บาทต่ อเดือน)
ค่ าเฉลี่ยการ จํ านวนลู กหนี้ เปลี่ยนแปลงของ (คน) รายได้ (ร้ อยละ)
ข้ าราชการ/พนั กงานรั ฐวิสาหกิจ
45,369.0
42,825.1
-3.7
51
พนั กงานบริษั ท
62,672.8
51,555.9
-15.6
98
ธุ รกิจส่ วนตั ว
336,072.7
62,454.5
-57.8
58
ลู กจ้ างรายวั น
11,375.0
6,625.0
-38.3
5
รั บจ้ างอิสระหรือฟรีแลนซ์
37,090.9
11,909.1
-55.8
13
นั กเรียน นั กศึกษา
19,000.0
12,666.7
-3.8
3
เกษตรกร
16,666.7
10,416.7
-40.3
7
ว่ างงาน
34,687.5
5,475.0
-76.0
15
หมายเหตุ : สำ�หรั บกลุ่ มคนว่ างงาน เนื่องจากข้ อจำ�กั ดจากแบบสอบถามทำ�ให้ ไม่ ทราบแหล่ งที่มารายได้ ของ คนว่ างงาน แต่ สั นนิษฐานว่ าได้ รั บรายได้ จากคนในครอบครั ว หรือเคยมีงานทำ� แต่ ผลกระทบจากโควิด ทำ�ให้ ปัจจุ บันกลายเป็นผู้ ว่ างงาน
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
เพราะรายได้ลดลงร้อยละ 76 จาก 34,687.5 บาท เป็น 5,475 บาท รายละเอียดดังตารางที่ 2
21
การเปลีย ่ นการระบาดและตามอาชีพของ ่ นแปลงรายได้ของลูกหนีห ้ ลังการระบาดตามระดับรายได้กอ ลูกหนี้ สะท้อนว่าลูกหนีไ้ ด้รบ ั ผลกระทบจากโควิด-19 ไม่เท่ากัน โดยลูกหนีท ้ ยมากหรือ ้ ่ีมรี ายได้นอ
สูงมาก ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพทีม ่ รี ายได ้ไม่แน่นอนสูง เช่น รับจ้างอิสระ ลูกจ้างรายวัน เกษตรกร
หรือธุรกิจส่วนตัว ในส่วนของลูกหนี้ท่ีปัจจุบันว่างงานจะได้รบ ั ผลกระทบทางด้านรายได้มากที่สุด
ขณะที่ลูกหนี้ท่ีมีรายได้ปานกลาง ซึ่งจะมีรายได้ค่อนข้างแน่นอน ส่วนใหญ่กลุ่มนี้ประกอบอาชีพ ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจและพนักงานบริษัท ซึ่งจะได้รบ ั ผลกระทบน้อยกว่าอย่างเห็นได้ชด ั
ลั กษณะภาระหนี้ของลู กหนี้ จํานวนเจ้าหนี้ต่อราย ข้อมูลจากลูกหนีท ่ นใหญ่หรือร้อยละ 68.8 มีเจ้าหนีจ ํ นวน 1–3 ราย โดย ้ ้ังหมด 244 คน ลูกหนีส ้ ว ้ า
1 ใน 4 หรือร้อยละ 25 ของลูกหนี้ท้ั งหมดจะมีเจ้ าหนี้ 1 ราย ขณะที่ ประมาณร้อยละ 20 ของ
ลูกหนี้ท้ังหมดมีเจ้าหนี้ท่ีจํานวน 2 และ 3 ราย ร้อยละ 13.5 มีเจ้าหนี้จํานวน 4 ราย ร้อยละ 8.2 กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
มีเจ้าหนี้จํานวน 5 ราย ร้อยละ 3.7 มีเจ้าหนี้จํานวน 6 ราย ร้อยละ 1.6 มีเจ้าหนี้ 7 ราย อย่างไร
22
ก็ ต าม มีป ระเด็ น ที่ น่ า กั ง วลคื อ มีลูก หนี้ ร อ ้ ยละ 4 (10 คน) ที่ มีจํ า นวนเจ้ า หนี้ ม ากกว่ า 8 ราย ดังแสดงในรู ปที่ 5
30%
N = 244 25.8%
25%
22.5% 20.5%
20% 15%
13.5%
10%
8.2%
5% 0%
3.7%
1 ราย
2 ราย
3 ราย
4 ราย
5 ราย
6 ราย
1.6%
2.0%
7 ราย
8 ราย
1.6%
9 ราย
0.4%
≥ 10 ราย
รู ปที่ 5 จํ านวนเจ้ าหนี้ต่ อรายของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ)
ประเภทเจ้าหนี้ หากแบ่งภาระหนี้สินที่ลก ู หนี้มต ี ามประเภทของเจ้าหนี้ จากลูกหนี้ 244 คน พบว่าเจ้าหนี้ส่วนใหญ่
เป็นธนาคารพาณิ ชย์ บริษัทบัตรเครดิต บริษัทลีสซิ่ง และสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐขนาด ใหญ่ ซึ่งเป็นสถาบันการเงินที่เป็นทางการและอยูใ่ นระบบ โดยสถาบันการเงินที่เป็นเจ้าหนีม ้ ากกว่า
ร้อยละ 20 ของลูกหนี้ท้ังหมด ได้แก่ ธนาคารกรุ งไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์ บริษัทบัตรเครดิต ธนาคารกรุ งศรีอยุธยา ธนาคารออมสิน และธนาคารกสิกรไทย ดังแสดงในรู ปที่ 6
ส่วนเจ้าหนีห ่ อกระบบ พบว่าร้อยละ 18.9 ของลูกหนี้ ้ รือช่องทางการกู้เงินที่ไม่เป็นทางการหรืออยูน
ทั้งหมดยืมเงินคนรู จ ้ ัก ขณะที่กลุ่มเจ้าหนี้นอกระบบมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 8.2 ของลูกหนี้ท้ังหมด และเจ้าหนี้กลุ่มบริการเงินด่วนมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 4.9 ดังแสดงในรู ปที่ 6 ธนาคารกรุ งไทย (KTB)
30.3%
ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB)
27.9%
บริษั ทบั ตรเครดิต
26.6%
ธนาคารกรุ งศรีอยุ ธยา (BAY)
24.2%
ธนาคารออมสิน (GSB)
22.1%
ธนาคารกสิกรไทย (KBANK)
21.3%
ยืมเงินคนรู้ จั ก
18.9%
บริษั ทลีสซิ�ง
17.6%
ธนาคารทหารไทยธนชาต (TTB)
16.8%
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (GHB)
12.3%
ธนาคารกรุ งเทพ (BBL)
11.5%
สถาบั นการเงินอื�น ๆ
11.1%
ธนาคารยู โอบี (UOB)
8.6%
หนี�นอกระบบ
8.2%
สหกรณ์ ออมทรั พย์ หรือสหกรณ์ เพื�อการผลิต
7.4%
โรงรั บจํ านํ า
6.6%
บริการเงินด่ วน ธนาคารเกียรตินาคินภั ทร (KKP)
3.7%
SME Bank
2.5%
กองทุ นหมู่ บ้ าน
2.5%
ธนาคารทิสโก้ (TISCO)
2.5%
ธนาคารเพื�อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.)
2.5%
ธนาคารซี�อเอ็ มบี ไทย (CIMB)
2.0%
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ (LHBANK)
1.2%
ธนาคารไทยเครดิตเพื�อรายย่ อย (TCR)
0.8%
ธนาคารสแตนดาร์ ดชาร์ เตอร์ ด (ไทย)
0.8%
ร้ านค้ า (ซื�อสินค้ าเชื�อ หรือผ่ อน)
0.8%
ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) (ICBC)
0.4%
กลุ่ มออมทรั พย์ สั จจะสะสมทรั พย์
0.4%
ธนาคารอิสลามแห่ งประเทศไทย (IBANK)
0%
ธนาคารเพื�อการส่ งออกและนํ าเข้ าแห่ งประเทศไทย (EXIM)
0%
0% ธนาคารพาณิชย์ และสถาบั นการเงินเฉพาะกิจของรั ฐ
รู ปที่ 6 ประเภทของเจ้ าหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย หมายเหตุ : ลู กหนี้แต่ ละคนสามารถมีเจ้ าหนี้ได้ หลายประเภท
N = 244 5%
10%
15%
เจ้ าหนี�ที��ม่ �ช่ สถาบั นการเงิน
20%
25%
เจ้ าหนี�นอกระบบ
30%
35%
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
4.9%
23
ประเภทสินเชื่อ สําหรับประเภทสินเชื่อของลูกหนี้แต่ละราย จากข้อมูลของลูกหนี้ 211 คน พบว่าลูกหนี้มีสินเชื่อ
ประเภทต่าง ๆ กับธนาคารพาณิ ชย์หรือสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐรวมกัน 551 สัญญา โดย แบ่งเป็นสินเชื่อบัตรเครดิต ร้อยละ 29.6 ของจํานวนสัญญาสินเชื่อทั้งหมด รองลงมาคือสินเชื่อ
ส่ ว นบุ ค คลที่ ร อ ้ ยละ 23.4 สิ น เชื่อ บ้ า นที่ ร อ ้ ยละ 21.1 และสิ น เชื่อ บั ต รกดเงิ น สดที่ ร อ ้ ยละ 11.3
ในส่วนของสินเชื่อเช่าซื้อ สินเชื่อธุรกิจ และสินเชื่ออื่น ๆ ที่เหลือรวมกันคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14.7 ของจํานวนสินเชือ ่ ทั้งหมด ดังแสดงในรู ปที่ 7
2.0% 2.2% อื�น ๆ 2.7% ธุ รกิจ 3.4%
จํ านํ าทะเบียนรถ ลีสซิ�ง
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
บั ตรเครดิต
24
29.6%
เช่ าซื�อรถ/มอเตอร์ �ซค์
บั ตรกดเงินสด
บ้ าน ส่วนบุ คคล
4.4%
11.3%
21.1%
23.4% N = 551
รู ปที่ 7 ประเภทสินเชื่อของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, ข้ อมู ลจากลู กหนี้จํ านวน 211 คน
จํานวนสัญญาหนี้ต่อราย ในแง่ของจำ�นวนสัญญาสินเชือ ่ ของลูกหนีแ ้ ต่ละราย จากข้อมูลของลูกหนี้ 221 คน พบว่าโดยเฉลี่ย ลูกหนี้มีจำ�นวนสัญญา 2.5 สัญญาต่อราย โดยส่วนใหญ่หรือร้อยละ 80.1 ของลูกหนี้ท้ังหมดมี สั ญญาสิ นเชื่อ 1–3 สั ญญา อี กร้อยละ 13.8 มีสัญญาสิ นเชื่อ 4–6 สั ญญา และลูกหนี้ ท่ี เหลื อ ร้อยละ 6.1 มีสัญญาสินเชือ ่ มากกว่า 6 สัญญาขึ้นไป รายละเอียดดังแสดงในรู ปที่ 8
40%
N = 211
37.0%
35% 30% 25%
23.2% 19.9%
20% 15%
9.0%
10% 5% 0%
2.4%
1 สั ญญา
2 สั ญญา
3 สั ญญา
4 สั ญญา
5 สั ญญา
2.4%
6 สั ญญา
3.8% 0.9%
7 สั ญญา
8 สั ญญา
1.4%
0.0%
9 สั ญญา
>9 สั ญญา
รู ปที่ 8 จํ านวนสั ญญาสินเชื่อต่ อรายของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้ งหมด)
เมื่อจํ าแนกสั ญญาสิ นเชื่อของลูกหนี้ แต่ ละรายตามประเภทสิ นเชื่อ พบว่ าโดยเฉลี่ ยลูกหนี้ จะมี จํานวนประเภทสินเชื่อ 2 ประเภทต่อราย โดยลูกหนี้ส่วนใหญ่มีสินเชื่อเพียง 1–2 ประเภทเท่านั้น
(ร้อยละ 40.3 และ 32.7 ตามลําดับ) ในขณะทีม ี ก ู หนีร้ าวร้อยละ 2.3 มีสน ิ เชือ ่ ล ่ มากกว่า 4 ประเภท
50%
N = 211
45% 40%
40.3%
35%
32.7%
30% 25% 20%
17.5%
15% 10%
7.1%
5% 0%
1 ประเภท
2 ประเภท
3 ประเภท
4 ประเภท
รู ปที่ 9 จํ านวนประเภทสินเชื่อต่ อรายของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้ งหมด)
1.4%
0.9%
5 ประเภท
6 ประเภท
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ขึ้นไป และสูงสุดอยูท ่ ่ี 6 ประเภทสินเชือ ่ ต่อลูกหนี้ 1 คน รายละเอียดดังแสดงในรู ปที่ 9
25
หลักประกันสินเชื่อของลูกหนี้ ข้อมูลหลักประกันสินเชื่อจะมีเฉพาะลูกหนี้ของธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินเฉพาะกิจของ
รัฐเท่านั้น จากข้อมูลลูกหนี้ 257 คน มีหนี้กับสถาบันการเงินทั้งหมด 19 แห่ง1 พบว่าสถาบันการ
เงิ น มี สั ด ส่ ว นลู ก หนี้ ท่ี มี ห ลั ก ประกั น ต่ อ ลูก หนี้ ท่ี ไ ม่ มี ห ลั ก ประกั น เฉลี่ ย อยู่ ท่ี 7 ต่ อ 3 โดยร้อ ยละ 60–80 ของลูกหนี้ของสถาบันการเงินแต่ละแห่งมีหลักประกันสินเชือ ่ อย่างน้อย 1 ประเภท ขณะที่
อีกร้อยละ 20–40 ของลูกหนี้ไม่มีหลักประกันสินเชื่อ ส่วนสถาบันการเงินที่ลูกหนี้ท้ังหมดมีหลัก ประกันสินเชื่อมี 7 แห่ง ได้แก่ ธนาคารเกียรตินาคินภัทร, ธนาคารทิสโก้, ธนาคารแลนด์ แอนด์
เฮ้าส์, ธนาคารสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ด (ไทย), ธนาคารไอซีบซ ี ี (ไทย), ธนาคารไทยเครดิตเพือ ่ ราย ย่อย และธนาคารอาคารสงเคราะห์ ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 สั ดส่ วนลู กหนี้ที่มีหลั กประกั นสินเชื่อกั บแต่ ละธนาคาร
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
สถาบั นการเงิน
26
จํ านวนลู กหนี้ของ สถาบั นการเงิน (คน)
สัดส่วนลู กหนี้ที่มี หลั กประกั นสินเชื่อ (ร้ อยละ) ไม่ มี
มี (อย่ างน้ อย 1 ประเภท)
ธนาคารกรุ งเทพ (BBL)
28
21.4
78.6
ธนาคารกรุ งไทย (KTB)
74
24.3
75.7
ธนาคารกรุ งศรีอยุ ธยา (BAY)
59
25.4
74.6
ธนาคารกสิกรไทย (KBANK)
52
36.5
63.5
ธนาคารเกียรตินาคินภั ทร (KKP)
9
-
100.0
ธนาคารซีไอเอ็ มบี ไทย (CIMB)
5
40.0
60.0
ธนาคารทหารไทยธนชาต (TTB)
41
14.6
85.4
ธนาคารทิสโก้ (TISCO)
6
-
100.0
ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB)
68
35.3
64.7
ธนาคารยู โอบี (UOB)
21
23.8
76.2
ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้ าส์ (LHBANK)
3
-
100.0
ธนาคารสแตนดาร์ ดชาร์ เตอร์ ด (ไทย)
2
-
100.0
ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) (ICBC)
1
-
100.0
ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่ อย (TCR)
2
-
100.0
ในจํานวนนี้มี 2 สถาบันการเงิน คือ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM) และ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (IBANK) ที่ไม่มล ี ก ู หนี้ในกลุ่มตัวอย่าง 1
จํ านวนลู กหนี้ของ สถาบั นการเงิน (คน)
สถาบั นการเงิน
สัดส่วนลู กหนี้ที่มี หลั กประกั นสินเชื่อ (ร้ อยละ) ไม่ มี
มี (อย่ างน้ อย 1 ประเภท)
สถาบั นการเงินอื่น ๆ (Other)
27
22.2%
77.8%
ธนาคารพั ฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อม แห่ งประเทศไทย (SME Bank)
6
33.3%
66.7%
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.)
6
16.7%
83.3%
ธนาคารออมสิน (GSB)
54
20.4%
79.6%
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (GHB)
30
-
100.0%
ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้ทั้ งหมด 257 คน โดยแต่ ละคนอาจมีหนี้กั บหลายสถาบั นการเงิน
สําหรับประเภทของสินทรัพย์ที่ลูกหนี้ใช้เป็นหลักประกัน ข้อมูลจากลูกหนี้ท่ีมีหลักประกันสินเชื่อ อย่างน้อย 1 ประเภท ที่ยินดีให้ข้อมูลหลักประกันทั้งหมด 332 รายการ พบว่าหลักประกันสินเชื่อ 5 อันดับแรกที่ลก ู หนี้ใช้ ได้แก่ เงินเดือน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 24 ของจํานวนหลักประกันสินเชือ ่ ทั้งหมด รองลงมาคือที่พักและที่ดินที่ใช้อาศัยอยู่ปัจจุบัน รวมร้อยละ 33, รถยนต์ จักรยานยนต์
อื�น ๆ
4% ที�ดินอื�น (ไม่ �ด้ อาศั ยอยู่ )
เงินเดือน
24%
สั ญญาประกั น
3%
5%
ศั กยภาพการหารายได้ �นอนาคต (เช่ น การศึกษา หน้ าที�การงาน) 6% ที�พั กอาศั ยอื�น (ไม่ �ด้ อาศั ยอยู่ )
การใช้ บุคคลคํ� าประกั น
ที�พั กอาศั ยในป�จจุ บัน
7%
8%
ยานยนต์ (รถยนต์ จั กรยานยนต์ อื�น ๆ)
18%
ที�ดินที��ช้ อาศั ยอยู่ �นป�จจุ บัน
N = 332 รู ปที่ 10 ประเภทหลั กประกั นสินเชื่อของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ)
15%
9%
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
และยานยนต์อื่น ๆ ร้อยละ 9 และใช้บุคคลคํ้าประกัน ร้อยละ 8 รายละเอียดดังแสดงในรู ปที่ 10
27
ภาระหนี้สินก่ อนได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19 จากลูกหนี้จํานวน 144 คน พบว่าลูกหนี้มภ ี าระหนี้เฉลี่ยอยูท ่ ี่ 36,439 บาทต่อเดือน ดอกเบีย ้ เฉลี่ย ร้อยละ 9.6 ต่อปี และมีระยะเวลาชําระหนีเ้ ฉลีย ั รา่ 11 ปี 2 เดือน ดังแสดงในตารางที่ 4 โดยมีอต ส่วนหนี้ต่อรายได้ต่อเดือน (debt service ratio: DSR) เฉลี่ยในช่วงก่อนการระบาดอยู่ที่รอ ้ ยละ 56.9 ก่อนจะเพิม ่ ขึ้นเป็นร้อยละ 147.8 หลังจากการระบาดได้เริม ่ ต้นขึ้นจนถึงปัจจุบัน
หากแยกภาระหนี้ ต ามประเภทสิ น เชื่ อ พบว่ า สิ น เชื่ อ ที่ ลู ก หนี้ มี ภ าระหนี้ ม ากที่ สุ ด ต่ อ เดื อ นคื อ
สินเชือ ี าระเฉลี่ย 83,184 บาทต่อเดือน อย่างไรก็ตาม สําหรับกลุ่มสินเชือ ่ ธุรกิจที่มภ ่ อุปโภคบริโภค ของประชาชน สินเชื่อที่ลูกหนี้มีภาระหนี้มากที่สุดต่อเดือนคือ สินเชื่อบ้าน มีภาระหนี้ (ยอดชําระ คืนเงินต้นและดอกเบีย ้ ) เฉลี่ย 23,953 บาทต่อเดือน รองลงมาคือสินเชือ ่ บัตรเครดิต สินเชือ ่ ส่วน บุคคล สินเชือ ี าระหนีเ้ ฉลีย ่ เช่าซือ ้ รถ สินเชือ ่ จํานําทะเบียนรถ ทีม ่ ภ ่ 10,000–15,000 บาทต่อเดือน ดังแสดงในตารางที่ 4
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ตารางที่ 4 ภาระหนี้ต่ อเดือนของลู กหนี้
28
ภาระหนี้เฉลี่ย ต่ อเดือน (บาทต่ อเดือน)
อั ตราดอกเบี้ย เฉลี่ย (ร้ อยละต่ อปี)
สินเชื่อส่ วนบุ คคล
11,903
สินเชื่อบั ตรเครดิต
ประเภทสินเชื่อ
ระยะเวลา ชํ าระหนี้เฉลี่ย
จํ านวนลู กหนี้ (คน)
ปี
เดือน
10.9
6
3
61
15,264
16.0
3
8
66
สินเชื่อบั ตรกดเงินสด
9,379
23.8
3
3
29
สินเชื่อจํ านํ าทะเบียนรถ
11,009
28.0
3
-
6
เช่ าซื้อรถ/มอเตอร์ ไซค์
11,617
2.0
5
4
15
ลีสซิ่ง
8,107
6.0
4
7
7
สินเชื่อบ้ าน
23,953
5.1
20
1
80
สินเชื่อธุ รกิจ
83,184
3.8
5
10
11
สินเชื่ออื่น ๆ
14,183
10.8
7
10
8
รวมสินเชื่อทุ กประเภท
36,439
9.6
11
2
144
สั ดส่ วนหนี้ต่ อรายได้ (DSR) เฉลี่ย ก่ อนการระบาด (ร้ อยละ)
56.9
สั ดส่ วนหนี้ต่ อรายได้ (DSR) เฉลี่ยหลั งการระบาด (ร้ อยละ)
147.8
ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้ 144 คน
เมื่อวิเคราะห์ภาระหนี้ต่อเดือนจําแนกตามอาชีพ จากข้อมูลของลูกหนี้ท่ียินดีให้ข้อมูลรายได้ 131 คน อาชีพที่มีภาระหนี้ต่อเดือนสูงสุดคือ อาชีพธุรกิจส่วนตัว โดยมีภาระหนี้อยู่ท่ี 75,547.34 บาท ต่อเดือน รองลงมาเป็นพนักงานบริษัท 30,959.44 บาทต่อเดือน และเกษตรกร 30,002.00 บาท
ต่อเดือน อย่างไรก็ตาม หากเปรียบเทียบอัตราส่วนหนี้ต่อรายได้ต่อเดือน (DSR) ก่อนการระบาด
ของโควิด-19 พบว่าอาชีพที่มีอัตราส่วนหนี้ต่อรายได้ต่อเดือน (DSR) สูงที่สุด 5 อันดับแรกคือ
เกษตรกร นักศึกษา เจ้าของธุรกิจ พนักงานบริษัท และข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ [อัตราส่วน หนี้ต่อรายได้ต่อเดือน (DSR) เท่ากับ 200.00%, 112.90%, 62.60%, 58.90% และ 56.80%
ตามลําดับ] โดยหลังจากการระบาด เกือบทุกอาชีพมีภาระหนี้ต่อรายได้ของลูกหนี้เพิ่มขึ้น โดย อาชีพที่มีอัตราส่วนหนี้ต่อรายได้ต่อเดือน (DSR) เพิ่มขึ้นมากที่สุดคือ กลุ่มคนว่างงานในปัจจุบัน
เพิ่มขึ้นร้อยละ 543.20 โดยอาจมีสาเหตุมาจากการต้องออกจากงานเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่
ได้รบ ั ผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 รองลงมาเป็น อาชีพเกษตรกร เพิ่มขึ้นร้อยละ 400
อาชีพธุรกิจส่วนตัว เพิ่มขึ้นร้อยละ 155.80 อาชีพนักศึกษา เพิ่มขึ้นร้อยละ 109.60 และอาชีพ รับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.00 อัตราการเพิ่มขึ้นเกือบเท่าตัวของอัตราส่วนหนี้
ต่อรายได้ตอ ่ เดือน (DSR) นี้ สะท้อนให้เห็นว่าอาชีพเหล่านีก ํ ลังประสบปัญหาอย่างหนักจากรายได้ ้ า ต่อเดือนที่ไม่พอชําระหนี้ และต้องหาวิธก ี ารจัดการหนี้อย่างเร่งด่วน ทั้งการจัดการหนี้ด้วยตัวเอง และการเข้ามาช่วยเหลือของภาครัฐ ดังแสดงในตารางที่ 5
จํ านวน ลู กหนี้ที่ให้ ข้ อมู ลภาระหนี้ (คน)
จํ านวนลู กหนี้ ที่ให้ ข้ อมู ล สัดส่วนหนี้ ต่ อรายได้ (คน)
การ เปลี่ยนแปลง สัดส่วนหนี้ต่ อ สัดส่วนหนี้ต่ อ สัดส่วนหนี้ต่ อ รายได้ เฉลี่ย รายได้ เฉลี่ย รายได้ เฉลี่ย ภาระหนี้ ก่ อนการ หลั งการ ก่ อนและหลั ง ต่ อเดือน ระบาด ระบาด การระบาด (บาทต่ อเดือน) (ร้ อยละ) (ร้ อยละ) (ร้ อยละ)
ข้ าราชการ/ พนั กงาน รั ฐวิสาหกิจ
28
28
23,843.71
56.80
67.30
+10.50
พนั กงานบริษั ท
59
56
30,959.44
58.90
97.70
+38.80
ธุ รกิจส่ วนตั ว
32
28
75,547.34
62.60
218.40
+155.80
ลู กจ้ างรายวั น
1
1
1,000.00
12.50
12.50
0.00
ฟรีแลนซ์
9
8
12,877.56
40.80
87.80
+47.00
นั กศึกษา
2
2
24,500.00
112.90
222.50
+109.60
เกษตรกร
1
1
30,002.00
200.00
600.00
+400.00
ว่ างงาน
10
7
10,569.00
48.60
591.80
+543.20
อาชีพ
ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้ที่ยินดีให้ ข้ อมู ลภาระหนี้ 142 คน และจํ านวนลู กหนี้ที่ยินดีให้ ข้ อมู ลสั ดส่ วนหนี้ต่ อรายได้ 131 คน
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ตารางที่ 5 ภาระหนี้ต่ อเดือนของลู กหนี้แยกตามอาชีพ
29
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
4
30
การจั ดการหนี้ในช่ วงโควิด-19 และผลของมาตรการ ช่ วยเหลือลู กหนี้ วิธีการจั ดการหนี้ของลู กหนี้ ผลกระทบของโควิ ด -19 ทํ า ให้ ร ายได้ ข องลูก หนี้ ห ลั ง เกิ ด การระบาดโควิ ด -19 โดยเฉลี่ ย ลดลง
ประมาณร้อยละ 30 และอัตราส่วนหนี้ต่อรายได้ต่อเดือน (DSR) เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 56.9 เป็น ร้อยละ 147.8 ลูกหนีจ ี ารจัดการภาระหนีโ้ ดยมีรูปแบบการจัดการหนีห ้ งึ หาวิธก ้ ลัก 2 รู ปแบบ ได้แก่
➊
➋
การจัดการหนีท ้ ี่มีอยู่โดยไม่กู้
การกู้ยืมเงินเพิ่มจาก
ยืมเงินเพิ่มเติม แล้วพยายาม บริหารจัดการด้านการเงิน
ของตัวเองก่อน เช่น หาวิธเี พิ่ม
ช่องทางที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ
รายได้หรือลดรายจ่ายลง
จากข้อมูลของลูกหนี้ 257 คน ส่วนใหญ่ใช้วิธก ี ารจัดการหนี้ท่ีมีอยู่แบบไม่มีการกู้เพิ่มเติม โดยมี
การลดรายจ่ายร้อยละ 64.2 การเข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนีส ิ กับสถาบันการเงินร้อยละ 37 ้ น
และการหารายได้เพิ่มร้อยละ 35.8 หากรายได้ยังไม่พอจ่ายภาระหนี้สินและรายจ่ายจําเป็นต่าง ๆ ลูกหนี้จึงเลือกที่จะขายทรัพย์สิน โดยมีผู้เลือกแนวทางนี้รอ ้ ยละ 20.6 หรือนําทรัพย์สินไปจํานํา ร้อยละ 17.9 และวิธก ี ารจัดการหนีแ ้ บบกู้หรือยืมเงินเพิม ่ เติม แบ่งเป็นช่องทางที่เป็นทางการ ได้แก่
การกู้เงินเพิ่มจากสถาบันการเงินร้อยละ 24.1 และ กู้เพิ่มเติมจากสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน หรือ
กลุ่มออมทรัพย์รอ ้ ยละ 8.6 และช่องทางไม่เป็นทางการหรือนอกระบบ ได้แก่ การยืมเงินจากคน รู จ ้ ก ั แบบไม่มด ี อกเบีย ้ ร้อยละ 18.7 การกูเ้ งินจากหนีน ้ อกระบบร้อยละ 10.1 หรือยืมเงินจากนายจ้าง โดยไม่มด ี อกเบี้ยร้อยละ 2.7 ดังแสดงในรู ปที่ 11
ลดรายจ่ าย
64.2%
เข้ าร่ วมมาตรการแบ่ งเบาภาระหนี�สินกั บสถาบั นการเงิน
37.0%
หารายได้ เพิ�ม
35.8%
กู้ เพิ�มจากสถาบั นการเงิน
24.1%
ขายทรั พย์ สิน
20.6%
ยืมเงินจากคนรู้ จั กโดยไม่ มีดอกเบี�ย
18.7%
นํ าทรั พย์ สินไปจํ านํ า
17.9%
กู้ เพิ�มจากหนี�นอกระบบ
10.1%
กู้ เพิ�มจากสหกรณ์ กองทุ นหมู่ บ้ าน หรือกลุ่ มออมทรั พย์
8.6%
อื�น ๆ
5.4%
ยืมเงินจากนายจ้ างโดยไม่ มีดอกเบี�ย
2.7%
0% การบริหารจั ดการหนี��ดยไม่ มีการกู้ เพิ�ม
N = 257
1.9%
10%
กู้ หนี�เพิ�มเติมจากช่ องทางที�เป็นทางการ
20%
30%
40%
50%
60%
70%
กู้ หนี�เพิ�มเติมจากช่ องทางที��ม่ เป็นทางการหรือนอกระบบ
รู ปที่ 11 วิธีจั ดการหนี้หลั งการระบาดของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย หมายเหตุ : ลู กหนี้แต่ ละรายมีวิธีจั ดการหนี้ได้ หลายประเภท
หากวิเคราะห์ตามลักษณะการจัดการภาระหนี้และอาชีพ โดยเปรียบเทียบสัดส่วนการจัดการหนี้
แบบไม่กเู้ พิม ้ บบกูเ้ พิม ่ ต่อการจัดการหนีแ ่ จากข้อมูลของลูกหนี้ 257 ราย โดยแยกรายอาชีพ อาชีพ ส่วนใหญ่เลือกวิธก ี ารจัดการหนี้โดยไม่ก้เู งินเพิ่มเป็นหลัก ขณะที่ลก ู หนี้ท่ีเป็นเกษตรกรและลูกจ้าง
รายวันเลือกจัดการหนีโ้ ดยการกูเ้ งินเพิม ่ งจากเกษตรกรและลูกจ้างรายวัน ่ เป็นหลัก สันนิษฐานว่าเนือ มีเงินออมน้อยมากหรือไม่มีเลย การรับมือกับหนี้สินจึงมีทางออกเดียวเท่านั้นคือ ไปกู้เพิ่มเพื่อมา “โปะ” หรือชําระหนี้เดิม
สําหรับวิธก ี ารจัดการหนีแ ี ารกู้หรือยืมเงินเพิม ุ อาชีพจัดการภาระหนีส ้ บบไม่มก ้ ก ้ ินด้วย ่ เติม ลูกหนีท
การลดรายจ่ายประมาณร้อยละ 57–70 ของลูกหนี้ท้ังหมดของแต่ละอาชีพ รองลงมาเป็นการหา รายได้เพิม ่ ประมาณร้อยละ 19–44 และเลือกที่จะเข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สินกับสถาบัน
การเงินประมาณร้อยละ 20–45 อย่างไรก็ตาม การสํารวจครัง้ นีไ้ ม่พบว่าลูกหนีท ้ ่ีเป็นเกษตรกรเข้า
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
รั บสินค้ าจากร้ านค้ าก่ อน แล้ วจ่ ายคืนทีหลั ง
31
ร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สินของรัฐ เนื่องจากมาตรการของรัฐเน้นไปที่ลูกหนี้รายย่อยและ
ลูกหนี้ธุรกิจ กลุ่มอาชีพที่เลือกจัดการหนี้โดยการเข้ามาตรการดังกล่าว ส่วนใหญ่เป็นลูกหนี้ท่ีมี ธุรกิจส่วนตัวร้อยละ 44.8 รองลงมาเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และพนักงานบริษัทที่
ร้อยละ 37.3 และ 35.4 ตามลําดับ และเป็นกลุ่มลูกจ้างรายวันและฟรีแลนซ์ท่ีรอ ้ ยละ 30.8 และ 20 ตามลําดับ ดังแสดงในตารางที่ 6
สําหรับการจัดการหนีแ ้ รือยืมเงินเพิม ิ ก ี เู้ งินจากสถาบันการเงินเป็นอันดับแรก ้ บบกูห ่ เติม ลูกหนีใ้ ช้วธ
ที่รอ ้ ยละ 19–35 โดยลูกหนีท ี ส ี าชีพทําธุรกิจส่วนตัวที่รอ ้ ยละ 34.5 รองลงมาเป็น ้ ่ีใช้วิธน ้ี ่วนใหญ่มอ พนักงานบริษัทที่รอ ้ ยละ 23.2 และฟรีแลนซ์ที่รอ ้ ยละ 15.4 วิธก ี ารจัดการหนีใ้ นลําดับถัดมาคือการ
ยืมเงินจากคนรู จ ้ ักโดยไม่มีดอกเบี้ยที่รอ ้ ยละ 5–47 โดยลูกหนี้ท่ีใช้วิธน ี ้ีส่วนใหญ่ประกอบอาชีพฟรี แลนซ์ที่รอ ้ ยละ 46.2 ลูกจ้างรายวันที่รอ ้ ยละ 40 เกษตรกรที่รอ ้ ยละ 28.6 และพนักงานบริษัทที่
ร้อยละ 17.2 และวิธก ี ารจัดการหนีแ ้ ม ื เพิม ั ความนิยมคือการกูห ้ นี้ ้ บบการกูย ่ เติมอีกอย่างหนึ่งทีไ่ ด้รบ นอกระบบที่รอ ้ ยละ 3–40 โดยลูกหนี้ท่ีมอ ี าชีพลูกจ้างรายวันและเกษตรกรที่รอ ้ ยละ 40 และ 28.6
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ตามลําดับ จะเป็นกลุ่มที่หาเงินเพิม ่ จากช่องทางนี้เป็นหลัก รายละเอียดดังตารางที่ 6
32
นอกจากนี้ ตารางที่ 6 ยังสะท้อนวิธก ี ารจัดการภาระหนี้และช่องว่างของการเข้าถึงบริการทางการ เงินในแต่ละอาชีพ ซึ่งสามารถวิเคราะห์จําแนกตามอาชีพดังรายละเอียดต่อไปนี้
ข้ าราชการ/พนั กงานรั ฐวิสาหกิจ มีวิธีจัดการหนี้ด้วยการลดรายจ่ายของตั วเองเป็นหลักที่
ร้อยละ 64.7 และเข้าร่วมมาตรการการแบ่งเบาภาระหนี้สินกับสถาบันการเงินที่รอ ้ ยละ 37.3 รอง
ลงมาเป็นการกูห ้ รือยืมเงินเพิม ่ า้ น หรือกลุม ่ ออมทรัพย์ ่ โดยส่วนใหญ่จะกูเ้ งินผ่านสหกรณ์ กองทุนหมูบ ที่รอ ้ ยละ 23.5 และกู้เพิ่มจากสถาบันการเงินที่รอ ้ ยละ 19.6 เมื่อพิจารณาช่องทางที่ข้าราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกิจใช้แก้ปญ ั หาภาระหนี้ จะเห็นว่าส่วนใหญ่เป็นช่องทางทีเ่ ป็นทางการ โดยเฉพาะ เมื่ อ กู้ ยื ม เพิ่ ม เติ ม มั ก กู้ ผ่ า นสหกรณ์ อ อมทรัพ ย์ ข องหน่ ว ยงานตนเอง ทั้ ง นี้ อาจเพราะสหกรณ์
ออมทรัพย์ของหน่วยงานของตนมักให้ต้นทุนการกู้ยืมที่ถูกกว่าสถาบันการเงินทั่วไปและให้สิทธิ ประโยชน์อื่น ๆ กับลูกหนี้ท่ีเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนั กงานบริษั ท มีวิธก ี ารจัดการหนี้แบบไม่ก้เู พิม ี าชีพนี้ส่วนใหญ่รอ ้ ยละ ่ เป็นหลัก โดยลูกหนี้ท่ีมอ
69.7 เลือกที่จะลดรายจ่ายของตัวเอง รองลงมาเลือกหารายได้เพิ่มที่รอ ้ ยละ 40.4 และเข้าร่วม มาตรการแบ่งเบาภาระหนีส ิ ของภาครัฐทีร่ อ ้ ยละ 35.4 ส่วนการจัดการหนีแ ้ น ้ บบกูเ้ พิม ่ นัน ้ พนักงาน
ส่วนใหญ่เลือกช่องทางที่เป็นทางการมากที่สด ุ คือ กู้ยม ื เงินจากสถาบันการเงินที่รอ ้ ยละ 23.2 รอง ลงมาเป็ น การยื ม เงิ น จากคนรู จ ้ ั ก แบบไม่คิ ด ดอกเบี้ ย ร้อ ยละ 17.2 ซึ่ง แตกต่ า งจากข้า ราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกิจที่มงุ่ เน้นที่การกู้ยม ื ผ่านสหกรณ์ออมทรัพย์
ธุ รกิจส่วนตั ว มีวธ ิ ก ี ารจัดการหนีแ ้ บบไม่กเู้ พิม ่ เหมือนกับพนักงานบริษัทและข้าราชการ/พนักงาน รัฐวิสาหกิจเช่นเดียวกัน โดยเน้นไปที่การจัดการหนี้แบบลดรายจ่ายที่รอ ้ ยละ 58.6 และเข้าร่วม มาตรการแบ่งเบาภาระหนีส ิ ทีร่ อ ้ ยละ 44.8 ทัง้ นี้ สัดส่วนลูกหนีท ่ ผูท ้ า ํ ธุรกิจ ้ น ้ เ่ี ข้าร่วมมาตรการในกลุม
ฟรีแลนซ์
นั กศึกษา
เกษตรกร
ว่ างงาน
ลู กจ้ างรายวั น
ธุ รกิจส่วนตั ว
วิธีการจั ดการหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละ)
พนั กงานบริษั ท
ข้ าราชการ/ พนั กงาน รั ฐวิสาหกิจ
ตารางที่ 6 การจั ดการหนี้หลั งการระบาดตามอาชีพของลู กหนี้
ลดรายจ่ าย
64.7
69.7
58.6
40.0
61.5
66.7
57.1
68.8
หารายได้ เพิ่ม
19.6
40.4
37.9
40.0
38.5
33.3
28.6
43.8
เข้ าร่ วมมาตรการแบ่ งเบาภาระหนี้สินกั บ สถาบั นการเงิน
37.3
35.4
44.8
20.0
30.8
0.0
0.0
43.8
ขายทรั พย์ สิน
17.6
17.2
34.5
0.0
7.7
0.0
28.6
12.5
นํ าทรั พย์ สินไปจํ านํ า
9.8
16.2
20.7
20.0
7.7
33.3
14.3
50.0
การจั ดการหนี้แบบไม่ กู้ เงินเพิ่ม
กู้ เพิ่มจากสถาบั นการเงิน
19.6
23.2
34.5
20.0
15.4
0.0
14.3
25.0
กู้ เพิ่มจากสหกรณ์ กองทุ นหมู่ บ้ าน หรือ กลุ่ มออมทรั พย์
23.5
3.0
3.4
0.0
0.0
0.0
14.3
12.5
ยืมเงินจากคนรู้ จั กโดยไม่ มีดอกเบี้ย
5.9
17.2
19.0
40.0
46.2
33.3
28.6
31.3
ยืมเงินจากนายจ้ างโดยไม่ มีดอกเบี้ย
2.0
2.0
3.4
0.0
0.0
0.0
14.3
0.0
กู้ เพิ่มจากหนี้นอกระบบ
3.9
8.1
12.1
40.0
7.7
0.0
28.6
12.5
รั บสินค้ าจากร้ านค้ าก่ อน แล้ วจ่ ายคืน ทีหลั ง
0.0
2.0
1.7
20.0
0.0
33.3
0.0
0.0
0.0
7.7
0.0
0.0
6.3
การจั ดการหนี้อื่น ๆ อื่น ๆ เช่ น ใช้ เงินออม, ยืมญาติแบบ มีดอกเบี้ย, ไม่ ใช้ สิทธิลดหย่ อนภาษี ที่เคยใช้ ฯลฯ
9.8
3.0
5.2
วิธีการที่ลู กหนี้เลือกใช้ ในการจั ดการภาระหนี้สู งสุ ด 3 อั นดั บแรก ลู กหนี้ไม่ เลือกจั ดการหนี้ด้ วยวิธีดั งกล่ าวเลย ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้ 257 คน
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
การจั ดการหนี้แบบกู้ หรือยืมเงินเพิ่ม
33
ส่วนตัวเป็นกลุม ่ ทีม ี ด ั ส่วนมากทีส ุ เมือ ่ อาชีพอืน ่ ส ่ ด ่ เปรียบเทียบกับกลุม ่ ในส่วนของช่องทางการกูเ้ งิน
เพิม ั กูผ ้ า ่ นช่องทางที่เป็นทางการ ่ มาบริหารจัดการหนีข ้ องผูเ้ ป็นเจ้าของกิจการ ส่วนใหญ่มก ่ เติมเพือ
คือ สถาบันการเงินทีร่ อ ้ ยละ 34.5 และเลือกวิธก ี ารยืมเงินจากคนรู จ ้ ก ั แบบไม่มด ี อกเบีย ้ ยละ 19 ้ ทีร่ อ
ลู กจ้ างรายวั น ส่วนใหญ่มีวิธก ี ารจัดการหนี้โดยการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ (ร้อยละ 40 ทั้ง สองวิธ)ี รองลงมาลูกจ้างรายวันจะเลือกวิธก ี ารจัดการภาระหนี้โดยการกู้หรือยืมเพิม ่ ซึ่งส่วนใหญ่ เป็นการยืมเงินจากคนรู จ ้ ักโดยไม่มีดอกเบี้ยและการกู้นอกระบบ (ร้อยละ 40 ทั้งสองวิธ)ี ขณะที่
ช่องทางที่ลก ู จ้างรายวันไม่ได้เลือก หรืออาจจะไม่สามารถเข้าถึงช่องทางดังกล่าวคือ การกู้ยม ื จาก สหกรณ์ กองทุนหมูบ ่ า ้ น หรือกลุม ่ ออมทรัพย์ และการยืมเงินจากนายจ้างโดยไม่มด ี อกเบีย ้ อย่างไร ก็ตาม ผลการวิเคราะห์อาจคลาดเคลือ ่ ตัวอย่างที่มอ ี าชีพลูกจ้าง ่ นจากความเป็นจริง เนือ ่ งจากกลุม รายวันมีจํานวนค่อนข้างน้อย
รั บจ้ างอิสระหรือฟรีแลนซ์ มีวิธก ี ารจัดการหนี้แบบไม่กู้เพิ่มด้วยวิธล ี ดรายจ่ายและเพิ่มรายได้
(ร้อยละ 61.5 และ 38.5 ตามลําดับ) เช่นเดียวกันกับพนักงานบริษัท ผูป ้ ระกอบธุรกิจส่วนตัว และ กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ลูกจ้ างรายวั น ในส่ วนของวิ ธีการจั ดการหนี้แบบกู้/ยืมเพิ่มนั้น ส่ วนมากกลุ่มอาชีพฟรีแลนซ์จะ
34
ยืมเงินจากคนรู จ ้ ก ั โดยไม่มด ี อกเบีย ่ งทางการกู/้ ยืมเงินทีก ่ อาชีพรับจ้าง ้ (ร้อยละ 46.2) ขณะทีช ่ อ ่ ลุม
อิสระไม่ได้เลือกคือ การกู้เพิ่มจากสหกรณ์ กองทุนหมู่บ้าน หรือกลุ่มออมทรัพย์ และยืมเงินจาก นายจ้างโดยไม่มด ี อกเบีย ้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่กลุ่มอาชีพลักษณะ
นีไ้ ม่สามารถเข้าถึงได้ อย่างไรก็ตาม ผลการวิเคราะห์อาจคลาดเคลือ ่ นจากความเป็นจริง เนือ ่ งจาก กลุ่มตัวอย่างที่มอ ี าชีพรับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์มจ ี ํานวนค่อนข้างน้อย
เกษตรกร มี วิ ธีก ารจั ด การหนี้ ท้ั ง สองแบบคื อ ไม่ กู้ เ พิ่ ม และกู้ เ พิ่ ม โดยแบบไม่ กู้ เ พิ่ ม นั้ น กลุ่ ม เกษตรกรมักลดรายจ่าย หารายได้เพิ่ม และขายทรัพย์สินของตนที่รอ ้ ยละ 57.1, 28.6 และ 28.6
ตามลา ํ ดับ ในส่วนของการกู/้ ยืมเพิม ่ อาชีพเกษตรกรเน้นไปที่การยืมเงินจากคนรู จ ้ ก ั โดย ่ เติมนี้ กลุม ไม่มีดอกเบี้ยและกู้เพิ่มนอกระบบ (ร้อยละ 28.6 ทั้งสองวิธ)ี ขณะที่วิธก ี ารจัดการหนี้ท่ีเกษตรกร
ไม่ได้เลือกตอบเลยคือ การเข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สิน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเกษตรกร เป็นกลุ่มอาชีพที่การช่วยเหลือของมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สินไม่ครอบคลุมถึงกลุ่มคนเหล่านี้
อย่างไรก็ตาม ผลการวิเคราะห์อาจคลาดเคลือ ่ ตัวอย่างทีม ี าชีพ ่ นจากความเป็นจริง เนือ ่ งจากกลุม ่ อ เกษตรกรมีจํานวนค่อนข้างน้อย
นั กศึกษา มักใช้วธ ิ ก ี ารจัดการหนีโ้ ดยการลดรายจ่าย เพิม ิ ไปจํานํา และยืมเงิน ่ รายได้ นําทรัพย์สน จากคนรู จ ้ ักโดยไม่มด ี อกเบีย ้ ยละ 66.7, 33.3, 33.3, และ 33.3 ตามลําดับ อย่างไรก็ตาม ผล ้ ที่รอ การวิเคราะห์อาจคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษามีจํานวน ค่อนข้างน้อย
ว่ างงาน มีวิธก ี ารจัดการหนี้เน้นไปที่การไม่กู้เพิ่ม โดยการลดรายจ่าย นําเอาทรัพย์สินไปจํานํา
หารายได้ เพิ่ม และเข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้สินที่ รอ ้ ยละ 68.8, 50, 43.8 และ 43.8
ตามลําดับ ในส่วนของการกู้/ยืมเพิ่มเพื่อจัดการหนี้น้ัน ส่วนใหญ่รอ ้ ยละ 31.3 เลือกยืมเงินจาก
คนรู จ ้ ักโดยไม่มีดอกเบี้ย ขณะที่วิธก ี ารที่กลุ่มคนว่างงานไม่ได้เลือกเป็นวิธก ี ารจัดการหนี้เลยคือ
การยืมเงินจากนายจ้างโดยไม่มีดอกเบี้ย ซึ่งสะท้อนให้เห็นการเข้าไม่ถึงแหล่งเงินทุนดังกล่าวและ ดูสมเหตุสมผลกับลักษณะของกลุ่มอาชีพ อย่างไรก็ตาม ผลการวิเคราะห์อาจคลาดเคลื่อนจาก ความเป็นจริง เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างที่ว่างงานมีจํานวนค่อนข้างน้อย
การเจรจาปรั บโครงสร้ างหนี้ของลู กหนี้ ก่อนทีธ ่ นาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกับสมาคมธนาคารไทย จะประกาศมาตรการให้ความ
ช่วยเหลือลูกหนี้ท่ีได้รบ ั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 พบว่าลูกหนี้ส่วน
ใหญ่ไม่เคยเจรจาปรับโครงสร้างหนี้กับสถาบันการเงินมาก่อน โดยคิดเป็นร้อยละ 61 ของสัญญา สินเชือ ู หนี้เพียงร้อยละ 20 ของสัญญาสินเชือ ่ ของลูกหนี้ท้ังหมด และมีลก ่ ของลูกหนี้ท้ังหมดที่เคย เจรจาปรับโครงสร้างหนีก ั สถาบันการเงิน ทัง้ นี้ มีลก ู หนีร้ อ ้ ยละ 19 ของสัญญาสินเชือ ้ บ ่ ทัง้ หมดที่ขอ
ไม่เปิดเผยข้อมูล ดังแสดงในรู ปที่ 12
19% (106)
เคย
ไม่ เคย
20% (108)
61% (337)
N = 511 รู ปที่ 12 การเจรจากั บเจ้ าหนี้ก่ อนมีมาตรการของ ธปท. (หน่ วย: ร้ อยละของจํ านวนสั ญญาทั้ งหมด)
มาตรการช่ วยเหลือลู กหนี้ของ ธปท. การเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือของลูกหนี้ในภาพรวม หากพิจารณาลูกหนี้ท่ีสามารถเข้าร่วมมาตรการแบ่งเบาภาระหนี้จากสถาบันการเงิน 257 ราย มี
ลูกหนีท ิ ดีให้ขอ ้ มูลจํานวน 165 คน โดยพบว่าลูกหนีส ่ นใหญ่เลือกทีจ ้ ย ่ี น ้ ว ่ ะไม่เข้ามาตรการช่วยเหลือ ของสถาบันการเงินที่รอ ้ ยละ 35.8 ขณะที่มีลูกหนี้ท่ีเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือกับสถาบันการเงิน อย่างน้อย 1 แห่ง ร้อยละ 28.4 ทั้งนี้ มีลูกหนี้รอ ้ ยละ 17.1 ที่เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงิน ทุกแห่งที่ตนมีหนี้อยู่ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 7
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ไม่ ระบุ
35
ตารางที่ 7 สั ดส่ วนลู กหนี้ที่เข้ าร่ วมมาตรการช่ วยเหลือของ ธปท. สถานะของลู กหนี้
จํ านวนลู กหนี้ (คน)
สัดส่วนต่ อลู กหนี้ ทั้ งหมด (ร้ อยละ)
ได้ เข้ าร่ วมมาตรการกั บสถาบั นการเงินทุ กแห่ งที่ตนมีหนี้อยู่
44
17.1
ไม่ ได้ เข้ าร่ วมมาตรการกั บสถาบั นการเงินทุ กแห่ งที่ตนมีหนี้อยู่
92
35.8
ได้ เข้ าร่ วมมาตรการกั บสถาบั นการเงินบางแห่ ง* ที่ตนมีหนี้อยู่
29
11.3
ไม่ ระบุ ข้ อมู ล
92
35.8
ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้ทั้ งหมด 257 คน * เนื่องจากลู กหนี้แต่ ละคนอาจมีเจ้ าหนี้สถาบั นการเงินหลายราย
มาตรการช่วยเหลือที่ลก ู หนี้ได้เข้าร่วมทั้งหมด
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
จากจํานวนลูกหนีท ู หนีท ้ มูลประเภทมาตร้ ง้ั หมด 257 คน มีลก ้ ไ่ี ด้เข้ามาตรการช่วยเหลือและให้ขอ
36
การที่ได้เข้าร่วม จํานวน 71 คน ทั้งที่ได้เข้าร่วมมาตรการกับสถาบันการเงินที่เป็นเจ้าหนี้ทุกแห่ง หรือเข้าร่วมเพียงบางแห่ง โดยลูกหนี้แต่ละรายสามารถเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือได้มากกว่า
1 ประเภท พบว่าส่วนใหญ่ลก ู หนี้เข้าร่วมมาตรการพักหนี้มากที่สด ุ ที่รอ ้ ยละ 46.5 รองลงมาลูกหนี้
เข้าร่วมมาตรการพักชําระเงินต้นที่รอ ้ ยละ 43.7 ลดเงินผ่อน/ค่างวดที่รอ ้ ยละ 29.6 ขยายเวลา ชําระหนีท ้ ยละ 14.1 ลดอัตราดอกเบีย ้ ยละ 12.7 รวมหนีห ้ ยละ 5.6 ้ ่ีรอ ้ ที่รอ ้ รือเปลี่ยนประเภทหนีท ้ ่ีรอ และรีไฟแนนซ์ท่ีรอ ้ ยละ 2.8 ดังแสดงในรู ปที่ 13
พั กหนี� (ทั� งเงินต้ นและดอกเบี�ย)
46.5%
พั กชํ าระเงินต้ น (จ่ ายแต่ ดอกเบี�ย)
43.7%
ลดเงินผ่ อน/ค่ างวด
29.6%
ขยายเวลาการชํ าระหนี�/ค่ างวด
14.1%
อื�น ๆ
12.7%
ลดอั ตราดอกเบี�ย
12.7%
รวมหนี�/เปลี�ยนประเภทหนี�
5.6%
รี�ฟแนนซ์ ป�ดสินเชื�อจากที�เดิม ยกหรือผ่ อนปรนดอกเบี�ยปรั บ/ค่ าปรั บผิดนั ดชํ าระ
2.8% 0%
0%
N = 71 10%
20%
30%
40%
รู ปที่ 13 ประเภทมาตรการที่ลู กหนี้ได้ เข้ าร่ วม (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้ งหมดที่เข้ าร่ วมมาตรการ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
50%
ขณะที่หากจําแนกตามอาชีพ การเข้ามาตรการของลูกหนี้มีความแตกต่างกันไป โดยพบว่าอาชีพ
ที่ได้เข้าร่วมมาตรการพักชําระหนี้มากที่สุดคือ ลูกหนี้ท่ีประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัวที่รอ ้ ยละ 56 ของลูกหนี้ท้ังหมดในแต่ละอาชีพที่เข้าร่วมมาตรการ ส่วนผู้ประกอบอาชีพราชการส่วนใหญ่จะเข้า ร่วมมาตรการพักชําระเงินต้น และเลือกจ่ายเพียงดอกเบีย ้ ยละ 53 ของลูกหนีท ้ ที่รอ ้ ้ังหมดในแต่ละ
อาชีพที่เข้าร่วมมาตรการ แต่สําหรับพนักงานบริษัทจะเห็นว่าเป็นกลุ่มที่ได้เข้าร่วมทุกมาตรการ โดยเฉพาะพนักงานบริษัทมักได้เข้าร่วมมาตรการพักชําระหนี้ท่ีรอ ้ ยละ 44 ของลูกหนี้ท้ังหมดใน แต่ละอาชีพที่เข้าร่วมมาตรการ ดังแสดงในรู ปที่ 14
33%
พั กหนี� (ทั� งเงินต้ นและดอกเบี�ย) พั กชํ าระเงินต้ น (จ่ ายแต่ ดอกเบี�ย)
32% 13%
ลดเงินผ่ อน/ค่ างวด 7%
ขยายเวลาการชํ าระหนี�/ค่ างวด ลดอั ตราดอกเบี�ย
56% 53%
39%
39%
16%
11%
รี�ฟแนนซ์ ป�ดสินเชื�อจากที�เดิม
28%
44%
20%
4% 7% 8% 6% 7%
อื�น ๆ
6%
0%
10%
ข้ าราชการ/พนั กงานรั ฐวิสาหกิจ (N = 15)
20%
20%
30%
พนั กงานบริษั ท (N = 25)
40%
50%
60%
ธุ รกิจส่ วนตั ว (N = 18)
รู ปที่ 14 ประเภทมาตรการที่ลูกหนี้ได้ เข้ าร่ วมตามอาชีพ (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้งหมดในแต่ ละอาชีพที่เข้ าร่ วมมาตรการ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
ทั้งนี้ ผลการเข้าร่วมมาตรการของลูกหนี้แต่ละสายอาชีพ สะท้อนให้เห็นว่าผู้ประกอบอาชีพธุรกิจ
ส่วนตัวที่ส่วนใหญ่ได้พก ั ชําระหนี้ เนื่องจากไม่สามารถดําเนินกิจการได้ และขาดรายได ้ในช่วงการ
ระบาดของโควิด-19 จึงจําเป็นอย่างยิง่ ที่จะต้องพักการชําระหนี้ ส่วนผูป ้ ระกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว
ที่ ไ ด้ เ ข้ า ร่ว มมาตรการอื่ น ๆ เช่ น ลดการผ่ อ นชํา ระหรือ ลดค่ า งวด หรือ เลื อ กลดอั ต ราดอกเบี้ ย
เป็นต้น ถือเป็นกลุ่มธุรกิจที่ยงั สามารถดําเนินกิจการได้ แต่รายได้อาจน้อยกว่าช่วงก่อนการระบาด
ของโควิด-19 ส่วนกลุม ่ อาชีพพนักงานบริษัททีไ่ ด้เข้าร่วมทุกมาตรการ สะท้อนให้เห็นการลดลงของ รายได้จากการทํางาน เช่น อาจถูกลดเงินเดือน ไม่ได้รบ ั ค่าตอบแทนล่วงเวลา (OT) เนือ ่ งจากต้อง
ทํางานทีบ ้ น ฯลฯ ทําให้เป็นกลุม ่ ทีจ ํ เป็นต้องพยายามเข้าร่วมมาตรการหนีแ ่ า ่ า ้ ทบทุกมาตรการอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ ส่วนอาชีพข้าราชการที่ถือเป็นกลุ่มที่ไม่ได้รบ ั ผลกระทบด้านรายได้มากนัก จะได้
เข้าร่วมมาตรการพักชําระเงินต้นและยินดีจ่ายเพียงดอกเบีย ้ ราชการไม่ก่ค ี น ้ เป็นส่วนใหญ่ และมีขา ที่ได้รบ ั การขยายระยะเวลาการชําระหนี้ หรือลดเงินผ่อนหรือลดค่างวด
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
รวมหนี�/เปลี�ยนประเภทหนี�
37
ขณะที่ผลการสํารวจการเข้าร่วมมาตรการของลูกหนี้แต่ละราย พบว่าลูกหนี้ได้เข้าร่วมมาตรการ ของสถาบันการเงินโดยเฉลีย ่ จํานวน 1.3 มาตรการ โดยลูกหนีท ้ เ่ี ข้าร่วมเพียง 1 มาตรการกับสถาบัน
การเงิน คิดเป็นร้อยละ 65.7 ของลูกหนีท ้ ยละ 30 เข้าร่วม ้ ่ีเข้าร่วมมาตรการทั้งหมด ส่วนลูกหนีร้ อ มาตรการตัง้ แต่ 1–2 มาตรการ และมีลก ู หนีร้ อ ้ ยละ 4.3 ทีเ่ ข้าร่วมมาตรการมากกว่า 2–3 มาตรการ ดังแสดงในรู ปที่ 15
80%
N = 71
70%
65.7%
60% 50% 40% 30.0%
30% 20%
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
10%
38
0%
4.3%
1 มาตรการ
1–2 มาตรการ
มากกว่ า 2–3 มาตรการ
รู ปที่ 15 จํ านวนมาตรการต่ อสถาบั นการเงินที่ลู กหนี้ได้ เข้ าร่ วม (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ที่เข้ าร่ วมมาตรการ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
สําหรับความพึงพอใจของลูกหนี้ต่อมาตรการช่วยเหลือ พบว่ามีลูกหนี้เพียง 11 คน (ร้อยละ 15) ทีเ่ ห็นว่ามาตรการช่วยให้บริหารจัดการภาระหนีส ิ ได้ และไม่ตอ ้ งการความช่วยเหลือหรือมาตรการ ้ น
อื่นเพิม ู หนี้ 64 คน คิดว่ามาตรการช่วยให้บริหารจัดการภาระหนีส ้ ินได้บางส่วนและ ่ เติม ขณะที่ลก
ยังต้องการมาตรการเพิม ่ เติมอีก และลูกหนี้ 41 คน คิดว่ามาตรการไม่สามารถช่วยบริหารจัดการ ภาระหนี้สินได้เลยและต้องการมาตรการเพิม ่ เติม
อนึ่ง เนื่องจากลูกหนี้บางส่วนมีเจ้าหนี้มากกว่า 1 แห่ง ดังนั้นจึงมีลก ู หนี้บางส่วนที่อาจพึงพอใจกับ
มาตรการช่วยเหลือของสถาบันการเงินหนึ่ง และไม่พงึ พอใจกับมาตรการของอีกสถาบันการเงินหนึ่ง ดังแสดงในตารางที่ 8
ตารางที่ 8 ความพึงพอใจต่ อมาตรการช่ วยเหลือลู กหนี้ ความคิดเห็ น/ความพึงพอใจ
จํ านวนลู กหนี้* (หน่ วย: คน)
มาตรการสามารถช่ วยเหลือได้ และไม่ ต้ องการมาตรการเพิ่มเติม
11
มาตรการสามารถช่ วยเหลือได้ บางส่ วนและต้ องการมาตรการเพิ่มเติม
64
มาตรการไม่ สามารถช่ วยเหลือได้ และต้ องการมาตรการเพิ่มเติม
41
ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย * จํ านวนลู กหนี้รวมในตารางมากกว่ าลู กหนี้ที่ได้ เข้ าร่ วมมาตรการทั้ งหมด (73 คน) เนื่องจากลู กหนี้มีเจ้ าหนี้หลายแห่ ง ดั งนั้ นลู กหนี้บางส่ วนอาจพึงพอใจกั บมาตรการของสถาบั นการเงินแห่ งหนึ่ง และไม่ พึงพอใจกั บมาตรการ ของสถาบั นการเงินอีกแห่ งหรือหลายแห่ ง
สาเหตุของการไม่เข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ของ ธปท. จากจํานวนลูกหนี้ท่ีไม่ได้เข้าร่วมมาตรการทั้งหมดกับสถาบันการเงินจํานวน 121 คน ในจํานวนนี้
ส่วนใหญ่คอ ื 64 คน (ร้อยละ 53) ปฏิเสธการเข้าร่วมมาตรการ ลูกหนี้ 57 คน ไม่เข้าร่วมมาตรการ เนื่องจากสถาบันการเงินไม่มีมาตรการช่วยเหลือ และที่เหลือ 15 คน ถูกสถาบันการเงินปฏิเสธ คําขอเข้าร่วมมาตรการ ดังแสดงในตารางที่ 9
สาเหตุ
จํ านวนลู กหนี้* (หน่ วย: คน)
สถาบั นการเงินไม่ มีมาตรการช่ วยเหลือ
57
ปฏิเสธที่จะเข้ าร่ วมมาตรการด้ วยตนเอง
64
ถู กสถาบั นการเงินปฏิเสธ
15
ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย * จํ านวนลู กหนี้รวมในตารางมากกว่ าลู กหนี้ที่ไม่ ได้ เข้ าร่ วมมาตรการทั้ งหมด (121 คน) เนื่องจากลู กหนี้มีเจ้ าหนี้หลายแห่ ง ดั งนั้ นลู กหนี้บางส่ วนอาจไม่ เข้ าร่ วมมาตรการของสถาบั นการเงินแต่ ละแห่ งด้ วยเหตุ ผลแตกต่ างกั น
ทั้ ง นี้ สํ า หรับ สาเหตุท่ี ลูก หนี้ เ ลื อ กปฏิ เ สธการเข้ า ร่ว มมาตรการ ลูก หนี้ส่ ว นใหญ่ ท่ี ร อ ้ ยละ 73.4
ไม่ต้องการรับภาระหนี้สินที่เพิ่มขึ้นภายหลังจบมาตรการ ลูกหนี้รอ ้ ยละ 31.3 ไม่เข้าร่วมมาตรการ เนื่องจากคิดว่าการเข้าร่วมมาตรการช่วยบรรเทาภาระหนี้สินเพียงชั่วคราว ลูกหนี้รอ ้ ยละ 21.9 คิดว่ากระบวนการในการเข้าร่วมมาตรการยุ่งยาก และใช้เวลาค่อนข้างนานในการอนุมัติ ลูกหนี้ ร้อยละ 7.8 ระบุว่าไม่เชือ ่ ถือสถาบันการเงินที่ออกมาตรการช่วยเหลือ
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ตารางที่ 9 สาเหตุ ที่ลู กหนี้ไม่ ได้ เข้ าร่ วมมาตรการช่ วยเหลือ
39
ทั้งนี้ ลูกหนี้บางส่วนราวร้อยละ 14.1 ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมมาตรการด้วยสาเหตุอื่น ๆ โดยมีสาเหตุ
การปฏิเสธ เช่น ประเมินว่าตนยังคงสามารถจ่ายชําระหนีข ี ะหนึ่งครัง้ จึงเลือก ้ น ้ ล ้ั ตํ่าได้ หรือจ่ายหนีป ไม่เข้าร่วม เป็นต้น ดังแสดงในรู ปที่ 16
ไม่ อยากรั บภาระหนี�ที�เพิ�มขึ�นหลั งจบมาตรการ
73.4%
เห็ นว่ าช่ วยบรรเทาภาระหนี��ด้ เพียงชั� วคราว
31.3% 21.9%
เห็ นว่ ากระบวนการยุ่ งยาก ใช้ เวลานานในการอนุ มั ติ อื�น ๆ
14.1%
ไม่ เชื�อถือสถาบั นการเงินที�ออกมาตรการ
7.8%
0%
N = 64
10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80%
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
รู ปที่ 16 สาเหตุ ที่ลู กหนี้เลือกปฏิเสธจะเข้ าร่ วมมาตรการช่ วยเหลือเอง (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้ งหมด ที่ปฏิเสธร่ วมมาตรการเอง) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
40
สําหรับลูกหนีท ู สถาบันการเงินปฏิเสธคําขอเข้าร่วมมาตรการ พบว่าลูกหนีร้ อ ้ ยละ 40 ถูกปฏิเสธ ้ ถ ่ี ก เนื่องจากสภาวะของลูกหนี้ไม่ตรงตามเงื่อนไขที่จะได้รบ ั การช่วยเหลือจากสถาบันการเงิน ลูกหนี้
ร้อยละ 26.7 ถูกปฏิเสธโดยที่สถาบันการเงินมิได้ระบุเหตุผลใด ๆ ลูกหนี้รอ ้ ยละ 13.3 ถูกปฏิเสธ เนื่องจากมีการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของมาตรการภายหลังจากสมัครเข้าร่วมมาตรการ และลูกหนี้
ร้อยละ 6.7 ถูกปฏิเสธเนือ ู หนีร้ วมร้อยละ 20 ทีถ ู สถาบันการเงิน ่ งจากเอกสารไม่ครบถ้วน ทัง้ นี้ มีลก ่ ก
ปฏิเสธด้วยเหตุผลอืน ี ารติดต่อกลับจากสถาบันการเงิน จํานวน ่ ๆ โดยมีสาเหตุการปฏิเสธ เช่น ไม่มก ผู้เข้าร่วมมาตรการเต็มโควตา เป็นต้น ดังแสดงในรู ปที่ 17
สถาบั นการเงินแจ้ งว่ า ท่ านไม่ เข้ าเงื�อนไขที�จะได้ รั บการช่ วยเหลือ
40.0% 26.7%
สถาบั นการเงินปฏิเสธโดยไม่ �ห้ เหตุ ผล อื�น ๆ
20.0%
สถาบั นการเงินเปลี�ยนเงื�อนไขภายหลั ง หลั งจากที�สมั ครเข้ าร่ วม
13.3% 6.7%
สถาบั นการเงินแจ้ งว่ าเอกสารไม่ ครบ 0%
5%
N = 15
10% 15% 20% 25% 30% 35% 40%
รู ปที่ 17 สาเหตุ ที่สถาบั นการเงินปฏิเสธลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้ งหมดที่ถู กสถาบั นการเงินปฏิเสธ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย
การวิเคราะห์ปัจจัยที่กําหนดการเข้าร่วมมาตรการและมาตรการที่ลก ู หนี้ต้องการ จากแบบจําลองโลจิต (Logit Model) ในประเด็นแรกที่เกี่ยวกับปัจจัยทางกายภาพหรือประชากร ศาสตร์ที่กําหนดการได้เข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือของลูกหนี้ ดังแสดงในตารางที่ 10 พบว่าปัจจัย
ดังกล่าวไม่มีนัยสํ าคัญทางสถิติต่อการเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลื อของลูกหนี้ ไม่ว่าจะเป็นอายุ จํานวนเจ้าหนี้ ภาระหนี้ การเปลีย ่ นแปลงของรายได้หลังการระบาดของโควิด-19 อาชีพ หรือระดับ
การศึกษา สะท้อนว่าการเข้าร่วมมาตรการเป็นไปอย่างเท่าเทียมกันและไม่มีการกีดกันจากปัจจัย ทางประชากรศาสตร์
ตารางที่ 10 ปัจจั ยทางกายภาพหรือประชากรศาสตร์ ที่กํ าหนดการเข้ าร่ วมมาตรการของลู กหนี้
ตั วแปรต้ น: ปัจจั ยกายภาพหรือประชากรศาสตร์
ตั วแปรตาม: โอกาสที่จะได้ เข้ าร่ วมมาตรการ ความน่ าจะเป็นหรือโอกาสส่วนเพิ่ม หากตั วแปรต้ นเพิ่มขึ้น 1 หน่ วย2
P-Value
อายุ (ปี)
0.42%
0.461
จํ านวนเจ้ าหนี้ (ราย)
-1.56%
0.692
ภาระหนี้ (พั นบาท)
0.03%
0.728
การเปลี่ยนแปลงของรายได้ หลั งโควิด (ร้ อยละ)
-13.61
0.399
รั บจ้ างอิสระ/ฟรีแลนซ์
19.27%
0.444
ธุ รกิจส่ วนตั ว
4.21%
0.839
พนั กงานบริษั ท
-5.02%
0.804
ข้ าราชการ/พนั กงานรั ฐวิสาหกิจ
-1.88%
0.936
ปริญญาตรี
16.80%
0.269
ปริญญาโท
3.12%
0.846
ปริญญาเอก
18.28
0.65
ระดั บการศึกษา (กรณีฐาน: ตํ่ ากว่ าปริญญาตรี)
ค่ าสถิติที่สํ าคั ญอื่น ๆ จากแบบจํ าลอง Logit: N = 117, Prob > chi2 = 0.6839, Pseudo R2 = 0.0523 * p<0.1, ** p<0.05, *** p<0.01
ในกรณีที่เป็นตัวแปรหุน ่ อย่างอาชีพและระดับการศึกษา จะเป็นการเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรดังกล่าวกับ ตัวแปรทีเ่ ป็นกรณีฐาน ตัวอย่างเช่น ลูกหนีท ี าชีพธุรกิจส่วนตัวมีโอกาสแตกต่างจากลูกหนีท ี่ า ่ งงานอย่างไร ้ ม ่ี อ ้ ว หรือลูกหนีท ี ารศึกษาระดับปริญญาตรีมโี อกาสแตกต่างจากลูกหนีท ี ารศึกษาตํ่ากว่าปริญญาตรีอย่างไร ้ ม ่ี ก ้ ม ่ี ก 2
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
อาชีพ (กรณีฐาน: ว่ างงาน)
41
อย่างไรก็ตาม เนือ ่ ตัวอย่างลูกหนีม ี า ํ นวนน้อย แนวร่วมฯ จึงไม่สามารถจําแนกได้วา ่ การ ่ งจากกลุม ้ จ
เข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือของลูกหนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจปฏิเสธของลูกหนี้ เอง หรือถูกสถาบันการเงินปฏิเสธ
อนึ่ง การวิเคราะห์ค่าความน่าจะเป็นส่วนเพิ่มของแต่ละปัจจัย พบว่าอายุและภาระหนี้ท่ีเพิ่มขึ้นมี ความเชื่อมโยงกับโอกาสที่มากขึ้นของการเข้าร่วมมาตรการของลูกหนี้ ขณะที่จํานวนเจ้าหนี้และ การเปลี่ยนแปลงของรายได้ที่เพิ่มขึ้นมีความเชื่อมโยงกับโอกาสที่ลดลงของการเข้าร่วมมาตรการ ของลูกหนี้
ขณะที่ปจ ั จัยด้านอาชีพหากเทียบกับกรณีว่างงาน พบว่าลูกหนี้ท่ีมอ ี าชีพรับจ้างอิสระหรือฟรีแลนซ์
และธุรกิจส่วนตัวมีความเชื่อมโยงกับโอกาสที่จะเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือมากกว่ากรณีว่างงาน ส่วนอาชีพพนักงานบริษัทและข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจมีความเชื่อมโยงกับโอกาสที่จะเข้า ร่วมมาตรการช่วยเหลือน้อยกว่ากรณีว่างงาน
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
สุดท้าย ปัจจัยด้านระดับการศึกษา พบว่าลูกหนี้ท่ีมีระดับการศึกษาปริญญาตรีและปริญญาเอก
42
มี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ โอกาสที่ จ ะเข้ า ร่ว มมาตรการช่ ว ยเหลื อ มากกว่ า กรณี ที่ ร ะดั บ การศึ ก ษา ตํ่ากว่าปริญญาตรี ขณะที่ลูกหนี้ท่ีมีระดับการศึกษาระดับปริญญาโท มีความเชื่อมโยงกับโอกาส ที่จะเข้าร่วมมาตรการช่วยเหลือมากกว่าเพียงเล็กน้อย
สําหรับแบบจําลองที่สองเกี่ยวกับประเภทของมาตรการที่สามารถช่วยเหลือลูกหนี้ในการบริหาร
จัดการหนีไ้ ด้ (มาตรการทีล ู หนีค ิ ว่าสามารถช่วยเหลือการบริหารจัดการหนีส ิ ได้) พบว่ามาตรการ ่ ก ้ ด ้ น พักชําระหนีท ้ ง้ั เงินต้นและดอกเบีย ้ การขยายเวลาชําระหนี้ และการลดอัตราดอกเบีย ้ สามารถช่วย
เหลือลูกหนีใ้ นการบริหารจัดการหนีส ิ ได้อย่างมีนย ั สําคัญทางสถิตท ิ ร่ี อ ้ ยละ 10 สําหรับ 2 มาตรการ ้ น แรก และมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีรอ ้ ยละ 5 สําหรับการลดอัตราดอกเบี้ย โดยการเข้าร่วมมาตรการ แรกจะสามารถช่วยเหลือลูกหนีไ้ ด้เพิม ่ าตรการ ่ ขึ้นร้อยละ 25.8 เทียบกับกรณีทไี่ ม่ได้เข้าร่วม ขณะทีม ที่ 2 และ 3 จะสามารถช่วยเหลือลูกหนี้ได้เพิม ่ ขึ้นร้อยละ 17.1 และร้อยละ 20.6 ตามลําดับ
ถ้าหากเปรียบเที ยบกับประเภทของมาตรการที่ ลูกหนี้ได้เข้าร่วม จะพบว่ามีช่องว่างสําหรับการ
ปรับปรุ งอยู่พอสมควร กล่าวคือลูกหนี้ส่วนใหญ่ยังเข้าร่วมมาตรการที่ไม่สามารถช่วยเหลือลูกหนี้
ได้อย่างมีนย ั สําคัญทางสถิติอย่างมาตรการพักชําระเงินต้นและลดเงินผ่อน/ค่างวด ซึ่งมีลก ู หนีเ้ ข้า
ร่วมโครงการร้อยละ 43.7 และ 29.6 ของลูกหนีท ้ ง้ั หมด ตามลําดับ ขณะทีม ่ าตรการอย่างการขยาย
เวลาชําระหนีแ ั สําคัญทางสถิติ กลับมีลก ู หนี้ ้ ละลดอัตราดอกเบีย ้ ซึ่งสามารถช่วยลูกหนีไ้ ด้อย่างมีนย ได้เข้าร่วมจํานวนไม่มากที่รอ ้ ยละ 14.1 และ 12.7 ตามลําดับ
ตารางที่ 11 มาตรการที่ลู กหนี้คิดว่ าสามารถช่ วยเหลือการบริหารจั ดการหนี้สินได้
ตั วแปรต้ น: ประเภทมาตรการ ช่ วยเหลือลู กหนี้
ตั วแปรตาม: โอกาสที่มาตรการโดยรวมสามารถช่ วยเหลือได้
สัดส่วนลู กหนี้ ที่เข้ าร่ วมมาตรการ (ร้ อยละ)†
ความน่ าจะเป็นหรือโอกาสส่วนเพิ่ม หากลู กหนี้ได้ เข้ าร่ วมมาตรการแต่ ละประเภท
P-Value
พั กชํ าระหนี้ (ทั้ งเงินต้ นและดอกเบี้ย)
25.84% *
0.096
46.5%
พั กชํ าระเงินต้ น (จ่ ายแต่ ดอกเบี้ย)
22.48%
0.137
43.7%
ลดเงินผ่ อน/ค่ างวด
1.82%
0.889
29.6%
ขยายเวลาการชํ าระหนี้
17.10% *
0.082
14.1%
ลดอั ตราดอกเบี้ย
20.60% **
0.010
12.7%
รวมหนี้หรือเปลี่ยนประเภทหนี้
-4.16%
0.862
5.6%
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ค่ าสถิติที่สํ าคั ญอื่น ๆ จากแบบจํ าลองโลจิต (Logit Model): N = 66, Prob > chi2 = 0.4173, Pseudo R2 = 0.0828 * p<0.10, ** p<0.05, *** p<0.01 † จากจํ านวนลู กหนี้ทั้ งหมด 71 คน
43
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
5
44
ภาระหนี้นอกระบบ ของลู กหนี้
สําหรับลูกหนี้ท่ีมีหนี้นอกระบบที่ยินดีเปิดเผยข้อมูล 20 คน พบว่าช่องทางในการกู้หนี้นอกระบบ
ส่วนใหญ่มาจากญาติ หรือเพื่อนสนิท (ร้อยละ 60 ของลูกหนี้นอกระบบทั้งหมด) รองลงมาคือ นายทุนนอกระบบ, เพื่อนร่วมงาน เจ้านาย หรือคนรู จ ้ ัก (กลุ่มละร้อยละ 25 ของลูกหนี้นอกระบบ ทั้งหมด) ขณะที่ชอ ่ งทางออนไลน์ หรือช่องทางร้านค้าหรือเพือ ่ งทางนี้กลุ่มละ ่ นบ้านต่าง ๆ มีผู ้ใช้ชอ
ร้อยละ 5 สุดท้ายในกลุม ่ ตัวอย่างของลูกหนีไ้ ม่มล ี ก ู หนีน ้ อกระบบคนใดทีก ่ เู้ งินจากป้ายประกาศต่าง ๆ ตามเสาไฟฟ้าหรือตู้กดเงิน ฯลฯ ดังแสดงในรู ปที่ 18
ป�ายประกาศตามสถานที�ต่ าง ๆ (เช่ น ตู้ กดเงิน ป�ายรถเมล์ )
N = 20
0% 5%
ออนไลน์ (เว็ บไซต์ ไลน์ เฟซบุ๊ ก)
25%
นายทุ นนอกระบบ ร้ านค้ าหรือเพื�อนบ้ านที�รู้ จั กกั น
5%
เพื�อนร่ วมงาน เจ้ านาย หรือคนรู้ จั กห่ าง ๆ
25%
ญาติ/เพื�อนสนิท
60%
0%
10%
20%
30%
รู ปที่ 18 ช่ องทางการกู้ เงินนอกระบบ (หน่ วย: ร้ อยละ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้นอกระบบทั้ งหมด 20 คน
40%
50%
60%
ก่อนจะกู้เงินนอกระบบ เจ้าหนี้มักจะมีเงื่อนไขที่กําหนดให้ลก ู หนี้ต้องทําตามก่อนการกู้เงิน โดยใน
กลุม ่ ตัวอย่างพบอยู่ 2 ประเภท ได้แก่ ต้องร่วมวงเปียแชร์ของนายทุนทีเ่ ป็นเจ้าหนีก ่ น (ร้อยละ 10 ้ อ
ของลูกหนี้นอกระบบทั้งหมดที่ตอบแบบสํารวจ) และต้องทําสัญญาเงินกู ้โดยยังไม่ระบุจํานวนเงิน กู้ท่ีชด ั เจน (ร้อยละ 15 ของลูกหนี้นอกระบบ)
อย่างไรก็ดี ลูกหนีส ่ นใหญ่ ร้อยละ 55 มิได้ทา ํ สัญญากูเ้ งินเป็นลายลักษณ์อก ั ษร ลูกหนีร้ อ ้ ยละ 25 ้ ว
มีสัญญากู้เงินที่เป็นลายลักษณ์อักษร และลูกหนี้รอ ้ ยละ 20 ไม่เปิดเผยข้อมูล ดังแสดงในรู ปที่ 19 (รู ปบน) สําหรับระยะเวลาชําระคืนหนี้นอกระบบ ลูกหนี้ท้ังหมดไม่มีการกำ�หนดระยะเวลา แต่จะ กำ�หนดเป็นเงือ ่ นไขการชำ�ระคืนแทน (โดยคิดเป็นร้อยละ 70 ของลูกหนี้นอกระบบทั้งหมด ขณะที่
อีกร้อยละ 30 ไม่เปิดเผยข้อมูลเรือ ่ งระยะเวลาการชำ�ระคืนหนี้นอกระบบ) ดังแสดงในรู ปที่ 19
(รู ปล่าง) โดยรู ปแบบการรับเงินมีทง้ั แบบเงินสดและโอนเข้าบัญชีธนาคารหรือช่องทางออนไลน์อน ่ื ๆ ในสัดส่วนที่ไม่ต่างกันมาก
การทํ าสัญญาเงินกู้ N = 20
ทํ าสั ญญาเงินกู้ เป็นลายลั กษณ์ อั กษร
25%
ไม่ �ด้ ทํ าสั ญญาเงินกู้ เป็นลายลั กษณ์ อั กษร
55%
ระยะเวลาการชํ าระคืน N = 20
ไม่ ระบุ
30%
กํ าหนดระยะเวลา
0%
ไม่ กํ าหนด หรือ จนกว่ าทํ าตามเงื�อนไข
รู ปที่ 19 การทํ าสั ญญาเงินกู้ นอกระบบและระยะเวลา (หน่ วย: ร้ อยละ) ที่มา: แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย, จากจํ านวนลู กหนี้นอกระบบทั้ งหมด 20 คน
70%
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
20%
ไม่ ระบุ
45
ด้านเงือ ่ นไขการชําระคืนหนี้นอกระบบ จากกลุ่มตัวอย่างพบว่ามี 2 วิธี ได้แก่
➊
➋
ดอกลอย คือ ต้องจ่ายเฉพาะ
ล้มเงินส่ง คือเจ้าหนีจ ้ ะหักเงินต้น
หากต้องการชําระคืนเงินต้นจะ
เช่น จ่ายทุกวันเป็นเวลา 24 วัน
ดอกเบี้ยตามงวดการชําระ
ต้องจ่ายเงินต้นทั้งหมดและ
ดอกเบี้ยงวดสุดท้ายพร้อมกัน เท่านัน ้ (ร้อยละ
40 ของ
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ลูกหนีน ้ อกระบบทั้งหมด)
46
และดอกเบี้ยพร้อมกันทุกงวด
อย่างไรก็ดี หากลูกหนีผ ้ ิดนัดชําระ หนีว ้ ันใด ลูกหนีจ ้ ะต้องเริม ่ ต้น
จ่ายใหม่หรือต้องจ่ายเงินค่าปรับ เพิ่มขึ้น (ร้อยละ
60 ของ
ลูกหนีน ้ อกระบบทั้งหมด)
สําหรับวัตถุประสงค์ของการกู้หนีน ้ อกระบบ ลูกหนีน ้ อกระบบร้อยละ 65 ระบุว่าเงินส่วนใหญ่จะถูก นํ ามาใชใ้ นครัวเรือน รองลงมาร้อยละ 55 นํ ามาชําระหนี้อ่ื นที่ ถึงเวลาชําระ ลูกหนี้รอ ้ ยละ 25
นํามาโอนให้กับคนอื่นในครอบครัว และลูกหนี้รอ ้ ยละ 20 นํามาลงทุนเพื่อหารายได้เสริม หรือใช้ ในการประกอบอาชีพ
สุดท้าย สําหรับภาระหนี้นอกระบบ พบว่าลูกหนี้ก้ห ู นี้นอกระบบเฉลี่ย 171,714.29 บาทต่อคน โดย
ได้ รบ ั เงินจริงเฉลี่ ย 118,600 บาทต่ อคน มีงวดชําระเงินส่ วนใหญ่เป็นรายเดื อน เฉลี่ ยเดื อนละ 19,746.15 บาทต่อเดือน โดยเป็นภาระดอกเบี้ยเฉลี่ย 5,691.67 บาทต่อเดือน
6 จากการสํารวจ ลูกหนี้ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะที่หลากหลายถึงรู ปแบบความช่วยเหลือและมาตรการที่ ลูกหนี้ต้องการจากภาครัฐและสถาบันการเงิน โดยลูกหนี้ส่วนใหญ่ ร้อยละ 21.01 ต้ องการให้
สถาบันการเงินขยายระยะเวลาพักชําระหนี้มากที่สุด โดยสถาบันการเงินควรขยายระยะเวลาการ พักชําระหนี้ต่อไปอีกเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 6–12 เดือน หรือจนกว่าสถานการณ์การระบาดของ โควิด-19 จะคลี่คลาย (ไม่มก ี ารล็อกดาวน์ หรือประชาชนได้รบ ั วัคซีนมากกว่ากึ่งหนึ่งของประเทศ)
ซึ่งระหว่างการพักชําระหนี้ สถาบันการเงินจะต้องไม่คิดดอกเบีย ั ชําระหนีจ ้ จากนัน ่ การพก ้ บลง ้ เมือ
สถาบันการเงินควรปรับมาตรการให้ลก ู หนีผ ่ นชําระเพียงดอกเบีย ้ อ ้ เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 12–36 เดือน ในอัตราดอกเบีย ู หนี้มก ี ําลังมากพอในการฟื้ นคืนกิจการหรือ ้ ตํ่าร้อยละ 2–5 ต่อปี เพือ ่ ให้ลก
ธุรกิจของตนเอง ส่วนลูกหนีท ี า ํ ลังผ่อนชําระ สถาบันการเงินควรสร้างแรงจูงใจผ่านแคมเปญลด ้ ่ีมก
อัตราดอกเบี้ย เพื่อให้ลูกหนี้เร่งผ่อนชําระหนี้ให้หมดเร็วขึ้น นอกจากนี้ สถาบันการเงินควรขยาย
ระยะเวลาการขอเข้าร่วมมาตรการการพักชําระหนี้ เพื่อให้เวลาลูกหนี้ได้ตัดสินใจอย่างถี่ถ้วนก่อน เข้ารับการช่วยเหลือตามมาตรการจากสถาบันการเงิน
ความต้องการของลูกหนี้ในลําดับรองลงมาคือ ร้อยละ 15.56 ต้องการให้สถาบันการเงินลดอัตรา ดอกเบี้ย โดยสถาบันการเงินควรลดอัตราดอกเบี้ยของสินเชื่อประเภทต่าง ๆ ลงมากกว่าครึ่งหนึ่ง
ของดอกเบี้ยเดิม หรือปรับอัตราดอกเบี้ยให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ โดยเฉพาะสินเชื่อที่อยู่
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ข้ อเสนอแนะของลู กหนี้ ถึงรู ปแบบความช่ วยเหลือและ มาตรการที่ต้ องการเพิ่มเติม
47
อาศัยที่มีสินทรัพย์คํ้าประกัน ควรลดอัตราดอกเบี้ยลงไม่ให้เกินร้อยละ 3–4 ต่อปี หรือปรับอัตรา
ดอกเบีย ้ ของสินเชือ ่ บ้านให ้ใกล้เคียงกับสินเชือ ่ รถยนต์ เพือ ่ ช่วยลดภาระการจ่ายดอกเบีย ้ ของลูกหนี้
ให้น้อยและสามารถผ่อนชําระหมดไดใ้ นระยะเวลาที่เร็วขึ้น และสถาบันการเงินควรรายงานการ
ปรับลดอัตราดอกเบี้ยของลูกหนี้แก่เครดิตบูโร เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อประวัติของลูกหนี้ใน
อนาคต รวมถึงสถาบันการเงินต้องไม่ใช้ขอ ้ มูลการเข้าร่วมมาตรการเป็นเงือ ่ นไขในการพิจารณาการ ขอสินเชือ ่ เพิม ่ เติมของลูกหนี้
ลูกหนี้รอ ้ ยละ 9.73 ยังคงต้องการเงินเยียวยาจากรัฐบาล โดยระบุว่ารัฐบาลจําเป็นต้องให้เงินช่วย เหลือและเยียวยาแก่ประชาชนอย่างเร่งด่วนโดยไม่มีเงื่อนไขหรือขั้นตอนที่ยุ่งยาก รัฐบาลควรให้ ความสําคัญกับธุรกิจขนาดเล็ก (SMEs) ที่มอ ี ยูเ่ ป็นจํานวนมากในประเทศไทย และถือเป็นกิจการ ที่กา ํ ลังช่วยแบกรับเศรษฐกิจของประเทศเช่นกัน รวมถึงรัฐบาลควรกําหนดนโยบายลดค่านํ้า ค่าไฟ
ลดการจัดเก็บภาษีเงินได้ และลดภาระเงินต้นจากการกูย ้ ม ื เงินจากกองทุนเงินให้กย ู้ ม ื เพือ ่ การศึกษา
(กยศ.) นอกจากนี้ ยังต้องการให้รฐั บาลสนับสนุนเงินแก่แรงงานหรือลูกจ้าง โดยอาจใช้นโยบาย
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
การประกันรายได้ลก ู จ้าง เพือ ่ กระตุ้นผู้ประกอบการให้เกิดการจ้างงานมากขึ้น
48
25%
N = 257 21.01%
20% 15.56%
15% 9.73%
10%
5.84%
5% 2.33%
0%
ขยายระยะเวลา พั กชํ าระหนี�
ลดอั ตรา ดอกเบี�ย
เงินเยียวยา จากรั ฐบาล
เพิ�มมาตรการ ช่ วยเหลือจาก สถาบั นการเงิน
สถาบั นปล่ อยสินเชื�อ ดอกเบี�ยตํ� า
รู ปที่ 20 สั ดส่ วนข้ อเสนอแนะถึงรู ปแบบความช่ วยเหลือและมาตรการที่ต้ องการเพิ่มเติมของลู กหนี้ (หน่ วย: ร้ อยละของลู กหนี้ทั้ งหมด)
ลูกหนี้รอ ้ ยละ 5.84 ต้องการให้สถาบันการเงินปรับปรุ งมาตรการการชําระหนี้ โดยระบุว่าสถาบัน
การเงินควรเพิม ู หนีโ้ ดยอัตโนมัติ และไม่ควรปล่อย ่ ลดอัตราดอกเบีย ้ แก่ลก ่ มาตรการรีไฟแนนซ์เพือ ให้ลูกหนี้ต้องเผชิญกั บอั ตราดอกเบี้ยแบบลอยตั ว แต่ สําหรับลูกหนี้บางรายต้ องการให้สถาบัน
การเงินเพิ่มมาตรการปรับโครงสร้างหนี้หรือรวมหนี้เป็นก้อนเดียวแล้วผ่อนชําระต่องวดในอัตรา
ดอกเบีย ่ สถาบันการเงินควรเพิม ่ งวด ้ ตํ่า หรือลูกหนีบ ้ างรายระบุวา ้ อ ่ มาตรการลดการผ่อนชําระหนีต
ลงครึ่งหนึ่งจนกว่าจะผ่านพ้นวิกฤติโควิด-19 นอกจากนี้ ยังมองว่าสถาบันการเงินควรลดเงื่อนไข
ในการพิจารณาช่วยเหลือลูกหนี้แต่ละราย เพือ ่ ยเหลือลูกหนี้ของสถาบันการเงินได้มากที่สด ุ ่ ให้ชว
ลูกหนี้บางส่วน ร้อยละ 2.33 ต้องการให้สถาบันการเงินปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าหรือเพิ่มวงเงินกู้ ดอกเบี้ยตํ่า เพื่อให้กิจการหรือธุรกิจยังคงดําเนินกิจการต่อไปได้ หรือลูกหนี้บางรายต้องการกู้เงิน เพือ ่ นําไปชําระหนี้สินนอกระบบ
ทั้งนี้ แม้ลูกหนี้ส่วนใหญ่คาดหวังการขยายระยะเวลาพักชําระหนี้จากสถาบันการเงิน แต่ลูกหนี้
แต่ละรายยังคงคาดหวังให้รฐั บาลมีบทบาทสําคัญในการแบ่งเบาภาระของลูกหนี้ เช่น ออกนโยบาย
ช่วยเหลือเยียวยาสําหรับคนเป็นหนี้ มีส่วนช่วยในการเจรจากับธนาคาร เป็นต้น สําหรับบทบาท
ของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ลูกหนี้ คาดหวั งให้ออกมาตรการสนั บสนุนให้ผู้มีสินเชื่อ ในสถานะปกติสามารถปรับโครงสร้างหนี้ในอัตราดอกเบี้ยตํ่า ก่อนที่จะกลายเป็นหนี้เสีย (NPL)
รวมถึงหากลูกหนี้ท่ีเป็นหนี้เสีย จําเป็นต้องเข้าร่วมโครงการคลินิกแก้หนี้หรือทางด่วนแก้หนี้ ก็ควร
กํ า หนดเงื่อ นไขการพิจ ารณาโดยเฉพาะเงื่อ นไขดอกเบี้ย และค่ า งวดที่ เ หมาะสม เพื่อ ให้ ลูก หนี้
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
สามารถผ่อนชําระได้จริงในวิกฤติครัง้ นี้
49
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
7
50
ข้ อเสนอแนะเชิง นโยบาย จากแนวร่ วม การเงินที่เป็นธรรม ประเทศไทย
สําหรับข้อเสนอแนะของลูกหนีท ้ ต ่ี อบแบบสํารวจต่อรัฐบาลและ ธปท. ทีส ่ รุ ปในส่วนทีแ ่ ล้ว แนวร่วมฯ
เห็นว่า ธปท. และรัฐบาลควรนําข้อเสนอแนะดังกล่าวไปพิจารณาเพื่อปรับปรุ งมาตรการช่วยเหลือ อย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะการขยายระยะเวลามาตรการพักชําระหนี้ การปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่า และมาตรการเยียวยาที่มป ี ระสิทธิผลจากรัฐบาล
เมือ ่ พิจารณาลักษณะของลูกหนี้ท่ีประสบปัญหาในช่วงโควิด-19 ผลการตอบแบบสํารวจ ประกอบ
กับผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression) แนวร่วมฯ มีข้อเสนอแนะเชิง นโยบายต่อ ธปท. ดังต่อไปนี้
่ ปรับปรุ งมาตรการให้ตรงจุดมากขึ้น และแก ้ไข ➊ ควรมีการสํารวจความคิดเห็นของลูกหนี้ เพือ อุปสรรคของลูกหนี้ที่เข้าไม่ถึงมาตรการบรรเทาภาระหนี้
ผลการสํารวจของแนวร่วมฯ พบว่ามีลก ู หนีเ้ พียงร้อยละ 15 ทีค ิ ว่ามาตรการบรรเทาภาระหนีช ่ ยให้ ่ ด ้ ว สามารถบริหารจัดการภาระหนีส ้ ินได้ ที่เหลืออีกร้อยละ 85 ต้องการมาตรการเพิม ่ เติม นอกจากนี้ จากจํานวนลูกหนีท ้ ่ีไม่ได้เข้ามาตรการกับสถาบันการเงิน 121 คน ส่วนใหญ่ในจํานวนนีค ้ ือ 64 คน (ร้อยละ 53) ปฏิเสธการเข้าร่วมมาตรการ โดยสาเหตุที่ลก ู หนีส ่ นใหญ่ (ร้อยละ 73.4) ระบุคอ ื ไม่ ้ ว
ต้องการรับภาระหนี้สินที่เพิม ู หนี้รอ ้ ยละ 31.3 ไม่เข้าร่วมมาตร่ ขึ้นภายหลังจบมาตรการ และมีลก
การเนื่องจากคิดว่าการเข้าร่วมมาตรการช่วยบรรเทาภาระหนี้สินเพียงชั่วคราวเท่านั้น สําหรับลูก หนีท ู สถาบันการเงินปฏิเสธ พบว่าลูกหนีร้ อ ้ ยละ 40 ถูกปฏิเสธเนือ ้ ถ ่ี ก ่ งจากสภาวะของลูกหนีไ้ ม่ตรง ตามเงื่อนไขที่จะได้รบ ั การช่วยเหลือ และลูกหนี้รอ ้ ยละ 26.7 ถูกปฏิเสธโดยที่สถาบันการเงินมิได้ ระบุเหตุผลใด ๆ
ผลจากการวิเคราะห์ตามแบบจําลองโลจิต (Logit Model) เกี่ยวกับประเภทของมาตรการที่ได้เข้า ร่วมซึ่งสามารถช่วยเหลือลูกหนีใ้ นการบริหารจัดการหนีไ้ ด้ พบว่าลูกหนีส ่ นใหญ่ยงั เข้าร่วมมาตรการ ้ ว ที่ ไม่สามารถช่วยเหลื อลูกหนี้ได้ อย่างมีนัยสํ าคั ญทางสถิ ติ อย่างมาตรการพักชําระเงินต้ นและ
ลดเงินผ่อน/ค่างวด ซึ่งมีลูกหนี้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 43.7 และ 29.6 ของลูกหนี้ท้ังหมด ตาม ลําดับ ขณะที่มาตรการอย่างการขยายเวลาชําระหนี้และลดอัตราดอกเบี้ย ซึ่งสามารถช่วยเหลือ ลูกหนี้ได้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ กลับมีลูกหนี้เข้าร่วมจํานวนไม่มาก ที่รอ ้ ยละ 14.1 และ 12.7
ตามลําดับ
ด้วยเหตุนี้ แนวร่วมฯ จึงเสนอว่า ธปท. ควรมีการสํารวจความคิดเห็นของลูกหนี้อย่างน้อยราย ไตรมาส โดยเฉพาะในประเด็นอุปสรรคของการเข้าถึงมาตรการบรรเทาภาระหนี้ และลักษณะที่ มาตรการยังไม่ตอบโจทย์ของลูกหนี้อย่างเพียงพอ
ั ผลกระทบอย่างตรงจุด ➋ เสนอรัฐบาลให้มีการเยียวยาผู ้ได้รบ จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏว่าลูกหนี้จํานวนมากมีปญ ั หาการชําระหนี้ในช่วงวิกฤติโควิด-19 เนื่องจาก มีรายได ้ไม่พอจ่ายหนี้ ลําพังการปรับโครงสร้างหนีแ ้ ละมาตรการบรรเทาภาระหนีอ ้ น ่ื ๆ ของ ธปท. จึง เป็นเพียงการแก้ปญ ั หาเพียงด้านเดียวเท่านัน ้ ี่ได้รบ ั ผลกระทบ ้ ธปท. ควรเสนอรัฐบาลให้เยียวยาผูท
จากมาตรการต่าง ๆ ของรัฐ เช่น มาตรการล็อกดาวน์ สั่งปิดร้านอาหาร ฯลฯ อย่างเป็นธรรมและ
เพียงพอ เนื่องจากรายได้ท่ีขาดหายไปจากมาตรการของรัฐย่อมเพิ่มแรงกดดันให้ลูกหนี้ต้องกู้ยืม ปัญหาที่ตรงจุด การแก้ปัญหาที่ตรงจุดคือการชดเชยรายได้ที่ขาดหายไปด้วยการเยียวยาเท่านั้น
➌ พิจารณายกเลิกเพดานอัตราดอกเบี้ยทุกชนิด เน้นการกํากับดูแลการให้บริการที่เป็นธรรม (Market Conduct)
การบัญญัติเพดานอัตราดอกเบีย ้ อาจมองอย่างผิวเผินได้ว่าเป็นการแบ่งเบาภาระของลูกหนี้ แต่ใน
ความเป็นจริง เพดานดอกเบี้ยส่งผลให้ผู ้ให้บริการทางการเงินขาดแรงจูงใจที่จะคิดค้นนวัตกรรม
ใหม่ ๆ และออกแบบผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ตอบโจทย์ผู้บริโภค รวมถึงอาจส่งผลเป็นการกีดกัน ผูบ ้ ริโภคบางส่วนออกจากการเข้าถึงบริการทางการเงิน เนือ ่ งจากเพดานดอกเบีย ้ กลายเป็น “อัตรา ตลาด” โดยปริยาย ผู ้ให้บริการทุกรายมีแรงจูงใจที่จะคิดดอกเบีย ้ ในอัตราเพดานเท่ากันหมด และ หาทางแสวงรายได้เพิม ่ ผ่านการกําหนดอัตราค่าธรรมเนียมต่าง ๆ แทน
ด้วยเหตุน้ี แนวร่วมฯ จึงเสนอให้ ธปท. พิจารณายกเลิกเพดานอัตราดอกเบี้ยทุกชนิด โดยถ้าหาก ผลิตภัณฑ์ทางการเงินชนิดใดมีลก ั ษณะตลาดผู ้ให้บริการน้อยราย (oligopoly) ธปท. ก็ควรมุง่ เน้น
ไปที่การเพิม ่ จูงใจให้ผู ้ให้บริการแข่งขันกันคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เพือ ่ ลด ่ ระดับการแข่งขันด้วย เพือ ต้นทุนการให้บริการ อันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคในท้ายที่สุด และหลังจากที่ปล่อยให้อัตรา
ดอกเบีย ้ เป็นไปตามกลไกตลาดแล้ว ธปท. ควรหันไปมุง่ เน้นการกํากับดูแลการให้บริการทีเ่ ป็นธรรม
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
เงินเพิม ่ มาใช้จ่ายประทังชีวิต และการออกมาตรการสินเชือ ่ ดอกเบีย ้ ตํ่าต่าง ๆ ก็มใิ ช่การแก้ ่ เติมเพือ
51
(market conduct) แทน เช่น กําหนดความรับผิด (accountability) ของผู ้ให้บริการที่เข้มงวด
มากขึ้ น และปรับ ปรุ งแนวทางการปล่ อ ยสิ น เชื่ อ อย่ า งรับ ผิ ด ชอบ (responsible lending guidelines)
➍ จัดตั้งกลไกไกล่เกลี่ยข้อพิพาทนอกศาล (Alternative Dispute Resolution: ADR) ก่อนทีธ ่ นาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ร่วมกับสมาคมธนาคารไทย จะประกาศมาตรการให้ความ ช่วยเหลือลูกหนีท ั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 แนวร่วมฯ พบจาก ้ ่ีได้รบ
ผลการสํารวจว่า ลูกหนีส ้ ่วนใหญ่ไม่เคยเจรจาปรับโครงสร้างหนีก ้ ับสถาบันการเงินมาก่อน โดยคิด เป็นร้อยละ 61 ของสัญญาสินเชื่อของลูกหนี้ท้ังหมด มีลูกหนี้เพียงร้อยละ 20 ของสัญญาสินเชื่อ ทั้งหมดเท่านั้นที่เคยเจรจาปรับโครงสร้างหนี้กับสถาบันการเงินมาก่อน
ด้วยเหตุที่ลก ู หนีส ้ ่วนใหญ่ขาดประสบการณ์ในการเจรจากับเจ้าหนี้ ลูกหนีจ ้ ึงตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
ในการเจรจาปรับโครงสร้างหนีก ั เจ้าหนี้ และเมือ ็ าดแรงจูงใจในการเข้า ้ บ ่ เกิดข้อพิพาทขึ้น เจ้าหนีก ้ ข กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
ร่วมกระบวนการไกล่เกลีย ้ ว ี า ่ สุดท้ายสามารถสัง่ ฟ้องลูกหนีใ้ นคดีลม ้ ละลายได้ ในขณะ ่ เนือ ่ งจากรู ด
52
ที่ลูกหนี้ไม่มีสิทธิรเิ ริม ่ กระบวนการฟื้ นฟู/ล้มละลายด้วยตัวเองแต่อย่างใด เนื่องจากไทยยังไม่มี กฎหมายล้มละลายส่วนบุคคล (ดูหัวข้อถัดไป)
ในระยะสั้น ธปท. สามารถรับบทบาทเป็นผู ้ไกล่เกลี่ยชั่วคราว (ดังที่ ธปท. ได้ก่อตั้งศูนย์ไกล่เกลี่ย
และจัดทําข้อตกลงร่วมกับศาลมาแล้ว) แต่กลไกเช่นนี้มิใช่กลไกที่ย่ังยืนในระยะยาว แนวร่วมฯ เห็นว่า ธปท. ควรผลักดันกลไกไกล่เกลี่ยข้อพิพาททางเลือก (alternative dispute resolution: ADR) หลายรู ปแบบ ซึ่งเป็นทีน ิ มในหลายประเทศ เนือ ี ารทีช ่ ยยกระดับกระบวนการ ่ ย ่ งจากเป็นวิธก ่ ว ให้การคุ้มครองผูบ ้ ริโภคทางการเงินในด้านการเยียวยาจากข้อพิพาทโดยการหาคนกลางที่มค ี วาม
น่าเชื่อถือ (third party) มาทําหน้าที่ไกล่เกลี่ยและตัดสินข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างผู ้ใช้บริการ และสถาบันการเงิน โดยจากการสํารวจของธนาคารโลกเกี่ยวกับโครงสร้างของ ADR ทางการเงิน ทั่วโลก พบว่ากว่าร้อยละ 70 มีสถานะเป็นหน่วยงานอิสระภายใต้หน่วยงานกํากับดูแลคุ้มครอง
ผูบ ้ ริโภคทางการเงิน (ร้อยละ 46) และเป็นองค์กรอิสระภายใต้กฎหมายโดยที่ต้องรายงานตรงต่อ
รัฐสภาหรือรัฐบาล (ร้อยละ 22) นอกจากนั้น ADR ในบางประเทศใช ้โครงสร้างอันเกิดจากการ สนับสนุนด้านทรัพยากรจากอุตสาหกรรมการเงินเอง (industry-based ADR)
โดยหลักการ ADR ทางการเงินส่วนใหญ่จะมีกระบวนการไกล่เกลี่ยตามแนวทางที่ช่วยให้ “ผู้ยื่น
คําร้อง” (ในที่น้ีคือผูใ้ ช้บริการทางการเงิน) สามารถดําเนินการเพื่อบรรลุข้อตกลงในการเจรจา ต่ อ รองกั บ คู่ก รณี (ในที่ น้ี คื อ สถาบั น การเงิ น ) โดยหวั ง ผลให ไ้ ด้ ข้ อ ตกลงร่ว มกั น (negotiated
settlement) กระบวนการเช่นนี้ภาษาทางกฎหมายเรียกว่า “mediation” ซึ่งจะแตกต่ างจาก กระบวนการ ADR ที่ใช ้ในวงการทั่วไปที่มก ั ใช้กระบวนการแบบ “arbitration” ที่เน้นหาข้อสรุ ปที่มี ผลทางกฎหมายเป็นสําคัญ
ประโยชน์ของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทจะช่วยลดช่องว่างทางการกํากับดูแล โดยเพิ่มศักยภาพแก่ ผู ้ใช้บริการ ด้วยการสร้างกระบวนการที่โปร่งใส มีประสิทธิภาพ และช่วยลดต้นทุนในการตัดสิน
ข้อพิพาททางการเงินอย่างมีนัยสําคัญ ดังนั้น ADR จึงเริม ่ เป็นที่นิยมในหลายประเทศ แต่ยังไม่มี การดําเนินการในประเทศไทย
สําหรับโครงสร้างของกลไก ADR ในประเทศไทย ธปท. สามารถพิจารณาจากหลากหลายรู ปแบบ ตั้งแต่ 1) หน่วยงานอิสระ 2) องค์กรอิสระภายใต้ภาครัฐ 3) องค์กรจัดตั้งโดยสมาพันธ์วิชาชีพ
และ 4) หน่วยงานภายใต้องค์กรที่ดแ ู ลคุ้มครองผู้บริโภคทางการเงิน ดังตัวอย่างจากต่างประเทศ
ประเทศ
ชื่อกลไก ADR
โครงสร้ าง
เงื่อนไข
ออสเตรเลีย
ADR service
Independent Financial ADRs ที่ได้ รั บใบอนุ ญาตจาก ASIC
ความเสียหายไม่ เกิน AUD 5,000
สหราชอาณาจั กร
Financial Ombudsman Service
Independent ADR เป็นองค์ กรอิสระ รายงานต่ อรั ฐสภาอั งกฤษ
n.a.
สหรั ฐอเมริกา FINRA’s Ombudsman หน่ วยงานของ Financial Industry Regulatory Authority (FINRA)
Industry-based ADR จั ดตั้ งโดย สมาพั นธ์ วิชาชีพทางการเงิน FINRA ซึ่งเป็นหน่ วยงานแบบกํ ากั บดู แลกั นเอง (self-regulatory organization: SRO)
n.a.
ญี่ปุ่ น
Financial ADRs แยกตาม รายผลิตภั ณฑ์ ทางการเงิน
Industry-based ADR จั ดตั้ งตาม กฎหมายโดยได้ รั บการสนั บสนุ นทาง การเงินจากสมาพั นธ์ วิชาชีพ
n.a.
เกาหลี
Financial Dispute Conciliation Committee
ADR within supervisory agency หน่ วยงานภายใต้ Financial Supervisory Commission (FSC)
n.a.
ฮ่ องกง
Financial Dispute Resolution Scheme (FDRS)
Independent Financial ADRs ที่ได้ รั บใบอนุ ญาตจาก HKMA
ความเสียหายไม่ เกิน HKD 500,000
มาเลเซีย
Banking Mediation Bureau ADR within supervisory agency (BMB) หน่ วยงานภายใต้ ธนาคารกลางแห่ ง มาเลเซีย (Bank Negara) โดย ได้ รั บการสนั บสนุ นทางการเงินจาก สมาพั นธ์ วิชาชีพ
ความเสียหายไม่ เกิน MYR 100,000
ที่มา: รายงาน “นวั ตกรรมผลิตภั ณฑ์ ทางการเงินที่รั บผิดชอบสํ าหรั บลู กค้ ารายย่ อย” (2561) โดย สฤณี อาชวานั นทกุ ล และ อมรรั ตน์ จินจารั กษ์ 3
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ในตารางต่อไปนี้
53 3
เข้าถึงได้จาก https://issuu.com/salforest/docs/consumer-innovation-final-report
➎ ผลักดันกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดา เนือ ู หนีร้ ายย่อยจํานวนมากมีหนีส ิ ล้นพ้นตัว แต่ไม่สามารถ ่ งจากภาวะวิกฤติโควิด-19 ส่งผลให้ลก ้ น ยื่นล้มละลายด้วยตัวเองได้ เนื่องจากกฎหมายล้มละลายของไทยยังไม่เปิดช่องให้ลูกหนี้รายย่อย มี สิ ท ธิยื่ น ล้ ม ละลายโดยสมั ค รใจ แตกต่ า งจากนิ ติ บุ ค คลที่ มี สิ ท ธิย่ื น ล้ ม ละลายโดยสมั ค รใจได้ (กระบวนการฟื้ นฟูกิจการ)
แนวร่วมฯ เห็นว่า ธปท. ควรผลักดันให้รฐั ออกกฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดา
ในฐานะ “เครือ ่ งมือพื้นฐาน” ที่จําเป็นต่อการรับมือกับวิกฤติหนี้รายย่อย เพราะนอกจากจะเป็น การรับประกัน “สิทธิพื้นฐาน” ในการมี “ชีวิตใหม่” หลังโควิด-19 (อันเป็นวิกฤติที่ทําให้สูญเสีย
ความสามารถในการชําระหนี้ ทั้งที่ไม่ใช่ความผิดของลูกหนี้) แล้ว ยังเป็นวิธรี บ ั มือกับวิกฤติท่ีมี ประสิทธิภาพกว่าการปล่อยให้เจ้าหนี้ย่ืนฟ้องล้มละลายฝ่ายเดียว อีกทั้งยังทําให้ลูกหนี้รายย่อยมี สิทธิทัดเทียมกับลูกหนี้บริษัท ซึ่งได้รบ ั สิทธิในการยื่นล้มละลายโดยสมัครใจ (ยื่นขอฟื้ นฟูกิจการ)
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
มากว่าสองทศวรรษแล้ว นับตั้งแต่เมือ ่ เกิดวิกฤติต้มยํากุ้ง พ.ศ. 2540
54
นอกจากนี้ การเพิม ู หนี้รายย่อยยืน ่ ล้มละลายโดยสมัครใจ ยังเป็นโอกาสให้รฐั และ ธปท. ่ สิทธิให้ลก สามารถยกระดับการให้ความรู ท ้ างการเงินในไทยอย่างเป็นระบบ เพราะสามารถกําหนดให้ลก ู หนี้ ที่ใช้ช่องทางนี้ต้องเข้ารับการอบรมและปรึกษาหารือระหว่างทําแผนฟื้ นฟู อีกทั้งยังจะเปิดโอกาส
ให้มก ี ารรวบรวมข้อมูลหนี้รายย่อยอย่างเป็นระบบเป็นครัง้ แรก เนื่องจากลูกหนี้ท่ียน ่ื ล้มละลายโดย
สมัครใจจะต้องเปิดเผยหนีส ิ และทรัพย์สน ิ ทัง้ หมดของตัวเองต่อศาล รวมถึงหนีน ้ น ้ อกระบบ เพือ ่ ขอ คุ้มครอง
การได้เห็นข้อมูลหนี้สินและทรัพย์สินที่ครบถ้วนย่อมเป็นประโยชน์ต่อทั้งตัวลูกหนี้เองและเจ้าหนี้
ด้วย เจ้าหนีจ ้ ะสามารถประเมินความสามารถในการชําระหนีใ้ นอนาคตของลูกหนีไ้ ด้อย่างเทีย ่ งตรง และสอดคล้องกับความจริงมากขึ้น จากเมือ ่ ก่อนที่เจ้าหนี้อย่างมากก็มเี พียงข้อมูลหนี้ในระบบจาก
เครดิตบูโร ไม่อาจล่วงรู ้ได้ว่าลูกหนี้มห ี นี้นอกระบบจํานวนเท่าไรและมีเจ้าหนี้ก่ีราย
ทั้งนี้ แนวร่วมฯ เห็นว่าในการออกกฎหมายดังกล่าว การนิรโทษกรรมเจ้าหนี้นอกระบบน่าจะเป็น
ขั้นตอนที่ จําเป็น เพื่อให้สามารถรับมือกั บปัญหาได้ อย่างมีประสิ ทธิภาพและครอบคลุมหนี้ ทุก รู ปแบบ
สําหรับลูกหนีท ี นีส ้ ่ีมห ้ ินล้นพ้นตัว แต่ยอดหนีท ้ ้ังหมดมีจํานวนไม่มาก (เช่น หลักแสนหรือหลักหมืน ่ บาท) และพิสจ ู น์ได้ชด ั ว่าเหลือทรัพย์สินติดตัวน้อยมาก (เช่น ไม่มบ ี า ้ นส่วนตัว มีทรัพย์สินทั้งหมด มูลค่าไม่ถึงหนึ่งหมื่นบาท) เราอาจพิจารณาใช้กลไก “คําสั่งพักหนี้” (debt relief order) คล้าย
กับแบบทีใ่ ช ้ในอังกฤษ เพือ ู้ เ่ี ข้าข่าย (ซึ่งต้อง ่ ประหยัดทรัพยากรและป้องกันคดีรกศาล กลไกนีใ้ ห้ผท
ผ่านการรับรองโดยผู้เชี่ยวชาญหรือองค์กรตรวจสอบ) สามารถขอยื่นยกเว้นไม่ต้องชําระหนี้นาน ติดต่อกัน 12 เดือน จากนั้นถ้าหากสถานการณ์ทางการเงินยังไม่กระเตื้อง เจ้าหนี้ต้องตัดหนี้สูญ
ทั้งจํานวน เพราะถือว่าลูกหนี้ไร้ซ่ ึงความสามารถใด ๆ แล้วที่จะชําระหนี้ แต่ในฐานะผู้ด้อยโอกาส ก็สมควรมี “ชีวิตใหม่” เช่นกัน
สําหรับข้อกังวลที่ว่า กฎหมายล้มละลายโดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดาอาจส่งผลให้ดอกเบี้ย สินเชื่อแพงขึ้น และมีความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาจริยวิบัติ แนวร่วมฯ เห็นว่าประเทศไทยมีกฎหมาย ล้มละลายโดยสมัครใจสําหรับนิติบุคคล (ยื่นขอฟื้ นฟูกิจการ) มานานกว่าสองทศวรรษแล้ว ไม่
ปรากฏว่ากฎหมายนี้ส่งผลให้ต้นทุนทางการเงินสูงขึ้นแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้าม การให้สิทธิ ลูกหนีท ี นีส ิ ล้นพ้นตัวได้มี “ชีวต ิ ใหม่” หลายกรณีเป็นประโยชน์แก่เจ้าหนีด ้ ย เพราะเมือ ้ ม ่ี ห ้ น ้ ว ่ ลูกหนี้
ฟื้ นตั วได้ แล้ วก็ จะกลั บมาชําระหนี้ได้ อย่างน้อยก็ บางส่ วน แทนที่ เจ้ าหนี้จะต้ องตั ดหนี้สูญหรือ ยึดหลักประกันไปลุน ้ ราคาตลาดว่าจะขายได้คม ุ้ ทุนหรือไม่ ซึ่งตรงกับประสบการณ์ของนานาประเทศ ที่ค้ม ุ ครองสิทธิของลูกหนี้
ส่วนการป้องกันปัญหาจริยวิบต ั ิ ทําได้ดว ้ ยการกําหนดเกณฑ์ของลูกหนีท ้ จ ่ี ะเข้าข่ายขอยืน ่ ล้มละลาย โดยสมัครใจอย่างชัดเจน และกําหนดบทลงโทษในกรณีท่ีแจ้งหนี้สินและทรัพย์สินเป็นเท็จ
➏ ออกวงเงิน เครดิ ต สํ า หรับ ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ย สํ า หรับ แก้ ปั ญ หาระยะสั้ น และจั ด ตั้ ง ทะเบี ย น หลักประกันแห่งชาติ (National Collateral Registry) สําหรับแก้ปัญหาระยะยาว
เนื่องจากยังคงมีอป ุ สรรคในการเข้าถึงสินเชื่อที่เป็นธรรม โดยเฉพาะลูกหนี้รายย่อยที่มีรายได้น้อย 10,000 บาท โดยคิดอัตราดอกเบีย ้ ตํ่า เพือ ่ ช่วยผ่อนหนักเป็นเบาและหลีกเลีย ่ งความเสีย ่ งทีจ ่ ะเพิม ่ ภาระจากหนี้นอกระบบ
สํ าหรับการขยายการเข้าถึ งบริการทางการเงินในระยะยาว แนวร่วมฯ เห็นว่ า ธปท. ควรจั ดตั้ ง
ทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (National Collateral Registry: NCR) ร่วมกับกระทรวงพาณิชย์ อันเป็นนวัตกรรมทางการเงินที่ยงั ไม่เคยใช ้ในประเทศไทย บรรษัทเงินทุนระหว่างประเทศ (IFC) ใน
เครือธนาคารโลก (World Bank) ส่งเสริมมานานนับทศวรรษ ทะเบียนนี้เป็นระบบซอฟต์แวร์บน
เว็ บ ไซต์ โดยปกติ เ จ้ า ภาพจะเป็ น ธนาคารกลางของประเทศนั้น ๆ ใช้ เ พื่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ สังหาริมทรัพย์ (สินทรัพย์ที่เคลื่อนย้ายได้ เช่น วัว ควาย คอมพิวเตอร์ รถไถ ฯลฯ) ที่ใช้เป็นหลัก ประกันเงินกู้ โดยไม่ต้องส่งมอบทรัพย์สินให้กับเจ้าหนี้ ซอฟต์ แวร์ของระบบทะเบียนจะกําหนด
หมายเลขทะเบียน วันเวลาที่เจ้าหนี้ย่ืนจดทะเบียนรายการทางการเงิน (financial statement) ที่ระบุสิทธิในทรัพย์สินนั้น ๆ โดยอัตโนมัติ ลําดับความสําคัญของเจ้าหนี้ท่ีอ้างสิทธิในหลักประกัน เดียวกันจะถูกจัดตามวันเวลาที่บันทึกไว้ เจ้าหนี้ท่ีลงทะเบียนก่อนมีสิทธิเหนือกว่า
ระบบนี้ปัจจุบันหลายประเทศใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน (blockchain) รับรองความปลอดภัยและ ความ “แท้ ” (authentic) ของข้อมูล ด้ วยความที่ ระบบนี้อยู่บนเว็ บไซต์ ใคร ๆ ก็ เข้าถึ งได้ จาก
ออนไลน์โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปจดทะเบียน ทุกฝ่ายจึงประหยัดเวลาและทรัพยากรได้มาก
แนวร่ วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย (Fair Finance Thailand)
ดังนัน ้ รี ายได้นอ ้ ย วงเงินคนละ 5,000– ้ กระทรวงการคลังอาจกําหนด “วงเงินเครดิต” สําหรับผูม
55
และความที่สินทรัพย์แทบทุกชนิดสามารถนํามาจดทะเบียนได้ ระบบนีจ ้ ึงช่วยขยายโอกาสได้อย่าง
มหาศาลในการเข้าถึงสินเชือ ่ สําหรับ SMEs
ในเมื่อประเทศไทยมี “กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ” (บังคับใช้ปี พ.ศ. 2559) อนุญาตให้นํา
สังหาริมทรัพย์ สิทธิเรียกร้อง ทรัพย์สินทางปัญญา และทรัพย์สินอื่น ๆ มาเป็นหลักประกันเงินกู้ การจัดตั้งทะเบียนหลักประกันแห่งชาติก็นับเป็น “ขั้นตอนถัดไป” ที่ควรทําอยู่แล้วในภาวะปกติ เพือ ่ ขยายโอกาสการเข้าถึงเงินกู้และลดต้นทุนของการให้บริการแก่ SMEs
ในภาวะวิกฤติหนีค ้ รี ายได้ ้ รัวเรือนและ SMEs ในช่วงโควิด-19 การออก “วงเงินเครดิต” สําหรับผูม
น้อย และเร่งจัดตั้งทะเบียนหลักประกันแห่งชาติ (โดยเฉพาะถ้าทําควบคู่ไปกับกฎหมายล้มละลาย โดยสมัครใจสําหรับบุคคลธรรมดา ที่จะกําหนดให้ลูกหนี้ต้องเปิดเผยหนี้สินและทรัพย์สินทั้งหมด รวมถึงหลักประกันสินเชือ ่ ) น่าจะช่วยให้กระบวนการเจรจาไกล่เกลีย ่ การยืน ่ ล้มละลายโดยสมัครใจ
และการประนอมหนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งยังจะวางรากฐานสู่การขยายโอกาสการเข้าถึง
กรณีศึกษา สถานการณ์ และความต้ องการของลู กหนี้รายย่ อยที่ได้ รั บผลกระทบจากโควิด-19
สินเชือ ่ ในระยะยาว และกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ในภาคการเงิน
56