แนวทางการจัดกลุ่มกิจกรรมเศรษฐกิจเขียวตามนิยาม เดียวกัน (Thailand Taxonomy) เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยน ผ่านพลังงานที่ยุติธรรม (Just Energy Transition) โดย แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย 19 กันยายน 2566 (ร่าง) ผลการศึกษาโครงการวิจัย
แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย 2 • แนวร่วมการเงินที่เป็นธรรมประเทศไทย หรือ Fair Finance Thailand ริเริ่มในปี พ.ศ. 2561 • ประกอบด้วย บจก. ป่าสาละ เป็นผู้จัดทารายงานประเมินสถาบันการเงินรายปี และองค์กรภาค ประชาสังคมชั้นนาระดับโลกและในประเทศอีก 4 องค์กร
การเปลี่ยนผ่านพลังงานอาจก่อให้เกิดหรือซ้าเติมความอยุติธรรมต่อผู้ผลิตพลังงานหรือผู้ใช้
3 ความส
การเปลี่ยนผ่านพลังงาน (Energy Transition) เป็นประเด็นที่ถูกพูดถึงมากขึ้นในการรับมือปัญหา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
าคัญและที่มา
บางกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง แนวคิดการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม (just energy transition: JET) จึงถูกเสนอเป็น กรอบคิดในการออกแบบการเปลี่ยนผ่านพลังงาน แนวคิด “การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” จะสามารถได้รับการประยุกต์ใช้ในการพัฒนา Thailand Taxonomy ได้อย่างไร
วัตถุประสงค์โครงการ 4 เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม และ taxonomy ในต่างประเทศ เพื่อสารวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียด้านพลังงาน ถึงความเห็นต่อความ เชื่อมโยงระหว่างความยุติธรรมพลังงานกับ Thailand Taxonomy เพื่อจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อ ธปท. เรื่อง แนวทางการพัฒนา Thailand Taxonomy ในทางที่สอดคล้องกับหลักการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ ยุติธรรม
ในปี พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050)
5 นิยาม
เป็นมาตรฐานกลางที่ใช้อ้างอิงในการจาแนกและ จัดกลุ่มกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมของไทย อ้างอิงหลักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และยึดมั่น เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์
แบ่งการคานึงถึงสิ่งแวดล้อมของกิจกรรมต่าง ๆ ออกเป็น 3 ระดับ (ระบบ Traffic-Light System) ได้แก่ สีเขียว สีเหลือง และสีแดง เป็นกิจกรรมที่ไม่สร้างผลกระทบเชิงลบอย่างมี นัยสาคัญ (Do No Significant Harm) ต่อการ บรรลุวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ และ คานึงถึงผลกระทบด้านสังคม (Minimum Social Safeguards)
ที่มา: ธปท.
Thailand Taxonomy
Thailand Taxonomy
“
คืออะไร? Energy Transition • การเปลี่ยนผ่านพลังงาน จากการผลิตและการบริโภคที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล เป็นหลัก ไปใช้แหล่งผลิตคาร์บอนต่าหรือคาร์บอนเป็นศูนย์ • จาเป็นต้องเกิดขึ้นอย่างเร็วที่สุดที่ทาได้ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมาย รับมือกับภาวะโลกรวน - อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มขึ้นไม่เกิน 1.5c Just Energy Transition (JET) • การเปลี่ยนผ่านพลังงานตามนิยามข้างต้น ในทางที่ยุติธรรมสาหรับทุกภาค ส่วน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางที่อาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนผ่าน พลังงาน (เช่น แรงงานในอุตสาหกรรมฟอสซิล ผู้มีรายได้น้อย ชุมชน) 6 “
การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม”
การเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยุติธรรม” คืออะไร?
มนุษย์ มองเห็นความอยุติธรรมที่สั่งสมมาจากในอดีต โดยเฉพาะความไม่เท่าเทียมของ กลุ่มเปราะบางเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นๆ ในสังคม และพยายามขจัดการดูหมิ่นศักดิ์ศรี 4. ความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
สี่มิติของ “ความยุติธรรม” ในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน 1. ความยุติธรรมเชิงกระจาย (Distributive Justice) – การกระจายประโยชน์และผลเสีย จากการเปลี่ยนผ่านพลังงานอย่างยุติธรรม ไม่มีคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งถูกกีดกันออกจาก ประโยชน์ที่ควรได้รับ หรือแบกรับผลกระทบเชิงลบเกินควร 2. ความยุติธรรมเชิงกระบวนการ (Procedural Justice) – มีกลไกการมีส่วนร่วมที่มี ความหมาย
3. ความยุติธรรมเชิงการตระหนักรับรู้ (Recognition Justice) – เน้นการรับรู้ในศักดิ์ศรีของ
(Restorative Justice) – เน้นการชดเชยเยียวยาความ สูญเสียและความเสียหายที่เกิดจากภาคพลังงานในอดีต 7 ที่มา: Sanya & Konisky (2020), https://www.nature.com/articles/s41560-020-0641-6 สี่มิติของ “ความยุติธรรม” ในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน
เปิดให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจที่ เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนผ่านพลังงาน โดยเฉพาะผู้ที่จะได้รับผลกระทบสูงสุด
สี่มิติของ
8 เมื่อ JET เริ่มเข้าสู่กระแสหลัก
วาทกรรม
“ความยุติธรรม” ในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน
ก็เริ่มมี “
” ที่หลากหลาย...
9
ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก
การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 10 • หน่วยงานดาเนินนโยบายและกากับดูแลด้านพลังงาน และหน่วยงานดาเนินนโยบายและกากับดูแลสถาบัน การเงิน (ภาครัฐ) • ผู้ประกอบกิจการในอุตสาหกรรมพลังงาน ทั้งพลังงาน ฟอสซิลและพลังงานหมุนเวียน (ผู้ประกอบกิจการ) • ตัวแทนแรงงานในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล (แรงงาน) • สถาบันการเงิน (การเงิน) • ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน (ผู้เชี่ยวชาญ) • องค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) 15 พฤษภาคม 2566 – 16 สิงหาคม 2566 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวม 22 ราย ประกอบด้วย ระยะเวลาการสัมภาษณ์ ผู้ดาเนินนโยบาย ผู้ประกอบกิจการพลังงาน สถาบันการเงิน ตัวแทนแรงงาน นักวิชาการ องค์กรพัฒนาเอกชน 23% 13% 13% 14% 23% 14%
11 ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เข้าใจนิยาม taxonomy และ JET อย่างไรก็ตาม ผู้ให้สัมภาษณ์บางกลุ่มไม่เข้าใจ นิยามของ taxonomy เช่น กลุ่มแรงงาน และยังไม่ทราบว่าเกี่ยวข้องกับตนเองอย่างไร ความเข้าใจนิยามและความสาคัญของ taxonomy และ JET มุมมองของผู้ให้สัมภาษณ์ต่อความเข้าใจ JET ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ประกอบกิจการพลังงาน: ผู้ประกอบกิจการที่มีส่วนร่วมกับการร่าง Thailand Taxonomy จะ มีความเข้าใจมากกว่าผู้ประกอบกิจการรายอื่น ๆ สถาบันการเงิน: ธนาคารพาณิชย์ที่มีส่วนร่วมในการร่าง Thailand Taxonomy หรือมีสาขาใน ต่างประเทศจะมีความเข้าใจมากกว่าสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ประชาชนทั่วไป: ประชาชนทั่วไปยังไม่ทราบว่า taxonomy หรือการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ ยุติธรรมหมายถึงอะไร เนื่องจากยังมองเป็นเรื่องที่ไกลตัว แรงงาน: แรงงานรุ่นใหม่มีความเข้าใจเรื่องการเปลี่ยนผ่านพลังงานมากกว่าแรงงานรุ่นเก่า
12 ความยุติธรรมภายในประเทศ กล่าวคือ การเปลี่ยนผ่านพลังงานมีความ ยุติธรรมต่อประชากรแต่ละกลุ่มภายในประเทศหรือไม่ ผู้เชี่ยวชาญแบ่งระดับความยุติธรรมของการเปลี่ยนผ่านพลังงานออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ความยุติธรรมต่อโลกหรือต่อสภาพแวดล้อม กล่าวคือ การเปลี่ยนผ่านพลังงาน สามารถแก้ไขปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (climate change) ได้หรือไม่ ความยุติธรรมต่อประเทศ กล่าวคือ ภาระส่วนเพิ่มที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนผ่าน พลังงานมีความยุติธรรมต่อแต่ละประเทศหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อประเทศ ยากจนที่ไม่ได้มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณมากมาตั้งแต่ในอดีต
taxonomy และ JET (ต่อ)
ความเข้าใจนิยามและความสาคัญของ
อาจส่งผลกระทบให้ไม่สามารถแข่งขันด้านราคาได้ (ภาครัฐ)
• แรงงานในอุตสาหกรรมฟอสซิลขาดทักษะและศักยภาพในการเปลี่ยนผ่านสู่อุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน
ความท้าทายในการทยอยเลิกโครงการฟอสซิลของภาคพลังงานไทย 13 1 นโยบายการยกเลิกโครงการฟอสซิลของประเทศยังไม่ชัดเจน • ขาดการกาหนดเป้าหมายการยกเลิกโครงการฟอสซิล ทาให้นโยบายหรือแผนพลังงานของประเทศขาดความชัดเจน (ภาครัฐ, ผู้ประกอบกิจการ, ผู้เชี่ยวชาญ, เอ็นจีโอ) • ขาดการศึกษาแนวทางการเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานหมุนเวียน เช่น แนวทางการลดสัดส่วนพลังงานฟอสซิล (phaseout plan) ที่มีกรอบระยะเวลาชัดเจน การศึกษาผลกระทบและแนวทางการเยียวยาแรงงาน (เอ็นจีโอ) • ข้อจากัดจากสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว ทาให้การยกเลิกโครงการฟอสซิลที่มีอยู่เดิม ทาได้ยาก (ผู้ประกอบกิจการ , ผู้เชี่ยวชาญ) ปัญหาด้านความมั่นคงทางพลังงาน ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมฟอสซิล • ผู้ประกอบกิจการในอุตสาหกรรมฟอสซิลมีต้นทุนในการปรับตัว
โดยเฉพาะแรงงานระดับปฏิบัติการ (operation) และงานซ่อมบารุง (maintenance) (แรงงาน) 2 3 • การยกเลิกพลังงานฟอสซิลอย่างฉับพลันกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงาน เนื่องจากพลังงานฟอสซิลเป็นแหล่ง พลังงานหลักของประเทศ (ภาครัฐ, ผู้ประกอบการ, ผู้เชี่ยวชาญ)
14 พลังงานหมุนเวียนไม่มีเสถียรภาพ • พลังงานหมุนเวียนต้องพึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ความแน่นอน เช่น แสงแดด ลม น้า (ภาครัฐ, แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) • ภูมิศาสตร์ของประเทศไทยไม่เอื้อต่อโครงสร้างพื้นฐานของพลังงานหมุนเวียน เนื่องจากมีข้อจากัดเรื่องพื้นที่ไม่ สามารถติดตั้งระบบพลังงานหมุนเวียนที่มีขนาดใหญ่ได้ (ภาครัฐ, ผู้ประกอบกิจการ, ผู้เชี่ยวชาญ, เอ็นจีโอ) • ขาดความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานหมุนเวียน ระบบสายส่ง (transmission system) ของประเทศ ไม่รองรับการรูปแบบการผลิตพลังงานหมุนเวียน (ผู้เชี่ยวชาญ) ขาดการส่งเสริมจากภาครัฐ • พลังงานหมุนเวียนไม่ได้รับการส่งเสริมอย่างเป็นรูปธรรม นโยบายรัฐขาดความชัดเจนในการสนับสนุนพลังงาน หมุนเวียนกับผู้ประกอบการและประชาชนทั่วไป (ผู้ประกอบกิจการ, ผู้เชี่ยวชาญ) ความท้าทายของการเปลี่ยนผ่านไปสู่พลังงานหมุนเวียนที่ยั่งยืน ผลกระทบต่อกลุ่มเปราะบาง • กลุ่มผู้มีรายได้น้อยต้องแบกรับค่าใช้จ่ายด้านพลังงานที่สูงขึ้น จากต้นทุนการผลิตพลังงานหมุนเวียนที่สูง และการ เปิดใช้โรงไฟฟ้าสารองเพื่อรักษาเสถียรภาพด้านพลังงาน อีกทั้งประชาชนที่ไม่สามารถเข้าถึงการติดตั้งพลังงาน หมุนเวียนต้องแบกรับภาระส่วนกลางมากขึ้น (ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้ประกอบกิจการ) 1 2 3
• การจัดการพลังงานเป็นแบบรวมศูนย์ ทาให้ไม่เกิดการแข่งขันในอุตสาหกรรม หรือเกิดการกีดกันผู้ประกอบกิจการราย ย่อย (ผู้ประกอบกิจการ, ผู้เชี่ยวชาญ) • ผู้ประกอบการพลังงานรายใหญ่มีอานาจเหนือตลาด อาจมีการแทรกแซงนโยบายพลังงานของประเทศเพื่อเอื้อ ประโยชน์แก่ตนเอง (ผู้เชี่ยวชาญ) • ผู้ประกอบการรายย่อยไม่ได้รับการส่งเสริม นโยบายรัฐที่ขาดการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมด้านพลังงานทดแทนใหม่ ๆ และไม่มีแผนการปรับปรุงเทคโนโลยีระบบสายส่ง (เอ็นจีโอ) 15 ค่าไฟฟ้าที่ไม่เป็นธรรม • แม้ว่าการกาหนดราคาค่าไฟฟ้าจะคานึงถึงความเป็นธรรมต่อทั้งผู้ประกอบการและประชาชนแล้ว แต่ผู้มีส่วนได้ส่วน เสียบางกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง ก็ยังได้รับผลกระทบมากกว่ากลุ่มอื่น (ภาครัฐ) • โครงสร้างต้นทุนในการผลิตไฟฟ้ามีความผันผวน จากการนาเข้าวัตุดิบ ส่งผลต่อราคาค่าไฟฟ้าที่สูงขึ้น (แรงงาน) ความไม่ยุติธรรมในโครงสร้างพลังงานไทย ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงพลังงาน • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่มยังมีข้อจากัดในการเข้าถึงพลังงาน เช่น ผู้ใช้ไฟฟ้าต่างจังหวัดต้องแบกรับต้นทุนค่าไฟสูง กว่าผู้ใช้ไฟฟ้าใน กทม./ ประชาชนในชนบทไม่สามารถเข้าถึงระบบสายส่งไฟฟ้าได้ (ผู้เชี่ยวชาญ, แรงงาน, เอ็นจีโอ) ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมกับประชาชน • ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการจัดทานโยบายหรือแผนพลังงานของประเทศ เช่น ไม่มีผู้แทนจากภาคประชาสังคมหรือ องค์กรอิสระเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการในหน่วยงานกากับดูแลด้านพลังงาน (เอ็นจีโอ) 1 2 3 การผูกขาดด้านพลังงาน 4
16 ข้อกังวลและความคาดหวังต่อ Thailand Taxonomy ข้อมูลในการจัดทา Thailand Taxonomy ไม่เป็นปัจจุบัน • ข้อมูลอ้างอิงตาม PDP 2018 ไม่เป็นปัจจุบัน ส่งผลให้การกาหนดแนวทางลดคาร์บอนไม่สอดคล้องกับ เป้าหมาย Net Zero ของประเทศ และไม่สามารถปรับปรุงการจัดกลุ่มกิจกรรมสีเหลืองใน Thailand Taxonomy ได้ (ภาครัฐ, ผู้ประกอบกิจการ) Thailand Taxonomy อาจยังมีช่องว่างให้เกิดการฟอกเขียวได้ • Taxonomy ยังไม่รัดกุมเพียงพอ (กิจกรรมที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแต่มีการจัดทามาตรการเยียวยา หรือฟื้นฟู สามารถจัดเป็นกิจกรรม “สีเขียว” ได้) กิจกรรมสีเขียวต้องเป็นกิจกรรมที่ไม่มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมเลย หรือมีผลกระทบน้อยที่สุด (ผู้เชี่ยวชาญ) • ข้อแนะนาต่อเงื่อนไขเพื่อป้องกันการฟอกเขียว เช่น การปรับปรุง taxonomy เป็นระยะ, การตรวจสอบ ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของกิจกรรมการลงทุนจากภาครัฐ หรือการพิจารณากิจกรรมที่อาจมี แนวโน้มสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (ภาครัฐ, ผู้เชี่ยวชาญ) 1 2
17 ข้อกังวลและความคาดหวังต่อ Thailand Taxonomy ควรสร้างการรับรู้และการสร้างการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การสร้างความเข้าใจต่อผู้มีส่วนได้เสีย การรับรู้ของประชาชนและสถาบันการเงินบางส่วนในเรื่อง Thailand Taxonomy ยังน้อยจึงคาดหวังให้สื่อสารและสร้างความตระหนักรู้ รวมถึงแนวทาง การปรับตัวให้ครอบคลุมและครบถ้วนมากยิ่งขึ้น (เอ็นจีโอ, สถาบันการเงิน) • การรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสียอย่างครอบคลุม ผู้ประกอบกิจการพลังงานฟอสซิลเป็นผู้ ได้รับผลกระทบสูงจึงควรรับฟังความคิดเห็นให้ครอบคลุมและครบถ้วนยิ่งขึ้น (สถาบันการเงิน) • การบูรณาการการทางานร่วมกันของภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ในการสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการ ผลักดัน Thailand taxonomy อย่างมีประสิทธิภาพ (ภาครัฐ, สถาบันการเงิน) ควรเพิ่มกลุ่มกิจกรรมใน Thailand Taxonomy • พิจารณาเสนอกลุ่มกิจกรรมเพิ่มเติม เช่น บริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Company: ESCO) และ ภาคอุตสาหกรรมการผลิต เป็นต้น (เอ็นจีโอ, ผู้เชี่ยวชาญ) 3 4
18
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
19 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • หนุนเสริมผู้ประกอบการฟอสซิลให้พร้อมยุติการดาเนินธุรกิจ โดยการสนับสนุนด้านเงินทุน องค์ ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีด้านพลังงาน (ภาครัฐ, การเงิน, เอ็นจีโอ) • สนับสนุนการพัฒนานวัตกรรมพลังงานทดแทนที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อเป็นพลังงาน ทดแทนในช่วงการเปลี่ยนผ่านพลังงาน (ผู้ประกอบการ) • กาหนดมาตรการสินเชื่อดอกเบี้ยต่า เพื่อหนุนเสริมผู้ประกอบกิจการพลังงานหมุนเวียนรายย่อย (ผู้เชี่ยวชาญ, เอ็นจีโอ) การส่งเสริมการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนผ่านพลังงาน • กาหนดมาตรการชดเชยเยียวยารายได้กับแรงงานที่ตกงาน เช่น ให้ทุนการศึกษากับลูก ๆ ของ แรงงาน ให้สิทธิการเข้าถึงพลังงานใหม่เป็นอันดับแรก (แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) • จัดตั้งกองทุนประกันความเสี่ยง เพื่อรองรับการปิดตัวของบริษัทที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายการ เปลี่ยนผ่านพลังงาน (แรงงาน) การชดเชยเยียวยาผู้เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมฟอสซิล
20
(ต่อ) • ปรับปรุงแผน PDP ที่ให้ความสาคัญกับการใช้พลังงานหมุนเวียน เพื่อการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่เป็น รูปธรรมมากขึ้น (ผู้ประกอบการ, แรงงาน, เอ็นจีโอ) • จัดทาพันธสัญญา (commitment) เมื่อมีการเปลี่ยนผ่านรัฐบาล เพื่อให้การดาเนินนโยบายด้าน พลังงานหมุนเวียนเป็นไปอย่างต่อเนื่อง (ผู้ประกอบการ, แรงงาน, เอ็นจีโอ) • เจรจาต่อรองลดระยะเวลาและปริมาณซื้อ-ขายพลังงานจากผู้ประกอบการพลังงานฟอสซิล โดย ทบทวนสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (PPA) และจัดทาแนวทางชดเชยเยียวยาผู้ประกอบการฟอสซิล (ผู้ประกอบการ, ผู้เชี่ยวชาญ) การปรับปรุงนโยบายและแผนพลังงานชาติ • ปรับปรุงโครงสร้างราคาค่าไฟฟ้า โดยคานึงถึงความสมดุลระหว่างต้นทุนของผู้ประกอบกิจการ พลังงานและค่าใช้จ่ายของประชาชน (ภาครัฐ, แรงงาน) ค่าไฟฟ้าที่เป็นธรรม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เพื่อลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงการ
21
ต่อ
• ปรับปรุงระบบสายส่งไฟฟ้าที่กระจายไปยังพื้นที่ชนบทมากขึ้น
ใช้ไฟฟ้าระหว่างผู้ใช้ไฟฟ้าในเขตเมืองกับผู้ใช้ไฟฟ้าในชนบท (แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) การลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงไฟฟ้า • ส่งเสริมการผลิตพลังงานหมุนเวียนแบบกระจายศูนย์ เช่น การกระจายอานาจให้ อบต. จัดการด้าน พลังงานในชุมชนได้เอง ประชาชนสามารถเข้าถึงการใช้ประโยชน์ระบบสายส่งไฟฟ้าได้อย่างเสรี (ภาครัฐ, ผู้ประกอบการ, ผู้เชี่ยวชาญ, เอ็นจีโอ) • ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อหนุนเสริมผู้ประกอบการพลังงานหมุนเวียนรายย่อย เช่นกาหนดให้มี ตลาดการซื้อ-ขายไฟฟ้าจากผู้ผลิตรายย่อย พัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (smart grid) ตลอด ห่วงโซ่ระบบไฟฟ้า (เอ็นจีโอ) การส่งเสริมการแข่งขันในอุตสาหกรรมพลังงาน
(
)
• หนุนเสริมประชาชนและกลุ่มเปราะบางให้สามารถเข้าถึงพลังงานสะอาดได้ เช่น นโยบายพลังงาน แสงอาทิตย์ชุมชน (community solar) นโยบายส่งเสริมเจ้าของอพาร์ทเมนท์ติดตั้งโซลาร์เซลล์ (แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) 22 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ต่อ) • กระจายการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานหมุนเวียนที่หลากหลาย เพื่อลดความเสี่ยงจากความไม่ เสถียรของพลังงานหมุนเวียน (แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) • พัฒนาระบบการจัดการเสถียรภาพพลังงานหมุนเวียน เพื่อพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าให้ สอดคล้องกับการพยากรณ์อากาศ รวมถึงจัดสรรพลังงานสารองในเมื่อพลังงานหมุนเวียนมีการผลิตที่ ไม่ต่อเนื่อง (intermittent) (แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) • กาหนดมาตรการให้ผู้ประกอบการพลังงานแสงอาทิตย์มีระบบกักเก็บและสารองไฟฟ้า (ผู้ประกอบการ, แรงงาน, ผู้เชี่ยวชาญ) ความมั่นคงด้านพลังงาน การส่งเสริมการเข้าถึงการใช้พลังงานหมุนเวียน
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อการพัฒนา Thailand
Taxonomy ที่สอดคล้องกับหลักการ JET
23
การจาแนกและจัดหมวดหมู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
(ประเด็นนี้อยู่นอกขอบเขตของ Thailand Taxonomy)
การปฏิรูปโครงสร้างพลังงานให้มีความยุติธรรมมากขึ้น
การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
24
ยุติธรรม”
ผ่านพลังงานในบริบทของประเทศไทย ได้แก่ • การชดเชยผู้เกี่ยวข้องในภาคพลังงานฟอลซิลที่ได้รับผลกระทบ
•
•
คณะวิจัยจาแนกข้อเสนอแนะเชิงนโยบายตาม “หลักการการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่
โดยจัดหมวดหมู่ข้อเสนอแนะตามประเด็นที่สาคัญสาหรับการเปลี่ยน
ช่วงเปลี่ยนผ่าน
25 การพัฒนา
ที่สอดคล้องกับหลักการ JET ประเด็นการ เปลี่ยนผ่าน ประเภท ความยุติธรรม การปฏิรูปโครงสร้างพลังงาน ให้มีความยุติธรรมมากขึ้น การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนที่รับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม ความยุติธรรมเชิงการ กระจาย • กาหนดกลไกทบทวนนิยามกิจกรรมในภาค พลังงานให้สอดคล้องกับความเร่งด่วนของ ปัญหา climate change เช่น กิจกรรม “สี เหลือง” อย่างน้อยควรไม่เกินเส้น “Below 2 Degrees” แทนที่จะยึดตามเส้น “NDC” ของ ไทย • ระบุเกณฑ์ “สีเขียว” สาหรับบริษัทจัด การพลังงาน (ESCO) ซึ่งเป็นตัวเชื่อมสาคัญของ สถาบันการเงินและภาคเอกชนที่ต้องการเงินทุน ในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน กาหนดกลไกทบทวนและประเมินผลการทา ตามหลักเกณฑ์ “การไม่สร้างผลกระทบเชิง ลบอย่างมีนัยสาคัญ” (DNSH) และข้อกาหนด “มาตรการขั้นต่าในการป้องกันผลกระทบทาง สังคม” (MSS) เป็นระยะ ๆ สาหรับโครงการ พลังงานหมุนเวียนที่ใช้ Thailand Taxonomy
Thailand Taxonomy
26 การพัฒนา Thailand Taxonomy ที่สอดคล้องกับหลักการ JET (ต่อ) ประเด็นการ เปลี่ยนผ่าน ประเภท ความยุติธรรม การปฏิรูปโครงสร้างพลังงาน ให้มีความยุติธรรมมากขึ้น การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนที่รับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ความยุติธรรมเชิง กระบวนการ • คณะทางาน Thailand Taxonomy ควรเสาะ แสวงการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ที่ หลากหลาย ในการพัฒนาหรือทบทวน Thailand Taxonomy • เพิ่มการอ้างอิง หลักการชี้แนะแห่ง สหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGPs) ในข้อกาหนด MSS เนื่องจาก UNGPs รวมแนวปฏิบัติว่าด้วยการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสีย เพิ่มการอ้างอิง หลักการชี้แนะแห่ง สหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGPs) ในข้อกาหนด MSS เนื่องจาก
รวมแนวปฏิบัติว่าด้วยการมีส่วนร่วม ของผู้มีส่วนได้เสีย
UNGPs
27 การพัฒนา Thailand Taxonomy ที่สอดคล้องกับหลักการ JET (ต่อ) ประเด็นการ เปลี่ยนผ่าน ประเภท ความยุติธรรม การปฏิรูปโครงสร้างพลังงาน ให้มีความยุติธรรมมากขึ้น การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียนที่รับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ความยุติธรรมเชิง การตระหนักรับรู้ และ ความยุติธรรมเชิง สมานฉันท์ เพิ่มการอ้างอิง หลักการชี้แนะแห่งสหประชาชาติว่า ด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGPs) ในข้อกาหนด MSS เนื่องจากมีแนวปฏิบัติว่าด้วยการประเมินความ เสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชน • เน้นย้าและรณรงค์ให้ผู้ดาเนินโครงการ เห็นความสาคัญของการดาเนินการตาม หลักเกณฑ์ DNSH และข้อกาหนด MSS • ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการใช้ “ผู้ประเมิน ภายนอก” (third party) เพื่อ (1) กลั่นกรองกิจกรรม/โครงการ/บริษัท ตาม Thailand Taxonomy (2) จัดทา “แผนการปรับปรุงการดาเนินงาน เพิ่มเติม” (3) เผยแพร่รายงานดังกล่าวต่อสาธารณะ ในรูปแบบที่เข้าถึงได้ง่ายและไม่มีค่าใช้จ่าย