CSR

Page 1

Journal

ฉบับที่

ธุ ร กิ จ กั บ สั ง คม 24 Business & Society

ติ ด ไฟจราจรขนม การแสดงความรั บ ผิ ด ชอบ

ต่อผู้บริโภค Political Corporate กับ ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา องค์กรอิสระ เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ช่องทาง สนั บ สนุ น การบริ โ ภคอย่ า งมี คุ ณ ภาพ ไม่ ใ ช่ เ พื่ อ ตรวจสอบผู้ค้า

SVN Asia (Thailand)

เมษายน - มิถุนายน 2554


SVN

Asia (Thailand)

Social Venture Network Asia (Thailand) เ ค รื อ ข่ า ย ธุ ร กิ จ เ พื่ อ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม

Honorary Advisor

SVN Asia (Thailand) เครือข่ายนักธุรกิจ นักวิชาการ และบุคคล ก่อตั้งขึ้นในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2540 มีการขับเคลื่อนอย่างจริงจังตลอด 12 ปีที่ผ่านมา SVN ตระหนักถึงความ สำคัญในการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจด้วยจิตวิญญาณแห่งความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) โดยประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรสาธารณประโยชน์ บนความสมดุลของหลักพื้นฐาน 3P คือ People, Planet, Profit กิจกรรมหลักของ SVN ประกอบด้วย SVN Talk, SVN College, SVN Visit, SVN Award, Annual Conference และการผลิตวารสาร CSR Journal SVN มุ่งมั่นนำสมาชิกก้าวไป เพื่อสานพลังเครือข่ายนักธุรกิจเพื่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในประเทศและนานาชาติ สู่เป้าหมายในการดำเนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับการดูแลสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อความสมดุล ยั่งยืน เพื่อให้อนุชน รุ่นหลังมีคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดี Our Contributor

ฯพณฯ อานันท์ ปันยารชุน H.E. Anand Panyarachun Former Prime Minister

คณะกรรมการเครือข่ายเอสวีเอ็น เอเชีย (ประเทศไทย) 2553 ที่ปรึกษา คุณอานันท์ ปันยารชุน / ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี / อาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ / คุณไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม / คุณโสภณ สุภาพงษ์ / คุณปรีดา เตียสุวรรณ์ ประธานกรรมการ คุณสุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง รองประธานกรรมการ คุณวีระเดช สมบูรณ์เวชชการ / คุณจงเกียรติ อนันตอัมพร เลขาธิการ คุณสมลักษณ์ หุตานุวัตร เหรัญญิก คุณประวิทย์ เยี่ยมแสนสุข กรรมการ คุณดารณี เรียนศรีวิไล / ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี / คุณวิเชียร เจษฎากานต์ / คุณอภิชาติ การุณกรสกุล / คุณวัลลภ พิชญ์พงศา / คุณโสภณ เหล่าสุวรรณ / คุณวิสันต์ กรัณฑรัตน / คุณศศมน ศุพุทธมงคล / คุณสุริยน เภกะสุต / คุณปัญญา ฉัททันต์รัศมี / คุณสันติ คุณพิ ส ิ ฐ วงศ์ / คุ ณ เลิ ศ ตั น ติ ส ุ ก ฤต / คุณบุญเลิศ คณาธนสาร / คุณรวิวรรณ โฮริโนอุชิ / คุณกานดา วัฒนายิง่ สมสุข / คุณขุนกลาง ขุขนั ธิน


CSR

Editorial

ข่าวใหญ่ตามหน้าหนังสือในขณะนี้ คงเป็นเรื่องของการ เลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งได้ดึงความสนใจของผู้คน กลบ ข่าวอื่นทั้งหมด แม้กระทั่งเรื่องของยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศ ไทย โดยคณะของคุณอานันท์ ปันยารชุน และคุณหมอประเวศ วะสี ได้ ร่ ว มกั น จั ด ทำ ใช้ เ วลาเกื อ บ 1 ปี เสนอโครงสร้ า งที่ ท้าทายมากคือ การลดบทบาทของการปกครองส่วนภูมิภาค และ เพิ่มการกระจายอำนาจสู่ส่วนปกครองท้องถิ่น ผู้ว่าราชการจังหวัด, นายอำเภอ, หน่วยงานจากกระทรวง สู่จังหวัด เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด ฯลฯ จะถูกลดบทบาทลงซึ่ง เป็นการเสนอกลไกที่ท้าทายโครงสร้างเดิมเป็นอย่างยิ่ง แต่จุดประสงค์ก็เพื่อความเป็นธรรมในการสร้างโอกาสให้ ชุมชนได้มีส่วนในการบริหารทรัพยากรในชุมชน และกำหนดวิถี ชีวิตของชุมชนตนเองมากขึ้น แรงเสียดทานจากการปรับโครงสร้างนี้มีอย่างมหาศาลแน่นอน การเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยพลังสนับสนุนจากส่วนต่างๆ ของสังคมเสนอให้รัฐบาลใหม่ได้พิจารณาเรื่องนี้อย่างจริงจัง พร้อมกันนี้ เราจะได้จัดส่งยุทธศาสตร์การปฏิรูปให้กับสมาชิก SVN เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้วิพากษ์วิจารณ์ และช่วยกันสนับสนุนการสร้างความเป็นธรรมในการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นด้วยครับ สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง ประธานเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เอเชีย (ประเทศไทย)

บรรณาธิการบริหาร: สุทธิชัย เอี่ยมเจริญยิ่ง บรรณาธิการ: บังอร ไทรเกตุ บรรณาธิการบทความ: พิมพร ศิริวรรณ บรรณาธิการศิลปกรรม: สิรัญญา วิศาลศักดิ์ กองบรรณาธิการ: อรุณี ผลน้อย ศิริพร แสงแก้ว กันตินันท์ เพียสุพรรณ มาลินี คุ้มสุภา ศิลปกรรม: สมลักษณ์ รามโคกกรวด ดลฤดี อินทมาตย์ พิมพ์ที่: พิมพ์ดี ติดต่อกองบรรณาธิการ: บริษัท สร้างสื่อ จำกัด 17/118 ซ.ประดิพัทธ์ 1 ถ.ประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2271 4339, 0 2279 9636 โทรสาร 0 2618 7838 ติดต่อเครือข่ายธุรกิจเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม: คุณจันทร์ทิญา สพัดรัมย์ 08 7930 2238 ติดต่อโฆษณาหรือสนับสนุน: บริษัท สร้างสื่อ จำกัด


CSR

Content 6

CSR Story ติดไฟจราจรขนมพันธกิจ ร่วมของความรับผิดชอบ

15

Feature

6 32

องค์กรอิสระเพื่อการ คุ้มครองผู้บริโภค: อีกเครื่องมือกระตุ้น ให้เกิดสินค้าและ บริการอย่างมี คุณภาพ

Opinion เลือกมาเล่า การถลกหนั ง แมวทำได้ 21 CSR Today หลายวิธี CSR Labeling Scoop ความรับผิดชอบหลากสี

19

24

28

CSR ค้าปลีก-ส่งข้ามชาติ

Interview

32

My CSR

38

CSR MOVEMENT

42

Political corporate จะต้องมี SR สูง

28 24

CSR ของผมครับ...


CSR

Story

ติดไฟจราจรขนม พันธกิจร่วมของ ความรับผิดชอบ


เ มื่ อ คุ ณ เ ข้ า ไ ป ซื้ อ ข น ม ป ร ะ เ ภ ท ข บ เ คี้ ย ว ที่ มี ใ ห้ เ ลื อ ก มากมาย หลายรส หลายชาติ หลากยีห่ อ้ ไม่วา่ จะในร้านสะดวกซือ้ หรือในซุปเปอร์มาร์เก็ต การเลือก ซื้อนอกจากตามยี่ห้อที่ชื่นชอบแล้ว คุ ณ ยั ง มี วิ ธี เ ลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า เหล่ า นี้ อย่างไร? ดูฉลากอาหาร? วันหมด อายุ? ข้อมูลโภชนาการ? หรือไม่ สนใจข้อมูลระบุข้างซองเลย ที่ซื้อ เพราะชื่นชอบก็เพียงพอ รู้ ห รื อ ไม่ ฉลากสิ น ค้ า เป็ น การ แ ส ด ง ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผู้บริโภคด้วยเช่นกัน สิ น ค้ า ประเภทอาหารและ เครื่ อ งดื่ ม เกื อ บทุ ก ประเภท จะมี ฉลากอาหารกำกับ ซึ่งเป็นไปตาม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ อ า ห า ร พ . ศ . 2522 ว่ า เป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ งขอ อนุญาตในการผลิต โดยแสดงติด ฉลากโภชนาการเพื่ อ แสดงข้ อ มู ล โภชนาการของอาหาร (Nutrition Information) ซึ่ ง จะอยู่ ใ นกรอบ สี่ เ หลี่ ย มสี ข าวด้ า นหลั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เป็นไปตามประกาศของกระทรวง สาธารณสุขเรื่องฉลากโภชนาการ ฉบับ 182 เมื่อปี 2541 เพื่อเป็น ข้อมูลให้กับผู้บริโภคในการเปรียบ เทียบเลือกซื้อสินค้าอาหารบริโภค ประกาศดังกล่าวใช้มานาน กว่ า 10 ปี โดยไม่ ไ ด้ บั ง คั บ แต่ เป็ น การสมั ค รใจของผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ประเภทอาหาร แต่ก็มีเงื่อนไขห้าม ใช้เป็นข้อมูลโภชนาการสำหรับการ กล่าวอ้าง เช่น แคลเซียมสูงและ ห้ามมีการระบุกลุ่มผู้บริโภคที่เป็น เป้ า หมาย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การขาย

หรือระบุคุณค่าโภชนาการในการ ส่งเสริมการขาย สำหรั บ รู ป แบบของฉลาก โภชนาการมี 2 แบบ คือ แบบแรก เป็น แบบยาว ที่ระบุหน่วยบริโภค ต่ อ ซอง/ขวด คุ ณ ค่ า โภชนาการ ต่อหน่วยบริโภค และรายละเอียด โภชนาการของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ ส่ ว น ผ ส ม ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ไ ข มั น คอเลสเตอรอล (cholesterol) โปรตีน โซเดียม วิตามิน มีทงั้ หมด 15 รายการ และ แบบย่อ สำหรับ อาหารบางประเภทที่ ไ ม่ จ ำเป็ น ต้ อ งแสดงข้ อ มู ล ทั้ ง หมด โดยมี รายละเอียดที่สำคัญที่จะต้องแสดง แคลอรี (Calorie) ไขมัน น้ำตาล โซเดียม (เกลือ) หรือ หวาน มัน เค็ม ติดเหมือนไม่ติด แ ม้ ว่ า ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ข น ม ประเภทขบเคี้ ย วส่ ว นใหญ่ จ ะติ ด ฉ ล า ก โ ภ ช น า ก า ร ไ ว้ บ น ห ลั ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ตามหลั ก เกณฑ์ ข อง กระทรวงสาธารณสุข แต่ปรากฏ ว่ า ผู้ บ ริ โ ภคไม่ ไ ด้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ และส่ ว นใหญ่ อ่ า นไม่ เ ข้ า ใจ รอง ศาสตราจารย์ ดร.ประไพศรี

ศิ ริ จั ก รวาล สถาบั น โภชนาการ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ระบุ ว่ า ได้ มี การศึ ก ษาในฉลากโภชนาการซึ่ ง พบว่ า ผู้ บ ริ โ ภคคนไทยน้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 10 ใช้ ข้ อ มู ล โภชนาการ เป็ น ตั ว ตั ด สิ น ใจอั น ดั บ แรกในการ ซื้ อ อาหาร หรื อ อาจกล่ า วได้ ว่ า เกือบไม่มีใครสนใจข้อมูลดังกล่าว ทางสถาบันฯ ได้ทำสำรวจผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพฯ เกี่ยวกับการอ่าน


รศ.ดร.ประไพศรี ศิริจักรวาล สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ข้อมูลบนฉลากโภชนาการ พบว่า ส่ ว นใหญ่ ร้ อ ยละ 91 อ่ า นวั น หมดอายุ รองลงมาอ่ า นส่ ว น ป ร ะ ก อ บ วั น ที่ ผ ลิ ต ฉ ล า ก โภชนาการ และเครื่องหมาย อย. ตามลำดับ และมีการเสนอ ให้ทำ ฉลากให้เข้าใจได้งา่ ยขึน้ สอดคล้อง กับการสำรวจผู้ ป กครองนั ก เรี ย น เมื่ อ ปี 2549 ที่ พ บว่ า ร้ อ ยละ 5 0 ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ต้ อ ง ก า ร สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ จ ะทำให้ เ ข้ า ใจข้ อ มู ล โภชนาการมากขึ้ น และทำให้ มี หลายฝ่ า ยเรี ย กร้ อ งที่ จ ะให้ มี ก าร เปลี่ ย นฉลากโภชนาการใหม่ ที่ เข้ า ใจง่ า ยขึ้ น เพื่ อ ลดการบริ โ ภค อาหารที่ไม่ก่อประโยชน์ สวนทางกับอัตราการเติบโต ของอุ ต สาหกรรมอาหารประเภท ขนมในช่วงที่ผ่านมาที่มีมูลค่าการ ตลาดเพิ่มขึ้นโดยตกปีละไม่ต่ำกว่า 20,000 ล้ า นบาท มู ล ค่ า นี้ เ อง ทำให้ มี ผู้ ส นใจเข้ า สู่ ต ลาดนี้ อ ย่ า ง

ต่อเนื่อง ด้วยการออกสินค้าใหม่ๆ ที่ เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก วั ต ถุ ดิ บ เดี ย วกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น มั น ฝรั่ ง ข้ า วเกรี ย บ ฯลฯ โดยมี ร สชาติ ที่ แตกต่ า งกั น แต่ ส่ ว นใหญ่ จ ะมี หวาน มัน เค็ม เป็นตัวนำ ทำให้ สินค้าเหล่านี้ เปลี่ยนจากทานเล่น กลายเป็นทานหลัก โดยเฉพาะกลุ่ ม เด็ ก และวั ย รุ่ น ความติ ด ใจในรสชาติ อ ร่ อ ย แบบหวาน มั น เค็ ม ได้ น ำไปสู่ “โรคอ้วน” และปัญหาสุขภาพอื่น ตามมา ไม่ ว่ า จะเป็ น เบาหวาน

โรคไต ฯลฯ ขณะทีอ่ งค์การอนามัย โลกระบุว่า ตั้งแต่ปี 2003 ถึงปี 2005 ประชากรทีเ่ ป็นโรคเบาหวาน จะเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 71 มีผู้ป่วย โรคนี้ 344 ล้านคน อีกทัง้ ประกาศ ว่าโรคเบาหวานเป็นโรคที่อันตราย สูงสุดยิ่งกว่าโรคเอดส์ มีผู้เสียชีวิต

จากโรคเบาหวานปี ล ะประมาณ 3.2 ล้านคน ถือว่าเป็นโรคไม่ติด เชื้อที่คร่าชีวิตมนุษย์ได้มากกว่าโรค ติดเชื้อ เช่น โรคเอดส์ สำหรับประเทศไทยก็เช่นกัน มีเด็กไทยเป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้น ใน ก า ร ส ำ ร ว จ สุ ข ภ า พ ป ร ะ ช า ช น ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2552 พบ ว่าเด็กไทยอายุ 1-14 ปี จำนวน 540,000 คน หรือร้อยละ 5 อยู่ ในภาวะอ้ ว น หมายความว่ า เด็ ก ไทยจำนวน 135,000 คน เสี่ยง ต่อโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 (type 2 diabetes) โดยร้อยละ 28 ของ เด็ ก อายุ 2-14 ปี กิ น ขนมกรุ บ กรอบที่ มี ไ ขมั น สู ง ทุ ก วั น หรื อ บ่ อ ย กว่ า นั้ น จะเห็ น ได้ ว่ า เด็ ก ไทยกิ น ขนมกรุบกรอบเพิ่มขึ้น 2 เท่าจาก ปี 2546 นอกจากนี้ ส่ ง ผลต่ อ เนื่อง ในเรื่องค่าใช้จ่ายเพื่อรักษา ผู้ ป่ ว ยเบาหวาน ที่ สงู ถึงปีละไม่ตำ่ กว่า 50,000 ล้านบาท ไม่รวมค่า รักษาโรคแทรกซ้อนและอื่นๆ ซึ่ง อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายสำหรับรักษา โรคเบาหวานสูงถึงแสนล้านบาทต่อปี

ก า ร อ่ า น ข้ อ มู ล บ น ฉ ล า ก โภชนาการ พบว่ า ส่ ว นใหญ่ ร้ อ ยละ 91 อ่ า นวั น หมดอายุ รองลงมาอ่ า นส่ ว นประกอบ วั น ที่ ผ ลิ ต ฉลากโภชนาการ และเครื่ อ งหมาย อย. ตาม ลำดับ


มีข้อมูลจากสหพันธ์องค์กร

ผู้บริโภคสากล ระบุว่า การขยาย ตัวของโรคอ้วน โดยเฉพาะในเด็ก อายุ น้ อ ยกว่ า 5 ปี ทั่ ว โลกมี ไ ม่ น้อยกว่า 22 ล้านคน และ 3 ใน 4 สาเหตุ จากพฤติกรรมขาดการ ออกกำลั ง กาย และการบริ โ ภค อาหารที่มีไขมัน น้ำตาล และเกลือ โดยเฉพาะในขนมกรุ บ กรอบ น้ ำ อัดลม และอาหารขยะ เนื่องจาก ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากการตลาดและ การโฆษณา ทำให้มีการเรียกร้อง ให้ ผู้ ผ ลิ ต เหล่ า นี้ ท บทวนการผลิ ต อาหารที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด อั น ตรายต่ อ ผู้ บริโภค ได้ มี ก ารสำรวจผู้ บ ริ ห าร องค์ ก รขนาดกลางถึ ง ขนาดใหญ่ จำนวน 510 คน ทั่ ว ประเทศ สหรัฐอเมริกา พบว่า สิ่งที่องค์กร ควรจะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม อันดับ 1 คือ การขายผลิตภัณฑ์ หรื อ บริ ก ารที่ มี ค วามปลอดภั ย ต่ อ สาธารณะ ซึ่ ง ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ทุกประเภทจะต้องมีส่วนรับผิดชอบ ต่อสังคมโดยเฉพาะผู้บริโภค ให้รับ ทราบถึ ง พิ ษ ภั ย ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ แต่ละบริษัทผลิตด้วย แม้ว่าหลาย องค์กรจะยอมรับในแนวความคิด ดังกล่าวแต่มีผู้ผลิตหลายรายก็ไม่ ยอมรับ ปฏิวัติฉลากใหม่ เมื่อสมมุติฐานที่ว่าฉลากไม่ ได้ช่วยให้ผู้บริโภคตระหนักในเรื่อง คุณค่าโภชนาการ จึงมีแนวคิดที่จะ ให้เกิดการปฏิวัติรูปแบบฉลากใหม่ ภายใต้แนวคิด ง่าย กระชับ และ ชัดเจน พชร แกล้วกล้า ผูป้ ระสาน

พชร แกล้วกล้า ผู้ประสานโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค

โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง มู ล นิ ธิ เพื่อผู้บริโภค บอกว่า ฉลาก โภชนาการในสิ น ค้ า แต่ ล ะประเภท อาจจะดู เ หมื อ นๆ กั น แต่ ห ากดู รายละเอียดแล้วจะแตกต่างกันมาก เพราะบางรายเขียนเป็นภาษาไทย บางรายเขียนเป็นภาษาอังกฤษ แม้ กระทั่งหน่วยบริโภคก็ยังไม่เท่ากัน ซึ่ ง มั น ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งง่ า ยที่ ท ำให้ ผู้ บริโภคเข้าใจ ดร.ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้ อ ำนวยการสำนั ก งานอาหาร สำนั ก งานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) กล่าวว่า ได้ศกึ ษาถึง ความเหมาะสมว่าการแสดงข้อมูล โภชนาการ โดยคำนึงถึงประโยชน์ ต่ อ ผู้ บ ริ โ ภ ค ที่ จ ะ ไ ม่ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ความสั บ สน ความพร้ อ มของ ผู้ ป ระกอบการ โดยเฉพาะสินค้า

โอทอป จากการสำรวจพบว่า จะมี ผู้ประกอบการ 1,500 ราย ที่ได้ รับผลกระทบแต่สามารถปรับตัวได้ โดยนำข้อมูลแสดงโภชนาการที่อยู่ ด้ า นหลั ง มาปรั บ ใช้ ด้านหน้าตาม รูปแบบใหม่ที่ อย. เสนอ และเห็นว่า ฉลากโภชนาการที่จะปรับปรุงใหม่ จากตารางโภชนาการเดิม มาเป็น ฉลาก “จีดีเอ” (GDA=Guideline Daily Amounts) ที่ เ ป็ น รู ป ทรง กระบอกแสดงค่าพลังงาน น้ำตาล ไขมัน โซเดียม โดยเป็นเพียงฉลากที ่ แสดงเปอร์เซ็นต์ ไม่มีสี (Monochrome) โดยใช้กับอาหารประเภท ขนม 5 ชนิด คือ มันฝรั่งทอดหรือ อบกรอบ ข้ า วโพดคั่ ว กรอบหรื อ อบกรอบ ข้าวเกรียบหรืออาหาร ขบเคี้ ย วชนิดพอง ขนมปังกรอบ ห รื อ แ ค ร ก เ ก อ ร์ ห รื อ บิ ส กิ ต เวเฟอร์ ซึ่งจะกำหนดให้มีการบอก รายละเอียดของ หวาน มัน เค็ม และแคลอรี (Calorie) โดยติดด้าน หน้าในซองผลิตภัณฑ์ มีตัวอย่างจากหลายประเทศ ทั่วโลก เช่น ในกลุ่มสหภาพยุโรป ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ได้พฒ ั นาการ ใช้สัญลักษณ์ในรูปแบบต่างๆ ที่ติด บนฉลากอาหาร เพื่อเป็นข้อมูลให้ กับผูบ้ ริโภคตัดสินใจในการเลือกสินค้า เช่น วัตถุดิบซึ่งมีส่วนประกอบใดที่ อาจมีผลต่อผู้บริโภคที่มีความเสี่ยง ต่อโรคต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเบาหวาน หัวใจ โดยสัญลักษณ์ที่ใช้จะมีด้วย กั น หลากหลายประเภท ไม่ ว่ า จะ เป็นเครื่องหมายถูก กุญแจ เพื่อ ระบุ ถึ ง ความปลอดภั ย ของสิ น ค้ า บ ริ โ ภ ค ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น ต า ม เ ก ณ ฑ์ ที่ กำหนด โดยเฉพาะที่อังกฤษได้ใช้


สั ญ ญาณไฟจราจร เพื่ อ ให้ ง่ า ยต่ อ การเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค ผู้ผลิตต้องรับผิดชอบต่อผู้ซื้อ อย่างไรก็ตาม แม้แนวคิดให้ ปรับเปลี่ยนรูปแบบจะเป็นที่ยอมรับ ของทุกฝ่าย แต่ยงั ติดในเรือ่ งรูปแบบ ของฉลากโภชนาการที่ เ หมาะสม สำหรั บ ไทยจะเป็ น เช่ น ไรนั้ น โดย “เครื อ ข่ า ยสนั บ สนุ น มาตรการ ฉลากอาหารแบบสีสัญญาณ” ซึ่ง เป็นการรวมตัวกันของ 8 องค์กร ประกอบด้ ว ยสถาบั น โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เครือข่ายคน ไทยไร้พุง เครือข่ายเด็กไทยไม่กิน หวาน โครงการพั ฒ นาระบบและ กลไกเพื่ อ เด็ ก ไทยมี โ ภชนาการ สมวั ย มู ล นิ ธิ เ ครื อ ข่ า ยครอบครั ว แผนงานคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคด้ า น สุ ข ภาพ เรี ย กร้ อ งให้ รั ฐ บาลออก ฉลากอาหารโภชนาการแบบสี สั ญ ญาณหรื อ สั ญ ญาณไฟจราจร (Food Standards Agency-FSA) โดยระบุวา่ การนำฉลากแบบ GDA ของ อย. ไม่ได้สร้างความเข้าใจให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภค แต่ ก ารใช้ FSA จะ ช่ ว ยในการตั ด สิ น มากกว่ า เพราะ เพียงเห็นแค่ 4 วินาที ก็เข้าใจง่าย ไม่ต้องตีความ รศ.ดร.ประไพศรี ยื น ยั น ว่ า จากการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการใช้ GDA และ FSA ในสหราชอาณาจักร กลุ่มผู้ผลิตอาหารบาง กลุ่มได้ทำสัญลักษณ์โภชนาการแบบ GDA และ FSA ซึ่งพบว่าในแบบ หลังจะเข้าถึงผู้บริโภคได้มากกว่าใน การคั ด เลื อ กอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ อี ก ทั้ ง การศึ ก ษาของสถาบันฯ ใน 10

ดร.ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการสำนักงานอาหาร

นักเรียนและผูป้ กครอง จำนวน 450 คน โดยการทดสอบความเหมาะสม และความเข้าใจสัญลักษณ์โภชนาการ 4 แบบ พบว่ า สั ญ ลั ก ษณ์ ไ ฟ จราจร ให้ความหมาย ความเข้าใจ และเหมาะสมที่สุด ด้าน ดร.ทิพย์วรรณ กล่าวว่า หากนำ FSA มาใช้ จะทำให้ เ กิ ด สับสนต่อกลุ่มสินค้า เพราะในสินค้า ประเภทเดียวกัน อาจจะมีทั้ง เขียว แดง เหลือง เช่น นมก็จะได้สีแดงใน ไขมัน น้ำอัดลมโลว์ชูการ์ เขียวหมด และทำให้ยากในการกำหนดเกณฑ์ว่า แค่ไหนที่จะเพียงพอ อีกทั้งยากต่อ การยอมรับของผู้ประกอบการ และ จะยิ่งทำให้ผู้บริโภคสับสนและส่งผล กระทบต่อผู้ประกอบที่ทำให้ยอดขาย ลดลง อีกทั้งอาจจะส่งผลกระทบใน เวที ก ารค้ า ระหว่ า งประเทศ ทั้ ง นี้ อย. เห็นว่าควรผลักดันให้เกิด GDA ก่อนและหลัง จากนั้นควรที่จะมีการ บั ง คั บ ใ ช้ ใ ห้ กั บ ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า ทุ ก ประเภท หากจะมี ค วามจำเป็ น มี ข้อมูลวิชาการที่ชัดเจน จะเปลี่ยนไป เป็นรูปแบบอื่นใดก็ได้ที่เหมาะสมใน อนาคต

พชร กล่าวว่า การใช้ FSA จะทำให้เกิดการรับรูไ้ ด้งา่ ยแม้แต่เด็ก เมื่ อ ได้ รั บ การชี้ แ จงจากผู้ ป กครอง แต่ ถ้ า เป็ น GDA ซึ่ ง เป็ น สี เ ดี ย ว อาจทำให้ ม องไม่ เ ห็ น เท่ า กั บ ไม่ มี ความต่ า งเมื่ อ เป็ น ฉลากข้ อ มู ล โภชนาการที่อยู่ด้านหลัง และการที่ สิ น ค้ า ประเภทหนึ่ ง จะมี ทั้ ง เขี ย ว เหลื อ ง แดง อยู่ บ นซองเดี ย วกั น คงไม่ทำให้เกิดความสับสน เพราะผู้ บริ โ ภคจะพิ จ ารณาเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า ก่ อ นหน้ า นี้ ท างมู ล นิ ธิ ฯ ได้ ท ำ หนั ง สื อ ถึ ง กระทรวงสาธารณสุ ข เพื่ อ คั ด ค้ า นการกำหนดรู ป แบบ ฉลากโภชนาการแบบ GDA และ รณรงค์ ใ ห้ ค วามรู้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภคใน เรื่องดังกล่าวต่อไป ทุกวันนี้ทั่วโลกต่างตื่นตัวต่อ ปั ญ ห า “ โ ร ค อ้ ว น ” ที่ เ ป็ น ภั ย คุ ก คามพลเมื อ งโลกและได้ น ำไป สู่การรณรงค์ด้วยการออกนโยบาย ในการดู แ ลประชาชนของแต่ ล ะ ประเทศ ให้ระมัดระวังในเรื่องการ บ ริ โ ภ ค ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ช้ ฉ ล า ก โ ภ ช น า ก า ร ที่ มี ข้ อ มู ล ที่ ชั ด เ จ น เพียงพอ เพื่อให้ผู้บริโภคได้ตระหนัก ความเสีย่ งของพฤติกรรมในการบริโภค ทีไ่ ม่เหมาะสม ไม่ ว่ า ฉลากโภชนาการของ ไทยรู ป แบบใหม่ จ ะมี รู ป แบบใดก็ ล้วนเป็นจุดเริ่มต้นที่จะนำไปสู่สิ่งที่ดี กว่า และโดยเฉพาะผู้บริโภคจะได้ เรียนรู้กระทั่งสามารถตระหนักได้ ถึงพลังของตนเอง ต่อการเรียกร้อง ให้ผู้ประกอบการแสดงความรับผิด ชอบต่อสังคมอย่างทีค่ วรจะเป็น C


ฉลากอาหาร คืออะไร ตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 ได้ กำหนดให้มีการติดฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร บอกชนิด ประเภท ส่วน ประกอบ ปริมาณสุทธิ วัน เดือน ปี ที่ผลิตและหมดอายุ หรือควร บริโภคก่อน รายละเอียดบนฉลากต้องเป็นภาษาไทย มีชื่อเฉพาะ ชื่อสามัญหรือที่ใช้กัน ชื่อที่ตั้งของผู้ผลิต เลขทะเบียนตำรับอาหาร เลขที่ใบอนุญาต และมีอาหารที่ควบคุม 39 ชนิด ที่ต้องมีคุณภาพ และมาตรฐานตามที่กำหนดซึ่งจะมีตราสัญลักษณ์ของ อย. กำกับใน สิ น ค้ า เหล่ า นั้ น เช่ น น้ ำ แร่ น้ ำ มั น บริ โ ภค นม สี ผ สมอาหาร น้ำปลา น้ำส้มสายชู เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีที่ระบุถึงในกรณีที่เป็นสินค้าประเภทอาหาร และเครื่องดื่ม จะให้มีการการแสดงข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการของ ผลิตภัณฑ์ตามรูปแบบเงื่อนไขที่กำหนด เช่น หน่วยบริโภค ซึ่งหมาย ถึงปริมาณของผลิตภัณฑ์สินค้าแต่ละชนิด ข้อมูลการแนะนำในการ บริโภคในแต่ละครั้ง และจำนวนหน่วยบริโภคในภาชนะบรรจุนั้น เช่ น จำนวนหน่ ว ยบริ โ ภคต่ อ ซอง ชนิ ด และปริ ม าณสารอาหาร ได้แก่ พลังงาน ไขมัน ฯลฯ โดยจะมีทั้งแบบเต็มและแบบย่อ ซึ่ง แบบย่อจะลดรายละเอียดของสารอาหารเหลือเพียง 6 ชนิด ได้แก่ พลังงาน ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต น้ำตาล และโซเดียม สรุปการใช้สัญลักษณ์โภชนาการ แบบ GDA ประโยชน์ที่จะได้รับ รูปแบบ 1. จะปรากฏอยู่ด้านหน้าของ 1. เ ป็ น ก า ร แ ส ด ง ข้ อ มู ล โภชนาการที่มีอยู่ในอาหาร

บรรจุภัณฑ์ ตามความเป็นจริงต่อหนึ่ง

2. จ ะ แ ส ด ง ป ริ ม า ณ ส า ร

หน่วยบริโภค ซึ่งเป็นไปใน

อาหาร ได้แก่ พลังงาน,

ทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ กรอบ

น้ำตาล, ไขมัน, โซเดียม ข้ อ มู ล โ ภ ช น า ก า ร ซึ่ ง

3. แสดงปริมาณสารอาหารที่

สอดคล้องกับหลักการด้าน มี อ ยู่ จ ริ ง และปริ ม าณร้ อ ย

ฉ ล า ก โ ภ ช น า ก า ร ข อ ง ละของปริ ม าณที่ แ นะนำ

Codex ตามมาตรฐาน

ให้ รั บ ประทานต่ อ วั น ตาม

สากล กรอบข้ อ มู ล โภชนาการ

2. ไม่ ไ ด้ ชี้ น ำว่ า ปริ ม าณสาร

ด้านหลังของบรรจุภัณฑ์ อาหารเหล่านั้นสูงหรือต่ำ

หรือดีหรือไม่ดี และไม่มีผล

กระทบต่อภาพลักษณ์ของ

ผลิตภัณฑ์

ทั่ ว โลกตื่ น ตั ว ต่ อ ปั ญ หา “ โ ร ค อ้ ว น ” ที่ เ ป็ น ภั ย คุกคามพลเมืองโลก นำไป สู่ ก ารรณรงค์ ด้ ว ยการ ออกนโยบายในการดู แ ล ป ร ะ ช า ช น ข อ ง แ ต่ ล ะ ประเทศ ให้ ร ะมั ด ระวั ง ใน เรื่องการบริโภค

3. ส า ม า ร ถ เ ป รี ย บ เ ที ย บ

ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ ทั น ที จ า ก

ตั ว เลข และไม่ เ ป็ น การ

ตั ด สิ น ใจแทนผู้ บ ริ โ ภคใน

การเลือกอาหารตามความ

ต้ อ งการสารอาหารของ

แต่ละคนที่แตกต่างกัน 4. สามารถนำไปใช้ ไ ด้ กั บ

อาหารทุกกลุ่มประเภท 5. ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ผู้ บ ริ โ ภ ค

รั บ ผิ ด ชอบตั ว เองในด้ า น

สุ ข ภาพและส่ ง เสริ ม การ

บริโภคอาหารสมดุล

11


สรุปการใช้สัญลักษณ์โภชนาการ แบบ FSA ประโยชน์ที่จะได้รับ รูปแบบ 1. ฉ ล า ก อ า ห า ร แ บ บ “ สี 3. งานวิ จั ย ทั้ ง ในประเทศไทย

1. จะปรากฏอยู่ด้านหน้าของ และต่างประเทศ พบว่า สี

สั ญ ญาณจราจร” มี ก าร

บรรจุภัณฑ์ สั ญ ญาณไฟจราจร เป็ น

ระบุคา่ หรือ RDI (Recom 2. จะแสดงปริมาณสารอาหาร

ได้ แ ก่ พลั ง งาน, น้ ำ ตาล, mended Dail Intakes) สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ผู้ บ ริ โ ภคเข้ า ใจ

เป็ น การให้ ข้ อ มู ล ปริ ม าณ มากที่ สุ ด เมื่ อ เที ย บกั บ รู ป

ไขมัน และโซเดียม แบบอื่น สารอาหารและพลั ง งาน

3. แสดงปริมาณสารอาหารที่มี

กั บ ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ น ก า ร ตั ด 4. สัญลักษณ์รูปแบบไฟจราจร

อยู่ จ ริ ง และปริ ม าณร้ อ ยละ

จะเป็นสีสันที่สะดุดตา ทำให้

สิ น ใ จ เ ลื อ ก ซื้ อ สิ น ค้ า

ของปริ ม าณที่ แ นะนำให้ รั บ

ดั ง นั้ น ห า ก ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ รู้ ว่ า มี ส ารอาหารอะไรผ่ า น

ประทานต่ อ วั น ตามกรอบ

ที่ มี สั ญ ลั ก ษ ณ์ สี เ ขี ย ว เกณฑ์หรือไม่ เหมาะสำหรับ

ข้ อ มู ล โภชนาการด้ า นหลั ง

ผู้ที่มีการศึกษาทุกระดับ (ปลอดภั ย ) แต่ ป ริ ม าณ

ของบรรจุภัณฑ์ ม า ก ก็ เ ป็ น ผ ล เ สี ย ต่ อ 5. มี ข้ อ เสี ย ต่ อ อุ ต สาหกรรม

4. แสดงคุณภาพของอาหารด้วย

อาหาร ที่ ท ำให้ ย อดขาย

สุขภาพ เช่นกัน สัญลักษณ์สี ได้แก่ สีแดง คือ ลดลง แต่จะเป็นแรงกระตุ้น

สูง สีเหลือง คือ ปานกลาง 2. ก า ร ก ำ ห น ด ใ ห้ มี ก า ร

ให้มีการปรับปรุงผลิตภัณฑ์

แ ส ด ง สั ญ ลั ก ษ ณ์

และสีเขียว คือ ต่ำ โ ภ ช น า ก า ร ต้ อ ง ใ ห้ เพื่อประโยชน์ต่อผู้บริโภค ความรู้แก่ประชาชน เพื่อ

ป้องกันความสับสน เป็นรูปแบบตัวอย่างสัญลักษณ์ที่ใช้ในต่างประเทศ

12


------

Feature

CSR

องค์กรอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค : อี ก เ ค รื่ อ ง มื อ ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ เ กิ ด สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร อ ย่ า ง มี คุ ณ ภ า พ

การเลื อ กตั้ ง ที่ จ ะมี ขึ้ น ใน วันที่ 3 กรกฎาคม 2554 คงจะ ต้ อ ง ติ ด ต า ม กั น ว่ า “ พ ร ร ค การเมื อ งใด” จะเป็ น แกนนำใน การจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ และจะ นำพาประเทศก้าวไปสู่ทิศทางใด อันมีสารพัดปัญหาที่รอให้แก้ไข และหนึ่ ง ในปั ญ หาและคำถาม ที่ ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ซึ่ ง มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ผู้ บ ริ โ ภค ที่ ต้ อ งการถามคื อ “ ค ว า ม จ ริ ง ใ จ ต่ อ ก า ร จั ด ตั้ ง องค์ ก รอิ ส ระเพื่ อ การคุ้ ม ครอง ผู้บริโภค” ซึ่งเป็นร่าง พ.ร.บ. ที่ เสนอโดยภาคประชาชน

แ ววดาว เขี ย วเกษม ผู้ ประสานงานเครื อ ข่ า ยผู้ บ ริ โ ภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค บอกว่า “เรารอ มา 14 ปี เพื่อผลักดันให้มีการจัด ตั้ ง องค์ ก รอิ ส ระแห่ ง ใหม่ แม้ ว่ า ตลอดระยะเวลาที่ยังไม่มีการจัดตั้ง องค์กรนี้ขึ้นมา แต่ทางมูลนิธิฯ ได้ ทำงานในเชิงล้อกับกฎหมายฉบับนี้ และไม่ว่าจะใช้เวลาในการตั้งองค์กร แห่งนี้อีกนานเท่าไรก็จะรอ โดยหวัง ว่ารัฐบาลชุดใหม่จะมีความจริงใจใน การจัดตั้งองค์กรดังกล่าว หลังจาก ประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง ที่ ได้ผ่านความเห็นชอบจากสภาผู้แทน ราษฎรไปแล้ว” ประเทศไทยมี ห น่ ว ยงานที่ ให้การคุ้มครองผู้บริโภคหลายหน่วย งาน เช่น สำนักงานคณะกรรมการ คุ้ ม ค ร อง ผู้ บริ โ ภค หรื อ ส ค บ. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและ ยา (อย.) กรมการค้าภายใน สำนักงานมาตรฐานสิ น ค้ า อุ ต สาหกรรม (สมอ.) สถาบั น คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค ด้านกิจการโทรคมนาคม ฯลฯ ซึ่ง

เป็นไปตามกฎหมายของการจัดตั้ง องค์กรเหล่านี้ แต่กม็ ขี อ้ จำกัดในการ ดำเนินงานตามอำนาจกฎหมายของ แต่ละองค์กรเช่นกัน อีกทั้งวิธีการ และแนวทางในการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค แตกต่ า งกั น ไป นอกจากนั้ น แต่ ล ะ หน่วยงานมีขอ้ จำกัดในเรือ่ งบุคลากร งบประมาณ ทำให้บทบาทหน้าที่ใน การคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคไม่ ทั่ ว ถึ ง เท่ า

ทีค่ วร ประชาชนตื่นตัวสิทธิตัวเองมาก ขึน ้ ท่ า มกลางการเปลี่ ย นแปลง สั ง คม เศรษฐกิ จ และเทคโนโลยี รูปแบบทางการตลาดมีความซับซ้อน มากขึ้ น อั น เป็ น อี ก เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่ ทำให้ ก ารเข้ า ไปดู แ ลและคุ้ ม ครอง ประชาชนไม่ทวั่ ถึง จากข้อมูลของ สคบ. ในเดือนตุลาคม–ธันวาคม 2554 มี การรั บ เรื่ อ งพิ จ ารณาคดี ถึ ง 69 ราย เป็นวงเงินความเสียหายไม่ต่ำ กว่า 24 ล้านบาท นีย้ งั ไม่รวมคดีที่ ประชาชนฟ้องร้องไปยังหน่วยงาน 15


แววดาว เขียวเกษม

ปั จ จุ บั น ผู้ บ ริ โ ภครู้ ไ ม่ เ ท่ า ทั น ในการซื้ อ สิ น ค้ า และ บริ ก าร และไม่ เ ข้ า ใจสิ ท ธิ ของตนเอง แม้ว่าจะมีการ ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ กั บ ประชาชนแต่ก็ยังไม่ตื่นตัว มากนักแต่ก็ดีกว่าในอดีต

อืน่ ซึง่ คาดว่าจะมีอยูเ่ ป็นจำนวนมาก แววดาว กล่ า วว่ า ปั จ จุ บั น ผู้บริโภครู้ไม่เท่าทันในการซื้อสินค้า และบริ ก าร และไม่ เ ข้ า ใจสิ ท ธิ ข อง ตนเอง แม้ ว่ า จะมี ก ารรณรงค์ ใ ห้ ความรู้กับประชาชนแต่ก็ยังไม่ตื่นตัว มากนักแต่ก็ดีกว่าในอดีต จะเห็นได้ จากตั ว เลขการร้ อ งเรี ย นที่ ผ่ า น มูลนิธฯิ จากเดิมเมือ่ 4-5 ปีกอ่ น ปี ละ 500-600 ราย เพิ่มเป็นปีละ 16

1,000 ราย “ในอดีตที่ผ่านมาอาจกล่าวได้ ว่าผู้บริโภคบ้านเราไม่กล้าร้องเรียน ได้แต่ยอมกันไป แต่ขณะนีป้ ระชาชน ตื่ น ตั ว กั น มากขึ้ น ไม่ ว่ า จะเป็ น ใน กรุงเทพฯ หรือในต่างจังหวัด อย่าง เช่ น เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ มี ก ลุ่ ม แม่ บ้ า นมา ร้องเรียนเรื่องการเปลี่ยนหัวถังก๊าซ แบบใหม่แทนแบบเดิม ที่จะต้องจ่าย เงินเพิ่ม ก็มีการตั้งคำถามถึงเหตุผล และความจำเป็นที่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม ถ้าเป็นในอดีตกลุ่มแม่บ้านอาจไม่สน ในเรือ่ งนี้ และยอมเสียเงิน” องค์กรอิสระมีหน้าทีอ่ ย่างไร ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ จั ด ตั้ ง องค์ ก รอิ ส ระเพื่ อ การคุ้ ม ครองผู้ บริโภค ที่ได้ผ่านการพิจารณาสภา ผูแ้ ทนราษฎรเมือ่ วันที่ 7 เมษายนที่ ผ่านมา ได้ใช้เวลาในการอภิปรายกัน นานถึ ง 5 ชั่ ว โมง มี ม ติ เ ห็ น ชอบ ด้วยคะแนน 301 ต่อ 2 เสียง จาก นั้นจะส่งต่อให้วุฒิสภาพิจารณา ซึ่ง การพิจารณาร่างกฎหมายดังกล่าว เ ป็ น ไ ป ต า ม ม า ต ร า 6 1 แ ห่ ง รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ให้มีการ จั ด ตั้ ง องค์ ก รอิ ส ระขึ้ น มาดู แ ลและ ให้การคุ้มครองผู้บริโภคโดยตรงใน ทุ ก ๆ ด้ า น นอกเหนื อ จากอำนาจ หน้าที่ที่หน่วยราชการมีอยู่ ซึ่งตาม ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า กฎหมายนั้ น รั ฐ บาลชุ ด ใหม่ จ ะนำ ร่ า งกฎหมายที่ ผ่ า นความเห็ น ชอบ จากสภาผู้ แ ทนราษฎรมาพิ จ ารณา ต่ อ ภายใน 60 วั น และเมื่ อ ผ่ า น ความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาแล้ว จะมีขั้นตอนในการ ดำเนินงานตามกฎหมายระยะหนึ่ง ก่ อ นที่ จ ะมี ก ารจั ด ตั้ ง องค์ ก รอิ ส ระ ดังกล่าว

ทั้งนี้ตามร่างพระราชบัญญัติ องค์กรอิสระฯ จะได้รบั การสนับสนุน จากงบประมาณของรัฐบาล โดยจะ จัดสรรให้ในอัตราไม่นอ้ ยกว่า 3 บาท ต่ อ หั ว ต่ อ ปี จากจำนวนประชากร หรื อ อาจกล่ า วได้ ว่ า จะมี ทุ น เริ่ ม ดำเนินการในปีแรก 300 ล้านบาท และจะได้รบั เงินสนับสนุนจากรัฐบาล ใ น อั ต ร า เ พิ่ ม ขึ้ น ต า ม จ ำ น ว น ประชากรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่ ภ าค ประชาชนเสนอขอรับเงินสนับสนุน รัฐบาลในอัตรา 5 บาทต่อหัว หากพิจารณาถึงการจัดสรร เงิ น งบประมาณที่ ใ ห้ นั บ ว่ า “น้ อ ย มาก” เมื่ อ เที ย บกั บ ราคาสิ น ค้ า ที่ ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ทุ ก วั น หรื อ อั ต ราเงิ น งบประมาณที่ รั ฐ บาลสนั บ สนุ น รายหัว “พอจะซือ้ ไข่ขนาดเล็กได้ 1 ฟอง” แต่มีค่าน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ ราคาบะหมี่สำเร็จรูปที่มีราคาซองละ 6 บาท ซึ่งถือเป็นสินค้าขั้นพื้นฐาน ในราคาต่ ำ สุ ด หรื อ ถ้ า จะเที ย บกับ ราคาน้ ำ แข็ ง เปล่ า ที่ ร้ า นอาหาร ทั่วไปขายอยู่ในปัจจุบันซึ่งบางร้าน ปรั บ ราคาไปแล้ ว แก้ ว ละ 2 บาท หากซื้อในศูนย์อาหารที่เกิดขึ้นตาม ศูนย์บางแห่งก็ขายแก้วละ 5 บาท แววดาว กล่าวต่อว่า ตลอด ระยะเวลา 14 ปี ในการผลักดัน เรื่ อ งนี้ มี ค วามยากลำบากในการ ดำเนิ น งาน โดยเฉพาะการผ่ า น ความเห็นชอบจากรัฐบาล เกือบทุก รั ฐ บาลไม่ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ในเรื่ อ งนี้ แต่การผ่านมาได้ถึงระดับนี้ก็นับว่า พอใจ “มี ค ำถามมากมายจากฝ่า ย การเมื อ ง บางเรื่ อ งเล็ ก ๆ น้ อ ยๆ ก็ ไ ม่ ใ ห้ ผ่ า น การจะมี ก ฎหมายที่ ดี เกี่ ย วกั บ ผู้ บ ริ โ ภคมั น ยากมากใน บ้ า นเรา ก็ ไ ม่ แ น่ ใ จนั ก การเมื อ งว่า จะเห็ น ด้ ว ยแค่ ไ หน โดยเฉพาะใน


ประเด็นทีว่ า่ องค์กรอิสระใหม่แห่งนี้ จะทำหน้ า ที่ ไ ด้ จ ริ ง หรื อ ไม่ หน่ ว ย งานต่างๆ จะทำอย่างไร และทุกคน จะเข้ า มาร่ ว มกิ จ กรรมได้ อ ย่ า งไร กระนัน้ ก็ตามนับเป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ”ี อย่างไรก็ตาม มูลนิธิฯ หวัง ว่าถ้าเกิดองค์กรอิสระแห่งใหม่จะมี บทบาทหน้าที่ในการตรวจสอบการ ทำงานของภาครัฐและเอกชน การ วิจัยและศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ต่ อ การซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก าร ออก ประกาศหรือคำเตือนในเรื่องสินค้า และบริการ รวมทั้งรับเรื่องราวร้อง ทุ ก ข์ ข องประชาชนในเรื่ อ งต่ า งๆ และถ้ า เกิ ด ผลกระทบวงกว้ า งหรื อ ประเด็นสาธารณะสามารถที่จะฟ้อง ร้องแทนประชาชนได้ ด้านพรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล จากสภาหอการค้าไทย ก่อนหน้านี้ ได้ แ สดงความวิ ต กต่ อ การจั ด ตั้ ง องค์ ก รอิ ส ระดั ง กล่ า วว่ า ต้ อ งการ สนั บ สนุ น การบริ โ ภคให้ มี คุ ณ ภาพ ไม่ ใ ช่ ต รวจสอบผู้ ค้ า หรื อ นั ก ธุ ร กิ จ เพราะมี ห น่ ว ยงานของรั ฐ บาลทำ หน้าทีน่ อี้ ยูแ่ ล้ว ไม่วา่ จะเป็นกรมการ ค้าภายในอีกทั้งเนื้อหาบางส่วนของ พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล่ า ว อาจเป็ น ช่ อ งว่ า งให้ เ กิ ด การเสี ย ดุ ล ของผล ประโยชน์เชิงธุรกิจ ในขณะที่การทำ ธุรกิจของภาคเอกชนนับวันจะมีการ แข่งขันที่รุนแรง ซึ่งถ้าตรวจสอบไม่ ทั่ ว ถึ ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ธุ ร กิ จ ประเภทเดียวกันได้ และสิง่ สำคัญคือ ผู้ ที่ จ ะเข้ า ไปรั บ ผิ ด ชอบในองค์ ก รนี้ ต้ อ งมี ค วามโปร่ ง ใส่ ใ นการดำเนิ น งาน ดร.สุทธิศกั ดิ์ ภัทรมานะวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักกฎหมายและคดี สำนั ก งานคณะกรรมการคุ้ ม ครอง ผูบ้ ริโภค (สคบ.) อธิบายว่า บทบาท

หน้าที่ขององค์กรอิสระเพื่อคุ้มครอง ผูบ้ ริโภค จะทำหน้าทีใ่ นการให้ความ เห็ น ทางด้ า นกฎหมาย การตรา กฎหมายและกฎ (กระทรวง) และ ตรวจสอบการดำเนินการของภาครัฐ และเอกชน ในเรื่องการคุ้มครองผู้ บริ โ ภคในทุ ก ๆ ด้ า น ไม่ ว่ า จะเป็ น การซื้อสินค้า บริการ รวมถึงการ ตรวจสอบหน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ ท ำ หน้าที่ในการคุ้มครองผู้บริโภค อีก ทั้งให้อำนาจที่ จ ะสามารถฟ้ อ งร้ อ ง แทนประชาชนได้ ใ นกรณี ที่ จ ะมี ผ ล กระทบต่ อ วงกว้ า งหรื อ ประเด็ น สาธารณะ โดยจะส่งเรื่องให้อัยการ พิจารณาซึ่งในเบื้องต้นสามารถที่จะ ส่งฟ้องทางแพ่งได้ และนับเป็นการ คานอำนาจระหว่ า งประชาชนและ หน่ ว ยงานภาครั ฐ จะเป็ น การ คุ้มครองผู้ บ ริ โ ภคอย่ า งแท้ จ ริ ง และ เปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถใช้ บริการได้ทวั่ ถึงมากขึน้ องค์กรอิสระเพือ่ การคุม้ ครอง ผูบ้ ริโภค จะอยูใ่ นส่วนของการกำกับ ดู แ ล ผ่ า น ส ำ นั ก ง า น ป ลั ด น า ย ก รัฐมนตรี โดยมีคณะกรรมการขึน้ มา บริหารงาน 15 คน ซึ่งกรรมการ

จำนวน 7 คน จะเป็นคณะกรรมการ สรรหา คัดเลือกจากผู้แทนองค์กร ผู้บริโภคจำนวน 7 ด้าน ประกอบ ด้วย ด้านการเงินและการธนาคาร ด้านการบริการสาธารณะ ด้านทีอ่ ยู่ อาศั ย ด้ า นบริ ก ารสุ ข ภาพ ด้ า น สินค้าและบริการทั่วไป ด้านสื่อสาร และโทรคมนาคม ด้านอาหาร ยา หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภาพ อี ก ทั้ ง ยั ง มี การกำหนดระบุ ถึ ง สั ด ส่ ว นในเรื่ อ ง เ พ ศ ไ ว้ ด้ ว ย ว่ า จ ะ ต้ อ ง มี ค ว า ม แตกต่างในเรื่องเพศไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของกรรมการ ซึ่งเป็นตาม รัฐธรรมนูญ เท่ า กั บ เป็ น การเปิ ด โอกาสให้ เ พศหญิ ง เข้ า มามี บ ทบาท มากขึ้น และมีกรรมการอีก 8 คน ซึ่ ง จะได้ รั บ การเลื อ กตั้ ง จากผู้ แ ทน องค์กรผู้บริโภคที่ดำเนินการในพื้นที่ ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี ซึง่ จะต้องมีการจด ทะเบี ย นกั บ ทางองค์ ก ร โดยการ เลื อ กตั้ ง ตั ว แทนในเขต จะจั ด แบ่ ง ต า ม ภู มิ ภ า ค 7 เ ข ต โ ด ย ใ ห้ กรุงเทพฯ เป็นเขตหนึ่ง และที่เหลือ ของจังหวัดต่างๆ จะกำหนดเป็นเขต ต่างๆ อีก 6 เขต

บทบาทหน้ า ที่ ข ององค์ ก ร อิ ส ระเพื่ อ คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค จะทำหน้ า ที่ ใ นการให้ ค วาม เห็ น ทางด้ า นกฎหมาย การ ตรากฎหมายและกฎ (กระทรวง) และตรวจสอบ การดำเนิ น การของภาครั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น ใ น เ รื่ อ ง ก า ร คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคในทุ ก ๆ ด้าน ดร.สุทธิศกั ดิ์ ภัทรมานะวงศ์

17


F e a t u r e

การจัดตั้งองค์กรอิสระดังกล่าวว่า ต้ อ งการสนั บ สนุ น การบริ โ ภคให้ มี คุณภาพ ไม่ใช่ตรวจสอบผู้ค้าหรือ นักธุรกิจ

องค์กรเสือกระดาษหรือไม่ หลายฝ่ายมองตามกฎหมาย แล้ว อำนาจหน้าที่ขององค์กรอิสระ ดังกล่าว จะทำหน้าทีใ่ นการคุม้ ครอง ผู้ บ ริ โ ภคได้ จ ริ ง หรื อ ไม่ หรื อ เป็ น เพียง “เสือกระดาษ” เนื่องจากใน รายละเอียดของพระราชบัญญัติจัด ตั้ ง องค์ ก รค่ อ นข้ า งกว้ า ง ไม่ ไ ด้ กำหนดในรายละเอียดวิธีการในการ ดำเนินงานขององค์กรเท่าที่ควรว่า จะมีความสามารถเรียกผู้ผลิตสินค้า หรือบริการ ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน หรือรัฐ ทีอ่ าจขายสินค้าหรือบริการ ให้กับประชาชนไม่ได้มาตรฐาน ไม่ ได้คุณภาพ จะมีการกำหนดวิธีแก้ไข ปั ญ หาเรื่ อ งนี้ อ ย่ า งไร ซึ่ ง อาจจะมี การออกเป็ น ระเบี ย บภายในในวิ ธี การปฏิบตั กิ าร โดยหากพบความผิด อาจเรี ย กให้ คู่ ค วามทั้ ง สองฝ่ า ยมา เจรจาไกล่ เ กลี่ ย ชดเชยแทนความ เสียหายให้กบั ผูซ้ อื้ ไม่เฉพาะแค่ราคา สินค้าหรือบริการที่สูญเสียไป อาจ รวมถึงการชดเชยต่อจิตใจของผู้ซื้อ อีกด้วย ทัง้ นีอ้ ายุความในการดำเนิน คดีในแต่ละเรือ่ งไม่เกิน 3 ปี นับตัง้ แต่ผู้ซื้อสินค้าหรือบริการทราบว่าได้ รั บ ความเสี ย หายจากการซื้อสินค้า หรือบริการเหล่านัน้ อย่างไรก็ตาม แววดาว กล่าว ว่า หากไม่ต้องการเป็นองค์กรเสือ กระดาษ จำเป็นต้องมีอำนาจตาม 18

กฎหมายพอสมควรในการดำเนิ น งาน ไม่ว่าจะเป็นการประกาศแจ้ง เตือนประชาชน หรือการฟ้องร้อง แทนประชาชนในประเด็นสาธารณะ และหวั ง ว่ า องค์ ก รอิ ส ระนี้ น่ า จะมี บทบาทและหน้าทีค่ ล้ายๆ กับองค์กร คุ้มครองผู้บริโภคของฮ่องกง อย่าง เช่นเมือ่ มีองค์กรนีข้ นึ้ มาแล้ว อาจจะ ส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบสินค้า และบริการทีจ่ ำหน่ายตามศูนย์การค้า หากพบเห็นว่ามีสินค้าหรือบริการที่ ไม่ ไ ด้ คุ ณ ภาพมาตรฐาน ก็ จ ะแจ้ ง เตือนไปยังผูบ้ ริหารของศูนย์การค้าให้ แก้ไขทันที หากพิจารณาถึ ง บทบาท หน้าที่ขององค์กรใหม่ จะมีขอบเขต ในการดำเนิ น งานที่ ค่ อ นข้ า งกว้ า ง เพราะไม่เพียงแต่ดูเรื่องสินค้าที่เป็น วัตถุจับต้องได้ อาจดูถึงเรื่องบริการ ทีจ่ บั ต้องไม่ได้ ไม่วา่ จะเป็นบริการใน ด้านสุขภาพหรืออืน่ ๆ ไม่เพียงเฉพาะ ภาคเอกชนในฐานะที่ เ ป็ น ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า และบริ ก ารเหล่ า นั้ น แม้ แ ต่ ภาครัฐวิสาหกิจ ที่ขายบริการให้กับ ประชาชนโดยตรง หรื อ ทำสั ญ ญา สั ม ปทานใดให้ กั บ เอกชนก็ อ าจถู ก ตรวจสอบได้เช่นกัน รวมถึงหน่วย ง า น ข อ ง รั ฐ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค องค์ ก รแห่ ง นี้ ก็ เข้าไปตรวจสอบการทำงานได้ แต่หากมองดูว่าองค์กรอิสระ นี้จะลดอำนาจของหน่วยงานภาครัฐ

ที่ มี ห น้ า ที่ ดู แ ล ใ น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ผู้บริโภค หรือทำให้เกิดการแข่งขัน ในการคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคกั บ หน่ ว ย งานของรัฐ หรือองค์กรภาคเอกชน ทีด่ แู ลเรือ่ งนี้ ดร.สุทธิศกั ดิ์ กล่าวว่า ไม่ถือว่าเป็นการแย่งงานหรือทำงาน ซ้ ำ ซ้ อ นกั น แต่ น่ า จะเป็ น เรื่ อ งดี ที่ ประชาชนจะได้รับการคุ้มครองมาก ขึ้น เพราะอย่างน้อยประชาชนได้มี ทางเลื อ กในการใช้ สิ ท ธิ คุ้ ม ครอง ผูบ้ ริโภคผ่าน สคบ. หรือหน่วยงาน ของรัฐ หรือองค์กรอิสระแห่งใหม่ อี ก ทั้ ง ในบางกรณี การคุ้ ม ครอง ผู้ บ ริ โ ภคที่ เ ป็ น หน่ ว ยงานรั ฐ ด้ ว ย กั น เองอย่ า ง สคบ. ก็ ไ ม่ มี อ ำนาจ เข้าไปดูแลในส่วนนี้ได้ จึงเป็นการดี ที่จะทำให้การคุ้มครองประชาชนได้ ดี ขึ้ น สำหรั บ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค ก็ ยั ง คงทำหน้ า ที่ ต ามเดิ ม ภายใต้ กฎหมายทีแ่ ต่ละองค์กรมีอยู ่ ในอี ก ด้ า นหนึ่ ง นั บ เป็ น การ สร้างแรงกดดันให้กับองค์กรทั้งภาค เอกชนและรัฐวิสาหกิจ ไม่ว่าจะเป็น ผู้ผลิตสินค้าหรือขายบริการ ในการ แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมมาก ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นการผลิตสินค้า หรือ ออกบริ ก ารใหม่ ๆ ที่ จ ะขายให้ กั บ ประชาชน หากสิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร เหล่านั้น ไม่ได้มาตรฐาน ไม่เป็นไป ตามสั ญ ญา โดยคิ ด เพี ย งให้ สิ น ค้ า “ขายได้” เพือ่ “กำไร” กระทัง่ ก่อให้ เกิดปัญหาขัดแย้งในทีส่ ดุ อย่างไรก็ตาม ท้ายที่สุดหาก ผู้บริโภคยังไม่เคารพสิทธิและความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ตนเอง แม้ จ ะเกิ ด องค์ ก รคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคอี ก สิ บ อี ก ร้ อ ยองค์ ก รก็ ต าม ปั ญ หาการเอา เปรียบผูบ้ ริโภคก็จะยังคงดำรงอยู่ C


Opinion Alex Mavro, “The Responsibilitator,” is a full-time CSR and Sustainability consultant based in Thailand. Reach him at almavro@siv-asia.org.

When you see or hear the phrase, “Corporate Social Responsibility,” what immediately comes to mind? Please take a minute to mentally answer that question before reading on. If you said, “charity,” you are among the majority. Unfortunately, the majority is misinformed. Don’t get me wrong. There can be – and often, there is – a charitable component to a well thoughtout CSR strategy. But it needn’t always be there. And it plays a supporting role, not the lead role that so many organizations seem to give it. There is a long explanation for why there is so much misunderstanding about the concept, misunderstanding that is not limited to Thailand. However, two of the more obvious drivers of misconception may be unique to Thailand.

First is the concept of making merit (ทำบุญ). The CSR worldview is new, or at least the emphasis is new. One easy way to introduce why an organization should be concerned about it is to equate CSR to making merit. It resonates with Thai businesspeople. It is something with which they can immediately identify: doesn’t everyone want to make merit? Of course, making merit is an honorable endeavor which should be encouraged. Its limitation, when comparing making merit to social responsibility, is that one’s options for making merit are almost unlimited. Social responsibility, on the other hand, is constratined to those activities dictated by the reactions of others to your organization’s product, service, or method of operating. We use the term stakeholders to refer to these ‘others.’ Bluntly put, if there were no 19


organization to have an impact, there would be no stakeholders and therefore no need to consider CSR. But there would still be plenty of opportunity for making merit. The second driver of misunderstanding is less cultural and more opportunistic. Foundations, Associations, and other worthy non-governmental organizations have learned to use “CSR” as a mantra which will frequently evoke prompt and generous donations from businesses and other organizations. CSR is in the air: we see it mentioned daily in the news, and what serious organization wants to be seen as one that ignores the Movement of the Moment... especially if all that’s needed to participate is a bank draft. And naturally, that’s what many well-meaning NGOs tell their potential donors, in effect: “Write us a check and your CSR quota will be met, for this year.” Don’t get me wrong. Some of my best friends run these organizations, and I know them to be courageous and well-intentioned. They would never consider trying to trick anyone into supporting them: they want hearts and minds – not just today, but forever. On the other hand, these public-spirited individuals are illinformed, believing as they do that “CSR equals Charity.” Since charity is an under-rated driver in the business world, whereas “CSR” is 20

heard everywhere, it is only natural for an NGO to opt for “CSR” as part of its sales pitch. This brings me to the point of this article. CSR’s biggest enemy today is misinformation. The way to fight misinformation is through education. Education at the university level; at the secondary level; and at the primary level. I have long been a proponent of fostering a social responsibility mindset among university students through such organizations as Net Impact and the University Social Responsibility Alliance. But after having addressed dozens of university audiences and written reams of articles, I have come to the conclusion that by the time a student has reached university, his or her value systems are beyond easy modification. Social responsibility is anchored in values, and values are rooted in society. Most societies have within them, variously expressed, such noble values as pursuit of truth, respect for human dignity, pluralism, social responsibility and commitment to development, honesty, solidarity, justice, and more. The challenge, then, is in communicating and promoting beliefs that are already present but perhaps not sufficiently articulated. I am pleased to report that here in Thailand, there is an

appreciation of this reality. For example, not long ago, the Ministry of Natural Resources and Environment sponsored a series of train-the-trainer programs to inculcate an appreciation of sustainable living principles into selected change agents of leading secondary schools around the Kingdom. Our core message was that values are best taught by example, not by rote. Students in the primary and secondary levels should be taught that being able to divine the interconnectedness of things is more important than memorizing the Right Answers. They can begin applying this understanding at school and at home. That way, when they reach the university level, concepts such as climate change and connecting with stakeholders will not be alien to them. And when someone mentions CSR, this new generation of students will not immediately picture charity. Rather, they will understand CSR, in the words of one institution, as “ethical and intelligent management of the impacts produced by the organization on its human, social, and natural environment for the sustainable development of Society.” C 1. www.netimpact.org 2. www.usralliance.org 3. The Pontifical Catholic University of Peru, a thought-leader, has selected these values as paramount. 4. Thanks to Systainability Asia and the ministry, I was honored to be part of this effort.


CSR

Today อนันตชัย ยูรประถม

เคยสังเกตหรือไม่ว่า ตอนนี้เวลาที่เรา ซื้ อ สิ น ค้ า หรื อ บริ ก าร เรามองหาอะไรบ้ า ง นอกจากราคา ยกตัวอย่าง ความสนใจกับส่วน ผสมและองค์ ป ระกอบของสิ น ค้ า และบริ ก าร นั้นๆ ที่เป็นคุณสมบัติด้านประโยชน์การใช้สอย เป็นสำคัญ เช่น อาหาร ขนมต่างๆ นั้น มี ส่วนประกอบอะไรบ้าง กินแล้วจะอ้วนขึ้นหรือ ไม่ มีโซเดียมมากเกินไปหรือเปล่า มีไขมัน มี วิ ต ามิ น อะไรบ้ า ง จะทำให้ เ ราหน้ า ตาผ่ อ งใส สติปัญญาสูงขึ้นเท่าไร 21


นอกจากนี้ เราก็ต้องมอง หาสัญลักษณ์ที่ทำให้เรามั่นใจได้ ว่า คุณสมบัติดังกล่าวมันเป็นจริง ได้ แ ก่ เครื่ อ งหมายรั บ รองตาม มาตรฐานของหน่ ว ยงานต่ า งๆ เช่ น สำนั ก งานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) เป็นต้น อัน เป็นไปตามกระแสสังคมที่เป็นยุค ของการห่วงใยสุขภาพ แต่ในช่วง หลังๆ นี้เราจะเริ่มเห็นการรับรอง คุณสมบัติอื่นๆ เพิ่มมากขึ้นทั้งที่ เกี่ยวเนื่องกับคุณสมบัติของสินค้า และบริการนั้นๆ โดยตรง ฉลากที่ เราเห็นกันหลากหลายนั้น ในมุม มองของความรับผิดชอบต่อสังคม มีความหมายสำคัญถึงความโปร่งใส การเปิ ด เผยข้ อ มู ล และความ สามารถในการถู ก ตรวจสอบได้ จากสังคม ไม่ใช่เป็นเพียงเครื่อง มือในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ว่า สินค้าและบริการของเรานั้นมี ความรั บ ผิ ด ชอบด้ า นสั ง คมหรื อ สิ่งแวดล้อมที่สูงส่ง ถึ ง แม้ ว่ า เราจะได้ ฉ ลาก เบอร์ 5 หรื อ สี ใ ดก็ ต าม ไม่ ไ ด้ แปลว่าการดำเนินธุรกิจของเราไม่ มีผลกระทบหรือสิน้ สุดกระบวนการ แห่ ง การพั ฒ นาแล้ ว อย่ า งสิ้ น เชิ ง แต่มีความหมายที่สำคัญมากกว่า นัน้ ประการแรก ฉลากเหล่า นั้นมีความหมายถึงความโปร่งใส ในการเปิ ด เผยข้ อ มู ล ที่ บ อกเรา ไ ด้ ว่ า การได้ ม า การใช้ หรื อ กระบวนการด ำ เ นิ น ธุ ร กิ จ ที่ เกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการนั้น มีผลกระทบมากน้อยแค่ไหน 22

ฉลากที่ เ ราเห็ น กั น หลาก หลายนั้ น ในมุ ม มองของ ความรับผิดชอบต่อสังคม มี ค วามหมายสำคั ญ ถึ ง ความโปร่งใส การเปิดเผย ข้อมูลและความสามารถใน การถู ก ตรวจสอบได้ จ าก สั ง ค ม ไ ม่ ใ ช่ เ ป็ น เ พี ย ง เครื่ อ งมื อ ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์

ตัวอย่างหนึง่ คือ โครงการ ฉลากคาร์บอน (Carbon Footprint Labeling) ที่มีสัญลักษณ์เป็นรูป รอยเท้า ซึ่งเป็นโครงการวิจัยร่วม ของมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากสหภาพ ยุโรป ส่งเสริมให้สินค้าที่ส่งออก ไปยั ง ยุ โ รปนั้ น เปิ ด เผยถึ ง การ ปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ตามการประเมินวัฏจักรชีวิตของ สิ น ค้ า และบริ ก าร (Life Cycle Assessment: LCA) จุ ด มุ่ ง หมายที่ ส ำคั ญ ของ โครงการคือ การเปิดเผยข้อมูล ต่อผู้บริโภค เพื่อแสดงให้เห็นว่า สินค้าของตนเองนั้นมีการปล่อย คาร์บอนออกมากน้อยเท่าใด เพื่อ ให้ผู้บริโภคใช้เป็นข้อมูลประกอบ

การตัดสินใจ ควบคูไ่ ปกับคุณสมบัติ ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช นิ ด เดี ย วกั น หรื อ สั ญ ลั ก ษณ์ ก ารค้ า ที่ เ ป็ น ธรรม (Fair trade) อันแสดงให้เห็นว่า สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ เ ค รื่ อ ง ห ม า ย นี้ สามารถถูกตรวจสอบย้อนกลับได้ ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทานว่า ต้อง ไม่มีการเอาเปรียบเกษตรกร คู่ค้า คู่ธุรกิจ แรงงาน เป็นต้น แต่เดิมเจ้าของผลิตภัณฑ์ อาจจะให้ความสำคัญในประเด็น ต่างๆ เหล่านี้ เพียงในกระบวนการ สร้ า งมู ล ค่ า ของสิ น ค้ า เท่ า นั้ น ขณะที่ที่มาที่ไปของผลิตภัณฑ์มัก ไม่ ไ ด้ รั บ การดู แ ลหรื อ ให้ ค วาม สำคัญ การได้รับสัญลักษณ์ต่างๆ เหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่ทำให้ธุรกิจเอง ต้ อ งมองเห็ น เข้ า ใจ ใส่ ใ จและ สามารถตอบคำถามกับสังคมได้ ถึ ง ผลกระทบทางตรงและทาง อ้ อ มจากการดำเนิ น ธุ ร กิ จ ของ ตนเอง ประการที่ ส อง สถานะ ของการพัฒนา โดยทั่วไปแล้วไม่ ว่าจะเป็นลักษณะของฉลากที่เปิด เผยตั ว เลขอย่ า งฉลากคาร์ บ อน ห รื อ ที่ เ ป็ น ร ะ ดั บ อ ย่ า ง ฉ ล า ก ประหยัดไฟเบอร์ 1-5 หรือฉลาก ที่ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ว่ า ได้ รั บ การ รับรองอย่าง ฉลากเขียว (Green Lable) เพื่อแสดงว่า ผลิตภัณฑ์นี้ มี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มน้ อ ย กว่า เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำ หน้าที่อย่างเดียวกัน การได้มาซึ่งฉลาก ธุรกิจ ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดที่มี จุ ด


มุ่ ง เน้ น สำคั ญ ได้ แ ก่ การเป็ น ฉลากที่มุ่งเน้นความสามารถ ดัง เช่น ต้องมีความสามารถในการ ประหยั ด พลั ง งานเท่ า ไรจึ ง จะได้ เบอร์ 1 ถึง 5 อย่างฉลากประหยัด ไฟ กับฉลากทีม่ งุ่ เน้นกระบวนการ เช่ น ฉลากคาร์ บ อน (Carbon footprint labeling) ของสหภาพ ยุโรปที่ต้องการให้มีกระบวนการ ครบทั้งวัฏจักรชีวิตโดยไม่บังคับว่า ต้องลดให้ได้เท่าไรแต่มุ่งเน้นไปยัง กระบวนการมากกว่า

ฉลากหรื อ เครื่ อ งหมายรั บ รองต่ า งๆ นั้ น จึ ง ไม่ ใ ช่ เ ป็ น เพียงการประกาศศักดาด้าน CSR ของตนเอง เพื่อเอาไว้ โฆษณาว่ า เราได้ เ ข้ า เกณฑ์ นั้ น แล้ ว อี ก ทั้ ง การได้ เครื่องหมายรับรองก็ไม่ได้จบลงเมื่อเราได้รับฉลากเหล่า นั้นมา

ฉะนั้ น ฉลากจึ ง ทำหน้ า ที่ สำคั ญ อี ก ประการหนึ่ ง สำหรั บ องค์กรที่จะได้ประโยชน์คือ การ แ จ้ ง ใ ห้ ท ร า บ ถึ ง ส ถ า น ก า ร ณ์ พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ว่า ปัจจุบันเรามีความสามารถ มี ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ ดี แ ล้ ว ห รื อ ไ ม่ สามารถปรั บ ปรุ ง ได้ ใ นขั้ น ตอน ไหนบ้ า ง รวมถึ ง ความสามารถ ในการนำข้ อ มู ล ไปกำหนดเป็ น เป้ า หมายขององค์ ก รได้ ทั้ ง ใน ระยะสั้นและระยะยาว ดังทีไ่ ด้กล่าวแล้วว่า ฉลาก หรือเครือ่ งหมายรับรองต่างๆ นัน้

จึงไม่ใช่เป็นเพียงการประกาศศักดา ด้าน CSR ของตนเอง เพื่อเอาไว้ โฆษณาว่าเราได้เข้าเกณฑ์นั้นแล้ว อีกทั้งการได้เครื่องหมายรับรองก็ ไม่ ไ ด้ จ บลงเมื่ อ เราได้ รั บ ฉลาก เหล่านั้นมา เช่น หลายองค์กรที่ เป็ น นั ก ล่ า ประกาศนี ย บั ต รหรื อ ใช้เป็นเพียงใบผ่านทาง ซึ่งพอได้ แล้ ว จบแล้ ว ก็ จ บเลย ถ้ า ต้ อ งมี เกณฑ์การรักษาก็ทำเพียงเพื่อให้ รักษาไว้ แต่ถ้าไม่มีก็แล้วกันไปจบ เพียงแค่นี้ แต่ ห ากมองเห็ น ความ หมายที่แท้จริง กระบวนการต่อ

มาจึงมีความสำคัญเช่นกัน เพื่อ ทำให้องค์กรได้รับประโยชน์จาก กระบวนนี้อย่างแท้จริง เช่น การ ส่งเสริมความโปร่งใสให้เกิดขึ้นกับ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ถึงการได้มาซึง่ เครื่องหมายหรือประกาศนียบัตร รั บ รอง นั บ ตั้ ง แต่ ก ารให้ ข้ อ มู ล ถึงรายละเอียด คำอธิบาย และ ลักษณะสำคัญของการรับรอง การให้ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ ส่ ว นเสี ย สามารถตรวจสอบย้ อ น กลับได้ทุกขั้นตอน โดยไม่ละเมิด ความลั บ ทางการค้ า รวมถึ ง นำ ข้อมูลที่ได้นี้กลับเข้าไปสู่กระบวนการภายในให้ทุกส่วนในองค์กรมี ความรู้ความเข้าใจ และร่วมกั น นำไปสร้างแนวทางการพัฒนาให้ ดีขึ้น ขอให้ฉลากที่ได้มานั้นคือ ความตั้งใจ ที่เราอยากรับผิดชอบ กั บ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มจริ ง ๆ มิใช่เป็นเพียงองค์ประกอบหลาก สี สั น ที่ เ อาไว้ ป ระชั น ขั น แข่ ง กั น หรือสร้างหน้าตาขององค์กรและ สินค้าเท่านั้น C 23


เลือกมาเล่า

ดร.ไสว บุญมา

24


เป็ น คำพั ง เพยที่ มี ผู้ อ้ า งถึ ง บ่อยๆ แต่ไม่มีใครใช้ในความหมาย ตรงๆ ที่ บ่ ง ถึ ง การถลกหนั ง แมว จริงๆ หากให้ตีความหมายในแนวที่ ว่า การบรรลุจุดประสงค์อาจทำได้ หลายวิธี ในสมัยนี้จึงมักมีคำแนะนำ ให้คิดนอกกรอบ คอลัมน์นี้ในฉบับที่ 22 (ตุลาคม-ธันวาคม 2553) พูด ถึ ง การ “ทำปลาร้ า ไปฝากภาค อีสาน” อันเป็นเรื่องค่อนข้างแปลก แก่นของเรื่องได้แก่หลักการบริหาร จัดการซึ่งดูจะล้าสมัยมากเนื่องจาก ในยุ ค ปั จ จุ บั น การแข่ ง ขั น อั น แสน เข้ ม ข้ น มั ก ชั ก จู ง ให้ บ ริ ษั ท ห้ า งร้ า น ปลดคนงานเมื่ อ กิ จ การประสบ ปัญหา แต่บริษัทตัดกระจกและทำ หน้าต่างไทยชื่อโอเรกอนอะลูมิเนียม ที่บทความนำมาเล่าหาทำเช่นนั้นไม่ หากทำในทางตรงข้าม นั่นคือ จ้าง คนงานไว้ทั้งหมดด้วยอัตราค่าจ้าง เท่ า เดิ ม ในภาวะวิ ก ฤติ ที่ เ กิ ด จาก เศรษฐกิ จ ถดถอยอย่ า งหนั ก เมื่ อ ปี 2540 โดยแบ่งคนงานส่วนหนึ่งไว้ ให้ทำงานด้ านเดิมที่พอหาได้ และ ส่งอีกส่วนหนึ่งไปทำไร่ ทำสวน ทำ นา เพาะเห็ ด และเลี้ ย งปลาเพื่ อ นำ ผลผลิตมาปันกันในหมู่คนงาน หาก กิ จ การและเศรษฐกิ จ ไม่ ฟื้ น คื น ชี พ กลับมาภายในเวลา 5 ปี บริษัทก็ เต็ ม ใจจะล้ ม ละลายไปพร้ อ มกั บ คน งานด้วย การตัดสินใจไปตายดาบ หน้ า ร่ ว มกั บ คนงานหากกิ จ การไม่ ฟื้ น ขึ้ น มานั้ น เป็ น การ “ถลกหนั ง แ ม ว ” ที่ ไ ด้ ผ ล ดี เ ยี่ ย ม ยั ง ผ ล ใ ห้ โอเรกอนอยู่มาได้อย่างมั่นคงจนถึง ปัจจุบัน อนึง่ การให้คา่ จ้างในระดับ ดีและการยึดศักดิ์ศรีมนุษย์เป็นที่ตั้ง ในด้ า นแรงงานสั ม พั น ธ์ มี ค วาม สำคั ญ ยิ่ ง ในทุ ก ภาวะ หลั ก การ บริ ห ารจั ด การแบบนี้ ไ ด้ ผ ลดี ทั้ ง ใน บริ ษั ท ไทยและในกิ จ การก่ อ ตั้ ง ใหม่ ของชาวอเมริ กั น กลุ่ ม หนึ่ ง ซึ่ ง ชื่ อ

การตั ด สิ น ใจไปตายดาบหน้ า ร่ ว มกั บ คน งานหากกิ จ การไม่ ฟื้ น ขึ้ น มานั้ น เป็ น การ “ ถ ล ก ห นั ง แ ม ว ” ที่ ไ ด้ ผ ล ดี เ ยี่ ย ม อามิ ช ด้ ว ย นั่ น คื อ ในขณะที่ กิ จ ก า ร ก่ อ ตั้ ง ใ ห ม่ โ ด ย ทั่ ว ไ ป ใ น สหรั ฐ อเมริ ก ามี อั ต ราล้ ม เหลวเกิ น 50% ภายใน 5 ปี แต่กิจการของ กลุ่ ม อามิ ช มี อั ต ราความล้ ม เหลว เพียง 5% เท่านั้น เรื่ อ งในแนวดั ง กล่ า วนี้ มี ตั ว อย่ า งในเยอรมนี แ ละมี ผู้ ม องว่ า มันเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เศรษฐกิจ เยอรมันแข็งแกร่งในขณะที่สมาชิก จำนวนมากในสหภาพยุโรปประสบ

โดยการผลิ ต เครื่ อ งมื อ ขนาดเล็ ก สำหรับใช้ในกิจการป่าไม้และตกแต่ง ภูมิทัศน์จำพวกตัดต้นไม้ แต่งกิ่งไม้ เป่ า ใบไม้ แ ละปรั บ แต่ ง สนามหญ้ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดั ง ที่ สุ ด ของบริษัท ได้แก่ เลื่อยลูกโซ่ซึ่งขาย ได้ เ ป็ น อั น ดั บ หนึ่ ง ของโลกมาเป็ น เวลาช้ า นาน แม้ ใ นปั จ จุ บั น นี้ จ ะมี ราคาแพงมากกว่าคู่แข่งก็ตาม เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว่ า เครื่ อ ง มื อ จำพวกนี้ ไ ม่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ที่ ส ลั บ

ปัญหาหนักหนาสาหัส ตัวอย่างหนึ่ง ซึ่งโดดเด่นเป็นพิเศษและเป็นตัวแทน ของกิจการในเยอรมนีได้เป็นอย่างดี ได้ แ ก่ บ ริ ษั ท ขนาดกลางชื่ อ สตี ฮ์ ล บริษัทนี้เป็นกิจการภายในครอบครัว มาตั้ ง แต่ ค รั้ ง ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี 2469

ซั บ ซ้ อ นมากนั ก ฉะนั้ น ประเทศ อุตสาหกรรมเกิดใหม่สามารถผลิต ได้อย่างรวดเร็ว นั่นหมายความว่า จีนสามารถผลิตได้ในราคาถูกและส่ง ไ ป ตี ต ล า ด ทั่ ว โ ล ก ม า น า น แ ล้ ว อย่างไรก็ตาม บริษัทสตีฮ์ลสามารถ 25


ห ลั ก ก า ร ห นึ่ ง ซึ่ ง บ ริ ษั ท ส ตี ฮ์ ล ยึ ด ป ฏิ บั ติ แ ล ะ ดู เ ส มื อ น ว่ า ล้ า ส มั ย ไ ด้ แ ก่

การจำกั ด การส่ ง งานไปทำ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ที่ มี ค่ า แ ร ง ต่ ำ

กว่าในเยอรมนี วิธีนี้บริษัท อเมริ กั น ยึ ด ปฏิ บั ติ ม านาน จนกลายเป็ น ของธรรมดา

ยืนหยัดสู้กับสินค้าจีนได้ด้วยการคง ไว้ ซึ่ ง คุ ณ ภาพที่ ไ ม่ มี ใ ครเที ย บจน สามารถส่งออกสินค้าที่ผลิตออกมา ได้ไปขายยั ง ต่ า งประเทศถึ ง 86% ปั จ จั ย ส ำ คั ญ ข อ ง ก า ร ค ง ไ ว้ ซึ่ ง คุ ณ ภาพ ได้ แ ก่ การมี ค นงานที่ มี ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ สู ง แ ล ะ ทุ่ ม เ ท ประกอบกั บ การเน้ น การวิ จั ย และ พั ฒ นาตั ว สิ น ค้ า ให้ ค งความเป็ น เลิ ศ ไว้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ความทุ่ ม เท ของคนงานอั น เกิ ด จากการได้ รั บ การดู แ ลเป็ น อย่ า งดี แ ละทำงาน อย่างมีศักดิ์ศรีนั้นเกิดขึ้นกับคนงาน เยอรมั น เช่ น เดี ย วกั บ คนงานไทย ดั ง ที่ เ ล่ า ไว้ ใ นบทความที่ อ้ า งถึ ง ข้างต้น หลั ก การหนึ่ ง ซึ่ ง บริ ษั ท สตี ฮ์ ล ยึ ด ปฏิ บั ติ แ ละดู เ สมื อ นว่ า ล้ า สมัยได้แก่ การจำกัดการส่งงานไป ทำในประเทศที่ มี ค่ า แรงต่ ำ กว่ า ใน เยอรมนี วิ ธี นี้ บ ริ ษั ท อเมริ กั น ยึ ด ปฏิ บั ติ ม านานจนกลายเป็ น ของ ธรรมดา และมักคิดกันว่าเป็นวิธีแก้ ปั ญ หาอั น เนื่ อ งมาจากค่ า แรงสู ง ที่ แยบยล แต่ บ ริ ษั ท สติ ฮ์ ล ไม่ ยึ ด เป็ น หลักปฏิบัติสำคัญ ยิ่งกว่านั้นในช่วง มาร์ค ซักเคอร์เบิรก์

26

เวลาที่เศรษฐกิจมีปัญหา สตีฮ์ลก็ไม่ ปลดคนงาน ตั ว อย่ า งล่ า สุ ด ได้ แ ก่ ในช่วงที่เกิดเศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก เมื่ อ ปี 2551 แทนที่ จ ะ ปลดคนงานซึ่งมีความเชี่ยวชาญทาง ด้ า น เ ท ค นิ ค สู ง บ ริ ษั ท ก ลั บ ใ ห้ ประกันว่าจะจ้างพวกเขาต่อไปจนถึง ปี 2558 เท่านั้นยังไม่พอ บริษัท ยังจ้างพนัก-งานด้านวิจัยและพัฒนา มาเพิ่ม ปัจจัยเหล่านี้ทำให้บริษัทมี ทั้ ง สิ น ค้ า คุ ณ ภาพสู ง และสิ น ค้ า ใหม่ ออกมาเสนอขายอย่างเพียบพร้อม เมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัว นอกจากการเน้ น คุ ณ ภาพ และการให้ประกันความมั่นคงแก่คน งานแล้ว ประวัติของบริษัทสตีฮ์ลบ่ง ว่าบริษัทขยายตัวแบบช้าๆ และคง ความเป็ น ธุ ร กิ จ ในครอบครั ว ไว้ การใช้ปรัชญานี้มีข้อดีอย่างหนึ่งคือ บริ ษั ท ไม่ ต้ อ งพึ่ ง ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ นั่นหมายความว่าไม่ต้องถูกกดดันใน ด้านที่ต้องแสดงผลกำไรทุกไตรมาส และจ่ายเงินปันผลสูงอย่างสม่ำเสมอ เมื่ อ ปราศจากความกดดั น ชนิ ด นั้ น บริ ษั ท สามารถพั ฒ นาไปได้ ต าม ปรัชญาของตัวเองและมีความคล่อง ตั ว สู ง ในด้ า นการรั บ มื อ กั บ ความ เปลี่ ย นแปลง เมื่ อ เที ย บกั บ บริ ษั ท ขนาดใหญ่ซึ่งขยายตัวอย่างรวดเร็ว และมักประสบปัญหาหนักหนาสาหัส ดังที่เห็นอยู่เป็นประจำ การก้าวไป อย่างช้าๆ ทว่ามั่นคงของสตีฮ์ลและ โอเรกอนน่าจะเป็นอุทาหรณ์อย่างดี สำหรั บ ผู้ ป ระกอบการที่ ม องหาวิ ธี ถลกหนังแมวเพิ่มขึ้น C


CSR

Scoop มาลินี คุ้มสภา

ข้อมูลจาก ReportLinker ซึง่ ได้ ร วบรวมรายงานสถิ ติ แ ละข้ อ มู ล สาธารณะจากแหล่งข้อมูล 2 แสนแห่ง ทั่วโลก ในการจัดอันดับบริษัทค้าปลีก ร ะ ดั บ โ ล ก ( F o o d R e t a i l i n g Company) เมื่อพฤษภาคม 2554 ได้ กล่าวถึง 4 บริษัท ชั้นนำของโลกด้าน ค้ า ปลี ก -ค้ า ส่ ง ตามลำดั บ คือ บริษัท Carrefour ของฝรั่ ง เศส, บ ริ ษั ท Auchan ของรั ส เซี ย , บริ ษั ท WalMart Stores ของอเมริ ก า และ บริษัท Tesco ของอังกฤษ ซึ่งข้อมูล ดังกล่าวได้สอดคล้องกับรายงานการจัด อันดับของ Consumer Currents ฉบับ ที่ 9 เดือนธันวาคม 2553 ที่เคยจัด อันดับบริษัทค้าปลีกค้าส่งในปีที่แล้วที่ เติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ระดั บ โลก 3 บริ ษั ท คื อ Wal-Mart, Carrefour และ Tesco การเติ บ โตของธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ข้ า มชาติ ได้ ใ ห้ ค วามสำคั ญ ต่ อ การ ลงทุ น ในภู มิ ภ าคเอเชี ย และอาเซี ย น เ พ ร า ะ ศั ก ย ภ า พ ก า ร เ ติ บ โ ต ท า ง เศรษฐกิ จ และโดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ใน ปี 2554 นี้คาดว่าการขยายสาขาของ ศู น ย์ ค้ า ปลี ก -ค้ า ส่ ง ในภู มิ ภ าคเอเชี ย น่ า จะมี ก ารเติ บ โตและขยายตั ว อย่ า ง น่าจับตามอง เป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะ บริ ษั ท ค้ า ปลี ก -ค้ า ส่ ง ชั้ น นำอย่ า งน้ อ ย 2 บริษัทซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นในประเทศ ไทยอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาหลายปี ก่ อ นนี้ จ า ก ก า ร ค า ด ก า ร ณ์ ข อ ง ส ม า ค ม ผู้ค้าปลีกไทยในปี 2554 ยังประเมิน ว่ า ภาพรวมอุ ต สาหกรรมค้ า ปลี ก จะมี การเติบโตถึง 8% ขณะที่ในปี 2553 เติบโต 7.3% ซึ่งมีมูลค่าประมาณ 1.7 28

ล้ า นล้ า นบาท หรื อ คิ ด เป็ น 10% ของ GDP และโดยเฉพาะ การเร่ ง ขยายสาขาขนาดเล็ก จากตาราง (ดู ต ารางที่ 1 ประกอบ) แสดงให้ เ ห็ น ว่ า บริ ษั ท ค้ า ปลีกชั้นนำ เช่น เทสโก้โลตัส ได้เปิด สาขาเอ็กซ์เพรสอย่างก้าวกระโดด จาก

200 แห่ ง ในปี 2549 เป็ น 460 แห่งในปี 2552 หรือตลาดโลตัส ปี 2550 มี 27 แห่ง เพิ่มเป็น 65 แห่ง ในปี 2552 และยังเร่งเปิดสาขาขนาด ใหญ่ (ไฮเปอร์มาร์เก็ต) เพิ่ ม ถึ ง 20 แห่ง และเพิ่มสาขาจาก 59 เป็น 79 สาขา (2550-51) และมีแผนจะใช้งบ 20 ต.ค. 2553

ห้าง เทสโก้ โลตัส -ไฮเปอร์มาร์เก็ต -ตลาด -เอ็กซ์เพรส -คุ้มค่า คอมมิวนิตี้ ฮอลล์ บิ๊กซี -มินิบิ๊กซี -บิ๊กซีจูเนียร์

2549

2550

2551 2552

292 57 19 200 16 -

404 59 27 298 20 -

503 79 53 338 30 3

650 84 65 460 30 8

698 90 75 490 31 9

55 1

60 1 -

76 10 -

77 10 -

87 14 2

คาร์ฟูร์ -ไฮเปอร์มาร์เก็ต -คาร์ฟูร์ ซิตี้ -คาร์ฟูร์มาร์เก็ต

23 23 - -

26 26 - -

39 38 1 -

39 38 1 -

41 39 1 1

แม็คโคร

29

40

44

44

48

ท็อปส์ -ท็อปส์(-ท็อปส์ ซุปเปอร์/ ท็อปส์มาร์เก็ต) -ท็อปส์ เดลี่

92 88 4

101 94 7

120 100 20

120 100 20

153 100 53

เซเว่นอีเลฟเว่น

3,622

4,279

5,270 5,270

5,660

แฟมิลี่มาร์ท

542

542

558

600

568

ตารางที่ 1 : การขยายสาขาของค้าปลีกรายใหญ่ ที่มา: สำนักส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า: ธันวาคม 2553 (อ้างอิงจาก หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ 17 มกราคม 2554)


ประมาณ 7,000 ล้ า นบาทในปี นี้ สำหรับการเปิดสาขาไฮเปอร์มาร์เก็ต 6 แห่ง ตลาดโลตัส 10 แห่ง ควบคู่การ ปรั บ ปรุ ง สาขาบางส่ ว น ขณะที่ บิ๊ ก ซี นอกจากทยอยปรั บ สาขาของคาร์ ฟู ร์ มาเป็ น แบรนด์ บิ๊ ก ซี แ ล้ ว ในปี นี้ ยั ง มี แผนทุ่มงบประมาณ 2,000 ล้านใน การขยายสาขาขนาดเล็ ก เพิ่ ม เช่ น กั น ส่วนท็อปส์ซุปเปอร์มาเก็ต ก็ให้ความ สำคั ญ กั บ การเพิ่ ม สาขาขนาดเล็ ก ที่ เรียกว่าท็อปส์เดลี่มากขึ้น สำหรับร้าน สะดวกซื้อเซเว่นอีเลฟเว่น ในปี 2553 ที่มีสาขาอยู่ 5,790 สาขา จะขยาย คูหาเป็น 3 คูหาสำหรับส่วนเสริมของ เบเกอรี,่ กาแฟ หรือความงาม โดยคาด ว่าจะมี 7, 000 แห่งในปี 2556 กลยุ ท ธ์ ที่ ป รั บ ไปเน้ น ขยาย สาขาขนาดเล็ก สืบเนื่องจากผลกระทบ ที่ ผู้ ค้ า ปลี ก ท้ อ งถิ่ น รายย่ อ ยหรื อ ร้ า น โชห่วย ไม่สามารถสู้ทุนใหญ่ได้ทำให้ ร้ า นค้ า ย่ อ ยต้ อ งปิ ด ตั ว ไปเป็ น จำนวน มาก จนก่อให้เกิดปฏิกิริยาต่อต้านถึง กับขึ้นป้าย “ไม่เอาซุปเปอร์มาเก็ตจาก บริษัทค้าปลีกข้ามชาติ” และเรียกร้อง ให้ ท บทวนการอนุ ญ าตก่ อ สร้ า งสาขา ของบริ ษั ท เหล่ า นี้ ใ นจั ง หวั ด ต่ า งๆ มี การเรียกร้องให้ประกาศใช้ พ.ร.บ. ค้า ปลีกเสนอเข้าสู่การพิจารณาของคณะ รัฐมนตรี ด้วยหวังว่า พ.ร.บ. นี้จะสร้าง ความเป็นธรรมต่อร้านค้าขนาดเล็ก

อย่างไรก็ตามร่าง พ.ร.บ. การ ประกอบธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ค้ า ส่ ง พ.ศ. ... ยั ง อยู่ ร ะหว่ า งการพิ จ ารณาของคณะ กรรมการกฤษฎีกา โดยทีร่ ฐั ใช้ประกาศ ผั ง เ มื อ ง ค ว บ คุ ม ก า ร ข ย า ย ส า ข า ผู้ประกอบการค้าปลีกรายใหญ่จึงอาศัย ช่องว่างของกฎหมาย ซึ่งผังเมืองเปิด ช่องให้การขยายสาขาที่มีพื้นที่ต่ำกว่า 300 ตารางเมตร นอกจากผลกระทบต่อผู้ค้าปลีก ท้ อ งถิ่ น รายย่ อ ย ยั ง มี อี ก ผลกระทบ หนึ่งซึ่งได้เกิดขึ้นแล้วในประเทศที่เคย เผชิญกับสถานการณ์จากทุนข้ามชาติ คื อ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ แรงงานสอง มาตรฐานการดูแลแรงงาน จากการขยายสาขาของบริษัท Tesco เข้าไปในอเมริกา ได้เข้าไปตี ตลาดค้าปลีกภายใต้ชื่อ Fresh&Easy ตั้งแต่ปี 2550 และขยายสาขาขึ้นเป็น 60 สาขาในแคลิ ฟ อร์ เ นี ย , เนวาดา และอริโซนา มีการต่อต้านเกิดขึ้น โดย องค์กรด้านแรงงานได้ชี้ให้เห็นปัญหา การใช้ น โยบายที่ ไ ม่ เ ท่ า เที ย มในการ ดูแลแรงงานระหว่างแรงงานของประเทศ

ผู้ ก่ อ ตั้ ง และเจ้ า ของประทศที่ เ ข้ า ไป ดำเนินธุรกิจ ไม่เฉพาะแต่ในอเมริกา เท่านั้น แต่รวมไปถึงประเทศอื่นๆ รวม ถึงในประเทศกำลังพัฒนา ตัวอย่างการเลือกปฏิบัติต่างๆ อาทิ เช่น การไม่เห็นชอบต่อการจัดตั้ง สหภาพแรงงาน การมี ชั่ ว โมงการ

ทำงานที่มากกว่าการอนุญาตให้หยุด งานน้อยกว่าการจ่ายค่าตอบแทนหรือ ค่ า ชดเชยที่ ไ ม่ เ หมาะสม รวมทั้ ง ไม่ มี การดูแลสุขภาพที่ดีพอ ต่อข้อเรียกร้อง เหล่านี้ นำโดยองค์กรแรงงานที่สำคัญ ในอเมริกา คือ UFCW หรือ United Food and Commercial Workers ซึ่งจัดพิมพ์รายงานที่ชื่อว่า “The Two Faces of Tesco” ออกเผยแพร่ในปี 2549 ชี้ให้เห็นการเอาเปรียบแรงงาน ในแบบสองมาตรฐาน เช่น ตุรกี ไทย และเกาหลี เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งนี้ ในปี 2553 ยั ง มี ก ารรณรงค์ ใ ห้ ค วามสำคั ญ กั บ ปั ญ หาแรงงานปรากฏขึ้ น อี ก เช่ น กั น โดยสหภาพผู้ บ ริ โ ภคระหว่ า งประเทศ หรือ Consumers International (CI) ที่มีสมาชิกกว่า 220 กลุ่มทั่วโลก จาก 115 ประเทศมีฐานที่ตั้งในลอนดอนได้ ตื่ น ตั ว พร้ อ มกั บ ตั้ ง คำถามและตรวจ สอบการปฏิบัติต่อแรงงานในประเทศ ก ำ ลั ง พั ฒ น า อ ย่ า ง เ ห ม า ะ ส ม ข อ ง ซุ ป เปอร์ ม าเก็ ต ข้ า มชาติ ชั้ น นำ มี ก า ร จั ด พิ ม พ์ ร า ย ง า น ขึ้ น ใ ช้ ชื่ อ ว่ า “Checked Out” เพื่อตรวจสอบเรื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR ของซุปเปอร์มาเก็ตยักษ์ใหญ่ในยุโรปที่ ขยายสาขาเข้ า ไปในประเทศกำลั ง พัฒนา โดยมีประเด็นสำคัญคือ เรื่อง ก า ร ค้ า ที่ เ ป็ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ดู แ ล แรงงานอย่างเป็นธรรมของการค้าข้าม ชาติในรูปค้าปลีก-ค้าส่ง ขณะที่การรุกคลืบของธุรกิจค้า ปลีกข้ามชาติดำเนินอย่างต่อเนื่อง แต่ พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง ยั ง ไม่ มี ที ท่ า ว่ า จะได้ ฤ กษ์ ป ระกาศใช้ เสียที... C 29


นอกจากผลกระทบต่อ ผู้ค้าปลีกท้องถิ่นรายย่อย ยังมีอีกผล กระทบหนึ่ ง ซึ่ ง ได้ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว ในประเทศที่ เ คยเผชิ ญ กั บ สถานการณ์ จากทุนข้ามชาติ คือ ความรับผิดชอบต่อแรงงาน สองมาตรฐานการดูแลแรงงาน พรบ.ค้าปลีก-ค้าส่ง อ้ า งอิ ง จากรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 84 กล่ า วถึ ง การที่ รั ฐ ต้ อ ง ดำเนิ น นโยบาย ที่ ก ำกั บ ให้ ร ะบบ เศรษฐกิ จ มี ก ารแข่ ง ขั น ที่ เ สรี แ ละเป็ น ธ ร ร ม แ ล ะ ป้ อ ง กั น ก า ร ผู ก ข า ด ป ร ะ ก อ บ กั บ ส ภ า พ ปั ญ ห า ทั้ ง ด้ า น แรงงานและการต่อต้านของผู้ค้าปลีก รายย่ อ ยที่ เ กิ ด ขึ้ น ทำให้ ภ าครั ฐ และผู้ เกี่ ย วข้ อ งเห็ น ความจำเป็ น ต้ อ งมี ก าร ตรากฎหมายที่ ค วบคุ ม ดู แ ลการค้ า ที่ เป็นธรรมและคุ้มครองผู้บริโภคอย่าง รั ด กุ ม ขึ้ น โดยเฉพาะการเข้ า ควบคุ ม โครงสร้ า งการประกอบธุ รกิ จค้ าปลีก ค้ า ส่ ง ที่ มี ก ารขยายตั ว อย่ า งรวดเร็ ว อย่ า งก้ า วกระโดด คณะรั ฐ มนตรี จึ ง แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย ว่าด้วยการค้าที่เป็นธรรมและคุ้มครอง ผู้ บ ริ โ ภคขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 20 มิ ถุ น ายน 2551 หลังจากนั้นก็ได้มีการสัมมนา รั บ ฟั ง ความเห็ น และประชุ ม คณะ กรรมการอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในปี 2552 จนคณะกรรมการสามารถที่ จ ะเสนอ ร่างพระราชบัญญัติประกอบธุรกิจค้า ปลี ก ค้ า ส่ ง เสนอเข้ า สู่ ส ภา เมื่ อ 26 มิถุนายน 2552 ร่าง พ.ร.บ. นี้ มีส่วนช่วยธุรกิจ ค้ า ปลี ก ของร้ า นโชห่ ว ย ด้ ว ยการ กำหนดให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะกรรมการ กลางเข้ามากำหนดนโยบาย มาตรการ แผนการจั ด ระบบการค้ า ที่ ป้ อ งกั น ผล กระทบที่เสียหายต่ออย่างรอบด้าน ทั้ง ต่อผู้ประกอบการรายย่อยและผู้บริโภค เข้าควบคุมดูแลธุรกิจค้าปลีกค้าส่งทั่ว ประเทศและระดับจังหวัด โดยควบคุม จำนวนการก่อสร้าง ร้านค้าปลีกข้าม ชาติขนาดใหญ่ให้มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่าง 30

เหมาะสมกับท้องที่ เข้าควบคุมการปิดเปิดห้างไม่ให้ยาวนานจนปิดโอกาสร้านค้า ปลีกย่อยค้าขาย หรือมีมาตรการควบคุมป้องกันการขยายตัวของสินค้าที่ใช้ Brand ของบริษัทค้าปลีกขนาดใหญ่แทนที่ผู้ผลิตตัวจริง ทั้งนี้เพื่อปกป้องผู้ค้าปลีก-ค้าส่ง กำหนดราคามาตรฐานที่เอื้อประโยชน์ต่อทุกฝ่ายมากกว่าเน้นการขายต่ำกว่าทุน พ.ร.บ. นี้ แม้ว่าจะยังไม่ถูกประกาศเป็นกฎหมาย แต่จากเนื้อหากฏหมายก็เป็นดูจะ ความหวังของทุกฝ่าย อย่างไรก็ตาม ระหว่างนี้ยังมีการบังคับใช้กฎหมายบางส่วน ที่จำกัดการ ขยายตัวของสาขาของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่บังคับใช้อยู่บ้าง เช่น พ.ร.บ. การแข่ง ขันทางการค้า 2542, พ.ร.บ. ว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ พ.ศ. 2540 หรือ กฎหมายผังเมืองและควบคุมอาคาร แต่การบังคับใช้ก็ไม่อาจสร้างผลในทางปฏิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการขยายสาขายังคงขยายตัวอย่างรวดเร็ว ผลจาก การประชุมของคณะกรรมการฯ จึงมีข้อสรุปว่า สมควรผลักดันให้มีการร่าง พ.ร.บ. ประกอบธุรกิจค้าปลีกหรือค้าส่งโดยเร็ว ซึ่งในปัจจุบันมีการควบคุมการเติบโตของ ห้างค้าปลีกค้าส่งขนาดใหญ่อย่างเคร่งครัด ตามกฎหมายควบคุมอาคาร และการ กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างอาคารค้าปลีกค้าส่งในผังเมืองรวม แต่ผู้ประกอบการ เหล่านี้ ได้พยามเลี่ยงมาตรการทางกฎหมายที่บังคับใช้อยู่ ด้วยการลดขนาดสาขา ลงเป็นสาขาขนาดเล็ก (Downsizing) ทำให้ไม่ติดขัดข้อกฎหมาย หรือติดขัดการ อนุญาตก่อสร้าง ตามกฏหมายที่ขึ้นกับผังเมืองรวม แต่การลดขนาดสาขาที่ขยาย เล็กลง จะไม่มีกฎหมายควบคุมเคร่งครัดเท่า ทำให้สามารถก่อสร้างได้อย่างรวดเร็ว และขยายตัวเข้าไปทั่วทุกภูมิภาค ทุกชุมชนทั่วประเทศ ส่งผลให้มีจำนวนสาขาเพิ่ม ขึ้นอย่างรวดเร็วมากมาย สังเกตจากอัตราการขยายตัวของสาขาขนาดย่อยในปี 2554 ข้างต้น หรือ จากข้อมูลตารางในปี 2549-2553 สำหรับเนื้อหา พ.ร.บ. ได้มีข้อเสนอการ กำหนดนโยบาย มาตรฐานและแผนการจัดระบบธุรกิจค้าปลีกค้าส่งแบบองค์รวม และควบคุมการขยายสาขาที่เป็นไปตามความเหมาะสมของแต่ละท้องที่ การควบคุม จำนวน เวลาปิดเปิดที่เหมาะสม การควบคุมการแข่งขันทางการค้าที่เป็นธรรม โดยเฉพาะการขยายตราสินค้าเฉพาะของผู้ผลิต (House Brand Private Brand) รวมทั้ ง เน้ น ให้ ผู้ ป ระกอบการทุ ก ส่ ว น พิ จ ารณาเรื่ อ งความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (CSR) หรือผลกระทบสิ่งแวดล้อม แบบแผนพฤติกรรมการบริโภค ไปพร้อมๆ การ ดำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ จะพยายามทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการ โดยอาจนำระบบ IGA (Independent Grocery Alliance) สนับสนุนผู้ประกอบค้า ปลีกโชห่วย ให้เปลี่ยนจากระบบการค้าส่งไปเป็นระบบกระจายสินค้าไปพร้อมกับ การลดต้นทุนด้วย แหล่งอ้างอิง http://www.imf.org/external/index.htm http://www.reportlinker.com http://www.ufcw.org/twofaces http://www.unithailand.org http://www.lrc.go.th/library/research/DocLib2/Forms/AllItems.aspx


ขอบเขตของ CSR มิ ไ ด้ ตีวงเพียงแค่หน่วยงานไม่ว่าจะภาค รั ฐ หรื อ เอกชน แต่ ยั ง ครอบคลุ ม พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง ซึ่ ง เ ป็ น อ ง ค์ ก ร ทางการเมือง ที่จะต้องแสดงความ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมด้ ว ยเช่ น กั น เ แ ต่ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ นั้ น เ ป็ น อย่ า งไรมี ค วามแตกต่ า งกั น ไปจาก หน่วยงานอืน่ ๆ ขนาดไหน ศ.ดร.จรัส สุ ว รรณมาลา อดี ต คณบดี ค ณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ ก่ อ ตั้ ง เว็ บ ไซต์ เ ครื อ ข่ า ยข้ อ มู ล การเมืองไทย www.tpd.in.th ซึง่ ได้ เปิ ด ตั ว เมื่ อ ปลายเดื อ นเมษายนที่ ผ่านมา ได้มาพูดคุยถึงหน้าที่ความ รั บ ผิ ด ชอบของพรรคการเมื อ งใน 32

ฐานะที่ เ ป็ น Corporate อย่ า งไร รวมถึ ง บทบาทหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของพลเมื อ งต่ อ การเลื อ กตั้ ง วันที่ 3 ก.ค. ทีจ่ ะมาถึงนี ้ คำว่า Corporate ในฐานะพรรคการ เมืองมีนัยอย่างไร

เราถือว่าพรรคการเมืองมี ฐานะเป็น Corporate เช่นกัน แต่ เป็น Political Corporate ทีจ่ ดั ตัง้ ขึ้นมาโดยกลุ่มคนที่มีอุดมการณ์ร่วม กั น ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ มี ใ ครเป็ น เจ้ า ของ เป็ น องค์ ก รสาธารณะ ถึ ง แม้ จ ะ เป็นการดำเนินงานในรูปแบบธุรกิจ แต่ก็เป็นธุรกิจชนิดหนึ่งที่ไม่ได้สร้าง มาเพื่อกำไร แต่เพื่อการสร้างความ

CSR

Interview

ยอมรับแก่ประชาชน ดังนั้นพรรค จึ ง ต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม หรื อ Social Responsibility สู ง ม า ก ก า ร ด ำ เ นิ น ก า ร ข อ ง พรรคการเมื อ งจะมี รู ป แบบในมิ ติ ต่างๆ เช่น การสร้างสมาชิก การให้ ความรู้ การคัดเลือกผู้ที่จะลงสมัคร รั บ เลื อ กตั้ ง การหารายได้ เ พื่ อ ให้ พรรคดำรงอยู่โดยมีองค์ประกอบที่ สมบูรณ์ ผมขอยกตั ว อย่ า งพรรคการเมืองในเยอรมัน กรณี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ เขามีการสรุปและทบทวน ว่า แม้ฮิตเลอร์มาจากการเลือกตั้ง โดยระบอบประชาธิปไตยแต่กลับเอา อำนาจไปใช้ในทางมิชอบ ฉะนัน้ การ


เลือกตั้งในสังคมประชาธิปไตยก็ไม่ สามารถป้ อ งกั น ความรุ น แรงหรื อ เผด็จการได้ เขาจึงพยายามจะสร้าง กลไกขึ้นมาเพื่อที่จะสามารถควบคุม สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร หรือ ส.ส. ไม่ให้ ส.ส. ทำอะไรนอกลู่นอกทาง และเครือ่ งมือหนึง่ ทีเ่ ขาใช้คอื การให้ ฐานล่างหรือสมาชิกพรรคระดับล่าง ควบคุ ม นโยบายของพรรคไม่ ใ ช่ กรรมการพรรคหรื อ ระดั บ บริ ห าร เป็นผูค้ วบคุม แ ต่ ก า ร จ ะ ใ ห้ ส ม า ชิ ก สามารถควบคุม ส.ส. จำเป็นต้องมี ความเข้มแข็ง และเครื่องมือที่เขาใช้ สร้างความเข้มแข็งก็คือ การให้การ ศึ ก ษา เขาจะมี ก ระบวนการสร้ า ง ความรู้ แ ก่ ส มาชิ ก เป็ น ขั้ น เป็ น ตอน ดังนั้นสมาชิกที่ผ่านกระบวนการดัง กล่าวจะมีทักษะทางการเมือง ขณะ เดียวกันสมาชิกทีม่ คี วามโดดเด่นก็จะ สามารถได้ รั บ เลื อ กให้ ไ ปเป็ น แคนดิเดตเป็นตัวแทนพรรคไปรับเลือกตัง้ จะเห็นว่า ส.ส. ของเขาจะต้องผ่าน การทดสอบโดยสมาชิกพรรคมาก่อน ไม่ใช่มาจากการตัดสินใจของหัวหน้า หรือกรรมการพรรค ห ากเป็ น ภาคธุ ร กิ จ จ ะ เ ป็ น ก า ร ส นั บ ส นุ น พ นั ก ง า น ที่ มี ค ว า ม สามารถสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นไป

ส ำ ห รั บ ภ า ค เ อ ก ช น ค น พิ จ ารณาก็ คื อ เจ้ า ของหรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น แต่ พ รรคการเมื อ งการคั ด เลื อ กจะ ต้ อ งผ่ า นกระบวนการที่ ไ ด้ รั บ การ ยอมรั บ มาก่ อ น ไม่ ใ ช่ ล อยมาจาก ที่ ไ หนก็ ไ ม่ ท ราบหรื อ เป็ น ลู ก หลาน ของใครมาเป็นตัวแทนลงสนามเลือก ตั้ง แม้กระทั่งแคนดิเดตที่เป็น ส.ส.

สั ด ส่ ว นก็ จ ะต้ อ งประกอบด้ ว ยคน หลากหลายอาชีพ เช่น นักวิชาการ นั ก ธุ ร กิ จ ชาวบ้ า น ชาวนา แต่ บุ ค คลเหล่ า นี้ จ ะต้ อ งเป็ น สมาชิ ก พรรคและผ่านการทำกิจกรรมตาม กลไกของพรรคมาแล้ ว ก่ อ นหน้ า นี้ ไม่ว่าจะเป็นทักษะการเมือง ทักษะ การชักจูงคน การเข้าถึงประชาชน การประสานความเห็นต่าง เป็นต้น เหล่านี้ คือ คุ ณ สมบั ติ แ ละทั ก ษะของ การเป็นนักการเมือง จะเห็นว่าองค์ประกอบของ ประชาธิปไตยไม่สามารถเกิดขึ้นเอง แต่ต้องสร้ า งขึ้ น (Human Made) มันไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ เพราะ โดยธรรมชาติคนที่เข้มแข็งกว่าจะใช้ กำลั ง ข่ ม คนที่ อ่ อ นแอกว่ า เว้ น แต่ สังคมนั้นได้รับการกล่อมเกลาตัวเอง และควบคุมด้วยศีลธรรมไม่ให้ออก นอกลูน่ อกทาง ส่วนสังคมทีไ่ ม่มกี าร ควบคุม ใครทำอะไรก็ได้ ไม่มีการ ลงโทษคนก็กลับไปยุคป่าเถื่อน แม้ สั ง คมที่ เ จริ ญ แล้ ว หากคนไม่ อ ยู่ ใ น ศี ล ธรรมก็ ส ามารถกลั บ ไปสู่ สั ง คม ป่าเถือ่ นได้ตลอดเวลา ฉะนั้นโดยตัวประชาธิปไตย ( D e m o c r a c y ) จึ ง ต้ อ ง มี ก า ร กล่ อ มเกลาและต้ อ งมี Social Responsibility ที่ ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ อ งค์ ก ร หนึ่ ง องค์ ก รหนึ่ ง เท่ า นั้ น แต่ เ ป็ น เรื่องที่ทุกคนในสังคมจะต้องมีความ รับผิดชอบร่วมกัน ดังนั้นในสังคม ประชาธิ ป ไตยคนระดั บ ล่ า งจะเป็ น ตัวจักรสำคัญ และต้องมีการเรียนรู้ ว่ า เราไม่ ไ ด้ อ ยู่ ค นเดี ย วและเราไม่ สามารถใส่ความคิดของเราให้คนอื่น คิดเหมือนกันได้ และการจะให้คนใน สังคมยอมรับเรื่องที่มีความคิดเห็น

สั ง ค ม ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ค น ระดั บ ล่ า งจะเป็ น ตั ว จั ก ร สำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการ เรี ย นรู้ ว่ า เราไม่ ไ ด้ อ ยู่ ค น เดี ย วและเราไม่ ส ามารถใส่ ความคิ ด ของเราให้ ค นอื่ น คิดเหมือนกันได้

33


ต่างกันจะต้องนำข้อมูลที่สมเหตุสม ผลกว่ามาเปิดไม่ใช่ใช้หลักพวกมาก ลากไป ซึ่งจะทำให้เกิดความขัดแย้ง ได้งา่ ย แต่จะใช้วิธกี ารพูดคุยกันด้วย ข้อมูล ทีท่ กุ ฝ่ายยอมรับ ดังนัน้ หาก สมาชิกแต่ละกลุ่มมีความคิดเห็นต่าง กัน เขาก็จะมาคลี่ออกว่าความคิด ส่วนไหนที่ไม่ตรงกัน และมีประเด็น ใดทีเ่ หมือนกัน และประเด็นทีต่ า่ งกัน จะสามารถเชื่อมกันได้หรือไม่ สมาชิกพรรคควบคุม ส.ส. แล้วใคร ควบคุมพรรคการเมือง

ป ร ะ ช า ช น ต้ น น้ ำ ข อ ง ประชาธิ ป ไตย คื อ ประชาชนจะ ต้องเข้มแข็ง สามารถควบคุม ส.ส. ข อ ง ตั ว เ อ ง เ อ า จ ริ ง เ อ า จั ง จ น พรรคการเมืองต้องฟัง ขณะที่บ้านเราตรงกันข้าม ไปหมด กรรมการพรรคการเมือง เป็นคนเลือกตัวแทนลงสมัคร ส.ส. โดยสมาชิกไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง ขณะ เดี ย วกั น ประชาชนก็ไม่มีสิทธิแสดง ความคิดเห็นไม่มสี ว่ นในการคัดเลือก คนที่ จ ะมาเป็ น ตั ว แทนของเขา พรรคอยากจะส่งใครมาก็ได้ อย่ า งไรก็ ต ามการที่ จ ะให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบ พรรคการเมื อ งได้ ก็ ต้ อ งมี ค วามรู้ ความเข้ า ใจระบอบการปกครอง ประชาธิปไตยเช่นกัน ไม่ใช่เพียงแค่ การหย่ อ นบั ต รเลื อ กตั้ ง เท่ า นั้ น ฉะนั้นการให้ความรู้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่ ป ร ะ เ ท ศ เ ย อ ร มั น ห ลั ง จ า ก ประสบการณ์ อั น เลวร้ า ยจากผู้ น ำ เผด็ จ การอย่ า งฮิ ต เลอร์ เขาจะมี Civic Education Program (การ ให้ ก ารศึ ก ษาทางการเมื อ ง) แก่ 34

พ ล เ มื อ ง ใ น ก า ร ส ร้ า ง จิ ต ส ำ นึ ก และความเป็ น พลเมื อ งในระบอบ ประชาธิปไตย ห รื อ อ ย่ า ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ เกาหลี ใ ต้ ประชาชนเขามี ก าร รณรงค์ตรวจสอบนักการเมืองด้วย ข้อมูลของ ส.ส. แต่ละราย ไม่วา่ จะ เป็นประวัติการทำงาน พฤติกรรม การทำหน้าที่ ข้อมูลเหล่านีจ้ ะช่วยให้ ประชาชนสามารถส่งสัญญาณไปยัง พรรคว่าคนที่พรรคเลือกมาจะต้องมี คุณสมบัติอย่างไร ถ้าไม่ตรงฉันไม่ เอา และจะไม่ เ ลื อ กพรรคด้ ว ย พรรคการเมื อ งไม่ ส ามารถดู ถู ก ประชาชนได้ ไม่ ส ามารถทำอะไร ตามใจตัวเองได้ ในส่ว น ส.ส. ก็จ ะต้อ งฟั ง ชาวบ้านว่าคิดอย่างไร หรืออย่างใน สิ ง ค โ ป ร์ เ ว ล า จ ะ มี ก า ร โ ห ว ต กฎหมายสักฉบับ ส.ส. จะต้องลงพืน้ ที่เพื่อเปิดเวทีแลกเปลี่ยนกับชาวบ้าน ขอความความคิดเห็นว่ากฎหมายนี้ ว่ า รั บ หรื อ ไม่ รั บ และหากไม่ รั บ ก็ สามารถโหวตสวนมติ พ รรคได้ เขาจะไม่ โ หวตเพี ย งแค่ เ ป็ น ฝ่ า ยรั ฐ ดั ง นั้ น ส.ส. สิ ง คโปร์ จ ะประชุ ม ในพืน้ ทีม่ ากกว่าในสภา การลงพืน้ ที่ ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย ง แ ค่ ก า ร ไ ป ง า น บ ว ช งานศพ งานแต่ง แต่ลงไปเปิดเวที การประชุมแสดงความคิดเห็น

กรณีการเอาข้อมูลนักการเมืองมา เปิ ด เผยอย่ า งที่ เ กาหลี ค ล้ า ยๆ รูปแบบเว็บไซต์ tpd ที่เพิ่งเปิดตัวไป

ครั บ เราเลี ย นแบบมา บางส่ ว น เราได้ เ ปิ ด ตั ว เว็ บ ไซต์ “เครื อ ข่ า ยข้ อ มู ล การเมื อ งไทย” www.tdp.in.th (Thailand Political

Database) เมือ่ ปลายเมษายนทีผ่ า่ น มา โดยเว็ บ ไซต์ เ ป็ น เว็ บ รวบรวม ข้อมูล สถิติ ทัง้ ของนักการเมืองและ พรรคการเมืองอย่างรอบด้าน เช่น ผลงานของ ส.ส. สถิตกิ ารเข้าประชุม เข้ า มาโหวตกี่ ค รั้ ง โหวตเพื่ อ ใคร ใครที่ทำให้สภาล่ม พูดอะไรไว้แล้ว ทำได้หรือไม่ มีทรัพย์สินหรือที่ดิน เท่าไหร่ มีพฤติกรรมน่าสงสัยอะไร บ้าง นอกจากนี้ยังมีการจัดเรตติ้ง ให้ประชาชนโหวต ส.ส. รวมทัง้ โหวต ว่า ส.ส. คนไหนทำให้นา่ ผิดหวังมาก ทีส่ ดุ กระทั่ ง สาวข้ อ มู ล ไปถึ ง พื้ น เพซึ่ ง ก็ พ บว่ า ส.ส. บ้ า นเรา 35.29% มาจากตระกูลพ่อค้าหรือ คหบดีในจังหวัด 22.69% มาจาก ตระกู ล การเมื อ งมาตั้ ง แต่ ส มั ย ปู่ ย่ า ตายาย พ่อแม่ ในแวดวงการเมือง ทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละระดั บ ท้ อ งถิ่ น 14.29% ประสบความสำเร็ จ ใน หน้าที่การงานก่อนจะมาเป็น ส.ส. 4.20% มีภูมิหลังที่มีความสัมพันธ์ กั บ นั ก การเมื อ งในเขตจั ง หวั ด ทุ ก ระดั บ และ 11.76% เป็ น คน ธรรมดาที่ไม่มีสายสัมพันธ์แนบแน่น ทางการเมื อ ง นอกจากนี้ ยั ง ได้ มี การเชื่ อ มโยงระหว่ า งกลุ่ ม ทุ น กั บ การเมือง โดยเปิดเผยรายชื่อบริษัท ทีม่ มี ลู ค่ากว่า 100 ล้าน ประมาณ 3,000 แห่ง ที่ทำการค้ากับรัฐบาล เพื่ อ ให้ เ ห็ น ว่ า กลุ่ ม ทุ น เหล่ า นี้ มี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งไรต่ อ นโยบายของ รัฐบาล ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ จ ะช่ ว ยให้ ประชาชนสามารถตรวจสอบนั ก การเมื อ งและพรรคการเมื อ งได้ และเราเชื่อว่าข้อมูลที่เข้มข้นและถี่จะ


ไปเลือกตั้งแต่ต้องศึกษาหาข้อมูลว่า ผู้สมัครในเขตของเราได้เคยทำ ประโยชน์อะไรบ้าง ถ้าเป็น ส.ส. เดิมก็ควรย้อนดูประวัติการทำงาน ในสภาเป็นอย่างไร ทำหน้าที่ในฐานะพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย อย่างดีที่สุด มี ป ระโยชน์ ใ นการนำไปขยายต่ อ ขณะนี้ข้อมูลที่ออกเผยแพร่แล้วเป็น เพียงบางส่วน เพราะข้อมูลเชิงลึกยัง ไม่สามารถนำออกมาได้เพราะอาจ จะถู ก ฟ้ อ งร้ อ งได้ เป็ น ต้ น ว่ า มี ส.ส. บางคนปลอมวุ ฒิ บั ต รบ้ า ง คอร์รัปชั่นถูกฟ้องร้อง เป็นเจ้าพ่อ ผู้ทรงอิทธิพล บ้างมีซุ้มมือปืน ฯลฯ ซึ่ ง มี อ ยู่ ทุ ก พรรคมากบ้ า งน้ อ ยบ้ า ง แต่ ส ำหรั บ ข้ อ มู ล ในสภาเรามี ม าก เพี ย งพอที่ จ ะจั บ และติ ด ตามต่ อ ไป ดังนั้นแม้ ส.ส. หน้าเก่าจะเข้ามาแต่ การทำงานของเขาระมัดระวังมาก ขึ้ น เพราะมี ข้ อ มู ล ที่ ป ระชาชน สามารถตรวจสอบได้ทงั้ บนโลกออนไลน์ และการทำเอกสารส่งไปยังราย จังหวัด ฉะนัน้ คาดว่าใน 2 ปีขา้ ง หน้า แม้เราจะยังมีนกั การเมืองกลุม่ เดิ ม แต่ พ ฤติ ก รรมจะเปลี่ ย นไป เพราะประชาชนจะมี ข้ อ มู ล พอที่ จะนำไปตัดสินใจ การเมืองจะเปิด และมี ป ระชาธิ ป ไตยสู ง ขึ้ น กว่ า เดิ ม และหลั ง จากนั้ น งานของเราอาจ ไม่ ใ ช่ ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล แล้ ว แต่ ทำงานด้านรณรงค์ เช่น การเสนอ กฎหมายโดยให้ ช าวบ้ า นเขี ย น นโยบายของตัวเอง ถ้านักการเมือง คนไหนสนใจก็ เ อาไปเป็ น นโยบาย อั น นี้ เ ป็ น นิ มิ ต ที่ ดี ใ น ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยในอนาคต

การเลื อ กตั้ ง ที่ จ ะมี ขึ้ น ในวั น ที่ 3 กรกฎาคมนี้ ในฐานะประชาชนจะ ต้องแสดงความรับผิดชอบอย่างไร

ไปเลื อ กตั้ ง แต่ ต้ อ งศึ ก ษา หาข้อมูลว่า ผูส้ มัครในเขตของเราได้ เคยทำประโยชน์อะไรบ้าง ถ้าเป็น ส.ส. เดิ ม ก็ ค วรย้ อ นดู ป ระวั ติ ก าร ทำงานในสภาเป็นอย่างไร ทำหน้าที่ ใ น ฐ า น ะ พ ล เ มื อ ง ใ น ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยอย่างดีทสี่ ดุ อย่ า ลื ม ว่ า ตั ว ชี้ เ ป็ น ชี้ ต าย ของประชาธิ ป ไตยคื อ ประชาชน ไ ม่ ใ ช่ นั ก ก า ร เ มื อ ง ห รื อ พ ร ร ค การเมืองซึ่งเป็นปลายน้ำ แต่ต้นน้ำ คือประชาชน ระบบประชาธิปไตย คือ การคัดสรร สรรหาตัวแทนทีจ่ ะ มาทำหน้าทีแ่ ทนเรา ในสมัยก่อนเขา ไม่ เ รี ย ก ส.ส. เขาเรี ย กผู้ แ ทนซึ่ ง มี ความหมายที่ ลึ ก ซึ้ ง กว่ า คื อ เป็ น ผู้แทนของเรา คนที่จะมาทำหน้าที่ แทนเรา เหมือนการเลือกตัวแทนไป ประกวดแข่ ง ขั น หรื อ ประกวด นางงาม ดังนั้นคุณภาพของผู้แทน จึงเป็นหน้าเป็นตาของคนในท้องที่ นั้ น ๆ ถ้ า ตั ว แทนเป็ น คนดี เช่ น คุณชวน หลีกภัย ซึ่งคนตรังจะภาค ภู มิ ใ จในตั ว คุ ณ ชวนในฐานะที่ เ ป็ น ตัวแทนของ คนตรัง แต่ถ้าตัวแทน ของเราไม่มีคุณภาพก็ทำให้ขายหน้า และไม่มีเกียรติเพราะดันส่งคนไม่ดี มาเป็นตัวแทน มาเป็นหน้าเป็นตา ของเรา

เฉกเช่นเดียวกัน เราจะต้อง เลื อ กตั ว แทนที่ เ ป็ น หน้ า เป็ น ตาเรา ให้ ดี ที่ ส ำคั ญ เราต้ อ งสามารถ ควบคุ ม ให้ ท ำหน้ า ที่ ใ นฐานะเป็ น ตัวแทนของชุมชนเรา ถ้าตัวแทนไม่ ดี ต้ อ งตำหนิ แ ละเปลี่ ย นเอาคนที่ ดี กว่ามา ฉะนั้นประชาชนต้องรับผิด ชอบในการเลือก ถ้าเลือกไม่ดีต้อง อายและต้ อ งปลี่ ย นใหม่ หลั ก การ เป็ น อย่ า งนี้ ซึ่ ง เราจะต้ อ งทำให้ เป็ น อย่ า งนี้ ใ ห้ ไ ด้ ไม่ ใ ช่ เ ลื อ กแล้ ว ก็ หมดหน้ า ที่ ห มดความรั บ ผิ ด ชอบ ไปแล้ ว เราต้ อ งตระหนั ก ว่ า หน้ า ที่ ประชาธิปไตยไม่ใช่แค่การหย่อนบัตร จอห์ น สจ๊ ว ต มิ ล ล์ นั ก ปรั ช ญาประชาธิ ป ไตย กล่ า วไว้ ว่ า ประชาธิ ป ไตยจะกลายเป็ น ทรราช เสี ย งข้ า งมากได้ ด้ ว ยปั จ จั ย สอง ประการคื อ 1) การเลื อ กตั้ ง ที่ ประชาชนไม่สนใจให้ผู้แทนของตน อยู่ ใ นกรอบ ไม่ รู้ สึ ก เป็ น เจ้ า ของ ไ ม่ มี จิ ต ส ำ นึ ก ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ (Accountability) 2) การที่นักการ เมืองสัญญาว่าจะทำแทน แต่ถงึ เวลา ไม่ทำกลับไปใช้อำนาจหน้าทีแ่ สวงหา ผลประโยชน์ ใ ห้ ตั ว เองหรื อ คนกลุ่ ม ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ตำแหน่ ง ของตั ว เอง มากกว่าคนส่วนใหญ่ องค์ประกอบ ทัง้ 2 ข้อนีท้ ำให้ประชาธิปไตยกลาย เป็ น ทรราช และเป็ น ที่ น่ า เศร้ า ที่ ประชาธิปไตยของเราก็อยู่ในข่ายทั้ง สองประการอย่างพอดี… C 35


MY

CSR

“วันนี้มีงานอะไรที่ต้องวิ่งบ้าง”

เป็นประโยคที่ น้าทูน หรือ ไพฑูรย์ เยี่ยมสวัสดิ์ ใช้ทักทาย กับลูกค้าของเขาซึ่งส่วนมากเป็นบริษัทห้างร้านต่างๆ ธุ ร กิ จ ของน้ า ทู น คื อ มอเตอร์ ไ ซค์ รั บ จ้ า ง ให้ บ ริ ก ารรั บ -ส่ ง เอกสารหรืออื่นๆ ตามแต่ที่ลูกค้าเรียกใช้ ทุกๆ เช้าเขาจะเข้าไปรับงาน ตามออฟฟิคต่างๆ เมื่อวางแผนเส้นทางที่ต้องไปเรียบร้อยแล้ว เขาจะ ควบรถเจ้ า มอเตอร์ ไ ซค์ คู่ ใ จตระเวนไปทั่ ว ทุ ก ตรอกซอกซอยของ กรุงเทพฯ จนกว่างานชิ้นสุดท้ายจะเสร็จลุล่วง ซึ่งหากมีเวลาเหลือเขาก็ จะไปวิ่งวินมอเตอร์ไซค์ต่อจนถึงหก โมงเย็ น จึ ง กลั บ เข้ า บ้ า นในละแวก ประดิพัทธ์ ส่วนเงินที่หามาได้จาก หยาดเหงื่อแรงงานส่วนหนึ่งจะแบ่ง ให้ภรรยาไว้ใช้จ่ายในครอบครัว น้ า ทู น เล่ า ให้ ฟั ง ว่ า อาชี พ เดิมของเขาคือเจ้าหน้าที่รักษาความ ปลอดภัย หรือ รปภ. แต่ด้วยงาน ที่ ท ำนั้ น น่ า เบื่ อ วั น ๆ มี แ ต่ นั่ ง เฝ้ า บ้างก็นอนเฝ้า จึงตัดสินใจลาออก และมองหาช่ อ งทางทำมาหากิ น อย่ า งอื่ น แต่ ท้ า ยที่ สุ ด ก็ ม าสะดุดที่ อาชี พ มอเตอร์ ไ ซค์ รั บ จ้ า ง ซึ่ ง โดย ส่วนตัวตนเองชอบขับขี่มอเตอร์ไซค์ กินลมชมวิวอยู่แล้ว และจะดียิ่งขึ้น หากได้ ขี่ ร ถร่ อ นไปทั่ ว นั้ น จะก่ อ เกิ ด รายได้เลี้ยงครอบครัวและตนเอง น้าทูนจึงตัดสินใจซื้อเสื้อวิน ย่าน พระราม 4 คลองเตยในราคา 3,000 บาท การตัดสินใจครั้งนี้ก็

38

น้าทูน หรือ ไพฑูรย์ เยีย่ มสวัสดิ ์


เราก็เพียงแค่ทำหน้าที่ของเราโดยให้บริการลูกค้า ดีที่สุดเท่านั้นเอง ไม่เอาเปรียบ ไม่โกง ยุติธรรม ไม่พลาด เพราะปรากฏว่าน้าทูนสามารถหาเงิน ได้ 1,000 บาท/วัน ซึ่งนับเป็นรายได้ที่มากกว่า การเป็นรปภ. หลายเท่านัก ครั้งแต่งงานมีครอบครัวน้าทูนต้องย้าย ที่อยู่อาศัยในย่านคลองเตยเพื่อมาอยู่กับภรรยา ย่านประดิพัทธ์ เขาจึงตัดสินใจขายเสื้อวินและ มาเช่ า เสื้ อ วิ น ในละแวกใกล้ บ้ า นในราคา 20 บาท/วัน ด้วยสไตล์การขับขี่ที่ปลอดภัย ไม่เร็วนัก ไม่ขับแซงหน้า ไม่ปาดไปมา จึงทำให้น้าทูนมี ลูกค้าประจำค่อนข้างมาก ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ โอกาสทางธุรกิจของเขากว้างขึ้น มีบริษัทห้าง ร้านต่างๆ นิยมเรียกใช้เขานอกเหนือจากการวิ่ง วินมอเตอร์ไซค์เพียงอย่างเดียว “เราก็เพียงแค่ทำหน้าที่ของเราโดยให้ บริการลูกค้าดีที่สุดเท่านั้นเอง ไม่เอาเปรียบ ไม่ โกง ยุติธรรม โดยเฉพาะความซื่อตรง เมื่อเวลา ที่ลูกค้าเรียกและให้เรารอ แม้จะต้องรอนานเรา ก็ไม่คิดค่าเสียเวลา เพราะได้ตกลงราคากันตั้ง แต่ต้นแล้ว” น้าทูน กล่าวพร้อมเสียงหัวเราะ ว่าไปแล้วอาชีพมอเตอร์ไซค์รับจ้าง เป็น อาชี พ ที่ มี ค วามเสี่ ย งสู ง อาชี พ หนึ่ ง เพราะไหน ต้องผจญกับสภาพการจราจรที่คับคั่ง และการ ขั บ ขี่ ที่ ไ ร้ ค วามเมตตาของผู้ ร่ ว มเส้ น ทางแล้ ว ยังมีความเสี่ยงทางด้านสุขภาพด้วยเพราะต้อง สูดหายใจเอาก๊าซพิษ ไอเสีย ควันดำ ฝุ่น ตลอด จนละอองของรถยนต์ เ ข้ า ไปสะสมในปอดและ ทางเดินหายใจ แม้ จ ะรู้ อ ยู่ เ ต็ ม อกว่ า ทุ ก วั น นี้ สุ ข ภาพ เริ่ ม ทรุ ด โทรมลงไปมาก แต่ น้ า ทู น ก็ ยั ง ขั บ ขี่ มอเตอร์ ไ ซค์ คู่ ใ จของเขาต่ อ ไป เพราะมั น คื อ อาชีพและธุรกิจที่เขาเลือก… C

โดยเฉพาะความซื่อตรง เมื่อเวลาที่ลูกค้าเรียก และให้เรารอ แม้จะต้องรอนานเราก็ไม่คิดค่าเสีย เวลา เพราะได้ตกลงราคากันตั้งแต่ต้นแล้ว

39


CSR

Movement ประกันชีวต ิ ทหาร เพือ่ วีรบุรษ ุ ปกป้องชาติ บริ ษั ท ไทยประกั น ชี วิ ต จำกั ด ได้ ร่ ว มลงนามต่ อ สั ญ ญา ประกั น ชี วิ ต ทหารเพื่ อ มอบความ คุม้ ครองแก่กำลังพลของกองทัพบก ต่อเนื่องเป็นปีที่ 25 สำหรับการ ประกันชีวิตทหารนั้น ไทยประกัน ชีวิตได้มอบความคุ้มครองกำลังพล ทั้งในยามปฏิบัติภารกิจภาคสนาม และในยามปกติ ภายใต้แบบประกัน 3 แบบ ประกอบด้วย กรมธรรม์ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผูบ้ ญั ชาการทหารบก รับมอบกรมธรรม์ประกันชีวติ ทหาร จากนายไชย แบบภั ย สงคราม กรมธรรม์ แ บบ ไชยวรรณ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด โดยมีนางจันทรา บูรณฤกษ์ พิ ทั ก ษ์ พ ล และกรมธรรม์ แ บบ เลขาธิการ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ กองบัญชาการกองทัพบก พิทกั ษ์พลพิเศษ

อภ. มอบเงินช่วยญีป ่ น ุ่

กปน. สร้างความคุ้นเคยดื่มน้ำประปา เด็ ก นั ก เรี ย นโรงเรี ย นยานนาเวศ วิทยาคม ดืม่ น้ำประปาจากแท่นน้ำประปาดืม่ ได้ที่ทางการประปานครหลวงมอบให้แก่ทาง โรงเรียนจำนวน 2 แท่น รวมถึงเกียรติบตั ร รับรองคุณภาพ “น้ำประปาดืม่ ได้” เพือ่ สร้าง ความมั่ น ใจและความคุ้ น เคยให้ เ กิ ด แก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นและชุ ม ชนใกล้ เ คี ย งในการดื่ ม น้ ำ ประปา โดยไม่ ต้ อ งเสี ย เงิ น ซื้ อ น้ ำ ดื่ ม เมื่ อ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2554 ทีผ่ า่ นมา 42

นายแพทย์ วิ ชั ย โชควิ วั ฒ น ประธานกรรมการองค์การเภสัชกรรม พร้ อ มด้ ว ยคณะผู้ บ ริ ห ารองค์ ก าร เ ภ สั ช ก ร ร ม ม อ บ เ งิ น จ ำ น ว น 1,000,000 บาท แก่ นายเซอิ จิ โคจิมะ เอกอัครราชทูตญี่ปุ่น ประจำ ประเทศไทย เพื่ อ นำไปช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระสบภั ย สึ น ามิ แ ละแผ่ น ดิ น ไหว ในประเทศญีป่ นุ่ ณ ห้องประชุมอาคาร อำนวยการ องค์การเภสัชกรรม


จิตอาสาเพือ่ น้องๆ หน่ ว ยประชาสั ม พั น ธ์ วิ ท ยาลั ย นานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดลจัดกิจกรรมจิตอาสาเพือ่ น้องๆ โดย นำคณะสื่อมวลชนกว่า 20 ท่าน มอบอุปกรณ์การ เรี ย น อุ ป กรณ์ กี ฬ า และหนั ง สื อ เสริ ม ทั ก ษะ ให้ แ ก่ คุณครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านดอนขุนห้วย อ.ชะอำ

ปตท. ร่วมปลูกป่าฯ เทิดพระเกียรติฯ

จ.เพชรบุ รี ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในโรงเรี ย นโครงการพระ ราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และจัด กิจกรรมขอบคุณสื่อมวลชนประจำปี 2554 โดยมี ศาสตราจารย์มาลียา เครือตราชู รองคณบดีฝ่าย วิชาการ ให้การต้อนรับและขอบคุณสื่อมวลชน ณ โรงแรมฮาเว่น รีสอร์ท จ.ประจวบคีรขี นั ธ์

พลโท อุ ด มชั ย ธรรมสาโรรั ช ต์ แม่ทพั ภาคที่ 4/ผูอ้ ำนวยการรักษาความมัน่ คง ภายในภาค 4 (คนที่ ส องจากซ้ า ย) นาย วั น ชาติ วงษ์ ชั ย ชนะ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ระนอง (คนที่ สี่ จ ากซ้ า ย) และ นายศุ ภ ชั ย ธาดากิตติสาร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบตั กิ ารจัดหาและคลัง บริษทั ปตท. จำกัด (มหาชน) (คนทีส่ ามจากซ้าย) ร่วมปลูกป่าชาย เลนเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา ณ ตำบลบางริ้น อ.เมือง จ.ระนอง โดย ปตท. ร่วมสนับสนุนปลูกป่าฯ เพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวฯ จำนวน 1,000 ไร่

43


การบินไทย นำสือ่ มวลชนทัศนศึกษาด้านความปลอดภัยและความเป็นอยูข่ องชาวญีป ่ น ุ่ หลังประสบภัยพิบต ั ิ นายปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (แถวนั่งที่ 2 จากซ้าย) กรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ และนางสุนทั ี อิศวพรชัย (แถวยืนที่ 7 จากซ้าย) ผูอ้ ำนวยการใหญ่ ฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก รและประชาสั ม พั น ธ์ บริ ษั ท การบินไทย จำกัด (มหาชน) นำคณะสื่อมวลชน จากประเทศไทย ทัศนศึกษาสภาพชีวิตความเป็นอยู ่ ของชาวญี่ ปุ่ น ระหว่างวันที่ 20-25 พฤษภาคม 2554 ที่ผ่านมา ใน 4 เมืองที่การบินไทยมีจุดบิน อยู่ในประเทศญี่ปุ่น รวม 5 จุดบิน ได้แก่ โตเกียว

นาโกย่า โอซาก้า และฟูกูโอกะ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการ เดินทางท่องเที่ยวในเส้นทางญี่ปุ่น ซึ่งจะเป็นการช่วย เศรษฐกิจญีป่ นุ่ อย่างยัง่ ยืน โดยมี นายโตชิยา่ โมริชเิ กะ (แถวนัง่ ที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมการขนส่ง กระทรวง คมนาคม นางนาโฮโกะ ฟูรตู ะ (แถวนัง่ ที่ 4 จากซ้าย) อธิบดีฝ่ายส่งเสริมการท่องเที่ยวศาลากลางจังหวัดกิฟู และนายมิชฮิ โิ ร่ คูนชิ มิ ะ (แถวนัง่ ที่ 1 จากซ้าย) นายก เทศมนตรี เมืองทาคายาม่า ประเทศญีป่ นุ่ ร่วมให้การ ต้อนรับ ณ โรงแรมทาคายาม่า กรีน ประเทศญีป่ นุ่

ญีป ่ น ุ่ ขอบคุณ กฟผ. นายสุทศั น์ ปัทมสิรวิ ฒ ั น์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้าฝ่าย ผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) และผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของ กฟผ. ให้การต้อนรับ นางสาวมากิโกะ คิคุตะ (Ms.Makiko KIKUTA) ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีกระทรวงการต่าง ประเทศญี่ปุ่นและคณะเข้าพบแสดงความขอบคุณ กฟผ. ที่มอบโรงไฟฟ้าหนองจอกเพื่อนำไปผลิตไฟฟ้าให้ประเทศ ญีป่ นุ่ ชัว่ คราว ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนการขาดแคลน พลั ง งานไฟฟ้ า ภายหลั ง ประสบเหตุ ก ารณ์ สึ น ามิ ณ สำนักงานกลาง กฟผ. บางกรวย จ.นนทบุร ี

44


คิมเบอร์ลยี่ -์ คล๊าค รวมพลังรักษ์สงิ่ แวดล้อม นายโชติ ตราชู (ทีส่ ามจากซ้าย) ปลัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มอบรางวัลรักษ์สงิ่ แวดล้อมจากโครงการ “ลด การใช้วันนี้ เพื่อวันพรุ่งนี้ที่ดีกว่า” ที่จัดขึ้น โดยคิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค โปรเฟสชันแนลให้กับ บริษทั ชัน้ นำ 300 แห่งทัว่ ประเทศทีไ่ ด้รว่ มมือ กั น สนั บ สนุ น การใช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ก ระดาษทิ ช ชู ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และรณรงค์การลด การใช้ทรัพยากรตลอดกระบวนการทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดจนสามารถลดการ ตัดต้นไม้ได้ถงึ 77,929 ต้น นอกจากนี้ ยังได้ บริจาคให้กบั 4 มูลนิธกิ ารกุศลกว่า 2 แสน บาท ได้ แ ก่ มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา มู ล นิ ธิ ร าช ประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิ แพทย์อาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พอสว.) และมูลนิธโิ ลกสีเขียว

(ในภาพ: จากซ้ายไปขวา นางวันดี กมลพนัส ตำแหน่ง ผู้จัดการส่วนขาย 1 บริษัท สยาม คราฟท์ประเทศไทย จำกัด ดร.พรศรี สุทธนารักษ์ ผูอ้ ำนวยการฝ่ายคุณภาพสิง่ แวดล้อมและ ห้องปฏิบัติการกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นายโชติ ตราชู ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม นางจิราภรณ์ ชัยสมบัติ ผูอ้ ำนวย การและผู้จัดการทั่วไป คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค โปรเฟสชันแนล นางสายสิริ ชุมสาย ณ อยุธยา บ้านท้องทราย นายชญานิน เทพาคำ กรรมการผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท สิงห์ คอเปอเรชัน่ จำกัด

CSR Knowledge Sharing ครัง้ ที่ 1

คุณสุทธิชยั เอีย่ มเจริญยิง่ (ขวา) กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั วันเดอร์เวิรล์ โปรดักส์ จำกัด ผู้ผลิตและส่งออกของเล่นไม้ ไปทั่วโลก ได้มาแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการนำแนวคิด ซีเอสอาร์เข้าสูก่ ารบริหารองค์กรเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน

โครงการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะองค์ ก รด้ ว ย ยุ ท ธศาสตร์ ส่ ง เสริ ม ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม (CSR) ของภาคธุรกิจ ภายใต้การสนับสนุนของกอง ทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้รว่ ม กับสถาบันพัฒนาธุรกิจอย่างยัง่ ยืน โดยทีมงานของ อาจารย์อนันตชัย ยูรประถม เครือข่ายนักธุรกิจ เพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (SVN) สถาบันมติชน อะคาเดมี ได้จัดเวทีเสวนาระดมสมอง แลกเปลีย่ น ความรู้ด้านซีเอสอาร์ ครั้งที่ 1 เพื่อรวบรวมองค์ ความรูด้ า้ น CSR ให้องค์กรสามารถนำไปปรับใช้ใน การบริหารจัดการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมใน องค์กรอย่างระบบ รวมถึงสนับสนุนให้องค์กรต่างๆ มี ค วามรู้ มี ค วามเข้ า ใจ และมี เ ครื่ อ งมื อ ช่ ว ย ขับเคลื่อนแนวทางด้านความรับผิดชอบต่อสังคมสู่ การปฏิ บั ติ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ณ สถาบั น มติ ชน อะคาเดมีประชานิเวศน์

45


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.