บัวฝรัง่ ดอกสีน ํ้ าเงิน
และความฝันของ นก ว ั ผสมพน ั ธุบ ์ ั ไพรัตน์ ทรงพานิช
เรื่อง : จักรพันธุ์ กังวาฬ ภาพ : ไพรัตน์ ทรงพานิช
ขณะก�ำลังใช้พู่กันเบอร์เล็ก กวนเกสรตัวผู้ที่ตัดจากบัวต้นพ่อ มาใส่ในจานยอดเกสรตัวเมีย ของบัวต้นแม่ เป้าหมายของนักผสมพันธุ์บัวก็คือ บัวพันธุ์ใหม่ที่สวยงามและแปลกต่างจากเดิม (ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์)
บัวลูกผสมซึ่งเป็นผลงานของ ไพรัตน์ ทรงพานิช ถูกคัดเลือกเพื่อน�ำไปจดทะเบียนชื่อพันธุ์กับสมาคมบัว และไม้น�้ำสากล จ�ำนวน ๑๓ พันธุ์ ได้แก่ แทนขวัญ, แทนพงศ์, รัตนอุบล, โรจนอุบล, พิงค์ริบบอน, สยามจัสมิน, สยามนิมฟ์, สยามพิงค์, มณีสยาม, มณีเรด, มิสสยาม, สุปราณีพิงค์, สยามบลูฮาร์ดดี้
มิสสยาม
มณีเรด
สยามบลูฮาร์ดดี้
สยามนิมฟ์
มณีสยาม
สยามพิงค์
สยามจัสมิน
แทนพงศ์
แทนขวัญ
พิงค์ริบบอน
รัตนอุบล
โรจนอุบล
สุปราณีพิงค์
บัวควีนสิริกิติ์ �
เป็นบัวที่เกิดจากการผสมพันธุ์ข้ามสกุลย่อย ระหว่างบัวฝรั่งพันธุ์เพอรีส์ไฟร์โอปอล และบัวผันพันธุ์นางกวักฟ้า ได้ลูกผสมเป็นบัวฝรั่ง ที่ออกดอกสีม่วงสวยงาม �
สมเด็จพระนางเจ้าสิรก ิ ต ิ ิ์ พระบรมราชินน ี าถ พระราชทานนามให้แก่บวั ลูกผสมพันธุใ์ หม่นี้ 78
มกราคม ๒๕๕๖
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ว่า บัวควีนสิรก ิ ต ิ ิ์ (Nymphaea ‘Queen Sirikit’) มกราคม ๒๕๕๖
79
เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๕๒ สมาคมบัวและไม้นำ�้ สากล ได้มอบรางวัล Hall of Fame ซงึ่ เป็นรางวัล ุ ส�ำหรับนักปรับปรุงพันธุบ เกียรติยศสูงสด ์ วั ทวั่ โลก ใหแก่ ้ ไพรัตน์ ทรงพานิช จากผลงาน ทสี่ ามารถให้กำ� เนิด สยามบลูฮาร์ดดี้ บัวฝรัง่ ดอกสีนำ้ เงินต้นแรกของโลก
สยามบลูฮาร์ดดี้ �
บัวฝรั่งออกดอกสีน�้ำเงินอมม่วง เกิดจากการผสมพันธุ์บัวข้ามสกุลย่อย ระหว่างบัวฝรั่งพันธุ์สุปราณีพิงค์ และบัวผันพันธุ์นางกวักฟ้า �
80
มกราคม ๒๕๕๖
มกราคม ๒๕๕๖
81
๔
๑
๑ แปลงปลูกบัวในบ่อน�้ำลึกระดับหัวเข่า ๒ ดอกบัวของต้นแม่ถูกคลุมด้วยถุงผ้าแพร ป้องกันไม่ให้แมลงมาผสมเกสร ๓-๔ ขั้นตอนการถ่ายละอองเกสร โดยการตัดเกสรตัวผู้จากดอกของต้นพ่อ น�ำไปเทใส่ในจานยอดเกสรตัวเมียของดอกต้นแม่ จากนั้นใช้พู่กันกวนเบา ๆ ให้คลุกเคล้ากัน
(ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์)
๒
82
มกราคม ๒๕๕๖
๓
มกราคม ๒๕๕๖
83
๗
๘
๕
๖
๙
๑๐ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑
84
ดอกบัวที่ได้รับการผสมพันธุ์จะจมลงสู่ใต้น�้ำ รังไข่ในฐานรองดอกเจริญเติบโตเป็นฝักที่มีเมล็ดอยู่ภายใน ถุงผ้าแพรที่คลุมดอกต้นแม่ช่วยให้เก็บรักษาเมล็ดบัวเอาไว้ได้ แม้ว่าฝักจะแตกไปแล้ว (ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์) เมล็ดบัวมีเจลาตินหุ้มช่วยให้ลอยน�้ำ เมล็ดบัวถูกเก็บแช่น�้ำในภาชนะก่อนน�ำไปใส่ตู้เย็น เพื่อท�ำลายการพักตัวของเมล็ด ต้นอ่อนของบัวที่เพิ่งงอกจากเมล็ดมีขนาดเล็กจิ๋ว บัวที่เพาะจากเมล็ดจะถูกย้ายไปปลูกในภาชนะ ที่ใหญ่ขึ้นเป็นล�ำดับ จนกว่าจะโตพอที่จะย้ายไปปลูกในบ่อ
มกราคม ๒๕๕๖
๑๑
มกราคม ๒๕๕๖
85
การจับคูผ่ สมพันธุบ์ วั หากเลือกต้นพ่อและต้นแม่ทใี่ ห้ดอกมีลกั ษณะแตกต่างกัน จะท�ำให้ได้ลกู ผสมทีม่ ลี กั ษณะแตกต่างหลากหลาย มากขึ้น ตัวอย่างเช่นเมื่อท�ำการผสมพันธุ์ระหว่างต้นแม่คือ เมย์ลา ซึ่งเป็นบัวฝรั่งออกดอกสีชมพู กับต้นพ่อคือ มาดามวิลฟรองกอนเนีย ซึง่ เป็นบัวฝรัง่ ทีม่ กี ลีบดอกวงนอกสีขาวและกลีบดอกวงในสีชมพู ผลปรากฏว่าลูกผสมทัง้ ๔๒ ต้น ให้ดอกทัง้ สีขาว ชมพู และแดง รวมทัง้ ยังมีรูปทรงของดอกที่แตกต่างกันไป
กลีบดอก (petal)
กลีบเลี้ยง (sepal) จานยอดเกสรตัวเมีย (stigmatic disc) น�้ำต้อย (nectar) เกสรตัวผู้ (stamen)
ส่วนประกอบของดอกบัวฝรัง่ กลีบดอก (petal) กลีบเลี้ยง (sepal) อับเรณู (anther)
เกสรตัวผู้ (stamen)
ก้านชู (filament) เกสรตัวเมีย (stigma) จานยอดเกสรตัวเมีย (stigmatic disc) รังไข่ (ovary) ฐานรองดอก (receptacle)
86
มกราคม ๒๕๕๖
ก้านดอก (peduncle)
บัวตูมดอกน้อยที่โผล่พ้นน�้ำก�ำลังเผยอกลีบสีชมพูแรกแย้มรับแสงแดดอ่อน ของรุ่งอรุณ เช้าวันนั้นอาจารย์ไพรัตน์ ทรงพานิช พาเราเดินลัดเลาะคันดินขอบบ่อปลูกบัว ชีใ้ ห้ดบู วั ตูมดอกนัน้ พร้อมอธิบายว่า ดอกบัวทีเ่ ห็นใกล้จะแย้มบานเป็นวันแรก ถึงตอน นั้นย่อมหมายความว่ามันพร้อมแล้วส�ำหรับการผสมเกสรเพื่อขยายพันธุ์ ปั จ จุ บั น อ. ไพรั ต น์ ท� ำ งานประจ� ำ เป็ น นั ก วิ ช าการเกษตรช�ำ นาญการพิ เ ศษ สถาบันวิจยั ยาง กรมวิชาการเกษตร แต่ขณะเดียวกันเขาก็ได้รบั การยอมรับว่าเป็นนัก ผสมพันธุ์บัวที่มีชื่อเสียงระดับโลก ตั้งแต่เขาได้พบ “รักแรก” กับเพอรีส์ไฟร์โอปอล (Perry’s Fire Opal) บัวฝรั่ง ที่มีดอกสีชมพูอ่อนหวาน เมื่อปี ๒๕๔๓ อ. ไพรัตน์ก็เริ่มสนใจปลูกเลี้ยงบัวฝรั่งเป็น ไม้ประดับนับจากนั้น
บัวฝรัง่ ดอกสีนำ�้ เงินและความ ฝันของนก ั ผสมพน ั ธุบ ์ วั ภาพอีกมุมหนึ่งของ สยามบลูฮาร์ดดี้ บัวฝรั่งดอกสีน�้ำเงินอมม่วง ต้นแรกของโลก ผลงานของนักผสมพันธุ์บัว ชาวไทย
ล่วงมาปี ๒๕๔๖ ก็เริ่มข้ามขั้นลงมือผสมพันธุ์บัวฝรั่ง จนได้ผลผลิตเป็นบัวฝรั่ง พันธุ์ใหม่ที่มีสีสันและลักษณะแปลกใหม่สวยงาม โดดเด่นกว่าต้นพ่อแม่ สามารถน�ำ ไปจดทะเบียนตั้งชื่อบัวพันธุ์ใหม่กับสมาคมบัวและไม้น�้ำสากล ประเทศสหรัฐอเมริกา ทัง้ ยังก้าวไปอีกขัน้ ด้วยการทดลองผสมพันธุบ์ วั ข้ามสกุลย่อย ระหว่างบัวฝรัง่ กับ บัวผัน จนกระทัง่ ประสบความส�ำเร็จ ได้ลกู ผสมเป็นบัวฝรัง่ ทีม่ ดี อกสีน�้ำเงินต้นแรกของ โลก ตัง้ ชือ่ ว่า สยามบลูฮาร์ดดี ้ ท�ำให้ได้รบั รางวัล “Hall of Fame” จากสมาคมบัวและ ไม้นำ�้ สากลเมือ่ ปี ๒๕๕๒ ซึง่ ถือว่าเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดในแวดวงนักปรับปรุงพันธุ์ และผสมพันธุ์บัวทั่วโลก ถึงวันนี ้ อ. ไพรัตน์ยงั คงมุง่ มัน่ และมีความฝันจะผสมพันธุบ์ วั ให้ได้บวั พันธุใ์ หม่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะสวยงามแปลกต่างไปจากเดิม ซึง่ เขาเคยให้ทรรศนะว่า เป็นงานทีต่ อ้ งอาศัย ทั้งความรู้ทางพันธุศาสตร์และอารมณ์ศิลป์ควบคู่กัน
เรื่อง : จักรพันธุ์ กังวาฬ ภาพ : ไพรัตน์ ทรงพานิช
88
มกราคม ๒๕๕๖
มกราคม ๒๕๕๖
89