(๒๑๑๗)
(๒๐๙๓-๒๐๙๖, ๒๑๐๑)
(๒๐๙๓-๒๐๙๖)
๗)
(๒๐๘๒, ๒๑๒๔)
พุ ทธศักราช ๒๐๕๘ ทารกชายคนหนึ่งถือก�ำเนิด
๑ ๒๑
๑,
๐ (๒๑
(๒๐๘๒, ๒๐๙๔)
บนแผ่นดินพุกามประเทศ ต�ำนานหนึ่งเล่าว่าเขาเกิด ภายใต้เศวตฉัตรแห่งราชวงศ์ตองอู เช่นเดียวกับเจ้าชายตะเบ็งชะเวตี้ ส่วนอีกต�ำนานหนึ่งเล่าว่าเขาเป็นเพียง บุตรคนปาดตาลฐานะยากจน จากชนบทนอกเมืองพุกาม ซึ่งเป็นส�ำนวนที่คนไทยรู้จักดีที่สุด
(๒๑๐๘, ๒๑๑๓, ๒๑๑๗)
(๒๐๘๒)
ภาพ : สุเจน กรรพฤทธิ์
ปี พ.ศ. บนเส้นทางเดินทัพ หมายถึง ปีที่ท�ำศึกรวมไปถึงการศึกที่ได้รับชัยชนะ หรือช่วงเวลาท�ำศึก (พงศาวดารไม่ได้ระบุชัดเจน)
(๒๐๙๑, ๒๑๐๖, ๒๑๑๒)
ภาพวาดแผนที่ : สุธีรา รุ่งเรืองเสาวภาคย์
(๒๐๙๑)
“ฟ้าลุ่มอิระวดี คืนนี้มีแต่ดาว แจ่มแสงแวววาว…เด่นอะคร้าวสว่างไสว เสียงคลื่นเร้าฤดี คืนนี้ข้าเปลี่ยวใจ เหน็บหนาวทรวงใน...แปลกไฉนข้าเศร้าวิญญา ข้ามาท�ำศึก ล�ำเค็ญ เหนื่อยแสนยากเย็นไม่เว้นว่างเปล่า เพื่อศักดิ์ชาวตองอู ถึงจะตายจะอยู่ ขอเชิดชูมังตรา... ไปรบอยู่แห่งไหน ใจคะนึงถึงเจ้า เคยเล้าโลมโฉมแม่ ข้ากลับมาเมืองแปร มองเหลียวแลแสนเปลี่ยวเปล่า ไม่มีแต่เงา ข้าเศร้าอาลัย หัวใจแทบขาด อนาถใจไม่คลาย เจ็บใจ คนรักโดนรังแก ข้าจะเผาเมืองแปร ให้มันวอดวาย จะตายให้เขาลือชาย จะให้เขาลือชาย ว่านามชื่อกู ผู้ชนะสิบทิศ...”
รูปปั้น “เจ้าเมือง/กษัตริย์ตองอู” บริเวณลานพระเจดีย์ชเวซันดอว์ พระเจดียป์ ระจ�ำเมืองตองอู องค์ ซ้ายสุดคือพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ พ ระเจ้ า บุ เ รงนอง ประทั บ ยื น สั ก การะพระธาตุ ก อว์ มู ด อว์ วั ด กอว์มูดอว์ เมืองตองอู ประเทศพม่า ตาม หลักฐานที่ปรากฏเชื่อกันว่าเป็นบ้านเกิดและ สถานทีเ่ ติบโตของ “จะเด็ด” หรือ “เชงเยทุต” (ผู้หาญกล้า) ก่อนที่ต่อมามารดาของเขา จะกลายเป็นพระนม (แม่นม) ของเจ้าชาย ตะเบ็งชะเวตี ้ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์ตองอู
เพลง ผู้ชนะสิบทิศ ประพันธ์เนื้อร้องและท�ำนองโดย ไสล ไกรเลิศ ขับร้องโดย ชรินทร์ นันทนาคร
แกะรอย “ราชาเหนือราชา” ตามหา บริเวณลานพระธาตุกอว์มูดอว์มีป้ายจารึกพระราชประวัติของพระเจ้า บุเรงนองเอาไว้อย่างละเอียด ระบุว่าก่อนออกศึกพระองค์มักจะมา อธิษฐานจิตทีน่ เี่ พือ่ ความเป็นสิรมิ งคล ส่วนด้านหลังคือ “ลานอธิษฐาน” คนท้องถิน่ เชือ่ กันว่าหากมาเดินทักษิณาวรรต (เวียนขวา) รอบพระบรม- ราชานุสาวรียพ์ ระเจ้าบุเรงนอง ๓ รอบ จะท�ำให้มีโชคและค�ำอธิษฐาน เป็นจริง
เรื่อง : สุเจน ภาพ : บันสิทธิ์
กรรพฤทธิ์ บุณยะรัตเวช
เ
พุทธศักราช ๒๐๗๓
มื่อพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ขึ้นครองตองอู จะเด็ด แม่ทัพหนุ่มยศ “กะยอดินนรธา” นามเรียกขานว่า “บุเรงนอง” (พระเชษฐา) ก็น�ำทัพตองอูพิชิตเมืองในลุ่มน�้ำสะโตง และอิระวดีได้ทั้งหมดในเวลาต่อมา
80
เมษายน ๒๕๕๕
พระราชวังกัมโพชธานีองค์จ�ำลองตั้งตระหง่านภายในเขตเมืองเก่า หงสาวดี (พะโค) รัฐบาลทหารพม่าสร้างพระราชวังนีข้ นึ้ เพือ่ ดึงดูด นักท่องเทีย่ วท่ามกลางเสียงคัดค้านจากนักโบราณคดีจ�ำนวนมากว่า สร้างขึน้ โดยไม่มหี ลักวิชาการรองรับ ในยุคพระเจ้าบุเรงนอง พืน้ ที่ บริเวณนีถ้ อื เป็นเขตเมืองใหม่ เนือ่ งจากเมืองหงสาวดีของมอญนัน้ ตั้งอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ พระราชวังนี้สร้าง ขึ้นสมัยบุเรงนองขึ้นครองราชย์แล้ว
เมษายน ๒๕๕๕
81
ภมราสนบัลลังก์ (บัลลังก์ผึ้ง) ภายใน พระต�ำหนักบรรทมจ�ำลองที่ถูกสร้างขึ้น แท่ น บรรทมหั น ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ซึ่งเป็นทิศที่ตั้งของพระมหาธาตุมุเตา พระเจดียศ์ กั ดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำเมืองหงสาวดี
82
เมษายน ๒๕๕๕
ภาพขาวด�ำ (บน) แสดงการขุดค้นทางโบราณคดีภายใน พระราชวั ง กั ม โพชธานี ใ นอดี ต จะเห็ น ฐานเสาไม้ สั ก ของ พระราชวังในอดีตโผล่พ้นจากพื้นดิน ส่วนภาพล่างถ่ายเมื่อ ปี ๒๕๕๔ มีการสร้างหลังคาคลุมและฉาบรอบโคนเสาด้วย ปูนซีเมนต์เพื่อรักษาสภาพเสา
เมษายน ๒๕๕๕
83
เ
พุทธศักราช ๒๑๑๒
มื่อปราบหัวเมืองในลุ่มน�้ำอิระวดี สะโตง หัวเมืองไทใหญ่ และหัวเมือง ล้านนาจนราบคาบ พระเจ้าบุเรงนอง ก็เริ่มสนพระทัยอยุธยาในฐานะ เมืองที่ต้องปราบเพื่อยืนยันความเป็น “พระจักรพรรดิราช” ในช่วงครองราชย์ พระองค์น�ำทัพเข้าโจมตีอยุธยา ๒ ครั้ง คือปี ๒๑๐๖ (สงครามช้างเผือก) และปี ๒๑๑๒ ที่พิชิตอยุธยา “เมืองที่ไม่มีวันแพ้พ่าย” ได้ในที่สุด
84
เมษายน ๒๕๕๕
พระเจดีย์ภูเขาทองตั้งตระหง่านอยู่กลางทุ่งภูเขาทองทางด้านทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของอยุธยา สันนิษฐานว่าพระเจดีย์องค์นี้ พระเจ้าบุเรงนองโปรดให้สร้างขึ้นคราวมีชัยชนะเหนืออยุธยาเมื่อ ปี ๒๑๑๒ หรือทีต่ �ำราเรียนไทยระบุวา่ เป็นการ “เสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งแรก” อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ยังคงไม่มีข้อสรุป
ภาพ : บุญกิจ สุทธิญาณานนท์
เมษายน ๒๕๕๕
85
ห
พุทธศักราช ๒๑๑๓
ลังพิชิตอยุธยา ปี ๒๑๑๓ พระเจ้าบุเรงนองกรีฑาทัพไปโจมตี เวียงจันทน์ต่อทันที บีบให้พระเจ้า ไชยเชษฐาธิราชทรงทิ้งเมือง ท�ำสงครามกองโจร แม้ว่าครั้งนี้จะ ไม่ได้รับชัยชนะเด็ดขาด แต่ก็ เป็นการปูทางในการพิชิตเวียงจันทน์ ได้อย่างเบ็ดเสร็จในปี ๒๑๑๗ ถือเป็นกษัตริย์พม่า พระองค์เดียวที่กรีฑาทัพไปจนถึง ลุ่มน�้ำโขง
เจดีย์ปราบเวียงบริเวณริมแม่น�้ำโขง อ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัด หนองคาย บริ เ วณนี้ เ ป็ น จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ม าตั้ ง แต่ อ ดี ต ด้ ว ยตั้ ง อยูต่ รงข้ามกรุงเวียงจันทน์ในจุดทีข่ า้ มแม่นำ�้ ได้ดที สี่ ดุ และครัง้ หนึง่ ทัพของพระเจ้าบุเรงนองน่าจะมาตั้งทัพอยู่จุดนี้ก่อนจะข้ามไปตี กรุงเวียงจันทน์ ภาพ : บุญกิจ สุทธิญาณานนท์
< ซากก�ำแพงเก่ากรุงเวียงจันทน์ที่หลงเหลือมาจนถึงปัจจุบัน การโจมตีของทัพพระเจ้าบุเรงนองมีผลให้เมืองหลวงของอาณาจักร ล้านช้างนี้ต้องพ่ายแพ้เป็นครั้งแรกนับแต่ก่อร่างสร้างเมืองมา ภาพ : บุญกิจ สุทธิญาณานนท์
86
เมษายน ๒๕๕๕
เมษายน ๒๕๕๕
87
กองทัพพม่าเดินสวนสนามหน้าอนุสาวรีย ์ สามวีรกษัตริย ์ เมือ่ ปี ๒๕๕๐ (องค์กลาง คื อ พระเจ้ า บุ เ รงนอง) ที่ ก รุ ง เนปิ ด อว์ เมืองหลวงใหม่ สังเกตได้ว่าธงชาติพม่า ยังคงใช้ธงแบบเดิมก่อนจะเปลีย่ นมาเป็น แบบปัจจุบันที่มีดาวสีขาวอยู่ตรงกลาง ภาพ : PROFILE/REUTERS
88
เมษายน ๒๕๕๕
เ
พม่า พุทธศตวรรษที่ ๒๖
รือ่ งเล่าเกีย่ วกับพระเจ้าบุเรงนองยังคงกระจัดกระจาย ทั่วอุษาคเนย์ ทั้งในต�ำนาน นิทาน เรื่องสั้น บทกวี ฯลฯ ในพม่าพระองค์เป็นสัญลักษณ์หนึ่งที่รัฐบาลทหารชูขึ้น ในฐานะวีรกษัตริย์ กระตุ้นเร้าเรื่อง “เอกภาพของชาติ” ในแบบเรียนชาตินิยม และบางครั้งก็กลายเป็น สัญลักษณ์ในการข่มศัตรูของชาติ
ในพม่าสถานทีห่ ลายแห่งถูกเปลีย่ นไปใช้ชอื่ ว่า “บุเรงนอง” ในภาพ คือจุดที่เรียกว่าวิกตอเรียพอยต์ จังหวัดเกาะสอง ประเทศพม่า ที่ อ ยู ่ ต รงข้ า มกั บ จั ง หวั ด ระนองของไทย คนน� ำ ทางบอกว่ า ประติมากรรมนั้นมีความย้อนแย้งอย่างมาก ด้วยรูปปั้นที่เห็นเป็น รูปพระเจ้าอลองพญา ขณะที่ยอดประติมากรรมระบุว่าที่นี่คือ “แหลมบุเรงนอง”
พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระเจ้าบุเรงนองทีจ่ งั หวัดเกาะสอง ประเทศ พม่า ในอิริยาบถประทับยืนชักพระแสงดาบและหันพระพักตร์มา ทางจังหวัดระนองของไทย
เมษายน ๒๕๕๕
89
ประเทศไทย พุทธศตวรรษที่ ๒๖
เ
รื่องเล่าเกี่ยวกับพระเจ้าบุเรงนอง มีหลายแบบ ทั้งในแง่ “ศัตรูของชาติ” ผูป้ ล้นเอกราชกรุงศรีอยุธยาเมือ่ ปี ๒๑๑๒ ในแง่ “จักรพรรดิราช” ผู้มีบุญญาบารมี เป็นที่ยอมรับ ในแง่ “นักรบ-นักรัก” อันเป็นผลจากสื่อบันเทิง อาทิ นิยาย เรื่อง ผู้ชนะสิบทิศ ของยาขอบ ที่เขียนโดยอาศัยข้อมูลจากพงศาวดาร เพียง ๘ บรรทัดเป็นพื้นฐาน สื่อดังกล่าวได้สร้างภาพพระเจ้า บุเรงนองในความทรงจ�ำของคนไทย จนพระองค์กลายเป็น “ศัตรูผู้น่ารัก” เมื่อเทียบกับกษัตริย์พม่าพระองค์อื่น
ฉากการสนทนาบนหลั ง ช้ า งศึ ก ระหว่ า งพระนเรศวรขณะทรง พระเยาว์กับพระเจ้าบุเรงนองที่รับพระองค์ไปเลี้ยงในฐานะ “พระ ราชบุตรบุญธรรม” และ “องค์ประกัน” จากเมืองพิษณุโลก ใน ภาพยนตร์ ต�ำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ “องค์ ประกันหงสา” ภาพยนตร์เรื่องนี้นับเป็นสื่อบันเทิงล่าสุดที่สร้าง ภาพพระเจ้าบุเรงนองในความทรงจ�ำของคนไทยในวงกว้าง ภาพ : บริษัทพร้อมมิตรโปรดักชั่น จ�ำกัด
90
เมษายน ๒๕๕๕
> หลังยุคที่นิยาย ผู้ชนะสิบทิศ ได้รับความนิยม สื่ออีกชนิดที่มี บทบาทในการสร้างภาพพระเจ้าบุเรงนองให้คนไทยรุน่ หลังรูจ้ กั ในแง่ “นักรบ-นักรัก” คือละครพันทางของกรมศิลปากรเรือ่ ง ผูช้ นะสิบทิศ ซึ่งแสดงมาตั้งแต่ปี ๒๕๒๙ ณ โรงละครแห่งชาติ ในภาพเป็นตอน “สามแผลแค้น” แสดงทีห่ อประชุมใหญ่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมือ่ ปี ๒๕๕๐ ก�ำกับการแสดงโดยอาจารย์เสรี หวังในธรรม ศิลปิน แห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ศิลปะการละคร) ประจ�ำปี ๒๕๓๑ ภาพ : ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) เมษายน ๒๕๕๕
91
ทะเลอันดามัน ต้นปีพุทธศักราช ๒๕๕๕
แสงแดดเจิดจ้าของฤดูหนาวส่องทะลุเมฆฝนลงมากระทบระลอกคลืน่ บนผืนน�้ำสีน�้ำเงินเข้ม เรือของเราเพิ่งออกจากปากน�้ำระนอง มุ่งหน้าไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือตรงเข้าหาชายฝั่งประเทศพม่า เมือ่ นายท้ายชีไ้ ปทีฝ่ ง่ั พร้อมกับบอกว่า “เขาก็มขี องเขา เราก็มขี องเรา” มองตามไป ผมก็ได้พบ “ของเขา”--ประติมากรรมหล่อสัมฤทธิ์รูป พระเจ้าบุเรงนองขนาดมหึมา ความสูงไม่น่าจะต�่ำกว่า ๓ เมตร ลักษณะ อิริยาบถอยู่ในท่าพระบาทข้างหนึ่งก้าวบนโขดหิน ขณะพระหัตถ์ชักพระ แสงดาบออกจากฝักครึ่งท่อน สายพระเนตรทอดมายังปากน�ำ้ ระนองฝั่งไทย ส่วน “ของเรา” ทีน่ ายท้ายพูดถึงก็คอื พระบรมราชานุสาวรียส์ มเด็จพระนเรศวร ซึ่งมีอยู่ตามเมืองประวัติศาสตร์และเมืองชายแดนไทย-พม่า ในจังหวัด Kaw Thaung หรือทีค่ นไทยเรียกกันว่า “เกาะสอง” นอก จากอนุสาวรีย์นี้แล้ว สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับนาม “บุเรงนอง” ยังมีอีกแห่ง คือ “แหลมบุเรงนอง” (Bayinnaung Point)
แกะรอย “ราชาเหนือราชา” ตามหา
เรื่อง สุเจน กรรพฤทธิ์ ภาพ บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
< พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าบุเรงนองที่หน้าพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติยา่ งกุง้ ประเทศพม่า ประทับยืนตระหง่านในฐานะ ๑ ใน ๓ วีรกษัตริยพ์ ม่า อันประกอบด้วย พระเจ้าอโนรธา พระเจ้าบุเรงนอง และพระเจ้าอลองพญา
92
เมษายน ๒๕๕๕
เมษายน ๒๕๕๕
93