Caption ฉบับที่ 1

Page 1


2|


...Please CAPTION...

|3


แด่... ค่ายสารคดีครั้งที่ ๑๑

4|


บทบรรณาธิการ การท�ำหนังสือเล่มหนึ่งไม่ใช่เรื่องง่าย เส้นทางการเดินทางของตัวอักษรว่ายากแล้ว การรวบรวมเก็บเกีย่ วตัวอักษรและรูปภาพให้เข้าทีเ่ ข้าทาง ให้เป็นสารคดีทบี่ อกเล่าเรือ่ งราวอย่าง จับใจกลับเป็นเรือ่ งยากกว่า การท�ำหนังสือเล่มนีบ้ อกเราแบบนัน้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ยิง่ ได้ลงลึกเข้าไป ในชุมชน “บางหลวง” ท�ำให้เราค้นพบว่า ภายใต้ชุมชนเล็กๆ ที่หากเพียงผ่านผิวเผินก็เห็นเแค่ ถนน บ้าน วัด ไม่ต่างจากทัศนียภาพที่เราเห็นได้ทั่วไปในกรุงเทพฯ แต่กลับซ่อนเรื่องราวหลาก หลายโดดเด่นขึ้นมาท่ามกลางมหานครใหญ่ที่ดูเหมือนจะไร้รากเมืองนี้ “บางหลวง” บอกเราว่า ไม่มสี ง่ิ ใดไร้ราก ไร้วฒ ั นธรรมหรือเรือ่ งราวอันเป็นอัตลักษณ์ ของตนเอง แต่ดูเหมือนว่าเรา-รุ่นลูกหลาน อาจจะละเลย หลงลืมไปบ้าง การเข้าไปค้นหา เรียน รู้ เยี่ยมชม จึงท�ำให้เราตระหนักถึงประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและพหุวัฒนธรรมของชุมชน ทั้งพุทธ คริสต์ หรืออิสลาม สะท้อนให้เห็นความแตกต่างที่อยู่ร่วมกันอย่างกลมกลืน ในระยะเวลาเพียงไม่กปี่ ี กรุงเทพฯ มีคอนโดมิเนียมผุดขึน้ มาเป็นดอกเห็ด อีกไม่นาน “ดอกเห็ด” ที่ว่านี้อาจมาโผล่ขึ้นกลางบางหลวง

...เรียนรู้ก่อนเลือนหาย... คณะผู้จัดทำ� บรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ บรรณาธิการฝ่ายภาพ บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ ฝ่ายศิลป์ พิสูจน์อักษร

วรรณิดา อาทิตยพงศ์ ยศภัทร์ อาษารัฐ นลิน สินธุประมา แพรวนภางค์ กัปตัน ปุญชรัสมิ์ ทรงธรรมวัฒน์ พานิตา ขุนฤทธิ์ ชัชวาล สุวรรณสวัสดิ์ ภีมรพี ธุรารัตน์ โสรญา อะทาโส อทิตยา​ พุ่มกุมาร โทรนัด เทียนอุดม

|5


อารัมภบท หากพูดถึงแม่น�้ำเจ้าพระยาใคร ๆ ก็คงนึกถึงแม่นำ�้ สายใหญ่ทเี่ ป็นเขตคัน่ ระหว่าง ฝัง่ พระนครกับฝัง่ ธนบุรี แม่นำ�้ สายส�ำคัญทีเ่ ป็น เส้นทางหลักออกสู่อ่าวไทย แต่หากย้อนเวลา กลับไปสมัยอยุธยาตอนกลาง เราอาจพบความ สับสนอลหม่านในการสือ่ สารกับผูค้ นในยุคนัน้ ให้เข้าใจตรงกันว่าแม่น�้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน บริเวณไหนบ้าง ทั้งนี้เพราะแม่น�้ำเจ้าพระยา บริเวณที่ไหลผ่านโรงพยาบาลศิริราช เรื่อยมา จนถึงหน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามและ วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหารยังเป็น เพียงพื้นดินเรียบแน่นในกาลครั้งนั้น แล้วแม่น�้ำเจ้าพระยาหายไปอยู่ ไหนกัน? “คลองบางกอกใหญ่” ทีเ่ รารูจ้ กั กัน นั้นเคยเป็นส่วนหนึ่งของแม่น�้ำเจ้าพระยามา ก่อน โดยเริ่มตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย บริเวณตรงข้ามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปัจจุบันอ้อมเป็นคุ้งโค้งมาถึงวัดท้ายตลาด เส้นทางน�้ำที่คดเคี้ยวและอ้อมไกลกว่าแม่น�้ำ สายปัจจุบนั มาก สมเด็จพระเจ้าไชยราชาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๗ - ๒๐๘๙) พระมหากษัตริย์องค์ ที่ ๑๓ แห่งกรุงศรีอยุธยาจึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุด คลองลัดระหว่างคุง้ แม่นำ�้ ดังกล่าวเพือ่ ย่นระยะ ทางและอ�ำนวยความสะดวกให้การค้าขายและ การเดินทางของบรรดาราชทูตในสมัยนั้น เมื่อ ถูกใช้เป็นเส้นทางคมนาคมมากเข้า ล�ำคลองก็ ค่อย ๆ กว้างออกดังที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน

6|

ท ว ่ า ค ว า ม ส� ำ คั ญ ข อ ง ค ล อ ง บางกอกใหญ่หาได้หมดความส�ำคัญลงแต่อย่างใด ในสมัยกรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินมหาราชทรงย้าย ราชส�ำนักไปอยู่ที่ฝั่งธนบุรี คลองบางกอกใหญ่จึง กลายมาเป็นที่ตั้งของชุมชนชาวจีนข้าหลวงที่เคย ช่วยเหลือรับใช้พระองค์มาก่อน ผู้คนจึงเริ่มเรียก ชุมชนบริเวณนั้นว่าชุมชน “คลองบางข้าหลวง” ก่อนจะกร่อนมาเป็น “คลองบางหลวง” อันเป็น ชื่อเล่นของคลองบางกอกใหญ่ที่เราคุ้นเคยกันดี สองฝัง่ คลองบางหลวงยังเป็นทีต่ งั้ บ้าน เรือนของบรรดาเจ้าขุนมูลนายผู้มีความส�ำคัญ ระดับประเทศหลายคน เช่น พระองค์เจ้ารัชนีแจ่ม จรั ส กรมหมื่ น พิ ท ยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) หรื อ สมเด็ จ เจ้ า พระยาบรมมหาศรี สุ ริ ย วงศ์ (ช่ ว ง บุนนาค) ต่างอาศัยอยู่ที่นี่ทั้งสิ้น พื้นที่ดังกล่าวจึง เติบโตเป็นชุมชนเล็กชุมชนน้อยมากมาย รวมไป ถึงเป็นที่ตั้งของชุมชนอันหลากหลายทั้งเชื้อชาติ และศาสนาทีม่ ที งั้ ชาวลาว มอญ จีน และผูท้ นี่ บั ถือ ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม ฯลฯ มีทงั้ พวกทีอ่ พยพ มาเองหรือถูกกวาดต้อนเข้ามาตัง้ ชุมชนอยูท่ นี่ ี่ จน ท�ำให้พนื้ ทีช่ มุ ชนขนาดไม่ใหญ่โตสองฝัง่ คลองแห่ง นี้ เ ป็ น ศู น ย์ ร วมของมรดกทางวั ฒ นธรรมและ ชาติพันธุ์อันหลากหลายที่ยังทิ้งร่องรอยให้เราไป สืบเสาะได้ในปัจจุบัน

หลากหลายอย่างไร?

พลิกหน้าต่อไปก็จะพบคำ�ตอบ


แผนที่ย่านคลองบางหลวง ๘๔

๑๐๘

๖๖ ๙๔ ๕๖

คลองบางหลวง

๑๖ ๑๔

๓๖ ๑๒

๔๐

|7


6

8|

ลมหายใจหลา


ายวัฒนธรรม

|9


หมุดหมาย ยามเข้า

เริ่มต้นที่วัดบางไส้ไก่ ปฐมบทชุมชนบางไส้ไก่

๑๒

ยามสาย

จากบ้านลาวสู่บ้านแขก

ก�ำแพงบ้านขลุ่ย : จิตรกรรมจารึกชุมชน ขลุ่ยบ้านลาว : จากความคิดถึงบ้านสู่ความผูกพันรุ่นสู่รุ่น มัสยิดนูรุ้ลมู่บีน : แว่วเสียงอะซาน รัศมีแห่งอิสลาม

14ผ

เรื่อง

]ภานุชนาถ สังข์ฆะ] [สุพรพงษ์ ทองกั๊ก] [วรรณวิสา สุภีโส] [นลิน สินธุประมา] [สุธาน บัวใหญ่] [โสรญา อะทาโส] [อรอุมา ศิลป์วัฒนานุกูล] [โทรนัด เทียนอุดม[

10 |


ยามบ่าย

เยือนคริสต์จักรแสงสว่าง ศาสนาส่องทางชีวิต

๓๕

ยามเย็น

แวะพักที่ร้านไทยกาแฟ ห้องนั่งเล่นรวมของชุมชน

39

ภาพ ]สุดภูไพร หวังภูกลาง] [วริศ โสภณพิศ] [พานิตา ขุนฤทธิ์] [รัชนี พรหมพันธุ์ใจ] [พนัชกร คล้ายมณี] [อณวิทย์ จิตรมานะ] [รตานันท์ รัตนะ] [โสภณัฐ โสมขันเงิน[ | 11


๑๗.๕๙ | หญิงชาวมุสลิมขณะละหมาด

12 |

๑๗.๕๙ น. สี่แยกบ้านแขก แสงแดดยังทวีความรุนแรง แม้จะเป็น ยามเย็นใกล้ค�่ำ เหงื่อเม็ดเป้งผุดพรายบน ใบหน้าที่เหนื่อยล้าหลังจากเดินตระเวน ชุมชนมาทั้งวัน อากาศร้อนอบอ้าวท�ำให้ อยากถอดใจ ทั้ ง ที่ ยั ง ค้ น หาค� ำ ตอบของ ค�ำถามที่ค้างคาใจไม่พบ


เตรียมตัวที่จะกล่าวลาแยก ย้ายกัน ภาพตรงหน้าท�ำให้ฉันและ ช่างภาพหยุดฝีเท้า คนขายของรถเข็นสองร้าน ติ ด กั น ที่ เ พี ย งกวาดตามองก็ พ บ ความแตกต่าง คนหนึง่ เกล้าผม สวม เสื้ อ ยื ด สี ฟ ้ า สด กางเกงขาสั้ น ทะมัดทะแมง เตรียมขายส้มต�ำ อีก คนทีย่ นื เคียงข้างคลุมผมด้วยผ้าสีดำ�

เก็บปลายเรียบร้อย สวมเสื้อแขน ยาว-กางเกงขายาวตามหลักความ เชื่อทางศาสนา ก�ำลังจดจ่ออยู่กับ การย่างไก่ “ศรัทธาที่แตกต่าง...แต่ไม่ อาจลบรอยยิ้มที่มอบให้แก่กัน” ภาพแห่งนี้ยังมีให้เห็นอีกหรือ... ที่ แห่ ง นี้ ยั ง อยู ่ ใ นประเทศไทยหรื อ เปล่า

น า ที นั้ น ทุ ก ค น ห ยุ ด นิ่ ง ราวกับเวลาหยุดหมุน... เผยค�ำตอบ ที่ค้นพบ นี่เองคือสิ่งยิ่งใหญ่ที่รวม ทุกคนไว้เป็นหนึ่ง เมื่อเข็มนาฬิกาบอกเวลา... ๑๘.๐๐ นาฬิกา “ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อ ชาติเชื้อไทย...”

| 13


ยามเข้า

การอยู ่ร่วมกันอย่างสันติ ภายใต้ความแตกต่าง ด้านศาสนา วัฒนธรรม ยังมีอยู ่จริงหรือ?

14 |


ยามเช้า...

| เด็กหญิงชาวมุสลิมบริเวณมัสยิดนูรุ้ลมู่บีน

รถเมล์ เ ล็ ก สี ส้ ม ที่ โ ดยสารมา จาก “วงเวียนใหญ่” ผ่านหน้าไปแล้ว ฉันหยุดทีป่ า้ ยรถเมล์แห่งหนึง่ เงยหน้า มองป้ายบอกทางที่กทม.ทำ�ไว้ พบว่า ตรงหน้าคือ “สี่แยกบ้านแขก” แม้ หมุดหมายในวันนีจ้ ะอยูท่ ชี่ มุ ชนสีแ่ ยก บ้านแขก เราวางแผนจะไปตัง้ ต้นกันที่ บางไส้ไก่ - - ชุมชนข้างเคียงกัน ฉั น กระชั บ เป้ บ นหลั ง ให้ เข้ า ที่ ก่ อ นเท้ า สองข้ า งจะเริ่ ม ต้ น ออก เดิน ภารกิจแรกของวันคือหา “ซอย อิสรภาพ ๑๕” ให้เจอ เพื่อไปยังจุด นัดพบที่ “วัดบางไส้ไก่“ ณ ชุมชน ใกล้เคียงกันกับสี่แยกบ้านแขกที่ฉัน จะออกสำ�รวจในวันนี้ ขณะเดิน ฉันกวาดสายตามอง ไปรอบๆ อากาศยามเช้ากำ�ลังดี น่า สบาย ไม่ร้อนอบอ้าวอย่างที่เตรียม ใจมาเผชิญ เช้าวันอาทิตย์แบบนี้ ผูค้ น ยังดูบางตา ร้านรวงข้างทางยังไม่ได้ตงั้ ตามทางเท้าให้ระเกะระกะคนเดินเท้า ให้ผ่านไปได้ยาก ฉันเดินชมสองข้าง ทางไปเรื่อยๆ อย่างสบายใจ แม้การ จราจรบนทางเท้าจะยังไม่วุ่นวาย สี่ แยกบ้านแขกก็ไม่ได้ร้างผู้คน สมัยก่อนที่ตรงนี้ยังเป็นเพียง สวนปลูกผลไม้ ไม่ปรากฏสิ่งก่อสร้าง ใดๆ เลย กระทั่งปลายสมัยรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยา บรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เดิ น ทางไปสิ ง คโปร์ ดู ค วามเจริ ญ ของบ้ า นเมื อ ง ขากลั บ จึ ง พลอยได้ ตระเวนตรวจตราตามหัวเมืองภาคใต้ เมื่อผ่านยังปัตตานี ได้เห็นสถาปัตย-

กรรมที่งดงาม จึงพาช่างชาวมุสลิมที่ มีฝีมือตลอดจนทายาทเจ้าเมืองเดิน ทางกลับมากรุงเทพฯ ด้วยเพื่อการ พัฒนาบ้านเมือง เมื่อถึงบางหลวง สมเด็จฯ ได้ ปั น ที่ ดิ น ส่ ว นตั ว ให้ อ าศั ย อยู่ บ ริ เวณ ด้านหลังจวน ต่อมากลายเป็นสถาน ที่ตั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ ในปัจจุบัน ชาวชุมชนเรียกว่า “บ้าน แขก” หรือ “ก๊กสมเด็จ” ที่นี่จึงรวม พี่น้องชาวมุสลิมไว้มากมาย กระทั่ง ก่อเกิดเป็นชุมชนบ้านแขก ตั้งติดกับ ชุมชนบ้านสมเด็จ และชุมชนบางไส้ไก่ กลายเป็นย่านทีร่ วมผูค้ นหลายศาสนา หลากวัฒนธรรมเข้าไว้ด้วยกัน และ อาศัยอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติสขุ เสมอมา เรื่ อ งราวเหล่ า นี้ ทำ�ให้ นึ ก ถึ ง ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ในสามจั ง หวั ด ชายแดนใต้ ที่ยั งคงทวี รุ นแรงอยู่ ทุก วัน ส่วนหนึ่งเป็นเพราะเหตุผลของ ความแตกต่างทางศาสนา ทำ�ให้ฉัน ตั้งคำ�ถามกับตัวเอง “การอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งสั น ติ ภายใต้ ค วามแตกต่ า งด้ า นศาสนา วัฒนธรรม ยังมีอยู่จริงหรือ?” หรือ เป็นเพียงสังคมในอุดมคติเท่านั้น ยั ง ไ ม่ ทั น ไ ด้ รั บ คำ� ต อ บ บรรยากาศภายนอกก็กลับสงบ สรรพ เสียงต่างๆ ค่อยๆ เบาบางลง สองเท้า พาฉันมาหยุดที่ “วัดบางไส้ไก่” แล้ว

| 15


ยามสาย

| ขลุ่ยเพียงออ

16 |


ชื่ อชุ มชนบางไส้ไก่ทีถ่ กู เรียกในปั จจุ บัน เพีย้ นมา จากค� ำ ว่ า จั ก กาย ตามพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๘ หมายความว่า แม่ทัพ และต่อมาจึงค่อย ๆ เพีย้ น กลายเป็นค�ำ ว่า “สะกาย” ก่อนทีก่ าลเวลาจะค่อย ๆ กร่อน มันจนกลายเป็นค�ำว่า “ไส้ไก่” ในทีส่ ุด

ยามสาย... “ที่ เ รานั่ ง อยู ่ กั น ตรงนี้ ก็ คื อ วั ด บางไส้ไก่ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าวัด ลาว” คุณสุดารา สุจฉายา เจ้าหน้าที่ มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธ์ หรือที่ต่อ มาเราเรี ย กว่ า พี่ แ อนเริ่ ม ต้ น เล่ า ประวัติศาสตร์ความเป็นมาให้ฟัง “ชุมชนบางไส้ไก่แห่งนี้ มีอีกชื่อ คือชุมชนบ้านลาว ตัง้ แต่อดีตทีต่ รงนีก้ ม็ ี

ชาวลาวอาศัยอยู ่ วัดบางไส้ไก่จงึ เปรียบ เสมือนเป็นศูนย์กลางของบ้านลาว” ไม่ ใ กล้ ไ ม่ ไ กลจากชุ ม ชนสี่ แ ยก บ้ า นแขกอั น เป็ น จุ ด หมาย ฉั น พบว่ า ชุมชนใกล้เคียงอย่างบางไส้ไก่ก็มีความ เป็นมาน่าสนใจไม่แพ้กนั ชุมชนบางไส้ไก่ ซึ่ ง มี ชื่ อ อย่ า งเป็ น ทางการว่ า ชุ ม ชน บางไส้ไก่บา้ นสมเด็จ มีความเป็นมากว่า ๒๐๐ ปี ในเอกสารประวัตชิ มุ ชนทีบ่ นั ทึก ตามค�ำบอกเล่าจากบรรพบุรุษ เดิมที่นี่ มี ชื่ อ เรี ย กตามภาษาชาวบ้ า นว่ า ‘หมู่บ้านลาว’ การตั้งหมู่บ้านที่นี้เกิด จากอพยพของครอบครัวของชาวลาว เวียงจันทร์จากสาธารรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว มายังประเทศไทยถึง ๒ ครั้งด้วยกัน โดยครั้ ง แรกเกิ ด ขึ้ น ในสมั ย พระเจ้าตากสินมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๑) ไทยยกทัพไปตีนครเวียงจันทร์เหตุไม่ให้ ความร่วมมือกับกองทัพไทยในการยก ทัพไปปราบปรามพม่า (พ.ศ. ๒๓๒๒) อาณาจั กรล้ านช้ างเวี ย งจั น ทร์ จึ งเสี ย เอกราชให้แก่ไทย ครัง้ นัน้ ได้อญ ั เชิญพระ แก้วมรกตซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่ เมื อ งของอาณาจั ก รล้ า นช้ า งมา ประดิษฐานในไทย และได้เชิญตัวเจ้า อนุวงศ์พร้อมเชื้อพระวงศ์บางองค์มา เป็ น องค์ ป ระกั น ที่ ก รุ ง ธนบุ รี รวมทั้ ง

กวาดต้อนครอบครัวชาวเวียงจันทน์บาง ส่วนเข้ามาด้วย ชาวลาวบางกลุ่มจึงอ้าง ว่าตนตามพระแก้วมรกตมา เลี่ยงการ ยอมรับว่าเป็นเชลยศึก นัยหนึ่งที่ให้มา ตัง้ หมูบ่ า้ นอยูท่ กี่ รุงธนบุรกี เ็ พือ่ ให้อยูใ่ กล้ หูใกล้ตาทางการไทยซึ่งอยู่ฝั่งพระนคร ส่วนครั้งที่ ๒ เกิดขึ้นสมัยสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗) เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น "สงครามเจ้ า อนุวงศ์" ครอบครัวชาวลาวเวียงจันทร์ และชาวลาวฝั ่ ง ซ้ า ยของแม่ น�้ ำ โขง ทัง้ หมดได้ถกู กวาดต้อนเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐาน ในภาคกลาง และภาคอีสานของไทย และบางส่วนก็ให้มาสมทบอยูท่ ี่ "หมูบ่ า้ น ลาว" ชื่อชุมชนบางไส้ไก่ที่ถูกเรียกใน ปัจจุบัน เพี้ยนมาจากค�ำว่า จักกาย ตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2548 หมายความว่า แม่ทัพ และต่อมา จึ ง ค่ อ ยๆ เพี้ ย น กลายเป็ น ค� ำ ว่ า “สะกาย” ก่อนที่กาลเวลาจะค่อย ๆ กร่อนมันจนกลายเป็นค�ำว่า “ไส้ไก่” ใน ที่ สุ ด ส่ ว นค� ำ ว่ า บาง นั้ น ก็ ตั้ ง ตาม ลักษณะส�ำคัญของถิ่นที่อยู่ หมายถึง ชุมชนที่มีล�ำคลอง แม่น�้ำ หรือทางน�้ำ ไหลผ่าน

| 17


| ภาพวาดจิตรกรรมขลุ่ยบนก�ำแพงชุมชนบางไส้ไก่บ้านสมเด็จ

แม้มาอยูต่ า่ งแดนแต่ภมู ปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นยังคงอยู่ในวิถีชีวิตของชาว ลาว พวกเขาได้ ท� ำ ‘ขลุ ่ ย ’ และ ‘แคน’ อันเป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ขึ้นมา ในระยะแรกก็ใช้บรรเลงเพื่อ หวนระลึกถึงถิ่นภูมิล�ำเนา ต่อมาจึง ท�ำเป็นอาชีพและกลายเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมของชุมชน ปัจจุบันไม่พบ ครอบครัวใดท�ำแคนแล้ว แม้ไผ่ซางที่ ใช้ เ ป็ น วั ส ดุ ห ลั ก ส� ำหรั บ ท� ำ แคนจะ หาไม่ยากแต่สาเหตุส�ำคัญคือขาดผู้ สืบทอด ท�ำให้ตอนนี้เหลือเพียงขลุ่ย ซึง่ แต่เดิมท�ำด้วยไผ่รวก เป็นไม้ไผ่เนือ้ แน่น ล�ำไผ่มีลักษณะตรง ยาว ปล้อง 18 |

แต่ละข้อห่างกัน น�ำมาจากหมู่บ้าน ท้ายพิกุล อ�ำเภอพุทธบาท จังหวัด สระบุรี ตามภาษานักเลงขลุ่ย ขลุ่ยที่ ท�ำจากไม้ไผ่จะให้เสียงทีเ่ รียกว่า เสียง ใสแก้ว เสียงใสก้องกังวานทั้งโน้ตคีย์ สูงและต�ำ ่ เอกลักษณ์สำ� คัญอีกอย่าง ที่ท�ำให้ขลุ่ยหมู่บ้านลาวเป็นที่รู้จัก และนิยมอย่างแพร่หลาย คือลวดลาย วิ จิ ต ร แปลกตา ท� ำ ด้ ว ยตะกั่ ว หลอมเหลว เทราดลงบนล�ำขลุ่ยจน เกิดเป็นลายต่างๆ ลวดลายหลักมี จ�ำนวน ๗ ลาย ได้แก่ ลายหิน ลาย กระจั บ ลายดอกพิ กุ ล ลายรดน�้ ำ

ลายรมด�ำ ลายหกคะเมน ลายตลก ซึ่งลายเหล่านี้แยกย่อยออกไป ตามเทคนิคพิเศษของแต่ละลาย เช่น ลายน�ำ้ ไหลแบบเข้ม ลายน�ำ้ ไหลแบบ อ่อน เป็นต้น กรรมวิธีและลวดลาย แบบโบราณไม่ มี ใ ห้ เ ห็ น แล้ ว ใน ปัจจุบันเพราะตะกั่วเป็นโลหะหนัก ไอระเหยอันตรายต่อคนท�ำขลุ่ยเอง และชาวบ้านร่วมชุมชน หากใครยัง ท�ำลวดลายด้วยวิธีเดิมจะถูกลงโทษ ตามกฎหมาย เมื่อลวดลายบนล�ำขลุ่ยมรดก ทางภูมิปัญญาก�ำลังเลือนหายไปจาก วิถีชีวิต เครื่องดนตรีถูกเปลี่ยนฐานะ


| อาสาสมัครนักศึกษาก�ำลังวาดภาพขลุ่ย

เป็นของสะสม การบันทึกลวดลาย ขลุ่ยด้วยฝีแปรงลงบนก�ำแพงจึง เป็นวิธีการหนึ่งที่คณะกรรมการ ชุมชนจัดท�ำโครงการขึน้ มา โดยได้ รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัย ราชภัฏบ้านสมเด็จ เอื้อเฟื้อให้ใช้ พื้นที่บนผนังก�ำแพงด้านนอกเพื่อ วาดภาพภู มิ ป ั ญ ญามรดกของ ชุมชน ทั้งนี้ยังมีกลุ่มนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบั ง ที่ มี ฝ ี มื อ ด้ า นภาพ

จิตรกรรม อาสารังสรรค์ภาพขลุ่ย และหัวโขนบนก�ำแพง นอกจาก โครงการวาดภาพลงบนก� ำ แพง มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา ยังมีโครงการศูนย์การ เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนการ เรียนรู้ และอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาศิลป วั ฒ นธรรมและงานฝี มื อ อั น ทรง คุณค่า ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการ ก่อสร้าง พื้นที่บนก�ำแพงถูกแบ่งเรื่อง ราวออกเป็น ๓ ส่วน ส่วนแรก คือ ภาพกรรมวิธีผลิตขลุ่ย ส่วนที่ ๒ ซึ่ง

ใช้ พื้ น ที่ ม ากที่ สุ ด เป็ น ภาพของ ลวดลายขลุ่ยแบบดั้งเดิม และภาพ หัวโขนอันวิจิตรเป็นส่วนสุดท้าย

| 19


หากจารึกนับเป็นหลักฐาน ส� ำ คั ญ ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ์ จิตรกรรมบนก�ำแพงบอกเล่า ว่ า ขลุย่ และหัวโขนเป็นภูมปิ ญ ั ญาของ ชุ ม ชนบางไส้ ไ ก่ บ ้ า นสมเด็ จ มา ๒๐๐ กว่าปี ทว่า อีก ๒๐๐ ปีข้าง หน้ า ภาพบนก� ำ แพงและศู น ย์ อนุรกั ษ์จะเป็นเครือ่ งมือทีเ่ พียงพอ หรื อ ไม่ ส� ำ หรั บ การรั ก ษามรดก ล�้ำค่าไม่ให้สูญหายไปจากวิถีชีวิต พรรณธิ ภ า พุ ท ธรั ก ษ์ ผู ้ ประกอบการท� ำ ขลุ ่ ย บ้ า นขลุ ่ ย มงคล ได้กล่าวถึงประเด็นข้างต้นไว้ อ ย ่ า ง น ่ า ส น ใ จ แ ม ้ จ ะ เ ห็ น ว่าในชุมชนยังผลิตขลุ่ย แต่จาก การบอกเล่าของพรรณธิภา ท�ำให้

เข้าใจสถานการณ์ของเครือ่ งดนตรี ภูมิปัญญาชุมชนแห่งนี้ยิ่งขึ้น โดย ปั จ จุ บั น รายรั บ หลั ก ของบ้ า นผู ้ ประกอบการท�ำขลุ่ยแต่ละหลังมา จากการท� ำ ขลุ ่ ย โดยใช้ วั ส ดุ พลาสติกพีวีซี ตามค�ำสั่งซื้อของ โรงเรียนต่างๆ เนื่องจากขลุ่ยเป็น เครื่องดนตรีไทยที่ถูกบรรจุอยู่ใน หลักสูตรการศึกษาของนักเรียน ส่วนขลุ่ยที่ท�ำจากไม้ไผ่ หรือไม้ จ�ำพวกเนือ้ แข็ง เช่น ไม้ชงิ ชัน ไม้ พยุง ไม้มะเกลือ ไม้งิ้วด�ำ ไม้ด�ำดง ไม้มะริด เป็นต้น เป็นขลุย่ ทีม่ รี าคา สูง ผูท้ สี่ นใจและรักในเครือ่ งดนตรี ชิน้ นีจ้ ริงๆ เท่านัน้ ถึงจะซือ้ หรือจ้าง ให้ผลิตขึ้นมา ขลุ่ยไม้จึงกลายเป็น

สินค้าเฉพาะกลุ่ม ผู้ประกอบการ ขลุ ่ ย ทุ ก บ้ า นจึ ง ต้ อ งปรั บ ตั ว ตาม สถานการณ์ ในส่วนของบ้านขลุ่ยมงคล นั้นได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาต่อ ยอดผลิตภัณฑ์ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรเี มือ่ ๒ ปีที่แล้ว ปั จ จุ บั น ขลุ ่ ย บ้ า นมงคลมี โลโก้ของตัวเอง ท�ำป้ายยี่ห้อร้อย เชือกห้อยไว้กับตัวขลุ่ย และผลิต ขลุ ่ ย จิ๋ ว หลายขนาดท� ำ เป็ น พวง กุ ญ แจเพื่ อ จ� ำ หน่ า ยเป็ น ของที่ ระลึก ทั้งนี้มีการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ขลุ่ย แต่ยัง เป็นเพียงภาพร่างเท่านัน้ เพราะติด

| สีอะคริลิคที่ใช้วาดภาพจิตรกรรมบนก�ำแพง

จิตรกรรมบนก�ำแพงบอกเล่าว่าขลุ่ย และหั ว โขนเป็ น ภู มิ ปั ญญาของชุ ม ชน บางไส้ไก่บ้านสมเด็จมา ๒๐๐ กว่าปี ทว่า อีก ๒๐๐ ปี ข้างหน้า ภาพบนก�ำแพงและ ศูนย์อนุรักษ์จะเป็ นเครื่องมือที่เพียงพอ หรือไม่ส�ำหรับการรักษามรดกล�ำ้ ค่า

20 |


ปั ญ หาในเชิ ง การค้ า ขลุ ่ ย เป็ น สินค้าเฉพาะกลุม่ ดังทีก่ ล่าวไปแล้ว จึ ง ยั ง ไ ม ่ มี ห น ่ ว ย ง า น ใ ด ใ ห ้ การสนับสนุนเรื่องบรรจุภัณฑ์ การพัฒนาขลุ่ยตามความ ต้องการของตลาดก็ดี การจัดท�ำ ศูนย์อนุรักษ์และบันทึกลวดลาย ดั้งเดิมลงบนก�ำแพงก็ดี จะไม่มี ความหมายเลยหากขาดผูส้ บื ทอด ภูมิปัญญา “ลูกหลานแต่ละบ้าน ก็ไม่รู้ จะมีคนท�ำต่อหรือเปล่า” พรรณธิภา พูดด้วยน�้ำเสียง เจือความกังวล ตอนนี้ชาวลาวใน ชุมชนถือเป็นรุ่นที่ ๒-๓ ถัดจากนี้ อาชี พ ท� ำ ขลุ ่ ย อาจไม่ ใ ช่ อ าชี พ ที่

ทายาทต้องการยึดเป็นรายได้หลัก ของครอบครั ว ไม่ ใ ช่ เ พี ย งขาด ทายาทสืบต่ออาชีพเท่านั้น แต่ ปัจจุบันบุคลากรผู้เป็นครูช�ำนาญ เพลงขลุย่ ก็ขาดแคลนเช่นกัน หาก ไม่มีครูเพลงคอยสอน จะมีคนเป่า ขลุย่ เป็นได้อย่างไร ผูป้ ระกอบการ แต่ละบ้านส่วนใหญ่กไ็ ม่ได้ชำ� นาญ ทักษะด้านเพลงนัก เพียงเทียบ เสียง ตัวโน้ต และบรรเลงได้เป็น บางเพลงเท่านัน้ ความไพเราะ ลูก เล่น ในแต่ละตัวโน้ตเทียบชั้นกับ ครูเพลงไม่ได้ แม้ในโรงเรียนจะ สอนให้เด็กเป่าขลุย่ เป็น ก็เป็นการ สอนให้เด็กพอได้รู้จักเท่านั้น น้อย คนนั ก ที่ จ ะรั ก เครื่ อ งดนตรี ชิ้ น นี้

เมื่อไม่มีเด็กที่สนใจรักท่วงท�ำนอง เพลงขลุ่ย ก็กลายเป็นวงจรวนซ�้ำ ย�้ำความเลือนหายของขลุ่ย มรดก ทางภูมิปัญญาของชุมชนแห่งนี้

| อาสาสมัครนักศึกษาก�ำลังวาดภาพขลุ่ย

| 21


| สุนัย กลิ่นบุผา หรือครูช้าง

ข้างหลังปมขัดแย้งที่ขมวด ขึ้นตามกาลเวลาและบริบททาง สั ง คมที่ เ ปลี่ ย นไป ชายคนหนึ่ ง สืบทอดวิชาการท�ำขลุ่ยมาจากผู้ เป็นพ่อ และยังตั้งใจจะท�ำอาชีพนี้ ต่อไปให้ถึงที่สุด “เสียงขลุ่ยครวญ หวนมา กับลม พี่สะอื้นฝืนระทม ค�่ำคืนฝืน ข่มใจเหงา” เสียงเพลงลูกทุ่งดัง แผ่วเบาจากล�ำโพงแว่วหวานหูใน ชื่อเพลงขลุ่ยเรียกนางถูกเปิดคลอ เบาๆ ไปพร้อมๆ กับการท�ำงาน | บ้านขลุ่ยลุงจรินทร์

22 |

ผูช้ ายผมยาวใส่แว่น มัดผมไว้ลวกๆ ผิวสีคล�ำ้ แดด ไม่ใส่เสือ้ ท่าทางใจดี เป็นเอกลักษณ์ของเขา ก�ำลังท�ำ ขลุย่ ทีละเลา ทีละเลา อย่างบรรจง กลึ ง เกลาไม้ เ นื้ อ แข็ ง ในมื อ ด้ ว ย ความช�ำนาญ “รุน่ ของผมเป็นรุน่ ที่ ๔ แล้ว ครับ” ค�ำบอกเล่าพร้อมรอยยิ้ม น้อยๆ ของ สุนัย กลิ่นบุปผา หรือ ครูช้าง วัย ๕๐ ปี แห่งร้านขลุย่ ลุง จรินทร์


เริ่มต้นเล่าถึงอาชีพที่รักให้ฟังในห้องสี่ เหลี่ยมแคบๆ รายล้อมไปด้วยขลุ่ยสี น�ำ้ ตาลหลากเฉดสี หลายชนิด ทัง้ ทีจ่ ดั อยู่ในตะกร้าตรงหน้า วางอยู่ข้างตัว หรือแม้แต่เรียงอย่างดีอยู่ในตู้กระจก ใสด้านหลัง บรรยากาศภายในห้อง คลอด้ ว ยเพลงที่ มี เ สี ย งขลุ ่ ย สอด ประสานนุม่ นวล “เมือ่ ก่อนก็ทำ� จากไผ่ รวก หลังๆ มาเริม่ ท�ำจากท่อพีวซี ี ราคา จะถูกลง เพื่อส่งไปตามโรงเรียนให้ นักเรียนได้เรียน แต่เสียงที่ได้ก็แตก ต่างจากไผ่รวกนะ...” ครูช้างเล่าเกร็ด ความรู้เรื่องการท�ำขลุ่ยให้ฟังอย่า ง อารมณ์ดี ทั้งชนิดของขลุ่ย วิธีการท�ำ ไม้ที่ใช้ท�ำ รวมถึงประวัติความเป็นมา จริงๆ ก็ไม่ได้ตั้งใจท�ำเป็นอาชีพกัน

สมัยก่อนมันเหมือนสิง่ ของแลกเปลีย่ น บ้านเธอมีข้าว บ้านฉันมีขลุ่ย เราเอา มาแลกกัน แต่ต่อมาก็กลายเป็นอาชีพ กันจากรุ่นสู่รุ่น” เป็นการสานต่อจาก ลุงจรินทร์ ช่างขลุ่ยชั้นครูผู้เป็นพ่อ แม้ จะไม่ใช่ความตั้งใจตั้งแต่ต้น แต่ด้วย ความที่ ค ลุ ก คลี กั บ อาชี พ ที่ พ ่ อ ใช้ ห า เลี้ยงตนมาตั้งแต่เด็ก ครูช้างจึงตัดสิน ใจออกจากงานรับจ้างมาช่วยท�ำขลุย่ ที่ บ้านเต็มตัว ขลุ่ยบ้านลาวของครูช้าง รับท�ำตามจ�ำนวน โดยโรงเรียนบ้างผูท้ ี่ สะสมขลุ่ยบ้าง ราคาเริ่มต้นตั้งแต่ขลุ่ย พีวิซีเลาละ ๕๐ บาท ไปจนถึงขลุ่ยไม้ แกะลายราคาหลายหมื่น นอกจากนี้ ยังมีการท�ำขลุ่ยให้กับ นักเรียนที่จะน�ำไปใช้ประกวดแข่งขัน

เหล่าครูดนตรีทั่วไทยต่างเฟ้นหาขลุ่ย ชั้ น เยี่ ย มจากช่ า งฝี มื อ ที่ จ ะช่ ว ยขั บ ความสามารถฉายแววศิลปิน เสียงที่ ไพเราะจากลมเป่ า กระทบเนื้ อ ไม้ ประกอบกับลีลาเฉพาะตัวออกมาเป็น ท�ำนองฟังระรืน่ ไม่ตา่ งอะไรกับการวัด ตัวตัดเสื้อผ้า หากได้ขลุ่ยที่ถูกมือและ ถูกใจ พอเหมาะพอดีกบั ผูบ้ รรเลงย่อม สร้างเสียงเอกลักษณ์ที่น่าฟัง

| 23


สมั ย ก่ อ นมั น เหมื อ นสิ่ ง ของแลก เปลีย่ น บ้านเธอมีข้าว บ้านฉันมีขลุ่ย เราเอามาแลกกัน แต่ต่อมาก็กลาย เป็นอาชี พกันจากรุ ่นสู่รุ่น

| สุนัย กลิ่นบุบผา หรือครูช้าง

24 |

“ เ ข า มี ค ว า ม เ ป ็ น ผู ้ ใ ห ้ มากกว่าผู้รับ” ชัชรินทร์ เลิศยศ บดินทร์ หรือ ไช้ หนึ่งในนักเรียน เจ้าของขลุ่ยเฉพาะบุคคลที่รู้จักกัน มาสิบกว่าปี พูดถึงความประทับใจ ที่มีต่อครูช้าง จากความสัมพันธ์ ของลูกค้า พัฒนาและเหนียวแน่น จนนับถือกันเป็นศิษย์เป็นครู ขลุ่ย เลานั้นที่ช่วยให้ได้รางวัลเหรียญ ทองเดี่ยวขลุ่ยงานศิลปหัตถกรรม นั ก เรี ย นระดั บ ชาติ สร้ า งความ ภูมิใจให้ศิษย์และเติมพลังให้ครูยัง คงทุ่มเทท�ำขลุ่ยที่ไม่ใช่เลาที่ดีที่สุด แต่เหมาะกับคนเล่นมากที่สุด การบอกกันปากต่อปากถึง คุณภาพชั้นเลิศท�ำให้ลูกค้าเพิ่มขึ้น


เรื่อยๆ เหมือนครอบครัวขยาย ครู ช้ า งได้ รั บ เชิ ญ ไปเป็ น วิ ท ยากร บรรยาย และแสดงการบรรเลงขลุ่ย อยู ่ เ สมอ ดั ง เช่ น งาน ๒๓๐ ปี รัตนโกสินทร์ที่ผ่านมา ได้ถ่ายทอด และสร้ า งแรงบั น ดาลใจให้ กั บ ผู ้ พบเห็น และแบ่งปันโอกาสให้กับ นักเรียนที่ห่างไกล โครงการ “สอน น้องเป่าขลุย่ ” ร่วมกับการไฟฟ้าฝ่าย ผลิตทีจ่ ะน�ำขลุย่ ไปมอบให้กบั เด็ก ๆ สอนให้ รั ก และเรี ย นรู ้ ก ารสร้ า ง ท่วงท�ำนอง รายได้ จ ากอาชี พ ท� ำ ขลุ ่ ย สามารถเลี้ยงครอบครัว และส่งลูก ทั้งสามเรียนจบได้ ใช้ชีวิตอย่างพอ เพียง ไม่ได้หวังจะร�่ำรวย ไม่เหมือน

กับการท�ำงานแต่เป็นการสร้างงาน ศิ ล ปะอย่ า งหนึ่ ง ที่ ท� ำ ด้ ว ยความ ผูกพัน “มันต้องท�ำทุกวันนะขลุย่ มัน หยุดไม่ได้ ถ้าหยุดก็เหมือนขาดอะไร หายไป ไม่มไี ม่ทำ� หรอก มีแต่ตอ้ งท�ำ ทุกวันให้ส�ำเร็จ” แม้ ลู ก ทั้ ง สามจะออกไป ท�ำงานข้างนอก แต่เพราะคลุกคลีมา ตั้ ง แต่ เ ด็ ก ลู ก ทุ ก คนของครู ช ้ า ง ท�ำขลุย่ เป็นกันหมด แต่ยงั ไม่สนใจที่ จะสานต่องานของครอบครัว ไม่ตา่ ง จากครูช้างในตอนนั้น “เรื่องอนาคตมันไม่แน่นอน หรอก แต่มนั คงไม่เหลือแค่ตำ� นาน” ความเป็น “ครู” ทีแ่ ท้จริงไม่อยากให้

ความรู ้ เ หล่ า นี้ ต ายไปกั บ ตั ว อย่ า ง น่าเสียดาย จึงเปิดสอนเป่าขลุย่ และ ท�ำขลุย่ ให้กบั ผูท้ สี่ นใจ น�ำความตัง้ ใจ มาเป็นค่าเรียนโดยทีไ่ ม่ตอ้ งเสียค่าใช้ จ่ายใดๆ พลั ง จากความเหงา ความ คิดถึงบ้าน ที่ถ่ายทอดออกมาเป็น เสียงขลุย่ แว่วหวานซึง้ จะกลายเป็น ความรักความผูกพันที่ถูกส่งต่อจาก รุ่นสู่รุ่น ชาวลาวเวียงผ่านช่วงเวลา จนผสมกลมกลืนกับคนไทยอย่าง แยกไม่ อ อกยั ง คงอนุ รั ก ษ์ ศิ ล ปะที่ เป็นทัง้ อาชีพเลีย้ งตัวและสร้างความ งดงามผ่ า นเสี ย งดนตรี ใ ห้ กั บ มวล มนุ ษ ย์ โ ดยไม่ แ บ่ ง แยกชนชาติ ศาสนา และเผ่าพันธุ์ | ภรรยาครูช้าง

| 25


จากชุมชนบางไส้ไก่เดินต่ออีก หน่ อ ยก็ ถึ ง ชุ ม ชนบ้ า นสมเด็ จ ซึ่ ง มี “มัสยิดนูรุ้ลมู่บีน” มัสยิดต้นแบบของ ความสามัคคีตั้งอยู่ ชุมชนรอบมัสยิด แห่งนี้มีอายุเกือบ ๒๐๐ ปี ชนหลาย ศาสนาต่างอยู่ร่วมกันอย่างสันติ “เรา อยู่ร่วมกันด้วยจิตวิญญาณของความ เป็นพี่-น้อง” คอเต็บ (ผู้แสดงธรรม ประจ�ำมัสยิด ต�ำแหน่งรองจากอิหม่าม) เล่าถึงเหตุผลของการอยู่ร่วมกัน

26 |


ภาพอักษรภาษาอาหรับ เป็น สิ่งแรกที่ปรากฏตรงหน้า แม้อ่านไม่ เข้าใจ ไม่รอู้ า่ นอย่างไร หรือหมายถึง อะไร แต่รบั รูไ้ ด้ถงึ พลังงานบางอย่าง ของตั ว อั ก ษรนั้ น ได้ เมื่ อ มอง ลงอี ก บรรทั ด ที่ เ ป็ น อั ก ษรไทยว่ า “มั ส ยิ ด นู รุ ้ ล มู ่ บี น ” และมาทราบ ความหมายทีแ่ ท้จริงตามทีอ่ หิ ม่ามได้ กล่าวว่า “นูรุ้ล” หมายถึง “รัศมี” และนู รุ ้ ล มู ่ บี น นี่ เ องคื อ รั ศ มี ข อง อิสลามทีแ่ ผ่คณ ุ ประโยชน์และหมาย รวมถึงสิ่งที่มัสยิดมอบให้กับชุมชน

เหมือนรัศมีการได้ยินเสียงอะซาน ของคนรอบๆ มัสยิด หากแต่รศั มีของ อิสลามนี้ คงแผ่กว้างกว่ารัศมีของ เสียงอะซานหลายเท่านัก มั ส ยิ ด นู รุ ้ ล มู ่ บี น บ้ า นสมเด็ จ ถือเป็นสถานที่ที่แสดงความเคารพ ภักดีตอ่ พระผูเ้ ป็นเจ้า ชาวมุสลิมส่วน ใหญ่ จ ะมาประกอบพิ ธี ก รรมทาง ศาสนา ณ สถานที่ อั น เสมื อ นได้ เข้าเฝ้าพระผู้เป็นเจ้า มัสยิดนูรุ้ลมู่บีนมีชาวมุสลิมเดินทางมา เพื่อมา ละหมาดและประกอบพิธีกรรมทาง

ศาสนาต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะเป็น ผู้ชายมากกว่าผู้หญิง หากมองจาก การท�ำพิธีกรรมต่างๆ มักจะหันไป ทางทิ ศ ตะวั น ตก ซึ่ ง เป็ น ที่ ตั้ ง ของ เมืองเมกกะ ความส�ำคัญของสถานที่ อันศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งนัน้ ทีม่ ตี อ่ ชาวมุสลิม สังเกตได้จากแววตาระหว่างสนทนา พวกเขามั ก จะจดจ้ อ งไปทางทิ ศ ตะวันตกอยู่เป็นนิจ

| มัสยิดนูรุ้ลมู่บีน

| 27


หออะซานภายในบริ เ วณ มัสยิด ท�ำงานทุกวัน วันละห้าครั้ง เป็นหน้าที่ที่เที่ยงตรงและตรงกับ เวลาเที่ยงตรงในตอนนี้ เนื่องจาก ต้ อ งประกาศเวลาละหมาดเพื่ อ เรียกให้ผู้คนบริเวณรัศมีของการ ได้ ยิ น นั้ น มารวมตั ว กั น ปฏิ บั ต ิ 28 |

ศาสนกิจเพื่อระลึกถึงพระเจ้า แสงพระอาทิตย์ทขี่ นึ้ สะท้อน แสงไปยังหลังของตัวอาคารแห่งนี้ เสมือนมีภาพฉากหลังรับกับภาพ ของมัสยิด ยิง่ ท�ำให้มสั ยิดสวยงามยิง่ ขึ้น ชีวิตมุสลิมของชายหญิงมีข้อ จ� ำ กั ดบทบาทของการอยู ่ ร่ ว มกั น

เมื่ออยู่ในมัสยิด ก้าวแรกที่ได้เดิน เข้าไปในมัสยิดเห็นม่านกั้นวางอยู่ บริเวณฝัง่ ซ้าย และมีผหู้ ญิงนัง่ อยูใ่ น ม่านฝั่งนั้น เสียงอะซานเริม่ ดังแผ่กงั วานไป ทัว่ รัศมีการได้ยนิ ของชุมชนโดยรอบ ผู้คนที่ประกอบกิจการต่างๆ ล้วน


| ชาวมุสลิมขณะละหมาด

หยุดลงและมารวมตัวกันยังมัสยิด “นูรุ้ลมู่บีน” พวกเขามารวมตัวกัน เพื่ อ ท� ำ ในสิ่ ง ธรรมดาปกติ สุ ข ของ ตนเองในทุกวัน หากแต่ส�ำคัญในทุก ห้วงความรูส้ กึ ... การละหมาดวั น ละห้ า ครั้ ง เป็ น กิ จ วั ต รหนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ของชาว

มุสลิม เพราะเป็นการเข้าเฝ้าพระผู้ เป็นเจ้า (พระอัลเลาะห์) ที่ส่วนมาก จะเป็ น ผู ้ ช ายมาละหมาดที่ มั ส ยิ ด เพราะผู้หญิงมีภาระที่จะต้องดูแล บ้าน หรือยิ่งถ้ามีครอบครัวแล้วก็จะ ต้องดูแลลูกอีก ผู้หญิงจึงไม่นิยมเดิน ทางมาละหมาดที่มัสยิด | 29


| ชายชาวมุสลิมขณะละหมาด

ม่านทีก่ ัน้ ระหว่างผู ้หญิงผู ้ชายในมัสยิด สร้างขึน้ เพือ่ ท�ำให้เรา นัน้ มีสมาธิอยู ่กับตัวเอง จิตใจไม่คิดเรือ่ งชู ้สาว เพราะเรือ่ งนี ้ ท�ำให้จติ ใจไม่สงบ แล้วเข้าสูก่ ารเฝ้าพระผู เ้ ป็นเจ้าได้อย่างแท้จริง อิหม่ามแห่งมัสยิดนุรุ้ลมู่บีนพูด ถึงข้อปฏิบัติของหญิง ชายมุสลิมเมื่อ ต้องประกอบพิธีกรรมต่างๆ ในมัสยิด การปะปนหญิงชายไม่ดี เขาจึงมีม่าน กั้นเอาไว้ ไม่ให้หญิงชายเห็นกัน หรือ มองกันได้ในระหว่างการท�ำละหมาด เพื่อเป็นการสร้างสมาธิให้เกิดกับผู้นั้น 30 |


เขาจึงจ�ำเป็นต้องมีมา่ นกัน้ เอาไว้ เป็น ระเบียบที่ผู้เข้ามาละหมาดในมัสยิด ต้องปฏิบัติตาม หากมีการถูกตัวกัน โดยไม่ได้ตั้งใจ ถือว่าไม่ผิด โดยจะดู จากเจตนาและวัยของผู้กระท�ำเป็น หลัก แต่ถ้าตั้งใจท�ำ ก็จะต้องขออภัย ต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า ด้วยการส�ำนึกผิดว่า จะไม่ท�ำอีก “ม่ า นที่ กั้ น ระหว่ า งผู ้ ห ญิ ง ผูช้ ายในมัสยิด สร้างขึน้ เพือ่ ท�ำให้เรา นั้นมีสมาธิอยู่กับตัวเอง จิตใจไม่คิด เรื่องชู้สาว เพราะเรื่องนี้ท�ำให้จิตใจ ไม่สงบ แล้วเข้าสู่การเฝ้าพระผู้เป็น เจ้าได้อย่างแท้จริง” ม่ า นที่ กั้ น ระหว่ า งชายหญิ ง ของชาวมุสลิม เป็นการกั้นเพียงเพื่อ ความราบรื่ น ของการละหมาดให้ ส�ำเร็จโดยอาการสงบนิ่งที่สุดเท่านั้น ไม่ได้กนั้ ห้ามผูห้ ญิงเข้ามัสยิดแต่อย่าง ใด สิ่งนี้แสดงว่ามัสยิดสร้างขึ้นเพื่อ ชาวมุสลิมทุกๆ คน ผู้คนละหมาดเสร็จแล้ว ต่าง กลั บ ไปท� ำ หน้ า ที่ ข องตน เสี ย ง อะซานคงดังอีกครั้งเมื่อเวลาเย็นซึ่ง เป็นช่วงละหมาดครั้งที่ ๓ ของวัน เวียนมาถึง ทุกอย่างยังคงด�ำเนินไป เป็นปกติเช่นนี้ทุกวัน แต่ทุกครั้งนั้น คือความพิเศษที่จะได้เข้าใกล้พระผู้ เป็นเจ้า ทุกอย่างอยู่ในทุกช่วงของ การด�ำเนินชีวิต เป็นการเตือนใจให้ ชาวมุ ส ลิ ม ประกอบแต่ สิ่ ง ที่ ดี ง าม เพราะพระเจ้ า อยู ่ ใ กล้ กั บ พวกเขา เสมอ เพียงระลึกถึง ...ทุกครั้งที่เสียง อะซานดังขึ้น พระเป็นเจ้าก็ปรากฏ ชัดเจนในใจของพวกเขาเช่นกัน

| หญิงชาวมุสลิมขณะละหมาดหลังม่านกั้น

| 31


| ชาวมุสลิมขณะท�ำพิธีศพภายในกุโบร์

หากมัสยิดเป็นศูนย์รวมของ คนเป็น กุโบร์ก็เป็นที่ประชุมของผู้ จากไป ภายในกุโบร์หรือสุสานของ มั ส ยิ ด นู รุ ้ ล มู ่ บี น หรื อ มั ส ยิ ด บ้านสมเด็จชายหนุ่มคนหนึ่งในชุด ปากีสีขาว อันประกอบด้วยเสื้อแขน ยาวสีขาวฉลุลายตรงบริเวณอกเสื้อ 32 |


และกางเกงขายาวสีขาว บนศีรษะ สวมหมวกกะปิเยาะ ซึ่งเป็นหมวกที่ ใช้ใส่ทวั่ ไปทัง้ เวลาประกอบศาสนกิจ และด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันของมุสลิม ใบหน้าของชายผู้นั้นเศร้าหมองแต่ สงบนิ่ง ข้างๆ ปรากฏหลุมศพซึ่ง ปกคลุมไปด้วยหญ้าใหม่ เขียวขจีสด สวย ท่ า มกลางความสงบเงี ย บ ชาย-หญิงสูงอายุสองคนก็ก�ำลังก้ม

หน้าก้มตา “ขุด” หลุมศพนั้นด้วย เสียมในมือ และ “ตกแต่ง” ด้วยพืช สวยงามนานาพั น ธุ ์ ที่ เ ตรี ย มมาไว้ อย่างพร้อมสรรพ ใบหน้าของคนทั้ง คู่เศร้าหมองเกินกว่าจะเป็นคนงาน ทั่วไป หยดน�้ำเล็กๆไหลลงมาจาก ใบหน้าสู่ดิน น่าเสียดายที่พวกเรา มองไม่ชัดนัก มันอาจจะเป็นหยาด เหงื่อ หยดน�้ำตา หรือทั้งสองอย่าง

“เป็นภรรยาครับ” เมื่อได้ยิน ค� ำ ตอบจากชายหนุ ่ ม ในชุ ด ปากี ความเงี ย บแบบฉั บ พลั น ก็ ต ามมา ความตายเป็นสิง่ ทีห่ า้ มไม่ได้ และมัก จะฝากคราบน�้ำตาไว้ให้กับผู้ที่ยังอยู่ เสมอ หลักฐานชิ้นโตก็คือดวงตาที่ แดงก�่ำแต่ยังคงสงบนิ่ง | 33


“คนพุ ท ธเค้ า เรี ย กหมดบุ ญ แต่ถ้าเป็นศาสนาผมนี่ เหมือนว่า พระเจ้าเรียกตัวไป เพราะคนที่เพิ่ง เปลี่ ย นมานั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม เหมือนผ้าขาวเพิ่งเกิด” ฮาซันบอก กับเรา และเมื่อเราถามถึงชาย-หญิง สองคนที่ก�ำลังบรรจงตกแต่งหลุม ศพของหญิงสาวก็ได้รับค�ำตอบจาก

“เราเกิดมาบนโลกนี้เป็นเพียงแค่ ทางผ่าน สักวันก็ต้องจากโลกนี้ไป บรรพชนสร้างสิง่ ทีด่ ไี ว้ให้เราสานต่อ ไป…” ชัว่ เวลาสัน้ ๆ ของเช้าวันนี้ เรา พานพบหนึง่ หลักฐานยืนยันว่าความ แตกต่ า งทางศาสนาหาได้ เ ป็ น อุปสรรคต่อมิตรภาพและความรัก รวมถึ ง มิ ไ ด้ แ บ่ ง แยกความเป็ น

คนพุ ทธเค้าเรียกหมดบุ ญ แต่ถ้าเป็นศาสนาผมนี่ เหมือนว่าพระเจ้าเรียกตัวไป เพราะคนทีเ่ พิง่ เปลีย่ นมานับถือศาสนาอิสลาม เหมือนผ้าขาวเพิง่ เกิด

ฮาซันว่า เขาเหล่านัน้ เป็นพ่อและแม่ ของเธอซึ่ ง ตามหลั ก อิ ส ลามแล้ ว จะต้องเป็นผู้ฝังศพเธอด้วยตนเอง ความรั ก ข้ า มศาสนาไม่ ไ ด้ เ ป็ น อุปสรรคต่อเขาและเธอ เช่นกันกับ พ่อและแม่ของหญิงสาวที่ยังคงรัก ลูก และยอมรับการตัดสินใจของลูก แม้ในวันทีล่ กู จากโลกนีไ้ ปตลอดกาล

34 |

ความตาย หรือความหวนไห้ของ ผู้คน วิถีชีวิตที่แตกต่าง หาได้ท�ำให้ ความรักและความรู้สึกภายในหัวใจ แตกร้าวแต่อย่างใด ภาพคนสองศาสนา ร่ ว ม ไว้อาลัยแด่ผู้หญิงหนึ่งคนที่ตนรัก ขั บ ภาพมั ส ยิ ด และกุ โ บร์ ใ ห้ ง าม จับตา


| ป้ายบนหลุมศพภายในกุโบร์

| 35


36 |


ยามบ่าย

คริสตจักรแสงสว่าง |

ยามบ่าย... ภาพวาดแม่ น�้ ำ จอร์ แ ดนจาก พระคัมภีร์ไบเบิลงดงามราวภาพจริง แสงแดดยามบ่ายที่ทอแสงสาดส่อง กระทบไม้กางเขนใหญ่สนี ำ�้ ตาลเป็นริว้ ทองประกาย จิตใจทีว่ า้ วุน่ จากอากาศ ร้อนเบือ้ งนอกพลันสงบ... เมือ่ ก้าวเข้า มาในห้องประชุมของ "คริสตจักรแสง สว่าง" "ชุมชนสี่แยกบ้านแขกแห่งนี้มี สมญานามว่าชุมชนเจ็ดศาสนา คือ คริสเตียนทีเ่ รานัง่ อยูต่ รงนี้ ข้างๆ กันก็

คือพุทธสมาคมปทุมรังษีหรือพุทธจีน ที่เราเดินผ่านมาก็มีวัดบางไส้ไก่หรือ พุทธลาว ถัดมาก็คอื มัสยิดของอิสลาม ข้ามไปฝั่งตรงข้ามก็มีฮินดู ซิกข์ แล้วก็ ยังมีโบสถ์ซางตาครู้สของคาทอลิกที่ อยู่ร่วมกันอย่างสันติ” เจ้าหน้าที่ประ จ�ำคริสตจักรแสงสว่างเล่าให้เราฟัง พร้ อ มรอยยิ้ ม กิ จ กรรมของที่ นี่ มี มากมาย ล้ ว นแต่ เ น้ น กิ จ กรรมเพื่ อ สังคม สร้างความรักและความสามัคคี ให้เกิดขึ้นระหว่างชาวบ้านในชุมชน | 37


บุญชัย โชคดีภูษิต |

ที่เราตัง้ ชื่ อคริสตจักรว่าแส เชื่ อว่าพระเจ้าคือแสงสว่า ต้องเป็นความสว่างให้แก่ท

38 |


สงสว่าง...เพราะคริสเตียน างของชี วิต และเราทุกคน ทุกคนบนโลกนี ้

“คริ ส เตี ย นไม่ เ รี ย กว่ า เปลี่ ย น ศาสนา เรียกว่าเปลี่ยนชีวิต” ท่ามกลาง เสียงแอร์ทคี่ รางเบาๆภายในห้องกระจกที่ เ ย็ น ฉ�่ ำ นั่ น คื อ น�้ ำ เ สี ย ง อ ่ อ น โ ย น ช้าแต่ชัดถ้อยชัดค�ำของพี่บุญชัย โชคดีภูษิต ชายร่างท้วมอายุห้าสิบปี ก�ำลังเล่า ให้ เ ราฟั ง ถึ ง การตั ด สิ น ใจเปลี่ ย นจาก ศาสนาพุทธทีเ่ คยนับถือมาตลอดกว่าสีส่ บิ ปีและถือก�ำเนิดใหม่ในศาสนาคริสต์นกิ าย แบ๊ บ ติ ส ต์ ผ่ า นพิ ธี บั พ ติ ศ มาหรื อ พิ ธี ประกาศตนว่ า จะรั บ เชื่ อ พระเยซู โดยพิ ธี ดั ง กล่ า วเป็ น พิ ธี รั บ “ผู ้ ที่ เ พิ่ ง รั บ เชื่ อ ”ให้ เ ข้ า มาเป็ น สมาชิ ก ใหม่ ข อง คริ ส ตจั ก ร ซึ่ ง ปั จ จุ บั น พิ ธี ดั ง กล่ า วมี วิ ธี ปฏิบตั แิ ตกต่างกันไป แต่หลักๆ แล้วมักจะ ใช้ “น�้ำ” เป็นสัญลักษณ์แทนการก�ำเนิด ใหม่ ส� ำ หรั บ พิ ธี บั พ ติ ศ มาภายใน คริสตจักรแสงสว่างนัน้ กล่าวได้วา่ ค่อนข้าง ยิ่งใหญ่และโอ่อ่า โดยมีภาพของแม่น�้ำ จอร์ แ ดนอั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องชาวคริ ส ต์ สวยงามอยูเ่ ป็นพืน้ หลัง และมีบอ่ น�ำ้ ขนาด ใหญ่ให้ผู้เข้ารับเชื่อเดินลงไปมิดศีรษะ และในวิ น าที ที่ ศี ร ษะพ้ น จากน�้ ำ พี่บุญชัยก็ได้ถือก�ำเนิดใหม่อีกครั้งในอ้อม กอดของพระเจ้าและครอบครัว พี่บุญชัยไม่ใช่คนที่มีถิ่นก�ำเนิดใน บางไส้ไก่ แต่ถึงกระนั้นก็มีความผูกพันใน ชุมชนนี้เนื่องจากได้มาท�ำพิธีดังกล่าวที่ค ริ ส ต จั ก ร แ ส ง ส ว ่ า ง เ มื่ อ เ ร า ถ า ม พี่บุญชัยถึงความเห็นต่อชุมชนแห่งนี้ พี่ บุ ญ ชั ย ตอบยิ้ ม ๆ ว่ า ได้ ยิ น ผู ้ ค นพู ด กั น บ่อยๆถึงความหลากหลายทางศาสนาของ

ชุมชนแห่งนี้ ซึง่ ถึงตนจะไม่ได้สนิทกับใคร มากเป็นพิเศษแต่ก็รู้สึกได้ว่าเป็นชุมชนที่ พึ่งพาอยู่ด้วยกันได้และถ้าว่ากันตามหลัก ของคริสเตียนแล้ว คนทุกคนก็คือเพื่อน มนุษย์เหมือนกัน การละจากศาสนาหนึ่ง สู่อีกศาสนาหนึ่งหาใช่การสร้างความร้าว ฉานหรือหมดความนับถือในศาสนาเดิม เพียงแต่ความเชื่อที่ตอบสนองการใช้ชีวิต นั้นเปลี่ยนไป แต่พี่บุญชัยยังคงอยูร่ ว่ มกับ คนพุทธอย่างให้เกียรติ "เราไปงานศพ เราก็ ไม่จดุ ธูป แต่เคารพศพเหมือนญาติผใู้ หญ่ ตอนพระสวดเราก็จะสวดหรืออธิษฐานใน ทางของคริสเตียน" พี่บุญชัยตอบเมื่อเรา ถามถึงความสัมพันธ์กับชุมชนในแง่ต่างๆ นอกจากนี้ ชาวคริสต์กย็ งั มีกจิ กรรมต่างๆ ของทางคริสตจักรออกสู่ชุมชนเช่นกัน เช่ น การเปิ ด สอนเด็ ก ๆระดั บ ชั้ น ก่ อ น อนุบาล และกิจกรรมแจกไข่อีสเตอร์ สงครามระหว่างศาสนาที่ยังปะทุ อยู่ ทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ยังไม่มี วิธีแก้ไขที่ชัดเจน แต่ที่แน่ๆ เราอาจจะ ต้องกลับมาทบทวนกันใหม่ถึงประโยค คลาสสิก ทีม่ คี นกล่าวไว้ “กระบีไ่ ม่ผดิ ผิด ที่ผู้ใช้" ใช่. . . ศาสนาไม่ผดิ . . . ผิดทีผ่ คู้ น ที่ เ ราตั้ ง ชื่ อ คริ ส ตจั ก รว่ า "แสง สว่าง"... เพราะคริสเตียนเชื่อว่าพระเจ้า คือแสงสว่างของชีวิต และเราทุกคนต้อง เป็นความสว่างให้แก่ทุกคนบนโลกนี้

| 39


40 |


ยามเย็น

ตัง้ ต้นทีแ่ ก้วเปล่าธรรมกา ตักนมข้นหวาน เติม น� ำ้ ตาลทรายขาว ริ น นมจื ด ลงไปนิ ด หน่ อ ย กรองชาซี ลอนผ่านถุงชงแบบโบราณ ปิ ดท้าย ด้วยนมวัวสดจากฟาร์ม เพียงเท่านีช้ าซี ลอน อันเลือ่ งชื่ อของร้าน “ไทยกาแฟ” ร้านเก่าแก่ ประจ�ำชุ มชนสีแ่ ยกบ้านแขกก็พร้อมเสิร์ฟทีโ่ ต๊ะ

ยามเย็น...

ร้านไทยกาแฟ |

การเยี่ยมชมชุมชนครั้งแรกสิ้น สุดลงที่เวลาเกือบห้าโมงเย็น ฉันกับ ช่างภาพตัดสินใจที่จะเดินเตร่กลับไป อีกครั้ง เราเดินย้อนสู่ชุมชนบางไส้ไก่ ตามเส้นทางเดิมที่เดินยามเช้า ลัด เ ล า ะ ผ ่ า น ม า ต า ม ชุ ม ช ม มั ส ยิ ด บ้านสมเด็จ ก่อนกลิ่นหอมของชาจะ ลอยเข้ามาเตะจมูก สองเท้าพาเรา มาหยุดอยูท่ ี่ “ไทยกาแฟ” ร้านเก่าแก่ และโด่งดังประจ�ำย่านนี้ ตั้ ง ต้ น ที่ แ ก้ ว เปล่ า ธรรมดา สามัญ ตักนมข้นหวาน เติมน�้ำตาล ทรายขาว รินนมจืดลงไปนิดหน่อย กรองชาซีลอนผ่านถุงชงแบบโบราณ

และปิดท้ายด้วยนมวัวสดจากฟาร์ม เพียงเท่านี้ชาซีลอนอันเลื่องชื่อของ ร้าน “ไทยกาแฟ” - - ร้านเก่าแก่ ประจ�ำชุมชนสี่แยกบ้านแขกก็พร้อม เสิรฟ์ ทีโ่ ต๊ะ กรรมวิธกี ารชงกาแฟอย่าง คล่องแคล่วของ “บังอิมรอน” อาจ ดูไม่ต่างจากร้านกาแฟโบราณอื่นๆ ที่ พบเห็นได้ทั่วไป แต่เมื่อสูดกลิ่นหอม หวานจากชาน�ำเข้าและจิบดูสกั หน่อย ก็จะพบว่าชานมของที่นี่พิเศษกว่าชา ไหนๆ ที่เคยชิมมาสมกับที่เป็นเครื่อง ดื่มขึ้นชื่อของร้านกาแฟที่อยู่คู่ชุมชน อันหลากหลายมาเนิ่นนาน | 41


ร้านกาแฟแห่งนีอ้ อกจะพิเศษ กว่าร้านกาแฟทั่วไปตรงที่บังไม่ได้ ตืน่ มาตัง้ หม้อน�ำ้ ร้อนแข่งกับเสียงไก่ ขันตั้งแต่พระอาทิตย์ยังไม่พ้นขอบ ฟ้า ทว่าบังมาเปิดร้านเอาเก้าโมงเช้า ซึ่งเป็นเวลาที่นักเรียนเข้าโรงเรียน กันไปหมดแล้ว ก่อนเปิดร้านลาก ยาวไปถึงสามทุ่ม ทั้งนี้ก็เพื่อเปิดรับ เ พื่ อ น มุ ส ลิ ม ม า นั่ ง ดื่ ม กิ น ห ลั ง พระอาทิ ต ย์ ต กดิ น ในช่ ว งเดื อ น รอมฎอน แต่ร้านไทยกาแฟก็มิใช่ ร้านเพื่อชาวอิสลามเพียงกลุ่มเดียว เพราะด้วยความที่ชุมชนสี่แยกบ้าน แขกมี ทั้ ง คนลาว มอญและมลายู อาศั ย อยู ่ ร ่ ว มกั น ระหว่ า งนั่ ง สังเกตการณ์ที่ร้านไทยกาแฟเราจึง

ท� ำ เลทองที่ สั ง เกตเห็ น ง่ า ยและ สะดวกต่อการแวะเวียนมานั่งที่ร้าน ใครๆ ก็ชอบมานั่งจิบชากาแฟและ เปิดสภากาแฟกันที่นี่ รวมไปถึงนาย ควง อภัยวงศ์อดีตนายกรัฐมนตรี ของประเทศไทย ที่ ทั้ ง บั ง อิ มรอน และขาประจ� ำ ของร้ า นไทยกาแฟ ยืนยันตรงกันว่า “บังแช” เจ้าของ ร้านไทยกาแฟคนแรกนั้นสนิทกับ อ ดี ต น า ย ก ค น นี้ ม า ก ที เ ดี ย ว กระทั่งเวลาผ่านไป ความเจริญของ เมืองกรุงขยายมาถึงฝั่งธน ถนนสาย ใหม่ก็ตัดทับที่ตั้งเดิมของร้านไทย กาแฟ “บังใหญ่” พ่อของบังอิมรอน จึงย้ายร้านมาอยูใ่ นซอยเล็กๆ ทีแ่ ยก ออกมาจากถนนอิสรภาพ และมีรา้ น

แล้วจะได้ชารสนุม่ ออกสีนำ�้ ตาลอ่อน ไม่เป็นสีสม้ เข้มแบบชาไทย ชาซีลอน เริ่มปลูกมาตั้งแต่สมัยที่อินเดียและ ศรีลังกาเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ดังนั้น แต่เดิมเราจะหาชาซีลอนดื่ม ในประเทศไทยได้ไม่ง่ายนัก เพราะ หากร้านกาแฟร้านไหนอยากจะชง ชาซีลอน ก็ต้องน�ำเข้าใบชาจากต่าง ประเทศ แต่ปัจจุบันมีบริษัทน�ำเข้า ใบชาจากศรีลงั กามากขึน้ แม้กระนัน้ ชาซีลอนของบังก็ยังมีกลิ่นหอมและ รสชาติ ที่ พิ เ ศษไปกว่ า ชาซี ล อนที่ อื่นๆ ที่เคยได้ชิม บังพิถีพิถันกับทุก ขั้นตอนที่ชงชา นับตั้งแต่ การเก็บ รักษาใบชาจากศรีลังกาที่บรรจุใน หีบห่อไม่ให้ความชื้นเล็ดรอดเข้าไป

บังจ�ำขาประจ�ำได้ทุกคนว่าใครชอบหวานมากหรือ หวานน้อย คนนีช้ อบรสเข้มหรือรสอ่อน ความใส่ใจใน ลูกค้าของบังจึงเริม่ ต้นตัง้ แต่วินาทีทตี่ ักนมข้นหวาน มีโอกาสได้เห็นคนต่างเชื้อชาติต่าง ศาสนาแวะเวี ย นมาดื่ ม ชาซี ล อน ของบังอิมรอนไม่ขาดสาย อาจเป็น เพราะร้านไทยกาแฟเป็นร้านเก่าแก่ กว่าเจ็ดสิบปีทใี่ ครๆ ในย่านนัน้ ก็รจู้ กั บังอิมรอน (ธวัชชัย ดลขุมทรัพย์) ผู้สืบทอดร้านนี้มาเป็นรุ่นที่สามแล้ว บังเล่าว่าเหตุที่ใช้ชื่อร้านว่า “ไทย กาแฟ” ก็เพราะร้านนี้ตั้งขึ้นในสมัย จอมพลแปลก พิบูลสงครามเจ้าของ ค�ำขวัญ “ไทยท�ำ ไทยใช้ ไทยเจริญ” ในยุคสมัยทีอ่ ะไรๆ ก็ตอ้ งไทยไว้กอ่ น ปู่ของบังจึงตั้งชื่อร้านว่าไทยกาแฟ แต่เดิมร้านตั้งอยู่ติดถนนใหญ่ตรง สี่แยกบ้านแขก นับว่าร้านตั้งอยู่บน 42 |

ข้าวของญาติมาเปิดร่วมด้วย ร้าน ไทยกาแฟ ณ ทีต่ งั้ ใหม่จงึ ขายทัง้ ของ หวานและของคาว พอย้ายร้านมา แล้วลูกค้าก็ยังตามกันมานั่งจิบชา กาแฟที่ร้านเก่าแก่แห่งนี้เหมือนเคย เมื่อลองถามขาประจ�ำของร้านว่า ท� ำ ไมจึ ง ชอบมานั่ ง รวมตั ว กั น ที่ นี่ นายธนาคารเกษียณอายุก็ยิ้มกว้าง พร้อมยกชาขึ้นจิบ ก่อนจะบอกว่า ชานมที่ นี่ อร่ อยไม่ เหมื อนใคร ชา ซีลอนอันเลือ่ งชือ่ ของร้านท�ำมาจาก ชาทีป่ ลูกในประเทศศรีลงั กา ชาชนิด นี้ถือเป็นชาเกรดเอและมีชื่อเสียง ระดับโลก กลิ่นหอมและรสชาติของ ชาเป็นเอกลักษณ์ เมือ่ น�ำมาชงชานม

ท�ำให้ใบชาจับตัวกันเป็นก้อนได้ พอ เช้ามาบังก็ตั้งน�้ำร้อนชงชา การเทน�้ำ ชาผ่านถุงชงแบบโบราณนับเป็นหัวใจ ส�ำคัญของชากาแฟโบราณ ใครๆ ก็ ตืน่ ตาตืน่ ใจกับท่วงท่าเทน�ำ้ ชาผ่านถุง ชงกลั บ ไปกลั บ มา บางคนก็ มี ลี ล า พิสดารยิ่งกว่าบาร์เทนเดอร์ในบาร์เ หล้า แต่บังเพียงเทชาผ่านถุงชงไป ด้วยท่าทางง่ายๆ เพราะการกรองน�้ำ ชาไม่ใช่เพียงการแสดงสวยๆ ให้เรา ตื่นตาตื่นใจเล่น แต่เป็นการขับกลิ่น และรสของชาออกมาให้เข้มก�ำลังดี ยิ่งกรองมากครั้งรสชาก็จะยิ่งเข้มข้น บังบอกว่าต้องกรองอย่างน้อยสาม ครั้งจึงจะใช้ได้


ลูกค้าร้านไทยกาแฟ |

| 43


เคล็ดลับวิธีการชงชาของบังอิมรอนคือความเอาใจใส่ | อุปกรณ์ วัตถุดิบ ชงชาและกาแฟของร้าน |

44 |


ไม่ ใ ช่ เ พี ย งการชงชาที่ ต ้ อ ง ใส่ใจ แม้แต่นมสดก็มีรายละเอียด เล็กๆ น้อยๆ ที่ท�ำให้ชานมหนึ่งแก้ว อร่อยขึน้ บังไม่ใช้นมพาสเจอไรซ์แต่ เลือกใช้นมสดจากฟาร์ม หลังจาก เตรียมชาเสร็จ บังก็ตงั้ เตาถ่านกรุน่ ๆ และต้มนมสดจนมีไขมันลอยขึ้นมา อยู่ที่ผิวนม บังยังใช้เตาถ่านที่บังคุ้น เคยมากกว่ า เตาแก๊ ส เพราะใช้ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ข องนมให้ อุ ่ น ได้ ก�ำลังดีกว่า เวลาชงกาแฟบังจะตัก นมสดทีต่ งั้ อุน่ อยูบ่ นเตาและช้อนเอา ไขมันไปด้วยเล็กน้อย เวลาดื่มจะ รู้สึกได้ถึงไขมันหยุ่นๆ และรสชาติ ห อ ม มั น ก ว ่ า ช า ก า แ ฟ ทั่ ว ไ ป เครื่องดื่มของร้านไทยกาแฟ จึงไม่ได้อร่อยแค่ชาซีลอนอันเลือ่ งชือ่ แต่กาแฟ โกโก้ หรือนมสดเปล่าๆ ก็ หวานหอมไม่แพ้กัน แม้แต่ชาจืดที่ เอาไว้กินคู่กับกาแฟ หรือ ชานมก็ หอมแปลกกว่าที่อื่น เพราะบังใช้ชา ซี ล อนผสมกั บ ใบเตย ท� ำ ให้ ไ ด้ ช า มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ที่ดื่มตามชานม หรือกาแฟรสเข้มได้อย่างเหมาะเจาะ ทว่า สิ่งส�ำคัญที่สุดที่กาแฟและ ชานมของร้านไทยกาแฟมัดใจลูกค้า

มาเนิ่นนานอาจไม่ใช่เพียงกรรมวิธี อันละเอียดอ่อนทุกขั้นตอนเท่านั้น แต่เป็นค�ำบอกเล่าถึงลูกค้าของบังที่ ว่า “แต่ละคนมีสูตรไม่เหมือนกัน” ทีแรกเรานึกว่าบังมีสตู รลับพิเศษ แต่ เคล็ดลับมีอยู่ง่ายๆ เพียงว่าบังจ�ำขา ประจ�ำได้ทุกคนว่าใครชอบหวาน มากหรือหวานน้อย คนนีช้ อบรสเข้ม หรือรสอ่อน ความใส่ใจในลูกค้าของ บังจึงเริ่มต้นตั้งแต่วินาทีที่ตักนมข้น หวานเรื่อยไปจนถึงการเทชาและ เติมนมสด สุวาพร ดลขุมทรัพย์ หรือ พี่วา ลูกสาวคนที่สองของบังผู้ลาออกจากงานประจ�ำมาช่วยท�ำงานที่ ร้านได้สองปีแล้ว เพือ่ เตรียมสืบทอด ร้านกาแฟในรุ่นที่ ๔ ต่อไป กระซิบ ว่าเคยคิดอยากเพิม่ เมนูนำ�้ ปัน่ เอาใจ วัยรุ่นมากขึ้น แต่บังไม่ยอม เพราะ ยังอยากคงความเป็นดัง้ เดิมของร้าน เอาไว้ ทว่า แม้บงั จะพูดอย่างนัน้ พอ มีลกู ค้ามาสัง่ เครือ่ งดืม่ นอกเมนู บังก็ ยิ น ดี ท� ำ ให้ ด ้ ว ยความตั้ ง ใจและ ใบหน้าเปื้อนยิ้ม

| 45


ร้ า นไทยกาแฟจึ ง เป็ น ร้ า น ของชุมชน เพราะการมานั่งร้าน กาแฟของบั ง ไม่ ใ ช่ แ ค่ ก ารมาดื่ ม กาแฟ แต่เป็นการมาพบปะผู้คน ลูกค้าของร้านไทยกาแฟมีตงั้ แต่เด็ก นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา กลุ ่ ม ช่ า ง กลุ่มผู้รับเหมาก่อสร้าง ไปจนถึง กลุม่ ข้าราชการเกษียณอายุ หลาย คนเป็ น คนที่ เ กิ ด และโตในชุ ม ชน กินกาแฟร้านนีม้ าตัง้ แต่เจ้าของร้าน 46 |

รุ่นแรก บางคนก็มานั่งท�ำการบ้าน บางคนก็มาคนเดียว แต่ก็ไม่ได้มา นั่งอย่างเปลี่ยวเหงาเพราะบังสนิท สนมกับขาประจ�ำทุกคนและโอภา ปราศรัยกับขาจรอย่างดี มิหน�ำซ�้ำ คนในชุมชนก็รู้จักคุ้นเคยกันหมด ใครเดินผ่านมาผ่านไปก็ร้องทักกัน อบอุ่น บังเล่าว่าเคยมีคนลงไม้ลงมือ กันในร้านเพราะการแบ่งสี จนบัง

ต้องห้ามคุยเรื่องการเมือง แต่ไม่ เคยมีใครมาทะเลาะกันเรือ่ งศาสนา แม้ ร ้ า นของบั ง จะมี ผ ้ า ปั ก ภาษา อาหรับเป็นพระนามของพระผูเ้ ป็น เจ้า สือ่ ความหมายว่าทีแ่ ห่งนีพ้ ร้อม ต้อนรับชาวอิสลาม และร้านจะมี ชาวอิสลามแน่นขนัดเป็นพิเศษใน วันศุกร์หลังผู้ชายไปละหมาดรวม กันที่มัสยิด แต่นั่นก็ไม่ได้ท�ำให้ชาว พุทธและคริสต์ห่างหายไปจากร้าน


บรรยากาศร้านไทยกาแฟ |

แต่อย่างใด วันไหนที่พุทธสมาคม ปทุมรังษีเปิดโรงเจ วันนัน้ ชาวพุทธ ในร้านจะมากเป็นพิเศษ ขณะทีท่ กุ วันอาทิตย์ เหล่าคริสตศาสนิกชนก็ แวะมาดืม่ ชากาแฟทีร่ า้ นของบังหลัง กลับจากโบสถ์เสมอ ในช่ ว งเดื อ นรอมฎอนที่ ผู ้ นั บ ถื อ อิ ส ลามจะถื อ ศี ล อดตั้ ง แต่ พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ลับ ขอบฟ้า ร้านไทยกาแฟซึ่งเปิดให้

บริการตั้งแต่เก้าโมงเช้าถึงสามทุ่ม อาจจะเงียบเหงากว่าปกติบ้างใน ช่วงกลางวัน ก่อนจะกลับมาคึกคัก เหมือนเดิมหลังพระอาทิตย์ตกดิน แต่ชว่ งกลางวันก็ยงั มีชาวพุทธและ ชาวคริสต์แวะเวียนมา บางครัง้ คน อิสลามก็มานั่งอ่านหนังสือพิมพ์ที่ ร้านแต่ไม่ได้สงั่ อะไรกิน ถ้าคนพุทธ นัง่ อยูใ่ กล้ๆ ก็จะยกอาหารหลบไม่ ให้เป็นการยั่วน�้ำลายกัน

เราจึงมองเห็นบรรยากาศ การอยูร่ ว่ มกันของคนหลากศาสนา ผ่านร้านกาแฟ การดูแลเอาใจใส่ และการให้เกียรติกันและกันของ คนในชุมชน ท�ำให้รา้ นไทยกาแฟมี บรรยากาศอบอุ่นเหมือนห้องนั่ง เล่นรวมของครอบครัวขนาดใหญ่ มากว่าเจ็ดสิบปี

| 47


18.00

48 |


ยามลา... พระอาทิตย์ทอแสงอ่อนแรง เต็ ม ที เมื่ อ ตอนที่ ภ าพตรงหน้ า ปรากฏ ภาพที่อาจจะยังไม่ใช่บท สรุปที่ดีที่สุดของค�ำถามที่ค้างคาใจ ในวันนี้ หรือบางที... บางค�ำถามเรา ก็ไม่ได้ต้องการค�ำตอบเสมอไป ฉันคิด ขณะทีท่ อดสายตามอง ภาพแม่คา้ สองร้านเบือ้ งหน้าทีห่ นั มา ส่งรอยยิ้มให้แก่กัน คนขายของรถ เข็นสองร้านติดกัน ที่เพียงกวาดตา มองก็ พ บความแตกต่ า ง คนหนึ่ ง เกล้าผม สวมเสือ้ ยืดสีฟา้ สด กางเกง ขาสัน้ ทะมัดทะแมง เตรียมขายส้มต�ำ อีกคนที่ยืนเคียงข้างคลุมผมด้วยผ้า สีด�ำเก็บปลายเรียบร้อย สวมเสื้อ แขนยาว-กางเกงขายาวตามหลัก ความเชือ่ ทางศาสนา ก�ำลังจดจ่ออยู่ กับการย่างไก่ เรามาเพือ่ เรียนรู.้ ..มิใช่มาเพือ่ ตัดสิน คนในชุมชนบางไส้ไก่บ้านสมเด็จและสี่แยกบ้านแขก |

มาเรียนรูช้ มุ ชนต้นแบบความ แตกต่ า งระหว่ า งศาสนาและ วัฒนธรรมที่อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มานานนับร้อยปี ชุมชนทีม่ อี ยูจ่ ริงใน ประเทศไทยในยุคที่ผู้คนบางกลุ่ม อ้างความแตกต่างเป็นเครื่องมือใน การท�ำร้ายกัน ชุมชนที่มิใช่สังคมใน อุดมคติ... ผู้คนในชุมชนยังคงยิ้มให้ แก่กัน มิตรภาพยังคงหยั่งรากลึก และงอกงามเสมอบนผื น แผ่ น ดิ น แห่งนี้… นึ ก ถึ ง ประโยคไพเราะของ คอเต็บแห่งมัสยิดนูรุ้ลมู่บีนที่ยังคง ก้องกังวานในใจ “แตกต่าง...แต่มอิ าจแตกแยก ถึงจะต่างศาสนา แต่เราคือพี-่ น้องกัน” พี่-น้อง...ไทย ๑๘.๐๐ นาฬิกา “ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อ ชาติเชื้อไทย...” | 49


50 |


พื้นที่จินตนาการ กัลยาณ์ | 51


52 |


ภาพชุมชนริมแม่น�้ำ มีประวัติความเป็นมายาวนาน บ้านหลายหลัง เรียงรายติดกัน ไม่มีรั้วกั้น แสดงถึงความเป็นชุมชนดั้งเดิม เป็นชุมชนที่มี การผสมผสานวัฒนธรรมอันหลากหลาย

ทั้งชาวพุทธมุสลิมเดินผ่านไปมา เดินไปไม่ไกลนัก พบโบสถ์วัด กัลยาณมิตรวรมหาวิหาร ภายในมีหลวงพ่อโตหรือซ�ำปอกง ศูนย์รวมจิตใจ ชาวจีน ถัดไปไม่กี่ซอย กลับพบกุฎีขาว มัสยิดรูปทรงสถาปัตยกรรมไทย

ใครผ่านไปมา ไม่รู้เบื้องลึกเบื้องหลัง เผลอๆ อาจยกมือขึ้นไหว้ เป็น ความแตกต่างหลากหลายที่กลมกลืนกันภายในพื้นที่บริเวณนี้ ริมฝั่งขวา ของคลองบางกอกใหญ่ ชุมชนวัดกัลยาณ์...

หลากหลายอะไรบ้าง? เดี๋ยวได้รู้กัน...!

| 53


เริ่มจากผลักบานประตูกาลเวลา เข้าสู่ชุมชนกุฎี-ขาว ตั้งอยู่ระหว่างชุมชนวัดกัลยาณ์กับ ชุมชนโรงคราม ชุมชนชาวไทย-มุสลิมที่ตั้งถิ่นฐานมาราว ๒๕๐ ปี ไปพบกับมัสยิดบางหลวง วัด มุสลิมแต่มีเครื่องบนเป็นสถาปัตยกรรมไทย และวิถีชีวิตของชาวมุสลิมในชุมชนที่ทอดยาวจาก อดีตจวบจนปัจจุบัน พิสูจน์ให้เห็นว่า “กาลเวลามิอาจเปลี่ยนแปลงศรัทธา” ได้ ไม่ไกลจากมัสยิดบางหลวงนัก เราได้ยนิ เสียงกลองดังก้องจากหอกลองทีต่ งั้ อยูใ่ จกลางชุมชน เป็นสัญญาณบ่งบอกว่ามีผู้ได้ไปสู่จุดเริ่มต้นในการก้าวไปสู่ชีวิตที่แท้จริงและเป็นนิรันดร์อีกคน หนึ่งแล้ว สัมผัสพิธีศพในทรรศนะของชาวมุสลิม สะท้อนความใกล้ชิดระหว่างคนเป็นและคน ตายในชุมชนที่ “แม้สิ้นลมยังมีชีวิต” ต่อไปด้วย บ้านพาทยโกศล ในชุมชนวัดกัลยาณ์ บ้านที่เป็นแหล่งสอนและรวบรวมเครื่อง ดนตรีไทยของชุมชน ความเป็นมาของบ้านสืบสานต�ำนานดนตรีไทยสายฝัง่ ธนฯ ตัง้ แต่สมัยรัชกาล ที่ ๕ จวบจนทุกวันนี้ “กว่า ๑๐๐ ปีที่มีเสียงดนตรีไทยดังไม่ขาดสาย” ตามด้วยเรื่องราวของช่างท�ำบายศรีพื้นบ้าน และคนท�ำไตปลาทูดอง ซ่อนตัวอยู่ในตรอก เล็กๆ ในชุมชนวัดกัลยาณ์ เรียนรู้วิถีการลอกเรียนแบบ “ใบตองประดิษฐ์ชีวิต” และ “สาส์นส�ำคัญจากไตปลาดอง” ปิดท้ายด้วยความสัมพันธ์ระหว่างคนกับปลา กับสมาชิกเพียงหนึ่งเดียวของชุมชนปลาเข็ม หม้อ วัดกัลยาณ์ การละเล่นพื้นบ้านของเด็กฝั่งธนฯ ที่นับวันจะหาคนรู้จักยากขึ้นไปทุกที... 54 |


๕๖

๖๐

๖๔

๗๔

๗๘

๘๔

| 55


เวลามิอาจเปลีย ่ นแปลง เรื่อง ชัชวาล สุวรรณสวัสดิ์ ภาพ นราธิป เผือกผ่องใส

| บรรยากาศเบื้องหน้าลานเอนกประสงค์ ของมัสยิดกุฎีขาว

56 |


ระตูแห่งกาลเวลา เป็นอนึ่งของขวัญ พิเศษจากพระเจ้า ที่คอยเปิดต้อนรับ ให้เราได้เดินเข้าไปสู่เรื่องราวมากมายใน อดีต พวกมันถูกฝังตัวซ่อนอยู่ในสถานที่ หลากแห่ง และมีหนึ่งในบานนั้นได้เปิดอ้า รอคอยการถูกเล่าเรื่องราวอยู่ ประตู บ านนั้ น ถู ก สลั ก ชื่ อ เอาไว้ ว ่ า “ชุมชนกุฎีขาว” ผู ้ ใ ดที่ อ ยากสั ม ผั ส อยากมาซึ ม ซั บ ความเชื่อและความศรัทธาของชาวมุสลิม อั น ผ่ อ งใส ต� ำ แหน่ ง ของมั น ถู ก ซ่ อ นอยู ่ บริ เ วณฝั ่ ง ขวาปากคลองบางหลวง กรุงเทพมหานคร เพียงแค่เราหาประตูนใี้ ห้ เจอ แล้วจงผลักมันเข้าไป

อธิบายรายละเอียดความเป็นมาประตู กาลเวลาที่ชื่อว่า “ชุมชนกุฎีขาว”เราได้ ข้ามมันเข้าไปแล้ว และเหมือนจะท�ำงาน ได้ดีเสียด้วย ชุมชนกุฎีขาว หรือชุมชนมัสยิดบาง หลวง ถือว่าเป็นหนึ่งในชุมชนเก่าแก่ของ กรุงเทพมหานคร ชาวไทยมุสลิมกลุม่ ใหญ่ มารวมตั ว กั นอยู ่ บริ เ วณปากคลองบาง หลวงในช่วงเวลา ๒๓๐ ปีที่แล้ว โดย ชุมชนมุสลิมที่นี่ได้ก่อร่างสร้างชุมชนมา พร้อมๆ กับการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ มี บรรพบุรุษของชาวชุมชนเป็นแขกจาม (ชาวมุสลิมจากอาณาจักรจามปาในเขมร ที่เข้ามาเป็นกองอาสาจาม) และแขกแพ

เมื่อผ่านทางเดินที่แคบจนมาสุดทาง เราทุกคนต่างหยุด แหงนมองสถาปัตยกรรมไทยหลังคาสีเขียว ที่ต้งั ตระหง่านอยู่บนเวิ้งเบื้องหน้า... จากทางเดินบนถนนสายหลักของ ถนนอิสรภาพ เมื่อเดินถัดมาริมคลอง บางหลวงจากถนนในซอยบุปผาราม เรา จะพบกับชุมชนหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเป็น ตรอกซอกซอยสลับซับซ้อน การปลูก บ้านไม่เป็นระเบียบแบบแผน มีรอ่ งรอย การต่อเติมเสริมจากโครงสร้างไม้มาเป็น โครงสร้างของคอนกรีตโดยไม่ผ่านช่าง วิ ศ วกร อี ก ทั้ ง ชุ ม ชนยั ง ไม่ มี เ ส้ น ทาง สัญจรรถยนต์ จะเข้าถึงได้กแ็ ค่เพียงการ เดินเท้าและจักรยาน (ยนต์) เท่านั้น เมื่อผ่านทางเดินที่แคบจนมาสุด ทาง เราทุ ก คนต่ า งหยุ ด แหงนมอง สถาปัตยกรรมไทยหลังคาสีเขียวที่ตั้ง ตระหง่ า นอยู ่ บ นเวิ้ ง เบื้ อ งหน้ า เสี ย ง วิทยากรได้กล่าวขึ้นว่า ถึงแล้วครับ ชุมชนมัสยิดกุฎีขาว วิทยากรผายมือไปที่มัสยิด แล้วจึงเริ่ม

(ปลูกแพอยู่) ที่อพยพมาจากอยุธยาเมื่อ คราวกรุงแตก ครั้ น เมื่ อ ตั้ ง ถิ่ น ฐานฝั ง รกรากเป็ น ชุ ม ชน ก็ ย ่ อ มต้ อ งมี ส ถานที่ ป ระชุ ม ท� ำ ศาสนกิจเป็นศูนย์รวมจิตใจ สถานที่นั้นก็ คือมัสยิดหลังคาสีเขียว ที่ถูกออกแบบใน ลักษณะอุโบสถทรงไทย ก่ออิฐถือปูนทั้ง หลัง มีหน้าบันประดับด้วยปูนปั้นลาย ศิลปะ ๓ ชาติ ได้แก่ ศิลปะไทย ฝรั่ง และ จีน กลายเป็นเรื่องตลกว่า เมื่อชาวพุทธ ทั่วไปได้มาเห็นมักต่างยกมือขึ้นไหว้กัน ตามๆ กัน โดยคิดว่าเป็นวัดพุทธ มัสยิดบางหลวงถูกสร้างขึ้นในช่วง รัชกาลที่ ๑ ซึ่งครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒ ผู้ก่อตั้งมัสยิดบางหลวง คือ โต๊ะหยี ผู้เป็นคหบดีและเป็นพ่อค้า ใหญ่ ท�ำการค้าขายติดต่อกับประเทศจีน และอิ น เดี ย เรี ย กได้ ว ่ า เป็ น ผู ้ มั่ ง คั่ ง ที่ | 57


ศรัทธาศาสนาในเวลานั้น “ปีนี้อายุ ๖๑ ปี ภูมิทัศน์รอบๆ ก็เปลื่ยนไปเยอะ บ้านโบราณกลาย เป็นตึกสูง แต่ก่อนมีการเลี้ยงแกะ เลี้ยงแพะ เดี๋ยวนี้ไม่มีอีกแล้ว มัสยิด ก็มีการเปลื่ยนแปลง แต่ก่อนหลังคา สีขาว เดี๋ยวนี้หลังคาสีเขียว” โต๊ ะ อิ ห ม่ า มรอมฎอน ท้ ว ม สากล ผู้เป็นโต๊ะอิหม่ามคนปัจจุบัน ของมัสยิดแห่งนี้เริ่มพาเราเดินย้อน เวลาไปในอดีต หลังจากที่ท่านเพิ่ง เป็ น คนน� ำ ละหมาดให้ ช าวชุ ม ชน เสร็จเรียบร้อย “เจริญไปตามกาลเวลา วิถชี วี ติ ทีน่ แี่ ต่กอ่ น หาปลา พายเรือซือ้ ผลไม้ แม้ แ ต่ คุ ณ แม่ คุ ณ พ่ อ ผม เช้ า มาก็ ทอดแหที่ท่าเตียน พี่ชายผมพายเรือ ไปซื้อผลไม้ปากคลอง” ภาพวิ ถี ก ารใช้ ชี วิ ต ของชาว ชุ ม ชนในอดี ต ที่ เ ติ บ โตท่ า มกลาง สายน�้ ำ เริ่ ม ถู ก วาดใส่ ก ระดาษใน จิ น ตนาการของเราอย่ า งสวยงาม ภาพอาจจะคล้ า ยภาพถ่ า ยใน อินเทอร์เน็ตบ้าง แต่ก็คงไม่เหมือน ได้ยินจากปากคนที่เคยเห็นผ่านมา กับตา “ผมมี ลู ก สาว ๓ คน ก็ จ บ ปริญญา ตอนนี้ท�ำงานธนาคาร ไม่มี ใครอยากใช้ชีวิตดั้งเดิมหรอก ไม่มี ใครจบปริญญาไปทอดแหหาปลา ใช่ ไหมล่ะ ก็มแี ต่นกึ สนุกบางวันมาทอด แหกั น ย้ อ นวั ย ในอดี ต แต่ ก ารท� ำ ของกินบางอย่างก็ยงั อนุรกั ษ์เอาไว้” อิหม่ามได้เริ่มเล่าเรื่องถึงคนยุคสมัย นี้ พลางหยิบม้วนบุหรี่จุดสูบอย่าง ผ่อนคลาย เด็กปัจจุบันไม่อาจจะใช้ ชีวิตในแบบเดิมในอดีตได้ ผู้คนต่าง 58 |

พัฒนาไปตามยุคสมัยและเจริญใน วัตถุ ก็มีแต่คนแก่ที่จะมีห้วงความ รู้สึกพินิจค�ำนึงถึงอดีต “เราต้องตามโลกให้ทนั แต่ตอ้ ง ระมัดระวังด้วย เพราะหลักการทาง ศาสนาของเราไม่อาจเปลืย่ นแปลงได้ ตามคั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อาน ไม่ อ าจจะ สังคายนาใหม่ได้ เป็นเวลา ๑๕๐๐ ปี แล้ว” การจุดประเด็นทางศาสนาขึ้น มาของอิหม่าม ท�ำให้เราได้รู้สึกถึง เส้นเวลาในอดีตที่ก�ำลังด�ำเนินอยู่ หยุดไปซะดือ้ ๆ อิหม่ามยังกล่าวเสริม ต่อไปว่า “จริงๆ ความเชื่อถือ ความ ศรัทธา เปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ขี นึ้ อดีตมีคนมาละหมาดน้อย ในปัจจุบนั มีคนมาละหมาดเยอะกว่า คือเดีย๋ วนี้ กลัวบาปกันเยอะขึ้น กลัวตายกัน” ชาวชุ ม ชนที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม ต้องท�ำการละหมาดทุกๆ วัน โดย ชาวชุมชนยังต้องละหมาดวันละ ๕ เวลา (ย�่ำรุ่ง กลางวัน เย็น พลบค�่ำ และกลางคื น ) เพื่ อ ทราบในข้ อ บัญญัติและสิ่งที่ควรปฏิบัติในการ เป็นมุสลิมที่ดี จากที่ได้ลงพื้นที่ส�ำรวจ และ สังเกตผ่านสายตา ในมัสยิดกุฎีขาว เต็มไปด้วยชาวชุมชนจ�ำนวนนับสิบ ต่างตั้งใจท�ำการละหมาดด้วยความ ศรัทธา ชาวชุมชนที่เข้าร่วมพิธีมีทั้ง วัยรุ่นอายุรุ่นราวสิบต้นๆ คนชรา ผู้ หญิง ผู้ชาย รวมไปถึงเด็กน้อยตัว เล็กๆ ด้วย “เราไม่อยากเป็นหรอก เป็นมา ตั้งแต่ปี ๔๐ ตอนนี้ก็เป็นเวลา ๑๘ ปี แล้ว ใครบอกว่าเป็นแล้วเท่ ไม่ใช่ มัน ต้องรับภาระคนทัง้ ชุมชน นีม่ นั ความ

รับผิดชอบล้วนๆ” “โต๊ะอิหม่าม” หมายถึง ผูน้ ำ � ที่ มีหน้าทีส่ อนและปฏิบตั กิ ารละหมาด แก่สัปบุรุษเพื่อมุ่งศรัทธาต่ออัลลอฮ์ และนบีมฮุ มั มัด เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละมี คุณธรรม ผูท้ ขี่ บั เคลือ่ นชุมชนกุฎขี าว ขึ้นอยู่กับบุคคลท่านนี้ โดยการเป็น โต๊ะอิหม่ามในชุมชนนีไ้ ด้นนั้ เกิดจาก การคัดเลือกเด็กอายุ ๑๘ ปีขนึ้ ไป มา ท�ำการเสนอชื่อเลือกตั้ง “เราอยู่เฉยๆไม่ได้ บางอย่าง ต้องปรับปรุงแก้ไขให้ดขี นึ้ อย่างน้อย เมือ่ ๔๐ กว่าปีกอ่ น มีคนมาละหมาด สามสี่ ค น เดี๋ ย วนี้ เ ยอะ มี ค นมา ละหมาดเป็นสิบๆ” สายตาที่มุ่งมั่น แววตาที่สุกใส


ความเปลื่ยนแปลง ตามห้วงเวลา มิอาจจะทำ�ลาย ความศรัทธาได้...

| ทางเดินที่เชื่อมต่อบ้านแต่ละหลังใน ชุมชน เต็มเปี่ยมไปด้วยบรรยากาศแบบ ดั้งเดิมในอดีต

ท� ำ ให้ รู ้ สึ ก ถึ ง ความศรั ท ธาของ อิหม่ามรอมฎอน ที่จะตั้งใจเผย แพร่หลักค�ำสอนของพระผูเ้ ป็นเจ้า ต่อไป ตราบเวลาที่ด�ำเนินอยู่จาก คนรุน่ หลังแด่เด็กรุน่ ใหม่ในอนาคต อิหม่ามยังกล่าวเรื่องอนาคตด้วย ว่ า ถึ ง แม้ จ ะมี ก ารพั ฒ นาความ เจริญของเมืองเพียงใด เราก็ต้อง ก้าวตามไปให้ทัน ความสะดวก สบายเช่ น รถไฟฟ้ า ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ล้วนเป็นความสุขที่พระเจ้าล้วน ประทานมาให้ผู้ศรัทธาได้สะดวก ในการศึกษาพระธรรมค�ำสั่งสอน ได้อย่างดียิ่งขึ้น

ที่สุดประตูแห่งเวลาบานนี้ก็ได้ ปิดตัวลง ส�ำหรับผู้ที่ได้มาเยือนใน ช่วงเวลาสั้นๆ อย่างเรา แต่ประตู บานนีจ้ ะยังคงคอยเปิดอ้ารับสิง่ ทีจ่ ะ เกิ ด ขึ้ น ในอนาคตพร้ อ มกั บ การ พัฒนาต่อไป เหนือสิง่ อืน่ ใดของเวลา ทั้งหมดของชุมชนนี้ คือเรื่องความ ศรัทธาของศาสนาอิสลามที่มีอยู่มา ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งชุมชน ซึ่งจะไม่มีการ ถูกเปลื่ยนแปลงไปตามห้วงเวลา เพราะความเปลื่ยนแปลงตาม ห้ ว งเวลามิ อ าจจะท� ำ ลายความ ศรัทธาได้...

| 59


แม้สน ้ิ ลมยังมีชวี ต ิ ความใกล้ชิดคนเป็น-คนตาย เรื่อง นงนภัส ร่มสุขวนาสันต์ ภาพ วุฒิชัย เสือใหญ่

60 |

ชุมชนมัสยิดบางหลวง

| ป้ายหลุมศพแสดงถึง“ทุกชีวิตต้องลิ้มรสความตาย”


งก้อง จากหอกลองที่ตั้งอยูใจกลาง เป็นชุมชนแห่งนี้ เ สี ชุยมงกลองดั ชนมัสยิดบางหลวงเป็นสัญญาณบ่งบอกว่า “ถ้าตายจากโรงพยาบาลหมอจะวินิจฉัยมา มีผู้ได้ไปสู่จุดเริ่มต้นในการก้าวไปสู่ชีวิตที่แท้จริง และเป็นนิรันดร์อีกคนหนึ่งแล้ว ชุมชนมัสยิดบางหลวงหรือที่ชาวบ้านเรียก กันว่า “กุฎีขาว” ตั้งอยู่บริเวณฝั่งขวาของคลอง บางกอกใหญ่ระหว่างชุมชนวัดกัลยาณ์กับชุมชน โรงคราม เป็นชุมชนชาวไทย-มุสลิมทีต่ งั้ ถิน่ ฐานมา ราว ๒๕๐ ปี และแน่นอนว่าย่อมมีผู้เกิดและจาก ไปในแต่ละชั่วอายุคน ในทรรศนะของชาวมุสลิมมองว่า เมือ่ คนเรา ตายลงแล้ว วิญญาณของทุกคนจะไปรวมกันอยู่ที่ “บัรซัค” ซึง่ เป็นทีท่ อี่ ยูค่ นั่ กลางระหว่างโลกนีแ้ ละ โลกหน้า จนกระทั่งวันพิพากษาที่ทุกชีวิตจะถูก ท�ำให้ฟื้นตื่นขึ้นเพื่อรับฟังค�ำพิพากษาของพระผู้ เป็นเจ้าถึงสิ่งที่เขาท�ำขณะมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ ดังทีค่ มั ภีรอ์ ลั กุรอานกล่าวไว้วา่ พวกท่านคิด ว่า แท้จริงเราได้ให้พวกท่านเกิดมาโดยปราศจาก เป้าหมาย และแท้จริงพวกท่านจะไม่กลับคืนไปหา เรากระนั้นหรือ (คัมภีร์กุรอาน, ๒๓ : ๑๑๕) ดังจะเห็นได้ถงึ ความตายในทรรศนะของชาว มุสลิมนี้เป็นสิ่งที่ไม่ได้อยู่ในความมืดมิด แต่กลับ เป็นสิ่งที่ใครๆ นั้นคุ้นชินตามหลักค�ำสอนในค�ำ ภีร์อัลกุรอานที่ว่า ทุกชีวิตต้องลิ้มรสความตาย “จะไปกลัวท�ำไม เดี๋ยวเราก็ตายเหมือนกัน มีเกิดแก่เจ็บตาย สุดท้ายมันก็ต้องตายเหมือนกัน ไม่ต้องไปกลัว” ป้าตุ๊ก วัย ๖๓ ปี ผู้มีอาชีพหลัก คือการท�ำขนมเทียนขายในชุมชนมัสยิดบางหลวง หนึ่งในสมาชิกกลุ่มที่ช่วยชาวบ้านในชุมชนท�ำศพ ข้อก�ำหนดของศาสนาอิสลามได้กำ� หนดไว้วา่ ให้ ค รอบครั ว และญาติ ใ กล้ ชิ ด ของผู ้ ต ายเป็ น ผู ้ จัดการเรือ่ งพิธศี พ ซึง่ ก็เป็นการสอดคล้องบทบาท ของป้าตุก๊ ทีเ่ ล่าให้ผเู้ ขียนฟังถึงความเป็นเครือญาติ ในชุมชนมัสยิดบางหลวงที่สืบย้อนได้ว่าเกือบทุก คนในชุ ม ชนนี้ จ ริ ง ๆ แล้ ว เป็ น ญาติ กั น หมด เนื่องจากการมีบรรพบุรุษร่วมกันจากการมาตั้ง ถิ่นฐานของชาวมุสลิมในระยะแรกของการเกิด

อิสลามเขาจะไม่ผ่าชันสูตรแล้วก็ต้องน�ำศพมาฝัง ภายใน ๒๔ ชั่วโมง พอเขาเอาศพมาเสร็จ ไม่ว่าจะ แต่งตัวยังไงก็แล้วแต่ เราก็จะมาแต่งตัวให้เขาใหม่ เช็ดตัว เปลี่ยนเสื้อ ใส่เป็นผ้าโสร่ง ใส่เสื้อ เป็นเสื้อ ธรรมดาแบบชีวิตประจ�ำวันนี่แหละ ใส่ไว้ให้ก่อน แล้วก็ใส่หมวก” ป้าตุ๊กเริ่มเล่าถึงขั้นตอนการท�ำ ศพให้ผู้เขียนฟัง “พอสองโมงที่จะละหมาด เขาก็จะเชิญคน มา ที่นี่สิบคน ที่นู่นยี่สิบคน สี่สิบคนบ้าง เพื่อจะ มาอ่านคัมภีร์อัลกุรอานให้คนที่เสียไป เสร็จแล้ว เขาก็เตรียมตัวอาบน�้ำให้ศพตอนบ่ายโมง” ป้าตุ๊ก บอก “ระหว่างขั้นตอนต่างๆ เราต้องจุดธูปทีละ ดอกจนกว่าจะฝังเสร็จ เวลาอาบก็อาบทีส่ เุ หร่า เรา มีหอ้ งอาบน�ำ้ ศพอยู่ แต่บา้ นใครใหญ่ๆ สะดวกอาบ ทีบ่ า้ นก็อาบทีบ่ า้ นได้ พออาบน�ำ้ เสร็จเขาก็จะแต่ง ตัว คือห่อผ้าขาว ไม่มเี สือ้ ผ้าอะไรไปเลยนะ เขาจะ มีผา้ ขาวสองชิน้ ใหญ่ๆ ตัดเป็นเสือ้ ชิน้ หนึง่ โสร่งชิน้ หนึ่ง จากนั้นก็จะท�ำพิธีอาบน�้ำ โดยเราจะมีน�้ำ ละหมาด เป็นน�ำ้ ใบพุทรา น�ำ้ มะกรูด น�ำ้ ดินสอพอง น�้ำจันท์ขาว แล้วก็น�้ำพิมเสนเพื่อไปรดให้เขา มัน ก็จะลดล้างกลิ่น-ดับกลิ่น” ป้าตุ๊กบรรยายถึงขั้น ตอนต่อไปด้วยความช�ำนาญ “ก่อนเข้าเฝ้าพระเจ้า ตัวเราต้องสะอาด พระเจ้าชอบหอมๆ เหมือนเวลาละหมาดก็ต้อง อาบน�้ำละหมาด นี่พอจะไปก็เหมือนเราอาบน�้ำ ละหมาดให้เขาด้วย” ลุงกฤช วัย ๖๗ ปี พีช่ ายของ ป้าตุ๊กที่นั่งฟังอยู่ตรงนั้นกล่าวเสริม “เสร็จแล้วเขาก็จะเอาส�ำลีก้อนเล็กๆ สาม ก้อนอุดไปที่ทวารหนัก เพื่อจะไม่ให้อะไรมันออก มาแล้วจึงห่อ โดยให้มือขวาทับมือซ้าย ห่อเสร็จก็ ใส่หีบตัวตรงไปมัสยิด ละหมาดเสร็จก็จะเอามาที่ กุโบร์(สุสาน) เอามาเปิดหน้าแล้วก็ส�ำลีแปะหน้า แล้วก็ตะแคงแบบเรานั่งละหมาด แล้วเอาดินยัด เพือ่ ไม่ให้รา่ งพลิก เวลาฝังเขาก็หนั หน้าออกไปทาง | 61


มัสยิด พอเขาฝังเสร็จ เขาก็จะเอาดินปั้นใส่กระดาษ ทิชชู่แล้วเอาไปวาง เหมือนเอาไปฝังเขา ต่อไปก็จะ เป็นจัดเลี้ยง หลังหนึ่งทุ่มทีหนึ่ง อีกทีหนึ่งสี่สิบวัน ถ้า คนมีก็เงินหน่อยก็ท�ำร้อยวันด้วย” ป้าตุ๊กเสริมราย ละเอี ย ดของขั้ น ตอนพิ ธี ศ พจนจบพร้ อ มกั บ แสดง ท่าทางและทิศทางของการจัดวางศพบนเตียงของป้า ตุ๊กให้ผู้เขียนดูไปพลาง ในขัน้ ตอนของการท�ำศพ จะมีการแบ่งหน้าทีก่ นั ตามเพศที่จะรับผิดชอบศพนั้นๆ คือฝ่ายชายอาบน�้ำ ศพผูช้ าย ฝ่ายหญิงอาบน�ำ้ ศพผูห้ ญิง แต่ในกรณีทไี่ ม่มี สมาชิกในครอบครัวที่เป็นเพศเดียวกับผู้ตายนั้น ก็ อนุโลมให้เพศตรงข้ามเป็นผู้ดูแลแทนได้ ส่วนการต่อ หีบ การขุดและกลบดินจะเป็นหน้าที่ของฝ่ายชายที่ จะร่วมมือกันระหว่างสมาชิกภายในชุมชน “เวลาอาบน�้ำศพเราก็ต้องเอามือรีดและล้วง ท้องของศพให้สะอาดเลยนะ รีดท้องให้สิ่งที่ค้างอยู่ ในท้องให้ไม่เน่าค้างในท้อง บางทีก็ต้องล้วงไปทาง 62 |

ทวารหนักเขา เพือ่ ให้พวกอุจจาระและของทีค่ า้ งอยูใ่ นท้อง เขาออกมาหมด” เมือ่ ได้ยนิ เช่นนัน้ ผูเ้ ขียนจึงนึกสงสัยว่าป้าตุก๊ มีความ รู้สึกอย่างไรต่อสิ่งปฏิกูลในร่างกายที่คนส่วนใหญ่ไม่อยาก เข้าใกล้ จึงเอ่ยถามป้าตุ๊กและได้ค�ำตอบมาอย่างรวดเร็ว โดยปราศจากความลังเลโดยสิ้นเชิงว่า “ไม่รงั เกียจหรอก ญาติเขาบางทีทำ� ไม่ได้ ป้าไปเรียน การท�ำมะหยัด (ท�ำศพ) มาจากมูลนิธิที่เป็นของอิสลามนี่ แหละ เพื่อดูว่าเราท�ำผิดหรือถูกหลักยังไง แล้วก็กลับมา สอนคนในชุมชนต่อ คนรุน่ เราก็ไม่รจู้ ะตายเมือ่ ไร ป้าก็เรียก เด็กๆ มาหัด อย่างลูกหลานเราท�ำงานบ้างไปเรียนบ้าง แต่ ถ้าเสาร์อาทิตย์เขาอยู่ เราก็จะเรียกเขาไป เอ้า! ไปเว้ยเห้ย ไปช่วยกันหน่อย เด็กๆ ก็มาช่วยล้างเท้า ขัดเล็บ สระผม คนหนึ่งถูสบู่ไป คนหนึ่งราดน�้ำไป จ่อสายยางไว้ คนที่เค้า ล้วงก็ล้วงไป” ป้าตุ๊กเล่าถึงวิธีการในการสืบทอดองค์ความรู้เหล่านี้ สู่เด็กรุ่นใหม่ในชุมชนเพื่อไม่ให้วิธีการท�ำศพตามข้อบังคับ


| จันท์ขาวและพิมเสน วัตถุดิบที่ใช้ในน้ำ�ละหมาดในขั้นตอนการอาบน้ำ� ศพ โดยจะใช้ร่วมกับ น้ำ�ใบพุทรา น้ำ�มะกรูดและน้ำ�ดินสอพอง

เสียงกลองดังก้องจากหอกลองที่ตั้งอยู่ใจกลางชุมชน มัสยิดบางหลวง เป็นสัญญาณบ่งบอกว่ามีผู้ได้ไปสู่จุดเริ่มต้นในการ ก้าวไปสู่ชีวิตที่แท้จริงและเป็นนิรันดร์อีกคนหนึ่งแล้ว... | ความตายในทัศนะของชาวมุสลิมนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ได้อยู่ในความมืดมิด แต่ หมายถึงการก้าวไปสู่ชีวิตที่แท้จริงและ เป็นนิรันดร์

อิสลามถูกบิดเบือนและย่นย่อขัน้ ตอนไป การสืบทอดนี้เองที่นอกเหนือจากองค์ ความรู้ที่ถูกสานต่อแล้ว สิ่งที่จะเกิดขึ้น อีกอย่างหนึ่งก็คือความสัมพันธ์ระหว่าง คนในชุมชน ซึ่งก็คือความแน่นแฟ้นใน เครือญาติด้วย “ตอนแรกๆ ป้าก็กลัวเหมือนกัน นะผีเนี่ย บางทีไปช่วยเขา ตายตอนมืด ก็ตอ้ งฝังเช้า ป้าก็จะท�ำดอกไม้เป็นแผงๆ ไปช่วยเขา บางวันเรารูส้ กึ เลยว่าคนทีเ่ รา ไปช่วยเขาเดินมาส่ง เราก็จะบอกว่าไม่ ต้องมาส่งนะ เดี๋ยวกลับเอง” “ป้าคล้ายๆ กับมีเซนส์ คือท�ำให้ คนตายจนชิน อย่างพ่อเรา บอกเราว่า ดูสนิ อ้ งพ่อ (ทีต่ ายไปแล้ว) มันเอาเรือมา รับกูว่ะ เราก็เลยบอก พ่อนั่นล่ะระวังให้ ดีเลย พออีกสักอาทิตย์หนึ่ง พ่อตาย โอ้ ขาอ่อนเลย พ่อตายจริงๆ”

ป้าตุ๊กกล่าวด้วยน�้ำเสียงแห่ง ความระลึกถึงพ่อพร้อมๆ กับน�ำ้ ตาที่ คลออยู่ในแววตา “มีคนหนึง่ เขาไปโดนรถชนตาย ที่สุพรรณฯ ศพจะมาตอนเช้า หมอ เขาผ่าสมองชันสูตรเพราะไม่รวู้ า่ เป็น อิสลาม แต่เราไม่เห็นนะว่าเขาพันผ้า พันแผลมาทีห่ วั เราเป็นเพือ่ นกับเมีย เขาเราก็ไปช่วยเขาท�ำดอกไม้ตอน กลางคืน ขากลับป้ากลับคนเดียว พอ เดินผ่านท่าน�้ำที่คนตายเขาไปลงเรือ จ้างบ่อยๆ เราก็ระแวงไปเองเปล่า ไม่รู้ เราก็เอ๊ะ! ผู้ชายคนนี้ตัวสูงๆ ขาวๆ แล้วท�ำไมพันหัวมา พอตอน เช้าไปงานศพ เปิดหน้าดู โอ้โห! ใช่ เลย เขาก็บอกกันว่าเขาคงมาขอบใจ เรามั้งที่เราไปช่วยงาน” ป้าตุ๊กเล่าประสบการณ์ลี้ลับที่ | 63


–ป้าตุ๊กเคยประสบให้ฟัง ถึงแม้ผู้เขียนจะไม่ เคยประสบเหตุการณ์ลลี้ บั เช่นนีเ้ ท่าไรนัก แต่ ส�ำหรับผู้เขียน สิ่งที่ป้าตุ๊กเล่านั้นสะท้อนถึง ความผู ก พั น และความใกล้ ชิ ด สนิ ท สนมที่ คนในชุมชนมีตอ่ กันและกันในตอนทีม่ ชี วี ติ อยู่ ร่วมกันในชุมชนแห่งนี้... “มีคนตายบ่อยๆ ก็ชิน เลิกกลัวผีตั้งแต่ เจอบ่อยๆ เนี่ยล่ะ การท�ำศพก็ช่วยให้เราชิน กับศพ คิดเสียว่าเขานอนหลับอยู่ ตอนเป็นๆ เรายังรักกัน ตอนตายท�ำไมต้องไปรังเกียจไป กลัวเขาด้วยล่ะ” ทันใดที่ป้าตุ๊กพูดจบประโยค ผู้เขียนก็ พลันนึกถึงหลักค�ำสอนจากคัมภีรอ์ ลั กุรอานที่ เคยได้ยินมาอีกครั้ง... “ทุกชีวิตต้องลิ้มรสความตาย” ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่ผูกพันอยู่ กับวิถชี วี ติ มุสลิมอย่างแยกกันไม่ออก ศาสนา อิสลามคือวิถีชีวิต ตั้งแต่ตื่นเช้าจนเข้านอน ตั้งแต่เกิดจนตาย บทบัญญัติและข้อบังคับ ต่างๆ ที่ก�ำหนดไว้ในคัมภีร์อัลกุรอานยิ่งส่ง เสริมความใกล้ชดิ ให้มากยิง่ ขึน้ ทุกวันทุกเวลา การท�ำกิจกรรมทางศาสนาร่วมกันยิง่ ส่งเสริม ความผูกพันระหว่างคนในชุมชนมากขึ้นไป อย่างไม่สิ้นสุด ความใกล้ชิดภายในชุมชนนี้ถูกสะท้อน ออกมาผ่านพิธีกรรมหลายๆ พิธีกรรม โดย เฉพาะอย่างยิง่ “พิธศี พ” เพราะเป็นพิธกี รรม หนึ่งที่สามารถสะท้อนให้เห็นตั้งแต่รากฐาน ของแนวคิดเรื่องการเกิดของชีวิตถึงการตาย พระเจ้าสร้างมนุษย์ขึ้นมาจากดิน เมื่อสิ้น อายุขัยก็ต้องกลับไปสู่ดิน การอยู ่ ร ่ ว มกั น เป็ น ชุ ม ชนมั ส ยิ ด บาง หลวงที่ ย าวนานกว่ า ๒๕๐ ปี ยิ่ ง ท� ำ ให้ พิธีกรรมนี้ไม่อาจตายจากไป ดังที่ชาวมุสลิม เชือ่ ว่า การอาศัยในโลกนี้ ณ ตอนนี้ เป็นเพียง แค่การเตรียมตัวสู่โลกหน้า การสิ้นอายุขัย ไม่ใช่ความตายที่แท้จริง การประกอบพิธีศพ 64 |

ที่มีขั้นตอนอันซับซ้อนให้แก่ครอบครัวและ ญาติๆ ถือเป็นการเตรียมตัวให้ผู้ที่สิ้นลมไปสู่ ชีวิตที่แท้จริงและเป็นนิรันดร์ ดังที่กล่าวไว้ในข้างต้นว่า พิธีการท�ำศพ อิงอยู่บนพื้นฐานความสัมพันธ์ทางเครือญาติ และไม่ เ คยตายจากไปจากชุ ม ชน พิ ธี นี้ เป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนเป็น และคนตายผ่านขั้นตอนแต่ละขั้นตอนของ พิธกี รรม ผ่านบทบาทของป้าตุก๊ ทีเ่ ป็นตัวแทน ของมุสลิมทีป่ ฏิบตั ติ ามค�ำสอน ทีเ่ ป็นตัวแทน ของความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นตัวแทนของ ชุ ม ชนที่ แ สดงออกถึ ง ความผู ก พั น ที่ ค นใน ชุมชนมีต่อกันและกันแม้จะสิ้นลมหายใจไป แล้วดังประสบการณ์ลี้ลับที่ป้าตุ๊กเล่าให้ฟัง และท้ายทีส่ ดุ ทุกคนจะไปอยูใ่ นทีเ่ ดียวกันเพือ่ รอวันพิพากษา เพราะความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกใน ชุ ม ชนและค� ำ สอนในคั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อานนั้ น ท�ำให้คนตายยังคงสถิตอยู่ เหมือนกับลมหายใจที่ยังมีชีวิต เหมือน กับความใกล้ชิดระหว่างคนเป็นและคนตาย “พี่ชายป้าบอกป้าเสมอว่า มึงท�ำไปเถอะ เกิดมาแล้วมึงเป็นคนของพระเจ้า เราก็เลยท�ำ ทุกอย่างเลยเกีย่ วกับเรือ่ งศาสนา แล้วเรารูส้ กึ ว่าเราภูมิใจที่เราได้ท�ำสิ่งที่เราอยากจะท�ำ” ป้าตุ๊กกล่าวทิ้งท้ายด้วยประกายความ ปลาบปลื้มที่เอ่อล้นออกมาผ่านแววตาและ รอยยิ้ม...


“การทำ�ศพก็ช่วยให้เราชินกับศพ คิดเสียว่าเขานอน หลับอยู่ ตอนเป็นๆ เรายังรักกัน ตอนตายทำ�ไมต้อง ไปรังเกียจไปกลัวเขาด้วยล่ะ”

| การระลึกถึงผู้ที่ล่วงลับไปสู่โลกหน้า แสดงถึงความผูกพันใกล้ชิดระหว่างคน เป็นและคนตาย ที่แม้สิ้นลมหายใจแล้ว แต่ความผูกพันเหล่านี้ยังคงมีชีวิตอยู่

| 65


“กว่า 30 ปีท่อี ยู่กับดนตรีไทยมาตลอด เพราะใจรักและอยากรักษาเอกลักษณ์ของไทยไว้”

| คุณลุงสมศักดิ์ ไตรย์วาสน์ผู้ดูแลบ้านพาทยโกศล

66 |


กว่า ๑๐๐ ปี

ที่มีเสียงดนตรีไทย ดังไม่ขาดสาย

เรื่อง จุฑามาศ บุญเย็น ภาพ ณํฐพร แสงอรุณ

ระตูไม้คู่สองบาน เปิดออกด้านข้างตามแรงผลัก คล้ายการผายมือ เชื้อเชิญ เมื่อเดินข้ามธรณีประตูเข้าสู่บ้านพาทยโกศล เครื่อง ดนตรีไทยมากมายปรากฏกายขึ้นเบื้องหน้า ไม่เพียงเครื่องดนตรีไทยซึ่ง เคยพบในห้องเรียนแต่กลับมีเครื่องสี เครื่องตี ลวดลายสวยงามเหมือน เคยเห็นตามภาพถ่ายในวิชานาฏศิลป์ ‘ฆ้องมุก’ เป็นเครื่องซึ่งสะดุดตาเรามากที่สุด เลื่อนสายตาขึ้นไปพบ ภาพของหลวงกัลยาณมิตตาวาสและท่านจางวางทั่ว ต้นตระกูลพาทย โกศล บ้านดนตรีอนั เชีย่ วชาญในด้านฆ้องวง ซึง่ มีชอื่ ว่าเล่นได้ไพเราะและ ฝีมอื เป็นเลิศจนท�ำให้ทา่ นได้รบั ความไว้วางใจจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตให้อยู่ประจ�ำวง ปี่พาทย์วังบางขุนพรหมถึง ๓๐ ปี จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.๒๕๔๗ มีนโย บาย “รัฐนิยม” หากมีการบรรเลงดนตรีไทย ต้องขออนุญาตกับราชการ ก่อน และนักดนตรีไทยต้องมีบัตรนักดนตรีจากทางราชการ หลังจากนั้น ดนตรีไทยจึงเริ่มซบเซาลง แต่วงของบ้านพาทยโกศลยังคงได้ออกแสดง ในงานต่างๆ บ้างก็มลี กู ศิษย์มาฝากตัวเรียนรูด้ นตรีไทย โดยมีครูเทวาพาท ยโกศล บุตรของท่านจางวางทั่ว รับช่วงต่อมา “ผมมาอยู่ก็ทันครูพังพอน แตงสืบพันธุ์เป็นลูกศิษย์ครูเทวาอีกที” คุณลุงสมศักดิ์ ไตรย์วาสน์ ผูด้ แู ลบ้านพาทยโกศลในปัจจุบนั เริม่ ต้นย้อน ภาพแรกที่ก้าวเข้ามาบ้านหลังนี้ให้เราฟัง “แต่เดิมผมอยู่อยุธยา ตอนม.5 สอบไม่ผ่าน ต้องเรียนซ�้ำชั้น เลย ย้ายไปอยู่กับบ้านดนตรีไทย แรกเรียนฆ้องกับตา พอครบบวช จึงกลับ

| 67


มา แล้วก็ทำ� งาน แต่สกั พักก็ลาออก และมีคนชักน�ำให้มาอยูท่ นี่ ี่ ”หลัง จากคุณลุงสมศักดิ์กลับมาเริ่มต้นหัดเล่นเครื่องดนตรีอีกครั้งเนื่องจากมี พื้นฐานอยู่แล้วจึงตัดสินใจมาอยู่วงปี่พาทย์ในบ้านหลังนี้ นั่งฟังมาถึงตรงนี้ รู้สึกตัวอีกทีว่าภาพเครื่องดนตรีไทยตรงหน้า ดู แจ่มชัดกว่าตอนเดินเข้ามา ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวง ใหญ่ ฆ้องมอญ ล้วนแล้วแต่เป็นเครื่องดนตรีซึ่งอยู่ตรงนี้มาหลายสิบปี บางเครื่องมีอายุกว่าร้อยปี ได้ท�ำหน้าที่บรรเลงขับกล่อม ส่งต่อกันมา ตั้งแต่รุ่นต้นตระกูล จนถึงปัจจุบัน แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านมานานเท่าใด เครื่องดนตรีมากมาย ก็ยังได้มีมือนักดนตรีไทย มาท�ำให้เกิดเสียงเพลง ดังขึ้นที่นี่ เรื่อยๆ ไป ส่งเสียงเพลง สืบสายบรรเลง นักดนตรีไทยหลายคน เบือ้ งต้นครูมกั ให้เริม่ หัดฆ้องวงใหญ่มาก่อน เนือ่ งจากฆ้องวงใหญ่ถอื เป็นเสียงท�ำนองหลักของวงก่อนแตกแขนงเป็น เสียงเครื่องอื่นๆ คุณลุงสมศักดิ์เล่าวิธีการสอนต่อว่าสมัยนั้นไม่มีเรียน โน้ต การต่อเพลงจะใช้ความจ�ำเท่านั้น “เวลาต่อเพลง ครูยังไม่เล่นให้ดูจะหน่อยปาก แบบนี้หน่อย นอย นอย หน่อย หน่อย น้อย ต้องจ�ำเสียงทั้งหมด มาแกะโน้ต แล้วจึงเล่น” 68 |

| ฆ้องมุกในบ้านพาทยโกศล


| ครูเทวา พาทยโกศล บุตรของท่านจางวางทั่ว

คุณลุงหยิบไม้นวมขึ้นมาตี เสียงผืนลูกระนาดดังเป็น บทเพลงอันคุน้ หู ‘ลาวดวงเดือน’ เรานัง่ ฟังเสียงระนาด เพลินๆ นึกถึงตอนครูสอน ยังมีหนังสือ ต�ำรา มีโน้ต เขียนให้ สมัยก่อนสอนกันแบบปากต่อปาก แม้จะใช้ ความจ�ำแต่เพลงตอนนั้นก็ยังมีเล่นกันถึงวันนี้ “สมัยนั้นใช้การจ�ำก่อนแล้วค่อยได้จด เพราะตอน หลังเพลงมันเยอะขึ้นเรื่อยๆ” คนร้อง (แต่เดิมดนตรี ไทยเรียกนักร้องว่าคนร้อง) หนึง่ ในลูกศิษย์บา้ นพาทยโกศล ไขข้อสงสัยของเรา ถึงการสืบต่อเพลงไทยเดิม ด้วยการจ�ำและจดอย่างเป็นขั้นตอนจากที่ครูสอนต่อ กันมา ไม่เพียงเรียนและเล่นในบ้านเท่านั้น ลูกศิษย์มี การออกไปเผยแพร่และยังเล่นเพลงที่ครูเทวาแต่งไว้ บรรเลงเพลงไทยขับกล่อมในทีต่ า่ งๆ อย่างงานบวชนาค งานแต่งงาน งานศพ คุณลุงพาเราเข้าไปดูภาพถ่ายทีว่ ง พาทยโกศล ไปเล่นในงานพิธีสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และเล่าว่าหากเวลามีออกงานจะโทรศัพท์หาลูกศิษย์ รวมสมาชิกให้ครบวง แม้ว่าศิษย์ต่างก็แยกย้ายกันไปมี ครอบครัว แต่ก็เป็น “ลูกศิษย์ที่นี่ ได้เพลงที่นี่” และ กลับมาซ้อมเมื่อคราวมีงานสานต่อเพลงที่เคยบรรเลง ไว้ร่วมกัน

ห้องเรียน เพียรรู้จากครู เราทุกคนต่างผ่านการเรียนรูม้ านานับ ทัง้ การเรียน และการลอกเลียน บ้างท่องจ�ำ บ้างลักจ�ำ ค�ำบอกเล่าเรือ่ ง ราวของบ้านพาทยโกศล ท�ำให้ได้เห็นการเรียนรู้อีกวิธี หนึ่ง ซึ่งครูสอน ศิษย์หัด พัฒนาวิชาเอง นอกจากวิธีการ สอนแล้ว คุณลุงสมศักดิ์เล่าถึงค�ำของครูเทวาที่สะกิดใจ จ�ำได้จนวันนีค้ อื ในช่วงไม่มงี านแสดงแล้วเข้าไปทานข้าว ในครัว ครูมักจะบอกว่า “กินกันให้อิ่มนะ เดี๋ยวกลับมา บ้านเครือ่ ง ไปซ้อมตระนอน” ครูพดู ประชดเหมือนว่ากิน อิ่มก็กลับมานอน ไม่ต้องซ้อมดนตรีซึ่งแสดงให้เห็นว่าครู เน้นย�้ำความส�ำคัญในการฝึกซ้อม ทั้งกับการงาน การ เรียน ทุกศาสตร์แขนง หากขาดซ้อมไป คล้ายร่างกาย จิตใจ ทิ้งห่างจากสิ่งนั้นไปเรื่อยๆ จนหลงลืม คุณลุงเล่า ถึงตอนเล่นดนตรีออกอากาศสดในวิทยุ เพลงจะต้องแม่น ไม่มีผิดพลาดเพราะฝึกฝนจากบ้านมาอย่างแม่นย�ำ หาก ท�ำนองผิดครั้งเมื่อซ้อม ครูไม่ว่า แต่ท�ำตาเขียวใส่ ถึงแม้ ฟังบรรยากาศดูกดดันแต่ทุกคนในบ้าน ก็ตั้งใจฝึกฝนให้ เพลงออกมาดี “อาจมีเหนื่อยบ้าง พักเดียวก็หายไป แล้วกลับมาเล่นใหม่” คนร้องของวงเสริมต่อว่า “เวลาต่อเพลง ครูจะร้อง | 69


ให้ฟังเราจึงร้องตาม แต่ครูสมัยก่อนส่วนมาก มักดุ อย่างแม่ชลอรัตน์ต่อเพลงอยู่ชั้น ๔ เสียง ได้ยนิ ถึงชัน้ ๑ ไม่ใช่เสียงร้อง แต่เป็นเสียงเสียง ทุบโต๊ะดังปังๆ เราก็กลัว แต่เพราะอยากให้ได้ เพลงเร็วๆ” คุณชัยพร ทับพวาธินท์ ย้อนการ ฝึกฝนอย่างเข้มข้นในช่วงแรกให้เราฟัง เหมือน เปิดห้องเรียนร้องเพลงที่ครูชลอรัตน์ อ่วม หล่าย ลูกศิษย์ครูเทวา พาทยโกศลไปสอนใน กองดุริยางค์ทหารบก คุณชัยพรเล่าเรื่องราวของครูให้ฟังพลาง บอกสิ่งส�ำคัญในการร้องเพลง ซึ่ ง ก็ คือโสต ประสาทและสมองต้องสัมพันธ์กัน ไม่เช่นนั้น เสียงร้องจะเพี้ยนและอีกส่วนคือปอด

70 |

รู้ สึ ก ตั ว อี ก ที ว่ า ภ า พ เครื่องดนตรีไทยตรงหน้า ดูแจ่ม ชัดกว่าตอนเดินเข้ามา ระนาดเอก ระนาดทุ้ ม ฆ้องวงเล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้อง มอญ บางเครื่องมีอายุกว่าร้อย ปี ได้ทำ�หน้าที่บรรเลงขับกล่อม ส่งต่อกันมาตั้งแต่รุ่นต้นตระกูล จนถึงปัจจุบัน...


“แต่บางทีก็ปอด ครูเดินมาก็ มักร้องผิด นักดนตรีไทยจะกลัวครู มากทัง้ เกร็งบารมี และกลัวผิด แค่ตวั เราไม่เท่าไหร่ แต่เพราะจะเสียชือ่ ครู เสียชื่อเสียงของส�ำนัก ทุกครั้งจึงจะ ต้องตั้งสติให้ดี” หลังจากได้ฟังค�ำบอกเล่าของ หลายท่าน ยิ่งท�ำให้เห็นภาพและนึก ลองเปรี ย บความเปลี่ ย นแปรของ ห้องเรียนในอดีตกับปัจจุบันจะมอง เห็นสิ่งหนึ่งได้ชัดเจนคือวิธีการสอน “สมั ย นี้ ใ ช้ เ ทปาจารย์ เ พื่ อ ความ รวดเร็ว (เทป-อาจารย์) แต่ความ

ละเอี ย ดอ่ อ น ความประณี ต ไม่ เหมือนเดิม” คุณชัยพรเล่นค�ำว่าเทป เสมือนเป็นอาจารย์ในยุคปัจจุบัน และด้วยรายละเอียดซึง่ แตกต่าง เช่น ที่มาที่ไปบางอย่าง เทปไม่สามารถ อธิบายได้ ดนตรีไทยจึงถือว่าค�ำครู ส� ำ คั ญ มากเพราะมี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ลู ก ศิษย์ เป็นผู้ชี้แนะแนวทาง หากไม่มี ครูแนะน�ำเส้นทางนักดนตรีหลายคน อาจไม่มีโอกาสเจริญเติบโตในสาย งานดนตรีได้เลย “เหมือนครูบอกว่า ให้เดินไป ตรงนั้น จะไปคดเคี้ยวตรงไหนก็ได้ แต่ ไ ปให้ ถึ ง โดยปี น ป่ า ยจากสิ่ ง ซึ่ ง สร้ า งขึ้ น มา” มื อ เครื่ อ งหนั ง ไทย ในกรมดุรยิ างค์ทหารบก ศิษย์สายบ้า นพาทยโกศล เสริมต่อท้ายถึงความ ลึกซึ้งในครูดนตรีไทยให้ไปคิดต่อ หรือด้วยวิธีการสอนแบบนี้เอง เมื่อ ได้รบั วิชามาแล้ว ท�ำให้หลายท่านใน บ้านพาทยโกศล ท�ำหน้าทีด่ ำ� รง และ สืบทอด ต่อยอดวิชา ด้วยการเป็นครู ไม่ว่าจะเป็น ครูเทวา, ครูอุทัย พาท ยโกศล ลูกชายคนเดียวของครูเทวา ซึ่ ง เป็ น ครู สอนดนตรี ไ ทยโรงเรี ย น นายร้อยพระจุลจอมเกล้า และคุณ ลุงสมศักดิ์เอง ก็สอนดนตรีไทยใน โรงเรียนราชินี รวมทั้งครูหลายท่าน ซึ่งส่งวิชาสู่ศิษย์ ต่อยอดสืบวิชาทาง เพลงพาทยโกศลให้ไปสูใ่ นหลายส่วน ทั้งกรมดุริยางค์ทหารเรือ ดุริยางค์ ทหารบก ดุ ริ ย างค์ ต� ำ รวจ กรม ประชาสัมพันธ์ และอีกมากมาย เสียงดนตรีเพลงไทยจากศิษย์ สายบ้านพาทยโกศล ท�ำให้รับรู้ถึง

การสอนเพื่ อ ด� ำ รงคงไว้ การเก็ บ รักษาบทเพลง ส่งต่อให้ยงั อยูย่ นื ยาว แม้เสียงเพลงจะจบลง แต่ยังคงมี เสียงจากศิษย์บรรเลงอยู่ ไม้ผลัดวิชา ส่งต่อเรื่อยมา ไม่เพียงวิชาดนตรีที่แพร่หลาย ภายนอก ในบ้านหลังนี้เอง คุณลุงก็ ยังสอนหลานวัยประถม ให้สะสม ความรู้ดนตรีไทยไว้ด้วยเช่นกัน จาก การปลูกฝังและสั่งสม คุณลุงเล่าว่า เมื่อมีวิชาดนตรีไทยสอนในโรงเรียน หลานชายของคุณลุงสนใจจะเล่น ระนาดเอก และเลือกอยูช่ มรมดนตรี ไทย ตอนเราเดิ น ออกมาจากบ้ า นพาทยโกศล ได้เดินสวนกับหลาน ชายคุณลุง ทานขนมอยู่หน้าบ้าน พลันคิดว่า อีกไม่นาน เด็กชายตัว น้อยอาจจะพลอยเป็นนักดนตรีไทย กลายเป็นผู้สืบทอดบ้านพาทยโกศล ต่อไปก็เป็นได้ แม้ ว ่ า ปั จ จุ บั น ตระกู ล พาทย โกศล จะไม่มีทายาทอยู่แล้ว แต่ก็ยัง มีศิษย์สืบทอด อย่างคุณลุงสมศักดิ์ ดูแลบ้านพาทยโกศล ให้เป็นเรือนไม้ ดนตรี ไ ทย ซึ่ ง คงเอกลั ก ษณ์ ว งปี ่ พาทย์ในฝั่งธนบุรีอย่างนี้ต่อไป “กว่า 30 ปีที่อยู่กับดนตรีไทย มาตลอด เพราะใจรั ก และอยาก รักษาเอกลักษณ์ของไทยไว้” ด้วย การรักษาเอกลักษณ์ และรักในสิ่งที่ ท�ำจึงท�ำให้เสียงเพลงไทยดังอยู่ใน บ้านเครื่องได้ถึงทุกวันนี้...

| มือเครื่องหนังไทย ในกรมดุริยางค์ทหารบก ศิษย์ สายบ้านพาทยโกศล

| 71


| กลิ่นคาวปลาคละคลุ้งตลอด กระบวนการทำ� แต่นั่นไม่ใช่ ปัญหาสำ�หรับคนทำ�ที่คุ้นเคย

ไต

ปลาดองท� ำ ไม่ ย าก ไม่ ว ่ า ต� ำ รา อาหารเล่มใดก็บอกวิธีการท�ำที ไม่ ซับซ้อน เพียงแค่ผ่าเครื่องในปลามาดอง เกลือทิ้งไว้เท่านั้น แต่มีเคล็ดลับอยู่ข้อหนึ่ง ที่ต�ำราอาจไม่ได้แนะน�ำไว้หากแต่เป็นข้อ ส�ำคัญทีค่ นท�ำไตปลาดองต้องมี เป็นค�ำจาก ปาก น้าน�้ำอ้อย ขมทอง หญิงวัย ๔๗ ปี ผู้ สืบทอดกิจการท�ำไตปลาทูดองรุ่นที่สาม ของครอบครัวเผยเคล็ดลับที่ท�ำให้ยืนหยัด เป็นคนท�ำไตปลาทูดองเจ้าสุดท้ายในย่าน ชุมชนบางหลวง ชุ ม ชนบางหลวงเป็ น ชุ ม ชนเก่ า แก่ บริ เ วณสองฝั ่ ง ของคลองบางหลวงหรื อ คลองบางกอกใหญ่ ซึ่ ง เดิ ม คื อ แม่ น�้ ำ เจ้าพระยาสายเก่าที่เชื่อมต่อกับคลองด่าน และมีปากแม่นำ�้ ออกสูท่ ะเลอ่าวไทยบริเวณ อ�ำเภอมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร ในสมัย รัชกาลที่ ๓ คลองบางหลวงเป็นเส้นทางเดิน เรือที่เฟื่องฟูและยังเป็นเส้นทางส�ำคัญใน การล�ำเลียงสินค้าโดยเฉพาะอาหารทะเลที่ ถูกส่งมาจากมหาชัย “แต่เดิมคลองบางหลวงมีสะพานปลา ใหญ่ๆ อยู่ ๒-๓ แห่ง จึงเป็นแหล่งซื้อขาย อาหารทะเล รวมถึงปลาทูสดๆ ทีส่ ง่ มาจาก มหาชัยทุกวัน ท�ำให้มีกิจการโรงนึ่งปลาทู หลายแห่งเปิดตัวขึ้น โดยเฉพาะแหล่งใหญ่ แถวตลาดพลู เครื่องในปลาทูที่เหลือจาก โรงนึ่งจะถูกรับซื้อเพื่อแปรรูปเป็นไตปลาทู ดอง” น้าอ้อยเรียงร้อยเรื่องราวความเป็น มาของกิจการ

72 |


เรื่อง แพรวนภางค์ กัปตัน ภาพ วณัฎฐ์ ศรีวิชัย

สาส์นสำ�คัญ

จากไตปลาดอง

| 73


ไตปลาดองเป็ น การถนอม เครื่องในของปลาด้วยการดองเค็ม โดยเครือ่ งในปลาทูจะนิยมน�ำมาดอง กันมากที่สุด เนื่องจากให้รสมันและ ก ล ม ก ล ่ อ ม ก ว ่ า ป ล า ช นิ ด อื่ น “ไตปลา” ในที่นี้คือส่วนท้องและ อวัยวะภายในท้องของปลา ซึ่งทาง ภาคใต้เรียกว่า “พุงปลา” แต่ “ไต” ของปลาจริงๆ เป็นเพียงอวัยวะที่มี ลั ก ษณะคล้ า ยลิ่ ม เลื อ ดขนาดเล็ ก ขนาบอยู่ข้างกระดูกสันหลัง ซึ่งอาจ จะหลุดไปตั้งแต่กระบวนการเตรียม ในความเป็นจริงแล้ว “ไต” จึงไม่ใช่

ปรั บ พื้ น ฐานโหมดเร่ ง รั ด ให้ แ ก่ นักเรียนท�ำไตปลาอย่างฉัน ก่อนที่ สองเท้าจะย่างก้าวตามน้าอ้อยเพื่อ ไปพบการเรียนภาคปฏิบัติในสนาม จริง บ้านของน้าอ้อยปลูกติดแม่น�้ำ คลองบางหลวง เป็นบ้านไม้ชั้นเดียว ขนาดเล็กด้านหน้าบ้านผนวกกับเส้น ทางเดิ น เท้ า ที่ ส ามารถลั ด เลาะไป บ้านข้างเคียงได้ และยังเชื่อมต่อกับ ทางลงไปยังท่าน�้ำ ครอบครัวของน้า อ้อยอาศัยและเริ่มท�ำไตปลาดองที่ บ้านหลังนีม้ าหลายชัว่ อายุคน สภาพ

ใน ตัดไส้และเหงือกออกโดยไม่ต้อง ล้างน�้ำ เสร็จแล้วก็เทใส่ในไหรอผสม เกลือ” น้าอ้อยเล่าพลางรีดขี้ออก จากเครื่องในปลาที่ละชิ้นๆ อย่าง ว่องไว แต่กไ็ ม่ละทิง้ ความใจเย็นและ ความพิถีพิถัน เนื่องจากเครื่องใน ปลาจะเละได้ ง ่ า ยและอาจเสี ย อรรถรสในการรับประทาน หากรีดขี้ ปลาออกไม่หมด เมือ่ ได้เครือ่ งในปลา เกือบเต็มไห จะเติมเกลือทะเลลงใน ปริมาณหนึ่งในสามส่วนของเนื้อ ใช้ ไม้พายคนเกลือให้เข้ากับเครื่องใน ปลา โดยน�้ำเลือดที่ปนมากับเครื่อง

น้าเคยเลิกกิจการ เลิกไปสามวันก็ต้องกลับมาทำ�อีก เหมือนขาดอะไรไปในชีวิต ทำ�มันมาตั้งแต่เกิด จนรู้สึกว่ามันก็เหมือนกับการหายใจนั่นแหละ ส่วนหลักในไตปลาดองต่างกับชื่อที่ ชวนให้เกิดความสับสน “ไตปลาดองทีน่ ตี่ า่ งจากทางใต้ ไตปลาดองทางใต้จะดองเครื่องใน โดยไม่รีดขี้ออก และดองทิ้งไว้จน เครื่องในเปื่อยยุ่ย นิยมน�ำมาปรุงกับ เนื้อปลาและผักต่างๆ เรียกว่า แกง พุงปลา ส่วนไตปลาทางภาคกลาง และคลองบางหลวงจะรีดขี้ออกจาก เครื่องในก่อนดองและใช้ระยะเวลา ในการดองไม่นานจึงยังคงลักษณะ เนื้ อ ของเครื่ อ งในปลาไว้ ในการ ประกอบอาหารมักจะน�ำไปลวกใส่ เครื่ อ งย� ำ เป็ น ย� ำ ไตปลา ซึ่ ง เป็ น อาหารโบราณที่หารับประทานได้ ยากได้ปัจจุบัน” และนีค่ อื บทน�ำเสมือนเป็นการ 74 |

ทีเ่ ก่าแก่ของบ้านจึงท�ำหน้าทีบ่ ง่ บอก อายุ ข องตั ว บ้ า นและอายุ กิ จ การ ไตปลาดองไปโดยปริยาย หากภาพตรงหน้าเป็นภาพถ่าย ฉั น คงคิ ด ว่ า บ้ า นหลั ง นี้ อ ยู ่ ใ นต่ า ง จังหวัดที่ไหนสักแห่งไม่ใช่บ้านที่อยู่ กลางตึกระฟ้าในกรุงเทพฯ บริเวณ ลานหน้าบ้านที่ยื่นออกไปริมน�้ำถูก จัดสรรให้เป็นพืน้ ทีท่ ำ� งาน มีอปุ กรณ์ ทีใ่ ช้ทำ� ไตปลาดองเพียงไหขนาดใหญ่ ไม้พาย และกะละมังวางอยู่โดยรอบ ในเวลานี้น้าอ้อยกับคนงานหนึ่งคน ก�ำลังง่วนอยูก่ บั การ เตรียมเครือ่ งใน ปลาที่เพิ่งไปรับมาจากโรงนึ่งปลาทู “การเตรียมเครื่องในปลาเป็น ขั้ น ตอนที่ ส� ำ คั ญ และกิ น เวลานาน ที่สุด ต้องค่อยๆ รีดขี้ออกจากเครื่อง

ในจะเป็นตัวช่วยให้เกลือละลายได้ดี ขึ้น เหตุผลที่นิยมใช้เกลือทะเลใน การดองมากกว่าเกลือป่นเพราะมี ความเค็มและมีแร่ธาตุสูงกว่า อีกทั้ง ยังหาได้ง่ายเนื่องจากในอดีตเกลือ ทะเลก็ถูกล�ำเลียงมาพร้อมกับปลาทู จากมหาชัย “ลองคนดูไหม อาจจะคนยาก หน่อย” น้าอ้อยเปลี่ยนผลัดส่งไม้ พายให้ แม้ว่าฉันจะคนอย่างเต็มแรง แต่ยังน้อยไปส�ำหรับปริมาณเครื่อง ในปลาในไหขนาดใหญ่ เกลือจึงไม่ ค่อยละลายได้ดั่งใจต้องการ “เมือ่ เกลือเริม่ ละลาย กลิน่ คาว จะค่อยๆหายไป เครือ่ งในจะแข็งและ เต่งตึงมากขึ้น” ในระหว่างที่น้าอ้อย คน สายตาก็คอยสังเกตเครือ่ งในปลา


เป็นระยะ เพื่อประเมินความเหมาะ สมของปริมาณเกลือที่ใส่ไป ตัวของน้าอ้อยดูเล็กไปถนัดตา เมื่ อ เที ย บกั บ ขนาดไห การคนจึ ง ท�ำได้ยาก ต้องใช้ก�ำลังและความ พยามยามอดทน กว่าจะคนให้เกลือ ละลายเข้ากับเครือ่ งในปลาหมดก็ใช้ เวลาถึง ๕ ชัว่ โมง คาดคะเนว่า ความ เค็มจากเหงือ่ ทีผ่ ดุ เต็มใบหน้าของน้า อ้อยคงไม่ต ่างจากความเค็มในไห มากนัก หลังจากเสร็จกระบวนการ จะ ปิดปากไหดองทิ้งไว้ โดยทุกวันต้อง หมั่นคนเพื่อตรวจดู ซึ่งการดองที่ถูก วิธเี ครือ่ งในจะต้องไม่ลอยอืดขึน้ ด้าน บนและไม่มีกลิ่นเหม็นคาว เมื่อดอง จนครบก�ำหนดประมาณ ๒ สัปดาห์ น้าอ้อยจะแบ่งไตปลาดองขายส่งให้ แม่ค้าเจ้าประจ�ำซึ่งมีอยู่ ๒-๓ เจ้าใน ตลาดพลู โดยแม่ค้าจะน�ำไปแบ่งถุง ขายอีกทีหรือน�ำไปปรุงเป็นย�ำไตปลา ดอง “รายได้ อ าจจะไม่ ม ากเมื่ อ เทียบกับแรงและเวลาทีล่ งทุนไป แต่ คุ้มค่าเพราะเงินจากส่วนนี้เป็นราย ได้หลักที่เลี้ยงครอบครัวน้ามาสาม รุ่นแล้ว” ถึงแม้จะเหนื่อยแต่น้าอ้อย ก็ ยั ง มี ร อยยิ้ ม ประดั บ บนใบหน้ า สายตาที่บ่งบอกถึงความภูมิใจที่ได้ เลีย้ งครอบครัวด้วยเงินจากน�ำ้ พักน�ำ้ แรง นับตั้งแต่มีการเร่งพัฒนาสร้าง ถนนเพื่อการคมนาคมที่สะดวกมาก ขึ้น ท�ำให้ปัจจุบันการขนส่งปลาทูได้ เปลีย่ นเป็นมาขนส่งทางบกแทนการ ขนส่งทางเรือ ท�ำให้ต้นทุนในการ ขนส่ ง เพิ่ ม สู ง ขึ้ น โรงปลาทู นึ่ ง จึ ง

| น้ำ�อ้อย ขมทอง คนทำ�ไตปลาทูดอง เจ้าสุดท้ายในย่านคลองบางหลวง

| 75


ซบเซาและปิ ด ตั ว ไปหลายเจ้ า ประกอบกั บ ความนิ ย มในการรั บ ประทานไตปลาทูดองก็ลดลงตามยุค สมัยที่แปรเปลี่ยนไป ส่งผลกระทบ ต่อกิจการไตปลาทูดองที่เคยเฟื่องฟู ได้ล้มเลิกกิจการไปลงจนเหลือเพียง ครอบครั ว น้ า อ้ อ ยเพี ย งเจ้ า เดี ย ว เท่านั้นในชุมชนบางหลวง “ป้าเลิกดองไตปลามาได้เกือบ ปีแล้ว อยู่บ้านเฉยๆ ก็เหงา ทุกวันนี้ ยังดองไตปลาไว้ติดบ้านเสมอไม่มี ขาด” ค�ำบอกเล่าจากป้ารวิภาส สิทธิ รุ่ง ชาวชุมชนบางหลวงอีกคนที่เพิ่ง ตัดสินใจเลิกท�ำไตปลาทูดองเมือ่ อายุ ย่างเข้าสู่ปีที่ ๖๑ ป้าเป็นทายาท ล�ำดับทีส่ ามของครอบครัวทีส่ บื ทอด การท�ำไตปลาทูดอง คลุกคลีกับมัน มาตัง้ แต่จำ� ความได้โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่ การเป็นลูกมือแม่รีดขี้ปลาทูจนท�ำ เป็นด้วยตนเอง “ดองไตปลาเป็ น การสร้ า ง คุณค่า ทั้งสร้างค่าให้กับเครื่องใน ปลาที่จะทิ้ง ทั้งสร้างค่าให้กับตัวเอง ทีส่ บื ทอดกิจการครอบครัวจนส�ำเร็จ เคยตัง้ ใจไว้วา่ เราอยูต่ รงนีย้ งั ไงก็ตอ้ ง ท�ำให้ได้” ในที่สุดป้ารวิภาสก็ตัดสิน ใจลาออกจากอาชีพราชการครู มา รับช่วงต่อกิจการเล็กๆของครอบครัว อย่างเต็มตัว ส่วนน้าอ้อยก็บอกถึงแนวโน้ม ของกิจการทีค่ งจะมีจดุ จบไม่ตา่ งจาก ป้ า รวิ ภ าส เนื่ อ งจากไม่ มี ค นมา สืบทอดกิจการต่อ “ปัญหาอย่างอื่นมันก็พอจะสู้ ได้ แต่การหาคนทีจ่ ะมาท�ำต่อนีส่ เิ ห็น ทีจะยาก” ปัญหาทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือหา 76 |

คนท�ำงาน หากลูกจ้างมีทางเลือกก็ ไม่ มี ใ ครอยากท� ำ งานตรงส่ ว นนี้ แม้ แ ต่ ตั ว เจ้ า ของกิ จ การเองก็ ยั ง เหนื่อยล้ากับการท�ำงาน เนื่องจาก การดองไตปลาจะไว้ ใ จให้ ลู ก จ้ า ง ทั้งหมดไม่ได้ การดองไตปลาต้อง พิถีพิถัน แม้เพียงการรีดขี้ไม่หมด หรือการคนเกลือไม่ดี ก็ท�ำให้ไตปลา ดองไม่ได้คุณภาพอย่างที่ท�ำมา ส่วน ความหวังที่ลูกหลานเองก็เป็นไปได้ ยาก เพราะคนรุ่นใหม่มีโอกาสได้รับ การศึกษาสูงขึน้ ค่านิยมทีจ่ ะกลับมา รั บ ช่ วงต่ อกิ จ การทางบ้ านก็ ลดลง กิจการของน้าอ้อยจึงมีเพียงแรงงาน สองคนเท่านั้นในการไตปลาทูดอง ประมาณ ๑๐๐ กิโลกรัมต่อวัน ฉันอดสงสัยไม่ได้ ท�ำไมถึงหา คนท�ำไตปลาทูดองได้ยากขนาดนั้น “หนูได้กลิน่ เหม็นคาวไหมล่ะ” ฉันล�ำบากใจที่จะตอบค�ำถามตาม ความจริง ทั้งที่สิ่งแรกที่สัมผัสตั้งแต่ เดินเข้ามาที่นี่คือกลิ่นคาวที่ส่งกลิ่น คละคลุ้งและส่งกลิ่นแรงขึ้นเรื่อยๆ แต่ ดู เ หมื อ นว่ า น้ า อ้ อ ยจะเข้ า ใจดี แม้ว่าฉันจะไม่ได้เอ่ยออกไป “ใครๆเขาก็เหม็นและทนกลิ่น กันไม่ได้หรอกถ้าไม่ได้มาคลุกคลีกับ มันจริงๆ น้าอยู่กับมันมานานจนไม่ ได้กลิ่นมันไปแล้ว” ลูกของน้าอ้อย เองทีถ่ งึ แม้ไม่เคยท�ำไตปลาดองอย่าง จริงจัง แต่ก็ได้อาศัยอยู่ในบ้านที่มี การท�ำไตปลาทูดองตัง้ แต่เกิด ก็ยงั คง ไม่ชนิ กับกลิน่ ไตปลาดองจนถึงทุกวัน นี้ ดังนั้นค�ำว่าคลุกคลีคงไม่ได้นิยาม เพียงแค่การอยู่ร่วมกันกับมัน แต่คง รวมถึงการเข้าไปอยูแ่ ละเอาใจใส่กบั มัน เหมือนอย่างที่น้าอ้อยท�ำตั้งแต่


| ไตปลาทูดอง คือส่วนของเครื่องใน ปลา ที่เอาเหงือก ไส้ และรีดขี้ออก

เด็ก ซึ่งคงมากพอที่จะท�ำให้ “กลิ่น” ที่เหม็นกลายเป็นไม่มีกลิ่นส�ำหรับแก “น้าเคยเลิกกิจการ เลิกไปสามวันก็ตอ้ งกลับมาท�ำอีก เหมือนขาดอะไรไปในชีวติ ท�ำมันมาตัง้ แต่เกิด จน รู้สึกว่ามันก็เหมือนกับการหายใจนั่นแหละ” แล้วคนเราจะหยุดหายใจได้อย่างไร นี่กระมังที่เป็นเหตุผลให้น้า อ้อยยังคงท�ำไตปลาทูดองจนถึงทุกวันนี้ นักเรียนใหม่อย่างฉันที่คิดไปในตอนแรกว่าบทเรียนครั้งนี้คงมีระดับความยากพอสมควร แต่การลงมือ ภาคปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง ท�ำให้รวู้ า่ ถึงแม้ขนั้ ตอนเพียงไม่กขี่ นั้ ของการท�ำไตปลาดองอาจไม่ยงุ่ ยากแต่ลว้ นต้องการ ความอดทนและพิถีพิถันในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การรีดขี้ปลาทีละชิ้นๆ การคนให้เกลือละลาย ทนกับกลิ่นที่คลุ้ง ตลอดการท�ำงานและต่อสู้กับใจตัวเองที่คอยจะรบเร้าให้ล้มเลิกอยู่เสมอ นั่นคือเคล็ดลับส�ำคัญที่ไม่ควรมอง ข้ามในการท�ำงาน คือสาส์นส�ำคัญจากไตปลาดองที่ไม่เปลี่ยนแปลง... | 77


| ใบตองที่เตรียมไว้เย็บพาน นำ�มาแช่น้ำ� เพื่อเพิ่มความ ทนทาน

เรื่อง เจนยุภา จันทร์ตรี วริยา ช่างไม้ ภาพ กันต์หทัย จิตรไมตรีเจริญ ยศภัทร์ อาษารัฐ

ใบตองประดิษฐ์ชีวิต 78 |


นุษย์ลว้ นด�ำรงชีวติ ด้วย การเลียน แบบ สืบทอดและต่อยอด” คือสิง่ ที่ฉันได้เรียนรู้จากพี่เลหรือคุณกาญดา ค�ำไข หนึ่งในผู้ประดิษฐ์พานขันหมาก พานสินสอดและพานไหว้ด้วยใบตอง แห่งชุมชนวัดกัลยาณ์ บริเวณปากคลอง บางกอกใหญ่ฝั่งธนบุรี เมื่อฉันลองหลับตา ภาพทางเดิน แคบๆในชุมชนก็ปรากฏขึ้น ช่วงเวลา สายแบบนีเ้ ด็กๆ ทยอยไปโรงเรียน ผูค้ น เดินทางไปท�ำงานนอกบ้าน บรรยากาศ ในตรอกซอกซอยจึงเงียบสงบลง ฉัน ได้ยินเสียงหญิงสาวทักทายผู้คนคลอไป กั บ จั ง หวะฉี ก ใบตองที่ ป ระสานกั น

ราวกับเสียงดนตรี เมื่อเดินลึกเข้าไป จะพบกับพื้นที่เล็กๆ ขนาดประมาณ ๒ x ๓ เมตรซึ่งเป็นที่ท�ำงานของพี่เล การท�ำงานอยู่กับบ้านอาจไม่ใช่วิถี ของคนสมัยนี้ แต่ส�ำหรับเธอแล้วที่ แห่งนี้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ชีวิต ครั้งส�ำคัญ เป็นพื้นที่ของการท�ำมา หากิน และเป็นพืน้ ทีแ่ ห่งความเข้าใจ ร ว ม ถึ ง ค ว า ม ผู ก พั น กั บ ค น ใ น ครอบครัว “พีเ่ ป็นเด็กต่างจังหวัด เรียนจบ มัธยมก็มาท�ำงานในกรุงเทพฯ ขาย เสื้อผ้าอยู่ตามห้างฯ พอแต่งงานสัก พั ก ก็ ย ้ า ยมาอยู ่ ที่ นี่ ได้ เ ริ่ ม ท� ำ งาน | 79


การทำ�งานอยู่กับบ้านอาจไม่ใช่วิถีของคนสมัยนี้ แต่สำ�หรับ เธอแล้วที่แห่งนี้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ชีวิตครั้งสำ�คัญ เป็น พื้นที่ของการทำ�มาหากิน และเป็นพื้นที่แห่งความเข้าใจรวม ถึงความผูกพันกับคนในครอบครัว ใบตองสดได้สักสิบกว่าปีแล้ว” พี่เล เล่าถึงชีวิตก่อนได้เรียนรู้อาชีพช่าง ประดิษฐ์ใบตอง เธอเป็นสะใภ้ของ คุ ณ ยายช่ า งท� ำ บายศรี พื้ น บ้ า นผู ้ ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้เธอ การท�ำพานของที่นี่มีอายุราว ๓๐ ปี เริ่มต้นตั้งแต่สมัยคุณแม่สามี ของพี่เล ด้วยความสนใจต่อสิ่งรอบ ข้างท�ำให้ท่านไม่คิดว่าพานใบตองที่ วางขายในตลาดอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน เป็นเพียงความเคยชินที่ผ่านมาและ ปล่อยให้ผ่านไป คุณแม่ตัดสินใจซื้อ พานมาเริ่มต้นกระบวนการ “ลอก เรียนแบบ” โดยอาศัยความใส่ใจและ ความพยายามลองผิดลองถูก เรียนรู้ ปัญหาที่เกิดขึ้นจนค้นพบลู่ทางและ พั ฒ นากลายมาเป็ น ธุ ร กิ จ ภายใน ครอบครัวซึ่งเป็นแหล่งรายได้หลัก พีเ่ ลเล่าว่าช่วงแรกทีห่ ดั ท�ำรูส้ กึ หงุ ด หงิ ด ด้ ว ยซ�้ ำ เพราะพอเย็ บ ไป เรื่อยๆ แล้วใบตองบานออกไม่เป็น ทรง ต้องใช้ความพยายามอยู่นาน กว่าจะประสบความส�ำเร็จ และมี ความช�ำนาญจนพัฒนาเป็นความชืน่ ชอบและกลายเป็นผู้สืบทอดมาจน กระทั่งตอนนี้พี่เลอายุ ๓๓ ปีแล้ว ฉันเริ่มเบนความสนใจไปที่พานใบ กล้วยสีเขียวเข้มทีม่ ที งั้ ขนาดเล็กและ ขนาดใหญ่ บ้างแช่น�้ำอยู่ในกะละมัง บ้างวางอยู่บนพื้นอวดลวดลายอัน 80 |

ประณีตที่เกิดจากการพับอย่างใจเย็น และแม่นย�ำ ฉันมารูภ้ ายหลังว่าใบตองที่ ใช้นค้ี อื “ใบกล้วยตานี” ทีร่ บั มาจากปาก คลองตลาดอี ก ทอดหนึ่ ง มั ด ละ ๕ กิโลกรัม ราคา ๗๐ - ๓๐๐ บาท ความ ผกผันของราคานั้นขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้าอากาศ ช่วงฤดูฝนคือช่วงที่ใบตองมี คุณภาพดี สีจะออกเขียวคล�ำ้ ทีส่ ำ� คัญคือ ราคาถูก แต่ถ้ามีมรสุมก็จะท�ำให้หาใบ กล้วยคุณภาพดียากเนือ่ งจากน�ำ้ ท่วมจน กล้ ว ยยื น ต้ น ตายหรื อ ลมพั ด แรงจน ใบตองแตกออกเป็นริ้วๆ ราคาก็จะขึ้น สูงเป็นเท่าตัว เวลาผ่านไปราว ๒ ชัว่ โมง ปริมาณ ใบตองที่ ก องอยู ่ บ นพื้ น เริ่ ม ดู บ างตา เพราะจ�ำนวนหนึ่งได้กลายมาเป็นพาน ขนาด ๘ นิ้วอย่างสมบูรณ์และสวยงาม มันถูกส่งต่อเพื่อใช้เป็นพานขันหมาก หรือพานสินสอด โดยเฉลี่ยแล้วใบตอง ๑ มัดน�้ำหนัก ๕ กิโลกรัม สามารถน�ำมา พับเป็นพานขนาด ๘ นิ้วได้จ�ำนวน ๒-๓ ใบ นอกจากนีพ้ เี่ ลยังท�ำกระทงดอกไม้ เช่น กรวยขันหมาก พานพุ่ม รวมไปถึง กระทงด้วย งานใบตองประดิษฐ์ต้อง อาศัยความพิถีพิถันอย่างมาก ตั้งแต่ขั้น ตอนการเลือกวัตถุดิบ กระบวนการท�ำ ไปจนถึงการดูแลรักษา ถึงแม้ว่าคุณแม่ จะเลือกใช้ใบกล้วยตานีเนือ่ งจากมีความ แข็งแรงไม่แตกง่าย และไม่เลือกใบตอง

| อุปกรณ์ทำ�พาน ประกอบไปด้วยที่ เย็บกระดาษ ตะปู กรรไกร ใบตอง


อ่อน เพราะจะท�ำให้ใบตองเป็น “ไตนึ่ง” คือใบตองเริ่มเหี่ยว และเน่าเสีย กลายเป็น สีเหลืองน�้ำตาล ไม่สามารถน�ำไปใช้งานได้ แต่เท่านัน้ ยังไม่เพียงพอส�ำหรับการเดินทาง ของใบตองประดิษฐ์ที่เริ่มต้นจากชุมชนวัด กัลยาณ์ไปสู่ปากคลองตลาดและจ�ำแนก แจกจ่ายต่อไปยังลูกค้าต่างจังหวัด ดังนัน้ จึง ต้องเพิม่ ความทนทานให้ใบตองโดยน�ำพาน ที่ ท� ำ เสร็ จ แล้ ว ไปแช่ ใ นน�้ ำ สารส้ ม ที่ มี อัตราส่วน ๑:๑ ของน�ำ้ สะอาดหนึง่ กะละมัง และสารส้มหนึ่งหยิบมือ หลังจากนั้นจึงน�ำ พานทีผ่ า่ นทุกกระบวนการส�ำคัญเรียบร้อย แล้วบรรจุลงในถุงพลาสติกเพือ่ เตรียมส่งต่อ ไปยังสถานที่ต่างๆ เนื่องจากลวดลายอันเป็นเอกลักษณ์ ท�ำให้พานใบตองของที่นี่แตกต่างกับที่อื่น พี่เลกล่าวด้วยรอยยิ้มภาคภูมิใจว่าเคยเห็น งานใบตองที่บ้านได้ออกทีวีช่วงงานวันพ่อ

และวันแม่ งานกระทงขันหมากของพี่เลจะเรียกว่า “ลายตะลุ่ม” หรือ “ลายเปีย” ส่วนลวดลายที่ หลานสาวท�ำจะเรียกว่า “ลายหักคอม้า” ผล งานที่ดีจะตัดสินกันตรงความละเอียด สังเกต ได้จากลวดลายที่มีระยะห่างเท่าๆ กัน ส�ำหรับ ช่างประดิษฐ์ที่ช�ำนาญแล้ว เพียงใช้หางตา มองครูเ่ ดียวก็ทราบได้ทนั ทีวา่ งานไหนประณีต สวยงาม แต่ส�ำหรับฉันคงไม่สามารถแยกราย ละเอียดเหล่านี้ออกได้แน่ๆ พเี่ ลอธิบายเสริมว่าการขึน้ โครงกรวยถือว่า เป็นหัวใจส�ำคัญของงาน ต้องใส่ใจเป็นอย่าง มาก หากโครงสร้างไม่แข็งแรงส่วนประกอบที่ เหลือก็จะพังลงมา เมื่อขึ้นโครงเสร็จก็เริ่มท�ำ ยอดกรวยด้วยการม้วนใบตองเข้าหากันเป็นรูป กรวยแหลม น�ำไปติดกับโครงด้วยเข็มหมุด แล้วเย็บฐานเข้าหากันโดยใช้ลวดเย็บกระดาษ แทนการกลัดไม้แบบโบราณเพื่อความสะดวก รวดเร็ ว จากนั้ นจึ งน� ำ ไปประดั บตกแต่ งให้ สวยงามด้วยใบตองพับเป็นกลีบเล็บครุฑหรือ ที่พี่เลเรียกเองว่า “ลายจุ๊กจิ๊ก” และถ้าจะให้ ขันหมากดูเรียบร้อยและประณีตงดงามมากขึน้ เธอบอกว่าต้องตกแต่งด้วยใบตองที่พับเป็น “ลายนมสาว” หรือการประดับเกล็ดปิดไว้ที่ ฐานล่างสุด เนื่องจากพานใบตองเหล่านี้ใช้ประกอบ พิธีแต่งงาน ท�ำให้จ�ำนวนที่สั่งผูกติดกับฤกษ์ งามยามดีอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม่ค้าจากปาก คลองตลาดเจ้าประจ�ำตัง้ แต่สมัยคุณแม่จะโทร มาสัง่ ขนาดและลวดลายล่วงหน้าประมาณ 1-2 วั น โดยเฉพาะช่ ว งเดื อ นสิ ง หาคมถึ ง เดื อ น กันยายนจะมีรายการสั่งเข้ามามากถึงหลักสิบ ท�ำให้พี่เลและสมาชิกในบ้านนั่งตัดเย็บใบตอง กันถึงรุ่งเช้าของอีกวัน แต่รายรับนี้ก็ผกผันไป ตามฤกษ์ หมายความว่าหากวันไหนไม่มีฤกษ์ วันนั้นก็ไม่มีงานนั่นเอง ไม่น่าเชื่อเลยจริงๆ ว่าพื้นที่เล็กๆ ขนาด | 81


| พานใบตอง สำ�หรับใช้ในพิธี ขันหมาก

ท่านไม่คิดว่าพานใบตองที่วางขายใน ตลาดอยู่ทุกเมื่อเชื่อวันเป็นเพียงความ เคยชินที่ผ่านมาและปล่อยให้ผ่านไป... ไม่ถงึ ๑๐ ตารางเมตรทีพ่ เี่ ลใช้ทำ� งาน จะเป็นจุดเริ่มต้นการเดินทางของ บรรดาพานขันหมาก พานสินสอด และพานไหว้ ที่ จ ะถู ก แยกย้ า ย กระจายไปท�ำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่ง ของสั ก ขี พ ยานความรั ก ระหว่ า งคู ่ บ่าวสาวเชื้อสายไทยทั่วประเทศ “โอ้ แ ม่ เ จ้ า ” เสี ย งหญิ ง สาว ตะโกนออกมาดังลั่นคั่นจังหวะการ เย็บใบตอง เลือดสีแดงๆ ค่อยๆซึม ออกมาจากนิ้วชี้ของพี่เล เธอเดินไป ล้างแผลแล้วออกมานั่งท�ำงานต่อ ราวกับว่ามันเป็นเรื่องธรรมดาที่เกิด ขึ้นบ่อยๆ “ท�ำงานมาก็นานแล้วนะ พีก่ ย็ งั โดนแม็กเย็บนิว้ มืออยูบ่ อ่ ยๆ บางครัง้ ท�ำเพลินแล้วก็รีบ ในใจอยากให้งาน เสร็จไวๆ มันเลยผิดจังหวะไปหน่อย” แม้ว่าจะได้รับอุบัติเหตุอยู่บ่อยครั้ง แต่เธอก็ยังคงท�ำงานต่อไป โดยมี ความคิดว่ามันเป็นเรื่องธรรมดาที่ 82 |

ต้องเจอ ถ้าท�ำความเข้าใจมัน เราจะรูว้ า่ สิ่งที่เราต้องท�ำก็คือท�ำงานให้ส�ำเร็จ “ถ้ามัวมางอแง พี่ก็จะท�ำงานต่อ ไปไม่ได้” การท�ำงานใบตองอยู่ที่บ้านท�ำให้ เธอสนิทสนมกับคนในครอบครัวมากขึน้ จากการได้พูดคุยกันระหว่างท�ำงาน ได้ มีเวลาดูแลคุณตา ลูกๆ หลานๆ ท�ำให้ เธอเข้าใจทุกคนในบ้าน ยิ่งไปกว่านั้น ออฟฟิศหน้าบ้านของพี่เลยังเป็นพื้นที่ พบปะพูดคุยกับชาวบ้านคนอืน่ ๆ ทีผ่ า่ น ไปมา เธอสามารถท�ำงานร่วมไปพร้อมๆ กับไถ่ถามสารทุกข์สุขดิบผู้คนที่ผ่านไป มา ท�ำให้เธอรู้จักคนในชุมชนมากขึ้น เรื่ อ ยๆ หากวั น ไหนที่ พี่ เ ลใช้ ใ บตอง ท�ำงานไม่หมด เธอจะน�ำส่วนที่เหลือไป ให้บ้านท�ำขนม เธอเล่าให้ฉันฟังด้วย ความรู้สึกยินดีที่ได้น�ำสิ่งที่มีไปแบ่งปัน ให้ผู้อื่น “เพราะพี่เริ่มจากศูนย์ ไม่มีอะไร อย่างคนอืน่ เขาเลย งานนีจ้ งึ เป็นงานทีพ่ ี่

| คุณเลกับท่วงท่าการเย็บ พานใบตองอันชำ�นาญ


รักเพราะมันสร้างชีวิตให้กับพี่” เธอจึงมุ่งมั่นที่ จะใช้อาชีพช่างท�ำใบตองประดิษฐ์เลีย้ งดูคนใน ครอบครัว และส่งต่อความรู้ที่เธอมีไปยังลูก หลาน พร้ อ มเรี ย นรู ้ ชี วิ ต ที่ ส วยงามราวกั บ ใบตองทีป่ ระดับอยูบ่ นฐาน ให้ทกุ ส่วนของชีวติ ประกอบเข้าเป็นหนึ่งเดียวกัน กว่า ๓๐ ปี ทีอ่ าชีพนีย้ งั มีลมหายใจแม้วา่ ผู้ริเริ่มได้จากโลกนี้ไปแล้วก็ตาม ไม่มีใครรู้ว่าพี่ เลจะท�ำหน้าที่เป็นผู้สืบทอดภูมิปัญญาไทยที่ ถู ก ต่ อ ยอดให้ ด� ำ รงอยู ่ ใ นสั ง คมด้ ว ยความ มุมานะพยายามของคุณแม่ได้อีกนานแค่ไหน หลังจากที่ฉันได้พูดคุยกับพี่เล ฉันรู้สึกได้ถึง ความหวัง เพราะในช่วงปิดเทอมจะจ้างลูกสาว ให้ช่วยท�ำพานโดยจ่ายค่าแรงวันละ ๒๐๐๓๐๐ บาท ฉันคิดว่านี่คือกลอุบายอันแยบยล ที่ค่อยๆ ปลูกฝังความรักที่มีต่ออาชีพนี้ไปสู่ลูก ทีละน้อยๆ เผื่อว่าสักวันหนึ่งลูกจะเข้ามานั่ง

แทนที่และสานต่อความรู้ความสามารถ ในการประดิษฐ์พานแบบต่างๆ ที่เปรียบ เสมือนมรดกตกทอดอันทรงคุณค่าของ ครอบครั ว ที่ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของพิ ธี ก าร ส�ำคัญตามขนบประเพณีไทยอีกทั้งเป็น อาชีพหลักที่สร้างรายได้เลี้ยงปากเลี้ยง ท้องสมาชิกในครอบครัวมาร่วม ๒ ช่วง อายุคน กอ่ นจากกันพีเ่ ลกล่าวทิง้ ท้ายว่า “ถ้า มีโอกาสก็กลับมาอุดหนุนพี่บ้างนะ” ฉัน ได้แต่อมยิ้มแล้วนึกในใจว่า “ถ้าฉันมี โอกาสนั้นบ้างคงจะรู้สึกดีไม่น้อย....”

| 83


| ปลาเข็มหม้อลงสนามฝึกซ้อมต่อสู้กัน

เรื่องเล่าเหนืออ่างประลอง เรื่อง วรรณิดา อาทิตยพงศ์ สิรามล ต้นศิริ ภาพ จุฑารัตน์ ภิญโญดุลยเจต อาคม พวงมาลี

ลูบขอบอ่างไม่ให้เขาตกใจ ให้เขาเคย เขาจะได้ไม่ตกใจ เหมือน เราเล่นกับเขา ลูบหัวลูบหลัง เล่นกับ เขาอย่างนี้ ให้เขาเชื่อง ให้เขาชิน” พูดถึงความสัมพันธ์ของคนกับ ปลา ฉันนึกออกแต่เรื่องปลาบู่ทอง เอื้อยมารอแม่ปลาบู่ที่ท่าน�้ำ นึกไม่ ออกเลยว่า นอกจากให้อาหาร ดูปลา ว่ า ยในตู ้ ห รื อ อ่ า ง คนกั บ ปลาจะ ผูกพันกันได้ลึกซึ้งไปมากกว่านั้น แต่ การได้เข้าไปดูการเฝ้าเลี้ยงปลา ฝึก ปลาเข็มหม้อของคุณลุงอุดร ฉาย ปรีชา หรือลุงหวอ อายุ ๗๐ ปี ผู้ สืบทอดการเลี้ยงปลาเข็มหม้อจาก 84 |

คุ ณ พ่ อ และคุ ณ ลุ ง สมาชิ ก เพี ย งหนึ่ ง เดี ย วของชมรมอนุ รักษ์ ป ลาเข็ ม หม้ อ ชุมชนวัดกัลยาณ์ ท�ำให้ฉันเปลี่ยนความ คิด ปลาเข็มเป็นปลาน�้ำจืดขนาดเล็ก ขนาดความยาวตัวยาวกว่าปลาหางนก ยูงนิดหน่อย ทีไ่ ด้ชอื่ ว่าปลาเข็มนัน้ เนือ่ ง มาจากปากล่างมีลักษณะเรียวแหลม คล้ายเข็ม และปากบนจะยาวเพียงครึ่ง หนึ่งของปากล่าง กินลูกน�้ำเป็นอาหาร ส่วนใหญ่พบได้ตามท้องร่องสวน เด็ก ตามบ้านสวนในอดีต โดยเฉพาะในแถบ ฝั่งธนบุรีจะรู้จักปลาเข็มหม้อดี เพราะ ชอบแอบไปช้อนมาเลีย้ ง เพาะพันธุ์ และ


“ลูบขอบอ่างไม่ให้เขา ตกใจ ให้เขาเคย เขาจะ ได้ไม่ตกใจ เหมือนเราเล่น กับเขา ลูบหัวลูบหลัง เล่น กับเขาอย่างนี้ ให้เขาเชื่อง ให้เขาชิน” | ลุงหวอกำ�ลังทอดสายตาดูปลาเข็มอย่างเอ็นดู

| 85


| ห่างเพียงไม่กี่ก้าว ระหว่าง ที่นอนคนกับปลาเข็ม

| ไรน้ำ� อาหารอันโอชะของ ปลาเข็มหม้อ

86 |


น�ำปลาเข็มหม้อตัวผูม้ ากัดกัน โดยน�ำมาเลีย้ งและแข่งกัน ในอ่างดิน เป็นการละเล่นที่เป็นที่นิยมมากในยุคนั้น มี บันทึกว่าในช่วงรัชกาลที่ ๖ ย่านวัดกัลยาณ์เป็นแหล่ง เลี้ยงปลาเข็มหม้อแหล่งใหญ่แห่งหนึ่ง จนปัจจุบันปลา เข็มหม้อหายากขึ้น เพราะเรือกสวนไร่นาหดหาย จาก สวนกลายเป็นเมือง เป็นถนน ประกอบกับการเล่นปลา กัดก็เข้ามาแทนที่ การละเล่นกัดปลาเข็มก็ลดความนิยม ลงอย่างน่าเสียดาย “ก็เราเลี้ยงเขาในหม้อดิน ก็เลยเรียกว่าปลาเข็มหม้อ” เสี ย งสุ นั ข สามสี่ ตั ว เห่ า เกรี ย วกราว กรู อ อกมา ต้อนรับ แยกเขีย้ วด้วยท่าทางเป็นมิตรชนิดอยากเอาเขีย้ ว ฝังเนื้อเราเต็มที่ เป็นด่านแรกที่เราเจอะก่อนจะไปพบ ปลาเข็มหม้อ ที่ชมรมอนุรักษ์ปลาเข็มหม้อ ชุมชนวัด กัลยาณ์ ซึ่งเป็นบ้านของคุณลุง ภายในเป็นอาคารไม้ชั้น เดียว ค่อนข้างอุดอู้ เต็มไปด้วยหม้อดิน อ่างดินวางเรียง

กัดกันสีทองชนะ เราเลยเอามาผ่าท้องเลย พอพ่อกลับ บ้านเห็นเข้าเลยโดนก้านมะยมหน้าบ้าน แต่สุดท้ายแล้ว ก็กลับมารักเหมือนเดิม” คุณลุงหวอฉายภาพความทรงจ�ำในวัยเยาว์ที่ยังคง ชัดเจนในหัวใจ ให้คนแปลกหน้าอย่างฉันฟังโดยเริ่มต้น จากวีรกรรมในวัยเยาว์ คุณลุงเริ่มเลี้ยงปลาเข็มหม้อ มากว่า ๕๐ ปีแล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ก็เลี้ยงอยู่ตรงนี้ ตลอดมา คุณลุงเลี้ยงตั้งแต่เด็ก ประมาณ ๑๐ ขวบ บรรพบุรุษคุณลุงเลี้ยงอยู่แล้ว ก็ชอบตั้งแต่ตอนนั้น เคย แอบเอาปลาพ่อมากัดกันก็มี โดยจะเลี้ยงเป็นงานอดิเรก ท�ำงานกลับมาก็มานั่งดูปลา อุปกรณ์และพันธุ์ปลาทั้ง หลายก็เอามาจากของต้นตระกูลทั้งนั้น อุปกรณ์ก็หาได้ ทั่วไปตามวิถีชีวิต (อดีต) ชาวสวนโดยแทบไม่ต้องลงทุน ของแต่ละชิ้นก็มีที่มาที่สะท้อนวิถีชีวิตของคนใน แถบชุมชนวัดกัลยาณ์ยุคก่อนได้อย่างน่าสนใจ อ่างดิน เผา เป็นอ่างก้นเตี้ย ปากกว้าง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง

ปลาเข็มก็เหมือนมวย เหมือนไก่ จะต้องมีการซ้อมกันก่อน เวลาเขาเลิกแล้วก็เอาเขากลับเข้าที่นอน อ่างละตัว อ่างละตัว รายอย่างเป็นระเบียบ ภายหลังฉันจึงได้รู้ว่า นั่นละ สวรรค์ของปลาเข็มหม้อเขาล่ะ เมื่อพวกเราเข้าไป คุณลุงหวอก็จัดการหยิบกะลา มะพร้าวทุยไปตักปลาเข็มหม้อตัวผู้สองตัวออกจากอ่าง นอน มาปล่อยในอ่างประลอง เราจะห้ามด้วยเกรงใจ กลัวปลาเหนื่อยเปล่า ก็ไม่ทันเสียแล้ว มารู้ภายหลังว่า คุณลุงจะเอาปลามาลงซ้อมกันเป็นประจ�ำทุกวัน โดย แต่ละครั้ง ปลาจะใช้เวลาสู้กันประมาณหนึ่งชั่วโมง ก่อน ปล่อยคุณลุงก็เอากะลาเปรียบมาเทียบขนาดปลาเสีย ก่อน ต้องขนาดพอๆ กันจึงจะแข่งได้ จากนัน้ ก็ปล่อยปลา ลงจากกะลา ลงน�้ำปุ๊บ ปลาสองตัว ฝ่ายหนึ่งสีขาว ฝ่าย หนึง่ สีดำ � ก็วา่ ยเข้าหากันอย่างรวดเร็ว โบกหางเข้าใส่ เริม่ ต่อสู้โดยหันปลายปากเข้าประสานกัน และค้างไว้ท่านั้น หมุนวน เหมือนนักสู้เข้าสู่สังเวียน ในขณะที่บทสนทนา ของผู้ชมเหนือสังเวียนอ่างดินเผาก็เริ่มต้นขึ้น “เด็กๆ เคยเอาปลาเข็มมากัดกัน เราชอบตัวสีด�ำ แต่ปลาเก่งๆ จะตัวสีเหลืองทองเหมือนเทียน พอเอามา

ประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ในอดีตอ่างดินลักษณะเช่นนี้ จะใช้ยีเส้นขนมจีน เรียก “อ่างยีเส้นขนมจีน” แล้วนัก เลี้ยงปลานิยมเอามาใช้เลี้ยงปลา เพราะอ่างเปิดกว้าง เห็นปลาได้ชดั เจน ท�ำหน้าทีเ่ ป็นทัง้ อ่างไล่ อ่างเพาะพันธุ์ และอ่างประลองก�ำลัง นอกจากนี้ยังมี อ่างกวนห่อหมก ไหกระเทียมดอง (คล้ายไหปลาร้า) และอ่างหม้อเลาะ ซึ่งแต่เดิมเป็นตุ่ม ขนาดเล็ก แล้วเลาะปากตุม่ ออกให้ขนาดปากกว้างขึน้ จึง เรียกว่าอ่างเลาะ ทัง้ หมดนีใ้ ช้สำ� หรับเป็นอ่างพักปลา หรือ อ่างนอน เนื่องจากปลาเข็มหม้อจะต้องแยกให้นอนอ่าง ละตัว ทัง้ ยังมีอปุ กรณ์ทใี่ ช้สำ� หรับใส่ปลา ตักปลา ล้วนท�ำ มาจากกะลามะพร้าวขัดมันทั้งสิ้น เนื่องจากภาชนะที่ใช้ เลีย้ งปลาเข็มนัน้ ต้องเป็นภาชนะทีท่ ำ� ด้วยดิน หรือภาชนะ ทึบแสงเช่นกะลามะพร้าว เพราะถ้าเลีย้ งในภาชนะทีเ่ ป็น แก้ว หรือสะท้อนแสง ปลาเข็มจะว่ายไปชนเงาตัวเอง ท�ำให้ปากล่างหักได้ ฉันทอดสายตาไปมองอ่างดินเผาใบข้างๆ เห็นปลา | 87


เข็มคู่รักก�ำลังเกี้ยวพากันในอ่าง คุณ ลุงหวอเห็นดังนั้นจึงเสริมเรื่องการ ผสมพันธุ์ปลาเข็มหม้อว่า การผสม พันธุข์ องปลาเข็มหม้อ ๑ ครัง้ ตัวเมีย จะออกลูกถึง ๒ ครั้งด้วยกัน เพราะ ตัวเมียมีไข่ ๒ ฝักและการออกลูก แต่ละครัง้ นัน้ ต้องเว้นระยะห่างนาน ๒๕ วัน ซึ่งหลังจากผสมพันธุ์แล้ว ปลาเข็มแม่พันธุ์ ๑ ตัว จะให้ลูกออก มาคราวละ ๘๐–๑๐๐ ตัวเลยทีเดียว ลูกปลาเข็มในระยะแรก จะเรียกว่า ‘ตัวอ่อน’ กินลูกไรเป็นอาหาร นาน ๑๐ วัน แล้วจึงเจริญเติบโตกลายเป็น ลูกปลา ที่ต้องกินลูกน�้ำที่ผ่านการ กรองแล้วเป็นอาหาร อย่างน้อย ๑ อาทิตย์ จึงจะเติบโตสมบูรณ์ และ สามารถกินอาหารเหมือนอย่างพ่อ กับแม่ได้ นัน่ คือ ลูกน�ำ้ ทีย่ งั มีชวี ติ หา ซื้อได้จากเล้าไก่ ซอยวัดโรมัน ที่ขาย ในราคากิโลกรัมละ ๙๐ บาท ทั้งนี้ เพราะปลาเข็มเป็นปลาล่าเหยื่อจะ กินเฉพาะอาหารที่ยังมีชีวิตเท่านั้น

ปลาลงน�ำ้ ได้สกั พักก็ใช้ไม้พายพัดน�ำ ้ ให้ ป ลาว่ า ยทวนน�้ ำ เป็ น การออก ก�ำลังกายของปลา เหมือนคนหรือ นักมวยที่ต้องออกวิ่งตอนเช้ามืด คุณลุงเล่าพลางสาธิตให้ดู มือ จับไม้พายนิ่ง พายน�้ำเบาๆ อย่าง สม�่ำเสมอ ไม่มีตก แม้จะพูดไปพลาง พายไปพลางก็ตาม “ลุงฝึกปลาแบบ นี้ทุกตัว ทุกวัน” หลังจากให้ปลาออกก�ำลังกาย ตอนเช้า ก็จะย้ายปลาจากอ่างซ้อม ออกก�ำลังไปอ่างประลอง ให้ปลาได้ ไล่กบั ลูกไล่ หลังจากนัน้ ก็จะตักไปใส่ กะโหลกแขวน ซึง่ เป็นกะลามะพร้าว ขัดมันส�ำหรับใส่ปลาไปแข่งขันตามที่ ต่างๆ วิธฝี กึ ของคุณลุงคือ เมือ่ ใส่ปลา ในกะโหลกแขวนแล้วก็จะแกว่งเพื่อ ให้ปลาเคยชิน เวลาน�ำปลาไปแข่ง จริง ต้องหิ้วกะโหลกไป น�้ำกระฉอก ปลาจะได้ไม่ตนื่ สนามนัน่ เอง ฝึกสาม ขั้ น ตอนนี้ ทุ ก วั น ประมาณสาม อาทิ ต ย์ จึ ง จะเอาออกแข่ ง ขั น ได้ สถานที่ แ ข่ ง ก็ จ ะวนเวี ย นไปบ้ า น “ตื่นเช้ามาก็เปิดอ่าง เอาปลาออก เพื่อนๆ ที่เลี้ยงปลาเข็มด้วยกัน โดย ก�ำลัง” หลักๆ ก็จะเป็นที่แปดริ้ว (ฉะเซิง เมื่ อ ถามถึ ง กิ จ วั ต รประจ� ำ วั น เทรา) นครชัยศรี (นครปฐม) และ คุ ณ ลุ ง ค� ำ ตอบที่ ไ ด้ ก็ ท� ำ ให้ เ ราอึ้ ง จันทบุรี เนือ่ งด้วยกิจวัตรกว่าครึง่ ของวันล้วน เกี่ยวข้องกับปลาเข็มหม้อทั้งสิ้น เริ่ม “ปลาเข็มก็เหมือนมวย เหมือนไก่ จะ ต้นเช้ามาก็จะเปิดอ่างน�้ำ ช้อนฝ้า ต้องมีการซ้อมกันก่อน… เวลาเขา ช้อนฝุ่นออก ท�ำให้น�้ำสะอาดก่อน เลิกแล้วก็เอาเขากลับเข้าทีน่ อน อ่าง เสร็จแล้วก็จะจับปลาในวัยทีเ่ ริม่ ต่อสู้ ละตัว อ่างละตัว” ได้ลงปล่อย ซึง่ วงจรชีวติ ของปลาเข็ม พูดถึงแข่งขัน เราก็นึกขึ้นได้ว่า หม้อโดยเฉลีย่ นัน้ อยูท่ ี่ ๑๐๕ วัน หรือ ในอ่ า งประลองสองปลายั ง คง อยู่ระหว่าง ๙๐-๑๒๐ วัน โดยปลา ประสานปากนัวเนียกันอย่างดุเดือด ตัวผูท้ จี่ ะน�ำลงแข่งได้นนั้ ต้องอายุได้ เลยหันไปให้ความสนใจกับปลาเข็ม ประมาณ ๖๐-๙๐ วัน หลังปล่อย หม้อที่ก�ำลังสู้อยู่บ้าง ปลาสองตัว 88 |

ก�ำลังอยูใ่ นท่าทีใ่ ช้ฐานปากงับกัน ล�ำ ตัวท�ำมุมฉาก ต่างก็พยายามดันอีก ตัวหนึ่งให้หมุนไปรอบๆ ฉันเห็นตัวสี ด�ำอยูด่ า้ นบนตัวสีขาว อดไม่อยูโ่ พล่ง ออกไป “ตอนนีต้ วั ด�ำได้เปรียบอยูใ่ ช่ ไหมคะ” แต่ผิดถนัด คุณลุงมองปราด เดียวก็บอกได้ทันทีอย่างผู้ช�ำนาญ การ “ตอนนี้ตัวขาวได้เปรียบ ปลา เข็มนี่ถ้าคาบปากล่างจะเป็นตัวได้ เปรียบ เพราะว่าปากล่าง ข้างใต้คาง เขาจะเป็นเนื้อนิ่ม เขาจะเจ็บ” ยัง ไม่ทนั ขาดค�ำ ปลาสองตัวก็ดดี ผึง่ ออก จากกัน โดยฝ่ายตัวขาวกลายเป็น ฝ่ายไล่กวดตัวด�ำ เท่ากับว่าตัวขาว

| ลุงหวอตักปลาเข็มกัดภายในอ่าง อย่างช้าๆ ด้วยความทะนุถนอม


ชนะอย่างเป็นทางการ ฝ่ายคุณลุงก็กุลีกุจอลุก ขึน้ หยิบกะลาตักปลามาสองใบ ช้อนปลาสองตัว แยกจากกัน ตัวสีด�ำสภาพดูไม่ค่อยสวยนัก มี บาดแผลตรงกกหูและโคนครีบ จากผิวสีด�ำเข้ม ก่อนลงแข่ง ตอนนี้กลายเป็นสีขาวๆ เทาๆ ไป เสียแล้ว คุณลุงบอกเราว่า เวลาปลาเข็มแพ้กเ็ หมือน คนหมดก�ำลังใจ คือจากด�ำ สีก็ลอก ถ้าจะให้ เหมือนเดิมก็ตอ้ งใช้เวลาประมาณหนึง่ ประมาณ หนึ่งที่ว่านั้นคือหนึ่งอาทิตย์ วิธีการพักฟื้นปลา คือ เอาปลากลับเข้าอ่างนอนก่อน วันรุ่งขึ้นจึง เอาดิ น สะอาดซึ่ ง เป็ น ดิ น ส� ำ หรั บ ปั ้ น พระมา ละลายน�้ำ แล้วต่อสายยางเปลี่ยนน�้ำเป็นน�้ำดิน ให้ปลาเข็มหม้ออยู่ เพื่อรักษาแผล เมื่อปลาหาย ดีแล้วค่อยมาเริ่มฝึกใหม่อีกครั้งหนึ่ง

สายตาเป็นประกายของคุณลุงบอกเรา ว่า สิ่งที่ต้องท�ำวนซ�้ำอยู่ตลอดนั้น ไม่เคยเป็น สิ่งน่าเบื่อหน่ายส�ำหรับคุณลุงเลย “พอเขา เก่ง ก็เลยท�ำให้เราผูกพันกับเขา” เราจากมาแล้ว แต่คณ ุ ลุงก็ยงั นัง่ อยูต่ รง นั้น บนเก้าอี้ไม้เล็กๆ ที่ล้อมรอบไปด้วยอ่าง ดินใส่ปลาเข็ม เป็นทั้งคนฝึกซ้อม กรรมการ วางมวย ห้ามมวย อย่างใจเย็น เป็นสุข กับ ปลาเข็มหม้อที่รัก เหมือนอย่างที่เคย ก่อนจากเราแอบถามอย่างอดไม่ได้วา่ มี คนรับสืบทอดปลาจากคุณลุงไหม คุณลุงส่าย หน้าหงอยๆ “ตอนนี้ไม่มี ยังไม่มี ไม่มีทายาท หนูเป็นทายาทไหมล่ะ” อยากเป็นทายาทปลาเข็มหม้อคุณลุง กันไหมคะ...

เป็นทั้งคนฝึกซ้อม กรรมการ วางมวย ห้ามมวย อย่างใจเย็น เป็นสุข กับปลาเข็มหม้อที่รัก เหมือนอย่างที่เคย... | 89


ศาสนาสร้างสัมพันธ์ครอบครัว

90 |


| 91


เลียบฝัง่ บางกอกน้อย ต่างศาสนา ต่างศรัทธา ต่างอยู่ร่วม

92 |


เรื่อง: เนติเชาวน์ ภีมรพี สุภาวดี ปรารถนา ปุญชรัสมิ์ ภาพ: ฐิติกรณ์ ทศวรรณ ศุภสิน ณัฐภัทร อทิตยา

คงแก้ว ธุรารัตน์ เจ๊ะหมวก ส�ำราญสุข ทรงธรรมวัฒน์ นันบุญมา สุขโชติ พูนธนาทรัพย์ วรรณลี พุ่มกุมาร

ปวีณา ห้อยกรุด ณิชาปวีณ์ พรรุจีลักษณ์ มัลลิกk วิรุฬธรรม มนัสชนก แดงนิเวศน์ วิศรุต แสนค�ำ ศักดิ์ณรินทร์ ไชยฤกษ์ ภิญญาพัชญ์ ปรีดาบุญ นิธิภัทร์ พิพัฒน์ประเทื | 93อง


แตกต่ า ง/เหมื อ นกั น (๑) สายสัมพันธ์ สุหนี่-ชีอะฮ์ ริมฝั่งคลองบางหลวง หัวใจของศาสนาอยู ่ท่ีศาสนิกชน หัวใจของชุมชน คือ ‘การอยู ่ร่วมกัน’

| ธง เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้บอกเวลามาตั้งแต่อดีต

งสีแดงฉานโบกสะบัด เด่นเหนือขึน้ ไปตัดกับสีทอ้ งฟ้า ด้านบนของซอยเจริญพาศน์ ริมฝั่งถนนอิสรภาพ ถั ด ลงมา คื อ หลั ง คาสี เ ขี ย วของเรื อ นมนิ ล าคอนกรี ต ประดับด้วยไม้ฉลุลวดลายวิจิตร งามแปลกตาตามรูปแบบ สถาปั ต ยกรรมอาคารขนมปั ง ขิ ง ที่ ผ สานกลิ่ น อายและ มนต์ขลังของศาสานาอิสลาม กลมกลืนเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน สถานที่แห่งนี้ถูกขนานนามว่า “กุฎีเจริญพาศน์” กว่า ๑๐๒ ปีที่อิมามบาระฮ์ หรือศาสนสถานของ ศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮ์แห่งนีถ้ กู เรียกว่า กุฎเี จริญพาศน์ ทัง้ ชือ่ กุฎแี ละชือ่ ซอยสถานทีต่ งั้ ล้วนมาจากชือ่ “สะพานชุด เจริญ” ซึ่งประกอบด้วย เจริญรัช เจริญราษฎร์ เจริญศรี เจริญทัศน์ เจริญสวัสดิ์ และเจริญพาศน์ สร้างขึน้ ในรัชสมัย ล้ น เกล้ า ฯ รั ช กาลที่ ๖ เดิ ม ที กุ ฎี ห ลั ง นี้ ถู ก เรี ย กว่ า กุฎีล่าง มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) โดยเรียกให้คล้องกับกุฎบี น ซึ่งอยู่เหนือขึ้นไปตามสายแม่น�้ำเจ้าพระยา “คนไทยเรียกเราว่า แขกเจ้าเซ็น อาจเพราะเห็นจาก พิธีเจ้าเซ็นจึงเรียกตามกันมา” ชาตรี นนทเกศ ชายวัย ๖๓ ปี ผู้ดูแลหรือทรัสตีกุฎีเจริญพาศน์ อธิบายภูมิหลัง ความเป็นมาของกุฎีเจริญพาศน์ “พิธีเจ้าเซ็น เป็นชื่อที่คน ไทยเรียก แต่โดยทัว่ ไปคือการร�ำลึกถึงวีรกรรมการเสียชีวติ ของฮู เ ซน หลานของท่ า นศาสดา ที่ เ มื อ งกั ร บาลา ประเทศอิรกั ขณะทีพ่ าครอบครัวเดินทางจากเมืองมาดีนะ ซาอุดิอาระเบียไปยังอิรัก ระหว่างทางได้เกิดการรบรากับ ทหารกลุม่ ทีเ่ ห็นต่าง จนเสียชีวติ ชาวชีอะฮ์ทวั่ โลกจึงจัดพิธี ร�ำลึกถึงท่านในทุกวันที่ ๑๐ ของเดือนมุฮัรรอม”

94 |

| หลังคาโดมของ มัสยิดต้นสน เด่นตระหง่านในชุมชน


| อาคารทรงมนิลาหลังนี้ ถูกขนานนามว่า กุฎีเจริญพาศน์

เดิมย่านชุมชนแห่งนี้เรียกว่า ย่านชุมชนแขกเจ้าเซ็น ตามบรรพบุรุษชาวมุสลิมเชื้อสายเปอร์เซียที่เรียกว่า แขกมะหง่น หรือ แขกเจ้าเซ็น ซึ่งเข้ามาตั้งรกรากเป็นกลุ่มแรก และในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซียกลุ่มนี้แบ่ง ออกเป็น ๒ กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลาม นิกายชีอะฮ์ และอีกกลุ่มหนึ่งหันไปนับถือศาสนาพุทธ เมือ่ เดินลัดเลาะเข้าซอยเจริญพาศน์ ผ่านชุมชน ร้านค้า และวัดหงส์รตั นาราม เลีย้ วเข้าสูต่ รอกเล็กๆ เลียบคลอง ก่ อ นถึ ง สะพานอนุ ทิ น สวั ส ดิ์ จะพบ ‘มั ส ยิ ด ต้ น สน’ เป็ น ศาสนสถานมุ ส ลิ ม อี ก แห่ ง หนึ่ ง ที่ อ ยู ่ ไ ม่ ไ กลกั น นั ก อาคารสถาปัตยกรรมแบบอาหรับสีเปลือกไข่สวยนวลตาหลังคาทรงโดม ถือเป็นศาสนสถานแห่งถือว่าเก่าแก่และ ส�ำคัญอีกแห่งของศาสนาอิสลาม นิกายสุหนี่ ในประเทศไทย มั ส ยิ ด ต้ น ส้ น สร้ า งขึ้ น ตั้ ง แต่ ส มั ย กรุงศรีอยุธยา เดิมนั้นเรียกว่า กุฏีใหญ่ โดย เรียกย่อมาจากชื่อเต็มว่า กุฎีบางกอกใหญ่ เนื่ อ งจากตั้ ง อยู ่ บ ริ เ วณใกล้ ป ากคลอง บางกอกใหญ่ ซึ่งเป็นคลองที่มีความส�ำคัญ มาตั้งแต่อดีตและถือเป็นแม่น�้ำเจ้าพระยา สายเดิมด้วย ภายหลังมีการสร้างอาคารใหม่ และปลู ก ต้ น สนคู ่ ที่ ห น้ า ประตู ก� ำ แพง จึงเปลี่ยนชื่อเป็นมัสยิดต้นสนอย่างปัจจุบัน ชาวมุสลิมอยู่คู่กับคลองบางหลวงมา ช้านาน ตั้งแต่ในอดีตที่ยังเรียกกรุงเทพฯ ว่า ‘บางกอก’ เดิมคลองบางหลวงเคยเป็นส่วน หนึ่ ง ของแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาสายเก่ า ซึ่ ง มี ลักษณะโค้งอ้อม จึงได้มีการขุดลัดคูคลอง

บางกอก เพื่อย่นระยะทางการเดินทางและ อ�ำนวยความสะดวกให้แก่บรรดาพ่อค้า รวม ถึงทูตจากตะวันตก เรียกว่าคลองลัดบางกอก โดยแรงงานทีม่ าขุดคลองมาจากหลากหลาย เชือ้ ชาติ บางส่วนเป็นชาวมุสลิมเชือ้ สายจาม เมือ่ กาลเวลาผ่านไปเส้นทางของคลองขุดลัด ได้ ข ยายขนาดขึ้ น จนกลายมาเป็ น แม่ น�้ ำ เจ้าพระยาในปัจจุบัน ส่วนแม่น�้ำสายเดิม กลับมีสภาพเล็กลงจนกลายมาเป็นคลอง

| 95


| คลองบางกอกน้อย เส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงชุมชนเลียบฝั่ง

96 |


ความเป็นมาของมุสลิมในแถบชุมชนบางกอกน้อย หรือชุมชนริม ฝั่งคลองบางหลวงนั้น เริ่มต้นจากการเดินทางของพ่อค้าวาณิชชาว เปอร์เซียซึ่งเป็นมุสลิมนิกายฃีอะฮ์ ที่คนไทยเรียกกันว่า แขกเจ้าเซ็น เข้ามาค้าขายในสมัยอยุธยา ท�ำให้มีโอกาสใกล้ชิดกับขุนนาง และด้วย ความสามารถทีโ่ ดดเด่นจึงได้มโี อกาสรับราชการและได้รบั การแต่งตัง้ จากพระเจ้าแผ่นดินให้เป็นจุฬาราชมนตรี ต� ำ แหน่ ง นี้ สื บ ทอดสู ่ ท ายาทรุ ่ น ต่ อ รุ ่ น และจุ ฬ าราชมนตรี คนสุดท้ายในสมัยอยุธยาคือ จุฬาราชมนตรีเชน สมัยรัตนโกสินทร์ จุฬาราชมนตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งคือ จุฬาราชมนตรีก้อนแก้ว ถัดมาคือจุฬาราชมนตรีอากาหยี่ (ผู้สร้างกุฎี เจริญพาศน์) จนมีการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ต�ำแหน่ง จุฬาราชมนตรีจงึ เปลีย่ นไปอยูใ่ นสายของนิกายสุหนี่ เนือ่ งจากหลังจาก นายแช่ม พรหมยงค์ หนึ่งในคณะปฏิวัติ ที่นับถือนิกายสุหนี่ ได้ตรา พระราชบัญญัติมัสยิดอิสลามขึ้นใหม่ บทบาทของมุสลิมนิกายชีอะฮ์ จึงด้อยลง บริเวณที่ตั้งของศาสนสถานทั้งสองแห่งนี้เป็นย่านการค้าส�ำคัญ ของริมฝั่งคลองบางหลวง นั่นคือ ตลาดสะพานพระรามหกข้าม คลองบางกอกใหญ่ ในช่วงรัชกาลที่ ๔ – ๖ และเป็นชุมชนที่มีชาว มุสลิมอาศัยอยู่รวมกันหนาแน่นมากที่สุดในสมัยนั้น นับว่าเป็นศูนย์ รวมทางการค้าและศาสนาอิสลามที่ส�ำคัญอีกแห่งของฝั่งขวาแม่น�้ำ เจ้าพระยา ท�ำให้เห็นความสัมพันธ์ของชาวมุสลิมกับชุมชนคลอง บางหลวงที่มีมาตั้งแต่อดีต ความส�ำคัญอีกประการของกุฎเี จริญพาศน์ทแี่ สดงให้เห็นว่าสถาน ที่แห่งนี้คือศูนย์รวมของพี่น้องชาวมุสลิมชีอะฮ์และสุหนี่ในพื้นที่มา ตั้งแต่ครั้งสมัยแรกเริ่มกรุงรัตนโกสินทร์ นั่นคือ ปรากฏการเรียกกุฎี หลังนีอ้ กี ชือ่ ว่ากุฎกี ลาง โดยเรียกจากทีต่ งั้ ของกุฎซี งึ่ อยูร่ ะหว่าง มสั ยิด ผดุงธรรมอิสลาม หรือสุเหร่า และมัสยิดดิลลาฟัลดาห์ หรือกุฎปี ลายนา สะท้อนให้เห็นว่าการตั้งอยู่บริเวณกึ่งกลางของศาสนสถานอื่น ด้วยเหตุนี้ จึงท�ำให้กฎุ เี จริญพาศน์จงึ กลายเป็นสถานทีน่ ดั ประชุม หารือกันระหว่างผู้น�ำกุฎีหรือสุเหร่าอื่นอยู่เสมอ ดังนั้นจึงถือว่าเป็น ศูนย์รวมหรือศูนย์กลางของแขกเจ้าเซ็นในยุคนั้นก็ว่าได้ เมื่อรวมกับ กุฎหี ลวงอีกแห่งหนึง่ ทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกันทางเครือญาติกบั ศาสนสถาน อีก ๓ แห่งข้างต้น จึงเรียกรวมกันว่า “พวกสามกะดี สี่สุเหร่า”

| 97


| การละหมาด ถือเป็นศาสนกิจประจ�ำวันที่ชาวมุสลิมปฏิบัติอย่างเคร่งครัด (มัสยิดต้นสน)

พวกเราเป็นชี อะฮ์ ที่น่เี ป็นสังคมสุหนี่ แต่ด้วยความเป็นพี่น้องมุสลิมด้วยกัน เราหนีร้อนมาพึ่งเย็นก็อาศัยอยู ่ร่วมกัน “พวกเราเป็นชีอะฮ์ ที่นี่เป็นสังคมสุหนี่ แต่ด้วย ความเป็นพี่น้องมุสลิมด้วยกัน เราหนีร้อนมาพึ่งเย็นก็ อาศัยอยู่ร่วมกัน” ทรัสตีกุฎีเจริญพาศน์กล่าว และอี ก หลั ก ฐานหนึ่ ง ที่ ยื น ยั น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ แน่นแฟ้นของชาวมุสลิมสองนิกายที่อาศัยอยูในบริเวณ นี้ คือเหตุการณ์การเดินทางมาถึงของมุสลิมนิกายชีอะฮ์ เกิดขึ้นจากการล่มสลายแห่งอโยธยา โดยอพยพหนีศึก สงครามตอนเสียกรุงฯ ครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ จาก อยุธยาล่องใต้มาตามแม่น�้ำเจ้าพระยาอันเป็นเส้นเลือด หลั ก จนกระทั่ ง มาปั ก หลั ก ที่ ค ลองบางกอกใหญ่ 98 |

เมืองธนบุรี และอาศัยอยู่จนถึงปัจจุบัน ด้วยเหตุเพราะ ที่นี่มีสังคมชาวมุสลิมนิกายสุหนี่อาศัยอยู่แต่เดิมแล้ว ด้านมัสยิดต้นสนนั้น สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช โดยเจ้าพระยาราชวังสันเสนีย์ และย้อนกลับไปเมื่อหลายสิบปีก่อน ชุมชนมัสยิดต้นสน ในปัจจุบันเกิดขึ้นในช่วงการเกณฑ์แรงงานอาสาจาก ต่างชาติ เพื่อการศึกสงครามและบูรณะประเทศ ชาว มุสลิมเชื้อสายจามที่เข้ามาเป็นกองอาสาต่างชาติได้รวม กลุ่มกัน ท�ำให้มีชุมชนมุสลิมขึ้นบริเวณนี้


แม้ ทั้ ง กุ ฎี เ จริ ญ พาศน์ กั บ มั ส ยิ ด ต้ น สน จะเป็ น ศาสนสถานศาสนาอิสลามต่างนิกายกันแต่ดา้ นประโยชน์ และองค์ประกอบของสถานที่นั้นไม่แตกต่าง ลุงชาตรีอธิบายให้ฟังว่า ค�ำว่า “กุฎี” กับ “มัสยิด” ต่างกันเพียงแค่ชื่อเรียกสถานที่ แต่องค์ประกอบและ วัตถุประสงค์การใช้งานนั้นเหมือนกัน กล่าวคือเป็น ศาสนสถานที่ใช้ประกอบพิธีต่างๆ ของศาสนาอิสลาม ภายในกุฎีและมัสยิดจะมี “มิห์รอบ” หรือซุ้มประชุมทิศ เป็นที่ก�ำหนดทิศการละหมาดโดยมุ่งไปยังนครเมกกะ ประเทศซาอุ ดิ อ าราเบี ย ซึ่ ง ตรงกั บ ทิ ศ ตะวั น ตกของ ประเทศไทย และ “มิมบัร” หรือทีน่ งั่ เทศน์สำ� หรับผูท้ รง ความรู้ ส�ำหรับค�ำว่า “ทรัสตี” นั้น ประเทศไทยมีการใช้ กฎหมายที่เรียกว่าทรัสต์ (Trust) ซึ่งน�ำมาจากประเทศ อังกฤษ คือเวลาขุนนางไปออกรบท� ำ ศึ กสงครามจะ แต่งตั้งผู้ดูแลทรัพย์สิน ซึ่งผู้ที่ดูแลทรัพย์สินนี้ เรียกว่า ทรัสตี (Trustee) ดังนั้นผู้ดูแลกุฎีแห่งนี้จึงเรียกว่าทรัสตี

ในที่นี้คือผู้ดูแลทรัพย์สินของสถานที่ หมายถึง ที่ดิน อาคาร สิง่ ก่อสร้าง รายได้ ปัจจุบนั กฎหมายทรัสต์ยกเลิก แล้ว ยกเว้นแต่ทรัสตีทตี่ งั้ ก่อนทีม่ ปี ระมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ให้ยังคงอยู่ และลุงชาตรีก็มีต�ำแหน่งเป็น ทรัสตของกุฎีเจริญพาศน์ตามพินัยกรรม แม้ว่าทั้งกุฎีเจริญพาศน์และมัสยิดต้นสนจะเป็น ศาสนาสถานต่ า งนิ ก ายแต่ สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ หมื อ นกั น ของ ศาสนสถานทัง้ สองแห่งนี้ คือ เป็นสถานทีท่ มี่ คี วามส�ำคัญ ของชีวติ ชาวมุสลิมทัง้ ในและนอกชุมชนเป็นอย่างมากนับ ตั้งแต่แสงแรกแห่งการปฏิญาณตนว่าจะเป็นผู้ภักดีต่อ พระผู้เป็นเจ้า ไปจนถึงแสงสุดท้ายที่มอดดับไปเพื่อรอ วันพิพากษา

| 99


แตกต่าง/เหมือนกัน (๒) ต่างวัด ศรัทธาเดียว

| แม้ต่างศาสนา แต่มีศรัทธาไม่ต่างกัน (ภาพบน: วัดกัลยาณมิตรฯ ภาพล่าง: มัสยิดต้นสน)

100 |


ถึงจะมีมัสยิดขนาบข้าง แต่เราไม่ได้ขัดข้องหมองใจกันเลย ไม่มีปัญหาอะไรกัน ที่อยู ่ร่วมกันมาได้เราอยู ่ด้วยศีล ศีลเสมอกัน มีความเสมอเหมือนกัน แล้วเราจะมีเรื่องมีราวกันท�ำไม ทุกสิ่งทุกอย่างเสมอเหมือนกันถึงเวลาเขาก็ละหมาด พอถึงเวลาเราก็ท�ำวัตร มันก็เสมอเหมือนกัน ไม่มีใครเหลื่อมล�้ำกัน

ไม่

เพียงแต่แต่มสั ยิดเท่านัน้ แต่ในซอยแห่งนีย้ งั มีวดั เก่าแก่ที่สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ชื่อว่า “วัดหงส์รตั นารามราชวรวิหาร” เป็นวัดหลวงชัน้ โท หรือ ชื่อเดิมคือ วัดเจ๊สัวหง, วัดแจ๊สัวหง, วัดเจ้าสัวหง หรือ วัดขรัวหง เนือ่ งจากเรียกตามชือ่ ของเศรษฐีชาวจีนผูส้ ร้าง วั ด นี้ ขึ้ น และในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี วั ด แห่ ง นี้ อ ยู ่ ใ น พระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า กรุ ง ธนบุ ร ี ภายหลังประชาชนละแวกใกล้เคียงสร้างศาลเจ้าพ่อตา กวัดหงส์ เพื่อถวายเป็นพระราชานุสรณ์ ภายในพระอุโบสถ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ปางมารวิ ชั ย สมั ย อู ่ ท อง มี ลั ก ษณะเป็ น ปู น ปั ้ น ลงรั ก ปิดทอง เป็นพระประธาน พระพุทธรูปนี้ไม่ปรากฏชื่อ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นสมัยอยุธยา และมีพระพุทธรูป หลวงพ่อแสน เป็นพระพุทธรูปสัมฤทธิ์นวโลหะ พระฉวี สีดำ � นอกจากนัน้ ยังมีสระน�ำ้ มนต์ศกั ดิส์ ทิ ธิท์ เี่ ชือ่ กันว่าจะ ส่งผลสัมฤทธิ์ต่างกันหากอาบหรือดื่มแต่ละมุมสระ คือ มุมทางทิศตะวันออก ดีทางเมตตามหานิยม มุมทางทิศ ใต้ ดีทางหาลาภและค้าขาย มุมทางทิศเหนือ ดีทางบ�ำบัด ทุ ก ข์ โ ศกโรคภั ย ไข้ เ จ็ บ มุ ม ทางทิ ศ ตะวั น ตก ดี ท าง แคล้ ว คลาดและอยู ่ ค งกะพั น ชาตรี ทุ ก วั น เสาร์ แ ละ อาทิตย์ชาวบ้านละแวกนี้ยังคงมาสวดมนต์ที่สระน�้ำ ศักดิ์สิทธิ์กันอยู่

วัดหงส์ฯ นั้นถูกขนาบข้างด้วยกุฎีเจริญพาศน์และ มัสยิดต้นสน แต่ภาพที่เห็นและชินตาของคนที่นี่คือการ ใช้ชวี ติ อย่างพึง่ พาอาศัยกัน ดังเสียงสะท้อนของพระภิกษุ รูปหนึ่งกล่าวว่า “ถึ ง จะมี มั ส ยิ ด ขนาบข้ า ง แต่ เ ราไม่ ไ ด้ ขั ด ข้ อ ง หมองใจกันเลย ไม่มีปัญหาอะไรกัน ที่อยู่ร่วมกันมาได้ เราอยู่ด้วยศีล ศีลเสมอกัน มีความเสมอเหมือนกัน แล้ว เราจะมีเรื่องมีราวกันท�ำไม ทุกสิ่งทุกอย่างเสมอเหมือน กั น ถึ ง เวลาเขาก็ ล ะหมาด พอถึ ง เวลาเราก็ ท� ำ วั ต ร มันก็เสมอเหมือนกัน ไม่มีใครเหลื่อมล�้ำกัน” ไม่ไกลนักจะพบ “วัดโมลีโลกยาราม” ซึ่งเป็น พระอารามหลวงชัน้ โท เดิมเป็นวัดราษฎร์ทสี่ ร้างขึน้ สมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และตัง้ อยูใ่ นเขตพระราชฐาน พระราชวังเดิมสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี วัดนี้มีชื่อเรียก ทั่วไปว่า ‘วัดท้ายตลาด’ เนื่องจากตั้งอยู่ต่อจากตลาด เมืองกรุงธนบุรี ในกาลก่อนนั้นวัดแห่งนี้ไม่มีพระสงฆ์ จ�ำพรรษา เนื่องจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรง เห็นว่าบริเวณเขตพระราชวังมีความคับแคบ เพราะมีวดั ขนาบอยู ่ ทั้ ง สองด้ า น คื อ วั ด ท้ า ยตลาดกั บ วั ด แจ้ ง (วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร) จึงโปรดให้รวมทัง้ สองวัดเป็นเขตพระราชวัง

| 101


เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงย้ายเมืองหลวงมาตัง้ อยูด่ า้ นทิศตะวันออก ของแม่น�้ำเจ้าพระยา ได้โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ซึ่งต่อมาคือ รัชกาลที่ ๒ ทรงบูรณปฏิสังขรณ์พระอารามและสร้าง เสนาสนะสงฆ์ขนึ้ ใหม่ ขณะเดียวกันทรงโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี พระอัครมเหสี สร้าง พระอุโบสถขนาดกลางทรงไทยมีลักษณะวิจิตรงดงาม และโปรดให้พระสงฆ์มาอยู่จ�ำพรรษาทั้งวัดท้ายตลาด และวัดแจ้ง ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ ๒ ทรงขนานนามวัดใหม่ ว่า “‌วัดพุทไธสวรรย์” และเปลี่ยนเป็น “วัดโมลีโลกย์สุธาราม” ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๓ ภายหลังจึงมีการขนาน นามใหม่เป็น “วัดโมลีโลกยาราม” วัดแห่งนีถ้ อื ได้วา่ เป็น วัดที่มีโบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่ทรงคุณค่าต่อการ ศึกษา มีความส�ำคัญต่อประเทศชาติและเกี่ยวข้องกับ ราชวงศ์อย่างแท้จริง “พระวิหารฉางเกลือ” เป็นสิ่งตอกย�้ำให้เห็นถึง ความเกี่ ย วข้ อ งประวั ติ ศ าสตร์ กล่ า วคื อ ในสมั ย กรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงใช้พระวิหาร ฉางเกลื อ เป็ น ที่ เ ก็ บ เกลื อ ตามหลั ก พิ ชั ย สงคราม เนื่องจากเกลือถือเป็นเสบียงส�ำคัญ หากจะเอาชนะ ข้าศึกก็ต้องรักษาคลังเสบียงให้ดี

102 |

| วัดกัลยามิตร หนึ่งวัดพุทธที่อยู่ใกล้กับมัสยิด


พระวิหารฉางเกลือ เป็นวิหารที่ผสมผสานระหว่างศิลปะ ไทยและจีน ภายในพระวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครือ่ ง มากถึงยี่สิบองค์ ทุกองค์ล้วนเป็นพระพุทธรูปโบราณที่สร้างขึ้น ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระวิหารตอนหลัง เป็นห้องเล็กที่ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ปปางสมาธิ ข นาดใหญ่ มี พ ระนามว่ า “พระปรเมศ” เพดานเขียนลวดลายเป็นกลุ่มดาว ประตูและ หน้าต่างพระวิหารทุกช่องเขียนลวดลายรดน�้ำที่วิจิตรสวยงาม เช่นกัน หอสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ขุน) ยังบ่งบอกถึงการ ผสานศิลปะที่ลงตัว นั่นคือ แม้อาคารจะมีลักษณะเป็นทรงไทย มีสองชั้นคือชั้นฐานและชั้นตัวหอ แต่ด้านล่างประดับตกแต่ง ด้วยรูปปูนปัน้ ทหารแต่งกายเป็นแบบฝรัง่ เศส ส�ำหรับชัน้ ฐานรับ หอและเจดี ย ์ ท รงลั ง กาสี่ อ งค์ ซึ่ ง กล่ า วกั น ว่ า เป็ น ที่ บ รรจุ พระเมาลีของ รัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ วัดโมลีฯ แห่งนี้ยังมีส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรมทั้งแผนก ธรรมและแผนกบาลี ที่จัดตั้งตามมติมหาเถรสมาคม แต่เดิมนั้น จะสอบด้วยปากเปล่า เมื่อกาลเวลาเปลี่ยนผ่านจึงได้เปลี่ยนมา เป็นสอบแบบข้อเขียน และได้มกี ารปรับปรุงระบบการเรียนการ สอนให้ดขี นึ้ วัดแห่งนีเ้ คยเป็นส�ำนักเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนก บาลีที่มีผู้สอบได้เปรียญธรรมมากเป็นระดับต้นๆ ของประเทศ ถนนสายวัฒนธรรม สองศาสนาแห่งนี้ อาจเรียกได้ว่าเป็น ความต่างที่ลงตัว เรียนรู้การอยู่ร่วมกันในวิถีแห่งความต่าง ดัง่ เช่นการผสมผสานศิลปะการออกแบบพุทธสถานทัง้ สองแห่ง

| 103


อัลกุรอาน แบบแผนชีวิตจากพระเจ้า

ประทีปแห่งปัญญา

อั

ชฮาดูอันลา อีลาฮาอิลลัลลอฮฺ วะอัชฮาดุอันนา มูฮัมมาดัรรอสูลูลลอฮฺ ไม่มพี ระเจ้าอืน่ ใดนอกจากพระอัลลอฮฺเท่านัน้ และมุฮมั หมัดเป็นบ่าวและศาสนทูต ของอัลลอฮฺ ธีรนันท์ ช่วงพิชติ นักมานุษยวิทยา – ประวัตศิ าสตร์ ผูเ้ ชีย่ วชาญวัฒนธรรมอิสลาม ศูนย์ข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนธนบุรี เล่าว่า ส�ำหรับชาวมุสลิมนั้น การบรรลุนิติภาวะ จะประกอบด้วย ๒ สถานะ ได้แก่ สถานะแรกเป็นการบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุครบตามที่ กฎหมายระบุไว้ทไี่ ม่แตกต่างไปจากศาสนิกชนศาสนาอืน่ และอีกสถานะหนึง่ คือการบรรลุ นิติภาวะตามศาสนบัญญัติกล่าวคือ ศาสนบัญญัติระบุไว้ว่า ผู้หญิงจะบรรลุนิติภาวะเมื่อ อายุครบ ๙ ปี และผู้ชายจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ ๑๓ ปี หรือมีการเปลี่ยนแปลงใดของ ร่างกายอันเป็นระบบสัญลักษณ์แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เช่น การมี รอบเดือนของผู้หญิง หรือการเปลี่ยนแปลงของเสียงผู้ชาย ให้ถือว่าป็นการบรรลุ นิติภาวะตามศาสนบัญญัติเช่นกัน ลุงชาตรีเสริมอีกว่า เด็กหรือเยาวชนที่มาเรียนศาสนาที่กุฎีเจริญพาศน์นั้นไม่ได้มี เฉพาะเพียงเด็กที่อยู่ในชุมชนท้องถิ่นเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงเด็กที่พ�ำนักอาศัยอยู ่ ทีอ่ นื่ ทีผ่ ปู้ กครองน�ำมาเรียนอ่านพระคัมภีรอ์ ลั กุรอานภายใต้การดูแลของกุฎเี จริญพาศน์ ล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับชุมชนแขกเจ้าเซ็นทั้งสิ้น บางคนมีผู้ปกครองที่เคยอาศัยอยู่ใน ชุมชนเมื่อครั้งยังเด็ก ผู้ปกครองของเด็กบางคนอาจจะไม่เคยอยู่ในชุมชนแห่งนี้ แต่รุ่น ปูย่ า่ ตายายเป็นคนในพืน้ ที่ เด็กเหล่านัน้ ก็จะถูกน�ำมาเรียน ณ ทีแ่ ห่งนีเ้ หมือนกับทีต่ นเอง ได้เคยเรียนมาเช่นกัน อีกทั้งครูผู้สอนศาสนาเองเป็นทั้งคนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความ เป็นมาและความเกีย่ วข้องกับชุมชนกุฎเี จริญพาศน์แห่งนีไ้ ม่ทางใดก็ทางหนึง่ เช่นเดียวกับ ศาสนิกชนรุ่นเยาว์

104 |


| ศาสนิกชนรุ่นใหม่ คือ ต้นกล้าแห่งศรัทธาที่พร้อมจะค�้ำจุนศาสนาให้ด�ำรงอยู่ต่อไป

| 105


การรู ้ ก ฎหมายเพื่ อ จะได้ ไ ม่ ท� ำ ผิ ด และถู ก ลงโทษ ตามกระบวนการการปกครองบ้ า นเมื อ งฉั นใด การเรียนรู้และศึกษาพระคัมภีร์ท่ีเป็ นเหมือนกฎหมาย ประจ�ำตัว ย่อมท�ำให้ละการประพฤติผิดตามหลักศาสนา และขั ด เกลาจิ ตใจให้ ส มบู รณ์ ก่ อ นการเดิ น ทางอั น ศักดิ์สิทธิ์ หลังแสงอัสดงแห่งชี วิตที่ลับไปฉันนัน้ อามีน วงษ์สวรรค์ ชายหนุ่มวัย ๒๙ ปี ท่าทีสงบอยู่ในชุดโต๊บยาวและสวมหมวกสีขาว เล่าย้อนกลับไปว่า เมื่อครั้งยังเป็นเด็ก ตนก็เคยมานั่งเรียนในวันหยุดแบบนี้เช่นกัน ด้วยใจรักในศาสนาจึงสละเวลาในวันหยุด เดินทาง มาจากจังหวัดเพชรบุรี เพื่ออุทิศตนให้กับการเป็นครูสอนศาสนาที่ สมาคมสนธิอิสลาม มัสยิดต้นสนแห่งนี้ เพียงหวัง ที่จะส่งต่อความรักและความศรัทธานี้ไปยังคนรุ่นหลังดังที่ปรารถนาไว้ มานิต ระดิ่งหิน ชายวัย ๖๐ ปี ที่เดินทางมาจาก อ�ำเภอบางบัวทอง นนทบุรีเพื่อที่จะสอนเด็กๆ ที่สมาคม สนธิอิสลาม อธิบายว่า การสอนของตนไม่ได้สอนเฉพาะ ภาษาอาหรับเพียงเท่านั้น หากแต่จะสอนการปฏิบัติตน เมือ่ ต้องออกไปอยูใ่ นสังคมภายนอก อาทิ เมือ่ เด็กมุสลิม ต้องอาศัยร่วมกับเด็กศาสนาอื่นในโรงเรียน ซึ่งโรงเรียน ส่ ว นใหญ่ มั ก จะเป็ น โรงเรี ย นพุ ท ธ ปั ญ หาอย่ า งหนึ่ ง ตามมาอย่างแน่นอนคงหนีไม่พ้นเรื่องการปฏิบัติตน อย่างไร เมือ่ ต้องปฏิบตั กิ จิ กรรมทางศาสนาร่วมกับเพือ่ น ชาวพุ ท ธ ดั ง นั้ น การรู ้ จั ก วางตั ว จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ ด้วยเหตุนใี้ นวันปกติ ตนจึงไปนัง่ เรียนกับพระในโรงเรียน วัดใกล้บา้ นเพือ่ เรียนรูแ้ ละซึมซับขนบและวัฒนธรรมต่าง ศาสนา ทั้งนี้ตนมองว่าการเรียนรู้ถึงสองศาสนา ไม่ใช่ เรื่องผิด แต่ถือเป็นเรื่องโชคดี ท�ำให้เราเข้าใจศาสนาอื่น สามารถวางตั ว เหมาะสมได้ ต ามหลั ก ศาสนาของตน จุดนี้จึงเป็นเรื่องที่จ�ำเป็นต้องน�ำมาสอนเด็กๆ บุญทิวา ศรสวรรค์ หญิงชราสูงวัยที่พักอาศัยอยู่ บริเวณมัสยิดต้นสน เล่าว่า เด็กทุกคนจะต้องมาเรียนค�ำ สอน เริ่มจากการหัดอ่านเขียนภาษาอาหรับเหมือนหัด ก.ไก่ ข.ไข่ ของภาษาไทย ตั้งแต่เด็กอ่านออกเขียนได้ | ภาษาอาหรับ คือ ภาษาสากล ของชาวมุสลิม

106 |


ส่ ว นเหตุ ผ ลที่ ผู ้ ป กครองส่ ง บุ ต รหลานมาเรี ย น ภาษาอาหรับนั้น เนื่องจากภาษาอาหรับเป็นภาษา สากลของผู้นับถือศาสนาอิสลาม และการเรียนดัง กล่าวไม่ได้เรียนจบลงที่การอ่านออกเขียนได้เท่านั้น หากแต่ตอ้ งศึกษาหลักค�ำสอนต่างๆ ในพระคัมภีรใ์ ห้มี ความเข้าใจแตกฉานจึงเป็นการเรียนรู้ที่ไม่มีที่สิ้นสุด ดั ง นั้ น การศึ ก ษาคั ม ภี ร ์ อั ล กุ ร อาน ตลอดจน จริยธรรม หรือข้อปฏิบตั ติ า่ งๆ ตามหลักบัญญัตศิ าสนา อาทิ การละหมาด การอ่านพระคัมภีร์ การปฏิบัติ ศาสนพิธี เป็นต้น เพือ่ เตรียมความพร้อมให้แก่เยาวชน มุสลิมให้สามารถด�ำเนินวิถชี วี ติ อย่างศาสนิกชนมุสลิม ทั่วไป เมื่อถึงการบรรลุนิติภาวะตามศาสนา การรู้กฎหมายเพื่อจะได้ไม่ท�ำผิดและถูกลงโทษ ตามกระบวนการการปกครองบ้านเมืองฉันใด การ เรียนรู้และศึกษาพระคัมภีร์ที่เป็นเหมือนกฎหมาย ประจ�ำตัว ย่อมท�ำให้ละการประพฤติผิดตามหลัก ศาสนาและขัดเกลาจิตใจให้สมบูรณ์ก่อนการเดินทาง อันศักดิ์สิทธิ์ หลังแสงอัสดงแห่งชีวิตที่ลับไปฉันนั้น

| เยาวชนมุสลิมทุกเพศ ล้วนต้องศึกษาคัมภร์อุลกุรอาน

| ศาสนาสร้างสัมพันธ์ในครอบครัว

| 107


การเดินทางครัง้ สุดท้าย โดดเด่นในความโดดเดี่ยว

ทุกชี วิตจะต้องลิ้มรสชาติของความตาย หลังจากนัน้ จะไปอยู ใ่ นโลกแห่งการรอคอยที่เป็นทางผ่าน ระหว่างวันนี้ถึงวันสุดท้ายของโลก วันนัน้ คือวันแห่งการพิพากษาความเลวความดีทัง้ หมด มนุษย์ทุกดวงวิญญาณจะถูกน�ำมาตัดสินพร้อมๆ กัน

ไม้

นิฌาณหรือไม้หน้าหลุมฝังศพลวดลาย วิจิตรทั้งหลายถูกปักเรียงรายเต็มพื้นที่ใต้ ร่มเงาของไม้ยืนต้นน้อยใหญ่แผ่กิ่งก้านบดบัง แสงแดดให้ร่มรื่น อากาศบริสุทธิ์ สดชื่น ราวกับ แมกไม้นานาพันธุ์เหล่านี้ก�ำลังท�ำหน้าที่เสมือน ปอดของชุมชนและกล่าวต้อนรับผู้มาเยือน บน พื้นมีโคกดินต่างระดับเรียงราย “ทุกชีวิตจะต้องลิ้มรสชาติของความตาย หลังจากนัน้ จะไปอยูใ่ นโลกแห่งการรอคอย ทีเ่ ป็น ทางผ่านระหว่างวันนีถ้ งึ วันสุดท้ายของโลก วันนัน้ คือวันแห่งการพิพากษาความเลวความดีทั้งหมด มนุษย์ทุกดวงวิญญาณจะถูกน�ำมาตัดสินพร้อมๆ กัน” ธีรนันท์กล่าวถึงความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลัง ความตายของศาสนาอิสลามและการพิพากษาใน วันกิยามะห์หรือวันสิ้นโลก

108 |

กุโบร์มัสยิดต้นสนหรือสุสานมัสยิดต้นสน เป็ น สุ ส านมุ ส ลิ ม ซึ่ ง เก่ า แก่ ที่ สุ ด ในกรุ ง เทพฯ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มายาวนาน กว่ า 300 ปี บรรพชนที่ร่างถูกฝังอยู่ ณ ที่แห่งนี้ส่วนหนึ่งคือ กลุ ่ ม บุ ค คลที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ต่ อ สั ง คมไทยใน แต่ ล ะยุ ค สมั ย อาทิ เจ้ า พระยาราชวั ง เสนี ย ์ (ม๊ะหมูด) เจ้าพระยาจักรีศรีองค์รักษ์ (หมุด) ใน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เจ้าพระยาราชบัง สิน (ฉิม) แม่ทพั เรือในรัชกาลที่ ๒ ตลอดจนบรรดา จุ ฬ าราชมนตรี ทั้ ง ๙ ท่ า น ตลอดสมั ย ต้ น รั ต นโกสิ น ทร์ จ นถึ ง เปลี่ ย นแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ เดิมทีมัสยิดถูกสร้างเป็นอาคารไม้ที่ไม่ใหญ่ โตนัก จากนั้นค่อยขยับขยายเปลี่ยนเป็นอาคาร ใหญ่ขึ้นเพื่อรองรับจ�ำนวนสัปบุรุษที่เพิ่มขึ้นโดย ปลูกต้นสนคู่ที่หน้าประตูมัสยิด เมื่อต้นสนนี้สูง ใหญ่ชะลูดขึ้นเป็นจุดเด่นสะดุดตา จึงกลายเป็น ที่มาของชื่อทางการนี้ สุสานจึงใช้ชื่อเดียวกันกับ


มัสยิด อีกทั้งยังมีชื่ออื่นๆ ที่คนต่างชุมชนรู้จักดี ในนาม สุสานกุฎีใหญ่ หรือ ป่าช้าแขกท้าย วัด หงส์ฯ ศาสนาอิสลามไม่มีสัปเหร่อ เพราะห้ามไม่ ให้มีการประกอบศาสนกิจในกุโบร์ ท�ำให้หน้าที่ สุดท้ายเป็นของคนในครอบครัว อีกทั้งศพของ มุสลิมต้องฝังทั้งหมด แม้ไม่ได้ระบุระยะเวลา แน่ชดั ก็ตอ้ งจัดการให้เร็วทีส่ ดุ ด้วยข้อจ�ำกัดด้าน พื้นที่ภายในสุสาน ปัจจุบันผู้มีคุณสมบัติในการ ใช้สสุ านของทีน่ ตี่ อ้ งมีเชือ้ สายของมัยยิต (ผูต้ าย) โดยฝังทับถมกันไป หรือไม่ก็ต้องเป็นสัปบุรุษซึ่ง ใช้พื้นที่ร่วมกัน โดยขึ้นกับดุลพินิจของอิหม่าม ด้วย แม้จะไม่มีสัปเหร่อคอยดูแลอ�ำนวยความ สะดวกให้แก่ผู้วายชนม์แล้ว แต่ ลุงเตี้ย ชายรูป ร่ า งเล็ ก สมชื่ อ ท่ า ทางทะมั ด ทะแมงในชุ ด

มอมแมม ทีก่ ำ� ลังขุดดินมาก่อโคกของแต่ละหลุม ให้สงู ขึน้ เป็นรูปเป็นร่างนัน้ ไม่ได้เกิดจากการจ้าง วาน แต่เกิดจากไมตรีจติ ทีม่ นี ำ�้ ใจต่อเพือ่ นมนุษย์ ด้วยกัน ลุงเตีย้ เล่าว่า ตนเองไม่ใช่คนแถวนี้ ดูคล้าย สัปเหร่อของคนพุทธ แต่จะเรียกอย่างนัน้ ก็ไม่ใช่ เพราะปกติ ห น้ า ที่ นี้ เ ป็ น ของลู ก หลานผู ้ ต าย เมื่อมีคนเสียชีวิต ตนก็จะมาช่วยชุดหลุมฝังศพ อยู ่ เ สมอโดยไม่ ไ ด้ เ รี ย กร้ อ งค่ า ตอบแทน และตนเองพึงพอใจกับการที่ได้ท�ำเช่นนี้

| ที่พ�ำนักสุดท้ายในกุโบร์มัสยิดต้นสน ก่อนการพิพากษาจากพระผู้เป็นเจ้า

| 109


ด้าน สันทนา โสภาจารีย์ หรือที่ชาวบ้าน ในละแวกนัน้ เรียกว่า ป้าสัน หญิงชราชาวมุสลิม ทีอ่ าศัยอยูภ่ ายในรัว้ มัสยิดต้นสน นอกจากเสียง อะซานวันละห้าเวลา สิ่งที่ต้องตื่นขึ้นมาเจอใน อรุณแรกของทุกวันก็คือความไร้ชีวิตในสุสาน จนเป็นสิ่งที่คุ้นชิน “บรรพบุรุษของตนอาศัยอยู่ที่นี่มานาน แล้ว ภายหลังมุสลิมในชุมชนเริ่มทยอยย้าย ครอบครัวออกไปเกือบหมด ลูกหลานตนก็ แยกย้ายไปท�ำงานที่อื่นเช่นกัน เหลือไม่กี่คน คอยดูแลเป็นหูเป็นตาอยูท่ นี่ ี่ แต่พอถึงพิธสี ำ� คัญ ประจ�ำปี ชาวมุสลิมทีย่ า้ ยถิน่ ฐานออกไปก็กลับ มารวมตัวกัน มากจนไม่มีที่จะยืน” ป้าสันเล่า ชุ ม ชนมุ ส ลิ ม เริ่ ม ขยายตั ว ออกไปตาม มัสยิดที่เกิดขึ้นภายหลัง โดยมีหลายครอบครัว ต่างแยกย้ายออกไปตัง้ ถิน่ ฐานทีอ่ น่ื ๆ ตัง้ แต่กอ่ น

| พรมแดนของ ‘คนเป็น’ ไม่ได้ไกลจาก ‘คนตาย’ อย่างที่หลายคนคิด

110 |

สร้างสะพานอนุทินสวัสดิ์ หลังพ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นต้นมา เนื่องจากหลบหนีความแออัดและ การถูกเวนคืนทีด่ นิ ซึง่ จะเห็นได้วา่ ชาวมุสลิมใน พื้นที่ให้ความส�ำคัญกับมัสยิดเป็นอันดับแรก รวมถึงมองมัสยิดในฐานะ ‘บ้านของพระเจ้า’ จึงพร้อมใจกันปกป้องมัสยิดด้วยการเสียสละ ที่ดินของตนเอง แม้สุสานมัสยิดต้นสนจะถือเป็นเขตพื้นที่ อวมงคลในศาสนสถาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ชุมชนและสังคมแวดล้อมซึ่งเปลี่ยนแปลง คน มุสลิมในพื้นที่ไม่ได้อยู่ร่วมกันหนาแน่นเท่าใน อดีตและไม่อาจด�ำรงความเป็นชุมชนมุสลิม ดั้งเดิมไว้ได้ แต่กลับยังรักษาความสัมพันธ์และ ขนบธรรมเนียม ไว้ได้แนบแน่นกับวัฒนธรรม ซึ่งถูกก�ำหนดโดยพระผู้เป็นเจ้าไม่เสื่อมคลาย


“เพราะพวกเราเชื่ อ ว่ า ศู น ย์ ก ลางของ ชุมชนมุสลิมไม่ใช่เพียงสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง แต่เป็นศูนย์รวมความคิด จิตใจ ที่คอยเตือนให้ หวนระลึกนึกถึงวันจะกลับมารวมตัวกันที่นี่ใน พิธีส�ำคัญ รวมถึงการไปยังอีกดินแดนซึ่งเป็น รอยต่อ เพือ่ รอคอยวันตัดสิน... วันทีพ่ วกเราจะ ได้พบกับพระเจ้า” หนึ่งในสัปบุรุษหนุ่มที่มา ละหมาดกล่าว อัลลอฮุอกั บัรฺ อัลลอฮุอกั บัรฺ อัชฮะดุลลา อิลาฮะ อิลลัลลอฮฺ… เสี ย งอะซานหรื อ เสี ย งการประกาศเชิ ญ ละหมาด ในช่วงเย็นย�่ำค�่ำดังจากมัสยิดไปสู่ ชุมชนที่เงียบสงบเป็นสัทสัญญาณแจ้งแก่ชาว มุสลิมทราบถึงเวลาการขอพรต่อพระผูเ้ ป็นเจ้า

ครั้งสุดท้ายของวันที่ใกล้จะมาถึงในไม่ช้า รุ ่ ง ทิ ว าและราตรี ข องมั ส ยิ ด ยั ง คงหมุ น เรือ่ ยไปไม่มสี นิ้ สุดต่างจากลมหายใจของมนุษย์ ศาสนสถานแห่งนี้จึงไม่ได้เป็นเพียงสถานที่ ประกอบกิจกรรมเฉพาะ ผู้ที่ยังอยู่ แต่เป็น สถานทีส่ ำ� คัญตลอดทัง้ ชีวติ ไปจนถึง วันทีไ่ ร้ลม หายใจ ความสัมพันธ์ระหว่าง ชีวติ –ความศรัทธา – ศาสนสถาน จึงยึดโยงและผูกพันกันไม่สนิ้ สุด เมื่อแสงแห่งชีวิตหนึ่งดับไปเฉกเช่นตะวันที่ลับ ขอบฟ้า อีกไม่นานอีกแสงหนึ่งจะฉายพ้นจาก ขอบฟ้า ทิ้งไว้เพียงมรณานุสรณ์ในความวิเวก ว่างเปล่าเพื่อย�้ำเตือนถึงชีวิตที่มิได้ยืนนานชั่ว นิรันดร์ | 111


112 |


ปัจฉิมบท ปั จ จุ บั น คงไม่ มี ใ ครใช้ ค ลองบาง หลวงเป็นเส้นทางสัญจรสายหลักแล้ว หากใคร จะมีโอกาสผ่านไปมาแถวกุฎเี จริญพาศน์ ชุมชน วัดกัลยาณ์ หรือชุมชนสี่แยกบ้านแขกบ้างอาจ เพราะมีเหตุให้นั่งรถเมล์ผ่าน ด้วยมีที่พัก ที่ ท�ำงาน หรือเรียนหนังสืออยูบ่ ริเวณนัน้ ตึกแถว สองข้างทางสลับกัน ร้านก๋วยเตี๋ยวบ้าง ร้าน สะดวกซื้อบ้าง ท�ำให้บริเวณดังกล่าวมีหน้าตา ไม่ตา่ งจากชุมชนอยูอ่ าศัยทัว่ ไปในกรุงเทพฯ ที่ หากเดิ น ส� ำ รวจก็ ค งไม่ พ ้ น ที่ จ ะพบบ้ า นคน หอพัก และห้องเช่า หน้าตาอันธรรมดาสามัญ ของมันหลอกตาจนยากจะเชื่อว่าเมื่อลัดเลาะ เข้าไปตามตรอกซอกซอยเราจะพบชุมชนพหุ วัฒนธรรมอันหลากหลาย วัดไทย วัดลาว วัดมอญ มัสยิดฝีมอื ช่ า งชาวมลายู โบสถ์ ค ริ ส ต์ นิ ก ายแบ๊ บ ติ ส ต์ โบถส์คริสต์นิกายแคทอลิก และโรงเจของชาว พุทธแบบจีน สารพัดศาสนสถานจากหลาก ความเชื่อรวมตัวกันอยู่ในพื้นที่ชุมชนสองฝั่ง อดีตคลองสายส�ำคัญ จนกลายเป็นแหล่งรวม บรรดางานฝีมือและภูมิปัญญาที่เราไม่คาดคิด ว่าจะยังพบเจอได้ ณ ใจกลางกรุงเทพเมือง ศิวิไลซ์ ทั้งภูมิปัญญาการท�ำขลุ่ยบ้านลาวที่ สืบทอดต่อกันมาจากรุน่ สูร่ นุ่ เสียงหวานกังวาน ใสมี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว การพั บ ใบตอง ประดิษฐ์บายศรีอนั วิจติ รบรรจง การละเล่นกัด ปลาเข็มหม้อซึ่งนับวันยิ่งหาดูยากขึ้นทุกที วง

ดนตรีไทยที่ส่งต่อท่วงท�ำนองอันไพเราะเสนาะหู จากรุ่นสู่รุ่น หรืออาหารการกินที่เราอาจหาไม่ได้ ง่ายนักจากที่อื่น เช่น ย�ำไตปลาดอง รสชาติอร่อย อย่าบอกใคร แล้วมาเติมความสดชืน่ ด้วยชาซีลอน น�ำเข้ารสชาติหอมหวานกลมกล่อม พร้อมด้วยอีก หลากหลายเมนูอาหารอิสลามที่สามารถพบได้ ตามรายทาง การเดินทางยังไม่สน้ิ สุด แม้วนั นีค้ ลอง บางหลวงจะหมดความส�ำคัญในฐานะเส้นทางการ คมนาคม แต่วถิ ชี วี ติ ของผูค้ นทีเ่ คยโลดแล่นอยูส่ อง ฝั่งคลองโบราณ ยังส่งต่อมรดกมาถึงลูกหลาน บอกเล่าเรือ่ งราวประวัตศิ าสตร์ชมุ ชนสองฝัง่ คลอง อันยาวนาน ซ่อนกายในตึกแถวรอการมาเยือน ของนักเดินทางผู้กระหายการเรียนรู้ มาค้นพบชุ มนเล็กๆ ทีร่ อ่ งรอยความเจริญยังปรากฎชัด ฝังตัว ลงในวิถแี ห่งการด�ำเนินชีวติ ทีห่ ลอมรวมความแตก ต่างทัง้ ประเพณี วัฒนธรรม ชาติพนั ธุ์ ให้กลมกล่อม

...และช่ วยกันจดจารไว้ มิให้เลือนหาย...

| 113


114 |


ขอขอบคุณ โครงการค่าย สารคดี ครั้งที่ 11 ผู้จัดการโครงการค่ายสารคดี ครั้งที่ 11 พิเชษฐ ยิ้มถิน ที่ปรึกษา

สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ สกล เกษมพันธ์ุ

ครูเขียน

อรสม สุทธิสาคร วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง วิวัฒน์ พันธวุฒิยานนท์

ครูภาพ

ประเวช ตันตราภิรมย์ วิจิตต์ แซ่เฮ้ง บุญกิจ สุทธิญาณานนท์

ครูพ่เลี ี ้ยง

ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล ปณัสย์ พุ่มริ้ว สุชาดา ลิมปนาทไพศาล

ทีมงาน

สุรศักดิ์ เทศขจร ชมพจน์พงศ์ ฤทธิ์รณ ศักดิ์ วีรวัลย์ สุขใจ กรองแก้ว ทรงกุล ฉัตรชัย งามถิ่น ศุภวัชร์ คำ�นึง

| 115



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.