มะพร้าว : จากหัวกะทิถึงกากมะพร้าว

Page 1

เรื่อง : ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์

มะพร้าว

66 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ปี ๒๕๕๓ ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกมะพร้าว ๑,๔๐๐,๐๐๐ ไร่   มากเป็นอันดับ ๖ ของโลก  แมว่้ าจะมีมะพร้าวปลูกอยู่ทั่วไป  ทั้งตามชายทะเล ท้องทุ่ง เรือกสวน หรือภูเขา แตก็่ มีเพียง  ไม่กี่จังหวัดที่ทำ� สวนมะพร้าวเป็นอาชีพหลกั ในพื้นที่ขนาดใหญ่   มากกว่า ๑ แสนไร่ ได้แก่ ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี   และนครศรีธรรมราช ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

67


มะพร้าวเป็นพืชสารพัดนึก ส่วนประกอบของ  พืชชนิดนี้แทบทุกส่วนล้วนสารพัดประโยชน์   ตั้งแต่รากใช้ท�ำยา ยอดสูงเสียดฟ้าใช้ประกอบ  อาหาร เนื้อมะพร้าวคั้นกะทิ บีบน�้ำมัน ไปจนถึง  กากมะพร้าวเป็นอาหารสัตว์โปรตีนสูง

บรรยากาศภายในสวนมะพร้าว อ. พุนพิน จ. สุ ร าษฎร์ ธ านี   พื้ น สวนรกชั ฏ ดุ จ ดั่ ง  “ป่ามะพร้าว” ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีล่ มุ่ ปากแม่นำ�้ ตาปีซึ่งมีล�ำน�้ำสาขายิบย่อย ต้องใช้เรือ ล�ำเลียงมะพร้าวออกจากสวน

ชาวบ้าน อ. บางคนที จ. สมุทรสงคราม  ปีนพะองขึ้นปาดงวงมะพร้าวพันธุ์ตาล เป็นพันธุม์ ะพร้าวทีป่ ลูกแบบไม่ตอ้ งการผล  เมื่อออกดอกหรือจั่นชาวบ้านจะเอามีด ปาดเพือ่ รองน�ำ้ ตาลหรือน�ำ้ หวานมาเคีย่ ว ท�ำน�้ำตาลมะพร้าว

68 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

69


ชาวสวนมะพร้าว อ. บางคนที จ. สมุทรสงคราม ล�ำเลียงมะพร้าวออกจากสวน ด้วยวิธ ี “ล่อง” ไปตามคู โดยจิกมะพร้าว เข้ากับตะปูที่ผูกอยู่กับเชือกไนลอนแล้ว ลากลอยน�้ำไป

“การล่องมะพร้าวท�ำให้ลำ� เลียงมะพร้าวได้คราวละมากๆ  ประหยัด เหมาะกับสภาพสวนมะพร้าวแบบขนัดของจังหวัดสมุทรสงคราม... ๒๐๐-๓๐๐ ลูก ลูกหนึ่งหนักกิโลกว่า ขนบนบกจะคิดเป็นน�้ำหนัก 70 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

พลังงานและรวดเร็ว เป็นวิธีที่  ลองคิดดู เก็บมะพร้าวครั้งหนึ่ง  เท่าไร” --จั ณฑนา ฮกสุน ชาวสวนมะพร้าว อ. บางคนที จ. สมุทรสงคราม ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

71


มหกรรมการแปรรูปมะพร้าวขั้นต้นเริ่มขึ้นที่ “ล้ง” เปลี่ยนมะพร้าวเปลือกแข็งเป็นมะพร้าวเปลือกนิ่ม มะพร้าวด�ำ และมะพร้าวขาวตามล�ำดับ  ในภาพ “คนลอกหัว” ก�ำลังดึงเส้นใยหยุน่ หนาออกให้เหลือ เพียงกะลาเกลี้ยงเกลา

สิ่งละอันพันละน้อยที่ดูราวกับเป็นวัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูป ใช้ประโยชน์ได้ทั้งสิ้น อาทิ กาบมะพร้าวขายโรงผลิตกระบะเพาะ พรมเช็ดเท้า, ขุยมะพร้าวท�ำวัสดุเพาะช�ำหรือตอนกิ่ง, กะลาขาย หรือท�ำถ่านกัมมันต์, ผิวหุ้มเนื้อขายโรงงานบีบน�้ำมัน ฯลฯ 72 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

มะพร้าว ล้วนน�ำมา  ต้นไม้, เส้นใยท�ำเบาะ   นักประดิษฐ์

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

73


กระบอกรองตาลเป็นอุปกรณ์สำ� คัญในอุตสาหกรรม น�้ำตาลมะพร้าว  ยุคเก่าท�ำจากไม้ไผ่ เจาะรูร้อยหู ส�ำหรับแขวนไว้กับจั่น  ปัจจุบันชาวสวนหันมาใช้ กระบอกรองตาลพลาสติกหรืออะลูมเิ นียมทีม่ นี ำ�้ หนัก เบาและท�ำความสะอาดง่าย

การท�ำน�้ำตาลมะพร้าวเป็นอุตสาหกรรมพื้นบ้านที่สร้างรายได้ ชั่วอายุคน ประเมินว่าวันหนึ่งเกษตรกรขายน�้ำตาลมะพร้าว โดยแทบจะไม่มีต้นทุนการผลิตอื่นใดนอกเสียจากการลงแรง

74 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ให้ชาวแม่กลองมาหลาย  ได้เงินเฉลี่ย ๔๐๐-๙๐๐ บาท

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

75


น�้ำตาลมะพร้าวท�ำจากน�้ำตาล (ของเหลว) ซึ่งรอง  จากจั่นหรืองวงมะพร้าว น�ำมาเคี่ยวจนงวด เมื่อเท ใส่ ภ าชนะบรรจุ จ ะเรี ย กชื่ อ แตกต่ า งกั น ไป เช่ น น�้ำตาลหม้อ น�้ำตาลปึก น�้ำตาลปี๊บ หรือหยอดใส่  แม่พิมพ์รูปหัวใจ ดอกไม้  รสชาติน�้ำตาลมะพร้าว ออก “หวานมัน” ต่างจากน�ำ้ ตาลทรายทีไ่ ด้จากอ้อย ซึ่งมีรสชาติออก “หวานแหลม”

คนท�ำน�้ำตาล อาชีพดั้งเดิมของชาวแม่กลอง ก�ำลังเผชิญความ เปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญหลังจากพื้นที่ปลูกมะพร้าวในจังหวัด  ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากการขยายตัวของหมู่บ้านจัดสรรและ  การท�ำสวนปาล์ม  76 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

77


โรงงานผลิตกะทิบรรจุกล่องแห่งนี้ต้องการ วั ต ถุ ดิ บ มะพร้ า วขาววั น ละ ๑๐๐ ตั น  กั บ มะพร้ า วเปลื อ กแข็ ง ประมาณ ๘ หมื่ น ผล  โดยต้องมีปริมาณมะพร้าวเปลือกแข็งส�ำรอง ในไซโลไม่นอ้ ยกว่า ๘ แสนผล หรือเพียงพอ ต่อการผลิตใน ๑๐ วันท�ำการ

ประเทศไทยมี พั น ธุ ์ ม ะพร้ า ว ขณะที่มะพร้าวต้นเตี้ยมีอัตรา มี อั ต ราการบริ โ ภคสดเพี ย ง เช่น กะทิ น�้ำมัน อาหารสัตว์

78 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

๒ กลุ่มหลัก คือพันธุ์ต้นสูงและพันธุ์ต้นเตี้ย    การน�ำไปบริโภคสดเกือบทั้งหมด แต่มะพร้าวต้นสูง  ร้อยละ ๖๐  ที่เหลือถูกน�ำเข้าสู่อุตสาหกรรมแปรรูป

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

79


โบราณกล่าวไว้ว่า หากทารกถือก�ำเนิด ๑ คน   แล้วปลูกมะพร้าวไว้ ๑ ต้น เด็กคนนั้นจะแสวง ประโยชน์จากมะพร้าวได้ตราบสิ้นอายุขัย    แทบทุกส่วนประกอบของมะพร้าวล้วนมีคุณ   นั่นไม่ใช่เรื่องอวดอ้างเกินจริงแต่อย่างใด

80 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ครูประสิทธิ์ งามศิลป์ ช่างท�ำซอจากกะลามะพร้าวพันธุ์ซอ ที่มีเอกลักษณ์คือด้านตรงข้ามตามะพร้าวโป่งพองออกเป็น ๓ พู ให้รปู ทรงทีส่ วยงามและปุม่ โปนด้านในเอือ้ ให้เกิดเสียง ทีไ่ พเราะ  ซอประดิษฐ์จากกะลานีอ้ าจมีราคาสูงถึงหลักแสน   (ภาพขวา)  การประกอบพิ ธี ก รรมทางพุ ท ธศาสนาและ ศาสนาพราหมณ์มักมีมะพร้าวเป็นหนึ่งในเครื่องบูชา

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

81


ประเพณี ล อยกระทงสาย จั ง หวั ด ตาก  ใช้กะลามะพร้าวประดิษฐ์เป็นฐานกระทง

มะพร้าวมีความสัมพันธ์แนบแน่นกับวิถีไทยในหลายด้าน  มีความเชื่อมากมายเกี่ยวกับมะพร้าวที่ผูกพันกับชีวิตคนเรา นับตั้งแต่เกิดจนตาย 82 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

83


มะพร้าว : จากหัวกะทิถึงกากมะพร้าว ตามรอยพฤกษาสารพัดประโยชน์

เรื่อง : ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์

มะพร้าวด�ำในตะกร้ารอเวลาออกเดินทางสู่ผู้บริโภค

84 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔

ฉบับที่ ๓๑๙  กันยายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

85


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.