ทวาย ในสายลมแห่งการเปลี่ยนแปลง

Page 1

” ย า

ว ใ น ส ท า “ แห่งยลม

ก เปลยี่ น าร แปลง

สุ เ จ น   ก ร ร พ ฤ ท ธิ ์ : เรื่อง     บั น สิ ท ธิ ์  บุ ณ ย ะ รั ต เ ว ช  : ภาพ

ที่หาดมยินจี จังหวัดทวาย ธงของสามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการทวาย คือ ธงชาติพม่า (ประเทศเจ้าของพื้นที่) ธงบริษัททวาย  ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำกัด (DDC) (ผู้รับสัมปทานพัฒนาโครงการในระยะแรก) และธงบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำกัด (มหาชน) (ITD)  บริษัทแม่ โบกไสวเหนือแคมป์ของบริษัทในสภาพขาดวิ่น  ปัจจุบันสถานะนี้เป็นอดีตเมื่อโครงการได้รับการยกระดับขึ้นเป็นโครงการระหว่าง รัฐต่อรัฐและมีอนาคตที่ไม่แน่นอน



ก่อนปี ๒๕๕๑ คนไทยไม่คุ้นชื่อ   “ทวาย” (Dawei) เท่าใดนัก  แต่หลังจากมีการผลักดันโครงการ  ท่าเรือน�้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย ความเปลี่ยนแปลงก็  เกิดขึ้นกับดินแดนที่  คนท้องถิ่นว่ากันว่าเป็น  “ดินแดนแห่งความหวาน และรอยยิ้ม”

Mine  and  road เหมืองแร่และถนน 128

กรกฎาคม  ๒๕๕๗


๓ ๑ แม่น�้ำมยองเพียง แม่น�้ำสายใหญ่ที่หล่อเลี้ยงหมู่บ้านมยองเพียง   ได้รับผลกระทบจากเหมืองตะกั่วท�ำให้สายน�้ำปนเปื้อน มีผู้ล้มป่วย    ตะกอนจากเหมืองท�ำให้แม่น�้ำกลายเป็นเพียงร่องระบายน�้ำเล็ก ๆ และลานโคลน  เหมืองแร่ลักษณะนี้ยังเพิ่มจ�ำนวนขึ้นเรื่อย ๆ หลังการเข้ามาของโครงการทวายในปี ๒๕๕๑ ๒  คนงานก่อสร้างถนนสายจุดผ่านแดนถาวรพุน�้ำร้อน-ทวาย   ว่ากันว่าพวกเขาเป็นคนจากจังหวัดอื่นของประเทศที่ตัดสินใจมาท�ำงานหนัก   บ้างก็ว่าคนเหล่านี้ถูกเกณฑ์มา  ๓  สะพานข้ามแม่น�้ำแห่งหนึ่งในทวายบริเวณหลักกิโลเมตรที่ ๖๗

ป้ายบอกหลักกิโลเมตรปรากฏสัญลักษณ์ ITD อันเป็นสัญลักษณ์ของบริษัทอิตาเลียนไทยฯ บริษัทแม่ของบริษัททวาย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำกัด ที่รับสัมปทานพัฒนาโครงการในระยะแรก   เจดีย์ที่เห็นเลือนรางด้านหลังคนพื้นที่บอกว่าเป็นเจดีย์ที่ ITD มีส่วนสร้างเพื่อท�ำ CSR

กรกฎาคม  ๒๕๕๗

129


นอกจาก “เขื่อน”  และ “ท่าเรือน�้ำลึก กับนิคมอุตสาหกรรม”  “ถนนสายจุดผ่านแดนถาวร พุน�้ำร้อน-ทวาย” ระยะทาง  ๑๓๒ กิโลเมตร ซึ่งอนาคตจะ เป็นมอเตอร์เวย์ที่ตลอดทาง มีสายไฟฟ้า ท่อก๊าซ และรางรถไฟวิ่งคู่ขนานกัน เชื่อมทวายกับกรุงเทพฯ  ก็เป็นองค์ประกอบส�ำคัญ ของโครงการทวาย 130

กรกฎาคม  ๒๕๕๗


คนงานชาวพม่าก�ำลังขนหินที่ได้จากการระเบิดหน้าผาแล้ว “ทุบด้วยมือ”  เพื่อให้ได้อิฐก้อนเล็ก ๆ น�ำไปเรียงบนผิวถนน ก่อนจะให้รถบดบดท�ำพื้นถนน   การท�ำถนนแบบ “แฮนด์เมด” นี้พบได้ตลอดเส้นทางจากจุดผ่านแดนถาวร บ้านพุน�้ำร้อนจนถึงตัวเมืองทวาย โดยถนนเส้นนี้ได้รับการพัฒนาจาก  ถนนท้องถิ่นเป็นถนนเข้าพื้นที่ (access road) เพื่อการคมนาคมและ ขนเครื่องจักรหนักจากฝั่งไทย

กรกฎาคม  ๒๕๕๗

131


Dam เขื่อน

“เขื่อนกาโลดท่า” จะเป็น  เขื่อนที่ใหญ่ที่สุดในห้าเขื่อน  ที่สร้างเพื่อส่งน�้ำดิบ ไปสนับสนุนกิจกรรมท่าเรือน�้ำลึก และนิคมอุตสาหกรรมทวาย   อย่างไรก็ตามพื้นที่หัวงาน ที่จะใช้ก่อสร้างสันเขื่อน จะส่งผลให้ชุมชนกาโลดท่า จมน�้ำทั้งหมด


๕   ๖

๕ บริเวณแม่น�้ำตะลายยาร์ช่วงที่พิจารณาว่า

ควรเป็นที่ตั้งสันเขื่อน ซึ่งหากลงมือก่อสร้างจะต้องย้าย ชุมชนที่มีประชากรราว ๑,๐๐๐ คนออกจากพื้นที่

๖ หมุดส�ำรวจหัวงานเขื่อนของ ITD  บริเวณริมถนนเข้าหมู่บ้าน  เหนือขึ้นไปบนเพิงผา ชาวกาโลดท่าเขียนตัวอักษรไว้ เพื่อบอก ITD ว่าพวกเขาไม่เอาเขื่อน  กรกฎาคม  ๒๕๕๗

133


๗ คนงานก�ำลังขนกระสอบสินค้า

ไม่ทราบชนิดลงจากเรือสินค้า ที่ท่าเรือเก่าแห่งหนึ่งของเมืองทวาย   หากโครงการทวายเกิดขึ้น  ท่าเรือนี้จะเล็กไปถนัดตาเมื่อเทียบ กับท่าเรือน�้ำลึกในโครงการทวาย ที่จะรับสินค้าได้ปีละหลายล้านตัน

๘ สี่แยกแห่งหนึ่งใจกลางเมืองทวาย

มีตึกสมัยอาณานิคม   ทวายยังเป็นเมืองเล็ก ๆ น่ารัก  ทว่าโครงการทวายก�ำลังจะท�ำให้ เมืองนี้ “เปลี่ยนแปลง”  อย่างก้าวกระโดด

๙ ตลาดปลาเมืองทวายเปิดตลาดช่วงเช้า  ๗

มีปลาทะเลหลากหลายชนิดจาก เรือประมงที่เพิ่งเข้าฝั่ง  ชาวประมง ในทวายกังวลว่าความอุดมสมบูรณ์ ของสัตว์ทะเลอาจหายไปเมื่อมี มลภาวะทางน�้ำจากนิคมอุตสาหกรรม

๘   ๙

Dawei city & Dawei project “เมืองทวาย”

กับโครงการท่าเรือน�้ำลึก  และนิคมอุตสาหกรรมทวาย 134

กรกฎาคม  ๒๕๕๗


“ทวาย” เมืองหลวงเขตตะนาวศรี  ซึ่งต้องรับความเสี่ยงจากการมีนิคมอุตสาหกรรม ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีประชากรราว ๑๓๙,๐๐๐ คน  ขนาดเท่ากับอ�ำเภอหนึ่งของไทย   ประชาชนมีอาชีพท�ำประมง ท�ำสวน  พืชเศรษฐกิจคือหมากและมะม่วงหิมพานต์


ที่ตั้งโครงการท่าเรือน�้ำลึก  และนิคมอุตสาหกรรม คือ  หาด “มยินจี” และ “มองมะกัน”   หาดเงียบสงบติดอ่าวเมาะตะมะ   ด้วยขนาดท่าเรือและนิคมฯ   ๑๕๔ ตารางกิโลเมตร    ทิวทัศน์ของชายหาดสองหาดนี้  จะเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงเมื่อมีการ เดินหน้า “โครงการทวาย”   อย่างเต็มรูปแบบ

136

กรกฎาคม  ๒๕๕๗


ชายหาดมยินจี มองไปทางเหนือ เห็นเนินเขาและโขดหิน  ที่นี่คือ “หัวหาด” ทางเหนือสุด   ถ้าเลาะชายหาดนี้ลงไปทางใต้ จะถึงพื้นที่ตั้งโครงการทวาย

กรกฎาคม  ๒๕๕๗

137


คนในพื้นที่ชี้ ให้ผู้สื่อข่าวไทย ดูแผนที่โครงการทวายฉบับล่าสุด ซึ่งแสดงจ�ำนวนหลังคาเรือนที่จะต้องย้าย  และพื้นที่ต่าง ๆ ที่แบ่งไว้ท�ำประโยชน์ ตามแต่ละประเภท

นับตั้งแต่เริ่มต้นโครงการในปี ๒๕๕๑  มีการปรับเปลี่ยนขนาดพื้นที่ของโครงการหลายครั้ง  ตามแผนล่าสุดพื้นที่ท่าเรือน�้ำลึกและนิคม อุตสาหกรรมจะท�ำให้หมู่บ้านหกแห่งถูกโยกย้าย  ท่ามกลางการต่อต้านและความกังวลเกี่ยวกับ อนาคตของประชาชนที่ได้รับผลกระทบเหล่านี้



ภาพถ่ายดาวเทียม

เมื อ งทวาย   ้นที่ ใกล้เคียง และพื

จากดาวเทียม ไทยโชต (Thaichote)  ระบบหลายช่วงคลื่น (Multi-Spectral)  เมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์  ๒๕๕๗  เวลา ๑๐.๓๗ น.  โดยส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) : GISTDA

Copyright © GISTDA_2014

N

ต�ำบล เยบยู

บ้านบะหว้ะ เขตท่าเรือน�้ำลึก และนิคมอุตสาหกรรมทวาย  ๑๕๔ ตารางกิโลเมตร หลักกิโลเมตรที่ 0 ถนนทวาย-จุดผ่านแดนถาวร บ้านพุนํ้าร้อน

บ้านมยินจี

ต�ำบล นะบูเล

หาดมยินจี   หาดมองมะกัน

บ้านเลชอง บ้านพายาดัด บ้านเทงจี บ้านมูดุ บ้านยองบินเซก

อ่ า ว เ ม า ะ ต ะ ม ะ

ต�ำบล มองมะกัน เมือง ทวาย

แม่น�้ำทวาย

หมายเหตุ :  ภาพถ่ายดาวเทียมนี้ได้รับการสนับสนุนจาก ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ  (องค์การมหาชน) (GISTDA) ใช้เพื่อให้เห็นภาพรวมของพื้นที่  ห้ามใช้อ้างอิงเรื่องเขตแดนหรือใช้ในกรณีอื่นๆ  หากต้องการใช้ภาพดาวเทียมโปรดติดต่อ  GISTDA โทร. ๐-๒๑๔๑-๑๕๕๙

140

กรกฎาคม  ๒๕๕๗


พื้นที่สร้างเขื่อน เอกานีตะวันตก

ทางหลวง หมายเลข ๘ พื้นที่สร้างเขื่อน พะเยงบิว พื้นที่สร้างเขื่อน กาโลดท่า

แน วเข ตแ

ย-พ

ดน

ไท

บ้านกาโลดท่า

ม่า

ต�ำบล มยิตตา เหมืองเฮ็นดา ถนนทวายจุดผ่านแดนถาวร บ้านพุน�้ำร้อน แม่นํ้าตะนาวศรี

กรกฎาคม  ๒๕๕๗

141



” ย า

ว ใ น ส ท า “ แห่งยลม

ก เปลยี่ น าร แปลง

<  บรรยากาศบนถนนหมายเลข ๘  ช่วงก่อนเข้าสู่ตัวเมืองทวาย  สองฝั่งเต็มไปด้วยต้นตาลขึ้นเรียงราย   นอกจากต้นหมาก มะม่วงหิมพานต์  ต้นตาลถือเป็นอีกหนึ่งสัญลักษณ์ แห่งความอุดมสมบูรณ์ของเมือง

ปลายเดือนมีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗

บ้านมยองเพียง (Myaung paing) ต�ำบลมยิตตา (Myitta) จังหวัดทวาย, สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์

ผมตกตะลึงเมือ่ ผูอ้ าวุโสวัย ๖๗ ปีชใี้ ห้ดทู รี่ าบโล่งกว้างใหญ่เต็มไปด้วยโคลน แล้วบอกว่า “นีแ่ ม่นำ�้ มยองเพียง” และชีไ้ ปทีเ่ นินดินเล็ก ๆ บนยอดมีเจดียแ์ บบพม่า  เชิงเนินมีร่องรอยบันไดเล็ก ๆ “ตรงนั้นเคยเป็นตลิ่งริมน�้ำ”  เขาบอกว่าแม่นำ�้ สายนี ้ “เคยกว้าง ๑๐๐ เมตร ลึก ๙ เมตร แต่หลังมีเหมือง ตะกั่ว ทั้งหมดก็กลายเป็นอดีต”  สี่ วั น ที่ ผ มสั ญ จรในแถบชนบททวาย โศกนาฏกรรมลั ก ษณะนี้ ไ ด้ รั บ การ  บรรยากาศบนถนนหมายเลข ๘ ช่วงก่อนเข้าสู่ตัวเมือบอกเล่ ง านับครั้งไม่ถ้วน  ทวาย สองฝั่งเต็มไปด้วยต้นตาลขึ้นเรียงราย  นอกจาก ต้นหมาก มะม่วงหิมพานต์ ต้นตาลถือเป็นอีกหนึ่ง สัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ของเมืองทวาย

สุ เ จ น  ก ร ร พ ฤ ท ธิ ์ : เรื่อง     บั น สิ ท ธิ ์  บุ ณ ย ะ รั ต เ ว ช  : ภาพ กรกฎาคม  ๒๕๕๗

143


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.